12.07.2015 Views

Osmopriming Germination Enhancement of Pepper Seed ... - CRDC

Osmopriming Germination Enhancement of Pepper Seed ... - CRDC

Osmopriming Germination Enhancement of Pepper Seed ... - CRDC

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

์550 ปี ที 42 ฉบับที 2 (พิเศษ) พฤษภาคม - สิงหาคม 2554 ว. วิทยาศาสตร์เกษตรคํานําพริก (Capsicum sp.) เป็ นพืชผักทีมีความสําคัญทางเศรษฐกิจในหลายประเทศทัวโลก ทั งในประเทศเขตร้อนและเขตอบอุ ่น (Poulos, 1993) การปลูกพริกโดยการเพาะกล้าแล้วย้ายปลูกในแปลงเป็ นวิธีการทีได้รับความนิยม เพราะได้ต้นกล้าทีแข็งแรงและใช้เมล็ดพันธุ ์น้อยกว่าวิธีอืนๆ (พิทักษ์, 2540) แต่ปัญหาทีเกษตรกรผู ้ปลูกพริกมักพบอยู ่เสมอคือ เมล็ดพริกมีความงอกตํา งอกช้า และงอกไม่สมําเสมอ ทําให้กําหนดแผนการปลูกได้ยาก (Bradford, 1986) ซึง <strong>Osmopriming</strong> เป็ นวิธีกระตุ ้นความงอกของเมล็ดพันธุ ์วิธีหนึงทีได้รับความสนใจ โดยการแช่เมล็ดในสารละลายทีมีค่าความต่างศักย์ของนํ าในระดับทีตํา เพือชะลอการดูดนํ าของเมล็ดให้ช้าลง (McDonald, 2000) ดังนั นความสําเร็จของการกระตุ ้นความงอกด้วยวิธีนี จึงขึ นอยู ่กับชนิดของพืช ชนิดและความเข้มข้นของสารละลาย อุณหภูมิและระยะเวลาในการแช่เมล็ด รวมถึงการลดความชื นหลังกระบวนการกระตุ ้นความงอกแล้ว(Bradford, 1986) เมือนําเมล็ดไปปลูกเมล็ดจะงอกได้เร็วและสมําเสมอมากขึ น (Varier และคณะ, 2010) ดังนั นงานวิจัยนี จึงมีวัตถุประสงค์เพือศึกษาชนิดและความเข้มข้นของสารละลาย รวมถึงระยะเวลาในการบ่มเมล็ดทีเหมาะสมต่อคุณภาพเมล็ดพันธุพริก เพือทําให้เมล็ดงอกได้เร็วและสมําเสมอมากขึ น อีกทั งยังใช้เป็ นแนวทางในการประยุกต์ใช้ในธุรกิจการผลิตต้นกล้าพริกต่อไปอุปกรณ์และวิธีการการทดลองที 1 ผลของชนิดและความเข้มข้นของสารละลายต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ ์พริกนําเมล็ดพันธุ ์พริกแช่ในสารละลายเป็ นเวลา 7 ชัวโมง โดยใช้เมล็ด 50 กรัมต่อนํ า 1 ลิตร (วิลาสินี, 2547) วางแผนการทดลองแบบ Completely Randomized Design (CRD) แบ่งเป็ น 11 ทรีทเมนต์ คือ (1) เมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) (2)นํ า (3-5) KNO 3 ความเข้มข้น 0.2, 2 และ 3% (6-8) GA 3 ความเข้มข้น 0.01, 0.015 และ 0.05% (9-11) Salicylic acid (SA) ความเข้มข้น 0.005, 0.01 และ 0.015% ทําการทดสอบความงอกในห้องปฏิบัติการด้วยวิธี Top <strong>of</strong> paper จํานวน 4 ซํ า ซํ าละ 50เมล็ด ทีอุณหภูมิสลับ 20-30 องศาเซลเซียส ประเมินความงอกตามหลักการของ International <strong>Seed</strong> Testing Association(ISTA, 2010) โดยนับครั งแรก 4 วันหลังเพาะเมล็ด และนับครั งสุดท้าย 14 วันหลังเพาะเมล็ด บันทึกข้อมูล ได้แก่ ความงอก(%) เวลาเฉลียในการงอก (วัน) (Ellis และ Roberts, 1980) และทดสอบความงอกในสภาพโรงเรือน โดยใช้พีทมอสเป็ นวัสดุเพาะ แล้วคํานวณความงอกเป็ นเปอร์เซ็นต์การทดลองที 2 ผลของชนิดสารเคมีและระยะเวลาในการบ่มเมล็ดต่อคุณภาพเมล็ดพันธุ ์พริกวางแผนการทดลองแบบ 4 x 3 Factorial in CRD โดยปัจจัยแรกคือ ชนิดของสารเคมี ได้แก่ KNO 3 3%, GA 3 0.015%และ Salicylic acid (SA) 0.015% เปรียบเทียบกับนํ า (control) ปัจจัยทีสองคือ ระยะเวลาการบ่มเมล็ด ได้แก่ 0 1 และ 2 วัน นําเมล็ดพันธุ ์พริกแช่ในสารละลายเป็ นเวลา 7 ชัวโมง โดยใช้เมล็ด 50 กรัมต่อนํ า 1 ลิตร ร่วมกับการให้อากาศ 45 นาทีต่อชัวโมง(ประเสริฐ, 2542) จากนั นนําเมล็ดมาแช่ในสาร mancozeb ความเข้มข้น 0.2 กรัมต่อนํ า 100 มิลลิลิตร เป็ นเวลา 10 นาที เพือป้ องกันเชื อรา แล้วนําเมล็ดมาล้างผ่านนํ าไหลเป็ นเวลา 10 นาที จากนั นนําเมล็ดมาบ่มทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความชื นสัมพัทธ์ 100% เป็ นเวลา 0 1 และ 2 วัน แล้วนําเมล็ดมาลดความชื นทีอุณหภูมิ 25 องศาเซลเซียส ความชื นสัมพัทธ์ 40เปอร์เซ็นต์ เป็ นเวลา 2 วัน (วิลาสินี, 2547) ทดสอบความงอกในห้องปฏิบัติการและในสภาพโรงเรือน และบันทึกข้อมูลเช่นเดียวกับการทดลองที 1ผลและวิจารณ์ผลการทดลองชนิดและความเข้มข้นของสารละลายมีผลทําให้ความงอกในห้องปฏิบัติการและเวลาเฉลียในการงอกแตกต่างกันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติ แต่ความงอกในสภาพโรงเรือนไม่แตกต่างกันทางสถิติ (Table 1) โดยการแช่เมล็ดในสารละลาย GA 30.015% และ SA 0.015% ทําให้ความงอกในห้องปฏิบัติการสูงทีสุดคือ 75.00 และ 71.50% ตามลําดับ ซึงไม่แตกต่างกันทางสถิติกับการแช่เมล็ดในสารละลาย KNO 3 2 และ 3%, SA 0.005 และ 0.01% และ GA 3 0.01% เปรียบเทียบกับเมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) มีความงอกตําทีสุดคือ 51.00% หรือการแช่เมล็ดในนํ ามีความงอกเพียง 54% เนืองจาก GA 3 ช่วยส่งเสริมการงอกของเมล็ด โดยกระตุ ้นการทํางานของเอนไซม์ เช่น α- และ β-amylase ผ่านชั น aleurone ซึงเกียวข้องกับการย่อยสลายอาหารสะสมของเมล็ด (Copeland และ McDonald, 1995) ส่วน SA มีส่วนช่วยในการขยายขนาดของเซลล์ และส่งเสริมให้ระดับของ hydrogen peroxide (H 2 O 2 ) เพิมขึ น ซึง H 2 O 2 สามารถกระตุ ้นการงอกและการหายใจของเมล็ดได้ (Harfouche และคณะ, 2007) ส่วนความงอกในสภาพโรงเรือนไม่มีความแตกต่างทางสถิติ (Table 1) โดยการแช่เมล็ดในสารละลาย GA 30.015% มีแนวโน้มทําให้ความงอกในสภาพโรงเรือนสูงทีสุดคือ 69.50% ส่วนการแช่เมล็ดในสารละลาย KNO 3 2% มีแนวโน้มความงอกในสภาพโรงเรือนตําทีสุดคือ 48.00% ในขณะทีชนิดและความเข้มข้นของสารละลายมีผลต่อเวลาเฉลียในการงอกของเมล็ด โดยการแช่เมล็ดในสารละลาย GA 3 0.05 และ 0.015% มีเวลาเฉลียในการงอกเร็วทีสุดคือ 9.77 และ 10.17 วัน ตามลําดับส่วนเมล็ดทีแช่ในนํ า เมล็ดทีแช่ในสารละลาย KNO 3 0.2% และเมล็ดทีไม่กระตุ ้นความงอก (control) มีเวลาเฉลียในการงอกช้า

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!