12.07.2015 Views

คลิกเพื่อดาวน์โหลด - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คลิกเพื่อดาวน์โหลด - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

คลิกเพื่อดาวน์โหลด - สำนักวิทยบริการ :: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

การศึกษาบัลเลต ณ <strong>มหาวิทยาลัยมหาสารคาม</strong>บัลเลต เปนศิลปะการแสดงจากภูมิปญญาตามแบบชนชาติตะวันตกชนิดหนึ่งซึ่งอาศัยการเคลื่อนไหวดวยพลังความเขมแข็ง ของขา และปลายเทา ทั้งการหมุน การกระโดดโลดแลนใหเกิดความพลิ้วไหว นุมนวลราวกับนกกางปกรอนกลางอากาศ เลนกันเปนเรื่องราวมากมายหลายเรื่องปราศจากบทพูดหรือเสียงรองของนักแสดง หากแตดําเนินทวงทานานาประกอบกับเสียงของดนตรีอันไพเราะ ทวา ผูแสดงจําตองอาศัยประสบการณ และทักษะในการฝกซอมอยางเหลือลน กวาจะทําใหเกิดเปนประติมากรรมเคลื่อนที่ใหไดชื่นชม และนาอัศจรรยใจในปจจุบัน บัลเลต เอกลักษณตามแบบตะวันตกมีประวัติความเปนมายาวนาน ดวยหลักฐานปรากฏมาตั้งแตเมื่อครั้ง 1,400 ป มาแลวบัลเลต เขียนตามแบบอักษรชาติอังกฤษไดวา Ballet และออกเสียง และเขียนตามแบบฉบับตนกําเนิดเปนภาษาอิตาลีวา “Ballo” ซึ่งหมายถึงศิลปะการเตนรํา Ballo หรือ Ballet อุบัติขึ้นในแผนดินอิตาลี ซึ่งเปนยุคสมัยที่ชนชาติตะวันตกเรียกขานกันวา ยุคเรเนซอง (Renaissance) หรือยุคแหงการฟนฟูศิลปะและวิทยาการในชวง ค.ศ. 1300-1600 ราวคริสตวรรษ 1489 เบอรกอนซิโอ ดิบอตตา (Bergonzio di Bortone) บุคคลสําคัญแหงราชสํานักอิตาลี ผูไดนําเสนอศิลปะการแสดงบัลเลตในงานรื่นเริงมื้อค่ํา ณ Tortone (พีระ พันลูกทาว, 2547 : 16). “บัลเลตถูกจัดขึ้นเพื่อสรางความสนุกสนานเพลิดเพลินในหมูขุนนางชั้นสูงในราชสํานักที่มักจะมีการจัดชุมนุมกันในทุกๆโอกาส ดวยบรรยากาศแหงความหรูหรา ประดาประดับตกแตงสถานที่ภายในงานอยางวิจิตร ดวยเศรษฐกิจ การสังคม และวิถีการดําเนินชีวิตของชนชั้นขุนนางแหงราชสํานักตามแบบยุคสมัยนั้นลวนโออาในทุกๆ ดาน ไมวาจะเปน การสนทนาพบปะสังสรรค ซึ่งจําเปนตองประชันขันแขงอวดเครื่องประดับ เครื่องแตงกาย รวมถึงการกาพย กลอน การดนตรี ก็เพื่อสนองแหงเกียรติ ศักดิ์ศรีและฐานันดรของเหลาชนในราชสํานักทั้งสิ้น ในงานมหาสมาคมมักจะจัดในอัครสถาน และรโหฐาน มักจะเปนหองโลง อาณากวางขวาง และมีเพดานสูง ไมวาจะเปนทองพระโรงในพระบรมมหาราชวัง เปนอาทิ ที่จะขาดเสียมิไดในงานเลี้ยงนั้น การแสดงก็จะมีความสัมพันธกับรายการอาหาร คือ เนื้อแกะยาง ซึ่งเปนที่นิยมของชนชั้นสูงในกาลนั้น” (พีระ พันลูกทาว, 2547 :17). “The Story of Jason and the Golden Fleece เปนเรื่องราวของเจสัน วีรบุรษหนุมแหงกรีกโรมันเดินทางเพื่อแสวงหาขนแกะทองคํา คือ เรื่องราวที่ทําการแสดงกอนที่จะเสวย หรือ รับประทานเนื้อแกะยางในงานนั้น ซึ่งทําใหบัลเลตกลายเปนแบบแผน และเปนศิลปะการแสดงที่ทันสมัยตอยุคและทันตอเหตุการณตามความนิยมของแตละยุคสมัย กวาบัลเลตจะเกิดความงดงามไดก็อาศัยพัฒนาการมาหลายชั่วอายุสมัย แตครั้น ค.ศ. 1581 ซึ่งเปนครั้งปฐมกาล ณ ประเทศฝรั่งเศส ดวยการแสดงเรื่อง Le Ballet Comique la Rain ที่ระบุบอกวาเปนปที่บัลเลตเกิดความสมบูรณแบบในทุกๆดาน และเปนแบบแผนปรากฏตราบปจจุบัน การแสดงในครั้งนั้นเกิดขึ้นไดก็ดวยคีตกวีผูชํานาญการดานไวโอลิน บาลธาซาร เดอ โบวโจ (Balthaza de Beaujoyeux) ไดรวมแสดงกับเหลาพระบรม

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!