25.06.2014 Views

ชนิดที่เปนเซลล

ชนิดที่เปนเซลล

ชนิดที่เปนเซลล

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

การจัดระเบียบของเซลลเพื่อทําหนาที่เฉพาะ<br />

(เนื้อเยื่อ เนื้อเยื่อ)<br />

วัตถุประสงค<br />

1. เพื่อใหนักศึกษาสามารถบรรยายลักษณะและหนาที่<br />

ของเนื้อเยื่อสัตวและเนื้อเยื่อพืชได<br />

2. จําแนกชนิดของเนื้อเยื่อสัตวและพืชได


เนื้อเยื่อสัตว<br />

เนื้อเยื่อบุผิว (epithelial tissue)<br />

เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน (connective tissue)<br />

เลือด (blood)<br />

เนื้อเยื่อกลามเนื้อ (muscular tissue)<br />

เนื้อเยื่อประสาท (nervous tissue)


1.เนื้อเยื่อบุผิว<br />

เปนกลุมเซลลที่ปกคุลมอยูผิวนอกของอวัยวะของรางกาย เปน<br />

เนื้อเยื่อบุอวัยวะที่เปนทอหรือตอมตางๆ เซลลจะตั้งอยูบนฐานรองรับ<br />

(basement membrane) ซึ่งประกอบดวยโปรตีน ดานบนของเยื่อบุผิว<br />

จะเปนอิสระไมติดตอกับเซลลอื่น (free surface)<br />

หนาที่<br />

1. ปองกัน (protection) เชน เซลลผิวหนัง<br />

2. ดูดซึม (absorption) เชน เยื่อบุผนังลําไส<br />

3. การหลั่งสารตางๆ (secretion) เชน ตอมน้ํานม<br />

4. การรับความรูสึก (sensation) เชน ปุมรับรส (taste bud)


การแบงชนิดเนื้อเยื่อบุผิว<br />

1. รูปรางของเซลล<br />

- squamous<br />

- cuboidal<br />

- columnar<br />

2. การเรียงตัวของเซลล<br />

- simple<br />

- stratified<br />

- pseudostratified<br />

- transitional


2. เนื้อเยื่อเกี่ยวพัน<br />

• มี intercellular substance มาก<br />

• ประกอบดวย fiber และ tissue fluid<br />

• เซลลหลายชนิด<br />

• มีหนาที่พยุง เชื่อมโยง ยึดเหนี่ยว ใหความแข็งแรง


เนื้อเยื่อเกี่ยวพันแบงออกเปนชนิดตางๆ ดังนี้<br />

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันในเอมบริโอ (embryonal<br />

connective tissue) ไดแก เนื้อเยื่อมีเซนไคม (mesenchyme cell)<br />

พบในเนื้อเยื่อใตผิวหนังของ embryo และเนื้อเยื่อมิวคัส (mucous<br />

connective tissue) พบใน umbilical cord ของ fetus<br />

เนื้อเยื่อเกี่ยวพันในตัวเต็มวัย (adult connective<br />

tissue) ไดแกเนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ (connective tissue proper)<br />

และเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษ (specialized connective tissue)


เนื้อเยื่อเกี่ยวพันสมบูรณ แบงเปน<br />

ก. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดโปรงบาง (loose or areolar<br />

connective tissue) ประกอบดวยเซลลและเสนใยหลายชนิดคือ<br />

ชนิดที่เปนเสนใย ไดแก เสนใยคอลลาเจน (collagenous<br />

fiber) เสนใยอิลาสติก (elastic fiber) และเสนใยรางแห (reticular<br />

fiber)


ชนิดที่เปนเซลล ไดแก เซลลสรางเสนใย (fibroblast) เซลล<br />

macrophage or histocyte ทําลายสิ่งแปลกปลอม เซลลมาสต<br />

(mast cell) สรางสาร heparin ซึ่งทําใหเลือดไมแข็งตัว และ<br />

histamine ซึ่งทําใหเสนเลือดฝอยขยายตัว และเซลลพลาสมา<br />

(plasma cell)<br />

ตําแหนงที่พบโดยมากอยูรวมกับชั้น adipose tissue ซึ่งรวม<br />

เรียกวา subcutaneous อยูใตผิวหนัง และอยูรอบๆ เสนเลือดและ<br />

เสนประสาท


ข. เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดแนนทึบ (dense connective<br />

tissue, collagenous tissue) พวกนี้จะมีเสนใยเรียงกันอยางมี<br />

ระเบียบ ประกอบดวยเสนใยและเซลลดังนี้<br />

ชนิดเสนใย ไดแก เสนใยคอลลาเจน (collagenous fiber)<br />

และเสนใยอิลาสติก (elastic fiber)


ชนิดของเซลล ไดแก fibroblast<br />

ตัวอยาง เชน white fibrous tissue หรือ tendon เปน<br />

collagenous fiber เชื่อมระหวางกลามเนื้อกับกระดูกหรือ กลามเนื้อ<br />

กับกลามเนื้อ yellow elastic tissue หรือ ligament เชื่อมระหวาง<br />

กระดูกกับกระดูก


เนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดพิเศษ<br />

(specialized connective tissue) แบงเปน<br />

ก. กระดูกออน (cartilage) แบงเปน 2 ชั้นใหญ คือ<br />

perichondrium และ cartilagenous plate<br />

Perichondrium คือเนื้อเยื่อเกี่ยวพันชนิดแนนทึบ<br />

Cartilagenous plate ประกอบดวยเซลลกระดูกออน<br />

(chondrocyte) ซึ่งอยูในชองวาง (lacuna) ที่ถูกลอมรอบดวยของเหลว<br />

(matrix) และรอบๆ lacuna จะมี capsule หุม


ข. กระดูก (bone) ประกอบดวย bone cell (osteocyte) อยู<br />

ภายใน lacuna หรือชองวาง จะเรียงตัวเปนวงรอบ ๆ Haversian<br />

system (เสนเลือด) นอกจากนี้ยังมีชองเล็กๆ ที่เชื่อมระหวาง lacuna<br />

กับ Haversian canal หรือ lacuna กับ lacuna เรียกวา canaliculi<br />

สวนชองใหญที่ติดตอระหวาง Haversian canal ของแตละ system<br />

เรียกวา Volkmann’s canal


3. เลือด<br />

มีลักษณะเปนของเหลว<br />

หนาที่ทั่วไป เกี่ยวของกับการลําเลียงสารตางๆ เชน กาซ<br />

สารอาหาร และของเสีย<br />

เลือดแบงออกเปน สวนที่เปนเซลล (blood corpuscles) และ<br />

สวนที่เปนของเหลวหรือ plasma


ก. เซลลเม็ดเลือด<br />

1. เม็ดเลือดแดง<br />

2. เม็ดเลือดขาว<br />

• แกรนูโลไซต (นิวโทรฟล, อีโอซิโนฟล, เบโซฟล)<br />

• อะแกรนูโลไซต (ลิมโพไซต, โมไนไซต)<br />

3. แผนเลือด<br />

ข. ของเหลวหรือพลาสมา


4. เนื้อเยื่อกลามเนื้อ<br />

• muscle fiber ที่มีนิวเคลียส<br />

• ในไซโทพลาสซึมมีไมโอไฟบริล (แอกทิน, ไมโอซิน)<br />

ชนิด 1. กลามเนื้อสเกเลทัล<br />

2. กลามเนื้อเรียบ<br />

3. กลามเนื้อหัวใจ


5. เนื้อเยื่อประสาท<br />

• ประกอบดวย 3 สวนคือ<br />

- เซลลประสาท (neuron)<br />

- เสนใยประสาท (nerve fiber)<br />

เซลลประสาท มี 3 ชนิด คือ<br />

1. unipolar neuron<br />

2. bipolar neuron<br />

3. multipolar neuron


Cell process<br />

คือ แอกซอน และ เดนไดรต<br />

แอกซอน - สงกระแสประสาทสูตัวเซลล<br />

- ขนาดสั้น<br />

- แตกแขนงใกลตัวเซลล<br />

เดนไดรต - นํากระแสประสาทออกนอกเซลล<br />

- ขนาดยาว<br />

- ไมแตกแขนง


Nerve fiber<br />

• Myelinated nerve fiber<br />

- ตรงกลางคือแอกซอน<br />

- มีเยื่อหุมไมอีลิน (สารไขมัน)<br />

- เยื่อหุม นิวโรเลมมา (Schwann cell)<br />

• Non-myelinated nerve fiber<br />

- ตรงกลางคือแอกซอน<br />

- ไมมีเยื่อหุมไมอีลิน


5. เนื้อเยื่อพืช<br />

เนื้อเยื่อพืชจําแนกโดยอาศัยหนาที่ แบงเปน<br />

1. เนื้อเยื่อเจริญ (meristematic tissue)<br />

2. เนื้อเยื่อผิว (surface tissue)<br />

3. เนื้อเยื่อที่ใหความแข็งแรง (mechanical tissue)<br />

4. เนื้อเยื่อลําเลียง (vascular tissue)<br />

5. เนื้อเยื่อพื้นฐาน (fundamental tissue)


1. เนื้อเยื่อเจริญ<br />

ก. เนื้อเยื่อเจริญสวนปลายยอด/ราก (shoot/root apical<br />

meristem)<br />

ข. เนื้อเยื่อเจริญดานขาง (lateral meristem)<br />

- วาสคิวลารแคมเมียม (vascular cambium)<br />

- คอรกแคมเมียม (cork cambium)<br />

ค. เนื้อเยื่อเจริญระหวางปลอง (intercalary meristem)


2. เนื้อเยื่อผิว<br />

ประกอบดวย<br />

ก. เนื้อเยื่อเอพิเดอรมิส (epidermis)<br />

- epidermal cell<br />

- hair, gland<br />

- guard cell, stomata<br />

ข. เนื้อเยื่อเพอริเดิรม (periderm)


3. เนื้อเยื่อที่ใหความแข็งแรง<br />

ก. คอลเลนไคมา (collenchyma)<br />

- พบใตเอพิเดอรมิส<br />

- เซลลมีชีวิต ผนังหนาไมเทากัน<br />

ข. สเกลอเรนไคมา (sclerenchyma)<br />

- เซลลตาย ผนังชั้นที่สอง<br />

- ไฟเบอร – เซลลยาว<br />

- สเกลอรีด - เซลลกลม


4. เนื้อเยื่อลําเลียง<br />

ก. ไซเลม (Xylem)<br />

- ลําเลียงน้ําและเกลือแร ประกอบดวย<br />

1. เซลลเวสเซล (vessel member)<br />

- เซลลตาย ผนังชั้นที่สอง<br />

- มี perforation plate<br />

2. เทรคีด (tracheid)<br />

- ไมมี perforation plate<br />

3. ไซเลมไฟเบอร<br />

4. ไซเลมพาเรนไคมา


ข. โฟลเอม (phloem)<br />

- ลําเลียงสารอาหาร ประกอบดวย<br />

1. ซีฟทิวบเมมเบอร (sieve tube member)<br />

2. เซลลคอมแพเนียน (companion cell)<br />

3. โฟลเอมไฟเบอร<br />

4. โฟลเอมพาเรนไคมา


5. เนื้อเยื่อพื้นฐาน<br />

ก. เนื้อเยื่อพาเรนไคมา (parenchyma)<br />

- เซลลมีชีวิต ผนังบาง<br />

- มีชองวางระหวางเซลล<br />

- สะสมอาหาร ลําเลียง สมานแผล แบงตัว สังเคราะหแสง<br />

ข. เนื้อเยื่อเอนโดเดอรมิส (endodermis)<br />

- มี Casparian strip<br />

- ควบคุมการผานเขาออกของน้ําและเกลือแร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!