08.06.2013 Views

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ - EHWM - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ - EHWM - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ - EHWM - จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

CONTENT<br />

ÈÊÍ.<br />

Èٹ¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ<br />

´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅТͧàÊÕÂÍѹµÃÒÂ<br />

»ÃШÓà´×͹¡Ã¡®Ò¤Á 2554 »‚·Õè 3 ©ºÑº·Õè 7<br />

¤Ø¡ѺºÃóҸԡÒà p.2<br />

From the Editor p.3<br />

¹Ò¹Ò§Ò¹ÇÔ¨ÑÂ<br />

¡ÒÃËÁÑ¡»Ø‰Â¨Ò¡ÁÙÅÊءáѺÇÑÊ´ØàËÅ×Í㪌¨Ò¡¡ÒÃà¡ÉµÃ<br />

ã¹ÀÒ¤à˹×ͧ͢»ÃÐà·Èä·Â p.4<br />

TComposting of Pig Manure with Agricultural<br />

Wastes in Northern Thailand p.5<br />

Èٹ¤ÇÒÁ໚¹àÅÔÈ´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁáÅТͧàÊÕÂÍѹµÃÒÂ<br />

(ÈÊÍ.)<br />

àÃÔèÁ´Óà¹Ô¹§Ò¹ã¹»ÅÒÂà´×͹<br />

¸Ñ¹ÇÒ¤Á ¾.È. 2542 ÀÒÂ㵌¡ÒáӡѺ´ÙáŢͧÊӹѡ¾Ñ²¹ÒºÑ³±ÔµÈÖ¡ÉÒ áÅÐÇÔ¨ÑÂ<br />

´ŒÒ¹ÇÔ·ÂÒÈÒʵÃáÅÐà·¤â¹âÅÂÕ (ʺÇ.) Êӹѡ§Ò¹¤³Ð¡ÃÃÁ¡ÒáÒÃÍØ´ÁÈÖ¡ÉÒ (Ê¡Í.) ã¹ÅѡɳÐÀÒ¤Õ¤ÇÒÁ<br />

ËÇÁÁ×ͧ͢ÁËÒÇÔ·ÂÒÅÑÂÃдѺá¹Ç˹ŒÒ 8 áË‹§ã¹»ÃÐà·Èä·Â ÁÕÇѵػÃÐʧ¤áÅоѹ¸¡Ô¨ã¹¡ÒÃÊÌҧͧ¤¤ÇÒÁÃÙŒ<br />

áÅмÅÔµ§Ò¹ÇԨѴŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃÊÔè§áÇ´ÅŒÍÁ â´Â੾ÒÐã¹àÃ×èͧ¢Í§àÊÕÂÍѹµÃÒ·ÕèÁդسÀÒ¾áÅеçµÒÁ⨷Â<br />

¤ÇÒÁµŒÍ§¡Òâͧ»ÃÐà·È áÅмÅÔµºÑ³±ÔµÃдѺÊÙ§à¾×èÍᡌ䢻˜ÞËÒ¤ÇÒÁ¢Ò´á¤Å¹¡ÓÅѧ¤¹´ŒÒ¹¡ÒèѴ¡ÒÃ<br />

¢Í§àÊÕÂÍѹµÃÒ ÃÇÁ·Ñ駡ÒÃãËŒºÃÔ¡Ò÷ҧÇÔªÒ¡ÒÃ<br />

à¼Âá¾Ã‹Í§¤¤ÇÒÁÃÙŒ<br />

áÅÐ໚¹·Õè¾Ö觢ͧÊѧ¤Á<br />

º¹°Ò¹¢Í§<br />

¤ÇÒÁËÇÁÁ×͡Ѻ·Ø¡ÀҤʋǹ·Ñé§ã¹áÅе‹Ò§»ÃÐà·È<br />

(´ÙÃÒÂÅÐàÍÕ´à¾ÔèÁàµÔÁä´Œ·Õè<br />

www.ehwm.chula.ac.th)<br />

»¯Ô·Ô¹¡Ô¨¡ÃÃÁ p.14-16<br />

<strong>ÊÒÃй‹ÒÃÙŒ</strong><br />

»Ø‰Â…ãËŒ¤Ø³ËÃ×Íâ·É<br />

p.6-9<br />

Fertilizer...beneficial or harmful p.10-13<br />

Phone: 0-2218-3952-4 Fax: 0-2219-2251 E-mail: <strong>EHWM</strong>@chula.ac.th


PAGE 2 ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

คุยกับบรรณาธิการ<br />

จดหมายข่าวอิเล็กทรอนิกส์ประจำาเดือนกรกฎาคม 2554 นี้<br />

ศสอ.ขอต้อนรับผู้อ่านเข้าสู่ฤดูฝนอันชุ่มฉ่ำา<br />

ด้วยการนำาเรื่องราวเกี่ยวกับปุ๋ยและการผลิตปุ๋ยหมักที่ผสมกับวัสดุเหลือใช้จากธรรมชาติอย่างเปลือกถั่วเหลือง<br />

ซึ่งเป็นการจัดการของเสียที่มีประสิทธิภาพและทำาให้ต้นไม้สมบูรณ์แข็งแรงมานำาเสนอ<br />

ปุ๋ยหมักชีวภาพหรือที่เรียกกันทั่วไปว่าปุ๋ยอินทรีย์<br />

เป็นปุ๋ยที่สามารถผลิตใช้ได้เองในครัวเรือน<br />

กรรมวิธีการ<br />

ผลิตก็ง่ายๆ โดยการใช้วัสดุที่หาได้จากธรรมชาติ<br />

ซึ่งเป็นเศษสิ่งของเหลือใช้ที่มีราคาถูกหรืออาจไม่มีค่าอะไรเลย<br />

แต่สามารถนำามาทำาให้เกิดประโยชน์ได้มากมาย เช่น นำาเศษพืชผักต่างๆ ใบไม้ มูลสัตว์ หรือแม้กระทั่งซากสัตว์<br />

เล็กๆ พวกกุ้งหอยปูปลาที่นำามาบริโภคไม่ได้แล้วมาหมักรวมกัน<br />

แล้วให้จุลินทรีย์ในธรรมชาติช่วยในการย่อย<br />

สลายจนกลายเป็นปุ๋ยหมักที่พร้อมจะนำามาใช้ในการบำารุงดิน<br />

อย่างไรก็ตาม การใช้ปุ๋ยเพื่อเพิ่มผลผลิตทางการ<br />

เกษตรในปัจจุบันก่อให้เกิดผลกระทบในหลายด้าน จึงจำาเป็นต้องมีการศึกษาวิจัยและแสวงหาทางเลือกที่เหมาะ<br />

สม คอลัมน์นานางานวิจัยจึงนำาเสนอผลงานวิจัยเรื่อง<br />

“การหมักปุ๋ยจากมูลสุกรกับวัสดุเหลือใช้จากการเกษตร<br />

ในภาคเหนือของประเทศไทย” ของ รศ.ดร. สุรพงษ์ วัฒนะจีระ และคณะนักวิจัย จากศูนย์เครือข่ายภาควิชา<br />

วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม<br />

มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มาฝากกัน<br />

ทั้งนี้<br />

ผู้อ่านสามารถแสดงความคิดเห็น<br />

ตลอดจนจัดส่งข่าวสาร บทความ และสาระความรู้ในด้านสิ่ง<br />

แวดล้อมมาเผยแพร่ได้ที่<br />

E-mail: <strong>EHWM</strong>@chula.ac.th คำาติชมของทุกท่านจะเป็นประโยชน์อย่างยิ่งต่อการ<br />

ปรับปรุงรูปแบบและเนื้อหาของข่าวสารให้น่าติดตามมากยิ่งขึ้น<br />

คณะที่ปรึกษา<br />

รศ.ดร. เลอสรวง เมฆสุต • ผศ.ดร. สมพร กมลศิริพิชัยพร • ผศ.ดร. มนัสกร ราชากรกิจ<br />

• น.ส. วรรณี พฤฒิถาวร • รศ.ดร. ประเสริฐ ภวสันต์ • น.ส. นวลจันทร์ ธัญโชติกานต์<br />

บรรณาธิการประจำาฉบับ<br />

น.ส. วิริยาภรณ์ ศิวิไล<br />

กองบรรณาธิการ<br />

นาย รณรงค์ ศิริรัตนกูล • น.ส. กานดา อ้อนอุบล • นาย สุนทร พันธ์นก • นางศิริลักษณ์ โพธิ์เกตุ<br />

• น.ส. เสาวรส หมอนสุภาพ • น.ส. ฉันทนา อินทิม • น.ส. ชญานุช รุ่งโอฬาร<br />

บทความและข้อความที่ตีพิมพ์ใน<br />

E-Newsletter เป็นความคิดเห็นส่วนตัวและลิขสิทธิ์ของผู้เขียน<br />

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม<br />

และของเสียอันตราย ไม่มีส่วนรับผิดชอบหรือผูกพันอย่างใด<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

ด้วยความเคารพอย่างยิ่ง<br />

วิริยาภรณ์ ศิวิไล<br />

บรรณาธิการ


From the Editor<br />

For this month of our E-newsletter, <strong>EHWM</strong> welcomes all readers to the soaking<br />

rainy season with the stories about fertilizer which is very important to farmers.<br />

Compost fertilizer or organic fertilizer can be produced in the household with<br />

the simple process by fermenting together the useless or residue materials derived<br />

from the nature, for example leaves, animal manure, animal remains. The microorganisms<br />

in nature will decompose them to be fertilizer that is ready to nourish<br />

the soil in your garden. However, to increase agricultural products with chemical<br />

fertilizer causes so many impacts to the environment and our health nowadays.<br />

Therefore, it has to carefully study and find out alternatives to replace or reduce<br />

the chemical fertilizer. Research study entitled “Composting of Pig Manure with<br />

Agricultural Wastes in Northern Thailand“, which was carried out by Assoc. Prof.<br />

Dr. Surapong Wattanachira and his team from Department of Environmental Engineering,<br />

Chiang Mai University, presented the study result of the composting of pig<br />

manure mixed with agricultural wastes such as soybean hulls, which is an alternative<br />

for your choice.<br />

Finally, all readers are encouraged to send in your suggestions and opinions<br />

as well as information, articles, and knowledge concerning environment, particularly<br />

on hazardous substances and waste. Your feedback and contributions are<br />

valued, as they help us to improve our newsletter.<br />

คณะที่ปรึกษา<br />

รศ.ดร. เลอสรวง เมฆสุต • ผศ.ดร. สมพร กมลศิริพิชัยพร • ผศ.ดร. มนัสกร ราชากรกิจ<br />

• น.ส. วรรณี พฤฒิถาวร • รศ.ดร. ประเสริฐ ภวสันต์ • น.ส. นวลจันทร์ ธัญโชติกานต์<br />

บรรณาธิการประจำาฉบับ<br />

น.ส. วิริยาภรณ์ ศิวิไล<br />

กองบรรณาธิการ<br />

นาย รณรงค์ ศิริรัตนกูล • น.ส. กานดา อ้อนอุบล • นาย สุนทร พันธ์นก • นางศิริลักษณ์ โพธิ์เกตุ<br />

• น.ส. เสาวรส หมอนสุภาพ • น.ส. ฉันทนา อินทิม • น.ส. ชญานุช รุ่งโอฬาร<br />

Best regards<br />

Viriyaporn Sivilai<br />

Editor<br />

บทความและข้อความที่ตีพิมพ์ใน<br />

E-Newsletter เป็นความคิดเห็นส่วนตัวและลิขสิทธิ์ของผู้เขียน<br />

ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อม<br />

และของเสียอันตราย ไม่มีส่วนรับผิดชอบหรือผูกพันอย่างใด<br />

จดหมายข่าว PAGE 3<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management


PAGE 4 ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

นานางานวิจัย<br />

การหมักปุ<br />

๋ยจากมูลสุกรกับวัสดุเหลือใช้จากการเกษตรในภาคเหนือของ<br />

ประเทศไทย<br />

เป็นการศึกษาการทำาปุ๋ยหมักจากมูลสุกรผสมกับเปลือกถั่วเหลืองในอัตราส่วน<br />

1:1, 2:1, 3:1, และ 5:1 (น้ำาหนักแห้ง)<br />

ซึ่งดำาเนินการทดลองโดยนำาปุ๋ยหมักลงในกล่องหมักไม้อัดที่มีรูพรุนเป็นเวลา<br />

120 วัน และในระหว่างการหมักจะต้องพลิกส่วน<br />

ผสมและเติมน้ำาลงไป<br />

ช่วงเวลาที่เหมาะสมขึ้นอยู่กับอุณหภูมิและอัตราส่วนระหว่างคาร์บอนกับไนโตรเจน<br />

(C / N Ratio) ของ<br />

ปุ๋ยหมัก<br />

คือในสัดส่วนของส่วนผสม 1:1, 2:1, 3:1, และ 5:1 จะใช้เวลา 41, 41, 44, และ 46 วันตามลำาดับ ส่วนความชื้นที่เหมาะ<br />

สมอยู่ระหว่าง<br />

40 และ 60% และอัตราส่วนระหว่างคาร์บอนกับไนโตรเจน คือ 10.5, 9.8, 10.5 และ 7.1 การนำาไฟฟ้า (EC)<br />

เป็น 4.25, 3.25, 3.99 และ 3.23 mS/cm สำาหรับปุ๋ยหมักที่มีส่วนผสมในอัตราส่วน<br />

1:1, 2 : 1, 3:1, และ 5:1 ตามลำาดับ ความ<br />

สามารถในการแลกเปลี่ยนประจุบวก<br />

(CEC) ของปุ๋ยหมักในทุกอัตราส่วนผสม<br />

อยู่ในช่วง<br />

84.7-106.5 meq/100 กรัม (น้ำาหนัก<br />

แห้ง) แนวโน้มทางกายภาพและทางเคมี รวมทั้งอุณหภูมิ,<br />

ค่า pH, อัตราส่วน C / N, CEC, และ EC ของปุ๋ยหมักในทุกอัตราส่วน<br />

ผสมมีความคล้ายคลึงกัน ในขณะที่การกระจายตัวตามขนาดของเนื้อปุ๋ยเป็นไปอย่างปกติและจัดได้ว่าเป็นปุ๋ยหมักที่ดี<br />

โดย<br />

ไม่พบจุลินทรีย์ที่ก่อโรคในวัตถุดิบที่ทำาปุ๋ยหมัก<br />

หากพิจารณาโดยคำานึงถึงคุณภาพของปุ๋ยหมักที่ได้มาตรฐานเป็นที่ยอมรับจาก<br />

กรมพัฒนาที่ดินและสำานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมแล้ว<br />

นับได้ว่าปุ๋ยหมักในทุกอัตราส่วนผสมมีคุณภาพในเกณฑ์ดี<br />

อย่างไรก็ตามในด้านการจัดการของเสียแล้ว การทำาปุ๋ยหมักจากมูลสุกรผสมกับเปลือกถั่วเหลืองในอัตราส่วน<br />

5:1 เป็นอัตราส่วน<br />

ที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด<br />

โดย<br />

รศ.ดร.สุรพงษ์ วัฒนะจีระ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์/ศูนย์เครือข่าย ศสอ. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

นายคมสัน สัมพันธ์กิจ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม<br />

คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

น.ส.สุดารัตน์ อยู่เอม<br />

สำานักงานเทศบาลเมืองลำาพูน<br />

Prof. Dr.-Ing. Eckhard Kraft, Bauhaus-Universität, Weimar, Germany<br />

เผยแพร่ : The Proceedings of the Fifth International Conference on Biological Waste Management from Local to Global (ORBIT<br />

2006), pp.87-93, September 13-15, Weimar, Germany


นานางานวิจัย<br />

Composting of Pig Manure with Agricultural Wastes in<br />

Northern Thailand<br />

The composting of pig manure mixed with soy hull in the mixture ratio of 1:1, 2:1, 3:1, and 5:1 (dry<br />

weight basis) were studied. The experiments were conducted in perforated plywood composting boxes with<br />

total 120 days of the experimental period.<br />

During composting period, the mixtures within composting boxes were turned over and water was added.<br />

The optimal time regarding temperature and C/N ratio of composting for mixture ratios of 1:1 2:1, 3:1, and<br />

5:1 were 41, 41, 44, and 46 days, respectively. The optimal moisture content range was between 40 and 60<br />

%. The carbon to nitrogen ratio (C/N ratio) were 10.5, 9.8, 10.5, and 7.1 and the electrical conductivity (EC)<br />

were 4.25, 3.25, 3.99, and 3.23 mS/cm of the composts with mixture ratios of 1:1 2:1, 3:1, and 5:1, respectively.<br />

The cationic exchange capacity (CEC) of the composts in all mixture ratios was in the range of 84.7-<br />

106.5 meq/100 g dry weight. The tendency of physical and chemical characteristics including temperature,<br />

pH, C/N ratio, CEC, and EC of the composts from all mixture ratios were similar. While the size distributions<br />

of the compost materials were represented as normal distribution and these composts could be classified as<br />

the well composting. The pathogenic microorganisms were not found in all compost materials. Regard to the<br />

acceptable quality of the composts standard by Land Development Department and Thai Industrial Standard<br />

Institute, the composts of all mixture ratios could be identified to be the good compost. However, in waste<br />

management aspect, composting of pig manure mixed with soy hull in the mixture ratio of 5:1 was the most<br />

effective ratio.<br />

By<br />

Assoc. Prof.Dr. Suraphong Wattanachira, <strong>EHWM</strong> Center at Department of Environmental Engineering, Faculty of Engineering,<br />

Chiang Mai University<br />

Mr. Komsan Sumpunkij, Department of Environmental Engineering, Faculty of Engineering Chiang Mai University,<br />

Ms. Sudarat Yoo-em, Lamphun Municipality Office<br />

Prof. Dr.-Ing. Eckhard Kraft, Bauhaus-Universität, Weimar, Germany<br />

Published: The Proceedings of the Fifth International Conference on Biological Waste Management from Local to Global (OR-<br />

BIT 2006), pp.87-93, September 13-15, Weimar, Germany<br />

จดหมายข่าว PAGE 5<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management


ปุ๋ย…ให้คุณหรือโทษ<br />

PAGE 6 ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

สาระน่ารู้<br />

เกษตรกรในประเทศไทยส่วนใหญ่ยังขาดความรู้เรื่องดินและปุ๋ย<br />

ถึงแม้ว่าความ<br />

รู้ทางวิชาการในด้านนี้จะมีอยู่เป็นจำานวนมาก<br />

แต่ก็ถูกจำากัดอยู่ในแวดวงของ<br />

นักวิชาการและเกษตรกรระดับผู้นำาเท่านั้น<br />

เนื่องจากความสัมพันธ์ระหว่างองค์<br />

ประกอบของดิน ได้แก่ อินทรียวัตถุ แร่ธาตุ น้ำาและอากาศ<br />

มีความสลับซับซ้อนและ<br />

เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา<br />

จึงเป็นเรื่องที่อธิบายให้เข้าใจได้ยาก<br />

รวมทั้งปุ๋ยก็มีอยู่หลาย<br />

ประเภทและหลายสูตร เฉพาะปุ๋ยเคมีที่ขึ้นทะเบียนเพื่อผลิตขายในท้องตลาดเพียง<br />

อย่างเดียวก็มีเกือบ 800 สูตรแล้ว ในขณะที่ความอุดมสมบูรณ์ของดินจะผันแปรไป<br />

ตามการใช้ประโยชน์ที่ดิน<br />

การใช้ปุ๋ย<br />

ภัยพิบัติต่างๆ เช่น อุทกภัย ซึ่งมีผลต่อสภาพดิน<br />

ดังนั้น<br />

เกษตรกรควรวิเคราะห์ดินก่อนการใส่ปุ๋ยในทุกๆ<br />

2 ปี<br />

ประเภทของปุ๋ย<br />

ปุ๋ยจำาแนกออกเป็น<br />

2 ประเภทใหญ่ๆ ได้แก่ ปุ๋ยอินทรีย์<br />

และปุ๋ยอนินทรีย์<br />

1. ปุ๋ยอินทรีย์<br />

เป็นปุ๋ยที่ได้มาจากสิ่งที่มีชีวิตและสัตว์ที่เน่าเปื่อยผุพัง<br />

รวม<br />

ทั้งมูลสัตว์ต่างๆ<br />

ได้แก่ ปุ๋ยคอก<br />

ปุ๋ยหมัก<br />

ปุ๋ยพืชสด<br />

มนุษย์มีการใช้ปุ๋ย<br />

อินทรีย์มาตั้งแต่สมัยโบราณ<br />

จนกระทั่งเริ่มมีการพัฒนาประสิทธิภาพใน<br />

ด้านธาตุอาหารของวัสดุธรรมชาติให้มีประโยชน์มากขึ้น<br />

ทำาให้เกิดการ<br />

พัฒนาปุ๋ยอนินทรีย์หรือปุ๋ยเคมี<br />

ซึ่งมีข้อได้เปรียบที่มีความเข้มข้นของธาตุอาหารพืชสูงกว่าปุ๋ยอินทรีย์<br />

ทำาให้เราลดการ<br />

ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ลงเรื่อย<br />

ๆ จนกระทั่งเกษตรกรบางรายเลิกใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือวัสดุอินทรีย์ไปเลย<br />

เราอาจจำาแนกปุ๋ยอินทรีย์ออกเป็นประเภทต่าง<br />

ๆ ดังนี้<br />

• ปุ๋ยคอก<br />

เป็นปุ๋ยที่ได้จากอุจจาระและปัสสาวะทั้งของคนและสัตว์<br />

เป็นของเหลือหรือผลพลอยได้จากฟาร์ม<br />

การใช้ต้องระมัดระวังพอสมควร เพราะหากเป็นปุ๋ยคอกใหม่<br />

ๆ อาจเป็นอันตรายต่อพืชได้ เนื่องจากความ<br />

เค็มและความร้อนที่เกิดขึ้นขณะย่อยสลายปุ๋ย<br />

นอกจากนั้นอาจมีปัญหาเรื่องเมล็ดวัชพืช<br />

โรค หรือแมลงที่<br />

ปะปนมากับปุ๋ยคอก<br />

จึงควรนำามาหมักหรือปล่อยให้ย่อยสลายก่อน<br />

• ปุ๋ยหมัก<br />

คือ ปุ๋ยที่ได้จากการนำาเศษซากพืชมากองหมักรวมกัน<br />

รดน้ำาให้ความชื้นสม่ำาเสมอและกลับกอง<br />

คลุกเคล้าเป็นครั้งคราว<br />

อาจมีมูลสัตว์ ปุ๋ยเคมีและสารเร่งร่วมด้วย<br />

เพื่อให้ได้ปุ๋ยหมักคุณภาพดีและนำามา<br />

ใช้ได้อย่างรวดเร็วขึ้น<br />

ปุ๋ยหมักที่มีคุณภาพดี<br />

ได้มาตรฐาน ควรมีคุณลักษณะดังนี้<br />

1. มีเกรดปุ๋ยไม่ต่ำากว่า<br />

1:1:0.5 (ไนโตรเจน : ฟอสฟอรัส : โพแทสเซียม)<br />

2. มีความชื้นและสิ่งที่ระเหยได้ไม่มากกว่าร้อยละ<br />

35-40 โดยน้ำาหนัก<br />

3. ความเป็นกรดเป็นด่างอยู่ระหว่าง<br />

6.0-7.5<br />

4. ปุ๋ยหมักที่ใช้ได้แล้วไม่ควรมีวัสดุเจือปนอื่น<br />

ๆ<br />

5. ปุ๋ยหมักที่ใช้ได้แล้วจะต้องไม่มีความร้อนหลงเหลืออยู่<br />

6. จะต้องมีปริมาณอินทรียวัตถุอยู่ระหว่าง<br />

25-50 %<br />

7. จะต้องมีอัตราส่วนระหว่างธาตุคาร์บอนต่อไนโตรเจนไม่มากกว่า 20 ต่อ 1


สาระน่ารู้<br />

• ปุ๋ยอินทรีย์นำา้<br />

หรือ ปุ๋ยนำา้ชีวภาพ<br />

หรือนำา้ สกัดชีวภาพ คือ ปุ๋ยที่ได้จากการสกัดน้ำาเลี้ยงจากเซลล์พืชและ<br />

หรือเซลล์สัตว์โดยใช้น้ำาตาล<br />

ด้วยกระบวนการหมักแบบไม่ต้องการอากาศโดยจุลินทรีย์ จนได้น้ำาสกัดสี<br />

น้ำาตาล<br />

ซึ่งจุลินทรีย์ที่เป็นประโยชน์จะช่วยควบคุมจุลินทรีย์ที่เป็นโทษไม่ให้แสดงบทบาท<br />

พร้อมทั้งช่วย<br />

ตรึงไนโตรเจนในดินและช่วยผลิตสารฮอร์โมนพืชเพื่อกระตุ้นการเจริญเติบโตของราก<br />

กระตุ้นให้พืชสร้าง<br />

ภูมิคุ้มกันโรค<br />

พืชจึงเจริญเติบโต มีความแข็งแรง และให้ผลผลิตคุณภาพดี ข้อสำาคัญเป็นการลดการใช้สาร<br />

เคมี จึงปลอดภัยทั้งผู้ผลิตและผู้บริโภค<br />

่<br />

•<br />

•<br />

ปุ๋ยพืชสด<br />

คือปุ๋ยที่ได้จากการไถกลบเศษพืชหรือตอซังหลังการเก็บเกี่ยว<br />

ขณะที่ยังสดลงไปในดิน<br />

ปล่อย<br />

ให้ย่อยสลายระยะหนึ่ง<br />

(1-2 เดือน) เศษพืชจะย่อยสลายและปลดปล่อยธาตุอาหารออกมา จึงปลูกพืช<br />

หลักตาม ปกตินิยมใช้พืชตระกูลถั่วเป็นพืชปุ๋ยสด<br />

เนื่องจากปลูกง่าย<br />

เป็นพืชที่สามารถตรึงธาตุไนโตรเจน<br />

จากอากาศได้ โดยตัดสับหรือไถกลบพืชดังกล่าวในช่วงที่พืชกำาลังออกดอก<br />

50 % เพราะจะได้ปุ๋ยพืชสด<br />

คุณภาพดี น้ำาหนักสดต่อไร่สูง<br />

ข้อสำาคัญคือเป็นวัสดุที่มีอยู่ตรงนั้นแล้ว<br />

ไม่ต้องมีขั้นตอนและค่าใช้จ่ายใน<br />

การขนย้าย<br />

2. ปุ๋ยอนินทรีย์<br />

คือ ปุ๋ยที่ได้จากสิ่งไม่มีชีวิต<br />

ส่วนมากมีอยู่ตามธรรมชาติ<br />

แล้วผลิตขึ้นเพื่อนำามาใช้เป็นปุ๋ย<br />

บางครั้งเรียกว่า<br />

ปุ๋ยวิทยาศาสตร์<br />

หรือปุ๋ย<br />

เคมี เราอาจแบ่งปุ๋ยอนินทรีย์ตามส่วนประกอบของธาตุอาหารหลักที่มีอยู<br />

ในปุ๋ยเป็น<br />

2 ประเภท คือ<br />

• ปุ๋ยเดี่ยวหรือแม่ปุ๋ย<br />

ได้แก่ ปุ๋ยพวกแอมโมเนียมซัลเฟต<br />

•<br />

โพแทสเซียมคลอไรด์ ฯลฯ ซึ่งเป็นสารประกอบทางเคมี<br />

มี<br />

ธาตุอาหารปุ๋ย<br />

คือ N หรือ P หรือ K ธาตุใดธาตุหนึ่งเป็นองค์<br />

ประกอบ เช่น ปุ๋ยแอมโมเนียมซัลเฟต<br />

มีไนโตรเจน (N) 21%<br />

(21-0-0) ปุ๋ยโปรตัสเซียมไนเทรต<br />

มีไนโตรเจน (N) 13% (13-0-0) หรือปุ๋ยโปรตัสเซียมซัลเฟต<br />

มีโปรตัสเซี<br />

ยม (K) 50% (0-0-50) และปุ๋ยโปรตัสเซียมคลอไรด์<br />

มีโปรตัสเซียม (K) 60% (0-0-60) เป็นต้น<br />

ปุ๋ยผสม<br />

ได้แก่ ปุ๋ยที่มีการนำาเอาแม่ปุ๋ยหลายๆ<br />

ชนิดมาผสมกัน เพื่อให้ปุ๋ยที่ผสมได้มีปริมาณและสัดส่วน<br />

ของธาตุอาหาร N P และ K ตามที่ต้องการ<br />

ปุ๋ยผสมนี้จะมีขายอยู่ในท้องตลาดทั่วไปเพราะนิยมใช้กัน<br />

มาก ปัจจุบันเทคโนโลยีในการทำาปุ๋ยผสมได้พัฒนาไปไกลมาก<br />

สามารถผลิตปุ๋ยผสมให้เข้าเป็นเนื้อเดียวกัน<br />

อย่างสม่ำาเสมอ<br />

สะดวกในการใส่ลงไปในไร่นา ปุ๋ยพวกนี้เก็บไว้นานๆ<br />

จะไม่จับกันเป็นก้อนแข็ง สะดวกแก่<br />

การใช้เป็นอย่างยิ่ง<br />

พระราชบัญญัติปุ๋ย<br />

พ.ศ. 2518 กำาหนดให้ผู้ผลิตปุ๋ยเคมีต้องระบุปริมาณธาตุอาหารรับรองไว้บนฉลากปุ๋ย<br />

ซึ่งมีความ<br />

หมายดังต่อไปนี้<br />

• ตัวเลขตัวแรกของสูตรปุ๋ย<br />

หมายถึง ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด<br />

(% N )<br />

• ตัวเลขตัวที่สองของสูตรปุ๋ย<br />

หมายถึง ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์<br />

(% P 2 O 5 )<br />

• ตัวเลขตัวที่สามของสูตรปุ๋ย<br />

หมายถึง ปริมาณโพแทสเซียมที่ละลายน้ำาได้<br />

(% K 2 O )<br />

จดหมายข่าว PAGE 7<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management


PAGE 8 ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

ผลกระทบจากการใช้ปุ๋ย<br />

สาระน่ารู้<br />

ผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม<br />

ปัจจุบันเกษตรกรในประเทศไทยมีแนวโน้มการใช้ปุ๋ยเคมีสูง<br />

ขึ้นทุกปี<br />

โดยในปี 2554 มีการใช้ปุ๋ยเคมีจำานวนถึง<br />

5.4 ล้านตัน การใช้<br />

ปุ๋ยเคมีเป็นจำานวนมากของเกษตรกรส่งผลย่างรุนแรงต่อสิ่งแวดล้อม<br />

โดย<br />

เฉพาะไนโตรเจนและฟอสเฟตซึ่งปนเปื้อนในน้ำาเป็นสาเหตุหลักที่ก่อให้<br />

เกิดการสูญพันธุ์ของสิ่งมีชีวิตในทะเล<br />

โดยที่น้ำาจะเป็นตัวกลางในการ<br />

ลำาเลียงไนโตรเจนและฟอสเฟตซึ่งเป็นสารอาหารหลัก<br />

สารอาหารเหล่า<br />

นี้จะบำารุงพืชพันธุ์ในสภาพแวดล้อมแบบน้ำา<br />

(aquatic) ทำาให้สิ่งมีชีวิตใน<br />

ทะเลสามารถเติบโตและอุดมสมบูรณ์ แต่ในทางกลับกัน สารทั้งสองตัวนี้ก็จะกระจายในสภาพแวดล้อม<br />

ทำาให้ปริมาณออกซิเจน<br />

มีจำากัดสำาหรับสิ่งมีชีวิต<br />

เมื่อเวลาผ่านไประยะหนึ่งสิ่งมีชีวิตเหล่านั้นจะสูญหายไป<br />

หรือที่เรียกว่าปรากฏการณ์<br />

EUTROPHICA-<br />

TION ซึ่งเป็นหนึ่งในปัญหามลพิษที่สำาคัญ<br />

โดยระบบนิเวศทางน้ำามีปริมาณสารอาหารไนโตรเจนมากเกินความจำาเป็น<br />

จนเป็น<br />

สาเหตุให้สัตว์ที่อยู่ในน้ำาตายเป็นจำานวนมาก<br />

เนื่องจากปริมาณออกซิเจนในน้ำาลดลงและไม่เพียงพอต่อการหายใจของปลาและ<br />

สิ่งมีชีวิตอื่นๆ<br />

ส่งผลให้ความหลากหลายทางชีวภาพลดลง และยังเป็นการเพิ่มปริมาณสาหร่ายสีเขียวแกมน้ำาเงิน<br />

ที่สร้างสารพิษ<br />

ในหนองน้ำาอีกด้วย<br />

อีกทั้งปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาวะอากาศโลกในปัจจุบัน<br />

อาจทำาให้การเพิ่มจำานวนของสาหร่ายมีพิษ<br />

รุนแรงขึ้นในอีกหลายปีข้างหน้า<br />

นอกจากนี้<br />

การใช้สารเคมีมากเกินไปยังส่งผลเสียต่อดิน โดยจะทำาลายสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กและ<br />

ทำาให้ดินเสื่อมสภาพ<br />

รวมทั้งอาจเกิดการพังทลายของดินขึ้นได้<br />

จากผลงานวิจัยของกลุ่มกรีนพีซเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

ที่ศึกษาถึงผลกระทบ<br />

หลังการใช้ปุ๋ยเคมีในภาคเกษตรของไทย<br />

ใน 3 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ กาญจนบุรี<br />

และสุพรรณบุรี พบว่ามีการปนเปื้อนของสารไนเตรทสะสมอยู่ในแหล่งน้ำา<br />

และน้ำา<br />

บาดาลในชุมชนในปริมาณที่เกินมาตรฐาน<br />

โดยแปลงปลูกหน่อไม้ฝรั่งในกาญจนบุรี<br />

เป็นกรณีศึกษาที่แสดงให้เห็นชัดเจนว่ามีปริมาณไนเตรทปนเปื้อนสูงมากในแหล่งน้ำา<br />

ชุมชน เนื่องจากมีการปลูกหน่อไม้ฝรั่งหมุนเวียนตลอดทั้งปี<br />

และพบว่ามีการใส่ปุ๋ยใน<br />

จำานวนมากกว่าปริมาณที่กำาหนดไว้<br />

(16 กิโลกรัม/ไร่/ปี ) ถึง 70 เท่า (200 กิโลกรัม/<br />

ไร่/เดือน หรือ 1,120 กิโลกรัม/ไร่/ปี) ทั้งนี้<br />

จากการศึกษาผลวิจัยในประเทศชิลี พบ<br />

ว่าการใส่ปุ๋ยในปริมาณมากนั้นไม่ได้ทำาให้ผลผลิตดี<br />

หรือเพิ่มมากขึ้นอย่างที่เกษตรกรเข้าใจ<br />

แต่กลับพบว่าการใส่ปุ๋ยในปริมาณ<br />

น้อยแค่ 8 กิโลกรัมต่อไร่ก็สามารถให้ผลผลิตที่ดีได้<br />

และยังไม่สร้างปัญหามลพิษทางน้ำาอีกด้วย<br />

ผลกระทบต่อสุขภาพอนามัย<br />

ผลการศึกษาวิจัยจากต่างประเทศยืนยันชัดเจนว่า เด็กทารกที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่ประกอบเกษตรกรรมในเชิงอุตสาห<br />

กรรมที่มีการปนเปื้อนไนเตรทในแหล่งน้ำาชุมชนสูง<br />

จะเป็นกลุ่มที่มีความเสี่ยงทางสุขภาพสูงสุด<br />

โดยพิษของไนเตรทจะทำาให้เด็ก<br />

เกิดโรค”Blue-baby syndrome” หรือ methemoglobinemia ซึ่งมักเกิดในเด็กทารกอายุต่ำากว่า<br />

4 เดือนที่ดื่มน้ำาที่มีไนเตรท<br />

เจือปนในปริมาณสูงเกินกว่า 11 มก./ล.ต่อครั้งเข้าไปในร่างกาย<br />

หรือได้รับปริมาณรวมของไนเตรทและไนไตรท์เกินกว่า 1 มก.<br />

ต่อวัน โดยอาการของบลู เบบี้<br />

ซินโดรมซ์ จะเป็นลักษณะที่แบคทีเรียในลำาไส้เปลี่ยนรูปของไนเตรทให้เป็นไนไตรท์<br />

และไนไตรท์<br />

นี้จะไปดูดซับและรวมตัวกับฮีโมโกลบิน<br />

เป็นเมทีโมโกลบิน ส่งผลให้การลำาเลียงออกซิเจนไปใช้ในร่างกายลดลง และอาจเสียชีวิต<br />

ได้ ส่วนในผู้ใหญ่หากดื่มน้ำาที่มีไนเตรทปนเปื้อนเป็นระยะเวลานาน<br />

จะมีความเสี่ยงต่อการเป็นโรคมะเร็งทางเดินอาหาร<br />

มะเร็ง<br />

ต่อมน้ำาเหลืองชนิด<br />

NHL มะเร็งกระเพาะปัสสาวะ มะเร็งรังไข่ ฯลฯ และเมื่อรับประทานอาหารที่ไนเตรทสะสมอยู่ในปริมาณสูง<br />

เช่น สัตว์น้ำา<br />

หรือผักที่ปลูก<br />

พิษที่ตกค้างจะทำาให้เกิดภาวะทางประสาท<br />

สูญเสียความทรงจำา เป็นอัมพาต หรือท้องร่วงได้ อาการ<br />

อาจจะเป็นแบบค่อยเป็นค่อยไป เช่น ท้องเสีย มีการสะสมแป้ง (starchy deposits) ปวดศีรษะ วิงเวียน หน้ามืด ช็อก หมด<br />

สติ หรือสมองได้รับอันตรายจากการขาดออกซิเจนและเสียชีวิต นอกจากนี้<br />

หญิงมีครรภ์ที่ได้รับไนเตรตจากอาหารและน้ำาดื่มสูง<br />

อาจทำาให้ทารกในครรภ์คลอดก่อนกำาหนด หรือแท้งบุตรได้


สาระน่ารู้<br />

ผลกระทบต่อเศรษฐกิจ<br />

ปุ๋ยเคมีที่เกษตรกรใช้ส่วนใหญ่ต้องนำาเข้าจากต่างประเทศ<br />

โดยในปี 2552 มีการนำาเข้าปุ๋ยเคมีจำานวน<br />

3.87 ล้านตัน คิด<br />

เป็นมูลค่าทั้งสิ้น<br />

42.41 ล้านบาท พฤติกรรมการใช้ปุ๋ยในปริมาณมากด้วยความเข้าใจที่ไม่ถูกต้อง<br />

เป็นสาเหตุสำาคัญที่ทำาให้ต้นทุน<br />

ทางการเกษตรสูงเกินความจำาเป็น ตัวอย่างเช่น การปลูกข้าวต้องใช้ต้นทุนปุ๋ยถึง<br />

20% ของต้นทุนรวม ในขณะที่การปลูกปาล์ม<br />

ต้องใช้ต้นทุนปุ๋ยเป็น<br />

2 เท่าของข้าว คือ 40%<br />

ทางเลือกในการใช้ปุ๋ย<br />

การใช้ปุ๋ยอินทรีย์หรือปุ๋ยหมักเป็นทางเลือกที่ให้ประโยชน์ต่อสิ่ง<br />

แวดล้อม โดยให้สารอาหารขนาดเล็กที่จำาเป็น<br />

รวมทั้งจุลินทรีย์ในปริมาณ<br />

ที่พอเพียง<br />

เพื่อให้สภาพแวดล้อมมีความสมบูรณ์<br />

การเติมปุ๋ยหมักลงไป<br />

ในดินจึงเป็นการปรับปรุงคุณภาพทางกายภาพของดิน ช่วยในเรื่องการ<br />

ระบายอากาศ และยังช่วยลดอัตราส่วนของก๊าซคาร์บอนและไนโตรเจน<br />

ทำาให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ คุณสมบัติปรับปรุงสภาพทางฟิสิกส์ของดิน<br />

เหล่านี้เป็นข้อเด่นที่ปุ๋ยเคมีไม่สามารถทำาได้<br />

อย่างไรก็ตาม ปุ๋ยอินทรีย์ก็ยังไม่เป็นที่นิยมนำามาใช้ทดแทนปุ๋ยเคมีทั้งหมด<br />

เนื่องจากมีข้อเสียเปรียบในเรื่องราคาต่อหน่วยน้ำาหนักของธาตุอาหาร<br />

และปริมาณธาตุอาหารต่อหน่วยน้ำาหนักต่ำากว่าปุ๋ยเคมี<br />

ประกอบกับการขนส่งและเก็บรักษาไม่สะดวกเท่าปุ๋ยเคมี<br />

นอกจากนี้<br />

การให้ผลทางด้านธาตุอาหารจะช้ากว่า ทางเลือกหนึ่งคือ<br />

การใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของปุ๋ยเคมี<br />

นอกจากนี้<br />

เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาการใช้ปุ๋ยในปริมาณที่มากเกินความจำาเป็น<br />

จนทำาให้ต้นทุนการเกษตรสูงและ<br />

เป็นต้นเหตุของปัญหาสิ่งแวดล้อม<br />

ในปัจจุบันจึงมีเทคโนโลยี “ปุ๋ยสั่งตัด”<br />

ภายใต้แนวคิด “ปุ๋ยตรงพืช<br />

ตรงดิน ลดต้นทุน” ซึ่ง<br />

แม้จะเป็นเรื่องค่อนข้างใหม่ของประเทศไทย<br />

แต่เกษตรกรสามารถนำาไปปฏิบัติได้อย่างเห็นผล เนื่องจากเป็นการใช้ปุ๋ยเฉพาะ<br />

ที่เฉพาะทางตามค่าวิเคราะห์ดิน<br />

โดยสามารถศึกษาจากคู่มือหรือโปรแกรม<br />

“ปุ๋ยสั่งตัด”<br />

ในเว็บไซต์ www.ssnm.agr.ku.ac.th<br />

หรือ www.banrainarao.com<br />

ที่มา:<br />

1. สารไนเตรทรุกแหล่งน้ำา<br />

ผลพวงเกษตรกรโหมใส่ปุ๋ย,<br />

หนังสือพิมพ์ไทยโพสต์ วันที่:<br />

30 ม.ค. 2551<br />

2. เผยโฉมเคมีเกษตร: การใช้ปุ๋ยและยาฆ่าแมลงในประเทศไทยและผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม,GREENPEACE,<br />

1 กุมภาพันธ์ 2551<br />

3. โครงการปุ๋ยลดต้นทุน<br />

: “จุดเปลี่ยน”<br />

การใช้ปุ๋ยเคมีในประเทศไทย,<br />

ประทีป วีระพัฒนนิรันดร์, มูลนิธิพลังนิเวศและชุมชน<br />

4. ตารางปริมาณและมูลค่าการนำาเข้าปุ๋ยเคมีสูตรที่สำาคัญ<br />

ปี 2547-2552, สำานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

จดหมายข่าว PAGE 9<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management


Fertilizer...beneficial or harmful<br />

Most farmers in Thailand lack of sufficient knowledge on soil and<br />

fertilizer. Even there is a lot of related knowledge developed to assist<br />

them, but the knowledge distribution was limited only among scholars<br />

and farmer leaders. One reason is the difficulty of knowledge transfer.<br />

The composition of soil, which is comprised of organic matter, minerals,<br />

water, and air, is so complicated and inconstant. Moreover, there<br />

are many types of fertilizers and several formulas, especially commercial<br />

chemical fertilizers which there are nearly 800 formulas in the market.<br />

Meanwhile soil fertility depends on various factors such as land use characteristic, behavior of fertilizers using,<br />

and natural disasters that is able to affect to soil conditions. Therefore, farmers should analyze soil before<br />

using fertilizers every two years.<br />

Type of fertilizer<br />

There are two main types of fertilizer: organic fertilizer and inorganic fertilizer, as following<br />

details.<br />

1. Organic fertilizers derived from a living plant or animal<br />

source which includes well-rotted animal and animal waste, for<br />

example manure, compost manure, green manure. Though humans<br />

have used organic fertilizer since ancient times, the initiated<br />

concept of natural nutrients efficiency improvement has<br />

stimulated the development of inorganic fertilizer or chemical<br />

fertilizer that has higher concentrations of nutrients than organic<br />

fertilizer. Consequently, some farmers have reduced using or<br />

even have not used organic fertilizers or organic materials anymore.<br />

Organic fertilizer was classified into different types as follows.<br />

• Manure derived from feces and urine of human and animals which are the rest of farm product.<br />

To use manure, we have to be careful because the new manure can harm plants, due to the<br />

saltiness and heat that occurred during the decomposition process. In addition, it may have<br />

problems of weeds, disease or insect contaminated in manure. Therefore, it should be well<br />

fermented and decomposed before using.<br />

• Compost derived from the fermentation of plant remains by regularly watering and turning over<br />

from time to time. Animal manure, chemical fertilizers and booster may be added as a mixture<br />

to increase the quality of compost fertilizer and shorten the fermentation period.<br />

The high standard quality compose should have the following characteristics:<br />

1. Fertilizer grade should be not less than 1:1:0.5 (nitrogen: phosphorus: potassium).<br />

2. Moisture and volatile matter should be not more than 35-40% by weight.<br />

PAGE 10ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

สาระน่ารู้


3. pH should be between 6.0 - 7.5.<br />

4. Well-composted fertilizer should not have contaminations.<br />

5. Well-composted fertilizer must not have heat remains.<br />

6. The amount of organic matter must be between 25-50%.<br />

7. ratio of carbon to nitrogen must be less than 20 to 1.<br />

สาระน่ารู้<br />

• Liquid Organic Fertilizer or liquid bio-fertilizer made by using sugar or molasses to extract nutrient<br />

from plant and animal cells. Anaerobic microorganisms are used for decomposing in<br />

fermentation process until the liquid turn to be brown color. Useful or beneficial microbial will<br />

control harmful microbial, keep nitrogen in the soil and produce plant hormones to stimulate the<br />

growth of root and create immunization. Therefore, the plants grow up strongly with good quality.<br />

Most of all, organic fertilizer is an alternative to reduce chemical using as well as provide<br />

safety for both farmers and consumers.<br />

• Green manure made by ploughing up and over the fiber and stubble of plants after harvesting.<br />

The debris will let to decompose, before planting, for 1-2 months until it releases the nutrients.<br />

Legumes are often used as green manure crops for their easy growth and nitrogen fixing abilities.<br />

For good benefit in producing green manure, chopping and ploughing the plants when they<br />

are half-blooming to get good quality and high weight per hectare. Other advantage of green<br />

manure is that raw materials can be available at the farm, so there is no transportation costs.<br />

2. Inorganic fertilizers came from non-organic sources which was regularly found in nature. They<br />

are also known as chemical fertilizer. Inorganic fertilizers were<br />

divided into 2 types according to the component of primary nutrients<br />

(N-P-K) as follows.<br />

• Single fertilizers are chemical fertilizers that contain only<br />

1 kind of primary nutrients, such as Ammonium Sulfate<br />

Fertilizer (21-0-0) contains Nitrogen (N) 21%, Potassium<br />

Nitrate Fertilizer (13-0-0) contains Nitrogen (N) 13%, Potassium<br />

Chloride Fertilizer (0-0-60) contains Potassium (K)<br />

60%, Potassium Sulfate Fertilizer (0-0-50) contains Potassium (K) 50%, etc.<br />

• Mixed Fertilizers or bulk blending fertilizers are from the mixing of single fertilizers to increase<br />

nutrients under appropriate N, P and K for each specific fertilizer. Mixed fertilizers are generally<br />

found in the markets due to its popularity. In addition, with today’s technological advances, the<br />

elements of mixed fertilizers are blended homogeneously. The fertilizer content is not compacted<br />

or agglomerated during long-term storage and very easy to use.<br />

Fertilizers Act of 1975 indicated that chemical fertilizer manufacturers had to specify the amount of<br />

fertilizer nutrients on the label which meant as follows.<br />

• The first number of fertilizer formula refers to the amount of total nitrogen (% N).<br />

• The second number of fertilizer formulation refers to the amount of useful phosphorus. (% P 2<br />

O 5)<br />

จดหมายข่าวPAGE<br />

11<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management


PAGE 12ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

สาระน่ารู้<br />

• The third number of fertilizer formula refers to the amount of water-soluble potassium. (% K 2 O)<br />

Fertilizers Utilization Impacts<br />

Impact on the environment<br />

The popularity of chemical fertilizers utilization among farmers<br />

in Thailand becomes higher every year. In 2011, the use of<br />

chemical fertilizers reached 5.4 million tons. It severely impacted<br />

on the environment, especially nitrogen and phosphate that<br />

contaminated to the water were the cause of marine animal<br />

extinction. Water is a media in transporting nitrogen and phosphate,<br />

which are the main nutrients of sea animals. Though<br />

these nutrients can nourish plants in aquatic environments and<br />

fertilize sea creatures, but if they were over distributed in the<br />

environment, oxygen will be reduced and cause the extinction<br />

of some living things. This phenomenon called a EUTROPHICATION which is one of the major pollution<br />

problems. Excessive nitrogen in aquatic ecosystems will reduce oxygen in water till fishes and other creatures<br />

can not respire and die. As a result, biodiversity will be changed and the amount of blue-green algae, which<br />

released toxins, will increase. Moreover, global climate change may promote the proliferation of toxic algae<br />

in the near future. Meanwhile, the over use of chemical fertilizer could adversely affect to soil by destroying<br />

micro-organisms, degrading soil quality or causing soil erosion. The study results of Greenpeace Southeast<br />

Asia on the effects after using of chemical fertilizers for agriculture in 3<br />

provinces of Thailand, Chiang Mai, Kanchanaburi and Suphanburi, found<br />

the contamination of excessive nitrate in water resource and ground water.<br />

Asparagus field in Kanchanaburi, where asparagus has been grown<br />

throughout the year in the community, is the case study of high level<br />

nitrate-contaminated water. The fertilizers were excessively used to 200<br />

kg / ha / year, or 1120 kg / ha / year. This meant that it was 70 times<br />

over the limit, which was 16 kg / ha / year. Furthermore, the study in<br />

Chile presented that using a large quantity of fertilizers did not help to increase the yield. In contrary, the crops<br />

tend to produce a good yield if appropriate fertilizers were applied (8 kilograms per hectare). Most of all, it<br />

will not cause water pollution problem.<br />

Impact on health<br />

The research study from abroad indicated that children who lived in the industrial agriculture area,<br />

where community’s water resources were highly contaminated by nitrate, were a group of highest health risks.<br />

Toxicity of nitrate caused “Blue-baby syndrome” or methemoglobinemia disease. This occurred in infants under<br />

4 months who drank nitrate-contaminated water in excess of 11 mg / l at a time or got the total amount<br />

of nitrate and nitrite in excess of 1mg per day. Blue baby syndrome is the symptom that intestinal bacteria<br />

changed the nitrate to nitrite. Nitrite will absorb and combine with hemoglobin to form methemoglobin that<br />

can result as the blood lacks the ability to carry sufficient oxygen to individual body cells, which finally may<br />

be a cause of death. Adults who drank nitrate-contaminated water may take a risk of gastrointestinal cancer,


สาระน่ารู้<br />

Non-Hodgkin’s Lymphoma (NHL), bladder cancer and ovarian cancer. When large amounts of nitrate contaminated<br />

in food, such as fish or vegetables, were consumed, it may cause neurological conditions, memory<br />

loss, paralysis, or diarrhea. Symptoms, such as diarrhea, starchy deposits, dizziness, headache, shock, loss<br />

of consciousness, brain damaged from lack of oxygen, may occur slowly and finally cause death. In addition,<br />

pregnant women who received nitrate from food and water may take risk of miscarriage or abortion.<br />

Impact on economic<br />

Nowadays, most farmers use imported fertilizers. In 2009 there were about 3.87 million tons of<br />

chemical fertilizers with a total value of 42.41 million baht were imported. The behavior of using fertilizers in<br />

large quantities by misunderstanding is the major reason of high cost agricultural products, for example the<br />

cost of fertilizer for planting rice is about 20% of the total production cost, while planting palm will cost about<br />

two times of planting rice (40%).<br />

The choice of fertilizers utilization<br />

Employing organic fertilizers or compost is an alternative for<br />

environmental benefit, since they will provide micro-nutrients<br />

and sufficient microbial to the environment and fertile the soil.<br />

Adding compost to the soil can adjust the quality of soil physical,<br />

provide good ventilation, reduce ratio of carbon and nitrogen<br />

and restore soil fertility. The potential in soil physical<br />

condition improvement is a special feature of organic fertilizers<br />

that chemical fertilizers could not do. However, organic fertilizers<br />

are not popular enough to replace chemical fertilizer because the disadvantages of price per unit weight<br />

of nutrients which is higher while the amount of nutrient per unit weight is lower than chemical fertilizer. In<br />

addition, transportation and storage of chemical fertilizers are easier. Furthermore, organic fertilizers release<br />

nutrients slower than chemical fertilizers. The best practice is to use organic fertilizers together with chemical<br />

fertilizers to increase the efficiency of chemical fertilizers.<br />

To solve the problem of excessive use of fertilizers in agriculture, which will not only increase the<br />

product cost but also impact to the environment, the new technology of “Tailor-made Fertilizer” under the<br />

concept “specific fertilizers for specific crops and soils with lower cost” has been recently applied. Although<br />

this technology is rather new for Thai farmers, but it gives a good results of practice since fertilizers will be<br />

specific employed basing on soil analysis data. You can learn more from www.ssnm.agr.ku.ac.th or www.<br />

banrainarao.com.<br />

Source:<br />

1. Nitrates into the water because farmer used much fertilizer, Thai Post newspaper Date: 30 Jan 2008.<br />

2. The use of fertilizers and pesticides in Thailand and impact on the environment, GREENPEACE, 1 September 2008.<br />

3. The reduction of fertilizer costs project: “Turning point”, the use of chemical fertilizers in Thailand, Pratheep Veerapathananiran<br />

Ecology and community foundations.<br />

4. The amount and value of imports of chemical fertilizer formulated table 2004 -2009, Office of Agricultural Economics.<br />

จดหมายข่าวPAGE<br />

13<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management


ศสอ. รายงานความก้าวหน้าโครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายจากโรงงาน<br />

วันที่<br />

14 กรกฎาคม 2554 ณ ห้องบุษราคัม 1 โรงแรมอมารี เอเทรียม ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย<br />

(ศสอ.)<br />

จัดประชุมรายงานความก้าวหน้าของโครงการเพิ่มประสิทธิภาพระบบรายงานชนิดและปริมาณสารมลพิษที่ระบายออกจากโรงงานและตรวจสอบและ<br />

วิเคราะห์การระบายมลพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม ซึ่ง<br />

ศสอ. ได้รับมอบหมายจากสำานักเทคโนโลยีน้ำาและสิ่งแวดล้อมโรงงาน<br />

กรมโรงงานอุตสาหกรรมให้<br />

ดำาเนินการ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเผยแพร่วิธีการใช้งานระบบคัดกรองข้อมูลการระบายมลพิษในฐานข้อมูลกรมโรงงานอุตสาหกรรม<br />

และการแสดงภาพการ<br />

วิเคราะห์ข้อมูลรายงานมลพิษของจังหวัดระยอง รวมถึงการแสดงรายชื่อโรงงานอุตสาหกรรมที่เข้าข่ายจะต้องรายงานชนิดและปริมาณมลพิษตามประกาศ<br />

กรมโรงงานอุตสาหกรรม มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น<br />

กว่า 100 คน<br />

<strong>EHWM</strong> publicized the advance of the project “Optimization of the reporting system on types and quantities<br />

of pollutants released from the factories”<br />

On July 14, 2011, at Busarakam Ballroom 2, Amari Atrium hotel, The Center of Excellence for Environmental and<br />

Hazardous Waste Management (<strong>EHWM</strong>) organized a meeting to report the progress of the project entitled “Optimization of the<br />

reporting system on types and quantities of pollutants released from the factories”, which was the collaboration between the<br />

<strong>EHWM</strong> and the Bureau of Water Technology and Industrial Pollution Management, Department of Industrial Works (DIW). The<br />

objectives of the meeting were to publicize the application of data filtering system of pollution release on DIW’s database, to<br />

analyze the model for pollution report of Rayong province, and to reveal the list of entrepreneurs, within the declaration of DIW,<br />

that have to report types and quantities of pollutants released from the factories. There were more than 100 participants joined<br />

to the meeting.<br />

PAGE 14ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

ปฏิทินกิจกรรม


ศสอ. และผู้บริหารองค์กรชั้นนำาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์<br />

“ถอดรหัสความยั่งยืน<br />

SMEs ด้วย CSR”<br />

ปฏิทินกิจกรรม<br />

เมื่อวันที่<br />

26 กรกฎาคม 2554 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย<br />

(ศสอ.) จัดการประชุมเสวนา เรื่อง<br />

“ถอดรหัส<br />

ความยั่งยืน<br />

SMEs ด้วย CSR” โดยมีผู้บริหารองค์กรชั้นนำาในประเทศไทยที่ประสบความสำาเร็จด้านธุรกิจจากการบริหารจัดการ<br />

CSR เชิงกลยุทธ์ อาทิ บมจ.<br />

ไมเนอร์ อินเตอร์เนชั่นแนล<br />

บริษัทอำาพลฟูดส์ โพรเซสซิ่ง<br />

จำากัด บริษัท วันเดอร์เวิร์ลโปรดัคส์ จำากัด และ บมจ.ธนาคารกสิกรไทย มาร่วมเสวนาและแลก<br />

เปลี่ยนประสบการณ์<br />

ณ โรงแรมบางกอกเซ็นเตอร์ กรุงเทพฯ ในโอกาสนี้<br />

ผศ.ดร.สมพร กมลศิริพิชัยพร ผู้อำานวยการ<br />

ศสอ. ได้กล่าวเปิดงาน และแนะนำา<br />

โครงการธุรกิจรวยเพื่อน<br />

ซึ่งเป็นโครงการส่งเสริมสุขภาวะองค์กรด้วยยุทธศาสตร์ส่งเสริมความรับผิดชอบต่อสังคมของภาคธุรกิจ<br />

(ชุดโครงการ CSR) ภาย<br />

ใต้การสนับสนุนของสำานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ (สสส.) พร้อมทั้งรายงานความก้าวหน้าของโครงการเพื่อให้วิสาหกิจขนาดกลางและ<br />

ขนาดย่อมได้เข้าใจและเรียนรู้เส้นทางในการนำา<br />

CSR เข้าสู่กระบวนการธุรกิจอย่างเป็นระบบ<br />

<strong>EHWM</strong> and leading businesses exchanged experiences on “SMEs sustainability decoding by CSR”<br />

July 26, 2011, the Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management (<strong>EHWM</strong>) invited execu-<br />

tives from leading businesses achieving commercial success under CSR strategic, such as Minor International Public Company<br />

Limited, Ampol Food Processing Co.,Ltd., Wonderworld Co.,Ltd., and Kasikorn Bank (PCL), to share their experiences in the<br />

meeting on “SMEs sustainability decoding by CSR” at Bangkok Centre hotel, Bangkok. On this occasion, Asst. Prof. Dr. Somporn<br />

Kamolsiripichaiporn, director of <strong>EHWM</strong>, gave an opening speech and introduced the “Dhurakij Ruay Puen Project” which<br />

is the CSR project for healthy organization supported by Thai Health Promotion Foundation (THPF). The project progress was<br />

reported to acknowledge the medium and small enterprises the way to integrate CSR into their businesses systematically.<br />

จดหมายข่าวPAGE<br />

15<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management


ศสอ.จัดประชุมเพื่อรับฟังความคิดเห็นความเป็นอันตรายและเกณฑ์การระบุของเสียอันตราย<br />

<strong>EHWM</strong> organized a meeting on the hazardous waste characteristic and identification<br />

PAGE 16ปีที่<br />

3 ฉบับที่<br />

7 ประจำเดือนกรกฎคม 2554<br />

Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management<br />

ปฏิทินกิจกรรม<br />

วันที่<br />

27 กรกฎาคม 2554 ศูนย์ความเป็นเลิศด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและของเสียอันตราย<br />

(ศสอ.) จัดประชุมรับฟังความคิดเห็นกลุ่มย่อยเรื่อง<br />

การพิจารณาความเป็นอันตรายและเกณฑ์การระบุของเสียอันตราย ซึ่งเป็นกิจกรรมภายใต้โครงการศึกษาหลักเกณฑ์<br />

เงื่อนไข<br />

และการกำาหนดอัตราจัดเก็บ<br />

ค่าธรรมเนียมการจัดการของของเสียอันตราย ณ ห้องประชุม 201 อาคารจามจุรี 3 <strong>จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย</strong> มีวัตถุประสงค์เพื่อนำาเสนอผลการวิเคราะห์<br />

ทบทวนเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการเคลื่อนย้ายของเสียอันตรายข้ามแดนตามอนุสัญญาบาเซลของประเทศไทยและต่างประเทศ<br />

รวมทั้งเพื่อรับฟังความคิดเห็น<br />

ต่อผลการศึกษาและการจำาแนกของเสียอันตราย เพื่อเป็นข้อมูลประกอบการจัดทำาร่างแนวทางการพิจารณาความเป็นอันตรายและเกณฑ์การระบุของเสีย<br />

อันตราย ทั้งนี้<br />

มีภาครัฐและผู้ประกอบการร่วมให้คำาแนะนำาและความคิดเห็นอย่างกว้างขวาง<br />

On July 27, 2011, the Center of Excellence for Environmental and Hazardous Waste Management (<strong>EHWM</strong>) organized<br />

a focus group meeting on the hazard characteristic and waste identification, which is an activity under the project entitled “Cri-<br />

teria and Fees Study for Hazardous Waste Management,” at room 201, Chamjuri 3 building, Chulalongkorn University. The<br />

meeting aimed to present the study results and to review documents related to the control of transboundary movements of<br />

hazardous wastes under the Basel Convention. In addition, to be a forum for public opinion on study results, especially on<br />

hazardous waste identification criteria. The participants, including representatives from government sectors and entrepreneurs,<br />

widely debated and provided recommendations. Finally, the conclusions of the meeting will be synthesized to draft the criteria<br />

for defining hazard characteristic and identifying hazardous waste.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!