02.05.2013 Views

nawaporn63255523840

nawaporn63255523840

nawaporn63255523840

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

CCNA 2 Summary<br />

Dr. Nawaporn Wisitpongphan<br />

1


Static Routing<br />

• นิยมใช้กับระบบเครือข่ายขนาดเล็ก เพราะง่ายต่อการจัดการ<br />

• นิยมใช้ในการสร้างเส้นทางไปยัง หรือ ออกจาก stub network<br />

2


static route<br />

ในตารางเส้นทาง<br />

3


static route<br />

with exit interface<br />

4


การลบ Static Route<br />

5


การท า Route Summary<br />

6


ข้อดีของการท า Route Summary<br />

7


Dynamic Routing:<br />

Routing Protocols<br />

8


Classful vs. Classless Routing<br />

Classless protocol เช่น RIPv2, EIGRP,<br />

OSPF, IS-IS, และ BGP มีการส่ง subnet<br />

mask ไปพร้อมกับ routing update จึง<br />

สามารถรองรับ VLSM ได้<br />

9<br />

Classful protocol เช่น RIPv1 และ<br />

IGRP ถูกคิดค้นในช่วงเวลาที่ระบเครือข่าย<br />

มีเพียง class A, B, และ C จึงไม่มีการส่ง<br />

subnet mask ไปพร้อมกับ routing<br />

update


Classful Routing<br />

10


Classless Routing<br />

11


ค่า Metric และ AD ในตารางเส้นทาง<br />

• RIP (AD = 120): ใช้ Hop Count ในการเลือกเส้นทาง<br />

• IGRP (AD = 100)และ EIGRP (AD = 90) : ใช้ Bandwidth, Delay,<br />

Reliability, และ Load ในการเลือกเส้นทางที่สั้นที่สุด<br />

• IS-IS (AD = 115) และ OSPF (AD = 110)ใช้ cost ที่ค<br />

านวณจากค่า<br />

Bandwidth และ Reference Bandwidth<br />

12


ตารางค่า Administrative Distance<br />

13


การเปรียบเทียบประสิทธิภาพของ routing protocol<br />

• Time to Convergence:<br />

▫ ความเร็วในการหาเส้นทาง<br />

• Scalability:<br />

▫ ความสามารถในการรองรับระบบเครือข่ายขนาดใหญ่<br />

• Classful or Classless:<br />

▫ Classless จะรองรับ Variable Length Subnet Masking (VLSM) และการท า route<br />

summarization เพื่อลดขนาดของตารางเส้นทาง<br />

▫ Classful จะไม่รองรับ VLSM<br />

• Resource Usage<br />

▫ ทรัพยากรที่ใช้ในการหาเส้นทาง<br />

เช่น memory space, CPU utilization และ bandwidth ที่ใช้<br />

• Implementation and Maintenance<br />

▫ ความรู้และทักษะที่จ<br />

าเป็นต้องรู้ในการดูแลและจัดการ<br />

14


คุณสมบัติของ routing protocols ใน CCNA 2<br />

15


Distance Vector Algorithm<br />

• แต่ละโหนดจะส่ง distance vector หรือเส้นทางที่อยู่ในตารางเส้นทางไปยังโหนด<br />

เพื่อนบ้านเป็นช่วงเวลา<br />

(periodic update หรือเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นใน<br />

ตาราง (triggered updates)<br />

• ในการส่ง update จะต้องมี Random Jitter ไว้เพื่อป้องกันการชนกันของ<br />

distance<br />

vector<br />

16


Distance Vector Routing Protocol<br />

• RIP<br />

▫ ใช้ Hop Count เป็น metric ในการเลือกเส้นทาง<br />

▫ ไม่สามารถรองรับระบบเครือข่ายที่มี<br />

Hop Count มากกว่า 15 ได้<br />

▫ Broadcast Routing Update ทุกๆ 30 วินาที<br />

• IGRP<br />

▫ ใช้ bandwidth, delay, load, และค่า reliability ในการค านวณ metric เพื่อใช้ในการ<br />

เลือกเส้นทาง<br />

▫ Broadcast Routing Update ทุกๆ 90 วินาที<br />

▫ ปัจจุบันไม่นิยมใช้เนื่องจากมีการพัฒนาต่อยอดเป็น<br />

EIGRP แล้ว<br />

• EIGRP<br />

▫ สามารถท า unequal cost load balancing<br />

▫ ใช้ Diffusing Update Algorithm (DUAL) ในการค านวณหาเส้นทางที่สั้นที่สุด<br />

▫ ไม่มีการ update เป็นช่วงเวลา แต่จะส่ง update ก็ต่อเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นใน<br />

network เรียกว่าเป็นการท า Bounded Updates<br />

17


RIP Timer<br />

• Invalid<br />

▫ ถ้าไม่ได้รับ update จากเพื่อนบ้านเป็นเวลา<br />

180 วินาที จะก าหนดให้เพื่อนบ้านนั้นเป็น<br />

invalid และให้ metric เป็น 16<br />

• Flush<br />

▫ ถ้าไม่ได้รับ update จากเพื่อนบ้านเป็นเวลา<br />

240 วินาที จะลบเพื่อนบ้านนั้นออกจาก<br />

ตารางเส้นทาง<br />

• Holddown Timer<br />

▫ เป็น timer ที่ใช้ป้องกัน<br />

routing loop<br />

▫ เมื่อตรวจเช็คได้ว่าเส้นทางใดก็ตามในตารางเส้นทางเป็น<br />

invalid หรือไม่สามารถติดต่อได้<br />

จะต้องไม่ update ตารางเส้นทางของตัวเองเป็นเวลา 180 วินาที เพื่อรอให้โหนดอื่นๆรับรู้<br />

ถึงการเปลี่ยนแปลงนี้<br />

18


Count-to-Infinity<br />

Solution: Split Horizon<br />

Node B<br />

Node C<br />

D C N<br />

A 4 A<br />

C 1 C<br />

D C N<br />

A 5 B<br />

B 1 B<br />

:Poison Reverse<br />

D C N<br />

A 6 C<br />

C 1 C<br />

D C N<br />

A 5 B<br />

B 1 B<br />

D C N<br />

A 6 C<br />

C 1 C<br />

D C N<br />

A 7 B<br />

B 1 B<br />

D C N<br />

A 8 C<br />

C 1 C<br />

D C N<br />

A 7 B<br />

B 1 B<br />

60<br />

4<br />

B<br />

1<br />

A C<br />

50<br />

“bad<br />

news<br />

travels<br />

slowly”<br />

time<br />

Link cost changes here; recall that B also maintains<br />

shortest distance to A through C, which is 6. Thus Distance(B, A) becomes 6 !<br />

…<br />

19


Basic RIP Configuration<br />

R3(config)#router rip<br />

R3(config-router)#network 192.168.4.0<br />

R3(config-router)#network 192.168.5.1<br />

20


Automatic Summarization<br />

• RIP เป็น classful routing protocol เพราะฉะนั้นจะท<br />

าการสรุปเส้นทาง<br />

(route summarization) ที่ boundary router<br />

R3’s Table<br />

21


ข้อเสียของการท า Automatic Summarization<br />

• ไม่สามารถรองรับระบบเครือข่ายที่ไม่ต่อเนื่องหรือ<br />

discontiguous networks<br />

R2 มีสองเส้นทางไปยัง 172.30.0.0 แล้วจะท าการ<br />

Load balance บนสองเส้นทางนี้<br />

ท าให้ R1 และ R3 ได้<br />

รับ packet ไม่ครบถ้วน<br />

R1 และ R3 เป็น<br />

boundary routers<br />

ส าหรับ 172.30.0.0/16<br />

R1 จะไม่มีเส้นทางไป LAN บน R3 R3 จะไม่มีเส้นทางไป LAN บน R1<br />

22


Default Route<br />

R2 เป็น gateway ในการออกสู่<br />

ดังนั้นควรมีการ<br />

ตั้งค่า<br />

default route แบบ static ให้ออกไปยัง<br />

R3 เพื่อเข้าสู่<br />

Internet<br />

23


ปัญหาของ RIPv1<br />

ค าสั่งเพื่อให้<br />

R2 ส่ง static route<br />

ไปยัง R1 และ R3 พร้อมกับ update<br />

Null0 เป็นการจ าลองทางออกเข้าสู่<br />

Internet ในการท า lab<br />

Packet ที่ถูกส่งไปยัง<br />

null interface จะถูกทิ้ง<br />

R1 และ R3 จะไม่มีเส้นทางไปยัง static route 192.168.0.0 แม้ว่าจะท า redistribute static แล้วก็ตามเพราะ RIPv1 ที่<br />

อยู่บน<br />

R2 จะไม่ส่งเส้นทางที่มี<br />

subnetmask ต่างกันออกไปยัง network ที่เชื่อมต่ออยู่<br />

24


RIPv2: รองรับ VLSM<br />

25


RIPv2<br />

26


No Auto-Summary<br />

27


Routing Table Structure<br />

Classful<br />

28<br />

Classless


Routing Table Lookup<br />

classful<br />

Drop Packet<br />

ตรงกัน<br />

หรือไม่<br />

ใช่<br />

เป็น Parent Route<br />

หรือไม่<br />

ใช่<br />

เช็คเทียบกับChild Route<br />

ทีละบรรทัด<br />

ตรงกับ Child Route บ้าง<br />

หรือไม่<br />

ไม่ใช่<br />

ไม่ใช่<br />

ไม่ใช่<br />

classless<br />

ใช่<br />

ดูเทียบกับบรรทัดต่อไปในตาราง<br />

จนกว่าจะหมด<br />

(ถ้าหมดจึง drop packet)<br />

ส่งต่อ packet ออกทาง<br />

Exit interface นั้น<br />

29


Longest Match<br />

30


Classful Lookup Example<br />

31


EIGRP<br />

• พัฒนาเพิ่มเติมจาก<br />

IGRP<br />

• ใช้ DUAL ซึ่งเป็น<br />

algorithm ที่ดีกว่า<br />

Dijkstra’s ที่ใช้ใน<br />

RIP ท าให้ค้นหา<br />

เส้นทางได้เร็วขึ้น<br />

ป้องกัน routing loop ได้ ท าให้ค่า AD ต่ากว่า<br />

IGRP และ<br />

RIP<br />

• สามารถท า Authentication ได้ เพื่อให้<br />

router ที่มี<br />

password หรือ<br />

authentication เดียวกัน สื่อสารกันได้<br />

• ท า route summary โดยอัตโนมัติ แต่ก็สามารถปลดออกได้โดยใช้ค าสั่ง<br />

no<br />

auto-summary ได้<br />

• รองรับการท า VLSM โดยการระบุค่า wildcard mask เมื่อใช้ค<br />

าสั่ง<br />

“network”<br />

32


EIGRP vs. Autonomous System<br />

ตัวอย่างการตั้งค่า<br />

EIGRP<br />

CISCO ระบุว่าเลข 1 ในที่นี้เป็น<br />

AS number<br />

แต่จริงๆแล้วค่านี้เป็นเพียง<br />

process ID เท่านั้น<br />

ไม่มีความสัมพันธ์กับค่า AS number เลย<br />

33


Wildcard Mask กับการตั้งค่า<br />

EIGRP<br />

34


EIGRP Metric<br />

ปกติใช้แต่ bandwidth และ Delay<br />

35


EIGRP Metric Calculation :Example<br />

Reference Bandwidth<br />

10,000,000<br />

ใช้ bandwidth ที่น้อยที่สุด<br />

และ delay ของทุกๆ link<br />

36


EIGRP: Reported Distance vs. Feasible Successor<br />

Reported Distance = 2172416<br />

R1 มีเส้นทางไปยัง 192.168.1.0/24 จึงมีสิทธิ<br />

เป็น Feasible Successor ของ R2<br />

R1 บอก R2 ว่ามี FD ไปยัง<br />

192.168.1.0/24 ว่าเป็น 2172416<br />

37<br />

ส าหรับ R2: 2172416 คือ Reported Distance<br />

(RD) ซึ่งมีค่าน้อยกว่า<br />

FD = 3014400<br />

R2 เลือกR1 เป็น Feasible<br />

Successor


EIGRP Backup Path<br />

38


Link State Process<br />

• Router แต่ละตัวจะเรียนรู้ระยะทางไปยังเพื่อนบ้าน<br />

• Router แต่ละตัวจะส่ง hello packet ไปยังเพื่อนบ้าน<br />

• Router จะส่ง Link State Packet (LSP) ซึ่งมีข้อมูลเกี่ยวกับ<br />

link ไปยังเพื่อน<br />

บ้านออกไปโดยวิธีการ Flood ให้กับทุกๆโหนดใน network<br />

• เมื่อได้รับ<br />

LSP จากเพื่อนบ้าน<br />

router แต่ละตัวจะเก็บไว้ใน database (สุดท้าย<br />

จะรู้<br />

topology ทั้งหมด)<br />

• Router แต่ละตัวท าการสร้างตารางเส้นทางเองโดยใช้ Dijkstra’s algorithm<br />

จากข้อมูลที่มีอยู่ใน<br />

database<br />

• ตัวอย่างของ Link State Routing Protocol เช่น OSPF, IS-IS<br />

39


Link State Algorithm: Dijkstra<br />

• L<br />

40


Link State Database<br />

41


ข้อดีข้อเสียของ Link State Protocol<br />

• Router แต่ละตัวจะรู้<br />

topology ของ network ทั้งหมด<br />

• หาเส้นทางได้รวดเร็ว<br />

• LSP จะถูกส่งออกไปเมื่อมีการเปลี่ยนแปลงค่าใน<br />

topology เท่านั้น<br />

ท าให้ไม่สิ้นเปลืองbandwidth<br />

ในการรักษาเส้นทาง<br />

• สามารถใช้กับระบบเครือข่ายที่มีการแบ่งเป็นล<br />

าดับชั้น<br />

• เปลืองทรัพยากร Memory และ CPU ในการค านวณเส้นทาง และเปลือง bandwidth ในช่วงที่ส่ง<br />

LSP<br />

42


OSPF<br />

AD = 110<br />

43


OSPF: Link State Update<br />

44


การตั้งค่าของ<br />

OSPF<br />

Router ไม่จ าเป็นต้องมี process ID<br />

เหมือนกัน แต่จ าเป็นต้องมี Area เหมือนกัน<br />

เนื่องจาก<br />

OSPF area เดียวกัน จะมี<br />

database เหมือนกัน<br />

ตรงกันข้ามกับ EIGRP ที่<br />

process ID<br />

OSPF ใช้ router ID ในการอ้างถึง router โดยปกติจะเป็นค่า<br />

ของ router แต่ละตัวต้องเหมือนกันเท่านั้น<br />

- IP address ของ router ที่ตั้งค่าโดยใช้ค<br />

าสั่ง<br />

router-id<br />

- หากไม่มีการใช้ค าสั่ง<br />

router-id, router จะใช้ IP ของ loopback interface ที่มากที่สุด<br />

- หากไม่มีการตั้งค่า<br />

IP ให้กับ loopback ให้ใช้ค่า IP ที่มากที่สุดของ<br />

interface ใดก็ได้<br />

Router ID<br />

R1: 192.168.10.5,<br />

R2: 192.168.10.9<br />

R3: 192.168.10.10<br />

45


OSPF Metric<br />

ตั้งค่า<br />

cost เองได้<br />

CISCO ใช้ ผลรวมของ cost ที่ค<br />

านวณจาก<br />

Bandwidth ตั้งแต่ต้นทางไปยังปลายทางเป็น<br />

metric<br />

46

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!