31.10.2014 Views

TNSC Newsletter : November 2012 Vol.3

TNSC Newsletter : November 2012 Vol.3

TNSC Newsletter : November 2012 Vol.3

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

Volume 3 ❘ <strong>November</strong> <strong>2012</strong><br />

<strong>TNSC</strong> KNOWLEDGE CENTER<br />

สาส์นจากบรรณาธิการ<br />

เรียน สมาชิกสภาผู้ส่งออกฯ<br />

กลับมาพบกันอีกครั้งในฉบับที่ 3 ซึ่งในช่วงเวลาที่ผ่านมา<br />

คณะกรรมการฯ และผู้บริหาร ได้เข้าร่วมกิจกรรมและระดม<br />

ความคิดเห็นเพื่อเป็นข้อมูลสำหรับการกำหนดนโยบายและ<br />

การพัฒนาประเทศของภาครัฐ อาทิ การกำหนดแผนยุทธศาสตร์<br />

การพัฒนาโลจิสติกส์ของประเทศ เป็นต้น นอกจากนี้ สภา<br />

ผู้ส่งออกฯ ยังได้จัดเตรียมข้อมูลสำคัญและเป็นประโยชน์ต่อ<br />

การวางแผนและเตรียมการเพื่อปรับตัวทางธุรกิจของสมาชิก<br />

อาทิ ทิศทางของ Value Chain ในอนาคตที่ส่งผลต่อความ<br />

ต้องการและ Life Style ของผู้บริโภค รวมถึงการเพิ่มคอลัมน์<br />

Logistics Innovation เพื่อนำเสนอถึงกระแสและแนวทาง<br />

ปฏิบัติใหม่ๆ ทางธุรกิจ ซึ่งในฉบับนี้จะเริ่มต้นด้วยการนำเสนอ<br />

ขั้นตอนและแนวทางการลดความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากปัจจัยต่างๆ<br />

และแนวทางสำหรับการวางแผนสำรอง เพื่อสร้างความมั่นคง<br />

และความต่อเนื่องทางธุรกิจ เป็นต้น ทั้งนี้ สภาผู้ส่งออกฯ<br />

จะได้มีการนำเสนอองค์ความรู้ใหม่ให้สมาชิกได้ติดตามกัน<br />

อย่างต่อเนื่อง<br />

2<br />

ขอบคุณครับ<br />

บรรณาธิการ<br />

คณะผู้จัดทำา<br />

คุณคงฤทธิ์ จันทริก<br />

รองผู้อำนวยการบริหาร<br />

คุณพรทิพย์ ไทยภักดี<br />

ผู้จัดการฝ่าย Accounting & Administration<br />

คุณกฤชทัต วัฒนาสุนทรชัย<br />

ผู้จัดการฝ่าย CRM & Corporate Communication<br />

คุณอัญชลี เกิดเงิน<br />

ผู้จัดการฝ่าย Capacity Building<br />

คุณฐิติพร ชื่นธีระวงศ์<br />

ผู้จัดการฝ่าย Global Logistics and Trade Facilitation<br />

คุณปนัดดา อ่อนน้อม<br />

ผู้จัดการฝ่าย Export Promotion<br />

คุณพิลาศลักษณ์ พานิชเจริญ<br />

ผู้ช่วยผู้อำนวยการบริหาร<br />

➔<br />

เอกสารประกอบการสัมมนา<br />

“ GREEN LOGISTICS : EXPERIENCE FROM JAPAN<br />

AND IMPLEMENTATION OF THAI EXPORTERS ”<br />

จาก THAILAND INTERNATIONAL LOGISTICS<br />

FAIR <strong>2012</strong> (TILOG) 21 กันยายน 2555<br />

• The efforts and challenges for logistics in Japan by Mr.Hiroaki<br />

Machii, METI Japan<br />

• Green Logistics : Experience from Japan and Implementation of<br />

Thai Exporters by Mr.Techa Boonyachai, Vice Chairman <strong>TNSC</strong><br />

• The Role of Bioplastics in Green Logistics by Mr.Somsak<br />

Borrisuttanakul, Honorary Chairman TBIA and Managing Director<br />

TPBI<br />

ท่านสมาชิกสามารถดาวน์โหลดเอกสารฉบับเต็มได้ที่<br />

http://www.tnsc.com/html/content/view/2139/235/<br />

➔<br />

ความรู้ / คำาศัพท์เกี่ยวกับASEAN<br />

NSW : NATIONAL SINGLE WINDOW<br />

โครงการ National Single Window มีวัตถุประสงค์หลักในการพัฒนาระบบ<br />

การเชื่อมโยงข้อมูลแบบบรูณาการของประเทศ เพื่อให้บริการแบบเบ็ดเสร็จ<br />

จากการติดต่อเพียงจุดเดียว สอดคล้องกับการดาเนินการตามความต้องการ<br />

ตามความตกลงของอาเซียน สาหรับการพัฒนา ASEAN Single Window<br />

ASW : ASEAN SINGLE WINDOW<br />

ความตกลงว่าด้วยการอานวยความสะดวกด้านศุลกากรด้วยระบบ<br />

อิเล็กทรอนิกส์ ณ จุดเดียวของอาเซียน โดยจะมีการเชื่อมต่อการให้บริการ<br />

แบบเบ็ดเสร็จโดยใช้เอกสารและข้อมูลการค้า/ศุลกากรเดียวกันและตัดสิน<br />

ใจในการตรวจปล่อยสินค้าเพียงครั้งเดียว หากระบบ ASW สมบูรณ์จะช่วย<br />

เร่งการตรวจสอบทางศุลกากร ลดขั้นตอนและเวลาการทาธุรกรรม<br />

CCA : COMMON CONTROL AREA<br />

พื้นที่ปฏิบัติงานร่วมกันของเจ้าหน้าที่ของสองประเทศที่มีพรมแดนติดต่อ<br />

กันเพื่อประโยชน์ด้านการค้าชายแดน ช่วยอานวยความสะดวกให้แก่<br />

การขนส่งข้ามพรมแดน โดยเจ้าหน้าที่ไทยและลาวร่วมกันตรวจสอบ<br />

สินค้า ยานพาหนะบรรทุกสินค้า และผู้ควบคุมยานพาหนะนั้นที่จุดเดียว<br />

และเพียงครั้งเดียว (ในอนาคตอาจมีการขยายไปยังประเทศอื่นๆ)<br />

CCC : COORDINATING COMMITTEE ON<br />

CUSTOMS<br />

คณะกรรมการประสานงานด้านศุลกากรของอาเซียน จะมีการประชุมปีละ<br />

2 ครั้ง เพื่อกากับการดาเนินการของหน่วยงานด้านศุลกากรในส่วนที่เกี่ยวข้อง<br />

กับเขตการค้าเสรีอาเซียน<br />

ท่านสมาชิกสามารถอ่านคำาศัพท์อื่นๆ เพิ่มเติมได้ที่<br />

http://www.tnsc.com/html/images/stories/AEC/ASEAN_Vocabulary.pdf


➔<br />

สัมมนาหัวข้อ “ความเป็นเลิศในโซ่อุปทาน :<br />

จากภาวะผู้นำาสู่การปฏิบัติการที่เป็นเลิศ”<br />

ท่านสมาชิกสามารถอ่านรายละเอียดเพิ่มเติมได้จาก<br />

http://www.tnsc.com/html/content/view/2138/227/<br />

<strong>TNSC</strong> NEWS<br />

➔<br />

สภาผู้ส่งออกฯ แถลงข่าว<br />

“ดัชนีการส่งออกประจำาเดือนกันยายน 2555”<br />

เมื่อวันที่ 21 กันยายน 2555 สภาผู้ส่งออกฯ, CSCMP Thailand<br />

Roundtable และสถาบันโซ่วิทยาการ มหาวิทยาลัยศรีปทุม ได้จัด<br />

สัมมนาหัวข้อ “ความเป็นเลิศในโซ่อุปทาน : จากภาวะผู้นำสู่การปฏิบัติ<br />

การที่เป็นเลิศ” โดยได้รับเกียรติจาก คุณนพพร เทพสิทธา รองประธาน<br />

สภาผู้ส่งออกฯ และประธาน CSCMP Thailand Roundtable เป็นวิทยากร<br />

บรรยายเรื่อง “ภาวะผู้นำด้านซัพพลายเชนเพื่อรองรับการเปิด AEC”<br />

พร้อมทั้งคุณดนัย คาลัสซี รองกรรมการผู้จัดการอาวุโสด้านซัพพลาย<br />

เช่น บมจ.เจริญโภคภัณฑ์อาหาร, คุณพิเชษฐ์ กนกศิริ ผู้อำนวยการฝ่าย<br />

จัดซื้อและจัดส่ง บมจ.เอสวีไอ และคุณสุรัตน์ ประลองศิลป์ ที่ปรึกษาด้าน<br />

การบริหารจัดการซัพพลายเชน ร่วมเสวนาในหัวข้อ “จากแนวคิดสู่การ<br />

ปฏิบัติในโซ่อุปทานด้วย S&OP” โดยมี ผศ.ดร.ธนัญญา วสุศรี มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ร่วมเป็นผู้ดำเนินรายการ ณ ห้องสัมมนา 3<br />

ภายในงาน TILOG (Hall 102) ศูนย์การแสดงสินค้าไบเทค (บางนา)<br />

โดยมีผู้เข้าร่วมสัมมนาทั้งสิ้น 30 บริษัท 47 คน<br />

เมื่อวันที่ 30 ตุลาคม 2555 คุณไพบูลย์ พลสุวรรณา ประธานสภา<br />

ผู้ส่งออกฯ ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม รองประธานฯ คุณวัลลภ วิตนากร<br />

รองประธานฯ และ รศ.ดร.ไพฑูรย์ ไกรพรศักดิ์ คณะเศรษฐศาสตร์<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ร่วมแถลงข่าว “ดัชนีการส่งออก ประจำเดือน<br />

กันยายน 2555” ณ ห้องประชุม 1 สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย<br />

ถ.พระราม 4 โดยมีสื่อมวลชนเข้าร่วมทำข่าวอย่างคับคั่ง<br />

➔<br />

การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการ<br />

ขนส่งสินค้าและบริการของประเทศ (กบส.)<br />

ครั้งที่ 1 / 2555<br />

ตามที่สภาผู้ส่งออกฯ ได้มีการเร่งรัดให้มีการจัดประชุม คณะกรรมการ<br />

กบส. เพื่อผลักดันให้มีการพัฒนาโลจิสติกส์ของไทยและแก้ไขปัญหาที่<br />

เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทยนั้น เมื่อวันอังคารที่ 16 ตุลาคม 2555<br />

เวลา 13.30 - 18.00 น. ประธานสภาผู้ส่งออกฯ (คุณไพบูลย์ พลสุวรรณา)<br />

ได้เข้าร่วมประชุมคณะกรรมการ กบส. ครั้งที่ 1/2555 ณ ห้องประชุม 301<br />

อาคารบัญชาการ ทำเนียบรัฐบาล โดยมีรองนายกรัฐมนตรี (นายกิตติ<br />

รัตน์ ณ ระนอง) เป็นประธานการประชุม ซึ่งที่ประชุมได้มีการพิจารณา<br />

ประเด็นสำคัญสำหรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ของไทย อาทิ ผลการ<br />

ดำเนินงานตามแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์ และการ<br />

พิจารณา (ร่าง) กรอบทิศทางและยุทธศาสตร์การพัฒนาระบบโลจิสติกส์<br />

ของประเทศไทย พ.ศ. 2555 - 2559 เป็นต้น ทั้งนี้ สภาผู้ส่งออกฯ ได้<br />

นำเสนอให้มีการพัฒนามาตรฐานของภาคอุตสาหกรรมเพื่อรองรับ<br />

AEC และเปิดเสรีทางการค้า การพัฒนาและบังคับใช้มาตรฐานการให้<br />

บริการโลจิสติกส์สำหรับธุรกิจบริการขนส่งสินค้าระหว่างประเทศ<br />

(Freight Forwarder) การพัฒนาระบบ IT ภายในประเทศเพื่อรองรับ<br />

กระแสการเปลี่ยนแปลงของอุตสาหกรรมและพฤติกรรมผู้บริโภคที่<br />

เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว การสร้างบุคลากรด้านโลจิสติกส์และผู้<br />

ให้บริการที่มีลักษณะเป็น Economy of Skill การพัฒนาโลจิสติกส์<br />

เพื่อสิ่งแวดล้อมให้สอดรับกับความต้องการทางการค้าในอนาคต<br />

ตลอดจนการสร้างที่ปรึกษาซึ่งมีประสบการณ์ในภาคอุตสาหกรรม<br />

เพื่อถ่ายทอดการพัฒนาภายในองค์กรของผู้ประกอบการ SMEs ของไทย<br />

ให้มีศักยภาพและสามารถสนับสนุนการพัฒนาโซ่อุปทานของไทยให้มี<br />

➔<br />

ความเข้มแข็งและยั่งยืน ซึ่งได้รับการตอบรับให้มีการพัฒนาเป็นแผน<br />

งานโครงการเพื่อขออนุมัติงบประมาณในปี 2557 และจากการเสนอให้<br />

มีการทำงานแบบ “คิดนอกกรอบ” เนื่องจากโลจิสติกส์เป็นพลวัตที่มี<br />

การเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว และควรให้ภาคเอกชนเป็นหน่วยงานหลัก<br />

ในการพัฒนาโลจิสติกส์ของไทย รองนายกฯ จึงได้มอบหมายให้สภา<br />

ผู้ส่งออกฯ มีบทบาทมากขึ้นในการทำงานร่วมกับภาครัฐ<br />

การประชุมเตรียมการประชุมสภารัฐมนตรี<br />

ภายใต้กรอบสมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาค<br />

มหาสมุทรอินเดีย (IOR-ARC) ครั้งที่ 12 ณ<br />

ประเทศอินเดีย<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 19 ตุลาคม 2555 เวลา 10.00 - 12.00 น. ณ กระทรวง<br />

การต่างประเทศ รองประธานสภาผู้ส่งออก (รศ.ดร.พิฑูร ตรีวิจิตรเกษม)<br />

ได้เข้าร่วมการประชุมเตรียมการประชุมสภารัฐมนตรีภายใต้กรอบ<br />

สมาคมความร่วมมือแห่งภูมิภาคมหาสมุทรอินเดีย (IOR-ARC) ครั้งที่<br />

12 ณ ประเทศอินเดีย ซึ่งที่ประชุมได้มีการหารือถึงข้อเสนอของ<br />

ประเทศไทยในด้านต่างๆ อาทิ ปัญหาโจรสลัดและความมั่นคงทางทะเล<br />

ความร่วมมือด้านการค้า การลงทุน การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ใน<br />

ประเทศสมาชิก และความร่วมมือด้านการประมง ซึ่งสภาผู้ส่งออกฯ<br />

เห็นด้วยกับแนวทางที่ให้ประเทศไทยอาศัยโอกาสจากเวทีการเจรจา<br />

ในการเข้าถึงแหล่งทรัพยากรทางทะเลสำหรับการประมง และได้ผลักดัน<br />

ให้มีการพิจารณาและยกระดับ “คุณภาพ” ของสินค้าที่ได้มีการซื้อขาย<br />

ระหว่างกันให้มีมาตรฐานสูงขึ้น<br />

Volume 3 ❘ <strong>November</strong> ❘ <strong>2012</strong><br />

<strong>TNSC</strong> MOVEMENT<br />

3


EXPORT CORNER<br />

นวัตกรรมทางการค้า และบทบาทของกระทรวงด้านเศรษฐกิจ<br />

“นโยบายค่าแรง 300 บาททั่วประเทศใน ปี 2556 ส่งผลให้ประเทศไทย<br />

สูญเสียขีดความสามารถในการแข่งขันด้านแรงงานอย่างสมบูรณ์<br />

และตอกย้ำอย่างชัดเจนว่าประเทศไทยได้ติดกับดักเช่นเดียวกับ<br />

ประเทศกำลังพัฒนาจำนวนมากที่ล้วนพึ่งพาแรงงานราคาถูกสำหรับ<br />

เป็นขีดความสามารถในการแข่งขัน จนละเลยการพัฒนาด้านเทคโนโลยี”<br />

เป็นคำกล่าวของ ดร.ศุภชัย พานิชภักดิ์ เลขาธิการที่ประชุมสหประชาชาติ<br />

ว่าด้วยการค้าและการพัฒนา หรือ UNCTAD ในงานเปิดตัว “รายงาน<br />

เทคโนโลยีและนวัตกรรม <strong>2012</strong>” ซึ่งจัดโดยสถาบันระหว่างประเทศ<br />

เพื่อการค้าและการพัฒนา (ITD) โดยเนื้อหาในรายงานได้ชี้ให้เห็นถึง<br />

การเติบโตของการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีระหว่างประเทศกำลังพัฒนา<br />

ที่มีสัดส่วนสูงถึง 55% เมื่อเทียบกับการค้าโลกในปี 2010 เทียบกับ<br />

สัดส่วนเพียง 41% ในปี 1995 แสดงให้เห็นถึงทิศทางการรวมกลุ่ม<br />

และการค้าระหว่างประเทศกำลังพัฒนา ซึ่งในปัจจุบันมีบทบาท<br />

ในการลงทุนมากกว่าประเทศพัฒนาแล้ว<br />

อย่างไรก็ตาม เลขาธิการ UNCTAD ได้เน้นย้ำว่าการลงทุนและ<br />

พัฒนาในเทคโนโลยีก็ต้องมีการคัดเลือกและให้ความสำคัญ<br />

กับเทคโนโลยีที่มีความเหมาะสมและจำเป็นกับแต่ละประเทศ สำหรับ<br />

ประเทศไทยก็คือ เทคโนโลยีที่สามารถตอบสนองความต้องการ<br />

ทางการค้าและเศรษฐกิจ ซึ่งในปัจจุบันยังมีอยู่น้อย การดำเนินการ<br />

หลายด้านที่เป็นองค์ประกอบก็ยังไม่เอื้อต่อการพัฒนาเทคโนโลยี<br />

อาทิ การพัฒนาด้านทรัพย์สินทางปัญญาของไทยในปัจจุบันได้ให้<br />

ความสำคัญกับการ “ปกป้อง” สิ่งที่มีอยู่เพียงน้อยนิด แต่ยังไม่ได้<br />

ทุ่มเทให้มีการ “สร้าง” ทรัพย์สินทางปัญญาที่สามารถใช้ประโยชน์<br />

ทางการค้าให้มากขึ้น เป็นต้น<br />

ทั้งนี้ การถ่ายทอดเทคโนโลยีจากประเทศพัฒนาแล้วในปัจจุบัน<br />

มักจะเป็นการถ่ายทอดให้กับสมาชิกในซัพพลายเชนของตนเอง<br />

เป็นหลัก แต่ขีดจำกัดสำคัญคือประเทศผู้รับมีความพร้อมหรือไม่<br />

เพราะการถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างประเทศที่มีพื้นฐานแตกต่างกัน<br />

มาก นอกจากจะไม่ก่อให้เกิดประโยชน์กับผู้รับ หลายครั้งยังทำให้เกิด<br />

การสูญเสียทรัพยากรโดยใช่เหตุ ประเทศผู้รับจึงจำเป็นต้องมีการพัฒนา<br />

พื้นฐานของตนเองให้มีความพร้อมเสียก่อน<br />

ความเห็นของเลขาธิการ UNCTAD ข้างต้น สอดคล้องกับแนวทางของ<br />

สภาผู้ส่งออกฯ ที่ต้องการให้มีการเปลี่ยนมุมมองเกี่ยวกับการดำเนิน<br />

งานของภาครัฐว่า “กระทรวงเศรษฐกิจ” ไม่ได้มีแค่เพียงกระทรวง<br />

การคลัง กระทรวงพาณิชย์ หรือกระทรวงอุตสาหกรรม เท่านั้น แต่<br />

การค้าและการลงทุนของไทยในปัจจุบันมีความเกี่ยวข้องกับหลาย<br />

กระทรวง อาทิ กระทรวงพลังงานกับบทบาทในการพัฒนาพลังงาน<br />

ทดแทนสำหรับภาคอุตสาหกรรม กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี<br />

กับบทบาทในการพัฒนานวัตกรรมเพื่อทดแทนต้นทุนแรงงานที่<br />

สูงขึ้น กระทรวงคมนาคมกับบทบาทในการเพิ่มประสิทธิภาพด้าน<br />

โลจิสติกส์ กระทรวงศึกษาธิการและกระทรวงแรงงานกับบทบาท<br />

ในการยกระดับศักยภาพแรงงานให้มี “Economies of Skills” และ<br />

สามารถปฏิบัติงานกับเทคโนโลยีจากประเทศที่พัฒนาแล้วได้เป็น<br />

อย่างดี สิ่งเหล่านี้คือตัวอย่างของนโยบายด้านเศรษฐกิจของ<br />

กระทรวงต่างๆ ซึ่งสภาผู้ส่งออกฯ จะมีการผลักดันให้เกิดการ<br />

เปลี่ยนแปลงแนวคิดการทำงานและให้มีการบูรณาการหน่วยงาน<br />

ภาครัฐเพื่อเสริมสร้างศักยภาพการส่งออกให้เกิดขึ้นในระยะยาว<br />

สภาผู้ส่งออกฯ : สภาผู้ส่งสินค้า<br />

ทางเรือแห่งประเทศไทย แถลงข่าว<br />

ดัชนีการส่งออก<br />

(Export Performance Index)<br />

ประจำาเดือน กันยายน 2555<br />

มูลค่าการส่งออกของไทยในเดือนกันยายน 2555 เท่ากับ 20,788.4<br />

ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 0.2% ในรูปเงินบาทมีมูลค่า 648,610.8<br />

ล้านบาท เพิ่มขึ้น 5.55% ในขณะที่มูลค่าการส่งออกในระยะ 9 เดือน<br />

แรกของปี มีมูลค่า 172,347.7 ล้านเหรียญสหรัฐฯ ลดลง 1.13%<br />

ในรูปเงินบาทมีมูลค่า 5,346,811 ล้านบาท เพิ่มขึ้น 2.17% โดย<br />

มูลค่าการส่งออกที่ยังลดลงดังกล่าวเกิดจากผลของการชะลอตัว<br />

ของเศรษฐกิจ ในประเทศคู่ค้าหลักของไทย<br />

อย่างไรก็ตาม การเติบโตของการส่งออกมีความแตกต่างกันในแต่ละ<br />

อุตสาหกรรม โดยอุตสาหกรรมที่มีการเติบโตประกอบไปด้วยกระดาษ<br />

และสิ่งพิมพ์ เครื่องใช้ไฟฟ้า อัญมณีและเครื่องประดับเคมีภัณฑ์<br />

ปิโตรเลียม รถยนต์ เหล็ก ของใช้สัตว์เลี้ยง มันสำปะหลัง เครื่องครัว<br />

น้ำตาล อุปกรณ์และเครื่องมือแพทย์ ไก่ อาหารทะเล พลาสติก ซึ่ง<br />

ต้องส่งเสริมโดยการพัฒนาตลาดใหม่เพิ่มเติม ในขณะที่อุตสาหกรรม<br />

ที่มีการเติบโตติดลบ อาทิ รองเท้า ผักและผลไม้ เครื่องจักร กุ้ง<br />

แช่เย็นแช่แข็ง สิ่งทอ อาหารสำเร็จรูป วัสดุก่อสร้าง เฟอร์นิเจอร์<br />

ยางและผลิตภัณฑ์ยาง และข้าว จำเป็นต้องหาทางแก้ไขปัญหาและ<br />

อุปสรรค เพื่อให้สามารถแข่งขันและรักษาตลาดที่มีอยู่ในปัจจุบัน<br />

ได้ต่อไป<br />

ทั้งนี้ จากการประเมินสถานการณ์ล่าสุดของโครงการดัชนีการ<br />

ส่งออก พบว่าภาพรวมการส่งออกทั้งปี 2555 อาจเติบโตอยู่<br />

ระหว่าง 4.6 - 5.9% ในขณะที่ทิศทางการส่งออกในไตรมาสแรก<br />

ของปี 2556 น่าจะเติบโตอยู่ที่ 5.5% และทั้งปี 2556 น่าจะเติบโต<br />

เป็นบวกเมื่อเทียบกับปี 2555<br />

4


EXPORT CORNER<br />

ตลาดส่งออก 10 อันดับแรกของไทย ระหว่างเดือนมกราคม - กันยายน 2555<br />

ทุกสินค้า<br />

มูลค่า : ล้านบาท อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%)<br />

อันดับที่ ประเทศ<br />

2552<br />

2553<br />

2554<br />

2554<br />

(ม.ค. - ก.ย.)<br />

2555<br />

(ม.ค. - ก.ย.)<br />

2552<br />

2553<br />

2554<br />

2554<br />

(ม.ค.-ก.ย.)<br />

2555<br />

(ม.ค.-ก.ย.)<br />

2552<br />

2553<br />

2554<br />

2554<br />

(ม.ค.)<br />

2555<br />

(ม.ค.)<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

10<br />

จีน<br />

ญี่ปุ่น<br />

สหรัฐอเมริกา<br />

มาเลเซีย<br />

ฮ่องกง<br />

อินโดนีเซีย<br />

สิงคโปร์<br />

ออสเตรเลีย<br />

เวียดนาม<br />

อินเดีย<br />

548,760.05<br />

535,880.34<br />

567,698.96<br />

323,220.23<br />

260,837.29<br />

158,917.86<br />

257,967.52<br />

291,955.77<br />

159,224.41<br />

107,821.35<br />

678,631.83<br />

641,910.14<br />

638,820.07<br />

354,820.58<br />

334,598.81<br />

232,856.21<br />

284,693.62<br />

297,098.72<br />

184,463.07<br />

129,270.02<br />

791,212.19<br />

719,382.47<br />

656,591.57<br />

360,080.42<br />

373,614.58<br />

303,877.17<br />

343,976.47<br />

241,047.24<br />

212,703.66<br />

143,141.14<br />

603,051.94<br />

557,269.35<br />

506,251.88<br />

294,640.27<br />

290,563.94<br />

233,797.74<br />

270,288.41<br />

192,766.85<br />

165,164.58<br />

116,907.01<br />

624,189.86<br />

549,202.53<br />

532,256.59<br />

301,082.99<br />

284,398.00<br />

260,576.42<br />

254,517.43<br />

222,264.00<br />

157,899.86<br />

139,095.67<br />

3.09<br />

-19.00<br />

-14.98<br />

-2.28<br />

-19.81<br />

-23.60<br />

-22.40<br />

10.93<br />

-3.56<br />

63.40<br />

23.67<br />

19.79<br />

12.53<br />

9.78<br />

28.28<br />

46.53<br />

10.36<br />

1.76<br />

15.85<br />

19.89<br />

16.59<br />

12.07<br />

2.78<br />

1.48<br />

11.66<br />

30.50<br />

20.82<br />

-18.87<br />

15.31<br />

10.73<br />

20.91<br />

17.19<br />

5.66<br />

13.89<br />

14.08<br />

31.70<br />

25.35<br />

-16.85<br />

24.54<br />

22.43<br />

3.51<br />

-1.45<br />

5.14<br />

2.19<br />

-2.12<br />

11.45<br />

-5.83<br />

15.30<br />

-4.40<br />

18.98<br />

10.56<br />

10.32<br />

10.93<br />

6.22<br />

5.02<br />

3.06<br />

4.97<br />

5.62<br />

3.07<br />

2.08<br />

11.10<br />

10.50<br />

10.45<br />

5.80<br />

5.47<br />

3.81<br />

4.66<br />

4.86<br />

3.02<br />

2.11<br />

11.80<br />

10.72<br />

9.79<br />

5.37<br />

5.57<br />

4.53<br />

5.13<br />

3.59<br />

3.17<br />

2.13<br />

11.52<br />

10.65<br />

9.67<br />

5.63<br />

5.55<br />

4.47<br />

5.16<br />

3.68<br />

3.16<br />

2.23<br />

11.67<br />

10.27<br />

9.95<br />

5.63<br />

5.32<br />

4.87<br />

4.76<br />

4.16<br />

2.95<br />

2.60<br />

รวม 10 รายการ<br />

รวมอื่นๆ<br />

รวมทุกประเทศ<br />

3,212,283.8<br />

1,982,312.9<br />

5,194,596.73<br />

3,777,163.1<br />

2,336,172.5<br />

6,113,335.52<br />

4,145,626.9<br />

2,562,362.5<br />

6,707,989.46<br />

3,230,702.0<br />

2,002,766.4<br />

5,233,468.37<br />

3,325,483.3<br />

2,021,327.7<br />

5,346,811.05<br />

-9.57<br />

-13.77<br />

-11.22<br />

17.58<br />

17.85<br />

17.69<br />

9.76<br />

9.68<br />

9.73<br />

14.57<br />

14.19<br />

14.42<br />

2.93<br />

0.93<br />

2.17<br />

61.84<br />

38.16<br />

100.00<br />

61.79<br />

38.21<br />

100.00<br />

61.80<br />

38.20<br />

100.00<br />

61.73<br />

38.27<br />

100.00<br />

62.20<br />

37.80<br />

100.00<br />

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร<br />

สินค้าส่งออก 10 อันดับแรกของไทย ระหว่างเดือนมกราคม - กันยายน 2555<br />

อันดับ<br />

ที่<br />

1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

7<br />

8<br />

9<br />

10<br />

รวม 10 รายการ<br />

รวมอื่นๆ<br />

รวมทั้งสิ้น<br />

ชื่อสินค้า<br />

รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ<br />

เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ<br />

อัญมณีและเครื่องประดับ<br />

น้ำมันสำเร็จรูป<br />

ยางพารา<br />

เม็ดพลาสติก<br />

เคมีภัณฑ์<br />

ผลิตภัณฑ์ยาง<br />

แผงวงจรไฟฟ้า<br />

เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่อง<br />

2552<br />

378,348.9<br />

545,468.9<br />

333,700.5<br />

214,175.9<br />

146,188.2<br />

151,978.8<br />

152,208.9<br />

152,799.5<br />

219,508.7<br />

113,336.6<br />

2,407,714.9<br />

2,786,881.8<br />

5,194,596.7<br />

สินค้าส่งออก 10 อันดับแรกของไทยรายประเทศ<br />

มูลค่า : ล้านบาท อัตราขยายตัว (%) สัดส่วน (%)<br />

2553<br />

561,108.8<br />

596,677.7<br />

366,818.3<br />

245,996.2<br />

249,262.5<br />

200,326.0<br />

182,464.7<br />

203,428.1<br />

255,322.1<br />

154,486.5<br />

3,015,891.0<br />

3,097,444.6<br />

6,113,335.5<br />

2554<br />

511,503.6<br />

513,710.1<br />

371,239.3<br />

303,794.8<br />

382,903.5<br />

265,381.6<br />

250,053.8<br />

253,054.9<br />

238,173.4<br />

184,492.1<br />

3,274,307.0<br />

3,433,682.5<br />

6,707,989.5<br />

2554<br />

(ม.ค. - ก.ย.)<br />

422,076.9<br />

426,423.2<br />

297,207.4<br />

231,163.4<br />

292,001.1<br />

203,122.8<br />

186,454.4<br />

187,785.0<br />

196,306.0<br />

131,277.9<br />

2555<br />

(ม.ค. - ก.ย.)<br />

512,957.3<br />

450,899.9<br />

340,389.1<br />

301,702.1<br />

207,145.4<br />

198,760.3<br />

197,849.8<br />

194,920.1<br />

153,346.6<br />

143,745.2<br />

2552<br />

-26.27<br />

-9.89<br />

21.75<br />

-27.59<br />

-34.63<br />

-16.11<br />

7.42<br />

1.94<br />

-7.76<br />

-18.68<br />

2,573,818.0 2,701,715.8 -12.83<br />

2,659,650.4 2,645,095.2 -9.79<br />

5,233,468.4 5,346,811.1 -11.22<br />

2553<br />

48.30<br />

9.39<br />

9.92<br />

14.86<br />

70.51<br />

31.81<br />

19.88<br />

33.13<br />

16.32<br />

36.31<br />

25.26<br />

11.14<br />

17.69<br />

2554<br />

-8.84<br />

-13.90<br />

1.21<br />

23.50<br />

53.61<br />

32.47<br />

37.04<br />

24.40<br />

-6.72<br />

19.42<br />

8.57<br />

10.86<br />

9.73<br />

2554<br />

(ม.ค. - ก.ย.)<br />

-2.06<br />

-5.76<br />

12.57<br />

28.37<br />

63.56<br />

38.24<br />

39.81<br />

24.54<br />

0.76<br />

13.33<br />

14.50<br />

14.34<br />

14.42<br />

2555<br />

(ม.ค.-ก.ย.)<br />

21.53<br />

5.74<br />

14.53<br />

30.51<br />

-29.06<br />

-2.15<br />

6.11<br />

3.80<br />

-21.88<br />

9.50<br />

4.97<br />

-0.55<br />

2.17<br />

ที่มา : ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำานักงานปลัดกระทรวงพาณิชย์ โดยความร่วมมือจากกรมศุลกากร<br />

โลก<br />

2552<br />

7.28<br />

10.50<br />

6.42<br />

4.12<br />

2.81<br />

2.93<br />

2.93<br />

2.94<br />

4.23<br />

2.18<br />

46.35<br />

53.65<br />

100.00<br />

2553<br />

9.18<br />

9.76<br />

6.00<br />

4.02<br />

4.08<br />

3.28<br />

2.98<br />

3.33<br />

4.18<br />

2.53<br />

49.33<br />

50.67<br />

100.00<br />

2554<br />

7.63<br />

7.66<br />

5.53<br />

4.53<br />

5.71<br />

3.96<br />

3.73<br />

3.77<br />

3.55<br />

2.75<br />

48.81<br />

51.19<br />

100.00<br />

2554<br />

(ม.ค.)<br />

8.06<br />

8.15<br />

5.68<br />

4.42<br />

5.58<br />

3.88<br />

3.56<br />

3.59<br />

3.75<br />

2.51<br />

49.18<br />

50.82<br />

2555<br />

(ม.ค.)<br />

9.59<br />

8.43<br />

6.37<br />

5.64<br />

3.87<br />

3.72<br />

3.70<br />

3.65<br />

2.87<br />

2.69<br />

50.53<br />

49.47<br />

100.00 100.00<br />

Volume 3 ❘ <strong>November</strong> ❘ <strong>2012</strong><br />

5


LOGISTICS AND SUPPLY CHAIN INNOVATION<br />

➔<br />

FUTURE VALUE CHAIN 2020<br />

สภาผู้ส่งออกฯ ได้เข้าร่วมการประชุม CSCMP Annual Global<br />

Conference <strong>2012</strong> ณ เมือง Atlanta รัฐจอร์เจีย ประเทศสหรัฐอเมริกา<br />

ระหว่างวันที่ 30 กันยายน - 3 ตุลาคม <strong>2012</strong> เพื่อหารือและแลกเปลี่ยน<br />

ความคิดเห็นแนวทางการพัฒนากิจกรรมโลจิสติกส์และซัพพลายเชน<br />

ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ซึ่งหัวข้อที่สำคัญคือ Future<br />

Value Chain 2020 ซึ่งวิทยากรคือ Mr.John Phillips ตำแหน่ง<br />

Senior Vice President สายงาน Customer Supply Chain and<br />

Logistics จาก บริษัท PepsiCo Inc. ได้นำเสนอข้อมูลผลการศึกษา<br />

เรื่อง Building Strategies for the New Decade ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของโครงการ 2020 Future Value Chain โดยมีเนื้อหาสรุปคุณลักษณะ<br />

ของตลาดในอนาคตและทิศทางการปรับตัวทางธุรกิจที่สำคัญ<br />

ดังต่อไปนี้<br />

• Increased Urbanization หรือการขยายตัวของเมืองใหญ่ ซึ่ง<br />

คาดการณ์ว่าภายในปี 2015 จะมีเมืองขนาดใหญ่ประชากร<br />

มากกว่า 8 ล้านคนเพิ่มขึ้นอีกกว่าเท่าตัว ขณะที่ในปี 2020<br />

จะมีเมืองขนาด Mega City ที่มีประชากรขนาด 20 ล้านคน<br />

เกิดขึ้นมากกว่า 8 แห่ง และเมื่อถึงปี 2050 จะพบว่าประชากร<br />

ส่วนใหญ่ทั่วโลกจะอยู่ในเขตเมืองมากกว่า 70% ซึ่งทำให้<br />

ร้านค้าปลีกมีลักษณะเป็น Small - Footprint Store หรือร้านค้า<br />

ที่มีขนาดเล็ก และต้นทุนค่าสถานที่ทำให้ส่งผลต่อต้นทุน<br />

การจัดเก็บสินค้าคงคลังซึ่งกลายเป็นแรงกระตุ้นให้ต้องลด<br />

Non - Productive Inventory ให้มีน้อยที่สุด<br />

• Aging Population เป็นกระแสร่วมของหลายประเทศทั่วโลก<br />

ซึ่งทำให้เกิดการเปลี่ยนแปลงในหลายด้าน อาทิ การพัฒนา<br />

สินค้า การเปลี่ยนแปลงขนาดตัวอักษรบนฉลาก เป็นต้น และ<br />

การทำให้เกิดการขาดแคลนแรงงานมากขึ้น<br />

• Middle Class is Rapidly Expanding ส่งผลให้รายได้ต่อหัว<br />

โดยเฉลี่ยมีอัตราสูงขึ้น และกลุ่มชนชั้นกลางยังเป็นผู้ที่มีความ<br />

ต้องการสินค้าคุณภาพสูง ทำให้เป็นแหล่งรายได้สำคัญสำหรับ<br />

ภาคการผลิตและธุรกิจค้าปลีก<br />

• Increased Impact of Consumer Technology Adoption อาทิ<br />

การสั่งซื้อสินค้าผ่าน Mobile Internet จะกลายเป็นพฤติกรรม<br />

ผู้บริโภคที่สำคัญ ซึ่งส่งผลให้ผู้ประกอบการจำเป็นต้องพัฒนา<br />

ช่องทางการจัดจำหน่ายผ่าน Internet / Mobile Application<br />

มากขึ้น ซึ่งอาจเป็นการนำเสนอสินค้าผ่าน Social Network<br />

อาทิ Facebook, Twitter เป็นต้น<br />

• Increased Consumer Service Demands อันเป็นผลมาจาก<br />

การเปลี่ยนแปลงในเรื่องของเทคโนโลยีที่รวดเร็วมากขึ้น ทำให้<br />

ผู้บริโภคมีการรอคอยที่ลดลง และทำให้ผู้ประกอบการต้อง<br />

พยายามคิดค้นรูปแบบบริการใหม่ที่มีประสิทธิภาพมากขึ้น<br />

อยู่เสมอ<br />

• Increased Importance of Health and Well-being เนื่องจาก<br />

ผู้ซื้อมีแนวโน้มต้องการสินค้าเพื่อสุขภาพและมีการดูแลสุขภาพ<br />

ของตนเองมากขึ้น อาทิ ผู้บริโภคประเภท Lifestyles of Health<br />

and Sustainability (LOHAS) ในสหรัฐฯ ในปัจจุบันมีจำนวน<br />

กว่า 41 ล้านคน และคาดว่ายอดขายสำหรับลูกค้ากลุ่มนี้จะมี<br />

การเพิ่มจำนวนเป็น 4 เท่า ภายใน 5 ปี ข้างหน้า<br />

• Growing Consumer Concern About Sustainability ส่งผลให้<br />

ผู้ประกอบการจำเป็นต้องทำ Carbon Footprint Label ขณะที่<br />

ภาครัฐของหลายประเทศจะต้องวางบทบาทเป็นผู้นำ และเร่งออก<br />

กฎหมายเพื่อควบคุมหรือผลักดันให้ภาคเอกชนมีการพัฒนา<br />

ในด้านนี้มากขึ้น<br />

• Shifting of Economic Power จากประเทศสหรัฐฯ สหภาพ<br />

ยุโรป และญี่ปุ่น ไปสู่ประเทศจีน บราซิล และอินเดีย ซึ่งจะมี<br />

การเติบโตค่อนข้างเร็ว และกลายเป็นมหาอำนาจทางเศรษฐกิจ<br />

กลุ่มใหม่ของโลก<br />

• Scarcity of Natural Resource ซึ่งเป็นผลมาจากเพิ่มขึ้นของ<br />

ประชากร Demand ที่มีมากกว่า Supply ซึ่งมีการพยากรณ์ว่า<br />

ในปี 2030 จะมีประชากรประมาณ 8,300 ล้านคน ทำให้มี<br />

ความต้องการอาหารเพิ่มมากขึ้น 50% ความต้องการน้ำสะอาด<br />

เพิ่มมากขึ้น 30% ความต้องการพลังงานเพิ่มมากขึ้น 50%<br />

ซึ่งจะทำให้มีการพัฒนาพลังงานทดแทน การกำหนดนโยบาย<br />

บริหารจัดการน้ำ การเพิ่มขึ้นของราคาและคุณภาพของอาหาร<br />

เป็นต้น<br />

• Increase in Regulatory Pressure โดยเฉพาะอย่างยิ่ง<br />

กฎหมายด้านสิ่งแวดล้อม ความยั่งยืน และความปลอดภัย<br />

ในการบริโภคอาหาร<br />

• Rapid Adoption of Supply Chain Technology Capabilities<br />

เนื่องจาก Information Technology ทำให้เกิดการเชื่อมโยง<br />

ภายในซัพพลายเชนมากขึ้น ทั้งในส่วนของ Visibility และ<br />

Traceability ทำให้สมาชิกในอุตสาหกรรมมีความร่วมมือ<br />

กันมากขึ้น ก่อให้เกิดการพัฒนาเทคโนโลยีใหม่ๆ ด้านโลจิสติกส์<br />

และกลายเป็นแรงกดดันสำหรับผู้ประกอบการรายอื่นๆ<br />

ให้ต้องเร่งดำเนินการหากต้องการจะแข่งขันต่อไป<br />

• Impact of Next - Generation Information Technologies<br />

การเปลี่ยนแปลงของ IT อย่างรวดเร็วจากปัจจุบัน ทำให้ระบบ IT<br />

ในอนาคตมีความสำคัญต่อองค์กรมากขึ้น โดยไม่เพียงแต่เป็น<br />

สิ่งที่ขาดไม่ได้ แต่ยังกลายเป็น “เครื่องมือที่ใช้ในการปรับตัว”<br />

ขององค์กร เนื่องจากระบบ IT จะกลายเป็นช่องทางใหม่<br />

ในการทำธุรกิจ ทั้งการพัฒนาช่องทางการจัดจำหน่ายและการ<br />

บริหารจัดการภายในองค์กร เป็นแหล่งที่นำไปสู่การสร้างสรรค์<br />

นวัตกรรมใหม่ๆ เพราะระบบ IT ในอนาคตจะสามารถก้าวข้าม<br />

ข้อจำกัดต่างๆ ในปัจจุบันไปได้<br />

6


ซึ่งจากทิศทางข้างต้น เราสามารถสรุปแนวทางในการแข่งขันของ<br />

ธุรกิจในอนาคตได้ว่าการกำหนดกลยุทธ์ขององค์กรจะต้อง<br />

สามารถตอบสนองวัตถุประสงค์ 4 ข้อ ประกอบไปด้วย<br />

1. Make Our Business More Sustainable :<br />

from Niche to Norm<br />

สิ่งสำคัญประการแรกคือ ธุรกิจต้องสามารถทำให้ลูกค้าและผู้บริโภค<br />

เกิดความมั่นใจทั้งในส่วนของบริษัท อุตสาหกรรม และซัพพลายเชน<br />

ของเรา ซึ่งอาจเกิดขึ้นโดยการเปลี่ยนแปลงภาพลักษณ์ครั้งใหญ่ ควบคู่<br />

ไปกับการทำให้ผู้บริโภคเข้าใจถึงความสำคัญในการเปลี่ยนแปลง<br />

แนวทางการทำธุรกิจและการดำรงชีวิตจากเดิมไปสู่ไลฟ์สไตล์<br />

เพื่อสิ่งแวดล้อม และการทำงานร่วมกับซัพพลายเออร์ของกิจการ<br />

เพื่อทำให้มีการยกระดับการทำงานให้มีมาตรฐานเป็นหนึ่งเดียวกัน<br />

ซึ่งจะทำให้เกิดความสามารถในการแข่งขันทางธุรกิจอย่างยั่งยืน<br />

2. Optimize a Shared Supply Chain :<br />

Collaboration Differently, Complete<br />

Differently<br />

จากทิศทางในการให้ความสำคัญกับสิ่งแวดล้อมเพิ่มมากขึ้นของ<br />

ผู้บริโภค จะทำให้บริษัทและซัพพลายเชนทั้งหมดต้องร่วมกันกำหนด<br />

ตัวชี้วัดการดำเนินงานเพิ่มขึ้นอีกอย่างน้อย 2 รายการ ประกอบ<br />

ไปด้วย จำนวนการปล่อย CO2 ลดน้อยลง และปริมาณการใช้<br />

พลังงาน<br />

3. Engage with technology - Enabled<br />

Consumers : the Consumer in the<br />

Driver’s Seat<br />

การเปลี่ยนแปลงในด้านเทคโนโลยีของผู้บริโภคจะทำให้ลักษณะ<br />

การดำรงชีวิตและการเลือกซื้อสินค้าเปลี่ยนแปลงไป ทุกที่ ทุกแห่ง<br />

ทุกเวลา สามารถกลายเป็นตลาดได้สำหรับผู้ที่มีโทรศัพท์มือถือ<br />

ส่งผลให้ภาคอุตสาหกรรมต้องหาทางตอบสนองความต้องการ<br />

เหล่านี้ โดยพัฒนา Application ที่ตอบสนองได้อย่างรวดเร็ว มี<br />

การลงทุนในระบบการตรวจสอบข้อมูลที่สามารถเชื่อถือได้ และ<br />

การเพิ่มบทบาทของผู้บริโภคเมื่อมีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ เป็นต้น<br />

โดยสินค้าเพื่อสุขภาพจะเป็นที่ต้องการมากขึ้นในทุกระดับราคา<br />

ลูกค้าจะมีการเลือกซื้อสินค้าเหล่านี้มากขึ้น เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดการ<br />

เจ็บป่วย เพื่อทำให้มีอายุยืนมากขึ้น ซึ่งธุรกิจสามารถตอบสนองความ<br />

ต้องการเหล่านี้ได้ โดยการเปลี่ยนแปลงแนวคิดในการทำธุรกิจไป<br />

สู่การพัฒนาร่วมกันในซัพพลายเชน เพื่อให้สามารถผลิตสินค้าที่มี<br />

ความปลอดภัยแก่ผู้บริโภคให้ได้มากที่สุด<br />

จากกระแสการเปลี่ยนแปลงดังกล่าว บริษัทยักษ์ใหญ่จำนวนมาก<br />

ได้มีการปรับตัว ทั้งในส่วนของการเปลี่ยนแปลงภายในองค์กร และ<br />

การร่วมมือกับสมาชิกในโซ่อุปทานเพื่อให้สามารถรองรับความ<br />

ต้องการของผู้บริโภคในอนาคต โดยมีการนำเสนอเป็นกรณีศึกษา<br />

เพื่อให้เห็นแนวทางการดำเนินงานที่ชัดเจน ซึ่งท่านสมาชิกสามารถ<br />

Download รายงาน Future Value Chain 2020 ฉบับเต็ม ได้ที่<br />

www.futurevaluechain.com<br />

สำหรับผู้ประกอบการไทย สิ่งที่เรียนรู้ได้จาก Future Value Chain<br />

2020 คือโจทย์สำหรับการปรับตัวของภาคอุตสาหกรรมและการค้า<br />

ซึ่งแม้ว่าลักษณะของตลาดในประเทศไทยจะไม่ได้เหมือนกับ<br />

ประเทศที่เจริญแล้ว แต่โลกาภิวัฒน์ในปัจจุบันจะทำให้พฤติกรรม<br />

ผู้บริโภค และการรับรู้ของผู้บริโภคถึงกระแสของตลาดในต่างประเทศ<br />

จะทำให้เกิดการลอกเลียนแบบและการถ่ายโอนเทคโนโลยีต่างๆ<br />

อย่างรวดเร็ว แม้ว่าปัจจัยหลายอย่างในประเทศไทยจะแตกต่างไป<br />

แต่ผู้บริโภคอาจเรียกร้องหรือคัดเลือกสินค้าและบริษัทที่เป็นไป<br />

ตามกระแสที่เกิดขึ้นทั่วโลก โดยเฉพาะอย่างยิ่งผู้ส่งออกที่ทำธุรกิจ<br />

ร่วมกับ สหรัฐอเมริกา สหภาพยุโรป ญี่ปุ่น จำเป็นต้องเกาะกระแส<br />

ดังกล่าว เพื่อให้สินค้าของตนเองสามารถอยู่รอดได้ในตลาด<br />

ทั้งนี้ การพัฒนาสินค้าและบริการให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่<br />

เปลี่ยนแปลงไป ผู้ประกอบการจำเป็นต้องตระหนักถึงความสำคัญ<br />

และใช้ความพยายามในการสร้างความร่วมมือระหว่างสมาชิก<br />

ในซัพพลายเชนเพื่อยกระดับการบริหารจัดการและทำให้เกิดเป็น<br />

Trusted Industry และสามารถลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นจากการ<br />

ปฏิบัติไม่ได้มาตรฐานโดยสมาชิกรายใดรายหนึ่งในซัพพลายเชน<br />

ซึ่งการดำเนินการดังกล่าวต้องอาศัยความเชื่อใจและระยะเวลาใน<br />

การทำงานร่วมกัน ดังนั้นภาคธุรกิจจึงต้องเริ่มดำเนินการนับตั้งแต่<br />

บัดนี้เป็นต้นไป<br />

4. Serve the Health and Well-being of<br />

Consumers : Focus on Quality of Life<br />

ผู้บริโภคจำนวนมากจะเพิ่มความเอาใจใส่ในสุขภาพของตนเอง<br />

มากขึ้นทั้งทางร่างกาย จิตใจ อารมณ์ สติปัญญา และความเป็นอยู่ที่ดี<br />

Volume 3 ❘ <strong>November</strong> ❘ <strong>2012</strong><br />

7


ข่าวประชาสัมพันธ์<br />

CEO Forum : Perspective on AEC &<br />

Thailand Competitiveness<br />

สภาผู้ส่งออกฯ จัดงาน CEO Forum : Perspective on AEC & Thailand<br />

Competitiveness ในวันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 เวลา 17.30 - 21.30 น.<br />

ณ โรงแรมดุสิตธานี เพื่อให้ผู้บริหารได้รับทราบถึงมุมมองของประเทศ<br />

คู่ค้าต่อ AEC 2015 - ความพร้อมของประเทศไทย และการปรับตัวของ<br />

ผู้ส่งออกไทย<br />

กำาหนดการ<br />

17.30 - 18.00 ลงทะเบียน<br />

18.00 - 18.45 รับประทานอาหาร<br />

18.45 - 18.50 ประธานสภาผู้ส่งออกฯ กล่าวต้อนรับ<br />

แขกผู้มีเกียรติ<br />

18.50 - 21.30 สัมมนา “Perspective on AEC & Thailand<br />

Competitiveness”<br />

โดย Mr. Willy Lin : Chairman of Hong Kong Shippers’ Council<br />

Mr. Moo Han Kim : Senior Executive Managing Director<br />

of Korean Shippers’ Council<br />

คุณศรีรัตน์ รัษฐปานะ : อธิบดีกรมส่งเสริมการค้าระหว่าง<br />

ประเทศ<br />

คุณสุรพล ว่องวัฒนโรจน์ : CEO บริษัทสุรพลฟู้ดส์<br />

ผู้ดำเนินรายการ : คุณกัณญภัค ตันติพิพัฒน์พงศ์<br />

Registration Fee : 3,000 บาท / คน (สมาชิกสรท. 2,000 บาท / คน)<br />

ท่านสมาชิกที่สนใจสามารถสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่สภาผู้ส่งออกฯ :<br />

สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (คุณกฤตชทัต)<br />

02-679-7555 ต่อ 500<br />

กิจกรรมและการฝึกอบรมที่น่าสนใจ<br />

29 มกราคม 2555 The Lectures of Logistics Improvement ร่วมกับ<br />

Japan Institute of Logistics System (JILS) ณ โรงแรม Imperial<br />

Queen's Park (Free Seminar)<br />

<strong>TNSC</strong> CALENDAR<br />

12 - 14 พฤศจิกายน 2555 คณะกรรมการสภาผู้ส่งออกฯ : สภาผู้ส่ง<br />

สินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย ร่วมกับคณะกับนายกรัฐมนตรี ในการ<br />

เยือนสหราชอาณาจักร เพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์ทางการค้า การลงทุน<br />

ระหว่างประเทศไทยกับสหราชอาณาจักร<br />

5 - 7 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการสภาผู้ส่งออกฯ : สภาผู้ส่งสินค้า<br />

ทางเรือแห่งประเทศไทย เข้าร่วมการประชุม Asian Shippers’ Meeting<br />

(ASM) ณ กรุงจาการ์ตา ประเทศอินโดนีเซีย<br />

7 ธันวาคม 2555 คณะกรรมการสภาผู้ส่งออกฯ : สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือ<br />

แห่งประเทศไทย เดินทางไปประชุมโครงการ Recycle System Project<br />

ณ เมืองวากายาม่า ประเทศญี่ปุ่น<br />

สภาผู้ส่งออกฯ :<br />

สภาผู้ส่งสินค้าทางเรือแห่งประเทศไทย (สรท.)<br />

(Thai National Shipper's Council)<br />

1168/97 อาคารลุมพินีทาวเวอร์ ชั้น 32 ถนนพระราม 4 แขวงทุ่งมหาเมฆ เขตสาทร กรุงเทพฯ 10120<br />

1168/97 Zone C, Lumpini Tower Bldg., 32 Fl., Rama IV Road, Thungmahamek, Sathorn, Bangkok 10120<br />

Tel : (662) 679-7555 • Fax : (662) 679-7500-2 • www.tnsc.com • Email : tnsc_crm@tnsc.com

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!