28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

242<br />

งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาผลของการเตรียม<br />

การกอนการทอด ไดแก การลดความชื้นดวยแรงดัน<br />

ออสโมติกตอคุณภาพของสับปะรดแชแข็งกอนทอด<br />

ภายใตสภาพสุญญากาศ ไดแก ปริมาณน้ํามัน ความชื้น สี<br />

และความกรอบ การศึกษาวิจัยนี้แบงออกเปน 2 ขั้นตอน<br />

ขั้นตอนแรกเปนการศึกษาผลของชนิดของสารละลาย<br />

น้ําตาล ความเขมขน และเวลาในการแช ตอเปอรเซ็นต<br />

การสูญเสียน้ําและเปอรเซ็นตของแข็งที่เพิ่มขึ้น โดย<br />

ออกแบบการทดลองแบบ Full Factorial Design (3 3 )<br />

จากการทดลองแชสับปะรดหนา 0.5 ซม. ในสารละลาย<br />

น้ําตาลซูโครส กลูโคส และฟรุกโตส ที่ระดับความเขมขน<br />

40, 50 และ 60 องศาบริกซ เปนเวลา 2, 4 และ 6<br />

ชั่วโมง พบวา เปอรเซ็นตการสูญเสียน้ําและเปอรเซ็นต<br />

ของแข็งที่เพิ่มขึ้นแปรผันโดยตรงกับระดับความเขมขน<br />

และเวลาในการแชสารละลายน้ําตาล นอกจากนั้นยังพบวา<br />

ตัวอยางที่แชในสารละลายน้ําตาลกูลโคส ฟรุกโตสและ<br />

ซูโครสมีการสูญเสียน้ําโดยเฉลี่ย 25.66, 21.72 และ<br />

19.76 เปอรเซ็นต ตามลําดับ และมีเปอรเซ็นตของแข็งที่<br />

เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยเปน 24.07, 23.09 และ 23.36<br />

เปอรเซ็นต ตามลําดับ ขั้นตอนที่สองเปนการศึกษาผลของ<br />

เวลาในการแชสารละลายน้ําตาลซูโครสที่ความเขมขน 60<br />

องศาบริกซตอคุณภาพของผลิตภัณฑหลังทอดที่อุณหภูมิ<br />

80 องศาเซลเซียส ความดันเกจ -760 มิลลิเมตรปรอท<br />

เปนเวลา 80 นาที จากการทดลองพบวา ตัวอยางที่ผาน<br />

การแชสารละลายน้ําตาลเปนเวลา 2 ชั่วโมง ผลิตภัณฑ<br />

หลังทอดจะมีความชื้น 3.71 เปอรเซ็นต (w.b.) ปริมาณ<br />

น้ํามัน 18.44 เปอรเซ็นต สวนตัวอยางที่แชสารละลาย<br />

น้ําตาลเปนเวลา 1 ชั่วโมง ผลิตภัณฑจะมีความชื้นและ<br />

น้ํามันเฉลี่ย 4.80 และ 22.42 เปอรเซ็นต ตามลําดับ<br />

เทียบกับตัวอยางที่ไมผานการแชสารละลายน้ําตาล<br />

ผลิตภัณฑจะมีความชื้นและน้ํามันเฉลี่ย 9.20 และ 27.69<br />

เปอรเซ็นต ตามลําดับ จากการวิเคราะหคาสี และคาแรง<br />

สูงสุดที่กระทําตอผลิตภัณฑเมื่อเกิดการแตกหักพบวา<br />

เวลาในการแชสารละลายน้ําตาลไมมีผลตอคาสีและแรง<br />

สูงสุดอยางมีนัยสําคัญ (p ≤ 0.05)<br />

NC-094 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิจุดเยือกแข็ง<br />

กับปริมาณของแข็งที่ละลายไดของน้ํามะนาว<br />

ปนัดดา นนทนํา, อัมพวัน ตั๊นสกุล<br />

การประชุมสัมมนาวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร ครั้งที่ 7,<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

22-24 มิถุนายน 2548, ศูนยประชุมนานาชาติ ไบเทค,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 3<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษาความสัมพันธ<br />

ระหวางจุดเยือกแข็งกับปริมาณของแข็งที่ละลายไดของน้ํา<br />

มะนาว ซึ่งเปนคุณสมบัติเฉพาะตัวที่สําคัญของน้ําผลไม<br />

และเปนขอมูลพื้นฐานที่สําคัญในการนําไปออกแบบระบบ<br />

ทําความเย็นในกระบวนการเพิ่มความเขมขนดวยวิธีแช<br />

แข็ง ทําการทดลองโดยใชน้ํามะนาวที่มีปริมาณของแข็งที่<br />

ละลายไดในชวง 7-30%Brix ลดอุณหภูมิโดยใชอุณหภูมิ<br />

การทําความเย็น-10 องศาเซลเซียส วัดอุณหภูมิน้ํา<br />

มะนาวโดยใชเทอรโมคัปเปล และบันทึกขอมูลดวย data<br />

logger ผลจากการทดลองพบวา จุดเยือกแข็งของน้ํา<br />

มะนาวมีคาลดต่ําลง เมื่อน้ํามะนาวมีปริมาณของแข็งที่<br />

ละลายไดเพิ่มมากขึ้น และสามารถทํานายจุดเยือกแข็งของ<br />

น้ํามะนาวโดยอาศัยความสัมพันธทางคณิตศาสตร ดัง<br />

สมการ<br />

y = (-0.156127)x + (0.002546)x 2 + (-0.000101)x 3<br />

โดยที่ y คือ จุดเยือกแข็งของน้ํามะนาว (องศา<br />

เซลเซียส) และ x ปริมาณของแข็งที่ละลายไดของน้ํา<br />

มะนาว (%Brix) ซึ่งสมการที่ไดมีคา R 2 = 0.99997<br />

NC-095 ผลของอัตราสวนกุงขาวตอซูริมิปลาตา<br />

หวานและระยะเวลาสับผสมตอเนื้อสัมผัสของเพสที่<br />

ขึ้นรูป<br />

พรพิมล มะยะเฉียว, อัมพวัน ตั๊นสกุล<br />

การประชุมสัมมนาวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร ครั้งที่ 7,<br />

22-24 มิถุนายน 2548, ศูนยประชุมนานาชาติไบเทค,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 6<br />

งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงคเพื่อศึกษา Texture<br />

Profile Attributes ของเพสขึ้นรูปที่เตรียมจากกุงขาว<br />

พันธุแวนนาไมผสมกับซูริมิปลาตาหวานซึ่งเปนวัตถุดิบตั้ง<br />

ตนในการผลิตผลิตภัณฑแพ็ตตี้กุงผสมซูริมิ โดยการศึกษา<br />

ผลของอัตราสวนกุงขาวตอซูริมิปลาตาหวาน ที่ระดับ<br />

แตกตางกัน 4 ระดับ คือ 80:20 60:40 40:60 และ<br />

20:80 รวมกับผลของระยะเวลาการสับผสม 3 ระดับ คือ<br />

10 15 และ 20 นาที จากการศึกษาพบวา คุณลักษณะ<br />

เนื้อสัมผัสทั้ง 3 คา คือ Hardness Cohesiveness และ<br />

Adhesiveness ลดลงเมื่ออัตราสวนของกุงขาวเพิ่มขึ้น<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!