28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

210<br />

จอมเทียนปาลม บีช รีสอรท, พัทยา, จ.ชลบุรี, หนา 117<br />

ปจจุบันไดมีการนําหอดูดซับมาใชในกระบวน<br />

การแยกสารทางวิศวกรรมเคมีอยางแพรหลายเนื่องจาก<br />

เปนวิธีที่งายและใหประโยชนมากมาย เทคนิคการแยกสาร<br />

ดวยฟองแกสแอฟรอนเปนอีกวิธีหนึ่งซึ่งถูกนํามาใช<br />

เนื่องจากสามารถแยกไดทั้งสารอินทรียและสารอนินทรีย<br />

จากงานวิจัยที่ผานมาจะมุงเนนในการดูดซับสารที่มีอยูใน<br />

รูปของเหลว ซึ่งการศึกษาในครั้งนี้จะประยุกตใชในการ<br />

แยกอนุภาคฝุนออกจากกระแสกาซ ซึ่งถือเปนมลภาวะทาง<br />

อากาศ ภายในหอดูดซับ โดยมีฟองแกสแอฟรอนเปน<br />

ตัวกลางในการดักจับฝุน โดยทําการศึกษาถึงปจจัยที่มีผล<br />

ตอประสิทธิภาพในการดักจับฝุน ไดแก ชนิดของสารลด<br />

แรงตึงผิว, ความเร็วของ อากาศ, ความเขมขนฝุนที่<br />

ทางเขา, ความเร็วของฟองแกสแอฟรอน, ชนิดและขนาด<br />

ของฝุนที่ปอนเขาสูคอลัมน จากผลการทดลองพบวาชนิด<br />

ของสารลดแรงตึงผิวไมมีผลตอประสิทธิภาพในการดักจับ<br />

ฝุนโดยใชฟองแกสแอฟรอน สวนผลการทดลองผลของ<br />

สภาวะการดําเนินการพบวา ประสิทธิภาพการดักจับจะ<br />

สูงขึ ้นเมื่อความเร็วของอากาศลดลงและความเร็วของฟอง<br />

แกสแอฟรอนเพิ่มขึ้นและความเขมขนของฝุนที่ทางเขา<br />

ลดลง สวนชนิดของฝุนพบวาลักษณะรูปรางของฝุนมี<br />

อิทธิพลมากกวาคุณลักษณะของพื้นผิวในเชิงความ<br />

สามารถในการเปยกน้ํา นอกจากนี้ยังพบวาประสิทธิภาพ<br />

ในการกําจัดฝุนที่มีอนุภาคขนาดเล็กกวา 10 ไมโครเมตร<br />

จะมีประสิทธิภาพต่ําลงเมื่อเทียบกับความสามารถในการ<br />

กําจัดอนุภาคขนาดใหญกวาเล็กนอย<br />

NC-004 การดูดซับกาซแอมโมเนียดวยฟองแกส<br />

แอฟรอนที่เตรียมจากสารลดแรงตึงผิวธรรมชาติ<br />

ปทุมพร แมนพงษ, วิทยา บุตรทองมูล,<br />

ปรัชญา มหายศนันท, สมนึก จารุดิลกกุล<br />

การประชุมวิชาการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 15, 27-28 ตุลาคม 2548,<br />

โรงแรมจอมเทียน ปาลม บีช รีสอรท, พัทยา, จ.ชลบุรี,<br />

หนา 119<br />

โครงงานวิจัยนี้ไดนําเทคโนโลยีการแยกสารดวย<br />

ฟองแกสแอฟรอนที่เตรียมจากสารละลายมะคําดีควาย<br />

(Soap Nut) ซึ่งเปนสารลดแรงตึงผิวธรรมชาติ (Natural<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

Surfactant) มาประยุกตใชในการดูดซับกาซแอมโมเนีย<br />

โดยแบงการดําเนินงานวิจัยเปน 3 สวน สวนที่ 1 เปน<br />

การศึกษาหาอัตราสวนของสารละลายมะคําดีควาย ในการ<br />

เตรียมฟองแกสแอฟรอนใหมีความเสถียรสูงสุด อัตราสวน<br />

ที่ใชคือ 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 g/100mL ตามลําดับ<br />

จากผลการทดลองพบวา คาความเสถียรที่เหมาะสมที่สุด<br />

คือ 4.30 นาที ในอัตราสวน 8 กรัม/100 มิลลิลิตร สวนที่<br />

2 เปนการหาอิทธิพลของตัวแปรในการดูดซับกาซ<br />

แอมโมเนีย จากผลการทดลองพบวาประสิทธิภาพการดูด<br />

ซับมีคาเพิ่มขึ้น เมื่ออัตราการไหลของฟองแก็สแอฟรอน<br />

เพิ่มขึ้น อัตราการไหลของกาซแอมโมเนียและความเขมขน<br />

ของกาซแอมโมเนียลดลง โดยที่ประสิทธิภาพการดูดซับ<br />

สูงสุดของแตละตัวแปรคือ 95.92%, 96.49% และ<br />

91.82% ตามลําดับ สวนที่ 3 ศึกษาการเปรียบเทียบการ<br />

ดูดซับแกสแอมโมเนียโดยใชสารละลายมะคําดีควายกับ<br />

สารลดแรงตึงผิว 3 ชนิด คือ CTAB, SDS และ Triton<br />

x-100 พบวาสารลดแรงตึงผิวทั้ง 3 ตัวนั้น Triton x-100<br />

มีคาประสิทธิภาพการดูดซับใกลเคียงกับสารละลาย<br />

มะคําดีควาย คือ 79.52% และ 77.89% ตามลําดับ<br />

NC-005 การสกัดสารนิมบินจากเมล็ดสะเดาไทย<br />

โดยใชโมดิฟายดคารบอนไดออกไซดเหนือวิกฤต<br />

เอกวัฒน นิธิไชโย, สุวัสสา พงษอําไพ, สุภาภรณ ดั๊กกลาส<br />

การประชุมการวิศวกรรมเคมีและเคมีประยุกตแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 15, 27-28 ตุลาคม 2548, โรงแรม<br />

จอมเทียน ปาลม บีช รีสอรท, พัทยา, จ.ชลบุรี, หนา 68<br />

งานวิจัยนี้เปนการศึกษาการสกัดสารนิมบินจาก<br />

เมล็ดสะเดาไทย โดยใชคารบอนไดออกไซดเหนือวิกฤต<br />

รวมกับโมดิฟายเออรโดยการทําการทดลองที่อัตราการ<br />

ไหล 1.2 มิลลิลิตรตอนาที ขนาดเฉลี่ยของอนุภาคผง<br />

เมล็ดสะเดาคือ 425 ไมโครเมตร ชนิดของโมดิฟายเออร<br />

ไดแก เมธานอล และกรดอะซิตริก ความดันที่ใชในการ<br />

ทดลอง 25-10 เมกะปาสคาล อุณหภูมิ 55-40 องศา<br />

เซลเซียส สัดสวนของโมดิฟายเออร 15-0 เปอรเซ็นตโดย<br />

ปริมาตร ทําการศึกษาผลของชนิดโมดิฟายเออร สัดสวน<br />

ของโมดิฟายเออร ผลของการสกัดแบบสถิต เวลาในการ<br />

สกัดแบบสถิต อุณหภูมิ และความดันศึกษาเปรียบเทียบ<br />

การสกัดดวยซอกเล็ต และตัวทําละลายของเหลว (เมธา<br />

นอล, 2-โพรพานอล, กรดอะซิตริก, เตตระไฮโดรฟูราน,<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!