28.11.2014 Views

Preface - kmutt

Preface - kmutt

Preface - kmutt

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

254<br />

NC-123 การวิเคราะหชนิดของสารประกอบที่ระเหย<br />

ไดในไวน โดยเทคนิคเฮดสเปซโซลิดเฟส ไมโคร<br />

แอกเทคชันและแกสโครมาโตกราฟ/แมสสเปค<br />

โตรเมทรี<br />

วิญู จิตสัมพันธเวช<br />

การประชุมสัมมนาวิชาการอุตสาหกรรมเกษตร ครั้งที่ 7,<br />

22-24 มิถุนายน 2548, ศูนยประชุมนานาชาติ ไบเทค,<br />

กรุงเทพฯ, หนา 207-208<br />

งานวิจัยนี้นําการสกัดแบบเฮดสเปซโซลิดเฟส<br />

และแกสโครมาโตกราฟ/แมสสเปคโตเมทรี มาใชในการ<br />

วิเคราะหหาชนิดของสารประกอบที่ระเหยไดงาย ซึ่งเปน<br />

สารใหกลิ่นในไวน โดยไมตองมีขั้นตอนการเตรียม<br />

ตัวอยางที่ยุงยาก และไมมีการรบกวนจากสารอื่นๆ ที่<br />

ระเหยยาก ใชไวนตัวอยาง 10.00 มิลลิลิตร ใสในขวด<br />

เฮดสเปซขนาด 20 มิลลิลิตร จุมไฟเบอรใหเกิดขั้นตอน<br />

การสกัดสารที่ระเหยไดงายในบริเวณเฮดสเปซเหนือสาร<br />

ตัวอยาง ไดศึกษาปจจัยตางๆ ไดแก ชนิดของไฟเบอร (4<br />

ชนิด คือ PDMS, PDMS/DVB, CW/DVB and<br />

DVB/CAR/PDMS) อุณหภูมิและเวลาในการสกัด การ<br />

ปดและไมปดฝาขวด และการเติมเกลือลงในสารตัวอยาง<br />

จากนั้นทําใหเกิดขั้นตอนการคายซับสารออกจากไฟเบอร<br />

โดยใชความรอนของสวนฉีดสารตัวอยางของเครื่องแกส<br />

โครมาโตกราฟที่อุณหภูมิ 200 องศาเซลเซียส ใชคอลัมน<br />

แบบแคปปลารี ชนิด HP-5 ปรับเปลี่ยนอุณหภูมิของ<br />

คอลัมนแบบโปรแกรมอุณหภูมิ และปรับอัตราการไหล<br />

ของแกสฮีเลียม เพื่อใหไดสภาวะที่เกิดการแยกไดดี ทํา<br />

การวิเคราะหชนิดของสารโดยใชการเทียบแมสสเปคตรัม<br />

ในฐานขอมูล การวิเคราะหไวน 3 ชนิด เพื่อเปรียบเทียบ<br />

สารประกอบที่ระเหยไดงาย พบวามีสารประกอบชนิด<br />

ตางๆ ไดแก แอลกอฮอล เอสเทอร เทอพีน อัลดีไฮด<br />

และคีโตนในปริมาณตางกัน<br />

NC-124 การวิเคราะหชนิดขององคประกอบที่ระเหย<br />

งายของดอกพุทธชาดดวยเทคนิค HS-SPME/GC-<br />

MS<br />

วิญู จิตสัมพันธเวช<br />

การประชุมวิชาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 31, 18-20 ตุลาคม 2548,<br />

KMUTT Annual Research Abstracts 2005<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, จ.นครราชสีมา,<br />

หนา 142-143<br />

งานวิจัยนี้นําเทคนิคเฮดสเปซโซลิดเฟสไมโคร<br />

เอ็กแทรคชัน/แกสโครมาโตกราฟ มาใชในการวิเคราะห<br />

ชนิดขององคประกอบที่ระเหยงายของดอกพุทธชาด ดอก<br />

มะลิ และดอกแกว ที่เพิ่งเด็ดจากตน ศึกษาประสิทธิภาพ<br />

ของไฟเบอร 4 ชนิด ไดแก CW/DVB DVB/CAR/<br />

PDMS PDMS/DVB และ PDMS พบวา PDMS/<br />

DVB มีประสิทธิภาพดีที่สุด ทําการดูดซับสารในบริเวณ<br />

เฮดสเปซที่อุณหภูมิหองเปนเวลา 15 นาที แลวทําการ<br />

คายในสวนสําหรับฉีดสารตัวอยางของเครื่องแกสโครมาโต<br />

กราฟ ที่อุณหภูมิ 200°C ผลการวิเคราะหพบวาองค<br />

ประกอบที่มีปริมาณมากในดอกพุทธชาด ไดแก linalool<br />

L (70.3%) และ 1H-indole (17.5%) ดอกมะลิมี<br />

linalool L (47.0%) และ benzyl acetate (24.4%)<br />

สวนดอกแกวมี benzaldehyde (53.6%) benzene<br />

acetaldehyde (13.8%) และ β-cubebene (10.3%)<br />

และพบวาชนิดและปริมาณขององคประกอบที่ระเหยงาย<br />

ของดอกพุทธชาด มีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาหลัง<br />

เด็ดจากตน<br />

NC-125 การดูดซับฟลูออไรดในน้ําโดยตัวดูดซับ<br />

ผสมระหวางไคโตซานและถานกัมมันต<br />

วินัย สมบูรณ, รัจนา ชินพิทักษ, ประทุมพร คงประคอง,<br />

สัญญา บุดดี<br />

การประชุมวิชาการวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหง<br />

ประเทศไทย ครั้งที่ 31, 18-20 ตุลาคม 2548,<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี, จ.นครราชสีมา, หนา<br />

329<br />

เตรียมและศึกษาประสิทธิภาพของไคโตซานเม็ด<br />

(CH), เม็ดไคโตซานผสมกับผงถานกัมมันต (CA) และ<br />

ผงถานกัมมันต (AC) ในการดูดซับฟนอล และศึกษา<br />

ประสิทธิภาพของ CA ในการบําบัดฟลูออไรดจากน้ําเสีย<br />

สังเคราะห โดยศึกษาปจจัยตางๆ ประกอบดวย pH, C1 - ,<br />

SO 2- 4 , NO - 3 , HCO - 3 , Ca 2+ และFe 3+ พบวาลําดับ<br />

ความสามารถในการดูดซับฟนอลคือ AC>CA>CH ใน<br />

การดูดซับระหวางซับฟลูออไรด-CA จะสูงขึ้นเมื่อมี pH<br />

ต่ํากวา 5.0 เมื่อเปรียบเทียบระหวางไอออนลบดวยกัน<br />

National Conference

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!