12.09.2023 Views

ASA JOURNAL 13/2023

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>2023</strong><br />

MAY-JUN<br />

TIME OF<br />

TOGETHER-<br />

NESS<br />

The Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage<br />

248/1 Soi Soonvijai 4 (Soi 17)<br />

Rama IX Rd., Bangkapi,<br />

Huaykwang, Bangkok 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.or.th<br />

E : asaisaoffice@gmail.com<br />

Subscribe to <strong>ASA</strong> Journal<br />

T : +662 319 6555<br />

<strong>ASA</strong> <strong>JOURNAL</strong><br />

COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

Advisor<br />

Chana Sumpalung<br />

Chairperson of Committee<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Committee<br />

Asst. Prof. Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

Vorapoj Tachaumnueysuk<br />

Padirmkiat Sukkan<br />

Prachya Sukkaew<br />

Namtip Yamali, Ph.D.<br />

Jenchieh Hung<br />

Secretary<br />

Theerarat Kaeojaikla<br />

บทความหรือภาพที่ลงใน<br />

วารสารอาษาหรือสื่ อออนไลน์<br />

สมาคมฯ ขอสงวนลิขสิทธิ์ตาม<br />

กฎหมาย การนำาบทความ<br />

หรือภาพจากวารสารอาษา<br />

ไปตีพิมพ์ อ้างอิงหรือประโยชน์<br />

ใดในสิ่งพิมพ์หรือสื่ อออนไลน์<br />

อื่น ต้องได้รับอนุญาตจาก<br />

สมาคมฯ ผู้เป็ นเจ้าของลิขสิทธิ์<br />

ตามกฎหมายเท่านั้น<br />

Editor-in-Chief<br />

Mongkon Ponganutree<br />

Editor<br />

Supreeya Wungpatcharapon<br />

Managing Editor<br />

Kamolthip Kimaree<br />

Assistant Editor<br />

Pichapohn Singnimittrakul<br />

Contributors<br />

Bhumibhat Promboot<br />

Kullaphut Senevong<br />

Na Ayudhaya<br />

Poomipak Boonthanom<br />

Saithiwa Ramasoot<br />

Rangsima Arunthanavut<br />

Warut Duangkaewkart<br />

English Translators<br />

Tanakanya Changchaitum<br />

Pawit Wongnimmarn<br />

English Editors<br />

Daniel Cunningham<br />

Sheena Sophasawatsakul<br />

Graphic Design<br />

art4d WORKS<br />

Wasawat Dechapirom<br />

Jirawadee Kositbovornchai<br />

Photographer<br />

Ketsiree Wongwan<br />

Production Manager<br />

Areewan Suwanmanee<br />

Account Director<br />

Rungladda Chakputra<br />

Advertising Executives<br />

Napharat Petchnoi<br />

Chatchakwan Fagon<br />

Thanapong Lertpiyaboon<br />

Special Thanks<br />

ACA Architects<br />

<strong>ASA</strong> Expo<br />

Context Studio<br />

DOF SkyIGround<br />

Gensler<br />

Greenbox Design<br />

Hypothesis<br />

Latstudios<br />

Panoramic Studio<br />

PAVA Architects<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

WOHA<br />

Worapas Dusadeewijai<br />

Urban Redevelopment Authority<br />

(URA)<br />

Spaceshift Studio<br />

Print<br />

SUPERPIXEL<br />

Publisher<br />

The Association of<br />

Siamese Architects<br />

Under Royal Patronage<br />

Copyright <strong>2023</strong><br />

No responsibility can be<br />

accepted for unsolicited<br />

manuscripts or photographs.<br />

ISSN 0857-3050<br />

Contact<br />

asajournal@asa.or.th<br />

Photo Courtesy of The Association of Siamese<br />

Architects Under Royal Patrouge


04<br />

message from the president<br />

กิจกรรมหลากหลายในงาน งานสถาปนิก’66 ประสบความ<br />

สำาเร็จอย่างดีเยี่ยม เช่น Human Library เป็ นกิจกรรมที่ทำาให้<br />

ประชาชนทั่วไปได้เรียนรู้ว่า สถาปนิกนั้นได้มีหลากหลายด้านที่<br />

เป็ นมากกว่าอาชีพนักออกแบบ จึงได้เชิญบุคคลในหลากหลาย<br />

อาชีพในด้านต่างๆเข้ามาพู ดคุย ให้ความรู้ ให้คำาแนะนำาหรือ<br />

แชร์ประสบการณ์ ในทุกๆเรื่องที่ผู้ฟั งอยากรู้ เสมือนเป็ นการ<br />

เปิ ดหนังสื ออ่านในห้องสมุด แต่เป็ นห้องสมุดมนุษย์ที่มีชีวิต<br />

เกิดการสร้างบรรยากาศบริเวณเวทีกลางให้คึกคักและ<br />

หนาแน่นไปด้วยผู้ฟั งที่สนใจเป็ นจำานวนมาก นับเป็ นกิจกรรม<br />

ที่ประสบความสำ าเร็จอย่างยิ่ง ที่สร้างแรงบันดาลใจให้กับ<br />

สายวิชาชีพออกแบบได้อย่างมากมาย การรวมตัว ตั้งคำาถาม<br />

เรียนรู้และต่อยอดพัฒนา ได้อธิบายหัวใจของธีมกับคำาว่า<br />

“Time of Togetherness” ได้ดีที่สุด<br />

สารจากนายกสมาคม<br />

หลังจากที่ประเทศไทยประกาศการผ่านพ้นโควิดอย่างเป็ น<br />

ทางการ ระยะห่างที่ทำาให้ทุกคนในวงการออกแบบไม่ได้พบปะ<br />

กันหลายปี ทางสมาคมฯจึงเกิดความคิดที่จะเชิญผู้คนจาก<br />

ทุกสาขาวิชาชีพสถาปั ตยกรรม เข้ามาร่วมจัดงานอย่างยิ ่งใหญ่<br />

และเพื่อเป็ นการเฉลิมฉลองการกลับมาอยู่ด้วยกัน (Time of<br />

Togetherness) ความร่วมมือที่เกิดขึ ้นครั้งนี้เป็ นครั้งสำาคัญ<br />

ที่แสดงให้ผู้คนได้เข้าใจการทำางานออกแบบครบกระบวนการ<br />

พลังของวิชาชีพ และ ความสนุกสนานไมตรีในฐานะของ<br />

เพื่อนพ้องแวดวงออกแบบ<br />

กิจกรรมสั มมนาวิชาการที่ตรงกับความอยากรู้ของผู้คน<br />

ในวงวิชาชีพ เรื่องยากๆที่ส่งผลต่อการดำารงชีวิตและการ<br />

ประกอบวิชาชีพ ที่ต้องรอคำาอธิบายจากปากผู้รู้ ก็มีคนเข้า<br />

ฟั งอย่างหนาแน่น กิจกรรมสถาปนิกอาษาโดยสถาปนิกและ<br />

วิศวกรก็ให้ประโยชน์ต่อคนทั่วไปที่มีปั ญหาเรื่องบ้าน กิจกรรม<br />

ด้านวิชาการที่ได้รับความร่วมมือจาก CDAST เช่น การ<br />

ประกวดวิทยานิพนธ์ดีเด่น และ กิจกรรม Workshop การ<br />

วาดภาพสีนำ้า นิทรรศการรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปั ตยกรรม<br />

ที่รวมอาคารที่เป็ นมรดกสถาปั ตยกรรมจากทั่วประเทศ รวม<br />

ทั้งสิ้น 11 อาคาร ทำาให้ประชาชนได้เข้าใจถึงคุณค่ามรดก<br />

และวัฒนธรรมสถาปั ตยกรรม ที่ควรค่าต่อการอนุรักษ์และ<br />

ศึกษาต่อไปในอนาคต และที่เป็ นที่กล่าวถึงมากที่สุดคือ<br />

กิจกรรมด้านวิชาชีพ นิทรรศการ All Member ที่รวบรวม<br />

ผลงานของสมาชิกทุกสาขาวิชาชีพสถาปั ตยกรรมอย่าง<br />

ยิ่งใหญ่ และมีมากถึง 240 Unit รวม 155 บริษัท นิทรรศการ<br />

ของ 3 สมาคมวิชาชีพ TIDA TALA TUDA นับเป็ นครั้งแรก<br />

ที่มีผู้คนสนใจเข้าร่วมแสดงมากที่สุดเป็ นประวัติการณ์<br />

จึงเป็ นที่มาของธีมงานในปี นี้ คือ “ตำ าถาด : Time of Togetherness”<br />

เพื่อฉลองการรวมตัวกันครั้งแรกขององค์กรวิชาชีพ<br />

ทั้ง 5 ประกอบด้วย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชู-<br />

ปถัมภ์ (<strong>ASA</strong>) สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย (TIDA)<br />

สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย(TALA) สมาคมสถาปนิก<br />

ผังเมืองไทย (TUDA) และสภาสถาปนิก (ACT) หัวข้อ ตำาถาด<br />

หากแปลความหมาย คือการเปรียบอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม<br />

อาหารของไทย ที่รวมเอาวัตถุดิบชั้นดีที่คัดสรรค์แล้วมารวมกัน<br />

ให้เห็นภาพว่าการรวมตัวกันของทุกวิชาชีพในงานนี้ คือวัตถุดิบ<br />

ทางความคิดชั้นยอดเป็ นพื้นที่รวมความรู้รอบด้านจากทุก<br />

สมาคมวิชาชีพ


TIME OF TOGETHERNESS<br />

05<br />

ข้อคิดและความเห็นที่ทางสมาคมต้องนำาไปพัฒนาต่อก็มี<br />

อยู่หลายส่วน เช่น เรื่องของภาพลักษณ์ของงาน ความเป็ น<br />

สถาปนิกไทยที่จะต้องก้าวไปในเวที โลก (Branding) การจัด<br />

สัมมนาต่างประเทศ ACT FORUM ซึ ่งปี นี้สมาคมร่วมมือกับ<br />

สภาสถาปนิกเป็ นครั้งแรก ความฝั นของเราที่จะเห็นการ<br />

บรรยายระดับนานาชาติจากทุกวงวิชาชีพคือจุดเริ่มต้น แต่<br />

อาจจะลืมว่าสิ ่งนั้นคือ “ท่ายาก” งานประชาสัมพันธ์เหลือเวลา<br />

สั้นไป และยังไม่สามารถเข้าถึงกลุ่มคนที่ควรฟั งในแต่ละช่วง<br />

การสร้างความสนใจให้คนในวิชาชีพอื่นๆมางานอาษาดูจะ<br />

เป็ นเพียงเริ่มต้น ปี แรกจึงติดขัดพอสมควร หรือช่วงเวลา<br />

เช้าที่เป็ นอุปสรรคของคนฟั งตลอดมา รวมไปถึงวิธีการจัด<br />

ผังพื้นที่ห้องสัมมนา ที่ไม่สามารถปรับขนาดได้ ให้ยืดหยุ่นต่อ<br />

จำานวนคนในแต่ล่ะรอบ แต่ทีมงานก็คงไม่ท้อ และจะพัฒนา<br />

ต่อให้การสัมมนาเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ<br />

ในส่วนของผู้จัดงานหลัก TTF คงต้องแสดงความยินดีที่การ<br />

แสดงงานที่มีผู้สนใจเข้าร่วมปี นี้มีจำานวนมาก พื้นที่ถูกจับจอง<br />

เกือบ 95% ของพื้นที่แสดงงาน 60,000 ตารางเมตร และ<br />

มาจากหลายประเทศ การพัฒนาพื้นที่ของงานแสดงสินค้า<br />

หลังงานจบลง ทางสมาคมก็ได้มีการประชุมสรุปเพื่อการ<br />

พัฒนา ทางสมาคมได้ชี้ให้เห็นข้อดีมากๆ ข้อที่ต้องนำ าไปพัฒนา<br />

และข้อที่ติติงจากสมาชิก และอยากให้ทางผู้จัดนำาความเห็น<br />

ต่างๆไปปฏิบัติให้เกิดเป็ นรูปธรรม เช่น เมื่อเราทราบว่าด้วย<br />

ศั กยภาพของงานอาษา งานของเราจะเป็ นงานที่ International<br />

มากขึ ้ นเรื่อยๆ การรับมือและคัดสรร (Selected<br />

Materials) จากประเทศต่างๆที่เข้าร่วม เพื่อสร้างภาพลักษณ์<br />

ที่ดีของสิ นค้าที่มาจากมิตรประเทศเหล่านั้น คือสิ่ งสำ าคัญ<br />

การออกแบบ Thematic Pavilion เป็ นแลนด์มาร์คที่น่าสนใจ<br />

ที่สามารถนำาไปขยายผลให้เกิดความสำาเร็จได้ ในหลายพื้นที่ ถึง<br />

วันที่งานอาษาจะต้องขยับตัวจากเดิม ให้กลายเป็ นศูนย์กลาง<br />

ของการแสดงนวัตกรรมการออกแบบที่ ใหญ่ที่สุ ด และน่า<br />

ภาคภูมิใจที่สุดของเอเชีย<br />

สุดท้ายนี้ ขอขอบคุณคณะกรรมการจัดงาน วิทยากรผู้เชี่ยวชาญ<br />

ผู้ทรงคุณวุฒิทั้งในและต่างประเทศ นักออกแบบ Influencer<br />

ทั้งในสายวิชาขีพและด้านอื่นๆ ที่ร่วมกันให้ความรู้และเป็ น<br />

ผู้บรรยายทุกหัวข้อ คณะทำางานและสมาชิกทุกท่าน รวมถึง<br />

หน่วยงานและองค์กรต่างๆ ที่ร่วมเป็ นพันธมิตรกิจกรรม และ<br />

ที่สำ าคัญ 4 สมาคมวิชาชีพที่ร่วมเป็ นผู้จัดงานหลัก สมาคม<br />

มัณฑนากรแห่งประเทศไทย (TIDA) สมาคมภูมิสถาปนิก<br />

ประเทศไทย (TALA) สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย (TUDA)<br />

และสภาสถาปนิก (ACT) ที่ทำาให้เกิดงานอันยิ่งใหญ่และ<br />

ประสบความสำาเร็จ ขอกล่าวคำาว่าขอบคุณและซาบซึ ้งอีกครั้ง<br />

พบกันอีกครั้งในงานอาษา 2024<br />

รายนามคณะกรรมการ<br />

บริหาร สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชููปถัมภ์์<br />

ประจำป ี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

ชนะ สััมพลััง<br />

อุุปนายก<br />

นิเวศน์ วะสีีนนท์์<br />

จีีรเวช หงสักุุลั<br />

ไพท์ยา บััญชากิิตติกุุลั<br />

ชุตยาเวศ สิินธุุพันธุ์์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์์ อัังกุสัิทธิ์์<br />

รุงโรจน ์ อ่่วมแก้้ว<br />

เลขาธิิการ<br />

พิพัฒน์ รุจิิราโสัภณ<br />

นายทะเบียน<br />

คมสััน สักุุลัอัำานวยพงศา<br />

เหรัญญิก<br />

ไมเคิลัปริพลั ตังตรงจิิตร<br />

ปฏิิคม<br />

เฉลิิมพลั สัมบััติยานุชิต<br />

ประชูาสัมพันธ์์<br />

กุุลัธุิดา ท์รงกิิตติภักด ี<br />

กรรมการกลาง<br />

วสุุ โปษ์ยะนันทน ์<br />

ศ.ดร.ต้นข้้าว ปาณินท์์<br />

เฉลิิมพงษ์์ เนตรพฤษร ัตน์<br />

อด ุลย ์ แก้้วดี<br />

ณธุท์ัย จัันเสัน<br />

ธุนพงษ์์ วิชคำาหาญ<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุลั้านนา<br />

ปรากุาร ชุณหพงษ์์<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุอัีสัาน<br />

วีรพลั จีงเจร ิญใจี<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุท์ักุษ์ิณ<br />

ดร.กุาญจน ์ เพียรเจร ิญ<br />

ประธิานกรรมาธิิการ<br />

สัถาปนิกุบัูรพา<br />

คมกุฤต พานนสถ ิตย์<br />

กรรมการทีปรึกษา<br />

การบริการ<br />

สม ิตร โอับัายะวาทย ์


06<br />

message from the president<br />

Thailand has officially proclaimed the passage of<br />

COVID-19, signaling the end of the years-long separation<br />

we have all endured in the design industry.<br />

The <strong>ASA</strong> Committee, therefore, devised the plan to<br />

invite individuals from all fields of architecture to<br />

the event and to commemorate the occasion in<br />

grand style. This partnership is indispensable. It<br />

shows how to comprehend the complete design<br />

procedure. The impact of one’s profession and the<br />

joy of design community friendships.<br />

This year’s theme is “Tam Tadd: Time of Togetherness”<br />

in recognition of the first meeting of five professional<br />

organizations: the Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage (<strong>ASA</strong>), the Thai Interior<br />

Designers Association (TIDA), the Thai Association<br />

of Landscape Architects (TALA), the Thai Urban<br />

Designers Association (TUDA), and the Architect<br />

Council of Thailand (ACT). The theme’s name, Tam<br />

Tadd, parallels the culinary cultural identity of Thailand,<br />

which combines a variety of high-quality ingredients<br />

to create a delectable dish. This is meant to<br />

demonstrate that the gathering of all professions<br />

in this work is a fertile source of ideas and a space<br />

that incorporates the extensive knowledge of all<br />

professional organizations.<br />

Numerous activities at the event were a resounding<br />

success, including the Human Library, which taught<br />

the general public that architects and professional<br />

designers possess numerous distinguishing qualities.<br />

Therefore, we invited individuals from a variety of<br />

professions and fields to speak, impart knowledge,<br />

offer advice, or share their experiences on any topic<br />

the audience was interested in learning more about.<br />

It is comparable to reading a book in a library. It is<br />

a collection of existing individuals. The area encircling<br />

the main stage was intended to be lively and densely<br />

populated with attentive listeners. It was a highly<br />

successful event that inspired a large number of<br />

design professionals to convene, ask questions, learn,<br />

and develop.It may best convey the essence of “Time<br />

of Togetherness.”<br />

This year’s academic seminar topics that stimulate<br />

the interest of professionals are challenging, lifeand-career-altering<br />

issues that necessitate explanations<br />

from those with expertise. The event drew<br />

a sizable audience. <strong>ASA</strong> Architects also help individuals<br />

with housing issues through their work. Academic<br />

activities involving cooperation from CDAST,<br />

such as the Outstanding Thesis Competition, the<br />

Watercolor Painting Workshop, and the <strong>ASA</strong> Architectural<br />

Conservation Award <strong>2023</strong> Exhibition, which<br />

brings together 11 architectural heritage buildings<br />

from across the country, help individuals comprehend<br />

the significance of preserving and continuing to study<br />

heritage and architectural culture. The most talkedabout<br />

professional activity is the All Member Exhibition,<br />

which draws together the works of members<br />

from all architectural disciplines in a grand exhibition<br />

of up to 240 units, including 155 firms from the<br />

three professional associations, TIDA, TALA, and<br />

TUDA, which have gained interest in a comprehensive<br />

exhibition for the first time in history.<br />

The <strong>ASA</strong> must further develop quite a number of<br />

comments and feedback, such as the reputation of<br />

the event as an opportunity for Thai architects to<br />

gain international prominence in terms of branding.<br />

This year also marked themfirst time that the Association<br />

and the Architects Council of Thailand collaborated<br />

on the international seminar ACT FORUM.<br />

Our desire to host international lectures from all<br />

disciplines was the impetus behind this endeavor,<br />

but it is a tremendous challenge. Consequently, the<br />

time spent on public relations was relatively brief,<br />

and each session reached the intended audience<br />

only marginally. It appears that generating interest<br />

among other professionals who attend the <strong>ASA</strong> Expo<br />

is only the beginning. And as usual, it was a challenge<br />

for the audiences in the morning, including<br />

how to make the quite fixed area of the seminar<br />

room flexible enough to accommodate the number<br />

of attendees for each session. The team, however,<br />

would not be deterred. And we will continue to<br />

improve the effectiveness of the seminar.


TIME OF TOGETHERNESS<br />

07<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

2022-2024<br />

President<br />

Chana Sumpalung<br />

Vice President<br />

Nives Vaseenon<br />

Jeravej Hongsakul<br />

Phaithaya Banchakitikun<br />

Chutayaves Sinthuphan<br />

Asst. Prof. Rattapong Angkasith, Ph.D.<br />

Rungroth Aumkaew<br />

Secretary General<br />

Pipat Rujirasopon<br />

Honorary Registrar<br />

Khomsan Sakulamnuaypongsa<br />

Honorary Treasurer<br />

Michael Paripol Tangtrongchit<br />

Additionally, the <strong>ASA</strong> Committee would like to<br />

congratulate our primary organizers, TTF, on this<br />

year’s exhibitor turnout. Nearly 95% of the 60,000-<br />

square-meter exhibition space is occupied by international<br />

attendees. The <strong>ASA</strong> conducted a meeting<br />

to discuss the incident’s aftermath. The association<br />

has identified numerous opportunities for enhancement<br />

and solicited member input; therefore, we<br />

would like the organizer to implement their recommendations.<br />

Considering the <strong>ASA</strong> Architects Expo’s<br />

potential to become more international, for instance,<br />

the selection of materials and products exhibited<br />

at the fair must be more systematic in order to generate<br />

a positive image of the products from the participating<br />

nations. The design of the Thematic Pavilion<br />

can be replicated to achieve success in a variety of<br />

fields. We realize that now is the time to reposition<br />

the <strong>ASA</strong> event in order to make it Asia’s largest and<br />

most esteemed exhibition of design innovation.<br />

Social Event Director<br />

Chalermpon Sombutyanuchit<br />

Public Relations Director<br />

Kulthida Songkittipakdee<br />

Executive Committee<br />

Vasu Poshyanandana<br />

Prof. Tonkao Panin, Ph.D.<br />

Chalermphong Netplusarat<br />

Adul Kaewdee<br />

Nathatai Jansen<br />

Tanapong Witkhamhan<br />

Chairman of<br />

Northern Region (Lanna)<br />

Prakan Chunhapong<br />

Chairman of<br />

Northeastern Region (Esan)<br />

Werapol Chongjaroenjai<br />

Chairman of<br />

Southern Region (Taksin)<br />

Dr.Karn Phaincharoen<br />

Chairman of<br />

Eastern Region (Burapa)<br />

Komkrit Panonsatit<br />

Advisory Committee<br />

Smith Obayawat<br />

Lastly, I would like to thank the organizing committee,<br />

speakers, experts, both domestic and international,<br />

influencer designers in both professional<br />

fields and other fields who share knowledge and are<br />

speakers on every topic, the working group and all<br />

members, including various agencies and organizations<br />

that are activity partners, and most importantly,<br />

the four professional associations that co-host<br />

the main event: the Thailand Interior Designers Association<br />

(TIDA), the Thailand Association of Landscape<br />

Architects (TALA), the Thai Urban Designers Association<br />

(TUDA), and the Architects Council of Thailand<br />

(ACT). Again, I wish to express my gratitude and<br />

appreciation.<br />

See you at the <strong>ASA</strong> in 2024!


08<br />

foreword<br />

ในงานออกแบบโครงการสถาปัตยกรรมนั้น พันธมิตรของสถาปนิกในการ<br />

ทำางานมีความหลากหลาย ในระหว่างการออกแบบ สถาปนิกอาจทำางาน<br />

ร่วมกับสถาปนิกผังเมืองและภูมิสถาปนิกในโครงการขนาดใหญ่ หรือ<br />

ทำางานร่วมกับมัณฑนากรในงานสถาปัตยกรรมภายใน ร่วมกับวิศวกร<br />

ผู้รับเหมาก่อสร้าง และผู้ค้าผลิตภัณฑ์งานก่อสร้าง ในระหว่างขั้นตอน<br />

การก่อสร้างจนสำาเร็จ ส่วนผสมที่กลมกล่อมของความคิดสร้างสรรค์และ<br />

ความเป็นมืออาชีพของนักออกแบบในแต่ละบทบาทคือปัจจัยสำาคัญที่<br />

ทำาให้ผลงานแต่ละโครงการประสบความสำาเร็จ ที่ผ่านมาอาจไม่มีการ<br />

ฉายภาพให้เห็นถึงการทำางานร่วมกันของพันธมิตรเหล่านี้มากนัก โดยเฉพาะ<br />

ในการแสดงผลงานสู่สาธารณะ จนกระทั่งในปีที่แล้วของการจัดนิทรรศการ<br />

อาษาประจำาปี 2565 “Co-Creation” ที่เริ่มนำาเสนอภาพการทำางานของ<br />

สถาปนิกร่วมกับนักออกแบบที่หลากหลาย และในปีนี้ที่นำามาสู่แนวคิด<br />

การนำาเสนอผลงานร่วมกันของพันธมิตรในสาขาวิชาชีพ โดยเป็นการอาสา<br />

จัดงานร่วมกันเป็นครั้งแรก<br />

วารสารอาษาฉบับนี้ จึงรวบรวมเนื้อหาสาระ ความรู้ และบรรยากาศจาก<br />

งานนิทรรศการอาษาประจำาปี 2566 ในธีมหลักของงานคือ “ตำาถาด:<br />

Time of Togetherness” ซึ่งเปรียบเสมือนอาหารจานเด็ดจากการผสมผสาน<br />

ของวัตถุดิบทางความคิดและการออกแบบที่คัดสรรจากผู้ร่วมจัดงานจาก<br />

ทั้ง 5 สมาคมวิชาชีพ คือ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

(<strong>ASA</strong>) สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย (TIDA) สมาคมภูมิสถาปนิก<br />

ประเทศไทย(TALA) สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย (TUDA) และสภา<br />

สถาปนิก (ACT) โดยเนื้อหาภายในเล่มประกอบด้วย บทความนำาเสนอ<br />

Thematic Pavilion ผลงานรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมประจำาปี<br />

2566 บทสรุปจาก ACT Forum ที่ทางสมาคมฯร่วมจัดกับสภาสถาปนิก<br />

เป็นปีแรก ผลงานจากประกวดแบบ Experimental Design Competition:<br />

Not Only Human แนะนำาผลิตภัณฑ์น่าสนใจจาก <strong>ASA</strong> Platform Selected<br />

Materials และบทสัมภาษณ์คุณไพทยา บัญชากิติคุณ อุปนายกสมาคม<br />

ฝ่ายกิจการพิเศษ ซึ่งจากผลการจัดงานที่ผ่านมา นับว่าได้สะท้อนเวลาแห่ง<br />

การร่วมไม้ร่วมมือของแต่ละสมาคมวิชาชีพ ที่ได้ถ่ายทอดผลการทำางาน<br />

วิชาชีพออกแบบในหลายมิติต่อสาธารณะในวงกว้าง รวมไปถึงการเผยแพร่<br />

แนวคิด จินตนาการ และมุมมองที่แต่ละวิชาชีพต้องการจะสื่อสารต่อสังคม<br />

สำาหรับวารสารอาษาในปี 2566- 2567 นี้ ทีมบรรณาธิการยังคงนำาเสนอ<br />

สาระความรู้ และผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมที่น่าสนใจจากแวดวง<br />

วิชาชีพสถาปัตยกรรมของไทย ภายใต้แนวคิดเกี่ยวกับ ”Material Matters”<br />

โดยฉบับต่อไปในธีม “Wood is Good” ซึ่งนอกจากสมาชิกของสมาคมฯ<br />

สามารถลงทะเบียนขอรับวารสารฉบับพิมพ์เล่มแล้ว ยังสามารถติดตาม<br />

วารสารอาษาออนไลน์ผ่านช่องทาง Facebook และ Instagram ในชื่อ<br />

“<strong>ASA</strong> Platform” และ asajournal.asa.or.th รวมทั้งกิจกรรมออนไซต์ทั้ง<br />

ในรูปแบบการเสวนา หรือ <strong>ASA</strong> Sitetour เยี่ยมชมผลงานสถาปัตยกรรม<br />

ร่วมกับทีมสถาปนิกผู้ออกแบบ เพื่อเพิ่มอรรถรสของการอ่านมาเป็น<br />

ประสบการณ์จริงในพื้นที่อีกรูปแบบหนึ่ง<br />

In an architectural project, architects normally work with diverse<br />

parties and alliances. Architects may collaborate with urban planning<br />

architects and landscape architects on large projects or with interior<br />

decorators in interior architecture, in addition to engineers, building<br />

contractors, and material suppliers throughout the construction<br />

process. Each project’s success hinges on the designers’ harmonious<br />

blend of creativity and professionalism in their respective roles. There<br />

may have been few predictions of these alliances operating together<br />

in the past, notably in the public exhibition until last year’s 2022 <strong>ASA</strong><br />

exhibition Co-Creation,” which began to present the work of architects<br />

collaborating with various designers, and this year, we see that it led<br />

to the idea of raising the joint work of partners in the professional field<br />

by collaborating with the other major professional associations in<br />

the design and construction industry for the first time to organize<br />

the event jointly.<br />

This edition of <strong>ASA</strong> Expo features the main theme of the Architect<br />

Expo <strong>2023</strong> event, “Tam Taad: Time of Togetherness”, which is a<br />

delicious dish made from the combination of raw materials, ideas,<br />

and designs selected from co-organizers from all 5 professional<br />

associations, namely the Association of Siamese Architects Under<br />

Royal Patronage (<strong>ASA</strong>), the Thai Interior Designers Association<br />

(TIDA), the Thai Association of Landscape Architects (TALA), and<br />

the Architects Council of Thailand (ACT).<br />

This issue contains an article presenting the thematic pavilion<br />

designs, the award for the conservation of architectural art for the<br />

year <strong>2023</strong>, a summary from the ACT Forum that the association<br />

organized for the first time with the Architect Council of Thailand,<br />

The <strong>ASA</strong> Experimental Design Competition: Not Only Human, introducing<br />

new interesting products from the <strong>ASA</strong> Platform Selected<br />

Materials <strong>2023</strong>, and an interview with Phaithaya Banchakitikun, the<br />

Vice President of the <strong>ASA</strong>. The results of this year’s event reflect<br />

the cooperative efforts of each professional association, which has<br />

communicated to the general public the results of its professional<br />

design work in many dimensions, including the dissemination of<br />

ideas, imaginations, and perspectives that each profession seeks to<br />

communicate to society.<br />

The editorial team will continue presenting knowledge and fascinating<br />

architectural designs from the Thai architectural profession for<br />

<strong>2023</strong>–2024 under the concept “Material Matters” with the upcoming<br />

issue titled “Wood is Good.” In addition to registering to receive the<br />

printed edition of the <strong>ASA</strong> Journal, members of the <strong>ASA</strong> can also<br />

follow the online journal <strong>ASA</strong> on Facebook and Instagram via “<strong>ASA</strong><br />

Platform” and asajournal.asa.or.th. There are also on-site activities<br />

in the form of a forum, or <strong>ASA</strong> Sitetour, which consists of visiting<br />

architectural works with a team of architects, to transform the<br />

enjoyment of reading into a real-world experience.


09


<strong>2023</strong><br />

MAY-JUN<br />

TIME OF<br />

TOGETHER-<br />

NESS<br />

review<br />

EMPOWER<br />

STEEL X ACA<br />

Architects<br />

ACA Architects designed a<br />

thematic pavilion for Empower<br />

Steel, incorporating natural<br />

patterns and colors to create<br />

a harmonious image with<br />

nature.<br />

48<br />

review<br />

TKS & TPP<br />

X CONTEXT<br />

STUDIO<br />

Context Studio and Thaikoon<br />

Steel Group have collaborated<br />

to reintroduce steel as a<br />

valuable material in industrial<br />

and structural applications,<br />

influenced by various contexts.<br />

54<br />

Photo: Context Studio<br />

around<br />

<strong>ASA</strong><br />

Conservation<br />

Award <strong>2023</strong><br />

<strong>13</strong><br />

theme<br />

Time of<br />

Togetherness<br />

This year’s Architect Expo is<br />

a collaboration among five<br />

professional associations and<br />

showcases a diverse approach<br />

to architecture, fostering collaboration<br />

and mutual benefits<br />

among professionals.<br />

38<br />

Photo: DOF SKY | GROUND<br />

Photo: HYPOTHESIS<br />

review<br />

TOA &VG X<br />

HYPOTHESIS<br />

Hypothesis created a pavilion<br />

for TOA and VG to establish a<br />

shared foundation, generating<br />

consensus among stakeholders<br />

while preserving their unique<br />

characteristics.<br />

62


eview<br />

WoodDen X<br />

PAVA architects<br />

The Teak Pavilion, designed<br />

by PAVA architects, is a showcase<br />

of creative environment<br />

promoting contemplation and<br />

inquiry into the ecological cycle<br />

of teak.<br />

68<br />

<strong>ASA</strong> International<br />

Design<br />

Competition<br />

<strong>2023</strong>: Not Only<br />

Human<br />

This year’s <strong>ASA</strong> Experimental<br />

Design Competition encourages<br />

incorporating all living things<br />

into manmade environments,<br />

addressing the complexities of<br />

ecosystems.<br />

95<br />

Photo Courtesy of Parin Nawachartkosit<br />

Chanya Leosinkul<br />

Photo: Panoramic Studio<br />

Photo: Spaceshift Studio<br />

professional / studio<br />

Greenbox<br />

Design<br />

<strong>13</strong>6<br />

Forum<br />

ACT<br />

International<br />

Forum <strong>2023</strong><br />

The ACT International Forum<br />

<strong>2023</strong> is a collaboration between<br />

various professional domains,<br />

showcasing diverse perspectives<br />

and methodologies in<br />

architecture.<br />

77<br />

<strong>ASA</strong> Platform<br />

Selected<br />

Materials <strong>2023</strong><br />

The event showcases diverse<br />

architectural materials and<br />

products, focusing on innovation,<br />

sustainability, resource<br />

consumption, and smart living<br />

applications.<br />

120<br />

Photo: Worapas Dusadeewijai<br />

chat<br />

Phaithaya<br />

Banchakitikun<br />

The <strong>ASA</strong> Journal interviewed<br />

Phaithaya Banchakitikun, <strong>ASA</strong><br />

Vice President, Special Activities,<br />

about the designated mission<br />

and the success of the <strong>ASA</strong><br />

WoW event in 2022, where he<br />

served as event director.<br />

140<br />

the last page<br />

144<br />

Photo Courtesy of The Association of Siamese Architects<br />

Under Royal Patrouge


12


<strong>ASA</strong> Conservation Award <strong>2023</strong><br />

<strong>13</strong><br />

<strong>ASA</strong> Conservation<br />

Award <strong>2023</strong><br />

The Association of Siamese<br />

Architects under the Royal Patronage<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดให้มีการพิจารณา<br />

มอบรางวัลอนุรักษ์ ศิลปสถาปัตยกรรม โดยมีวัตถุประสงค์ที่จะเผยแพร่<br />

ข้อมูลอาคารอันทรงคุณค่าให้เป็นที่รู้จัก เสริมสร้างกําลังใจให้กับผู้ครอบ<br />

ครองที่ได้ดูแลรักษาไว้ หรือให้มาช่วยกันรักษาอาคารที่มีคุณค่าให้คงอยู่<br />

เป็นมรดกสถาปัตยกรรมของชาติต่อไปโดยเสนอให้เข้ารับพระราชทาน<br />

รางวัลจากสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ<br />

สยามบรมราชกุมารีมาตั้งแต่ พ.ศ. 2525 ต่อเนื่องมาจนถึงในปัจจุบัน<br />

ทั้งนี้นับตั้งแต่ พ.ศ. 2563 ทางสมาคมฯ ได้ “มองเก่า ให้ใหม่” ด้วย<br />

การปรับเปลี่ยนเพิ่มเติมรางวัลเป็นกําลังใจสําหรับสถาปนิกผู้ออกแบบ<br />

อนุรักษ์อาคารที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ด้วย พร้อมทั้งยังได้แบ่งรางวัลสําหรับ<br />

การอนุรักษ์อาคารเป็นระดับตามคุณภาพ ของการดําเนินการเป็น 4 ระดับ<br />

ได้แก่ ระดับดีเยี่ยม ระดับดีมาก ระดับดี และระดับสมควรได้รับการ<br />

เผยแพร่นอกจากนี้ยังเพิ่มรางวัลสําหรับงานออกแบบใหม่ในพื้นที่ของ<br />

อาคารอนุรักษ์ที่ส่งเสริมการรักษาคุณค่าของมรดกสถาปัตยกรรมไว้<br />

ตามกระแสแนวความคิดของการอนุรักษ์เพื่อประโยชน์ในปัจจุบันอย่าง<br />

ยั่งยืนจึงกําหนดให้มีการแบ่งประเภทของรางวัลออกเป็น<br />

ประเภท ก.<br />

งานอนุรักษ์มรดกทางสถาปัตยกรรมและชุมชน<br />

ประเภท ข.<br />

งานออกแบบใหม่ในบริบทการอนุรักษ์<br />

ประเภท ค.<br />

บุคคลหรือองค์กร อนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมดีเด่น<br />

การพิจารณาอาคารและบุคคลที่สมควรจะได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลป<br />

สถาปัตยกรรมจะตัดสินจากแนวความคิดกระบวนการอนุรักษ์ที่เป็นไป<br />

ตามหลักการและขั้นตอนที่ถูกต้อง เหมาะสม และมีผลดีจากการอนุรักษ์<br />

นั้น ต่อเศรษฐกิจและสังคม การเป็นแบบอย่างอันดีที่ช่วยส่งเสริมให้<br />

คุณค่าของงานสถาปัตยกรรม รวมทั้งสภาพแวดล้อมยังคงอยู่เพื่อส่งมอบ<br />

ให้กับคนในรุ่นต่อไป โดยการประกาศผลอยู่ในความรับผิดชอบของ<br />

คณะกรรมาธิการอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมของสมาคมฯ ที่ผลัดเปลี่ยน<br />

กันมาทําหน้าที่ตามวาระ<br />

The Association of Siamese Architects under Royal Patronage<br />

has granted the <strong>ASA</strong> Conservation Award, aiming to disseminate<br />

information on valuable architectural heritage, promote<br />

public participation in conservation, and, most importantly,<br />

encourage and express appreciation to the owners of heritage<br />

places for their effort and success. The prestige and<br />

honor of the award are so highly recognized that, since 1982<br />

to the present, HRH Princess Maha Chakri Sirindhorn has<br />

graciously presided over the award-giving ceremony each<br />

year. From 2020 onward, <strong>ASA</strong> has “Refocused Heritage” by<br />

including the award for architects who made conservation<br />

design for the awarded buildings and ranking the architectural<br />

conservation award in 4 levels: Excellence, Distinction,<br />

Merit, and honorable Mention. Furthermore, the award for<br />

New Design in Conservation Context has been added. In<br />

conclusion, to promote sustainable conservation concepts,<br />

the <strong>ASA</strong> Conservation Award is categorized into three<br />

types:<br />

TypeA:<br />

Conservation of Architectural Heritage and Community<br />

Type B:<br />

New Design in Conservation Context<br />

Type C:<br />

Outstanding Person and Organization in Architectural<br />

Conservation<br />

Criteria for the Architectural Conservation Award comprise<br />

concept; a conservation process that was carried out based<br />

on correct and appropriate principles and procedures; the<br />

result of conservation being beneficial to the economy and<br />

society; and being good examples that enhance the values<br />

of architecture and the environment to be conserved and<br />

maintained for future generations. The award announcement<br />

is made by the Architectural Conservation Committee of the<br />

Association of Siamese Architects under Royal Patronage.


14<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

รายชื่อรางวัลอนุรักษ์ศิลป<br />

สถาปั ตยกรรม ประจำาปี 2565<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ประเภท ก. งานอนุรักษ์มรดกทางสถาปั ตยกรรม<br />

และชุมชน<br />

ระดับดีเยี่ยม<br />

ไม่มีผู้สมควรได้รับรางวัล<br />

ระดับดีมาก<br />

1. ตึกสุวรรณวาจกกสิกิจ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

2. โครงการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ ์<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

ระดับดี<br />

1. วิหารโคมคํา วัดพระธาตุเสด็จ<br />

จังหวัดลําปาง<br />

2. กุฏิหลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน<br />

จังหวัดชุมพร<br />

3. พิพิธภัณฑ์ท้องถิ ่น “ชุมทางประวัติศาสตร์ทุ่งสง”<br />

จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

4. มัสยิดบ้านควนลังงา<br />

จังหวัดปัตตานี<br />

ระดับสมควรได้รับการเผยแพร่<br />

1. พิพิธภัณฑ์บ้านป่ องนัก<br />

จังหวัดลําปาง<br />

2. อาคารสํานักงานคณะกรรมการสงฆ์จังหวัดสุโขทัย<br />

วัดสว่างอารมณ์วรวิหาร<br />

จังหวัดสุโขทัย<br />

3. ยงคัง ท่าวัง<br />

จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

ประเภท ข. งานออกแบบใหม่ในบริบทการอนุรักษ์<br />

1. คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่านเมืองเก่าสงขลา<br />

จังหวัดสงขลา<br />

ประเภท ค. บุคคลหรือองค์กร อนุรักษ์ศิลป<br />

สถาปั ตยกรรม<br />

1. อนุรักษ์ศิลปสถาปั ตยกรรม ศูนย์อนุรักษ์เรือน<br />

โบราณ โดย นายรุ่งโรจน์ เปี ่ ยมยศศักดิ์<br />

จังหวัดเชียงใหม่<br />

List of Award<br />

<strong>ASA</strong> Conservation Award 2022<br />

The Association of Siamese<br />

Architects under the Royal<br />

Patronage<br />

Type A. Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Award of Excellence<br />

No Award given<br />

Award of Distinction<br />

1. Suwanwajoksikit Building<br />

Bangkok<br />

2. Conservation Project and Revitalize<br />

The Luanrit Community Area<br />

Bangkok<br />

Award of Merit<br />

1. Wihan Khome Kham<br />

Lampang Province<br />

2. Luang Pho Thong’s cell<br />

Chumphon Province<br />

3. The Thung Song Historical Museum<br />

Nakhon si Thammarat Province<br />

4. Ban Khuan Lang-nga Mosque<br />

Pattani Province<br />

Honorable Mention<br />

1. Ban Pong Nak Museum<br />

Lampang Province<br />

2. Sukhothai Provincial Office of Buddhist<br />

Monks Building<br />

Sukhothai Province<br />

3. Yongkang Thawang<br />

Nakhon si Thammarat Province<br />

Type B. New Design in conservation<br />

context Type<br />

1. Cafe’ Amazon Songkhla Old Town<br />

Songkhla Province<br />

Type C. Outstanding Person or organization<br />

in architectural conservation<br />

1. Mr. Roongroj Paimyossak<br />

Chiang Mai Province


15<br />

Type A. Conservation of Architectural Heritage and Community<br />

Award of Distinction<br />

Award of Merit<br />

Type C. Outstanding Person or organization in architectural conservation<br />

Type B. New Design in conservation context Type<br />

Honorable Mention<br />

Suwanwajoksikit Building<br />

Wihan Khome Kham<br />

Ban Pong Nak<br />

Museum<br />

Mr. Roongroj<br />

Paimyossak<br />

Sukhothai Provincial Office<br />

of Buddhist Monks Building<br />

Yongkang Thawang<br />

Cafe’ Amazon Songkhla<br />

Old Town<br />

Luang Pho<br />

Thong’s cell<br />

The Thung Song<br />

Historical Museum<br />

Ban Khuan Lang-nga<br />

Mosque<br />

Conservation Project and Revitalize<br />

The Luanrit Community Area<br />

List of Award<br />

ตึ<br />

กส<br />

ุ<br />

วรรณวาจกกส<br />

ิ<br />

ก<br />

ิ<br />

จ<br />

ตึ<br />

กส<br />

ุ<br />

วรรณวาจกกส<br />

ิ<br />

ก<br />

ิ<br />

จ เป็ นหนึ<br />

่ งในกล<br />

ุ<br />

่ มอาคารเร<br />

ี ยนรวมของนิ ส<br />

ิ ตในช<br />

่ วงยุ คเร<br />

ิ<br />

่ ม ก่ อ ตั<br />

้ ง<br />

มหาว<br />

ิ ทยาล<br />

ั ยเกษตรศาสตร<br />

์ ถ<br />

ื อเป<br />

็ นอาคารเร<br />

ี ยนท<br />

ี่ มี ขนาดใหญ่ ท<br />

ี่ ส<br />

ุ ดในเวลานั<br />

้ น ต่ อมามี<br />

การเปล<br />

ี่ ยนแปลงการใช<br />

้ งานอยู่ หลายคร<br />

ั<br />

้ งจนหยุ ดการใช<br />

้ งานในพุ ทธศั กราช 2556<br />

เนื่ องจากอาคารมี สภาพความเสี ยหายและทร<br />

ุ ดโทรมจากการใช<br />

้ งานและขาดการดู แลร<br />

ั กษา<br />

หล<br />

ั งจากนั้ นในพุ ทธศั กราช 2558 คณะว<br />

ิ ทยาศาสตร<br />

์ ได้<br />

จ<br />

ั<br />

ดท<br />

ํ าแผนการอนุ<br />

ร<br />

ั กษ์<br />

ตึ กส<br />

ุ วรรณวาจกกส<br />

ิ ก<br />

ิ จร<br />

่ วมก<br />

ั บการก<br />

่ อสร<br />

้ างอาคารปฏิ บ<br />

ั ติ การรวมคณะว<br />

ิ ทยาศาสตร<br />

์<br />

มี จ<br />

ุ ดมุ่ งหมายเพื่ อร<br />

ั กษาคุ ณค่ าอาคารเก่ าและเช<br />

ื่ อมโยงกั บการใช<br />

้ งานและบร<br />

ิ บทใหม่ ของ<br />

พื้ นท<br />

ี่ คณะว<br />

ิ ทยาศาสตร<br />

์ ส<br />

ํ าหร<br />

ั บกระบวนการอนุ ร<br />

ั กษ์ ใช<br />

้ ว<br />

ิ ธ<br />

ี ถอดร<br />

ื<br />

้ อและประกอบใหม่<br />

(Reconstruction) ซ<br />

ึ<br />

่ งเป<br />

็ นกระบวนการท<br />

ี่ยั งคงร<br />

ั กษาร<br />

ู ปแบบทางสถาป<br />

ั ตยกรรมเดิ มไว<br />

้<br />

โดยร<br />

ั กษาหล<br />

ั กการและว<br />

ิ ธ<br />

ี การก<br />

่ อสร<br />

้ างท<br />

ี่ ส<br />

ั มพั นธ<br />

์ ก<br />

ั บการก<br />

่ อสร<br />

้ างตามร<br />

ู ปแบบดั<br />

้ งเดิ ม<br />

แต่ สามารถเปล<br />

ี<br />

่ ยนแปลงและเสร<br />

ิ มว<br />

ั สดุ บางส<br />

่ วนให้ อาคารมี ความแข<br />

็ งแรงเหมาะสมก<br />

ั บ<br />

การใช<br />

้ งานในปั จจ<br />

ุ บั น ได้ มี การร<br />

ื้ อฟื<br />

้<br />

นพื้ นที่ ช<br />

ั<br />

้ นล<br />

่ างให้ กล<br />

ั บมามี ล<br />

ั กษณะเปิ ดโล<br />

่ งเหมื อนใต้ ถุ น<br />

ตึ กเมื่ อสมั ยแรกสร<br />

้ างและปร<br />

ั บใช<br />

้ เป<br />

็ นร<br />

้ านกาแฟ ส<br />

่ วนพื้ นท<br />

ี่ ช<br />

ั<br />

้ นบนใช<br />

้ เป<br />

็ นหอประว<br />

ั ติ ของ<br />

คณะว<br />

ิ ทยาศาสตร<br />

์ (Inspiration Center Faculty of Science KU)<br />

ที ่<br />

ตั<br />

้<br />

ง มหาว<br />

ิ ทยาล<br />

ั ยเกษตรศาสตร<br />

์ แขวงลาดยาว เขตจตุ จ<br />

ั กร กร<br />

ุ งเทพมหานคร<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ผู้ ช<br />

่ วยศาสตราจารย์ ทองพั นธ<br />

์ พู<br />

นส<br />

ุ วรรณ<br />

สถาปนิ กอนุ ร<br />

ั กษ์ ผู้ ช<br />

่ วยศาสตราจารย์ ฐ<br />

ิ ติ ว<br />

ุ ฒิ ช<br />

ั ยสว<br />

ั สดิ์ อาร<br />

ี<br />

ผู้<br />

ครอบครอง มหาว<br />

ิ ทยาล<br />

ั ยเกษตรศาสตร<br />

์ ภายใต้ การดู แลของคณะว<br />

ิ ทยาศาสตร<br />

์<br />

ปี<br />

ท<br />

ี่สร<br />

้ าง พุ ทธศั กราช 2506<br />

ตึ<br />

กส<br />

ุ<br />

วรรณวาจกกส<br />

ิ<br />

ก<br />

ิ<br />

จ เป<br />

็ นอาคารสองช<br />

ั้นใต้ ถุ นเป<br />

ิ ดโล<br />

่ ง ช<br />

ั้ นบนเป<br />

็ นห้ องโถงขนาดใหญ่<br />

สามารถจ<br />

ุ คนได้ ประมาณ 300 คน มี บั นไดทางข<br />

ึ้ นสองด้ านเช<br />

ื่ อมกั บระเบี ยงทางเดิ นบร<br />

ิ เวณ<br />

ด้ านท<br />

ิ<br />

ศตะว<br />

ั นออก การวางตํ าแหน่ งอาคารเป็ นล<br />

ั<br />

กษณะการวางขวางตะว<br />

ั นเพื่ อให้<br />

อาคารขนานก<br />

ั บถนนส<br />

ุ วรรณวาจกกส<br />

ิ ก<br />

ิ จซ<br />

ึ<br />

่ งเป<br />

็ นถนนท<br />

ี่ แบ่ งพื้ นท<br />

ี่ ระหว<br />

่ างมหาว<br />

ิ ทยาล<br />

ั ย<br />

เกษตรศาสตร<br />

์ ก<br />

ั บพื้ นท<br />

ี่ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (เดิ ม) ท<br />

ํ าให้ เห็ นการออกแบบท<br />

ี<br />

่ มี<br />

องค์ ประกอบของแผงกั นแดดทางด้ านทิ ศตะว<br />

ั นตกและการยื่ นชายคาหล<br />

ั งคาเพื่ อป้ องกั น<br />

แดดยาวประมาณ 2 เมตร ส<br />

่ วนทางด้ านท<br />

ิ ศตะว<br />

ั นออกจะเป<br />

็ นระเบ<br />

ี ยงทางเดิ นเพื่ อไม่ ให้<br />

ผนั งภายในห้ องร<br />

ั บแดดโดยตรง ห้ องบรรยายช<br />

ั<br />

้ นบนเป<br />

็ นพื้ นท<br />

ี่ เป<br />

ิ ดโล<br />

่ งขนาดใหญ่<br />

มี โครงสร<br />

้ างหล<br />

ั งคาเป<br />

็ นโครงถ<br />

ั กไม้ (Wooden Truss) พาดตลอดความกว<br />

้ างของห้ อง<br />

เพื่ อไม่ ให้ มี เสาบร<br />

ิ เวณกลางห้ อง มี การเจาะช<br />

่ องแสงจากด้ านบนหล<br />

ั งคา (Skylight)<br />

ผนั งด้ านทิ ศตะว<br />

ั นตกและตะว<br />

ั นออกใช<br />

้ หน้ าต่ างช<br />

่ องบานเปิ ดคู่ ตลอดความยาวของอาคาร<br />

พื้ นที่ เหนื อหน้ าต่ างเป็ นช<br />

่ องระบายอากาศกร<br />

ุ ด้ วยตาข<br />

่ ายเหล<br />

็ กสาน ร<br />

ู ปทรงหล<br />

ั งคาเป็ นจ<br />

ั<br />

่ ว<br />

ความช<br />

ั น 15 องศา ม<br />

ุ งด้ วยกระเบ<br />

ื้องซ<br />

ี เมนต์ ใยหิ น แผงบ<br />

ั งแดดท<br />

ํ าด้ วยโครงไม้ เนื้ อแข<br />

็ ง<br />

กร<br />

ุ แผ่ นกระเบื้ องใยหิ นเพื่ อช<br />

่ วยบั งแดดให้ กั บทางเดิ นทางด้ านทิ ศตะว<br />

ั นออกและผนั งช<br />

่ อง<br />

เปิ ดทางทิ ศตะว<br />

ั นตกได้ ดี ด้ านทิ ศเหนื อและทิ ศใต้ ของอาคารออกแบบเป็ นผนั งไม้ ส<br />

ั กตี ทั บ<br />

แนวทางตั้ งส<br />

ํ าหร<br />

ั บใช<br />

้ บ<br />

ั งแดดซ<br />

ึ<br />

่ งเป<br />

็ นเอกล<br />

ั กษณ์ ท<br />

ี่ส<br />

ํ าคั ญของอาคารหล<br />

ั งนี้<br />

ตึ<br />

กส<br />

ุ<br />

วรรณวาจกกส<br />

ิ<br />

ก<br />

ิ<br />

จ เป<br />

็ นตั วแทนของล<br />

ั กษณะร<br />

ู ปแบบอาคารเร<br />

ี ยนในสมั ยแรกของ<br />

มหาว<br />

ิ ทยาล<br />

ั ยเกษตรศาสตร<br />

์ ที่ แสดงให้ เห็ นถึ งว<br />

ิ ธ<br />

ี การออกแบบที่ เข<br />

้ ากั บสภาพแวดล<br />

้ อมใน<br />

เขตร<br />

้ อนช<br />

ื้ นที่ ใช<br />

้ การระบายอากาศโดยว<br />

ิ ธ<br />

ี ธรรมชาติ (Passive Design) และความพยายาม<br />

ของสถาปนิ กท<br />

ี่ จะออกแบบอาคารท<br />

ี่ ประหยั ดโครงสร<br />

้ างและให้ เก<br />

ิ ดประโยชน์ ส<br />

ู งส<br />

ุ ดใน<br />

การใช<br />

้ งาน ผลของการอนุ ร<br />

ั กษ์ ตามหล<br />

ั กว<br />

ิ ชาการท<br />

ํ าให้ ตึ กส<br />

ุ วรรณวาจกกส<br />

ิ ก<br />

ิ จสามารถ<br />

ร<br />

ั กษาคุ ณค่ าทางประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ และสถาปั ตยกรรมความส<br />

ํ าคั ญเอาไว<br />

้ ได้ และกลายมาเป็ น<br />

แหล<br />

่ งเร<br />

ี ยนร<br />

ู้ ให้ ก<br />

ั บนิ ส<br />

ิ ตเหมื อนเช<br />

่ นในอดี ตท<br />

ี่ผ่ านมา<br />

ว<br />

ิ หารโคมคํ<br />

า ว<br />

ั ดพระธาตุ เสด็ จ<br />

ว<br />

ิ หารโคมคํ<br />

า ตั้ งอยู่ ทางด้ านท<br />

ิ ศใต้ ของพระธาตุ เสด็ จและ<br />

ว<br />

ิ หารหลวง ภายในพื้ นท<br />

ี่ว<br />

ั ดพระธาตุ เสด็ จซ<br />

ึ<br />

่ งเป<br />

็ นว<br />

ั ดเก<br />

่ าแก<br />

่<br />

และมี ความส<br />

ํ าคั ญว<br />

ั ดหนึ<br />

่<br />

งของจ<br />

ั งหว<br />

ั ดล<br />

ํ าปาง ถ<br />

ื อเป<br />

็ นว<br />

ั ด<br />

คู<br />

่ บ<br />

้ านคู<br />

่ เมื องคู<br />

่ ก<br />

ั บว<br />

ั ดพระธาตุ ล<br />

ํ าปางหลวง พระเจ<br />

้ าหอคํ า<br />

ดวงท<br />

ิ พย์ เจ<br />

้ าผู้ ครองนครล<br />

ํ าปางและราชเทว<br />

ี สร<br />

้ างว<br />

ิ หาร<br />

โคมคํ าข<br />

ึ<br />

้ นในพุ ทธศั กราช 2366 ล<br />

ั กษณะอาคารโถง หร<br />

ื อ<br />

ว<br />

ิ หารแบบเป<br />

ิ ดในศิ<br />

ลปะล<br />

้<br />

านนา ภายในว<br />

ิ หารประดิ ษฐาน<br />

พระพุ ทธร<br />

ู ปพระธาตุ เสด็ จปู นปั<br />

้<br />

น ปางมารว<br />

ิ ช<br />

ั ย หน้ าตั กกว<br />

้ าง<br />

ประมาณ 2 เมตร ในเวลาต่ อมาว<br />

ิ หารโคมคํ าช<br />

ํ าร<br />

ุ ดทร<br />

ุ ดโทรม<br />

ลงตามกาลเวลา จนถ<br />

ึ งพุ<br />

ทธศั กราช 2500 ว<br />

ิ หารโคมคํ า<br />

ได้<br />

ร<br />

ั บการบ<br />

ู รณปฏิ ส<br />

ั งขรณ์ คร<br />

ั<br />

้ งใหญ่<br />

โดยมี แม่ เล<br />

ี้ ยงเต่ า<br />

จ<br />

ั นทรว<br />

ิ โรจน์ เป<br />

็ นผู้ ให้ การอ<br />

ุ ปถ<br />

ั มภ์ การบ<br />

ู รณะคร<br />

ั้ งใหญ่ นี้<br />

ได้ ก<br />

่<br />

อผนั งปิ ดโดยรอบว<br />

ิ หารโคมคํ<br />

าท<br />

ํ<br />

าให้ ร<br />

ู ปแบบอาคาร<br />

เปล<br />

ี่ ยนเป็ นว<br />

ิ หารแบบปิ ด ไม่ ปรากฏเสาด้ านข<br />

้ างว<br />

ิ หารเหมื อน<br />

เช<br />

่ นในอดี ต และเปล<br />

ี่ ยนกระเบื้ องแป้ นเกล<br />

็ ดไม้ เป็ นกระเบื้ อง<br />

ดิ นขอ ในพุ<br />

ทธศั กราช 2556 ว<br />

ิ หารโคมคํ าได้ ร<br />

ั บการบ<br />

ู รณ-<br />

ปฏิ ส<br />

ั งขรณ์ อ<br />

ี กคร<br />

ั<br />

้ งในการกํ าก<br />

ั บดู แลของกรมศิ ลปากร โดย<br />

ส<br />

ํ านั กศิ<br />

ลปากรท<br />

ี่ 7 น่ าน (เดิ ม) และมี ห้ างหุ<br />

้ นส<br />

่<br />

วนจ<br />

ํ าก<br />

ั ด<br />

ช่ อฟ้ าก่ อสร<br />

้ าง เป็ นผู้ ดํ าเนิ นการ มี แนวคิ ดหลั กในการอนุ ร<br />

ั กษ์<br />

การร<br />

ั กษาร<br />

ู ปแบบศิ ลปกรรมเดิ ม เปล<br />

ี่ยนโครงสร<br />

้ างหล<br />

ั งคา<br />

เปลี่ ยนว<br />

ั สดุ มุ งหลั งคา ปร<br />

ั บพื้ นเสร<br />

ิ มความมั<br />

่ นคงแข<br />

็ งแรงใหม่<br />

ทาส<br />

ี ว<br />

ิ หารท<br />

ั<br />

้ งภายในและภายนอก และป<br />

ิ ดทองพระพุ<br />

ทธร<br />

ู ป<br />

ประธานท<br />

ั<br />

้<br />

งหมด หล<br />

ั<br />

งจากท<br />

ี่ ทางว<br />

ั ดและคณะศร<br />

ั ทธาได้<br />

ร<br />

่ วมกั นทุ บร<br />

ื้ อพื้ นป<br />

ู นซี เมนต์ ที่ อยู่ ประช<br />

ิ ดรอบอาคารออกเพื่ อ<br />

คื นสภาพบรรยากาศดั้ งเดิ มให้ กล<br />

ั บคื นมา<br />

ว<br />

ิ หารโคมคํ า ตั<br />

้ งอยู่ บนฐานก<br />

่<br />

ออ<br />

ิ ฐถ<br />

ื<br />

อป<br />

ู<br />

นและฉาบเร<br />

ี ยบ<br />

ยกสู งจากพื้ นดิ น 0.30 เมตร แผนผั งเป็ นร<br />

ู ปส<br />

ี่ เหล<br />

ี่ ยมผื นผ้ า<br />

ขนาดกว<br />

้ าง 3 ห้ อง (8.45 เมตร) ยาว 6 ห้ อง (21 เมตร)<br />

ยกเก<br />

็ จด้ านหน้ า 2 ห้ อง ด้ านหล<br />

ั ง 1 ห้ อง ก<br />

่ ออ<br />

ิ ฐถ<br />

ื อป<br />

ู นปิ ดเป็ น<br />

ผนั งท<br />

ั<br />

้ งสองด้ านจนถ<br />

ึ งห้ องท<br />

้ ายของว<br />

ิ หารท<br />

ี่ เป<br />

็ นห้ องปิ ด<br />

โดยเจาะช<br />

่ องแสงร<br />

ู ปส<br />

ี่ เหล<br />

ี่ ยมผื นผ้ ายาวในแนวตั้ งห้ องละ<br />

4 ช<br />

่ อง ขนาบด้ วยช<br />

่ องกากบาท 3 ช<br />

่ อง เสาว<br />

ิ หารเป<br />

็ นเสาไม้<br />

มี 2 ร<br />

ู ปแบบ คื อ เสาท<br />

ี่ ม<br />

ุ ขโถงและเสาท<br />

ี่ ผนั งด้ านหน้ าเป<br />

็ น<br />

เสาแปดเหล<br />

ี่ ยม ส<br />

่ วนเสาภายในว<br />

ิ หารเป็ นเสากลม ทั<br />

้ งหมดมี<br />

บั วหั วเสาและประดั บเสาด้ วยลายคํ า หล<br />

ั งคาว<br />

ิ หารมี ล<br />

ั กษณะ<br />

เป็ นหล<br />

ั งคาซ<br />

้ อน 2 ช<br />

ั<br />

้ น ลดด้ านหน้ า 3 ช<br />

ั<br />

้ น ด้ านหล<br />

ั ง 2 ช<br />

ั<br />

้ น<br />

ลั กษณะการทํ าหลั งคาซ้ อนช<br />

ั<br />

้ นรวมถึ งการลดช<br />

ั<br />

้ นด้ านหน้ าและ<br />

ด้ านหล<br />

ั ง สอดคล<br />

้ องไปตามแผนผั งของว<br />

ิ หารท<br />

ี่ ยกเก<br />

็ จ<br />

ด้ านหน้ า 2 ห้ องและยกเก<br />

็ จด้ านหล<br />

ั ง 1 ห้ อง ซ<br />

ึ<br />

่ งเป<br />

็ นร<br />

ู ปแบบ<br />

มาตรฐานของหล<br />

ั งคาว<br />

ิ หารล<br />

้ านนา ปั จจ<br />

ุ บั นมุ งด้ วยกระเบื้ อง<br />

เคล<br />

ื อบแทนกระเบ<br />

ื้ องดิ นขอแบบเดิ ม ส<br />

่ วนหล<br />

ั งคาประกอบ<br />

ด้ วยองค์ ประกอบส<br />

่ วนประดั บต่ าง ๆ ได้ ท<br />

ํ าการแก<br />

้ ไขส<br />

่ วน<br />

ท<br />

ี่เคยมี การบ<br />

ู รณะไว<br />

้ ด้ วยซ<br />

ี เมนต์ ให้ กล<br />

ั บมาเป<br />

็ นงานไม้ และ<br />

งานดิ นเผาตามแบบดั<br />

้ งเดิ ม นอกจากนี้ เนื่ องจากร<br />

ู ปแบบของ<br />

ว<br />

ิ หารโถงเมื่ อแรกสร<br />

้ างที่ เปิ ดพื้ นที่ ด้ านล่ างโล่ ง จึ งจํ าเป็ นต้ อง<br />

ท<br />

ํ าชายคาป<br />

ี กนกด้ านข<br />

้ างท<br />

ี่ลาดตํ่ าลงมากเพื่ อก<br />

ั นนํ้ าฝนและ<br />

แสงแดด<br />

ว<br />

ิ หารโคมคํ า ถ<br />

ื<br />

อเป<br />

็ นตั วอย่ างส<br />

ํ าคั ญของการอนุ ร<br />

ั กษ์<br />

ศาสนสถานที่ ทรงคุ ณค่ าทางด้ านศิ ลปะที่ สะท้ อนภาพว<br />

ิ ถี ช<br />

ี ว<br />

ิ ต<br />

แบบล<br />

้ านนาของจ<br />

ั งหว<br />

ั ดล<br />

ํ าปางได้ เป็ นอย่ างดี สามารถร<br />

ั กษา<br />

องค์ ประกอบทางสถาป<br />

ั ตยกรรมของว<br />

ิ หารซ<br />

ึ<br />

่ งมี ความเป็ น<br />

เอกลั กษณ์ เฉพาะตั วเอาไว<br />

้ ได้ อย่ างน่ าชื่ นชม และสามารถร<br />

ั กษา<br />

การใช<br />

้ งานในการประกอบกิ จกรรมทางศาสนา และเป็ นแหล่ ง<br />

เร<br />

ี ยนร<br />

ู้ สถาป<br />

ั ตยกรรมท<br />

้ องถ<br />

ิ่ นท<br />

ี่ส<br />

ํ าคั ญของพื้ นท<br />

่ี<br />

ที ่<br />

ตั<br />

้<br />

ง ว<br />

ั ดพระธาตุ เสด็ จ ตํ าบลบ<br />

้ านเสด็ จ<br />

อ<br />

ํ าเภอเมื องล<br />

ํ าปาง จ<br />

ั งหว<br />

ั ดล<br />

ํ าปาง<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช<br />

ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ผู้<br />

ครอบครอง ว<br />

ั ดพระธาตุ เสด็ จ<br />

ป<br />

ี<br />

ท<br />

ี่สร<br />

้ าง พุ ทธศั กราช 2366<br />

งานอนุ<br />

ร<br />

ั กษ์<br />

มรดกทางสถาป<br />

ั<br />

ตยกรรมและช<br />

ุ มชน ระดั บดี<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

ั ตยกรรมป<br />

ี 2566<br />

กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง<br />

กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง ตั<br />

้ งอยู่ ในว<br />

ั ดดอนสะท้ อนซึ<br />

่ งเป็ นว<br />

ั ดเก่ าแก่<br />

ร<br />

ิ มแม่ นํ้ าสวี หนุ่ ม ไม่ ทราบหล<br />

ั กฐานแน่ ช<br />

ั ดว<br />

่ าว<br />

ั ดสร<br />

้ างข<br />

ึ<br />

้<br />

น<br />

ในสมั ยใด ได้ ร<br />

ั บการบ<br />

ู รณะคร<br />

ั้ งใหญ่ ในสมั ยหลวงพ่ อทอง<br />

พุ ทฺ ธส<br />

ุ วณฺ โณ เป<br />

็<br />

นเจ<br />

้ าอาวาส เมื่ อพุ ทธศั กราช 2466<br />

ต่ อมาในพุ ทธศั กราช 2486 ว<br />

ั<br />

ดดอนสะท<br />

้ อนได้ สร<br />

้<br />

าง<br />

กุ ฏิ หลวงพ่ อทองข<br />

ึ<br />

้ นมาเพื่ อเป<br />

็ นที่ จ<br />

ํ าว<br />

ั ดของหลวงพ่ อทอง<br />

พุ ทฺ ธส<br />

ุ วณฺ โณ หล<br />

ั งจากนั<br />

้ นว<br />

ั ดดอนสะท้ อนได้ ร<br />

ั บการประกาศ<br />

เขตว<br />

ิ ส<br />

ุ งคามสี มาในราชก<br />

ิ จจานุ เบกษา เล<br />

่ ม 69 ตอนที่ 52<br />

หน้ า 993 ลงว<br />

ั นที่ 26 ส<br />

ิ งหาคม พุ<br />

ทธศั กราช 2495 กรม<br />

ศิ ลปากรได้ ท<br />

ํ าการส<br />

ํ ารวจกุ ฏิ หลวงพ่ อทองและประกาศข<br />

ึ<br />

้ น<br />

ทะเบี ยนโบราณสถานเมื่ อพุ ทธศั กราช 2540 ต่ อมาปลายป<br />

ี<br />

พุ ทธศั กราช 2560 กรมศิ ลปากรทํ าการปร<br />

ั บปร<br />

ุ งฟื<br />

้<br />

นฟู อาคาร<br />

ตามหล<br />

ั กว<br />

ิ ชาการเพื่ อให้ มี ความมั<br />

่ นคงแข<br />

็ งแรงและคงไว<br />

้ ซึ่ ง<br />

หล<br />

ั กฐานทางการศึ กษาด้ านโบราณคดี ประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ ศิ ลปะ<br />

และสถาปั ตยกรรม โดยยึ ดถ<br />

ื อร<br />

ู ปแบบและว<br />

ั สดุ อาคารให้<br />

เหมื อนของเดิ มให้ มากที่ สุ ด การปร<br />

ั บปร<br />

ุ งฟื<br />

้<br />

นฟู คร<br />

ั<br />

้ งนี้ ออกแบบ<br />

ควบคุ มงานโดยส<br />

ํ านั กศิ ลปากรที่ 12 นครศรี ธรรมราช และ<br />

มี บร<br />

ิ ษั ทชาญร<br />

ุ่ งโรจน์ จ<br />

ํ าก<br />

ั ด เป<br />

็ นผู้ ดํ าเนิ นการ การอนุ ร<br />

ั กษ์<br />

อาคารแล<br />

้ วเสร<br />

็ จในปลายพุ<br />

ทธศั กราช 2561 ว<br />

ั ดดอนสะท<br />

้ อน<br />

ใ ช้ พื ้ น ที ่ ชั<br />

้ นล<br />

่ างกุ ฏิ หลวงพ่ อทองเป็ นสถานที่ ร<br />

ั บรองแขกของ<br />

ว<br />

ั ด ส<br />

่ วนพื้ นที่ ช<br />

ั<br />

้ นบนใช<br />

้ เป<br />

็ นสถานที่ จ<br />

ั ดแสดงงานพุ<br />

ทธศิ ลป<br />

์<br />

จนถ<br />

ึ งป<br />

ั จจ<br />

ุ บ<br />

ั น<br />

กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง เป<br />

็ นเร<br />

ื อนไม้ ทรงป<br />

ั<br />

้<br />

นหยา 2 ช<br />

ั<br />

้ น<br />

มี มุ ข ยื ่ น<br />

ด้ านหน้ าคล<br />

ุ มด้ วยหล<br />

ั งคาป<br />

ั<br />

้<br />

นหยาเช<br />

่ นก<br />

ั น ช<br />

ั<br />

้ นล<br />

่ างเป็ นผนั ง<br />

คอนกรี ตฉาบปู น เสาคอนกรี ต ประดั บหั วเสาด้ วยปู นปั<br />

้<br />

นร<br />

ู ปบั ว<br />

แปดกลี บ เช<br />

ื่ อมต่ อก<br />

ั นด้ วยพนั กระเบี ยงโดยรอบประดั บ<br />

ราวลู กกรงปู นขนาด 4 นิ<br />

้ ว ช่ องทางเข<br />

้ า - ออกมี เสาเตี้ ยประดั บ<br />

หั วเม็ ดกลมฝั งลายกลี บบั ว เหนื อช<br />

่ องประตู –หน้ าต่ าง<br />

ของช<br />

ั<br />

้ นล<br />

่ างมี ช<br />

่ องแสงร<br />

ู ปโค้ งประดั บลวดลายไม้ ฉล<br />

ุ พื้ น<br />

ชั<br />

้ นล<br />

่ างเป็ นพื้ นคอนกรี ตเสร<br />

ิ มเหล<br />

็ กปู กระเบื้ องดิ นเผา บั นได<br />

ทางข<br />

ึ<br />

้ นช<br />

ั<br />

้ นบนเป<br />

็ นผนั งก<br />

่ ออ<br />

ิ ฐถ<br />

ื อป<br />

ู น พื<br />

้ นป<br />

ู กระเบื<br />

้ องดิ นเผา<br />

ส<br />

่<br />

วนช<br />

ั<br />

้ นบนเป<br />

็ นไม้ ท<br />

ั<br />

้ งหมด พื้ นไม้ กระดานขนาด 1x8 นิ<br />

้ ว<br />

และ 1x10 นิ้ ว<br />

กั<br />

้ นฝาผนั งไม้ ขนาด ¾x6 นิ้ ว ตี ซ<br />

้ อนเกล<br />

็ ด<br />

ตามแนวนอน ระเบี ยงด้ านหน้ ามี ล<br />

ู กกรงไม้ กล<br />

ึ งโดยรอบ<br />

ประตู หน้ าต่ างเป็ นบานล<br />

ู กฟั กไม้ ส<br />

่ วนยอดผนั งโดยรอบท<br />

ํ า<br />

เป<br />

็ นช<br />

่ องระบายอากาศไม้ ฉล<br />

ุ ลาย ประดั บต่ อเนื่ องมายั ง<br />

เสาระเบี ยงด้ านหน้ าด้ วย หล<br />

ั งคามี โครงสร<br />

้ างหล<br />

ั งคาเป<br />

็ น<br />

ไม้ เนื้ อแข<br />

็ งมุ งด้ วยกระเบื้ องดิ นเผาแบบปลายแหลมเคล<br />

ื อบ<br />

ใส ฝ้ าเพดานเป<br />

็ นแผ่ นไม้ ขนาด ½x6 นิ<br />

้ ว<br />

กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง ได้ ร<br />

ั บการอนุ ร<br />

ั กษ์ ตามหล<br />

ั กว<br />

ิ ชาการตั<br />

้ งแต่<br />

การระบ<br />

ุ คุ ณค่ าความส<br />

ํ าคั ญในด้ านต่ าง ๆ การบั นท<br />

ึ กคุ ณค่ า<br />

ความสํ าคั ญ การประเมิ นความแท้ และบู รณภาพ การตั ดสิ นใจ<br />

เล<br />

ื อกว<br />

ิ ธี อนุ ร<br />

ั กษ์ และการนํ าไปส<br />

ู<br />

่ การปฏิ บ<br />

ั ติ ตามแผนที่ ได้<br />

วางไว<br />

้ ซึ่ งได้ ดํ าเนิ นการร<br />

ื้ อถอนส่ วนต่ อเติ มที่ ทํ าให้ เสี ยร<br />

ู ปแบบ<br />

ดั<br />

้ งเดิ มไปออก เปลี่ ยนว<br />

ั สดุ<br />

ม<br />

ุ<br />

งและว<br />

ั สดุ<br />

ป<br />

ู พื้ นให้ มี ความ<br />

กลมกล<br />

ื น และฉาบผิ วด้ วยป<br />

ู นหมั กป<br />

ู นตํ า สามารถเป็ นแหล<br />

่ ง<br />

เรี ยนร<br />

ู้ ด้ านทางประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ สถาปั ตยกรรม ศิ ลปว<br />

ั ฒนธรรม<br />

ว<br />

ิ ถี ชี ว<br />

ิ ต และภู มิ ปั ญญาท้ องถิ<br />

่ น และพื้ นที่ โดยรอบสามารถใช<br />

้<br />

เป็ นสถานที่ พั กผ่ อนหย่ อนใจและการจั ดกิ จกรรมที่ เกี่ ยวเนื่ อง<br />

ก<br />

ั บพุ<br />

ทธศาสนาได้ ต่ อไป<br />

ที ่<br />

ตั<br />

้<br />

ง ว<br />

ั ดดอนสะท<br />

้ อน หม<br />

ู่ 6 ตํ าบลปากแพรก อ<br />

ํ าเภอสวี<br />

จ<br />

ั งหว<br />

ั ดช<br />

ุ มพร<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช<br />

ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ผู้<br />

ครอบครอง ว<br />

ั ดดอนสะท<br />

้ อน<br />

ปี<br />

ท<br />

ี่สร<br />

้ าง พุ ทธศั กราช 2486<br />

งานอนุ<br />

ร<br />

ั กษ์<br />

มรดกทางสถาป<br />

ั<br />

ตยกรรมและช<br />

ุ มชน ระดั บดี<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

ั ตยกรรมปี 2566<br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ ท<br />

้ องถิ<br />

่ น “ช<br />

ุ มทางประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ ทุ<br />

่ งสง” เป็ นอาคาร<br />

ที ่ มี คุ ณ ค่ า ทั<br />

้ งทางสถาปั ตยกรรมและทางประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ ของพื<br />

้ นท<br />

่ี<br />

ซ<br />

ึ<br />

่ งเป็ นช<br />

ุ มทางรถไฟขนาดใหญ่ การอนุ ร<br />

ั กษ์ มี การจ<br />

ั ดท<br />

ํ าแบบ<br />

สถาปั ตยกรรมที่ ได้ มี การแก้ ไขปั ญหาโครงสร<br />

้ างและความเสื่ อมสภาพ<br />

ของว<br />

ั สดุ มี การปร<br />

ั บการใช้ สอยอาคารเพื่ อการประกอบกิ จกรรมของ<br />

ช<br />

ุ มชนในปั จจ<br />

ุ<br />

บ<br />

ั น นั บเป็ นแบบอย่ างของอ<br />

ี กทางเล<br />

ื อกในการนํ า<br />

เสนออาคารทางประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ ท<br />

ี่ มี คุ ณค่ าทางจ<br />

ิ ตใจของประชาชน<br />

ในพื้ นท<br />

ี่ อ<br />

ี กท<br />

ั<br />

้ งส<br />

่ งผลดี ต่ อเศรษฐก<br />

ิ จและความยั<br />

่ งยื นของช<br />

ุ มชน<br />

พิ พิ ธ ภั ณ ฑ์ ท้ อ ง ถิ<br />

่ น “ช<br />

ุ<br />

มทางประว<br />

ั ติ<br />

ศาสตร<br />

์ ทุ<br />

่<br />

งสง” จั งหว<br />

ั ดนครศรี ธรรมราช<br />

มั สยิ ดบ<br />

้<br />

านควนล<br />

ั<br />

งงา<br />

มั สยิ ดบ<br />

้<br />

านควนล<br />

ั<br />

งงา เป<br />

็ นอาคารมั สยิ ดซ<br />

ึ<br />

่<br />

งตั<br />

้<br />

งอยู่<br />

ณ บ<br />

้<br />

านควนล<br />

ั<br />

งงา ตํ าบลทรายขาว อ<br />

ํ าเภอโคกโพธ<br />

ิ์<br />

จ<br />

ั งหว<br />

ั ดป<br />

ั ตตานี ชาวบ<br />

้ านเล<br />

่ าส<br />

ื บต่ อก<br />

ั นว<br />

่ า ภายหล<br />

ั งภั ย<br />

สงครามระหว<br />

่ างกร<br />

ุ งศร<br />

ี อยุ ธยากั บปั ตตานี สงบลง ชาวบ้ าน<br />

และเจ<br />

้ าอาวาสว<br />

ั ดทรายขาวได้ ช<br />

่ วยเหล<br />

ื อโต๊ ะหยาง หญิ ง<br />

ท<br />

ี่ ตกเหวเพราะหนี ภั ยสงครามพร<br />

้ อมพระมหาคั มภี ร<br />

์<br />

อ<br />

ั ลกุ รอานฉบ<br />

ั บเข<br />

ี ยนมื อ หล<br />

ั งจากนั้ นชาวบ<br />

้<br />

านทรายขาว<br />

ทั<br />

้ งที่ นั บถื อศาสนาพุ ทธและอ<br />

ิ สลามได้ ด้ วยร<br />

่ วมแรงร<br />

่ วมใจ<br />

สร<br />

้ างศาสนสถานของช<br />

ุ มชนข<br />

ึ<br />

้<br />

นเมื<br />

่ อราวพุ ทธศั กราช<br />

2177 และใช<br />

้ สอยอาคารเร<br />

ื่ อยมาจนถ<br />

ึ งพุ ทธศั กราช<br />

2530 จ<br />

ึ งได้ มี การก<br />

่<br />

อสร<br />

้ างอาคารมั สยิ ดหล<br />

ั งใหม่ ข<br />

ึ<br />

้<br />

น<br />

เ พิ<br />

่ มเติ มโดยมิ ได้ ร<br />

ื้ ออาคารไม้ หล<br />

ั<br />

งเดิ มออก และใช<br />

้ ช<br />

ื่ อ<br />

ว<br />

่ ามั สยิ ดนั จมุ ดดิ น ซึ่ งได้ มี การปร<br />

ั บเปลี่ ยนร<br />

ู ปแบบหลั งคา<br />

และลดจ<br />

ํ านวนเสาด้ านตะว<br />

ั นตกของอาคารเดิ มลง หล<br />

ั ง<br />

จากนั้ นในพุ<br />

ทธศั กราช 2547 มี การถมปร<br />

ั บระดั บพื้ นให้<br />

ส<br />

ู งข<br />

ึ<br />

้ นมาเล<br />

็ กน้ อย เทพื้ นคอนกร<br />

ี ตพร<br />

้ อมป<br />

ู กระเบื้ อง ท<br />

ํ า<br />

แท<br />

่ นป<br />

ู นฐานเสา ซ<br />

่ อมแซมโครงสร<br />

้ างหล<br />

ั งคาและเปล<br />

ี่ ยน<br />

กระเบ<br />

ื้องม<br />

ุ งหล<br />

ั งคาใหม่ และในพุ<br />

ทธศั กราช 2563 ส<br />

่ วน<br />

อาคารเก่ าของมั สยิ ดนั จมุ ดดิ นได้ ร<br />

ั บการบู รณปฏิ ส<br />

ั งขรณ์<br />

โดยอยู่<br />

ในความร<br />

ั บผิ<br />

ดชอบของส<br />

ํ านั กศิ ลปากรท<br />

ี่ 11<br />

สงขลา กรมศิ ลปากร และมี บร<br />

ิ ษั ทเอกพรไพศาล จ<br />

ํ าก<br />

ั ด<br />

เป<br />

็ นผู้ ดํ าเนิ นการ<br />

มั สยิ ดบ<br />

้<br />

านควนล<br />

ั<br />

งงา เป<br />

็<br />

นอาคารเร<br />

ื อนไม้ พื้ นถ<br />

ิ<br />

่<br />

นใน<br />

แบบเดี ยวก<br />

ั<br />

นก<br />

ั<br />

บท<br />

ี่ พบตามว<br />

ั ดในศาสนาพุ<br />

ทธ ก<br />

่ อสร<br />

้ าง<br />

โดยไม่ ใช<br />

้ ตะป<br />

ู แต่ ใช<br />

้ ล<br />

ิ่ มไม้ และเข<br />

้ าสล<br />

ั กไม้ แทน วางตั<br />

ว<br />

ในแนวท<br />

ิ<br />

ศตะว<br />

ั นออก–ตะว<br />

ั นตก เป็<br />

นอาคารโถง ไม่ มี<br />

ผนั ง และไม่ ยกพื้ น ผั งพื้ นเป็ นร<br />

ู<br />

ปส<br />

ี่ เหล<br />

ี่ ยมผื นผ้ า<br />

ขนาดกว<br />

้ าง 5 ห้ อง กว<br />

้ าง 9.40 เมตร ยาว <strong>13</strong>.80 เมตร<br />

ที ่<br />

ตั<br />

้<br />

ง หม<br />

ู่ 4 ตํ าบลทรายขาว อ<br />

ํ าเภอโคกโพธ<br />

ิ์<br />

จ<br />

ั งหว<br />

ั ดป<br />

ั ตตานี<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช<br />

ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ผู้<br />

ครอบครอง มั สยิ ดบ<br />

้ านควนล<br />

ั งกา<br />

ป<br />

ี<br />

ท<br />

ี่สร<br />

้ าง พุ ทธศั กราช 2177<br />

งานอนุ<br />

ร<br />

ั กษ์<br />

มรดกทางสถาป<br />

ั<br />

ตยกรรมและช<br />

ุ มชน ระดั บดี<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

ั ตยกรรมปี 2566<br />

หล<br />

ั<br />

งคาทรงจ<br />

ั่ วต่<br />

อปี กนกลาดเทลงด้ านท<br />

ิ<br />

ศตะว<br />

ั นออก<br />

ทิ ศเหนื อ และทิ ศใต้ ส<br />

่ วนด้ านตะว<br />

ั นตกทํ าเป็ นจ<br />

ั<br />

่ วเล<br />

็ ก ลดช<br />

ั<br />

้ น<br />

ลงมาแทนการทํ าปี กนก เพราะก<br />

ํ าหนดพื้ นที่ ด้ านนี้ ให้ เป็ น<br />

พื้ นท<br />

ี่ ของมิ หร<br />

็ อบตามท<br />

ิ ศทางท<br />

ี่ หั นไปส<br />

ู<br />

่ ว<br />

ิ หารกะบะฮ<br />

์ กร<br />

ุ ง<br />

มั กกะฮ<br />

์ หร<br />

ื อเป็ นส<br />

ิ<br />

่ งที่ เก<br />

ิ ดข<br />

ึ<br />

้ นจากการก<br />

่ อสร<br />

้ างอาคารใหม่<br />

มาประช<br />

ิ ดในส<br />

่ วนนี้ ท<br />

ี่ จ<br />

ํ าเป<br />

็ นต้ องปร<br />

ั บเปล<br />

ี่ ยนทรงหล<br />

ั งคา<br />

โครงสร<br />

้ างหล<br />

ั งคาเป<br />

็ นไม้ ตะเคี ยนม<br />

ุ งกระเบ<br />

ื้ องดิ นเผา<br />

ปลายแหลม พื้ นอาคารเดิ มเป็ นพื้ นทราย เมื่ อจะใช<br />

้ งาน<br />

ละหมาดชาวบ้ านจะนํ าเส<br />

ื่ อมาปู ทั บ และเมื่ อปฏิ บั ติ ศาสนกิ จ<br />

เร<br />

ี ยบร<br />

้ อยแล<br />

้ วก<br />

็ นํ าเส<br />

ื่ อไปตากพาดไว<br />

้ ท<br />

ี่ ราวรอบอาคาร<br />

ปั จจ<br />

ุ บั นเปล<br />

ี่ ยนเป็ นป<br />

ู ด้ วยกระเบื้ องดิ นเผา ภายในอาคาร<br />

มี มิ มบ<br />

ั ร และนางญาหร<br />

ื อกลองท<br />

ี่ ใช<br />

้ ตี บอกเวลาละหมาด<br />

หร<br />

ื อตี เพื่ อแจ<br />

้ งเตื อน และคั มภี ร<br />

์ อ<br />

ั ลกุ รอานเข<br />

ี ยนด้ วยมื อ<br />

ท<br />

ี่ อยู่ คู<br />

่<br />

ก<br />

ั บมั สยิ ดมาตั้ งแต่ เมื่ อแรกสร<br />

้ าง ทางด้ านท<br />

ิ<br />

ศ<br />

ตะว<br />

ั นออกของอาคารยั งมี ส<br />

ิ<br />

่ งปล<br />

ู กสร<br />

้ างเก่ าแก่ ที่ สร<br />

้ างข<br />

ึ<br />

้ น<br />

มาราว 70 ป<br />

ี ท<br />

ี่แล<br />

้ ว ได้ แก<br />

่ อาคารบาลาเซาะฮ<br />

์ เป<br />

็ นอาคาร<br />

อเนกประสงค์<br />

ท<br />

ี่ เคยใช<br />

้ เป<br />

็<br />

นโรงเร<br />

ี ยน เป<br />

็<br />

นอาคารไม้<br />

หล<br />

ั งคาทรงบลานอ มุ งด้ วยกระเบื้ องดิ นเผาปลายแหลม<br />

เช<br />

่ นเดี ยวก<br />

ั น และยั งมี ท<br />

ี่ เอานํ้ าละหมาด เป็ นอ<br />

่ างทรง<br />

ส<br />

ี่เหล<br />

ี่ยมผื นผ้ า<br />

มั สยิ ดบ<br />

้<br />

านควนล<br />

ั<br />

งงา เป<br />

็ นตั วอย่ างของอาคารศาสน-<br />

สถานที่ ได้ ร<br />

ั บการออกแบบให้ เหมาะสมกั บสภาพภู มิ อากาศ<br />

แบบร<br />

้ อนช<br />

ื้ นของภาคใต้ ของประเทศไทย สามารถระบาย<br />

อากาศได้ ดี และแสงสว<br />

่ างส<br />

่<br />

องเข<br />

้ าได้ ท<br />

ั่ วถ<br />

ึ ง แสดงให้<br />

เห็ นถ<br />

ึ งภู มิ ป<br />

ั ญญาของบรรพชนในท<br />

้ องถ<br />

ิ<br />

่ น และยั งเป<br />

็ น<br />

หล<br />

ั กฐานส<br />

ํ าคั ญท<br />

ี่ ส<br />

ื่ อถ<br />

ึ งการอยู่ ร<br />

่ วมก<br />

ั นอย่ างสงบส<br />

ั นติ<br />

บนพื้ นฐานความสามั คคี ของชาวช<br />

ุ มชนที่ มี ความเช<br />

ื่ อและ<br />

ความศร<br />

ั ทธาแตกต่ างก<br />

ั น<br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

การอนุ ร<br />

ั กษ์ อาคารหล<br />

ั งนี้ แสดงให้ เห็ นถึ งความตั้ งใจท<br />

ี่ จะร<br />

ื้ อฟื<br />

้ น<br />

สภาพเดิ มของอาคารให้ กล<br />

ั บคื นมา มี การแก<br />

้ ไขปั ญหาโครงสร<br />

้ าง<br />

และความเส<br />

ื่ อมสภาพของอาคารตามเหตุ ปั จจ<br />

ั ยที่ ก่ อให้ เกิ ดปั ญหา<br />

และเป็ นการนํ าเสนอคุ ณค่ าทางประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ ความเป็ นอาคารเร<br />

ี ยน<br />

ทางศาสนาหล<br />

ั งแรก เป็ นส<br />

ั ญล<br />

ั กษณ์ ท<br />

ี่มี คุ ณค่ าทางด้ านจ<br />

ิ ตใจของ<br />

ผู้ คนในพื้ นท<br />

ี่ สวรรคโลก เป็ นตั วอย่ างท<br />

ี่ ดี ให้ ก<br />

ั บว<br />

ั ดอ<br />

ื่ น ๆ ให้ หั นมา<br />

เห็ นคุ ณค่ าของมรดกทางสถาปั ตยกรรมที่ มี ล<br />

ั กษณะคล<br />

้ ายคล<br />

ึ งกั น<br />

อย่ างไรก<br />

็ ตามเมื่ อมี การยกอาคารให้ ส<br />

ู งข<br />

ึ<br />

้ นกว<br />

่ าระดั บเดิ มก<br />

็ ควร<br />

คํ านึ งถึ งการร<br />

ั กษาส<br />

ั ดส<br />

่ วนดั<br />

้ งเดิ มของอาคารไว<br />

้<br />

อาคารส<br />

ํ านั กงานคณะกรรมการสงฆ์ จั งหว<br />

ั ดส<br />

ุ<br />

โขท<br />

ั<br />

ย ว<br />

ั ดสว่ างอารมณ์<br />

วรวิ หาร จั งหว<br />

ั ดส<br />

ุ<br />

โขท<br />

ั<br />

ย<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

ั ตยกรรมป<br />

ี 2566<br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ บ้ านป่ องนั กเป็ นอาคารที่ มี ความสํ าคั ญทั<br />

้ งทางประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์<br />

และทางสถาปั ตยกรรม ที่ ยั งร<br />

ั กษาความแท้ ของร<br />

ู ปทรงภายนอกและ<br />

องค์ ประกอบอาคารได้ ค่ อนข<br />

้ างครบถ้ วน มี การดู แลร<br />

ั กษาอาคารมา<br />

เป็ นอย่ างดี โดยมี การซ<br />

่ อมแซมโครงสร<br />

้ างและองค์ ประกอบต่ าง ๆ<br />

อย่ างต่ อเนื่ อง มี การจ<br />

ั ดแสดงเป็ นพิ พิ ธภั ณฑ์ และส<br />

ื่อความหมาย<br />

ให้ เห็ นถึ งประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ ท<br />

ี่ เก<br />

ี่ ยวข<br />

้ องได้ ค่ อนข<br />

้ างดี อย่ างไรก<br />

็ ตาม<br />

ควรมี การวางแผนงานอนุ ร<br />

ั กษ์ ตามกระบวนการอย่ างครบถ้ วน<br />

อ<br />

ั นประกอบด้ วยการเก็ บข<br />

้ อมู ลทางสถาปั ตยกรรมที่ ละเอ<br />

ี ยดถี่ ถ้ วน<br />

การว<br />

ิ เคราะห์ ร<br />

ู ปแบบ ว<br />

ั สดุ และส<br />

ี ดั<br />

้ งเดิ มของอาคาร ท<br />

ี่ จะนํ าไปส<br />

ู<br />

่<br />

การกํ าหนดแนวทางการบู รณะและการจ<br />

ั ดการอาคารอย่ างเต็ ม<br />

ร<br />

ู ปแบบต่ อไป<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ บ<br />

้<br />

านป<br />

่ องนั ก จั งหว<br />

ั ดล<br />

ํ<br />

าปาง<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมป<br />

ี 2566<br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

การอนุ ร<br />

ั กษ์ อาคารแสดงให้ เห็ นถึ งความตั<br />

้ งใจในการร<br />

ั กษาอาคาร<br />

ให้ ยั งคงอยู่ ในสภาพเดิ มในภาพรวมได้ ดี ตั วอาคารยั งเป็ นส่ วนหนึ่ ง<br />

ในการบอกเล<br />

่ าประว<br />

ั ติ ศาสตร<br />

์ ของเมื องนครศร<br />

ี ธรรมราชอ<br />

ี กด้ วย<br />

ในกระบวนการอนุ ร<br />

ั กษ์ ได้ เล<br />

ื อกว<br />

ิ ธ<br />

ี การอนุ ร<br />

ั กษ์ ท<br />

ี่ สามารถร<br />

ั กษา<br />

องค์ ประกอบส<br />

ํ าคั ญและว<br />

ั สดุ ดั<br />

้ งเดิ มไว<br />

้ ได้ แม้ ว<br />

่ าพื้ นท<br />

ี่ ภายในจะมี<br />

การปร<br />

ั บการใช้ งานต่ างไปจากกิ จกรรมเดิ มของอาคาร อย่ างไรก็ ตาม<br />

ควรพิ จารณาเร<br />

ื่ องการส<br />

ื่ อความหมาย ไม่ ให้ เก<br />

ิ ดความเข<br />

้ าใจผิ ด<br />

เก<br />

ี่ ยวก<br />

ั บเร<br />

ื<br />

่ องราวความเป็ นมาของอาคารหล<br />

ั งนี้ นอกจากนี้ ส<br />

่ วน<br />

ต่ อเติ มควรคํ านึ งถึ งความต่ อเนื่ องก<br />

ั บอาคารเดิ มด้ วย<br />

ยงคั<br />

ง ท<br />

่<br />

าว<br />

ั ง จั งหว<br />

ั ดนครศร<br />

ี ธรรมราช<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมป<br />

ี 2566<br />

คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่ านเมื องเก<br />

่<br />

าสงขลา<br />

คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่ านเมื องเก<br />

่ าสงขลา ตั<br />

้<br />

งอยู่<br />

ในย่<br />

านช<br />

ุ<br />

มชนเก<br />

้ าห้ อง เดิ มเป็ นตึ กแถวให้ เช<br />

่<br />

าของ<br />

รองอํ ามาตย์ ตร<br />

ี ข<br />

ุ นโภคาพิ พั ฒน์ (ฮวดเหล<br />

ี่ยง โคนั นทน์ )<br />

ต้ นตระกู ลโคนั นทน์ หล<br />

ั<br />

งจากนั<br />

้ นอาคารอยู่ ในสภาพ<br />

ทร<br />

ุ ดโทรม ต่ อมาคุ ณบั ญชา พานิ ชพงศ์ และคุ ณจ<br />

ุ ไรร<br />

ั ตน์<br />

ตั นตส<br />

ุ ทธ<br />

ิ กุ ล ผู้ บร<br />

ิ หารร<br />

้ านคาเฟ่ อเมซอน ในจ<br />

ั งหว<br />

ั ด<br />

สงขลา ต้ องการผล<br />

ั กดั นให้ ย่ านเมื องเก<br />

่ าสงขลาได้ มี<br />

ร<br />

้ านขายเคร<br />

ื่ องดื่ มในร<br />

ู ปแบบอาคารอนุ ร<br />

ั กษ์ จนนํ าไปส<br />

ู<br />

่<br />

การปร<br />

ั บปร<br />

ุ งฟื<br />

้ นฟู อาคารในพุ ทธศั กราช 2561 โดย<br />

โครงการได้ มี การศึ กษาเอกสารหลั กฐานทางประว<br />

ั ติ ศาสตร์<br />

และสถาปั ตยกรรม มี การจั ดทํ าร<br />

ู ปแบบการออกแบบและ<br />

ได้ เข<br />

้ าหาร<br />

ื อกั บคุ ณร<br />

ั งษี ร<br />

ั ตนปราการ ภาคี คนร<br />

ั กเมื องเก่ า<br />

สงขลา เพื่ อกํ าหนดความเหมาะสมให้ กลมกล<br />

ื นก<br />

ั บย่ าน<br />

เมื องเก<br />

่<br />

าสงขลา การปร<br />

ั บปร<br />

ุ งฟื<br />

้ นฟู อาคารและพื้ นท<br />

่ี<br />

แล<br />

้ วเสร<br />

็ จในพุ ทธศั กราช 2563<br />

คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่ านเมื องเก<br />

่ าสงขลา เ ป็ น<br />

โครงการออกแบบปร<br />

ั บปร<br />

ุ งพื้ นที่ ในเมื องเก่ าในแปลงที่ ดิ น<br />

ท<br />

ี่ ด้ านหน้ าเป<br />

็ นตึ กแถวเก<br />

่<br />

าช<br />

ั้ นเดี ยว 2 คู หา ร<br />

ู<br />

ปแบบ<br />

สถาป<br />

ั ตยกรรมแบบจ<br />

ี น ผั งพื้ นเป<br />

็ นร<br />

ู ปส<br />

ี่ เหล<br />

ี่ ยมผื นผ้ า<br />

ผนั งอาคารเป็ นผนั งก่ ออ<br />

ิ ฐร<br />

ั บนํ้ าหนั ก โครงสร<br />

้ างหล<br />

ั งคา<br />

เป<br />

็ นไม้ หล<br />

ั งคาเป<br />

็ นทรงจ<br />

ั<br />

่ ว ม<br />

ุ งด้ วยกระเบ<br />

ื้ องกาบกล<br />

้ วย<br />

ดิ<br />

นเผาแบบจ<br />

ี น ส<br />

ั<br />

นหล<br />

ั งคาโค้ งมน มี ส<br />

่<br />

วนชายคาอยู่<br />

ด้ านหน้ า ในการซ<br />

่ อมแซมได้ ม<br />

ุ งกระเบ<br />

ื้ องใหม่ ท<br />

ั<br />

้ งหมด<br />

ช<br />

่ องลมหล<br />

ั งคาเปล<br />

ี่ ยนจากช<br />

่ องลมดิ นเผาเป็ น GRC พ่ นส<br />

ี<br />

ดิ นเผาเพื่ อความคงทน มี การตกแต่ งอาคารด้ วยการใช<br />

้<br />

ที ่<br />

ตั<br />

้<br />

ง เลขท<br />

ี่ 14 ถนนหนองจ<br />

ิ ก ตํ าบลบ<br />

่ อยาง<br />

อํ าเภอเมื องสงขลา จ<br />

ั งหว<br />

ั ดสงขลา<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช<br />

ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ส<br />

ั นนิ ษฐานว<br />

่ าออกแบบและสร<br />

้ างโดยช<br />

่ างพื้ นเมื อง<br />

สถาปนิ กอนุ ร<br />

ั กษ์ นายชายแดน เสถ<br />

ี ยร และ<br />

นายว<br />

ี รศั กดิ์ เพ็ ชรแสง<br />

บร<br />

ิ ษั ท SPACE PLUS ARCHITECT CO.,LTD<br />

ผู้<br />

ครอบครอง ท<br />

ั นตแพทย์ ธ<br />

ี รนพ โคนั นทน์<br />

ดํ าเนิ นก<br />

ิ จการ Cafe' Amazon โดย ห้ างหุ<br />

้ นส<br />

่ วนจํ าก<br />

ั ด<br />

สงขลาโอลด์ ทาวน์ คาเฟ่<br />

ป<br />

ี<br />

ท<br />

ี่สร<br />

้ าง ไม่ ปรากฏป<br />

ี ท<br />

ี่สร<br />

้ าง<br />

งานออกแบบใหม่<br />

ในบร<br />

ิ บทการอนุ<br />

ร<br />

ั กษ์<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

ั ตยกรรมป<br />

ี 2566<br />

งานศิ ลปะ และภาพจ<br />

ิ ตรกรรมท<br />

ี่ นํ าเอาลวดลายมงคล<br />

ตามความเชื่ อ เช่ น ลายประแจจี น นกกระเร<br />

ี ยน เมฆ ลู กท้ อ<br />

ดอกบ<br />

ั ว ปลา และดอกโบตั๋ น ท<br />

ี่ หมายถ<br />

ึ งความร<br />

ุ่ งเร<br />

ื อง<br />

ภายในอาคารเก<br />

่ าซ<br />

ึ<br />

่ งเดิ มเคยมี ช<br />

ั<br />

้ นลอยไม้ เล<br />

ื อกท<br />

ี่ จะส<br />

ื่ อ<br />

ความหมายเป็ นเพี ยงส<br />

ั ญล<br />

ั กษณ์ เพื่ อให้ มี space ส<br />

ู งโล<br />

่ ง<br />

เหมาะก<br />

ั บการเป<br />

็ นร<br />

้ านกาแฟ พื<br />

้ นท<br />

ี่ ด้ านหล<br />

ั งตึ กแถวเป็ น<br />

พื้ นท<br />

ี่ ส<br />

ี เข<br />

ี ยว ล<br />

ั กษณะเป็ นลานโล<br />

่ ง มี สระนํ้ าเงาสะท<br />

้ อน<br />

มี การนํ าพื้ นกระเบื้ องดิ นเผาเดิ มมาออกแบบใหม่ บร<br />

ิ เวณ<br />

บ<br />

่ อนํ้ าเดิ ม และมี ช<br />

่ องประตู ตรงผนั งกํ าแพงอ<br />

ิ ฐเดิ<br />

ม<br />

ท<br />

ี่ สามารถเดิ นผ่ านไปยั งอาคารนิ ทรรศการและประกอบ<br />

พาณิ ชยกรรมข<br />

้ างเคี ยงได้ ถ<br />

ั ดจากลานโล<br />

่ งเป<br />

็ นอาคาร<br />

2 ชั<br />

้ น สร<br />

้ างข<br />

ึ<br />

้ นใหม่ โครงสร<br />

้ างคอนกร<br />

ี ตเสร<br />

ิ มเหล<br />

็ กผสม<br />

โครงสร<br />

้ างไม้ หล<br />

ั งคาทรงจ<br />

ั่ ว ผั งพื้ นเป<br />

็ นร<br />

ู ปตั วแอล (L)<br />

ใช<br />

้ เป็ นห้ องประช<br />

ุ ม ห้ องนํ้ า และส<br />

่ วนบร<br />

ิ การโครงการ และ<br />

ทํ าหน้ าท<br />

ี<br />

่ โอบล<br />

้ อมบดบ<br />

ั งอาคารส<br />

ู งโดยรอบ และควบคุ ม<br />

ม<br />

ุ มมองเพื่ อเผยความงามของตึ กแถวด้ านหน้ า<br />

คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่ านเมื องเก<br />

่ าสงขลา เ ป็ น<br />

ตั วอย่ างของการปร<br />

ั บปร<br />

ุ งฟื<br />

้ นฟู และเปล<br />

ี่ ยนประโยชน์<br />

ใช<br />

้ สอย (Adaptive Reuse) ท<br />

ี่สามารถแสดงคุ ณค่ าของ<br />

สถาป<br />

ั ตยกรรมดั<br />

้ งเดิ มไว<br />

้ ได้ และเหมาะสมต่ อการใช<br />

้ งาน<br />

ในปั จจ<br />

ุ บ<br />

ั น ทํ าให้ เป<br />

็ นแหล<br />

่ งเร<br />

ี ยนร<br />

ู้ ท<br />

ี่ สํ าคั ญทางประว<br />

ั ติ -<br />

ศาสตร์ สถาป<br />

ั ตยกรรมให้ แก<br />

่<br />

นั กเร<br />

ี ยน นั กศึ<br />

กษา คน<br />

ในช<br />

ุ มชนและผู้ ท<br />

ี่ สนใจ รวมท<br />

ั<br />

้ งทํ าให้ เจ<br />

้ าของอาคารเก<br />

่ า<br />

หลายหล<br />

ั งในพื้ นท<br />

ี<br />

่ เห็ นถ<br />

ึ งคุ ณค่ าของการอนุ ร<br />

ั กษ์ อาคาร<br />

แทนการร<br />

ื้อถอน<br />

โบราณ โดย นายร<br />

ุ่ งโรจน์ เป<br />

ี<br />

่ ยมยศศั กดิ์<br />

ศั กดิ์ จั ด ตั<br />

้ งข<br />

ึ<br />

้ นเมื่ อพุ ทธศั กราช<br />

บราณในพื้ นท<br />

ี่อ<br />

ํ าเภอส<br />

ั นป<br />

่ าตอง<br />

คํ าปร<br />

ึ กษาเจ<br />

้ าของเร<br />

ื อนโบราณ<br />

าปั ตยกรรมพื้ นถิ<br />

่ นร<br />

่ วมกั นระหว<br />

่ าง<br />

ชาการ ภาคประชาส<br />

ั งคม และ<br />

ผ่ านการจ<br />

ั ดนิ ทรรศการ ว<br />

ิ ดี ท<br />

ั ศน์<br />

โบราณ และส<br />

ื่ อส<br />

ั งคมออนไลน์<br />

วยงานราชการ และหน่ วยงาน<br />

ก<br />

ิ จกรรมต่ าง ๆ ร<br />

่ วมก<br />

ั บช<br />

ุ มชน<br />

ละหล<br />

ั งนั้ นเป<br />

็ นความร<br />

ั บผิ ดชอบ<br />

กดิ<br />

์ สามารถผล<br />

ั กดั นให้ องค์ กร<br />

จ<br />

ํ านวน 58 หล<br />

ั ง ท<br />

ี่มี คุ ณค่ าทาง<br />

อกจากนี้ ยั งสามารถทํ าให้ เจ้ าของ<br />

น์ ใช<br />

้ สอยส<br />

ํ าหร<br />

ั บการพั กอาศั ยและ<br />

ะผู้ ท<br />

ี่สนใจท<br />

ั<br />

่ วไป ตั วอย่ างเช<br />

่ น<br />

ม่ อ<br />

ุ้ ยป<br />

ิ มปา ไชยมณี บ<br />

้ านแสน<br />

ใหม่<br />

ตํ าบลป<br />

่<br />

าซาง อ<br />

ํ าเภอป<br />

่<br />

าซาง<br />

ม่ ด้ วยสล<br />

่ า (ช<br />

่ าง) พื้ นเมื องท<br />

ี่ มี<br />

งนี้ ตั<br />

้ งอยู่ ท<br />

ี่ กาดก<br />

้ อม กองเตี ยว<br />

ภอส<br />

ั นป<br />

่ าตอง จ<br />

ั งหว<br />

ั ดเช<br />

ี ยงใหม่<br />

ม่ ม่ วงก<br />

๋ อน ตํ าบลยุ หว<br />

่ า อ<br />

ํ าเภอ<br />

ม่ อ<br />

ุ้ ยนวล ป<br />

ั ญโญ บ<br />

้ านดอนตั น<br />

ากาน ตํ าบลบ<br />

้ านกลาง อ<br />

ํ าเภอ<br />

ง ตํ าบลยุ หว<br />

่ า อ<br />

ํ าเภอส<br />

ั นป<br />

่ าตอง<br />

ม่ ตุ<br />

้ ยอ<br />

ํ านวย โพธ<br />

ิ บ<br />

้ านต้ นเก<br />

็ ด<br />

กดิ<br />

์ เป็ นตั วกลางในการรวมกล<br />

ุ่ ม<br />

ารอนุ ร<br />

ั กษ์ มรดกสถาป<br />

ั ตยกรรม<br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

นายร<br />

ุ่ งโรจน์ เปี<br />

่ ยมยศศั กดิ<br />

์ ชาวช<br />

ุ<br />

มชนส<br />

ั นป่ าตอง ได้ ก<br />

่<br />

อตั<br />

้ ง<br />

ศู นย์ อนุ ร<br />

ั กษ์ เฮ<br />

ื อนโบราณให้ เป็ นองค์ กรท<br />

ี่ ท<br />

ํ าหน้ าท<br />

ี่ เป็ นส<br />

ื่ อกลาง<br />

ในการแลกเปล<br />

ี่ ยนเร<br />

ี ยนร<br />

ู้ ระหว<br />

่ างผู้ มี ส<br />

่ วนเกี่ ยวข้ องกั บการอนุ ร<br />

ั กษ์<br />

สถาปั ตยกรรมพื้ นถิ<br />

่ น ประเภทเร<br />

ื อนโบราณในอ<br />

ํ าเภอส<br />

ั นป่ าตอง<br />

จั งหว<br />

ั ดเช<br />

ี ยงใหม่ และพื้ นที่ ใกล้ เคี ยง นายร<br />

ุ่ งโรจน์ ทุ่ มเทสรรพกํ าลั ง<br />

ในการลงพื้<br />

นท<br />

ี่ ส<br />

ํ ารวจ และท<br />

ํ าความเข้ าใจก<br />

ั<br />

บคนในช<br />

ุ มชนด้ วย<br />

ร<br />

ื อองค์ กร อนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

ั<br />

ตยกรรม<br />

รางว<br />

ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

ั ตยกรรมป<br />

ี 2566


ั<br />

ิ<br />

์<br />

้<br />

ตึ<br />

ตึ<br />

้<br />

ุ<br />

ุ<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

่<br />

ึ<br />

ั<br />

ิ<br />

่ึ<br />

16<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Award of Distinction<br />

Suwanwajoksikit<br />

Building<br />

Bangkok<br />

ที่ตั้ง :<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

แขวงลาดยาว เขตจตุจักร<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

สถาปนิกอนุรักษ ์:<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ฐิ ติวุฒิ ชัยสวัสดิ์อารี<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ภายใต้การดูแลของคณะวิทยาศาสตร์<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

าคารเร ี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ทองพันธ์<br />

ยนรวมของนิ ิสตในช<br />

่ วงยุ คเร ่ ม ก่ ้ งอ ตั<br />

พู นสุวรรณ<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2506<br />

เร ี ยนท ี่ มี ขนาดใหญ่ ี่ทุสดในเวลานั<br />

้ น ต่ อมามี<br />

งจนหยุ Suwanwajkasikij ดการใช ้ Building งานในพุ Conservation ทธศั employed กราช a complete 2556<br />

process, beginning with a study of the history of building condi-<br />

ุรดโทรมจากการใช<br />

tion assessment to ้design งานและขาดการดู and determine appropriate แลร conser- ั กษา<br />

vation methods. It is able to maintain and repair deteriorated<br />

ะว ิ ทยาศาสตร<br />

architectural elements ์ ได้ จso ดท that ํ าแผนการอนุ<br />

they can be used in conjunction<br />

with the newly built building. Conservation design takes<br />

ัรกษ์<br />

างอาคารปฏิ into account บั the ติ preservation การรวมคณะว<br />

of the unique ิ ทยาศาสตร<br />

features of the<br />

original building while choosing the building system structure<br />

ละเช ื่ อมโยงกั and new materials บการใช rationally ้ งานและบร<br />

consistent with ิ บทใหม่ current usage. ของ<br />

Also, a landscape improvement allows the building to retain<br />

ารอนุ its ัรoriginal กษ์ ใช proportions ้ ิวี ธ ถอดร despite ื้ อและประกอบใหม่<br />

the building’s taller elevation.<br />

The project has set a good example for preserving buildings<br />

งคงร ั that กษาร have ู historical ปแบบทางสถาป<br />

significance for ั Kasetsart ตยกรรมเดิ University and มไว<br />

other educational institutions.<br />

มพั นธ ์ ักบการก<br />

่ อสร ้ างตามร ู ปแบบดั ้ งเดิ ม<br />

งส ่ วนให้ อาคารมี ความแข ็ งแรงเหมาะสมก ั บ<br />

ตึกสุวรรณวาจกกสิกิจ เป็นหนึ่งในกลุ่มอาคารเรียนรวมของนิสิตในช่วง<br />

ยุคเริ่มก่อตั้งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที ่ ง มหาว<br />

ิ ทยาล ถือเป็นอาคารเรียนที่มีขนาด<br />

ใหญ่ที่สุดในเวลานั้น ต่อมามีตึกสุวรรณวาจกกสิกิจเป็นอาคารสองชั้น<br />

ใต้ถุนเปิดโล่ง สถาปนิ ชั้นบนเป็นห้องโถงขนาดใหญ่ ก | ผู้ ออกแบบ สามารถจุคนได้ประมาณ ผู้ ช<br />

300 คน มีบันไดทางขึ้นสองด้านเชื่อมกับระเบียงทางเดินบริเวณ<br />

สถาปนิ กอนุ ัรกษ์ ผู้ ช<br />

ด้าน<br />

ทิศตะวันออก การวางตําแหน่งอาคารเป็นลักษณะการวางขวางตะวัน<br />

เพื่อให้ อาคารขนานกับถนนสุวรรณวาจกกสิกิจซึ่งเป็นถนนที่แบ่งพื้นที<br />

ผู้ ครอบครอง มหาว ิ ทยาล<br />

ระหว่างมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์กับพื้นที่กระทรวงเกษตรและสหกรณ์<br />

(เดิม) ทําให้เห็นการออกแบบที่มีองค์ประกอบของแผงกันแดดทางด้าน<br />

ปี ี่สร ท ้ าง พุ ทธศั กราช 2506<br />

ทิศตะวันตกและการยื่นชายคาหลังคาเพื่อป้องกันแดดยาวประมาณ 2<br />

เมตร ส่วนทางด้านทิศตะวันออกจะเป็นระเบียงทางเดินเพื่อไม่ให้<br />

ผนังภายในห้องรับแดดโดยตรง ห้องบรรยายชั้นบนเป็นพื้นที่เปิดโล่ง<br />

ขนาดใหญ่ มีโครงสร้างหลังคาเป็นโครงถักไม้ (Wooden Truss) พาด<br />

ตลอดความกว้างของห้อง เพื่อไม่ให้มีเสาบริเวณกลางห้อง มีการเจาะ<br />

ช่องแสงจากด้านบนหลังคา กสวรรณวาจกกส<br />

(Skylight) ผนังด้านทิศตะวันตกและตะวัน กจ เป<br />

ออกใช้หน้าต่างช่องบานเปิดคู่ตลอดความยาวของอาคารพื้นที่เหนือ<br />

หน้าต่างเป็นช่องระบายอากาศกรุด้วยตาข่ายเหล็กสาน สามารถจ<br />

รูปทรงหลังคา<br />

เป็นจั่วการเปลี่ยนแปลงการใช้งานอยู่หลายครั้งจนหยุดการใช้งาน<br />

ในพุทธศักราช ด้ 2556 านทความชัน ศตะว 15 องศา มุงด้วยกระเบื้องซีเมนต์ใยหิน<br />

แผงบังแดดทําด้วยโครงไม้เนื้อแข็ง เนื่องจากอาคารมีสภาพความ<br />

เสียหายและทรุดโทรมจากการใช้งานและขาดการดูแลรักษา<br />

อาคารขนานก ั บถนนส<br />

ั ยเกษตรศาสตร ์ แขวงล<br />

่ วยศาสตราจา<br />

่ วยศาสตราจารย์ ิฐติ<br />

ั ยเกษตรศาสต<br />

็ นอาคารสองช ั้น<br />

ุ คนได้ ประมาณ 300 คน มี บั นไดท<br />

ั นออก การวางตํ าแหน่ งอาค<br />

ุ วรรณวาจกกส ิ ิกจซ<br />

เกษตรศาสตร ์ ักบพื้ นท ี่ กระทรวงเกษตรแ<br />

องค์ ประกอบของแผงกั นแดดทางด้ านทิ ศ<br />

่ วนทางด้ านท<br />

ั บแดดโดยตรง ห้ องบ<br />

็ นโครงถ ั กไม้ (Woo<br />

ิ เวณกลางห้ อง มี การเจ<br />

ั นออกใช ้ หน้ า<br />

่ องระบายอากาศ<br />

ุ งด้ วยกระเบื้องซ<br />

ี เมน<br />

กร ุ แผ่ นกระเบื้ องใยหิ นเพื่ อช ่ วยบั งแดดให้<br />

เปิ ดทางทิ ศตะว ั นตกได้ ดี ด้ านทิ ศเหนื อและ<br />

ั งแดดซ ่ งเป็ นเอกล<br />

หลังจากนั้นในพุทธศักราช 2558 คณะวิทยาศาสตร์ได้จัดทําแผนการ<br />

อนุรักษ์ตึกสุวรรณวาจกกสิกิจร่วมกับการก่อสร้างอาคารปฏิบัติการ<br />

รวมคณะวิทยาศาสตร์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อรักษาคุณค่าอาคารเก่าและ<br />

เชื่อมโยงกับการใช้งานและบริบทใหม่ของ แดดยาวประมาณ พื้นที่คณะวิทยาศาสตร์ 2 เมตร สําหรับ ส<br />

กระบวนการอนุรักษ์ใช้วิธี ถอดรื้อและประกอบใหม่ (Reconstruction)<br />

ซึ่งเป็นกระบวนการที่ยังคงรักษารูปแบบทางสถาปัตยกรรมเดิมไว้ ผนั งภายในห้ องร<br />

โดย<br />

รักษาหลักการและวิธีการก่อสร้างที่สัมพันธ์กับการก่อสร้างตามรูปแบบ<br />

มี โครงสร ้ างหล ั งคาเป<br />

ดั้งเดิม แต่สามารถเปลี่ยนแปลงและเสริมวัสดุบางส่วนให้อาคารมีความ<br />

แข็งแรงเหมาะสมกับการใช้งาน เพื่ อไม่ ให้ มี ในปัจจุบันได้มีการรื้อฟื้นพื้นที่ชั้นล่างให้<br />

เสาบร<br />

กลับมามีลักษณะเปิดโล่งเหมือนใต้ถุนตึกเมื่อสมัยแรกสร้าง และปรับใช้<br />

เป็นร้านกาแฟ ผนั ส่วนพื้นที่ชั้นบนใช้เป็นหอประวัติของคณะวิทยาศาสตร์<br />

งด้ านทิ ศตะว ั นตกและตะว<br />

(Inspiration Center Faculty of Science KU) กรุแผ่นกระเบื้องใยหิน<br />

เพื ่อช่วยบังแดดให้กับทางเดินทางด้านทิศตะวันออกและผนังช่องเปิด<br />

พื้ นที่ เหนื อหน้ าต่ างเป็ นช<br />

ทางทิศตะวันตกได้ดี ด้านทิศเหนือและทิศใต้ของอาคารออกแบบเป็นผนัง<br />

ไม้สักตีทับ แนวทางตั้งสําหรับใช้บังแดดซึ่งเป็นเอกลักษณ์ที่สําคัญของ<br />

ความช ั น 15 องศา ม<br />

อาคารหลังนี้<br />

ตึกสุวรรณวาจกกสิกิจ เป็นตัวแทนของลักษณะรูปแบบอาคารเรียนใน<br />

สมัยแรกของเขตร้อนชื้นที่ใช้การระบายอากาศโดยวิธีธรรมชาติ<br />

(Passive Design) แนวทางตั้ และความพยายามของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ที่<br />

งส ํ าหร ั บใช ้ บ<br />

แสดงให้เห็นถึงวิธีการออกแบบที่เข้ากับสภาพแวดล้อมของสถาปนิกที่<br />

จะออกแบบอาคารที่ประหยัดโครงสร้าง และให้เกิดประโยชน์สูงสุดใน<br />

การใช้งาน ผลของการอนุรักษ์ตามหลักวิชาการทําให้ตึกสุวรรณวา-<br />

กสวรรณวาจกกสกจ เป<br />

จกกสิกิจสามารถรักษาคุณค่าทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม<br />

สําคัญเอาไว้ได้ มหาว และกลายมาเป็นแหล่งเรียนรู้ให้กับนิสิตเหมือนเช่นใน<br />

ิ ทยาล ั ยเกษตรศาสตร<br />

อดีตที่ผ่านมา<br />

็ นตั วแทนของ<br />

์ ที่ แสดงให้ เห็ น<br />

เขตร ้ อนช ื้ นที่ ใช ้ การระบายอากาศโดยว ิ ีธธ<br />

ของสถาปนิ กท ี่ จะออกแบบอาคารท ี่ ประห


นุ<br />

ี<br />

ตึ<br />

้<br />

ั<br />

ิ<br />

ิ<br />

ั<br />

ั<br />

ตึ<br />

ึ<br />

้<br />

ุตึ<br />

ึ<br />

ึ<br />

ิ<br />

ุ<br />

้<br />

ุ<br />

ิ<br />

ึ<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

ิ<br />

์<br />

ั<br />

้ั<br />

ิ<br />

โดยร ั กษาหล ั กการและว ิ ีธการก<br />

่ อสร ้ างท ี่ ัสมพั นธ ์ ักบการก<br />

่ อสร ้ างตามร ู ปแบบดั ้ งเดิ ม<br />

แต่ สามารถเปล ่ ยนแปลงและเสร ิ มว ั สดุ บางส ่ วนให้ อาคารมี ความแข ็ งแรงเหมาะสมก ั บ<br />

การใช ้ งานในปั จจ ุ บั น ได้ มี การร ื้ อฟื นพื้ นที่ ้ ชนล<br />

่ างให้ กล ั บมามี รางว รางว<br />

ัลกษณะเปิ ั ลอนุ ั ลอนุ<br />

ดโล ่ งเหมื ร ร<br />

อนใต้ ถุ น<br />

ตึ กเมื่ อสมั ยแรกสร ้ างและปร ั บใช ้ เป็ นร ้ านกาแฟ ่สวนพื้ นท ี่ ้ชนบนใช<br />

้ เป็ นหอประว ั ติ ของ<br />

คณะว ิ ทยาศาสตร ์ (Inspiration Center Faculty of Science KU)<br />

อนุ ัรั รกษ์<br />

กษ์<br />

ตึ<br />

กส ุ<br />

Type A: Award of Distinction<br />

มรดกทางสถาป<br />

ั ั<br />

ตึ<br />

กส ุ<br />

เขตร ้ อนช ื้ นที่ ใช ้ การระบายอากาศโดยว ิ ีธธรรมชาติ (Passive Design) และความพยา<br />

ที่ สร ้ างข ้ นใหม่ การออกแบบอนุ ัรกษ์<br />

ของสถาปนิ กท ี่ จะออกแบบอาคารท ี่ ประหยั ดโครงสร ้ างและให้ เก ิ ดประโยชน์ ูสงส<br />

ุ ด<br />

การใช ้ งาน ั ตยกรรมปี ั ตยกรรมปี<br />

ผลของการอนุ ัรกษ์ 2566 2566<br />

ตามหล ั กว ิ ชาการท ํ าให้ ตึ กส ุ วรรณวาจกกส ิ ิกจสาม<br />

่สั รกษาคุ วนที่ ณค่ าทางประว เป็ นเอกล<br />

ั ติ ศาสตร ์ และสถาปั ั กษณ์ ตยกรรมความส ของอาคารเดิ ํ าคั ญเอาไว ้ ได้ และกลายมา ม<br />

แหล ่ งเร ี ยนร ู้ ให้ ักบนิ ิสตเหมื อนเช ่ นในอดี ตท ี่ผ่ านมา 17<br />

งานระบบอาคาร ตลอดจนว ั สดุ ให<br />

สอดคล ้ องก ั บการใช ้ งานในปั จจ ุ บั น<br />

ัทตยกรรมและช<br />

ศน์ ี่ ท่ชวยให้ อาคารยั งคงส<br />

มชน ุ ั ดส ่ วนเ<br />

ระ<br />

อาคารให้ ูสงข<br />

้ น นั บเป็ นแบบอย่ างอ<br />

ความส ํ าคั ญทางประว ั ติ ศาสตร ์ ขอ<br />

และสถาบั นการศึ กษาอ ื่น ๆ ต่ อไป<br />

ั กษ์ ั กษ์ ศิ ลปสถาป ศิ ลปสถาป<br />

ตยกรรมและช ุ<br />

มชน ร<br />

วรรณวาจกกส<br />

ิ ิ ิกิ<br />

กจ<br />

จ<br />

รางว ั ลอนุ ัรกษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมปี 2566<br />

สถาปนิ สถาปนิ กอนุ กอนุ ัรกษ์ ัรกษ์ ผู้ ่ชวยศาสตราจารย์ ผู้ ิฐติ<br />

กส ุ วรรณวาจกกสกจ มหาว ิ ทยาลยเกษตรศาสตร<br />

ผู้ ์ ครอบครอง ผู้ กร<br />

งเทพฯ มหาว มหาว ิ ทยาล ิ ทยาล ั ยเกษตรศาส ั ปี ี่สร ทปี<br />

้ ี่สร ทาง ้ าง พุ ทธศั พุ ทธศั กราช กราช 2506 2506<br />

คํ<br />

ที ่ ง ที มหาว ่ ง ตั มหาว ิ ตั ทยาล ิ ทยาล ั ยเกษตรศาสตร<br />

ั ์ แขวงล ์ สถาปนิ สถาปนิ ก | ผู้ ก ออกแบบ | ผู้ ออกแบบ ผู้ ่ชวยศาสตราจา<br />

ผู้ าประกาศ<br />

กระบวนการอนุ ัรกษ์ มี ความครบถ้ วน โดยมี การศึ กษาประว ั ติ<br />

ความเป็ นมา การประเมิ นสภาพอาคารเพื่ อออกแบบและก ํ าหนด<br />

ิวีธการอนุ ัรกษ์ ที่ เหมาะสม สามารถร ั กษาและซ่ อมแซมองค์ ประกอบ<br />

ทางสถาปั กส ตยกรรมที่ วรรณวาจกกส<br />

กสเสื่ วรรณวาจกกส<br />

อมสภาพให้ กลั บมาใช ก้ จ งานได้ เป กจ ควบคู่ เปกั บอาคาร<br />

ั กษาคุ ณค่ าของ<br />

้ าง<br />

้ าไปอย่ างเป็ นเหตุ เป็ นผล<br />

ุ งภู มิ -<br />

้ แม้ จะมี การยกระดั บของ<br />

็ นอาคารสองช<br />

็ ุ คนได้ ุ คนได้ ประมาณ ประมาณ 300 300 คน มี คน บั นไดท มี บั น<br />

ั นออก ั นออก การวางตํ การวางตํ าแหน่ าแหน่ งอา<br />

ุ วรรณวาจกกส<br />

ุ วรรณวาจกกส ิ ิกจ<br />

ี่ กระทรวงเกษตรแ<br />

ั ยเกษตรศาสตร ี่ องค์ องค์ ประกอบของแผงกั ประกอบของแผงกั นแดดทางด้ นแดดทางด้ านทิ าศ<br />

่ วนทางด้ ่ วนทางด้ าน<br />

ผนั งภายในห้<br />

ั<br />

องร<br />

บแดดโดยตรง<br />

ั บแดดโดยตรง<br />

ห้ อง<br />

ห้<br />

มี โครงสร<br />

มี โครงสร<br />

้ างหล<br />

้ างหล<br />

ั งคาเป<br />

ั งคาเป<br />

็ นโครงถ<br />

็ นโครงถ<br />

ั กไม้<br />

ั กไม้<br />

(Wo<br />

(<br />

เพื่ อไม่ ให้ มี เสาบร ิ เวณกลางห้ อง มี การเ<br />

คำประกาศ<br />

ที่ สร ้ างข ้ นใหม่ การออกแบบอนุ ัรกษ์ คํ านึ งถึ งการร<br />

กระบวนการอนุรักษ์ตึกสุวรรณวาจกกสิกิจ สามารถจ<br />

มีความครบถ้วน โดยมี<br />

่สวนที่ นเอกล สามารถจ<br />

ั กษณ์ ของอาคารเดิ มไว ้ ในขณะที่ เล ื อกใช ้ โครงสร<br />

การศึกษาประวัติความเป็นมา การประเมินสภาพอาคาร เพื่อออกแบบ<br />

งานระบบอาคาร<br />

และกําหนดวิธีการอนุรักษ์ที่เหมาะสม ด้ านท ตลอดจนว ั สดุ ใหม่ เข<br />

สอดคล ้ องก ั<br />

ด้<br />

บการใช<br />

านท ศตะว<br />

้ งานในปั<br />

ศตะว<br />

จจ ุ บั น<br />

สามารถรักษาและซ่อมแซม<br />

นอกจากนี้ การปร ั บปร<br />

องค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมที่เสื่อมสภาพให้กลับมาใช้งานได้ควบคู่<br />

ัทศน์ ท่ชอาคารขนานก<br />

วยให้ อาคารยั งคงส ั ดส ่ วนเดิ มไว<br />

กับอาคารที่สร้างขึ้นใหม่ ั บถนนส<br />

การออกแบบอนุรักษ์คํานึงถึงการรักษาคุณค่า<br />

ั บถนนส<br />

อาคารให้ ูส<br />

้ น นั บเป็ นแบบอย่ างอ ั นดี ให้ กั บการอนุ ัรกษ์ อาคารที่ มี<br />

ของส่วนที่เป็นเอกลักษณ์ของอาคารเดิมไว้ ความส ํ เกษตรศาสตร<br />

าคั ญทางประว เกษตรศาสตร<br />

ั ติ ์ ์ ักของมหาว<br />

บพื้ ์ ักในขณะที่เลือกใช้โครงสร้าง<br />

นท บพื้ ิ ทยาล นท<br />

งานระบบอาคาร และสถาบั นการศึ ตลอดจนวัสดุใหม่เข้าไปอย่างเป็นเหตุเป็นผล กษาอ ื่น ๆ ต่ อไป<br />

สอดคล้อง<br />

กับการใช้งานในปัจจุบัน นอกจากนี้การปรับปรุงภูมิทัศน์ที่ช่วยให้อาคาร<br />

ยังคงสัดส่วนเดิมไว้แม้จะมีการยกระดับของอาคารให้สูงขึ้น แดดยาวประมาณ แดดยาวประมาณ 2 เมตร 2 เมตร สนับเป็น<br />

ส<br />

แบบอย่างอันดีให้กับการอนุรักษ์อาคารที่มีความสําคัญทางประวัติศาสตร์<br />

ของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ผนั งภายในห้<br />

และสถาบันการศึกษาอื่น<br />

องร<br />

ๆ ต่อไป


ิ<br />

ั<br />

ึ<br />

ผลดี ทางเศรษฐก ิ จและส ั งคม และถื อเป็ นโครงการท ี่ เก ิ ดข ้ นจาก<br />

การร ิ เร ่ มโดยช ุ มชนเองเป็ นคร ้ งแรก<br />

18<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Award of Distinction<br />

Conservation<br />

Project and Revitalize<br />

the Luanrit<br />

Community Area<br />

Bangkok<br />

ที่ตั้ง :<br />

ถนนเยาวราช แขวงจักรวรรดิ<br />

เขตสัมพันธวงศ์ กรุงเทพมหานคร<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

สถาปนิกอนุรักษ ์:<br />

บริษัท กุฏาคาร จํากัด<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

สํานักงานทรัพย์สินพระมหากษัตริย์<br />

บริหารจัดการโดย :<br />

บริษัทชุมชนเลื่อนฤทธิ์ จํากัด<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

สมัยรัชกาลที่ 5<br />

The conservation process is complete in the Luanrit Community<br />

Area Conservation and Restoration Project. It consists of a study<br />

of the background of the building and its location, structural<br />

investigations and elements of buildings in different periods,<br />

archaeological surveys, and assessing the condition of the<br />

building. Conservation techniques are appropriately selected<br />

to solve the problems of building deterioration and demolition<br />

that have occurred in the past. As a result, the value of the<br />

historical building group of the community has been restored<br />

again, as well as various limitations from the value of land,<br />

space requirements, and multiple systems working creatively.<br />

This is an example of a project to adjust the usability of old<br />

commercial buildings for further use and a good example of<br />

area management that can balance conservation and development<br />

with economic and social benefits.<br />

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ เดิมที่ดินแปลงนี้เป็นของ<br />

คุณหญิงเลื่อนภรรยาหลวงฤทธิ์นายเวร ชาวบ้านจึงเรียกชื่อย่านนี้ว่า เลื่อนฤทธิ์<br />

ต่อมา คุณหญิงเลื่อนได้ขายที่ดินให้กับพระคลังข้างที่ จึงพัฒนาพื้นที่และสร้าง<br />

ตึกแถวให้เช่า โดยในช่วงแรกของการใช้งานอาคารนั้นเป็นห้องเช่าของผู้เดินทาง<br />

ทั่วไป ต่อมาชาวจีนฮากกาหรือจีนแคะ ย้ายเข้ามาเช่าเพื่อพักอาศัยพร้อมกับ<br />

ประกอบกิจการการค้า และตามมาด้วยคนอินเดียและคนจีนกลุ่มอื่น ๆ ทํา<br />

ให้ผู้ที่อยู่ในชุมชนเลื่อนฤทธิ์ประกอบด้วยคนไทยเชื้อสายจีนและอินเดีย ใน<br />

พุทธศักราช 2544 สํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้ออกหนังสือ<br />

บอกเลิกสัญญาเช่ากับผู้เช่าในชุมชนเลื่อนฤทธิ์เพื่อพัฒนาพื้นที่ ทําให้เกิดการ<br />

เจรจาต่อรองเพื่อหาทางออกร่วมกันระหว่างผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนอยู่<br />

หลายครั้ง จนในที่สุดสํานักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ได้เปิดโอกาสให้<br />

ผู้เช่าเดิมในชุมชนเลื่อนฤทธิ์รวมตัวกันมาทําสัญญาเช่าเพื่อการฟื้นฟูอาคาร<br />

และพื้นที่ในรูปแบบของการอนุรักษ์ชาวชุมชนเลื่อนฤทธิ์ได้ร่วมกันระดมทุน<br />

จัดตั้งบริษัทชุมชน เลื่อนฤทธิ์ จํากัด เป็นผู้เช่า สํานักงานทรัพย์สินส่วน<br />

พระมหากษัตริย์ได้ลงนามสัญญาเช่ากับบริษัทชุมชนเลื่อนฤทธิ์ จํากัด<br />

เมื่อพุทธศักราช 2555 ด้วยการร่วมแรงร่วมใจ และร่วมทุนของชาวชุมชน<br />

โครงการได้เริ่มดําเนินการก่อสร้างจริงจังในพุทธศักราช 2558 มีการศึกษา<br />

เอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์ การดําเนินงานทางโบราณคดีสําหรับชุมชน<br />

เมืองที่มีประโยชน์ต่อการศึกษาประวัติความเป็นมาของพื้นที่ด้านการอนุรักษ์<br />

มีการรื้อถอนอาคารส่วนต่อเติมที่ทําลายคุณค่าอาคารอนุรักษ์เดิม คืนสภาพทาง<br />

หนีไฟ และช่องทางเดินในอดีต จัดสร้างทางหนีไฟเพิ่มเติมเพื่อให้เป็นไปตาม<br />

กฎหมาย และใช้ประโยชน์เป็นทางบริการด้านหลัง บูรณะอาคารอนุรักษ์เดิม<br />

ส่วนที่ถูกรื้อถอนหรือชํารุด เสื่อมสภาพ ฟื้นฟูรูปแบบดั้งเดิมให้กลับคืนมา<br />

เพื่อรักษาเอกลักษณ์ทางกายภาพของกลุ่มอาคารโดยภาพรวมจัดสร้างอาคาร<br />

ส่วนต่อเติมด้านหลังอาคารเดิมให้มีพื้นที่ใช้งานมากขึ้น ด้วยการเพิ่มห้องใต้<br />

หลังคาด้วยความสูงมากที่สุด เท่าที่จะไม่รบกวนมุมมองทางด้านหน้าของอาคาร<br />

ดั้งเดิม และปรับปรุงพื้นที่ส่วนกลาง ทั้งในส่วนระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ<br />

ถนน ทางเดิน และภูมิทัศน ์ให้รองรับการใช้งานใหม่ การดําเนินการทั้งหมด<br />

แล้วเสร็จในพุทธศักราช 2564<br />

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ ประกอบด้วยตึกแถวสูง 2 ชั้น<br />

ยาวขนานไปกับถนนเยาวราชและถนนภายในชุมชนจํานวน 231 คูหา รูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียล โครงสร้างผนังชั้นล่างเป็นกําแพงรับน้ําหนัก<br />

ก่ออิฐ โครงสร้างพื้นชั้นบนเป็นไม้ โครงสร้างหลังคาทรงจั่วเดิมเป็นไม้ ปัจจุบัน<br />

เปลี่ยนเป็นโครงสร้างหลังคาเหล็ก ทั้งหมดมุงด้วยกระเบื้องว่าวซีเมนต์ จุดเด่น<br />

ของตึกแถวชุมชนเลื่อนฤทธิ์อยู่ที่ตึกแถวหัวมุมถนนจะถูกตัดมุมฉากออกทําหน้า<br />

ตึกขนาด 1-3 ห้อง ตึกแถวทุกๆ 2-3 คูหาจะสร้างกําแพงอิฐกั้นสูงจากพื้นถึง<br />

หลังคาเพื่อกันไฟ ประดับด้วยบัวปูนปั้นหน้าจั่วหลังคา ประดับปูนปั้นรูปวงกลม<br />

ประตูชั้นล่างเป็นบานเฟี้ยม เหนือประตูบานเฟี้ยมมีช่องระบายอากาศยาว<br />

ตลอดแนว หน้าต่างเป็นบานเปิดคู่ลูกฟักไม้ ตอนบนประดับช่องลมไม้ฉลุลาย<br />

กันสาดชั้นล่างเป็นโครงสร้างไม้มุงด้วยสังกะสี และมีค้ํายันเหล็กหล่อดัดโค้ง<br />

กันสาด ชั้นบนเป็นโครงสร้างไม้มุงด้วยสังกะสี และประดับด้วยไม้ฉลุลาย<br />

โครงการอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ์ จัดเป็นโครงการอนุ รักษ์ที่เกิด<br />

ความร่วมมือกันจากหลายภาคส่วน โดยมีชุมชนเองเป็นแกนสําคัญของการ<br />

ขับเคลื่อน มีการบูรณะฟื้นฟูอาคารตามหลักวิชาการ เป็นโครงการที่ทําให้<br />

สามารถรักษารูปแบบดั้งเดิมของอาคารไว้ได้ ควบคู่กับการจัดสรรพื้นที่ใช้สอย<br />

ภายในใหม่ให้มีความสะดวกสบาย ในการใช้งานให้สอดคล้องกับชีวิตใน<br />

ปัจจุบัน รวมทั้งเพิ่มเติมงานระบบต่าง ๆ ที่ได้มาตรฐาน ทําให้โครงการอนุรักษ์<br />

และพัฒนาพื้นที่ชุมชนเลื่อนฤทธิ์กลายเป็นแหล่งเรียนรู้ ด้านประวัติศาสตร ์และ<br />

สถาปัตยกรรมที่สําคัญของกรุงเทพมหานครได้เป็นอย่างดี


่<br />

ึ<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

้ ั<br />

ี<br />

ิ<br />

ุ<br />

ิ<br />

ั<br />

ิ<br />

้<br />

ี<br />

ุ<br />

็<br />

ิ<br />

่<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

้ ั<br />

ั<br />

ิ<br />

ั<br />

ุ<br />

ิ<br />

้<br />

ั<br />

ั<br />

ุ<br />

ุ<br />

ั<br />

ั<br />

้ึ<br />

้ึ<br />

ุ<br />

ุ<br />

ั<br />

ั<br />

้<br />

ิ<br />

้<br />

้<br />

้<br />

้<br />

ั<br />

ึ<br />

ึ<br />

ิ<br />

็<br />

ิ<br />

่<br />

ั<br />

่ี<br />

ุ<br />

ั<br />

ระดั บดี มาก<br />

Type A: Award of Distinction<br />

19<br />

รางว ั ลอนุ ัรกษ์ ศิ ลปสถาป คำประกาศ ั ตยกรรมปี 2566<br />

งานอนุ ัรกษ์ มรดกทางสถาปั ตยกรรมและช<br />

กระบวนการอนุรักษ์มีความครบถ้วน ุ มชน ระดั บดี ประกอบด้วยการศึกษาประวัติ มาก<br />

ความ<br />

เป็นมาของอาคารและพื้นที่ตั้ง การศึกษาโครงสร้าง และองค์ประกอบของ<br />

โครงการอนุ<br />

โครงการอนุ ัรกษ์ และฟื ้ นฟู พื้ นท<br />

อาคารในช่วงเวลาต่าง ๆ การสํารวจทางโบราณคดี ตลอดจนมีการประเมิน<br />

สภาพอาคาร มีการเลือกเทคนิควิธีการอนุรักษ์เพื่อแก้ปัญหาความเสื่อมสภาพ<br />

ัรกษ์ และฟื<br />

ี่ช ุ มชนเล<br />

้ นฟู ื่อนฤทธ<br />

ของอาคาร<br />

พื้ นท<br />

ิ์ แก้ไขการต่อเติม<br />

ี่ช<br />

กร<br />

ร<br />

ุ งเทพ ฯ<br />

รางว ุ มชนเล<br />

และรื้อสร้างใหม่ที่เกิดขึ้นในช่วงเวลาที่ผ่านมา<br />

ื่อนฤทธิ์<br />

ั ลอนุ ั ร กษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมปี 2566<br />

มี<br />

ผลให้คุณค่าของความเป็นกลุ่มอาคารประวัติศาสตร์ของชุมชนกลับคืนมาได้<br />

คํ าประกาศ<br />

อีกครั้ง รวมทั้งได้แก้ปัญหาข้อจํากัดต่าง ๆ จากมูลค่าของที่ดิน ความต้องการ<br />

โครงการอนุ ัรกษ์ และฟื ้ นฟู พื้ นท ี่ช ุ มชนเล<br />

ในเรื่องพื้นที่ใช้สอย<br />

ื่อนฤทธ กระบวนการอนุ ิ์ กร<br />

และงานระบบต่าง<br />

ุ ัรงเทพ กษ์ มี ความครบถ้ ฯ<br />

ๆ ได้อย่างสร้างสรรค์<br />

วน ประกอบด้ วยการศึ<br />

นับเป็นตัวอย่าง<br />

กษาประว ั ติ<br />

ของโครงการปรับประโยชน์ใช้สอยกลุ่มตึกแถวเก่าเพื่อใช้งานสืบต่อไป<br />

ความเป็ นมาของอาคารและพื้ นท ี่ ตั ้ ง การศึ กษาโครงสร ้ างและ<br />

เป็น<br />

องค์ ประกอบของอาคารในช่ วงเวลาต่ ๆ การสํ ารวจทางโบราณคดี<br />

ตัวอย่างของการบริหารจัดการพื้นที่ที่สามารถรักษาสมดุลของการอนุรักษ์<br />

ตลอดจนมี คํ าประกาศ การประเมิ นสภาพอาคาร มี การเล ื อกเทคนิ คว ิ ีธการ<br />

และพัฒนาที่มีผลดีทางเศรษฐกิจและสังคม และถือเป็นโครงการที่เกิดขึ้น<br />

อนุ รกระบวนการอนุ ัรกษ์ มี ความครบถ้ วน ประกอบด้ วยการศึ กษาประว ั ติ<br />

จากการริเริ่มโดยชุมชนเอง<br />

นเล ื่อนฤทธิ์<br />

โครงการอนุ ัรกษ์ และฟื ้ นฟู พื้ นท ี่ ุชมชนเล<br />

ื่ อนฤทธิ์ เดิ มท ี่ ดิ นแปลงนี้ เปนของ<br />

คุ ณหญิ งเล ื่อน ภรรยาหลวงฤทธ ิ์ นายเวร ชาวบ้ านจ ึ งเร ี ยกช ื่อย่ านนี้ ่วา เล ื่อนฤทธ ิ์ ต่ อมา<br />

คุ ณหญิ งเล ื่อนได้ ขายท ี่ดิ นให้ ักบพระคล<br />

ั งข ้ างท ี่ ึจงพั ฒนาพื้ นท ี่และสร ้ างตึ กแถวให้ เช ่ า<br />

โดยในช ่ วงแรกของการใช ้ งานอาคารนั้ นเป็ นห้ องเช ่ าของผู้ เดิ นทางท ั่ วไป ต่ อมาชาวจ ี น<br />

ฮากกาหร ที ้ ื ่ ง อจ ี นแคะย้ ถนนเยาวราช ายเข ตั ้ ามาเช ่ าเพื่ อพั กอาศั ยพร ้ อมก แขวงจ<br />

ั บประกอบก ิ จการการค้ า และ<br />

ตามมาด้ วยคนอ ิ นเดี ยและคนจ ี นกล ่ มอ ื่ น ๆ ํทาให้ ผู้ ี่ทอยู่ ในช ุ มชนเล ื่ อนฤทธ ิ์ ประกอบ<br />

ด้ วยคนไทยเช ื้ อสายจ ี นและอ ิ นเดี ย ในพุ ทธศั กราช 2544 ํสานั กงานทร ั พย์ สนสวน<br />

พระมหากษั ตร ิ ย์ ได้ ออกหนั งส ื อบอกเล ิ กส ั ญญาเช ่ ากั บผู้ เช ่ าในช ุ มชนเล ื่ อนฤทธิ ์ เพื่ อพั ฒนา<br />

พื้ นท ี่ ํทาให้ เก ิ ดการเจรจาต่ อรองเพื่ อหาทางออกร ่ วมก ั นระหว ่ างผู้ ี่ทมี ่สวนเก<br />

ี่ ยวข ้ อง<br />

ทุ กภาคส<br />

สถาปนิ<br />

่ วนอยู่ หลายคร<br />

กอนุ<br />

้ ง จนในท ่ัรุ สดส<br />

กษ์<br />

ํ านั กงานทร<br />

บร<br />

ั พย์ ิสนส<br />

่ วนพระมหากษั ตร ิ ย์ ได้ เปิ ด<br />

โอกาสให้ ผู้ เช ่ าเดิ มในช ุ มชนเลื่ อนฤทธิ ์ รวมตั วกั นมาทํ าส ั ญญาเช ่ าเพื่ อการฟื นฟู อาคารและ<br />

พื้ นที่ ผู้ ในร ครอบครอง ู ปแบบของการอนุ ัรกษ์ ชาวช ุ มชนเล ํสื่ อนฤทธ านั ์ ได้ กงานทร<br />

่รวมกั นระดมทุ นจั ั ดตั ้ พย์ งบร ิ ษั ทช ุ สมชน<br />

เล ื่ อนฤทธ ิ์ ํจาก<br />

ั ด เป ็ นผู้ เช ่ าของ ํสานั กงานทร ั พย์ ิสนส<br />

่ วนพระมหากษั ตร ิ ย์ ได้ ลงนาม<br />

ัสญญาเช<br />

่ ากั บบร ิ ษั ุ ื่ อนฤทธ ์ ํจากั ด เมื่ อพุ ทธศั กราช 2555 ด้ วยการร ่ วมแรงร ่ วมใจ<br />

บร ิ ษั ทช ุ มชนเล ื่อนฤทธ<br />

และร ่ วมทุ นของชาวช ุ มชน โครงการได้ เร ่ มดํ าเนิ นการก<br />

ิ์ ํจาก<br />

ั ด<br />

่ อสร ้ างจร ิ งจ ั งในพุ ทธศั กราช<br />

2558 มี การศึ กษาเอกสารหล ั กฐานทางประว ั ติ ศาสตร ์ การดํ าเนิ นงานทางโบราณคดี<br />

สํ าหร ปี ั บช ี่สร ทุ มชนเมื ้ องที่ าง มี ประโยชน์ สมั ต่ อการศึ ยร ั กษาประว ชกาลท<br />

ั ติ ความเป็ ี่ นมาของพื้ 5 นที่ ด้ านการอนุ ัรกษ์<br />

มี การร ื้ อถอนอาคารส ่ วนต่ อเติ มท ี่ ํทาลายคุ ณค่ าอาคารอนุ ัรกษ์ เดิ ม คื นสภาพทางหนี ไฟ<br />

และช ่ องทางเดิ นในอดี ต ัจดสร<br />

้ างทางหนี ไฟเพิ ่ มเติ มเพื่ อให้ เป็ นไปตามกฎหมาย และ<br />

ใช ้ ประโยชน์ เป็ นทางบร ิ การด้ านหล ั งบ ู รณะอาคารอนุ ัรกษ์ เดิ มส ่ วนที่ ถู กร ื้ อถอนหร ื อช ํ าร ุ ด<br />

เส ื่ อมสภาพ ้ฟื<br />

นฟู ูรปแบบดั<br />

้ งเดิ มให้ กล ั บคื นมาเพื่ อร ั กษาเอกล ั กษณ์ ทางกายภาพของ<br />

โครงการอนุ ั ัรกษ์ และฟื ้ ้ นฟู นฟู พื้ พื้ นท ี่ ี่ ช<br />

กล ุ่ มอาคารโดยภาพรวม ัจดสร<br />

้ างอาคารส ่ วนต่ อเติ มด้ านหล ั งอาคารเดิ มให้ มี พื้ นที่ ใช ้ งาน<br />

มากข ้ น ด้ วยการเพิ ่ มห้ องใต้ หล ั งคา ด้ วยความส ู งมากที่ ุสดเท่ าที่ จะไม่ รบกวนมุ มมองทาง<br />

ด้ านหน้ าของอาคารดั ื่อน ้ งเดิ ม และปร ภรรยาหลวงฤทธ<br />

ั บปร ุ งพื้ นที่ ่สวนกลาง ้ทั<br />

งในส ่ วนระบบสาธารณู ปโภค<br />

สาธารณู ปการ ถนน ทางเดิ น และภู มิ ัทศน์ ให้ รองร ั บการใช ้ งานใหม่ การดํ าเนิ นการ<br />

้ ทั งหมดแล ้ วเสร ็ จในพุ ทธศั กราช 2564<br />

งานอนุ ัรกษ์ มรดกทางสถาปั ต<br />

รางว ั ลอนุ ัรกษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมปี 2566<br />

ั กษ์ และฟื ้<br />

ั กษ์ เพื่ อแก้ ปั ญหาความเสื่ อมสภาพของอาคาร แก้ ไขการต่ อเติ ม<br />

และร ความเป็ ื้ อสร ้ างใหม่ นมาของอาคารและพื้ ี่ทเก<br />

ิ ดขนในช<br />

่ วงเวลาท นท ี่ ตั ้ ง การศึ ี่ ผ่ านมา กษาโครงสร มี ผลให้ ้ างและ คุ ณค่ า<br />

ของความเป็ องค์ ประกอบของอาคารในช่ นกล ่ มอาคารประว วงเวลาต่ ั ติ ศาสตร าง ๆ ์ ของช การสํ ุ ารวจทางโบราณคดี<br />

มชนกล ั บคื นมาได้<br />

ตลอดจนมี การประเมิ นสภาพอาคาร มี การเล ื อกเทคนิ คว ิ ีธการ<br />

ีอกคร<br />

้ ง รวมท ้ งได้ แก ้ ปั ญหาข ้ อจ ํ าก ั ดต่ าง ๆ จากม ู ลค่ าของท ี่ ดิ น<br />

อนุ ัรกษ์ เพื่ อแก้ ปั ญหาความเสื่ อมสภาพของอาคาร แก้ ไขการต่ อเติ ม<br />

ความต้ องการในเร ื่องพื้ นท ี่ใช ้ สอย และงานระบบต่ าง ๆ ได้ อย่ าง<br />

ที ้ ่ ง ถนนเยาวราช ตั และร ื้ อสร แขวงจ ้ างใหม่ ั กรวรรดิ ี่ทเก<br />

ิ เขตส ดขั นในช มพั นธวงศ์ ่ วงเวลาท กร ุ งเทพมหานคร<br />

ี่ ผ่ านมา มี ผลให้ คุ ณค่ า<br />

สถาปนิ<br />

สร<br />

ก<br />

้<br />

|<br />

างสรรค์<br />

ผู้ ของความเป็ ออกแบบ<br />

นั<br />

ไม่<br />

บเป็<br />

ปรากฏช นกล<br />

นตั<br />

่ มอาคารประว<br />

วอย่<br />

ื่อผู้ ออกแบบ<br />

างของโครงการปร<br />

ั ติ ศาสตร ์ ของช<br />

ั<br />

ุ<br />

บประโยชน์<br />

มชนกล ั บคื นมาได้<br />

ใช ้ สอย<br />

สถาปนิ กล กอนุ ุ่ มตึ ีอั รกคร<br />

กษ์ กแถวเก่ ้ บร ง ิ ษั รวมท ท กุ ฎาคาร ้าเพื่ งได้ อใช ํจแก<br />

าก ้้ ั ปั ด งานส ญหาข ื บต่ ้ อจ ํ อไป าก ั ดต่ เป็ าง นตั ๆ วอย่ จากม างของการบร<br />

ู ลค่ าของท ี่ ดิ ิ น หาร<br />

ผู้ ครอบครอง ัจดการพื้ ํสานั กงานทร ั พย์ ิสนพระมหากษั ตร ิ ย์ บร ิ หารจ ั ดการโดย<br />

ั ความต้ มพั<br />

นท องการในเร ี่ท<br />

นธวงศ์<br />

ี่สามารถร ื่องพื้ ั กษาสมดุ นท กร ี่ใช ุ้ สอย งเทพมหานคร<br />

ลของการอนุ และงานระบบต่ ัรกษ์ าง และพั ๆ ได้ ฒนาท อย่ างี่มี<br />

บร ิ ษั ทช ุ มชนเล ื่อนฤทธ ิ์ ํจาก<br />

ั ด<br />

ผลดี<br />

ป ี ี่สร ท สร ้ทางเศรษฐก<br />

างสรรค์ นั บเป็ ิ จและส นตั วอย่ ั งคม างของโครงการปร<br />

และถื อเป็ นโครงการท ั บประโยชน์ ี่ เก ิ ใช ดข ้ ้ สอย นจาก<br />

้ าง สมั ยร ั ชกาลท ี่ 5<br />

การร กล ิ ุ่เร<br />

่ มตึ มโดยช กแถวเก่ ุ มชนเองเป็ าเพื่ อใช ้ งานส นคร ้ื งแรก บต่ อไป เป็ นตั วอย่ างของการบร ิ หาร<br />

โครงการอนุ ัจั รดการพื้ กษ์ และฟื ้ นท นฟู ี่ท ี่สามารถร พื้ นท ี่ ุชมชนเล<br />

ั กษาสมดุ ื่ อนฤทธิ์ ลของการอนุ ประกอบด้ วยตึ ัรกแถวส<br />

กษ์ และพั ู ง 2 ้ชฒนาท<br />

น ยาว ี่มี<br />

ขนานไปกั บถนนเยาวราชและถนนภายในช<br />

ผลดี ทางเศรษฐก ิ จและส ั ุ งคม มชนจ ํ านวน และถื 231 อเป็ คู นโครงการท<br />

หา ูรปแบบสถาปั ี่ เก ิ ตยกรรม ดข ้ นจาก<br />

แบบโคโลเนี การร ยล โครงสร ิ เร ่ มโดยช ้ างผนั ุ มชนเองเป็ งช ้ นล ่ างเป็ นคร นก ํ ้ าแพงร งแรก ั บนํ้ าหนั ก ่กออ<br />

ิ ฐ โครงสร ้ างพื้ น<br />

้ชั<br />

นบนเป็ นไม้ โครงสร ้ างหล ั งคาทรงจ ่ วเดิ มเป็ นไม้ ปั จจ ุ บั นเปล ี่ ยนเป็ นโครงสร ้ างหล ั งคา<br />

เหล ็ ก ้ทงหมดม<br />

ุ งด้ วยกระเบื้ ิ องว ่ย์ าวซ ี บร เมนต์ ิ จหารจ<br />

ดเด่ นของตึ ั กแถวช ดการโดย<br />

ุ มชนเล ื่ อนฤทธ ิ์ อ ยู ่ ที ่<br />

ตึ กแถวหั วมุ มถนนจะถู กตั ดมุ มฉากออกทํ าหน้ าตึ กขนาด 1–3 ห้ อง ตึ กแถวทุ ก ๆ 2-3 คู หา<br />

จะสร ้ างกํ าแพงอิ ฐกั ้ นสู งจากพื้ นถึ งหลั งคาเพื่ อกั นไฟ ประดั บด้ วยบั วปู นปั น หน้ าจั ่ วหลั งคา<br />

ประดั บป ู นปนร<br />

ู ปวงกลม ประตู ั้นล ช ่ างเป็ นบานเฟี ยม เหนื อประตู บานเฟี ยมมี ่ชองระบาย<br />

อากาศยาวตลอดแนว หน้ าต่ างเป็ นบานเปิ ดคู ่ ูลกฟั กไม้ ตอนบนประดั บช ่ องลมไม้ ฉล ุ ลาย<br />

ักนสาดช<br />

้ นล ่ างเป็ นโครงสร ้ างไม้ ุมงด้ วยส ั งกะส ี และมี คํ้ ายั นเหล ็ กหล ่ อดั ดโค้ ง ักนสาด<br />

้ชั<br />

นบนเป็ นโครงสร ้ างไม้ ุมงด้ วยส ั งกะส ี และประดั บด้ วยไม้ ฉล ุ ลาย<br />

นของ<br />

ั กรวรรดิ เขตส<br />

ต่ อมา สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ื่อผู้ ออกแบบ<br />

วให้ เช ่ า<br />

ิ ษั ท กุ ฎาคาร ํจาก<br />

ั ด<br />

ชาวจ ี น<br />

ิ นพระมหากษั ตร<br />

า และ<br />

ระกอบ<br />

นสวน<br />

โครงการอนุ ัรกษ์ และฟื ้ นฟู พื้ นท ี่ ุชมชนเล<br />

ื่ อนฤทธิ์ ัจดเป<br />

็ นโครงการอนุ ัรกษ์ ี่ทเกด<br />

ความร ่ วมมื อก ั นจากหลายภาคส ่ วน โดยมี ุชมชนเองเป็ นแกนส ํ าคั ญของการข ั บเคล ื่อน<br />

พั ฒนา โครงการอนุ ร<br />

ุ ุ มชนเล ื่ ื่ อนฤทธิ์ ประกอบด้ เดิ มท ี่ ดิ นแปลงนี้ วยตึ กแถวส เปู นของ ง 2 ้ชน<br />

มี การบ ู รณะฟื ้ นฟู อาคารตามหล ั กว ิ ชาการ เป็ นโครงการท ี่ ํทาให้ สามารถร ั กษาร ู ปแบบ<br />

ดั ้ งเดิ มของอาคารไว ้ ได้ ควบคู ่ ักบการจ<br />

ั ดสรรพื้ นท ี่ ใช ้ สอยภายในใหม่ ให้ มี ความสะดวก<br />

วข ้ อง คุ ณหญิ ขนานไปกั งเล บถนนเยาวราชและถนนภายในช<br />

ิ์ นายเวร ชาวบ สบาย ุ้ านจ มชนจ ึ งเร ํ ีานวน ยกช ื่อย่ 231 านนี้ คู หา ่วา ูเล<br />

รื่อนฤทธ<br />

ปแบบสถาปั ิ์ ต่ อมา ตยก<br />

ในการใช ้ งานให้ สอดคล ้ องก ั บช ี ิวตในปั จจบั น รวมท ั้ งเพิ่ มเติ มงานระบบต่ าง ๆ ี่ทได้<br />

ได้ เปิ ด คุ ณหญิ งเล ื่อนได้ ขายท ี่ดิ นให้ ักบพระคล<br />

ั งข ้ มาตรฐาน างท ี่ ทํ าให้ ึจโครงการอนุ งพั ฒนาพื้ ัรกษ์ และพั ฒนาพื้ ี่และสร<br />

นที่ ุชมชนเล<br />

ื่ อนฤทธ ้ ์ กลายเป็ างตึ นแหล กแถวให้ ่ งเร ี ยนร ู้<br />

แบบโคโลเนี ยล โครงสร ้ างผนั งช ้ นล ่ างเป็ นก ํ าแพงร ั บนํ้ าหนั ก ่กออ<br />

ิ ฐ โครงสร เช ่ ้า<br />

าง<br />

ด้ านประว ั ติ ศาสตร ์ และสถาปั ตยกรรมท ี่ส ํ าคั ญของกร ุ งเทพมหานครได้ เป็ นอย่ างดี<br />

คารและ โดยในช ้ชั<br />

นบนเป็ ่ วงแรกของการใช<br />

นไม้ โครงสร ้ ้ างหล งานอาคารนั้ ั งคาทรงจ นเป ่ ็ วเดิ นห้ มเป็ องเช ่นไม้ าของผู้ ปั จจ ุ เดิ บั นเปล นทางท ี่ ยนเป็ ั่ วไป นโครงสร ต่ อมาชาวจ ้ างหล ี น<br />

ทช ุ มชน ฮากกาหร เหล ็ ก ื อจ ้ที งหมดม นแคะย้ ุ งด้ ายเข วยกระเบ ้ ามาเช ่ ื้าเพื่ องว อพั ่ าวซ กอาศั ี เมนต์ ยพร ้จอมก<br />

ดเด่ ั นของตึ บประกอบก กแถวช ิ จการการค้ ุ มชนเล ื่ า อนฤทธ และ ิ์<br />

งนาม ตามมาด้ ตึ กแถวหั วยคนอ วมุ ิ มถนนจะถู นเดี ยและคนจ กตั ดมุ ี นกล มฉากออกทํ ่ มอ ื่ น ๆ ํทาหน้ าให้ าตึ ผู้ ี่ทกขนาด อยู่ ในช ุ 1–3 มชนเล ห้ ื่อง อนฤทธ ตึ กแถวทุ ิ์ ประกอบ ก ๆ 2-3<br />

งร ่ วมใจ ด้ วยคนไทยเช จะสร ้ างกํ ื้าแพงอิ อสายจ ีฐกั<br />

้นและอ<br />

นสู งจากพื้ ิ นเดี ย นถึ ในพุ งหลั ทธศั งคาเพื่ กราช อกั นไฟ 2544 ประดั ํสานั บด้ กงานทร วยบั วปู ั พย์ นปั น สหน้ นสาจั<br />

่ วน วหลั<br />

ศั กราช พระมหากษั ตร ิ ย์ ได้ ออกหนั งส ื อบอกเล ิ กส ั ญญาเช ่ ากั บผู้ เช ่ าในช ุ มชนเล ื่ อนฤทธิ ์ เพื่ อพั ฒนา<br />

รดิ เขตส ั มพั ประดั นธวงศ์ บป ู นป กร ุ นร งเทพมหานคร<br />

ู ปวงกลม ประตู ั้ชนล<br />

่ างเป็ นบานเฟี ยม เหนื อประตู บานเฟี ยมมี ่ชองระ<br />

าณคดี พื้ นท ี่ ํทาให้ เก ิ ดการเจรจาต่ อรองเพื่ อหาทางออกร ่ วมก ั นระหว ่ างผู้ ี่ทมี ่สวนเก<br />

ี่ ยวข ้ อง<br />

ื่อผู้ ช ออกแบบ อากาศยาวตลอดแนว หน้ าต่ างเป็ นบานเปิ ดคู ่ ูลกฟั กไม้ ตอนบนประดั บช ่ องลมไม้ ฉล<br />

รอนุ ัรกษ์<br />

ทุ กภาคส ่ วนอยู่ หลายคร ้ ง จนในท ่ ุสดส<br />

ํ านั กงานทร ั พย์ ิสนส<br />

่ วนพระมหากษั ตร ิ ย์ ได้ เปิ ด<br />

ํจาก<br />

ั ด<br />

ักนสาดช<br />

้ นล ่ างเป็ นโครงสร ้ างไม้ ุมงด้ วยส ั งกะส ี และมี คํ้ ายั นเหล ็ กหล ่ อดั ดโค้ ง ักน<br />

หนี ไฟ<br />

โอกาสให้ ผู้ เช ่ าเดิ มในช ุ มชนเลื่ อนฤทธิ ์ รวมตั วกั นมาทํ าส ั ญญาเช ่ าเพื่ อการฟื ้ นฟู อาคารและ<br />

้ชั<br />

นบนเป็ นโครงสร ้ างไม้ ุมงด้ วยส ั งกะส ี และประดั บด้ วยไม้ ฉล ุ ลาย<br />

นพระมหากษั พื้ นที่ ในร ตร ิ ู ย์ ปแบบของการอนุ บร ิ หารจ ั ดการโดย ัรกษ์ ชาวช ุ มชนเล ื่ อนฤทธ ์ ิ ได้ ่รวมกั นระดมทุ นจั ดตั ้ งบร ิ ษั ทช ุ มชน<br />

ย และ<br />

เล ื่ อนฤทธ ิ์ ํจาก<br />

ั ด เป ็ นผู้ เช ่ าของ ํสานั กงานทร ั พย์ ิสนส<br />

่ วนพระมหากษั ตร ิ ย์ ได้ ลงนาม<br />

อช ํ าร ุ ด โครงการอนุ ัรกษ์ และฟื ้ นฟู พื้ นท ี่ ุชมชนเล<br />

ื่ อนฤทธิ์ ัจดเป<br />

็ นโครงการอนุ ัรกษ์ ท<br />


ี<br />

้<br />

คู<br />

่<br />

ั<br />

ึ<br />

ั<br />

้ั<br />

ื<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

่<br />

้<br />

ั<br />

้<br />

่<br />

ั<br />

ื<br />

ํ<br />

ั<br />

ู<br />

ึ<br />

ั<br />

ึ<br />

ึ<br />

่ี<br />

่<br />

ั<br />

่<br />

20<br />

งานอนุ<br />

ัรกษ์<br />

มรดกทางสถาปั<br />

ตยกรรมและช ุ มชน ระดั บดี<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

ิวหารโคมคํ<br />

า ัวดพระธาตุ เสด็ จ<br />

ํอาเภอเมื องล ํ าปาง ัจงหว<br />

ั ดล ํ าปาง<br />

Type A: Conservation of สถาปนิ Architectural<br />

ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช<br />

ผู้ ครอบครอง ัวดพระธาตุ เสด็ จ<br />

Heritage and Community ปี่สร<br />

ท ้ าง พุ ทธศั กราช 2366<br />

Award of Merit<br />

Wihan<br />

Khome Kham<br />

Lampang<br />

ที่ตั้ง :<br />

วัดพระธาตุเสด็จ ตําบลบ้านเสด็จ<br />

อําเภอเมืองลําปาง จังหวัดลําปาง<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

ที ่ ง ัวดพระธาตุ ตั เสด็ จ ตํ าบลบ้ านเสด็ จ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

วัดพระธาตุเสด็จ<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2366<br />

ื่อผู้ ออกแบบ<br />

Wihan Khome Kham is a building with historical and architectural<br />

value. It is a rare representation of Lanna architecture<br />

in perfect condition today. The building is authentic in shape,<br />

architectural elements, and interior spaces. Conservation<br />

processes intend to return to the original materials, traditional<br />

construction, and decoration, amend previous restoration<br />

work using cement, and return the building to its original form<br />

as a result of the study and analysis, which solves the problem<br />

of humidity inside the building. It shows the awareness of the<br />

value, a correct understanding of conservation, and the cooperation<br />

of local people and related agencies, including the<br />

Fine Arts Department and local educational institutions, in<br />

preserving the ancient sites, which are the invaluable treasures<br />

of the community. It is an example of synergies between various<br />

sectors, considered an essential factor in sustainable<br />

conservation.<br />

ิวหารโคมคํ<br />

า ตั้ งอยู่ ทางด้ านท ิ ศใต้ ของพระธาตุ เสด็ จและ<br />

ิวหารหลวง ภายในพื้ ี่ว ั ดพระธาตุ จซ ่ งเป็ นว ั ดเก ่ าแก<br />

วิหารโคมคํา ตั้งอยู่ทางด้านทิศใต้ของพระธาตุเสด็จและวิหารหลวง ภายใน<br />

และมี ความส ํ าคั ญว ั ดหนึ งของจ ั งหว ั ดล ํ าปาง ืถอเป็ ั ด<br />

่<br />

พื้นที่วัดพระธาตุเสด็จ<br />

บ้ านคู ่ เมื องคู ่ ักบว<br />

ั ํลาปางหลวง ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่และมีความสําคัญวัดหนึ่งของ<br />

พระเจ ้ าหอคํ า<br />

ดวงท ิ พย์ เจ ้ าผู้ ครองนครล ํ าปางและราชเทว ี สร ้ างว ิ หาร<br />

โคมคํ จังหวัดลําปาง าข ้ นในพุ ทธศั กราช 2366 ถือเป็นวัดคู่บ้านคู่เมือง ัลกษณะอาคารโถง หร ื อ คู่กับวัดพระธาตุลําปางหลวง<br />

ิวหารแบบเปิ ดในศิ ลปะลานนา ภายในว ิ หารประดิ ษฐาน<br />

พระพุ พระเจ้าหอคําดวงทิพย์ ทธร ู ปพระธาตุ เสด็ จปู นปั น ปางมารว ิ ัชเจ้าผู้ครองนครลําปางและราชเทวีสร้างวิหาร<br />

ย หน้ าตั กกว ้ าง<br />

ประมาณ 2 เมตร ในเวลาต่ อมาว ิ หารโคมคํ าช ํ าร ุ ดทร ุ ดโทรม<br />

ลงตามกาลเวลา โคมคําขึ้นในพุทธศักราช จนถ ึ งพุ<br />

25002366 ิวหารโคมคํ ลักษณะอาคารโถงหรือวิหารแบบเปิด<br />

า<br />

ได้ ัรบการบ<br />

ู รณปฏิ ัสงขรณ์ คร ้ งใหญ่ โดยมี แม่ เล ี้ ยงเต่ า<br />

ัจในศิลปะล้านนา นทรว ิ โรจน์ เป็ นผู้ ให้ การอ ุ ภายในวิหารประดิษฐานพระพุทธรูปพระธาตุเสด็จปูนปั้น<br />

ปถ ั มภ์ การบ ู รณะคร<br />

งใหญ่ นี้<br />

ได้ กอผนั งปิ ดโดยรอบว ิ หารโคมคํ าทาให้ ูรปแบบอาคาร<br />

เปล ปางมารวิชัย ี่ ยนเป็ นว ิ หารแบบปิ ด หน้าตักกว้างประมาณ ไม่ ปรากฏเสาด้ านข ้ างว ิ หารเหมื อน 2 เมตร ในเวลาต่อมาวิหารโคมคํา<br />

เช ่ นในอดี ต และเปล ี่ ยนกระเบื้ องแป้ นเกล ็ ดไม้ เป็ นกระเบื้ อง<br />

ชํารุดทรุดโทรมลงตามกาลเวลา<br />

ดิ นขอ ในพุ ทธศั กราช 2556 ิวหารโคมคํ าได้ ัรบการบ<br />

ู รณ-<br />

ปฏิ ัสงขรณ์ ีอกคร<br />

้ งในการกํ าก ั บดู แลของกรมศิ ลปากร โดย<br />

ํสานั กศิ ลปากรท ี่ 7 น่ าน (เดิ ม) และมี ห้ างหุ ้ นสวนจ<br />

ํ าก ั ด<br />

ช่<br />

จนถึงพุทธศักราช<br />

อฟ้ าก่ อสร ้ าง เป็ นผู้ ดํ าเนิ นการ<br />

2500<br />

มี แนวคิ ดหลั<br />

วิหารโคมคําได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ครั้งใหญ่<br />

กในการอนุ ัรกษ์<br />

การร ั กษาร ู ปแบบศิ ลปกรรมเดิ ม เปล ี่ยนโครงสร ้ างหล ั งคา<br />

เปลี่ โดยมีแม่เลี้ยงเต่า ยนว ั สดุ มุ งหลั งคา ปร ั บพื้ นเสร จันทรวิโรจน์ ิ มความมั ่ นคงแข ็ งแรงใหม่ เป็นผู้ให้การอุปถัมภ์ การบูรณะครั้งใหญ่นี้<br />

ทาส ี ิวหารท<br />

้ งภายในและภายนอก และปิ ดทองพระพุ ทธร ู ป<br />

ประธานท ได้ก่อผนังปิดโดยรอบวิหารโคมคําทําให้รูปแบบอาคารเปลี่ยนเป็นวิหาร<br />

งหมด หลงจากท<br />

ทางว ั ดและคณะศร ั ทธาได้<br />

่รวมกั นทุ บร ื้ อพื้ นป ู นซี เมนต์ ที่ อยู่ ประช ิ ดรอบอาคารออกเพื่ อ<br />

คื แบบปิด นสภาพบรรยากาศดั้ ไม่ปรากฏเสาด้านข้างวิหารเหมือนเช่นในอดีต งเดิ มให้ กล ั บคื นมา<br />

และเปลี่ยน<br />

ิวกระเบื้องแป้นเกล็ดไม้เป็นกระเบื้องดินขอ หารโคมคํ า ้ งอยู่ ตั บนฐานกออ<br />

ิ ฐถอปนและฉาบเร<br />

ี ยบ ในพุทธศักราช 2556 วิหาร<br />

ยกสู งจากพื้ นดิ น 0.30 เมตร แผนผั งเป็ นร ู ปส ี่ เหล ี่ ยมผื นผ้ า<br />

ขนาดกว โคมคําได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์อีกครั้งในการกํากับดูแลของกรม<br />

้ าง 3 ห้ อง (8.45 เมตร) ยาว 6 ห้ อง (21 เมตร)<br />

ยกเก ็ จด้ านหน้ า 2 ห้ อง ด้ านหล ั ง 1 ห้ อง ่กออ<br />

ิ ฐถ ื อป ู นปิ ดเป็ น<br />

ศิลปากรโดย สํานักศิลปากรที่ 7 น่าน (เดิม) และมีห้างหุ้นส่วนจํากัด<br />

ผนั งท ้ งสองด้ านจนถ ึ งห้ องท ้ ายของว ิ หารท ี่ ็ นห้ องปิ ด<br />

โดยเจาะช ่ องแสงร ู ปส ี่ เหล ี่ ยมผื นผ้ ายาวในแนวตั้ งห้ องละ<br />

ช่อฟ้าก่อสร้าง เป็นผู้ดําเนินการ มีแนวคิดหลักในการอนุรักษ์ การรักษา<br />

4 ่ชอง ขนาบด้ วยช ่ องกากบาท 3 ่ชอง เสาว ิ หารเป็ นเสาไม้<br />

มี<br />

รูปแบบศิลปกรรมเดิม<br />

2 ูร<br />

คื อ เสาท ี่ ุมขโถงและเสาท<br />

ี่ ผนั<br />

เปลี่ยนโครงสร้างหลังคาเปลี่ยนวัสดุมุงหลังคา<br />

งด้ านหน้ าเป็ น<br />

เสาแปดเหล ี่ ยม ่สวนเสาภายในว<br />

ิ หารเป็ นเสากลม ้ ทั งหมดมี<br />

บั ปรับพื้นเสริมความมั่นคงแข็งแรงใหม่ทาสีวิหารทั้งภายในและภายนอก<br />

วหั วเสาและประดั บเสาด้ วยลายคํ า หล ั งคาว ิ หารมี ัลกษณะ<br />

เป็ นหล ั งคาซ ้ อน 2 ้ชน ลดด้ านหน้ า 3 ้ชน ด้ านหล ั ง 2 ้ชน<br />

ลั และปิดทองพระพุทธรูปประธานทั้งหมด กษณะการทํ าหลั งคาซ้ อนช ้ นรวมถึ งการลดช ้ นด้ านหน้ าและ หลังจากที่ทางวัด และคณะ<br />

ด้ านหล ั ง สอดคล ้ องไปตามแผนผั งของว ิ หารท ี่ ยกเก ็ จ<br />

ด้ ศรัทธาได้ร่วมกันทุบรื้อพื้นปูนซีเมนต์ที่อยู่ประชิดรอบอาคารออก<br />

านหน้ า 2 ห้ องและยกเก ็ จด้ านหล ั ง 1 ห้ อง ่ซงเป็ นร ู ปแบบ<br />

มาตรฐานของหล ั งคาว ิ หารล ้ านนา ปั จจ ุ บั นมุ งด้ วยกระเบื้ อง<br />

เคล เพื่อคืนสภาพบรรยากาศดั้งเดิมให้กลับคืนมา<br />

ื อบแทนกระเบื้ องดิ นขอแบบเดิ ม ่สวนหล<br />

ั งคาประกอบ<br />

ด้ วยองค์ ประกอบส ่ วนประดั บต่ าง ๆ ได้ ํทาการแก<br />

้ ไขส ่ วน<br />

ี่เคยมี ท การบ ู รณะไว ้ ด้ วยซ ี เมนต์ ให้ กล ั บมาเป็ นงานไม้ และ<br />

งานดิ นเผาตามแบบดั ้ งเดิ ม นอกจากนี้ เนื่ องจากร ู ปแบบของ<br />

วิหารโคมคํา ตั้งอยู่บนฐานก่ออิฐถือปูนและฉาบเรียบ ยกสูงจากพื้นดิน<br />

ิวหารโถงเมื่ อแรกสร ้ างที่ เปิ ดพื้ นที่ ด้ านล่ างโล่ ง จึ งจํ าเป็ นต้ อง<br />

ํทาชายคาปี กนกด้ านข ้ างท ี่ลาดตํ่ าลงมากเพื่ อก ั นนํ้ าฝนและ<br />

0.30 เมตร แผนผังเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 3 ห้อง (8.45<br />

แสงแดด<br />

เมตร) ยาว 6 ห้อง (21 เมตร) ยกเก็จด้านหน้า 2 ห้อง ด้านหลัง 1 ห้อง<br />

ิวหารโคมคํ า ถอเป็ นตั วอย่ างส ํ าคั ญของการอนุ ัรกษ์<br />

ศาสนสถานที่ ก่ออิฐถือปูนปิดเป็น ทรงคุ ณค่ าทางด้ านศิ ลปะที่ ผนังทั้งสองด้านจนถึงห้องท้ายของวิหารที่เป็น<br />

สะท้ อนภาพว ิ ถี ีชิวต<br />

แบบล ้ านนาของจ ั งหว ั ดล ํ าปางได้ เป็ นอย่ างดี สามารถร ั กษา<br />

องค์ ห้องปิดโดยเจาะช่องแสงรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้ายาวในแนวตั้งห้องละ ประกอบทางสถาปั ตยกรรมของว ิ หารซ ่ งมี ความเป็ น<br />

4 ช่อง<br />

เอกลั กษณ์ เฉพาะตั วเอาไว ้ ได้ อย่ างน่ าชื่ นชม และสามารถร ั กษา<br />

การใช ขนาบด้วยช่องกากบาท ้ งานในการประกอบกิ จกรรมทางศาสนา 3 และเป็ ช่อง นแหล่ เสาวิหารเป็นเสาไม้ ง<br />

มี 2 รูปแบบ คือ<br />

เร ี ยนร ู้ สถาปั ตยกรรมท ้ องถ ิ่นท ี่ส ํ าคั ญของพื้ นท<br />

เสาที่มุขโถง และเสาที่ผนังด้านหน้าเป็นเสาแปดเหลี่ยม ส่วนเสาภายใน<br />

วิหารเป็นเสากลมทั้งหมด มีบัวหัวเสา และประดับเสาด้วยลายคํา หลังคา<br />

วิหารมีลักษณะเป็นหลังคาซ้อน 2 ชั้น ลดด้านหน้า 3 ชั้น ด้านหลัง 2 ชั้น<br />

ลักษณะการทําหลังคาซ้อนชั้นรวมถึงการลดชั้นด้านหน้า และด้านหลัง<br />

สอดคล้องไปตามแผนผังของวิหารที่ยกเก็จด้านหน้า 2 ห้อง และยกเก็จ<br />

ด้านหลัง 1 ห้อง ซึ่งเป็นรูปแบบมาตรฐานของหลังคาวิหารล้านา ปัจจุบัน<br />

มุงด้วยกระเบื้องเคลือบแทนกระเบื้องดินขอแบบเดิม ส่วนหลังคา<br />

ประกอบด้วยองค์ประกอบส่วนประดับต่าง ๆ ได้ทําการแก้ไขส่วนที่<br />

เคยมีการบูรณะไว้ด้วยซีเมนต์ ให้กลับมาเป็นงานไม้ และงานดินเผา<br />

ตามแบบดั้งเดิม นอกจากนี้ เนื่องจากรูปแบบของวิหารโถงเมื่อแรกสร้าง<br />

ที่เปิดพื้นที่ด้านล่างโล่งจึงจําเป็นต้องทําชายคาปีกนกด้านข้างที่ลาดต่ําลง<br />

มากเพื่อกันน้ําฝน และแสงแดด<br />

วิหารโคมคํา ถือเป็นตัวอย่างสําคัญของการอนุรักษ์ศาสนสถานที่ทรง<br />

คุณค่าทางด้านศิลปะ ที่สะท้อนภาพวิถีชีวิตแบบล้านนาของจังหวัดลําปาง<br />

ได้เป็นอย่างดี สามารถรักษาองค์ประกอบทางสถาปัตยกรรมของวิหาร<br />

ซึ่งมีความเป็นเอกลักษณ์เฉพาะตัวเอาไว้ได้อย่างน่าชื่นชม และสามารถ<br />

รักษาการใช้งานในการประกอบกิจกรรมทางศาสนา และเป็นแหล่งเรียนรู้<br />

สถาปัตยกรรมท้องถิ่นที่สําคัญของพื้นที่


ํ<br />

ึ<br />

้<br />

ะความร ่ วมมื อร ่ วมใจของคนในพื้ นท ี่ และหน่ วยงานท ี่เก ี่ยวข ้ อ<br />

ลั บมาเป็ นแบบเดิ มจากผลของการศึ กษา<br />

พพื้ กรมศิ นท ี่ ิวลปากรและสถาบั โดยรอบอาคารให้ หารโคมคํ า ัวดพระธาตุ กล เสด็ นการศึ ั บมาเป็ จ จั งหว ั กษาในท้ นดลาปาง<br />

องถิ ่ น ในการร ั กษาโบรา<br />

Type A: Award of Merit<br />

21<br />

านอ องความช ั นเป็ ื้ นภายในอาคารได้ นสมบั ติ ของช ุ มชน แสดงออก นั บเป็ นตั วอย่ างของการประสา<br />

คํ าประกาศ<br />

ความเข โยชน์ ้ ระหว าใจที่ ่ ถู างภาคส่ กต้ องในเร ื่วนต่ องการอนุ าง ๆ ัรซึ่ กษ์ งเป็ วนปั จจั ยสํ าคั ญของการอนุ<br />

ิ หารโคมคํ าเป็ นอาคารที่ มี คุ ณค่ าทางประว ั ติ ศาสตร ์ และสถาปั ตย<br />

โดยเป็ นตั วแทนของงานสถาปั ตยกรรมล ้ านนาท ี่ มี สภาพค่ อนข<br />

คนในพื้ นท ี่ และหน่ วยงานท ี่เก ี่ยวข ้ อง<br />

สมบ ู รณ์ ัอนหาได้ ยากในปั จจ ุ บั น อาคารมี ความแท ้ ในเร ื่ องร ู ปท<br />

างยั ่ ง ยื น<br />

ารศึ กษาในท้ องถิ ่ น ในการร ั กษาโบราณ<br />

ชน นั บเป็ นตั วอย่ างของการประสาน<br />

ง ๆ ซึ่ งเป็ นปั จจั ยสํ าคั ญของการอนุ ัรกษ์<br />

องค์ ประกอบทางสถาปั ตยกรรมและพื้ นที่ ใช ้ สอยภายใน การอนุ ั<br />

อาคารมี กระบวนการและความตั ้ งใจท ี่ จะอนุ ัรกษ์ ให้ กล ั บไปใช ้ ัวส<br />

่กอสร<br />

้ างและการตกแต่ งแบบดั ้ งเดิ ม ด้ วยการแก ้ ไขงานบ ู รณ<br />

ค ้รั<br />

งก่ อนที่ ใช ้ ปู นซี เมนต์ ให้ กล ั บมาเป็ นแบบเดิ มจากผลของการศึ<br />

ิวเคราะห์ มี การร ื้ อฟื ้ นสภาพพื้ นท ี่ โดยรอบอาคารให้ กล ั บมาเป็<br />

ลานดิ น ่ซงช<br />

่ วยแก้ ปั ญหาเร ื่ องความช ื้ นภายในอาคารได้ แสดงอ<br />

ถึ งความตระหนั กในคุ ณค่ า ความเข ้ าใจที่ ถู กต้ องในเร ื่ องการอนุ ัร<br />

และความร ่ วมมื อร ่ วมใจของคนในพื้ นท ี่ และหน่ วยงานท ี่เก ี่ยวข ้ อ<br />

้ทั<br />

งกรมศิ ลปากรและสถาบั นการศึ กษาในท้ องถิ ่ น ในการร ั กษาโบรา<br />

สถานอ ั นเป็ นสมบั ติ ของช ุ มชน นั บเป็ นตั วอย่ างของการประส<br />

ประโยชน์ ระหว ่ างภาคส่ วนต่ าง ๆ ซึ่ งเป็ นปั จจั ยสํ าคั ญของการอนุ<br />

อย่ างยั ่ ง ยื น<br />

คำประกาศ<br />

วิหารโคมคําเป็นอาคารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม<br />

เป็นตัวแทนของงานสถาปัตยกรรมล้านนาที่มีสภาพค่อนข้างสมบูรณ์<br />

อันหาได้ยากในปัจจุบัน อาคารมีความแท้ในเรื่องรูปทรง องค์ประกอบ<br />

ทางสถาปัตยกรรม และพื้นที่ใช้สอยภายใน การอนุรักษ์อาคารมีกระบวนการ<br />

และความตั้งใจที่จะอนุรักษ์ให้กลับไปใช้วัสดุก่อสร้างและการตกแต่ง<br />

แบบดั้งเดิม ด้วยการแก้ไขงานบูรณะครั้งก่อนที่ใช้ปูนซีเมนต์ให้กลับมา<br />

เป็นแบบเดิม จากผลของการศึกษา วิเคราะห์ มีการรื้อฟื้นสภาพพื้นที่<br />

โดยรอบอาคารให้กลับมาเป็นลานดิน ซึ่งช่วยแก้ปัญหาเรื่องความชื้น<br />

ภายในอาคารได้ แสดงออกถึงความตระหนักในคุณค่า ความเข้าใจที่<br />

ถูกต้องในเรื่องการอนุรักษ์ และความร่วมมือร่วมใจของคนในพื้นที่ และ<br />

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ทั้งกรมศิลปากรและสถาบันการศึกษาในท้องถิ่น<br />

ในการรักษาโบราณสถานอันเป็นสมบัติของชุมชน นับเป็นตัวอย่างของ<br />

การประสานประโยชน์ระหว่างภาคส่วนต่างๆ ซึ่งเป็นปัจจัยสําคัญของ<br />

การอนุรักษ์อย่างยั่งยืน


้<br />

่<br />

ั<br />

ึ ั<br />

ั<br />

ั<br />

็<br />

ึ<br />

ั<br />

้ ั<br />

ุ<br />

ั<br />

ู<br />

้ ั<br />

้<br />

ั<br />

ึ<br />

ั<br />

ั<br />

้<br />

้<br />

้<br />

ึ<br />

้ึ<br />

ี<br />

์<br />

้<br />

22<br />

งานอนุ<br />

ัรกษ์<br />

มรดกทางสถาปั<br />

ตยกรรมและช ุ มชน ระดั บดี<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง<br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community ที ่ ง ัวดดอนสะท<br />

ตั ้ อน หม<br />

ัจงหว<br />

ั ดช ุ มพร<br />

Award of Merit<br />

Luang Pho<br />

Thong’s cell<br />

Chumphon<br />

ที่ตั้ง :<br />

วัดดอนสะท้อน หมู่ 6 ตําบลปากแพรก<br />

อําเภอสวี จังหวัดชุมพร<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

วัดดอนสะท้อน<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2486<br />

ู่ 6 ตํ าบลปากแพรก ํอาเภอสวี<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ผู้ ครอบครอง ัวดดอนสะท<br />

้ อน<br />

ปี ี่สร ท ้ าง พุ ทธศั กราช 2486<br />

Luang Pho Thong’s cell, Don Sathon Temple, Chumphon<br />

Province, is a building with historical value. In the conservation<br />

area, there is a step-by-step operation process with an architectural<br />

drawing, and the various elements are treated with<br />

repair according to proper traditional techniques and craftsmanship.<br />

It can maintain the authenticity and technique of<br />

interesting original woodwork quite well. However, there should<br />

be a further analysis of the use of the colors of the buildings<br />

in the past to be more precise. The interior of the building<br />

exhibits the original living style well combined with its new<br />

use as a local museum, thus making this conservation project<br />

positively affect society and surrounding communities.<br />

กุฏิหลวงพ่อทอง ตั้งอยู่ในวัดดอนสะท้อน ซึ่งเป็นวัดเก่าแก่ริมแม่น้ําสวีหนุ่ม<br />

ไม่ทราบหลักฐานแน่ชัดว่าวัดสร้างขึ้นในสมัยใด กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง ้ งอยู่ ตั ในว ั ดดอนสะท้ อนซ ่ งเป็ นว ั ดเก่ าแก่ ได้รับการบูรณะครั้งใหญ่<br />

ิรมแม่ นํ้ าสวี หนุ่ ม ไม่ ทราบหล ั กฐานแน่ ัชดว<br />

่ าว ั ดสร ้ างขน<br />

ในสมัยหลวงพ่อทอง<br />

ในสมั ยใด ได้ ัรบการบ<br />

ู รณะคร ั้ งใหญ่<br />

พุทธสุวณฺโณ<br />

ในสมั ยหลวงพ่ อทอง<br />

เป็นเจ้าอาวาส เมื่อพุทธศักราช 2466<br />

ทฺ ธส ุ วณฺ โณ เปนเจ<br />

้ าอาวาส เมื่ อพุ ทธศั กราช 2466<br />

ต่อมาในพุทธศักราช 2486 วัดดอนสะท้อนได้สร้างกุฏิหลวงพ่อทอง<br />

ต่ อมาในพุ ทธศั กราช 2486 วดดอนสะท<br />

้ อนได้ สราง<br />

ขึ้นมาเพื่อเป็นที่จําวัดของหลวงพ่อทอง กุ ฏิ อทองข ้ ็ นที่ ํจาว<br />

ั อทอง พุทธสุวณฺโณ หลังจากนั้นวัดดอน<br />

พุ ทฺ ธส ุ วณฺ โณ หล ั งจากนั ้ นว ั ดดอนสะท้ ัร<br />

สะท้อนได้รับการประกาศเขตวิสุงคามสีมาในราชกิจจานุเบกษา ิ ุส<br />

มาในราชก ิ เบกษา เล ่ ม 69 ตอนที่ 52<br />

เล่ม 69<br />

หน้ า 993 ลงว ั นที่ 26 ิสงหาคม พุ ทธศั กราช 2495 กรม<br />

ตอนที่ ศิ ลปากรได้ 52 ํทาการส<br />

หน้า ํ ารวจกุ 993 ฏิ หลวงพ่ ลงวันที่ อทองและประกาศข 26 สิงหาคม ้ น พุทธศักราช 2495 กรมศิลปากร<br />

ทะเบี อพุ ทธศั กราช 2540 ต่ อมาปลายป<br />

ได้สํารวจกุฏิหลวงพ่อทองและประกาศขึ้นทะเบียนโบราณสถานเมื่อ<br />

พุ ทธศั กราช 2560 กรมศิ ลปากรทํ าการปร ั บปร ุ งฟื นฟู อาคาร<br />

ตามหล ั กว ิ ชาการเพื่ อให้ มี ความมั ่ นคงแข ็ งแรงและคงไว ้ ซึ่ ง<br />

พุทธศักราช 2540 ต่อมาปลายปี พุทธศักราช 2560 กรมศิลปากร<br />

ั กฐานทางการศึ กษาด้ านโบราณคดี ประว ั ติ ศาสตร ์ ศิ ลปะ<br />

ปรับปรุงฟื้นฟูอาคารตามหลักวิชาการ และสถาปั ตยกรรม โดยยึ ดถ ื อร ู ปแบบและว ั สดุ อาคารให้ เพื่อให้มีความมั่นคงแข็งแรงและ<br />

เหมื อนของเดิ มให้ มากที่ สุ ด การปร ั บปร ุ งฟื นฟู ้ คร งนี้ ออกแบบ<br />

คงไว้ซึ่งหลักฐานทางการศึกษาด้านโบราณคดี ควบคุ มงานโดยส ํ านั กศิ ลปากรที่ 12 นครศรี ธรรมราช และ ประวัติศาสตร์ศิลปะ<br />

มี บร ิ ษั ทชาญร ุ่ งโรจน์ ํจาก<br />

ั ด เป็ นผู้ ดํ าเนิ นการ การอนุ ัรกษ์<br />

และสถาปัตยกรรม อาคารแล ้ วเสร ็ จในปลายพุ ทธศั โดยยึดถือรูปแบบและวัสดุอาคารให้เหมือนของเดิม<br />

กราช 2561 ัวดดอนสะท<br />

้ อน<br />

ใ ช้ พื ้ นล ้ ่ างกุ น ฏิ หลวงพ่ ่ ชั อทองเป็ นสถานที่ ัรบรองแขกของ<br />

ให้มากที่สุด การปรับปรุงฟื้นฟูครั้งนี้ออกแบบ ควบคุมงานโดยสํานัก<br />

ัวด ่สวนพื้ นที่ ้ ชนบนใช<br />

้ เป็ นสถานที่ ัจดแสดงงานพุ<br />

ทธศิ ลป<br />

จนถ ึ งปั จจ ุ บั น<br />

ศิลปากรที่ 12 นครศรีธรรมราช และ มีบริษัทชาญรุ่งโรจน์ จํากัด เป็น<br />

ผู้ดําเนินการการอนุรักษ์ กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง เป อาคารแล้วเสร็จในปลายพุทธศักราช 2561<br />

็ นเร ื อนไม้ ทรงปนหยา 2 ้ชน<br />

มี มุ ข ยื ่ น<br />

ด้ านหน้ าคล ุ มด้ วยหล ั งคาปนหยาเช<br />

่ นก ั น ้ชนล<br />

่ างเป็ นผนั ง<br />

วัดดอนสะท้อน คอนกรี ตฉาบปู น เสาคอนกรี ใช้พื้นที่ชั้นล่างกุฏิหลวงพ่อทองเป็นสถานที่รับรองแขก<br />

ต ประดั บหั วเสาด้ วยปู นปั นร ู ปบั ว<br />

แปดกลี บ เช ื่ อมต่ อก ั นด้ วยพนั กระเบี ยงโดยรอบประดั บ<br />

ของวัด ราวลู กกรงปู ส่วนพื้นที่ชั้นบนใช้เป็นสถานที่จัดแสดงงานพุทธศิลป์ นขนาด 4 ้นิ<br />

ว ช่ องทางเข ้ า - ออกมี เสาเตี้ ยประดั บ<br />

จนถึง<br />

หั วเม็ ดกลมฝั งลายกลี บบั ว เหนื อช ่ องประตู –หน้ าต่ าง<br />

ปัจจุบัน<br />

ของช ้ นล ่ างมี ่ชองแสงร<br />

ู ปโค้ งประดั บลวดลายไม้ ฉล ุ พื้ น<br />

้ชั<br />

นล ่ างเป็ นพื้ นคอนกรี ตเสร ิ มเหล ็ กปู กระเบื้ องดิ นเผา บั นได<br />

ทางข ้ นช ้ นบนเป็ นผนั งก ่ ออ ิ ฐถ ื อป ู น พื ้ นป ู กระเบื ้ องดิ นเผา<br />

กุฏิหลวงพ่อทอง สวนช<br />

้ นบนเป็ นไม้ ้ทงหมด เป็นเรือนไม้ทรงปั้นหยา พื้ นไม้ กระดานขนาด 1x8 ้นิ<br />

ว 2 ชั้น มีมุขยื่น ด้านหน้าคลุมด้วย<br />

และ 1x10 นิ้ ว ้ นฝาผนั งไม้ ขนาด ¾x6 นิ้ ว ตี ้ซอนเกล<br />

็ ด<br />

หลังคาปั้นหยาเช่นกัน ตามแนวนอน ระเบี ยงด้ านหน้ ามี ชั้นล่างเป็นผนังคอนกรีตฉาบปูนเสาคอนกรีตประดับ<br />

ูลกกรงไม้ กล ึ งโดยรอบ<br />

ประตู หน้ าต่ างเป็ นบานล ู กฟั กไม้ ่สวนยอดผนั งโดยรอบท ํ า<br />

หัวเสาด้วยปูนปั้นรูปบัว เป็ นช ่ องระบายอากาศไม้ ฉล ุ ลาย ประดั แปดกลีบ บต่ อเนื่ องมายั เชื่อมต่อกันด้วยพนักระเบียงโดย<br />

ง<br />

เสาระเบี ยงด้ านหน้ าด้ วย หล ั งคามี โครงสร ้ างหล ั งคาเป ็ น<br />

รอบ ประดับราวลูกกรงปูนขนาด 4 นิ้ว ช่องทางเข้า-ออกมีเสาเตี้ย<br />

ไม้ เนื้ อแข ็ งมุ งด้ วยกระเบื้ องดิ นเผาแบบปลายแหลมเคล ื อบ<br />

ประดับหัวเม็ดกลมฝังลายกลีบบัว<br />

ใส ฝ้ าเพดานเป็ นแผ่ นไม้ ขนาด ½x6 นิ้ ว<br />

เหนือช่องประตู-หน้าต่างของชั้นล่าง<br />

มีช่องแสงรูปโค้งประดับลวดลายไม้ฉลุพื้น กุ ฏิ หลวงพ่ อทอง ได้ ชั้นล่างเป็นพื้นคอนกรีต<br />

ั ร บการอนุ ั ร กษ์ ตามหล ั กว ิ ชาการตั ้ งแต่<br />

การระบ ุ คุ ณค่ าความส ํ าคั ญในด้ านต่ าง ๆ การบั นท ึ กคุ ณค่ า<br />

เสริมเหล็กปูกระเบื้องดินเผา ความสํ าคั ญ การประเมิ นความแท้ และบู รณภาพ บันไดทางขึ้นชั้นบนเป็นผนังก่ออิฐถือปูน<br />

การตั ดสิ นใจ<br />

เล ื อกว ิ ธี อนุ ัรกษ์ และการนํ าไปส ่ การปฏิ บั ติ ตามแผนที่ ได้<br />

พื้นปูกระเบื้องดินเผา วางไว ้ ซึ่ งได้ ดํ าเนิ นการร<br />

อถอนส่ วนต่ ส่วนชั้นบนเป็นไม้ทั้งหมด อเติ มที่ ทํ าให้ เสี ยร ู ปแบบ พื้นไม้กระดานขนาด<br />

ดั ้ งเดิ มไปออก เปลี่ ยนว ั สดุ มงและว<br />

ั สดุ ูปพื้ นให้ มี ความ<br />

1x8 นิ้ว และ 1x10 นิ้ว กั้นฝาผนังไม้ขนาด 4x6 นิ้ว ตีซ้อนเกล็ด ตาม<br />

กลมกล ื น และฉาบผิ วด้ วยป ู นหมั กป ู นตํ า สามารถเป็ นแหล ่ ง<br />

แนวนอน<br />

เรี ยนร ู้ ด้ านทางประว<br />

ระเบียงด้านหน้ามีลูกกรงไม้กลึงโดยรอบ<br />

ั ติ ศาสตร ์ สถาปั ตยกรรม ศิ ลปว ั ฒนธรรม<br />

ประตูหน้าต่างเป็น<br />

ิวถี ชี ิวต และภู มิ ปั ญญาท้ องถิ ่ น และพื้ นที่ โดยรอบสามารถใช<br />

บานลูกฟักไม้ เป็ นสถานที่ พั กผ่ อนหย่ ส่วนยอดผนังโดยรอบทําเป็นช่องระบายอากาศไม้ฉลุลาย<br />

อนใจและการจั ดกิ จกรรมที่ เกี่ ยวเนื่ อง<br />

ักบพุ<br />

ทธศาสนาได้ อไป<br />

ประดับต่อเนื่องมายังเสาระเบียงด้านหน้าด้วย หลังคามีโครงสร้างหลังคา<br />

เป็นไม้เนื้อแข็งมุงด้วยกระเบื้องดินเผาแบบปลายแหลมเคลือบใส ฝ้า<br />

เพดานเป็นแผ่นไม้ขนาด 2x6 นิ้ว<br />

กุฏิหลวงพ่อทองได้รับการอนุรักษ์ตามหลักวิชาการตั้งแต่การระบุคุณค่า<br />

ความสําคัญในด้านต่าง ๆ การบันทึกคุณค่า ความสําคัญ การประเมิน<br />

ความแท้และบูรณภาพ การตัดสินใจเลือกวิธีอนุรักษ์ และการนําไปสู่<br />

การปฏิบัติตามแผนที่ได้วางไว้ ซึ่งได้ดําเนินการรื้อถอนส่วนต่อเติมที่ทําให้<br />

เสียรูปแบบดั้งเดิมไปออก เปลี่ยนวัสดุมุงและวัสดุปูพื้นให้มีความกลมกลืน<br />

และฉาบผิวด้วยปูนหมักปูนต่ํา สามารถเป็นแหล่งเรียนรู้ด้านทางประวัติ-<br />

ศาสตร์ สถาปัตยกรรม ศิลปวัฒนธรรม วิถีชีวิต และภูมิปัญญาท้องถิ่น<br />

และพื้นที่โดยรอบสามารถใช้เป็นสถานที่พักผ่อนหย่อนใจ และการจัด<br />

กิจกรรมที่เกี่ยวเนื่องกับพุทธศาสนาได้ต่อไป และเป็นแหล่งเรียนรู้<br />

สถาปัตยกรรมท้องถิ่นที่สําคัญของพื้นที่


้<br />

้<br />

ุ<br />

ุ<br />

ั<br />

ั<br />

ึ<br />

ึ<br />

่ี<br />

่ี<br />

้<br />

้<br />

กุ ฎิ หลวงพ่ อทอง ั ดดอนสะทอน จั งหว ั ดชมพร<br />

กุ ฎิ หลวงพ่ อทอง ัวดดอนสะทอน จั งหว ั ดชมพร<br />

คำประกาศ<br />

กุฏิหลวงพ่อทอง วัดดอนสะท้อน จังหวัดชุมพร เป็นอาคารที่มีคุณค่า<br />

ทางประวัติศาสตร์ ในพื้นที่การอนุรักษ์มีกระบวนการดําเนินงานอย่าง<br />

เป็นขั้นตอน โดยมีการจัดทําแบบสถาปัตยกรรม และมีการรักษา<br />

องค์ประกอบด้วยการซ่อมแซมตาม เทคนิคและฝีมือช่างดั้งเดิม สามารถ<br />

รักษาความแท้ และเทคนิคงานไม้ดั้งเดิมที่น่าสนใจได้ค่อนข้างดี หากแต่<br />

ควรมีการวิเคราะห์เพิ่มเติมเรื่องการใช้สีของอาคารที่มีมาในอดีตให้<br />

ชัดเจน พื้นที่ภายในอาคารจัดแสดงการอยู่อาศัยแบบเดิมผสมผสาน<br />

รางว ั ลอนุ ร<br />

การใช้งานใหม่ในฐานะพิพิธภัณฑ์ท้องถิ่นได้ดี ซึ่งการอนุรักษ์นี้ได้ส่ง<br />

ผลดีต่อสังคมและชุมชนโดยรอบ<br />

Type A: Award of Merit<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

23<br />

คํ าประกาศ<br />

คํ าประกาศ<br />

กุ ฏิ หลั งนี้ เป็ นอาคารที่ มี คุ ณค่ าทางประว ั ติ ศาสตร ์ ในพื้ นที่ การอนุ ัรกษ์<br />

กุ<br />

มี<br />

ฏิ<br />

กระบวนการดํ<br />

หลั งนี้ เป็ นอาคารที่<br />

าเนิ นงานอย่<br />

มี คุ ณค่ าทางประว<br />

างเป็ นข ้ นตอน<br />

ั ติ ศาสตร<br />

โดยมี<br />

์ ในพื้<br />

การจ<br />

นที่<br />

ั ดท<br />

การอนุ<br />

ํ าแบบ<br />

ัรกษ์<br />

มี<br />

สถาปั<br />

กระบวนการดํ<br />

ตยกรรม และมี<br />

าเนิ นงานอย่<br />

การร ั กษาองค์<br />

างเป็ นข ้<br />

ประกอบด้<br />

นตอน โดยมี<br />

วยการซ่<br />

การจ<br />

อมแซมตาม<br />

ั ดท ํ าแบบ<br />

สถาปั<br />

เทคนิ<br />

ตยกรรม<br />

คและฝี มื<br />

และมี<br />

อช ่ างดั<br />

การร<br />

้ งเดิ<br />

ั กษาองค์<br />

ม สามารถร<br />

ประกอบด้<br />

ั กษาความแท<br />

วยการซ่<br />

้<br />

อมแซมตาม<br />

และเทคนิ ค<br />

เทคนิ<br />

งานไม้<br />

คและฝี<br />

ดั ้ งเดิ มท<br />

มื<br />

ี่<br />

อช<br />

น่<br />

่<br />

าสนใจได้<br />

างดั ้ งเดิ ม<br />

ค่ อนข<br />

สามารถร<br />

้ างดี<br />

ั<br />

หากแต่<br />

กษาความแท<br />

ควรมี<br />

้<br />

การว<br />

และเทคนิ<br />

ิ เคราะห์<br />

ค<br />

งานไม้<br />

เ ่ พิ มเติ<br />

ดั ้ มเร<br />

งเดิ<br />

ื่ องการใช<br />

มท ี่ น่ าสนใจได้<br />

้ ีสของอาคารท<br />

ค่ อนข ้ างดี<br />

ี่ มี<br />

หากแต่<br />

มาในอดี<br />

ควรมี<br />

ตให้<br />

การว<br />

ัชดเจน ิ เคราะห์<br />

พื้ นท<br />

เ<br />

ภายในอาคารจ<br />

่ พิ มเติ มเร ื่ องการใช<br />

ั ดแสดงการอยู่<br />

้ ีสของอาคารท<br />

อาศั<br />

ี่<br />

ยแบบเดิ<br />

มี มาในอดี<br />

มผสมผสานการใช<br />

ตให้ ัชดเจน พื้ นท<br />

ภายในอาคารจ<br />

งานใหม่ ในฐานะพิ<br />

ั ดแสดงการอยู่<br />

พิ ธภั ณฑ์ ้ท<br />

อาศั<br />

องถิ ่<br />

ยแบบเดิ<br />

นได้ ดี ่ซงการอนุ มผสมผสานการใช<br />

ัรกษ์ นี้ ได้ ่สง<br />

งานใหม่<br />

ผลดี<br />

ัต่ อส<br />

ตยกรรมป<br />

ั<br />

ในฐานะพิ<br />

งคมและช ุ<br />

พิ<br />

มชนโดยรอบ<br />

ธภั ี ณฑ์ 2566 ้ทองถิ<br />

่ นได้ ดี ่ซงการอนุ ัรกษ์ นี้ ได้ ่สง<br />

ผลดี ต่ อส ั งคมและช ุ มชนโดยรอบ<br />

ัวดดอนสะท<br />

้ อน จั งหว<br />

ั ดช ุ<br />

มพร<br />

กุ ฎิ หลวงพ่ อทอง ัวดด<br />

คํ าประกาศ<br />

กุ ฏิ หลั งนี้ เป็ นอาคารที่ มี คุ ณค่ าท<br />

มี กระบวนการดํ าเนิ นงานอย่ าง<br />

สถาปั ตยกรรม และมี การร ั กษาอ<br />

เทคนิ คและฝี มื อช ่ างดั ้ งเดิ ม ส<br />

งานไม้ ดั ้ งเดิ มท ี่ น่ าสนใจได้ ค่ อน<br />

เ ่ พิ มเติ มเร ื่ องการใช ้ ีสของอาค<br />

ภายในอาคารจ ั ดแสดงการอยู่ อ<br />

งานใหม่ ในฐานะพิ พิ ธภั ณฑ์ ้ทอ<br />

ผลดี ต่ อส ั งคมและช ุ มชนโดยรอ


24<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Award of Merit<br />

The Thung Song<br />

Historical Museum<br />

Nakhon si Thammarat<br />

ที่ตั้ง :<br />

เลขที่ 365 ถนนรถไฟ 2 ตําบลปากแพรก<br />

อําเภอทุ่งสง จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

สถาปนิกอนุรักษ์ :<br />

นายสรพัชญ สิริสิงห์<br />

นางสาวยุพา ประทุมชาติ<br />

และ นางสาวสิรินาถ กลิ่นภักดี<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

การรถไฟแห่งประเทศไทย<br />

บริหารจัดการโดย:<br />

เทศบาลเมืองทุ่งสง<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2463<br />

The Thung Song Historical Museum possesses the area’s<br />

architectural and historical value, which is a large railway<br />

junction. Conservation includes preparing architectural designs<br />

that address structural and material deterioration problems.<br />

The use of the building has been adjusted for the activities<br />

of the current community. The project is an example of an<br />

alternative way to present historical buildings that have sentimental<br />

value for people in the area and have a positive effect<br />

on the economy and sustainability of the community.<br />

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น “ชุมทางประวัติศาสตร์ทุ่งสง” ประกอบด้วย<br />

อาคาร 2 หลัง สร้างโดยกรมรถไฟหลวง อาคารหลังที่ 1 เคยเป็น<br />

อาคารขนส่งแร่ และสินค้าต่าง ๆ ส่วนอาคารหลังที่ 2 เคยเป็นที่<br />

ทําการของ 3 กิจการ คือ ธนาคารสยามกัมมาจล สาขาทุ่งสง (เปิด<br />

ทําการในพุทธศักราช 2463) ห้างยิบอินซอย และห้างปั้นกินหลํา<br />

เมื่อพุทธศักราช 2475 มีการเปลี่ยนแปลงการปกครอง เกิดภาวะ<br />

เศรษฐกิจตกต่ํา ประกอบกับกรมรถไฟหลวงได้ขยายการเดินรถ<br />

ไปถึงอําเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และเชื่อมต่อไปยังประเทศ<br />

มาเลเซีย ส่งผลให้ธุรกิจการค้าหลายอย่างในอําเภอทุ่งสงลดลงจน<br />

ไม่คุ้มค่าต่อการดําเนินงาน คณะกรรมการใหญ่ของธนาคารจึงมีมติ<br />

ปิดสาขาทุ่งสงลง รวมเวลาดําเนินกิจการ 12 ปี หลังจากนั้นกิจการ<br />

ต่าง ๆ ที่เคยเช่าอาคารทั้ง 2 หลัง ก็ทยอยปิดตัว ลงจนไม่มีการใช้<br />

งานอาคารและอยู่ในสภาพทรุดโทรม ในที่สุดเทศบาลเมืองทุ่งสง<br />

ได้เล็งเห็นถึงความสําคัญในด้านประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม<br />

ของอาคาร จึงเช่าอาคารจากการรถไฟแห่งประเทศไทย และเริ่ม<br />

การปรับปรุงฟื้นฟูอาคารในพุทธศักราช 2561 จนแล้วเสร็จใน<br />

พุทธศักราช 2563<br />

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น “ชุมทางประวัติศาสตร์ทุ่งสง” ทั้ง 2 หลัง เป็น<br />

อาคารคอนกรีต เสริมเหล็ก 2 ชั้น ผนังอาคารก่ออิฐถือปูน โครงสร้าง<br />

พื้นชั้นล่างเป็นคอนกรีตเสริมเหล็ก โครงสร้างพื้นชั้นบนเป็นไม้<br />

โครงสร้างหลังคาเป็นไม้ หลังคาทรงปั้นหยาผสมทรงจั่ว มุงด้วย<br />

กระเบื้องว่าวซีเมนต์ ด้านหน้าอาคารเป็นชายคาระเบียงทางเดินยาว<br />

ขนานไปกับตัวอาคารยกพื้นสูง 1 เมตร มีช่องระบายอากาศใต้พื้น<br />

ทุกช่วงเสา ด้านหลังเป็นชานชาลาคอนกรีตเสริมเหล็ก อาคารหลัง<br />

ที่ 1 ผังพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 8.95 เมตร ยาว 20.10<br />

เมตร พื้นที่อาคารชั้นล่างจัดแสดงสินค้าและจําหน่ายสินค้าของที่<br />

ระลึก ชั้นบนเป็นส่วนการเรียนรู้เรื่องการพัฒนาวัฒนธรรมชุมชนและ<br />

ฟื้นฟูวัฒนธรรมประเพณี และการสร้างวัฒนธรรมใหม่เพื่อกระตุ้น<br />

เศรษฐกิจในพื้นที่ อาคารหลังที่ 2 ผังพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

กว้าง 8.95 เมตร ยาว 36.85 เมตร พื้นที่อาคารชั้นล่างประกอบ<br />

ด้วยห้องสมุด ห้องแสดงศิลปะ และห้องจัดแสดงนิทรรศการ พร้อม<br />

จัดแสดงตู้นิรภัยเก่าแก่ของธนาคารสยามกัมมาจล ชั้นบนเป็นห้อง<br />

จัดแสดงนิทรรศการ<br />

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น “ชุมทางประวัติศาสตร์ทุ่งสง” ได้รับการปรับปรุง<br />

ฟื้นฟูตาม หลักวิชาการตั้งแต่การสํารวจรวบรวมข้อมูล การจัดทํา<br />

แผนอนุรักษ์ การทํางานตามแผนที่ได้วางไว้ และการจัดตั้งหน่วย<br />

งานสําหรับบริหารจัดการโครงการ ทําให้สามารถรักษาคุณค่าด้าน<br />

สถาปัตยกรรม และด้านประวัติศาสตร์ของเมือง ที่เกี่ยวพันกับกิจการ<br />

รถไฟเอาไว้ได้ นอกจากนี้ยังเปิดโอกาสให้ผู้คนที่สนใจได้เข้ามา<br />

ศึกษาหาความรู้และทํากิจกรรมต่าง ๆ ถือเป็นการรักษามรดก<br />

ทางวัฒนธรรมที่มีคุณค่าของท้องถิ่นได้อย่างน่าชื่นชม


ุ<br />

์<br />

ทุ<br />

ุ<br />

ุ<br />

ั<br />

ั<br />

์<br />

ทุ<br />

่<br />

ึ<br />

ั<br />

ั<br />

ุ<br />

ุ<br />

ั<br />

ุ<br />

์<br />

ทุ<br />

์<br />

ทุ<br />

ั<br />

ั<br />

ี<br />

้<br />

้<br />

ั<br />

ุ<br />

้<br />

่ี<br />

ั<br />

่<br />

่ี<br />

็<br />

่<br />

พิ พิ ธ ภั ่ ณ น ฑ์ “ช ุ ท้ อ<br />

พิ พิ ธ ภั ่ ณ น ฑ์ “ชมทางประว<br />

ท้ อ ง ถิ ั ติ ศาสตร่ งสง” ประกอบด้ วยอาคาร 2 หลง<br />

สร ้ างโดยกรมรถไฟหลวง อาคารหล ั งท ี่ 1 เคยเป็ นอาคารขนส ่ งแร ่ และส ิ นค้ าต่ าง ๆ<br />

่สวนอาคารหล<br />

ั งที่ 2 เคยเป็ นที่ ทํ าการของ 3 กิ จการ คื อ ธนาคารสยามกั มมาจล สาขาทุ่ งสง<br />

(เปิ ดท ํ าการในพุ ทธศั กราช 2463) ห้ างยิ บอ ิ นซอย และห้ างบั้ นท ิ นหล ํ า เมื่ อพุ ทธศั กราช<br />

2475 มี การเปล ี่ ยนแปลงการปกครอง เก ิ ดภาวะเศรษฐก ิ จตกตํ่ า ประกอบก ั บกรม<br />

รถไฟหลวงได้ ขยายการเดิ นรถไปถ ึ งอ ํ าเภอหาดใหญ่ ัจงหว<br />

ั ดสงขลา และเช ื่ อมต่ อไปยั ง<br />

ประเทศมาเลเซ ี ย ่สงผลให้ ุธรกิ จการค้ าหลายอย่ างในอ ํ าเภอทุ่ งสงลดลงจนไม่ คุ้ มค่ าต่ อ<br />

การดํ าเนิ นงาน คณะกรรมการใหญ่ ของธนาคารจ ึ งมี มติ ปิ ดสาขาทุ ่ งสงลง รวมเวลา<br />

ดํ าเนิ นก ิ จการ 12 ปี หล ั งจากนั ้ นก ิ จการต่ าง ๆ ี่เคยเช ท ่ าอาคารท ้ ง 2 หล ั ง ็กทยอยปิ ดตั ว<br />

ลงจนไม่ มี การใช ้ งานอาคารและอยู่ ในสภาพทร ุ ดโทรม ในที่ ุสดเทศบาลเมื องทุ่ งสงได้ เล ็ ง<br />

เห็ นถ ึ งความส ํ าคั ญในด้ านประว ั ติ ศาสตร ์ และสถาปั ตยกรรมของอาคารจ ึ งท ํ าการเช ่ า<br />

อาคารจากการรถไฟแห่ งประเทศไทย และเร ิ่มการปร ั บปร ุ งฟื ้ นฟู อาคารในพุ ทธศั กราช<br />

2561 จนแล ้ วเสร ็ จในพุ ทธศั กราช 2563<br />

มทางปร<br />

พิ พิ ธ ภั ่ ณ น ฑ์ “ชมทางประว<br />

ท้ อ ง ถิ ั ติ ศาสตร่ งสง” ้ ง ทั 2 หล ั ง เป็ นอาคารคอนกร ี ต<br />

เสร ิ มเหล ็ ก 2 ้ชน ผนั งอาคารก่ ออ ิ ฐถื อป ู น โครงสร ้ างพื้ นช ้ นล ่ างเป็ นคอนกร ี ตเสร ิ มเหล ็ ก<br />

โครงสร ้ างพื้ นช ั้ นบนเป็ นไม้ โครงสร ้ างหล ั งคาเป็ นไม้ หล ั งคาทรงปั นหยาผสมทรงจ ่ ว<br />

ุมงด้ วยกระเบื้ องว ่ าวซ ี เมนต์ ด้ านหน้ าอาคารเป็ นชายคาระเบี ยงทางเดิ นยาวขนานไปก ั บ<br />

ตั วอาคาร ยกพื้ นส ู ง 1 เมตร มี ่ชองระบายอากาศใต้ พื้ นทุ กช ่ วงเสา ด้ านหล 25 ั งเป็ นชานชาลา<br />

คอนกร ี ตเสร ิ มเหล ็ ก อาคารหล ั งท ี่ 1 ผั งพื้ นเป็ นร ู ปส ี่ เหล ่ ยมผื นผ้ า กว ้ าง 8.95 เมตร<br />

ยาว 20.10 เมตร พื ้ นท ี่ อาคารช ั้ นล ่ างจ ั ดแสดงส ิ นค้ าและจ ํ าหน่ ายส ิ นค้ าของท ี่ ระล ึ ก<br />

้ชั<br />

นบนเป็ นส ่ วนการเร ี ยนร ู้ เร ื่ องการพั ฒนาว ั ฒนธรรมช ุ มชนและฟื นฟู ัวฒนธรรมประเพณี<br />

ที ่ ง เลขท ตั<br />

และการสร ้ างว ั ฒนธรรมใหม่ เพื่ อกระตุ ้ นเศรษฐก ิ จในพื้ นท ี่ อาคารหล ั งท ี่ 2 ผั งพื้ นเป็ น<br />

สถาปนิ ก | ผู้<br />

ูรปส<br />

ี่เหล ี่ยมผื นผ้ า กว ้ าง 8.95 เมตร ยาว 36.85 เมตร พื้ นท ี่อาคารช ้ นล ่ างประกอบด้ วย<br />

ห้ องสมุ ด ห้ องแสดงศิ ลปะ และห้ องจ ั ดแสดงนิ ทรรศการ พร ้ อมจ ั ดแสดงตู้ สถาปนิ<br />

รภั ยเก่ าแก่ กอนุ<br />

ของธนาคารสยามก ั มมาจล ั้ชนบนเป็ นห้ องจ ั ดแสดงนิ ทรรศการ<br />

Type A: Award of Merit<br />

พิ พิ ธ ภั ่ ณ น ฑ์ “ชมทางประว<br />

ท้ อ ง ถิ ั ติ ศาสตร่ งสง” ได้ ัรบการปร<br />

ั บปรงฟื<br />

้ นฟู ตาม<br />

หลั กว ิ ชาการตั ้ งแต่ การสํ ารวจรวบรวมข้ อมู ล การจั ดทํ าแผนอนุ ัรกษ์ การทํ างานตามแผนที่<br />

ได้ วางไว ้ และการจ ั ดตั้ งหน่ วยงานส ํ าหร ั บบร ิ หารจ ั ดการโครงการ ํทาให้ ปี สามารถร ที่ สรั กษา<br />

คุ ณค่ าด้ านสถาปั ตยกรรม และด้ านประว ั ติ ศาสตร ์ ของเมื องท ี่เก ี่ยวพั นก ั บก ิ จการรถไฟ<br />

เอาไว ้ ได้ นอกจากนี้ ยั งเปิ ดโอกาสให้ ผู้ คนที่ สนใจได้ เข ้ ามาศึ กษาหาความร ู้ และทํ ากิ จกรรม<br />

ต่ าง ๆ ืถอเป็ นการร ั กษามรดกทางว ั ฒนธรรมท ี่มี คุ ณค่ าของท ้ องถ ิ่ นได้ อย่ างน่ าช ื่นชม<br />

พิ พิ ธ ภั ่ ณ น ฑ์ “ชมทางประว<br />

ท้ อ ง ถิ ั ติ ศาสตร่ งสง” ประกอบด้ วยอาคาร 2 หลง<br />

สร ้ างโดยกรมรถไฟหลวง อาคารหล ั งท ี่ 1 เคยเป็ นอาคารขนส ่ งแร ่ และส ิ นค้ าต่ าง ๆ<br />

่สวนอาคารหล<br />

ั งที่ 2 เคยเป็ นที่ ทํ าการของ 3 กิ จการ คื อ ธนาคารสยามกั มมาจล สาขาทุ่ งสง<br />

(เปิ ดท ํ าการในพุ ทธศั กราช 2463) ห้ างยิ บอ ิ นซอย และห้ างบั้นท<br />

ิ นหล ํ า เมื่ อพุ ทธศั กราช<br />

2475 มี การเปล ี่ ยนแปลงการปกครอง เก ิ ดภาวะเศรษฐก ิ จตกตํ่ า ประกอบก ั บกรม<br />

รถไฟหลวงได้ ขยายการเดิ นรถไปถ ึ งอ ํ าเภอหาดใหญ่ ัจงหว<br />

ั ดสงขลา และเช ื่ อมต่ อไปยั ง<br />

ประเทศมาเลเซ ี ย ่สงผลให้ ุธรกิ จการค้ าหลายอย่ างในอ ํ าเภอทุ่ งสงลดลงจนไม่ คุ้ มค่ าต่ อ<br />

การดํ าเนิ นงาน คณะกรรมการใหญ่ ของธนาคารจ ึ งมี มติ ปิ ดสาขาทุ ่ งสงลง รวมเวลา<br />

ดํ าเนิ นก ิ จการ 12 ปี หล ั งจากนั ้ นก ิ จการต่ าง ๆ ี่เคยเช ท ่ าอาคารท ้ ง 2 หล ั ง ็กทยอยปิ ดตั ว<br />

รางว ั ลอนุ ัรกษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมปี 2566<br />

ลงจนไม่ มี การใช ้ งานอาคารและอยู่ ในสภาพทร ุ ดโทรม ในที่ ุสดเทศบาลเมื องทุ่ งสงได้ เล ็ ง<br />

เห็ นถ ึ งความส ํ าคั ญในด้ านประว ั ติ ศาสตร ์ และสถาปั ตยกรรมของอาคารจ ึ งท ํ าการเช ่ า<br />

พิ อาคารจากการรถไฟแห่ พิ ธ ภั ่ ณ น ฑ์ “ชงประเทศไทย มทางประว ท้ อ ง ถิ ั ติ และเร ศาสตร ิ่มการปร ์ ทุ งสง” ั บปร ุ จั งฟื ้งหว<br />

นฟู ั ดนครศรี อาคารในพุ ทธศั ธรรมราช กราช<br />

2561 จนแล ้ วเสร ็ จในพุ ทธศั กราช 2563<br />

คำประกาศ คํ าประกาศ<br />

พิพิธภัณฑ์ท้องถิ่น ้ท<br />

่ “ชุมทางประวัติศาสตร์ทุ่งสง” น ุ ั ์ ่ทุ<br />

เป็นอาคาร งสง” ที่มีคุณค่า นอาคาร<br />

ทั้งทางสถาปัตยกรรมและทางประวัติศาสตร์ของพื้นที่ซึ่งเป็นชุมทาง<br />

ที ่ มี ้ คุ ณ ค่ า ั ติ ์ ้ นท<br />

รถไฟขนาดใหญ่ ่ซงเป็ นช ุ มทางรถไฟขนาดใหญ่ การอนุรักษ์มีการจัดทําแบบสถาปัตยกรรมที่ได้มี<br />

ัรกษ์ การจ ั ํ าแบบ<br />

การแก้ไขปัญหาโครงสร้างและความเสื่อมสภาพของวัสดุ<br />

สถาปั ตยกรรมที่ ได้ มี มีการปรับ<br />

ของว ั สดุ มี การปร ั บการใช<br />

การใช้สอยอาคารเพื่อการประกอบกิจกรรมของชุมชนในปัจจุบัน<br />

ุชมชนในปั จจบั น นแบบอย่ ี ื อกในการนํ า<br />

นับเป็นแบบอย่างของอีกทางเลือกในการนําเสนออาคารทางประวัติ<br />

เสนออาคารทางประว ั ติ ์ ี่ท<br />

าทางจ ิ ตใจของประชาชน<br />

ศาสตร์ที่มีคุณค่าทางจิตใจของประชาชนในพื้นที่ อีกทั้งส่งผลดีต่อ<br />

ในพื้ นท ี่ ีอกท<br />

้ งส ่ งผลดี ต่ อเศรษฐก ิ จและความยั ่ งยื นของช ุ มชน<br />

เศรษฐกิจและความยั่งยืนของชุมชน<br />

้ างและความเสื่ อมสภาพ<br />

้ สอยอาคารเพื่ อการประกอบกิ จกรรมของ<br />

นางสาวส ิ ิรน<br />

ผู้ ครอบคร<br />

้ าง ก<br />

พิ พิ ธ<br />

เสร ิ มเหล ็ ก<br />

โครงสร ้ างพ<br />

ุมงด้ วยกระ<br />

ตั วอาคาร ย<br />

คอนกร ี ตเส<br />

ยาว 20.10<br />

้ชั<br />

นบนเป็ นส<br />

และการสร ้ า<br />

ูรปส<br />

ี่เหล ี่ยม<br />

ห้ องสมุ ด ห้<br />

ของธนาคา<br />

พิ พิ ธ<br />

หลั กว ิ ชาการ<br />

ได้ วางไว ้ แ<br />

คุ ณค่ าด้ านส<br />

เอาไว ้ ได้ นอ<br />

ต่ าง ๆ ืถอเป


์<br />

ดู<br />

26<br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Award of Merit<br />

Ban Khuan<br />

Lang-nga Mosque<br />

Pattani<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

มั สยิ ดบ้ านควนล ั งงา เป็ นอาคารท ี่ มี คุ ณ<br />

งานสถาปั ตยกรรมอิ สลามที่ สร ้ างด้ วย<br />

แลร ั กษาอาคารได้ ดี มาอย่ างสมํ่ า<br />

ความแท้ ้ทั<br />

งในด้ านร ู ปแบบทางสถาปั ตย<br />

ดํ าเนิ นงานโดยหน่ วยงานที่ ัรบผิ ดชอบ<br />

ิ ีธการอนุ ัรกษ์ ที่<br />

้ งเดิ มไว ้ เป็ นอย่ าง<br />

้ งเดิ มมาจนถึ งในปั จจ ุ บั<br />

้ งใจท ี่จะร ั กษ<br />

มัสยิดบ้านควนลังงา เป็นอาคารมัสยิดซึ่งตั้งอยู่ ณ บ้านควนลังงา<br />

ตําบลทรายขาว อําเภอโคกโพธิ์ ครบถ้ จังหวัดปัตตานี วน ได้ ชาวบ้านเล่าสืบต่อกันว่า<br />

ื อกเทคนิ คว<br />

ภายหลังภัยสงครามระหว่างกรุงศรีอยุธยากับปัตตานีสงบลง ชาวบ้าน<br />

และเจ้าอาวาสวัดทรายขาวได้ช่วยเหลือโต๊ะหยางหญิง สํ าคั ญและว ั สดุ ที่ตกเหวเพราะ แบบดั<br />

หนีภัยสงคราม พร้อมพระมหาคัมภีร์อัลกุรอานฉบับเขียนมือ ศาสนกิ จแบบดั หลังจากนั้น<br />

ชาวบ้านทรายขาวทั้งที่นับถือศาสนาพุทธและอิสลามได้ร่วมแรงร่วมใจ<br />

สร้างศาสนสถานของชุมชนขึ้น คนในท เมื่อราวพุทธศักราช ้ องถิ ่ น 2177 ี่มี ท ความตั และใช้สอย<br />

อาคารเรื่อยมา จนถึงพุทธศักราช คุ ณค่ 2530 าให้ จึงได้มีการก่อสร้างอาคารมัสยิด<br />

คงอยู่ ืสบไป<br />

หลังใหม่ขึ้นเพิ่มเติม โดยมิได้รื้ออาคารไม้หลังเดิมออก และใช้ชื่อว่า<br />

มัสยิดนัจมุดดินซึ่งได้มีการปรับเปลี่ยนรูปแบบหลังคา และลดจํานวน<br />

เสาด้านตะวันตกของอาคารเดิมลง หลังจากนั้นในพุทธศักราช 2547<br />

มีการถมปรับระดับพื้นให้สูงขึ้นมาเล็กน้อย เทพื้นคอนกรีตพร้อม<br />

ปูกระเบื้อง ทําแท่นปูนฐานเสา ซ่อมแซมโครงสร้างหลังคาและเปลี ่ยน<br />

กระเบื้องมุงหลังคาใหม่ และในพุทธศักราช 2563 ส่วนอาคารเก่าของ<br />

มัสยิดนัจมุดดินได้รับการบูรณปฏิสังขรณ์ โดยอยู่ในความรับผิดชอบ<br />

ของสํานักศิลปากรที่ 11 สงขลา กรมศิลปากร และมีบริษัทเอกพร<br />

ไพศาล จํากัด เป็นผู้ดําเนินการ<br />

ที่ตั้ง :<br />

หมู่ 4 ตําบลทรายขาว อําเภอโคกโพธิ<br />

จังหวัดปั ตตานี<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

มัสยิดบ้านควนลังงา<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2177<br />

Ban Khuan Lang-nga Mosque is a treasured building with its<br />

rare wooden works of Islamic architecture. The owner maintains<br />

the structure well and regularly. This building, therefore, retains<br />

its authenticity in both architectural style and materials. Conservation<br />

is carried out by the responsible agency according to<br />

a complete work process, selecting conservation techniques<br />

that can preserve the essential elements and traditional materials<br />

as well. Traditional religious practises have been inherited<br />

until now. It is regarded as a significant spiritual center of the<br />

local people, with the strong intention of preserving this<br />

valuable religious building in existence.<br />

มัสยิดบ้านควนลังงา เป็นอาคารเรือนไม้พื้นถิ่นในแบบเดียวกันกับที่พบ<br />

ตามวัดในศาสนาพุทธ ก่อสร้างโดยไม่ใช้ตะปู แต่ใช้ลิ่มไม้และเข้าสลักไม้<br />

แทน วางตัวในแนวทิศตะวันออก-ตะวันตกเป็นอาคารโถง ไม่มีผนัง<br />

และไม่ยกพื้น ผังพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้า ขนาดกว้าง 5 ห้อง กว้าง<br />

9.40 เมตร ยาว <strong>13</strong>.80 เมตร หลังคาทรงจั่วต่อปีกนกลาดเทลงด้าน<br />

ทิศตะวันออกทิศเหนือและทิศใต้ส่วนด้านตะวันตกทําเป็นจั่วเล็กลดชั้น<br />

ลงมาแทนการทําปีกนก เพราะกําหนดพื้นที่ด้านนี้ให้เป็นพื้นที่ของมิหร็อบ<br />

ตามทิศทางที่หันไปสู่วิหารกะบะฮ์กรุง มักกะฮ์ หรือเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นจาก<br />

การก่อสร้างอาคารใหม่มาประชิดในส่วนนี้ ที่จําเป็นต้องปรับเปลี่ยน<br />

ทรงหลังคา โครงสร้างหลังคาเป็นไม้ตะเคียนมุงกระเบื้องดินเผา ปลายแหลม<br />

พื้นอาคารเดิมเป็นพื้นทราย เมื่อจะใช้งานละหมาด ชาวบ้านจะนําเสื่อ<br />

มาปูทับ และเมื่อปฏิบัติศาสนกิจเรียบร้อยแล้วก็นําเสื่อไปตากพาดไว้ที่<br />

ราวรอบอาคาร ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นปูด้วยกระเบื้องดินเผา ภายในอาคาร<br />

มีมิมบัร และนางญา หรือกลองที่ใช้ตีบอกเวลาละหมาด หรือตีเพื่อแจ้งเตือน<br />

และคัมภีร์อัลกุรอานเขียนด้วยมือ ที่อยู่คู่กับมัสยิดมาตั้งแต่เมื่อแรกสร้าง<br />

ทางด้านทิศตะวันออกของอาคารยังมีสิ่งปลูกสร้างเก่าแก่ที่สร้างขึ้นมา<br />

ราว 70 ปีที่แล้ว ได้แก่ อาคารมาลาเซาะฮ์ เป็นอาคารอเนกประสงค์<br />

ที่เคยใช้เป็นโรงเรียน เป็นอาคารไม้หลังคาทรงบลาน มุงด้วยกระเบื้อง<br />

ดินเผาปลายแหลมเช่นเดียวกัน และยังมีที่เอาน้ําละหมาด เป็นอ่างทรง<br />

สี่เหลี่ยมผืนผ้า<br />

มัสยิดบ้านควนลังงา เป็นตัวอย่างของอาคารศาสนสถานที่ได้รับการ<br />

ออกแบบให้เหมาะสมกับสภาพภูมิอากาศแบบร้อนชื้นของภาคใต้ของ<br />

ประเทศไทย สามารถระบายอากาศได้ดีและแสงสว่างส่องเข้าได้ทั่วถึง<br />

แสดงให้เห็นถึงภูมิปัญญาของบรรพชนในท้องถิ่น และยังเป็นหลักฐาน<br />

สําคัญที่สื่อถึงการอยู่ร่วมกันอย่างสงบสันติ บนพื้นฐานความสามัคคีของ<br />

ชาวชุมชนที่มีความเชื่อ และความศรัทธาแตกต่างกัน


ี<br />

้<br />

ี<br />

ั<br />

ึ<br />

ั<br />

ั<br />

็<br />

ู<br />

่<br />

ิ<br />

ั<br />

้<br />

ิ์<br />

ั<br />

ิ<br />

็<br />

่<br />

ิ<br />

็<br />

ึ<br />

ดู<br />

ึ<br />

้<br />

้<br />

้<br />

ิ<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

่<br />

็<br />

ั<br />

้ึ<br />

ั<br />

ู<br />

้<br />

ั<br />

่ึ<br />

้<br />

ั<br />

่ิ<br />

่ี<br />

ํ<br />

ัจงหว<br />

ั ดปั ตตานี<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ผู้<br />

ครอบครอง มั สยิ ดบ้ านควนล ั งกา<br />

ปี่สร<br />

ท ้ าง พุ ทธศั กราช 2177<br />

จากนั้ นในพุ<br />

ทธศั กราช 2547 มี การถมปร ั บระดั บพื้ นให้<br />

ูสงข<br />

้ นมาเล ็ กน้ อย เทพื้ นคอนกร ี ตพร ้ อมป ู กระเบื้ อง ํทา<br />

แท ่ นป ู นฐานเสา ่ซอมแซมโครงสร<br />

้ างหล ั งคาและเปล ี่ ยน<br />

กระเบื้องม<br />

ุ งหล ั งคาใหม่ และในพุ<br />

ทธศั กราช 2563 ่สวน<br />

อาคารเก่ าของมั สยิ ดนั จมุ ดดิ นได้ ัรบการบู รณปฏิ ัสงขรณ์<br />

โดยอยู่<br />

ในความร ั บผิ<br />

ดชอบของส ํ านั กศิ ลปากรท ี่ 11<br />

สงขลา กรมศิ ลปากร และมี บร ิ ษั ทเอกพรไพศาล ํจาก<br />

ั ด<br />

เป็ นผู้ ดํ าเนิ นการ<br />

งานอนุ<br />

มั สยิ ดบานควนลงงา เป็ นตั<br />

ัร<br />

วอย่ างของอาคารศาสน-<br />

กษ์<br />

สถานที่ ได้ ัรบการออกแบบให้ เหมาะสมกั บสภาพภู มิ อากาศ<br />

มั สยิ ดบ้<br />

านควนลงงา เปนอาคารเร<br />

ื อนไม้ พื้ นถนใน<br />

แบบร ้ อนช ื้ นของภาคใต้ ของประเทศไทย สามารถระบาย<br />

แบบเดี ยวก ั นกบท<br />

ี่ พบตามว ั ดในศาสนาพุ ทธ ่กอสร<br />

้ าง อากาศได้ ดี และแสงสว<br />

โดยไม่ ใช ้ ตะป ู แต่ ใช ้ ิ่ลมไม้ และเข ้ าสล ั กไม้ แทน วางตั ว เห็ นถ ึ งภู มิ ปั ญญาของบรรพชนในท ้ องถ ่ น และยั งเป็ น<br />

ในแนวท ิ ศตะว ั นออก–ตะว ั นตก เป็ นอาคารโถง ไม่ มี หล ั กฐานส ํ าคั ญท ี่ ื่สอถ<br />

ึ งการอยู่ ่ วมก ั นอย่ างสงบส ั นติ<br />

ผนั ง และไม่ ยกพื้ น ผั งพื้ นเป็ นรปส<br />

ี่ เหล ี่ ยมผื นผ้ า บนพื้ นฐานความสามั คคี ของชาวช ุ มชนที่ มี ความเช ื่ อและ<br />

ขนาดกว ้ าง 5 ห้ อง กว ้ าง 9.40 เมตร ยาว <strong>13</strong>.80 เมตร<br />

ตะว ั นออกของอาคารยั งมี ่สงปล<br />

ู กสร ้ างเก่ าแก่ ที่ สร ้ างข ้ น<br />

มาราว 70 ปี ี่แล ท ้ ว ได้ แก ่ อาคารบาลาเซาะฮ ์ เป็ นอาคาร<br />

อเนกประสงค์<br />

ี่ทเคยใช<br />

้ เปนโรงเร<br />

ี ยน เปนอาคารไม้<br />

หล ั งคาทรงบลานอ มุ งด้ วยกระเบื้ องดิ นเผาปลายแหลม<br />

เช ่ นเดี ยวก ั น และยั งมี ี่ทเอานํ้ าละหมาด เป็ นอ ่ างทรง<br />

ี่เหล ส ี่ยมผื นผ้ า<br />

Type รางว ่ั างส ลอนุ องเข A: ้ าได้ ัรกษ์ ั่ ทวถ<br />

ึAward ง ศิ แสดงให้ ลปสถาปั ตยกรรมป of Merit ี 2566<br />

ความศร ั ทธาแตกต่ างก ั น<br />

มรดกทางสถาป<br />

ตยกรรมแ 27<br />

มั สยิ ดบ้<br />

านควนลงงา จั งหว ั ดปตตานี<br />

มั สยิ ดบ้<br />

านควนล ั ง<br />

ที ่ ง หม ู่ ตั 4 ตํ าบลทรายขาว ํอาเภอโคกโพธ<br />

ัจงหว<br />

ั ดปั ตตานี<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ผู้ ครอบครอง มั สยิ ดบ้ านควนล ั งกา<br />

ปี่สร<br />

ท ้ าง พุ ทธศั กราช 2177<br />

คำประกาศ<br />

มัสยิดบ้านควนลังงาเป็นอาคารที่มีคุณค่าเป็นอย่างมาก ด้วยเป็นงาน<br />

สถาปัตยกรรมอิสลามที่สร้างด้วยไม้ซึ่งหาได้ยาก ผู้ครอบครองดูแล<br />

รักษาอาคารได้ดีมาอย่างสม่ําเสมอ อาคารหลังนี้จึงคงความแท้ ทั้งในด้าน<br />

รูปแบบทางสถาปัตยกรรม และวัสดุ การอนุรักษ์ดําเนินงานโดยหน่วยงาน<br />

ที่รับผิดชอบตามกระบวนการทํางานอย่างครบถ้วนได้เลือกเทคนิควิธีการ<br />

อนุรักษ์ที่สามารถรักษาองค์ประกอบสําคัญ และวัสดุแบบดั้งเดิมไว้<br />

เป็นอย่างดี มีการสืบทอดการประกอบศาสนกิจแบบดั้งเดิมมาจนถึง<br />

ในปัจจุบัน ถือเป็นศูนย์รวมจิตใจของคนในท้องถิ่น ที่มีความตั้งใจที่จะ<br />

รักษาอาคารศาสนสถานอันทรงคุณค่าให้คงอยู่สืบไป<br />

คํ<br />

มั สยิ ดบานควนลงงา เป็ นอาคารมั สยิ ดซงตั<br />

ง<br />

ณ บานควนลงงา ตํ าบลทรายขาว ํอาเภอโคก<br />

ัจงหว<br />

ั ดปั ตตานี ชาวบ้ านเล ่ าส ื บต่ อก ั นว ่ า ภายหลง<br />

สงครามระหว ่ างกร ุ งศร ี อยุ ธยากั บปั ตตานี สงบลง ชา<br />

และเจ ้ าอาวาสว ั ดทรายขาวได้ ่ชวยเหล<br />

ื อโต๊ ะหยาง ห<br />

ี่ทตกเหวเพราะหนี ภั ยสงครามพร ้ อมพระมหาคั<br />

ัอลกุ รอานฉบั บเข ี ยนมื อ หล ั งจากนั้ นชาวบานทราย<br />

้ทั<br />

งที่ นั บถื อศาสนาพุ ทธและอ ิ สลามได้ ด้ วยร ่ วมแรงร ่ ว<br />

สร ้ างศาสนสถานของช ุ มชนขนเมื<br />

่ อราวพุ ทธศั ก<br />

2177 และใช ้ สอยอาคารเร ื่ อยมาจนถ ึ งพุ ทธศั ก<br />

2530 ึจงได้ มี การกอสร<br />

้ างอาคารมั สยิ ดหลงใหม่<br />

เ ่ พิ มเติ มโดยมิ ได้ ื้รออาคารไม้ หลงเดิ มออก และใ<br />

ู ปแบบห<br />

ั นตกของอาคารเดิ มลง<br />

ั บระดั บพื้<br />

ู กระเบื้ อง<br />

ั งคาและเป<br />

ั งคาใหม่ และในพุ ทธศั กราช 2563<br />

ั บการบู รณปฏิ ัสง<br />

โดยอยู่ ในความร ั บผิ ดชอบของส ํ านั กศิ ลปากรท<br />

สงขลา กรมศิ ลปากร และมี บร ิ ษั ทเอกพรไพศาล จ<br />

เป็ นผู้ ดํ าเนิ นการ<br />

าประกาศ<br />

มั สยิ ดบ้ านควนล ั งงา เป็ นอาคารท ี่ มี คุ ณค่ าเป็ นอย่ างมากด้ วยเป็ น<br />

่วามั สยิ ดนั จมุ ดดิ น ซึ่ งได้ มี การปร ั บเปลี่ ยนร<br />

งานสถาปั ตยกรรมอิ สลามที่ สร ้ างด้ วยไม้ ซึ่ งหาได้ ยาก ผู้ ครอบครอง<br />

แลร ั<br />

และลดจ<br />

กษาอาคารได้<br />

ํ านวนเสาด้<br />

ดี มาอย่ างสมํ่<br />

านตะว<br />

าเสมอ อาคารหล ั งนี้ ึจงคง<br />

ความแท้ จากนั้ ้ทั<br />

งในด้ นในพุ านร ู ปแบบทางสถาปั ทธศั กราช ตยกรรมและว 2547 มี การถมปร<br />

ั สดุ การอนุ ัรกษ์<br />

ดํ าเนิ นงานโดยหน่ ูสงข<br />

้ นมาเล วยงานที่ ็ กน้ อย ัรบผิ เทพื้ ดชอบตามกระบวนการทํ นคอนกร ี ตพร ้ อมป างานอย่ าง<br />

ครบถ้ วน ได้ เล ื อกเทคนิ คว ิ ีธการอนุ ัรกษ์ ที่ สามารถร ั กษาองค์ ประกอบ<br />

แท ่ นป ู นฐานเสา ่ซอมแซมโครงสร<br />

้ างหล<br />

สํ าคั ญและว ั สดุ แบบดั ้ งเดิ มไว ้ เป็ นอย่ างดี มี การสื บทอดการประกอบ<br />

ศาสนกิ กระเบ จแบบดั ื้องม ้ งเดิ ุมมาจนถึ งหล งในปั จจ ุ บั น ถื อเป็ นศู นย์ รวมจ ิ ตใจของ<br />

คนในท ้ อาคารเก่ องถิ ่ น ี่มี ท ความตั าของมั ้ งใจท สยิ ี่จะร ดนั ั กษาอาคารศาสนสถานอ<br />

จมุ ดดิ นได้ ร ั นทรง<br />

คุ ณค่ าให้ คงอยู่ ืสบไป<br />

มั สยิ ดบานควนลงงา เปนอาคารเร<br />

ื อนไม้ พื้ นถ<br />

แบบเดี ยวกนกบท<br />

ี่ พบตามว ั ดในศาสนาพุ ทธ ่กอส<br />

โดยไม่ ใช ้ ตะป ู แต่ ใช ้ ิ่ลมไม้ และเข ้ าสล ั กไม้ แทน วาง<br />

ในแนวทศตะว<br />

ั นออก–ตะว ั นตก เป็ นอาคารโถง<br />

ผนั ง และไม่ ยกพื้ น ผั งพื้ นเป็ นรปส<br />

ี่ เหล ี่ ยมผื น<br />

ขนาดกว ้ าง 5 ห้ อง กว ้ าง 9.40 เมตร ยาว <strong>13</strong>.80 เ


้<br />

ํ<br />

ู่<br />

28<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Honorable Mention<br />

Ban Pong Nak<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ บานป่ องนั ก จั งหว ั ดลาปาง<br />

Museum<br />

Lampang<br />

รางว ั ลอนุ ร<br />

ั กษ์ ศิ ลปสถาป<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านป้องนักเป็นอาคารที่สร้างขึ้นโดยมีจุดประสงค์เพื่อเป็น<br />

พลับพลาที่ประทับแรมของพระบาท สมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว<br />

รัชกาลที่ 7 และสมเด็จพระนางเจ้ารําไพพรรณี พระบรมราชินี คราวเสด็จ<br />

ประพาสมณฑลพิษณุโลกและมณฑลพายัพในพุทธศักราช 2469 ดําเนินการ<br />

ก่อสร้างโดยกรมยุทธการทหารบก และควบคุมการก่อสร้างโดยพันโท<br />

ั ตยกรรมปี 2566<br />

พระมหาณรงค์เรืองเดช (แปลก จุลกัณห์) ผู้บังคับกองพันที่ 1 กรม<br />

ทหารราบที่ 17 ใช้งบประมาณไปกว่า 16,000 บาท คําว่า “ป๋อง” เป็น<br />

ภาษาคําเมือง แปลว่า “ช่อง” คําว่า “นัก” หมายถึงจํานวนมาก ดังนั้น<br />

บ้านป่องนักจึงหมายถึงบ้านที่มีช่องหน้าต่างจํานวนมาก ต่อมาบ้านป่องนัก<br />

ยังใช้เป็นที่ประทับแรมของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวภูมิพลอดุลยเดช<br />

รัชกาลที่ คํ าประกาศ 9 และสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์พระบรมราชินีนาถ (พระ<br />

อิสริยยศ พิ พิ ธภั ณ ณฑ์ ขณะนั้น) บ้ านป่ องนั คราวเสด็จเยี่ยมเยือนพสกนิกรภาคเหนือ กเป็ นอาคารที่ มี ความสํ าคั ้ ญทั งทางประว ใน<br />

พุทธศักราช และทางสถาปั 2501 ตยกรรม หลังจากนั้น ที่ ยั งร ได้ใช้เป็นสํานักงานกฎหมายอยู่ในช่วง<br />

ั กษาความแท้ ของร<br />

ระยะเวลาหนึ่ง องค์ ประกอบอาคารได้ ดังที่ปรากฏเครื่องเรือนเครื่องใช้ในสํานักงานกฎหมาย<br />

ค่ อนข ้ างครบถ้ วน มี การดู แลร<br />

ในสมัยก่อน เป็ นอย่ างดี เช่น โดยมี บัลลังก์ผู้พิพากษา การซ ่ อมแซมโครงสร และได้กลายมาเป็นพิพิธภัณฑ์<br />

บ้านป่องนัก อย่ างต่ อเนื่ ในพุทธศักราช อง มี การจ ั 2534 ดแสดงเป็ โดยตลอดระยะเวลาที่ผ่านมาพิพิธภัณฑ์<br />

นพิ และส<br />

บ้านป่องนักได้รับการดูแลรักษาเป็นอย่างดี ให้ เห็ นถึ งประว ั ติ ศาสตร ์ ี่ทเก<br />

ยวข ้ องได้ สําหรับการปรับปรุงฟื้นฟู<br />

ค่ อนข ้ างดี อย่ างไรก<br />

อาคารครั้งล่าสุดในพุทธศักราช<br />

ควรมี การวางแผนงานอนุ ร2562 นั้น ทําให้สามารถรักษาสภาพ<br />

ของอาคารและทัศนียภาพโดยรอบให้มีความคล้ายคลึงกับสภาพอาคาร<br />

ัอนประกอบด้ วยการเก็ บข ้ อมู ลทางสถาปั ตยกรรมที่ ละเอ<br />

การว ิ เคราะห์ ูรปแบบ ัวสดุ และส ี ดั<br />

เมื่อแรกสร้าง มีการเสริมความมั่นคงแข็งแรงของพื้นไม้เพื่อรองรับการ<br />

้ งเดิ มของอาคาร ท<br />

การกํ าหนดแนวทางการบู รณะและการจ ั ดการอาคารอย่ างเต็ ม<br />

ใช้สอยของการเป็นพิพิธภัณฑ์นอกจากนี้ได้มีการปรับปรุงระบบภายใน<br />

ูรปแบบต่ อไป<br />

อาคารให้เหมาะสมกับการใช้งานในปัจจุบันได้ดียิ่งขึ้น<br />

ั ติ ศาสตร ์<br />

ู ปทรงภายนอกและ<br />

ั กษาอาคารมา<br />

้ างและองค์ ประกอบต่ าง ๆ<br />

ื่อความหมาย<br />

็ ตาม<br />

ั กษ์ ตามกระบวนการอย่ างครบถ้ วน<br />

ี ยดถี่ ถ้ วน<br />

ี่ จะนํ าไปส<br />

ที่ตั้ง :<br />

มณฑลทหารบกที่ 32 ค่ายสุรศักดิ ์มนตรี<br />

ตําบลพิชัย อําเภอเมืองลําปาง จังหวัด<br />

ลําปาง<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

มณฑลทหารบกที่ 32<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2468<br />

Ban Pong Nak Museum is a building that is both of historical<br />

and architecture value that has been so far retained the authenticity<br />

of the building exterior and building elements quite<br />

completely. The building has a good maintenance. The structure<br />

and various elements are constantly being repaired. The<br />

building is used as a museum and quite well conveys the<br />

history involved. However, the conservation process should<br />

be planned in full which consists of a thorough architectural<br />

archive, an analysis of the building’s original features, materials<br />

and colors, which would lead Determining guidelines for the<br />

restoration and full management of the building further.<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านป้องนัก เป็นอาคารไม้ 2 ชั้น ยกพื้น 0.90 เมตร รูปแบบ<br />

สถาปัตยกรรมแบบโคโลเนียลที่เป็นการนําเอาสถาปัตยกรรมอย่างตะวันตก<br />

มาดัดแปลงใช้ให้เหมาะสมกับภูมิอากาศแบบร้อนชื้นด้วยการทําเป็น<br />

ระเบียงโดยรอบ จุดเด่นของอาคารหลังนี้คือ มุขแบบ 6 เหลี่ยม จํานวน<br />

5 มุข มีหน้าต่างรอบอาคารเป็นบานกระทุ้งเกล็ดไม้จํานวน 250 บาน<br />

รวมมีช่องหน้าต่างทั้งสิ้น 469 ช่อง เหนือช่องหน้าต่างเป็นช่องลมไม้<br />

ฉลุลาย บันไดไม้ ภายในอาคารแบ่งเป็นบันไดด้านหน้าสําหรับเจ้านาย<br />

และบันไดด้านหลังสําหรับข้าราชบริพาร หลังคาทรงปั้นหยา มุงกระเบื้อง<br />

ว่าวซีเมนต์ พื้นที่ชั้นล่างจัดแสดงอาวุธยุทโธปกรณ์บางส่วนที่ใช้ในสมัย<br />

สงครามโลกครั้งที่ 2 ส่วนชั้นบนจัดเป็นพื้นที่สักการะสมเด็จพระนเรศวร<br />

มหาราช มีการจัดแสดงข้าวของเครื่องใช้ภาพถ่าย และวัตถุมีค่ามากมาย<br />

โดยมีการจําลองบรรยากาศของการใช้งาน ในฐานะที่ประทับไว้ด้วย<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านป่องนัก แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจของมณฑลทหารบก<br />

ที่ 32 ที่จะอนุรักษ์อาคารที่มีคุณค่าทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม<br />

ที่เกี่ยวพันกับราชวงศ์จักรีและการทหารผ่านการจัดแสดงที่หลากหลาย<br />

ทําให้นักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไปได้เข้ามาศึกษาเรียนรู้อัน<br />

จะก่อให้เกิดความภาคภูมิใจ ความรักความหวงแหนและมีจิตสํานึกใน<br />

การรักษามรดกวัฒนธรรมของชาติต่อไป


้<br />

ี<br />

ํ<br />

ุ<br />

ํ<br />

้<br />

็<br />

ึ<br />

ั<br />

ั<br />

้<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ บ้<br />

ูร่ องนั ปแบบต่ ก จั งหว อไป ั ดล<br />

านป<br />

ที ่ ง มณฑลทหารบกท<br />

ตั ี่ 32 ค่ ายส ุ รศั กดิ์ มนตร<br />

ตํ าบลพิ ัชย ํอาเภอเมื องล ํ าปาง ัจงหว<br />

ั ดล ํ าปาง<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ื่อผู้ ออกแบบ<br />

ผู้ ครอบครอง มณฑลทหารบกท ี่ 32<br />

ปี ี่สร ท ้ าง พุ ทธศั กราช 2468<br />

Type A: Honorable Mention<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ บ้<br />

านป่<br />

อ<br />

าปาง<br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

29<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ บ้ านป่ องนั กเป็ นอาคารที่ มี ค<br />

พิ พิ ธภั และทางสถาปั ณฑ์ บานป่ องนั ตยกรรม ก เปนอาคารท<br />

ที่ ยั งร ั กษาความ ี่ สร ้ าง<br />

ุจดประสงค์ องค์ ประกอบอาคารได้ เพื่ อเป็ นพล ั บพลาที่ ค่ อนข ประทั ้ างครบถ้ บแรมขอ วน<br />

สมเด็ เป็ จพระปกเกล นอย่ างดี ้ โดยมี าเจ ้ าอยู่ การซ หั ่ ว อมแซมโครงสร<br />

ัรชกาลท<br />

ี่ 7 แล<br />

พระนางเจ อย่ างต่ ้ าร ํ อเนื่ าไพพรรณี อง มี การจ พระบรมราช ั ดแสดงเป็ ิ นพิ นี คร พิ<br />

ประพาสมณฑลพิ ให้ เห็ นถึ งประว ษณุ ั โลกและมณฑลพายั ติ ศาสตร ์ ี่ทเก<br />

ยวข ้ พในพุ องได้<br />

2469 ควรมี ดํ าเนิ นการก่ การวางแผนงานอนุ อสร ้ างโดยกรมยุ ัรทธการทหา<br />

กษ์ ตามก<br />

ควบคุ ัอมการก่ นประกอบด้ อสร ้ างโดยพั วยการเก็ นโท บข ้พระมหาณรงค์<br />

อมู ลทางสถา<br />

(แปลก การว จลก<br />

ิ ัเคราะห์ ณห์ ) ผู้ ูรบั ปแบบ งคั บกองพั ัวสดุ นท และส ี่ 1 ี กรมท ดั ้ งเดิ<br />

ที่ 17 ใช การกํ ้ งบประมาณไปกว าหนดแนวทางการบู ่ า 16,000 รณะและการ<br />

บาท คํ าว ่ า “ป่<br />

ภาษาคํ ูราเมื ปแบบต่ อง แปลว อไป ่ า "ช ่ อง" คํ าว ่ า “นั ก” หมายถึ<br />

มาก ดั งนั ้ นบ้ านป่ องนั กจ ึ งหมายถ ึ งบ้ านที่ มี ่ชอง<br />

ํจานวนมาก ต่ อมาบ้ านป่ องนั กยั งใช ้ เป็ นที่ ประทั<br />

พระบาทสมเด็ จพระเจ ้ าอยู่ หั วภู มิ พลอดุ ลยเด<br />

ี่ ท 9 และสมเด็ จพระนางเจ ้ าส ิ ิริกติ์ พระบรมร<br />

(พระอ ิ สร ิ ยยศ ณ ขณะนั ้ น) คราวเสด็ จเยี่<br />

พสกนิ กรภาคเหนื อ ในพุ ทธศั กราช 2501 หล<br />

ได้ ใช ้ เป ็ นสานั กงานกฎหมายอยู่ ในช ่ วงระยะเ<br />

ดั งที่ ปรากฏเคร ื่ องเร ื อนเคร ื่ องใช ้ ในสํ านั กงานก<br />

สมั ยก ่ อน เช ่ น บั ลล ั งก ์ ผู้ พิ พากษา และได้ กล<br />

พิ พิ ธภั ณฑ์ บ้ านป่ องนั ก ในพุ ทธศั กราช 2534 โ<br />

ระยะเวลาที่ ผ่ านมา พิ พิ ธภั ณฑ์ บ้ านป่ องนั กได้ ร<br />

ัรกษาเป็ นอย่ างดี ํสาหร<br />

ั บการปร ั บปร ุ งฟื ้ นฟู อา<br />

่ลาส<br />

ุ ดในพุ ทธศั กราช 2562 ้นั<br />

น ทํ าให้ สามารถร ั ก<br />

ของอาคารและทั ศนี ยภาพโดยรอบให้ มี ความคล้<br />

คำประกาศ<br />

สภาพอาคารเมื่ อแรกสร ้ าง มี การเสร ิ มความมั ่ นคง<br />

พิพิธภัณฑ์บ้านป่องนัก เป็นอาคารที่มีความสําคัญทั้งทางประวัติศาสตร์<br />

และทางสถาปัตยกรรมที่ยังรักษาความแท้ของรูปทรงภายนอกและ<br />

ของพื้ นไม้ เพื่ อรองร ั บการใช ้ สอยของการเป็ นพิ<br />

องค์ประกอบอาคารได้ค่อนข้างครบถ้วน นอกจากนี้ มี การปร มีการดูแลรักษาอาคารมาเป็น<br />

ั บปร ุ งระบบภายในอาคารใ<br />

อย่างดี โดยมีการซ่อมแซมโครงสร้าง<br />

ักบการใช<br />

้ งานในป<br />

และองค์ประกอบต่าง<br />

ั จจ ุ บั นได้ ดี<br />

ๆ<br />

ยิ่<br />

อย่างต่อเนื่อง<br />

งข ้ น<br />

มีการจัดแสดงเป็นพิพิธภัณฑ์และสื่อความหมายให้เห็นถึงประวัติศาสตร์<br />

ที่เกี่ยวข้องได้ค่อนข้างดี อย่างไรก็ตามควรมีการวางแผนงานอนุรักษ์<br />

ตามกระบวนการอย่างครบถ้วน อันประกอบด้วยการเก็บข้อมูลทาง<br />

สถาปัตยกรรมที่ละเอียดถี่ถ้วน การวิเคราะห์รูปแบบ วัสดุ และสีดั้งเดิม<br />

ของอาคาร ที่จะนําไปสู่การกําหนดแนวทางการบูรณะและการจัดการ<br />

อาคารอย่างเต็มรูปแบบต่อไป


30<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Honorable Mention<br />

Sukhothai<br />

Provincial Office<br />

of Buddhist<br />

Monks Building<br />

Sukhothai<br />

ที่ตั้ง :<br />

วัดสว่างอารมณ์วรวิหาร ถนนหน้าเมือง<br />

ตําบลเมืองสวรรคโลก อําเภอสวรรคโลก<br />

จังหวัดสุโขทัย<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

วัดสว่างอารมณ์วรวิหาร<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2479<br />

The preservation of this building demonstrates the intention<br />

to restore the building to its original appearance. There is a<br />

good solution to the problem of the structure and deterioration<br />

of the building according to the factors that cause the problem<br />

and the building’s historical value as the first religious school<br />

building. It is an architectural structure with symbolic meaning<br />

and spiritual value for people in the Sawankhalok area. It is<br />

a good example for other temples to recognise the value of<br />

similar architectural heritage. However, when the building is<br />

raised higher than the original level, consideration should be<br />

given to preserving the actual proportions of the building.<br />

อาคารสํานักงานคณะกรรมการสงฆ์จังหวัดสุโขทัยตั้งอยู่ในวัด<br />

สว่างอารมณ์วรวิหาร จังหวัดสุโขทัย สร้างขึ้นโดยการนําของพระ<br />

สังวรกิจโกศล (ถม วงศ์โดยหวัง) อดีตเจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์<br />

รูปที่ 14 และพระครูดิลกธรรมวิทิต ปธ.5 (พระมหาบุญธรรม<br />

พุ่มอยู่) อดีตเจ้าอาวาสวัดสว่างอารมณ์ รูปที่ 16 รวมถึง นายกระจ่าง<br />

ศิริปโชติ ขุนประสารวนเขต นายสิง ตอนดี และขุนพิศาลสุนทรกิจ<br />

เป็นคณะกรรมการอํานวยการจัดสร้าง ต่อมาใช้เป็นสํานักศาสนศึกษา<br />

ธรรมบาลีตัวอย่างประจําจังหวัด (โรงเรียนพระปริยัติธรรม) หลังจาก<br />

นั้นไม่มีการใช้งานอาคารและอยู่ในสภาพทรุดโทรม ล่าสุดได้มีการ<br />

อนุรักษ์ครั้งใหญ่ระหว่างพุทธศักราช 2563-2565 ภายใต้การ<br />

กํากับดูแลของกรมศิลปากร และมีบริษัทนอร์ทเทิร์นชัน (1935)<br />

จํากัด เป็นผู้ดําเนินการ ตามดําริของพระครูพิศาลสิริวัฒน์ (เสน่ห์<br />

สิริวฑฺฒโน) เจ้าอาวาสในปัจจุบัน และคณะศรัทธาของนางสมลักษณ์<br />

เหลืองสุวรรณ์ โดยทางวัดสว่างอารมณ์วรวิหารได้ใช้อาคารเป็นศูนย์<br />

นิทรรศการวัดสว่างอารมณ์วรวิหาร และใช้ในสาธารณประโยชน์<br />

อาคารสํานักงานคณะกรรมการสงฆ์จังหวัดสุโขทัย เป็นอาคารเรือนไม้<br />

3 ชั้น ชั้นล่างเป็นใต้ถุนสูง 2.60 เมตร โครงสร้างเสาด้านล่างเป็น<br />

เสาคอนกรีตประดับด้วยบัวหัวเสาปูนปั้น บันไดทางขึ้นอาคารเป็น<br />

บันไดไม้ยื่นออกจากกึ่งกลางอาคารด้านหน้า เป็นส่วนที่สร้างขึ้นใหม่<br />

ทดแทนบันไดก่ออิฐฉาบปูนเดิมที่เป็นส่วนต่อเติมในยุคหลัง ตามข้อ<br />

สันนิษฐานว่าน่าจะเป็นบันไดไม้มาก่อน และยังได้สร้างหลังคาคลุมไว้<br />

เพื่อความคงทนของบันไดไม้นี้ ผังพื้นอาคารชั้น 2 เป็นรูปสี่เหลี่ยม<br />

ผืนผ้าแบบสมมาตร กว้าง <strong>13</strong> เมตร ยาว 15.85 เมตร โครงสร้าง<br />

อาคารเป็นไม้ ลักษณะเป็นโถงโล่ง ไม่มีผนัง มีราวกันตกไม้โดยรอบ<br />

มีหลังคาปีกนกคลุมรอบทุกด้าน เชื่อมต่อกับชั้น 3 ด้วยบันไดไม้<br />

ผังพื้นอาคารชั้น 3 เป็นรูปสี่เหลี่ยมผืนผ้าแบบสมมาตร กว้าง 7<br />

เมตร ยาว 10.85 เมตร กึ่งกลางอาคารด้านหน้าเป็นมุขยื่น กว้าง<br />

3.50 เมตร ยาว 3.85 เมตร แบ่งพื้นที่ใช้สอยออกเป็น 2 ห้อง กั้นด้วย<br />

ฝาผนังไม้ ประตู หน้าต่าง และฝ้าเพดานทั้งหมดเป็นไม้ หลังคา<br />

ทรงปั้นหยามุงกระเบื้องว่าวซีเมนต์ มุขด้านหน้า เป็นหลังคาทรงจั่ว<br />

ประดับด้วยไม้ฉลุลายสวยงาม<br />

อาคารสํานักงานคณะกรรมการสงฆ์จังหวัดสุโขทัยได้รับการปรับปรุง<br />

ฟื้นฟูตามหลักวิชาการ โดยการรักษาส่วนประกอบของอาคารที่มี<br />

สภาพสมบูรณ์ร่วมกับการซ่อมแซมส่วนที่ผุพัง ทําให้สามารถรักษา<br />

คุณค่าความสําคัญในด้านประวัติศาสตร์ และสถาปัตยกรรมที่สําคัญ<br />

ของเมืองสวรรคโลกเอาไว้ได้ และเป็นแบบอย่างของการอนุรักษ์<br />

ประวัติศาสตร์ท้องถิ่นโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนที่ จะนําพา<br />

ไปสู่การอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมแหล่งอื่น ๆ ของสวรรคโลก<br />

ได้ต่อไป


ุ<br />

ั<br />

คํ<br />

ึ<br />

้<br />

ุ<br />

ั<br />

่ึ<br />

้<br />

ั<br />

่<br />

ุ<br />

ึ<br />

ั<br />

่<br />

้ึ<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ึ<br />

ู<br />

้<br />

ุ<br />

ั<br />

่ี<br />

ั<br />

รางว ั ลอนุ ัรกษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมปี 2566<br />

ี ่ ิ ้ ็ นิ ี่ มี ู ่<br />

ั ่ ิ ้ ่ ี่ ํ ั<br />

ํ ั ติ ์ ั<br />

ํ จั ั ุ ั ํ ้<br />

ื ้ ้ ่ ถุ ู ั ั ติ ์ ท้ ่ ่ ่<br />

้ ็ ี ี่ ่ ั<br />

บั ู บั ้ ยื่ ั ่ ต่<br />

็ ี่ ้<br />

ปี่สร<br />

ท สวางอารมณ์ วรวหารได้ ใชอาคารเปนศู นย์ ทรรศการ ส วนประกอบของอาคารท สภาพสมบรณ์ รวมกบ<br />

วดสวางอารมณ์ วรวหาร และใชในสาธารณประโยชน์<br />

การซอมแซมสวนทผุ พั ง ทาให้ สามารถรกษาคุ ณค่ า<br />

ความสาคั ญในด้ านประว ศาสตรและสถาปตยกรรมท<br />

อาคารสานั กงานคณะกรรมการสงฆ์ งหวดสโขทย<br />

สาคั ญของเมื องสวรรคโลกเอาไวได้ และเป็ นแบบอย่ าง<br />

เป็ นอาคารเรอนไม้ 3 ชน<br />

นล ชั างเป็ นใต้ นสง 2.60 เมตร ของการอนุ รกษ์ ประว ศาสตร องถิ นโดยการมี สวนรวม<br />

Type โครงสรางเสาด้ A: Honorable านลางเปนเสาคอนกร<br />

Mention<br />

ตประดั บด้ วย ของทุ กภาคสวนทจะนํ าพาไปสการอนุ รกษ์ มรดก<br />

วหั วเสาปนปั<br />

น นไดทางขนอาคารเป็ นบั นไดไม้ นออก สถาปตยกรรมแหลงอ<br />

ื่น ๆ ของสวรรคโลกได้ อไป<br />

จากกงกลางอาคารด้ านหน้ า เปนสวนทสรางขนใหม่<br />

31<br />

แ<br />

ท<br />

ผู้<br />

เ<br />

อ<br />

คํ<br />

รสงฆ์<br />

จั งหว ั ดสโขทย ัวดสว่ างอารมณ์<br />

วรวิ หาร จั งหว ั ดสโขทย<br />

าประกาศ<br />

การอนุ ัรกษ์ อาคารหล ั งนี้ แสดงให้ เห็ นถึ งความตั้ งใจท ี่ จะร ื้ อฟื ้ น<br />

สภาพเดิ มของอาคารให้ กล ั บคื นมา มี การแก ้ ไขปั ญหาโครงสร ้ าง<br />

และความเส ื่ อมสภาพของอาคารตามเหตุ ปั จจ ั ยที่ ก่ อให้ เกิ ดปั ญหา<br />

และเป็ นการนํ าเสนอคุ ณค่ าทางประว ั ติ ศาสตร ์ ความเป็ นอาคารเร ี ยน<br />

ทางศาสนาหล ั งแรก เป็ นส ั ญล ั กษณ์ ี่มี ท คุ ณค่ าทางด้ านจ ิ ตใจของ<br />

ผู้ คนในพื้ นท ี่ สวรรคโลก เป็ นตั วอย่ างท ี่ ดี ให้ ักบว<br />

ั ดอ ื่ น ๆ ให้ หั นมา<br />

เห็ นคุ ณค่ าของมรดกทางสถาปั ตยกรรมที่ มี ัลกษณะคล<br />

้ ายคล ึ งกั น<br />

อย่ างไรก ็ ตามเมื่ อมี การยกอาคารให้ ูสงข<br />

้ นกว ่ าระดั บเดิ มก ็ ควร<br />

คํ านึ งถึ งการร ั กษาส ั ดส ่ วนดั ้ งเดิ มของอาคารไว<br />

รางว ั ลอนุ ัรกษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมปี 2566<br />

อาคารส ํ านั กงานคณะกรรมการสงฆ์ จั งหว ั ดสโขทย ัวดสว่ างอารมณ์<br />

วรวิ หาร จั งหว ั ดสโขทย<br />

คํ าประกาศ<br />

การอนุ ัรกษ์ อาคารหล ั งนี้ แสดงให้ เห็ นถึ งความตั้ งใจท ี่ จะร ื้ อฟื ้ น<br />

สภาพเดิ มของอาคารให้ กล ั บคื นมา มี การแก ้ ไขปั ญหาโครงสร ้ าง<br />

และความเส ื่ อมสภาพของอาคารตามเหตุ ปั จจ ั ยที่ ก่ อให้ เกิ ดปั ญหา<br />

และเป็ นการนํ าเสนอคุ ณค่ าทางประว ั ติ ศาสตร ์ ความเป็ นอาคารเร ี ยน<br />

ทางศาสนาหล ั งแรก เป็ นส ั ญล ั กษณ์ ี่มี ท คุ ณค่ าทางด้ านจ ิ ตใจของ<br />

ผู้ คนในพื้ นท ี่ สวรรคโลก เป็ นตั วอย่ างท ี่ ดี ให้ ักบว<br />

ั ดอ ื่ น ๆ ให้ หั นมา<br />

เห็ นคุ ณค่ าของมรดกทางสถาปั ตยกรรมที่ มี ัลกษณะคล<br />

้ ายคล ึ งกั น<br />

อย่ างไรก ็ ตามเมื่ อมี การยกอาคารให้ ูสงข<br />

้ นกว ่ าระดั บเดิ มก ็ ควร<br />

คํ านึ งถึ งการร ั กษาส ั ดส ่ วนดั ้ งเดิ มของอาคารไว<br />

คำประกาศ<br />

การอนุรักษ์อาคารหลังนี้แสดงให้เห็นถึงความตั้งใจที่จะรื้อฟื้นสภาพเดิม<br />

ของอาคารให้กลับคืนมา มีการแก้ไขปัญหาโครงสร้างและความเสื่อม<br />

สภาพของอาคารตามเหตุปัจจัยที่ก่อให้เกิดปัญหา และเป็นการนําเสนอ<br />

คุณค่าทางประวัติศาสตร์ความเป็นอาคารเรียนทางศาสนาหลังแรก<br />

เป็นสัญลักษณ์ที่มีคุณค่าทางด้านจิตใจของผู้คนในพื้นที่สวรรคโลก เป็น<br />

ตัวอย่างที่ดีให้กับวัดอื่น ๆ ให้หันมาเห็นคุณค่าของมรดกทางสถาปัตย-<br />

กรรมที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน อย่างไรก็ตามเมื่อมีการยกอาคารให้สูง<br />

ขึ้นกว่าระดับเดิมก็ควรคํานึงถึงการรักษาสัดส่วนดั้งเดิมของอาคารไว้


์<br />

ื<br />

้<br />

32<br />

Type A: Conservation of Architectural<br />

Heritage and Community<br />

Honorable Mention<br />

Yongkang<br />

Thawang<br />

Nakhon Si Thammarat<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

การอนุ ัรกษ์ อาคารแสดงให้ เห็ นถึ งควา<br />

ยงคัง ท่าวัง เป็นการใช้ประโยชน์ของอาคารเก่า ให้ ยั งคงอยู่ ที่ตั้งอยู่ในย่านท่าวัง ในสภาพเดิ มในภาพรวมได้ ซึ่ง ดี<br />

เป็นชุมชนค้าขายและพักอาศัยของชาวไทยเชื้อสายจีน<br />

ในการบอกเล ่ าประว<br />

และเป็นส่วน<br />

ั ติ ศาสตร ์ ของเมื อง<br />

หนึ่งของพื้นที่เมืองเก่านครศรีธรรมราช เดิมเป็นบ้านพักอาศัยของ<br />

นายพ่วง กิจวิบูลย์ และครอบครัว ในกระบวนการอนุ ทํากิจการรับส่งของจากท่าเรือ ัรกษ์ ได้ เล ื อกว ิ ีธกา<br />

วัดจันทาราม แล้วลําเลียงเข้าเมืองด้วยวัวและควายเทียมเกวียน องค์ ประกอบส ํ าคั ญและว ต่อมาั สดุ ดั ้ งเดิ มไว<br />

เมื่อไม่มีการใช้สอย อาคารจึงอยู่ในสภาพทรุดโทรม หลังจากนั้น<br />

ในพุทธศักราช 2561 คุณศรีโรจน์<br />

การปร<br />

อนุตรเศรษฐ<br />

ั บการใช้<br />

และครอบครัว<br />

งานต่ างไปจากกิ<br />

ได้<br />

จกรรมเดิ<br />

ครอบครองกรรมสิทธิ์บ้านและที่ดินแห่งนี้ ควรพิ จารณาเร ทําการปรับปรุงซ่อมแซม ื่ องการส ื่ อความหมาย<br />

ตัวอาคาร จนแล้วเสร็จในพุทธศักราช เก ี่ ยวก ั 2563 บเร ่ และเปิดเป็นร้านขาย องราวความเป็ นมาของอาค<br />

อาหารและเครื่องดื่มในชื่อว่า ยงคัง คาเฟ่ ซึ่งคําว่ายงคัง (ความหมาย<br />

คือ ความสุขสมบูรณ์) นั้น คุณตาเฮ็นเย็น<br />

ต่ อเติ มควรคํ<br />

แซ่ลิ้ม เป็นคนตั้งชื่อให้กับ<br />

านึ งถึ งความต่ อเนื่ องก ั บอ<br />

ยงคัง คลินิก ซึ่งเป็นกิจการแพทย์แผนจีน และโอสถสถานของครอบครัว<br />

ที่ตั้งอยู่ในย่านท่าวังเช่นเดียวกับอาคารหลังนี้ นอกจากการปรับปรุง<br />

ฟื้นฟูอาคารแล้ว เจ้าของอาคารยังเชิญชวนชาวบ้านใกล้เคียงร่วมกัน<br />

ทําบุญบูรณะทางเดินเท้าที่เชื่อมต่อจากวัดจันทารามผ่านด้านข้าง<br />

อาคารยงคัง ท่าวัง มายังท่าเรือวัดจันทารามซึ่งเป็นท่าเรือขนถ่าย<br />

สินค้าสําคัญในอดีต เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวย่านท่าวังอีกด้วย<br />

ที่ตั้ง :<br />

เลขที่ 1690–1690/1 ถนนท่าโพธิ ์ ตําบล<br />

ท่าวัง อําเภอเมืองนครศรีธรรมราช<br />

จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ<br />

สถาปนิกอนุรักษ์ :<br />

คุณสุดาวรรณ พันธุ์ทอง บริษัทดีไซน์<br />

โซน อินฟินิตี้ จํากัด<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

คุณศรีโรจน์ คุณสุรศักดิ<br />

และ คุณปราโมทย์ อนุตรเศรษฐ<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

พ.ศ. 2464<br />

Overall, the preservation of the building shows a good intention<br />

to preserve the structure and retain its original condition<br />

quite successfully. The building also plays a part in telling the<br />

history of Nakhon Si Thammarat. In the conservation process,<br />

a method was selected to preserve the essential elements<br />

and original material even though the internal space was<br />

adjusted to be used differently from the initial building activities.<br />

However, it is important to consider the issue of meaning to<br />

avoid creating misunderstandings about the history of this<br />

building. In addition, the extension should take into account<br />

the continuity with the original building.<br />

ยงคัง ท่าวัง เป็นอาคารก่ออิฐถือปูน 2 ชั้น ผังพื้นอาคารเป็นรูป<br />

สี่เหลี่ยมผืนผ้า กว้าง 4.70 เมตร ยาว 10.30 เมตร รูปแบบสถาปัตย-<br />

กรรมแบบจีนผสมตะวันตก ผนังอาคารเป็นผนังก่ออิฐรับน้ําหนัก<br />

โครงสร้างพื้นชั้นล่างเป็นพื้นก่ออิฐรับน้ําหนัก โครงสร้างพื้นชั้นบน<br />

เป็นไม้โครงสร้าง หลังคาทรงจั่วเป็นไม้เดิมหลังคาทั้งหมดมุงด้วย<br />

กระเบื้องว่าวซีเมนต์ ปัจจุบันเปลี่ยนเป็นกระเบื้องลอนคู่ พื้นที่<br />

ใช้สอยชั้นล่างและชั้นบนเป็นร้านขายอาหารและเครื่องดื่ม เชื่อมต่อกัน<br />

ด้วยบันไดไม้ พื้นที่ด้านหลังชั้นล่างมีบ่อน้ําภายในบ้าน ซึ่งเป็น<br />

เอกลักษณ์สําคัญที่แสดงถึงวิถีชีวิตของเจ้าบ้านเดิม ภายนอก<br />

อาคารและหน้าจั่วหลังคาตกแต่งด้วยลวดลายปูนปั้น ประตูทางเข้า<br />

อาคารเป็นบานเฟี้ยมไม้ มีการใช้หลังคาพื้นคอนกรีตบริเวณด้าน<br />

หน้าอาคารเพื่อเป็นการบังแดดและฝน หน้าต่างเป็นบานไม้เปิด<br />

คู่ ส่วนต่อเติมด้านหลังเป็นอาคาร 2 ชั้น ที่เชื่อมต่อกับอาคารเดิม<br />

พื้นที่ใช้สอยชั้นล่างเป็นห้องครัวและห้องน้ํา ส่วนชั้นบนเป็นห้อง<br />

อเนกประสงค์ขนาดเล็กสําหรับจัดเลี้ยงหรือจัดประชุม<br />

ยงคัง ท่าวัง เป็นตัวอย่างของการปรับปรุงฟื้นฟู ตึกแถวเก่าไว้ได้<br />

อย่างน่าชื่นชมสามารถรักษาคุณค่าทางสถาปัตยกรรมดั้งเดิมเอาไว้ได้<br />

และส่วนต่อเติมก็ได้รับการออกแบบที่เหมาะสมกลมกลืนกับอาคาร<br />

เก่า ทําให้อาคารหลังนี้กลายเป็นแหล่งเรียนรู้สําคัญทางด้านประวัติ-<br />

ศาสตร์ สถาปัตยกรรม และการอนุรักษ์และพัฒนาเมืองเก่านครศรี-<br />

ธรรมราช รวมทั้งทําให้เจ้าของอาคารเก่าหลาย ๆ หลังในพื้นที่<br />

เห็นถึงคุณค่าของการอนุรักษ์อาคารแทนการรื้อถอน


ื<br />

ี<br />

่<br />

ื<br />

ื<br />

้<br />

ั<br />

ู<br />

ั<br />

้<br />

่ี<br />

่<br />

ั<br />

่<br />

ํ<br />

ั<br />

ั<br />

ราช<br />

ในการบอกเล<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ่ าประว<br />

ื่อผู้ ออกแบบ ั ติ ศาสตร ซึ่ ์ งเป็ ของเมื นกิ จการแพทย์ องนครศร<br />

แผนจี นและโอสถสถานของครอบคร ี ธรรมราชอ<br />

ั ว เล ี้ยงหร ี ื กด้ อจ ั ดประชุ วย ม<br />

สถาปนิ กอนุ ัรกษ์ คุ คุ ณสุ ดาวรรณ พั นธุ์ ทอง<br />

ที ้ งอยู่ ในย่ ตั านท ่ าว ั งเช ่ นเดี ยวก ั บอาคารหล ั งนี้ นอกจาก<br />

ในกระบวนการอนุ บร ิ ษั ทดี ไซน์ โซน ิอนฟิ นิ ตี้ ํจาก<br />

ั ด ัรกษ์ ได้ เล การปร ื อกว ั บปรุ ิงฟื<br />

ีธนฟู การอนุ อาคารแล้ ว เจ้ าของอาคารยั ัรกษ์ งเชิ ี่ทญชวน<br />

สามารถร<br />

ยงคั ง ัทาวกษา<br />

ง เป<br />

ผู้ ครอบครอง คุ ณศร ี โรจน์ คุ ณสุ รศั ์ กดิ และ<br />

ชาวบ้ านใกล ้ เคี ยงร ่ วมกนท<br />

ํ าบุ ญบรณะทางเดิ นเทาท<br />

ตึ กแถวเก่ าไว ้ ได้ อย่ างน่ าช<br />

ยงคั คุ ณปราโมทย์ อนุ ตรเศรษฐ<br />

เชื่ อมต่ อจากว ั ดจั นทารามผ่ านด้ านข ้ างอาคารยงคั ง ท่ าว ั ง สถาปั ตยกรรมดั ้ งเดิ มเอาไว<br />

องค์ ง ประกอบส ทาว<br />

ั ง ํ าคั จั ญและว งหว ั ั สดุ ดนครศร<br />

ดั ้ งเดิ มไว ้ ได้ ี แม้ ธรรมราช<br />

่วาพื้ นท ี่ ภายในจะมี<br />

ปี่สร<br />

ท ้ าง พุ ทธศั กราช 2464<br />

มายั งท่ าเร ื อว ั ดจั นทารามซึ่ งเป็ นท่ าเร ื อขนถ่ ายสิ นค้ าสํ าคั ญ การออกแบบท<br />

ในอดี ตเพื่ อสนั บสนุ นการท ่ องเท ี่ยวย่ านท ่ าว ั ี กด้ วย อาคารหล<br />

การปร ั บการใช้ งานต่ างไปจากกิ จกรรมเดิ มของอาคาร อย่ างไรก็ ตาม<br />

ประว ั ติ ศาสตร<br />

ยงคั ง ่ทาว<br />

ั ง จั งหว ั ดนครศร ี ธรรมราช<br />

Type A: Honorable Mention<br />

ยงคั ง ท่ าว ั ง เป็ นอาคารก ่ ออ ิ ฐถ ื อป ู น 2 ้ชน ผั งพื้ นอาคาร เมื องเก่ านครศร<br />

ควรพิ จารณาเร ื่ องการส ื่ อความหมาย เป็ นร ู ปส ี่ เหล ี่ ยมผื นผ้ า กว ้ าง ไม่ 4.70 ให้ เมตร ยาว เก ิ 10.30 ดความเข<br />

เมตร หลาย ้33<br />

าใจผิ ๆ หล ั งในพื้ ดนท<br />

ูรปแบบสถาปั ตยกรรมแบบจ ี นผสมตะว ั นตก ผนั งอาคาร อาคารแทนการร ื้ อถอน<br />

เก ี่ ยวก ั บเร ่ องราวความเป็ นมาของอาคารหล ั งนี้ นอกจากนี้ ่สวน<br />

คํ าประกาศ<br />

ต่ อเติ มควรคํ านึ งถึ งความต่ อเนื่ องก ั บอาคารเดิ มด้ วย<br />

การอนุ ัรกษ์ อาคารแสดงให้ เห็ นถึ งความตั ้ งใจในการร ั กษาอาคาร คํ าประกาศ<br />

ให้ ยั งคงอยู่ ในสภาพเดิ มในภาพรวมได้ ดี ตั วอาคารยั งเป็ นส่ วนหนึ่ ง การอนุ ัรกษ์ อาคารแสดงให้ เห็ นถึ งความตั ้ งใจในการร ั กษาอาคาร<br />

ในการบอกเล ่ าประว ั ติ ศาสตร ์ ของเมื องนครศร ี ธรรมราชอ ี กด้ วย ให้ ยั งคงอยู่ ในสภาพเดิ มในภาพรวมได้ ดี ตั วอาคารยั งเป็ นส่ วนหนึ่ ง<br />

ในกระบวนการอนุ ัรกษ์ ได้ เล ื อกว ิ ีธการอนุ ัรกษ์ ี่ทสามารถร<br />

ั กษา ในการบอกเล ่ าประว ั ติ ศาสตร ์ ของเมื องนครศร ี ธรรมราชอ ี กด้ วย<br />

องค์ ประกอบส ํ าคั ญและว ั สดุ ดั ้ งเดิ มไว ้ ได้ แม้ ่วาพื้ นท ี่ ภายในจะมี ในกระบวนการอนุ ัรกษ์ ได้ เล ื อกว ิ ีธการอนุ ัรกษ์ ี่ทสามารถร<br />

ั กษา<br />

การปร ั บการใช้ งานต่ างไปจากกิ จกรรมเดิ มของอาคาร อย่ างไรก็ ตาม องค์ ประกอบส ํ าคั ญและว ั สดุ ดั ้ งเดิ มไว ้ ได้ แม้ ่วาพื้ นท ี่ ภายในจะมี<br />

ควรพิ จารณาเร ื่ องการส ื่ อความหมาย ไม่ ให้ เก ิ ดความเข ้ าใจผิ ด การปร ั บการใช้ งานต่ างไปจากกิ จกรรมเดิ มของอาคาร อย่ างไรก็ ตาม<br />

เก ี่ ยวก ั บเร ่ องราวความเป็ นมาของอาคารหล ั งนี้ นอกจากนี้ ่สวน<br />

ควรพิ จารณาเร ื่ องการส ื่ อความหมาย ไม่ ให้ เก ิ ดความเข ้ าใจผิ ด<br />

ต่ อเติ มควรคํ านึ งถึ งความต่ อเนื่ องก ั บอาคารเดิ มด้ วย<br />

เก ี่ ยวก ั บเร ่ องราวความเป็ นมาของอาคารหล ั งนี้ นอกจากนี้ ่สวน<br />

ต่ อเติ มควรคํ านึ งถึ งความต่ อเนื่ องก ั บอาคารเดิ มด้ วย<br />

็ นตั วอย่ างของการปร<br />

ื่ นชม สามารถร ั ก<br />

้ ได้ และส ่ วนต่<br />

ี่ เหมาะสมกลมกล ื นก ั บอาค<br />

ั งนี้ กลายเป็ นแหลงเร<br />

ี ยนร ู้ สาคั<br />

์ สถาปั ตยกรรม และการอนุ ร<br />

ี ธรรมราช รวมทั ้ งทํ าให้ เจ้ าข<br />

ี่ เห็ นถึ งคุ ณค่ าขอ<br />

คํ<br />

า<br />

กา<br />

ให้<br />

ใน<br />

ใน<br />

อง<br />

การ<br />

คว<br />

เก ี่ ย<br />

ต่ อ<br />

คำประกาศ<br />

การอนุรักษ์อาคารแสดงให้เห็นถึงความตั้งใจในการรักษาอาคารให้ยังคงอยู่<br />

ในสภาพเดิมในภาพรวมได้ดี ตัวอาคารยังเป็นส่วนหนึ่งในการบอก<br />

เล่าประวัติศาสตร์ของเมืองนครศรีธรรมราชอีกด้วย ในกระบวนการ<br />

อนุรักษ์ได้เลือกวิธีการอนุรักษ์ที่สามารถรักษาองค์ประกอบสําคัญและ<br />

วัสดุดั้งเดิมไว้ได้ แม้ว่าพื้นที่ภายในจะมีการปรับการใช้งานต่างไปจาก<br />

กิจกรรมเดิมของอาคาร อย่างไรก็ตามควรพิจารณาเรื่องการสื่อความ<br />

หมาย ไม่ให้เกิดความเข้าใจผิดเกี่ยวกับเรื่องราวความเป็นมาของอาคาร<br />

หลังนี้ นอกจากนี้ส่วนต่อเติมควรคํานึงถึงความต่อเนื่องกับอาคารเดิมด้วย


้<br />

์<br />

ึ<br />

ในเมื องเก่ าสงขลา อาคารที่ ได้ สร ้ างข ้ นใหม่ ่ชวยแก้ ปั ญหาในเร ื่ อง<br />

ุมมมอง รวมถึ งเก ิ ดพื้ นท ี่ ในการรองร ั บก ิ จกรรมสร ้ างสรรค์<br />

การออกแบบให้ กลมกลื นโดยไม่ ลอกเลี ยนแบบอาคารเก่ า ่ชวยสร<br />

้ าง<br />

บรรยากาศท ี่ ่สงเสร<br />

ิ มคุ ณค่ าของอาคารและพื้<br />

34<br />

<strong>ASA</strong> Architectural นท ี่ เมื องเก ่ าสงขลา Conservation Award <strong>2023</strong><br />

มี การส ื่ อความหมายผ่ านการนํ าเสนอร ่ องรอยเดิ ม ่รวมก<br />

ั บ<br />

การตกแต่ งด้ วยงานศิ ลปกรรมท ี่สอดคล ้ องก ั บองค์ ประกอบเดิ ม<br />

อย่ างไรก ็ ตามยั งมี ประเด็ นอยู่ บ้ างในส ่ วนของการอนุ ัรกษ์ อาคาร<br />

Type B: New Design in Conservation Context<br />

เก ่ า ี่ควรเล ท ื อกใช ้ ูปนขาวหมั กแบบดั ้ งเดิ ม และพิ จารณาถึ งความ<br />

เหมาะสมที่ จะไม่ ก่ อให้ เกิ ดความเข ้ าใจผิ ดว ่ าองค์ ประกอบที่ เพิ ่ มเติ ม<br />

ในอาคารเก ่ าเป็ นของแท<br />

Cafe’ Amazon<br />

Songkhla Old Town<br />

Songkhla<br />

คาเฟ่อเมซอน สาขาย่านเมืองเก่าสงขลา ตั้งอยู่ในย่านชุมชนเก้าห้อง<br />

เดิมเป็นตึกแถวให้เช่าของรองอํามาตย์ตรีขุนโภคาพิพัฒน์ (ฮวดเหลี่ยง<br />

โคนันทน์) ต้นตระกูลโคนันทน์ หลังจากนั้นอาคารอยู่ในสภาพทรุดโทรม<br />

ต่อมาคุณบัญชา พานิชพงศ์ และคุณจุไรรัตน์ ต้นตสุทธิกุล ผู้บริหาร<br />

ร้านคาเฟ่อเมซอน ในจังหวัดสงขลา ต้องการผลักดันให้ย่านเมืองเก่า<br />

สงขลาได้มีร้านขายเครื่องดื่มในรูปแบบอาคารอนุรักษ์ จนนําไปสู่<br />

การปรับปรุงฟื้นฟูอาคารในพุทธศักราช 2561 โดยโครงการได้มี<br />

การศึกษาเอกสารหลักฐานทางประวัติศาสตร์และสถาปัตยกรรม<br />

มีการจัดทํารูปแบบการออกแบบ และได้เข้าหารือกับคุณรังษี รัตนปราการ<br />

ภาคีคนรักเมืองเก่าสงขลา เพื่อกําหนดความเหมาะสมให้กลมกลืนกับ<br />

ย่านเมืองเก่าสงขลา การปรับปรุงฟื้นฟูอาคารและพื้นที่ แล้วเสร็จ<br />

ในพุทธศักราช 2563<br />

ที่ตั้ง :<br />

เลขที่ 14 ถนนหนองจิก ตําบลบ่อยาง<br />

อําเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา<br />

สถาปนิก / ผู้ออกแบบ :<br />

ไม่ปรากฏชื่อผู้ออกแบบ สันนิษฐานว่า<br />

ออกแบบและสร้างโดยช่างพื้นเมือง<br />

สถาปนิกอนุรักษ์ :<br />

นายชายแดน เสถียร และ นายวีรศักดิ<br />

เพ็ชรแสง บริษัท SPACE PLUS<br />

ARCHITECT CO.,LTD<br />

ผู้ครอบครอง :<br />

ทันตแพทย์ธีรนพ โคนันทน์ ดําเนินกิจการ<br />

Cafe’ Amazon โดย ห้างหุ้นส่วนจํากัด<br />

สงขลาโอลด์ทาวน์ คาเฟ่<br />

ปี ที่สร้าง:<br />

ไม่ปรากฏปี ที่สร้าง<br />

The preservation of old buildings and the design of new buildings<br />

in this project demonstrate the designer’s intention to<br />

develop an old town area in Songkhla by restoring a deteriorated<br />

building to give it a new life. The conservation process<br />

consists of analysing building styles and materials for design<br />

input. The original material was chosen to represent the area’s<br />

uniqueness, combined with new materials made to order<br />

according to traditional patterns and techniques. It is the<br />

restoration of local wisdom and a source of materials that are<br />

examples of building conservation in the old city of Songkhla.<br />

The newly built building solved the problem of visual perspective<br />

and created a space to support creative activities. The<br />

design to create harmony with the existing buildings without<br />

copying the old building helps create an atmosphere that<br />

promotes the value of the building and Songkhla’s old town<br />

area. The design also conveys meaning by presenting original<br />

traces in conjunction with the decoration with works of art in<br />

line with the original architectural elements. However, there<br />

are still some issues in preserving the old buildings, which<br />

should be used with traditional fermented lime and considering<br />

the appropriateness to avoid causing the misconception<br />

that the additional elements in the old building are<br />

original.<br />

คาเฟ่อเมซอน สาขาย่านเมืองเก่าสงขลา เป็นโครงการออกแบบ<br />

ปรับปรุงพื้นที่ในเมืองเก่า ในแปลงที่ดิน ที่ด้านหน้าเป็นตึกแถวเก่า<br />

ชั้นเดียว 2 คูหา รูปแบบสถาปัตยกรรมแบบจีน ผังพื้นเป็นรูปสี่เหลี่ยม<br />

ผืนผ้า ผนังอาคารเป็นผนังก่ออิฐรับน้ําหนัก โครงสร้างหลังคาเป็น<br />

ไม้ หลังคาเป็นทรงจั่ว มุงด้วยกระเบื้องกาบกล้วยดินเผาแบบจีน<br />

สันหลังคาโค้งมน มีส่วนชายคาอยู่ด้านหน้า ในการซ่อมแซมได้<br />

มุงกระเบื้องใหม่ทั้งหมด ช่องลมหลังคาเปลี่ยนจากช่องลมดินเผา<br />

เป็น GRC พ่นสีดินเผาเพื่อความคงทน มีการตกแต่งอาคารด้วย<br />

การใช้งานศิลปะ และภาพจิตรกรรม ที่นําเอาลวดลายมงคลตาม<br />

ความเชื่อ เช่น ลายประแจจีน นกกระเรียน เมฆ ลูกท้อ ดอกบัว ปลา<br />

และดอกโบตั๋น ที่หมายถึงความรุ่งเรือง ภายในอาคารเก่าซึ่งเดิม<br />

เคยมีชั้นลอยไม้ เลือกที่จะสื่อความหมายเป็นเพียงสัญลักษณ์ เพื่อให้<br />

มี space สูงโล่ง เหมาะกับการเป็นร้านกาแฟ พื้นที่ด้านหลังตึกแถว<br />

เป็นพื้นที่สีเขียว ลักษณะเป็นลานโล่ง มีสระน้ําเงาสะท้อน มีการนํา<br />

พื้นกระเบื้องดินเผาเดิมมาออกแบบใหม่บริเวณบ่อน้ําเดิม และมี<br />

ช่องประตูตรงผนังกําแพงอิฐเดิม ที่สามารถเดินผ่านไปยังอาคาร<br />

นิทรรศการ และประกอบพาณิชยกรรมข้างเคียงได้ ถัดจากลานโล่ง<br />

เป็นอาคาร 2 ชั้น สร้างขึ้นใหม่ โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กผสม<br />

โครงสร้างไม้ หลังคาทรงจั่ว ผังพื้นเป็นรูปตัวแอล (L) ใช้เป็นห้อง<br />

ประชุม ห้องน้ํา และส่วนบริการโครงการ และทําหน้าที่โอบล้อม<br />

บดบังอาคารสูงโดยรอบ และควบคุมมุมมองเพื่อเผยความงามของ<br />

ตึกแถวด้านหน้า<br />

คาเฟ่อเมซอน สาขาย่านเมืองเก่าสงขลา เป็นตัวอย่างของการปรับปรุง<br />

ฟื้นฟูและเปลี่ยนประโยชน์ใช้สอย (Adaptive Reuse) ที่สามารถ<br />

แสดงคุณค่าของสถาปัตยกรรมดั้งเดิมไว้ได้ และเหมาะสมต่อการ<br />

ใช้งานในปัจจุบัน ทําให้เป็นแหล่งเรียนรู้ที่สําคัญทางประวัติศาสตร์<br />

สถาปัตยกรรมให้แก่นักเรียน นักศึกษา คนในชุมชน และผู้ที่สนใจ<br />

รวมทั้งทําให้เจ้าของอาคารเก่าหลายหลังในพื้นที่เห็นถึงคุณค่าของ<br />

การอนุรักษ์อาคารแทนการรื้อถอน


ี<br />

้<br />

ดิ<br />

่<br />

่<br />

ุ<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

่<br />

่<br />

ดิ<br />

ู<br />

ั<br />

่<br />

่ี<br />

ี<br />

้<br />

ู่<br />

่<br />

ุ<br />

ี<br />

ึ<br />

ึ<br />

ี<br />

ึ<br />

ั<br />

ั<br />

่<br />

่<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

ั<br />

่<br />

ี<br />

้<br />

่<br />

ั<br />

้ื<br />

่ื<br />

่<br />

ในย่ านชมชนเก<br />

้ าห้ อง เดิ มเป็ นตึ กแถวให้ เชาของ<br />

รองอํ ามาตย์ ตร ี ุขนโภคาพิ พั ฒน์ (ฮวดเหล ี่ยง โคนั นทน์ )<br />

ต้ นตระกู ลโคนั นทน์ หลงจากนั<br />

้ นอาคารอยู่ ในสภาพ<br />

ทร ุ ดโทรม ต่ อมาคุ ณบั ญชา พานิ ชพงศ์ และคุ ณจ ุ ไรร ั ตน์<br />

ตั นตส ุ ทธ ิ กุ ล ผู้ บร ิ หารร Type ้ านคาเฟ่ B อเมซอน ในจ ั งหว ั ด<br />

สงขลา ต้ องการผล ั กดั นให้ ย่ านเมื องเก ่ าสงขลาได้ มี<br />

้รานขายเคร<br />

ื่ องดื่ มในร ู ปแบบอาคารอนุ ัรกษ์ จนนํ าไปส<br />

ตามความเชื่ อ เช่ น ลายประแจจี น นกกระเร ี ยน เมฆ ลู กท้ อ<br />

ดอกบั ว ปลา และดอกโบตั๋ น ี่ทหมายถ<br />

ึ งความร ุ่ งเร ื อง<br />

ภายในอาคารเก ่ าซ ่ งเดิ มเคยมี ้ชนลอยไม้ เล ื อกท ี่ จะส ื่ อ<br />

ความหมายเป็ นเพี ยงส ั ญล ั กษณ์ เพื่ อให้ มี space ูสงโล<br />

่ ง<br />

เหมาะก ั บการเป็ นร ้ านกาแฟ พื ้ นท ี่ ด้ านหล ั งตึ กแถวเป็ น<br />

35<br />

พื้ นท ี่ ีสเข<br />

ี ยว ัลกษณะเป็ นลานโล ่ ง มี สระนํ้ าเงาสะท ้ อน<br />

มี การนํ าพื้ นกระเบื้ องดิ นเผาเดิ มมาออกแบบใหม่ บร ิ เวณ<br />

การปร ั บปร ุ งฟื ้ นฟู อาคารในพุ ทธศั กราช 2561 โดย บ่ อนํ้ าเดิ ม และมี ่ชองประตู ตรงผนั งกํ าแพงอ ิ ฐเดิ ม<br />

โครงการได้ มี การศึ กษาเอกสารหลั คำประกาศ กฐานทางประว คาเฟ่ ั ติ ศาสตร์ อเมซอน ี่ทสามารถเดิ นผ่ านไปยั สาขาย่ งอาคารนิ ทรรศการและประกอบ านเมื องเกา<br />

และสถาปั ตยกรรม มี การจั ดทํ การอนุรักษ์อาคารเก่าและออกแบบอาคารใหม่ในโครงการนี้ ู ปแบบการออกแบบและ พาณิ ชยกรรมข ้ างเคี ยงได้ ัถดจากลานโล<br />

แสดงให้เห็น ่ งเป็ นอาคาร<br />

ได้ เข ้ าหาร ื อกั บคุ ณร ั งษี ัรตนปราการ ภาคี คนร ในย่ ั กเมื องเก่ านช า 2 มชนเก<br />

้ น ชั สร ้ างข ้ นใหม่ ้ าห้ โครงสร อง ้ างคอนกร เดิ ี ตเสร มเป็ ิ มเหล ็ กผสม<br />

ถึงความตั้งใจของผู้ออกแบบที่จะพัฒนาย่านเมืองเก่า ด้วยการปรับสภาพ<br />

นตึ ก<br />

ที ่ ง เลขท ตั ี่ 14 ถนนหนองจ ิ ก ตํ าบลบ่ อยาง<br />

สงขลา เพื่ อกํ าหนดความเหมาะสมให้ กลมกล ื นก ั บย่ าน โครงสร ้ างไม้ หล ั งคาทรงจ ั่ ว ผั งพื้ นเป ็ นร ู ปตั วแอล (L)<br />

อํ าเภอเมื องสงขลา ัจงหว<br />

ั ดสงขลา<br />

เมื องเกาสงขลา การปร ั บปร<br />

อาคารที่เสื่อมโทรมให้กลับมามีชีวิตชีวา<br />

ุ งฟื ้ นฟู อาคารและพื้ รองอํ นทามาตย์ ใช ้ เป็ นห้ องประช ตร กระบวนการอนุรักษ์ประกอบด้วย<br />

ี ุ ม ุขห้ องนํ้ นโภคาพิ า และส ่ วนบร ิ การโครงการ พั ฒน์ และ (ฮว<br />

สถาปนิ ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ื่อผู้ ออกแบบ<br />

แล ้ วเสร ็ จในพุ ทธศั กราช 2563 การวิเคราะห์รูปแบบ และวัสดุของอาคาร ทํ าหน้ าท ่ โอบล เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการออกแบบ<br />

้ อมบดบั งอาคารส ู งโดยรอบ และควบคุ ม<br />

ัสนนิ ษฐานว ่ าออกแบบและสร ้ างโดยช ่ างพื้ นเมื อง<br />

มีการเลือกใช้วัสดุเดิมที่แสดงถึงเอกลักษณ์ของพื้นที่ ต้ นตระกู ุมลโคนั มมองเพื่ อเผยความงามของตึ นทน์ ผสมผสานกับว หล กแถวด้ งจากนั านหน้ ัสดุ า นอาค<br />

สถาปนิ กอนุ ัรกษ์ นายชายแดน เสถ ี ยร และ<br />

คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่ านเมื องเก ่ าสงขลา เ ป็ น<br />

ใหม่ที่ได้สั่งผลิตตามรูปแบบ และเทคนิคดั้งเดิม นับเป็นการฟื้นฟูภูมิปัญญา<br />

นายว ี รศั กดิ์ เพ็ ชรแสง<br />

โครงการออกแบบปร ั บปร ุ งพื้ นที่ ในเมื องเก่ ทร าในแปลงที่ ุ ดโทรม ดิ น คาเฟ่ ต่ อมาคุ อเมซอน ณบั สาขาย่ ญชา านเมื องเก ่พานิ าสงขลา ชพงศ์ เ ป็ น<br />

บร ิ ษั ท SPACE PLUS ARCHITECT CO.,LTD<br />

ี่ทด้ านหน้ าเป็ นตึ กแถวเกาช<br />

ั้ ท้องถิ่น นเดี ยว และเป็นแหล่งรวมวัสดุที่เป็นตัวอย่างให้กับการอนุรักษ์อาคารใน<br />

2 คู หา รปแบบ<br />

วอย่ างของการปร ั บปร ุ งฟื ้ นฟู และเปล ี่ ยนประโยชน์<br />

ผู้ ครอบครอง ัทนตแพทย์ ีธรนพ โคนั นทน์<br />

สถาป ั ตยกรรมแบบจ ี น ผั งพื้ เมืองเก่าสงขลา นเป็ นร ู ปส ี่ เหล ี่ ยมผื<br />

ตั นตส อาคารที่ได้สร้างขึ้นใหม่ช่วยแก้ปัญหาในเรื่องมุมมอง นผ้ า ใช ้ สอย (Adaptive Reuse) ี่สามารถแสดงคุ ท<br />

ุ ทธ ิ กุ ล ผู้ บร ิ หารร ้ านคาเฟ่ รวมณค่ าของอเม<br />

ดํ าเนิ นก ิ จการ Cafe' Amazon โดย ห้ างหุ ้ นส ่ วนจํ าก ั ด ผนั งอาคารเป็ นผนั งก่ ออ ิ ฐร ั บนํ้ ถึงเกิดพื้นที่ในการรองรับกิจกรรมสร้างสรรค์ าหนั ก โครงสร ้ างหล ั งคา สถาปั ตยกรรมดั ้ งเดิ การออกแบบให้กลมกลืน<br />

มไว ้ ได้ และเหมาะสมต่ อการใช ้ งาน<br />

สงขลาโอลด์ ทาวน์ คาเฟ่<br />

เป็ นไม้ หล ั งคาเป็ นทรงจ ่ ว ุมงด้ วยกระเบื้ องกาบกล ้ ในปั จจ ุ บั น ทํ าให้ เป็ นแหล ่ งเร ี ยนร ู้ ี่ทสํ าคั ญทางประว ั ติ -<br />

โดยไม่ลอกเลียนแบบอาคารเก่าช่วยสร้างบรรยากาศที่ส่งเสริมคุณค่าของ<br />

สงขลา ต้ องการผล ั กดั นให้ ย่ านเมื อง<br />

ปี่สร<br />

ท ้ าง ไม่ ปรากฏปี ี่สร ท ้ าง<br />

นเผาแบบจ ี น สนหล<br />

ั งคาโค้ งมน มี สวนชายคาอยู่<br />

ศาสตร์ สถาปั ตยกรรมให้ แกนั กเร ี ยน นั กศึ กษา คน<br />

ด้ านหน้ า ในการซ ่ อมแซมได้ อาคารและพื้นที่เมืองเก่าสงขลา ุมงกระเบื้ องใหม่ ้ทงหมด<br />

ในช ุ มชนและผู้ มีการสื่อความหมายผ่านการนําเสนอ<br />

ี่ทสนใจ รวมท ้ งทํ าให้ เจ ้ าของอาคารเก ่ า<br />

่ชองลมหล<br />

ั งคาเปล ี่ ยนจากช ่ องลมดิ ร่องรอยเดิม นเผาเป็<br />

้รน ร่วมกับการตกแต่งด้วยงานศิลปกรรมที่สอดคล้องกับ<br />

านขายเคร<br />

GRC พ่ นส หลายหล<br />

ื่<br />

ัองดื่ งในพื้ นท ่<br />

มในร<br />

เห็ นถ ึ งคุ<br />

ู<br />

ณค่<br />

ปแบบอาคารอ<br />

าของการอนุ ัรกษ์ อาคาร<br />

ดิ นเผาเพื่ อความคงทน มี การตกแต่ งอาคารด้ วยการใช แทนการร ื้อถอน<br />

องค์ประกอบเดิม การปร อย่างไรก็ตามยังมีประเด็นในส่วนของการอนุรักษ์<br />

ั บปร ุ งฟื ้ นฟู อาคารในพุ ทธศั ก<br />

อาคารเก่า ที่ควรเลือกใช้ปูนขาวหมักแบบดั้งเดิม และพิจารณาถึงความ<br />

เหมาะสมที่จะไม่ก่อให้เกิดความเข้าใจผิดว่าองค์ประกอบที่เพิ่มเติมใน<br />

โครงการได้ มี การศึ กษาเอกสารหลั กฐาน<br />

อาคารเก่าเป็นของแท้<br />

และสถาปั ตยกรรม มี การจั ดทํ าร ู ปแบบ<br />

ได้ เข ้ าหาร ื อกั บคุ ณร ั งษี ัรางว<br />

รตนปราการ ั ลอนุ ั ร กษ์ ศิ ลปสถาป ั ตยกรรม<br />

ภ<br />

ลขท ตั ี่ 14 ถนนหนองจ ิ ก ตํ าบลบ่ อยาง<br />

สงขลา เพื่ อกํ าหนดความเหมาะสมให้<br />

เมื องสงขลา ัจงหว<br />

ั ดสงขลา<br />

คาเฟ่ อเมซอน เมื องเกสาขาย่ าสงขลา านเมื การปร องเกั าสงขลา บปร ุ งฟื ้ จั นฟู งหวอ<br />

ก | ผู้ ออกแบบ ไม่ ปรากฏช ื่อผู้ ออกแบบ<br />

แล ้ วเสร ็ จในพุ ทธศั กราช 2563<br />

คํ าประ<br />

านว ่ าออกแบบและสร ้ างโดยช ่ างพื้ นเมื อง<br />

กอนุ ัรกษ์ นายชายแดน เสถ ี ยร และ<br />

คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่ านเมื องเก<br />

ศั กดิ์ เพ็ ชรแสง<br />

โครงการออกแบบปร ั บปร ุ งพื้ นที่ ในเมื อ<br />

รางว ั ลอนุ ัรกษ์ ศิ ลปสถาปั ตยกรรมปี 2566<br />

SPACE PLUS ARCHITECT CO.,LTD<br />

ี่ทด้ านหน้ าเป็ นตึ กแถวเกาช<br />

ั้ นเดี<br />

บครอง ัทนตแพทย์ ีธรนพ โคนั นทน์<br />

สถาปั ตยกรรมแบบจ ี น ผั งพื้ นเป็ นร ู ป<br />

คาเฟ่ อเมซอน สาขาย่ านเมื องเกาสงขลา จั งหว ั ดสงขลา<br />

ิกจการ Cafe' Amazon โดย ห้ างหุ ้ นส ่ วนจํ าก ั ด ผนั งอาคารเป็ นผนั งก่ ออ ิ ฐร ั บนํ้ าหนั ก โ<br />

โอลด์ ทาวน์ คาเฟ่<br />

เป็ นไม้ หล ั งคาเป็ นทรงจ ่ ว ุมงด้ วยกร<br />

คํ าประกาศ<br />

ง ไม่ ปรากฏปี ี่สร ท ้ าง<br />

นเผาแบบจ ี น สนหล<br />

ั งคาโค้ งมน มี<br />

การอนุ ัรกษ์ อาคารเก่ าและออกแบบอาคารใหม่ ในโครงการนี้ แสดง<br />

ให้ เห็ นถึ งความตั<br />

ด้ านหน้<br />

้ งใจของผู้<br />

า ในการซ<br />

ออกแบบที่ จะพั<br />

่ อมแซมได้<br />

ฒนาย่ านเมื องเก่ า<br />

ุมด้ วย<br />

งกระเบ<br />

การปร ั บสภาพอาคารที่ เสื่ อมโทรมให้ กลั บมามี ีชิวตช<br />

ี วา กระบวนการ<br />

อนุ ัรกษ์ ประกอบด้ ่ชองลมหล<br />

วยการว ิั เคราะห์ งคาเปล ูรปแบบและว<br />

ี่ ยนจากช ั สดุ ของอาคารเพื่ ่ องลมดิ อ นเผ<br />

ใช ้ เป็ นข ้ อม ู ลในการออกแบบ มี การเล ื อกใช ้ ัวสดุ เดิ มท ่ แสดงถึ ง<br />

ดิ นเผาเพื่ อความคงทน มี การตกแต่ งอ<br />

เอกล ั กษณ์ ของพื้ นท ี่ ผสมผสานก ั บว ั สดุ ใหม่ ี่ทได้ ่สงผล<br />

ิ ตตาม<br />

ูรปแบบและเทคนิ คดั ้ งเดิ ม นั บเป็ นการฟื ้ นฟู ภู มิ ปั ญญาท ้ องถิ ่ น<br />

และเป็ นแหล ่ งรวมว ั สดุ ี่ทเป็ นตั วอย่ างให้ ักบการอนุ ัรกษ์ อาคาร<br />

ในเมื องเก่ าสงขลา อาคารที่ ได้ สร ้ างข ้ นใหม่ ่ชวยแก้ ปั ญหาในเร ื่ อง<br />

ุมมมอง รวมถึ งเก ิ ดพื้ นท ี่ ในการรองร ั บก ิ จกรรมสร ้ างสรรค์<br />

การออกแบบให้ กลมกลื นโดยไม่ ลอกเลี ยนแบบอาคารเก่ า ่ชวยสร<br />

้ าง<br />

บรรยากาศท ี่ ่สงเสร<br />

ิ มคุ ณค่ าของอาคารและพื้ นท ี่ เมื องเก ่ าสงขลา<br />

มี การส ื่ อความหมายผ่ านการนํ าเสนอร ่ องรอยเดิ ม ่รวมก<br />

ั บ<br />

การอนุ<br />

ให้ เห็ นถึ<br />

การปร ั<br />

อนุ ัรกษ์<br />

ใช<br />

ยว<br />

้ เป็ น้<br />

เอกล ั ก<br />

ูรปแบบ<br />

และเป็<br />

ในเมื อง<br />

ุมมมอ<br />

การออ<br />

บรรยา<br />

มี การส<br />

การตก<br />

อย่ างไร<br />

เก ่ า ี่ค ท<br />

เหมาะส<br />

ในอาค


่<br />

ี<br />

ย<br />

36<br />

นายร<br />

Type C: Outstanding Person or organization<br />

in architectural conservation<br />

ุ่ งโรจน์ เปยมย<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Conservation Award <strong>2023</strong><br />

Mr. Roongroj<br />

Paimyossak<br />

Chiang Mai<br />

Mr. Roongroj Paimyossak is a native of San Pa Tong in<br />

Chiang Mai who established the Lanna Ancient House<br />

Conservation Center. The organisation acts as a medium for<br />

exchanging knowledge among those involved in preserving<br />

vernacular architecture or ancient houses in San Pa Tong<br />

District, Chiang Mai, and nearby areas. Mr. Roongroj has<br />

devoted himself to site surveying, understanding people in the<br />

community, using art as an important tool, and inheriting the<br />

wisdom of artisans in Lanna to survive. His work also includes<br />

advocating for local policies and laws, creating a network,<br />

and causing support in terms of budget and personnel from<br />

both the public and private sectors to preserve the ancient<br />

houses and pass on the pride to the next generation.<br />

ศูนย์อนุรักษ์เรือนโบราณ โดยนายรุ่งโรจน์ เปี่ยมยศศักดิ์ จัดตั้งขึ้นเมื่อ<br />

พุทธศักราช 2550 มีวัตถุประสงค์เพื่อสํารวจและบันทึกข้อมูลเรือนโบราณ<br />

ในพื้นที่อําเภอสันป่าตอง และอําเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่ สนับสนุน<br />

และให้คําปรึกษาเจ้าของเรือนโบราณ อนุรักษ์เรือน สร้างเครือข่ายการ<br />

ทํางานอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นร่วมกัน ระหว่างศูนย์อนุรักษ์<br />

เฮือนโบราณ ภาครัฐ ภาคเอกชน ภาควิชาการ ภาคประชาสังคม และ<br />

เจ้าของเรือนโบราณ และเผยแพร่ข้อมูลสู่สาธารณชน ผ่านการจัด<br />

นิทรรศการ วิดีทัศน์ การสัมภาษณ์ การเสวนา การศึกษาเรียนรู้ชุมชน<br />

เรือนโบราณ และสื่อสังคมออนไลน์ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณ<br />

และบุคลากรจากหน่วยงานราชการ และหน่วยงานภาคการศึกษาในพื้นที่<br />

ในการดําเนินงานโครงการและกิจกรรมต่าง ๆ ร่วมกับชุมชน ส่วนงบ<br />

ประมาณในการปรับปรุงฟื้นฟูเรือนโบราณแต่ละหลังนั้นเป็นความรับ<br />

ผิดชอบของเจ้าของเรือน<br />

ศูนย์อนุรักษ์เรือนโบราณ โดยนายรุ่งโรจน์ เปี่ยมยศศักดิ์ สามารถผลัก<br />

ดันให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นขึ้นทะเบียนเรือนโบราณสันป่าตอง<br />

จํานวน 58 หลัง ที่มีคุณค่าทางด้านสังคม วัฒนธรรม และรูปแบบทาง<br />

สถาปัตยกรรม นอกจากนี้ยังสามารถทําให้เจ้าของเรือนโบราณหลาย<br />

หลังปรับปรุงฟื้นฟูเรือนเพื่อประโยชน์ใช้สอยสําหรับการพักอาศัย และ<br />

กลายมาเป็นแหล่งเรียนรู้สําหรับนักเรียน นักศึกษา และผู้ที่สนใจทั่วไป<br />

ตัวอย่างเช่น<br />

1. การอนุรักษ์เรือนโบราณของพ่ออุ้ยหนานสม และแม่อุ้ยปิมปา ไชยมณี<br />

บ้านแสน คันธา ตําบลทุ่งรวงทอง อําเภอแม่วาง จังหวัดเชียงใหม่<br />

2. การอนุรักษ์เรือนโบราณ บ้านฉางข้าวน้อยใต้ ตําบลป่าซาง อําเภอ<br />

ป่าซาง จังหวัดลําพูน โดยวิธีรื้อและย้ายมาประกอบขึ้นใหม่ ด้วยสล่า<br />

(ช่าง) พื้นเมืองที่มีความเชี่ยวชาญด้านงานไม้ ปัจจุบันเรือนโบราณ<br />

หลังนี้ตั้งอยู่ที่กาดก้อม กองเดียว ชุมชนวัดศรีนวรัฐ บ้านทุ่งเสี้ยว ตําบล<br />

บ้านกลาง อําเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่<br />

3. การอนุรักษ์เรือนโบราณแสนกุยมหาอินทร์ บ้านใหม่ม่วงก่อน ตําบล<br />

ยุหว่า อําเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่<br />

4. การอนุรักษ์เรือนโบราณของพ่ออุ้ยก๋องแก้ว และแม่อุ้ยนวล ปัญโญ<br />

บ้านดอนต้น ตําบลยุหว่า อําเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่<br />

5. การอนุรักษ์เรือนโบราณ กาดเวียงท่ากาน บ้านท่ากาน ตําบลบ้านกลาง<br />

อําเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่<br />

6. การอนุรักษ์เรือนโบราณบุญมี-วันดี บ้านกิ่วแลหลวง ตําบลยุหว่า<br />

อําเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่<br />

7. การอนุรักษ์เรือนโบราณของพ่ออุ้ยหนานทิม และแม่ปุ๋ยอํานวย โพธิ<br />

บ้านต้นเก็ด ตําบลทุ่งสะโตก อําเภอสันป่าตอง จังหวัดเชียงใหม่


ชอบ<br />

ี<br />

ื<br />

ุ<br />

ั<br />

่<br />

ู<br />

ค์ กร<br />

าทาง<br />

จ้ าของ<br />

ยและ<br />

ชน<br />

แสน<br />

Type C<br />

รจน์ เป ่ ยมยศศั กดิ์<br />

37<br />

ซาง<br />

งท ี่ มี<br />

เตี ยว<br />

ใหม่<br />

าเภอ<br />

นตั น<br />

าเภอ<br />

ตอง<br />

เก ็ ด<br />

กล ุ่ ม<br />

รรม<br />

นุ ัรกษ์<br />

เป ็ น<br />

มก ั น<br />

ราณ<br />

หลาน<br />

คํ<br />

าประกาศ<br />

นายร ุ่ งโรจน์ เปี ่ ยมยศศั กดิ ์ ชาวชมชนส<br />

ั นป่ าตอง ได้ กอตั<br />

้ ง<br />

ศู นย์ อนุ ัรกษ์ เฮ ื อนโบราณให้ เป็ นองค์ กรท ี่ ํทาหน้ าท ี่ เป็ นส ื่ อกลาง<br />

ในการแลกเปล ี่ ยนเร ี ยนร ู้ ระหว ่ างผู้ มี ่สวนเกี่ ยวข้ องกั บการอนุ ัรกษ์<br />

สถาปั ตยกรรมพื้ นถิ ่ น ประเภทเร ื อนโบราณในอ ํ าเภอส ั นป่ าตอง<br />

จั งหว ั ดเช ี ยงใหม่ และพื้ นที่ ใกล้ เคี ยง นายร ุ่ งโรจน์ ทุ่ มเทสรรพกํ าลั ง<br />

ในการลงพื้ นท ี่ ํสารวจ และท ํ าความเข้ าใจกบคนในช<br />

ุ มชนด้ วย<br />

การใช้ งานศิ ลปะเป็ นเคร ื่ องมื อส ํ าคั ญ รวมไปถึ งส ื บสานภู มิ ปั ญญา<br />

ศูนย์อนุรักษ์เรือนโบราณ โดยนายรุ่งโรจน์ เปี่ยมยศศักดิ์ เป็นตัวกลาง คำประกาศ<br />

ในการรวมกลุ่ม<br />

ของสล ่<br />

และแลกเปลี่ยนเรียนรู้<br />

าล้ านนาให้<br />

สําหรับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องใน<br />

คงอยู่ ได้ ผล ั กดั<br />

นายรุ่งโรจน์<br />

นนโยบายและกฎหมายท้<br />

เปี่ยมยศศักดิ์ ชาวชุมชนสันป่าตอง ได้ก่อตั้งศูนย์อนุรักษ์<br />

การอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรมพื้นถิ่นด้วยการมีส่วนร่วมในทุกขั้นตอน เฮือนโบราณ ให้เป็นองค์กรที่ทําหน้าที่เป็นสื่อกลางในการแลกเปลี่ยน<br />

องถิ ่ น<br />

ของการทํางาน โดยมีความมุ่งหวังให้การอนุรักษ์เรือนโบราณ และย่าน เรียนรู้ ระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมพื้นถิ่น<br />

ชุมชนเรือนโบราณที่ดําเนินงานมาตลอดระยะเวลา สร้ างภาคี เครอข<br />

่ าย 10 รวมถึ ปี เป็นส่วนหนึ่ง งท ํ ประเภทเรือนโบราณในอําเภอสันป่าตอง าให้<br />

ิ ดการสนั บสนุ จังหวัดเชียงใหม่ นในด้ และพื้นที่ าน<br />

ของนโยบายและกฎหมายท้องถิ่นที่มีระเบียบข้อบังคับ แนวทางปฏิบัติ ใกล้เคียง นายรุ่งโรจน์ทุ่มเทสรรพกําลังในการลงพื้นที่สํารวจ และทํา<br />

ร่วมกัน งบประมาณและบ<br />

และเกิดการสนับสนุนจากภาครัฐ ุ คลากรท<br />

ทั้งในด้านงบประมาณ ั้ งจากภาคร<br />

และ ความเข้าใจกับคนในชุมชน ั ฐและเอกชน ด้วยการใช้งานศิลปะเป็นเครื่องมือสําคัญ<br />

เพื่ อให้ เร ื อน<br />

บุคลากร เพื่อให้เรือนโบราณในพื้นที่เหล่านี้ยังสามารถใช้งานต่อไปได้ รวมไปถึงสืบสานภูมิปัญญาของสล่าล้านนาให้คงอยู่ได้ ผลักดันนโยบาย<br />

และส่งต่อความภาคภูมิใจไปยังรุ่นลูกรุ่นหลานต่อไป<br />

โบราณในพื้ นท ี่ ยั งคงอยู่ และส ่ และกฏหมายท้องถิ่น งต่ อความภาคภู สร้างภาคีเครือข่าย มิ รวมถึงทําให้เกิดการสนับสนุน<br />

ใจนั ้ นไปส ่ คน<br />

ในด้านงบประมาณและบุคลากรทั้งจากภาครัฐและเอกชน เพื่อให้เรือน<br />

ุ่รนต่ อไป<br />

โบราณในพื้นที่ยังคงอยู่ และส่งต่อความภาคภูมิใจนั้นไปสู่คนรุ่นต่อไป


38<br />

theme<br />

Time<br />

of<br />

Togetherness<br />

Architect Expo <strong>2023</strong> marks a significant milestone as it represents the<br />

inaugural collaboration among five esteemed professional associations.<br />

These associations include the Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage, the Thailand Interior Designers’ Association,<br />

the Thai Association of Landscape Architects, the Thai Urban Designers<br />

Association, and the Architect Council of Thailand. The entire work<br />

process exemplifies a collaborative approach that involves professionals<br />

from various fields and enables the exposition to serve as a platform<br />

where individuals from diverse professional backgrounds and interests<br />

can engage in discussions, pose questions, and seek answers and<br />

solutions. Moreover, it facilitates adaptation and the exploration of<br />

potential ways for everyone to derive mutual benefits from the process<br />

and collaborations.


01<br />

Key Visual ของธีมการจัด<br />

งาน 'ตำาถาด' ในปีนี้ 1


40<br />

theme<br />

งานสถาปนิก’66 เป็นครั้งแรกของการจัดงานร่วมกันของ<br />

5 องค์กรวิชาชีพ ประกอบไปด้วย สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย<br />

สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย<br />

และสภาสถาปนิก ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกระบวนการทำางานรูปแบบ<br />

ใหม่ที่แสดงให้เห็นถึงแนวคิดการทำางานร่วมกันของทุก<br />

แขนงวิชาชีพ โดยเป็นเวทีสำาหรับการนำาผู้คนมารวมตัวกัน<br />

เพื่อพูดคุย ตั้งคำาถาม ช่วยกันหาคำาตอบ และปรับเปลี่ยน<br />

คุณลักษณะหรือวิธีการทำางานที่เอื้อเฟื้อประโยชน์ซึ่งกัน<br />

และกัน<br />

สำาหรับการรวมตัวกันในวาระพิเศษนี้ ทางคณะผู้จัดงานซึ่ง<br />

มีประธานการจัดงานร่วมกันจากทั้ง 5 องค์กรได้เลือกหัวข้อ<br />

ในการนำาเสนองานที่แสดงออกถึงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม<br />

และสังคมของคนไทย คือ วัฒนธรรมด้านอาหาร เมื่อเรา<br />

พบปะสังสรรค์กันนั้นคนไทยมักจะรับประทานอาหารร่วมกัน<br />

มรดกทางวัฒนธรรมและความชื่นชอบทางด้านอาหารไทย<br />

มีความหลากหลาย และอาหารไทยที่คนไทยและผู้คนทั่วโลก<br />

ชื่นชอบมากที่สุดอย่างหนึ่ง คือ ส้มตำา จึงเป็นที่มาของธีม<br />

การจัดงานในปีนี้ในชื่อ “ตำาถาด: Time of Togetherness”<br />

เปรียบได้กับการคลุกเคล้าวัตถุดิบและส่วนผสมที่หลากหลาย<br />

ไว้ในตำาถาด ซึ่งเป็นพื้นที่ และช่วงเวลาที่ได้นั่งชิมและลิ้มลอง<br />

รสชาติแห่งความนัวไปอย่างสนุกสนานพร้อม ๆ กัน<br />

ทีมนักออกแบบผู้รับหน้าที่สร้างสรรค์ Key Visual ของงาน<br />

คือ InFO ทีมออกแบบกราฟิกภายใต้ร่มใหญ่ของ “Integrated<br />

Field” หรือ “IF” ทางทีม InFO สามารถตีความ Concept<br />

ออกมาได้อย่างสร้างสรรค์ โดยพยายามดึงเอาจุดเด่นและ<br />

ความนัวของตำาถาดเพื่อสื่อออกมาเป็น Key Visual ด้วย<br />

การใช้ภาพของตำาถาดแล้วใช้องค์ประกอบของงานออกแบบ<br />

ของทุก ๆ สมาคม เช่น ประตูหน้าต่าง หลังคา เฟอร์นิเจอร์<br />

ต้นไม้ สะพาน ไฟจราจร และอื่น ๆ มาแทนที่วัตถุดิบของ<br />

ตำาถาด คละเคล้ารวมกันให้เกิดความนัว ที่ในภาษาอีสาน<br />

จะแปลว่า อร่อยกลมกล่อม หรืออาจแปลว่า ยุ่ง พัวพัน นัวเนีย<br />

ก็ได้ แล้วใช้ถาดเป็นเหมือนตัวแทนของสภาสถาปนิกที่มา<br />

โอบรับทุกสมาคม เกิดเป็น ‘สถาปัตยกรรมรสนัว’ ขึ้น<br />

นอกจากนี้ทาง InFO ยังอยากที่จะเพิ่มรสชาติของความสนุก<br />

เข้าไปในความนัว ด้วยการเลือกออกแบบ Element เป็น<br />

ภาพ 3D ที่สื่อถึง Space ในงานสถาปัตยกรรม แถมยัง<br />

คลุกเคล้าให้กลมกล่อมยิ่งกว่าเดิมด้วย Motion Graphics<br />

ที่กำาลังลอยกระจัดกระจายขึ้นมาจากถาด ดูรวม ๆ แล้ว<br />

ทำาให้สัมผัสถึงความสนุกสนานที่ชวนให้มาลิ้มลอง การเลือก<br />

สีให้ Key Visual เป็นอีกหนึ่งจุดเด่นที่ต้องการออกแบบ<br />

ให้สอดรับกับความนัวของรสตำาถาด และผลักดันให้ Key<br />

Element โดดเด่นเด้งออกมาจากถาด จากการทดลองลอง<br />

In light of this important endeavor, the steering committee,<br />

consisting of five co-chairpersons representing the aforementioned<br />

associations, reached a consensus on the<br />

theme that best embodies the cultural and social identity<br />

of Thailand: the food culture. In Thai culture, it is customary<br />

for individuals to come together and socialize during a<br />

shared dining experience. While the cultural heritage and<br />

enthusiasm for Thai cuisine itself are remarkably diverse,<br />

the dish, somtam holds a prominent position, being widely<br />

adored by both Thais and people from various parts of the<br />

globe. The theme of this year's expo, 'Tam Thad: Time of<br />

Togetherness,' drew inspiration from this iconic dish (Tam<br />

Thad is a type of somtam comprising various ingredients).<br />

It is a metaphorical representation of various elements<br />

and flavors combined into a single dish, symbolizing<br />

the expo's purpose as a space and opportunity for individuals<br />

to come together, have a taste of the delightful<br />

array of flavors of Tam Thad, and enjoy the wonderfully<br />

shared experiences.<br />

The graphic design unit responsible for creating the key<br />

visuals for the event is InFo, which operates under the<br />

design office "Integrated Field," or "IF." The creative interpretation<br />

by the InFo team focused on capturing the unique<br />

characters and flavors of Tam Thad with a design that<br />

incorporated these elements into the key visuals, drawing<br />

inspiration from the imagery commonly associated with<br />

the dish. The elements that signify the five professional<br />

associations, such as doors and windows, roofs, furniture,<br />

trees, bridges, and traffic lights, serve as figurative portrayals<br />

of the ingredients found in Tam Thad. The various<br />

components were put together, resulting in the creation of<br />

a distinct flavor known as 'nua' (a term derived from the<br />

dialects of the northeastern or Esan region, which can be<br />

understood as "savory deliciousness" or the state of being<br />

mixed and intertwined). The term 'thad' or 'tray' in Thai<br />

represents the Architect Council of Thailand's function<br />

as a container that accommodates the five professional<br />

associations, facilitating the creation of ‘flavorful’ works<br />

of architecture.<br />

The InFo team also aimed to incorporate fun elements<br />

into the design by creating 3D elements that effectively<br />

expressed the existence and significance of architectural<br />

spaces. Motion graphics added an additional layer of<br />

appeal, enticing users to engage with their delightful blend<br />

of elements. The selection of colors for the key visual<br />

served as an extra component that enhanced the harmonious<br />

blend of flavors, effectively complementing the<br />

key ingredients and allowing them to stand out. The utilization<br />

of holographic colors, which reflect unpredictable<br />

iridescent shades, was achieved through a process of<br />

experimentation and refinement. The multiple shades<br />

the colors create align with the concept of the Time of<br />

Togetherness and the diverse flavors found in Tam Thad.<br />

The event features several key exhibitions and activities.<br />

"Time of Togetherness" brought together five design professions,<br />

fostering critical discussions and questions aimed<br />

at benefiting both the professions themselves and society


TIME OF TOGETHERNESS<br />

41<br />

02<br />

ส่วนของสถาปนิกอาสา<br />

2<br />

หลาย ๆ แนวทางแล้วจึงเลือกใช้ สีเหลือบที่ไม่สามารถ<br />

คาดเดาสีได้ ให้ความรู้สึกนัว ๆ ไม่ได้เป็นสีใดสีหนึ่ง และ<br />

ไหลไปกับแนวคิดของตำาถาดได้ดีส่วนของนิทรรศการและ<br />

กิจกรรมที่สำาคัญภายในงาน ประกอบด้วย ส่วนนิทรรศการ<br />

Time of Togetherness การรวมกันของวิชาชีพ ที่ก่อให้เกิด<br />

การพูดคุย ตั้งคำาถามและช่วยกันหาคำาตอบเพื่อสิ่งที่เป็น<br />

ประโยชน์ต่อวงการวิชาชีพและสังคม โดยรวมทั้งปัจจุบัน<br />

และอนาคตเช่นเรื่องของความยั่งยืนที่ทุกคนจะต้องตระหนัก<br />

และพูดถึงกันทุกวันโดยการจัดแสดงผ่านสื่อตัวกราฟฟิก<br />

Key Visual หลักของงาน และวัสดุปิดผิวที่มีนวัตกรรมผ่าน<br />

กระบวนการด้านความยั่งยืน ส่วนของนิทรรศการ ALL<br />

MEMBER : Design Showcase พื้นที่จัดแสดงผลงานของ<br />

สมาชิกทั้งจากสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย สมาคมภูมิสถาปนิก<br />

ประเทศไทย สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย โดยรวบรวม<br />

ผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมทั้งที่ผ่านการสร้างจริงแล้ว<br />

และนำาเสนอแนวคิดที่น่าสนใจพร้อมจัดแสดงโมเดลหรือหุ่น<br />

จำาลองอาคารไว้ให้เดินชมใกล้ ๆ เพื่อเก็บรายละเอียดแบบ<br />

360 องศา<br />

จุดเด่นของงานสถาปนิก’66 คือ Thematic Pavilion พื้นที่<br />

จัดแสดงงานที่ออกแบบร่วมกันของแบรนด์วัสดุก่อสร้างและ<br />

สถาปนิก ที่ไม่ใช่แค่การจัดแสดงผลิตภัณฑ์เฉย ๆ แต่คือ<br />

การทำางานร่วมกันกับนักออกแบบ ซึ่งก็เป็นจุดเริ่มต้นที่นำ าไปสู่<br />

as a whole. The discussions revolved around current and<br />

future concerns, particularly regarding sustainability,<br />

and raising awareness and active participation among<br />

designers and the general public to engage in constructive<br />

dialogues surrounding the issue. The exhibition was<br />

showcased by utilizing the key visuals of the event and<br />

incorporating innovative and sustainable materials. "All<br />

Member: Design Showcase"was another featured exhibition<br />

of the expo, which presented conceptual and completed<br />

works by the fellow members of the participating<br />

professional associations, including the Association of<br />

Siamese Architects under Royal Patronage, the Thailand<br />

Interior Designers' Association, the Thai Association of<br />

Landscape Architects, and the Thai Urban Designers<br />

Association. The exhibited works were presented in the<br />

form of models, allowing viewers to thoroughly examine<br />

the intricate details from every angle, providing a comprehensive<br />

360-degree experience.<br />

Thematic pavilions, which served as platforms for collaborations<br />

between building construction brands and<br />

architecture studios, were one of the highlights of the<br />

Architect Expo <strong>2023</strong>. These pavilions went beyond the<br />

traditional concept of product exhibition booths, as they<br />

fostered collaborative efforts that sparked extensive, profound,<br />

and diverse conversations. The collaborations<br />

involved the brands' expertise in creating new innovations,<br />

which the design firms then interpreted and used to produce<br />

distinctive design concepts and creations. Thematic<br />

Pavilions represent the potential and innovative applications<br />

of building materials, showcasing aesthetics and<br />

functions that go beyond existingconventions.


42<br />

theme<br />

“The theme of this year's expo drew inspiration from<br />

the Thai iconic dish, a metaphorical representation of<br />

various elements and flavors combined into a single<br />

dish. It symbolized the expo's purpose as a space and<br />

opportunity for individuals to come together, have a<br />

taste of the delightful array of flavors, and enjoy the<br />

wonderfully shared experiences.”<br />

บทสนทนาที่มากขึ้น โดยเป็นการผสานความสามารถใน<br />

การพัฒนานวัตกรรมเข้ากับการตีความนวัตกรรมเหล่านั้น<br />

ตามสไตล์ต่าง ๆ ออกมาเป็นแนวคิดและงานออกแบบด้วย<br />

Thematic Pavilion จึงเป็นทั้งการจัดแสดงที่โชว์ศักยภาพ<br />

ของวัสดุผ่านการใช้งานในรูปแบบที่ใหม่ แปลก แตกต่าง<br />

ไปจากการใช้งานเดิม ๆ ทั่วไป และเป็นทั้งการจัดแสดงที่<br />

สร้างประสบการณ์ผ่านองค์ประกอบต่าง ๆ ที่รวมกันสร้าง<br />

บรรยากาศในพื้นที่ขนาดใหญ่ โดยภายในงานปีนี้มี 4<br />

Thematic Pavilion โดยมีแบรนด์ไม้สัก WoodDen กับ PAVA<br />

architects ส่วนพื้นที่ร่วมระหว่าง VG และ TOA ที่มี Hypothesis<br />

เป็นผู้ออกแบบ อีกหนึ่งคู่คือ EMPOWER STEEL ที่<br />

เปิดตัวครั้งแรกกับ Thematic Pavilion ในงานสถาปนิก<br />

จับคู่กับ ACA Architects และคู่สุดท้ายการร่วมมือของบริษัท<br />

Thaikoon steel group และ Thai premium pipe กับ<br />

นักออกแบบจาก Context Studio จากแนวคิดเรื่อง Human<br />

Interaction ของผู้จัดงาน ยังนำามาสู่สู่แพลตฟอร์มความรู้<br />

รูปแบบใหม่ในกิจกรรม Human Library: Let’s talk and<br />

share เป็นกิจกรรมใหม่ในงานสถาปนิก’66 ที่เปิดโอกาส<br />

ให้ผู้มีประสบการณ์จากต่างแวดวงวิชาชีพและแนวทาง<br />

การทำางาน มาถ่ายทอดเรื่องราว ในบรรยากาศแบบงาน<br />

สังสรรค์ โดย Human Library มีเหล่า ‘ห้องสมุดมนุษย์’<br />

สลับมาแลกเปลี่ยนความรู้ ประสบการณ์จากเหตุการณ์ต่างๆ<br />

ในชีวิต ที่ตกผลึกแล้ว มาเล่าสู่กันฟังเป็นกลุ่มย่อยหรือเป็น<br />

คู่สนทนา ในหัวข้อที่ผู้พูดอยากพูดหรือรู้สึกสบายใจที่จะ<br />

ร่วมแลกเปลี่ยน โดยแนวความคิดจะสอดคล้องกับ "Don’t<br />

judge a book by a cover"<br />

สำาหรับ สภาสถาปนิก หรือ Architect Council of Thailand<br />

(ACT) ในฐานะที่เปรียบเสมือน ‘ถาด’ ที่ทั้ง 4 สมาคมอยู่<br />

ภายใต้ร่มของสภาวิชาชีพและต้องทำางานร่วมกัน จัดกิจกรรม<br />

ภายในพื้นที่แสดงงานด้วยแนวคิดแบบ “One Stop Shop”<br />

ที่ผู้เข้าชมได้ครบในที่เดียวทั้ง ACT Shop จัดจำ าหน่ายหนังสือ<br />

The pavilions offer diverse user experiences by combining<br />

elements and curating environments within the<br />

expo's expansive spaces. This year's event featured<br />

four pavilions, each representing a unique collaboration<br />

between renowned architects and design teams. The first<br />

pavilion was a joint effort between WoodDen and PAVA<br />

architects. The second pavilion was a collaborative<br />

space created by VG and TOA with the design team<br />

from Hypothesis. Meanwhile, EMPOWER STEEL presented<br />

their debut thematic pavilion, working alongside<br />

ACA Architects.Lastly, the partnership between Thaikoon<br />

Steel Group, Thai Premium Pipe, and Context Studio<br />

resulted in the birth of the fourth pavilion.<br />

The emergence of the Human Library: Let's Talk and Share,<br />

a novel educational platform, was inspired by the notion<br />

of human interactions. This platform was introduced as<br />

a new activity at Architect Expo<strong>2023</strong> with the aim of inviting<br />

individuals from diverse professional backgrounds and<br />

experiences to share their unique approaches and<br />

stories. The atmosphere of this gathering was deliberately<br />

designed to be casual, encouraging a relaxed and enjoyable<br />

environment among participants. The Human Library<br />

initiative facilitated the gathering of individuals who possess<br />

valuable knowledge and experiences. These individuals<br />

engaged in meaningful discussions and exchanged<br />

their insights, well-articulated ideas, and personal anecdotes.<br />

The interactions took place in small group settings<br />

or through one-on-one dialogues, focusing on topics that<br />

the speakers were willing to discuss or felt comfortable<br />

sharing. The concept of the HUMAN LIBRARY aligns with<br />

the well-known saying, "Don't judge a book by its cover."<br />

The Architect Council of Thailand (ACT) serves as the<br />

overarching body that facilitates the coexistence and<br />

collaboration of the four associations. ACT organized<br />

the 'One Stop Shop' event, which offered a convenient<br />

location for visitors to access different kinds of experiences,<br />

from the ACT Shop, where publications and<br />

souvenirs were available for purchase, to the ACT Service,


TIME OF TOGETHERNESS<br />

43<br />

3<br />

6<br />

4<br />

03<br />

ส่วนจัดแสดงผลงานจาก<br />

การจัดประกวดแบบ<br />

นานาชาติ: Not Only<br />

Human<br />

04,06-07<br />

ส่วนของ All member:<br />

Design Showcase<br />

05<br />

ส่วนจัดแสดงนิทรรศกลาง:<br />

ตำาถาด<br />

5<br />

7


44<br />

theme<br />

10<br />

ส่วนจัดแสดงผลงาน<br />

TOY ARCH/CDAST<br />

11-12<br />

ส่วนจัดแสดงงานของ<br />

TIDA<br />

8<br />

08<br />

ส่วน All Member<br />

09<br />

ส่วนจัดแสดงงานของ<br />

TIDA<br />

9<br />

11<br />

10<br />

12


TIME OF TOGETHERNESS<br />

45<br />

และของที่ระลึก ส่วน ACT Service ให้ข้อมูลและเปิดให้<br />

ลงทะเบียนต่ออายุใบอนุญาต ส่วนของสถาปนิกอาสา บริการ<br />

ให้คำาปรึกษางานออกแบบโดยสถาปนิกอาชีพทั้ง 4 สาขา<br />

วิชาชีพ ด้วยความเป็นกันเองและเข้าถึงได้มากขึ้น รวมทั้ง<br />

การจัด ACT Forum ที่เชิญ Keynote Speakers จากไทย<br />

และนานาชาติ มาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์ทำางาน<br />

พื้นที่การจัดแสดงของ TUDA มีประเด็นหลัก ๆ ที่ต้องการเล่า<br />

คือการพัฒนาเมือง ทั้งในแง่ปัญหา เช่น ปัญหาเรื่องน้ำา เรื่อง<br />

สิ่งแวดล้อม และโอกาสในการแก้ไขพัฒนา รวมถึงอุปสรรค<br />

โดยสถาปนิกผังเมืองไม่ได้มีหน้าที่สร้างคำาตอบสำาเร็จรูป แต่<br />

ช่วยจินตนาการเรื่องเกี่ยวข้องกับเมือง การนำาเสนอพื้นที่<br />

จัดแสดงงานผ่านแนวคิด แซบ - เมือง - หมู่ - คัก - ม่วน<br />

ที่ซุ้ม TUDA พร้อมโซนกิจกรรมมากมาย ได้แก่ TUDA ZEB<br />

(แซบ) โซนจัดแสดงผลงานวิทยานิพนธ์ และผลงานออกแบบ<br />

และการศึกษาวิจัยจากสถาบันการศึกษา TUDA X Muang<br />

(เมือง) โซนจัดแสดงผลงานการประกวดแบบเมืองพัทยา<br />

และเมืองอื่นๆ ที่ TUDA ร่วมเป็นเจ้าภาพในการจัดกิจกรรม<br />

การพัฒนาเมือง ส่วน TUDA X Mhu (หมู่) หรือ TUDA and<br />

Friends โซนจัดแสดงงานของหน่วยงาน บริษัทที่มีผลงาน<br />

โดดเด่นด้านการออกแบบและพัฒนาเมือง TUDA Khak (คัก)<br />

โชว์เคส โชว์คัก ผลงานการออกแบบเมือง ที่เป็นผลงาน<br />

ของสมาชิก และ TUDA Muan (ม่วน) โซนพื้นที่ให้สมาชิก<br />

ได้พัก นั่งพูดคุย และจัดเสวนา<br />

สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย Thai Association of<br />

Landscape Architects: TALA นำาเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับงาน<br />

ของภูมิสถาปนิกที่สำาคัญของเมืองไทยและภูมิภาค ซึ่งเป็น<br />

โอกาสดีที่จะให้ผู้เข้าชมเข้าใจภาพรวมของวิชาชีพมากขึ้น<br />

โดย TALA ยังได้เตรียมพื้นที่ห้องเรียน Tala Classroom<br />

นิทรรศการและพื้นที่สัมมนาวิชาการร่วมกับวิทยากร และ<br />

ภาคีวิชาชีพต่าง ๆ ในหัวข้อที่น่าสนใจ รวมทั้ง TALA PARK<br />

NETWORK MAP จัดแสดงผลงานโครงสร้างพื้นที่สีเขียว<br />

ในเมืองกรุงเทพมหานคร ณ ปัจจุบันและในอนาคต ส่วน<br />

ของกระดานแสดงผลงาน TALA ‘What If’ Sketch เพื่อจัด<br />

แสดงผลงาน แนวความคิด และจินตนาการ ของผู้ประกอบ<br />

วิชาชีพนักศึกษาทางด้านภูมิสถาปัตยกรรม ที่มีต่อพื้นที่<br />

สาธารณะภายในเมือง ส่วน TALA SHOP & SERVICES<br />

พื้นที่จำาหน่ายหนังสือและของที่ระลึก หนังสือวิชาการจาก<br />

สถาบันการศึกษา และประชาสัมพันธ์ข้อมูลต่างๆ ของ<br />

สมาคมฯ การออกแบบส่วนพื้นที่ของซุ้ม TALA Salad Bar<br />

เป็นพื้นที่สำาหรับกิจกรรม Workshop ต่างๆ ที่จะจัดขึ้น<br />

ภายในงาน อย่างการจัดสวนถาด ในภาพรวมของพื้นที่จึง<br />

เป็นเสมือน Pocket park ในหมู่บ้าน ที่ทุกคนมานั่งพัก นั่งคุย<br />

นั่งเล่น นั่งฟัง ในรูปแบบอารีน่า ที่นำาเสนอประเด็นเกี่ยวกับ<br />

ภูมิสถาปนิก พร้อมกิจกรรมสนุก ๆ ร่วมกัน<br />

which provided information and facilitated permit extension<br />

registrations. Moreover, volunteer architects from all<br />

four architectural professions were present to offer free<br />

consultations in a relaxed and easily accessible setting.<br />

The ACT-hosted ACT Forum also had the privilege of<br />

welcoming esteemed keynote speakers from Thailand<br />

and abroad, who graciously shared their valuable professional<br />

experiences with the audience.<br />

The exhibition space at TUDA showcased the primary<br />

concerns related to urban development, from water<br />

management to environmental issues, as well as opportunities<br />

for problem-solving and improvement. It also<br />

provided insights into strategies for addressing challenges<br />

and overcoming obstacles. TUDA has emphasized the<br />

role of urban architects in going beyond the mere provision<br />

of pre-determined solutions and instead focusing on<br />

their ability to envision and shape the future of cities and<br />

urban developments. The TUDA exhibition, themed 'ZEB-<br />

Muang-Mhu-Khak,' featured a variety of activity zones.<br />

TUDA ZEB exhibited the graduation projects of students,<br />

along with design and research projects by students from<br />

various educational institutions. The exhibition at TUD<br />

X Muang presented the works from the urban design<br />

competition organized by TUDA for the city of Pattaya,<br />

along with other urban areas. TUDA X Mhu, or TUDA and<br />

Friends, brought about a collection of distinctive urban<br />

design and development projects by various organizations<br />

and companies. TUDA Khak is a platform that<br />

showcases urban design projects by fellow members of<br />

TUDA, while TUDA Muan serves as a recreational zone<br />

for both TUDA members and visitors, providing a space<br />

for individuals to sit, engage in conversations, and participate<br />

in organized talk sessions.<br />

The Thai Association of Landscape Architects (TALA)<br />

highlighted several significant contributions and achievements<br />

in the field of landscape architecture within Thailand<br />

and the Southeast Asia region. Its exhibition provided<br />

viewers with a valuable opportunity to further their understanding<br />

of the landscape architecture profession. TALA<br />

has also curated the Tala Classroom, which serves as<br />

a venue for hosting exhibitions and academic seminars.<br />

These events featured highly regarded speakers and<br />

practitioners from various professional associations who<br />

shared their perspectives and insights on a wide range<br />

of interesting topics. The TALA Park Network Map showcased<br />

Bangkok's current and future green space infrastructure,<br />

while the TALA 'What If' Sketch displayed the<br />

creative works, concepts, and visions for urban public<br />

spaces by landscape architecture students. At TALA<br />

SHOP & SERVICES, visitors were able to explore a wide<br />

range of products, including publications, souvenirs, and<br />

academic textbooks, some of which have been published<br />

by esteemed educational institutes. Also available in this<br />

zone was valuable information about The Thai Association<br />

of Landscape Architects. The TALA Salad Bar was specifically<br />

designed to offer a space for hosting workshops<br />

and various activities, such as DIY miniature gardens.<br />

The arena-like space, intended to resemble a pocket


46<br />

ส่วนพื้นที่ของสมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย Thailand<br />

Interior Designers’ Association: TIDA เป็นเสมือนขนม<br />

”รวมมิตร” ที่มี TIDA Lounge พื้นที่ส่วนบริการให้นั่ง<br />

พักเหนื่อยและบริการไอติมแท่งรวมมิตร รวมถึงส่วนจัด<br />

จำาหน่ายของที่ระลึก ในส่วนของ TIDA Salone โดยคัดสรร<br />

สถาปนิกออกแบบตกแต่งภายในมาร่วมจัดแสดงผลงาน<br />

เป็น Designer Showcase และการจัดแสดง TIDA Thesis<br />

Awards ซึ่งเป็นการประกวดผลงานวิทยานิพนธ์ของนิสิต<br />

นักศึกษาโดยทางมหาวิทยาลัยเป็นผู้ส่งผลงานเข้าร่วม รวม<br />

ทั้งรางวัลสำาหรับมืออาชีพอย่าง TIDA Awards ซึ่งมีด้วยกัน<br />

หลายหมวดหมู่ เป็นรางวัลที่ตัดสินโดยกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

ในวิชาชีพสถาปัตยกรรมภายในรวมถึงจากสาขาอื่นๆด้วย<br />

นอกจากนี้สำาหรับคนทั่วไป TIDA จัดกิจกรรม TIDA Talk<br />

ให้ผู้ที่สนใจได้ฟังเรื่องผลงานการออกแบบภายใน เรื่องมุม<br />

มองหรือวิธีดำาเนินการที่น่าสนใจ ในโซน TIDA SOCIETY<br />

และ สัมมนาทางวิชาการสำาหรับนักออกแบบที่เป็นประเด็น<br />

เฉพาะอีกด้วย<br />

ภายในบริเวณงานยังมีการจัดแสดงนิทรรศการผลงานวิชาการ<br />

และวิชาชีพที่น่าสนใจ ไม่ว่าจะเป็น <strong>ASA</strong> Experimental<br />

Design Competition : Not Only Human จัดแสดงผลงาน<br />

ผู้ได้รับรางวัลการออกแบบระดับนานาชาติ หรือนิทรรศการ<br />

รางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรมประจำาปี 2566<br />

นำาเสนอผลงานที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม<br />

ที่คัดเลือกโดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ส่วนของ <strong>ASA</strong> VERNADOC นิทรรศการ นำาเสนอผลการ<br />

เก็บข้อมูลอาคารที่ทรงคุณค่าของบ้านห้วยทรายเหนือ อ. ชะอำ า<br />

จ.เพชรบุรี ด้วยวิธี VERNADOC รวมถึงนิทรรศการผลงาน<br />

นักศึกษาสถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบจากสถาบัน<br />

การศึกษาทั่วประเทศ ประกอบด้วย การประกวดวิทยานิพนธ์<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ดีเด่นแห่งปี Thesis of the Year in<br />

Architecture Award 2022 (TOYARCH 2022)<br />

ส่วนนิทรรศการใหม่อย่าง <strong>ASA</strong> Platform Selected Materials<br />

<strong>2023</strong> โครงการคัดเลือกวัสดุและผลิตภัณฑ์ใหม่สำาหรับ<br />

สถาปัตยกรรมที่น่าจับตามองในปี <strong>2023</strong> เพื่อแนะนำาวัสดุ<br />

และผลิตภัณฑ์ใหม่ที่น่าสนใจในมิติต่าง ๆ แก่สมาชิกสมาคม<br />

และสาธารณชน เพื่อเป็นจุดเริ่มต้นของอาคารและการ<br />

ก่อสร้างที่ดี ส่วนพื้นที่ของ <strong>ASA</strong> CLUB พื้นที่สำาหรับพบปะ<br />

พูดคุย สำาหรับเหล่าสมาชิกสถาปนิก และ ACT + <strong>ASA</strong> Shop +<br />

<strong>ASA</strong> Bookshop พื้นที่จำาหน่ายหนังสือและของที่ระลึก<br />

นอกจากนี้ ยังมีพื้นที่จัดงานที่แสดงความร่วมมือกับเครือข่าย<br />

วิชาชีพจากต่างประเทศ อาทิ Jarit: Crafts of Contemporary<br />

Thai Architecture นิทรรศการที่นำาเสนอผลงานสถาปนิก<br />

จากกลุ่มภาคีสมาชิกสถาปนิกระหว่างประเทศ ARCASIA<br />

theme<br />

park within a gated community, provided a welcoming<br />

environment forindividuals to relax, converse, and participate<br />

in discussions on landscape architecture while<br />

offering a variety of activities for attendees to engage in.<br />

The Thailand Interior Designers' Association (TIDA) participated<br />

in the event with its highlight, the TIDA Lounge. This<br />

designated area served as a souvenir shop, offering visitors<br />

a place to rest and enjoy a complimentary serving of<br />

coconut ice cream. The TIDA Salone event included a<br />

Designer Showcase and the TIDA Thesis Awards exhibition,<br />

which displayed the projects of students from local<br />

educational institutes. The Salone also exhibited the winning<br />

projects of the TIDA Awards in different categories.<br />

These projects by professional designers were chosen<br />

by a panel of esteemed and talented professionals from<br />

Thailand's interior architectural industry as well as other<br />

related fields. TIDA also organized TIDA Talk, an event<br />

that aimed at engaging members of the general public<br />

who are interested in interior design. It covered a range<br />

of fascinating aspects of interior design, from concepts to<br />

visions to execution. The event featured academic seminars<br />

on various specific and intriguing topics relevant to<br />

interior design practitioners.<br />

The expo also featured a diverse range of exhibitions that<br />

showcased intriguing academic and professional projects.<br />

One such exhibition was the <strong>ASA</strong> Experimental Design<br />

Competition: Not Only Human, which presented projects<br />

that have received international recognition and awards.<br />

Additionally, there was the <strong>2023</strong> <strong>ASA</strong> Conservation Awards<br />

Exhibition, which highlighted the winning conservation<br />

projects selected by the Association of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage. The <strong>ASA</strong> VERNADOC zone<br />

presented the architectural documentation of the Baan<br />

Houy Sai Nuer Residence in the Cha-am district of Phetchaburi<br />

province, employing the Vernadoc methodology.<br />

Additionally, this event also put together exceptional works<br />

created by architecture and design students from various<br />

educational institutions across the country, including<br />

the prestigious Thesis of the Year in Architecture Award<br />

for 2022 (TOYARCH 2022).<br />

The <strong>ASA</strong> Platform Selected Materials <strong>2023</strong> exhibition<br />

curated a collection of new materials and products that<br />

are predicted to make a significant impact in the field<br />

of building construction in the year <strong>2023</strong> as part of an<br />

attempt to improve the quality and standard of construction<br />

projects. The <strong>ASA</strong> Club zone was made available<br />

for members to meet and engage in conversations, while<br />

the ACT + <strong>ASA</strong> Shop + <strong>ASA</strong> Bookshop offered a variety<br />

of publications and souvenirs.<br />

In addition, the exposition featured a section dedicated<br />

to highlighting collaborations with various international<br />

professional networks. One notable example was Jarit:<br />

Crafts of Contemporary Thai Architecture, an exhibition<br />

that showcased projects by architects affiliated with<br />

The Architects Regional Council Asia (ARCASIA). Another<br />

noteworthy exhibit was the Architecture Guide to the


TIME OF TOGETHERNESS<br />

47<br />

<strong>13</strong><br />

ส่วนจัดแสดงงาน All<br />

Member: Design<br />

Showcase<br />

และนิทรรศการ Architecture Guide to the UN17 Sustainable<br />

Development Goals Japan Version นำาเสนอผลงาน<br />

ผลงานจากกลุ่มภาคีสถาปนิกระหว่างประเทศ โดยสมาคม<br />

สถาปนิกญี่ปุ่น JIA<br />

ทั้งหมดนี้อาจนับได้ว่า “ตำาถาด” เป็นการจัดงานสถาปนิกที ่<br />

ครบรส จัดจ้าน อร่อยไปด้วยสาระ และความรู้ในบรรยากาศ<br />

ของความเป็นมิตร แสดงออกถึงความร่วมไม้ร่วมมือของ<br />

ทั้ง 5 องค์กรวิชาชีพครั้งสำาคัญ ที่คงไม่ได้จบลงแค่เพียงใน<br />

การจัดงานครั้งนี้ แต่เป็นสิ่งจำาเป็นในการขับเคลื่อนวิชาชีพ<br />

ที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง และการ<br />

พัฒนาเมืองไปในอนาคตข้างหน้า สำาหรับทุกคนในสังคม<br />

อีกด้วย<br />

UN17 Sustainable Development Goals, Japanese Version,<br />

which presented works by architects from international<br />

architectural networks hosted by the Japan Institute of<br />

Architects (JIA).<br />

Overall, the 'Time of Togetherness' <strong>ASA</strong> Expo <strong>2023</strong> was<br />

a wonderful event with a diverse range of flavors, enjoyable<br />

experiences, intriguing contents, and valuable<br />

knowledge, all happening within a casual and friendly<br />

atmosphere. The collaboration among the five major<br />

professional associations will continue to take place<br />

even after the expo, serving as a driving force for all<br />

parties involved and propelling them towards achieving<br />

greater advancements in the built environment and urban<br />

developments for the benefit of society as a whole in<br />

the future.<br />

asaexpo.org<br />

“The collaboration is expected to persist beyond the<br />

expo, functioning as a catalyst for all stakeholders and<br />

pressing them towards attaining further progress in<br />

the field of built environment and urban projects, ultimately<br />

benefiting society in the long run.”<br />

<strong>13</strong>


48<br />

review<br />

EMPOWER<br />

STEEL<br />

×<br />

ACA<br />

Architects<br />

In designing the thematic pavilion for Empower Steel, ACA Architects<br />

created an image of the product in harmony with nature by emphasizing<br />

the evocation of emotions through colors and patterns and the use of<br />

natural patterns to convey a sense of warmth.<br />

Text: Warut Duangkaewkart<br />

Photo Courtesy of ACA Architects and DOF SKY | GROUND except as noted


49<br />

1<br />

01<br />

แผ่นเหล็กที่ผ่านกระบวนการ<br />

ดัดแปลงจนกลายเป็นแผ่น<br />

สี่เหลี่ยมมุมมนนำามาต่อ<br />

ประกอบกันเป็น Pavilion


50<br />

review<br />

หนึ่งผลงานออกแบบที่โดดเด่นในงานสถาปนิก<br />

66 ที่ผ่านมา คือ Thematic Pavilion ของ<br />

EMPOWER STEEL ที่ออกแบบโดย ACA Architects<br />

ซึ่งในโอกาสนี้ทำาให้เราได้เห็นโอกาส และ<br />

ความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในการทำางานร่วมกัน<br />

ระหว่าง สถาปนิก และ ผู้ผลิตวัสดุก่อสร้าง<br />

EMPOWER STEEL เป็นผู้ผลิตแผ่นเหล็กส่งออก<br />

ที่เพิ่งเข้าร่วมการจัดแสดงบูธในงานสถาปนิก<br />

ครั้งแรก พร้อมด้วยภาพลักษณ์ของแบรนด์ที่<br />

พูดถึงเรื่องความงามที่เป็นธรรมชาติที่แม้ว่า<br />

วัสดุจะเป็นเหล็ก ผลิตภัณฑ์ยังสามารถสร้าง<br />

ความหลากหลายได้ด้วยสีสัน และ ลวดลายที่<br />

โดดเด่น ซึ่งจากการพูดคุยร่วมกันที่แนวความคิด<br />

ของแบรนด์คือการสร้างภาพให้ผลิตภัณฑ์นั้น<br />

อยู่คู่กับธรรมชาติ ทำาให้ ACA Architects<br />

เห็นถึงไอเดียในการแสดงออกถึงโครงสร้างของ<br />

องค์ประกอบต่างๆ ในธรรมชาติ ไม่ว่าจะเป็น<br />

ต้นไม้ ภูเขา ที่ทุกอย่างเกิดขึ้นจากโครงสร้าง<br />

ของอะตอม องค์ประกอบต่างๆ จนเกิดเป็น<br />

รูปร่างขึ้นมา ซึ่งเหล็กเองก็เป็นวัสดุหนึ่งที่เกิด<br />

จากโครงสร้างธรรมชาติเหล่านั้น จึงได้นำาแนว<br />

ความคิดของโมเลกุลในสิ่งต่างๆ มาต่อยอดใน<br />

การออกแบบครั้งนี้<br />

“ในตอนแรก ทางแบรนด์เองก็อยากรู้ว่าเหล็ก<br />

ของเขาสามารถนำาไปทำาอะไรได้อีกบ้าง พื้น ฝ้า<br />

หรือ งานอินทีเรีย พอเรากลับไปด้วยไอเดียนี้<br />

มันเลยตอบโจทย์ของแบรนด์ทั้งหมด เพราะวัสดุ<br />

มันกลายเป็นทุกอย่างในงานเดียว ทั้งโครงสร้าง<br />

ส่วนตกแต่ง ผนัง พื้น และ ฝ้า ซึ่งทางแบรนด์<br />

เองก็นึกไม่ถึงว่าจะทำาอะไรแบบนี้ได้ นี่จึงเป็น<br />

เหตุผลที่ซัพพลายเออร์กับผู้ออกแบบ ควร<br />

มาทำางานร่วมกันให้เกิดสิ่งใหม่ๆ” อนนท์<br />

จิตรานุเคราะห์ ผู้ก่อตั้ง ACA Architects บอก<br />

เล่าถึงกระบวนการทำางานร่วมกันในครั้งนี้<br />

จากไอเดียเบื้องต้นสู่การพัฒนา และพูดคุยถึง<br />

ความเป็นไปได้ในการนำาแผ่นเหล็กมาผ่าน<br />

กระบวนการต่างๆ เพื่อให้เกิดวิธีการใช้งานใหม่<br />

โดยแผ่นเหล็กจะถูกนำาไปตัด และเซาะร่อง<br />

จนกลายเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมมุมมน ที่สามารถนำ า<br />

มาต่อกันได้ไม่รู้จบผ่านระบบโมดูลาร์ ซึ่งใน<br />

ตอนแรกถูกมองหาความเป็นไปได้มากกว่านี้<br />

แต่เนื่องด้วยเวลา งบประมาณ และคุณภาพงาน<br />

ที่ต้องการให้ควบคุมได้มากที่สุด จึงตัดสินใจ<br />

เลือกใช้รูปฟอร์มที่ง่าย แต่ยังคงสามารถนำามา<br />

ใช้สร้างองค์ประกอบได้หลากหลาย ซึ่งในแต่ละ<br />

ชิ้นถูกออกแบบให้แสดงออกถึงคุณสมบัติของ<br />

วัสดุที่ต่างรุ่นกันทั้งสองด้าน ซึ่งเป็นการนำา<br />

แผ่นเหล็กมาประกบกัน จนเกิดเป็นวัสดุที่สร้าง<br />

มุมมองได้หลากหลายเมื่อมองจากมุมที่ต่างกัน<br />

โดยถูกแบ่งไปเลือกใช้งานในการสร้างพาวิลเลียน<br />

เพื่อให้เกิดความหลากหลายมากขึ้นตามฟังก์ชั่น<br />

ที่ใช้งาน ทั้งเชิงโครงสร้าง ผนัง หรือ เคาน์เตอร์<br />

เนื่องด้วยแนวความคิดเรื่องธรรมชาติ ภาพรวม<br />

ของงานจึงออกมาให้มีความอบอุ่นมากที่สุด<br />

โดยมุ่งเน้นไปยังการสร้างความรู้สึกผ่านสี และ<br />

ลวดลาย โดยเลือกใช้ผลิตภัณฑ์รุ่นที่เป็นลวดลาย<br />

แบบธรรมชาติอย่างไม้ เป็นองค์ประกอบหลัก<br />

ในการสร้างแนวผนังต่างๆ ตัดกับแผ่นเหล็ก<br />

ที่เป็นลายสนิม ที่ยังคงให้อารมณ์โทนสีใกล้<br />

เคียงกัน นำามาขึ้นรูปเกิดเป็นโครงสร้างผนัง<br />

ต่างๆ ที่นำามาจัดวางในพื้นที่เพื่อให้เกิดเป็น<br />

พาวิลเลียน โดยที่ยังคงสอดแทรกลูกเล่นในอีก<br />

ด้านหนึ่งของแผ่นเหล็ก ด้วยการใช้แผ่นเหล็ก<br />

เคลือบสีเขียว ที่เป็นสีองค์กรของแบรนด์ เข้ามา<br />

เพิ่มมิติในการมองเห็น ทำาให้เมื่อเราเดินวนรอบ<br />

ผลงานชิ้นนี้ จะเกิดมุมมองที่หลากหลายมากขึ้น<br />

การออกแบบโดยใช้วัสดุในลักษณะนี้ นอกจาก<br />

การจัดแสดงภายในงานสถาปนิกแล้ว เมื่อ<br />

จบงานสามารถนำาวัสดุต่างๆ ถอด และ ประกอบ<br />

ใหม่ขึ้นมาได้อีก ซึ่งสามารถปรับเปลี่ยนรูปแบบ<br />

ให้เข้ากับพื้นที่อื่นๆ ได้ เป็นการช่วยลดทรัพยากร<br />

ในการก่อสร้างงานรูปแบบนี้ที่ส่วนใหญ่จะเกิด<br />

วัสดุเหลือใช้จำานวนมาก ต้องมารอดูกันว่า<br />

การเดินทางของอาคารพาวิลเลียนนี้ จะเป็น<br />

อย่างไรต่อไปในอนาคต<br />

งานออกแบบนี้ถือเป็นอีกหนึ่งตัวอย่างที่น่าสนใจ<br />

ที่ทำาให้เห็นความเป็นไปได้ใหม่ๆ ในการทดลอง<br />

ในการออกแบบ การเลือกใช้วัสดุ การประยุกต์<br />

สิ่งที่มีอยู่เดิมให้แตกต่างออกไป ซึ่งในที่สุดแล้ว<br />

วัสดุแต่ละวัสดุนั้นต่างก็มีคุณสมบัติที่โดดเด่น<br />

ในตัวเอง ถ้าหากทางผู้ผลิตวัสดุนั้นได้มีโอกาส<br />

ทำางานร่วมกับสถาปนิก นักออกแบบ ก็มี<br />

ความเป็นไปได้สูงที่จะนำาพาไปสู่ความน่าสนใจ<br />

หรือแนวทางการสร้างผลิตภัณฑ์ใหม่ๆ ออกมา<br />

รวมไปถึงการนำาสิ่งที่มีอยู่แล้ว มาปรับประยุกต์<br />

ใช้ในอีกรูปแบบหนึ่ง จนเกิดเป็นภาพจำาใหม่ๆ<br />

ของวัสดุได้<br />

02<br />

ส่วนจัดแสดงของบูธ<br />

ในบริเวณงาน


EMPOWER STEEL X ACA ARCHITECTS<br />

51<br />

“The design focuses on evoking emotions through<br />

colors and patterns in order to provide and transmit<br />

the warmest look and feel due to the concept<br />

of nature. These are the key components in forming<br />

distinct wall structures, contrasted with rustpatterned<br />

steel sheets while maintaining a same<br />

color tone.”<br />

03<br />

แนวทางการทำางานร่วมกัน<br />

ของผู้ออกแบบและแบรนด์<br />

เพื่อหาความเป็นไปได้ใหม่<br />

ให้กับวัสดุเหล็กในการ<br />

สร้างสรรค์องค์ประกอบ<br />

หลายส่วนของ Pavilion<br />

3<br />

The design for the Empower Steel thematic pavilion<br />

by ACA Architects was one of the best pavilions<br />

at Architect’ 23. It creates intriguing opportunities<br />

for architects and producers of building supplies<br />

to work together.<br />

Empower Steel is a producer of steel sheets for<br />

export and recently made its debut at the <strong>ASA</strong> Expo.<br />

Although steel is the product’s primary material,<br />

the brand’s logo speaks of the inherent beauty<br />

that steel can also be used to produce a range of<br />

aesthetics with unique colours and patterns. ACA<br />

Architects recognised the idea of expressing the<br />

structure of various elements in nature, whether<br />

trees, mountains, or wherever, all of which arise from<br />

the atom to take shape, after hearing the discussion<br />

at the beginning about how the brand concept is<br />

to create an image for the product to be in harmony<br />

with nature. Empower Steel perceives itself as a<br />

component of those organic structures. The idea<br />

of molecules in objects was then introduced, and<br />

that served as the design’s conceptual foundation.<br />

“Empower Steel initially inquired as to whether<br />

floors, ceilings, or interiors might be constructed<br />

using their steel. We had all the answers when we<br />

suggested the design concept. Now the material<br />

serves as the structure, ornamentation, wall, floor,


52<br />

The steel plates were, in the final idea, cut and<br />

grooved so they became a square plate with<br />

rounded corners that can be connected and composed<br />

endlessly through the modular system,<br />

following initial ideas, development, and discussion<br />

of the possibility of working with steel plates<br />

through various processes to create a new way of<br />

using the material. The designers first sought out<br />

more opportunities. However, the team decided to<br />

employ a straightforward shape that is adaptable<br />

enough to construct a range of structural compositions<br />

due to time, budget, and the necessity to<br />

regulate the quality of work as much as possible.<br />

On both sides of each component, the characterreview<br />

and ceiling in a single design, which is something<br />

the brand would never consider attempting. That,<br />

in my opinion, is a compelling argument in favour<br />

of suppliers and designers collaborating on new<br />

products. At this <strong>ASA</strong> Expo, ACA Architects’ founder<br />

Anon Chitranukroh discussed the working process<br />

with Empower Steel.<br />

istics of several varieties of steel are displayed.<br />

Steel plates were used in the design to join together,<br />

and as they are viewed from various angles, they<br />

take on a range of viewpoints. These plates were<br />

carefully chosen for the various areas of the pavilion<br />

to add additional variation in line with the many<br />

uses, such as structure, wall, or counter.<br />

The design focuses on evoking emotions through<br />

colours and patterns with goods that have natural<br />

patterns, such as wood, in order to provide and<br />

transmit the warmest look and feel due to the<br />

concept of nature. These are the key components<br />

in forming distinct wall structures, contrasted with<br />

rust-patterned steel sheets while maintaining a same<br />

colour tone. Once it is assembled into a building<br />

and put in position, it turns into a pavilion. In order<br />

to add sophisticated visual aspects, the architect<br />

also incorporated gimmicks, using steel panels<br />

that were coated in the brand’s corporate colour,<br />

a green finish. Walking around the pavilion gives<br />

it an even more delightful appearance.<br />

04<br />

แนวคิดการใช้วัสดุประเภท<br />

ลายไม้มาร่วมจัดแสดงให้<br />

เห็นความหลากหลาย<br />

05<br />

แผ่นเหล็กที่มีการตัดมุม<br />

เซาะร่อง และจัดวางใน<br />

ลักษณะโมดูลาร์ประกอบ<br />

กันเป็นผนัง<br />

06<br />

แผ่นเหล็กเคลือบสีเขียว<br />

ซึ่งเป็นสีสัญลักษณ์ของ<br />

แบรนด์ นำามาใช้เพิ่มมิติ<br />

ความหลากหลาย และ<br />

มุมมอง<br />

4


EMPOWER STEEL X ACA ARCHITECTS<br />

53<br />

วรุตร์ ดวงแก้วกาศ<br />

จบการศึ กษาด้าน<br />

สถาปั ตยกรรม และ<br />

ทัศนศิ ลป์ ทำางาน<br />

สร้างสรรค์อิสระโดย<br />

สนใจการออกแบบที่<br />

ผสมผสานระหว่าง<br />

สถาปั ตยกรรม ศิลปะ<br />

และชีวิต<br />

Warut<br />

Duangkaewkart<br />

s a graduate of architecture<br />

and visual arts.<br />

Currently working<br />

independetly with a<br />

focus on design that<br />

blends architecture,<br />

art and life.<br />

The layout enables diverse materials to be disassembled<br />

and reassembled somewhere after the<br />

exhibition, in addition to presentation at the Architect<br />

Expo. Since it can be altered to meet different<br />

locations and circumstances, less resources are<br />

needed to develop this kind of temporary structure,<br />

which typically generates a lot of waste.<br />

It will be equally interesting to see how this pavilion’s<br />

voyage develops in the future.<br />

The project is yet another intriguing example of<br />

how design experiments, material choice, and the<br />

application of existing materials may be used to dis-<br />

cover new possibilities that, in the end, have their<br />

own unique features. The ability for manufacturers<br />

to collaborate with architects and designers is likely<br />

to spark interest in or methods for developing new<br />

products for the market, including adapting existing<br />

products and using them in new ways,which would<br />

eventually develop a new image and identity for<br />

the material.<br />

anonc-architect.com<br />

Project: Thematic Pavilion by EMPOWER STEEL X ACA Architects at Architect Expo <strong>2023</strong> Owner: EMPOWER STEEL Architect: ACA Architects Completion: <strong>2023</strong>


54<br />

review<br />

TKS & TPP<br />

×<br />

CONTEXT<br />

STUDIO<br />

Context Studio and Thaikoon Steel Group have collaborated to transform<br />

the perception of steel in industrial and structural applications, with a<br />

design that reintroduces steel as a material with architectural and commercial<br />

value through a design process influenced by multiple contexts.<br />

Text: Bhumibhat Promboot<br />

Photo Courtesy of Context Studio


55<br />

01<br />

วัสดุเหล็กหลากหลายรูป<br />

แบบได้ถูกนำาปรับเปลี่ยน<br />

และจัดวางเพื่อเพิ่มมูลค่า<br />

ของตัววัสดุ ผ่านการ<br />

ออกแบบที่คำานึงถึงความ<br />

ยั่งยืน<br />

1


56<br />

review<br />

บริบทไม่ใช่มีเพียงแค่หนึ่ง ประโยคปลายเปิด<br />

จากคุณต้น บดินทร์ พลางกูร สถาปนิกจาก<br />

บริษัท Context Studio ถึงแนวคิดการออกแบบ<br />

ในเชิง Site Specific ผ่านผลงาน Thematic<br />

Pavilion ในงาน <strong>ASA</strong> Expo <strong>2023</strong> โดยร่วมกัน<br />

กับผู้ผลิตและจำ าหน่ายท่อเหล็กโครงสร้าง โซ่เหล็ก<br />

และเหล็กฉากเจาะรูจากบริษัท Thaikoon Steel<br />

Group และผู้ผลิตท่อเหล็กรูปพรรณทั้งในภาค<br />

อุตสาหกรรมและเทคโนโลยีทางอาคารจาก Thai<br />

Premium Pipe ที่มีโอกาสมาเปิดตัวผลิตภัณฑ์<br />

ในงาน <strong>ASA</strong> EXPO <strong>2023</strong> เป็นครั้งแรก ภายใต้<br />

บริบทที่ร่วมกันคือ Eco-Friendly และ Sustainable<br />

Business ที่สื่อถึงการออกแบบหรือผลิต<br />

เพื่อให้เกิดการใช้งานวัสดุให้คุ้มค่าที่สุดและ<br />

ต่อยอดให้ธุรกิจเติบโตอย่างยั่งยืน ผ่านการ<br />

ออกแบบและจัดแสดงรูปแบบพิเศษภายใต้<br />

หัวข้อ “Thematic Pavilion” ในงาน <strong>ASA</strong> EXPO<br />

<strong>2023</strong> เพื่อนำาเสนอมุมมองของวัสดุก่อสร้างใน<br />

ภาพลักษณ์ใหม่ ผลงานออกแบบสร้างสรรค์ที่<br />

โดดเด่นจาก Context Studio นี้ ยังได้รับรางวัล<br />

Thematic Pavilion of the Year <strong>2023</strong> อีกด้วย<br />

วัสดุเหล็กโครงสร้างหลากหลายรูปแบบ ได้ถูก<br />

นำามาใช้เป็นส่วนประกอบต่างๆ ในพื้นที่จัดแสดง<br />

สินค้าและบริการของบริษัท Thaikoon Steel<br />

และบริษัท Thai Premium Pipe ทั้งเป็นโครงผนัง<br />

สำาหรับจัดแสดงสินค้า เป็นเฟอร์นิเจอร์สำาหรับ<br />

นั่งพักคอยและจุดสำาคัญคือเป็น Pavilion ที่ใช้<br />

โครงสร้างท่อเหล็กกลมยาว โดยตั้งตระหง่าน<br />

อยู่ใจกลางพื้นที่จัดแสดงสินค้า ให้เป็นพื้นที่<br />

ที่รองรับกิจกรรมที่หลากหลาย จนเกิดเป็น<br />

ความสัมพันธ์ใหม่ระหว่างรูปทรงแท่งยาวของ<br />

วัสดุเหล็กกับการใช้งานภายในพื้นที่ อย่างเช่น<br />

การนำาเหล็กท่อกลมมาวางเรียงต่อกันเป็นจังหวะ<br />

จนเกิดรูปแบบที่ต่อเนื่อง สร้างปฏิสัมพันธ์<br />

กับพื้นที่โดยรอบ หรือโซ่เหล็กก็ได้ถูกนำามา<br />

ปรับเปลี่ยนให้กลายเป็นเฟอร์นิเจอร์หลากหลาย<br />

รูปแบบ เช่น โต๊ะ หรือเก้าอี้ ผ่านการออกแบบ<br />

ที่เปลี่ยนภาพลักษณ์ที่คุ้นเคย จากโซ่เหล็กที่เคย<br />

เป็นวัสดุที่เอาไว้เพื่อยกบรรทุกสิ่งของ ก็ได้<br />

กลายเป็นเฟอร์นิเจอร์ลอยตัวที่มีรูปทรงและ<br />

พื้นผิวที่แปลกตา ซึ่งวัสดุเหล็กโดยทั่วไปจะเห็น<br />

เป็นภาพจำาในการใช้งานในงานอุตสาหกรรม<br />

หรืองานโครงสร้างเป็นส่วนใหญ่ ผู้ออกแบบ<br />

และผู้ผลิตจึงร่วมกันผลักดันให้เกิดแนวคิด<br />

From Rigid to Organic ที่ทั้งสองฝ่ายจะเข้าไป<br />

ปรับเปลี่ยนวัสดุเหล็กที่มีในปัจจุบันโดยใช้<br />

กระบวนการออกแบบผ่านบริบทแวดล้อมที่<br />

เกี่ยวข้อง ให้เกิดคุณค่าทั้งในด้านทางสถาปัตย-<br />

กรรมและในด้านธุรกิจควบคู่กัน<br />

การประสานแนวคิดแรกเริ่มจาก Eco-Friendly<br />

และ Sustainable Business ไปสู่ From Rigid to<br />

Organic นั่นทำาให้ภาพของ Thematic Pavilion<br />

มีความชัดเจนมากขึ้น โดยรูปแบบที่พลิ้วไหว<br />

มาจากการนำาวัสดุเหล็กท่อกลม ขนาดเส้นผ่าน<br />

ศูนย์กลาง 4 นิ้ว ยาว 6 เมตร ในขนาดที่เท่ากัน<br />

ผู้ออกแบบมีความตั้งใจที่ไม่ปรับรูปแบบหรือ<br />

เปลี่ยนแปลงรูปทรงท่อเหล็กให้น้อยที่สุด นำามา<br />

จัดองค์ประกอบโดยเรียงต่อกันอย่างเป็นจังหวะ<br />

ในแนวระนาบ ซึ่งหากดูจากผังพื้นจะมองเห็น<br />

รูปทรงท่อเหล็ก มีลักษณะเคลื่อนไหวดูเป็น<br />

รูปทรงสามมิติ เพื่อให้รูปทรงอย่างวัสดุเหล็กที่<br />

มีรูปแบบที่หยุดนิ่ง ไร้ชีวิตชีวา ดูเหมือนเริ่มมี<br />

การขยับและบิดตัวโดยมีตำาแหน่งเป็นจุดหมุน<br />

จุดเดียว โดยแต่ละท่อเหล็กกลมก็จะถูกบิด<br />

องศาที่แตกต่างกันไปตามแต่ละชิ้น มีลักษณะ<br />

คล้ายเกลียว DNA ของสิ่งมีชีวิต ที่องค์ประกอบ<br />

เริ่มต้นของตัวเกลียวจะเกิดจากรูปแบบที่<br />

เรียบง่าย ไม่ซับซ้อน จนผ่านการเพิ่มจำ านวนและ<br />

เคลื่อนที่ไปอย่างซ้ำาๆ หมุนวนอย่างไม่มีที่สิ้นสุด<br />

ทั้งผู้ออกแบบและผู้ผลิต มีความต้องการที่จะ<br />

คงคุณลักษณะของวัสดุเหล็กเดิมที่มีสัณฐานที่<br />

ชัดเจน ภายใต้รูปทรง ขนาด สัดส่วน ความยาว<br />

และน้ำาหนักเพื่อแสดงการตอบรับของความเป็น<br />

Eco-Friendly Product ของวัสดุและการนำามา<br />

ใช้งานที่สามารถควบคุมปัจจัยและผลกระทบ<br />

ทางสิ่งแวดล้อมที่จะเกิดขึ้นได้<br />

นอกเหนือจากแนวความคิดหลักข้างต้นแล้ว<br />

การนำาวัสดุเหล็กที่ถูกมองข้าม ให้นำากลับมา<br />

ใช้งานให้ได้มากที่สุด ก็เป็นอีกโจทย์นึงที่ทาง<br />

Context Studio ได้ทดลองนำาโซ่เหล็กที่ไม่ผ่าน<br />

เกณฑ์ในรับน้ำาหนักบรรทุก ซึ่งได้ถูกปล่อยทิ้ง<br />

รอกำาจัดภายในโรงงาน นำามาประสานเชื่อมต่อ<br />

กันในรูปแบบใหม่ ซึ่งคุณสมบัติของโซ่เหล็กเอง<br />

ที่มีรูปแบบที่เป็น modular การนำามาใช้งานจึง<br />

เสมือนเป็นการจัดเรียงองค์ประกอบวัสดุ โดย<br />

ปกติโซ่เหล็กจะถูกใช้ในลักษณะงานในเชิง<br />

อุตสาหกรรมหนัก แต่ทางผู้ออกแบบได้ทดลอง<br />

นำาเสนอความเป็นไปได้ใหม่ของตัวโซ่เหล็กที่จะ<br />

นำามาใช้งานในบริบทที่สัมพันธ์กับมนุษย์มากขึ้น<br />

ด้วยการจัดเรียงชิ้นส่วนโซ่เหล็กและปรับ<br />

ส่วนของรอยต่อใหม่ เพื่อตอบสนองกับบริบท<br />

แวดล้อมที่เปลี่ยนไปของตัวพื้นที่ โซ่เหล็กแต่<br />

ละชิ้นได้ถูกนำ ามาเชื่อมต่อกันแบบถาวร ยึดติด<br />

กันแน่น ประกอบกันกลายเป็นทั้งที่นั่ง และ<br />

โต๊ะ สำาหรับนั่งพักคอยหรือทำากิจกรรมแนะนำา<br />

ผลิตภัณฑ์ต่างๆ ภาพลักษณ์เดิมของโซ่เหล็ก<br />

ที่มักจะขยับเคลื่อนไหวได้พร้อมเสียงกระแทก<br />

เสียดสีกัน ได้ถูกทำาให้เป็นเสมือนเป็นแท่ง<br />

โซ่เหล็กที่ไม่สามารถขยับไปมาได้ เปลี่ยนจาก<br />

การรับน้ำาหนักแรงดึงเป็นการรับน้ำาหนักของ<br />

แรงกดทับแทน โดยยังคงรูปทรงสัณฐานเดิม<br />

ของความเป็นโซ่เหล็กอยู่ เป็นการปรับตัว<br />

เปลี่ยนแปลงคุณลักษณะเดิมของโซ่เหล็กให้<br />

เปลี่ยนไปตามบริบทแวดล้อมในพื้นที่ที่ต่างกัน<br />

ออกไป หรืออีกนัยหนึ่ง ทั้ง Thematic Pavilion<br />

และเฟอร์นิเจอร์ ได้แสดงถึงการปรับตัว<br />

เปลี่ยนแปลงบริบทของตัววัสดุเองและบริบท<br />

แวดล้อมอย่างกลมกลืนและหลากหลาย ภายใต้<br />

คุณลักษณะของความแข็งแรง แต่ยืดหยุ่นได้<br />

ของวัสดุเหล็ก ซึ่งสามารถให้ทางเลือกใหม่กับ<br />

ทั้งผู้ออกแบบและผู้ประกอบการได้อย่างน่าสนใจ<br />

ในขณะเดียวกัน ผู้ออกแบบก็ยังพิจารณาและ<br />

แสวงหาความเป็นไปได้ในบริบทที่นอกเหนือ<br />

จากที่กล่าวมาแล้วข้างต้น เพื่อให้ Thematic<br />

Pavilion นี้เกิดประโยชน์และเกิดประสบการณ์<br />

ใหม่ภายใต้แบรนด์ Thaikoon Steel Group<br />

และ Thai Premium Pipe ให้ได้มากที่สุด จึงเป็น<br />

ที่มาของ Thematic Pavilion โทนสีสีน้ำาเงินเขียว<br />

ที่เป็นสีเฉดหลักของแบรนด์ Thaikoon Steel<br />

Group และ Thai Premium Pipe ซึ่งทาง<br />

ผู้ออกแบบต้องการใส่รายละเอียดความสำาคัญ<br />

ที่เกี่ยวข้องลงไปในทุกองค์ประกอบของ<br />

Thematic Pavilion นั่นเอง<br />

การวางผังของพื้นที่จัดแสดงตัวสินค้าและ<br />

บริการ ผู้ออกแบบได้นำาเสนอการวางตำาแหน่ง<br />

Thematic Pavilion ไว้ที่พื้นที่ตรงกลางระหว่าง<br />

สองบริษัทคือ Thaikoon Steel Group และ<br />

Thai Premium Pipe เพื่อต้องการจัดแบ่งพื้นที่<br />

ให้เกิดความชัดเจนของผลิตภัณฑ์และมีความ<br />

เป็นสัดเป็นส่วน โดยที่สามารถจำาแนกลักษณะ<br />

ผลิตภัณฑ์จากเหล็กของทั้งสองบริษัทได้เป็น<br />

ระบบระเบียบ ซึ่งชิ้นงาน Thematic Pavilion<br />

ได้ทำาหน้าที่เสมือนเป็นตัวกลางจัดการพื้นที่<br />

ของทั้งสองบริษัทนี้ โดยที่ยังสามารถตอบสนอง


ทั้งในเชิงการใช้งานได้หลากหลาย เช่น กรณีที่<br />

มีช่วงเวลาแนะนำาผลิตภัณฑ์ของทั้งสองบริษัท<br />

ไม่พร้อมกัน Thematic Pavilion ทำาหน้าที่<br />

เสมือนเป็นฉากกั้นของกิจกรรมที่ต่างช่วงเวลากัน<br />

การจัดการพื้นที่แบบนี้จึงเกิดการไม่รบกวนกัน<br />

เสมือนแยกออกจากกัน แต่ก็ไม่ได้ขาดออกจาก<br />

กัน และเนื่องด้วยรูปแบบ Pavilion ที่มีลักษณะ<br />

ที่โปร่ง ไม่ทึบตัน สามารถเดินลอดผ่านไปมา<br />

ระหว่างพื้นที่สองบริเวณได้ จึงทำาให้พื้นที่<br />

โดยรอบนั้นกลายเป็นพื้นที่ที่มีพลวัตค่อนข้าง<br />

หลากหลาย ไม่ตายตัวทั้งในเชิงการใช้งาน<br />

อย่างเช่น การจัดกิจกรรมประชาสัมพันธ์<br />

ผลิตภัณฑ์ในฝั่งหนึ่ง แต่ในขณะเดียวอีกฝั่ง<br />

ก็สามารถให้คำาปรึกษาหรือให้บริการแก่ผู้มา<br />

เยี่ยมชมที่สนใจในผลิตภัณฑ์ได้พร้อมกัน หรือ<br />

แม้แต่เอาไว้นั่งพักคอย เอกเขนกในหลากหลาย<br />

ช่วงเวลา ประหนึ่ง Thematic Pavilion ได้<br />

ทำาหน้าที่ประสานและเชื่อมต่อพื้นที่ของทั้งสอง<br />

บริษัทเข้าไว้ด้วยกัน จนเกิดเป็นพื้นที่ที่มี<br />

TKS & TPP × CONTEXT STUDIO<br />

ปฏิสัมพันธ์ทั้งในเชิงประสบการณ์ที่เกิดจาก<br />

ความตั้งใจของทีมออกแบบ หรือที่เกิดจาก<br />

ความไม่ได้ตั้งใจจากผู้ใช้งานที่เข้ามาค้นหา<br />

ทดลองและแลกเปลี่ยนพูดคุย ทำากิจกรรมกัน<br />

จนเกิดการต่อยอดและเห็นความเป็นไปได้ของ<br />

วผลิตภัณฑ์ ที่อาจเปลี่ยนโฉมรูปแบบธุรกิจหรือ<br />

รูปแบบตลาดใหม่ให้เกิดขึ้นได้กับผู้ประกอบการ<br />

การพยายามที่จะรื้อทิ้งฉากทัศน์และคุณลักษณะ<br />

เดิมบางอย่างของตัววัสดุเหล็กออกไป เพื่อให้<br />

เกิดเป็นผลลัพธ์ใหม่ที่สามารถต่อยอดจาก<br />

องค์ความรู้เดิมที่มี ให้กลายเป็นความสร้างสรรค์<br />

ใหม่ที่เกิดขึ้นได้จากความร่วมมือของผู้ผลิต<br />

ผู้ประกอบการ ช่างฝีมือ วิศวกรและผู้ออกแบบ<br />

ผ่านการแบ่งปัน วิเคราะห์องค์ความรู้และ<br />

ประสบการณ์ ในการหาทางออกและแก้ไข<br />

ปัญหาร่วมกัน ภายใต้เงื่อนไขที่จำ ากัดทั้งในเรื่อง<br />

ระยะเวลาและงบประมาณ คือการกำาหนด<br />

เป้าหมายร่วมกันเพื่อสอดรับความเปลี่ยนแปลง<br />

57<br />

หรือความเฉพาะเจาะจงในแต่ละช่วงเวลาและ<br />

สถานที่ ผ่านการพูดคุย สื่อสาร และทดลอง<br />

ออกแบบร่วมกันในทุกมิติทั้งด้านธุรกิจที่สัมพันธ์<br />

กับการออกแบบการวางผังของ Thematic<br />

Pavilion หรือการออกแบบโครงสร้างและรอยต่อ<br />

ของตัว Thematic Pavilion ก็สัมพันธ์กับการ<br />

ขนส่งบรรทุกไปติดตั้งนอกสถานที่ จนเกิดเป็น<br />

ออกแบบเพื่อรองรับการรื้อถอดประกอบขึ้นใหม่<br />

ได้ Thematic Pavilion จาก Context Studio จึง<br />

เป็นภาพสะท้อนของผลงานที่ผ่านกระบวนการคิด<br />

ที่คำานึงถึงการดำารงอยู่ของบริบททั้งของวัสดุ<br />

และสภาพแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไปตลอดเวลา<br />

ผ่านช่วงเวลาหนึ่งที่ตั้งอยู่ภายในพื้นที่งาน <strong>ASA</strong><br />

EXPO <strong>2023</strong> และอีกช่วงเวลาหนึ่งหลังจากการ<br />

รื้อถอนแล้ว ตัว Thematic Pavilion ก็จะก็ถูกนำ า<br />

ไปประกอบขึ้นใหม่ภายในบริเวณพื้นที่กลางแจ้ง<br />

ของโรงงานบริษัท Thaikoon Steel Group และ<br />

Thai Premium Pipe ต่อไป<br />

02<br />

ตำาแหน่งของ Pavilion<br />

ถูกจัดวางให้อยู่กึ่งกลาง<br />

ของพื้นที่ เพื่อตอบสนอง<br />

กับกิจกรรมที่หลากหลาย<br />

และไม่หยุดนิ่ง<br />

2


58<br />

review<br />

3<br />

“There is always more than just one context.” The<br />

rhetorical statement by Bodin Plangkoon, the principal<br />

architect at Context Studio, encapsulates the<br />

underlying principle that guided the site-specific<br />

design of the Thematic Pavilion at <strong>ASA</strong> Expo <strong>2023</strong>.<br />

The studio collaborates with Thaikoon Steel Group,<br />

a prominent manufacturer and distributor of ERW<br />

(Electric resistance welding) steel pipes and tubes,<br />

steel chains, color coated slotted angles for framing<br />

systems, and Thai Premium Pipe, a leading manufacturer<br />

of steel pipes for the industrial sector and<br />

building technology. This collaboration marks their<br />

inaugural joint product launch at <strong>ASA</strong> EXPO <strong>2023</strong>.<br />

The design of the “Thematic Pavilion” at <strong>ASA</strong> EXPO<br />

<strong>2023</strong>, created by Context Studio, aligns with the<br />

vision and context of eco-friendliness and sustainable<br />

business that the two brands share. Through<br />

the creative power of design, this exhibition space<br />

showcases an innovative approach to material<br />

usage and sustainable business growth, presenting<br />

a fresh perspective and fascinating reimagination<br />

of construction materials. The work has been<br />

honored with the prestigious title of Thematic<br />

Pavilion of the Year <strong>2023</strong>.<br />

A diverse selection of structural steel materials<br />

was utilized in the construction of the joint exhibition<br />

space for Thaikoon Steel and Thai Premium<br />

Pipe. These materials were employed in various<br />

components of the pavilion, including the wall<br />

frames used for product display, the furniture in<br />

the waiting area, and the prominent element of the<br />

pavilion’s structure constructed using elongated<br />

round steel pipes. The pavilion is centrally located<br />

within the exhibition space and serves as a versatile<br />

venue for hosting a wide variety of activities.<br />

The chosen steel material defines a correlation<br />

between its shape and length and the utilization<br />

of the space. One example is the strategic arrangement<br />

of steel pipes in a rhythmic manner, which<br />

results in the pavilion’s cohesive structural sequence<br />

that enhances interactions between the built structure,<br />

its users, and the surrounding environment.<br />

Meanwhile, steel chains have been ingeniously<br />

incorporated into various loose furniture designs.<br />

These designs aim to challenge the conventional<br />

perception of steel chains, typically associated<br />

with industrial applications such as lifting tools<br />

used in transporting heavy objects. With this project,


TKS & TPP × CONTEXT STUDIO<br />

59<br />

the chains were transformed into tables and chairs<br />

with distinctive shapes and intricate textural details.<br />

The design team collaborated with the two manufacturers<br />

to redefine the conventional perception<br />

of steel in industrial and structural applications.<br />

Materialized from the ‘From Rigid to Organic’ concept,<br />

the design reintroduces steel as a material<br />

with architectural merits and commercial values<br />

through a design process that is driven by a number<br />

of contexts.<br />

The integration of the eco-friendly and sustainable<br />

business approach into the ‘From Rigid to Organic’<br />

concept resulted in the creation of the Thematic<br />

Pavilion’s unique and purposeful design. The structure<br />

exhibits an intriguing, delicate, and flowing<br />

form made of steel pipes with a diameter of 4 inches<br />

and a length of 6 meters, arranged to spread in<br />

meticulously calculated horizontal planes. The<br />

design was successfully executed in accordance<br />

with the designer’s intention to preserve and minimize<br />

any alteration to the physical characteristics of<br />

the steel pipes. The pavilion demonstrates dynamic<br />

movements in its three-dimensional shape, as<br />

evident from its layout. The meticulously calculated<br />

design allows steel, which is typically static and<br />

lifeless, to give the illusion of movement. From the<br />

pivot point, each pipe is cautiously installed at the<br />

designated angle, resulting in a configuration that<br />

bears a resemblance to the helical structure of DNA<br />

found in living organisms. This intricate arrangement<br />

begins with basic and uncomplicated elemental<br />

forms, which then underwent multiplication<br />

and progress in an infinite and repetitive cycle.<br />

The design team and the two brands have reached<br />

a consensus on the importance of preserving and<br />

showcasing the original physical characteristics<br />

of the material, from its clear contours, shape, and<br />

size to its proportion, length, and weight. By doing<br />

so, they aim to effectively communicate the ecofriendly<br />

nature of steel and its ability to control and<br />

mitigate potential environmental factors and impacts.<br />

In addition to the main idea mentioned earlier,<br />

Context Studio sought to successfully repurpose<br />

steel materials that are often overlooked in designoriented<br />

applications with this project. The steel<br />

chains, which did not meet the quality control<br />

standards for use as lifting tools in industrial applications,<br />

were subsequently left in factories awaiting<br />

disposal. However, these chains were repurposed<br />

and assembled into objects that possess entirely<br />

new forms and serve different purposes. The<br />

modular features of the chains have been reconfigured,<br />

deviating from their original application in<br />

heavy industrial lifting and instead became modified<br />

for creations that are more closely aligned with<br />

human needs and interests. The components and<br />

joints of the chains were altered in order to accommodate<br />

their new functions and the context in which<br />

they would be utilized. The chains were permanently<br />

connected and secured, and then transformed into<br />

chairs and tables for the visitors of the exhibition<br />

booths. These furnishings provided a comfortable<br />

seating arrangement for individuals to engage in<br />

activities and learn about the brands’ products<br />

and services.<br />

The movable modular components of steel chains<br />

and the sounds they create were transformed into<br />

fixed elements of the loose furniture. The function<br />

of these chains has been modified, transitioning<br />

from pulling and lifting to providing support for<br />

the weight, while keeping the original shape and<br />

contour of the steel chain intact. The new application<br />

alters the original physical attributes of the<br />

chain in order to adjust and function in a new and<br />

distinct context. It was apparent that both the Thematic<br />

Pavilion and the furniture exemplified the<br />

dynamic interplay between material and environmental<br />

contexts, with harmony and remarkable<br />

diversity at the same time. The incredible strength<br />

and flexibility exhibited by steel presented new<br />

and intriguing prospects for designers and entrepreneurs,<br />

leading the design team to diligently<br />

explore and carefully consider the different possibilities<br />

that steel can offer in various contexts<br />

extending beyond those previously mentioned.<br />

Their objective was to ensure that the Thematic<br />

03<br />

หุ่นจำาลองแสดงการวาง<br />

ตำาแหน่งทางเข้าตรงด้าน<br />

หัวมุมของพื้นที่จัดแสดง<br />

เพื่อดึงดูดให้เกิดความ<br />

น่าสนใจ<br />

04<br />

โซ่เหล็กจากโรงงานที่มัก<br />

จะเกิดเศษเหลือจากการนำา<br />

ไปใช้งาน ได้ถูกนำามาเพิ ่ม<br />

มูลค่าใหม่ผ่านการออกแบบ<br />

เฟอร์นิเจอร์ภายในพื้นที่<br />

Pavilion<br />

4


60<br />

review<br />

05<br />

แบบร่างแสดงความสัมพันธ์<br />

ของพื้นที่กิจกรรมกับรูปทรง<br />

ของวัสดุเหล็กท่อกลม<br />

06<br />

แบบร่างแสดงความสัมพันธ์<br />

ของพื้นที่ปิดล้อมระหว่าง<br />

ภายนอกและภายในของตัว<br />

Pavilion<br />

07<br />

โครงเหล็กท่อกลมที่ถูก<br />

จัดวางเรียงรูปแบบ เพื่อที่<br />

จะสามารถมองทะลุเชื่อม<br />

ต่อหากันได้ระหว่างที่ทำา<br />

กิจกรรม<br />

Pavilion would effectively showcase the distinct<br />

characteristics and products of Thaikoon Steel<br />

Group and Thai Premium Pipe while also offering<br />

positive aspects and experiences toward the two<br />

brands. The blue and green tones of the Pavilion<br />

represent the corporate identities of Thaikoon<br />

Steel Group and Thai Premium Pipe, following the<br />

designer’s intention to incorporate all the important<br />

details into every aspect of the Pavilion.<br />

The placement of the Thematic Pavilion strategically<br />

separates the exhibition spaces of Thaikoon<br />

Steel Group and Thai Premium Pipe. This choice<br />

of location ensures that the products and services<br />

showcased by both brands are clearly distinguished<br />

and well organized. The Pavilion functions as a<br />

connector between the two brands while also<br />

providing a diverse array of functions. When the two<br />

companies showcased their products to visitors,<br />

the pavilion acted as a buffer, enabling simultaneous<br />

activities without causing any interference.<br />

At the same time, the pavilion still represents the<br />

collaboration between the two brands through<br />

its open structure, which allows visitors to freely<br />

navigate and access the exhibition spaces of both<br />

Thaikoon Steel Group and Thai Premium Pipe.<br />

The presence of the pavilion allowed for a wide<br />

range of activities to take place in a diverse and<br />

flexible manner. A product launch or presentation<br />

event could be held on one side while the other<br />

side remained operational and capable of accommodating<br />

visitors who were seeking information<br />

about the brand’s consultation and services.<br />

The pavilion also served as a waiting area, providing<br />

exhibition attendees with a comfortable seating<br />

arrangement to relax at various times throughout<br />

the day. Symbolically, the pavilion became a<br />

common ground, a platform for collaborations,<br />

interactions, and experiences, whether they were<br />

intentionally curated by the design team or unintentionally<br />

occurred through various ways in which<br />

visitors explored, experimented, and used the space.<br />

It was where people exchanged ideas, conversed,<br />

and engaged in activities, facilitating the emergence<br />

of opportunities and the potential for developments<br />

that could lead to the creation of new business<br />

models or markets for entrepreneurs.<br />

The project is an endeavor aimed at deconstructing<br />

specific preexisting scenarios and characteristics<br />

of steel in order to generate novel outcomes. These<br />

outcomes will subsequently branch out from the<br />

existing body of knowledge and be developed into<br />

innovative creations through collaborative efforts<br />

among entrepreneurs, manufacturers, artisans,<br />

engineers, and designers. Such achievements have<br />

been made possible by conducting a thorough<br />

analysis of knowledge and experiences and working<br />

together to find solutions and resolve problems<br />

while considering various constraints and limitations,<br />

such as time and budget. Shared goals and<br />

visions are established to effectively align with the<br />

changes and specific circumstances determined<br />

by times and places and are achieved and realized<br />

through constructive discussions, effective communication,<br />

and practical experimentation, which<br />

5 6


TKS & TPP × CONTEXT STUDIO<br />

61<br />

ภูมิภัทร พรหมบุตร<br />

ปั จจุบันทำางานเป็ นสถาปนิก<br />

และอาจารย์พิเศษ ที่คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

ในภาควิชาสถาปั ตยกรรม<br />

และภาควิชานวัตกรรม<br />

การออกแบบผลิตภัณฑ์<br />

เชิงบูรณาการ ภูมิภัทร<br />

จบการศึกษาปริญญาตรี<br />

หลักสูตรสถาปั ตยกรรม<br />

ศาสตรบัณฑิต จากคณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

และปริญญาโทจาก<br />

Staedelschule Architecture<br />

Class ประเทศ<br />

เยอรมนี ภูมิภัทรมี<br />

ประสบการณ์ทำางานใน<br />

ตำาแหน่ง สถาปนิก ทั้งใน<br />

ประเทศไทยและประเทศ<br />

ญี่ปุ ่ น และยังมีผลงานเขียน<br />

บทความทางสถาปั ตย-<br />

กรรมบนเว็บไซต์ Art4d.<br />

7<br />

Bhumibhat<br />

Promboot<br />

is currently an architect<br />

and a guest instructor<br />

for the Architecture<br />

Programme and the<br />

Integrated Product<br />

Design Innovation Programme<br />

at Kasetsart<br />

University. He holds the<br />

bachelor of architecture<br />

degree from Kasetsart<br />

University and the<br />

Master of Arts in Architecture<br />

from Staedelschule<br />

Architecture<br />

Class in Germany.<br />

Bhumibhat has past<br />

experience as architect<br />

in architecture firms<br />

in Thailand and Japan.<br />

He is also a part-time<br />

writer at Art4d.<br />

encompass every aspect of the project. The incorporation<br />

of business factors into the design of the<br />

pavilion’s layout was evident. Meanwhile, the design<br />

of the structure and joinery took into account the<br />

logistical and transportation aspects of onsite<br />

installation. What all these components collectively<br />

rendered was the design’s modular components<br />

that could be easily dismantled and reassembled.<br />

The Thematic Pavilion, designed by Context Studio,<br />

is an intriguing manifestation of intricate thought<br />

processes. It reflects a deep consideration of the<br />

existence of contexts, encompassing both the<br />

materials used and the ever-changing environment<br />

in which the work is situated. Its remarkable existence,<br />

from inception to completion, spans the<br />

5as a part of <strong>ASA</strong> EXPO <strong>2023</strong> to its subsequent<br />

dismantling and eventual reassembly on the outdoor<br />

grounds of Thaikoon Steel Group and Thai Premium<br />

Pipe factories.<br />

context-interior.com<br />

Project: Thematic Pavilion by TKS & TPP x CONTEXT STUDIO at Architect Expo <strong>2023</strong> Owner: TKS & TPP Architect: CONTEXT STUDIO Completion: <strong>2023</strong>


62<br />

review<br />

TOA & VG<br />

×<br />

HYPO-<br />

THESIS<br />

The pavilion, which was created by Hypothesis for TOA and VG, presents<br />

an exciting and laudable challenge in establishing an appropriate shared<br />

foundation between the two brands. The design has successfully established<br />

a common aspect that generates consensus among all stakeholders<br />

and allows both brands to preserve their own characteristics<br />

while effectively conveying their desired messages.<br />

Text: Rangsima Arunthanavut<br />

Photo Courtesy of HYPOTHESIS


63<br />

1<br />

01<br />

พื่นที่ภายใน Pavillion ถูก<br />

ออกแบบให้เป็นพีระมิด<br />

น้ำาผุด สะท้อนถึงความเป็น<br />

จุดสูงสุดของแต่ละแบรนด์


64<br />

review<br />

หนึ่งในสี่ Thematic Pavilion ปีนี้ พิเศษกว่าทุกปี<br />

เพราะเป็นการร่วมมือของสองแบรนด์วัสดุ<br />

ที่ต่างกันสุดขั้วอย่าง VG แบรนด์หลังคาและ<br />

ผลิตภัณฑ์รางน้ำา ร่วมกับแบรนด์วัสดุก่อสร้าง<br />

ที่มีชื่อเสียงในเรื่องสีทาบ้านอย่าง TOA โดย<br />

นักออกแบบจาก HYPOTHESIS มารับหน้าที่<br />

ออกแบบร้อยเรียงความแตกต่างของสองแบรนด์<br />

นี้ให้กลายเป็นเรื่องราวเดียวกัน<br />

“เราค่อนข้างแปลกใจตอนได้รับโจทย์ครั้งแรก<br />

เพราะทั้งสองแบรนด์ไม่ได้เป็นบริษัทในเครือ<br />

เดียวกัน แต่พอเราได้เข้าไปคุยกับทั้งคู่ก็ได้<br />

ข้อสรุปว่า ที่เราเข้าใจว่า TOA มีแต่เรื่องสี จริงๆ<br />

เขาเป็นเหมือน Home Solution ย่อมๆ ที่มี<br />

วัสดุต่าง ๆ อย่างฝ้า เคมีภัณฑ์ แผ่นซับเสียง<br />

หรือกระเบื้องด้วย เรียกง่ายๆ ว่ามีเกือบทุกอย่าง<br />

สำาหรับบ้าน แต่สิ่งที่เขายังขาดอยู่ คือ งานหลังคา<br />

และรางน้ำา ด้วยไลน์สินค้าที่ไม่ชนกันเลยเป็น<br />

ที่มาในการจับมือของ TOA และ VG ในครั้งนี้”<br />

ผู้ออกแบบเล่า<br />

ด้วยความที่ทั้งสองแบรนด์มีสินค้าที่หลากหลาย<br />

จึงตามมาด้วยข้อจำากัดซึ่งกลายเป็นความท้าทาย<br />

ในการเลือกใช้วัสดุสำ าหรับงานออกแบบ เนื่องจาก<br />

ทาง TOA มีโจทย์ที่ไม่ต้องการนำาเสนอเรื่องสี<br />

โดยอยากเน้นสินค้าอื่น ๆ เพื่อเปิดโอกาสให้<br />

คนทั่วไปได้ทำาความรู้จักบ้าง ในขณะที่ฝั่ง VG<br />

ชัดเจนโดยต้องการนำาเสนอผลิตภัณฑ์รางน้ำา<br />

และแผ่นหลังคา ในการออกแบบตอนเริ่มต้น<br />

ทีมออกแบบจึงมองว่า หากเริ่มที่ตัววัสดุซึ่งมี<br />

ความหลากหลายมาก ๆ นั้นอาจกว้างและยาก<br />

เกินไปสำาหรับการตีความเชิงพื้นที่ขนาดย่อม ๆ<br />

จึงมองหาคีย์เวิร์ดที่เป็นจุดร่วมระหว่างทั้งสอง<br />

แบรนด์มาใช้เป็นจุดตั้งต้นในการออกแบบพื้นที่<br />

เมื่อได้เรียนรู้และทำาความรู้จักทั้งสองแบรนด์<br />

ทีมออกแบบก็พบว่าสิ่งที่เหมือนกันคือ ‘ความ<br />

เป็นต้นน้ำา’ หรือ ความเป็นผู้บุกเบิกนวัตกรรม<br />

วัสดุต่าง ๆ (Pioneer) ซึ่งเกิดจากการผลิต<br />

และมี Know-how ข้อมูลเป็นของตัวเอง อย่าง<br />

VG เองก็มีการผลิตเม็ดพลาสติกเอง หรือทาง<br />

TOA ก็มีแหล่งทรัพยากรของตัวเองในการสร้าง<br />

ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ นำามาสู่คีย์เวิร์ดตั้งต้นที่ทั้ง<br />

สองแบรนด์ต่างเห็นพ้องต้องกันเพราะนอกจาก<br />

จะสื่อสารความเป็นผู้นำาด้านวัสดุแล้ว ยังเป็น<br />

คีย์เวิร์ดที่ทำาให้นึกถึงความเป็นธรรมชาติ ซึ่ง<br />

เป็นสิ่งที่สองแบรนด์อยากพูดถึงใน Thematic<br />

Pavilion ปีนี้ด้วยเช่นกัน<br />

เมื่อได้คีย์เวิร์ด จึงมาถึงขั้นตอนลงมือออกแบบ<br />

บนพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัสที่ขนาบด้านข้างด้วย<br />

บูธสินค้าของ VG และ TOA ซึ่งมีโจทย์ที่อยาก<br />

แบ่งความเป็นสองแบรนด์อย่างชัดเจน ทำาให้<br />

ผู้ออกแบบออกแบบพื้นที่ในลักษณะลูกบาศก์<br />

ที่แบ่งครึ่งพื้นที่จัดแสดง ในขณะที่ควบคุมภาพ<br />

รวมให้เป็นทิศทางเดียวกันด้วยการเลือกใช้<br />

วัสดุที่ไม่มีสี (Colorless Materials) อย่างสีขาว<br />

หรือวัสดุที่มีพื้นผิวมันวาว เพื่อป้องกันการ<br />

แบ่งแยก Identity ของแบรนด์ด้วยสี<br />

ในการเลือกวัสดุมาใช้ออกแบบส่วนที่เหลือ<br />

ดีไซน์เนอร์ตั้งต้นจากแบรนด์ VG ที่มีวัสดุที่<br />

ต้องการใช้แน่นอน นั่นคือ แผ่นหลังคาและ<br />

รางน้ำาซึ่งเป็นวัสดุที่มีลักษณะเป็นเส้น (linear)<br />

ส่งต่อสู่การเลือกวัสดุของฝั่ง TOA ที่มีความ<br />

เป็นเส้นสายคล้ายกัน และที่สำาคัญต้องไม่มีสี<br />

ก่อนจะมาลงตัวที่โครงคร่าว C-Line และแผ่น<br />

ยิปซัมบอร์ดสะท้อนความร้อน เพื่อให้ภาพ<br />

รวมทั้งหมดกลมกลืนอยู่ด้วยกันได้โดยไม่มี<br />

อะไรเด่นไปกว่ากัน<br />

วัสดุทั้ง 4 ถูกจัดแสดงไล่เรียงขนาดสูงต่ำาไม่<br />

เท่ากันไว้ที่สี่มุมของพื้นที่สี่เหลี่ยมจัตุรัส ผ่าน<br />

การแขวนเข้าไปทั้งหมดโดยไม่มีการยึดด้วย<br />

สกรูเพื่อป้องกันการเสียหายของชิ้นวัสดุ ทำ าให้<br />

หลังจบงานสามารถถอดและนำาวัสดุเหล่านี้<br />

ไปใช้ได้ใหม่โดยเป็นการเสริมแนวคิดเรื่อง<br />

ความยั่งยืนในการออกแบบ หรือหากเป็น<br />

วัสดุที่ถูกตัดให้มีชิ้นที่สั้นลง ทางแบรนด์ก็มี<br />

กระบวนการนำาไป Reuse กลับมาใช้เป็นวัสดุ<br />

ได้ใหม่ ลดการเกิดขยะวัสดุจากการจัดงาน<br />

เหล่านี้ไปได้มากทีเดียว<br />

นอกจากวัสดุของสองแบรนด์ที่ล้อมเป็นสี่มุม<br />

ที่บริเวณใจกลางถูกออกแบบให้เป็นรูปทรง<br />

พีระมิดตาน้ำาผุดซึ่งสามารถสื่อสารได้หลาย<br />

ความหมาย อย่างการสะท้อนถึงความเป็น<br />

จุดสูงสุดของแต่ละแบรนด์ และในอีกความ<br />

หมายหนึ่ง คือการแสดงความเป็นต้นทางของ<br />

วัสดุ โดยที่ภาพรวมยังสื่อสารถึงความเป็น<br />

ธรรมชาติไปพร้อมกัน “เหมือนเราเข้าไปในป่า<br />

แล้วไปเจอตาน้ำา พื้นที่ตรงนี้เลยเปรียบเสมือน<br />

ป่าวัสดุของ TOA และ VG ที่มีตาน้ำ าผุดอยู่ตรง<br />

กลาง” ความยากต่อมา คือ บูธขายสินค้าของ<br />

ทั้งสองแบรนด์ซึ่งขนาบอยู่ด้านข้าง Thematic<br />

Pavilion โดยที่ HYPOTHESIS เองก็รับหน้าที่<br />

ออกแบบทั้งสองบูธจัดแสดงนี้ด้วยเช่นกัน ใน<br />

การดีไซน์ทั้งสามพื้นที่ให้เชื่อมโยง สถาปนิกจึง<br />

คำานึงถึงเรื่องลำาดับการเข้าถึง โดยมี Thematic<br />

Pavilion ทำาหน้าที่เสมือน Gateway ทางเข้า<br />

ก่อนจะแจกจ่ายไปยังบูธ VG และ TOA ที่อยู่<br />

ทางด้านซ้ายและด้านขวา เกิดเป็นฟอร์มของ<br />

พื้นที่ที่มีทางเข้า-ออกสี่ทาง ซึ่งหากเรามอง<br />

จากอีกฝั่งของบูธ ตำาแหน่งของเวที Thematic<br />

Pavilion สีขาวตรงนี้ยังทำาหน้าที่เป็นฉากหลัง<br />

ขนาดใหญ่ให้กับตัวเวทีนั้นได้อีกด้วย<br />

“ผมมองว่า สิ่งที่สนุกและประทับใจในการ<br />

ออกแบบโครงการนี้ของเรา ไม่ใช่แค่เรื่อง<br />

การออกแบบ ฟอร์มหรือความสวยงาม แต่<br />

ความท้าทายในการมองหาจุดร่วมระหว่าง<br />

สองแบรนด์ การตกลงร่วมมือกัน หรือการ<br />

ออกแบบให้ทั้งสองแบรนด์นี้ยังคงความเป็น<br />

ตัวของตัวเองไว้ในขณะที่ตอบโจทย์สิ่งที่ทาง<br />

แบรนด์อยากจะเล่า ตรงกลางที่ลงตัวนี่แหละ<br />

คือสิ่งที่เราในฐานะผู้ออกแบบมองเห็นแล้วรู้สึก<br />

แฮปปี้” สถาปนิกสรุปทิ้งท้าย<br />

“We think the project’s most intriguing and commendable<br />

aspect lies not in its design, form, or aesthetic appeal, but<br />

rather in the challenge it presents of identifying a suitable<br />

common ground between the two brands.


TOA & VG X HYPOTHESIS<br />

65<br />

02<br />

วัสดุแผ่นหลังคา รางน้ำา<br />

โครงสร้าง C-Line และ<br />

แผ่นยิปซัมบอร์ด ที่ถูกนำา<br />

มาจัดแสดง ด้วยการ<br />

ไล่ระดับสูงต่ำา ไว้ทั้ง 4 มุม<br />

ของพื้นที่สี่เหลี่ยมจตุรัส<br />

2<br />

TOA & VG X HYPOTHESIS, one of the four thematic<br />

pavilions this year, is unique for the way it brings<br />

together two building material companies, each<br />

with its own innovations and reputation. VG is<br />

a leading manufacturer of roof sheets and rain<br />

gutters, whereas TOA is a prominent innovator of<br />

paints. The project is joined by HYPOTHESIS, the<br />

studio assigned to be in charge of interweaving<br />

the distinctions between the two brands into a<br />

fascinating story.<br />

“When we were first informed about the brief, we<br />

were quite surprised because the two brands aren’t<br />

even from the same company group. But after<br />

speaking with both VG and TOA, I realized that my<br />

understanding of TOA and assumption that their<br />

company was focused solely in the area of paint<br />

was actually incorrect. Their expertise is in the<br />

realm of Home Solutions, encompassing materials<br />

such as ceilings, chemicals, acoustic materials,<br />

and even tiles. They offer almost everything relating<br />

to home solutions, but roofing and gutters are<br />

something that they lack. And because the two<br />

brands offer different kinds of products, the collaboration<br />

was able to happen,” explained the design<br />

team.<br />

The wide variety of materials offered by the two<br />

companies creates constraints and, ultimately, a<br />

challenge for the design team in terms of selecting<br />

the materials to be used in the design. TOA’s<br />

demand was to focus on introducing other product<br />

lines to potential consumers rather than their color<br />

innovations, for which they are already known,<br />

whereas VG wanted to emphasize their rain gutters<br />

and roofing materials. During the first stages of<br />

the design process, the design team agreed that<br />

developing the design with such a diverse range<br />

of products as the starting point would be too<br />

difficult for a story and interpretation to be accom-


66<br />

review<br />

etary knowledge. For instance, VG has the ability<br />

to produce plastic pellets internally, eliminating<br />

the need for imports. Similarly, TOA owns and has<br />

access to the resources required for its product<br />

manufacturing processes. The keyword “Watershed”<br />

has been mutually agreed upon by two<br />

brands to represent their prominent positions in<br />

material advancements and the natural elements<br />

it signifies—the sentiments both TOA and VG<br />

desired for the design of this year’s Thematic<br />

Pavilion to effectively convey.<br />

Once the keyword was determined, the design<br />

team proceeded to work on the square-shaped<br />

site that was situated between the exposition<br />

booths of VG and TOA. The layout of this site<br />

was intentionally designed to both separate and<br />

bring together the two companies. The design<br />

team divided the site into two sections while still<br />

maintaining the overall vision. This was achieved by<br />

incorporating colorless materials, such as white,<br />

as well as glossy textures, which ensured a cohesive<br />

aesthetic and prevented any brand identity or corporate<br />

colors from being prominently displayed.<br />

The selection of materials for the remaining components<br />

of the pavilion was made in accordance with<br />

VG’s requirement to incorporate the brand’s roof<br />

panels and rain gutters, both of which possess<br />

linear physical characteristics. The same idea was<br />

applied with the use of two TOA materials: C-Line<br />

structure frames and heat-resistant gypsum boards,<br />

which had also chosen for their linear and colorless<br />

features. This meticulous choice ensures that all<br />

materials are aesthetically harmonious and have<br />

equal presence throughout the entire design.<br />

In order to prevent any possible damage, the four<br />

materials are installed at different levels on the<br />

four corners of the square-shaped site using the<br />

suspension method, thereby avoiding the use of<br />

screws. Such an installation allows for the materials<br />

to be reused following the event, aligning with<br />

the intended environmentally conscious design<br />

approach. Certain materials that require cutting<br />

will eventually be incorporated into the processes<br />

of both companies, enabling their reuse and ultimately<br />

reducing the amount of waste generated<br />

during the construction process.<br />

3<br />

03-04<br />

ภาพจำาลองผลงานออกแบบ<br />

Pavilion ที่แสดงให้เห็นถึง<br />

การนำาเสนอ รูปแบบของ<br />

แสงสีที่จะเกิดขึ้นในพื้นที่


TOA & VG X HYPOTHESIS<br />

67<br />

4<br />

รังสิมา อรุณธนาวุฒิ<br />

จบการศึกษาภูมิสถาปั ตย-<br />

กรรม จากมหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร์ ปั จจุบัน<br />

เป็ นนักเขียนเกี่ยวกับงาน<br />

ออกแบบในสื่อสถาปั ตย-<br />

กรรม<br />

Rangsima<br />

Arunthanavut<br />

graduated from the<br />

Department of Landscape<br />

Architecture,<br />

Kasetsart University.<br />

She is currently a<br />

writer on design in<br />

architectural media.<br />

In addition to the elements that give the site its<br />

square-shaped layout, there is a central overflowing<br />

fountain designed in the form of a pyramid, symbolizing<br />

the pinnacle of each brand. The fountain also<br />

designates the two companies as “sources” of<br />

technological progress, all the while symbolizing<br />

elements of nature. It aims to recreate the experience<br />

of encountering a source of water in a forest.<br />

This exhibition space, therefore, alludes to the<br />

dense woodlands of TOA and VG, characterized<br />

by an abundance of materials, with a water source<br />

emerging at the center.<br />

The arrangement of the exhibition booths of the<br />

two companies being in close proximity to the<br />

Thematic Pavilion presented another challenge.<br />

The design team utilizes the order of access to<br />

establish a seamless connection between the<br />

three exhibition spaces, with HYPOTHESIS overseeing<br />

the entirety of the design. The Thematic<br />

Pavilion serves as a gateway, distributing spaces<br />

to the VG and TOA booths on its left and right<br />

sides. The proposed design entails the development<br />

of a spatial program that incorporates a<br />

total of four entry and exit points. The stage of<br />

the Thematic Pavilion is positioned on the opposite<br />

side of the booth, featuring a prominent white hue<br />

that serves as a large backdrop.<br />

“We think the project’s most intriguing and commendable<br />

aspect lies not in its design, form, or<br />

aesthetic appeal, but rather in the challenge it<br />

presents of identifying a suitable common ground<br />

between the two brands. It is fascinating to explore<br />

how we can identify a unifying element that garners<br />

consensus from all parties involved. Additionally,<br />

the design must enable both brands to preserve<br />

their distinctive characteristics while effectively<br />

communicating their intended messages. As architects,<br />

having successfully created a design that<br />

meets all of these requirements was an immensely<br />

satisfying and happy experience,” concluded the<br />

HYPOTHESIS team.<br />

hypothesis.co.th<br />

Project: Thematic Pavilion by TOA & VG x HYPOTHESIS at Architect Expo <strong>2023</strong> Owner: TOA & VG Architect: HYPOTHESIS Completion: <strong>2023</strong>


68<br />

review<br />

WoodDen<br />

×<br />

PAVA<br />

architects<br />

The Teak Pavilion, a collaborative project between PAVA architects and<br />

WoodDen, functioned as both a showroom for construction materials<br />

and a creative environment that encouraged contemplation and inquiry<br />

into the ecological cycle from which teak, a natural material, emerges.<br />

Text: Kullaphut Seneevong Na Ayudhaya<br />

Photo Courtesy of PAVA architects and Spaceshift Studio except as noted


69<br />

1<br />

01<br />

มิติของทางเข้าพื้นที่<br />

นิทรรศการถูกออกแบบ<br />

ผ่านการวางผัง เอียงทำามุม<br />

45 องศา เพื่อสร้างแนว<br />

ปะทะกับแนวระนาบของ<br />

ผืนเปลือกไม้สัก


70<br />

review<br />

ระนาบไม้สักถูกจัดเรียงรายคล้ายป่าสักขนาดย่อม<br />

ครอบคลุมพื้นที่กว่าร้อยตารางเมตรถูกออกแบบ<br />

ขึ้นอย่างโดดเด่นท่ามกลางนิทรรศการการ<br />

ออกแบบทางสถาปัตยกรรมที่อยู่รายล้อม ภายใต้<br />

เงื่อนไขของการเป็นนิทรรศการที่อำานวยให้เกิด<br />

บทสนทนาต่ออนาคตของแวดวงการออกแบบ<br />

ทางสถาปัตยกรรม ระนาบของไม้สักในรูปแบบ<br />

ต่างๆนี้อยู่ภายใต้การออกแบบของทีมผู้ออกแบบ<br />

จาก PAVA architects ร่วมกับ WoodDen ผู้จัด<br />

จำาหน่ายไม้สักที่คร่ำาหวอดในการจัดจำาหน่าย<br />

ไม้สักเพื่องานสถาปัตยกรรม องค์ประกอบอาคาร<br />

และเฟอร์นิเจอร์มากว่า 60 ปี Teak Pavilion<br />

เป็นหนึ่งใน Thematic Pavilion ของงาน<br />

สถาปนิก’66 ที่ว่าด้วยเรื่อง “Time of Togetherness”<br />

ส่งผลให้เกิดการออกแบบ Pavilion ที่<br />

ไม่ได้เป็นแต่เพียงโชว์รูมจัดแสดงวัสดุก่อสร้าง<br />

หากแต่เป็นพื้นที่ชวนให้ขบคิดและตั้งคำาถามต่อ<br />

วงจรของระบบนิเวศเพื่อให้ได้มาซึ่งตัววัสดุ<br />

“เราออกแบบพื้นที่ที่คงความเป็นสัจจะของวัสดุ<br />

ให้มากที่สุด ในที่นี้คือไม้สัก เราต้องการอุปมา<br />

พื้นที่ให้เห็นวงจรชีวิตของไม้สักตั้งแต่ต้นน้ำา<br />

ไปยังปลายน้ำาให้เกิดขึ้นภายใต้นิทรรศการแห่งนี้”<br />

ทีมผู้ออกแบบจาก PAVA architects กล่าวถึง<br />

แนวความคิดเบื้องต้นของการออกแบบ เป็นที่<br />

ทราบกันดีว่าไม้เป็นวัสดุก่อสร้างที่มีความยั่งยืน<br />

สูง เพราะสามารถปลูกใหม่ได้หากวางแผนการ<br />

ปลูกและการตัดไม้เพื่อนำามาใช้งานอย่างมี<br />

ประสิทธิภาพ ในขณะเดียวกันเมื่อเราพิจารณา<br />

ถึงการพัฒนาองค์ความรู้ของการใช้งานไม้ใน<br />

เชิงวัสดุก่อสร้างจะพบทิศทางของการพัฒนา<br />

องค์ความรู้ด้านงานไม้ในงานสถาปัตยกรรม<br />

มากขึ้นเนื่องจากผลิตภัณฑ์จากไม้มีผลกระทบ<br />

ต่อสิ่งแวดล้อมน้อยกว่าผลิตภัณฑ์ทางอุตสาห-<br />

กรรมรูปแบบอื่น เพราะไม้มีอัตรา Carbon<br />

Footprint ที่ต่ำากว่าเมื่อเปรียบเทียบกับวัสดุ<br />

ก่อสร้างอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นปูนซีเมนต์ เคมีภัณฑ์<br />

จากการแปรรูปเชื้อเพลิงฟอสซิล เนื่องจากใช้<br />

พลังงานในการผลิตที่น้อยกว่า และผลิตภัณฑ์<br />

ขั้นสุดท้ายสามารถนำาไปใช้ซ้ำา รีไซเคิล และ<br />

ย่อยสลายได้ทางชีวภาพ<br />

ปัจจุบันมีการนำาเทคโนโลยีและกระบวนการผลิต<br />

ที่ทันสมัยมาใช้ในการผลิตไม้สักเพื่อเพิ่มความ<br />

แม่นยำา ลดเวลาในการผลิต และเพิ่มความเป็น<br />

ไปได้ในการใช้งาน เช่น การใช้กระบวนการ<br />

เผาซึ่งเร็วกว่าการอบแห้ง การใช้เครื่องจักรใน<br />

การเลื่อยไม้เพื่อให้ได้ความแม่นยำามากขึ้น และ<br />

เศษไม้ที่ใช้ไม่ได้น้อยลง โรงงานขึ้นรูปพื้นผิว<br />

สำาเร็จรูปยังช่วยควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์<br />

และลดปริมาณงานในสถานที่ ทำาให้การก่อสร้าง<br />

รวดเร็วขึ้น รวมถึงเทคโนโลยี Mass timber<br />

ซึ่งทำาการผนึกชั้นไม้บีบอัดและยึดด้วยกาว ที่<br />

สามารถควบคุมคุณภาพ ตรวจสอบความแข็งแรง<br />

และทนไฟ จึงสามารถนำาไปใช้ในการก่อสร้าง<br />

อาคารที่ซับซ้อนได้ ในขณะที่ไม้สักมีลักษณะ<br />

เฉพาะตัวอันเป็นเอกลักษณ์ที่ความแข็งแรงสูง<br />

อัตราการหดตัวและยืดตัวต่ำา มีความทนทาน<br />

ต่อปลวก สามารถตัด ไส เหลา และตกแต่งได้<br />

ง่าย ส่งผลให้ไม้สักได้รับความนิยมอย่างสูงต่อ<br />

การใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง และมีอนาคตที่สดใส<br />

ในแนวทางการพัฒนางานสถาปัตยกรรมเพื่อ<br />

ความยั่งยืน<br />

ทีมผู้ออกแบบและผู้จัดจำาหน่ายให้ความสำาคัญ<br />

ต่อการสร้างความเข้าใจต่อความเป็นมาเป็น<br />

ไปเพื่อให้ได้มาซึ่งไม้สักแปรรูป เพื่อสื่อสารต่อ<br />

นักออกแบบ สถาปนิก และบุคคลในแวดวง<br />

สถาปัตยกรรม นำามาซึ่งความพยายามใน<br />

การรังสรรค์พื้นที่เพื่อสร้างความเข้าใจต่อวงจร<br />

ชีวิตของไม้สัก พันธุ์ไม้ที่มีความสำาคัญใน<br />

ทางเศรษฐกิจ สังคม รวมไปจนถึงการเมือง<br />

ตลอดหน้าประวัติศาสตร์ของมนุษยชาติ การ<br />

ออกแบบพื้นที่ป่าสักด้วยการวางผังในระบบ<br />

แนวกริด (Grid System) เอียงทำามุม 45 องศา<br />

ร่นระยะจากขอบเขตของแนวพื้นที่นิทรรศการ<br />

80 เซนติเมตร เพื่อสร้างให้เกิดมุมมองของการ<br />

ซ้อนเหลื่อมเชิงพื้นที่ ในขณะที่ความสูงของแนว<br />

ระนาบไม้สักออกแบบให้มีระนาบสูงต่ำาอุปมา<br />

อุปมัยแทนความสูงของการเติบโตของไม้สักใน<br />

ภูมิประเทศภูเขา ตามลักษณะของนิเวศวิทยา<br />

ป่าเบญจพรรณที่มีความอุดมสมบูรณ์ เนื่องจาก<br />

ไม้สักที่มีคุณภาพสูงมักพบได้ตามป่าเบญจ-<br />

พรรณบนที่แห้งแล้ง โดยขึ้นอยู่ท่ามกลางพรรณ<br />

ไม้นานาชนิด ระนาบของไม้สักจึงถูกออกแบบ<br />

ความสูงให้ไล่จากสูง (ต้นน้ำา) มาสู่พื้นที่ต่ำา<br />

(ปลายน้ำา) ในพื้นที่ปลายน้ำานี้ถูกจัดให้เป็น<br />

พื้นที่นั่ง มีโต๊ะไม้ซึ่งเป็นเฟอร์นิเจอร์จากผู้จัด<br />

จำาหน่ายที่สามารถใช้เป็นพื้นที่นั่งสนทนาได้<br />

ของนิทรรศการเพื่อให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่าง<br />

ผู้เข้าเยี่ยมชม ด้วยแนวความคิดในการลดขยะ<br />

ให้เป็นศูนย์ (Zero waste) แก่วัสดุทั้งหมดใน<br />

นิทรรศการ ผู้ออกแบบได้กำาหนดขนาดของไม้<br />

ไว้ที่ 2 4 และ 6 เมตร ตามขนาดที่เหมาะสม<br />

ต่อการออกแบบระบบประสานทางพิกัด<br />

(Module System) และเป็นการประกอบชิ้นส่วน<br />

แห้ง (Dry process) ทั้งหมดเพื่อให้ง่ายต่อการ<br />

ขนส่ง และติดตั้งนิทรรศการชั่วคราว ประกอบ<br />

กับการเลือกใช้เปลือกไม้ที่เป็นเศษไม้จาก<br />

โรงงานมาจัดแสดงเพื่อสร้างการรับรู้ต่อวัสดุ<br />

ธรรมชาติ ซึ่งเป็นหนึ่งในความต้องการหลัก<br />

ของทีมผู้ออกแบบที่ให้ผู้มาเยี่ยมชมได้สัมผัส<br />

กับวัสดุไม้ที่ถูกละเลย ไม่ว่าจะเป็นชิ้นส่วนของ<br />

ไม้ขนาดเล็ก เปลือกไม้ที่ถูกตัดออกระหว่าง<br />

การแปรรูป หรือไม้ที่มีตำาหนิ สิ่งเหล่านี้อาจ<br />

ถูกด้อยมูลค่าเมื่ออยู่ในระบบอุตสาหกรรม แต่<br />

อาจช่วยจุดประกายความคิดใหม่ ๆ ให้แก่<br />

นักออกแบบที่ได้สัมผัสกับความไม่สมบูรณ์<br />

แบบของวัสดุธรรมชาติ ที่นักออกแบบเองอาจ<br />

จะละเลยในจุดนี้ไป<br />

เมื่อย้อนกลับมาพิจารณาถึงวงจรของวัสดุไม้<br />

ทำาให้พบว่า อาจถึงเวลาแล้วที่เราต้องทบทวน<br />

แนวทางการพัฒนาองค์ความรู้ตั้งแต่ต้นน้ำา<br />

ไปถึงปลายน้ำาต่อวัสดุไม้อย่างเป็นระบบ เพื่อ<br />

สร้างให้เกิดพัฒนาการการใช้ประโยชน์จากไม้<br />

ตั้งแต่การวางแผนการปลูก ไปจนถึงการตัดใช้<br />

ประโยชน์ให้มีประสิทธิภาพ รวมไปจนถึงการ<br />

พัฒนาเทคโนโลยีการแปรรูป และการใช้ในงาน<br />

สถาปัตยกรรมอย่างเป็นระบบ เพื่อสร้างระบบ<br />

นิเวศของไม้ที่ตอบสนองต่อความต้องการของ<br />

ตลาดได้อย่างยั่งยืน ซึ่งจะเป็นความท้าทายครั้ง<br />

สำาคัญที่มีต่อวัสดุก่อสร้างที่เคยเป็นหัวใจสำาคัญ<br />

ของสถาปัตยกรรมในภูมิภาคที่เราสั่งสมองค์<br />

ความรู้มาถึงปัจจุบัน<br />

“เราอยากปรับทัศนคติของสังคมที่มองว่าไม้<br />

กลายเป็นวัสดุตัวแทนของความเป็นเอกสิทธิ์<br />

(Privilege) เฉพาะสำาหรับคนมีรายได้สูง ทั้ง ๆ<br />

ที่แต่เดิมเราอยู่บ้านไม้กันมาตั้งแต่อดีต ใคร ๆ<br />

ก็อยู่บ้านไม้ อยู่ร่วมกันกับธรรมชาติ แต่ปัจจุบัน<br />

วิถีชีวิตของเราถูกตัดขาดออกไป” ทีมผู้ออกแบบ<br />

จาก PAVA กล่าวทิ้งท้ายถึงความสำาคัญของ<br />

วัสดุไม้ วัสดุธรรมชาติที่เติบโตไปด้วยกาลเวลา<br />

เฉกเช่น ‘Time of Togetherness’


WOODDEN × PAVA ARCHITECTS<br />

71<br />

02<br />

แนวระนาบของเปลือกไม้<br />

สอดประสานกับส่วน<br />

จัดแสดงผลิตภัณฑ์ได้<br />

อย่างกลมกลืน<br />

03<br />

ส่วนนั่งพักและเปิดดูแคต-<br />

ตาล็อกผลิตภัณฑ์ของ<br />

WoodDen<br />

“We wanted to reshape society’s perception of wood and how it is<br />

viewed as a symbol of wealth and privilege, despite the fact that<br />

people in the region historically lived in wooden houses and were<br />

closely connected to nature before the modern way of life disconnected<br />

us from all of these things.”<br />

2<br />

3


72<br />

review<br />

4<br />

04<br />

รูปด้านฝั่งส่วนจัดแสดง<br />

นิทรรศการ ออกแบบ<br />

ระนาบไม้แนวสูง (อุปมา<br />

เป็นส่วนต้นน้ำาของป่า)<br />

05<br />

รูปด้านฝั่งโต๊ะและที่นั่ง<br />

ของนิทรรศการ ออกแบบ<br />

ระนาบไม้แนวต่ำา (อุปมา<br />

เป็นส่วนปลายน้ำาของป่า)<br />

06<br />

ผังพื้นของนิทรรศการ<br />

ฝั่งซ้ายคือส่วนต้นน้ำาและ<br />

ฝั่งขวาเป็นส่วนปลายน้ำา<br />

07<br />

แนวระนาบไม้สักถูก<br />

ออกแบบเล่นระดับความ<br />

สูงลดหลั่นเป็นจังหวะ<br />

5<br />

A collection of teak wood poles were arranged in<br />

seemingly random but calculated rows, resembling<br />

a miniature forest, spanning an area of over 100<br />

square meters. This unique design was complemented<br />

by a cluster of architectural exhibitions<br />

that surround it. The teak wood forest was also<br />

created as an exhibition space with the purpose<br />

of fostering and promoting future discussions on<br />

the trajectory of architectural design and industry.<br />

The meticulous arrangement of teak wood members<br />

was the result of the collaborative efforts between<br />

the design team of PAVA architects and WoodDen,<br />

a renowned distributor of teak wood for architectural<br />

construction, building decoration, and furnishing<br />

for over six decades. The Teak Pavilion<br />

was among the thematic pavilions featured at the<br />

Architect Expo <strong>2023</strong>. With a design that reflected<br />

the theme “Time of Togetherness,” the pavilion<br />

not only served as a showroom for construction<br />

materials but also as a creative space that evoked<br />

one to contemplate and question the ecosystem’s<br />

cycle from which this natural material originates.<br />

“We have meticulously crafted the space to maintain<br />

the authentic essence of the material, which in this<br />

case was teak wood. We wanted the space to metaphorically<br />

represent the life cycle of teak wood,<br />

from inception to the end,” said the design team of<br />

PAVA architects about the initial design concept.<br />

It is widely recognized that wood is a highly sustainable<br />

construction material due to its ability to regrow<br />

through efficient planting and cutting practices. An<br />

examination of the evolution of knowledge pertaining<br />

to the utilization of wood in construction<br />

reveals a multitude of distinct directions. This is<br />

primarily attributed to the minimal environmental<br />

impact and low carbon footprint of wood, especially<br />

when compared to other industrial materials like<br />

cement and VOC chemicals. The wood production<br />

process is characterized by its low energy consumption,<br />

and the material itself can be recycled<br />

and disposed of in a biologically friendly manner.<br />

In addition, the integration of contemporary technologies<br />

and manufacturing processes has been<br />

implemented to enhance precision, reduce production<br />

time, and expand functional capabilities.<br />

For example, the use of the burning technique<br />

instead of drying, as well as the utilization of machinery<br />

for more accurate cutting, leads to a decrease<br />

in waste materials. The factory’s capacity to produce<br />

prefabricated finishing materials enables the production<br />

of higher-quality final products and reduces<br />

the need for on-site operations. As a result, construction<br />

can be completed much more efficiently.


WOODDEN × PAVA ARCHITECTS<br />

73<br />

The application of Mass timber technology involves<br />

the compression and jointing of wood components<br />

using adhesive. This innovative approach offers<br />

significant advantages in terms of enhanced quality<br />

control, durability, and fire resistance. The material<br />

produced through this method is suitable for use<br />

in complex building construction projects. Teak<br />

wood exhibits distinctive physical attributes, including<br />

exceptional durability, minimal shrinkage<br />

and expansion, as well as high resistance to termites.<br />

Teak wood possesses the advantageous qualities<br />

of being easily cut, shaped, and decorated, rendering<br />

it a widely favored option for construction<br />

purposes. Its versatility in these aspects contributes<br />

significantly to the potential for more sustainable<br />

architectural advancements, thereby paving the<br />

way for a brighter future.<br />

The design team and distributor acknowledge the<br />

significance of promoting a comprehensive understanding<br />

regarding the sourcing of processed teak<br />

wood. This is a deliberate effort to engage with<br />

designers and architects who are involved in the<br />

architectural industry. This endeavor led to the<br />

establishment of an exhibition space aimed at<br />

6<br />

7


74<br />

review<br />

8<br />

enhancing a better understanding of the life cycle<br />

of teak wood and the immense economic, social,<br />

political, and historical importance it has held<br />

throughout the course of human evolution.<br />

The narrative was conveyed through a teak wood<br />

forest design arranged in a grid system with a<br />

45-degree angle deviation. The forest’s perimeter<br />

was set back by 80 centimeters from the exhibition<br />

space, resulting in a fascinating overlap of perspectives<br />

and spaces. The different heights of the<br />

wooden members symbolize the growth of teak<br />

wood in mountainous regions, where it thrives<br />

amidst the environmental conditions of a Mixed<br />

Deciduous Forest. High-quality teak wood is typically<br />

found in the dry environment of this particular<br />

type of forest, where teak trees flourish alongside<br />

a diverse array of plants and trees. The teak wood<br />

components were intentionally designed to vary<br />

in height, descending from the highest point (the<br />

water source) to the lowest point (the downstream<br />

area). The seating area, located at the lowest point,<br />

was specifically designed to accommodate exhi-<br />

bition goers and foster their interactions, while<br />

the furniture featured in this space was from the<br />

distributor’s brand.<br />

The zero-waste approach was effectively implemented<br />

through the strategic utilization of materials<br />

in the exhibition’s design. The designer has specified<br />

the dimensions of the wood as 2, 4, and 6 meters<br />

in order to accommodate the modular system. All<br />

of the components were specifically designed to<br />

be easily assembled during the manufacturing<br />

process, thereby streamlining the logistical operations.<br />

The purpose of incorporating wood bark<br />

scraps from the manufacturing factory into the<br />

temporary exhibition was to enhance the user’s<br />

experience and perception of natural materials.<br />

Specifically, the exhibition aimed to highlight the<br />

value of smaller pieces of wood, including the<br />

barks that are usually discarded or overlooked<br />

during wood processing procedures, such as the<br />

defected timbers. The use of these components,<br />

which hold less to zero value in industrial production,<br />

hopes to inspire architects and designers to


WOODDEN × PAVA ARCHITECTS<br />

75<br />

08<br />

การเลือกใช้เปลือกไม้<br />

จากเศษไม้จากโรงงานมา<br />

จัดแสดง สะท้อนถึงการ<br />

ส่งข้อความแก่สถาปนิก<br />

และนักออกแบบ เพื่อ<br />

สร้างการรับรู้ต่อตัววัสดุ<br />

ธรรมชาติที่ถูกนำามาใช้ใน<br />

งานสถาปัตยกรรม<br />

09<br />

การจัดวางผนังไม้สัก<br />

ทั ้งหมดของนิทรรศการ<br />

ถูกออกแบบเพื่อเปิด<br />

โอกาสให้ไม้ธรรมชาติได้<br />

สนทนาต่อผู้เข้าเยี่ยมชม<br />

witness new experiences with the imperfections<br />

found in natural materials instead of overlooking<br />

the hidden values.<br />

The reevaluation of the life cycle of wood has led to<br />

the realization that perhaps it is time for everyone<br />

to thoroughly examine the body of knowledge<br />

relating to the material’s upstream and downstream<br />

development. By conducting a systematic reassess<br />

ment of the cycle, one can achieve developments<br />

in the optimal utilization of wood, encompassing<br />

various aspects such as meticulous cultivation<br />

and harvesting planning, technological enhancements<br />

in wood processing, and the systematic use<br />

of wood in architectural construction. The combination<br />

of these factors can ultimately establish an<br />

ecosystem that enables teak wood to meet market<br />

demands in a genuinely sustainable manner. This<br />

has the potential to redefine the utilization of this<br />

building material, which was once a significant<br />

component in this region’s vernacular architecture.<br />

“We wanted to assist in reshaping society’s perception<br />

of wood and how it is frequently viewed as a<br />

symbol of wealth and privilege, despite the fact<br />

that people in the region historically lived in wooden<br />

houses and were closely connected to nature before<br />

the modern way of life disconnected us from all of<br />

these things,” concluded the design team of PAVA<br />

architects about the importance of wood, whose<br />

growth is nurtured by time, just like the theme<br />

‘Time of Togetherness’ implies.<br />

pavaarchitects.com<br />

กุลพัชร์ เสนีวงศ์<br />

ณ อยุธยา<br />

ปั จจุบันเป็ นหัวหน้านักวิจัย<br />

สำารวจภาคสนามให้กับ<br />

Maritime Asia Heritage<br />

Survey Thailand<br />

Project มหาวิทยาลัย<br />

เกียวโต ประเทศญี่ปุ ่ น<br />

และนักศึ กษาปริญญา<br />

เอกสาขาสถาปั ตยกรรม<br />

พื้นถิ ่น คณะสถาปั ตย-<br />

กรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร สนใจศึกษา<br />

มรดกทางวัฒนธรรมและ<br />

ขณะนี้กำาลังทำาวิจัยเกี่ยว<br />

กับสภาพแวดล้อมสรรค์<br />

สร้างในพื้นที่ภูมิทัศน์<br />

วัฒนธรรมมลายู<br />

Kullaphut Seneevong<br />

Na Ayudhaya<br />

is a Field Team Leader<br />

of the Maritime Asia<br />

Heritage Survey Thailand<br />

Project, Kyoto<br />

University, Japan, and<br />

a vernacular architecture<br />

Ph.D. candidate at<br />

Silpakorn University.<br />

His research on the<br />

built environment of<br />

the Malay cultural<br />

landscape is being<br />

done out of a passion<br />

for cultural heritage.<br />

9<br />

Project: Thematic Pavilion by WoodDen x PAVA architects at Architect Expo <strong>2023</strong> Owner: WoodDen<br />

Architect: PAVA architects Completion: <strong>2023</strong>


76<br />

Forum


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

ACT<br />

77<br />

International<br />

Forum <strong>2023</strong><br />

The International Forum at <strong>ASA</strong> Expo <strong>2023</strong><br />

distinguishes itself from previous iterations through<br />

its affiliation with the ACT Forum’23. This collaboration<br />

marks the inaugural partnership between the<br />

Architect Council of Thailand, the Association<br />

of Siamese Architects under Royal Patronage,<br />

the Thai Interior Designers Association, the Thailand<br />

Association of Landscape Architects, and the Thai<br />

Urban Designers Association. The speakers at this<br />

year’s event exhibit a diverse array of perspectives<br />

and methodologies in their respective disciplines,<br />

encompassing a broad spectrum<br />

of professional domains including architecture,<br />

interior architecture, landscape architecture,<br />

and urban architecture.<br />

International Forum ในงานสถาปนิก’66 มีีความีพิิเศษแตกต่างจากการจัดบรรยายในปี อื่่นๆ เน่อื่งจากเป็ นการจัดในนามีขอื่ง ACT<br />

Forum’23 ซึ่่ งการร่วมีมี่อื่ครังแรกขอื่งสภาสถาปนิก สมีาคมีสถาปนิกสยามีในพิระบรมีราชููปถัมภ ์ สมีาคมีมีัณฑนากรแห่่งประเทศไทย<br />

สมีาคมภ ูมิิสถาปนิกประเทศไทย และสมีาคมีสถาปนิกผัังเมี่อื่งไทย ผัูบรรยายในปี นีจ่งมีีขอื่บเขตการทำางานและรูปแบบขอื่งผัลงานที<br />

ทีห่ลากห่ลาย ครอื่บคลุมีสาขาวิชูาชีีพิ ทังสถาปั ตยกรรมีห่ลัก สถาปั ตยกรรมีภายใน ภูมิิสถาปั ตยกรรมี และสถาปั ตยกรรมีผัังเมี่อื่ง<br />

Text: Asst. Prof. Saithiwa Ramasoot, Ph.D.


78<br />

Forum<br />

What It Means to Create Place<br />

Angela Spathonis -Gensler (Singapore),<br />

Tanya Suvannapong, Chakkrit Luangcharoenrat<br />

Angela Spathonis เป็น Principal และ Managing Director ของ Gensler<br />

(Singapore) เป็นผู้บรรยาย ร่วมกับคุณธัญญา สุวรรณพงศ์ และ<br />

ดร.จักรกฤษณ์ เหลืองเจริญรัตน์ ผู้บริหารของ Gensler สำ านักงานออกแบบ<br />

ที่มีสาขากระจายไปทั่วโลกและได้รับรางวัล Best Interior Design Practice<br />

เป็นเวลา 49 ปีต่อเนื่องถึงปัจจุบัน Gensler มีปรัชญาการทำ างานที่ต้องการ<br />

สร้างโลกที่ดีขึ้นผ่านการออกแบบ โดยใช้หลักการออกแบบที่ขับเคลื่อน<br />

ด้วยข้อมูล ที่ผ่านการค้นคว้าวิจัยมาอย่างเข้มข้น บริษัทแบ่งผลกำ าไรของ<br />

ทุกปีเพื่อลงทุนในการทำาวิจัยและเปิดให้สาธารณะเข้าถึงและดาวน์โหลด<br />

ข้อมูลได้ฟรี นอกจากนี้ ยังมุ่งมั่นที่จะนำาผลงานไปสู่ carbon net zero<br />

และพยายามลดการใช้พลังงานให้มากที่สุด<br />

1<br />

Gensler เริ่มต้นจากการเป็นผู้เชี่ยวชาญทางการออกแบบสำานักงานหรือ<br />

Workplace Design ผลงานการออกแบบสำานักงานจำานวนมากของ Gensler<br />

สะท้อนคุณสมบัติที่สำานักงานทุกแห่งจำาเป็นต้องมี อันได้แก่ Inclusivity,<br />

Sustainability และ Wellbeing สำานักงานควรทำาหน้าที่เป็นจุดหมาย<br />

ที่สร้าง Place หรือ ความเป็นถิ่นที่ มากกว่าเป็นเพียงพื้นที่ทางกายภาพ<br />

สำาหรับการทำางานเท่านั้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งหลังจากยุคโควิดเมื่อโลกของ<br />

การทำางานเปลี่ยนไปสู่ลักษณะ Hybrid ที่มีการผสมผสานระหว่างการ<br />

ทำางานในสำานักงานและแบบออนไลน์ในสัดส่วนต่าง ๆ กัน แต่เกิดคำาถาม<br />

ในทิศทางเดียวกันว่าเราจะทำาอย่างไรให้คนอยากกลับไปใช้สำานักงาน<br />

เป็นสถานที่ทำางาน และจะสามารถสร้างความสัมพันธ์ระหว่างคนทำางาน<br />

แบบไร้รอยต่อได้อย่างไร<br />

ตัวอย่างหลายโครงการที่นำามาประกอบการบรรยายแสดงถึงขอบเขต<br />

การทำางานของ Gensler ที่ไปไกลกว่าการออกแบบหรือแก้ปัญหาเชิงพื้นที่<br />

เช่น ในโครงการ True Digital Park ซึ่งเป็นพื้นที่ทำางานและรวมตัวกัน<br />

ของคนรุ่นใหม่ และกลุ่ม Start-up ครอบคลุมการเสนอโมเดลทางการเงิน<br />

ให้กับลูกค้าเพื่อแปลงพื้นที่ใช้สอยเป็นผลตอบแทนที่เหมาะสม โครงการ<br />

Toyohashi City Library ประเทศญี่ปุ่น ใช้การออกแบบพื้นที่สำาหรับ<br />

กิจกรรมชุมชนเพื่อปิดช่องว่างระหว่างช่วงวัย และดึงชุมชนเข้ามามีส่วน<br />

ร่วมระหว่างกระบวนการออกแบบ โครงการ Shiseido Headquarters<br />

ประเทศญี่ปุ่น สะท้อน Core value ของผลิตภัณฑ์ของบริษัทและก้าวข้าม<br />

ขอบเขตการออกแบบสำานักงานแบบอนุรักษ์นิยมสู่การนำาเสนอวิสัยทัศน์<br />

ที่ทันสมัย โครงการ Pladis Global Headquarter ใน UK สะท้อนการ<br />

ผสมผสานโครงการ Hospitality เข้ากับ Workplace เพื่อสร้างประสบการณ์<br />

พิเศษแก่ผู้ใช้งาน และสะท้อนถึงวัฒนธรรมของบริษัทนั้น โครงการ<br />

LinkedIn Omaha ต้องการสร้างความยั่งยืนด้วยพลังงานทดแทน และ<br />

การเลือกใช้วัสดุ อุปกรณ์และเทคโนโลยีที่ช่วยลดการใช้พลังงาน โดยใช้<br />

Simulation tools ช่วยทดลองหาการสร้างเท่าที่จำาเป็นเท่านั้น โครงการ<br />

Gensler Singapore Office ทำาหน้าที่พื้นที่ทดลอง และพิสูจน์แนวคิด<br />

การออกแบบสำานักงานก่อนจะนำาไปใช้กับลูกค้า เช่น พื้นที่ปฏิสัมพันธ์<br />

ความยืดหยุ่นของพื้นที่ ระยะและสัดส่วนที่เหมาะสมสำาหรับพื้นที่<br />

ทำางานเดี่ยวและเป็นทีม เป็นต้น<br />

2


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

79<br />

3<br />

What It Means to Create Place<br />

Angela Spathonis -Gensler (Singapore),<br />

Tanya Suvannapong, Chakkrit Luangcharoenrat<br />

Angela Spathonis, the Principal and Managing Director of<br />

Gensler (Singapore), is the speaker of this session together<br />

with Tanya Suvannapong and Dr. Chakkrit Luangcharoenrat,<br />

executives of the international design firm Gensler, which has<br />

won the Best Interior Design Practice award for the past 49<br />

years. Gensler has developed a design philosophy that aims to<br />

make the world a better place. It employs data-driven design<br />

principles supported by extensive research. The company<br />

invests its annual proceeds in research and provides the public<br />

with free access to and downloads of its data. Additionally,<br />

it endeavors to contribute to carbon net zero and reduce energy<br />

consumption to the greatest extent feasible.<br />

Gensler is widely regarded as an expert in office or workplace<br />

design. The extensive portfolio of the firm’s office designs<br />

reflects the qualities that every office should possess: inclusivity,<br />

Sustainability, and Wellbeing. According to Gensler, an office<br />

should be more than just a physical space for work; it should<br />

be a destination that establishes a place or a community. Especially<br />

after COVID-19, when the world of work has shifted to<br />

a hybrid style that combines working in the office and online<br />

in varying proportions, a common question arises: how can we<br />

encourage people to return to the office as their workplace,<br />

and how can we create seamless connectivity?<br />

4<br />

Examples of projects included in the lecture demonstrate that<br />

Gensler’s work extends beyond spatial design and problem<br />

solving; for instance, the True Digital Park project in Bangkok,<br />

which is a workspace and gathering place for young professionals<br />

and start-ups, includes offering financial models to<br />

convert living space into appropriate returns. The Toyohashi<br />

City Library Project in Japan uses the design of community<br />

spaces to bridge the generation divide and involve the community<br />

in the design process. The Shiseido Headquarters Project<br />

in Japan embodies the fundamental values of the company’s<br />

products and pushes the boundaries of traditional office design<br />

to deliver a vision of the future. The Pladis Global Headquarters<br />

initiative in the United Kingdom exemplifies the integration of<br />

hospitality and the workplace to create a distinctive user experience<br />

and reflect the company’s culture. The LinkedIn Omaha<br />

initiative reflects the desire to be sustainable through the use<br />

of renewable energy and materials, equipment, and technology<br />

that reduce energy consumption by using simulation tools to<br />

experiment with building only as much as is required. The<br />

Gensler Singapore Office project functions as a test and proofof-work<br />

for an office design concept, such as interactive spaces,<br />

space flexibility, and appropriate distances and proportions<br />

for individual and team workspaces, before it is implemented<br />

for clients.<br />

5<br />

Photo Reference<br />

1. The Association of Siamese Architects Under Royal Patrouge<br />

2-5. Gensler.com


80<br />

Forum<br />

ช่วงท้ายของการบรรยาย Gensler นำาเสนอข้อมูลบางส่วนจากผลการสำารวจ<br />

เพื่อทำาความเข้าใจกับการออกแบบพื้นที่ทำางานหลังยุคโควิด เช่น เหตุผล<br />

ที่คนเข้ามาทำางานในสำานักงาน สัดส่วนการทำางานใน และนอกสำานักงาน<br />

ในอุดมคติ สิ่งอำานวยความสะดวกที่ดึงดูดให้มาทำางานในสำานักงาน<br />

บรรยากาศและวิธีการใช้พื้นที่สำานักงาน เป็นต้น ข้อมูลเหล่านี้ถูกนำามา<br />

ปรับใช้เพื่อออกแบบสำานักงานได้เหมาะสมสำาหรับแต่ละกรณี นอกจากนี้<br />

Gensler ได้เชิญคุณเบญจวรรณ อ่องศรี จาก Lotus Thailand เพื่อ<br />

แลกเปลี่ยนข้อมูลจากลูกค้าที่ได้ทำางานร่วมกัน ซึ่งพบว่าข้อมูลทิศทาง<br />

การออกแบบที่ได้คาดการณ์ไว้ก่อนยุคโควิด มีทั้งเรื่องที่เกิดขึ้นและ<br />

ไม่เกิดขึ้นจริงหลังยุคโควิด การออกแบบพื้นที่ทำางานต้องประกอบด้วย<br />

hardware ของสถานที่ และ software ของกิจกรรมที่ดึงดูดและรองรับ<br />

ความต้องการและสร้างชีวิตชีวา เพื่อให้พนักงานเข้ามาทำ างานในสำานักงาน<br />

และพบว่าการกลับเข้ามาทำางานในสำานักงานสำาคัญต่อการสร้างวัฒนธรรม<br />

องค์กร และกลุ่มพนักงานรุ่นใหม่ต้องการ face-to-face learning เพื่อ<br />

เรียนรู้จากผู้ที่มีประสบการณ์ อย่างไรก็ตาม การออกแบบพื้นที่ทำางาน<br />

ไม่มีสูตรตายตัว แต่ละองค์กรต้องแสวงหาทิศทางที่เหมาะสมกับวัฒนธรรม<br />

และลักษณะการทำางานตัวเอง<br />

Toward the end of the talk, Gensler presented the results of<br />

a survey to understand post-COVID workspace design, such<br />

as why people come to work in the office, the proportion of<br />

work in and ideally outside the office, the facilities that attract<br />

people to work in the office, the atmosphere and how the office<br />

space is utilized, etc. These data were used to establish the<br />

most suitable office for each case. In addition, Gensler invited<br />

Benchawan Ongsri, an executive from Lotus Thailand, to exchange<br />

information from customers who have worked together.<br />

It was discovered that the information on the design direction<br />

that had been predicted prior to the COVID-19 pandemic<br />

included events that occurred and events that did not occur.<br />

In conclusion, the hardware of the venue and the software of<br />

activities that engage, support, and invigorate the requirements<br />

of office workers must be incorporated into the design of the<br />

workspace. In addition, it has been discovered that returning<br />

to work in the office is essential for the development of corporate<br />

culture. The new generation of employees requires face-toface<br />

instruction from seasoned professionals. However, there<br />

is no defined formula for the design of a workspace. Each<br />

organization must pursue a course of action suited to its ethos<br />

and work style.<br />

Form Follows Systems<br />

Wong Mun Summ, WOHA (Singapore)<br />

Wong Mun Summ เป็นกรรมการผู้ร่วมก่อตั้ง WOHA (Singapore) และ<br />

เป็นอาจารย์สอนสถาปัตยกรรมที่ National University of Singapore<br />

(NUS) การบรรยายของ Wong Mun Summ แสดงความมุ่งมั่นของเขา<br />

ในการทำางานร่วมกับธรรมชาติตั้งแต่ผลงานชิ้นแรกจนถึงปัจจุบัน เขาเชื่อว่า<br />

ชีวิตต่างๆ อยู่ร่วมกันเป็นระบบ มีความโยงใยสัมพันธ์กัน จึงจำาเป็นต้อง<br />

คำานึงถึงผลการดำาเนินการในระยะยาว WOHA ผ่านการเดินทางที่มี<br />

แนวคิดแตกต่างกันในแต่ละช่วง จากช่วงแรกที่ต้องการสร้างสถาปัตยกรรม<br />

ที่ทะเยอทะยานในการสร้างผลกระทบในวงกว้าง สถาปัตยกรรมที่พึ่งพา<br />

ตนเอง สู่สถาปัตยกรรมที่หายใจได้ และ Garden City Mega City และ<br />

สู่แนวคิด Form Follows System ในปัจจุบัน ซึ่งกำาลังถูกพัฒนากรอบ<br />

แนวคิดและวิธีการในการออกแบบสถาปัตยกรรมยั่งยืนที่ขยายสเกล<br />

กว้างขึ้นเรื่อยๆ<br />

แนวคิด Form Follows System มีหลักการให้คิดและออกแบบในภาพรวม<br />

อย่างเป็นระบบ พัฒนาผลิตภาพ สร้างความยั่งยืนและความสุข ซึ่งกระตุ้น<br />

ให้คิดถึงภาพใหญ่มากกว่าปัญหาย่อยๆ เพื่อหาทางออกที่ Win-Win<br />

ด้วยการลงทุนที่เท่าเดิม สถาปัตยกรรมของ WOHA เป็นส่วนหนึ่งของ<br />

เมืองในอนาคตที่เปลี่ยนแปลงรูปแบบได้ โดยมีหลักการออกแบบที่ชัดเจน<br />

สำาหรับปรับใช้กับโครงการแต่ละกลุ่ม สำาหรับโครงการในกลุ่ม Stacked<br />

Mid-rise typology เน้นการซ้อนชั้นอาคารที่หนาเท่าหนึ่งหน่วยพื้นที่<br />

ใช้สอย และเปิดการเข้าถึงหลายระดับให้อาคารโปร่งพรุนสำ าหรับสอดแทรก<br />

สวนและลมพัดผ่านได้ ดังที่เห็นในตัวอย่างของ School of the Arts,<br />

Singapore แทรกที่ว่างโล่งเพื่อให้อาคารโปร่งและสร้างพื้นที่ทางสังคม<br />

Form Follows Systems<br />

Wong Mun Summ, WOHA (Singapore)<br />

Wong Mun Summ is a co-founder of the Singapore-based<br />

practice WOHA and an architecture professor at the National<br />

University of Singapore (NUS). The lectures of Mun Summ<br />

demonstrate his dedication to working with nature, from his<br />

earliest works to the present. He believes that existence coexists<br />

as a system as an interconnected network, and, as such, longterm<br />

performance must be considered. WOHA’s journey can<br />

be divided into distinct phases, beginning with the desire to<br />

create an ambitious architecture with a large impact and progressing<br />

through Self Sufficiency, Breathing Architecture,<br />

Garden City Mega City, and Form Follows System, the current<br />

framework and method for designing sustainable architecture<br />

that is expanding to a larger scale.<br />

The Form Follows System concept includes principles for<br />

systematic global thought and design, increasing productivity,<br />

fostering sustainability, and fostering pleasure. This encourages<br />

a focus on the big picture rather than specific issues,<br />

with an investment-neutral solution that benefits both parties.<br />

The architecture of WOHA is a component of a transformable<br />

future city. There are distinct design principles applicable to<br />

each project division. For developments within the Stacked<br />

Mid-rise typology, the emphasis is placed on stacking floors<br />

to a thickness of one usable unit. And multiple access points<br />

allow garden inserts and gusts to pass through the perforated<br />

building. The BRAC University, Bangladesh, project divided


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

81<br />

9<br />

6<br />

7<br />

8<br />

Photo Reference<br />

6-7, 9-10. woha.net<br />

8. The Association of Siamese Architects Under Royal Patrouge<br />

10


82<br />

Forum<br />

<strong>13</strong><br />

11<br />

14<br />

12<br />

Photo Reference<br />

11-15. woha.net<br />

15


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

83<br />

ให้นักศึกษาได้พบปะ โครงการ BRAC University, Bangladesh แบ่งอาคาร<br />

เป็นก้อนย่อยๆ เพื่อเปิดช่องลมและสร้างพื้นที่สาธารณะที่ระดับพื้นและ<br />

ระดับหลังคา สำาหรับโครงการ Park Royal Collection Pickering ออกแบบ<br />

ตอบรับความเขียวของสวนสาธารณะที่ตั้งอยู่ติดกัน ด้วยสวนลอยฟ้า<br />

หลายระดับบนอาคารที่มองเห็นได้ชัดเจนและสร้างผลกระทบให้กับ<br />

บริบทรอบข้าง ในการออกแบบโครงการที่ขนาดใหญ่ขึ้น อย่าง MSE<br />

Headquarters, Singapore ก็ยังสามารถใช้แนวคิดร่วมกันได้หลายประการ<br />

เช่น อาคารแบบ Courtyard typology ที่โอบล้อมสวนตรงกลาง ถูกแบ่งเป็น<br />

ก้อนย่อยๆ และยกขึ้นเพื่อเปิดชั้นล่างเป็นพื้นที่สาธารณะสำาหรับการมี<br />

ส่วนร่วมของชุมชน และใช้พืชพรรณประกอบอาคารช่วยลดอุณหภูมิ<br />

ในอาคารลง<br />

สำาหรับโครงการในกลุ่ม Stacked Skyscraper Typology หลักการออกแบบ<br />

ที่ใช้ร่วมกันคือการวางซ้อนพื้นที่ใช้สอยแทรกด้วยชั้นของสวนลอยฟ้า<br />

Sky park สร้าง Breezeway atrium กลางอาคารเพื่อให้ลมพัดผ่านได้<br />

ทั้งทางตั้งและทางนอน แล้วหุ้มอาคารด้วย Green façade ที่สร้างความ<br />

หลากหลายทางชีวภาพ ดังที่เห็นจากตัวอย่างผลงาน เช่น โครงการ Oasia<br />

Hotel Downtown ประสิทธิภาพการประหยัดพลังงานด้วยวิธีการออกแบบ<br />

เหล่านี้สามารถวัดได้จริง ทั้งอุณหภูมิพื้นผิวอาคารที่ต่ำากว่าอาคารสูง<br />

ทั่วไปที่หุ้มด้วยเหล็กหรือกระจก และการลดการใช้พลังงานในอาคาร<br />

และการปล่อยความร้อนสู่เมือง ซึ่งสามารถใช้เป็นทางออกสำาหรับการ<br />

แก้ปัญหา Urban Heat Island ในเมืองต่างๆ รวมทั้งกรุงเทพฯ แนวคิด<br />

การออกแบบ Skyscraper นี้สามารถประยุกต์กับประเภทของการใช้สอย<br />

ที่หลากหลายได้ เช่น โครงการ Pan Pacific Orchard ที่สร้างโรงแรม<br />

บูทีคซ้อนกัน 4 แห่งตามความสูงของอาคารเพื่อนำาเสนอธีมของโรงแรม<br />

ที่แตกต่างกันและกระจายพื้นที่สีเขียวไปยังชั้นต่างๆ ให้รู้สึกเหมือนอยู่<br />

ใกล้พื้นดิน<br />

กลุ่ม Housing Vertical City Typology การกระจายสิ่งอำานวยความสะดวก<br />

และการสร้างสุขภาวะผ่านปฏิสัมพันธ์ในชุมชนเป็นสิ่งที่สำาคัญนอกเหนือ<br />

จากเทคนิคการสร้างพื้นที่สีเขียวและช่องลมคล้ายอาคารประเภทอื่น<br />

WOHA ออกแบบโครงการขนาดใหญ่เหล่านี้คล้ายการสร้างกลุ่มของ<br />

อาคารสูง โดยเว้นระหว่างอาคารด้วยช่องลมแล้วสร้างการเชื่อมต่อ<br />

แนวนอนระหว่างอาคารเป็นระยะตลอดทั้งความสูงพื้นที่สาธารณะ<br />

ที่ระดับดินและ Sky park ในระดับชั้นต่างๆ มีบทบาทในการสร้าง<br />

ปฏิสัมพันธ์ให้ชุมชน และอำานวยความสะดวกให้ผู้อยู่อาศัยโดยไม่จำาเป็น<br />

ต้องลงจากอาคารมายังพื้นดิน การเก็บข้อมูลจากโครงการ Kampung<br />

Admiralty ซึ่งเป็นอาคาร Mixed-use แสดงให้เห็นประสิทธิภาพในการ<br />

สร้างความหลากหลายทางชีวภาพและระบบนิเวศ รวมถึงศักยภาพ<br />

การสร้างความเป็นชุมชนให้เกิดขึ้นในอาคารสูง WOHA ยังขยายการ<br />

ประยุกต์แนวคิดเหล่านี้กับโครงการที่ขนาดใหญ่ขึ้น แม้แต่กับโครงการ<br />

ในพื้นที่ที่มีภูมิอากาศที่แตกต่างไป และเมื่อประยุกต์กับโครงการใน<br />

ระดับเมืองก็สามารถสร้างเมืองที่ยืดหยุ่นและพึ่งพาตนเองได้ ดังที่ WOHA<br />

ได้จินตนาการสำาหรับสิงคโปร์ในอนาคต<br />

the building into smaller blocks to allow for better ventilation<br />

and to create public spaces at floor and roof levels, as seen at<br />

the School of the Arts in Singapore, where the space was<br />

added to make the building airy and to create social spaces<br />

for students to meet. For the Park Royal Collection Pickering<br />

project, the design responds to the adjacent park’s vegetation<br />

with a visible multi-level sky garden on the building that has<br />

an impact on the surrounding context. In designing a larger<br />

project, such as the MSE Headquarters in Singapore, several<br />

concepts can be combined, such as the courtyard typology<br />

that wraps a central garden and was divided into small blocks<br />

and raised to open the ground floor as a public space for<br />

community participation, as well as the use of vegetation to<br />

help reduce the temperature inside the building.<br />

A common design principle for projects in the Stacked Skyscraper<br />

Typology is to stack the functional spaces with layers<br />

of sky parks, creating a Breezeway atrium in the center of the<br />

building to enable wind to flow both vertically and horizontally.<br />

Then, cover the building’s exterior with vegetation to promote<br />

biodiversity. Examples of this organization’s work include the<br />

Oasia Hotel Downtown. The effectiveness of the energy savings<br />

achieved by these design techniques can be quantified. The<br />

surface temperature of the building is lower than that of conventional<br />

high-rise buildings clad in steel or glass, and it also<br />

reduces energy consumption in buildings and heat emissions<br />

to the city, providing a solution for urban heat island problems<br />

in many cities, including Bangkok. The Stacked Skyscraper<br />

design concept can be applied to a wide range of applications,<br />

such as the Pan Pacific Orchard project, in which four boutique<br />

hotels are stacked across the height of the building to showcase<br />

different hotel themes and spread the green spaces to different<br />

floors to create a sense of proximity to the ground.<br />

For the Housing Vertical City Typology, the distribution of<br />

facilities and building wellness through community interaction<br />

is a crucial addition to the techniques of building green spaces<br />

and ventilations similar to those of other building types. WOHA’s<br />

approach is comparable to assembling a cluster of skyscrapers,<br />

adding ventilation spaces between the buildings, and establishing<br />

a horizontal connection between the buildings periodically<br />

throughout their height, with public spaces at ground level.<br />

The sky gardens at various levels facilitate community interaction<br />

and allow residents to access various points in the<br />

building without having to descend to ground level. An example<br />

of this approach is the Kampung Admiralty Project, a mixeduse<br />

building whose data collection demonstrates its efficacy<br />

in fostering biodiversity and ecosystems, as well as its potential<br />

for fostering community in high-rise buildings. Additionally,<br />

WOHA is extending the application of these concepts to larger<br />

initiatives in a variety of climates. And when applied to cityscale<br />

initiatives, it can create a resilient and self-sufficient city,<br />

as WOHA envisions for future Singapore.


84<br />

Forum<br />

Shaping Singapore through<br />

Urban Design<br />

Fun Siew Leng, Chief Urban Designer, Urban<br />

Redevelopment Authority - URA (Singapore)<br />

Fun Siew Leng เป็นหัวหน้านักออกแบบผังเมืองของ The Urban Redevelopment<br />

Authority ซึ่งเป็นหน่วยงานระดับประเทศของสิงคโปร์ที่ทำ าหน้าที่<br />

วางแผนและอนุรักษ์เมือง เพื่อทำาให้สิงคโปร์เป็นเมืองที่เหมาะสำาหรับ<br />

การอยู่อาศัย ทำางาน และใช้ชีวิต ความท้าทายในการพัฒนาเมืองสิงคโปร์<br />

เกิดจากข้อจำากัดทางกายภาพในเรื่องของขนาด ลักษณะพื้นที่และทรัพยากร<br />

จึงจำาเป็นที่จะต้องประสานบริบท ผู้คนและการปฏิบัติจริงอย่างเป็นองค์รวม<br />

การสร้างสิงคโปร์ให้เป็นเมืองที่โดดเด่น สนุกสนานและมีพลัง อาศัยการ<br />

พัฒนาเมืองในระดับต่างๆ ร่วมกัน ความโดดเด่นในการออกแบบเมือง<br />

สิงคโปร์เกิดจากผังเมืองที่มีการกำาหนดลักษณะของย่าน และแผนการ<br />

อนุรักษ์อาคารเก่าจำานวนมากควบคู่ไปกับการพัฒนาเมืองไปข้างหน้า<br />

อาคารสำาคัญถูกสร้างเป็นศูนย์กลางของย่านเส้นขอบฟ้าของสิงคโปร์<br />

จึงมีลักษณะเฉพาะตัวที่เกิดจากการอยู่เคียงข้างกันระหว่างเก่าและใหม่<br />

บรรยากาศที่มีชีวิตชีวาในเมืองถูกสร้างสรรค์จากวิธีการต่างๆ ตัวอย่างเช่น<br />

การออกแบบไฟในเวลากลางคืน การอนุรักษ์อาคารขนาดเล็กบริเวณ<br />

ริมน้ำา การเปิดมุมมองสู่อาคารที่มีความสูงลดหลั่นกันในเมือง รูปทรงและ<br />

การใช้ประโยชน์หลังคา และทางเดินหลังคาคลุม โดยเฉพาะทางเดิน<br />

หน้าตึกแถวหรือ Five-foot way ที่สร้างความพรุนให้กับเมือง การ<br />

กำาหนดให้มีการใช้สอยอย่างต่อเนื่องบริเวณพื้นที่ชุมชนและย่านการค้า<br />

การวางเครือข่ายเส้นทางเดินทั้งบนดินและใต้ดิน และการร้อยเรียง<br />

พื้นที่สาธารณะตามจุดต่างๆ ให้เชื่อมต่อกัน เป็นต้น<br />

16<br />

การออกแบบเมืองยังคำานึงถึงสภาพภูมิอากาศร้อนชื้นของสิงคโปร์ทำาให้<br />

จำาเป็นต้องสร้างพื้นที่สาธารณะที่อยู่ใต้ร่มเงาหรือมีหลังคาคลุมแตกต่าง<br />

จากการออกแบบลานสาธารณะของยุโรป รวมถึงการพัฒนาโครงข่าย<br />

ทางเดินใต้ดิน ที่เชื่อมต่อเมืองในทุกสภาพอากาศ นอกจากนี้ รัฐยังมี<br />

เครื่องมือกระตุ้นการพัฒนาพื้นที่ เช่น โครงการ Reinventing Spaces<br />

into Vibrant Places (RSVP) เพื่อให้เอกชนเสนอการพัฒนาพื้นที่ว่าง<br />

สำาหรับกิจกรรมใหม่ๆ ในชุมชน และมีการมอบทุนสนับสนุนเพื่อกระตุ้น<br />

การติดตั้ง Public Art ในรูปแบบต่างๆ เพื่อบอกเล่าเรื่องราวและสร้าง<br />

ชีวิตชีวาให้กับพื้นที่สาธารณะ URA ให้ความสำาคัญกับการผลักดัน<br />

แผนพัฒนาให้เกิดขึ้นจริง ซึ่งในกรณีของสิงคโปร์สามารถทำาได้สะดวก<br />

เนื่องจากรัฐเป็นเจ้าของพื้นที่กว่า 80% ในประเทศ URA ทำาหน้าที่<br />

กำาหนดแนวทางพัฒนาให้พื้นที่แต่ละแปลงในวิธีการต่างๆ แล้วให้โอกาส<br />

ภาคธุรกิจเสนอทิศทางการพัฒนาพื้นที่นั้นภายใต้ข้อกำาหนด เช่น แนวคิด<br />

โครงการ การเสนอราคา และการประกวดแบบ โดยเฉพาะสำาหรับพื้นที่<br />

สำาคัญและพื้นที่ริมน้ำาอย่าง Gardens by the Bay นอกจากนี้ยังมีนโยบาย<br />

ต่างๆ ที่กำาหนดแนวทางการพัฒนาเมือง เช่น Landscaping for Urban<br />

17<br />

Photo Reference<br />

16. The Association of Siamese Architects Under Royal Patrouge<br />

17. ura.gov.sg<br />

18. Gardenbythebay.com<br />

19. VllLevent Photography<br />

20. rmds2000


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

85<br />

18<br />

Shaping Singapore through<br />

Urban Design<br />

Fun Siew Leng, Chief Urban Designer, Urban<br />

Redevelopment Authority - URA (Singapore)<br />

Fun Siew Leng is the Chief Urban Designer for Singapore’s<br />

national agency responsible for urban planning and conservation,<br />

The Urban Redevelopment Authority. The mission of the URA<br />

is to make Singapore an ideal place to live and work. In terms<br />

of size, topography, and available resources, Singapore’s<br />

municipal development is hampered by physical limitations.<br />

Therefore, it is essential to balance the context, the people,<br />

and the practicality.<br />

For Singapore to be Distinctive, Delightful, and Dynamic, various<br />

levels of urban development are necessary. The distinctive<br />

feature of Singapore’s urban design is the formation of ‘districts’<br />

and the preservation of many historic buildings alongside the<br />

city’s expansion. Numerous significant structures were constructed<br />

to serve as the district’s focal point. Thus, Singapore’s<br />

skyline is distinguished by the juxtaposition of old and modern<br />

buildings. The lively atmosphere in the city is created through<br />

a variety of means, including creative lighting designs at night,<br />

conservation of small buildings along the waterfront, an open<br />

vista providing perspective to the low and tall buildings in the<br />

city, the forms and uses of the roof, and a covered walkway in<br />

front of traditional shophouses known as the five-foot way, which<br />

creates porosity for the city fabric. The URA also determines<br />

continuous usage in residential and commercial areas by<br />

constructing a network of above- and below-ground walking<br />

routes and interweaving public spaces at various connection<br />

points, etc.<br />

The consideration of Singapore’s tropical climate had a significant<br />

role in urban design, necessitating the incorporation of<br />

shaded or covered public spaces, in contrast to the designs<br />

of conventional European public squares. This involves the<br />

19<br />

construction of an underground pedestrian network that connects<br />

cities regardless of the weather. The Reinventing Spaces<br />

into Vibrant Places (RSVP) program, which allows the private<br />

sector to propose the development of open spaces for new<br />

community activities, is one of the additional instruments<br />

available to the Singaporean government to stimulate development.<br />

In addition, they provide grants to encourage the<br />

installation of various forms of public art that convey stories<br />

and bring life to public spaces.<br />

20<br />

In Singapore, where the government owns more than 80 percent<br />

of the country’s land, the focus of URA is on driving the realization<br />

of plans, which is advantageous given that the government<br />

owns the majority of the land in the country. The URA is responsible<br />

for establishing Methods of Tender, which are development<br />

guidelines for each parcel of land, and for allowing the business<br />

sector to propose development directions for that area under<br />

specific requirements such as project ideas, bids, and design<br />

competitions, particularly for key areas and waterfront areas,


86<br />

Forum<br />

Spaces & High-rises (LUSH) ซึ่งกำาหนดการออกแบบเพื่อสร้างความ<br />

เขียวให้เมืองทั้งในลักษณะพื้นที่เปิดโล่งและบนอาคาร การสร้างพื้นที่<br />

สาธารณะระดับถนนภายในโครงการต่างๆ ในลักษณะ Privately-owned<br />

Public Spaces (POPS) และการกระตุ้นการสร้างพื้นที่กิจกรรมนอกอาคาร<br />

ผ่านนโยบาย Outdoor Refreshment Areas (ORA) การพัฒนา Software<br />

พร้อมไปกับ Hardware ดำาเนินการผ่านการสร้างเอกลักษณ์ให้พื้นที่และ<br />

การจัดการพื้นที่อย่างเหมาะสม ย่านต่างๆ สามารถให้เสนอโปรแกรม<br />

การปรับปรุงพื้นที่และจัดกิจกรรมในย่าน โดยรัฐสนับสนุนเพิ่มงบประมาณ<br />

ในจำานวนเท่ากัน ทำาให้เกิดการมีส่วนร่วมและความยั่งยืนให้การพัฒนา<br />

โครงการพัฒนาพื้นที่ Marina South เป็นตัวอย่างการพัฒนาโครงการ<br />

เพื่อการใช้ชีวิตอย่างยั่งยืน ซึ่งครอบคลุมการวางแผนและการจัดการใน<br />

ทุกระดับไว้ล่วงหน้าให้ส่งเสริมกัน ตั้งแต่การกำาหนดองค์ประกอบของ<br />

โครงการ การเดินทาง และการเข้าถึงพื้นที่สีเขียวและระบบสาธารณูปโภค<br />

การออกแบบย่านที่อยู่อาศัยที่ส่งเสริมการเดินเท้าและจักรยาน การเชื่อมต่อ<br />

พื้นที่หลายระดับจากใต้ดินสู่ระดับที่สูงขึ้น การสร้างพื้นที่สีเขียวและพื้นที่<br />

สาธารณะของชุมชน ไปจนถึงการออกแบบอาคารที่ลดการใช้พลังงาน<br />

การตอบรับสภาพภูมิอากาศ และการจัดการขยะ ในช่วงท้ายของการ<br />

บรรยาย Fun Siew Leng สรุปแนวทางในการออกแบบเมืองไว้ 4 ประการ<br />

ได้แก่ การออกแบบตอบรับบริบท การให้ชุมชนเป็นศูนย์กลาง การตอบรับ<br />

วัฒนธรรม และมาตรการการปรับตัวกับภูมิอากาศ<br />

such as Gardens by the Bay. There are many urban development<br />

guidelines, such as Landscaping for Urban Spaces and Highrises<br />

(LUSH), which defines design to create a green area for<br />

the city in both open spaces and buildings; creating street-level<br />

public spaces within various projects by means of privately<br />

owned Public Spaces (POPS); stimulating the creation of outdoor<br />

activity areas by means of the Outdoor Refreshment Areas (ORA)<br />

policy; supporting software development along with hardware<br />

carried out by the Outdoor Refreshment Areas (ORA) policy;<br />

and supporting Each district can offer space enhancement<br />

programs and coordinate neighborhood activities. The government<br />

then contributes the same sum to the budget to encourage<br />

participation and long-term development.<br />

The Marina South development is an example of a sustainable<br />

development project that covers planning and management at<br />

all levels in advance to promote each other, from determining<br />

the project’s components, travel and access to green areas and<br />

utilities, designing residential neighborhoods that encourage<br />

walking and cycling, connecting multi-level areas from underground<br />

to higher levels, and creating green spaces and community<br />

public spaces, to the design of buildings that promote<br />

energy efficiency, respond to the climate, and have good waste<br />

management. Fun Siew Leng described four approaches to<br />

urban design to conclude the lecture: contextual design responses,<br />

community-centric responses, culturally appropriate<br />

responses, and ambitious climatic adaptation measures.<br />

Collaboration is Life!<br />

Damian Thompson / LatStudios, Australia<br />

Damian Thompson เป็นภูมิสถาปนิกและกรรมการของ LatStudios<br />

สำานักงานออกแบบภูมิสถาปัตยกรรมจากประเทศออสเตรเลีย ซึ่งให้<br />

ความสำาคัญกับความร่วมมือ ระหว่างศาสตร์และระหว่างผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง<br />

หลายกลุ่ม การบรรยายจึงออกเป็น 5 ส่วน คือ Systems thinking,<br />

Catchments, Corridors, Precincts และ Places เพื่อแสดงความร่วมมือ<br />

ในระดับและประเด็นต่างๆ การออกแบบภูมิทัศน์เมืองเป็นเรื่องการเมือง<br />

ที่ต้องอาศัยผู้นำาที่มีวิสัยทัศน์ในการเปลี่ยนแปลงโลก LatStudios ใช้<br />

เมืองบริสเบนเป็นพื้นที่ทดลองเพื่อเสนอแนวคิดการพัฒนาสภาพแวดล้อม<br />

ของเมือง บริสเบนมีปัญหาพื้นที่สีเขียวผืนใหญ่ที่กระจัดกระจาย พื้นที่<br />

สีเขียวระดับท้องถิ่นขาดการใช้ประโยชน์หลากหลาย และมักถูกปิดกั้น<br />

การเข้าถึง เมืองต้องการแผนตอบรับการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ<br />

และภัยธรรมชาติ จึงได้เสนอแผนการเชื่อมต่อพื้นที่สีเขียวและเมือง<br />

สองฝั่งแม่น้ำาด้วยการเพิ่มจำานวนสะพานให้ทั่วถึงขึ้นและสร้างถนนที่มี<br />

ร่มเงา เพื่อดึงดูดการเคลื่อนที่ของผู้คน รวมถึงสนับสนุนเกษตรกรรมใน<br />

เมืองให้เกิดขึ้น ผลลัพธ์ที่ได้คือระบบตารางสีเขียวหรือ A Green Grid<br />

ที่เชื่อมต่อพื้นที่เมืองเข้าด้วยกัน โดยมีโครงการที่ต่อเนื่องในธีมย่อยต่างๆ<br />

ภายใต้แนวคิด 3 ประเด็น คือ Cool City, Green city และ Healthy<br />

City การใช้ชีวิตที่สัมพันธ์กับแม่น้ำาถูกส่งเสริมและแทรกแนวคิดการ<br />

Collaboration is Life!<br />

Damian Thompson I LatStudios, Australia<br />

Damian Thompson is a landscape architect and director of<br />

LatStudios, an Australian landscape design firm that values<br />

collaborations between the sciences and between different<br />

groups of stakeholders. The lecture was divided into 5 parts:<br />

systems thinking, catchments, corridors, precincts, and places<br />

to show collaborations at different levels and issues. Urban<br />

design is political, requiring visionary leaders with visions to<br />

change the world. LatStudios uses Brisbane as an experimental<br />

site to propose an urban environmental development concept.<br />

Brisbane has a problem with large, scattered green spaces.<br />

Local green spaces lack multi-use and are often blocked. Cities<br />

need plans to respond to climate change and natural disasters.<br />

The design proposed a plan to connect green spaces and<br />

cities on both sides of the river by increasing the number of<br />

bridges and building shadeways to attract people’s movement,<br />

including supporting urban agriculture. The result is a green<br />

grid system that connects urban areas together, with continuous<br />

projects under various sub-themes under 3 concepts:<br />

cool city, green city, and healthy city.” Living in relation to the<br />

river is promoted, and the concept of economic stimulation is<br />

inserted in various public areas. The key concept is resilience<br />

through tools such as water management systems, vegetation,


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

87<br />

21<br />

24<br />

22<br />

25<br />

26<br />

23<br />

Photo Reference<br />

21, 23-26. latstudios.com.au<br />

22. The Association of Siamese Architects Under Royal Patrouge


88<br />

Forum<br />

กระตุ้นเศรษฐกิจในพื้นที่สาธารณะต่างๆ แนวคิดสำาคัญคือความยืดหยุ่น<br />

รองรับความเปลี่ยนแปลง ผ่านเครื่องมือต่างๆ เช่น ระบบการจัดการ<br />

น้ำา พืชพรรณ ระบบนิเวศในเมือง การจัดการพื้นที่ทิ้งร้าง เป็นต้น<br />

ซึ่งขั้นตอนต่างๆ อาศัยการพูดคุยกันระหว่างผู้เกี่ยวข้องกลุ่มต่างๆ<br />

โดยเฉพาะความคิดเห็นจากสาธารณะ<br />

ตัวอย่างโครงการพัฒนาผังแม่บทของพื้นที่ Norman Creek ระบบการ<br />

จัดการน้ำาและแหล่งน้ำา ในชุมชนมีความสัมพันธ์ต่อระบบนิเวศและ<br />

ความเป็นอยู่ในหลายระดับ การดำาเนินโครงการจึงเกี่ยวข้องกับการ<br />

จับคู่และประสานให้หน่วยงานราชการและองค์กรที่เกี่ยวข้องได้พูดคุย<br />

และหาข้อสรุปร่วมกัน โดยเฉพาะในเรื่องของอำานาจความรับผิดชอบ และ<br />

ความเป็นเจ้าของพื้นที่ การลงรายละเอียดในข้อมูลทุกระดับและการใช้<br />

ความคิดสร้างสรรค์ในการมองภาพพื้นที่ต่างๆ รวมไปถึงการท้าทาย<br />

ภาพจำาเดิม ๆ มักจะสร้างแนวทางใหม่ที่มีชีวิตชีวามากขึ้นได้ เส้นทาง<br />

และแหล่งน้ำาถูกผสานเข้ากับเมืองผ่านการสร้างกิจกรรมและการออกแบบ<br />

ตลิ่งในรูปแบบต่างๆ ส่วนในเรื่องของการออกแบบระบบเส้นทางเดิน<br />

ซึ่งถูกอธิบายผ่านตัวอย่างโครงการพัฒนา Oxley Creek Corridors<br />

การดำาเนินโครงการมีการประสานความร่วมมือกับชุมชนและผู้เชี่ยวชาญ<br />

ทางเทคนิค เพื่อนำามาออกแบบพื้นที่และกิจกรรมให้ทุกคนสามารถได้<br />

ประโยชน์บางอย่างจากโครงการ กลยุทธ์ทั้งด้านสภาพแวดล้อม สังคม<br />

และเศรษฐกิจถูกขับเคลื่อนไปร่วมกันก่อนจะออกมาเป็นผังแม่บทที่ร้อยเรียง<br />

พื ้นที ่กิจกรรมย่อย ๆ และแนวทางการพัฒนาเฉพาะสำาหรับพื้นที่นั้น<br />

27<br />

โครงการพัฒนาผังแม่บทของ Gold Coast Parklands เป็นตัวอย่างงานที่<br />

เกี่ยวข้องกับการแบ่งขอบเขตพื้นที่ ซึ่งมีกระบวนการจัดแบ่งพื้นที่ตาม<br />

ลำาดับขั้นความเป็นสาธารณะ การกำาหนดมุมมองและการวางระบบเส้น<br />

ทางสัญจร ก่อนจะประสานข้อมูลเข้าด้วยกันเพื่อลงรายละเอียดการวาง<br />

ตำาแหน่งอาคาร บทบาทของการออกแบบครอบคลุมถึงแนวทางการ<br />

ใช้พืชพรรณ การออกแบบถนนและองค์ประกอบย่อย เช่น เฟอร์นิเจอร์<br />

ตามท้องถนน และงานประติมากรรมที่เป็นจุดหมายตาให้กับศูนย์กลาง<br />

พื้นที่ในแต่ละส่วน การสร้างความร่วมมือในประเด็นสุดท้ายคือการสร้าง<br />

สถานที่ และความผูกพันกับสถานที่ซึ่งเกิดขึ้นแตกต่างกันไปแล้วแต่บุคคล<br />

28<br />

ในกรณีของ Victoria Park กิจกรรมการมีส่วนร่วมถูกจัดขึ้นในหลาย<br />

รูปแบบทั้งการสนทนากลุ่มย่อยกับชุมชนและการแสดงความคิดเห็นต่อ<br />

พื้นที่ผ่านเครื่องมืออื่น โดยการเก็บข้อมูลพยายามให้ครอบคลุมกลุ่ม<br />

ประชากรที่มีอายุและที่มาที่แตกต่าง เมื่อได้ข้อมูลอ้างอิง ศึกษาบริบท<br />

แล้วจึงนำาไปร่างแบบ โดยยังคงมีการรายงานความคืบหน้า การรับฟัง<br />

ความคิดเห็น และเสียงสะท้อนอย่างต่อเนื่อง ขั้นสุดท้ายคือการทำาให้<br />

เห็นว่าภาพที่คิดฝันโครงการไว้นั้นมีความเป็นไปได้ในการปฏิบัติจริง<br />

Damian Thompson ปิดท้ายการบรรยายด้วยการย้ำาถึงวิกฤติทาง<br />

สภาพแวดล้อมและการเปลี่ยนแปลงทางสภาพอากาศที่โลกกำาลังเผชิญ<br />

ซึ่งไม่ว่าอย่างไรเราก็ต้องยอมรับสถานการณ์แล้วคิดบวก เพื่อแสวงหา<br />

วิธีการที่จะรับมือให้ได้ผ่านการสร้างสรรค์ในวิชาชีพ<br />

Photo Reference<br />

27-31. latstudios.com.au<br />

29


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

89<br />

urban ecosystems, the management of abandoned areas, etc.<br />

These steps rely on discussions between different groups of<br />

stakeholders, especially public hearings.<br />

In the master plan development project for the Norman Creek<br />

area, water management and catchment systems in the community<br />

are related to ecosystems and livelihoods at many levels.<br />

Implementation of the project therefore involves matching and<br />

coordinating with relevant government agencies and organizations<br />

to discuss and come to a common conclusion, especially<br />

in terms of authority, responsibility, and ownership of the area.<br />

The level of detail in the data and the creative use of visualization<br />

in different areas, including challenging old memories,<br />

are often able to create new, more dynamic approaches. Paths<br />

and waterways are integrated into the city through the creation<br />

of various activities and riverbank designs. While the design of<br />

the corridors system is illustrated through the example of the<br />

Oxley Creek Corridors development project, where the implementation<br />

involves community and technical experts to design<br />

spaces and activities that offer something for everyone. The<br />

issues of society and economy are considered and driven<br />

together to create a master plan that weaves together subactivity<br />

areas and specific development guidelines for the area.<br />

The Gold Coast Parklands masterplan development project is<br />

an example of work involving precincts, which include public<br />

realm hierarchy, vista, and routing systems before synchronizing<br />

30 the information together to detail the positioning of the building.<br />

The role of design extends to the use of vegetation, street design,<br />

and sub-elements such as street furniture and sculptures that<br />

act as nodes in each space. The final point of cooperation is<br />

building a place, and the bonding to the place varies depending<br />

on the individual.<br />

In the Victoria Park project, participation activities were arranged<br />

in a number of modes and means, including small group conversations<br />

with the community and community feedback through<br />

other technologies. The data collection aims to include demographic<br />

groups of various ages and origins. After obtaining the<br />

reference, investigate the context before moving on to the preliminary<br />

design with ongoing progress updates, public hearings,<br />

and comments. The final step was to demonstrate that the<br />

proposed project was practical. Damian Thompson completed<br />

his discussion by emphasizing the importance of the environment<br />

and climate change. In any event, we must accept the circumstances,<br />

remain optimistic, and look for solutions to cope<br />

through professional ingenuity.<br />

31


90<br />

Forum<br />

Car-free and Green. An IKEA Store as<br />

Good Neighbour<br />

Jakob Dunkl I Querkraft, Austria<br />

Jakob Dunkl เป็นผู้ร่วมก่อตั้ง Querkraft บริษัทออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ที่ตั้งอยู่ที่เมืองเวียนนา ประเทศออสเตรีย ชื่อของ Querkraft สื่อถึงการคิด<br />

นอกกรอบและการตั้งคำาถามอยู่เสมอต่อโครงการที่ได้รับเพื่อกลั่นกรอง<br />

ให้การสร้างเพิ่มในแต่ละครั้งเป็นการใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่าที่สุด<br />

บริษัทพยายามให้พนักงานหาคำาตอบที่แตกต่างและมีการเชิญสถาปนิก<br />

ที่มีชื่อเสียงมาบรรยายเพื่อกระตุ้นแรงผลักดันในการทำางาน พวกเขา<br />

เชื่อว่าการมีสิ่งที่ไม่สมบูรณ์แบบอยู่บ้างทำ าให้โลกนี้สนุกสนานขึ้น สถาปนิก<br />

ส่วนใหญ่มักจะสร้างสิ่งที่ดูเรียบร้อยและสมบูรณ์แบบ แต่สิ่งที่ Querkraft<br />

พยายามทำา คือสร้างความยั่งยืนทางอารมณ์ เพราะการสร้างสิ่งที่คนรัก<br />

มักจะอยู่ได้ยาวนานกว่า พวกเขาสร้างสถาปัตยกรรมที่แสดงความถ่อมตน<br />

กลมกลืนกับสภาพแวดล้อม มีความง่าย ทำาน้อยแต่มีประสิทธิภาพ<br />

ในบางครั้งก็ต้องการสร้างสิ่งที่ไม่คาดคิดให้เกิดความประหลาดใจ รวมทั้ง<br />

ต้องการแสดงอิสระและมีความยืดหยุ่นในการใช้งาน<br />

Querkraft ผ่านการทำางานหลายประเภท และหลายขนาดในระหว่าง 25 ปี<br />

ที่ได้ก่อตั้งสำานักงาน เช่น ในโครงการ GCLA City Gate Tower ซึ่งเป็น<br />

อาคารสูงซึ่งอาคารพักอาศัยรวม Querkraft เสนอการมีพื้นที่ส่วนกลาง<br />

ทุกชั้นในลักษณะต่างๆกันเพื่อให้ผู้อยู่อาศัยต่างชั้นได้พบปะและรู ้จักกัน<br />

เป็นชุมชน การวางผังห้องพักถูกออกแบบให้กระชับเพื่อลดปริมาณวัสดุ<br />

คอนกรีตของผนังกั้นห้องและสามารถขยายตัวในอนาคตโดยการเชื่อมต่อ<br />

ระหว่างห้อง ระเบียงภายนอกสร้างพื้นที่พักผ่อนและสร้างลวดลายให้<br />

เปลือกอาคาร โครงการประกวดแบบ Museum Liaunig พิพิธภัณฑ์<br />

ศิลปะในพื้นที่ธรรมชาติริมแม่น้ำา ซึ่งถูกตีความว่าเป็นงาน Land Art<br />

จากความเรียบง่ายของก้อนอาคารที่เป็นแท่งคอนกรีตแคบยาวคล้าย<br />

ซิการ์วางลอยอยู่บนเนินดิน พื้นที่ใช้สอยส่วนใหญ่ถูกซ่อนอยู่ใต้เนินดิน<br />

ซึ่งช่วยลดการใช้พลังงานในการทำาความร้อนและเย็น การออกแบบให้<br />

ดูง่าย และการไม่มีเสากลางอาคารมาขวางพื้นที่แสดงงานศิลปะนั้น<br />

ไม่ใช่เรื่องง่าย ต้องอาศัยการเลือกใช้โครงสร้างและวัสดุที่เหมาะสม<br />

เพื่อให้อาคารได้แสดงออกในรูปแบบที่ต้องการ<br />

ในโครงการ ING Museum ซึ่งเป็นการปรับปรุงอาคารเก่า Querkraft<br />

เสนอทางเลือกที่ถ่อมตนด้วยการเก็บรักษารูปแบบของอาคารเดิม แต่สร้าง<br />

ช่องเปิดที่พื้นอาคารเพื่อเชื่อมต่อกับพื้นที่ใช้สอยระดับใต้ดินที่เพิ่มขึ้น<br />

เพื่อเป็นพิพิธภัณฑ์ ในโครงการ Expo Pavilion 2020 ที่ดูไบ Querkraft<br />

ต้องการแสดงแนวทางการก่อสร้างที่ช่วยลดการใช้วัสดุและพลังงาน<br />

โดยสร้างอาคารทรงกรวยตัดปลายในความสูงลดหลั่นกันทำาหน้าที่คล้าย<br />

Wind tower ที่มีอยู่ในพื้นที่นั้น อาคารทรงกรวยถูกสร้างด้วยระบบ<br />

สำาเร็จรูป ของชิ้นส่วนคอนกรีตเสริมเหล็กแผ่นบางที่สามารถประกอบ<br />

สร้างในพื้นที่แล้วถอดประกอบหลังเลิกงาน เพื่อนำาไปสร้างในที่ตั้งใหม่<br />

Car-free and Green. An IKEA Store as<br />

Good Neighbour<br />

Jakob Dunkl I Querkraft, Austria<br />

Jakob Dunkl is the co-founder of Querkraft, an architectural<br />

design firm based in Vienna. Querkraft’s name implies out-ofthe-box<br />

thinking and constant questioning of a given project,<br />

scrutinizing each build to make the most of its resources.<br />

The studio tries to get employees to find different answers and<br />

has invited famous architects to give lectures to stimulate motivation<br />

at work. They believe that having a few imperfections<br />

makes the world more fun. Most architects tend to create things<br />

that look neat and perfect, but what Querkraft is trying to do<br />

is create emotional sustainability because building something<br />

people love tends to last longer. They create an architecture<br />

that shows humility, harmonizes with the environment, is simple,<br />

does less but is more effective, and sometimes creates unexpected<br />

surprises. They also wish to demonstrate freedom<br />

and adaptability of use.<br />

Throughout the office’s 25-year history, Querkraft has worked<br />

on a wide range of projects of varying sizes. Querkraft, for<br />

example, designed multiple levels of common space in GCLA<br />

City Gate Tower, a high-rise residential complex, for inhabitants<br />

on different levels to mingle and get to know one another as a<br />

community. The residential units were planned to be compact<br />

in order to reduce the quantity of concrete on the partition<br />

walls and to allow for future expansion by linking the rooms.<br />

External terraces provide relaxing places as well as patterns<br />

for the building façade. In the Museum Liaunig competition<br />

proposal design, a riverside art museum in a natural setting<br />

was interpreted as land art. The structure was simple, resembling<br />

a floating cigar in the shape of a long, narrow concrete<br />

bar. The majority of the functional spaces are located beneath<br />

the mound, which reduces energy usage for heating and cooling.<br />

It is challenging to design an art space that appears clean and<br />

simple, with no columns obstructing the exhibition space, so<br />

it is dependent on the proper structure and materials in order<br />

for the building to express itself as the architect desires.<br />

In the ING Museum project, a renovation of an old building,<br />

Querkraft offers a modest alternative by preserving the original<br />

building’s characteristics and instead constructing a floor<br />

opening to connect the additional underground living space to<br />

the museum. In the Expo Pavilion 2020 in Dubai, Querkraft has<br />

demonstrated a construction method that reduces material<br />

and energy consumption by constructing conical structures of<br />

descending height, resembling the wind towers found in the<br />

region. The conical building was constructed using a prefabricated<br />

system of reinforced concrete modules that can be<br />

assembled on-site, disassembled after the show, and reassembled<br />

later at a new location.<br />

Photo Reference<br />

32. The Association of Siamese Architects Under Royal Patrouge<br />

33-36. querkraft.at


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

91<br />

32<br />

33<br />

35<br />

36<br />

34


92<br />

Forum<br />

40<br />

37<br />

41<br />

38<br />

39<br />

42<br />

Photo Reference<br />

37-43. querkraft.at


ACT INTERNATIONAL FORUM <strong>2023</strong><br />

93<br />

โครงการ IKEA Store ที่เมืองเวียนนา ตอบรับนโยบายและวิถีชีวิตของ<br />

เมืองซึ่งให้ความสำาคัญกับสิ่งแวดล้อม และประชาชนที่ใช้ระบบขนส่ง<br />

มวลชนเป็นหลัก เมื่อ IKEA ต้องการมาเปิดสาขาจึงเกิดข้อกำาหนดจากรัฐ<br />

ว่าจะต้องไม่มีที่จอดรถยนต์ส่วนตัว และพื้นที่หลังคาต้องพัฒนาเป็น<br />

พื้นที่สาธารณะ IKEA Austria ใช้แนวคิด “We want to be a good<br />

neighbour” ในการพัฒนาโครงการซึ่งหมายถึงการสร้างประโยชน์และ<br />

ชีวิตชีวาให้กับเมือง รูปแบบอาคารที่เป็นมิตรกับเพื่อนบ้านแตกต่างจาก<br />

อาคาร Retail แบบเดิม ๆ ด้วยการสร้างระเบียงรอบอาคาร พื้นที่ปลูก<br />

ต้นไม้ที่ระเบียงและระดับหลังคาซึ่งช่วยลดอุณหภูมิของอาคาร และมี<br />

การเพิ่มโปรแกรมของโฮสเทลที่สองชั้นบนสุด เพื่อช่วยเพิ่มการใช้สอย<br />

และแสงสว่างในเวลากลางคืน การวางผังพื้นต้องการเปิดโล่งเพื่อสร้าง<br />

ความยืดหยุ่นให้มากที่สุด พยายามวางงานระบบอาคารและระบบสัญจร<br />

ทางตั้งไว้รอบอาคารคล้าย Centre Pompidou ในปารีส ยกเว้นทางสัญจร<br />

หลักกลางอาคารเพียงตำาแหน่งเดียว โครงสร้างอาคารที่มีลักษณะคล้าย<br />

โครงชั้นวางของของ IKEA สามารถรองรับความหลากหลายของการติดตั้ง<br />

ผนัง และองค์ประกอบของอาคารที่ปรับเปลี่ยนไปตามความต้องการ<br />

การใช้สอยของพื้นที่นั้น Jakob Dunkl สรุปการบรรยายด้วยการกล่าว<br />

ถึงหนังสือที่กำาลังเขียนอยู่ที่ชื่อ Weniger ซึ่งหมายถึง Less คือแนวคิด<br />

ของเขาในการสร้างให้น้อยลงแต่สนุกมากขึ้น และมีความสร้างสรรค์ใน<br />

การค้นหาคำาตอบของการออกแบบเสมอ<br />

In the design of the IKEA Store in Vienna, the architect responded<br />

to the city’s policies and way of life, which prioritize<br />

the environment and individuals who utilize public transportation<br />

as their primary mode of movement. At the time IKEA<br />

planned to establish a shop, the government mandated that<br />

there be no private parking and that the roof area be transformed<br />

into a public space. IKEA Austria employs the philosophy “We<br />

want to be a good neighbor” in designing projects that help<br />

and revitalize the community. By adding a terrace around the<br />

structure, the neighbor-friendly concept differentiates itself<br />

from standard shop buildings. Planting spaces on the terrace<br />

and roof level that help to cool the structure. In addition, the<br />

hostel’s program on the upper two levels has been expanded<br />

to improve usability and lighting at night. The floor plan was<br />

designed to be as open as possible in order to provide the<br />

most flexibility. The design also sought to organize building<br />

systems and traffic around a structure comparable to the Center<br />

Pompidou in Paris, with the exception of a primary circulation<br />

in the center of the structure. The structure, similar to IKEA<br />

shelves, may support a range of wall installations as well as<br />

building components that adapt to the practical needs of that<br />

area. Jakob Dunkl closes the lecture by pointing to his latest<br />

book, Weniger, which translates as Less - his philosophy of<br />

making less but more fun, and always being creative in discovering<br />

design solutions.<br />

43<br />

ผัศ.ดร.สายทิวา รามีสูต<br />

เป็นอาจารย์ประจำาภาค<br />

วิชาสถาปั ตยกรรม คณะ<br />

สถาปั ตยกรรมศาสตร์<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

มีความสนใจในการอยู่<br />

ร่วมกันของสถาปั ตยกรรม<br />

และสภาพแวดล้อมเก่าและ<br />

ใหม่ การปรับเปลี่ยนการ<br />

ใช้สอยของอาคารเก่า และ<br />

สิ่งแวดล้อมสรรค์สร้าง<br />

เพื่อสุขภาวะ และเป็ น<br />

แฟนประจำาของงาน <strong>ASA</strong><br />

International Forum<br />

Asst. Prof.Saithiwa<br />

Ramasoot, Ph.D.<br />

is a faculty member<br />

at the Department of<br />

Architecture, Faculty<br />

of Architecture, Kasetsart<br />

University. Her<br />

academic interests<br />

include the coexistence<br />

of old and new architecture,<br />

adaptive reuse of<br />

old buildings, and built<br />

environment for health<br />

and well-being. She is<br />

a regular fan of <strong>ASA</strong><br />

International Forum.


94<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong>


speacial section<br />

95<br />

<strong>ASA</strong> International<br />

Design Competition<br />

<strong>2023</strong><br />

Not Only<br />

Human<br />

Architecture defines human’s relationship with the environment.<br />

Early dwellings sheltered human from dangers and discomforts<br />

and provided a place for tools, livestock, and even intangible<br />

entities such as spirits.<br />

Putting human’s needs as the center of architecture is natural.<br />

However, amidst the ongoing environmental crisis, we are inevitably<br />

urged to reexamine the way we live and build. How can<br />

we include other lives in the total ecosystem into the manmade<br />

environment? <strong>ASA</strong> Experimental Design Competition invites all<br />

participants to investigate how architecture can embrace<br />

the complexities of environmental conditions that includes<br />

all livings, not only human.


96<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

สถาปัตยกรรมเป็นเครื่องกำาหนดความสัมพันธ์ของ<br />

มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม แรกเริ่มเดิมทีสถาปัตย-<br />

กรรมเป็นที่พักพิงพื้นฐานแก่มนุษย์ปกป้องจาก<br />

ภัยอันตรายและเป็นสถานที่สำ าหรับจัดเก็บเครื่องมือ<br />

ในการดำารงชีวิต ไปจนถึงเป็นพื้นที่สำาหรับสิ่งที่<br />

เป็นนามธรรมอย่างความเชื่อในปัจจุบันเป็นเรื่อง<br />

ธรรมชาติที่จะวางความต้องการของมนุษย์ให้<br />

เป็นศูนย์กลางของสถาปัตยกรรม แต่อย่างไร<br />

ก็ตาม ท่ามกลางวิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่<br />

เกิดอย่างต่อเนื่อง จึงหลีกเลี่ยงไม่ได้ที่เราจะถูก<br />

กระตุ้นให้หันมาพิจารณาถึงวิถีที่เราอยู่อาศัยให้<br />

มากขึ้น เป็นไปได้หรือไม่ที่จะรวมสรรพชีวิตอื่น<br />

ในระบบนิเวศให้มาอยู่ในสภาพแวดล้อมที่มนุษย์<br />

สร้างขึ้น? การประกวดแบบ <strong>ASA</strong> Experimental<br />

Design ในปีนี้ เชิญชวนตั้งคำาถามต่อลักษณะ<br />

พื้นฐานของสถาปัตยกรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันของ<br />

มนุษย์กับสิ่งอื่น มาร่วมสำารวจว่าสถาปัตยกรรม<br />

จะสามารถโอบรับความซับซ้อนของสภาวะ<br />

แวดล้อมที่รวมสรรพชีวิตที่ไม่ใช่แค่เพียงมนุษย์<br />

ไว้ได้อย่างไรบ้าง<br />

โปรแกรมและเนื้อหา<br />

การแข่งขันแนวคิดสถาปัตยกรรมเชิงทดลองนี้<br />

ขอเชิญชวนเหล่าสถาปนิกและบุคคลในสาขา<br />

วิชาชีพอื่นๆ ไม่ว่าจะเป็นผู้ปฏิบัติวิชาชีพหรือ<br />

นักเรียน นักศึกษา ให้ส่งผลงานโดยไม่มีข้อจำ ากัด<br />

ด้านขนาด รูปแบบ โปรแกรม หรือสถานที่ตั้ง<br />

โดยผู้เข้าร่วมประกวดสามารถใช้ความคิด<br />

สร้างสรรค์มากที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ และเปิด<br />

กว้างสำาหรับรูปแบบวิธีการการนำาเสนอที่<br />

หลากหลายซึ่งจะกระตุ้นให้เกิดวิธีคิดทางสถาปัตย-<br />

กรรม ที่เราจะสามารถอยู่ร่วมกับ องค์ประกอบ<br />

และสิ่งมีชีวิตอื่นๆได้<br />

ประเภทการประกวด<br />

1. ประเภทบุคคลทั่วไป<br />

เปิดสำาหรับสถาปนิก นักออกแบบ หรือบุคคลทั่วไป<br />

2. ประเภทนักเรียน/นักศึกษา<br />

เปิดสำาหรับนักเรียน และนักศึกษา ระดับมัธยมต้น<br />

ขึ้นไป จนถึงระดับมหาวิทยาลัย<br />

สามารถส่งผลงานเป็นรายบุคคลหรือเป็นทีมก็ได้<br />

ทีมที่มีทั้งนักเรียนนักศึกษาและไม่ใช่นักเรียน<br />

นักศึกษาควรส่งในประเภทบุคคลทั่วไป แต่ละทีม<br />

อาจมีสมาชิกได้ไม่เกิน 4 คน และอาจมีสมาชิก<br />

ที่มาจากหลายสาขาวิชาชีพก็ได้ (สถาปนิก ภูมิ-<br />

สถาปนิก นักออกแบบเมือง สถาปนิกภายใน<br />

นักออกแบบผลิตภัณฑ์ ศิลปิน)<br />

กระบวนการประเมิน<br />

ในระหว่างการประกวด คณะกรรมการจะคัดเลือก<br />

และหารือ เพื่อตัดสินผลการประกวดตามความ<br />

เชี่ยวชาญและประสบการณ์ส่วนบุคคล โดยมี<br />

เกณฑ์การประเมินดังนี้:<br />

1. ความสดใหม่ของความคิดริเริ่มและระดับของ<br />

การทดลองทางสถาปัตยกรรม<br />

2. การออกแบบเป็นไปตามวัตถุประสงค์ของ<br />

การประกวด<br />

3. ลักษณะและเทคนิคการนำาเสนอจะไม่ถูกนำามา<br />

ใช้เป็นเกณฑ์การประเมิน<br />

เงื่อนไขการประกวด<br />

1. ในการส่งแบบประกวด สมาชิกในทีมแต่ละคน<br />

ตกลงและยอมรับข้อกำาหนด กฎ และเงื่อนไขที่<br />

ระบุไว้ในเอกสารนี้ ตลอดจนการตัดสินขั้นสุดท้าย<br />

ของคณะกรรมการตัดสิน<br />

2. ผลงานที่ส่งต้องเป็นผลงานต้นฉบับที่สร้างสรรค์<br />

โดยผู้ส่งประกวด ซึ่งไม่เคยได้รับการตีพิมพ์<br />

เผยแพร่ หรือจ่ายแจกในรูปแบบใดๆ มาก่อนใน<br />

ที่อื่น และต้องไม่เคยใช้ในการประกวดแบบอื่นใด<br />

3. ผู้ส่งประกวดสามารถส่งแบบประกวดได้<br />

มากกว่า 1 แบบ<br />

4. ความเป็นเจ้าของโดยสมบูรณ์และลิขสิทธิ์ใน<br />

ผลงานทั้งหมดที่เกี่ยวข้องกับการประกวดแบบนี้<br />

ยังคงเป็นของผู้ส่งประกวด อย่างไรก็ตาม สมาคม<br />

สถาปนิกสยามฯ สงวนสิทธิ์ที่จะทำาการเผยแพร่<br />

(ทางสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่อออนไลน์) และส่งเสริมผล<br />

งานที่ส่งมาตามดุลยพินิจเกี่ยวกับรูปแบบวิธี<br />

ของสมาคมฯ ผลงานทั้งหมดจะกลายเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของคลังเอกสารดิจิทัลหรือสิ่งพิมพ์ของสมาคมฯ<br />

ต่อไป<br />

5. หากผู้ส่งประกวดรายใดประสงค์จะเผยแพร่<br />

จัดแสดง หรือส่งเสริมผลงานที่ส่งประกวด ผู้ส่ง<br />

ประกวดจะได้รับสิทธิ์ ในการดำาเนินการดังกล่าว<br />

ตราบเท่าที่มีการระบุอ้างอิงชื่อของการประกวด<br />

แบบนี้อย่างถูกต้องและให้เครดิตแก่สมาคมฯ ใน<br />

ฐานะผู้จัดการประกวด<br />

6. ผู้เข้าประกวดต้องไม่ตึพิมพ์ เผยแพร่ หรือจ่าย<br />

แจกผลงานที่ส่งเข้าประกวดต่อสาธารณชนก่อน<br />

การประกาศผลการประกวดแบบ<br />

7. ผลงานที่ได้รับการคัดเลือกจะได้รับการจัด<br />

แสดงในงานสถาปนิก 2566 โดยสมาคมสถาปนิก<br />

สยามฯ<br />

ข้อมูลการส่งแบบประกวด<br />

1. หมดเขตส่งผลงานในวันที่ 1 เมษายน<br />

2566 เวลา 23:59:59 น. ตามเวลาท้องถิ่นใน<br />

ประเทศไทย (UTC+07:00) โดยจะถือเอาการ<br />

ประทับเวลาในอีเมลของผู้ส่งประกวดแต่ละคน<br />

เป็นเวลาที่ส่งอย่างเป็นทางการ<br />

1.1 รหัสลงทะเบียน” ให้เป็นการกำาหนดโดยผู้ส่ง<br />

ประกวดเอง โดยควรมีอักขระตัวพิมพ์ใหญ่ภาษา<br />

อังกฤษ 3 ตัวอักษร ตัวเลข 4 หลัก และหมวด<br />

หมู่การแข่งขันเป็นภาษาอังกฤษ (เช่น ABC1234<br />

General Public)<br />

1.2 ”รหัสลงทะเบียน” จะต้องอยู่ที่มุมขวาบนของ<br />

บอร์ด มีความสูง 20 มิลลิเมตร<br />

2. กรอกข้อมูลต่อไปนี้โดยระบุ “รหัสลงทะเบียน”<br />

ผ่าน Google Form ตามลิงค์ด้านล่าง<br />

2.1 ชื่อ นามสกุล ที่อยู่ หมายเลขโทรศัพท์ และ<br />

อีเมลแอดเดรสของผู้ส่งประกวดแต่ละคน<br />

2.2 สำาเนาบัตรประจำาตัวประชาชนหรือ<br />

หนังสือเดินทาง ที่ได้รับการรับรอง ของผู้ส่ง<br />

ประกวดแต่ละคน<br />

2.3 กรณีส่งในประเภทนักเรียนนักศึกษา กรุณา<br />

แสดงหลักฐานโดยแนบสำาเนาบัตรนักศึกษาที่ได้<br />

รับการรับรอง<br />

กำาหนดการส่งผลงาน และตัดสินรางวัล<br />

1 เมษายน 2566<br />

กำาหนดส่งผลงาน<br />

25 เมษายน 2566<br />

ประกาศผล<br />

30 เมษายน 2566<br />

พิธีมอบรางวัล<br />

รูปแบบการนำาเสนอ<br />

1. บอร์ดขนาด A1 เพียงหนึ่ง (1) บอร์ด (84.1<br />

ซม. X 59.4 ซม.) วางแนวนอน เท่านั้น<br />

2. ชื่อของผู้เข้าร่วมจะต้องไม่ปรากฏที่ส่วนใดส่วน<br />

หนึ่งของบอร์ด<br />

3. ข้อความทั้งหมดควรเป็นภาษาอังกฤษ<br />

การส่งแบบประกวดทางออนไลน์ให้ใช้<br />

แพลตฟอร์ม WeTransfer.com โดยส่งเป็นไฟล์<br />

เดียว (20MB, 150 DPI)<br />

เป็นไฟล์ PDF เท่านั้น และส่งไปยังอีเมล<br />

แอดเดรส: asacompetition<strong>2023</strong>@gmail.com<br />

รายชื่อคณะกรรมการตัดสิน<br />

ศาวินี บูรณศิลปิน<br />

Savinee Buranasilapin<br />

Thingsmatter<br />

ผศ.ดร. รชพร ชูช่วย Rachaporn Choochuey<br />

all(zone)<br />

Tiantian Xu<br />

DnA_Design and Architecture


speacial section<br />

97<br />

PROGRAMS & CONTENT<br />

This experimental one-stage architecture<br />

idea competition invites all architects<br />

and other disciplines, both professional<br />

and students to submit compelling proposals<br />

without the constraint of scale,<br />

typology, program or site. Participants<br />

are encouraged to be as creative as<br />

possible. Proposals are open to diverse<br />

narratives that encourage rethinking of<br />

ways in which we can co-exist with other<br />

species, elements, things and beings.<br />

ELIGIBILITY<br />

1. General Public: Architects, Designers<br />

and General Public<br />

2. Students: Any current full-time student<br />

studying in high school until undergraduate<br />

levels.<br />

Entries can be submitted as an individual<br />

or as a team. A team consisting of<br />

a student and a non-student should be<br />

submitted under the General Public<br />

category. Each team can be composed<br />

of up to 4 members and may include<br />

multidisciplinary members (Architect,<br />

landscape architect, urban designer,<br />

interior architect, product designer, artist)<br />

EVALUATION PROCESS<br />

Jury members will simultaneously review,<br />

discuss and select proposals during this<br />

one-stage competition. They will base<br />

their decision on their expertise and<br />

values with the evaluation criteria as<br />

follows:<br />

• Originality and level of experimentation<br />

of design proposal<br />

• Responsiveness of the proposal to the<br />

competition’s objectives<br />

• Presentation quality shall not be a part<br />

of the evaluation criteria<br />

TERMS AND CONDITION<br />

1. By submitting a proposal for the competition,<br />

each team member agrees and<br />

accepts the requirements, rules and<br />

conditions as listed in this competition<br />

brief, as well as final decision of the jury.<br />

2. The entry must be an original work,<br />

created by the participant (s), which<br />

have never been previously published,<br />

released or distributed in any form elsewhere;<br />

and must never entered into any<br />

other competition.<br />

3. Participants are allowed to submit<br />

more than 1 proposal.<br />

4. Full ownership and copy rights of all<br />

submissions in connection to this competition<br />

are retained by the author of the<br />

work; however, <strong>ASA</strong> retains the right to<br />

publish (Print or online) and promote the<br />

submitted material at their own discretion<br />

regarding format. All submissions<br />

will subsequently become part of the<br />

<strong>ASA</strong> digital or printed archive.<br />

5. If any participant wishes to publish,<br />

exhibit or promote their competition<br />

submission, they are granted the right<br />

to do so, as long as the title of this <strong>ASA</strong><br />

competition are properly referenced and<br />

credited as the competition organizer.<br />

6. The participants must not publish,<br />

release or distribute any submitted work<br />

to the public before the announcement<br />

of the competition results.<br />

7. Entries that have been selected will<br />

be exhibited at the <strong>ASA</strong> <strong>2023</strong> Expo.<br />

SUBMISSION INFORMATION<br />

1. Deadline for all submissions will be<br />

April 1st <strong>2023</strong> at 11:59:59pm local time<br />

in Thailand (UTC+07:00). The timestamp<br />

on each participant(s) email will be<br />

considered their official submission time.<br />

• ”Registration code” will be determined<br />

by the participant(s) themselves which<br />

should contain three uppercase characters,<br />

4 numeric digits and the competition<br />

category in English (e.g. ABC1234<br />

General Public)<br />

• ”Registration code” must be located<br />

on the upper right corner of the board<br />

with 20 millimeters height.<br />

2. Fill in the following information by<br />

specifying the “Registration code”<br />

through the Google Form in the attached<br />

link below.<br />

• The participant’s full name(s), address,<br />

telephone number, and email address.<br />

• A certified copy of participant(s) identification<br />

card or passport<br />

• In the case of submission in the student<br />

and undergraduate category, please<br />

verify by attaching a certified copy of<br />

student card(s).<br />

COMPETITION TIMELINE<br />

1 st April <strong>2023</strong><br />

Submission Deadline<br />

5 th April <strong>2023</strong><br />

Award Announcement<br />

30 th April <strong>2023</strong><br />

Award ceremony<br />

SUBMISSION FORMAT<br />

Only one (1) -A1 sized panel (84.1 cm X<br />

59.4 cm), Landscape / Horizontal layout<br />

The participant’s name must not appear<br />

anywhere on any part of the board. All<br />

text should be written English<br />

Online submission using only file-transferring<br />

platform WeTransfer.com as<br />

a single file (20MB, 150 DPI)– PDF file<br />

only and send to email address: asacompetition<strong>2023</strong>@gmail.com<br />

PANEL OF JURORS<br />

Savinee Buranasilapin<br />

Thingsmatter<br />

Rachaporn Choochuey<br />

all(zone)<br />

Tiantian Xu<br />

DnA_Design and Architecture<br />

asacompetition.com


98<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

First Prize / Public<br />

BREAKING<br />

SEAWALLS<br />

Parin Nawachartkosit<br />

Chanya Ieosivikul<br />

Unintentional Death Sentence<br />

Humans are drawn to the natural tr an qui llity and<br />

levity of beaches. Alarmingly, there is an unnerving<br />

phenomenon where shorelines are vanishing - a<br />

transition that is a result of climate change and<br />

legislative decisions. This unassuming reaper disguised<br />

itself as the nation’s guardian angel, in<br />

the form of an architectural infrastructure called<br />

seawalls, erected along the seaside provinces of<br />

Thailand.<br />

The seawalls were built in the hopes of stopping<br />

coastal erosion, however, they frequently end up<br />

as mere eyesores that harm adjacent beaches.<br />

In theory, the seawalls are designed to keep areas<br />

used for recreation and human habitation safe<br />

from the effects of tides and waves. In reality, its<br />

static nature acts in conflict with the coast’s<br />

dynamic nature, preventing the exchange of sediment<br />

between land and sea. Pairing the unadaptive<br />

quality with the lack of data, modelling, environmental<br />

assessments and design testing, we<br />

have coastal fortifications that amount to nothing<br />

less than a death sentence for sandy coasts and<br />

the ecology that makes up the shoreline.<br />

Thai environmentalists have urged the Cabinet to<br />

revoke its resolution that gave the Department of<br />

Public Works and Town & Country Planning permission<br />

to construct additional seawall projects.<br />

Prior to 20<strong>13</strong>, the requirement for an environmental<br />

impact assessment (EIA) on every project set a cap<br />

on the number of seawalls that may be bui It. Yet,<br />

ever since the EIA requirement was dropped in<br />

20<strong>13</strong>, seawalls have proliferated throughout Thai<br />

land’s coastline. Only 43 seawalls were constructed<br />

between 2007 and 2014, costing a total of around<br />

2 billion baht. However, 125 seawall projects with<br />

a total budget of 6.6 billion baht were completed<br />

between 2015 and 2022. Many of the constructed<br />

seawalls have already been demolished because<br />

of their apparent negative effects and adverse<br />

impacts.<br />

We now enter the chapter of reexamination and<br />

active remedy, desperate to find a way to restore<br />

lost shorelines and sustain it. The proposal aims to<br />

deliver an alternative seawalls removal methodology<br />

that rehabilitates sites in parallel, repurposing<br />

the demolition waste as part of the rejuvenation<br />

process.


Public<br />

99<br />

“The proposal touches on one of the<br />

biggest public construction controversies<br />

in Thailand: hundreds (if not<br />

thousands) kilometers of concrete<br />

walls along the coastlines. The walls<br />

are posing dangers to both marine<br />

life biodiversity and human who also<br />

conduct livelihood along the seashores.<br />

Instead of taking down the<br />

entire walls which would also create<br />

another environmental catastrophe,<br />

the proposal suggests to break down<br />

certain sections with the attempt<br />

to utilize some parts of the alreadybuilt<br />

walls. Its simplicity and sensible<br />

design approach show the potential<br />

solutions to the condition of overbuilt<br />

infrastructure.”<br />

Rachaporn Choochuey


100<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Second Prize / Public<br />

Energy Circus<br />

Chai Yi Yang<br />

Alongside with the a state horticultural show, the<br />

former Spinelli Barracks site is expected to be<br />

transformed into a public park- filled with lush<br />

greens, rich biodiversity, and active participation<br />

of communities. Such transition inspires us to<br />

forwardly express our imagination upon the future<br />

of the park: What will be the ideal relationship<br />

between people, the landscape, its wildlife, and<br />

the energy/ resources which cycles within? How<br />

would this cycle be emerged and prevailed to its<br />

community in a tactile and theatrical experience?<br />

And what could be the possible meaning of this<br />

park to its surrounding environments and its<br />

people and the other lifeforms?<br />

Responding to these initial propositions, the<br />

project Energy Circus align itself to the theme of<br />

the festive atmosphere of the horticultural show,<br />

envisioning a public park driven by flow of energy<br />

and native resources that are staged analogously<br />

to a circus. Energy Circus shall become a collective<br />

ground to cultivate intimate relationship<br />

between its community, landscape, and wildlife<br />

through a bespoke cycle of shared ecosystem.<br />

While offering an educational, participative yet<br />

playful experience, the public park is left to be<br />

embellished and grow with natural human activities<br />

and organic changes.


Public<br />

101<br />

“By demonstrating the idea that<br />

design can be scalable, the proposal<br />

creates its own self-sustained and<br />

scientifically planned system that<br />

addresses energy and the agricultural<br />

industry”<br />

Tian Tian Xu


102<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Third Prize / Public<br />

Nature and<br />

Redemption<br />

Sirut Reinhard Huehne<br />

Nature, the greatest architect who has created<br />

designs since the old times. The various forms<br />

formed by various phenomenons of nature are of<br />

incomparable beauty. From the highest mountains,<br />

the deepest ocean, the greenest forests to the<br />

smallest environment that co-exist in those ecosystems.<br />

When the human being has come to build<br />

a large towering architecture in the midst of nature.<br />

The city engulfed and sprawled around endlessly.<br />

Material prosperity grows so rapidly that we may<br />

forget the generosity to other beings. No matter<br />

how dense a city is, not all areas can be used effectively.<br />

In a city, there are nooks and crannies and<br />

abandoned architecture scattered around the area.<br />

Even if human beings could share those areas back<br />

to nature again. But in cre¬ating a space to live<br />

together, even if we prepare an area for animals<br />

to come back to live in the city again, for example<br />

making a bird house. The birds would not be able<br />

to live because there was still a lack of fruit trees to<br />

provide foraging areas. Methods that designer has<br />

propose is to bring the concrete surface that covers<br />

the ground beneath it back to the sun and air once<br />

more to let nature do its greatest job again. The<br />

mechanisms of nature are pure and grand, the same<br />

with living things. It would be very complicated if<br />

human beings were able to c01n¬pletely imitate<br />

the ecosystem. In this design work, it focuses on<br />

using nature to create various phenomena. Only<br />

when that space is suitable can other creatures<br />

truly co-exist in noisome city areas again.


Public<br />

103<br />

“The notion of abandoned and unused spaces left to be reclaimed<br />

by nature is not only a romantic idea, but also practical one.<br />

I’m particularly interested in the proposals that re-look at<br />

our existing built environment or cities for ways that we can<br />

co-exist with other living things, and to be more considerate<br />

to our environment. The provocative collages recalling Superstudio,<br />

Archigram, and also “The Last of Us” are however quite<br />

post-apocalyptic and questionable. Would these already built<br />

structures be more sustainable if put to better use by people,<br />

instead of creating a need for new construction?”<br />

Savinee Buranasilapin


104<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Finalist / Public<br />

Rooftop<br />

Neighborhood<br />

Krit Thienvutichai<br />

Nattanit Eksangkul<br />

Thatamon Boonprom<br />

Kochaporn Rongkapranee<br />

ARCHITECTURE & NATURE<br />

With population growth over the years, urban<br />

developments, mainly composed of “architecture”<br />

as a matter of subsistence for human, continues<br />

to rise simultaneously. replacing the vulnerable<br />

nature. Apart from the green area preservation,<br />

moving forward to a more sustainable future, the<br />

new architectural model should be developed<br />

inclusively with nature redefining new friendly<br />

relationships with other lives.<br />

NEIGHBOR RELATIONSHIP<br />

Taking the relationship between humans and<br />

other lives into consideration, the acceptance<br />

of living together under the same roof (24/7)<br />

might not be an option. Since both lifestyles<br />

are incompatible, and thus interfere with others<br />

instead. For example, we often witness that<br />

people get annoyed by bugs meanwhile animals<br />

also get disturbed by lights at night. Therefore,<br />

a compatible relationship should allow both to<br />

have an individual area, meanwhile, occasionally<br />

be convenient for friendly encounters, like living<br />

with the neighbor.<br />

ROOFTOP ECOSYSTEM<br />

The rooftop is a qualified architectural component<br />

for a new habitat development since the area has<br />

potential in terms of space which is not only considered<br />

unused by humans in most buildings nowadaysbut<br />

also exposed to the surrounding natural<br />

contexts, including sunlight, rain, wind, etc. The new<br />

architectural model would allow the ecosystem to<br />

form on the upper layer of the city, redefining a new<br />

closer relationship between architecture and<br />

nature with mutual benefits.<br />

CREATION & EXPANSION POLICY<br />

To unlock the full potential of the new architectural<br />

model for reclaiming the urban ecological ecosystem,<br />

a large volume of rooftop habitat must be formed<br />

as a network. For that reason, the main challenge is<br />

finding an incentive tool to persuade people to invest<br />

in habitat construction, set up mutually beneficial<br />

regulations for both investor and the city rewarding<br />

with sensible bonuses, and create a room for innovative<br />

architectural design encountering nature<br />

(CREATION POLICY). Furthermore, to influence<br />

the others to follow extending the neighborhood<br />

territories with united will (EXPANSION POLICY)


Public<br />

105<br />

Finalist / Public<br />

Naturalized<br />

Dương Minh Kỳ, Lê Thị Hải<br />

Dương<br />

How are man and nature coliving?<br />

Why do we have a dualistic concept of man-made<br />

and natural, while humans are a part of nature?<br />

Natural ecosystems have the ability to maintain<br />

the balance between flora and fauna and develop<br />

sustainably over time. In contrast, humanity, with<br />

its Independent evolution, gradually affects the<br />

primordial balance. It’s not our business to come<br />

up with designs that are not only for humans since<br />

species are inherent good without us and because<br />

humans cannot manipulate all of the development<br />

of things either. We think it is humanity’s mission to<br />

transform its man-made development into nature.


106<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Finalist / Public<br />

STRUCTURE for<br />

ENVIRONMENT<br />

Masashi Itaya<br />

STRUCTURE for ENVIRONMENT<br />

Several dams exist in the suburbs of Tokyo. Mountains<br />

have been dug down, rivers dammed, and<br />

nature has been ‘’Developed” by humans. Bit by<br />

Bit, small animals” habitats have been deprived,<br />

but we people who live in the city are somehow<br />

too far away to realize the disruption. in this proposal,<br />

a beautiful glass stage (island) is floating<br />

on the dam for urban people to visit. It is a delicate<br />

structure formed when the wooden frame’s buoyancy<br />

in the water balances the load of the entire<br />

building. This thin, porous structure in the water<br />

is beautiful for people and the environment.


Public<br />

107<br />

Finalist / Public<br />

Pollinator Parade<br />

Pattapol Tantiyabhinun<br />

Pocharaphan Prayoonrat<br />

The world is losing biodiversity. Make the productivity<br />

of the ecosystem decreasing and destabilizing<br />

ecosystems, Pollinators are part of maintaining<br />

biodiversity. But with the urban environment causing<br />

these animals to disappear away from the city as<br />

well. So we creating a design that helps these<br />

animals


DEB23<br />

108<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

First Prize / Students<br />

“Untitled”<br />

Sorawit Boonpong<br />

DEB2329 STUDENTS<br />

DEB2329 STUDENTS<br />

concept<br />

By way of this house is that in the first phasewe will allow humans to live.<br />

and later if there is deterioration Thisarchitecture will be buried in the soil<br />

and make a hollow for wild animals such as rabbits, rats, earthworms, or<br />

alternatively, we can release them into the sea to build nests to restore the<br />

sea.<br />

I was inspired by the structure of caves and mounds<br />

that are not too high and different animals can take<br />

refuge. So I thought that if the shape of the cave<br />

was built, it would feel like being in a safe cave.<br />

House The meaning of the definition of each person may be d<br />

a house or residence or it may be a place in that area that fe<br />

To be a house that can not live only humans, but living things<br />

can live in.<br />

I was inspired by the By way structure of this house is of that in caves the first phase and we mounds<br />

will allow humans to live and later if there is deterioration<br />

This architecture will be buried in the soil<br />

high and different animals and make a hollow can for wild take animals such refuge. as rabbits, So I thou<br />

rats, earthworms, or alternatively, we can release<br />

them into the sea to build nests to restore the sea.<br />

shape of the cave was built, it would feel like being in<br />

House The meaning of the definition of each person<br />

may be different, it may be a house or residence or<br />

it may be a place in that area that feels warm and<br />

safe. To be a house that can not live only humans,<br />

but living things other than humans can live in.<br />

live.<br />

live.<br />

House The meaning of the definition of each person may be different, it may be<br />

House a house The or meaning residence of or the it definition may be a of place each in person that area may that be different, feels warm it and may safe. be


Students<br />

109<br />

y the structure of caves and mounds that are not too<br />

nt animals can take refuge. So I thought that if the<br />

ve was built, it would feel like being in a safe cave.<br />

By way of this house is that in the first phasewe will allow humans to live.<br />

and later if there is deterioration Thisarchitecture will be buried in the soil<br />

and make a hollow for wild animals such as rabbits, rats, earthworms, or<br />

alternatively, we can release them into the sea to build nests to restore the<br />

sea.<br />

House Th<br />

a house o<br />

To be a h<br />

can live<br />

“The proposal presents a conceptual and practical exploration<br />

into creating a symbiotic space, which is a very challenging<br />

topic for both students and professionals. Its simplicity and<br />

adaptability to various natural environments are beautiful<br />

and fascinating. Suggesting different possibilities, the intriguing<br />

lightness and transparency can be perceived as a both<br />

house and a ruin.”<br />

Tian Tian Xu


110<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Second Prize / Students<br />

“Living Under the<br />

Shadow of Death”<br />

Semyon Egorov<br />

In today’s fast world, there are so few places where<br />

animals can live in decent conditions, such as<br />

nature has created them. One of these places is a<br />

cemetery a place where people do not hurry, do<br />

not chase fate, , do not arrange business, and do<br />

not even make noise, a place, where nature reigns,<br />

and people are dead. The concept of this project<br />

implies the use of the human shell as a material for<br />

fertilizing various natural structures and thereby<br />

strengthening the wild ecosystem of the cemetery.<br />

Animals live on the territory of city parks, and feel<br />

quite ce comfortable, but the constant human presence,<br />

as well as strong noise and light pollution,<br />

negatively affects half of the population of small<br />

species of animals such as insects, rodents, birds.<br />

The cemetery is an almost closed closed ecosystem,<br />

with wild natural connections, excluding<br />

the constant human influence, we will get the most<br />

favorable structure for small animals. Also, numerous<br />

studies show that one of the best places for<br />

animals to live in large cities is cemeteries.


Students<br />

111<br />

“Proposes a new type of cemetery, which takes advantage of<br />

the relative “quietness” of humans on the site, to create an<br />

urban ecosystem that is less human-centered. Although the<br />

science behind the project seems underdeveloped and the<br />

name is misleading, the project actually emphasizes life in a<br />

thoughtful and observant way by recognizing that cemeteries<br />

are a logical place to “re-wild” with a realistic list of species<br />

such as small animals that already live in cities.”<br />

Savinee Buranasilapin


112<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Third prize / Students<br />

KIT-CHEN-KAN<br />

Pichayapak Kingpum<br />

Chanissara Sriharat<br />

Patsakorn Arporn<br />

Fist meaning is “ let’s cook”, We’ll use cooking to<br />

reconnect to nature. In the same way it also mean<br />

“I think so.“ When people turn back to respect<br />

and realize about the worth of nature, We are like<br />

minded.<br />

Everyone need cooking. it’s the one in living life<br />

process. Some time humans not only cook food<br />

but they also attack the origin of food too.<br />

Living things in biome can live together. we can<br />

exchange our resource with nature. Because there<br />

are not only human in this world. our foods might<br />

be their foods too. We will use architecture to be<br />

one part of creating food cycle space, where the<br />

nature gives their benefits to human and things<br />

from human will get back to nature too. 1% of our<br />

food waste could be 100% of their nutrition.<br />

The World Food Programme indicate that “Around<br />

1/3 of the world’s food is squandered.1.3 billion tons<br />

of waste food. Approximately trillion USD.” So, If<br />

we could completely reconnect and circulate the<br />

cycle, We would save 1.3 billion tons of waste food<br />

or trillion USD. And we would save precious life<br />

those are not only human.


Students<br />

1<strong>13</strong><br />

“A simple idea that closes the loop<br />

on how we deal with food. Although<br />

it might not be an architectural<br />

proposal, it reminds us of how<br />

we have been living before things<br />

became too elaborate, before it<br />

was necessary to buy expensive<br />

or advanced garbage bins just for<br />

recycling and decomposing garbage.<br />

The project could be more<br />

interesting if it can suggest how<br />

this idea can be modified to fit<br />

other contexts such as urban<br />

ones or condominiums.”<br />

Rachaporn Choochuey


114<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Finalist / Students<br />

Tree of Life<br />

Nikita Logaza<br />

For centuries, humanity has only taken from nature:<br />

its best places, resources, and space, without<br />

giving anything in return. But today, thanks to advances<br />

in technology, bioprogramming, and neural<br />

networks, we can repay our debt to nature. We can<br />

create a new world where architecture merges with<br />

living organisms and becomes entirely biological.<br />

We genetically modify living structures, turning<br />

them into new cities and forests. We are restoring<br />

nature to its rightful place on the planet, and even<br />

where ecosystems are completely destroyed, we<br />

are creating new species of plants capable of<br />

surviving even in the harshest conditions. They will<br />

become the guiding light for the rebirth of nature,<br />

animating dead land and creating new life. These<br />

artificial plants will not reproduce uncontrollably,<br />

but will serve only as a tool for us and nature. We<br />

are building new settlements and cities where<br />

there was once no life. A new type of plant will<br />

become a new home for humans and animals,<br />

more environmentally friendly, profitable, and<br />

convenient than any modern city.<br />

Nature has gifted us with intelligence and consciousness,<br />

and we must return everything we have<br />

taken from it and even more. Now we can start a<br />

new chapter in our history, a chapter where humans<br />

and nature live together in a common home for<br />

us - the tree of life.


Students<br />

115<br />

Finalist / Students<br />

Biodivers(C)ity”<br />

Alexandra Liasova<br />

In the modern city there are many creatures besides<br />

humans, some of the animals, birds and insects<br />

have taken root in difficult conditions, but the city<br />

has forced many out of their usual habitat. The city<br />

needs a new form of habitat that can become a<br />

home for animals, secure in the urban environment,<br />

and diversify urban flora and fauna.


116<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Finalist / Students<br />

Shrine - Relation<br />

Mooktapa Sookkeaw<br />

The shrine has long been associated with the beliefs<br />

of Thai people. It is the place of the sacred where<br />

people can gain spiritual solace and engage in a<br />

variety of religious rituals. The shrine can classified<br />

into three categories a ceremonial shrine that can<br />

only stand on the ground, with four pillars that is<br />

only applied in non-public areas, and a spirit shrine<br />

also can only stand on the ground , with one pole<br />

is applied in semi-public areas. And a Phra Phrom<br />

Shrine installable both on the roof and the ground<br />

It is offers services at various levels. applied in<br />

public areas and Each shrine have a different type<br />

and fuction, that is the city, the suburbs, a rural,<br />

and natural resources.<br />

Although the context and environment have changed<br />

throughout time, the shrine usefulness is still restricted.<br />

Also, there are issues in a variety of situations.<br />

It has an impact. for example, an abandoned<br />

shrine that makes passersby nervous, making the<br />

area feel desolate.It has turned into a haven for<br />

criminal conduct. Or the issue of offerings not being<br />

properly disposed of or used to generate waste for<br />

the neighborhood.<br />

We can observe that the shrine occasionally serves<br />

as more than just a place for the sacred in another<br />

realm. It can also serve as a haven for animals, with<br />

birds, cats, squirrels or other creatures residing in<br />

the shrinet. Also, the shrine acts as a warning of the<br />

risks that may arise. For instance, shrine are frequently<br />

put up in areas where vehicle accidents are<br />

common to encourage drivers to exercise greater<br />

caution.<br />

The issue with the conventional shrine has been<br />

addressed and brought to this project. To have<br />

functions that are better adapted to the era, as<br />

lightingthe many species of anima Is gather to eat,<br />

region for resource , rotation Animals can have a<br />

place to live and It serves as a venue for social<br />

gatherings of people out from the house.<br />

Bring up the name of this project ‘Shrine-Relation,”<br />

which connects and establishes relation between<br />

beliefs, human, animals, and environment together<br />

for better conexistence.


Students<br />

117<br />

Finalist / Students<br />

PLATALAY<br />

Tinadda Somproh<br />

Rapakorn Kampanatsanyakorn<br />

Kamphaeng Rammasut<br />

Chanakan Teekawiwantana<br />

‘Not Only Human Architecture’ as a new habitat for<br />

coral-dependent marine animal.<br />

The rising temperature of seawater, combined with<br />

the impact of increased marine tourism, has resulted<br />

in ships damaging coral reefs by anchoring. As a<br />

result, we are creating new habitats for coral-dependent<br />

marine animals, whether small fish, large<br />

fish, or even turtles, which will persist and may soon<br />

become extinct, and also provide space for turtles<br />

on an artificial beach to maintain and complete the<br />

food chain.<br />

When it comes to the design, it takes lessons from<br />

the hollow characteristics and appearance of corals,<br />

creating a new space that is suitable for the beginning<br />

of corals and algae that can also be connected<br />

to this new space from the seabed as a structure<br />

with an artificial beach on the water for turtles to<br />

lay eggs; the underwater part provides habitats and<br />

coral restoration areas for marine animals and connects<br />

with the original coral reefs, allowing for the<br />

centralization of fish homes, the continuation of the<br />

food chain, and the survival of marine ecosystems.


118<br />

<strong>ASA</strong> International Design Competition <strong>2023</strong><br />

Finalist / Students<br />

Antigarbage Boat<br />

Egor Kiselev<br />

In the modern world, the problem of water pollution<br />

is gaining more and more scale. Intensively operating<br />

factories, giant plastic production and the lack<br />

of a proper ecological idea have generated severe<br />

pollu¬tion of various water areas with garbage.<br />

According to various estimates, more than 8 million<br />

tons of plastics enter the world ocean every year.<br />

Almost all the garbage gets there through the<br />

rivers and concentrates on its surface. For example,<br />

the great Pacific garbage patch is located in the<br />

North Pacific Ocean and covers an area of about<br />

1.6 million square kilometers<br />

This project is a floating treatment facilities that<br />

are able to work completely autonomously: move,<br />

clean the reservoir and remove garbage to a special<br />

station. Their number per one area of the water<br />

area may vary. The main criterion for their work is<br />

to be located at the places where rivers flow into<br />

the ocean and at places of intense accumulation<br />

of garbage


Students<br />

119<br />

Finalist / Students<br />

Under and<br />

Upper the tree<br />

Panisara Udomlertsakul<br />

This work is inspired by the shape of a tree like a<br />

connection between people animals and Longstanding<br />

beliefs. It acts as a structure that supports<br />

the tree to be stronger, the roof can caught the<br />

fallen leaves from the tree to become a nest for<br />

birds and insects to live in. Without interfering<br />

between humans under the eaves and the droppings<br />

of the dung will not mess up in human space<br />

either. The structure under the human eaves can<br />

be used in a variety ways and flexibly.<br />

It’s can used as a seat, table, pet climbing also<br />

can be used as a place for religious rituals such<br />

as bathing the Buddha and tying tricolours to<br />

become a garden art. In addition, this structure<br />

is easily disassembled and transportable, it can<br />

be installed in various urban areas, both in parks<br />

on the ground or a garden on a condo to solve the<br />

problem of birds nesting in urban buildings. To<br />

be a coexistence between people, animals, nature<br />

and beliefs.


120<br />

<strong>ASA</strong> Platform<br />

Selected<br />

Materials<br />

<strong>2023</strong><br />

Photo Courtesy of The Association of Siamese Architects Under Royal Patrouge<br />

and Worapas Dusadeewijaiexcept as noted


<strong>ASA</strong> Platform Selected Materials <strong>2023</strong><br />

121<br />

<strong>ASA</strong> Platform Selected Materials <strong>2023</strong><br />

เป็นกิจกรรมใหม่ในงานสถาปนิก’66 โดย <strong>ASA</strong><br />

Platform เพื่อแสดงวัสดุและผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ<br />

ทางสถาปัตยกรรมหลากหลาย ที่สะท้อนถึง<br />

วิวัฒนาการของแนวคิดและแนวคิดในการ<br />

ตอบสนองต่อกระแสโลก ความก้าวหน้าของ<br />

วัสดุก่อสร้างและสถาปัตยกรรมเป็นสิ่งสำาคัญ<br />

สำาหรับอุตสาหกรรมการออกแบบและการ<br />

ก่อสร้าง อีกทั้งการส่งเสริมและสนับสนุนให้<br />

กับผู้ผลิตวัสดุและผู้นำาเข้าช่วยให้ผู้ประกอบ<br />

การสามารถพัฒนาและสร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์<br />

และบริการของตนได้<br />

วัสดุที่เลือกใช้สะท้อนแนวคิดและแนวคิดที่<br />

พัฒนาขึ้นเพื่อตอบสนองวิถีและแนวโน้มของโลก<br />

เช่น การใช้ทรัพยากร ความยั่งยืน เศรษฐกิจ<br />

หมุนเวียน การจัดการของเสียจากอุตสาหกรรม<br />

และการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ วัสดุ<br />

จำานวนมากเน้นไปที่แนวคิดใหม่ๆ เทคโนโลยี<br />

การใช้งานที่ชาญฉลาด และการใช้วัสดุจาก<br />

ธรรมชาติและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ความ<br />

ตระหนักที่เพิ่มขึ้นเกี่ยวกับสุขภาพได้นำาไปสู่<br />

การพัฒนาวัสดุที่ออกแบบมาโดยคำานึงถึง<br />

ความปลอดภัย ความสะดวก และความเป็น<br />

อยู่ที่ดีของผู้ใช้ วัสดุเหล่านี้จะได้รับการพัฒนา<br />

อย่างต่อเนื่องเพื่อให้ได้คุณภาพและมาตรฐาน<br />

ที่สูงขึ้น เป็นประโยชน์ต่ออุตสาหกรรมการ<br />

ออกแบบและการก่อสร้างในอนาคต อย่างไร<br />

ก็ตาม ด้านอื่น ๆ เช่น ความรับผิดชอบระดับโลก<br />

และสิ่งแวดล้อม กระบวนการผลิต โลจิสติกส์<br />

บริการ การใช้งาน อายุการใช้งาน และการ<br />

จัดการของเสีย จะเป็นความท้าทายที่สำาคัญ<br />

สำาหรับผู้ผลิตและแบรนด์ในปัจจุบันอย่าง<br />

หลีกเลี่ยงไม่ได้<br />

<strong>ASA</strong> Platform Selected Materials <strong>2023</strong><br />

is a new event at Architect’23 organized<br />

by <strong>ASA</strong> Platform to showcase a diverse<br />

range of architectural materials and<br />

products that reflect the evolution of<br />

ideas and concepts in response to<br />

global trends. The advancement of architectural<br />

and building materials is crucial<br />

for the design and construction industries,<br />

and the promotion and support<br />

provided to material manufacturers<br />

and importers empower entrepreneurs<br />

to develop and innovate their products<br />

and services.<br />

The materials selected reflect ideas<br />

and concepts that have evolved in<br />

response to global trajectories and<br />

trends, such as resource consumption,<br />

sustainability, the circular economy,<br />

industrial waste management, and<br />

carbon dioxide emissions. Many of the<br />

materials focus on new ideas, technology,<br />

smart living applications, and<br />

the use of natural and environmentally<br />

friendly materials. The growing awareness<br />

of health has led to the development<br />

of materials designed with user<br />

safety, convenience, and well-being in<br />

mind. These materials will continue to<br />

be developed to achieve higher quality<br />

and standards, benefiting the design<br />

and construction industries in the future.<br />

However, other aspects, such as global<br />

and environmental responsibility, manufacturing<br />

processes, logistics, services,<br />

applications, lifespan, and waste<br />

management, will continue to pose<br />

significant challenges to manufacturers<br />

and brands.


122<br />

Sustainable Material<br />

ALNEX<br />

Aluminum System<br />

Alnex เป็นแบรนด์ไทยที่เน้นงานระบบอะลูมิเนียม<br />

ตกแต่งอาคารเพื่อความยั่งยืน ด้วยประสบการณ์<br />

กว่า 40 ปี โดยนำาเสนอผลิตภัณฑ์อะลูมิเนียม<br />

น้ำาหนักเบา บำารุงรักษาง่าย พร้อมความสวยงาม<br />

และความปลอดภัยเหนือกาลเวลา ด้วยนวัตกรรม<br />

การออกแบบและกระบวนการผลิต Alnex มี<br />

นโยบายด้านความยั่งยืนโดยช่วยลดการปล่อย<br />

ก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ได้ถึง 23% เมื่อเทียบกับ<br />

โรงงานทั่วไป ด้วยกำาลังการผลิต 42,000 ตันต่อปี<br />

ได้ลดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ลง<br />

3,758 ตัน ซึ่งเทียบเท่ากับการปลูกต้นไม้ 400 ต้น<br />

ต่อปีโดยไม่ต้องปลูกป่า<br />

Alnex, a Thai brand, focuses on sustainable<br />

architectural decorative aluminum<br />

systems for exterior coverings. With over<br />

40 years of experience, the company<br />

offers lightweight, easy-to-maintain<br />

aluminum products with timeless beauty<br />

and safety. With innovative design and<br />

production processes, Alnex reduces<br />

carbon dioxide emissions by 23% compared<br />

to conventional factories. With a<br />

production capacity of 42,000 tonnes<br />

per year, Alnex has reduced CO2 emissions<br />

by 3,758 tonnes, equivalent to<br />

planting 400 trees per year without<br />

reforestation.<br />

alnexthailand.com


Recycled Material<br />

123<br />

Carpets Inter, a subsidiary of TCM Corporation<br />

PCL, has been a leader in sustainable<br />

carpet tiles for over 45 years. Their<br />

new product, EcoSoft® carpet mat material,<br />

made from recycled PET drinking<br />

water bottles, is a high-quality, environmentally<br />

friendly alternative to traditional<br />

carpet underlay. The brand uses 80%<br />

post-consumer waste bottles and 5%<br />

post-industrial recycled PET bottles for<br />

its raw materials. EcoSoft® carpet tiles<br />

are breathable, easy to clean, and can<br />

be replaced if damaged. The product is<br />

internationally recognized as RED LIST<br />

FREE by the International Living Future<br />

Institute. Carpets Inter aims to recycle<br />

1 billion plastic water bottles by 2025<br />

and achieve a net-zero greenhouse effect<br />

by 2050. The company also produces<br />

sound partition walls and acoustic panels<br />

for homes and commercial spaces under<br />

the RT acoustic and Royal Thai brands.<br />

carpetsinter.com<br />

EcoSoft<br />

Carpet Mat Material<br />

EcoSoft เป็นวัสดุพรมปูพื้นรุ่นใหม่จาก Carpet<br />

Inter บริษัทในเครือ บมจ.ทีซีเอ็ม คอร์ปอเรชั่น<br />

ซึ่งเป็นผู้นำาด้านพรมปูพื้นอย่างยั่งยืนมากว่า 45 ปี<br />

EcoSoft ทำาจากขวดน้ำาดื่ม PET รีไซเคิล เป็น<br />

ทางเลือกคุณภาพสูงและเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม<br />

แทนแผ่นรองพรมแบบดั้งเดิม แบรนด์ใช้ขวด<br />

เหลือใช้ 80% และขวด PET รีไซเคิล 5% เป็น<br />

วัตถุดิบ กระเบื้องพรม EcoSoft® ระบายอากาศ<br />

ได้ดี ทำาความสะอาดง่าย และสามารถเปลี่ยนได้<br />

หากชำารุด ผลิตภัณฑ์นี้ได้รับการยอมรับในระดับ<br />

สากลว่าเป็น RED LIST FREE โดย International<br />

Living Future Institute Carpets Inter ตั้งเป้าที่จะ<br />

รีไซเคิลขวดน้ำาพลาสติกให้ได้ 1 พันล้านขวด<br />

ภายในปี 2568 และบรรลุภาวะเรือนกระจกสุทธิ<br />

เป็นศูนย์ภายในปี 2593 นอกจากนี้ บริษัทยังผลิต<br />

ผนังกั้นเสียงและแผงอะคูสติกสำาหรับบ้านและ<br />

พื้นที่เชิงพาณิชย์ภายใต้แบรนด์ RT acoustic และ<br />

Royal Thai


124<br />

Sustainable Material<br />

COTTO eco Collection<br />

Tiles<br />

ในยุคปัจจุบัน ผู้คนหันมาใส่ใจกับปัญหาสิ่งแวดล้อม<br />

มากขึ้นและให้ความสำาคัญกับการแก้ปัญหาอย่าง<br />

ยั่งยืน COTTO แบรนด์กระเบื้อง สุขภัณฑ์ และ<br />

ก๊อกน้ำา สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์รักษ์โลกที่ผสาน<br />

เทคโนโลยีเข้ากับการดูแลสิ่งแวดล้อม บริษัทให้<br />

ความสำาคัญกับการรักษาสิ่งแวดล้อมและส่งเสริม<br />

แนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืน กระเบื้อง COTTO Eco<br />

Collection ผลิตจากวัสดุรีไซเคิล ลดการใช้<br />

ทรัพยากรธรรมชาติใหม่ได้ถึง 80% ส่งผลให้<br />

การปล่อย CO2 จากการขนส่งและน้ำาหมุนเวียน<br />

ลดลง 75% การลดลงนี้เทียบเท่ากับการปลูก<br />

ต้นไม้กว่า 944 ต้น กระบวนการผลิตปราศจาก<br />

สารอินทรีย์ระเหยง่าย สารเคมี และโลหะหนัก<br />

ที่มีผลกระทบต่อมนุษย์และธรรมชาติ ซีรีส์ ECO-<br />

TERRA ได้รับแรงบันดาลใจจากเครื่องปั้นดินเผา<br />

ดินเผาแบบดั้งเดิม นำาเสนอการออกแบบร่วม<br />

สมัยสำาหรับทั้งการปูกระเบื้องและการตกแต่ง<br />

ECO-TERRA VISTA (MIX) ได้รับแรงบันดาลใจ<br />

จากการออกแบบของชิโนโปรตุกีส ในขณะที่<br />

ECO-TERRA BOHO มีลวดลายกราฟิกแนวทแยง<br />

และเอฟเฟกต์นูน แต่ละซีรีส์ได้รับการออกแบบ<br />

มาเพื่อตอบสนองความต้องการของไลฟ์สไตล์<br />

และผู้บริโภคยุคใหม่ที่ให้ความสำาคัญกับการมี<br />

ส่วนร่วมในการพัฒนาสิ่งแวดล้อมเพื่อความ<br />

ยั่งยืน<br />

In the modern era, people are increasingly<br />

concerned about environmental issues<br />

and focusing on sustainable solutions.<br />

COTTO, a brand of tiles, sanitary ware,<br />

and faucets, has been creating ecofriendly<br />

products that combine technology<br />

with environmental care. The company<br />

emphasizes the importance of<br />

saving the environment and promoting<br />

sustainable practices. COTTO Eco<br />

Collection tiles, made from recycled<br />

materials, reduce the use of new natural<br />

resources by up to 80%, resulting in a<br />

75% reduction in CO2 emissions from<br />

transportation and circulating water.<br />

This reduction is equivalent to planting<br />

over 944 trees. The production process<br />

is free from volatile organic compounds,<br />

chemicals, and heavy metals that affect<br />

humans and nature.<br />

The ECO-TERRA series, inspired by<br />

traditional terracotta pottery, offers<br />

contemporary designs for both tiling<br />

and decorative purposes. The ECO-<br />

TERRA VISTA (MIX) is inspired by<br />

Chino Portuguese design, while the<br />

ECO-TERRA BOHO features diagonal<br />

graphic patterns and emboss effects.<br />

Each series is designed to meet the<br />

needs of a new lifestyle and consumers<br />

who value their participation in environmental<br />

development for sustainability.<br />

Cotto.com<br />

Cottolife.com


Innovative Material<br />

125<br />

Golhem<br />

Modified Clay Material<br />

Modified Clay Material (MCM) เป็นนวัตกรรม<br />

ทางเลือกใหม่สำาหรับวัสดุด้านหน้าอาคารแบบ<br />

ดั้งเดิมในอุตสาหกรรมสถาปัตยกรรม ซึ่งนำาเสนอ<br />

มุมมองใหม่ในด้านสุนทรียศาสตร์ MCM ผลิตจาก<br />

ดินเหนียวและหินบดละเอียดผสมแร่ธาตุอื่น ๆ<br />

ทำาให้ได้สีที่เป็นธรรมชาติโดยไม่ต้องใช้สีเคมี<br />

พิมพ์งาน หรือเลือกคอมพิวเตอร์ มันถูกบีบอัด<br />

และขึ้นรูปเป็นแผ่นโดยมีแผ่นรองตาข่ายไฟเบอร์<br />

กลาส ทำาให้ง่ายต่อการติดตั้งโดยไม่สร้างภาระให้<br />

กับโครงสร้างอาคาร เทคโนโลยีที่ใช้ใน MCM นั้น<br />

คล้ายคลึงกับการพิมพ์ 3 มิติ ทำาให้ได้ความลึก<br />

และลวดลายที่หลากหลายจากดินเหนียวและ<br />

แร่ธาตุ ผสมผสานกับคุณสมบัติตามธรรมชาติ<br />

ของพื้นผิวและสี<br />

แผ่น MCM ของ Golhem โดดเด่นด้วยสีที่แท้จริง<br />

และวิทยาศาสตร์ของส่วนผสมผงละเอียดของ<br />

แร่ธาตุหิน ทำาให้ที่ดินแต่ละรุ่นมีบุคลิกของตัวเอง<br />

ซึ่งแตกต่างจากวัสดุพื้นผิวแบบดั้งเดิมที่ต้องตัด<br />

เป็นแผ่นหินก่อนการติดตั้ง วิธีการนี้ทำ าให้ได้วัสดุ<br />

ที่ยั่งยืนและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมมากขึ้นโดย<br />

ไม่จำาเป็นต้องเลียนแบบหรือลอกเลียนแบบ<br />

อนาคตของ Golhem สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ใน<br />

การร่วมสร้างนวัตกรรมและพัฒนาผลิตภัณฑ์<br />

ใหม่กับพันธมิตรในต่างประเทศ โดยใช้วัตถุดิบ<br />

ในประเทศไทย และตอบสนองความต้องการของ<br />

แวดวงการออกแบบไทย<br />

Modified Clay Material (MCM) is an<br />

innovative alternative to traditional<br />

facade materials in the architecture<br />

industry, offering a new perspective in<br />

aesthetics. MCM is made from clay<br />

and finely powdered stone, with other<br />

minerals, resulting in a natural color<br />

without the need for chemical pigments,<br />

print jobs, or computer selection. It is<br />

compressed and formed into sheets<br />

with a fiberglass mesh backing, making<br />

it easy to install without burdening<br />

the building structure. The technology<br />

used in MCM is similar to 3D printing,<br />

allowing for various depths and patterns<br />

from the clay and minerals combined<br />

with the natural properties of texture<br />

and color.<br />

Golhem’s MCM sheets are characterized<br />

by their true color and the science of fine<br />

powder ingredients of stone minerals,<br />

giving each generation of land its own<br />

personality. This is different from traditional<br />

surface materials, which require<br />

cutting into stone slabs before installation.<br />

This approach allows for more<br />

sustainable and eco-friendly materials<br />

without the need for imitation or imitation.<br />

Golhem’s future is in line with its vision<br />

of co-innovating and developing new<br />

products with overseas partners, using<br />

raw materials in Thailand, and meeting<br />

the needs of Thai design circles.<br />

matdept.com


126<br />

Sustainable Material<br />

LOQA<br />

Environmentally Friendly Brick<br />

LOQA เป็นแบรนด์อิฐที่พัฒนาจากธุรกิจครอบครัว<br />

ที่ผลิตอิฐและวัสดุก่อสร้างทนไฟ สู่การเป็นผู้ริเริ่ม<br />

ในการผลิตวัสดุก่อสร้างที่มีสไตล์และมีคุณภาพสูง<br />

ซึ่งทำาจากเศษเซรามิก LOQA ผสมผสานความ<br />

หลงใหลในวัสดุรีไซเคิลเข้ากับความคิดสร้างสรรค์<br />

และการออกแบบ โดยมุ่งเน้นที่การลดผลกระทบ<br />

ต่อสิ่งแวดล้อม เริ่มต้นจากการผลิตและจบลงด้วย<br />

การนำาวัสดุกลับมาใช้ใหม่หรือส่งคืนเพื่อดำาเนิน<br />

การผลิตใหม่ สายผลิตภัณฑ์ของ LOQA ได้รับ<br />

การพัฒนา โดยเริ่มจากกระเบื้องทรงกลมที่ทำ าจาก<br />

วัสดุรีไซเคิลและมีให้เลือกมากกว่า 60 สี บริษัท<br />

ยังได้พัฒนา Unburnt Circular Tiles ซึ่งเป็นวัสดุ<br />

ใหม่ที่ไม่ต้องใช้ความร้อนและพัฒนาด้วยเคมีและ<br />

วัสดุศาสตร์<br />

นอกจากนี้ บริษัทยังได้เข้าร่วม Material Conne-<br />

Xion Bangkok ซึ่งเป็นฐานข้อมูลวัสดุของ CEA ซึ่ง<br />

เชื่อมต่อกับห้องสมุดวัสดุทั่วโลก ความคิดริเริ่มนี้<br />

สนับสนุนให้นักออกแบบและนักสร้างสรรค์ขยาย<br />

ขอบเขตจินตนาการและสร้างผลิตภัณฑ์ที่เติมเต็ม<br />

วิสัยทัศน์และจินตนาการของพวกเขา ปัจจุบัน<br />

LOQA เป็นหนึ่งในสมาชิกบริษัท 3,000 แห่งของ<br />

โครงการ 1% for the Planet ซึ่งบริจาคส่วนหนึ่ง<br />

ของยอดขายผลิตภัณฑ์ให้กับองค์กรด้าน<br />

สิ่งแวดล้อมที่มุ่งมั่นที่จะสร้างการสนับสนุนด้าน<br />

สภาพอากาศ อาหาร ที่ดิน มลพิษ น้ำ า และสัตว์ป่า<br />

LOQA, a brick brand, has evolved from<br />

a family business manufacturing bricks<br />

and fire-resistant building materials to<br />

an innovator in producing stylish, highquality<br />

building materials made from<br />

ceramic waste. The brand combines<br />

passion for recyclable materials with<br />

creativity and design, focusing on reducing<br />

environmental impact. The life<br />

cycle begins with manufacturing and<br />

ends with the materials being reused<br />

or returned for a new production run.<br />

LOQA’s product lines have evolved,<br />

starting with circular tiles made of recycled<br />

materials and available in over 60<br />

colors. The company has also developed<br />

Unburnt Circular Tiles, a new material<br />

that does not require heat and is developed<br />

through chemistry and material<br />

science.<br />

The company has also joined Material<br />

ConneXion Bangkok, CEA’s material<br />

database, which connects to material<br />

libraries worldwide. This initiative encourages<br />

designers and creators to expand<br />

their imaginations and create products<br />

that fulfill their vision and imagination.<br />

LOQA is now one of the 3,000 company<br />

members of the 1% for the Planet initiative,<br />

which donates a portion of product<br />

sales to fund environmental organizations<br />

committed to building support for<br />

climate, food, land, pollution, water, and<br />

wildlife.<br />

facebook.com/loqa.co


Healthcare and Hygiene Material<br />

127<br />

MicroWhite<br />

Fiberglass Insulation<br />

Microfiber Industries Limited, the first<br />

company in ASEAN to make fiberglass<br />

insulation in 1978, has made significant<br />

progress in technology since 1991 by<br />

changing its formula to use fiberglass<br />

instead of silica. This change has led to<br />

increased production capacity and a<br />

new product called MicroWhite, which is<br />

made entirely of recycled glass bottles<br />

and certified by Green Label Thailand.<br />

MicroWhite is a white-colored fiberglass<br />

insulation that is free of chemicals, color<br />

pigments, and VOCs. The eco-friendly<br />

properties of both raw materials and<br />

the end product are certified by formaldehyde<br />

emission testing performed<br />

globally by a renowned laboratory<br />

in Germany. The company has also<br />

improved the basic properties of fiberglass<br />

insulation, such as noise absorption,<br />

heat conduction, and temperature<br />

reduction, to meet the needs and expectations<br />

of today’s consumers. It works<br />

with partners to create new product<br />

lines that are easier to use, install, and<br />

decorate, such as VOC-free fabric<br />

insulation used in conference halls,<br />

schools, and office buildings. This<br />

commitment to sustainability is evident<br />

in providing high-quality insulation<br />

products that meet the needs of today’s<br />

consumers.<br />

microfiber.co.th<br />

Microfiber เป็นแบรนด์แรกในอาเซียนที่ผลิต<br />

ฉนวนใยแก้วในปี พ.ศ. 2521 มีความก้าวหน้า<br />

อย่างมากในด้านเทคโนโลยีตั้งแต่ปี พ.ศ. 2534<br />

โดยเปลี่ยนสูตรเพื่อใช้ใยแก้วแทนซิลิกา การ<br />

เปลี่ยนแปลงนี้นำาไปสู่การเพิ่มกำาลังการผลิตและ<br />

ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่เรียกว่า MicroWhite ซึ่งทำ าจาก<br />

ขวดแก้วรีไซเคิลทั้งหมดและได้รับการรับรองจาก<br />

Green Label Thailand<br />

MicroWhite เป็นฉนวนใยแก้วสีขาวที่ปราศจาก<br />

สารเคมี สารสี และ VOCs คุณสมบัติที่เป็นมิตร<br />

ต่อสิ่งแวดล้อมของทั้งวัตถุดิบและผลิตภัณฑ์ขั้น<br />

สุดท้ายได้รับการรับรองโดยการทดสอบการ<br />

ปล่อยสารฟอร์มาลดีไฮด์ที่ดำาเนินการทั่วโลกโดย<br />

ห้องปฏิบัติการที่มีชื่อเสียงในเยอรมนี บริษัทยังได้<br />

ปรับปรุงคุณสมบัติพื้นฐานของฉนวนใยแก้ว เช่น<br />

การดูดซับเสียง การนำาความร้อน และการลด<br />

อุณหภูมิ เพื่อตอบสนองความต้องการและความ<br />

คาดหวังของผู้บริโภคในปัจจุบัน โดยทำางานร่วม<br />

กับพันธมิตรเพื่อสร้างไลน์ผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ใช้งาน<br />

ติดตั้ง และตกแต่งได้ง่ายขึ้น เช่น ฉนวนใยผ้า<br />

ปลอดสาร VOC ที่ใช้ในห้องประชุม โรงเรียน และ<br />

อาคารสำานักงาน ความมุ่งมั่นสู่ความยั่งยืนนี้<br />

แสดงให้เห็นชัดเจนในการนำาเสนอผลิตภัณฑ์<br />

ฉนวนคุณภาพสูงที่ตอบสนองความต้องการของ<br />

ผู้บริโภคในปัจจุบัน


128<br />

RecycoEX<br />

Paving Block<br />

RecycoEX ได้รับการก่อตั้งขึ้นเพื่อแก้ไขปัญหา<br />

ขยะกำาพร้าในกระบวนการรีไซเคิล เป็นการรวม<br />

แนวคิดของการรีไซเคิลและการอัดขึ้นรูปเข้าด้วย<br />

กัน ทำาให้วัตถุดิบกลายเป็นชิ้นส่วนที่ต้องการ<br />

แบรนด์เริ่มต้นด้วยการสร้างแอปพลิเคชั่นเพื่อซื้อ<br />

และรวบรวมขยะ โดยเน้นที่ขยะกำาพร้าซึ่งสามารถ<br />

นำาไปใช้สร้างบล็อกปูพื้นถนนที่เป็นมิตรต่อ<br />

สิ่งแวดล้อม<br />

ขยะกำาพร้าเป็นปัญหาสำาคัญในกระบวนการ<br />

รีไซเคิล เนื่องจากขยะเหล่านี้สามารถมีชีวิตอยู่<br />

บนโลกได้นานถึง 200 ปีก่อนที่จะย่อยสลาย<br />

RecycoEX มุ่งเน้นการใช้กล่องนมและถุงขนม<br />

ขบเคี้ยว โดยทำางานร่วมกับโรงงานพันธมิตรเพื่อ<br />

แยกวัสดุบรรจุภัณฑ์แต่ละชั้น จากนั้นกระดาษ<br />

จะถูกส่งต่อไปยังอุตสาหกรรมกระดาษคราฟท์<br />

และฟิล์มพลาสติกและฟิล์มอะลูมิเนียมจะ<br />

แตกออกเป็นชิ้นเล็กๆ บล็อกปูพื้น RecycoEX<br />

PAVE มีให้เลือก 4 สี ได้รับการพัฒนาเพื่อให้<br />

สามารถแข่งขันกับบล็อกคอนกรีตได้ ทำาให้<br />

ใช้งานได้หลากหลายมากขึ้น แบรนด์มีเป้าหมาย<br />

ที่จะคัดแยกขยะกำาพร้าเพื่อการใช้งานที่ดีที่สุด<br />

ส่งเสริมเศรษฐกิจหมุนเวียนและลดปริมาณขยะ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ และวัสดุทดแทน<br />

นอกจากการผลิตบล็อกปูพื้นแล้ว RecycoEX ยัง<br />

ให้บริการเต็มรูปแบบตลอดวงจรของเสีย รวมถึง<br />

แอปสำาหรับซื้อขยะและตลาดรีไซเคิลสุดสัปดาห์<br />

แอปเสนอราคาที่ยุติธรรมสำาหรับขยะกำาพร้า<br />

กระตุ้นกลไกและสร้างมูลค่าให้กับขยะที่ถูกลืม<br />

บริษัทตั้งเป้าที่จะสร้างระบบนิเวศสำาหรับขยะ<br />

โดยรวบรวมและใช้ประโยชน์ให้ได้มากที่สุด และ<br />

สนับสนุนให้ผู้คนเก็บขยะในบ้านของพวกเขาเพื่อ<br />

ส่งเสริมนิสัยที่ดีต่อสิ่งแวดล้อม<br />

Recycled Material<br />

RecycoEX was founded to address the<br />

issue of orphan waste in the recycling<br />

process. It combines the concepts of<br />

recycle and coextrusion, forming raw<br />

materials into desired parts. The brand<br />

began by creating an application to buy<br />

and collect waste, eventually focusing<br />

on orphan waste, which can be used<br />

to create environmentally friendly road<br />

paving blocks.<br />

Orphan waste is a significant issue in<br />

the recycling process, as it can live on<br />

Earth for up to 200 years before decomposing.<br />

RecycoEX focuses on using<br />

milk cartons and snack bags, working<br />

with partner factories to separate each<br />

layer of packaging material. The paper<br />

is then passed on to the kraft paper<br />

industry, and the plastic film and aluminum<br />

film are broken into small pieces.<br />

The RecycoEX PAVE flooring block,<br />

available in four colors, has been<br />

developed to make it competitive with<br />

concrete blocks, allowing for a wider<br />

range of use. The brand aims to extract<br />

orphan waste for the best possible use,<br />

promoting the circular economy and<br />

reducing waste, natural resources, and<br />

substitute materials.<br />

In addition to producing paving blocks,<br />

RecycoEX provides full service throughout<br />

the waste cycle, including an app<br />

for buying waste and a weekend recycling<br />

market. The app offers a fair price<br />

for orphan waste, stimulating mechanisms<br />

and creating value for forgotten<br />

waste. The company aims to build an<br />

ecosystem for waste by collecting and<br />

utilizing as much as possible, and encourages<br />

people to pick up trash in their<br />

homes to promote good environmental<br />

habits.<br />

recycoex.com


Healthcare and Hygiene Material<br />

129<br />

Soft Floor<br />

Flooring material<br />

COTTO ได้สร้างสรรค์คอลเลกชั่น Soft+ Floor<br />

นวัตกรรมผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพและอนามัย<br />

ที่ออกแบบมาเพื่อช่วยให้ผู้สูงอายุ เด็ก และ<br />

สัตว์เลี้ยงหลีกเลี่ยงการล้ม ลดเสียงรบกวน<br />

ขณะเดิน และรักษาสิ่งแวดล้อม คอลเลกชัน<br />

นี้ฉลาด ยืดหยุ่น และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม<br />

ด้วยลวดลาย Premium Natural Matt และ<br />

เทคโนโลยี EIR (Embossed In Register)<br />

โครงสร้างแกนหลายชั้นและโครงสร้าง 3 ชั้นของ<br />

คอลเลกชันช่วยดูดซับแรงกระแทก ทำาให้มีความ<br />

ยืดหยุ่นมากขึ้นและลดระดับที่ไม่สม่ำาเสมอ ชั้น<br />

กันกระแทกที่มีความหนาแน่นสูงช่วยลดเสียง<br />

รบกวน และเทคโนโลยี Core Sound Protect ได้<br />

รับการรับรองด้วยรางวัล Quiet Mark คอลเลกชัน<br />

นี้ปราศจากรังสี ทำาจากวัสดุบริสุทธิ์ 100% และ<br />

เป็นกระบวนการผลิตที่ไม่มีของเสีย การเคลือบ<br />

EPT Shield บนพื้นผิวนั้นป้องกันรอยขีดข่วน<br />

สีซีดจาง และไม่ปนเปื้อน ทำาให้ทำาความสะอาด<br />

ได้ง่าย และมีสารสุขอนามัยที่ช่วยยับยั้งการเจริญ<br />

เติบโตของแบคทีเรีย คุณสมบัติเหล่านี้เหมาะ<br />

สำาหรับสมาชิกสูงวัย ป้องกันอุบัติเหตุที่ไม่คาดคิด<br />

และความเสี่ยงจากข้อต่อของร่างกายจากระดับ<br />

พื้นที่ไม่เท่ากัน<br />

COTTO has created the Soft+ Floor<br />

Collection, an innovative health and<br />

hygiene product designed to help the<br />

elderly, children, and pets avoid falling,<br />

reduce noise while walking, and protect<br />

the environment. The collection is smart,<br />

flexible, and environmentally friendly,<br />

with a Premium Natural Matt pattern<br />

and EIR (Embossed In Register) technology.<br />

The collection’s core multilayer<br />

structure and 3-layer structure absorb<br />

shocks, making it more flexible and<br />

reducing uneven levels. The high-density<br />

cushion layer reduces noise, and<br />

the Core Sound Protect Technology is<br />

certified with the Quiet Mark award.<br />

The collection is radiation-free, made<br />

from 100% virgin material, and is a<br />

zero-waste production process. The<br />

EPT Shield coating on the surface is<br />

scratch-resistant, fade-resistant, and<br />

non-contaminating, making it easy to<br />

clean and contains hygienic substances<br />

to inhibit bacteria growth. These properties<br />

are suitable for senior members,<br />

preventing unexpected accidents and<br />

deteriorating body joints from uneven<br />

floors.<br />

ltbycotto.com


<strong>13</strong>0<br />

Raw Material<br />

Thick and Thin<br />

Wooden Furniture<br />

Thick and Thin Studio เป็นธุรกิจของครอบครัว<br />

ที่เริ่มต้นจากการเป็นโรงเลื่อย นำ าเข้าและแปรรูปไม้<br />

จากประเทศมาเลเซีย สโลแกนของบริษัทที่ว่า<br />

“The Subtle Act of Raw and Solid” สะท้อนถึง<br />

เรื่องราวของไม้ผ่านการออกแบบ เฟอร์นิเจอร์ทำ า<br />

จากไม้กว่า 40 ชนิด คัดสรรอย่างดีตามคุณสมบัติ<br />

เฟอร์นิเจอร์เคลื่อนย้ายได้ หยิบใช้สะดวก Thick<br />

and Thin Studio มีแนวคิดที่ต้องการให้นัก<br />

ออกแบบเข้าใจไม้และวิธีแก้ปัญหาทางเทคนิคเพื่อ<br />

สร้างเฟอร์นิเจอร์ที่สมบูรณ์แบบ โดยแยกความ<br />

แตกต่างจากวิธีการผลิตเฟอร์นิเจอร์อื่น ๆ<br />

Thick and Thin Studio, a family business,<br />

began as a sawmill importing and<br />

processing wood from Malaysia. The<br />

company’s slogan, “The Subtle Act of<br />

Raw and Solid,” reflects the story of<br />

wood through design. The furniture is<br />

made from over 40 species of wood,<br />

carefully selected for their properties.<br />

The furniture is moveable, allowing for<br />

easy accessibility. Thick and Thin Studio<br />

challenges designers to understand<br />

wood and technical solutions to create<br />

perfect furniture, setting it apart from<br />

other furniture production methods.<br />

thickandthinstudio.com


CPAC Green Solution<br />

UHPC Concrete<br />

Smart Solution Material<br />

<strong>13</strong>1<br />

Ultra High Performance Concrete (UHPC)<br />

was created by CPAC Green Solution<br />

to improve the mechanical properties of<br />

regular concrete and open up new possibilities<br />

in the construction industry. The<br />

material was first used in the construction<br />

of the CPAC Ultra Bridge, a columnless<br />

bridge built over water at SCG’s<br />

Bangsue headquarters.<br />

UHPC’s pressure is five times higher<br />

than standard concrete and can withstand<br />

tension almost at the same level<br />

as steel. The manufacturing process<br />

uses the steam curing method to improve<br />

strength properties at a faster rate,<br />

resulting in superior qualities. UHPC has<br />

been used in more and more architectural<br />

projects, bridging the gap between<br />

traditional building methods and steel<br />

and concrete.It has broadened restrictions<br />

on concrete structures while<br />

making application and maintenance<br />

easier. The material’s strength and durability<br />

increase the structure’s longevity,<br />

while easier and more convenient maintenance<br />

reduces the long-term cost of<br />

a building and overall carbon emissions.<br />

web.cpac.co.th<br />

Ultra High Performance Concrete (UHPC)<br />

หรือคอนกรีตสมรรถนะสูงพิเศษ เป็นนวัตกรรม<br />

คอนกรีตที่สร้างสรรค์โดย CPAC Green Solution<br />

เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของคอนกรีตทั่วไป<br />

และเปิดโอกาสใหม่ ๆ ในอุตสาหกรรมการก่อสร้าง<br />

วัสดุดังกล่าวถูกนำามาใช้ครั้งแรกในการก่อสร้าง<br />

CPAC Ultra Bridge ซึ่งเป็นสะพานแบบไร้เสาที่<br />

สำานักงานใหญ่บางซื่อของเอสซีจี<br />

แรงกดของ UHPC สูงกว่าคอนกรีตมาตรฐานถึง<br />

ห้าเท่า และสามารถทนต่อแรงดึงได้เกือบเท่ากับ<br />

เหล็ก กระบวนการผลิตใช้วิธีการบ่มด้วยไอน้ำา<br />

เพื่อปรับปรุงคุณสมบัติความแข็งแรงในอัตราที่<br />

เร็วขึ้น ทำาให้ได้คุณภาพที่เหนือกว่า UHPC ถูกนำ า<br />

มาใช้ในโครงการสถาปัตยกรรมมากขึ้นเรื่อย ๆ<br />

เชื่อมช่องว่างระหว่างวิธีการสร้างแบบดั้งเดิมกับ<br />

เหล็กและคอนกรีต ได้ขยายข้อจำากัดในโครงสร้าง<br />

คอนกรีตในขณะที่ทำาให้การใช้งานและการบำารุง<br />

รักษาง่ายขึ้น ความแข็งแรงและความทนทานของ<br />

วัสดุช่วยเพิ่มอายุการใช้งานของโครงสร้าง ใน<br />

ขณะที่การบำารุงรักษาที่ง่ายและสะดวกยิ่งขึ้นจะ<br />

ช่วยลดต้นทุนระยะยาวของอาคารและการปล่อย<br />

ก๊าซคาร์บอนโดยรวม


<strong>13</strong>2<br />

Smart Solution Material<br />

VIZIO, a new generation of automatic<br />

toilets by COTTO, is designed to improve<br />

people’s quality of life by utilizing the<br />

ION Mist innovation, which uses water to<br />

separate ions and coat the inside of the<br />

toilet bowl. The toilets also have features<br />

that make them less messy and more<br />

comfortable, such as a remote control<br />

with vibration and an automatic lid<br />

closure system.<br />

VIZIO<br />

Sanitary Ware<br />

VIZIO เป็นสุขภัณฑ์อัตโนมัติรุ่นใหม่จาก COTTO<br />

ที่ออกแบบมาเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของผู้คน<br />

ด้วยนวัตกรรม ION Mist ที่ใช้น้ำาในการแยก<br />

ไอออนและเคลือบภายในโถสุขภัณฑ์ โถสุขภัณฑ์<br />

ยังมีคุณสมบัติที่ทำาให้ไม่เลอะเทอะและสะดวก<br />

สบายยิ่งขึ้น เช่น รีโมทคอนโทรลพร้อมระบบ<br />

สั่นและระบบปิดฝาอัตโนมัติ<br />

ดีไซน์และรายละเอียดของ COTTO ตอบโจทย์<br />

ผู้ใช้ทุกเพศทุกวัย ด้วยรูปทรงที่นั่งสบาย และ<br />

ระบบอัตโนมัติที่ใช้งานง่ายสำาหรับทั้งเด็กและ<br />

ผู้สูงอายุ ระบบชำาระล้างแบบ V-Silent ทำางาน<br />

เงียบกว่าสุขภัณฑ์ทั่วไป และระบบกันน้ำา IPX4<br />

มีระบบปรับอุณหภูมิฝารองนั่ง ที่เป่าลม และ<br />

อุณหภูมิของน้ำา ความมุ่งมั่นของ COTTO ใน<br />

การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการพัฒนาองค์กร<br />

อย่างยั่งยืนนั้นเห็นได้จากการใช้พลังงาน<br />

หมุนเวียนและแนวทางปฏิบัติที่ยั่งยืน นี่คือ<br />

แนวทางที่คอตโต้ยังคงคิดและสร้างสรรค์ให้<br />

ทุกชีวิตบนโลกมีพื้นที่แห่งความสุข ปลอดภัย<br />

และยั่งยืน<br />

COTTO’s design and details cater to<br />

users of all ages, with large shapes,<br />

comfortable seating, and easy-to-use<br />

automation for both children and the<br />

elderly. The V-Silent flushing system is<br />

quieter than conventional sanitaryware,<br />

and the IPX4 waterproof system includes<br />

a temperature adjustment system for<br />

the seat cover, air blower, and water<br />

temperature. COTTO’s commitment to<br />

environmental conservation and sustainable<br />

organizational development is<br />

evident in their use of renewable energy<br />

and sustainable practices. This is the<br />

direction in which COTTO continues to<br />

think and create for every life on earth to<br />

have a space of happiness, safety, and<br />

sustainability.<br />

cotto.com


Alternative Material<br />

<strong>13</strong>3<br />

Windsor<br />

Vinyl Doors and Windows<br />

Windsor’s Signature Series เป็นกรอบประตูและ<br />

หน้าต่างไวนิลที่ยั่งยืนซึ่งออกแบบมาโดยเฉพาะ<br />

สำาหรับสภาพอากาศร้อนชื้นของประเทศไทย<br />

วัสดุนี้มีคุณสมบัติ UV Stabilizer, Heat Stabilizer,<br />

Impact Modifier และ Anti-Stain ทำาให้เหมาะ<br />

กับสภาพอากาศเขตร้อนของประเทศ นวัตกรรม<br />

ของ Windsor ประกอบด้วยเม็ดสีเย็น ลดการ<br />

ดูดซับความร้อน และลดอุณหภูมิภายในอาคาร<br />

และการใช้พลังงาน แบรนด์ให้ความสำาคัญกับ<br />

กระบวนการผลิตที่ยั่งยืน ส่งผลให้มีความทนทาน<br />

อายุยืนยาว และสามารถรีไซเคิลได้<br />

วัสดุที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเป็นทางเลือกที่ดี<br />

อย่างหนึ่งในการทดแทนไม้ธรรมชาติ ด้วย<br />

รายละเอียดที่เหมือนจริงและลามิเนตคุณภาพสูง<br />

ที่ได้มาตรฐานเยอรมัน เฟรมทำาหน้าที่เป็น<br />

องค์ประกอบป้องกันการงัดแงะและน้ำารั่วซึม และ<br />

ทนต่อแรงดันอากาศได้สูงสุด 120 กม./ชม.<br />

ทั้งยังลดเสียงรบกวนจากภายนอกได้อย่างมี<br />

ประสิทธิภาพถึง 40% หรือประมาณ 32 เดซิเบล<br />

ซึ ่งดีกว่าเฟรมอะลูมิเนียมส่วนใหญ่ กรอบประตู<br />

และหน้าต่างไวนิลของ Windsor มีประสิทธิภาพ<br />

ในการปิดผนึกสูงสุดด้วยระบบหลายห้องและ<br />

ยาง EPDM ปิดผนึกสองชั้น ปกป้องพื้นที่อยู่<br />

อาศัยจากมลพิษทางอากาศ และเข้ากันได้กับพื้นที่<br />

อยู่อาศัยทั้งแนวราบและแนวสูง ให้ประโยชน์ทั้ง<br />

ด้านประโยชน์ใช้สอยและความสวยงาม<br />

Windsor’s Signature Series is a sustainable<br />

vinyl door and window frame<br />

designed specifically for Thailand’s<br />

hot and humid climate. The material<br />

features UV Stabilizer, Heat Stabilizer,<br />

Impact Modifier, and Anti-Stain, making<br />

it suitable for the country’s tropical<br />

climate. Windsor’s innovative formula<br />

incorporates cool pigment, reducing<br />

heat absorption and reducing interior<br />

temperature and energy consumption.<br />

The brand prioritizes a sustainable<br />

manufacturing process, resulting in<br />

superior durability, longevity, and<br />

recyclability.<br />

The eco-friendly material is a great<br />

alternative to natural wood, with real-<br />

istic details and high-quality laminate<br />

that meets German standards. The<br />

frames serve as protective elements,<br />

preventing intruders and water leakage,<br />

and can withstand up to 120 km/h of<br />

air pressure. They also effectively<br />

reduce outside noise intrusion by 40%,<br />

or approximately 32 decibels, better<br />

than most aluminum frames. Windsor<br />

frames provide ultimate sealing ability<br />

with their multi-chamber system and<br />

double-sealed EPDM rubber, protecting<br />

living spaces from air pollution, and<br />

are compatible with both low-rise and<br />

high-rise living spaces, offering both<br />

functional and aesthetic benefits.<br />

windsor.co.th


<strong>13</strong>4<br />

Smart Craft Material<br />

Zila Marble & Decoration<br />

Smart Craft<br />

Zila Marble & Decoration was founded<br />

by an interior designer who sought<br />

customized marble for his home decoration.<br />

The brand has a deep understanding<br />

of the functional aspects and<br />

processes of the material and products,<br />

from aesthetics to the use of machines<br />

and techniques that suit a design. They<br />

have a strong understanding of trends<br />

and Thai designers’ needs, allowing<br />

them to develop products that address<br />

installation-related issues and concerns<br />

for designers, contractors, builders, and<br />

end-users.<br />

Zila Marble & Decoration ก่อตั้งขึ้นโดยนัก<br />

ออกแบบภายในที่มองหาหินอ่อนสั่งทำาพิเศษ<br />

สำาหรับตกแต่ง แบรนด์นี้เน้นที่หินอ่อนธรรมชาติ<br />

นำาเข้า นำาเสนอการออกแบบและการตกแต่งที่<br />

หลากหลาย จุดแข็งของบริษัทอยู่ที่หินอ่อนนำ าเข้า<br />

คุณภาพเยี่ยมและการออกแบบที่มีเอกลักษณ์<br />

เฉพาะซึ่งสร้างสรรค์โดยนักออกแบบชาวไทยที่มี<br />

ความสามารถ มีความเข้าใจอย่างลึกซึ้งเกี่ยวกับ<br />

ลักษณะการทำางานและกระบวนการของวัสดุและ<br />

ผลิตภัณฑ์ ตั้งแต่ความสวยงามไปจนถึงการใช้<br />

เครื่องจักรและเทคนิคที่เหมาะสมกับการออกแบบ<br />

พวกเขามีความเข้าใจเป็นอย่างดีเกี่ยวกับแนวโน้ม<br />

และความต้องการของนักออกแบบชาวไทย ทำาให้<br />

พวกเขาสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ที่แก้ไขปัญหา<br />

เกี่ยวกับการติดตั้งและข้อกังวลสำ าหรับนักออกแบบ<br />

ผู้รับเหมา ผู้สร้าง และผู้ใช้ปลายทาง<br />

แผ่นหินอ่อนของ Zila Marble เคลือบด้วยน้ำายา<br />

ป้องกันสีซึ่งมีอายุการใช้งาน 1-2 ปี และการ<br />

บำารุงรักษาก็เหมือนกับแผ่นหินอ่อนทั่วไปบริษัท<br />

มุ่งมั่นที่จะรักษามาตรฐานระดับสูงและรักษา<br />

มาตรฐานระดับสูงในผลิตภัณฑ์และบริการของตน<br />

นอกจากสินค้ากว่า 100 รายการในหมวดการ<br />

ตกแต่งบ้านแล้ว Zila Marble & Decoration<br />

กำาลังพัฒนาผลิตภัณฑ์ขนาดใหญ่ เช่น เฟอร์นิเจอร์<br />

หินอ่อน และผนังที่มีรายละเอียดเซาะร่อง การ<br />

สร้างสรรค์ใหม่เหล่านี้จะถูกจดลิขสิทธิ์ภายใต้<br />

แบรนด์ Zila Marble & Decoration ซึ่งช่วยให้<br />

แบรนด์สามารถสำารวจความเป็นไปได้ใหม่ ๆ<br />

สำาหรับหินอ่อนธรรมชาติ และยังคงคิดค้นและ<br />

สร้างสรรค์งานออกแบบที่น่าทึ ่งต่อไป<br />

The brand’s marble slabs are coated<br />

with a color protection solution that<br />

lasts for 1-2 years, and maintenance<br />

is similar to other marble slabs. The<br />

company is committed to maintaining<br />

high standards and maintaining high<br />

standards in their products and services.<br />

In addition to over 100 items in their<br />

home décor category, Zila Marble &<br />

Decoration is working on larger-scale<br />

products, such as marble furniture and<br />

featured walls with grooving details.<br />

These new creations will be copyrighted<br />

under the Zila Marble & Decoration<br />

brand, allowing the brand to explore<br />

new possibilities for natural marble<br />

and continue to innovate and create<br />

stunning designs.<br />

zilamarble.com


<strong>ASA</strong> Journal <strong>13</strong>5<br />

asa Platform Selected<br />

Materials <strong>2023</strong><br />

OUT<br />

NOW!<br />

asa Platform Selected Materials<br />

<strong>2023</strong> is a new materials<br />

and product selection programme<br />

to introduce new<br />

materials to watch in architecture<br />

and construction, organised<br />

by the asa Journal and<br />

the asa Platform of the Association<br />

of Siamese Architects<br />

under Royal Patronage. This<br />

book is the official catalogue<br />

of the project, which collects<br />

the interesting stories of<br />

materials from <strong>13</strong> awardwinning<br />

brands in various<br />

categories for the year <strong>2023</strong>.<br />

asa Platform Selected Materials<br />

<strong>2023</strong> คือโครงการคัดเลือกวัสดุและ<br />

ผลิตภัณฑ์ ใหม่ สําหรับงานสถาปั ตย-<br />

กรรมbและการก่อสร้างที่น่าจับตามอง<br />

ซึ ่งจัดโดยวารสารอาษา และ asa<br />

Platform ของสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

หนังสื อฉบับพิเศษเล่มนี้เป็ นสู จิบัตร<br />

อย่างเป็ นทางการของโครงการ ซึ ่ง<br />

รวบรวมที่มาและเรื่องราวที่น่าสนใจ<br />

ของวัสดุจาก <strong>13</strong> แบรนด์ที่ได้รับรางวัล<br />

ในสาขาต่าง ๆ ประจําปี <strong>2023</strong><br />

Download the e-book here


<strong>13</strong>6<br />

professional / studio<br />

Greenbox<br />

Design<br />

Surat Pongsupan<br />

THE WATERFALL HOUSE<br />

ช่่วยเล่่าถึึงที่่มาที่่ไปของ “Greenbox<br />

Design” ได้้ไหมครัับว่าเรั่มต้้นขึ นได้้<br />

อย่างไรั?<br />

จริิง ๆ แล้้ว ความสนใจของผมคืองานสถาปัตย์์<br />

แต่ผมกลัับเลืือกเอนทริานซ์์เรีีย์นสาขาอืน เมือ<br />

จบมาจึงได้้เรีีย์กได้้ว่าไม่สามาริถนำาใบปริิญญา<br />

ไปสมัคริงานในสาขาทีผมสนใจได้้ แต่หลัังจาก<br />

นัน ผมก็ได้้ทำางานกับริ่นพี่่ ได้้ล้องเรีีย์นริ้งาน<br />

เมื อทำาไปสักริะย์ะผมก็ตริะหนักได้้ว่าสิงน้ยััง<br />

ไม่ตอบโจทย์์การท ำางานของตัวเอง ทังในเริือง<br />

รููปแบบงาน หรืือความท้าทาย์ที ไม่สามาริถ<br />

ไปไกล้ได้้กว่าน้ จึงตัดสิินใจแบบกำาบันท่บดิิน<br />

เปิด้บริิษััทของตนเองขึนมาในช่่วงริาว ๆ 10 ปี<br />

ทีผ่านมา เรีีย์กได้้ว่าตังบริิษััทขึนมาแบบไม่ริ้<br />

แล้ะก็ไม่ริ้้ด้้วยซ้ำำว่่าจะสามาริถดำำาเนินงานมา<br />

ถึงท่กวันน้ได้้อย่่างไริ อีกทั งช่ือ “Greenbox”<br />

ก็ตังขึนมาแบบตริงไปตริงมา อย่่าง “green”<br />

ก็มาจากทีผมเรีีย์นจบจากมหาวิทย์าลััย์เกษัตริ-<br />

ศาสตร์์ แล้้วเริาถ้กสอนให้พี่้ด้ถึงเริือง passive<br />

design แล้ะ sustainable ก็เป็นอะไริทีพี่้ด้ถึง<br />

สีเขีย์วจึงเป็นทีมาของส่วนแริก ส่วน “box”<br />

นันก็พี่้ด้แทนรููปทริงของสถาปัตย์กริริม แล้ะ<br />

เมือนำามาริวมกันจึงเป็นอะไริทีตริงไปตริงมา<br />

แล้ะสือถึงสิงทีเริาสนใจได้้อย่่างชััด้เจน<br />

งานในแต่่ล่ะส่่วนของบริิษััที่ม่การัแบ่ง<br />

หน้าที่่จััด้การก ันอย่างไรั?<br />

จริิง ๆ แล้้วริะบบการท ำางานของเริาจะปรัับ<br />

เปล้ีย์นไปตามปัญหาทีเจอในท่ก ๆ ปี โด้ย์<br />

ปีต่อ ๆ ไปการท ำางานริวมถึงโคริงสร้้างการิ<br />

จัด้การส ่วนต่าง ๆ ก็จะเปล้ีย์นแปล้งก้าวต่อ<br />

จากสิงทีเกิด้ขึน แริกเริิมบริิษััทของเริาตังขึน<br />

ในรููปแบบบริิษััททีค่อนข้างเล็็ก ในตอนต้น<br />

เริามีกันเพี่ีย์งแค่ 7 คน แต่ในปัจจ่บันเริาได้้<br />

ขย์าย์เพิ่่มเป็นจำานวน 14 คน ซ์ึงปริะกอบ<br />

ด้้วย์ สถาปนิก 2 คน Junior architect 2 คน<br />

หัวหน้านักออกแบบภาย์ใน 1 คน นักออกแบบ<br />

ภาย์ในอีก 4 คน หลััก ๆ แล้้วก็จะมีปริะมาณ<br />

น้ครัับ ส่วนทีเหลืือก็จะทำางานในส่วนของการิ<br />

บริิหารจ ัด้การิภาย์ในแล้ะปริะสานงาน<br />

ช่่วยเล่่าแล่ะอธิิบายแนวที่างปรััช่ญาในการั<br />

ที่ำางานออกแบบของ “Greenbox Design”<br />

ให้ฟัั งหน่อยได้้ไหม?<br />

ผมคิดว่่าในส่วนน้เริาปรัับเปล้ีย์นอยู่่ตล้อด้เวล้า<br />

ผมขอเล่่าย้้อนกลัับไปในตอนทีเริาเริิมตังบริิษััท<br />

อีกคริั งนะครัับ คือตอนนันเริายัังไม่ได้้เข้าใจ<br />

ถึงเน้อหา หรืือกริะบวนการิจริิง ๆ สักเท่าไริ<br />

เริาเข้าใจกันเพี่ีย์งว่า ตอนทีเริาเรีีย์นเริืองการิ<br />

ออกแบบมา แล้้วเริาพี่้ด้ถึงเริือง sustainability<br />

แล้ะ passive design มาโด้ย์ตล้อด้ แล้ะเริา<br />

สังเกตเห็นว่า งานสถาปัตย์กริริมโดยทั่่วไป<br />

ที เริาได้้เห็นกันในช่่วงเวล้านั นไม่ได้้คำน ึงถึง<br />

ปริะเด็็นเหล่่าน้กันมากนัก ทัง ๆ ทีขณะนั น<br />

ความคิด้น้กำาล้ังเป็นกริะแส เริาจึงจับช่่ด้ความคิด้<br />

เริื อง sustainability แล้ะ passive design<br />

มาใช้้ แล้ะพี่ย์าย์ามจะเรีีย์กตัวเองว่าเป็น<br />

“green architect” หรืือ “green designer”<br />

แต่เมือเริาได้้ทำางานในช่่วงเวล้าหนึงแล้้ว เริาก็<br />

ตริะหนักได้้ว่า sustainability แล้ะ passive<br />

design ควริเป็นเพี่ีย์ง criteria สิงเหล่่าน้ไม่ควริ<br />

เป็น concept คือการิออกแบบสถาปัตย์กริริม<br />

สักแห่งนัน ควริจะคำนึึงถึงเริืองเหล่่าน้ในรููปของ<br />

criteria อยู่่แล้้ว ไม่ว่าบ้านจะออกแบบมาใน<br />

รููปทริงรููปร่่างใดก็็ตาม ก็ต้องเป็น criteria หนึง<br />

ทีบ้านต้องตอบโจทย์์กับปัญหา อย่่างสภาพภููม ิ<br />

อากาศแบบร้้อนช่ืนของบ้านเริาได้้<br />

จากนั นเริาก็เริิมตกผลึึกได้้ว่า multi design<br />

นันมีหน้าทีของตัวเอง อย่่างท่กวันน้เริาก็ทำาให้<br />

multi design ให้มีความหล้ากหล้าย์มากย์ิงขึน<br />

โดยตั้้งคำาถามผ่านม่มมองต่าง ๆ เพี่ริาะเริาเช่ือว่า<br />

ช่่ด้ปัญหาหนึงสามาริถตอบได้้ในหล้ายวิิธีีการิ<br />

แต่อย์้่ที การจััด้การิของเริาทีจะเห็นปริะเด็็นไหน<br />

สำคััญน้อย์กว่าหรืือมากกว่ากัน ณ จุุดไหน แล้้ว<br />

ริองล้งมาคือตริงไหน จากนันเริาก็จะตอบปัญหา<br />

เหล่่าน้ด้้วยว ิธีีการิแบบไหน แล้ะน้ก็ทำาให้เริา<br />

ตริะหนักไปอีกขัน เมือเริาสามาริถเรีีย์นริ้แล้ะ<br />

สามาริถจัด้การกัับปัญหา เช่่น เริาสร้้างอาคาริ<br />

ในเขตร้้อนช่ืน เริาก็เข้าใจชุุดข้้อมููลความช่ื น<br />

สัมพี่ันธ์์ ทิศทางล้ม ริวมถึงสภาพี่แวด้ล้้อมแล้ะ<br />

บริิบทโด้ย์ริอบ สิงเหล่่าน้สำาหรัับผม สามาริถ<br />

วิเคริาะห์แล้ะคาด้การณ์์ได้้ แล้ะนำาเข้ามาปรัับ<br />

จัด้การิให้สอด้คล้้องกับการิออกแบบอาคาริ<br />

โด้ย์ในปัจจ่บันสิงทีเริากำาล้ังให้ความสนใจอย่่าง<br />

มากจะเป็นเริืองของตัวบ่คคล้ ถ้าหากเห็นงาน<br />

ออกแบบของเริาจะเห็นได้้ว่าแต่ล้ะหลัังนันไม่<br />

เหมือนกันเล้ย์ ซ์ึงก็สะท้อนจากการิออกแบบที<br />

เริาปรัับให้แสด้งออกตามตัวตน ความต้องการิ<br />

แล้ะความเป็นไปได้้ในอนาคตของเจ้าของบ้าน<br />

ริวมถึงผ้้คนทีจะมาอยู่่อาศัย์


GREENBOX DESIGN<br />

<strong>13</strong>7<br />

ส่ามารัถึพูู ด้ได้้ไหมว่า การัออกแบบรููปแบบ<br />

เฉพูาะบุคคคล่ให้ลููกค้าแต่่ล่ะรัาย คือตััวต้น<br />

หรืืออัต้ล่ักษัณ์์ในการัที่ำางานออกแบบของ<br />

“Greenbox Design” ?<br />

ผมคิดว่่าใช่่นะครัับ แต่ก็ยัังจะมีเริืองของ context<br />

กับ content เข้ามาเกีย์วข้องด้้วย์ context เป็น<br />

เริื องของข้อม้ล้ต่าง ๆ โด้ย์ริอบทีเริามี ส่วน<br />

content คือเริาจะเอาชุุดข้้อม้ล้นั นมาเล่่าแล้ะ<br />

จัด้ล้ำาด้ับในการนำำาเสนอด้้วยว ิธีีการิอย่่างไริ<br />

เฉพี่าะฉะนันวิธีีการทำำางานขอเริาก็คือ การิเข้าใจ<br />

ถึงสถานะของ context ทีมีอยู่่อย่่างมากมาย์<br />

แล้ะเริาจะจับ content อะไริมาคล้ีคล้ายนำำาเสนอ<br />

เพี่ริาะเริาไม่สามาริถพี่้ด้เริืองท่กเริืองพี่ริ้อม ๆ<br />

กันในริะดัับหรืือนำาเสีย์งเดีีย์วกันได้้ การจ ัด้<br />

ลำำาด้ับภาย์ในช่่ด้ปัญหาทีล้ด้ล้ันกันล้งไป จึงจะ<br />

นำาไปส้่การิพี่้ด้ต่อถึงวิธีีการิตอบโจทย์์หรืือ<br />

จัด้การกัับปัญหาเหล่่านัน น้ คือสิงสำคััญสำาหรัับ<br />

การิตัง criteria ในการิออกแบบ เริาจึงยึึด้มัน<br />

ในการิพี่้ด้ค่ย์ สนทนา ถกถามให้ลููกค้าเข้าใจถึง<br />

ความเป็นไปของความต้องการิในรููปแบบ<br />

ที องค์ปริะกอบต่าง ๆ เหล่่านั นในอาคาริจะ<br />

สามาริถตอบโจทย์์ตัวตน ความต้องการิจริิง ๆ<br />

ของพี่วกเขาได้้ ดัังนันงานออกแบบสถาปัตย์-<br />

กริริมของเริาจึงนำาเสนอบนพื้้นฐานแนวคิด้ที<br />

สถาปัตย์กริริมต้องปรัับตัวให้เข้ากับผ้้อยู่่อาศัย์<br />

อยากให้ช่่วยยกตััวอย่างผล่งานที่่ปรัะที่ับใจั<br />

มา 2-3 ผล่งาน?<br />

สำาหรัับผมบ้าน “Day and Night” เป็นโปริเจกต์<br />

ทีผมค่อนข้างช่อบถึงแม้ในปัจจ่บันจะยัังไม่ได้้<br />

เริิมก่อสร้้างก็ตาม โด้ย์บ้านหลัังน้ตังอย์้่ติด้<br />

ริิมถนนริอบ ๆ เมืองพี่ัทย์า ซ์ึงมีสภาพี่แวด้ล้้อม<br />

บริิเวณริอบบ้านเป็นภ้เขา ด้้านหลัังเป็นบ่อนำา<br />

แล้ะเมือมองไปไกล้ ๆ ก็จะเห็นตัวเมืองพี่ัทย์า<br />

ริวมถึงเส้นขอบฟ้้า ตามปกติแล้้วเมื อลููกค้ามี<br />

พื้้นที แบบน้ก็มักจะเสนอว่า ต้องการนำำาเสนอ<br />

การิอยู่่ร่่วมกับธีริริมช่าติ หรืือต้องการิเห็น<br />

ธีริริมช่าติ แต่เวล้าเริาได้้ล้งพื้้นทีรีีเสิร์์ช่ เริาก็จะ<br />

อย์ากริ้ทุุกสิงท่กอย่่าง ริวมถึงท่กปริากฏการณ์์<br />

ทีเกิด้ขึนในช่่วงวัน แล้ะผล้กริะทบในท่กด้้าน<br />

ที จะเกิด้ขึนในพื้้นที ในจ่ด้น้เริาก็ได้้ช่วน<br />

เจ้าของบ้านพี่้ด้ค่ย์ต่อ เสนอว่าในความเป็น<br />

จริิงแล้้ว<br />

ในช่่วงเวล้าขณะกล้างคืนนั นพื้้นที ธีริริมช่าติ<br />

โด้ย์ริอบนันค่อนข้างจะน่ากลััว โด้ย์เริาไม่มี<br />

ทางทริาบได้้ว่าจะมีใคริมองย้้อนกลัับมาบ้าง<br />

แล้ะเริาก็เสนอไอเดีีย์ปริะสบการณ์์ในช่่วง<br />

กล้างคืนปริะกอบ โด้ย์ปรัับเปล้ีย์นการิมอง<br />

ไปส้่อีกด้้านทีหันไปยัังเมืองซ์ึงสามาริถเห็นวิว<br />

พี่ริะอาทิตย์์ทีกำาล้ังจะลัับขอบฟ้้า แล้ะเมืองที<br />

กำาล้ังส่องสว่าง การิออกแบบบ้านจึงถ้กแบ่ง<br />

ออกเป็นสองโซ์น โซ์นทีเป็น day life ทีจะมอง<br />

ไปยัังฝั่่งด้้านภ้เขา ส่วนทีเป็น night life ก็จะ<br />

เป็นพื้้นทีส่วนบ่คคล้ เป็นห้องนอนทีส้งขึนไป<br />

ด้้านบนเพื่่อทีจะสามาริถมองย้้อนกลัับไปยััง<br />

พื้้นที เมือง ปริะสบการณ์์ทีถ้กถ่าย์ทอดผ่่าน<br />

บ้านหลัังน้จึงจะนำาเสนอผ่านสองส่วนอาคาริ<br />

ซ์ึงสอด้ริับไปกับสองช่่วงเวล้า<br />

ARI HOUSE<br />

คุณ์วางแผนหรืือต้ังเป้ าหมายในอนาคต้<br />

สำำาหรัับ “Greenbox Design” ไว้อย่างไรั?<br />

เริามักค่ย์กันอยู่่เสมอว่า โล้กของเริาเปล้ีย์นแปล้ง<br />

อยู่่เสมอแล้ะท่กอย่่างก็ถ้กริบกวนอยู่่เสมอ<br />

ผมถามกับท่กคนก็จะมีจุุดร่่วมเดีีย์วกันคือ<br />

ท่กคนช่อบงานออกแบบ แต่ผมก็ตังคำาถาม<br />

ต่อไปถึงอนาคตว่าเริาจะเป็นอย่่างไรต่่อไป แล้้ว<br />

สถาปนิกตังแต่ริ่่นพี่่ หรืือริ่่นพี่่อของเริาได้้ขยัับ<br />

ปรัับเปล้ีย์นกันไปอย่่างไรบ้้างในแต่ล้ะริ่่น<br />

แล้้วเริาจะปรัับตัวให้เข้ากับความเป็นไปเช่่นไริ<br />

แล้ะเมือวันหนึง AI เข้ามาแทนทีเริาจะทำาเช่่น<br />

ไริ เริาก็มักจะคุุยเริืองต่าง ๆ นานา เหล่่าน้เพื่่อ<br />

มองหาลู่ทางสำาหรัับทิศทางในอนาคตเสมอ<br />

ในตอนน้เริาก็เริิมพี่ย์าย์ามปรัับตัวเริาเอง<br />

ให้ทำางานมีความหล้ากหล้าย์มากย์ิงขึน มาก<br />

ไปกว่าการทำำางานออกแบบหรืือสถาปนิก โด้ย์<br />

เริาเช่ือว่าเริาไม่จำาเป็นจะต้องเป็นสถาปนิก<br />

ในท่กวันก็ได้้ เริาอาจจะอย์ากเป็นสถาปนิก<br />

สักสามวัน อีกสักวันอาจจะอย์ากเป็น content<br />

creator บางวันอาจอย์ากเป็น creative ผม<br />

อย์ากให้ท่กคนในทีมได้้ทำาการิริีเฟ้ริช่ข้อมููล<br />

อัพี่เด้ทกับสิงอืนทีหล้ากหล้าย์ ทีเกีย์วเน้อง<br />

แล้ะส่งเสริิมซ์ึงกันแล้ะกัน โด้ย์ในขณะน้ก็อยู่<br />

ในขันตอนของการิปรัับพี่ัฒนา


<strong>13</strong>8<br />

professional / studio<br />

Can you share with us the origin<br />

of “Greenbox Design” and how it<br />

started?<br />

My interest is architecture. But I seemed<br />

to choose the wrong field to study at<br />

the university. After graduating, I couldn’t<br />

bring my degree to apply for a job in<br />

the field that I was interested in, but<br />

later I also worked with seniors. I tried<br />

to learn the job as much as possible,<br />

and after a while, I realized that this<br />

did not satisfy my work style or provide<br />

a challenge that could go any further.<br />

So I simply decided to open my own<br />

company some ten years ago. It is like<br />

setting up a company without knowing<br />

much about anything, and I didn’t even<br />

know how it could theoretically operate<br />

until today. The name “Greenbox” is<br />

pretty straightforward: “green” refers<br />

to where I graduated from, which is<br />

Kasetsart University, where we’re taught<br />

to talk about passive design and sustainability,<br />

while “box” refers to the shape of<br />

the architecture. Together, it’s straight<br />

forward and clearly conveys what<br />

we’re interested in.<br />

How do you divide the tasks in<br />

each part of the company?<br />

In fact, our working system seems to<br />

change in response to the problems<br />

encountered every year. In the following<br />

years, the work, including the management<br />

structures, will change from what<br />

happened. Our company was originally<br />

established as a relatively small one.<br />

In the beginning, there were only seven<br />

of us. But currently, we have expanded<br />

to 14 people, consisting of 2 architects,<br />

2 junior architects, 1 chief interior<br />

designer, and 4 interior designers. Basically,<br />

it is something like this. The rest are<br />

those who work in back-office management<br />

and coordination.<br />

What is the philosophy of<br />

“Greenbox Design”?<br />

I think we change all the time. Let me go<br />

back to when we started the company.<br />

That is, at that time we still did not understand<br />

the operation of the practice or<br />

how much the actual process, we only<br />

understood that when we learned about<br />

design and we’ve been taught about<br />

sustainability and passive design all<br />

along, and we’ve noticed that the architecture<br />

that we saw at that time didn’t<br />

take these issues into account seriously,<br />

even though at the time the notion of<br />

sustainability was trending. So we<br />

embraced the idea of sustainable and<br />

passive design and wanted to establish<br />

ourselves as “green architects” or “green<br />

designers.” Anyway, after working for<br />

a while, we realized that sustainable<br />

and passive design should be the only<br />

criteria. They shouldn’t be concepts. It’s<br />

just architectural design. These matters<br />

should already be taken into account<br />

in terms of criteria; no matter what<br />

shape the house is designed in, it must<br />

be one of the criteria that the house<br />

must meet to solve the problem, like<br />

the tropical climate of our home.Then<br />

we started to realize that multi-design<br />

has its own functions. Today, we make<br />

multi-design more diverse by asking<br />

questions from different perspectives<br />

because we believe that one problem<br />

can have many solutions. But it depends<br />

on our management to see which issues<br />

are less or more important at what point,<br />

and where is the next one? Then how<br />

do we answer these questions? This<br />

brings us to another level of realization.<br />

When we can learn and deal with problems,<br />

for example, when we build<br />

buildings in a tropical climate, we understand<br />

the relative humidity, wind direction,<br />

and surrounding environment and<br />

context. These things, for me, can be<br />

analyzed, predetermined, and adjusted<br />

by management in accordance with<br />

the design of the building. At present,<br />

what we are paying a lot of attention<br />

to is personalization. If you look at our<br />

designs, you can see that each house<br />

is not the same. This is reflected in the<br />

design that we approach differently to<br />

express the identity, needs, and future<br />

possibilities of the clients or owners,<br />

including the people who will come to<br />

live in or use the building.<br />

Can we say personalized design<br />

for each customer is the identity<br />

of “Greenbox Design”?<br />

I think yes. But there will still be a matter<br />

of context and content involved. Context<br />

is a matter of various pieces of information<br />

surrounding us. Content is how<br />

we will tell that data set and order it<br />

in order to present it. Specifically, our<br />

way of working is to understand the<br />

state of context in abundance and see<br />

what content we can capture to unravel<br />

and present. We can’t talk about every-<br />

WARMBLAK HOUSE


GREENBOX DESIGN<br />

<strong>13</strong>9<br />

nature. But when we went to research<br />

the area, we wanted to expe-rience more<br />

of the site, including all phenomena<br />

that occur during the day and impacts<br />

in all aspects. So we proposed to the<br />

owner that at night, the surroundings<br />

are quite scary, and there is no way to<br />

know if anyone will be around. We also<br />

offer ideas for experiences during the<br />

night byadjusting the look to the other<br />

side that faces the city, where you can<br />

see the view of the setting sun and the<br />

shining city. The design of the house is<br />

therefore divided into two zones: the<br />

daytime zone, which looks toward the<br />

mountain side, and the nighttime zone,<br />

which is a private space. It is a bedroom<br />

suite that rises upwards so that it can<br />

look back on the city area. The experience<br />

conveyed through this house is<br />

thus presented through two buildings<br />

that coincide with two periods of a day.<br />

thing at the same time, at the same level,<br />

or in the same tone. Ordering within a<br />

descending set of problems will lead to<br />

further talk about how to answer or deal<br />

with those problems. This is important<br />

for setting design criteria. We have a<br />

lot of discussions, asking customers<br />

to understand the possibility of their<br />

requirements in ways that those elements<br />

in the building can meet their<br />

identity, their real needs. So I would<br />

say our architectural designs are based<br />

on the concept that architecture must<br />

adapt to the users.<br />

THAIWAN<br />

“What we are paying a lot of attention to is<br />

personalization. You can see that each house<br />

is not the same. This is reflected in the design<br />

that we approach differently to express the<br />

identity, needs, and future possibilities of the<br />

clients or owners, including the people who<br />

will come to live in or use the building.”<br />

Can you give us some examples<br />

or designs that are challenging<br />

or impressive?<br />

For me, the house “Day and Night” is<br />

a project that I quite like, even though<br />

the construction has not started yet.<br />

This house is located on the roadside<br />

around Pattaya city, which has a mountain<br />

environment around the house and<br />

a well behind it. When looking far, you<br />

will see the city of Pattaya, including the<br />

horizon. Normally, when a customer has<br />

a space like this, they want to present<br />

coexistence with nature or want to see<br />

What are your future plans for<br />

Greenbox Design?<br />

Our world is always changing, and<br />

everything is always disrupted. I asked<br />

everyone to have the same point. Everyone<br />

likes the design, but I continue to<br />

question what the future holds. How the<br />

architects in the generation before us<br />

had adapted and changed in the way<br />

they designed and practiced. So how do<br />

we adapt to the possibilities? And when<br />

AI one day replaces us, what will we do?<br />

We always talk about these various<br />

things to look for future directions. Now<br />

we are starting to try to adjust ourselves<br />

to work more diversely. Much more than<br />

working as a designer or architect. We<br />

believe that we don’t have to be architects<br />

every day. We believe that we don’t<br />

have to be architects every day. We<br />

might want to be architects for three<br />

days. Someday I might want to be a<br />

content creator, and someday I might<br />

want to be creative. I want everyone<br />

on the team to refresh the information.<br />

Update with various other things that<br />

are related and promote each other. At<br />

this time, it is in the process of adjusting<br />

its development.<br />

facebook.com/greenboxdesignbkk


140<br />

chat


PHAITHAYA BANCHAKITIKUN<br />

141<br />

เวลาท่เรามองในเร่องของอสัังหาริมทรัพย์ มันก็เก่ยวข้องกับเม่อง<br />

โดยตรง เลยม่การพัฒนาเป็ นงาน <strong>ASA</strong> WOW ข้ นมา และนอกเหน่อ<br />

จากงานในกลุมกิจกรรมพิเศษเหลาน่แล้ว ก็ยังม่งานท่เราเข้าไปชวย<br />

ซััพพอร์ตทางกรุงเทพมหานครด้วย โดยเฉพาะในสม ัยอาจารย์ชัชชาติ<br />

เชนงานประกวดแบบลานก่ฬา<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ<br />

อุปนายก ฝ่ ายกิจการพิเศษ<br />

อาษา: คุณไพทยาช่วยแนะนำาตัวสั้ นๆ หน่อย<br />

ได้ ไหม<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: นอกเหนือจากงานสมาคมฯ ผมก็<br />

เป็นสถาปนิกและผู้ก่อตั้งบริษัท อะตอม ดีไซน์ จำ ากัด จริง ๆ<br />

ผมก็ทำางานอยู่ในอุตสาหกรรมนี้มาร่วม 24 ปีแล้ว แล้วก็<br />

มีโอกาสได้ร่วมงานกับสมาคมฯ อื่น ๆ ด้วย เช่น เป็นกรรมการ<br />

ก่อตั้งสมาคม TBIM: Thai BIM Association ก็เป็นเรื่องของ<br />

การขับเคลื่อนการใช้ดิจิทัลเทคโนโลยี ในการออกแบบ โดย<br />

เฉพาะฝั่งที่เป็นด้านสถาปัตยกรรมและวิศวกรรม แล้วก็มี<br />

ทำางานในกลุ่ม strategy บ้างด้วย เหมือนกัน พวกงาน BIM<br />

งานออกแบบต่าง ๆ<br />

ในช่วงที่ผ่านมา งานที่ทำาส่วนใหญ่ก็จะเป็นงานกลุ่ม commercial<br />

building เป็นส่วนใหญ่ คือมีโอกาสได้ ทำางานที่มี<br />

ความเกี่ยวข้องกับการพัฒนาพวกออฟฟิศ โรงแรม หรือ<br />

องค์กรต่าง ๆ ทำาให้มีโอกาสได้มองเห็นเมือง หรือผลกระทบ<br />

ที่เกิดขึ้นกับเมือง แล้วก็เป็นจุดหนึ่งที่อยากเข้ามาทำางานให้<br />

กับสมาคมฯ เพื่อจะซัพพอร์ตในหลาย ๆ เรื่อง<br />

อาษา: อยากให้ช่วยเล่าถึงบทบาทของฝ่ าย<br />

กิจการพิเศษว่ามีหน้าที่หรือการดูแลในส่วนใด<br />

และมีการดำาเนิน งานต่าง ๆ อย่างไรบ้าง<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: งานของสมาคมฯ โดยปกติก็จะมี<br />

งานในกลุ่ม routine job เช่น งานที่เกี่ยวข้องกับการ สนับสนุน<br />

วิชาชีพและสมาชิก ส่วนกิจการพิเศษในภาคที่เป็น routine<br />

เราก็จะรู้จักกันดีในชื่อของงานสถาปนิกหรือ <strong>ASA</strong> EXPO<br />

ที่เราจัดกันเป็นประจำาทุก ๆ ปี สำาหรับงานกลุ่มอื่น ๆ ก็จะ<br />

แล้วแต่โอกาสที่เข้ามา อย่างก็จะมีงานกิจการพิเศษ ที่เข้าไป<br />

ซัพพอร์ตงานที่เกี่ยวข้องกับเมืองด้วย ถ้างานใหญ่แล้วก็<br />

เป็นงานล่าสุดที่เพิ่งทำากันไปก็คืองาน <strong>ASA</strong> WOW ก็เป็น<br />

งานใหม่เลยที่คุณชนะ สัมพลัง พยายามจะต่อยอดจาก<br />

คณะกรรมการชุดก่อนได้วางแผนไว้ ซึ่งในตอนนั้นเอง<br />

รูปแบบงานก็จะเป็นในรูปแบบของการสร้างความคุ้นเคย<br />

หรือความเป็นที่รู้จักกลุ่มสถาปนิกให้กับกลุ่มนักพัฒนา<br />

ในตอนนั้นทางสมาคมฯ รู้สึกว่าอุตสาหกรรมมันค่อนข้าง<br />

ขับเคลื่อนไปในกลุ่มพัฒนาอสังหาริมทรัพย์ค่อนข้างเยอะ<br />

ก็เลยมีการจัดงาน Real Estate Award ขึ้น<br />

พอเราเข้ามาเป็นคณะกรรมการวาระนี้ ซึ่งเข้าสู่วาระที่ 2<br />

ก็เลยเอาโปรแกรมตัวนี้มาต่อยอด เรามองโอกาสว่าเวลาที่<br />

เรามองในเรื่องของอสังหาริมทรัพย์ มันก็เกี่ยวข้องกับเมือง<br />

โดยตรงที่จะทำาให้งานนี้กระจายไปในแง่มุมที่กว้างขึ้น เลยมี<br />

การพัฒนาเป็นงาน <strong>ASA</strong> WOW ขึ้นมา และนอกเหนือจาก<br />

งานในกลุ่มกิจกรรมเหล่านี้ เราก็มีงานที่เข้าไป ช่วยซัพพอร์ต<br />

ทางกรุงเทพมหานคร โดยเฉพาะในสมัยอาจารย์ชัชชาติเอง<br />

ท่านก็ค่อนข้างให้ความเป็นกันเองกับกลุ่มสถาปนิกหรือ<br />

สมาคมฯ ของเราด้วยค่อนข้างมาก อย่างกิจกรรมวิ่งด้วยกัน<br />

และกิจกรรมอื่น ๆ ซึ่งทำ าให้อาจารย์ชัชชาติ มักนึกถึงสถาปนิก<br />

เสมอ เวลาที่ต้องทำางานวางแผนเกี่ยวกับเมือง งานที่เรามี<br />

เข้าไปซัพพอร์ตมาบ้างแล้ว ตัวอย่างเช่น งานประกวดแบบ<br />

ลานกีฬาที่ทำาร่วมกับกลุ่ม WE PARK! ซึ่งกิจกรรมเหล่านี้<br />

เป็นกิจกรรมที่จะมาตามวาระ ตามโอกาสมากกว่า<br />

อาษา: นโยบายและวิสัยทัศน์ของฝ่ ายกิจการ<br />

พิเศษ ในคณะกรรมบริหารชุดนี้มีแนวทางเป็ น<br />

อย่างไร<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: คิดว่าคณะกรรมการบริหารชุด<br />

ปัจจุบันนี้ เราค่อนข้างให้ความสำาคัญกับประเด็นเรื่องเมือง<br />

มากขึ้น แล้วก็สิ่งที่เราพยายามจะขับเคลื่อนก็คือ เราอยาก<br />

จะทำางานที่สามารถช่วยส่งเสริมคุณภาพชีวิตของเมืองให้<br />

ได้ ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง เราก็คงจะเป็นเหมือนทีมซัพพอร์ต<br />

ที่เข้ามาส่งเสริมในส่วนต่าง ๆ แต่เราอาจไม่ใช่ตัวหลัก<br />

เพราะเราไม่ใช่ เจ้าหน้าที่ประจำาที่จะดูแลส่วนต่าง ๆ ของ<br />

เมืองโดยตรง รวมถึงกิจกรรมที่เราทำาก็พยายามที่จะสร้าง<br />

เรื่องของ liberation ในหลาย ๆ กลุ่ม ทั้งประชาชนทั่วไป<br />

และก็ยังเป็นหนึ่งในพันธกิจสำาคัญที่ทำาให้สมาคมฯ ของเรา<br />

เป็นที่รู้จักในวงกว้าง ทั้งฝั่งที่อยู่ในอุตสาหกรรมเอง และ<br />

ประชาชน ซึ่งก็ถือว่าเป็นสิ่งที่พยายามทำาให้เกิดขึ้นในสอง<br />

วาระกรรมการที่ผ่านมา


142<br />

chat<br />

เราเป็ นวิชาชีพที่ม่สัวนร่วมกับเมืองโดยตรง อยากให้กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ ้นได้<br />

รับผลตอบรับที่ดีจากสัมาชิกสัมาคมก่อน แล้วช่วยกันพัฒนาเมืองไปในฝั ่ งของ<br />

ประชาชนทั่วไป เราอยากให้กิจกรรมที่เราทำาได้จุดประกายความคิดให้กับกลุ่มคน<br />

ในวงกว้าง ให้ทุกคนได้ม่สัวนร่วมสัร้างเมืองและขับเคลื่อนเมืองไปในทิศทางที่แต่<br />

ละคนมีความถนัด เพื่อให้เมืองของเราน่าอยู่และมีการจัดการที่ดีขึ ้น<br />

อาษา: ช่วยยกตัวอย่างโครงการที่เคยจัดขึ ้ น รวมถึง<br />

โครงการที่กำาลังวางแผนจะจัดขึ ้นเร็ว ๆ นี้<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: เราน่าจะมีงาน <strong>ASA</strong> WOW ครั้งที่ 2 ในปี 2024<br />

มองว่าสำาหรับงานนี้จะจัดเป็นปีเว้นปีไป ส่วนตอนนี้จริง ๆ ก็อยู่ในช่วง<br />

ปลายวาระของคณะกรรมการชุดนี้แล้ว ก็ยังมีงานที่เราทำาร่วมกับทาง<br />

กทม. อยู่ 2-3 งาน เช่น ลานกีฬา ก็น่าจะเห็นผลได้ภายในปีนี้หรือไม่เกิน<br />

ปีหน้า อีกส่วนหนึ่งเลยในส่วนของคณะกรรมการของเราที่ผ่านมา รวม<br />

กับกลุ่มคณะกรรมการส่วนภูมิภาคในสมัยของคุณชนะ สัมพลัง ก็ถือว่า<br />

เป็นสมัยที่ให้ความสำาคัญกับส่วนภูมิภาค ค่อนข้างเยอะ กิจการพิเศษ<br />

ในฝั่งภูมิภาคก็เลยจะถูกจัดขึ้นค่อนข้างถี่ด้วย คือจะจัดขึ้นแทบทุกหัวเมือง<br />

เลยที่เราอาจจะ เห็นกันผ่านตาทางโซเชียลมีเดียบ้าง เช่น การไปประดับ<br />

ไฟให้กับโบราณสถานในบางจังหวัด ซึ่งก็เป็นการขับเคลื่อนที่ดีของ กลุ่ม<br />

ภูมิภาคต่าง ๆ เพราะทุกคนจะค่อนข้างมีแรงบันดาลใจในเรื่องนี้ค่อนข้าง<br />

เยอะ ยิ่งพอหลังโควิดที่มีการเปิดเมือง กิจกรรมเหล่านี้ก็ยิ่งถูกกลับนำ ามา<br />

จัดมากขึ้น อย่างปี 2022 ที่ผ่านมา แทบจะมีกิจกรรมกันหลากหลาย<br />

มากในทุก ๆ เดือน<br />

ส่วนงานสถาปนิกส่วนภูมิภาค เช่น งานสถาปนิกล้านนา งานสถาปนิก<br />

ทักษิณ งานสถาปนิกอีสาน และงานสถาปนิกบูรพา ตรงนี้เราจะแยกกัน<br />

กับส่วนกลาง เพราะว่างานแต่ละงานก็จะมีคนที่เป็นตัวยืนหลักอยู่แล้ว<br />

แต่จะเห็นว่าในคณะกรรมการ บริหารชุดของคุณชนะ สัมพลัง การดึง<br />

กลุ่มคนในแต่ละส่วนให้เข้าไปมีส่วนร่วมเยอะ ๆ จะมีความคักคักมาก<br />

เพราะคุณชนะ ก็ต้องการผลักดันให้ทุกคนเข้ามามีส่วนร่วมกับแต่ละส่วน<br />

ของกิจกรรมสมาคมฯ ด้วย เลยทำาให้ทุกภาคส่วนมีการ พูดคุยกันเสมอ<br />

ถึงแม้จะไม่ใช่งานที่ได้เข้าไปช่วยจัดแต่ก็จะมีการหารือกันหรือช่วยดู<br />

ภาพรวมห่าง ๆ ไปในทิศทาง นั้นมากกว่า<br />

อาษา: จากการจัดกิจกรรมที ่ผ่านมา ได้รับผลตอบรับ<br />

อย่างไร และมีทิศทางในการส่งเสริมกิจกรรมอื่น ๆ ใน<br />

อนาคตอย่างไร<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: ถ้าย้อนกลับไปตั้งแต่ปี 2021 ตัวอย่างเช่น<br />

กิจกรรมที่เป็นโรงงานกระดาษที่กาญจนบุรี ตอนนั้นก็กลับกลายเป็นว่า<br />

ทำาให้โรงงานกระดาษแห่งนั้นได้กลายเป็นที่สนใจของเมืองมากขึ้น มีผู้<br />

บริหารเมือง เข้ามาให้ความสำาคัญ และกลายเป็นว่าพื้นที่ตรงนั้นก็ได้ถูก<br />

จัดสรรให้กลายเป็นพื้นที่สาธารณะของเมืองขึ้นมาได้ ประเด็นเหล่านี้มัน<br />

ก็คือการสร้าง awareness ในภาพรวม หรือจะเป็นกิจกรรมที่เข้าไปจัด<br />

แสงสีเสียงให้กับ โบราณสถานต่างๆ ในแต่ละจังหวัด ตรงนี้ประชาชน<br />

ส่วนใหญ่ก็ให้ความสนใจกันเยอะมาก อย่างงาน <strong>ASA</strong> WOW ก็เป็นงานใหม่<br />

ที่อยู่ในช่วงภาวะเศรษฐกิจมีความน่ากังวลมาก ไม่ว่าจะเป็นสปอนเซอร์<br />

หรือการดึงแต่ละกลุ่มองค์กร เข้ามามีส่วนร่วมตรงนี้ก็ไม่ง่ายเลย แต่<br />

ผลลัพธ์ที่ออกมาก็กลับกลายเป็นได้ความสนใจค่อนข้างดี อย่างงานนี้<br />

ก็ตั้งเป้าไว้แค่มี visitor ประมาณ 50,000 คน แต่ยอดคนที่มาร่วมงาน<br />

จริง ๆ ก็อยู่ที่ 80,000 คน เลยทำาให้งานครั้งนี้ก็ถือว่าประสบ ความสำาเร็จ<br />

พอสมควร<br />

ส่วนคนที่มาร่วมจัดเค้าก็ได้มองกลับมาเห็นประโยชน์ของการจัดงาน<br />

ครั้งนี้ด้วย และยังได้รับเสียงตอบรับจากเพื่อน ของเพื่อนที่ได้มีโอกาส<br />

มาร่วมงานว่าตัวเค้าเองรู้จักสมาคมสถาปนิกฯ ก็เพราะงานนี้เลยนะ จาก<br />

ก่อนหน้านี้ที่ไม่เคย รู้เลยว่าพวกเราทำาอะไรกันบ้าง ก็ถือว่าเป็นเรื่องที่ดี<br />

ที่เราอยากขับเคลื่อนต่อไปเรื่อย ๆ อีกสิ่งที่สังเกตเห็นได้ชัดเจน มากคือ<br />

พอเราทำางานที่เป็นงานเมือง และมีกลุ่มที่เค้ามีความตั้งใจเดียวกันพอเค้า<br />

ได้รับทราบกิจกรรมเค้าก็ยินดีจะช่วย อย่างถ้าเปรียบเทียบกับงาน<br />

สถาปนิกที่ผ่านมา จะไม่ค่อยมีกลุ่มนักพัฒนาอสังหาริมทรัพย์สนใจงาน<br />

สถาปนิกเท่าไหร่ แต่พอเป็นงานนี้ เค้าก็ยินดีเข้ามาช่วย หรือบางกลุ่ม<br />

เราก็ยังมีประหลาดใจว่าไปผูกมาได้ยังไง อย่าง กลุ่มกองทัพอากาศ<br />

N<strong>ASA</strong> คือมันก็เป็นอะไรที่แปลกมากเพราะไม่น่าจะเกิดขึ้นได้ แต่กลาย<br />

เป็นว่างานนี้ก็ได้เปิดช่องทางใหม่ ๆ เกิดขึ้น แล้วก็น่าสนใจดี ก็ถือว่า<br />

ประสบความสำาเร็จในมุมนั้น<br />

อาษา: สิ่งที่ฝ่ ายกิจการพิเศษคาดหวังหรืออยากให้เกิด<br />

ขึ ้นกับเครือข่ายวิชาชีพสถาปนิก และสมาชิกสมาคมฯ ไป<br />

จนถึงผู้คนกลุ่มอื่น ๆ คืออะไร ช่วยทิ้งท้ายสั้น ๆ<br />

ไพทยา บัญชากิติคุณ: สุดท้ายแล้ว เราก็อยากให้สมาคมฯ ของเรา<br />

หรือกลุ่มวิชาชีพของเราเป็นประโยชน์กับคนในวง กว้างๆ มากกว่าแค่<br />

กลุ่มอุตสาหกรรมบางอุตสาหกรรม แล้วก็คิดว่าเราก็เป็นหนึ่งในกลุ่มที่<br />

มีส่วนร่วมกับเมืองโดยตรง ก็อยากให้กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้รับ<br />

ผลตอบรับที่ดีจากสมาชิกสมาคมฯ ก่อน ซึ่งทุกคนก็มีบทบาทเดียวกัน<br />

ในการ ขับเคลื่อนเมืองทุกคนเลย ก็อยากให้เห็นถึงความตั้งใจเดียว<br />

แล้วก็ช่วยกันพัฒนาเมืองไป ในฝั่งของประชาชนทั่วไป เราก็อยากให้<br />

กิจกรรมที่เราทำาได้จุดประกายความคิดให้กับกลุ่มคนกว้าง ๆ ให้ทุกคน<br />

ได้ร่วมสร้างเมืองและขับเคลื่อนเมืองไปในทิศทางที่แต่ละคนถนัด เพื ่อให้<br />

เมืองของเราน่าอยู่ขึ้นและมีการจัดการที่ลงตัวขึ้น


<strong>ASA</strong> Journal<br />

Wonder of Well-Being<br />

City 2022<br />

143<br />

OUT<br />

NOW!<br />

The Association of Siamese<br />

Architects held "WOW-Wonder<br />

of Well-Being City 2022,"<br />

collaborating with various<br />

institutions and organizations<br />

to explore urban development<br />

approaches. The event<br />

included academic seminars<br />

and recreational activities,<br />

aiming to create a livable city<br />

for everyone. This special<br />

publication, produced by <strong>ASA</strong><br />

Platform, is the official catalog<br />

summing up all the interesting<br />

activities in the <strong>ASA</strong> WOW<br />

2022.<br />

WOW-Wonder of Well-Being City<br />

2022 เป็ นงานที่สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับหน่วยงาน<br />

และองค์กรต่างๆ เพื่อสํารวจแนวทาง<br />

การพัฒนาเมือง ภายในงานมีทั้งสัมมนา<br />

วิชาการและกิจกรรมสันทนาการเพื่อ<br />

สร้างเมืองน่าอยู่สําหรับทุกคน หนังสื อ<br />

ฉบับพิเศษนี้ เป็ นสู จิบัตรอย่างเป็ น<br />

ทางการที่สรุปกิจกรรมที่น่าสนใจทั้งหมด<br />

ใน <strong>ASA</strong> WOW 2022<br />

Download the e-book here


144<br />

the last page<br />

ภูมิภัค บุญถนอม<br />

จบการศึกษาปริญญา<br />

ตรี จากคณะครุศาสตร์<br />

อุตสาหกรรม หลักสูตร<br />

สถาปั ตยกรรม 5 ปี<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระ<br />

จอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง ปริญญาโท<br />

คณะสถาปั ตยกรรม<br />

หลักสูตรสถาปั ตยกรรม<br />

พื้ นถิ ่ น มหาวิทยาลัย<br />

ศิ ลปากร ปั จจุบันเป็ น<br />

สถาปนิก และ 3D Visualizer<br />

เปิ ดบริษัท ARCHI-<br />

TISS และเป็ นพาร์ตเนอร์<br />

ของบริษัท NPPN Design<br />

& Research<br />

Poomipak Boonthanom<br />

graduated with a<br />

bachelor’s degree from<br />

the Faculty of Industrial<br />

Education. 5-year<br />

architecture program,<br />

King Mongkut’s Institute<br />

of Technology<br />

Ladkrabang, Master’s<br />

degree (vernacular<br />

architecture), Faculty<br />

of Architecture<br />

Silpakorn University.<br />

Currently, he is an<br />

architect and 3D<br />

Visualizer, the founder<br />

of ARCHITISS, and<br />

a partner at NPPN<br />

Design & Research.<br />

จุดเชื่อมโยงของรสชาติผ่านองค์ประกอบของ “ตำาถาด” คือ<br />

น้ำาปรุงรสที่ผสานรวมเอาวัตถุดิบหลากหลายเข้าไว้ด้วยกัน<br />

อย่างลงตัว วัตถุดิบที่หลากรสบนถาดอาหาร เมื่อถูกอุปมา<br />

อยู่ในงานสถาปัตยกรรม จะพบว่าในงานออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

ย่อมเกิดขึ้นมาจากการหลอมรวมองค์ความรู้จากกลุ่มคนที่<br />

หลากหลาย ตั้งแต่กลุ่มผู้ใช้แรงงานไปจนถึงเจ้าของโครงการ<br />

“นั ่งร้าน” ที ่ช่วยกอปรรูปของสถาปัตยกรรมจึงเปรียบเสมือน<br />

น้ำาปรุงรสที่หล่อหลอมให้ผลงานก่อสร้างนั้นสำาเร็จ ในขณะ<br />

เดียวกันก็ทำาหน้าที่เป็นตัวแทนของคนที่ทำางานเบื้องหลัง<br />

ให้แก่สถาปนิก นักออกแบบ ตลอดจนเจ้าของโครงการ<br />

Photo Courtesy of Poomipak Boonthanom<br />

Thai street food “Tam Taad” is characterized by a<br />

seasoning sauce that incorporates a variety of ingredients<br />

harmoniously. This sauce is the point of connection<br />

between the flavors of the various elements.<br />

When used as a metaphor for architecture, assorted<br />

ingredients on a tray inevitably result from the fusion<br />

of knowledge from various groups of individuals, from<br />

site workers to the project proprietor. It reminds me<br />

of the “scaffolding” which helps shape the architecture,<br />

like a flavorful sauce that shapes the construction<br />

work while also symbolizing those who work behind<br />

the scenes for architects, designers, and project owners.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!