01.09.2014 Views

o - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

o - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

o - Bayer Cropscience Co.,Ltd.

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ประวัติและความสําคัญ<br />

สถานการณการผลิตและการตลาด<br />

ลักษณะพฤกษศาสตรและพันธุลําไย<br />

การปลูกและการดูแลรักษา<br />

การขยายพันธุ<br />

การใชสารกลุมคลอเรตกระตุนการออกดอกของลําไย<br />

โรค แมลง ศัตรูพืชและการปองกันกําจัด<br />

วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวลําไย<br />

การแปรรูปลําไย<br />

บรรณานุกรม<br />

สารบัญ


ประวัติ ความสําคัญ<br />

นิพัฒน สุขวิบูลย<br />

ประวัติความเปนมา<br />

เมื่อศึกษาประวัติความเปนมาของลําไยในประเทศอินเดียและจีนแลว นาจะเชื่อไดวาลําไยมีถิ่น<br />

กําเนิดในประเทศจีนตอนใต เนื่องจากประเทศจีนปลูกลําไยกันมาหลายพันปแลว โดยปลูกกันมากบริเวณจีน<br />

ตอนใตแถบมณฑลฟูเกียน กวางตุง กวางสีและเสฉวน โดยมีศูนยกลางที่มณฑลฟูเกียน ความเปนมาของการ<br />

ปลูกลําไยในประเทศจีนนั้น ไดมีการกลาวถึงลําไยในวรรณคดีของจีนสมัยของพระเจาเช็งแทง (Cheng<br />

Tang) ในป พ.ศ. 1766 และมีการกลาวถึงในหนังสือรูยา (Ru Ya) เมื่อป พ.ศ. 110 แตวรรณกรรมเลมแรกที่ได<br />

บรรยายเกี่ยวกับลักษณะพฤกษศาสตรของลําไยไว คือหนังสือ Nam Fong Taol Yuk Chang ซึ่งเขียนโดยพระ<br />

ของเมือง State Chi Ham โดยหนังสือเลมนี้ไดกลาวไววาลําไยปลูกอยูทางตอนใตของประเทศจีนและเรียกวา<br />

Lugan ลําไยเปนไมสูงประมาณ 10- 20 ฟุต มีลักษณะคลายตนลิ้นจี่ แตใบเล็กกวา ผลสุกและเก็บไดภายใน 7<br />

เดือน ผลมีสีเขียวอมเหลือง ผิวเรียบ แตคอยๆมีสะเก็ดขึ้นทีละนอยเมื่อสุก ติดผลประมาณ 20-30 ผลตอชอ<br />

ผลมีรูปรางกลมขนาดเทาลูกหิน เนื้อสีขาวและมีรสหวานเหมือนน้ําผึ้ง<br />

นอกจากนี้หนังสือชื่อ Ben Chao Kang Mu ที่เขียนโดย Li Shi Chum ไดกลาวถึงสรรพคุณของลําไย<br />

ที่ใชเปนยา สวน George Weid Man Groff ไดกลาวไววา ลําไยและลิ้นจี่เปนไมที่ไดรับการยกยองในหมูคน<br />

จีน จนถึงกับมีนักประพันธจีนบางทานไดเอาชื่อไปแตงเปนบทเพลงหรือโคลงกลอน ซึ่งแสดงใหเห็นถึง<br />

ความสําคัญของไมผลทั้งสองชนิดนี้ตอชีวิตความเปนอยูของชาวจีนในสมัยกอน ตอมาในป พ.ศ. 1585 มี<br />

นักทองเที่ยวชาวยุโรปไดเดินทางไปยังประเทศจีนและไดรายงานถึงลําไยและลิ้นจี่ ซึ่งเปนเวลา 71 ป<br />

ภายหลังที่ไดพบเสนทางเดินทะเลไปยังประเทศจีนเมื่อปพ.ศ. 1514 ตั้งแตนั้นมาทั้งลิ้นจี่และลําไยก็ไดเปนที่<br />

สนใจของนักพฤกษศาสตรและชาวสวนทางตะวันตกโดยทั่วไป จากประเทศจีนซึ่งถือวาเปนแหลงกําเนิด<br />

ลําไยไดแพรกระจายจากประเทศจีนสูอินเดีย ศรีลังกา พมา ฟลิปปนส ยุโรป สหรัฐอเมริกา (มลรัฐฮาวายและ<br />

ฟลอริดา) ออสเตรเลีย (มลรัฐควีนสแลนด) หมูเกาะอินเดียตะวันตกและหมูเกาะมาดากัสกา<br />

สําหรับประเทศไทยนั้นสันนิษฐานวาลําไยไดแพรกระจายพันธุมาจากประเทศจีนตอนใต โดยตาม<br />

ปาในเขตจังหวัดเชียงใหมและเชียงรายมีลําไยพื้นเมืองขึ้นอยูทั่วไป จนกระทั้งป พ.ศ. 2439 ไดมีชาวจีนคน<br />

หนึ่งนํากิ่งตอนลําไยกะโหลก จํานวน 5 ตนมาจากประเทศจีน มาถวายพระชายาเจาดารารัศมีชายาของ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร ซึ่งเจาดารารัศมีแบงไวปลูกที่<br />

กรุงเทพ 2 ตนและมอบที่เหลือใหนองชายคือเจานอยตั๋น ณ เชียงใหม นําไปปลูกไวที่บานทาขี้เหล็ก ตําบล<br />

สบขา อําเภอหางดง จังหวัดเชียงใหม หลังจากก็ไดมีชาวจีนนํากิ่งตอนลําไยจากตรอกจันทร<br />

กรุงเทพมหานคร มาปลูกที่ตําบลบวกครก อําเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม ซึ่งไดขยายพันธุไปปลูกทั่วไปใน<br />

จังหวัดเชียงใหมและจังหวัดใกลเคียง เชน ลําพูน เชียงราย และลําปาง


แหลงปลูก<br />

แหลงปลูกลําไยที่สําคัญคือจังหวัดภาคเหนือตอนบนไดแก เชียงใหม ลําพูน และเชียงราย คิดเปน<br />

รอยละ 33.4 32.6 และ 10.6 ของพื้นที่ปลูกทั้งประเทศตามลําดับ นอกจากนั้นก็ยังมีปลูกในจังหวัดอื่นๆ เชน<br />

พะเยา ลําปาง นาน ตาก กําแพงเพชร เลย และจันทบุรี เปนตน สําหรับในจังหวัดเชียงใหมและลําพูนนั้น<br />

บริเวณที ่ปลูกลําไยที่หนาแนนไดแกบริเวณติดกับแมน้ําปง แมน้ํากวง แมน้ําทา และแมน้ําลี้<br />

ความสําคัญ<br />

เนื่องจากประเทศไทยเปนประเทศที่ผลิตและสงออกลําไยเปนอันดับหนึ่งของโลก ในป 2544<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ กระทรวงพาณิชย และกระทรวงอุตสาหกรรม จึงไดกําหนดใหลําไยเปนพืช<br />

หนึ่งในพืชแชมเปยน (product champion) และกําหนดแผนยุทธศาสตรลําไยป 2545-2549 เพื่อใหประเทศ<br />

ไทยรักษาความเปนผูนําในการผลิตและสงออกลําไยตอไป โดยเปาหมายการผลิตลําไยป 2545-2549 ได<br />

กําหนดเขตเศรษฐกิจสําหรับลําไยรวม 6 จังหวัด 30 อําเภอ 225 ตําบล ไดแกจังหวัดเชียงราย เชียงใหม พะเยา<br />

ลําพูน จันทบุรีและเลย โดยใหรักษาระดับพื้นที่ปลูกทั้งประเทศไวที่ 650,000 ไร สามารถเพิ่มผลผลิตลําไย<br />

สดจาก 338,000 ตันในป 2545 เปน 427,000 ตันในป 2549 ผลผลิตตอไรเพิ่มจาก 834 กิโลกรัมตอไรในป<br />

2545 เปน 1,000 กิโลกรัมตอไร การบริโภคภายในประเทศเพิ่มจาก 90,000 ตันในป 2545 เปน 112,000 ตัน<br />

ในป 2549 และสามารถเพิ่มการสงออกจาก 248,000 ตันในป 2545 เปน 315,000 ตัน ในป 2549<br />

ลําไยในภาษาจีนกลางเรียกวา “หลงเยี่ยน” แปลวาตามังกร ซึ่งชาวจีนถือวาเนื้อลําไยเปนยาที่สําคัญ<br />

ชนิดหนึ่ง มีสรรพคุณบํารุงเลือด หัวใจและมาม ชวยชลอความชราและตอตานมะเร็ง เนื้อลําไยสด 100 กรัม<br />

มีคุณคาทางโภชนาการคือ พลังงาน 109 แคลอรี ความชื้น 72.4% โปรตีน 1 กรัม ไขมัน 0.5 กรัม<br />

คารโบไฮเดรต 25.2 กรัม เสนใย 0.4 กรัม แคลเซียม 2 มิลลิกรัม ฟอสฟอรัส 6 มิลลิกรัม เหล็ก 0.3 มิลลิกรัม<br />

วิตามินเอ 28 I.U. วิตามินB1 0.04 มิลลิกรัม วิตามิน B2 0.07 มิลลิกรัม ไนอาซิน 0.6 มิลลิกรัม วิตามินซี 8<br />

มิลลิกรัม นอกจากสารอาหารดังกลาวแลว เนื้อลําไยสดมีน้ําตาล 3 ชนิด คือ กลูโคส ฟรุกโตส และซูโคส


ตารางที่ 1 สวนประกอบของเนื้อลําไยสดและเนื้อลําไยอบแหง<br />

สวนประกอบ หนวย เนื้อลําไยสด เนื้อลําไยอบแหง<br />

ความชื้น % 81.10 17.80<br />

ไขมัน % 0.11 0.40<br />

เสนใย % 0.28 1.60<br />

โปรตีน % 0.97 4.60<br />

เถา % 0.56 2.86<br />

คารโบไฮเดรต % 16.98 72.70<br />

พลังงานความรอน กิโลกรัม/100 กรัม 72.79 311.80<br />

แคลเซียม มิลลิกรัม/100 กรัม 5.70 27.70<br />

เหล็ก มิลลิกรัม/100 กรัม 0.35 2.39<br />

ฟอสฟอรัส มิลลิกรัม/100 กรัม 35.30 159.50<br />

วิตามินซี มิลลิกรัม/100 กรัม 69.20 137.80<br />

โซเดียม มิลลิกรัม/100 กรัม - 4.50<br />

โพแทสเซียม มิลลิกรัม/100 กรัม - 2012.00<br />

ไนอาซีน มิลลิกรัม/100 กรัม - 3.03<br />

กรดแพนโทธินิค มิลลิกรัม/100 กรัม - 0.57<br />

วิตามินบี 2 มิลลิกรัม/100 กรัม - 0.375


สถานการณการผลิตและการตลาด<br />

นิพัฒน สุขวิบูลย<br />

สภาพการผลิต<br />

การผลิตในประเทศไทย<br />

พื้นที่ปลูกลําไยของประเทศไทยเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่องตั้งแตป 2537 เปนตนมา เนื่องจากรัฐบาล<br />

สนับสนุนใหมีการปรับโครงสรางและระบบการผลิตการเกษตร ซึ่งทําใหเกษตรกรหันมาปลูกลําไยทดแทน<br />

นาขาวเพราะใหผลตอบแทนสูงกวา ประกอบกับประสบความสําเร็จในการใชสารโพแทสเซียมคลอเรตและ<br />

โซเดียมคลอเรตกระตุนใหลําไยออกดอกติดผลทั้งในฤดูและนอกฤดู จึงทําใหพื้นที่ปลูกลําไยกระจายเพิ่มขึ้น<br />

อยางรวดเร็ว โดยพื้นที่ปลูกลําไยทั่วประเทศในป 2543 มีทั้งสิ้น 696,503 ไร โดยเปนพื้นที่ปลูกลําไยที่ให<br />

ผลผลิตแลว 361,744 ไรและยังไมใหผลผลิต 334,759 ไร (ตารางที่ 2) เปนพื้นที่ปลูกในภาคเหนือสูงสุดคือ<br />

595,218 ไร (ตารางที่ 3) ปลูกมากที่สุดในจังหวัดเชียงใหม ลําพูนและเชียงราย คิดเปนรอยละ 81.6 ของพื้นที่<br />

ปลูกทั้งประเทศ (ตารางที่ 4) พันธุที่เกษตรกรนิยมปลูกมากที่สุดคือ พันธุดอ คิดเปนรอยละ 80.2 ของพื้นที่<br />

ปลูกทั้งหมด เนื่องจากเปนพันธุเบาเก็บเกี่ยวผลผลิตไดกอนพันธุอื่นและออกดอกติดผลคอนขางสม่ําเสมอ<br />

ทุกป ตลอดจนเปนที่ตองการของตลาดทั้งในและตางประเทศ รองมาคือพันธุแหว สีชมพู เบี้ยวเขียว และ<br />

พันธุอื่นๆ เชน แดงหรือเพชรสาคร คิดเปนรอยละ 6.3, 6.2, 4.5 และ 2.7 ของพื้นที่ปลูกทั้งหมดตามลําดับ<br />

(ตารางที่ 5)<br />

ตารางที่ 2 พื้นที่ปลูก ผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตรวมและราคาจําหนายลําไยในป 2541-2543<br />

ป<br />

พื้นที่ปลูก (ไร)<br />

ที่ใหผล ที่ไมใหผล รวม<br />

ผลผลิตเฉลี่ย<br />

(กก./ไร)<br />

ผลผลิตรวม<br />

(ตัน)<br />

ราคา<br />

(บาท/กก.)<br />

2541 159,642 415,885 575,527 112 17,964 61.18<br />

2542 266,502 349,453 615,955 796 212,240 28.41<br />

2543 361,744 334,759 696,503 1,035 374,460 20.24<br />

ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร 2543


ตารางที่ 3 พื้นที่ปลูก ผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตรวมและราคาจําหนายลําไยของภาคตางๆในป 2543<br />

พื้นที่ปลูก (ไร)<br />

ภาค ที่ใหผล ที่ไมใหผล รวม<br />

ผลผลิตเฉลี่ย<br />

(กก./ไร)<br />

ผลผลิต<br />

รวม<br />

(ตัน)<br />

ราคา<br />

(บาท/กก.)<br />

เหนือ 323,939 271,279 595,218 1,013 328,305 17.02<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ 22,461 46,948 69,409 889 19,969 21.39<br />

กลาง 99 118 217 507 50 37.50<br />

ตะวันออก 11,445 10,089 21,534 1,788 20,467 28.68<br />

ตะวันตก 3,635 5,655 9,290 1,465 5,324 29.36<br />

ใต 165 670 835 2,089 345 71.82<br />

รวม 361,744 334,759 696,503 1,035 374,460 20.24<br />

ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร 2543<br />

ตารางที่ 4 พื้นที่ปลูก ผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตรวมและราคาจําหนายลําไยของจังหวัดที่สําคัญในป 2543<br />

จังหวัด<br />

พื้นที่ปลูก (ไร)<br />

ที่ใหผล ที่ไมใหผล รวม<br />

ผลผลิตเฉลี่ย<br />

(กก./ไร)<br />

ผลผลิตรวม<br />

(ตัน)<br />

ราคา<br />

(บาท/กก.)<br />

เชียงใหม 119,514 59,608 179,122 879 105,087 18.88<br />

ลําพูน 94,167 107,939 202,106 981 92,382 18.50<br />

เชียงราย 38,274 32,521 70,795 1,012 38,720 16.08<br />

พะเยา 17,043 20,875 37,918 841 14,339 13.13<br />

นาน 13,921 9,241 23,162 1,879 26,155 12.29<br />

จันทบุรี 10,737 9,420 20,157 1,795 19,274 28.75<br />

เลย 7,770 13,052 20,822 974 7,564 19.56<br />

ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร 2543


ตารางที่ 5 พื้นที่ปลูก ผลผลิตเฉลี่ย ผลผลิตรวมและราคาจําหนายของลําไยพันธุตางๆในป 2543<br />

พันธุ<br />

พื้นที่ปลูก (ไร)<br />

ที่ใหผล ที่ไมใหผล รวม<br />

ผลผลิตเฉลี่ย<br />

(กก./ไร)<br />

ผลผลิตรวม<br />

(ตัน)<br />

ราคา<br />

(บาท/กก.)<br />

ดอ 307,637 301,931 609,568 1,021 314,141 20.56<br />

แหว 15,111 6,015 21,126 1,229 18,570 17.55<br />

สีชมพู 17,479 12,227 29,706 1,207 21,089 20.92<br />

เบี้ยวเขียว 12,106 4,567 16,673 968 11,714 19.15<br />

อื่นๆ 9,361 9,839 19,200 951 8,905 21.22<br />

ที่มา : กรมสงเสริมการเกษตร 2543<br />

ลําไยเปนไมผลที่ตองการอุณหภูมิต่ําระดับหนึ่งที่กระตุนใหเกิดดอก มักออกดอกติดผลมากและ<br />

นอยเวนปหรือเวนสองป ขึ้นอยูกับสภาพภูมิอากาศ อายุ และความสมบูรณของตน ตลอดจนการจัดการสวน<br />

ของเกษตรกร ดังนั้นปริมาณผลผลิตลําไยรวมทั้งประเทศจึงแปรปรวนในแตละป สําหรับผลผลิตลําไยสดทั้ง<br />

ประเทศในป 2541, 2542 และ 2543 เทากับ 33,771 142,553 และ 358,420 ตัน ตามลําดับ สาเหตุที่ผลผลิต<br />

ลําไยในป 2541 และ 2542 ลดลงอยางมากก็เนื่องจากประสบกับปรากฏการณเอลนิโนและลานินนา ทําให<br />

สภาพภูมิอากาศไมเหมาะสมตอการออกดอกและติดผล ในป 2544 ผลผลิตลําไยทั้งประเทศรวม 227,800<br />

ตัน จังหวัดที่มีผลผลิตสูงสุดไดแกจังหวัดเชียงใหม คิดเปนรอยละ 34.9 ของผลผลิตรวมรองลงมาคือจังหวัด<br />

ลําพูน เชียงราย และพะเยา คิดเปนรอยละ 33.5, 9.9 และ 4.0 ของผลผลิตรวม ตามลําดับ<br />

ปญหาดานการผลิตลําไยที่สําคัญคือ การขยายพื้นที่ปลูกไปสูพื้นที่ที่ไมเหมาะสม ทําใหตนทุนการ<br />

ผลิตสูง ผลผลิตต่ําและคุณภาพไมไดมาตรฐาน เกษตรกรยังขาดความรูความเขาใจในการจัดการสวนอยาง<br />

ถูกตองและเหมาะสม โดยเฉพาะการจัดการปุย-น้ํา และการใชสารกลุมคลอเรตกระตุนใหลําไยออกดอก<br />

นอกฤดู นอกจากนี้การผลิตลําไยในฤดูปกติสวนใหญตองอาศัยธรรมชาติเปนหลักจึงออกดอกติดผลไม<br />

สม่ําเสมอ ทําใหยากตอการวางแผนการผลิตหรือการตลาด


การผลิตของประเทศอื่นๆ<br />

แหลงปลูกลําไยที่สําคัญของโลกไดแก ไทย จีน เวียดนามและไตหวัน นอกจากนี้ก็มีปลูกบางในบาง<br />

มลรัฐของออสเตรเลียและสหรัฐอเมริกา ประเทศไทยมีคูแขงในตลาดโลกที่สําคัญไดแก จีน เวียดนามและ<br />

ไตหวัน<br />

นอกจากประเทศจีนเปนประเทศคูคากับไทยแลว ยังเปนประเทศคูแขงที่สําคัญที่สุดของไทยดวย ใน<br />

ป 2544 ประเทศจีนมีพื้นที่ปลูกลําไยมากที่สุดในโลกคือ 2,910,000 ไร มีผลผลิตรวม 608,500 ตัน แหลง<br />

ผลิตลําไยที่สําคัญของประเทศจีนคือ มณฑลกวางสี ซึ่งมีพื้นที่ปลูกลําไยทั้งสิ้น 1,265,000ไร และผลผลิต<br />

150,900 ตัน รองลงมาคือ มณฑลกวางตุง มีพื้นที่ปลูกลําไย 984,300 ไรและใหผลผลิต 346,000 ตัน มณฑลฟุ<br />

กเกี้ยนปลูกลําไยประมาณ 600,000 ไรและมีผลผลิต 110,400 ตัน นอกจากนี้ก็ยังมีปลูกในมณฑลอื่นๆ เชน<br />

มณฑลยูนาน และไฮนาน เปนตน ผลผลิตลําไยสดเฉลี่ยทั้งประเทศของประเทศจีนประมาณ 800-1,600<br />

กิโลกรัม/ไร เนื่องจากประเทศจีนมีพันธุลําไยจํานวนมากถึงประมาณ 400 พันธุ ดังนั้นพันธุที่ใชปลูกจึง<br />

แตกตางในแตละแหลง เชนพันธุที่นิยมปลูกในมณฑลกวางตุงไดแก Chuliang และ Gushan Number Two<br />

หรือพันธุที่ปลูกกันมากที่มณฑลฟุกเกี้ยน ไดแก Fuyan, Wulongling, Dongbi และ Chike ผลผลิตลําไยออกสู<br />

ตลาดในชวงปลายเดือนกรกฎาคมจนถึงเดือนตุลาคม การขยายพื้นที่ปลูกและการเพิ่มขึ้นของผลผลิตลําไย<br />

ของจีนจะสงผลกระทบตอการสงออกของประเทศไทยอยางแนนอน เนื่องจากจีนเปนตลาดหลักของ<br />

ประเทศไทย ปญหาการผลิตลําไยในประเทศจีนก็คือ ผลผลิตออกสูตลอดในชวงสั้นๆ และระบบตลาดยังไม<br />

สามารถกระจายผลผลิตออกจากแหลงผลิตไดดีพอ<br />

ประเทศไตหวันเริ่มปลูกลําไยมานานกวา 300 ปแลวโดยนําพันธุเขาจากประเทศจีน แหลงผลิตลําไย<br />

กระจายจากภาคกลางและภาคใตของเกาะไตหวัน โดยภาคใตของเกาะเปนแหลงผลิตลําไยที่สําคัญ ในป<br />

2545 ประเทศไตหวันมีพื้นที่ปลูกลําไยประมาณ 76,600 ไรและผลิตลําไยได 110,900 ตัน ซึ่งความสําคัญเปน<br />

อันดับสามรองจากการผลิตสมและมะมวง ตามลําดับ พันธุ ‘Fengko’ เปนพันธุลําไยที่นิยมปลูกมากที่สุดคือ<br />

รอยละ 95 ของผลผลิตทั้งประเทศ เพราะเปนพันธุที่ปรับตัวไดดีในแหลงผลิตตางๆ ใหผลผลิตสูงและการ<br />

สูญเสียความหวานบนตนชากวาพันธุอื่น สวนพันธุ อื่นๆที่ปลูกเปนการคาไดแก ‘October’, ‘Shuigon’,<br />

‘Chuchi Early’, ‘Puwei’, ‘Yangtaoyey’ และ ‘Hongko’ ผลผลิตเฉลี่ยทั้งประเทศประมาณ 1,500 กิโลกรัม/<br />

ไร หรือประมาณ 60 กิโลกรัม/ตน ปญหาการผลิตลําไยในประเทศไตหวันไดแก การออกดอกติดผลที่ไม<br />

สม่ําเสมอ ขาดการควบคุมทรงพุมทําใหตนที่สูงใหญ ศัตรูลําไยที่สําคัญไดแก โรครากเนา ไรกํามะหยี่ และ<br />

แมลงเจาะผล นอกจากนี้ก็ยังมีขีดจํากัดของพื้นที่ทําใหไมสามารถขยายพื้นที่ปลูกไดเต็มที่ ผลผลิตลําไย<br />

ประมาณรอยละ 90 ใชบริโภคภายในประเทศ สวนที่เหลืออบแหงสงออกไปจําหนายยังประเทศจีน และ<br />

ฮองกง เปนตน<br />

ประเทศเวียดนามเปนประเทศหนึ่งที่มีลักษณะภูมิศาสตรและภูมิอากาศคลายคลึงกับประเทศไทย<br />

พื้นที่ปลูกลําไยในเวียดนามป 2544 มีประมาณ 470,000 ไร ใหผลผลิตประมาณ 620,000 ตันหรือประมาณ<br />

รอยละ 15 ของปริมาณผลไมที่ผลิตไดทั้งประเทศ แหลงผลิตลําไยที่สําคัญไดแก ภาคเหนือของประเทศใน


เขตที่ราบสูงจังหวัดโฟเฮียน โดยพันธุที่นิยมปลูกในบริเวณนี้คือ พันธุ Tieu Hue, Xuong <strong>Co</strong>m Vang และ<br />

Long Nhan แหลงผลิตลําไยที่สําคัญอีกแหงหนึ่งคือ บริเวณดินดอนปากแมน้ําโขง (Mekong Delta) พันธุที่<br />

นิยมปลูกคือ Long Hung Yen, Duang Phen และ Cui ในประเทศเวียดนามผลผลิตลําไยประมาณรอยละ 70<br />

จะใชบริโภคภายในประเทศ สวนที่เหลือประมาณรอยละ 30 สงออกไปยังประเทศจีน สิงคโปรและไตหวัน<br />

ในรูปลําไยสด รอยละ 70 และที่เหลือสงออกในรูปของลําไยอบแหง และลําไยกระปอง จึงนับไดวาประเทศ<br />

เวียดนามจะเปนประเทศคูแขงที่สําคัญของไทยในอนาคต เนื่องจากประเทศเวียดนามก็มีประเทศจีนเปน<br />

ตลาดสงออก และผลผลิตออกสูตลาดในชวงเวลาใกลเคียงกัน<br />

ออสเตรเลียเปนอีกประเทศหนึ่งที่ปลูกลําไย แหลงปลูกที่สําคัญคือ บริเวณตอนเหนือของมลรัฐ<br />

ควีนสแลนดและนิวเซาทเวลล พันธุที่เกษตรกรปลูกเปนการคาคือ พันธุสีชมพู แหว และเบี้ยวเขียวของ<br />

ประเทศไทย นอกจากนี้ก็มีพันธุโคฮาลาซึ่งเปนพันธุจากฮาวาย ผลผลิตลําไยออกสูตลาดประมาณเดือน<br />

กุมภาพันธหรือมีนาคม ผลผลิตสวนใหญใชบริโภคภายในประเทศ ที่เหลือก็สงออกโดยมีประเทศจีนเปน<br />

ลูกคาที่สําคัญ<br />

สภาพการตลาด<br />

ผลผลิตลําไยสดในแตละปใชบริโภคภายในประเทศประมาณรอยละ 26 ที่เหลือรอยละ 74 สงออก<br />

ในรูปลําไยสดรอยละ 48 ลําไยอบแหงรอยละ 33 ลําไยกระปองรอยละ 9 และลําไยแชแข็งรอยละ 1.5<br />

สําหรับปริมาณและมูลคาการสงออกแตกตางกันแตละปขึ้นกับปริมาณของผลผลิตลําไยสดในปนั้นๆ มูลคา<br />

รวมการสงออกลําไยสดและผลิตภัณฑของประเทศไทยป 2540, 2541, 2542 และ 2543 เทากับ 5,030 527<br />

2,097 และ 5,051 ลานบาท ตามลําดับ ในป 2544 ประเทศไทยสงออกลําไยสดทั้งสิ้น 101,305 ตัน คิดเปน<br />

มูลคา 1,910 ลานบาท ตลาดสงออกใหญที่สุดคือ ฮองกง รองมาคือ มาเลเซีย จีนและสิงคโปร ลําไยแหงมีการ<br />

สงออก 26,838 ตัน คิดเปนมูลคา 1,309 ลานบาท ตลาดสงออกใหญที่สุดคือ ประเทศจีน รองลงมาคือฮองกง<br />

เวียดนามและสิงคโปร สําหรับลําไยกระปองสงออก 8,969 ตัน มูลคา 367 ลานบาท โดยตลาดสงออกที่<br />

สําคัญที่สุดคือ มาเลเซีย รองลงมาคือ สิงคโปรและสหรัฐอเมริกา สวนลําไยแชแข็งสงออกทั้งสิ้น 1,597 ตัน<br />

มูลคา 64 ลานบาท โดยมีสหรัฐอเมริกาเปนตลาดนําเขาที่สําคัญที่สุด รองลงมาไดแก ฝรั่งเศสและไตหวัน จึง<br />

อาจกลาวไดวาตลาดสงออกเกาของลําไยสดและผลิตภัณฑ คือ ฮองกง มาเลเซีย สิงคโปร สวนตลาดใหมที่<br />

มีศักยภาพในการสงออกไดแก แคนาดา ฝรั่งเศส อังกฤษ และอินโดนีเซีย<br />

ปญหาสําคัญดานการตลาดลําไยคือ ปริมาณผลผลิตลําไยสดไมแนนอนในแตละปทําใหยากตอการ<br />

วางแผนการตลาด ผลผลิตลําไยสดประมาณรอยละ 70 ออกสูตลาดในชวงสั้นๆ ระหวางเดือนกรกฏาคมและ<br />

สิงหาคม ประกอบกับการกระจายผลผลิตสูตลาดยังไมดีพอ จึงทําใหเกินความสามารถของตลาดที่จะรองรับ<br />

ไดและราคาผลผลิตตกต่ํา ขาดการพัฒนาผลิตภัณฑลําไยรูปแบบใหมๆ ในเชิงพาณิชย นอกจากนี้แตละ


ประเทศซึ่งเปนผูนําเขาตั้งมาตรการที่เปนอุปสรรคตอการสงออกลําไย เชน มาตรการสุขอนามัยและ<br />

สุขอนามัยพืชซึ่งกําหนดไวสูงหรือมาตรการทางภาษีที่แตกตางกัน<br />

ตลาดภายในประเทศ<br />

พอคามักเปนผูกําหนดราคาในการซื้อขาย โดยรูปแบบการซื้อขายลําไยของเกษตรกรในภาคเหนือ<br />

ตอนบนเชน เชียงใหมและลําพูน มี 3 รูปแบบ คือ<br />

1. การขายแบบเหมาสวนหรือขายเขียวหรือตกเขียว เปนการซื้อขายลวงหนาโดยเกษตรกรและพอคา<br />

ตกลงซื้อขายกันในชวงที่ลําไยกําลังออกดอกหรือเริ่มติดผลเล็กๆ ในบางแหงมีการขายเหมาสวนในชวงที่ผล<br />

เริ่มแกก็ได การกําหนดราคาขึ้นกับการคาดคะเนผลผลิตของผูรับซื้อ ซึ่งเกษตรกรมักจะขายไดในราคาต่ํา<br />

เนื่องจากยังไมทราบภาวะตลาดและคาเก็บเกี ่ยวและบรรจุหีบหอเปนของผูรับซื้ออีกดวย เกษตรกรอาจจะ<br />

ขายเหมาสวนทั้งหมดหรือเปนบางสวนก็ได สวนใหญผูรับซื้อจะเปนพอคาในทองถิ่นและนําไปจําหนายตอ<br />

ใหพอคารวบรวมภายในจังหวัดหรือตางจังหวัด<br />

2. เกษตรกรเก็บขายเอง โดยเกษตรกรเปนผูเก็บลําไยเอง จากนั้นจึงนําไปจําหนายใหผูรับซื้อตามจุด<br />

รับซื้อตางแหลงตางๆ ดังนั้นรายไดของเกษตรกรจึงขึ้นอยูกับปริมาณผลผลิตและราคารับซื้อที่กําหนด<br />

ในชวงนั้นๆ<br />

3. การรวมกลุมกันขาย เปนการรวมกลุมของเกษตรกรผูปลูกลําไย ขายผลผลิตลําไยรวมกันใหพอคา<br />

เพื่อทําใหสามารถตอรองราคากับพอคาได อยางไรก็ตามการซื้อขายรูปแบบนี้มักไมคอยนิยม<br />

ราคาจําหนายเฉลี่ยทั้งปของลําไยสดที่เกษตรกรขายไดนั้นจะแบงออกเปน 3 เกรด คือชนิดดี ชนิด<br />

รอง และชนิดคละ ซึ่งราคานี้จะแปรปรวนขึ้นอยูกับผลผลิตรวมในแตละป เชนราคาเฉลี่ยของลําไยชนิดดีที่<br />

เกษตรกรขายไดในป 2543, 2544 และ 2545 เทากับ 19.28, 34.50 และ 27.48 บาท/กิโลกรัมตามลําดับ<br />

(ตารางที่ 6) ผลผลิตในชวงเดือนมกราคมและกุมภาพันธุมีราคาจําหนายสูงสุดคือประมาณ 40-45 บาท/<br />

กิโลกรัมสําหรับลําไยชนิดดี<br />

ในอดีตตลาดบริโภคสดเปนตลาดที่รองรับผลผลิตลําไยสวนใหญ แตเมื่อมีการขยายพื้นที่การผลิต<br />

ตลอดจนการสงออกและการแปรรูปลําไยมีอัตราเพิ่มขึ้นอยางตอเนื่อง จึงทําใหสัดสวนของตลาดบริโภคสด<br />

ภายในประเทศลดลงตามลําดับ ในปจจุบันผลผลิตลําไยจะใชบริโภคภายในประเทศเพียงรอยละ 30 ที่เหลือ<br />

สงออกตลาดตางประเทศในรูปผลสดและผลิตภัณฑลําไย ตลาดที่เปนศูนยกลางการซื้อขายไดแก ตลาด<br />

ขายสงสี่มุมเมืองดานเหนือ และตลาดไท สําหรับราคาขายสงลําไยในตลาดกรุงเทพฯ


ตารางที่ 6 ราคาลําไยที่เกษตรกรขายไดระหวางป 2540-2545<br />

เกรด<br />

ราคาจําหนาย (บาท/กก.)<br />

2540 2541 2542 2543 2544 2545<br />

ดี 21.76 118.54 36.13 19.28 34.50 27.48<br />

รอง 16.20 75.21 27.43 14.75 26.90 19.49<br />

คละ 17.70 60.00 28.42 15.33 27.00 21.15<br />

เฉลี่ย 18.55 84.58 30.66 16.43 29.46 22.71<br />

ที่มา : สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

ตลาดสงออกตางประเทศ<br />

1. ลําไยสด<br />

ตลาดสงออกลําไยสดที่ใหญที่สุดในป 2544 คือ ฮองกง โดยประเทศไทยสงออกใหฮองกงจํานวน<br />

68,743 ตัน มูลคา 1,136.4 ลานบาท รองมาคือ มาเลเซีย จีนและสิงคโปร โดยสงออก 3,510 6,144 และ<br />

4,410 ตัน มูลคา 127.6 99.2และ 78.0 ลานบาท ตามลําดับ เปนที่นาสังเกตวาปริมาณและมูลคาสงออก<br />

ลําไยสดไปประเทศอินโดนีเซียลดลงจาก 387.2 ลานบาทในป 2543 เหลือเพียง 0.4 ลานบาทในป 2544<br />

ตารางที่ 7 ตลาดตางประเทศ ปริมาณและมูลคาการสงออกลําไยสด ป 2541-2544<br />

2541 2542 2543 2544<br />

ประเทศ<br />

ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา<br />

(ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท)<br />

ฮองกง 2,152 112.8 20,914 501.6 52,234 957.2 68,743 1,136.4<br />

อินโดนีเซีย - - 6,960 182.0 18,937 387.2 25 0.4<br />

สิงคโปร 6 0.2 4,864 82.4 4,735 77.6 4,410 78.0<br />

มาเลเซีย - - 4,915 185.2 5,734 195.2 3,510 127.6<br />

จีน 2 0.2 2,932 44.4 9,931 218.8 6,144 99.2<br />

ที่มา: กรมศุลกากร


2. ลําไยอบแหง<br />

ตลาดสงออกลําไยอบแหงที่สําคัญที่สุดตั้งแตป 2541 เปนตนมาไดแกประเทศจีน โดยป 2544<br />

ประเทศจีนนําเขาลําไยอบแหงรวมทั้งสิ้น 24,609 ตัน คิดเปนมูลคา 1,144 ลานบาท รองลงมาคือ ฮองกง<br />

สิงคโปร แคนาดาและมาเลเซีย คิดเปนมูลคา 64.4 22.4 และ 12 ลานบาท ตามลําดับ<br />

ตารางที่ 8 ตลาดตางประเทศ ปริมาณ และมูลคาการสงออกลําไยอบแหงทั้งเปลือก ป 2541-2544<br />

2541 2542 2543 2544<br />

ประเทศ ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

จีน 674 38.8 4,862 213.2 11,439 498.4 24,609 1,144.0<br />

ฮองกง 60 19.6 1,100 132.0 3,116 174.0 441 64.4<br />

สิงคโปร 38 8.8 125 30.8 241 50.8 120 22.4<br />

แคนาดา 3 0.8 62 9.6 34 17.3 134 12.0<br />

มาเลเซีย 15 2.0 34 5.2 84 3.6 599 0.3<br />

ที่มา: กรมศุลกากร<br />

3. ลําไยกระปอง<br />

ตลาดสงออกลําไยกระปองที่ใหญที่สุดตั้งแตป 2541 เปนตนมาไดแก ประเทศจีนจีน ป 2544<br />

ประเทศจีนนําเขาลําไยกระปองรวม 2,529 ตัน มูลคา 101.7 ลานบาท รองลงมาคือ ฮองกง สิงคโปร และ<br />

มาเลเซีย คิดเปนมูลคา 95.3 4.4 และ 4.4 ลานบาท ตามลําดับ<br />

ตารางที่ 9 ตลาดตางประเทศ ปริมาณ และมูลคาการสงออกลําไยกระปอง ป 2541-2544<br />

2541 2542 2543 2544<br />

ประเทศ<br />

ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา ปริมาณ มูลคา<br />

(ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท) (ตัน) (ลานบาท)<br />

มาเลเซีย 1,036 36.9 2,804 123.8 3,992 132.5 2,325 95.3<br />

สิงคโปร 1,179 67.4 2,442 133.6 3,905 158.9 2,529 101.7<br />

ฮองกง 678 43.0 184 11.2 58.6 3.0 85.6 4.4<br />

ฝรั่งเศส 121 9.1 247 13.5 221.7 11.2 104.6 4.4<br />

ที่มา: กรมศุลกากร


4. ลําไยแชแข็ง<br />

ในป 2544 ตลาดสงออกลําไยแชแข็งที่ใหญที่สุดคือ สหรัฐอเมริกา โดยสงออกทั้งสิ้น 759 ตัน มูลคา<br />

34.2 ลานบาท รองลงมาคือ ฝรั่งเศส (8.6 ลานบาท) ฮองกง (3.2 ลานบาท) ออสเตรเลีย (2.1 ลานบาท) และ<br />

ไตหวัน (1.4 ลานบาท)<br />

ตารางที่ 10 ตลาดตางประเทศ ปริมาณ และมูลคาการสงออกลําไยแชแข็ง ป 2541-2544<br />

2541 2542 2543 2544<br />

ประเทศ ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

ปริมาณ<br />

(ตัน)<br />

มูลคา<br />

(ลานบาท)<br />

สหรัฐอเมริกา 63 4.7 527 30.1 1,479 62.8 759 34.2<br />

ฮองกง 58 2.0 26 0.8 1,861 34.1 293 3.2<br />

ฝรั่งเศส 37 5.6 120 6.5 124 6.6 150 8.6<br />

ไตหวัน 12 0.4 37 0.9 94.9 1.2 45 1.4<br />

ออสเตรเลีย 0.3 0.02 24 5.0 46.8 2.0 34 2.1<br />

ที่มา: กรมศุลกากร


ลําไยอายุ 100 ป<br />

สวนลําไย<br />

ผลลําไย


พันธุลําไย<br />

ดอ<br />

ลําไยเถา<br />

พวงทอง<br />

เบี้ยวเขียว<br />

สายน้ําผึ้ง<br />

สีชมพู<br />

แหว


ลักษณะพฤกษศาสตรและพันธุลําไย<br />

นิพัฒน สุขวิบูลย<br />

มนตรี ทศานนท<br />

ลําไยเปนไมผลเขตรอนและกึ่งรอนที่มีลักษณะบางอยางคลายลิ้นจี่และเงาะ อยูในวงศ (order)<br />

Sapindaceae สกุล (family) Sapindaceae หรือ Soapberry ซึ่งมีพืชที่อยูในวงศนี้ถึง 130 สกุล (genus)<br />

ประมาณ 1,100 ชนิด (species) เดิมลําไยมีชื่อวิทยาศาสตรวา Euphoria longana Lamk. และตอมาได<br />

เปลี่ยนเปน Dimocarpus longan Lour. พืชที่อยูวงศเดียวกับลําไยไดแก ลําไยเถา (Dimocarpus longan var.<br />

obtusus Leenth.), เงาะ (Nephelium lappaceum Linn.), คอแลน (N. hypoleucum Kurz.), เงาะขนสั้น (N.<br />

Matabile Bl.), เงาะดิเรก (N. malaiense Bl.), คอแลนนครราชสีมา (Xerospermum intermedium Radlk.) และ<br />

ลําไยปา (Paranephelium longifoliolatum Lec.)<br />

ลักษณะพฤกษศาสตร<br />

ลําตน<br />

ลําไยเปนไมยืนตนทรงพุมแผกวาง มีขนาดกลางจนถึงขนาดใหญ ตนที่ปลูกจากเมล็ดมีลําตนสูงตรง<br />

เมื่อปลูกจากกิ่งตอนมีทรงพุมแผกวาง เจริญเติบโตเต็มที่จะสูง 10-12 เมตร เปลือกลําตนสีน้ําตาล หรือสีเทา<br />

ปนน้ําตาล แตกเปนสะเก็ดและรองขรุขระ กิ่งกลมและเนื้อไมมักเปราะทําใหกิ่งหักงาย<br />

ใบ<br />

ใบลําไยเปนใบรวม ที่มีใบยอยอยูบนกานใบรวมกัน (pinnately compound leaves) จํานวน 3-5 คู กาน<br />

ใบรวมยาวประมาณ 20-30 เซนติเมตร ใบยอยจัดเรียงตัวในลักษณะตรงขามหรือแบบสลับกัน กานใบยอย<br />

ยาว 4-6 เซนติเมตร ใบยอยเปนรูปรีหรือรูปหอก ใบกวาง 3-6 เซนติเมตรและยาว 10-15 เซนติเมตร ขอบใบ<br />

เรียบไมมีหยักและไมมวน ใบเรียบหรือเปนคลื่นเล็กนอย ปลายใบมักแหลมและฐานใบคอนขางปาน<br />

ดานหลังใบมีสีเขียวเขมเปนมันมากกวาดานทองใบ เสนแขนงแตกจากเสนกลางใบและเห็นไดชัดเจน<br />

ชอดอก<br />

ลําไยออกดอกที่ปลายยอดที่เจริญเติบโตเต็มที่แลว โดยเปลี่ยนจากตาใบเปนตาดอก แตบางครั้งชอ<br />

ดอกก็อาจเกิดจากตาดานขางของกิ่งก็ได ตั้งแตเริ่มเห็นชอดอกดวยตาเปลาจนกานชอดอกพัฒนาจนยาว<br />

เต็มที่ใชเวลาประมาณ 45-50 วัน ขึ้นกับพันธุและสภาพแวดลอมโดยเฉพาะอุณหภูมิ โดยชวงที่มีอากาศหนาว<br />

เย็นชอดอกจะพัฒนาชากวาชวงที่มีอุณหภูมิอุนหรือสูงขื้น ชอดอกของลําไยเปนแบบ compound dichasia ที่


จัดเรียงดอกแบบ panicle กลาวคือ แตกกานดอกแขนงออกไปจากกานที่หนึ่งและแตละกานยอยนั้นแตก<br />

แขนงตออีกครั้ง ชอดอกยาว 15 –50 เซนติเมตร ในแตละชอดอกมีทั้งดอกสมบูรณเพศและดอกไมสมบูรณ<br />

เพศ แตละชอดอกมีดอกประมาณ 3,000 ดอกขึ้นกับพันธุและสภาพแวดลอม<br />

ดอก<br />

ดอกมีสีครีมและเสนผาศูนยกลาง 6-8 มิลลิเมตร กานดอกยาว 1-2 มิลลิเมตร กลีบดอกมี 5 กลีบบาง<br />

เรียวเล็ก สีขาวหมนและเรียงตัวเยื้องกัน กลีบรองดอกมี 5 กลีบเชนกัน สีเขียวปนน้ําตาล หนาและแข็ง ขนาด<br />

กวางกวากลีบดอก 3-5 เทา ที่ฐานของกลีบรองดอกมีตอมน้ําหวาน ดอกลําไยแบงออกได 3 ชนิดคือ<br />

1. ดอกตัวผู (staminate flower) มีเกสรตัวผู 6-8 อัน เรียงเปนชั้นเดียวอยูบนจานรองดอกที่มีสี<br />

น้ําตาลออนและมีลักษณะอุมน้ํา กานเกสรตัวผู (filament) มีขน สีขาวขุน ยาวประมาณ 3 มิลลิเมตร อับเกสร<br />

ตัวผู (anther) มีสีเหลืองออน กวางประมาณ 1 มิลลิเมตร ยาวประมาณ 1.5 มิลลิเมตร มี 2 หยักและปริแตก<br />

ตามยาวปลดปลอยละอองเกสรตัวผู (pollen grain) ออกมาในชวงบาย ละอองเกสรตัวผูที่แตกออกมานั้นมีสี<br />

เหลืองออน รูปยาวรี เปลี่ยนเปนรูปสามเหลี่ยมหรือกลมรีเมื่อเพาะเลี้ยงในอาหารเหลวหรืองอกบนยอดเกสร<br />

ตัวเมีย ละอองเกสรตัวผูมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 27-30 µm มี 3 ขั้ว แตทอละอองเกสรตัวผูมักงอกมาจาก<br />

ขั้วเดียวเทานั้น<br />

2. ดอกกระเทยที่ทําหนาที่เปนดอกตัวเมีย หรือดอกตัวเมีย (pistillate flower) เปนดอกที่เกสรตัวเมีย<br />

พัฒนาจนสมบูรณและเห็นไดชัด ประกอบดวยรังไขที่มีขนปกคลุม มีเสนผาศูนยกลาง 2-2.5 มิลลิเมตร ตั้งอยู<br />

ตรงกลางของจานรองดอก รังไขมี 2 พู (bicarpellate) และแตละพูมีไข (ovule) จํานวน 1 ใบ แตเพียงพูเดียว<br />

เทานั้นที่พัฒนาตอไปเปนผลลําไย สวนอีกพูหนึ่งจะคอยๆ แหงฝอและรวงหลนไป แตบางครั้งอาจพบไขใน<br />

ทั้ง 2 พูพัฒนาเปนผลได กานเกสรตัวเมีย (style) ยาว 4-5 มิลลิเมตร ปลายยอดเกสรตัวเมีย (stigma) แยกเปน<br />

2 แฉก และมีน้ําหวานที่จานรองดอกเมื่อดอกบานเต็มที่หรือพรอมรับละอองเกสร ซึ่งมักจะเปนในชวงเชาตรู<br />

ในดอกชนิดนี้ยังมีเกสรตัวผูที่มีกานเกสรสั้นๆ จํานวน 6-8 อัน ลอมรอบรังไข แตอับเกสรตัวผูมักเปนหมัน<br />

คือไมปริแตกหรือไมมีละอองเกสรตัวผูและคอยๆ แหงตายหลังจากดอกบาน<br />

3. ดอกกระเทยที่ทําหนาที่เปนดอกตัวผู (hermaphrodite flower) มีลักษณะคลายคลึงกับดอก<br />

กระเทยที่ทําหนาที่เปนดอกตัวเมียมาก แตดอกชนิดนี้มีอับเกสรตัวผูที่ไมเปนหมันและผลิตละอองเกสรตัวผู<br />

ที่สมบูรณเชนเดียวกับดอกตัวผู มักไมคอยพบดอกชนิดนี้ในสภาพธรรมชาติ<br />

โดยทั่วไปชอดอกมักมีจํานวนดอกตัวผูมากกวาดอกตัวเมีย แตสัดสวนของเพศดอกทั้งสองชนิดนี้<br />

ผันแปรมากระหวางชอดอก ในตนเดียวกันหรือตางตนกัน นอกจากนี้สัดสวนเพศดอกยังแตกตางกันตาม<br />

พันธุและสภาพแวดลอม เชน อุณหภูมิหรือความชื้น การบานของดอกตัวผูและดอกตัวเมียในชอดอกเดียวกัน<br />

ก็ไมพรอมกัน ลําดับการบานของดอกอาจเปนดอกตัวผูเริ่มบานกอนและตามดวยดอกตัวเมียหรือดอกตัวเมีย<br />

เริ่มบานกอนและดอกตัวผูบานตอมา โดยจะมีชวงเวลาที่ดอกทั้งสองชนิดนี้บานเลื่อมกันอยู สําหรับปจจัยที่<br />

ควบคุมรูปแบบการบานของดอกลําไยแตละชนิดนั้นยังไมสามารถระบุไดชัดเจน


ผล<br />

ผลลําไยเปนผลเดี่ยว จากเริ่มติดผลจนเก็บเกี่ยวผลไดใชเวลาพัฒนาประมาณ 4-6 เดือนขึ้นกับพันธุ<br />

และสภาพแวดลอม เชนหากมีอุณหภูมิต่ําจะทําใหอัตราการพัฒนาของผลต่ํา เปนตน ผลลําไยมีรูปราง<br />

คอนขางกลมหรือกลมแปน ขนาดของผลแตกตางกัน เปลือกผลเจริญมาจากผนังรังไขและเริ่มพัฒนาไป<br />

พรอมๆกับเมล็ด ตอมาเมล็ดหยุดการพัฒนาแตเปลือกผลยังมีการพัฒนาตอตอจนเก็บเกี่ยวผลได เปลือกผลสี<br />

เหลืองปนน้ําตาลหรือน้ําตาลแดง แตบางพันธุเชน เบี้ยวเขียวอาจมีสีเขียวปน เปลือกผลอาจเปนตุมหรือ<br />

คอนขางเรียบ เนื้อของลําไย (aril) พัฒนามาจากเนื้อเยื่อรอบๆ กานของเมล็ด (funiculus) ขึ้นมาโอบจนรอบ<br />

เมล็ด เนื้อลําไยสีขาวขุนหรือสีชมพูเรื่อๆแตกตางกันตามพันธุ<br />

เมล็ด<br />

ลักษณะกลมหรือกลมแบน เปลือกเมล็ดสีน้ําตาลเขมหรือสีดํา เปนมัน สวนที่ติดกับขั้วเมล็ดมี<br />

วงกลมสีขาว ทําใหดูคลายกับลูกนัยนตาและเปนที่มาของคําวา ตามังกร ขนาดเมล็ดตางกันตามพันธุ<br />

ลักษณะประจําพันธุ<br />

พันธุลําไยในประเทศไทยมีลักษณะตางๆที่ความแตกตางกัน ลักษณะที่อาจใชในการจําแนกพันธุ<br />

ลําไยไดแก ขนาดและสีของใบ ลักษณะรูปรางของผล และสีเนื้อ (ตารางที่ 11) โดยพันธุลําไยที่ปลูกกัน<br />

ไดแก<br />

ดอหรืออีดอ<br />

เปนพันธุที่เจริญเติบโตไดดี ทนแลงและทนน้ําไดดีปานกลาง ทรงพุมกวางพอสมควร ลําตนแข็งแรง<br />

กิ่งไมฉีกหักงาย เปลือกลําตนสีน้ําตาลปนแดง เปนลําไยพันธุเบาที่ออกดอกและเก็บเกี่ยวไดกอนพันธุอื่น<br />

กลาวคือ ออกดอกธันวาคมและเก็บเกี่ยวไดปลายมิถุนายนหรือกรกฎาคม เนื่องจากเก็บเกี่ยวเร็วและจําหนาย<br />

ไดทั้งผลสดและแปรรูปเปนลําไยกระปองและลําไยอบแหง ทําใหจําหนายไดราคาดีและชาวสวนนิยมปลูก<br />

มากที่สุด ใบยอยมี 3-4 คูใบ ใบแกสีเขียวเข็ม ปลายใบคอนขางแหลม ขนาดผลกวางประมาณ 2.7 เซนติเมตร<br />

เนื้อสีวุนและคอนขางเหนียว รสหวานปานกลาง ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 20 บริกซ เมล็ดคอนขาง<br />

ใหญและแบนเล็กนอย ผลผลิตเฉลี่ยของเกษตรกร 793 กิโลกรัม/ไร (16 ตน/ไร) ลําไยพันธุดอสามารถแบง<br />

ตามสีของยอดออนได 2 ชนิด คือ<br />

- ดอยอดแดง เจริญเติบโตเร็ว ใบออนมีสีแดง ใบยอยกวาง 6 เซนติเมตรและยาว 20 เซนติเมตร ขอบ<br />

ใบเปนคลื่นและหอลงเล็กนอย ออกดอกติดผลไมคอยดี ผลกลม เปลือกผลสีน้ําตาลแก<br />

- ดอยอดเขียว ใบออนเปนสีเขียวออน ขนาดใบเล็กกวาดอยอดแดงเล็กนอย ขอบใบเปนคลื่นเล็กนอย<br />

ออกดอกติดผลคอนขางงาย ผลขนาดปานกลาง ลักษณะเบี้ยวและยกบาขางเดียว เปลือกผลมีสีเขียวปน


น้ําตาล สามารถแบงตามลักษณะของกานผลได 2 ชนิดคือ ดอกานออนซึ่งมีเปลือกผลบางและดอกานแข็งซึ่ง<br />

เปลือกผลหนา<br />

ชมพูหรือสีชมพู<br />

ตนสูงโปรงและแตกกิ่งกานสาขาดีพอสมควร กิ่งเปราะหักงายและไมทนแลง เปลือกลําตนมีสี<br />

น้ําตาลออนเปลือกลําตนสีน้ําตาลออน ใบออนสีเขียวออน ใบแกสีเขียวซีด ใบแคบคอนขางยาว ปลายใบ<br />

แหลม ขอบใบเรียบ ใบรวมมีใบยอย 4-5 คู ทํามุมเกือบฉากกับกานใบรวม เปนลําไยพันธุกลางที่ออกดอก<br />

ปลายธันวาคมถึงตนมกราคมและเก็บเกี่ยวผลกลางกรกฎาคมถึงตนสิงหาคม ผลกลมแปนและเบี้ยวเล็กนอย<br />

ผลขนาดใหญปานกลางกวาง 2.8 เซนติเมตร เปลือกผลหนาสีน้ําตาลออนปนเขียว เนื้อหนาปานกลาง เนื้อ<br />

ลอนไมเละ สีชมพูเรื่อๆและยิ่งแกยิ่งสีเขมขึ้น รสหวานหอม ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 21-22 บริกซ<br />

เมล็ดสีน้ําตาลแกหรือดําเขม เมล็ดคอนขางเล็ก ผลผลิตเฉลี่ยของเกษตรกรประมาณ 1,000 กิโลกรัม/ไร<br />

น้ําหนักผลเฉลี่ย 8.9 กรัม น้ําหนักเปลือก 1.7 กรัม น้ําหนักเมล็ด 1.6 กรัม<br />

เบี้ยวเขียว<br />

ลําตนมีทรงพุมคอนขางกลม เจริญเติบโตดี แตมักออนแอตอโรคพุมไมกวาด ใบรวมประกอบดวย<br />

ใบยอย 4 คูใบ ใบยอยกวาง 5 เซนติเมตรและยาว 16 เซนติเมตร ใบแกสีเขียวเขม ปลายใบแหลม ขอบใบ<br />

เรียบและเปนคลื่นเล็กนอย มักออกดอกติดผลปเวนป เปนพันธุหนักที่ออกดอกปลายมกราคมและเก็บเกี่ยว<br />

กลางสิงหาคมหรือตนกันยายน ความยาวชอดอก 15-30 เซนติเมตร การติดผลในชอผลคอนขางหาง ผลมี<br />

ลักษณะกลมแปนและเบี้ยว ผลขนาดใหญกวาง 3.0 เซนติเมตร เมื่อผลแกเต็มที่เปลือกสีเขียวอมน้ําตาล<br />

เปลือกหนาและเนื้อหนา เนื้อสีขาวนวล แหงกรอบและลอน รสหวานแหลม กลิ่นหอม ปริมาณของแข็งที่<br />

ละลายน้ําได 22 บริกซ เมล็ดกลมสีดํา คอนขางเล็กเสนผาศูนยกลาง 1.2 เซนติเมตร ผลผลิตเฉลี่ยของ<br />

เกษตรกร 626 กิโลกรัม/ไร น้ําหนักผลเฉลี่ย 8.2 กรัม/ผล ลําไยพันธุเบี้ยวเขียวแบงได 2 ชนิดคือ<br />

-เบี้ยวเขียวกานแข็ง (เบี้ยวเขียวปาเสา) ติดผลไมดก แตผลขนาดใหญมาก ออนแอตอโรคพุมไม<br />

กวาด เกษตรกรไมนิยมปลูก<br />

-เบี้ยวเขียวกานออน (เบี้ยวเขียวเชียงใหม) ออกดอกและติดผลดี ผลขนาดใหญ<br />

แหวหรืออีแหว<br />

ทรงพุมกวาง เจริญเติบโตแตกกิ่งกานสาขาดี แตลําตนไมคอยแข็งแรง กิ่งเปราะหักงาย ทนแลงไดดี<br />

เปลือกลําตนเรียบสีน้ําตาลปนแดงเขียว ใบยอยจํานวน 3-4 คูใบ ใบแกสีเขียวเขม รูปรางใบหอก ปลายใบ<br />

เรียวแหลมและฐานใบแบบลิ่ม ขอบใบเรียบและเปนคลื่นเล็กนอย เปนลําไยพันธุหนักคือ ออกดอกปลาย<br />

มกราคมถึงกุมภาพันธ และเก็บเกี่ยวผลไดประมาณกลางถึงปลายสิงหาคม ความยาวชอดอก 15-30<br />

เซนติเมตร ผลกลมและเบี้ยว ขนาดผลเฉลี่ยกวาง 2.8 เซนติเมตร เปลือกผลหนาสีน้ําตาล มีกระสีคล้ํากระจาย


ทั่วผล เนื้อหนาสีขาวขุน แหงและกรอบ รสหวานหอม เมล็ดกลมแปนสีน้ําตาลดํา ขนาดคอนขางเล็ก ผลผลิต<br />

เฉลี่ย 848 กิโลกรัม/ไร ลําไยพันธุแหวแบงได 2 ชนิดคือ<br />

- แหวยอดเขียว ใบออนหรือยอดสีเขียวซีด ใบยาวใหญ ผลกลมเบี้ยว เปลือกผลสีน้ําตาลออน<br />

ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 19 บริกซ<br />

- แหวยอดแดง ใบออนหรือยอดสีเขียวปนแดง ใบกวางและยาวกวาพันธุอื่น ออกดอกและติดผลงาย<br />

กวาแหวยอดเขียว เปลือกผลสีน้ําตาล ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 22 บริกซ<br />

เพชรสาคร<br />

ใบออนสีเขียวปนแดง จํานวนใบยอย 3-4 คู ใบยอยกวาง 4 เซนติเมตรและยาว 12 เซนติเมตร<br />

ใบแกสีเขียวปนเหลือง รูปรางรีเล็ก ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลมและฐานใบลิ่ม ใบเปนมัน จัดวาเปน<br />

ลําไยทวายที่ออกดอกมากกวาหนึ่งครั้งตอป ออกดอกรุนแรกประมาณธันวาคม-กรกฏาคมและเก็บเกี่ยวได<br />

ประมาณพฤษภาคม-มิถุนายน รุนที่สองประมาณกรกฎาคม-สิงหาคมและเก็บผลไดประมาณธันวาคม-<br />

มกราคม ชอดอกกวาง 18 เซนติเมตรและยาว 30 เซนติเมตร จํานวนผลตอชอนอยกวา 10 ผล/ชอ ผล<br />

กลมกวาง 2.7 เซนติเมตร เปลือกบาง สีน้ําตาลปนแดง เนื้อนิ่มสีขาวฉ่ําน้ํา รสหวาน ปริมาณของแข็งที่<br />

ละลายน้ําได 18-20บริกซ เมล็ดกลมแปนสีดําเปนมัน กวาง 1.3 เซนติเมตร<br />

พวงทอง<br />

ตนมีทรงพุมขนาดกลาง ใบออนสีเขียวปนเหลือง ใบรวมมี 4 คูใบยอย ใบยอยกวาง 5 เซนติเมตร<br />

และยาว 15 เซนติเมตร ขอบใบและแผนใบเรียบ ใบรูปหอกกลับ ปลายใบเรียวแหลมและฐานใบลิ่ม ใบเปน<br />

มัน ออกดอกปานกลาง ชอดอกขนาดใหญ กวาง 14 เซนติเมตรและยาว 23 เซนติเมตร จํานวนผลในชอผล<br />

10-25 ผลและติดผลคอนขางแนน ผลกลมแปนกวาง 2.8 เซนติเมตร เปลือกผลเรียบสีน้ําตาลปนเหลือง เนื้อ<br />

หนา แนน แหง สีขาวขุน รสหวาน ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 22 บริกซ เมล็ดกลมสีดํา เปนมันกวาง<br />

ประมาณ 1.2 เซนติเมตร<br />

เวียดนามหรือกระทุมแบน<br />

เปนลําไยพันธุทวายที่นําพันธุมาจากประเทศเวียดนาม ลําตนมีทรงพุมมีขนาดเล็ก มีขอปลองถี่ ลํา<br />

ตนแข็งแรง เปลือกลําตนเรียบสีขาวนวลปนน้ําตาล มีใบยอย 5 คู ใบออนสีเขียวปนเหลือง ใบแกสีเขียวซีด<br />

ใบรีคอนขางกวาง ขอบใบเรียบ ผิวใบเรียบไมบิดเปนคลื่น ออกดอกงายและออกดอกดกมาก มักไมเปนฤดู<br />

และมากกวา 1 ครั้งตอป ชอดอกกวาง 15 เซนติเมตรและยาว 30 เซนติเมตร เปนพันธุเบา ซึ่งจากดอกบานถึง<br />

เก็บเกี่ยวผลใชเวลา 4-4.5 เดือน ติดผลดก ผลในชอมีขนาดคอนขางสม่ําเสมอ ผลขนาดคอนขางใหญ กลม<br />

และปลายผลปานกลม เปลือกผลเรียบสีน้ําตาลปนเหลือง เนื้อสีเหลืองน้ําผึ้งและแหง ปริมาณของแข็งที่<br />

ละลายน้ําได 20-24บริกซ เมล็ดสีน้ําตาลดํา กลมแปน เสนผาศูนยกลางเมล็ดประมาณ 1.5 เซนติเมตร


ใบดําหรือกะโหลกใบดํา<br />

เปนพันธุที่ออกดอกติดผลสม่ําเสมอเกือบทุกป การเจริญเติบโตดี ทนแลงและทนน้ําไดดี แตขนาด<br />

ผลเล็กกวาพันธุอื่น เปลือกลําตนเรียบ ใบออนสีเขียวปนเหลือง ใบยอยจํานวน 5 คู ใบยอยกวาง 5 เซนติเมตร<br />

และยาว 15 เซนติเมตร ใบแกสีเขียวคล้ํากวาพันธุอื่น ขอบใบเปนคลื่น ปลายใบเรียวแหลมและฐานใบลิ่ม ใบ<br />

รูปรางหอกกลับ บางเปนมัน ชอดอกกวาง 14 เซนติเมตรและยาว 23 เซนติเมตร จํานวนผลในชอผล 10-25<br />

ผล เปนพันธุกลางคือออกดอกปลายธันวาคมและเก็บเกี่ยวผลไดกลางกรกฎาคมถึงตนสิงหาคม ผลคอนขาง<br />

กลม ขนาดผลกวาง 2.8 เซนติเมตร เปลือกหนาทําใหทนทานตอการขนสง ผิวขรุขระสีน้ําตาลปนเขียว เนื้อสี<br />

ขาวขุนและแฉะน้ํา รสหวาน ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 20 บริกซ เมล็ดกลมดําเปนมัน<br />

แดงหรืออีแดง<br />

การเจริญเติบโตปานกลาง ตนมีทรงพุมกวางพอสมควร กิ่งเปราะหักงาย ไมทนแลงหรือน้ําทวม<br />

เปลือกลําตนมีสีน้ําตาลเขม ใบออนสีเขียวปนเหลือง จํานวนคูใบยอย 3-4 คู ใบยอยกวาง 5 เซนติเมตรและ<br />

ยาว 13 เซนติเมตร ใบแกสีเขียวปนเหลือง ใบเรียบ ขอบใบเรียบ ปลายใบเรียวแหลมและฐานใบแบบลิ่ม<br />

ออกดอกและติดผลคอนขางสม่ําเสมอทุกป ชอดอกกวาง 22 เซนติเมตรและยาว 31 เซนติเมตร เปนลําไย<br />

พันธุกลางที่ออกดอกธันวาคมและเก็บเกี่ยวไดกลางกรกฎาคมถึงตนสิงหาคม ผลกลมขนาดใหญปานกลาง<br />

กวาง 2.6 เซนติเมตร เปลือกผลเรียบสีน้ําตาลปนแดง เนื้อหนาปานกลาง สีขาวครีม เนื้อเหนียวและแฉะน้ํา<br />

ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 17บริกซ มีกลิ่นคาวคลายกํามะถัน เมล็ดปอมคอนขางใหญ<br />

เหลืองหรืออีเหลือง<br />

เปนลําไยกลุมกะโหลก ตนมีทรงพุมคอนขางกลม ใบยอยกวาง 5.8 เซนติเมตรและยาว 19.6<br />

เซนติเมตร ใบดานบนมีสีเขียวเขมแตดานลางมีสีเขียวออนกวา ปลายใบแหลม ขอบใบเรียบและเปนคลื่น<br />

เล็กนอย ออกดอกติดผลดี ผลคอนขางกลม ขนาดผลกวาง 2.3 เซนติเมตร เปลือกผลมีสีน้ําตาลอมเหลือง<br />

เนื้อสีขาวขุน หวานปานกลาง ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําไดประมาณ 15 บริกซ เมล็ดกลมมี<br />

เสนผาศูนยกลาง 1.4 เซนติเมตร<br />

สายน้ําผึ้ง<br />

มีทรงพุมขนาดกลาง ใบออนสีเหลืองปนน้ําตาล ใบยอย 4 คูใบ ใบยอยกวาง 4.4 เซนติเมตร และยาว<br />

11.6 เซนติเมตร ใบแกสีเขียวเขม รูปรางรีคอนขางใหญ แผนใบยน ขอบใบเรียบ ปลายใบมนและฐานใบลิ่ม<br />

เปอรเซ็นตออกดอกปานกลาง จํานวนผลตอชอ 10-25 ผล ผลกลม เปลือกผลเรียบ สีน้ําตาลปนเหลือง เนื้อ<br />

ขาวปนเหลือง เนื้อแนนกรอบ รสหวานหอม เมล็ดกลมขนาดเล็ก


ปูมาตีนโกง<br />

เปลือกลําตนเรียบ ใบออนสีเขียวปนเหลือง ใบยอยจํานวน 4 คู ใบยอยกวาง 4 เซนติเมตร และยาว<br />

13 เซนติเมตร ใบแกสีเขียว แผนใบเรียบและขอบใบเรียบ เปอรเซ็นตออกดอกปานกลาง ชอดอกกวาง 13<br />

เซนติเมตรและยาว 22 เซนติเมตร ผลกลมแปนขนาดใหญ เปลือกผลเรียบสีน้ําตาลปนแดง เนื้อสีขาวขุนปน<br />

เหลือง เนื้อแหงและแนน รสหวานหอม เมล็ดกลมและแบนดางขาง สีน้ําตาลดํา เปนพันธุที่ออนแอตอโรค<br />

พุมไมกวาด<br />

ลําไยเถา<br />

มีทรงพุมขนาดเล็ก เปลือกลําตนเรียบ ใบออนสีเหลืองปนน้ําตาล ใบแกเปนมันและสีเขียวเขียวปน<br />

เหลือง แผนใบยน ขอบใบเปนคลื่น ปลายใบเรียวแหลม ฐานใบลิ่ม จํานวนผลในชอผลนอยกวา 10 ผล ชอ<br />

ผลกวาง 20 เซนติเมตรและยาว 27 เซนติเมตร ผลกลมกวาง 2.8 เซนติเมตร เปลือกผลเรียบ สีน้ําตาลปนเขียว<br />

เนื้อสีขาวขุนปนเหลือง เนื้อนิ่มและฉ่ําน้ํา ปริมาณของแข็งที่ละลายน้ําได 20-24บริกซ เมล็ดกลมสีน้ําตาลดํา<br />

ลําไยกระดูก<br />

เปนลําไยพื้นเมือง มีทรงพุมขนาดใหญ เปลือกลําตนเรียบ ใบรวมมักมี 4 คูใบ ใบแกสีเขียวเขม แผน<br />

ใบและขอบใบเรียบ ออกดอกปลายธันวาคมถึงตนมกราคม เก็บเกี่ยวไดประมาณกลางกรกฎาคมถึงตน<br />

สิงหาคม ผลเล็กกลม เปลือกหนาขรุขระสีน้ําตาลปนเหลือง เนื้อบางสีขาวขุน เนื้อฉ่ําน้ํา รสหวาน ปริมาณ<br />

ของแข็งที่ละลายน้ําได 19บริกซ เมล็ดใหญสีน้ําตาลดํา<br />

ดอเบอร 13<br />

เปนตนลําไยพันธุดอที่กรมวิชาการเกษตรคัดเลือกจากสวนเกษตรกรในจังหวัดเชียงใหม ลําพูน<br />

เชียงรายและพะเยา โดยคัดเลือกตนที่ออกดอกติดผลสม่ําเสมอติดตอกันอยางนอย 3 ป ผลมีขนาดใหญ เนื้อ<br />

หนาและรสชาติดี ตนพันธุนี้มีใบออนสีเขียวปนแดง ใบแกสีเขียวเขม ขอบใบเรียบเปนคลื่น รูปรางใบรี<br />

ปลายใบมนและฐานใบลิ่ม จํานวนคูใบยอย 3 คู ออกดอกดก ชอดอกกวาง 16 เซนติเมตรและยาว 23<br />

เซนติเมตร ติดผลดกคือ 25-50 ผล/ชอผล ผลกลมแปน ขนาดผลในชอคอนขางสม่ําเสมอ รูปรางรีคอนขาง<br />

กวาง เปลือกผลเรียบสีน้ําตาลปนเหลือง เนื้อสีขาวขุน นิ่มและฉ่ําน้ําปานกลาง รสหวานหอม ปริมาณ<br />

ของแข็งที่ละลายน้ําไดประมาณ 21 บริกซ เมล็ดแบนดานขางสีน้ําตาลดํา เสนผาศูนยกลาง 1.4 เซนติเมตร


ตารางที่ 11 ชวงเวลาการออกดอก การเก็บเกี่ยวผล และคุณสมบัติพิเศษของลําไยบางพันธุ<br />

พันธุ การออกดอก การเก็บเกี่ยวผล คุณสมบัติพิเศษ<br />

ดอ ปลายธ.ค.-ม.ค. ปลายมิ.ย.-ก.ค. เก็บผลไดกอนพันธุอื่น<br />

สีชมพู ปลายธ.ค.-ม.ค. ปลายก.ค.-ส.ค. เนื้อมีสีชมพูเรื่อๆ รสชาติดี<br />

เบี้ยวเขียว<br />

ปลายม.ค.-ตน ก.พ. กลางส.ค.-ตนก.ย. เก็บหลังพันธุอื่น<br />

เปลือกสีเขียว รสชาติดีมาก<br />

แหว ปลายม.ค.-ตน ก.พ. กลางส.ค.-ตนก.ย. เนื้อแนน กรอบ รสชาติดี<br />

ใบดํา<br />

ปลายธ.ค.-กลางม.ค. ปลายส.ค.-ตนก.ย. ทนแลงและทนน้ํา<br />

ออกดอกสม่ําเสมอทุกป<br />

อีแดงกลม กลางม.ค.-ปลายม.ค. ตนส.ค.-ปลายส.ค. เก็บไวบนตนไดนานกวาพันธุอื่น<br />

เพชรสาคร<br />

ธ.ค.-ม.ค.(ในฤดู)<br />

ก.ค.-ส.ค.(นอกฤดู)<br />

ปลายก.ค.-ส.ค.<br />

ปลายธ.ค.-ม.ค.<br />

ออกดอกทวาย<br />

และมากกวาหนึ่งครั้งตอป


่<br />

24<br />

การปลูกและดูแลรักษา<br />

นิพัฒน สุขวิบูลย<br />

นันทรัตน ศุภกําเนิด<br />

การเลือกพื้นที่ปลูก<br />

พื้นที่ปลูกลําไยที่เหมาะสมควรมีความสูงจากระดับน้ําทะเลไมเกิน 1000 เมตร เปนที่ราบหรือมี<br />

ความลาดเอียงไมเกิน 15% ลําไยขึ้นไดในดินแทบทุกชนิดแตดินที่เหมาะสมที่สุดคือ ดินรวนปนทรายและ<br />

ดินตะกอนที่มีความอุดมสมบูรณสูงถึงปานกลาง ดินควรมีการระบายน้ําดี จึงควรเปนที่ดอนหรือเนิน<br />

เล็กนอยเพราะจะชวยใหระบายน้ําไดดีกวาพื้นที่ลุม พื้นที่ควรมีหนาดินลึกอยางนอย 50 เซนติเมตร ดินควร<br />

เปนกลางหรือเปนกรดเล็กนอย ความเปนกรดของดินมีความสําคัญตอการละลายธาตุอาหารตางๆที่มีอยูใน<br />

ดิน มีความเปนกรด-ดางประมาณ 5.5-6.5 น้ําเปนสิ่งที่จําเปนในการปลูกลําไยโดยเฉพาะชวงตนเล็กหลัง<br />

ปลูกใหมและชวงที่ลําไยติดผลแลว ดังนั้นพื้นที่ปลูกที่ไมมีระบบชลประทานจึงควรมีปริมาณน้ําฝน 1000-<br />

2000 มิลลิเมตรตอป ถามีฝนตกนอยกวา 1000-1200 มิลลิเมตรตอป จําเปนตองมีการใหน้ําชวยมากกวาปกติ<br />

ควรมีการกระจายตัวของฝนคอนขางดีคือ ประมาณ 100-150 วันตอป ลําไยสามารถเจริญเติบโตไดดีในชวง<br />

อุณหภูมิ 20-30 o ซ แตตองการอุณหภูมิต่ํา 10-15 o ซ ในเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมกราคมเพื่อกระตุนใหออก<br />

ดอก อยางไรก็ตามในชวงที่ดอกบานและเริ่มติดผลแลวควรมีอากาศที่อุนขึ้น แตไมควรเกิน 40 o ซ เพราะ<br />

อาจทําใหผลลําไยแตก เนื่องจากลําไยเปนไมผลที่ตองการแสงแดดเต็มที่ในการเจริญเติบโต ออกดอกและติด<br />

ผล พื้นที่ปลูกจึงควรเปนพื้นที่โลงแจง<br />

การเตรียมพื้นที่และการปลูก<br />

เมื่อเลือกพื้นที่ปลูกที่เหมาะสมไดแลวก็เปนการเตรียมพื้นที่ พื้นที่ปลูกในที่ลุมที่มีระดับน้ําใตดินสูง<br />

และมีน้ําทวมขังเปนครั้งคราว ควรมีการขุดรองนําดินมาถมเปนแปลง ขนาดของแปลงนั้นขึ้นกับระยะปลูกที<br />

ใชและขนาดของพื้นที่ปลูก เมื่อทําแปลงแลวก็ควรทิ้งเวลาใหดินยุบตัวกอนปลูกลําไย สําหรับการเตรียม<br />

พื้นที่ปลูกในที่เนินหรือดอน ก็คงเริ่มตนจากการเอาตอไมออก ปรับพื้นที่ใหราบเรียบตามสมควรและ<br />

วางแผนเกี่ยวกับแหลงน้ําที่จะใชในการผลิตลําไย<br />

ระยะปลูกลําไยที่เหมาะสมขึ้นกับความสมบูรณของดิน พันธุ และการจัดการสวนเชน การตัดแตง<br />

กิ่งเพื่อควบคุมทรงพุม ควรปลูกลําไยใหมีระยะปลูกเหมาะสมและไมชิดเกินไป เพราะจะทําใหทรงพุมชน<br />

กัน ไมสะดวกในการปฎิบัติงาน บริเวณนั้นไมออกดอกติดผลและเปนแหลงสะสมของโรค-แมลงอีกดวย<br />

โดยทั่วไปแลวระยะปลูกที่ใชสําหรับพื้นที่ลุมจะชิดกวาระยะปลูกในที่ดอน ระยะปลูกลําไยที่แนะนําคือ<br />

ระยะปลูก 8x8 10x10 หรือ 12x12 เมตร ขนาดหลุมปลูกที่ชาวสวนเตรียมไวมีตั้งแตขนาด 50x50x50<br />

เซนติเมตรจนถึงขนาด 100x100x100 เซนติเมตร ขึ้นกับสภาพและความสมบูรณของดิน เชนดินดี ดินรวน


ซุย มีอินทรียวัตถุสูงอาจขุดหลุมขนาดเล็กได เมื่อขุดหลุมควรแยกดินขั้นบนและดินชั้นลาง เมื่อผสมดินปลูก<br />

ก็ใชดินชั้นบนผสมปุยคอกหรือปุยหมักกับรอกฟอสเฟตหรือกระดูกปนอัตรา 100 กรัมตอหลุม<br />

ชวงเวลาที่เหมาะสมสําหรับการปลูกลําไยคือ ตนหรือกลางฤดูฝน เพราะตนที่ปลูกใหมจะไดน้ําฝน<br />

อยางสม่ําเสมอและเพียงพอในชวงฤดูฝน สวนการปลูกในที่เปนรองแปลงทําไดทั้งปเพราะมีน้ําใหตนที่ปลูก<br />

อยางเพียงพอ กอนปลูกควรคลี่รากที่มวนพันใหแผกระจายโดยรอบตนและระมัดระวังไมใหรากบอบช้ําและ<br />

รากขาด วางตนใหอยูตรงกลางหลุมและโคนตนอยูในระดับปากหลุม จากนั้นจึงกลบดวยดินชั้นลางใหสูง<br />

กวาปากหลุมเล็กนอย เพื่อปองกันดินหยุบตัวและมีน้ําขังบริเวณโคนตนหลังปลูก กลบดินใหแนน ควรใชไม<br />

หลักปกยึดลําตนไมใหโยกคลอนเมื่อมีลมพัดแรงจัด รดน้ําใหชุมและอาจใชวัสดุคลุมดินเชน หญาแหงหรือ<br />

เศษวัสดุคลุมดิน ในแหลงปลูกที่มีน้ําไมเพียงพอและมีลมพัดแรง ควรทํารมเงาหลังปลูกใหม โดยอาจใชฟาง<br />

ขาว ทางมะพราว หญาคาหรือตาขายพรางแสงเปนแผงบังรมในทิศตะวันออกและทิศตะวันตก<br />

การใหน้ํา<br />

น้ําเปนปจจัยสําคัญในการผลิตลําไยเนื่องจากน้ํามีผลโดยตรงตอการเจริญเติบโต การออกดอกติดผล<br />

การพัฒนาและคุณภาพของผลลําไย แตความตองการน้ําจะแตกตางขึ้นกับระยะการเจริญเติบโตและการ<br />

พัฒนาของผลลําไย การใหน้ําตองสม่ําเสมอและเพียงพอตอความตองการของลําไย วิธีใหน้ําที่นิยมปฎิบัติ<br />

ไดแก การปลอยน้ําตามรองหรือปลอยใหไหลไปบนผิวดิน ทําใหสิ้นเปลืองน้ําและตนลําไยไดรับน้ําไม<br />

สม่ําเสมอ สวนควรมีพื้นที่ราบเรียบและมีความลาดเอียงนอย มีแหลงน้ําอยูใกลและมีเพียงพอ การใชสายยาง<br />

รดน้ําเปนการลงทุนที่ต่ํา แตก็ตองสิ้นเปลืองแรงงานและตองมีแหลงน้ําเพียงพอ การใชหัวเหวี ่ยงหรือสปริง<br />

เกอรเปนวิธีใหน้ําที่มีประสิทธิภาพ ประหยัดเวลาและแรงงานในการใหน้ํา จึงเหมาะสําหรับสวนลําไยที่มี<br />

แหลงน้ําจํากัด ใชแรงงานนอย แตมีการดูแลรักษาสูง สําหรับการใหแบบน้ําหยดมีการลงทุนในการวาง<br />

ระบบการใหน้ําคอนขางสูง แตก็เปนวิธีที่ประหยัดน้ํามากที่สุดและสามารถใหสารละลายปุยในระบบน้ําได<br />

ดวย จึงเหมาะสมสําหรับสวนที่มีปริมาณน้ําจํากัดหรือขาดแคลนน้ํา ถือวาเปนวิธีใหน้ําอยางมีประสิทธิภาพ<br />

และกําลังเปนที่นิยมของเกษตรกร ดังนั้นการเลือกวิธีใหน้ํานั้นก็ขึ้นกับความเหมาะสมของพื้นที่ แหลงน้ํา<br />

และเงินลงทุน<br />

1. ลําไยตนเล็กอายุ 1-3 ป<br />

การใหน้ําสําหรับตนลําไยที่ยังมีอายุนอยนี้สามารถเลือกวิธีการไดตามความเหมาะสม ในชวงฤดู<br />

ฝนมักจะไมมีการใหน้ํา ยกเวนฝนทิ้งชวงเปนเวลานาน ในชวงฤดูแลงควรมีการใหน้ําอยางสม่ําเสมอ 7-10<br />

วันตอครั้งถามีหาแหลงน้ําไดสะดวกและไมขาดแคลน สําหรับปริมาณการใหน้ํานั้นก็ 20-60 ลิตรตอตน<br />

ขึ้นกับขนาดทรงพุม การขาดน้ําเปนเวลานานในชวงฤดูแลงอาจทําใหการเจริญเติบโตชะงักหรือตนตายได<br />

2. ลําไยอายุมากกวา 3 ปหรือออกดอกติดผลแลว<br />

การใหน้ําสําหรับลําไยที่ออกดอกติดผลแลวนั้น แบงออกเปน 2 ชวงคือ<br />

25


(1) ชวงการเจริญทางกิ่งใบ ในชวงนี้จะเปนชวงฤดูฝน แตถาฝนทิ้งชวงก็จําเปนตองมีการใหน้ํา<br />

เชนเดียวกันกับลําไยตนเล็ก<br />

(2) ชวงกอนออกดอกคือ เดือนตุลาคม-ธันวาคมซึ่งหมดฝนแลว แนะนําใหหยุดการใหน้ํา นอกจาก<br />

กวาดเศษวัสดุคลุมโคนออกไวนอกทรงพุม เพื่อใหดินภายใตทรงพุมแหง และชวยกระตุนใหลําไยออกดอก<br />

ไดเร็วขึ้น การใหน้ําจะเริ่มใหแตเพียงเล็กนอยเมื่อลําไยแทงชอดอกออกมาแลว จากนั้นจึงเพิ่มปริมาณขึ้น<br />

ตามลําดับ สําหรับปริมาณน้ําที่ใหจะขึ้นกับขนาดทรงพุมและสภาพภูมิอากาศ เชน ตนลําไยที่มี<br />

เสนผาศูนยกลางทรงพุมประมาณ 7 เมตร ควรใหน้ําครั้งละ 200-250 ลิตรตอตน<br />

การใหปุย<br />

ปุยคือ สารอินทรียหรืออนินทรียใดๆที่ใสในดินแลวใหธาตุอาหารแกพืช ซึ่งมี 2 ประเภทคือ ปุย<br />

อินทรียและปุยอนินทรีย ปุยอินทรียมีสารอินทรียที่ใหธาตุอาหารพืชเปนองคประกอบไดแก ปุยคอก ปุยพืช<br />

สดและปุยหมัก ปุยอินทรียเปนปุยที่ชวยปรับปรุงคุณสมบัติทางกายภาพของดินดวย สวนปุยอนินทรียไดแก<br />

ปุยเคมีที่ใหธาตุอาหารหลัก (ปุยไนโตรเจน ปุยฟอสฟอรัสและปุยโพแทสเซียม) ปุยเคมีที่ใหธาตุอาหารรอง<br />

(เชน ปูนโดโลไมท แคลเซียมไนเตรท แมกนีเซียมซัลเฟต) และปุยเคมีที่ใหจุลธาตุอาหาร (คอปเปอรซัลเฟต<br />

สังกะสีซัลเฟต และบอแรกซ) ปุยเคมีจะมีปริมาณของธาตุอาหารพืชสูงและสะดวกในการใชมากกวาปุย<br />

อินทรีย การเคลื่อนที่ของธาตุอาหารพืชแตละชนิดหลังใสปุยลงดินแลวนั้น จะแตกตางกัน ธาตุอาหารพืชที่<br />

เคลื่อนที่ได ไดแก ไนโตรเจนในรูปของไนเตรต กํามะถัน โซเดียมและคลอรีน ธาตุอาหารพืชที่เคลื่อนที่ได<br />

บาง ไดแก ไนโตรเจนในรูปของแอมโมเนียม โพแตสเซียม แคลเซียมและแมกนีเซียม สวนธาตุอาหารพืชที่<br />

เคลื่อนที่ไมได ไดแก ฟอสฟอรัส แมงกานีส เหล็ก ทองแดง สังกะสีและโมลิดีนั่ม ขอคํานึงในการใสปุยอยาง<br />

มีประสิทธิภาพไดแก เลือกชนิดปุยใหถูกตอง ใสในบริเวณที่พืชสามารถเอาไปใชไดงาย ใสในปริมาณที่<br />

เหมาะสมและเปนเวลาที่พืชตองการ<br />

โดยทั่วไปแลวการใหปุยทางดินมี 2 วิธีคือ แบบหวานรอบทรงพุม และแบบขุดรอบๆ ทรงพุมแลว<br />

ใหปุยในรองและกลบดิน การใหปุยแบบหวานรอบทรงพุมจะสะดวก รวดเร็วและประหยัดแรงงาน แตธาตุ<br />

อาหารพืชมักถูกชะลางไดงาย การใหปุยแบบขุดรอบทรงพุมจะขุดดินลึกประมาณ 10 เซนติเมตร โรยปุยใน<br />

รองและกลบดิน ภายหลังใหปุยแลวทุกครั้งตองมีการใหน้ําในปริมาณที่เหมะสม สําหรับการใหปุยทางใบ<br />

นั้นจะเปนการใหธาตุอาหารแกพืชทีละนอย จึงเหมาะสําหรับการใหจุลธาตุอาหารแกพืช เชน คอปเปอรหรือ<br />

สังกะสี<br />

ลักษณะการขาดธาตุอาหารแตละชนิดที่พืชแสดงออกจะแตกตางกัน ลักษณะอาการผิดปกติมัก<br />

ปรากฎใหเห็นที่ใบ แตถาขาดธาตุอาหารรุนแรงมากจะแสดงอาการที่ผล ดังนั้นการวิเคราะหปริมาณธาตุ<br />

อาหารในดินหรือในพืชจึงเปนวิธีการที่จะบอกวาพืชเริ่มขาดธาตุอาหารแลวหรือไม การวิเคราะหปริมาณ<br />

ธาตุอาหารในดินจะบงบอกวาดินที่ใชปลูกพืชอยูนั้นมีความอุดมสมบูรณเพียงใด ถาดินมีความสมบูรณต่ํา<br />

และไมมีการใหปุยเพิ่มเติม ก็มีแนวโนมวาพืชจะขาดธาตุอาหารบางชนิดได การวิเคราะหความเขมขนของ<br />

26


ธาตุอาหารในใบแลวเปรียบเทียบกับคามาตรฐานในใบลําไย (ตารางที่ 12) จะบอกไดวาตนลําไยนั้นๆ มี<br />

ความสมบูรณระดับใด สําหรับตัวอยางใบที่เก็บมาวิเคราะหนั้นจะเปนใบชุดที่ 1 ที่มีอายุ 45-50 วัน เก็บใบ<br />

รอบๆ ทรงพุมประมาณ 20 ใบ ใสถุงที่สะอาด ไมตากแดด และนําสงหองปฎิบัติการวิเคราะหธาตุอาหาร<br />

โดยเร็วที่สุด<br />

ตารางที่ 12 คาความเขมขนมาตรฐานของธาตุอาหารในใบลําไย<br />

27<br />

ธาตุอาหาร ยุทธนาและคณะ (2544) นันทรัตนและคณะ (2544)<br />

ไนโตรเจน 1.88-2.42 1.78-2.40<br />

ฟอสฟอรัส 0.12-0.22 0.11-0.19<br />

โพแทสเซียม 1.27-1.88 0.62-1.30<br />

แคลเซียม 0.88-2.16 0.45-2.35<br />

แมกนีเซียม 0.20-0.31 0.15-0.31<br />

เหล็ก 68-87 27-58<br />

แมงกานีส 47-81 17-103<br />

ทองแดง 16-19 6-12<br />

โบรอน 22-46 16-37<br />

สังกะสี 17-24 10-26<br />

จากการวิเคราะหธาตุอาหารในชอใบลําไยพันธุดอชุดที่ 1 หลังการแตกใบออนประมาณ 45 วัน<br />

พบวา สัดสวนของธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัสและโพแทสเซียมมีคาประมาณ 4:1:3 ดังนั้นในการใส<br />

ปุยใหลําไยนั้น เกษตรกรจึงควรใสปุยใหมีสัดสวนของธาตุอาหารใกลเคียงหรือเทากับ 4:1:3 การใชแมปุย<br />

จะทําใหเกษตรกรผสมปุยไดตามตองการและใชตนทุนต่ํา ยุทธนาและคณะ (2544) ไดคํานวณปุยสําหรับ<br />

ลําไยจากความสัมพันธของจํานวนยอดรอบทรงพุมกับขนาดทรงพุมและปริมาณธาตุอาหารที่ใชในการแตก<br />

ยอดออนแตละครั้ง ขอมูลในตารางที่ 13 เหมาะสมสําหรับดินที่มีธาตุอาหารหลักต่ํากวาระดับที่เหมาะสม<br />

ดังนั้นเกษตรกรควรวิเคราะหดินกอนและควรมีการใหจุลธาตุตางๆ ดวยการใสทางดินหรือการพนทางใบก็<br />

ได


28<br />

ตารางที่ 13 อัตราปุยโดยประมาณสําหรับการแตกใบออน 1 ครั้ง<br />

ขนาดทรงพุมลําไย<br />

อัตราปุย (กรัม)<br />

(เมตร) 46-0-0 0-46-0 0-0-60<br />

1 15.0 3.5 7.5<br />

2 30.0 7.0 15.0<br />

3 60.0 15.0 40.0<br />

4 115.0 30.0 75.0<br />

5 200.0 50.0 125.0<br />

6 320.0 80.0 200.0<br />

7 510.0 125.0 320.0<br />

ที่มา : ดัดแปลงจากยุทธนาและคณะ, 2544<br />

เมื่อลําไยออกดอกแลวเกษตรกรควรเริ่มใสปุย ผลจากการวิเคราะหปริมาณธาตุอาหารในสวนตางๆ<br />

ของผลลําไยเมื่อเก็บเกี่ยวดังแสดงในตารางที่ 14 ดังนั้นเกษตรกรจึงควรใหปุยทางดินในปริมาณที่ใกลเคียง<br />

กับความตองการของลําไยในระยะที่ผลกําลังพัฒนา ซึ่งไดคํานวณไวในตารางที่ 15 อยางไรก็ตามเกษตรกร<br />

ควรพนปุยทางใบเสริมการใหปุยทางดินเพื่อใหไดผลผลิตสูงและมีคุณภาพ<br />

ตารางที่ 14 ความตองการธาตุอาหารของผลลําไย (มิลลิกรัม/กิโลกรัม)<br />

ธาตุอาหาร เปลือก เนื้อ เมล็ด รวม<br />

ไนโตรเจน 732.6 1141.5 942.9 2817.0<br />

ฟอสฟอรัส 62.1 166.3 111.7 340.2<br />

โพแทสเซียม 413.5 2186.9 289.1 2889.4<br />

แคลเซียม 1224.6 111.9 138.5 1475.0<br />

แมกนีเซียม 171.1 73.0 74.3 318.4<br />

เหล็ก 113.0 167.9 152.8 433.8<br />

แมงกานีส 420.2 51.4 74.2 545.9<br />

ทองแดง 47.6 133.5 70.7 241.7<br />

โบรอน 184.5 185.6 161.5 531.7<br />

สังกะสี 113.1 137.4 123.4 373.9


29<br />

ตารางที่ 15 อัตราปุยโดยประมาณสําหรับการพัฒนาของผลลําไย<br />

ผลผลิต (กิโลกรัม) 46-0-0 0-46-0 0-0-60<br />

20 120 35 120<br />

50 300 85 290<br />

100 600 170 585<br />

200 1200 340 1170<br />

อยางไรก็ตามคําแนะนําทั่วไปสําหรับการใหปุยแกตนเล็กที่มีอายุ 1-3 ป ซึ่งมีวัตถุประสงคเพื่อทําให<br />

ลําไยมีการแตกใบออนใหมและเรงการเจริญเติบโตของตนนั้น มักจะเนนเพิ่มธาตุไนโตรเจนโดยใชปุย 15-<br />

15-15 ผสมกับ 46-0-0 สัดสวน 1:1 อัตรา 100-200 กรัมตอตน ใสจํานวน 2-3 ครั้งและเพิ่มปริมาณขึ้นเทาตัว<br />

ทุกป นอกจากนี้ยังควรใหปุยอินทรีย เชน มูลสัตว<br />

การคลุมดิน<br />

เปนการปองกันหรือลดการระเหยของน้ําจากดินในชวงฤดูแลงและยังชวยปองกันกําจัดวัชพืช<br />

บริเวณโคนตนลําไยขนาดเล็กอีกดวย การคลุมโคนยังชวยทําใหอุณหภูมิในดินไมสูงหรือต่ําจนเกินไป<br />

ในชวงกลางวันและกลางคืน วัสดุที่ใชคลุมโคนตนนั้นควรเปนวัสดุที่หาไดงายและมีราคาถูกเชน ฟางขาว<br />

หรือเศษหญา วัสดุดังกลาวเมื่อยอยสลายแลวก็ยังชวยปรับปรุงโครงสรางและเพิ่มความอุดมสมบูรณใหดิน<br />

อีกดวย<br />

การออกดอกติดผล<br />

1. ปจจัยที่เกี่ยวของกับการออกดอก<br />

ลําไยแตละพันธุออกดอกยากงายแตกตางกันเชน พันธุเพชรสาครออกดอกมากกวา 1 ครั้งหรือออก<br />

ดอกนอกฤดู สวนพันธุที่เกษตรกรปลูกในภาคเหนือที่ออกดอกงาย คือ พันธุดอ ตามดวยพันธุสีชมพู สวน<br />

พันธุที่ออกดอกยากไดแก พันธุแหวและเบี้ยวเขียว<br />

อุณหภูมิต่ําก็เปนอีกปจจัยที่มีผลตอการออกดอก โดยลําไยมักจะออกดอกที่ปลายยอดที่เจริญเติบโต<br />

เต็มที่ แตระดับของอุณหภูมิและชวงเวลานานที่ไดรับอุณหภูมิต่ําจะแตกตางกันตามพันธุ เชน พันธุดอ<br />

ตองการความหนาวเย็นนอยและชวงยาวนานสั้นกวาพันธุแหวหรือเบี้ยวเขียว<br />

ลําไยมักออกดอกหลังผานฤดูฝนไปแลวและเกษตรกรก็มักจะงดการใหน้ําทําใหตนเกิดเครียด ถา<br />

มีฝนตกในชวงที่ตาใบกําลังเปลี่ยนเปนตาดอก จะทําใหตนลําไยแตกใบออนอีกครั้งและใบแกเต็มที่ไมทัน<br />

ชวงฤดูหนาวและไมออกดอก


แสงแดดมีความสําคัญตอการสังเคราะหแสงและกระตุนใหเกิดตาดอก นอกจากนี้ก็ยังมี<br />

ความสัมพันธกับอุณหภูมิหรือความชื้นในอากาศอีกดวย มักจะพบวาตนลําไยที่มีทรงพุมแนนทึบหรือติดกัน<br />

มักจะไมออกดอกเมื่อเปรียบเทียบกับตนที่ตัดแตงกิ่งจนโปรง<br />

2. การผสมเกสรและการปฏิสนธิ<br />

การบานของดอกในชอดอกจะบานจากโคนชอดอกไปหาปลายชอดอก ดอกทั้ง 3 ชนิดนี้มักจะบาน<br />

ไมพรอมกัน บานเปนรุนๆหรือคาบเกี่ยวกันและรูปแบบก็ไมแนนอน แตสวนมากแลวดอกตัวผูจะเริ่มบาน<br />

กอนและใชเวลาประมาณ20-25 วัน จากนั้นดอกตัวเมียก็จะเริ่มบานและใชเวลาบานหมดภายใน 7-10 วัน<br />

ชวงเวลาที่ดอกบานทั้งหมดประมาณ 30-40 วันขึ้นกับจํานวนดอกแตละชนิด การปฎิบัติดูแลรักษาและ<br />

สภาพแวดลอม เมื่อมีทั้งดอกตัวผูและดอกตัวเมียการผสมเกสรตามธรรมชาติจึงตองผสมขามดอก แตอาจจะ<br />

เปนดอกที่อยูภายในตนเดียวกันหรือคนละตนก็ได การผสมเกสรของลําไยอาศัยแมลงเปนหลัก โดยแมลงที่<br />

พบมากไดแก ผึ้ง แมลงวันหัวเขียว ชันรงค และแมลงปกแข็งชนิดอื่นๆ เชน เตาทอง เปนตน แมลงเหลานี้จะ<br />

พบปริมาณมากในชวงสาย คือ 09.00–12.00 น. ดังนั้นจึงไมควรฉีดพนสารปองกันกําจัดแมลงในชวงที่ดอก<br />

กําลังบาน ถามีการเพิ่มปริมาณแมลงโดยใชมูลสัตวหรือซากสัตวสดๆมาลอไวในสวนก็อาจชวยใหมีการ<br />

ผสมเกสรมากขึ้น ดอกตัวเมียจะบานและพรอมรับละอองเกสรตัวผูในชวงเชาประมาณ 07.00-10.00 น. โดย<br />

ยอดเกสรตัวเมียจะแยกออกเปนสองแฉกและมีน้ําหวานที่จานรองดอก สวนดอกตัวผูจะบานในชวงเชา<br />

เชนกัน แตอับละอองเกสรตัวผูจะแตกและปลดปลอยละอองเกสรตัวผูมากในชวงบาย เมื่อละอองเกสรตัวผู<br />

มาสัมผัสหรือตกลงบนยอดเกสรตัวเมียได 3-5 ชั่วโมงก็จะงอกทอละอองเกสรซึ่งนําเชื้อตัวผูลงไปผสมกับไข<br />

ในรังไขทําใหเกิดการปฏิสนธิขึ้น รังไขที่ผสมเกสรแลวจะมีขนาดใหญมากขึ้น หลังจากนั้นไขที่ผสมเกสร<br />

แลวก็พัฒนาตอเปนเมล็ดและเนื้อลําไยก็เปนสวนของเอริลที่พัฒนามาจากสวนกานเมล็ด สวนดอกตัวเมียที่<br />

ไมไดรับการผสมเกสรหรือไมมีการปฎิสนธิก็จะเหี่ยวแหงและหลุดรวงไปหลังดอกบานแลวประมาณ 2-3<br />

วัน<br />

3. ปจจัยที่เกี่ยวของกับการผสมเกสรและการติดผล<br />

การผสมเกสรและการติดผลของลําไย ขึ้นกับปจจัยตางๆ ดังนี้คือ<br />

(1) ความผิดปกติของสวนประกอบดอก เชน ดอกตัวเมียที่มีกานชูเกสรตัวเมียสั้นหรือมีรังไขขนาด<br />

เล็ก มักเปนอุปสรรคตอการผสมเกสรหรือการปฏิสนธิ ทําใหลําไยติดผลนอย<br />

(2) ละอองเกสรตัวผูที่พัฒนาในที่อุณหภูมิต่ํา มักมีความมีชีวิตต่ําและเปนอุปสรรคตอการผสมเกสร<br />

หรือการปฏิสนธิ ทําใหลําไยติดผลนอย<br />

(3) เนื่องจากในชอดอกลําไยมีทั้งดอกตัวผู ดอกตัวเมียและดอกสมบูรณเพศ จํานวนของดอกแตละ<br />

ชนิดผันแปรตามพันธุ การปฎิบัติดูแลรักษาและสภาพแวดลอมแตละป นอกจากนี้การติดผลขึ้นกับจํานวน<br />

ดอกตัวเมียในชอดอก โดยถามีดอกตัวเมียมากก็ทําใหมีโอกาสติดผลมากดวย<br />

30


(4) ชวงระยะเวลาบานและการคาบเกี่ยวการบานของดอกตัวผูและดอกตัวเมีย ถาดอกแตละชนิดนี้มี<br />

ชวงการบานนานหรือมีการคาบเกี่ยวของการบานมาก จะทําใหมีการผสมเกสรและการติดผลเพิ่มขึ้น<br />

(5) ชนิดและปริมาณแมลงที่จะชวยผสมเกสร ดังนั้นจึงควรหลีกเลี่ยงการพนสารฆาแมลงในชวงที่<br />

ดอกบานโดยเฉพาะชวงที่ดอกตัวเมียกําลังบาน<br />

6. สภาพภูมิอากาศที่ไมเหมาะสมก็มีผลตอการผสมเกสรและการติดผลของลําไย ถามีอุณหภูมิต่ํามัก<br />

ทําใหมีปริมาณดอกตัวเมียนอย แมลงที่ชวยผสมเกสรมีนอยลงและสวนประกอบของดอกตัวเมียผิดปกติ<br />

เชนกันถามีฝนตกจะทําใหมีปริมาณแมลงมาชวยผสมเกสรนอยลง นอกจากนี้ยังทําใหมีน้ําหวานที่ยอดเกสร<br />

ตัวเมียลดลงและติดผลนอย<br />

การตัดแตงกิ่ง<br />

วัตถุประสงคหลักของการตัดแตงกิ่งลําไยก็เพื่อลดการระบาดของโรคและแมลง ควบคุมความสูง<br />

ของตน ตลอดจนทําใหผลผลิตมีคุณภาพดีขึ้น อุปกรณตัดแตงกิ่งไดแก กรรไกรตัดแตงกิ่ง เลื่อยตัดแตงกิ่ง<br />

บันไดและสารปองกันเชื้อราหรือสีพลาสติก<br />

1. การตัดแตงกิ่งตนเล็ก<br />

เปนการสรางรูปรางทรงพุมใหไดตามที่ตองการ ควรเริ่มจากเลือกตนพันธุหรือกิ่งตอนที่คอนขางตั้ง<br />

ตรง เมื่อตนมีความสูงประมาณ 1 เมตรจึงตัดยอดเพื่อใหแตกกิ่งใหม เลือกกิ่งใหมที่สมบูรณและทํามุมกับลํา<br />

ตนอยางเหมาะสมไวรอบลําตนประมาณ 3-4 กิ่งรอบ เมื่อกิ่งที่แตกแขนงออกมานั้นเจริญเติบโตจนยาว<br />

พอสมควร จึงตัดกิ่งที่เหลานั้นอีกและทําเชนนี้จนไดกิ่งแขนงยอยประมาณ 24-32 กิ่ง ทรงพุมควรจะมีรูปราง<br />

คอนขางกลม โคนตนโปรงและทรงพุมคอนขางต่ําเนื่องจากไมมีกิ่งหลักกลาง นอกจากนั้นก็ควรตัดแตงกิ่งที่<br />

เปนโรคหรือแมลงเขาทําลายดวย<br />

2. การตัดแตงกิ่งตนใหญที่ออกดอกติดผลแลว<br />

ควรตัดแตงทันทีทุกปหลังเก็บเกี่ยวผลแลว โดยตัดทอนกิ่งแขนงใหสั้นกลับเขามาถึงระดับเกาของป<br />

ที่ผานมา นอกจากนี้ก็ยังตัดกิ่งที่ไมแข็งแรง แมลงหรือโรคทําลาย กิ่งแหงตายหรือกิ่งที่อยูที่อยูในทรงพุม<br />

เปนตน การตัดแตงกิ่งแบบนี้เพื่อใหมีขนาดทรงพุมที่เหมาะสมและออกดอกติดผลดีในปตอไป<br />

3. การตัดแตงกิ่งตนที่มีอายุมากหรือการทําสาว<br />

เปนการตัดแตงกิ่งตนที่มีอายุมากหรือตนที่สูงใหญไมเคยตัดแตงกิ่งมากอน หลังจากตัดแตงกิ่งแลว<br />

จะทําใหตนมีขนาดทรงพุมเล็กลง สะดวก ประหยัดคาใชจายในการปฎิบัติดูแลรักษาหรือเก็บเกี่ยวผล<br />

โดยทั ่วไปจะแนะนําใหตัดแตงกิ่งในชวงฤดูฝน วิธีตัดแตงกิ่งทําไดโดยการตัดตนใหเหลือกิ่งแขนงหลัก 2-3<br />

กิ่งและเหลือกิ่งแขนงยอยไว 1-2 กิ่งเพื่อชวยสังเคราะหแสงหลังตัดแตงกิ่งแลว สําหรับความสูงจากพื้นดินที่<br />

ตัดนั้นไมแนนอนขึ้นกับโครงสรางของตนกอนตัดแตงกิ่ง หลังตัดแตงกิ่งก็ใหปุย 15-15-15 + 46-0-0<br />

สัดสวน 1: 1 อัตรา 1-2 กิโลกรัมตอตนและปฎิบัติดูแลรักษาตนตามปกติ เมื่อกิ่งใหมแตกจากกิ่งแขนงหลัก<br />

31


ก็เลือกกิ่งที่สมบูรณไวกิ่งละ 3-4 กิ่งและใชวิธีการตัดแตงกิ่งคลายคลึงกับการตัดแตงกิ่งตนเล็กเพื่อสรางทรง<br />

พุมดังกลาวแลวในเบื้องตน โดยทั่วไปตนลําไยจะเริ่มออกดอกติดผลใหมอีกครั้งหลังตัดแตงกิ่งแบบนี้แลว 2-<br />

3 ป<br />

การปองกันการโคนลมหรือกิ่งฉีกหัก<br />

การปลูกลําไยมักประสบปญหาตนโคนลมหรือกิ่งฉีกหัก เนื่องจากปลูกจากกิ่งตอนซึ่งไมมีรากแกว<br />

สําหรับแนวทางปองกันหรือลดความเสียหายจากการโคนลมและกิ่ง ฉีกหัก ดังนี้<br />

1. การปลูกไมบังลม<br />

ชวยลดความรุนแรงของลมในพื้นที่ปลูกที่มักมีลมพายุในชวงฤดูฝน ไมบังลมที่นิยมปลูกไดแก ไผ<br />

รวก ขนุน กระถินเทพา มะกอกน้ํา หวาและไผตง การปลูกไมบังลมควรปลูกในแนวขวางทางที่ลมพายุอาจ<br />

พัดผาน ปลูกหางจากตนลําไย 5-8 เมตร เพื่อปองกันการบังรมและแยงธาตุอาหารหรือน้ํา<br />

2. การเสริมราก<br />

ทําใหตนที่ปลูกจากกิ่งตอนมีรากแกวสําหรับชวยยึดลําตนและทําใหเจริญเติบโตเร็วขึ้น โดยเพาะ<br />

เมล็ดลําไยที่จะใชเปนตนตอ เมื่อตนตอมีเสนผาศูนยกลาง 0.5-1.0 เซนติเมตรจึงปลูกไวรอบๆ ตนใหหางจาก<br />

ตน 20-30 เซนติเมตร จํานวน 1-2 ตน เมื่อตนตอเจริญเติบโตก็โนมตนตอมาเสียบดานขางลําตนและพันดวย<br />

ผาพลาสติก หลังจากนั้น 2-3 เดือนเมื่อตนตอและตนพันธุเชื่อมกันสนิทดีแลวจึงแกะเอาพลาสติกที่พันไว<br />

ออก การเสริมรากมักทําในชวงฤดูฝนเนื่องจากเปนชวงที่ทั้งตนตอและตนพันธุมีการเจริญเติบโต<br />

3. การค้ํายันกิ่ง<br />

มักใชไมไผหรือไมตนมาค้ํายันเปนกิ่งๆ หรือมาลอมทําคอกทั้ง 4 ดานรอบๆ ตนลําไย เพื่อปองกัน<br />

การโคนลมหรือกิ่งฉีกหัก<br />

32


สรุปแนวทางการปฏิบัติดูแลรักษาลําไยในรอบป<br />

ชวงเวลา ระยะพัฒนาตนลําไย การปฏิบัติงาน<br />

มกราคม 1. ออกดอกและดอกเริ่ม<br />

บาน<br />

1.1 เริ่มใหน้ําเล็กนอยและเพิ่มปริมาณน้ําขึ้นเรื่อยๆ<br />

1.2 เฝาระวังและปองกันกําจัดแมลงศัตรูลําไย เชน<br />

-หนอนกินดอก พนเอ็นโดซัลแฟน 30 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร<br />

-หนอนเจาะกานดอก พนคลอรไพริฟอส 30ซีซี/ น้ํา 20<br />

ลิตร<br />

-มวนลําไย พนคารบาริล 45 กรัม/น้ํา 20 ลิตร<br />

-เพลี้ยหอยและเพลี้ยแปง พนคลอรไพริฟอส<br />

30 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร<br />

ควรพนกอนดอกบานและหลีกเลี่ยงชวงดอกบาน<br />

กุมภาพันธ 2. ระยะดอกบาน<br />

1.3 ถาตนไมสมบูรณควรพนปุยทางใบ เชน 10-45-10, 10-<br />

52-17, 15-31-15 อัตรา 30-40 กรัม/น้ํา 20 ลิตร<br />

2.1 ใหน้ําอยางสม่ําเสมอ<br />

2.2 หากมีแมลงมาชวยผสมเกสรนอย ควรนําผึ้งมาเลี้ยง<br />

หรือลอแมลงวันมาในสวนลําไย<br />

มีนาคม-<br />

เมษายน<br />

3. ระยะติดผลขนาดเล็ก<br />

เปลือกเมล็ดและเนื้อ<br />

กําลังพัฒนา<br />

2.3 หากพบเพลี้ยไฟระบาดมากกวา 30% พนอิมิดาโคล<br />

พริต 8 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร พน 1-2 ครั้งหางกัน 7 วัน<br />

3.1 ใหน้ําอยางสม่ําเสมอ<br />

3.2 ควรใสปุยเคมี เชน 15-15-15 และ 46-0-0 อัตรา 1:1<br />

ประมาณ 1-2 กิโลกรัมตอตน<br />

3.3 เฝาระวังและปองกันกําจัดแมลงศัตรูลําไย เชน<br />

-หนอนเจาะขั้วผลพนคารบาริล 40 กรัม/น้ํา 20 ลิตร<br />

-หนอนมวนใบพนคารบาริล 45 กรัม/น้ํา 20 ลิตร<br />

-มวนลําไย พนคารบาริล 45 กรัม/น้ํา 20 ลิตร


ชวงเวลา ระยะพัฒนาตนลําไย การปฏิบัติงาน<br />

3.4 หากพบเพลี้ยหอยและเพลี้ยแปงในชอผลเกิน 10%<br />

- ตัดชอผลไปเผาทําลาย<br />

- พนน้ํามันปโตรเลียมสเปรยออยล 60 ซีซี/น้ํา 20 ลิตร<br />

ในชวงเชาหรือเย็น จํานวน 2 ครั้งหางกัน 7 วัน<br />

- พนคารบาริล 40 กรัม/น้ํา 20 ลิตร กําจัดมดแดงที่<br />

พฤษภาคม-<br />

มิถุนายน<br />

4. ระยะผลเจริญเติบโต<br />

กรกฎาคม 5. ระยะผลโตเต็มที่<br />

กอนเก็บผลผลิต<br />

กรกฎาคม-<br />

สิงหาคม<br />

กันยายน<br />

เปนพาหะเพลี้ยหอยและเพลี้ยแปง<br />

4.1 ใหน้ําอยางสม่ําเสมอหากฝนไมตก<br />

4.2 ควรค้ํากิ่งเพื่อชวยพยุงไมใหกิ่งที่ติดผลดกมากฉีกหัก<br />

4.3 ปองกันกําจัดเพลี้ยหอยและเพลี้ยแปงที่ชอผล<br />

5.1 ใหน้ําสม่ําเสมอหากฝนทิ้งชวง<br />

5.2 เฝาระวังและปองกันกําจัดแมลงศัตรูลําไย เชน<br />

- ผีเสื้อมวนหวาน ใชเหยื่อพิษ<br />

- เพลี้ยแปง ใหตัดเผาทําลาย<br />

5.3 หากพบคางคาว ควรใชตาขายไนลอนกั้นเพื่อดักจับ<br />

5.4 กอนเก็บเกี่ยว 30 วัน ควรใสปุย 0-0-60หรือ 13-13-21<br />

อัตรา 1 กิโลกรัมตอตน<br />

6. ระยะเก็บผลผลิต 6.1 ควรงดการใหน้ํากอนเก็บเกี่ยว 7-10 วัน<br />

7. ระยะหลังเก็บผลผลิต<br />

7.1 ควรตัดแตงกิ่งเพื่อใหทรงพุมโปรง ลดการทําลายและ<br />

สะสมของโรคหรือแมลง<br />

7.2 เก็บตัวอยางดินวิเคราะหคาความสมบูรณของดิน<br />

7.3 กําจัดวัชพืชในทรงพุม<br />

7.4 ใสปุยเพื่อบํารุงตนหลังเก็บเกี่ยว<br />

- ปุยอินทรีย 10-20 กิโลกรัมตอตน<br />

- ปุย 15-15-15 กับ 46-0-0 อัตรา 1:1 ประมาณ<br />

1-2 กิโลกรัมตอตน<br />

7.5 ใหน้ําอยางสม่ําเสมอ


ชวงเวลา ระยะพัฒนาตนลําไย รายการปฏิบัติงาน<br />

กันยายน- 8. ระยะแตกใบออน 8.1 ใหน้ําอยางสม่ําเสมอ<br />

ตุลาคม<br />

8.2 ปองกันกําจัดแมลงศัตรูลําไย เชน<br />

- ไรลําไย พนกํามะถันผง 80% WP 40 กรัม/น้ํา 20<br />

ลิตร จํานวน 1-3 ครั้ง หางกัน 4 วัน<br />

- แมลงคอมทอง หนอนคืบ หนอนมวนใบและหนอน<br />

บุงกินใบ พนคารบาริล 45-60 กรัม/น้ํา 20 ลิตร<br />

- หนอนเจาะกิ่ง ตัดเผาทําลาย และใชคลอรไพริฟอส<br />

1-2 ซีซีตอรู ฉีดเขาไปในรูแลวอุดดวย ดินเหนียว<br />

8.3 ใสปุย 0-46-0 และ 0-0-60 อัตราสวน 1:1 ประมาณ 1-2<br />

กิโลกรัมตอตน<br />

พฤศจิกายน -<br />

ธันวาคม<br />

9. ระยะใบแก 9.1 ควรพนปุย 0-52-34 อัตรา 100-150 กรัมตอน้ํา 20<br />

ลิตร จํานวน 2 ครั้ง หางกัน 7-10 วัน<br />

9.2 งดการใหน้ํา<br />

9.3 ถาตนไมสมบูรณ ควรพนปุย 10-52-17 หรือ10-42-10<br />

อัตรา 30-40 กรัมหรือ 20-30 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร


การปลูกและดูแลรักษา<br />

การบังรมหลังปลูก<br />

การใหน้ําโดยใชสายยาง<br />

การคลุมโคนตนดวยฟางในฤดูแลง<br />

การตัดแตงกิ่ง<br />

การฉีกหักของกิ่งลําไย การค้ํายังกิ่งดวยไมไผ


ตนลําไยที่ออกดอก<br />

ดอกตัวผู <br />

ดอกตัวเมีย<br />

ลําไยติดผลระยะแรก


การขยายพันธุ<br />

นิพัฒน สุขวิบูลย<br />

ลําไยสามารถขยายพันธุไดหลายวิธีเชน การตอนกิ่ง การตัดชํา การตอหรือเสียบกิ่งและการทาบ<br />

กิ่ง แตวิธีที่เกษตรกรนิยมคือ การขยายพันธุโดยวิธีตอนกิ่ง สําหรับรายละเอียดการขยายพันธุลําไยดวย<br />

วิธีตางๆ มีดังนี้<br />

การตอนกิ่ง<br />

เปนวิธีการขยายพันธุที่งาย สะดวกและรวดเร็ว ตลอดจนไดตนลําไยตรงตามพันธุที่ตองการ แต<br />

จะไดตนพันธุที่ไมมีรากแกวและมักโคนลมเมื่อมีลมพายุ การตอนกิ่งควรทําชวงตนฤดูฝนคือ เดือน<br />

พฤษภาคมหรือเดือนมิถุนายน ซึ่งทําใหกิ่งตอนออกรากไดงายและรวดเร็ว นอกจากนี้ก็ยังอาจใชกิ่งตอน<br />

เหลานี้ปลูกในชวงกลางฤดูฝนไดอีกดวย อุปกรณที่ใชในการตอนกิ่งลําไยไดแก มีด กรรไกรตัดแตงกิ่ง<br />

คีมปากจิ้งจก ขุยมะพราว ถุงพลาสติกใส และเชือกฟาง โดยมีขั้นตอนดังนี้<br />

1. เลือกตนลําไยที่ออกดอกและติดผลคอนขางสม่ําเสมอ มีการเจริญเติบโตดี ปราศจากการทําลาย<br />

ของโรคและแมลง โดยเฉพาะโรคพุมไมกวาดที่สามารถถายทอดทางกิ่งตอนได<br />

2. เลือกกิ่งที่สมบูรณ ไมออนหรือแกจนเกินไป ไมมีโรคและแมลงทําลาย เปนกิ่งที่ตั้งตรง<br />

เพราะการตอนกิ่งออน อาจทําใหกิ่งตอนนั้นออกรากดานลางดานเดียว กิ่งควรมีเสนผาศูนยกลาง<br />

1.5-2.0 เซนติเมตรและยาวประมาณ 75-100 เซนติเมตร<br />

3. ใชมีดที่คมและสะอาดควั่นกิ่งเปน 2 รอยหางกันประมาณ 1-1.5 นิ้ว จากนั้นใชคีมปากจิ้งจก<br />

บิดรอยควั่นโดยรอบ ทําใหเปลือกในบริเวณควั่นนั้นหลุดออก<br />

4. พรมน้ําใหขุยมะพราวมีความชื้นเหมาะสมคือ เมื่อกําขุยมะพราวแลวบีบจะมีน้ําซึมออกมา<br />

เล็กนอย บรรจุขุยมะพราวใสถุงพลาสติกใสขนาด 4 x 6 นิ้วใหแนน และมัดปากถุงดวยเชือกฟาง ใชมีดผา<br />

กลางถุงตามยาวและหุมรอยควั่นใหมิดโดยเฉพาะรอยควั่นดานบน ใชเชือกฟางมัดถุงขุยมะพราวใหแนน<br />

5. กิ่งตอนออกรากหลังจากตอนแลวประมาณ 30 วัน เมื่อรากเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลในปริมาณที่<br />

มากพอก็ตัดกิ่งตอนโดยใชกรรไรตัดแตงกิ่ง<br />

6. ควรตัดใบและกิ่งแขนงออกบางเพื่อลดการคายน้ํา แกะถุงพลาสติกที่หุมขุยมะพราวออกอยาง<br />

ระมัดระวังไมใหรากหักหรือเสียหาย ชํากิ่งตอนในถุงพลาสติกดําขนาด 8x10 นิ้วบรรจุดินผสมขี้เถา<br />

แกลบสัดสวน 2:1<br />

7. นํากิ่งตอนที่ชําแลวไปไวในโรงเรือนเพาะชําที่รม แลวปฎิบัติดูแลรักษาเชน รดน้ําหรือพนสาร<br />

ปองกันกําจัดศัตรูพืชตามความเหมาะสม


การตัดชํากิ่ง<br />

การตัดชํากิ่งลําไยก็เปนอีกวิธีหนึ่งที่สะดวกรวดเร็วและขยายพันธุไดครั้งละจํานวนมาก กิ่งที่<br />

ใชตัดชําควรมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 0.5-1.0 เซนติเมตร ยาว 20-25 เซนติเมตรและมีใบติดมาดวย 2-<br />

3 คูใบ นํากิ่งมาปกชําในถุงพลาสติกดําขนาด 6x8 นิ้วที่บรรจุขี้เถาแกลบ จากนั้นจึงบรรจุถุงพลาสติกที่<br />

มีกิ่งชําในถุงพลาสติกใสขนาด 20x30 นิ้วอีกครั้ง รดน้ําใหชื้นและเติมน้ําในถุงพอสมควร มัดปดปากถุง<br />

ใหแนนกอนที่จะเก็บรักษาในโรงเรือนเพาะชํา หลังจากนั้นอีกประมาณ 2 เดือนกิ่งชําจะออกราก จึงยาย<br />

กิ่งชําปลูกลงถุงพลาสติกขนาด 6x8 นิ้วบรรจุขี้เถาแกลบ<br />

การตอหรือเสียบกิ่ง<br />

ตนลําไยที่ขยายพันธุโดยวิธีนี้จะมีระบบรากแกวที่หยั่งลึกลงดิน ทําใหลดความเสียหายจากการ<br />

โคนลมเนื่องพายุได แตการขยายพันธุแบบนี้จะตองอาศัยความชํานาญพอสมควร การตอหรือเสียบกิ่ง<br />

ทําไดทุกฤดูกาล โดยมีขั้นตอนการปฎิบัติมีดังนี้<br />

1. เตรียมกะบะเพาะหรือถุงพลาสติก ที่บรรจุดินผสมทราย อัตราสวน 2:1<br />

2. นําผลลําไยที่จะใชเปนตนตอมาแกะเนื้อออก แลวเพาะเมล็ดทันทีโดยฝงลึกประมาณ 0.5<br />

เซนติเมตร รดน้ําใหชุมทุกวัน เมล็ดควรงอกหลังจากเพาะแลวประมาณ 2 สัปดาห<br />

3. เมื่อตนตอมีอายุประมาณ 1 ปหรือมีเสนผาศูนยกลางประมาณ 0.5 เซนติเมตร จึงตัดยอดตน<br />

ตอใหสูงจากพื้นดินประมาณ 10 เซนติเมตร ใชมีดผาตนตอเปนรูปลิ่มยาว 2-2.5<br />

เซนติเมตร<br />

4. เลือกยอดพันธุดีที่สมบูรณและมีใบติดอยู 2-3 คูใบ ยาว15-20 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลาง<br />

ของยอดพันธุขนาดใกลเคียงกับตนตอ เฉือนโคนกิ่งพันธุดีเปนรูปลิ่มยาว2-2.5 เซนติเมตร<br />

แลวสอดยอดพันธุในรอยผาของตนตอ ใหแนวเนื้อเยื่อเจริญติดกัน<br />

5. ใชผาพลาสติกหรือเชือกฟางพันบริเวณที่เสียบยอดใหแนน นําไปใสในถุงพลาสติกใหญที่<br />

มีน้ําเล็กนอย มัดปากถุงพลาสติกใหแนน นําไปเก็บในที่รมหรือโรงเรียนเพาะชํา ประมาณ<br />

50-60 วันจึงเปดปากถุงออก


การทาบกิ่ง<br />

เปนการขยายพันธุลําไยที่ทําใหไดตนพันธุที่มีรากแกวเชนกัน โดยมีขั้นตอนดังนี้คือ<br />

1. เพาะตนตอเชนเดียวกันกับการตอกิ่ง<br />

2. เลือกตนตอที่มีเสนผาศูนยกลางประมาณ 0.5-1.0 เซนติเมตร มาลางรากและตัดรากออก<br />

บางสวน บรรจุตนตอในถุงพลาสติกใสขนาด 4x6 นิ้วที่บรรจุขุยมะพราวที่ชื้นพอสมควร<br />

3. เลือกกิ่งกระโดงของตนพันธุดีที่มีขนาดใกลเคียงกับตนตอ ทําแผลบนกิ่งกระโดงโดย<br />

เฉือนขึ้นยาวประมาณ 2 เซนติเมตรและเฉือนตนตอเปนรูปลิ่มยาวประมาณ 2 เซนติเมตร<br />

เชนกัน<br />

4. นําตนตอทาบบนกิ่งกระโดงใหเนื้อเยื่อเจริญติดกันและใชผาพลาสติกหรือเชือกฟางพัน<br />

บริเวณที่เสียบยอดใหแนน<br />

5. หลังจากทาบกิ่งประมาณ 45-60 วันก็สามารถตัดกิ่งทาบลงมาชําในถุงพลาสติกดําขนาด<br />

8x10 นิ้วบรรจุดินผสมขี้เถาแกลบสัดสวน 2:1<br />

6. นํากิ่งทาบที่ชําแลวไปไวในโรงเรือนเพาะชําที่รม แลวปฎิบัติดูแลรักษาเชน รดน้ําหรือพน<br />

สารปองกันกําจัดศัตรูพืชตามความเหมาะสม


การขยายพันธุ<br />

การควั่นกิ่งตอน<br />

การหุมกิ่งดวยขุยมะพราว<br />

การเสียบยอดแบบลิ่ม การพันแผลหลังเสียบยอด


การใชสารกลุมคลอเรตกระตุนการออกดอกของลําไย<br />

มนตรี ทศานนท<br />

ลําไยเปนพืชที่ตองการอากาศหนาวเย็นชวยกระตุนใหออกดอก ดังนั้น หากปใดมีสภาพอากาศ<br />

หนาวเย็นมาก ลําไยก็จะมีโอกาสออกดอกไดมาก และหากสภาพอากาศหนาวเย็นนอย ลําไยก็จะออก<br />

ดอกนอย สภาพอากาศแปรปรวนเมื่อเดือนธันวาคม พ.ศ. 2540 และเดือนมกราคม พ.ศ. 2541 ที่เรียกวา<br />

ปรากฏการณเอลนิโน ซึ่งเกิดจากสภาวะการเปลี่ยนทิศทางการไหลของกระแสน้ําอุนในมหาสมุทร มี<br />

ผลกระทบอยางมากตอสภาพอากาศบนพื้นโลก สภาพอากาศในฤดูหนาวที่เคยหนาวเย็นกลับอบอุ น<br />

สงผลกระทบตอการออกดอกของพืชพันธุบนพื้นโลกอยางมาก รวมถึงลําไยซึ่งเปนพืชเศรษฐกิจที่<br />

สําคัญของเกษตรกรชาวเหนือของประเทศไทยดวย ในชวงดังกลาวนั้น อากาศไมหนาวเย็นเพียงพอที่จะ<br />

ทําใหลําไยออกดอกได กลาวคือ อุณหภูมิต่ําสุดประมาณ 10 องศาเซลเซียสมีเพียงชวงสั้นๆ เทานั้น แต<br />

อุณหภูมิสูงสุดจะขึ้นสูงมากกวา 30 องศาเซลเซียส ทําใหลําไยไมสามารถถูกชักนําใหออกดอกได หรือ<br />

ออกดอกติดผลไดบางในบางสถานที่ซึ่งมีอุณหภูมิต่ํายาวนานพอ ปญหาเหลานี้ทําใหเกษตรกรชาวสวน<br />

ลําไยทั้งจังหวัดเชียงใหม ลําพูน และบางจังหวัดที่มีการปลูกลําไยไมมีผลผลิตลําไยจําหนายสูตลาดมาก<br />

เชนทุกป เกษตรกรขาดรายได แมลงศัตรูก็มาก และมีการพนสารเคมีอยางหนัก<br />

อยางไรก็ตาม เมื่อประมาณ 20 ปแลว (พ.ศ. 2524 - 2525) มีการนําสารเคมีชนิดหนึ่งมาใช<br />

กระตุนใหลําไยออกดอกได ที่อําเภอบานโฮง จังหวัดลําพูน และอําเภอสารภี จังหวัดเชียงใหม โดยเลือก<br />

ทํากับตนที่ไมออกดอกติดผลตามฤดูกาล แลวราดสารนั้นในชวงฤดูฝน ปรากฎวา หลังราดสารแลวบาง<br />

ตนก็ออกดอกดอก บางตนก็ออกดอกบางเล็กนอย และบางตนก็ไมออกดอก ซึ่งในเวลานั้นเกษตรกรก็<br />

ไมคอยไดสนใจมากนัก นอกจากนี้ ในระยะแรกของการคนพบมีการปดบังเนื่องจากผลประโยชน<br />

ทางการคา ตอมามีการผลิตลําไยนอกฤดูที่จังหวัดสงขลาโดยใหสารชวยกระตุน ดําเนินการโดยเจาของ<br />

สวนแบงสวนเปนสองสวนและราดสารปละสวน สวนที่เหลือก็บํารุงรักษาใหตนแข็งแรง ไดผลผลิตดี<br />

และขายไดราคาดี ทําใหชาวสวนลําไยในจังหวัดจันทบุรีตองการใชสารนี้เชนกัน เนื่องจากสภาพ<br />

อากาศคลายคลึงกับทางภาคใต หากจะรอใหความหนาวเย็นมากระทบก็ตองรออยูหลายปจึงจะมีสักครั้ง<br />

การเกิดปรากฏการณเอลนิโนและการคนพบวาสารโพแทสเซียมคลอเรตสามารถกระตุนใหลําไยออก<br />

ดอกได ทําใหมีการใชสารโพแทสเซียมคลอเรตอยางแพรหลายมากในปจจุบัน ซึ่งถาหากใชสารอยาง<br />

ขาดความระมัดระวัง อาจเกิดการระเบิดขึ้น และเมื่อใชกันมากๆ หลายๆ ปก็จะทําใหตนลําไยมีปญหา<br />

เชนอาการใบเหลืองแลวแหงตาย ดังนั้นการใชสารนี้จึงควรมีขอบเขตจํากัด ไมควรใชพร่ําเพรื่อเกินไป<br />

หรือใชในอัตราสูงเกินไป


ปจจัยที่มีผลตอการตอบสนองของตนลําไยตอสารโพแทสเซียมคลอเรต<br />

1. ความบริสุทธิ์ของสารและอัตราการใชที่เหมาะสม<br />

เมื่อมีการคนพบสารคลอเรตใหมๆ ก็ยังไมมีใครทราบวาจะใชอัตราเทาไรจึงจะเหมาะตอการ<br />

กระตุนใหออกดอกและไมเปนพิษตอตนลําไย เกษตรกร ผูบริโภค และสภาพแวดลอม ซึ่งในระหวาง<br />

นั้นสารโพแทสเซียมคลอเรตถูกควบคุมโดยกระทรวงกลาโหมอยางเขมงวด จึงมีการนํามาปลอมปน<br />

กับสารอื่นแลวขายในรูปของผลิตภัณฑอื่นๆ ทําใหความบริสุทธิ์ของสารลดลง อัตราการใชไมแนนอน<br />

ขึ้นอยูกับผลิตภัณฑที่พอคาผลิตขึ้นมา แมสภาพการณปจจุบันก็ทราบกันดีวาใชมากไมดีแน แตก็ยังมี<br />

คนใชสารนี้ในอัตราที่สูงมากเชน ตนละ 2-3 กิโลกรัมก็มี จากการทดลองใชสารโพแทสเซียมคลอเรต<br />

และโซเดียมคลอเรตบริสุทธิ์ 99% อัตรา 0 45 60 75 90 และ 105 กรัมตอเสนผาศูนยกลางทรงพุม<br />

1 เมตรในชวงเดือนมิถุนายน ปรากฏวาอัตรา 60 กรัมตอเสนผาศูนยกลางทรงพุม 1 เมตร เปนอัตราที่<br />

เหมาะสมคือ ทําใหลําไยออกดอกติดผลเต็มที่เปนที่นาพอใจ ซึ่งสารโซเดียมคลอเรตก็มีผลออกฤทธิ์<br />

เชนเดียวกับโพแทสเซียมคลอเรต ดังนั้นอัตราที่แนะนําสําหรับสารโซเดียมคลอเรตก็คือ 60 กรัมตอ<br />

เสนผาศูนยกลางทรงพุม 1 เมตรเชนกัน การใชสารปริมาณนอยกวานี้ก็สามารถชักนําใหลําไยออกดอก<br />

ไดแตจําเปนตองใชในชวงเดือนพฤศจิกายน อัตรา 8 กรัมตอตารางเมตร ก็สามารถชักนําใหลําไยพันธุด<br />

อออกดอกได 100% สวนอัตราที่ต่ํากวานี้คือ 4 กรัมตอตารางเมตรชักนําใหออกดอกได 86% สวน<br />

พันธุสีชมพูนั้น การใหสารเพียง 1 กรัมตอตารางเมตรก็สามารถชักนําใหออกดอกได 100% ซึ่งเปนการ<br />

ใหเสริมการออกดอกในฤดูปกติ<br />

2. ชวงพัฒนาการของใบ<br />

หลังจากเก็บเกี่ยวผลลําไยแลว ควรตัดแตงกิ่งและใหปุยเพื่อเรงการแตกยอดออนใหม ซึ่งตน<br />

ลําไยควรมีการแตกยอกออนอยางนอย 2 ครั้งและใบชุดที่ 2 ควรแกเต็มที่ กอนที ่จะราดสารครั้งตอไป<br />

การราดสารจะไมไดผลหากยอดเริ่มคลี่ตัวออกมาเพียงเล็กนอย แตเมื่อใบพัฒนาไปจนเลยระยะใบ<br />

เพสลาดหรือใบแกจัดแลว การราดสารจึงจะไดผลและจะไดชอดอกที่ใหญ การราดสารโพแทสเซียม<br />

คลอเรตกับตนลําไยที่มีใบ 4 ระยะ คือ ใบอายุนอยกวา 10 20 25 และ 45 วัน ปรากฏวาราดสารเมื่อใบ<br />

อายุ 45 วันออกดอกดีที่สุด แตถาปลิดใบออนออกกอนและเหลือไวแตใบแกก็จะออกดอกไดดีเชนกัน<br />

3. ฤดูกาลในการใหสาร<br />

ชวงแรกที่เหมาะสําหรับราดสารควรมีสภาพอากาศปลอดโปรง ดินแหงโดยเฉพาะชวงปลาย<br />

ฤดูฝน แตก็มีขอจํากัดวาหากใชสารแลวดอกบานตรงฤดูหนาว ดอกตัวเมียจะมีขนาดเล็กและละออง<br />

เกสรตัวผูจะมีเปอรเซ็นตการงอกต่ําทําใหไมติดผล ดังนั้นตองคํานวณระยะเวลาใหดี ซึ่งระยะเวลาที่<br />

เหมาะสมในการราดสารไดแกปลายเดือนกันยายนถึงตนเดือนตุลาคม จะเก็บเกี่ยวผลผลิตไดกอนลําไย<br />

ในฤดูปกติ แตถาราดสารปลายเดือนตุลาคมดอกจะบานตรงอากาศหนาวเย็นพอดี ทําใหลําไยไมติดผล


ชวงที่สองคือราดสารเดือนธันวาคม-มกราคมขณะที่อากาศเย็นก็จะออกดอกไดพรอมกับลําไยในฤดู<br />

และมีขอดีคือผลคอนขางดกมากกวาลําไยในฤดูซึ่งไมราดสาร และชวงสามไดแก การผลิตลําไยนอกฤดู<br />

ใหเก็บเกี่ยวไดตรงเทศกาลปใหมหรือตรุษจีนก็จะใหสารเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน ซึ่งเปนระยะที่ฝนยัง<br />

ไมตกชุกมากนัก การราดสาร 3 ชวงดังกลาวนี้จะออกดอกติดผลคอนขางดี สําหรับชวงอื่นๆ ในรอบ<br />

ปนั้นไดผลไมคอยดี เชนเดือนมีนาคมมีอากาศรอนเกินไป เมื่อออกดอกจะทําใหชอดอกสั้น จํานวน<br />

ดอกในชอมีนอย พัฒนาการของดอกสั้น ดอกบานเร็วและติดผลนอย สวนการราดสารเดือน<br />

กรกฎาคม-สิงหาคมเปนชวงที่อากาศมืดครึ้มดวยเมฆหมอกและดินชุมฉ่ําดวยน้ํา การใหสารในลักษณะ<br />

นี้จะไดผลนอย และหากโคนตนมีน้ําทวมขังใหงดใชสารโดยเด็ดขาด มิฉะนั้นตนอาจตายได<br />

4. พันธุลําไย<br />

การตอบสนองของลําไยแตละพันธุตอสารคลอเรตแตกตางกัน พันธุสีชมพูตอบสนองดีที่สุด<br />

คือใชสารในเดือนพฤศจิกายนเพียง 2 กรัมตอตารางเมตรก็กระตุนใหออกดอกได สวนพันธุแหวและ<br />

ใบดําใชสารในอัตรา 4 กรัมตอตารางเมตรออกดอกได 100% สวนพันธุดอตองใชปริมาณสารถึง 8<br />

กรัมตอตารางเมตรจึงจะออกดอกไดดี<br />

คุณสมบัติของสารคลอเรต<br />

1. สารโพแทสเซียมคลอเรต (Potassium Chlorate)<br />

เปนสารที่สามารถนํามาใชกระตุนใหลําไยออกดอกนอกฤดูได สารโพแทสเซียมคลอเรตมีสูตร<br />

เคมี KClO 3 และเปนตัวออกซิไดสหรือตัวเติมออกซิเจนอยางแรง ถานําไปเผาจะกลายเปน<br />

โพแทสเซียมคลอไรด (KCl) และออกซิเจน (O 2 ) ดังสมการ<br />

เผา<br />

2 KClO 3 2 KCl +3O 2<br />

ชื่อผลิตภัณฑ : โพแทสเซียมคลอเรต (Potassium Chlorate)<br />

ชื่อสามัญและชื่อพอง : คลอเรตโพแทส (Chlorate of Potash)<br />

เกลือเบอโทรเรต (Berthollet Salt)<br />

โพแทสเซียม ออกซีมูเรต (Potassium Oxymurate)<br />

ชื่อเคมี : Potassium Chlorate<br />

การจัดการกลุมทางเคมี : Inorganic salt oxidizer<br />

สูตรทางเคมี : KClO 3<br />

ลักษณะ, สี, กลิ่น และรส : เปนผลึกโปรงแสงไมมีสี หรืออาจอยูในรูปเปนผงหรือเปนเม็ดสีขาว<br />

ไมมีกลิ่น มีรสแบบเกลือ


การละลายน้ํา : ละลายน้ําไมดีนัก คือ ละลายน้ําได 7.1 กรัม/น้ํา 100 ซีซี<br />

การละลายในสารละลายอื่น : แอลตาลิส, แอลกอฮอล, กลีเซอรอล แตไมละลายในอะซีโตน<br />

จุดเดือด : 400 o ซ.<br />

จุดหลอมเหลว : 368 o ซ.<br />

น้ําหนักโมเลกุล : 122.55<br />

คาความถวงจําเพาะ : 2.32<br />

ขอจํากัด : เปนสารที่ติดไฟไดงายและระเบิดได เมื่อรับความรอนสูงกวา 400 o ซ.<br />

ความเปนพิษ :<br />

คา LD 50<br />

หนู 1,870 มก./กก.<br />

กระตาย 2,000 มก./กก<br />

สุนัข 429 มก./กก<br />

คุณสมบัติอื่น ๆ:<br />

- อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังและตา<br />

- เปนผลึกใสหรือผงสีขาว มีคุณสมบัติไมติดไฟ แตจะชวยใหสารอื่นเกิดการลุกไหมไดดีขึ้น<br />

- จุดหลอมเหลวที่ 350 o ซ. และสลายตัวใหกาซพิษที่อุณหภูมิ 400 o ซ. ขึ้นไป<br />

- ละลายในน้ําไดปานกลางประมาณ 7 กรัม/น้ํา 100 ซีซี แตจะละลายไดดีในดางและ<br />

แอลกอฮอล<br />

- มีรสเค็มแบบเกลือ<br />

- เปนสวนผสมในการผลิตวัตถุระเบิด พลุไฟและไมขีดไฟ<br />

- การเสียดสีหรือผสมกับสารอื่น เชน ซัลเฟอร (กํามะถัน) คารบอน (ผงถาน) ขี้เลื่อย ปุย<br />

คอก รําขาว ปุยยูเรีย สารกําจัดแมลง อาหารสัตว น้ํามันเชื้อเพลิง ผา กระดาษและเศษไม<br />

แหง อาจทําใหเกิดการลุกไหมหรือระเบิดขึ้นได<br />

- เปนสารฆาเชื้อ นิยมใชเปนสวนผสมของน้ํายาบวนปาก หรือน้ํายากลั้วคอ โดยมี<br />

สวนผสม<br />

2 - 3%<br />

- ใชเปนสารกําจัดวัชพืช<br />

- ใชกันมากในอุตสาหกรรม การทําสารระเบิด สี และน้ํายาขัดเฟอรนิเจอร<br />

- สามารถกระตุนใหลําไยออกดอกได<br />

- ไมมีรายงานวาสารโพแทสเซียมคลอเรตเปนสารกอมะเร็ง


2. สารโซเดียมคลอเรต (Sodium Chlorate)<br />

มีคุณสมบัติดังนี้<br />

ชื่อผลิตภัณฑ : โซเดียมคลอเรต (Sodium Chlorate)<br />

ชื่อสามัญและชื่อพอง : คลอริค แอซิค (Chloric Acid)<br />

เกลือโซเดียม (Sodium Salt)<br />

โซดาคลอเรต (Chlorate of Soda)<br />

ชื่อเคมี : Sodium Chlorate<br />

การจัดการกลุมทางเคมี : Inorganic salt oxidizer<br />

สูตรทางเคมี : NaClO 3<br />

ลักษณะ, สี, กลิ่น และรส : เปนผลึกแข็งสีขาวหรือเหลืองซีด<br />

ไมมีกลิ่น มีรสขม<br />

การละลายน้ํา : ละลายน้ําไดดี คือ<br />

- ละลายได 79 กรัม/น้ํา 100 ซีซี ที่อุณหภูมิ 0 o ซ.<br />

- ละลายได 101 กรัม/น้ํา 100 ซีซี ที่อุณหภูมิ 20 o ซ.<br />

- ละลายได 273 กรัม/น้ํา 100 ซีซี ที่อุณหภูมิ 100 o ซ.<br />

คา pH เมื่อละลายน้ํา : 6.8-7.2<br />

การละลายในสารละลายอื่น : แอลกอฮอล 90% กลีเซอรอล<br />

จุดเดือด : 249 o ซ.<br />

จุดหลอมเหลว : 248 o ซ.<br />

น้ําหนักโมเลกุล : 106.44<br />

คาความถวงจําเพาะ : 2.49<br />

ขอจํากัด : เปนสารที่ติดไฟไดงาย<br />

ความเปนพิษ :<br />

คา LD 50<br />

หนู 1,200 – 7,000 มก./กก.<br />

กระตาย 7,000 มก./กก<br />

สุนัข 700 มก./กก<br />

คน 15-30 กรัม/คน


คุณสมบัติอื่นๆ :<br />

- ใชเปนสารกําจัดวัชพืชชนิดใบกวางและใบแคบ (nonselective herbicide) และหากราก<br />

วัชพืชดูดซับสารเขาไปก็อาจฆาวัชพืชนั้นไดดวย สามารถฉีดทางดินก็ได แตไมฆาพืชพวกมอส<br />

(moss) ผลออกฤทธิ์อยูได 3-6 เดือน<br />

- อาจทําใหเกิดการระคายเคืองตอผิวหนังและตา<br />

- โซเดียมคลอเรตไมมีรายงานวาเปนสารกอมะเร็ง<br />

3. พิษของสารกลุมคลอเรต และการแกพิษ<br />

(1) กลไกการเกิดพิษ<br />

สารคลอเรต เปนสารที่ออกฤทธิ์ในลักษณะ เปนสารกระตุน (Catalyst) ในกระบวนการออกซิ<br />

เดชั่นของฮีโมโกลบิน (สารสีแดงในเม็ดเลือด ที่ทําหนาที่นําออกซิเจนไปเลี้ยงเซลลตางๆ ทั่วรางกาย)<br />

ทําใหเปนเมทธีโมโกลบิน (Methemoglobin) โดยไมไดเขาทําปฏิกิริยาโดยตรง ดังนั้นแมจะไดรับสาร<br />

คลอเรตเขาสูรางกายในปริมาณเพียงเล็กนอย ก็สามารถกระตุนทําใหฮีโมโกลบินในรางกายเปลี่ยนไป<br />

เปน เมทธีโมโกลบินไดจํานวนมาก<br />

(2) อาการเปนพิษ<br />

1. ทําใหเกิดอาการคลื่นไส อาเจียน ปวดทอง ซีดเนื่องจากโลหิตจาง เปนมากทําใหไตวายได<br />

2. ปสสาวะไมออก และมีฤทธิ์ตอระบบประสาทสวนกลาง อาจทําใหชักได<br />

3. อาการที่เห็นเดนชัด คือ อาเจียนและตัวเขียว<br />

4. ขนาดที่เปนพิษ ในผูใหญหากไดรับสารเขาสูรางกายในปริมาณ 15-35 กรัม ทําใหเสียชีวิต<br />

ได สําหรับเด็กเพียง 7 กรัม ก็ทําใหเสียชีวิตได อยางไรก็ตามยังไมเคยมีรายงานการเสียชีวิต<br />

เนื่องจากสารนี้มากอน<br />

5. เปนอันตรายตอระบบทางเดินหายใจ<br />

6. ระคายเคืองตอผิวหนังและตา และหากสะสมในรางกายปริมาณมาก อาจมีผลตอไต และ<br />

เม็ดเลือดแดงได<br />

(3) การแกพิษ<br />

1. ทําใหผูปวยอาเจียนออกมาโดยเร็วที่สุดหลังไดรับสาร โดยการลวงคอหรือใหยาชวย<br />

อาเจียน หรือใหกลืนผงถานเขาไปเพื่อชวยดูดซับสารคลอเรตในกระเพาะ ลดการดูดซึมเขา<br />

สูเสนเลือด


2. ใหดื่มสารละลายโซเดียมไธโอซัลเฟต (Sodium thiosulfate) ประมาณ 2-3 กรัม ที่ละลายใน<br />

โซเดียมไบคารโมเนตเขมขน 5% จํานวน 200 ซีซี. จะสามารถทําลายฤทธิ์ของสารคลอเรต<br />

ได หรือทําการลางสารออกจากเลือดโดยวิธีทางการแพทย<br />

3. ใหดื่มนมเพื่อลดการระคายเคืองตอกระเพาะ<br />

4. ทําใหรางกายผูปวยอบอุน และอยูนิ่งๆ จนอาการเขียวคอยๆ ลดลง<br />

5. หากอาการตางๆ คอยๆ ลดลงภายใน 12 ชั่วโมง ผูปวยจะสามารถกลับคืนสูสภาพปกติได<br />

6. หากสัมผัสสารละลายใหรีบลางออกทันทีดวยน้ําสะอาดอยางตอเนื่องเปนเวลา 15 นาที<br />

7. ถาสูดหายใจเอากาซพิษที่เกิดจากการสลายตัวของสารนี้เขาไป ใหยายผูปวยไปในที่มี<br />

อากาศถายเทไดสะดวก ใหออกซิเจนและนําสงแพทยทันที<br />

8. หากผูปวยหมดสติหามปฐมพยาบาล โดยวิธีผายปอดแบบปากตอปาก อาจไดรับสารพิษ<br />

ติดตอกันได<br />

(4) การปองกัน<br />

1. ภาชนะบรรจุสารตองมีฝาปดมิดชิด<br />

2. ไมสูบบุหรี่ขณะทําการขนถายสารขึ้นและลงจากยานพาหนะ<br />

3. การขนถายสารตองอยูหางจากไฟและหลีกเลี่ยงกิจกรรมที่อาจกอใหเกิดประกายไฟ<br />

4. ตองผูกยึดภาชนะเพื่อปองกันการเคลื่อนไหว ในระหวางการขนสง<br />

5. ตองไมใหสวนของภาชนะยื่นออกมานอกรถและหากรถไมมีหลังคาใหปดดวยผาใบ<br />

6. เก็บสารใหหางจากอาหาร เครื่องดื่มและอาหารสัตว<br />

7. เก็บไวในอาคารที่มีการถายเทอากาศดี และตองมีพื้นที่วางเหลือไวโดยรอบ<br />

8. เก็บรักษาไวใหหางจากจุดไวไฟประกายไฟและหลีกเลี่ยงการใชผสมกับสารอินทรียทุก<br />

ชนิด เชน กํามะถัน ผงถาน ปุยยูเรีย น้ําตาลทราย สารกลุมซัลเฟตและเกลือแอมโมเนียทุก<br />

ชนิด ไดแก แอมโมเนียมคลอไรด และแอมโมเนียมซัลเฟต เปนตน เพราะจะทําใหงายตอ<br />

การติดไฟ และอาจเกิดระเบิดอยางรุนแรงขึ้นไดเมื่อไดรับความรอนสูง<br />

9. หามเก็บสารคลอเรตรวมกับสารกํามะถัน ผงถาน กรด สารอินทรียของเหลวไวไฟ<br />

ของแข็งไวไฟ น้ ํามันเชื้อเพลิง ปุยคอก ปุยยูเรีย และสารกําจัดแมลง<br />

10. หามวางบนพื้นไม และตองจัดวางสารไมใหสูงเกิน 3 เมตร<br />

11. การใชสารนี้ควรใชในรูปของเหลวโดยผสมกับน้ํา<br />

12. ไมควรทุบ บด กระแทกสารหรือทําใหสารเกิดการเสียดสีเพราะอาจทําใหสารเกิดระเบิดได<br />

13. เวลาใชควรสวมถุงมือ และใสหนากากปองกันสารเคมี<br />

14. หามสูบบุหรี่ขณะที่ราดสาร


15. ควรทําความสะอาดรางกายทันทีหลังการใชสาร โดยเฉพาะถาสารทําใหเกิดการระคาย<br />

เคืองตอผิวหนังและตา เพราะสารอาจเขารางกายไดทางบาดแผล และเขาสูกระแสเลือด<br />

ทําลายเม็ดโลหิตแดง เปนอันตรายตอไต และกลามเนื้อหัวใจ<br />

16. หามกลืนกินสารคลอเรตที่เปนน้ํายาบวนปาก หรือน้ํายากลั้วคอโดยเด็ดขาดหรือหยุดการ<br />

ใชสารนี้ เมื่อมีอาการเกิดขึ้น เนื่องจากสารคลอเรตละลายน้ําไดดี หากใชภายนอกเชนในไร<br />

สวน สารนี้จะซึมผานผิวหนังไดนอยและคอนขางปลอดภัย ยกเวนกรณีเกิดอุบัติเหตุ หรือ<br />

ไดสัมผัสสารละลายนี้จํานวนมากใหรีบลางออกทันทีดวยน้ําสะอาดปริมาณมากๆ<br />

วิธีการใชสารกลุมคลอเรต<br />

1. วิธีการราดหรือหวานทางดิน<br />

เปนวิธีที่ไดรับความนิยมมากที่สุด เนื่องจากการตอบสนองของลําไยคอนขางไดผลแนนอน<br />

กวาวิธีอื่น การใหทางดินมี 2 วิธีคือ การผสมน้ํารดใตชายทรงพุมลําไย โดยชั่งสารตามที่ใหคํานวณ<br />

ไวของแตละตน ละลายในน้ําที่บรรจุในถังพลาสติก เมื่อละลายดีแลวจึงเติมน้ําให พอที่จะราดไดทั่ว<br />

ปกติจะผสมน้ําใหไดประมาณ 60-80 ลิตรตอตน หลังราดสารแลวจําเปนตองใหน้ําเปนระยะๆ เพื่อให<br />

ยังคงมีความชื้นอยู สําหรับการดูดซับสารของรากจนกวาจะออกดอก อีกวิธีหนึ่งคือ การหวานในรูป<br />

ของผงผลึกที่ชั่งไวตามที่คํานวณ โดยหวานใหทั่วโคนตนแลวรดน้ําตาม วิธีนี้เหมาะสําหรับใหสาร<br />

ในชวงมีฝนตกชุกจะไดผลดี แตวิธีแรกจะไดผลดีเมื่อดินแหงมีความชื้นนอย กอนราดสารทางดินควร<br />

กําจัดวัชพืชหรือเศษใบไมใบหญาออกจากโคนตนกอน เพื่อปองกันการตกคางของสารบนวัสดุ<br />

ดังกลาว เมื่อทําความสะอาดแลวสารจะไดซึมลงสูดินและดูดซึมดวยรากไดทันที ขณะที่ชั่งสาร ละลาย<br />

สารและราดสารตองสวมถุงมือและหนากากปองกันสารพิษดวย ระวังมิใหละอองของสารเขาปากจมูก<br />

หรือสัมผัสหนา<br />

ขอจํากัดกอนราดสาร<br />

1. ตนลําไยที่จะราดสารตองเปนตนที่มีใบแกเขียวเข็มและสมบูรณ<br />

2. หากเห็นมีใบออนเริ่มพัฒนาแลวไมควรราดสารเพราะใบออนจะพัฒนาตอไปจนเปนใบแก<br />

และไมออกดอก<br />

3. จําเปนตองมีแหลงน้ําเพียงพอ เนื่องจากตองใหน้ําบางหลังใหสารแลว มิฉะนั้นใบจะ<br />

เหลืองเหี่ยวเฉาและตนอาจตายได<br />

4. สารคลอเรตควรเปนสารบริสุทธิ์ในรูปผลึกสีขาว หากเปนสีอื่นแสดงวาไดรับการผสมกับ<br />

สารอื่นและไมควรใช เพราะอาจเปนอันตรายหรือเกิดการระเบิดได<br />

5. หลังมีฝนตกหนักและมีน้ําขังบริเวณโคนตนหรือดินชุมน้ํา การราดสารจะไมไดผล<br />

เนื่องจากระบบรากอิ่มน้ําอยูกอนแลวและไมดูดสารที่ราดในปริมาณที่เพียงพอ<br />

6. สภาพอากาศหนาวการแสดงผลการราดสารไมชัดเจน เนื่องจากความเย็นทําใหตนลําไย<br />

เกิดความเครียด ตนจะชะงักการเจริญเติบโตแตระบบรากก็ยังคงดูดธาตุอาหารได ซึ่งสาร


จะถูกดูดเขาสูลําตนไดเชนกัน ลําไยเมื่อไดรับสารจะกระตุนใหออกดอก แตดอกไม<br />

สามารถพัฒนาออกมาไดจนกวาสภาพอากาศอุนขึ้น ทําใหดอกพัฒนาออกมาพรอมกับ<br />

ดอกที่ออกตามฤดูปกติ<br />

ขั้นตอนการราดสาร<br />

1. วิธีการราดสารละลายหรือหวานสารลงดิน เปนวิธีที่นิยมทํากันมากที่สุด เนื่องจากตนลําไย<br />

ตอบสนองไดดีและแสดงผลชัดเจน โดยเลือกตนที่มีความสมบูรณดังกลาวขางตน ควร<br />

ผานการแตกใบออนแลว 2 ครั้งขึ้นไป ใบควรมีสีเขียวเขมเปนมัน ปลายยอดยังแข็งและยัง<br />

ไมเริ่มพัฒนาเปนใบออน<br />

2. ทําความสะอาดบริเวณทรงพุมโดยเอาหญาและเศษขยะออกจากโคนตนใหหมด เพื่อให<br />

สารละลายซึมลงสูรากบริเวณผิวดินไดงายขึ้น หากดินแหงเกินไปควรพรมน้ําเล็กนอยใน<br />

บริเวณทรงพุมกอนราดสาร เพื่อใหเวลาราดสารแลวจะไดซึมไปสูรากสะดวกรวดเร็วขึ้น<br />

แตถาหากดินชุมฉ่ําน้ํามากไปตองระบายน้ําออกและควรปลอยใหดินแหงพอควรจึงคอย<br />

ราดสาร<br />

3. วัดขนาดเสนผาศูนยกลางของทรงพุมเปน “เมตร” แลวคูณดวย 60 ก็จะเปนปริมาณสารที่<br />

ใชเปนกรัม เชน วัดขนาดเสนผาศูนยกลางทรงพุมได 6 เมตร ก็จะใชสารโพแทสเซียมคลอ<br />

เรต บริสุทธิ ์ 95% เทากับ 6x60 = 360 กรัม เปนตน หากตนมีขนาดใหญมาก<br />

เสนผาศูนยกลางมากกวา 10 เมตรขึ้นไปก็ไมควรใสสารเกินตนละ 1 กิโลกรัม<br />

4. นําสารในขอ 3 ผสมน้ําใหพอทีจะราดไดทั่วรอบโคนตน ซึ่งประมาณ 60-80 ลิตรตอตน<br />

เวลาราดสารใหหางโคนตนประมาณ 50 เซนติเมตร และราดทั่วบริเวณภายในทรงพุมจนถึง<br />

ชายพุมที่ไดทําความสะอาดไว<br />

5. หลังราดสารแลวจะเปนตองใหน้ําเพื่อรักษาความชื้นใหพอเหมาะอยูเสมอ โดยเฉพาะชวง<br />

10 วันแรก เพื่อสารจะไดซึมเขาสูรากอยางตอเนื่อง และปองกันมิใหเปนพิษตอรากและตน<br />

ลําไย หรือสะสมในดิน<br />

6. หากใชวิธีการหวานสารซึ่งเปนผลึกลงในดินโดยตรง ยิ่งจําเปนที่จะตองใหน้ําในปริมาณ<br />

มากและสม่ําเสมอเพื่อละลายสารซึ่งบางครั้งเปนกอนเล็กกอนใหญไมเทากัน การละลายจึง<br />

ยากงายตางกัน บางครั้งหวานสารในปริมาณที่มากและกอนใหญทําใหละลายชาจึงมีผลตอ<br />

การออกดอกซ้ําซอนจะเห็นวาเมื่อดอกรุนแรกเริ่มติดผล แตชอที่ติดผลนั้นมีปริมาณผลนอย<br />

ดอกก็จะออกมาในชอนั้นอีกทําใหมีดอก 2 รุน ผล 2 รุน เล็กบางใหญบางซึ่งจะมีผลตอการ<br />

เก็บเกี่ยวในอนาคตขางหนาอีกเพราะแกไมพรอมกัน ถาติดผลไมดีทั้งตนก็จะมีดอก<br />

ประปรายทั้งตน เปนปญหามาก แตตนที่ติดผลดกจะไมพบอาการออกดอกซ้ําซอน


2. วิธีการพนสารทางใบ<br />

การพนสารคลอเรตทางใบ เปนอีกวิธีหนึ่งที่สามารถชักนําใหลําไยออกดอกไดแมจะเปนวิธีที่<br />

ไดผลไมดีนัก จากการศึกษาของมนตรี และคณะ (2544) พนสารละลายโพแทสเซียมคลอเรตอัตรา<br />

ความ เขมขน 0 0.3 0.5 และ 1.0% ฉีดพนชวงฤดูฝนขณะที่ใบแกจัด อัตราที่ 0.3% ใบเริ่มรวง<br />

อัตรา 0.5% ใบรวงเกือบหมดตน และอัตรา 1.0% ใบรวงหมดทั้งตน แตก็มีการแตกยอดออนออกมา<br />

ทดแทนไดภายใน 1 สัปดาหไมพบการออกดอก เมื่อปรับอัตราใหต่ําลงที่ 0.1 และ 0.2% ฉีดพนชวง<br />

แลง เดือนพฤศจิกายนพบวา เกิดอาการใบเหี่ยวลู ใบแกสีเหลืองรวงหลนประมาณ 20% ยอดออนที่ถูก<br />

สารโดยตรงจะเหี่ยวแหงและหลุดรวงไปซึ่งเปนทิศที่ถูกแสงแดดจัด สวนที่ระดับ 0.2% นั้นมีผลทําให<br />

ใบรวงประมาณ 30% มีปลายใบไหมและสามารถออกดอกได 80-90% ซึ่ง ธิติและคณะ (2542)<br />

รายงานวาการใหสารทางใบอัตรา 2,000 มิลลิกรัม/ลิตร สามารถชักนําใหลําไยออกดอกได การใหสาร<br />

วิธีนี้มีขอดีคือ ใชสารในปริมาณนอยเมื่อเปรียบเทียบกับการใหทางดิน ขอควรระมัดระวังในการฉีด<br />

พนสารนั้นคือ ใชสารไมควรเกิน 0.2% หรือ 2,000 มิลลิกรัม/ลิตร มิฉะนั้นใบจะรวงมากและรวง<br />

เพิ่มขึ้นตามอัตราความเขมขน<br />

ขอควรระวังในการใชสาร<br />

1. ไมควรใชสารดังกลาวปริมาณที่แนะนําเพราะจะทําใหใบลําไยไหมและรวงได<br />

2. ควรฉีดพนในระยะใบเพสลาดถึงใบแก (ใบอายุ 45-60 วัน)<br />

3. ควรฉีดพนในตอนเชาหรือเย็นในขณะที่อากาศไมรอน<br />

4. ควรสวมชุดปกปดรางกายและไมควรสูบบุหรี่ในขณะพนสารและทําความสะอาดชุดที่สวม<br />

ใสทันทีหลังจากฉีดพน<br />

5. ไมควรผสมสารใดๆ รวมกับสารคลอเรต<br />

ขอจํากัดในการพนสารทางใบ<br />

1. การพนสารทางใบนั้นจําเปนตองเลือกตนลําไยที่สมบูรณใบเขียวเขมเปนมันและอยูใน<br />

ระยะใบแกจัดเชนกัน<br />

2. ชวงเวลาที่จะใชไดผลดีไดแกชวงที่มีสภาพอากาศคอนขางแหงแลง โดยเฉพาะชวงเดือน<br />

พฤศจิกายน และธันวาคม จะฉีดพนเพื่อเสริมการออกดอกในฤดูใหสมบูรณขึ้น สวนใน<br />

ฤดูฝนหรือฤดูแลงจัด เชนเดือนมีนาคมจะไมคอยไดผล ออกดอกเล็กนอยและในชวงแลง<br />

ชอดอกจะสั้นปริมาณดอกตอชอนอย ชอดอกไมทันพัฒนาใหยาวไดเทาขนาดปกติดอกก็<br />

เริ่มบานไมคอยติดผล<br />

3. ความเขมขนของสารที่ใชพนทางใบที่เหมาะสม คือ 0.2% หรือใชสาร 40 กรัมตอน้ํา 20<br />

ลิตร การพนอัตราที่เขมขนเกิน 0.3% นั้นใบจะรวงหลนมาก แมแตที่ความเขมขน 0.2% ยัง<br />

พบวาบางครั้งมีใบรวงหลนประมาณ 5-10%


4. ในชวงฤดูฝนการพนอัตราที่เขมขนเกินไป (0.3% ขึ้นไป) จะพบวาเกิดเปนพิษ (toxic) ที่<br />

ปลายใบจะมีรอยไหมและการรวงหลนจะตามมาภายหลังพนสารได 4 วัน ในกรณีที่พน<br />

ดวยความเขมขนสูงถึง 0.5% อาการใบรวงจะเริ่มรวงเชนเดียวกันและจะรวงหมดทั้งตน<br />

ภายในเวลาสัปดาหเดียว แตจะแตกใบใหมออกมาแทนที่ไดอยางรวดเร็วแตไมออกดอก<br />

5. เนื่องจากสารคลอเรตเปนสารที่อันตรายสามารถกําจัดวัชพืชได ดังนั้นก็ยอมจะเปน<br />

อันตรายตอใบลําไยไดเชนกัน จึงควรใชอยางระมัดระวัง โดยเฉพาะอัตราที่ใชแมผิดเพี้ยน<br />

เพียงเล็กนอยก็จะกอใหเกิดอันตรายได เวลาที่พนก็ควรเปนตอนเชาหรือเย็น ก็จะชวยลด<br />

การเปนพิษลงไดบาง<br />

6. การพนสารทางใบปกติแลวถาไมใชเปนการเสริมในฤดูปกติแลว จะไดผลเพียงเล็กนอยคือ<br />

ประมาณ 5-10% และไมคุมคากับการลงทุน<br />

3. การฉีดสารเขาทางกิ่ง<br />

การฉีดเขาทางกิ่งนับเปนวิธีที่ยุงยากมากที่สุดและไดผลนอยที่สุดดวย เกษตรกรไมคอยนิยม<br />

เนื่องจากตองเตรียมอุปกรณเชน สวานเจาะกิ่ง ปลอก เข็มฉีดยา และกระบอกฉีดยาชนิดพลาสติกที่<br />

ดัดแปลงใหมีรูสําหรับปรับแรงดันน้ํายาได โดยใชลวดแข็งเสียบในรูปรับแรงดันตามความตองการ เมื่อ<br />

แรงดันน้ํายาออนลงก็สามารถขยับลวดเสียบที่ต่ําลงมาอีกได แรงดันก็จะเพิ่มขึ้น<br />

เลือกกิ่งที่มีขนาดเสนผาศูนยกลางตั้งแต 7 เซนติเมตรขึ้นไป จากตนที่สมบูรณแข็งแรงเหมือน<br />

ตนที่ราดทางดินหรือพนทางใบ ใชสวานที่มีดอกสวานขนาดเสนผาศูนยกลาง 0.5 เซ็นติเมตร เจาะกิ่งให<br />

ลึกประมาณ 2 เซนติเมตร แลวใชปลอกพลาสติกที่พอดีกับปลายกระบอกฉีดยาเสียบเขาไปในรูใหแนน<br />

กอน พรอมเสียบกระบอกฉีดยาที่มีสารละลายคลอเรตเขมขน 2.5 กรัมตอเสนผาศูนยกลางกิ่ง 1<br />

เซนติเมตรละลายน้ํา 4 ซี.ซี. โดยเหลือชองวางสําหรับใหอากาศอยูภายในกระบอกฉีดยาประมาณ 10<br />

ซี.ซี. แลวสวมปลายกระบอกฉีดยาเขาปลอกพลาสติกใหแนนเดินน้ํายาใหเขาสูกิ่งลําไยและปรับความดัน<br />

ใหแนนที่สุดและใชลวดเสียบปรับความดันไว<br />

การฉีดเขากิ่งบางครั้งจะพบอาการเปนพิษ โดยใบจะรวงหลน บางครั้งรุนแรง ใบไหมแหงติด<br />

ตน ซึ่งอาการเชนนี้จะทําใหกิ่งตายได จากการใชสารวิธีนี้ชวงปลายฤดูฝนยังไมพบการออกดอก แตพบ<br />

อาการเปนพิษมาก โดยเฉพาะถาความเขมขนสูงที่ 0.3-0.5 กรัมตอเสนผาศูนยกลาง 1 เซนติเมตรนั้นจะ<br />

เปนพิษมากนอยตามความเขมขนและการเปนพิษจะพุงตรงจากรอยเจาะไปยังปลายกิ่งเปนสวนใหญ กิ่ง<br />

แขนงที่แยกออกจะไดรับความเปนพิษลดหลั่นลงมา<br />

การใชสารคลอเรตอัตรา 0.25 กรัมตอเสนผาศูนยกลางของกิ่ง 1 เซนติเมตรกับลําไยพันธุสี<br />

ชมพูสามารถชักนําใหออกดอกไดถึง 80% โดยควรเลือกกิ่งที่มีขนาดเสนผาศูนยกลาง 10-15 ซม. แลว<br />

ใชสวานเจาะลึก 1-1.5 นิ้ว จากนั้นใชปลอกพลาสติกตอกลงไปในรูสวานใหแนน ละลายสารคลอเรต<br />

ในน้ําปริมาณนอยๆ จากนั้นใชกระบอกฉีดยาชนิดพลาสติก ขนาด 60 ซี.ซี. ดูดสารละลายและดูด


อากาศเขาไปดวยประมาณ 10 ซี.ซี. เพื่อใหเกิดแรงดันสารละลาย แลวฉีดอัดสารละลายเขาไปในกิ่ง<br />

โดยผานทางปลอกพลาสติกที่ตอกไว ภายหลังจากฉีดสารเขาไปในกิ่งตองใหน้ํากับตนลําไย เพื่อให<br />

สารลําเลียงขึ้นสูยอดใหเร็วที่สุด<br />

ดังนั้นจึงสรุปไดวา การใชสารคลอเรตกับลําไยเพื่อชักนําการออกดอก สามารถใชไดทั้งทาง<br />

ราก กิ่ง และใบ แตวิธีที่งายสะดวกและไดผลดีคือ การราดทางดินโดยผสมสารคลอเรตในน้ําและน้ํา<br />

ราดบริเวณใตทรงพุมไดผลดีที่สุด สําหรับการหวานในรูปของผงและใหน้ําตามก็ไดผลดี แตบางครั้ง<br />

พบการออกดอกซ้ําซอนในปริมาณมาก เนื่องจากการใหแบบหวานผง เนื้อสารจะคอยๆ ละลายทําให<br />

การออกฤทธิ์มีผลตอเนื่องยาวนาน เมื่อชอใดไมติดผลจากการออกดอกครั้งที่ผานมา ชอนั้นจะออกดอก<br />

ตามมาอีกชุดหนึ่ง ขณะที่ชุดแรกติดผลไปแลวทําใหมีลําไยหลายรุนในชอเดียวกัน การพนทางใบถาทํา<br />

ในฤดูฝนไมคอยไดผลและถาพนผิดอัตราที่สูงไปก็จะทําใหใบรวง พนนอยไปหรืออัตราที่แนะนําก็ยัง<br />

ไมคอยไดผลเปนการคา<br />

การปฏิบัติดูแลรักษาหลังจากใชสาร<br />

1. เมื่อลําไยออกดอกแลวควรใหน้ําและปุยตามคําแนะนําอยางสม่ําเสมอ มิฉะนั้นจะทําใหผลมี<br />

ขนาดเล็กและตนอาจโทรมได<br />

2. ถาลําไยติดผลดกเกินไปคือ มีจํานวนผลในชอ 80-100 ผลขึ้นไป ควรตัดชอผลบางหรือปลิด<br />

ผลออกบาง คือควรใหเหลือ 60-70 ผลตอชอ<br />

3. การใหปุยทางดินในระยะที่ผลลําไยกําลังขยายตัว ควรใชปุย N:P:K อัตราสวน 3:1:2 และ<br />

อาจเสริมดวยปุยปลาทั้งทางดินและทางใบเปนระยะๆ ก็จะได สวนชวงกอนเก็บเกี่ยวประมาณ 1.5<br />

เดือน ควรใหปุย N:P:K อัตรา 1:2:4 หรือ 1:2:5 หรือสูตรใกลเคียง<br />

4. การใชปุยปลาหมัก ฉีดพนทางใบหรือราดทางดินรวมกับการใชปุยเคมี จะชวยทําใหตนลําไย<br />

สมบูรณยิ่งขึ้นและเพิ่มขนาดผลได โดยการทําปุยหมักปลาจะใชเศษปลาน้ําหนัก 100 กิโลกรัม ผสม<br />

น้ําสมสายชู 2.5 ลิตรและกากน้ําตาล 20 ลิตร คลุกเคลาใหทั่วในชวง 10 วันแรก ใหกวนทุกวันเพื่อให<br />

การหมักสมบูรณยิ่งขึ้น โดยหมักไวประมาณ 3-4 สัปดาห จึงบีบเอาน้ําออกมาใชพนไดโดยใชความ<br />

เขมขนประมาณ 0.5-1.0% สวนกากใชผสมน้ํารดที่โคนตนได<br />

5. เนื่องจากการใชสารคลอเรตมักทํานอกฤดูกาล ดังนั้นจะพบกับปญหาแมลงคอนขางสูง<br />

ตั้งแตหนอนกินดอก มวนลําไย หนอนเจาะผลและที่สําคัญคือ คางคาว ซึ่งจะทําลายผลแกชวงเก็บเกี่ยว<br />

หากรุนแรงมากเพียง 1-2 วัน ก็อาจทําลายไดหมดสวน ดังนั้นจึงควรระมัดระวัง และตรวจตราอยาง<br />

ใกลชิด<br />

โดยปกติหลังจากวันที่ใหสารแลวถึงวันที่ออกดอกประมาณ 21 วัน จากนั้นจะใชเวลาในการ<br />

พัฒนาดอกและผลจนกระทั่งเก็บเกี่ยวไดประมาณ 7 เดือน ทั้งนี้ขึ้นอยูกับพันธุและสภาพแวดลอมใน


ขณะที่ออกดอกและติดผล จากการศึกษาพบวา การใหสารเดือนพฤศจิกายนซึ่งถือวาเปนการผลิตลําไย<br />

กอนฤดู จะใชระยะเวลาตั้งแตออกดอกถึงเก็บเกี่ยวไดนานถึง 180-192 วัน สวนการใหสารชวงเดือน<br />

พฤษภาคมใชเวลาเพียง 165-172 วันก็เก็บเกี่ยวได ชวงออกดอกถึงดอกบานประมาณ 1 เดือน ดอกจะ<br />

บานอยูประมาณ 1 เดือน ปกติดอกลําไยที่บานกอนจะเปนดอกเพศผูซึ่งมีปริมาณไมมากและจะบานอยู<br />

ประมาณ 5-7 วันก็จะหมด จากนั้นก็เริ่มมีดอกเพศเมียบานตามมา ซึ ่งดอกชุดนี้จะติดผลและผลจะมี<br />

ขนาดใหญจะบานอยูประมาณ 7-10 วัน เมื่อดอกเพศเมียชุดนี้ใกลๆจะบานหมดก็มีดอกเพศผูชุดที่ 2<br />

โดยดอกเพศผูชุดนี้มีลักษณะคลายดอกกระเทยที่มีรังไขอยูดวย แตมีขนาดเล็กและไมรับการผสมเกสร<br />

และบานอยู 12-13 วัน บางครั้งก็จะมีดอกเพศเมียชุดสุดทายบานตามมาอีกเล็กนอยประมาณ 2-3 วัน<br />

โดยดอกเพศเมียชุดนี้จะติดผลไดแตขนาดของผลมักจะเล็กกวาผลที่ไดจากดอกชุดแรก ทําใหบางชอมี<br />

อาจมีผล 2 รุน เมื่อดอกบานหมดแลวก็จะเห็นวาลําไยเริ่มติดผล ผลจะมีขนาดเสนผาศูนยกลาง<br />

ประมาณ 2 มิลลิเมตร จําเปนตองใสปุยใหกับผลออนขยายตัวคอนขางชา เปนการพัฒนาของเมล็ดและ<br />

เปลือกเปนสวนใหญ ระยะนี้ตนลําไยตองการไนโตรเจนคอนขางมาก ซึ่งเกษตรกรทั่วไปมักใชปุยสูตร<br />

เสมอเชน 15-15-15 หรือ 16-16-16 จากการทดลองพบวา การใหปุยตํารับที่1 คือสูตร 15-15-15 ตน<br />

ละ 3 กิโลกรัม หรือปุยตํารับที่ 2 คือ ปุยสูตร 15-15-15 ตนละ 3 กิโลกรัมผสมปุยคอกตนละ 20 ปบ<br />

หรือปุยตํารับที่ 3 คือ ปุยสูตร 15-15-15 ตนละ 3 กิโลกรัมผสมปุยคอกตนละ 20 ปบและปุยปลาเขมขน<br />

ตนละ 10 กิโลกรัม (แบงใส 4 ครั้ง หางกัน 1 เดือน) หรือปุยตํารับที่ 4 ไดแก ปุยตํารับที่ 3 ทางดิน<br />

และพนปุยปลาอัตรา 100 กรัม/น้ํา 20 ลิตร พนทุกสัปดาหจนถึงกอนเก็บเกี่ยว 1 เดือนหรือการใหปุย<br />

ตํารับที่ 5 ไดแก ใหปุยตํารับที่ 3 ทางดินและพนดวยยูเรียอัตรา 40 กรัม/น้ํา 20 ลิตร โดยพนเมื่อผล<br />

มีขนาด 0.5 มิลลิเมตร ปรากฏวา ปุยทุกตํารับทําใหลําไยออกดอกติดผลดี ผลมีขนาดคอนขางใหญ หลัง<br />

เก็บเกี่ยวแลวก็สามารถแตกยอดออนไดภายใน 18-21 วันและเมื่อใบอายุ 60 วันก็เริ่มแตกยอดออนครั้งที่<br />

2 เมื่อใบออนนี้แกก็สามารถราดสารไดอีกครั้ง ซึ่งจะใชเวลาประมาณ 1 ปเชนเดียวกับลําไยในฤดูปกติ<br />

ขอควรพิจารณาในการผลิตลําไยนอกฤดู<br />

1. ผูผลิตหรือเกษตรกรจะตองมั่นใจวาเมื่อผลิตลําไยออกมานอกฤดูในชวงนั้นๆ จะมีตลาด<br />

รองรับและราคาตองคุมคาสําหรับการลงทุนดวย เนื่องจากการผลิตลําไยนอกฤดูตองมีอยูชวงที่ขาดน้ํา<br />

โดยเฉพาะในชวงที่ผลกําลังขยายขนาดหรือชวงสรางเนื้อ จะตองใชน้ําปริมาณมากซึ่งลําไยธรรมชาติจะ<br />

ไดไดรับน้ําฝนเต็มที ่เนื่องจากเปนชวงฤดูฝน เมื่อผูผลิตทราบวาจะตองขายผลผลิตเมื่อไรก็นับยอนหลัง<br />

ประมาณ 8 เดือนจะไดราดสารคลอเรตและไดผลผลิตตามเวลาที่ตองการ<br />

2. จําเปนตองมีแหลงน้ําที่สะอาดพอเพียงตั้งแตราดสารจนกระทั่งเก็บเกี่ยวผล เนื่องจาก<br />

ชวงหนึ่งของการพัฒนาดอกหรือผลที่ผลผิตนอกฤดูจะตรงกับชวงแลงที่ไมมีฝนตก จึงจําเปนตองเตรียม<br />

แหลงน้ําไวใหพรอม


3. การผลิตลําไยนอกฤดูนั้นจะพบแมลงศัตรูบางชนิดเชน หนอนเจาะผล (Deudorix epijabas<br />

anatius) มากกวาการผลิตในฤดูซึ่งจะไมพบหรือพบก็นอยมาก เมื่อมีการผลิตนอกฤทําใหแมลงเหลานี้<br />

มีวงจรชีวิตที่เปลี่ยนไปและทําใหมีการระบาดในฤดูปกติดวย นอกจากนี้ในบางทองที่ที่ผลิตนอกฤดูจะ<br />

มีคางคาวเขาทําลายมากชวงใกลจะเก็บเกี่ยว ซึ่งผลผลิตจะเสียหายมากแทบเก็บเกี่ยวไมไดเลย จึงจําตอง<br />

ระมัดระวังเปนพิเศษ<br />

คุณภาพของผลผลิตของลําไยนอกฤดู<br />

การผลิตลําไยนอกฤดูมักจะตองผานชวงแลงชวงระยะเวลาหนึ่ง ในขณะที่พัฒนาการของผลอยู<br />

ในระยะสรางเนื้อซึ่งตองการน้ําปริมาณมาก การใหน้ําชลประทานเฉพาะที่บริเวณโคนตนนั้นอาจไม<br />

เพียงพอ เนื่องจากรากลําไยบางสวนไดแผขยายออกไปนอกทรงพุมมากแลว ถาเปนการผลิตลําไยในฤดู<br />

ปกติชวงที่ผลกําลังขยายขนาดจะอยูในชวงฤดูฝนและไดรับน้ําฝนอยางเต็มที่ ไมวารากจะอยูนอกทรง<br />

พุมมากนอยเพียงใด นอกจากนี้ฝนยังสามารถเพิ่มความชื้นในอากาศใหสูงขึ้นและมีความสัมพันธกับ<br />

อุณหภูมิแสงแดดที่เหมาะแกการเจริญเติบโตของผลอยางมาก สวนลําไยที่ใชสารคลอเรตผลิตนอกฤดู<br />

นั้นจะมีผลขนาดเล็ก เปลือกบางและมักแฉะน้ํา แตอยางไรก็ตาม เกษตรกรหลายรายสามารถผลิตลําไย<br />

นอกฤดูใหผลมีขนาดใหญและเนื้อไมแฉะน้ําได ซึ่งขนาดและคุณภาพของผลขึ้นอยูกับปจจัยหลายอยาง<br />

เชน พันธุ สภาพแวดลอม ความสมบูรณของตน และการดูแลรักษา<br />

โดยทั่วไปลําไยที่ใชสารคลอเรตจะติดผลดก บางครั้งอาจพบวา อาจติดผลจํานวนมากถึง 200<br />

ผลตอชอ ตนที่ติดผลดกก็มักจะติดผลดกทั้งตน เมื่อผลมีขนาด 0.5 - 0.7 เซนติเมตร หากไมมีการตัด<br />

ผลออนทิ้งบาง ตนนั้นจะไมสามารถเลี้ยงผลใหสมบูรณได ตนลําไยพันธุดอที่สมบูรณและมีจํานวนผล<br />

ไมเกิน 50 ผลตอชอจะมีผลขนาดใหญ ซึ่งจํานวนผลตอชอที่เหมาะสมนั้นควรพิจารณาจากความมาก<br />

นอยของการติดผลและความสมบูรณของตน


การใชสารคลอเรตกระตุนใหลําไยออกดอกนอกฤดู<br />

v<br />

ลักษณะใบที่แกเต็มที่พรอมใหสารคลอเรต<br />

การใหสารคลอเรตโดยราดทางดิน<br />

การใหสารคลอเรตโดยการฉีดเขากิ่ง


ลักษณะของกิ่งและใบแหงตายหลังใหสารคลอเรตโดยการฉีดเขากิ่ง


โรค แมลง ศัตรูพืชและการปองกันกําจัด<br />

สํานักวิจัยและพัฒนาการอารักขาพืช<br />

ปญหาศัตรูลําไยไดแก โรค แมลง ไรศัตรูพืช และวัชพืชซึ่งพบอยูทั่วไปตามแหลงปลูก การ<br />

ระบาดของศัตรูพืชดังกลาวจะเกิดเปนครั้งคราวหรือพบอยูเสมอนั้นขึ้นอยูกับชนิดของศัตรูพืช พันธุ<br />

ลําไย พัฒนาการของพืช การดูแลรักษา รวมทั้งสภาพแวดลอมของพื้นที่ปลูกและภูมิอากาศ ซึ่งมี<br />

ผลกระทบตอการเจริญเติบโตและการใหผลผลิต สวนวัชพืชนั้น นอกจากจะแยงธาตุอาหารความอุดม<br />

สมบูรณของพืชแลว ยังเปนแหลงหลบพักอาศัยของศัตรูพืชและศัตรูธรรมชาติ จึงตองมีการจัดการ<br />

อยางเหมาะสม สําหรับการจัดการศัตรูลําไย ไดมีการศึกษาวิจัยและพัฒนาการควบคุมศัตรูพืชโดย<br />

มุงเนนความปลอดภัย ความถูกตองตามหลักวิชาการ ยึดหลักมาตรการสุขอนามัยและสุขอนามัยพืช<br />

เพื่อใหมีการผลิตลําไยไดอยางมีคุณภาพ สําหรับการบริโภคภายในประเทศและการสงออก<br />

โรคลําไย<br />

โรคพุมแจ โรคพุมไมกวาดหรือโรคกระหรี่ (witches’broom)<br />

เชื้อสาเหตุคือ Phytoplasma หรือ Mycoplasma วงศ Mycoplasmataceae เชื้อสาเหตุมีรูปราง<br />

กลมหรือรูปไข อยูภายใน sieve cell เมื่อนําเชื้อสาเหตุมาเลี้ยงบนอาหารเลี้ยงเชื้อมายโคพลาสมา เชื้อจะ<br />

สรางโคโลนีรูปไขดาว<br />

ยอดออนที่แสดงอาการโรคพุมแจมักพบไรสี่ขาซึ่งเปนไรในวงศ Eriophyidae ดูดกินน้ําเลี้ยง<br />

ทําลายสวนตางๆ ของพืช มักจะปลอยสารพิษเขาไปในเนื้อเยื่อ ทําใหลําไยแสดงอาการผิดปกติใน<br />

รูปแบบตางๆ ตาลําไยเพียงตาเดียวจะแตกเปนยอดออนไดมากกวา 20 ยอด แตละยอดยาวสั้นตางๆ กัน<br />

สวนใหญยาวไมถึงเซนติเมตรและรวมกันเปนกระจุก เชื้อแพรระบาดไปกับกิ่งพันธุโดยการขยายพันธุ<br />

จากตนเปนโรคเชน การตอน การปกชําหรือเสียบยอด ความรุนแรงของโรคขึ้นอยูกับพันธุ โดย<br />

พันธุที่ออนแอตอโรคนี้ไดแก เบี้ยวเขียว แดงกลม ปูมาตีนโกงและพันธุพื้นเมืองที่ปลูกจากเมล็ด<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดแตงกิ่งเปนที่โรคทําลาย<br />

2. เมื่อผลิใบใหมพนดวยสารปองกันกําจัดไร เชน กํามะถันผงชนิดละลายน้ํา<br />

3. กิ่งพันธุปลูกควรเปนกิ่งพันธุที่มาจากตนแมพันธุที่สมบูรณ ไมเปนโรค<br />

4. พนสารปองกันกําจัดไรตามความจําเปน


โรคราน้ําฝน (phytophthora leaf blight, phytophthora fruit rot )<br />

เชื้อสาเหตุคือ เชื้อรา Phytophthora capsici Leonian วงศ Pythiaceae เชื้อราสรางโคโลนีสี<br />

ขาวฟูบนอาหารเลี้ยงเชื้อ V-8 juice agar เสนใยไมมีสีและไมมีผนังกั้น sporangium งอกเปนเสนใยได<br />

โดยตรง เมื่ออยูในน้ํา sporangium จะปลอย zoospore ออกมาทางปากเปด (papilla) sporangium มี<br />

ขนาด 22.5 – 65.0 x 15.0 – 30.0 µm กานชู sporangium ยาวมากกวา 250 µm L: B ratio = 2:1<br />

เชื้อสาเหตุเขาทําลายใบออน ใบเพสลาดและกิ่งออน ทําใหเกิดอาการเนาที่ใบและยอดไหม<br />

ถาสภาพเหมาะสมตอการเกิดโรคจะพบอาการใบไหมและยอดไหมระบาดทั่วทั้งตนและทั่วทั้งสวน<br />

สวนอาการที่ผลลําไยพบวากอนการเก็บเกี่ยวประมาณ 1 เดือน ชวงฝนตกชุกติดตอกัน ผลลําไยที่เปน<br />

โรคจะเนาในที่สุดพบเชื้อราสีขาวฟูขึ้นบนผิวผลทําใหผลรวง ผลลําไยที่ยังไมแกเต็มที่เมื่อเปนโรคจะมี<br />

อาการผลแตกในสวนที่เปนโรครุนแรงพบวาผลเนาทั้งสวน หลังการเก็บเกี่ยวแลวตนลําไยจะผลิใบออน<br />

กิ่งออน ถาฝนยังตกชุกจะเกิดอาการใบเนา กิ่งเปนแผลเนา และพบเชื้อราขึ้นฟูขาวบนยอดออน กิ่งออน<br />

และกานใบ ทําใหยอดออนแหงติดตน<br />

เชื้อสาเหตุจะสราง sporangium ซึ่งผลิต zoospore แพรไปกับน้ําฝน เขาทําลายผลในชวงติด<br />

ผลและทําลายใบออนในชวงผลิใบออนหลังการเก็บเกี่ยวซึ่งเปนชวงที่มีฝนตกชุกติดตอกัน โดยปกติเชื้อ<br />

ราอาศัยอยูในดินเมื่อสภาพแวดลอมเหมาะสมจึงเขาทําลายพืช<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. เมื่อพบโรคใหรีบพนดวยสารปองกันกําจัดโรคพืชเมทาแลกซิลทันที เพื่อหยุดการทําลาย<br />

ของโรค<br />

2. ในพื้นที่ซึ ่งเคยมีโรคระบาด เพื่อปองกันการสูญเสียผลผลิต กอนการเก็บเกี่ยวผลผลิต 1<br />

เดือน หากเปนชวงฝนตกชุกติดตอกันจะตองเฝาระวังผลลําไย โดยเมื่อพบโรคใหรีบพน<br />

สารเมทาแลกซิลทันที และหลังการเก็บเกี่ยวเมื่อลําไยผลิใบออน พนดวยสารดังกลาวเพื่อ<br />

ปองกันโรค<br />

3. เก็บทําลายผลและใบที่เปนโรคที่รวงลงบนพื้นดิน<br />

โรครากเนา (Phytophthora root rot)<br />

เชื้อสาเหตุคือ เชื้อรา (Phytophthora palmivora Butler.) วงศ pythiaceae อันดับ<br />

Peronosporales ทําลายราก เชื้อราสรางโคโลนีสีขาวฟูบนอาหารเลี้ยงเชื้อ potato dextrose agar เสนใย<br />

สีขาวไมมีผนังกั้น sporangium แบบ papillate ขนาด 30.5-75.0 x 20.0 – 27.5 µm ขนาดเฉลี่ย<br />

52.5x23.9 µm L:B ratio = 2.1:1


เชื้อสาเหตุเขาทําลายที่รอยตอระหวางรากและลําตน สวนที่อยูใตระดับผิวดิน ทําใหเกิดอาการ<br />

เนามีสีน้ําตาล ในขณะที่ปลายรากฝอยยังปกติใบลําไยสลดเหลือง อาการเนาจะลุกลามไปสวนของราก<br />

แขนงในที่สุดทําใหใบลําไยเหี่ยวแหงทั้งตน ถาอากาศรอนแดดจัดใบจะแหงติดและยืนตนตาย เชื้อ<br />

สาเหตุจะสราง sporangium ซึ่งจะผลิต zoospore แพรไปกับน้ําและเปนเชื้อราที่อาศัยในดินระบาด<br />

ในชวงฤดูฝนที่มีฝนตกชุก<br />

พบโรครากเนาของลําไยในจังหวัดลําพูนและเชียงใหม สาเหตุเนื่องจากรากลําไยออนแอจึง<br />

ทําใหเชื้อราเขาทําลายราก ซึ่งเชื้อราสาเหตุเปนเชื้อที่อยูในดิน จากการสํารวจโรคของลําไยที่<br />

ผานมาพบโรครากเนาของลําไยที่เกิดจากเชื้อรา Phytophthora palmivora ไมมากนัก แตในปจจุบันเริ่ม<br />

พบอาการโรครากเนาของลําไยในหลายพื้นที่ เนื่องจากการผลิตลําไยนอกฤดูทําใหรากลําไยออนแอ งาย<br />

ตอการเขาทําลายของเชื้อสาเหตุซึ่งเปนเชื้อที่อาศัยอยูในดิน<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. เมื่อพบตนลําไยอายุไมเกิน 5 ป เปนโรครากเนา ใหใชสารปองกันกําจัดโรคพืชเมทาแลก<br />

ซิล ละลายน้ําหยอดโคนตนทุกตน โดยเฉพาะตนที่ยังไมปรากฏอาการใหเห็นทางใบ<br />

2. ถอนทําลายโคนและรากลําไยที่เปนโรครากเนาและขุดดินตากบริเวณหลุมปลูกหลายๆ<br />

แดดจึงทําการปลูกซอม<br />

3. ระวังอยาใหน้ําทวมขังบริเวณโคนตนโดยเฉพาะในชวงฤดูฝน<br />

4. ลําไยปลูกใหมไมควรปลูกลึก ควรพูนดินกอนปลูก และถาใหดีควรปลูกโดยใชตนตอ<br />

โรคจุดสนิม (red rust, agal spot)<br />

สาเหตุคือ สาหราย Cephaleuros virescens วงศ Chroolepidaceae สาหรายสรางเซลลลักษณะ<br />

เปนขน ตั้งตรง ชูอยูบนเนื้อเยื่อพืช สราง sporangium สีสม บนกานชู สราง biflagellate zoospore ที่<br />

เคลื่อนที่ได<br />

ในระยะแรกเชื้อสาเหตุเขาทําลายใบของลําไยเกิดจุดแผลกลมสีเขียวปนเทาขนาด 0.3-1.0<br />

เซนติเมตรกระจายบนผิวดานบนใบ ในขณะที่ดานลางของใบไมพบอาการ จุดแผลที่เปนโรคเมื่อมีอายุ<br />

มากขึ้นมีลักษณะฟูเปนขุยสีสนิมเหล็ก มองดูคลายกํามะหยี่ดานลางของใบเปนแผลเนื่องจากเนื้อเยื่อถูก<br />

ทําลาย ถาอาการของโรครุนแรงทําใหใบที่เปนโรคแหงและรวง ในบางครั้งอาจพบอาการจุดสนิมบน<br />

กิ่ง ของลําไย ขนาดของแผลไมแนนอน มีลักษณะโดยทั่วไปคลายกับที่เกิดบนใบ ทําใหเปลือกบริเวณที่<br />

ถูกทําลายแตกเปนผลใหตนทรุดโทรมได<br />

เชื้อสาเหตุแพรกระจายโดยลมและฝน พบโรคในทุกฤดู แตพบรุนแรงในชวงที่มีความชื้นสูง<br />

อากาศคอนขางเย็น พบระบาดทั่วไปในสวนลําไยที่มีทรงพุมหนาทึบ ไมไดรับการดูแล แตไมทํา<br />

ความเสียหาย โรคจุดสนิมไมมีผลตอการเจริญเติบโตของตนลําไย นอกจากจะบดบังการสังเคราะหแสง


ของใบ สวนใหญเกิดอาการบนใบแกที่ไดรับแสงแดดเนื่องจากสาหรายซึ่งมีคุณสมบัติเปนพืชจึง<br />

ตองการแสงแดดและความชื้นในการเจริญเติบโต<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. พนดวยคอปเปอรออกซีคลอไรด หลังการตัดแตงหรือเมื่อพบการระบาดมากในชวงฤดูฝน<br />

2. ในกรณีพบที่กิ่งใหตัดแตงกิ่งที่เปนโรคทิ้งและทาดวยคอปเปอรออกซีคลอไรด<br />

โรคราดํา (sooty mold)<br />

สาเหตุคือ เชื้อรา (Meliola euphoriae Earle) วงศ Meliolaceae เชื้อราสราง fruiting body<br />

เรียกวา perithecium รูปรางกลม มีสีดํา และมี setae ยื่นออกมาบนผิวใบ เชื้อราสราง ascus ภายใน<br />

perithecium มี 8 ascospore ใน 1 ascus และ ascospore มีสีสีน้ําตาลเขม รูปรางทรงกระบอก<br />

เชื้อสาเหตุขึ้นคลุมบนผิวของใบลําไย ลักษณะเปนเสนใยสีดําเกิดกระจัดกระจายบนผิวดานใต<br />

ใบและเจริญเชื่อมกันเปนแผนใหญ เชื้อสาเหตุไมทําลายพืชโดยตรงแตจะบดบังการสังเคราะหแสงของ<br />

ใบ คราบสีดําจะพบไดทั้งบนใบ กิ่ง ชอดอก และผล ถาพบอาการบนชอดอกทําใหไมมีการผสมเกสร<br />

ชอดอกจะแหงและหลุดรวงไป เมื่อเกิดอาการบนผลทําใหผลมีสีดําทําใหเสียราคาเมื่อจําหนาย<br />

โดยทั่วไปเสนใยของเชื้อราสาเหตุเจริญอยูบนผิวไมลุกลามเขาไปในเซลลพืช สามารถหลุดออกไดงาย<br />

เมื่อใชมือถูโดยเฉพาะเชื้อราดําที่พบบนใบจะหลุดรอนไดงายกวาที่พบบนกิ่ง<br />

การแพรระบาดของราดําเนื่องมาจากแมลงปากดูดที่ทําลายยอดออนและถายมูลหวานออกมา<br />

เคลือบบนสวนตางๆ เชื้อราจะอาศัยมูลหวานเหลานี้เปนอาหาร สามารถแพรกระจายตอไปโดยลมและ<br />

น้ําฝน เปนโรคที่พบโดยทั่วไปในแหลงปลูกลําไย<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดแตงทรงพุม และใชสารฆาแมลงพน ปองกันกําจัดแมลงปากดูด ไดแก คารบาริล<br />

2. โดยปกติเมื่อเชื้อราอาศัยมูลหวานบนสวนของพืชหมดไป เชื้อราจะแหงหลุดรวงไปเองไม<br />

จําเปนตองใชสารปองกันกําจัดโรคพืช ในกรณีที่มีการระบาดรุนแรงพนดวย คอปเปอรออกซีคลอไรด<br />

คารเบนดาซิม ควบคูไปกับสารฆาแมลง<br />

โรคใบจุดดํา (Black spot)<br />

สาเหตุ เชื้อรา <strong>Co</strong>lletotrichum sp. วงศ Melanconiaceae โดยเชื้อราสราง conidia ไมมีสี รูป<br />

ไข หรือยาวรี หรือรูปโคงอยูบน conidiophore ใน fruiting body แบบ บนอาหารเลี้ยงเชื้อ potato<br />

dextrose agar ในระยะแรกสรางเสนใยสีขาวมีผนังกั้น เชื้อราเมื่อแกจะเปลี่ยนเปนสีของอาหาร เปนสี


เทาดํา และสรางกลุม spore เปนเมือกสีสม เชื้อสาเหตุเขาทําลายใบแกของลําไยทําใหเกิดจุดแผลสี<br />

น้ําตาลออนลักษณะกลม ตอมาแผลเริ่มเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลดํา เมื่อมีความชื้นสูงอาจพบเสนใยสีขาวของ<br />

เชื้อราขึ้นบนแผล สปอรของเชื้อสาเหตุแพรกระจายไปตามลมและน้ําฝน ระบาดในสวนลําไยทั่วไป<br />

โดยเฉพาะชวงที่มีสภาพอากาศชื้น หากระบาดรุนแรงทําใหสูญเสียพื้นที่ใบในการสังเคราะหแสง<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดแตงทรงพุมใหโปรงหลังเก็บเกี่ยว ทําลายใบที่เปนโรคไมใหเปนแหลงสะสมของโรค<br />

2. พนสารปองกันกําจัดโรคพืช เชน เบนโนมิลคารเบนดาซิม แคปแทน แมนโคเซบ คอป<br />

เปอรออกซีคลอไรด สลับกันทุก 2 สัปดาหในชวงฤดูฝน<br />

ไลเคนส<br />

สาเหตุคือ ไลเคนส ทําใหเกิดจุดสีขาวนูนเล็กๆกระจายทั่วไปบนใบลําไย โดยปกติจะพบมาก<br />

บริเวณสวนกลางและดานลางของทรงพุม ไลเคนสสราง sexual spores ใน fruiting body ซึ่งแพร<br />

ระบาดโดยลม ฝน แมลง และสัตวตางๆ<br />

พบในสวนลําไยทั่วไปโดยเฉพาะชวงที่มีสภาพอากาศชื้น โดยปกติจะไมทําความเสียหายกับ<br />

พืชโดยตรง แตใบที่พบไลเคนสเปนจํานวนมากจะมีพื้นที่ในการสังเคราะหแสงนอยลง ไมมีความ<br />

จําเปนที่จะตองใชสารเคมีปองกันกําจัด ในสวนที่มีการดูแลรักษาดี มีการตัดแตงกิ่ง จะพบไลเคนสนอย<br />

มาก<br />

โรคหงอย<br />

อาจเกิดจากหลายสาเหตุไดแก สภาพพื้นที่ปลูกไมเหมาะสม การขาดธาตุอาหารในดินและ<br />

เกิดจากการเขาทําลายของหนอนเจาะยอดและไสเดือนฝอย<br />

สภาพพื้นที่ปลูกในที่ลุมซึ่งชวงที่มีฝนตกหนักติดตอกันทําใหมีน้ําทวมขัง ระบบรากของตน<br />

ลําไยเนาเสียหาย สภาพพื้นที่ดอนเปนสวนที่ขาดน้ําในฤดูแลง สวนในสภาพนี้หนาดินแนนทําใหการ<br />

เจริญเติบโต การแผขยายของรากนอยหรือชะงักงัน ตนทรุดโทรม การขาดธาตุอาหารในดินเปนสาเหตุ<br />

หนึ่งที่ทําใหเกิดอาการหงอย โดยเฉพาะธาตุอาหารเสริมและธาตุอาหารรองบางชนิด<br />

อาการหงอยที่เกิดจากหนอนเจาะยอด ทําใหขนาดของใบที่แตกใหมเล็กและขอสั้นลง<br />

นอกจากนั้นยังพบไสเดือนฝอย Hemicriconemoides litchi Tylenchorhynchus sp. และ Rotylenchulus<br />

reniformis ในดินบริเวณโคนตนลําไยที่แสดงอาหารหงอย อาการปรากฏใหเห็นทางใบมีขนาดสั้นลง<br />

ขอสั้นลง อาการหงอยที่เกิดจากหนอนเจาะกิ่ง มีอาการไสดําในแทบทุกกิ่ง ใบลําไยเปนคลื่นซีดเหลือง<br />

สวนที่เปนไสดําบางครั้งจะบวมและแตก ทําใหลําไยมีการแตกกิ่งใหมตามจุดดังกลาว อาการดังกลาว<br />

ปรากฏเปนครั้งคราวโดยเฉพาะในชวงฤดูแลง สวนที่ไมมีการดูแลรักษาจะปรากฏอาการหงอยอยาง


ชัดเจน พอฤดูฝนอาการอาจหายไปหรือแตกกิ่งมากแตไมสมบูรณในที่สุดทรงพุมลําไยจะโปรง ตน<br />

ลําไยที่เปนโรคหงอยผลผลิตจะลดลงทั้งดานคุณภาพและปริมาณ ตนที่เปนรุนแรงจะไมใหผลผลิต<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดแตงกิ่งที่แสดงอาการทรุดโทรม<br />

2. บํารุงรักษาตนลําไยใหสมบูรณดวยการใหปุยเคมี และปุยคอก รวมกับการใหธาตุอาหาร<br />

เสริม และธาตุอาหารรอง<br />

3. มีการจัดการสวนที่ดีควรมีระบบการใหน้ํา<br />

4. พนสารปองกันกําจัดไรและแมลงเปนครั้งคราว<br />

5. ลําไยที่เปนโรคหงอยตองงดการใชสารเคมีเพื่อเรงการออกดอก<br />

6. กิ่งพันธุที่ใชปลูกตองเปนกิ่งพันธุที่มาจากตนที่ไมแสดงอาการของโรคหงอย<br />

แมลงและศัตรูลําไย<br />

เพลี้ยไกแจลําไย (psyllid)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร <strong>Co</strong>rnegenapsylla sinica Yang and Li วงศ Psyllidae เปนแมลงปากดูดขนาด<br />

เล็ก ลําตัวสีน้ําตาล มีสีเขมบริเวณสวนทอง ขณะที่เกาะอยูกับที่ ลําตัวของแมลงจะทํามุมองศากับสวน<br />

ของตนลําไย หลังจากผสมพันธุ เพศเมียจะวางไขเปนกลุมหรือเปนฟองเดี่ยว บริเวณใบออนที่ยังไมคลี่<br />

หรือตามซอกระหวางกานใบออนในเนื้อเยื้อของใบพืชหลังจากนั้นไขจะฟกเปนตัวออนมีขนาดเล็กฝง<br />

ตัวในหลุมใตใบ ตัวออนมีลักษณะลําตัวคอนขางกลมแบน สีขาว มีตาสีแดง คูเห็นไดชัดเจน<br />

เพลี้ยไกแจลําไยมีการระบาดเขาทําลายใบออนตลอดป โดยเฉพาะลําไยในแหลงที่มีการแตก<br />

ยอดทั้งป ถาระบาดรุนแรงจะพบใบมีลักษณะบุมเปนหลุมกระจายอยูทั่วไปและตัวออนจะฝงตัวดูดกิน<br />

น้ําเลี้ยงอยูภายในหลุมนั้น<br />

การปองกันกําจัด<br />

1.โดยวิธีการจัดการเรื่องความอุดมสมบูรณของดินธาตุอาหารและน้ําตามความตองการ<br />

เพื่อใหการแตกยอดออนสม่ําเสมอพรอมๆ กัน เพื่อความสะดวกในการปองกันกําจัดไดงาย<br />

2. ควรตัดแตงกิ่งเพื่อไมใหตนลําไยหนาทึบจนเกินไป เพราะจะเปนที่หลบซอนและพักอาศัย<br />

ของตัวเต็มวัยเพื่ออยูขามฤดู<br />

3. การใชสารฆาแมลงพนกอนลําไยออกดอกในเดือนธันวาคม โดยสารฆาแมลงที่ใชไดผล<br />

และปลอดภัยไดแก carbaryl (Sevin 85%WP) อัตรา 45-60 กรัม หรือ lambda cyhalothrin (Karate<br />

2.5% EC) อัตรา 10 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร


มวนลําไย (longan stink bug)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Tessaratoma papillosa Druryวงศ Pentatomidae เปนมวนขนาดใหญ มีสี<br />

น้ําตาลอมเหลือง บริเวณใตทองมีผงสีขาวปกคลุมอยู เพศเมียมีขนาดยาว 2.7-3.0 เซนติเมตร สวนอก<br />

กวาง 1.4-1.6 เซนติเมตร เพศผูขนาดยาว 2.4-2.5 เซนติเมตร สวนอกกวาง 1.2-1.3 เซนติเมตร ปกคู<br />

หนามีลักษณะแข็งสวนปลายปกเปนแผนบางออน ปกคูหลังบางและสั้นกวาปกคูหนา เวลาเกาะอยูกับ<br />

ที่ปกคูแรกจะปกคลุมหลังและแบนราบอยูบนสวนทองของลําตัว มีปากชนิดเจาะดูด ยื่นออกไปทาง<br />

สวนหนาของลําตัว เวลาไมกินอาหารมักจะพับซอนไวใตลําตัว มีหนวดอยูใตศีรษะ จํานวน 3 ปลอง<br />

หนวดมักจะสั่นอยูเสมอ ในระหวางเดือนกุมภาพันธ-มีนาคม เพศผู และเพศเมียจะอยูรวมกันเปนกลุม<br />

ใหญบนตนใดตนหนึ่ง ซึ่งเปนลักษณะของแมลงพวกมวน เพื่อจับคูและผสมพันธุ พบมวนจับคูและ<br />

ผสมพันธุตั้งแตเดือนกุมภาพันธ-พฤษภาคม หลังจากผสมพันธุแลว 1-2 วัน จะวางไขบนใบ ชอดอก ลํา<br />

ตน ไมค้ําตน และใบหญา<br />

ไขมีลักษณะกลมขนาดประมาณ 3 มิลลิเมตร มวนลําไยวางไขเปนกลุม ไขกลุมหนึ่งมี 3-15<br />

ฟอง แตสวนมากพบ 14 ฟอง มวนเริ่มวางไขตั้งแตเดือนกุมภาพันธ–มิถุนายน พบมากที่สุดในเดือน<br />

มีนาคม เพศเมียวางไข 98-297 ฟอง ระยะไข 11-13 วัน ไขที่วางใหมๆ มีสีเขียวแลวคอยๆ เปลี่ยนเปนสี<br />

ขาวนวล และสีชมพูเมื่อไขใกลจะฟก ตัวออนที่ฟกออกจากไขมีสีแดง หลังจากนั้น 1.5-2 ชั่วโมง จะ<br />

เปลี่ยนเปนสีดํา ตอมาเปลี่ยนเปนสีเทา มีแถบสีขาวพาดตามยาวลําตัว 3 แถบ หลังจากลอกคราบครั้งที่ 1<br />

ตัวออนจะมีสีแดงสด ลักษณะคลายตัวเต็มวัย แตกตางกันที่สีและขนาด ตัวออนวัยที่ 5 กอนลอกคราบ<br />

เปนตัวเต็มวัยจะมีสีเขียวออน ตัวออนมีการลอกคราบ 5 ครั้ง การเจริญเติบโตของตัวออน แตละวัย<br />

ประมาณ 14 วัน ระยะตัวออนทั้งหมด 5-8 สัปดาห พบตัวออนในเดือนกุมภาพันธ-สิงหาคม พบมาก<br />

เดือนมีนาคมและเมษายน เมื่อตัวออนเหลานี้เจริญเติบโตเปนตัวเต็มวัย อาศัยดูดกินน้ําเลี้ยงจากยอด<br />

ออนและผลลําไย เมื่อเก็บเกี่ยวผลลําไยหมดแลวประมาณเดือนสิงหาคม ตัวเต็มวัยจะหลบซอนตัวอยู<br />

ภายในตนลําไย จนถึงระยะที ่ลําไยเริ่มแทงชอดอกในเดือนมกราคม และกุมภาพันธ มวนเหลานี้จะ<br />

วองไวเริ่มจับคูผสมพันธุ วางไขเปนวัฏจักรเชนนี้ตอไป<br />

มวนลําไยเปนศัตรูที่สําคัญของลําไยทั้งตัวออนและตัวเต็มวัย อาศัยดูดกินน้ําเลี้ยงที่ยอดออน<br />

ชอดอกและชอผล ทําใหยอดเหี่ยว ผลรวง ผลผลิตลดลงและไมไดคุณภาพ ที่ขางลําตัวสวนปลายสุด<br />

ของทองมีตอมสกัดน้ําพิษไวตอสูศัตรู ของเหลวนี้มีกลิ่นเหม็นและเปนพิษ มวนจะปลอยน้ําพิษ<br />

ดังกลาวออกมาเมื่อไดรับการรบกวน ถาของเหลวถูกผิวหนังจะมีอาการปวดแสบปวดรอนทันที ทําให<br />

บริเวณนั้นมีสีน้ําตาลไหม บางรายที่แพมากผิวหนังจะพองและลอดหลุดไป ของเหลวน้ําทําใหผิว<br />

เปลือกลําไยมีสําดําคล้ําซึ่งเปนปญหาสําคัญในการสงออก<br />

การระบาดพบเปนประจําทุกปในชวงที่ลําไยออกดอกติดผล แตจะพบในปริมาณสูงสุด 2<br />

ระยะ คือ ระยะแรกเปนมวนที ่อยูขามฤดูในเดือนกุมภาพันธและมีนาคม เปนชวงที่มวนมารวมกลุมจับ<br />

คูผสมพันธุและวางไข ระยะหลังเปนมวนรุนใหมพบปริมาณสูงสุดในเดือนกรกฎาคมและสิงหาคม


จํานวนไขสูงสุดเดือนมีนาคม สวนตัวออนพบปริมาณสูงสุดในเดือนมีนาคม เมษายนและกรกฎาคม<br />

พืชอาหารไดแก ลําไย ลิ้นจี่ ตะครอ ทองกวาว และประคําดีควาย (สมปอยเทศ)<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. โดยวิธีจับตัวเต็มวัย ตัวออนและไขทําลาย ในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ มวนเริ่มจับ<br />

กลุมและผสมพันธุ ซึ่งเปนเวลาที่มวนลําไยวองไวมาก ใหเขยากิ่งในเวลาเชามืดมวนจะทิ้งตัวตกลงมา<br />

เก็บรวบรวมทําลายเสีย สวนไขมวนลําไยมีขนาดใหญอยูเปนกลุมมองเห็นไดงาย<br />

2. ควรตัดแตงกิ่ง เพื่อไมใหสวนลําไยหนาทึบจนเกินไป เพราะจะเปนที่หลบซอนและพัก<br />

อาศัยของตัวเต็มวัยเพื่ออยูขามฤดู<br />

3. การใชสารฆาแมลงพนกอนลําไยออกดอกในเดือนธันวาคม สารฆาแมลงที่ใชไดผลและ<br />

ปลอดภัย ไดแก carbaryl (Sevin 85%WP) อัตรา 45-60 กรัม หรือ lambda cyhalothrin (Karate 2.5%EC)<br />

อัตรา 10 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร การพนสารฆาแมลงควรหลีกเลี่ยงชวงที่ดอกลําไยบาน เพื่อลด<br />

อันตรายที่จะเกิดขึ้นกับผึ้งและควรงดพนในชวงที่มีการปลอยแตนเบียนไขหรือเมื่อสํารวจพบวาไขมวน<br />

ลําไยถูกแตนเบียนทําลายในปริมาณสูง (ไขมวนลําไยเปลี่ยนเปนสีดํา)<br />

หนอนเจาะขั้วผล (fruit borer)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร <strong>Co</strong>nopomorpha sinensis Bradley วงศ Gracillaridae ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อ<br />

กลางคืนที่มีขนาดเล็ก สีน้ําตาลปนเทา เมื่อกางปกกวาง 12-15 มิลลิเมตร ลําตัวยาว 6-7 มิลลิเมตร มี<br />

ลวดลายซิกแซ็ก ปลายปกมีสีน้ําตาลปนเหลือง ปกคูหลังคลายขนนกสีเทาเงินหนวดสีเงิน มีความยาว<br />

กวาปกและลําตัว วางไขเปนฟองเดี่ยวบนผล ลักษณะกลมรีสีเหลือง ระยะไข 2.5-3.5 วัน เพศเมียวางไข<br />

ได 2-331 ฟอง เมื่อฟกจากไขใหมๆ หนอนมีลําตัวยาวประมาณ 1 มิลลิเมตร สีขาวนวล กะโหลกสี<br />

น้ําตาล มี 3 วัย ระยะหนอนแตละวัย 4.3, 5.7 และ 5.3 วัน ตามลําดับ หนอนวัยสุดทายจะเจาะออกมา<br />

จากผลและเขาดักแดที่ใบ กอนเขาดักแด หนอนจะชักใยหอหุมตัวเองอยูภายใน ดักแดกวาง 1 มิลลิเมตร<br />

ยาว 7.1 มิลลิเมตรและระยะดักแด 7-8 วัน<br />

หนอนเริ่มเขาทําลายระยะกอนเก็บเกี่ยวผลประมาณ 1 เดือน ขณะผลลําไยมีขนาดเล็ก บริเวณ<br />

ที่ผีเสื้อวางไขจะอยูบริเวณรอบขั้วผลลําไย เมื่อหนอนฟกออกจากไขจะเจาะเขาไปกัดกินอยูที่รอยตอ<br />

ของเนื้อลําไยและขั้วผล มองดูภายนอกไมเห็นรอยทําลาย เมื่อผาดูจึงเห็นรอยที่ถูกหนอนทําลาย ทํา<br />

ใหผลที่ถูกทําลายไมสามารถเจริญเติบโตตอไปได ผลที่ถูกทําลายจึงรวงหลนหมด หนอนเจาะขั้วผล<br />

ระบาดรุนแรงในแหลงที่มีการปลูกลําไยทั่วไป การระบาดเกิดรุนแรงเปนบางป แตในลําไยพบการ<br />

ทําลายผลลําไยเสียหายนอยกวาในลิ้นจี่


การปองกันกําจัด<br />

1.รวบรวมผลลําไยและลิ้นจี่ที่รวงหลนบริเวณโคนตนเนื่องจากการทําลายของหนอนเจาะขั้ว<br />

ผลนําไปฝงหรือเผาทําลาย<br />

2. ควรเก็บดักแดของหนอนเจาะขั้วผลบนใบซึ่งสามารถเห็นไดชัดเจนแลวนําไปทําลาย<br />

3. หากมีการระบาดของหนอนเจาะขั้วผลรุนแรง ควรพนดวยสารฆาแมลง cyfluthrin<br />

(Baythroid 10%EC) อัตรา 5 มิลลิลิตร หรือ chlopyrifos-cypermethrin (Nurelle-L505 50/5%EC)<br />

อัตรา 30 มิลลิลิตร หรือ carbaryl (Sevin 85%WP) อัตรา 40 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร<br />

หนอนเจาะกิ่ง (red coffee borer)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Zeuzera coffeae Nietner วงศ <strong>Co</strong>ssidae ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อกลางคืนขนาด<br />

กลาง เมื่อกางปกกวาง 4.0-4.5 เซนติเมตร ลําตัวยาว 2.3-3.5 เซนติเมตร ปกมีสีขาวจุดสีดําประปรายอยู<br />

ทั่วไป ลําตัวมีขนปกคลุม ผีเสื้อที่ออกจากดักแดพรอมที่จะผสมพันธุทันที ผีเสื้อเพศเมียจะวางไขตาม<br />

เปลือกไม ไขมีลักษณะกลม สีสม วางเปนกลุมหรือฟองเดี่ยวๆ มีขนาด 0.6-1.0 มิลลิเมตร ระยะไข 7-<br />

10 วัน หนอนเมื่อฟกจากไขจะเจาะเขาไปกัดกินอยูภายในกิ่งหรือลําตน หนอนกัดกินเนื้อเยื่อภายใน<br />

เปนโพรงยาว หนอนระยะแรกมีสีน้ําตาลแดง หนอนโตเต็มที่เปลี่ยนเปนสีแดงยาวประมาณ 4.5-5.0<br />

เซนติเมตร ระยะหนอน 2.5-5.0 เดือน เมื่อใกลเขาดักแดหนอนจะเจาะเปนวงกลมที่กิ่งแตยังไมทะลุ<br />

เปลือกเพื่อใชเปนชองทางออกของตัวเต็มวัยเมื่อดักแดใกลออกเปนตัวเต็มวัยดักแดจะเคลื่อนตัวมาโผล<br />

บริเวณที่หนอนไดเจาะรอยเอาไว คราบของดักแดจะคาอยูที่รอยเจาะนี้ ดักแดมีสีน้ําตาลแดงยาว 3.0-3.5<br />

เซนติเมตร กวาง 0.6-0.8 เซนติเมตรและระยะดักแด 2-3 สัปดาห<br />

หนอนจะเขาไปทําลายในกิ่งและลําตน ทําใหกิ่งและลําตนแหง หรือหักลมเมื่อลมพัด ถาเปน<br />

ตนใหญหนอนมักเขาเจาะกินตามกิ่งที่ออน หรือกิ่งเล็กๆ แตถาเปนลําไย หรือลิ้นจี่ตนเล็ก หนอนอาจ<br />

เจาะที่ลําตนทําใหลําตนแหงตายหรือหักลม แมลงชนิดนี้มีพืชอาหารหลายชนิด ไดแก ชา กาแฟ โกโก<br />

ลิ้นจี่ ลําไย นอยหนา มะยม ฝรั่ง สม ทับทิม องุน แอปเปล แพร พลับ และเชอรี่ เปนตน ทําใหพบการ<br />

ระบาดของแมลงศัตรูชนิดนี้ตลอดปตามแหลงปลูกลําไย ลิ้นจี่ และไมผลอื่นๆ พบระบาดทั่วไปตาม<br />

แหลงปลูกลําไย แตอาจพบระบาดรุนแรงในบางทองที่เปนครั้งคราว<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดแตงกิ่งลําไยที่ถูกหนอนเจาะกิ่งทําลายแลวนําไปเผาไฟเพื่อกําจัดหนอนและดักแดที่อยู<br />

ในกิ่งนั้น<br />

2. ถาตรวจพบรูหรือรอยทําลายบนกิ่งใหญๆ หรือลําตน ใหใชสารฆาแมลง เชน chlorpyrifos<br />

(Lorsban 40%EC) อัตรา 1-2 มิลลิลิตรตอรู ฉีดเขาในรู แลวอุดดวยดินเหนียว


หนอนคืบกินใบ (leaf eating hoper)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Oxyodes scrobiculata Fabricius วงศ Noctuidae ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อ<br />

กลางคืนสีน้ําตาลออน เมื่อกางปกกวางประมาณ 5-6 เซนติเมตร ปกคูหนาเปนสีน้ําตาลเขม ปกคูหลัง<br />

สีน้ําตาลออน ขอบปกดานบนมีแถบสีดํา ลําตัวมีขนสีเหลืองปกคลุม ไขเปนฟองเดี่ยว ลักษณะกลม<br />

ระยะไข 3-5 วัน หนอนเมื่อฟกจากไขใหมๆมีสีเขียวออนและมีแถบสีอยูทางดานขางของลําตัว ตอมาสี<br />

เปลี่ยนเปนสีน้ําตาลเขียวหรือสีเหลืองปนน้ําตาล หนอนเคลื่อนที่ไดรวดเร็ว เมื่อไดรับการ<br />

กระทบกระเทือนจะทิ้งตัวลงสูพื้นดินหนอนโตเต็มที่ยาว 3-4 เซนติเมตร ระยะหนอน 14-17 วัน เมื่อ<br />

ใกลเขาดักแด หนอนจะชักใยนําใบมาหอหุมลําตัว แลวเขาดักแดอยูภายใน ระยะดักแด 10-12 วัน<br />

เนื่องจากเปนหนอนผีเสื้อกลางคืนจึงมักหลบซอนตัวในเวลากลางวัน การเขาทําลายจะเกิดใน<br />

เวลากลางคืน โดยหนอนกัดกินใบออนหรือใบเพสลาด ถามีการระบาดรุนแรงจะทําใหเหลือเฉพาะกาน<br />

ใบ พืชอาหารไดแก เงาะ ลําไย และลิ้นจี่ จึงพบการระบาดเปนประจําทุกป ในชวงพืชแตกใบออน<br />

แมลงศัตรูชนิดนี้พบระบาดรุนแรงขณะลําไยและลิ้นจี่อยูในระยะแตกใบออนและใบเพสลาด การ<br />

ทําลายเปนไปอยางรวดเร็ว และพบระบาดเปนบริเวณกวางในระหวางเดือนกรกฎาคม-ตุลาคม<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ถามีการระบาดมาก ใชวิธีการเขยากิ่งใหตัวหนอนรวงลงสูพื้นดิน แลวรวบรวมเก็บทําลาย<br />

2. เก็บรวบรวมดักแดตามใบลําไยและลิ้นจี่ทําลาย<br />

3. ถาระบาดรุนแรง พนดวยเชื้อแบคทีเรีย Bacillus thuringiensis อัตรา 120 มิลลิลิตรตอน้ํา<br />

20 ลิตร หรือสารฆาแมลง carbaryl (Sevin 85%WP) อัตรา 45 กรัม หรือ lambda-cyhalothrin (Karate<br />

2.5%EC) อัตรา 12 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร<br />

หนอนชอนใบ (leaf miner)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร <strong>Co</strong>nopomorpha litchiella Bradley วงศ Gracillariidae ตัวเต็มวัยเปน<br />

ผีเสื้อกลางคืนขนาดเล็ก เมื่อกางปกมีขนาด 4-6 มิลลิเมตร ลําตัวยาว 3-4 มิลลิเมตร ปกคูหนามีสี<br />

น้ําตาลปนเทา และมีลวดลายซิกแซ็ก ปกคูหลังมีลักษณะเปนพูคลายขนนกมีหนวดยาวกวาลําตัว ไข<br />

ลักษณะกลมรี มีสีเหลืองออน ผิวขรุขระ ขนาดยาวประมาณ 0.5 มิลลิเมตร กวาง 0.1-0.2 มิลลิเมตร<br />

อยูบนยอดออน หรือกานใบออนของลําไยและลิ้นจี่ ระยะไข 3.5 วัน เมื่อฟกจากไขใหมๆ หนอนมีสี<br />

เหลืองครีม หัวกะโหลกสีน้ําตาลออน ลําตัวยาวประมาณ 0.5-1.0 มิลลิเมตร หนอนจะเจาะเขาทําลาย<br />

สวนของยอดออนทันที บริเวณรูเจาะมีมูลหนอนที่ถายออกมาเปนขุย ทําใหยอดแหงตาย นอกจากนั้น<br />

อาจจะเขาไชชอนที่กานหรือใบออน ใบที่ถูกทําลายพบรอยแหงเปนทางยาวตามเสนกลางใบอยาง<br />

ชัดเจน พบทําลายในลิ้นจี่มากกวาลําไยหนอนโตเต็มที่ขนาด 6-10 มิลลิเมตร ระยะหนอน 10-14 วัน


หนอนจะออกมาเขาดักแดตามใบแกโดยสรางเปนรังไหม และเขาดักแดอยูภายใน เชนเดียวกับหนอน<br />

เจาะขั้วผล ดักแดมีขนาดยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร เมื่อเขาดักแดมีขนาดยาวประมาณ 5 มิลลิเมตร เมื่อ<br />

เขาดักแดใหมๆ ลําตัวสีเขียว หลังจากนั้นเปลี่ยนเปนสีน้ําตาล หนวดมีขนาดยาวแยกจากสวนของลําตัว<br />

เห็นชัดเจน ระยะดักแด 7-10 วัน<br />

ในระยะที่ตนลําไยแตกใบออนจะมีหนอนชอนใบทําลายอยูเสมอ ใบที่ถูกทําลายมีอาการคลาย<br />

โรคใบไหม สีน้ําตาลแดง โดยที่หนอนเริ่มเจาะที่ฐานเสนกลางใบแลวเคลื่อนไปทางปลายใบ กอนถึง<br />

ปลายใบหนอนจะชอนไชเขาไปในสวนเนื้อของใบ รอยที่หนอนเจาะเขาไปจะพบมูลหนอนอยูดวย เมื่อ<br />

หนอนโตเต็มที่แลวจะออกมาเขาดักแดขางนอกตามใบโดยชักใยหอหุมตัวเองอยูภายใน ถามีการ<br />

ระบาดรุนแรงใบออนที่แตกใหมจะถูกหนอนทําลายหมด พืชอาหารคือ ลิ้นจี่และลําไย พบระบาดตลอด<br />

ป โดยเฉพาะการระบาดรุนแรงในชวงลําไยและลิ้นจี่แตกใบออน พบการระบาดในลิ้นจี่มากกวาลําไย<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. เก็บดักแดของหนอนชอนใบที่เจาะออกมาเขาดักแดตามใบแกหรือใบเพสลาด ลักษณะรัง<br />

ดักแดคลายรังดักแดของหนอนเจาะขั้วผล แลวนําไปทําลาย<br />

2. ถามีการระบาดรุนแรงขณะลําไยแตกใบออน ควรพนดวยสารฆาแมลง เชน imidacloprid<br />

(<strong>Co</strong>nfidor 10%SL) อัตรา 8 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร<br />

เพลี้ยหอยเกราะออน (soft scale)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Drepanococcus chiton (Green) วงศ <strong>Co</strong>ccidae จะพบทั้งสองเพศแตสวน<br />

ใหญเปนเพศเมีย ลักษณะของเพศเมียมีรูปรางเปนรูปไขสีชมพูอมสม ขนาดลําตัวยาว 2.5-3.0 มิลลิเมตร<br />

ดานหลังโคงนูนคลายหลังเตา ผนังลําตัวมีไขคลุมเปนแผนบางสีขาว ผิวไมเรียบ ลักษณะเปนรองคลาย<br />

กระดองเตา ตัวเต็มวัยมีไขเต็มทอง เพศเมียแตละตัวผลิตไขได 600-2,000 ฟอง ไขมีสีแดงสม รูปรางยาว<br />

รี อยูในตัวแมนาน 23 วันจึงฟกเปนตัวออน ระยะตัวออนมี 3 วัย ใชเวลาประมาณ 40-54 วันจึงเปนตัว<br />

เต็มวัย เพศผูมีลักษณะตางจากเพศเมียคือ มีตัวสีชมพูเขม ยาว 1-2 มิลลิเมตร มีปกบางใส 1 คู ระยะการ<br />

เจริญเติบโตจากไขถึงตัวเต็มวัยของเพศผู 36 วัน<br />

เพลี้ยหอยเกราะออนเขาทําลายตามสวนตางๆของลําไยไดแก ยอดออน ใบแก ชอดอกและผล<br />

ทําความเสียหายดวยการดูดน้ําเลี้ยง ทําใหบริเวณที่ถูกทําลายเหี่ยวแหงและตายในที่สุด ทําใหผลมี<br />

ตําหนิและรวง มักอยูรวมกันเปนกลุมและถายมูลหวาน (honey dew) ทําใหเกิดราดําปกคลุมใบ พืช<br />

อาหารไดแก ลําไย ลิ้นจี่และเงาะ พบระบาดเกือบทั้งปและพบมากในภาคเหนือตอนบนชวงเดือน<br />

มีนาคม


การปองกันกําจัด<br />

1. เมื่อพบการระบาดมาก ตัดแตงสวนที่ถูกทําลายนําไปเผา<br />

2. การปองกันกําจัดที่เหมาะสม ควรดําเนินการในระยะตัวออน โดยใชสาร petroleum<br />

spray oil อัตรา 80 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร หลังจากนั้นพนปองกันโดยใชสารฆาแมลง chlorpyrifos<br />

(Lorsban 40%EC) หรือ malathion (Malathion 83%EC) อัตรา 30 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร ถาพบ<br />

แมลงศัตรูธรรมชาติ พวกดวงเตาในวงศ <strong>Co</strong>ccinellidae ซึ่งกินเพลี้ยหอยในพื้นที่มีการระบาดมาก ควร<br />

พนสารฆาแมลงอยางระมัดระวัง<br />

หนอนเจาะผล (fruit borer)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Deudorix epijarbas Moore วงศ Lycaenidae ตัวเต็มวัยเปนผีเสื้อเพศ<br />

เมียสีน้ําตาลเขม ขนาดลําตัวยาว 1.4 เซนติเมตร เมื่อกางปกกวาง 4 เซนติเมตร เพศผูมีปกสีน้ําตาลปน<br />

แดง ขอบและปลายปกมีแถบสีน้ําตาลเขม หนอนมีรูปรางเปนทรงกระบอกสีน้ําตาลออน ขาสั้น หัวสี<br />

น้ําตาลออน ลําตัวสีน้ําตาลปนมวง ผนังลําตัวดานบนผิวเรียบมีขนบริเวณใตรูหายใจตลอดลําตัว เมื่อ<br />

เจริญเต็มที่เขาดักแดภายในผล<br />

หนอนเขาทําลายผลออนและผลแกของลําไยโดยเจาะเขาไปกินเนื้อในผลรวมทั้งเมล็ด เหลือ<br />

แตเปลือกแลวเขาดักแดภายในผล สังเกตพบรูขนาดใหญคอนขางกลมอยูบนผล พืชอาหารคือ ลําไย<br />

ลิ้นจี่และเงาะ พบระบาดในแหลงที่มีการปลูกพืชอาหารในบางพื้นที่ไดแก จังหวัดเชียงใหม จันทบุรี<br />

และตราด ชวงที่พบการระบาดคือเดือนเมษายนและมิถุนายนถึงสิงหาคม<br />

การปองกันกําจัด<br />

เปนแมลงที่ระบาดเปนครั้งคราว การระบาดไมรุนแรง ควรเก็บผลที่ถูกหนอนเขาทําลายไป<br />

กําจัดโดยการเผา<br />

เพลี้ยหอยขาวตอก (wax scale)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Ceroplastes pseudoceriferus (Green) วงศ <strong>Co</strong>ccidae ตัวเต็มวัยมีขนาด 5<br />

มิลลิเมตร มีขี้ผึ้งสีขาวเปนชั้นหนาปกคลุมตัว รูปรางคลายขาวตอก เพศเมียสามารถวางไขได 1,200-<br />

2,000 ฟอง เมื่อไขฟกเปนตัวออนจะมีสีคลายสนิม คลานออกจากทองของตัวแม มีขายาว ลําตัวแบน<br />

เดินเคลื่อนยายไปหาอาหาร ตัวออนชุดแรกฟกประมาณเดือนเมษายน-พฤษภาคมและชุดที่สองฟก<br />

ประมาณเดือนกันยายน-ตุลาคม เมื่อตัวออนพบแหลงอาหารจะเกาะนิ่งดูดกินอาหารและสรางไขขึ้นปก


คลุมลําตัวหนาขึ้นเรื่อยๆ จนเจริญถึงวัย 3 มีลักษณะคลายหัวเข็มหมุด (cameo stage) ในแตละปจะมี 2<br />

รุน<br />

เพลี้ยหอยขาวตอกเริ่มมีบทบาทสําคัญโดยเกิดการระบาดรุนแรงในสวนลําไยที่ผลิตลําไยนอก<br />

ฤดู ทั้งตัวออนและตัวเต็มวัยดูดกินน้ําเลี้ยงจากสวนตางๆ ของลําไย เชน กิ่ง กาน ชอดอก และชอผล<br />

การเขาทําลายทําใหตนลําไยทรุดโทรม ถารุนแรงมาก กิ่งหรือชอที่ถูกทําลายจะแหงตายได กรณีที่<br />

ระบาดในระยะติดผลจะมีปญหาการปนเปอนติดไปกับผลผลิตได พืชอาหารไดแก ลําไย และลิ้นจี่ การ<br />

ระบาดของเพลี้ยหอยชนิดนี้นอกจากจะเคลื่อนยายในระยะตัวออนแลว ยังสามารถแพรกระจายโดย<br />

อาศัยลม เนื่องจากตัวออนที่ฟกใหม มีขายาว และตัวแบนจึงปลิวไปตามลมไดงาย<br />

การปองกันกําจัด<br />

1.ในชวงที่เพลี้ยหอยขาวตอกเปนตัวเต็มวัยมีไขหนาปกคลุม โดยเฉพาะชวงที่มีไขเต็มทอง<br />

และหยุดกินอาหาร การใชสารฆาแมลงไมสามารถกําจัดเพลี้ยหอยในระยะนี้ได ควรใชวิธีตัดกิ่งที่มีการ<br />

ทําลายเผา<br />

2. การใชสารฆาแมลงควรใชกับระยะตัวออน โดยเฉพาะขณะฟกใหมๆ สารฆาแมลงที่ใช คือ<br />

carbosulfan (Posse 20%EC) อัตรา 80 มิลลิลิตร หรือ carbaryl (Sevin 35%SC) อัตรา 60 มิลลิลิตร หรือ<br />

chlorpyrifos (Lorsban 40%EC) อัตรา 60 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร<br />

หนอนมวนใบ (leaf rolling)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Archips micaceana (Walker) วงศ Tortricidae ผีเสื้อหนอนมวนใบเปน<br />

ผีเสื้อกลางคืนขนาดกลาง มีปกสีน้ําตาล ลําตัวยาวประมาณ 1.0-1.2 เซนติเมตร ตัวเต็มวัยมีอายุประมาณ<br />

10 วัน หนอนเมื่อโตเต็มที่มีขนาดตัวยาวประมาณ 2 เซนติเมตร หัวสีดํา ตัวอวนสีเขียวออน เมื่อถูก<br />

รบกวนจะทิ้งตัวลงพื้น ระยะหนอนประมาณ 14 วัน กอนเขาดักแด หนอนจะถักใยดึงใบหรือชอดอก<br />

มาติดกันเปนรังหอหุม ดักแดมีสีน้ําตาลขนาดยาว 1 เซนติเมตร ระยะดักแด 5-7 วัน<br />

เขาทําลายโดยการชักใยดึงใบออนหรือชอดอกเขาหากันหรือดึงหลายๆ ใบมารวมกันและกัด<br />

กินอยูภายใน เมื่อกินหมดจะไปชักใยดึงใบอื่นๆตอไปจนกระทั่งเขาดักแด หนอนมวนใบชนิดนี้มีพืช<br />

อาหารหลายชนิด เชน ลิ้นจี่ ลําไย สม มะมวง พุทรา องุน ชา กาแฟ โกโก พืชไร และไมดอกไมประดับ<br />

พบระบาดทั่วไปในแหลงที่มีการปลูกพืชอาหารของแมลงชนิดนี้ทั่วประเทศไทย<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. แตนเบียน Apanteles sp. เปนแมลงศัตรูธรรมชาติที่สําคัญของหนอนมวนใบและพบเสมอ<br />

2. ถาพบการทําลายของหนอนมวนใบมากกวา 20 เปอรเซ็นต พนดวยเชื้อแบคทีเรีย Bacillus<br />

thuringiensis ชนิดผงอัตรา 60-80 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร


เพลี้ยไฟพริก (chilli thrips)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Scirtothrips dorsalis Hood วงศ Thripidae ไขมีลักษณะขาวใส<br />

รูปรางคลายเมล็ดถั่ว วางไขฟองเดี่ยวๆ สอดไวใตเนื้อเยื่อของพืช เมื่อไขใกลฟกออกเปนตัวจะสังเกต<br />

พบจุดสีแดง 2 จุด จากนั้นตัวออนจะดันผานชองเปดของไขออกมา โดยพบรองรอยบนใบพืชบริเวณที่<br />

ไขฟกออกมาแลวมีลักษณะเปนรูเล็กๆ เนื้อเยื่อบริเวณนั้นมีสีน้ําตาล ระยะไข 1-2 วัน<br />

ตัวออนที่ฟกออกจากไขใหมๆ มีสีขาวใส ตารวมสีแดง หนวดมีจํานวน 8 ปลอง ตัวออน<br />

ใหมๆ มีสีขาวใส ตามรวมสีแดง หนวดมีจํานวน 8 ปลอง ตัวเล็กเรียว ปลายทองคอนขางแหลม ตอมา<br />

สีของตัวออนวัยนี้จะเขมกลายเปนสีเหลืองออน มีการเคลื่อนไหวตลอดเวลา ระยะตัวออนวัยนี้ 1-2 วัน<br />

ตัวออนระยะที่สองมีขนาดของลําตัวใหญขึ้น มีสีเหลืองเขมขึ้นดวย ระยะนี้เพลี้ยไฟมีการเคลื่อนไหว<br />

รวดเร็วมาก และเมื่อใกลเขาสูระยะกอนเขาดักแด ลําตัวจะใหญมากขึ้น ปลายทองกลมมน สีของลําตัว<br />

มีสีเหลืองจัดจนถึงสีสมออน ระยะตัวออนวัยที่สอง 3-5 วัน ตัวออนระยะที่สาม(ระยะกอนเขาดักแด) มี<br />

สีเขมมากขึ้น แตการเคลื่อนไหวจะชาลงมาก ขนาดของปลองหนวดยาวขึ้นและชี้ตรง ไปขางหนา แผน<br />

ปก (wing pad) บริเวณอกปลองที่ 2 และ 3 เริ่มเจริญเติบโต ในระยะนี้เพลี้ยไฟไมกินอาหาร ไม<br />

เคลื่อนไหว และจะอยูในลักษณะนี้ประมาณ 24 ชั่วโมง<br />

ดักแดมีลักษณะเดนชัดคือ หนวดจะวกกลับชี้ไปทางดานหลังเหนือสวนหัว ตารวมมีขนาด<br />

ใหญสีแดง ตาเดี่ยวสีขาวใสจํานวน 3 ตา แผนปทั้ง 2 คูเจริญมากขึ้น มีขนาดยาวเกือบถึงปลายสวนทอง<br />

ขนาดตัวของเพลี้ยไฟใหญมากขึ้น<br />

ตัวเต็มวัยมีสีของลําตัวจะเขมขึ้น มีสีเหลืองออนจนถึงเหลืองเขมหรือสีสมออนๆ มีขนาด<br />

ลําตัวยาว 0.7-0.9 มิลลิเมตร หนวดมีจํานวน 8 ปลองขนาดไลเลี่ยกัน แตหนวดปลองที่ 7 และ 8 จะเรียว<br />

เล็ก มองดูคลายจะเปนปลองเดียวกันบริเวณหนวดปลองที่ 3 และ 4 ปรากฏอวัยวะรับความรูสึก (sense<br />

cone) มีลักษณะเปนรูปสอม หนวดมีสีเหลืองบริเวณสวนโคน แตมีสีเขมขึ้นจนเปนสีน้ําตาลบริเวณ<br />

สวนปลายหนวด ตารวมมีขนาดใหญสีแดงตาเดี่ยว 3 ตาสีแดงเชนกัน อกสีเดียวกับลําตัว ปกสีเหลืองใส<br />

มีขน (fringe) ยาวสีเทารอบปก ปกยาวคลุมสวนทองซึ่งมีจํานวน 10 ปลอง ลักษณะเดนชัดของเพลี้ยไฟ<br />

ชนิดนี้คือ บริเวณสวนกลางของดานหลัง (dorsum) และดานลาง (venter) ของปลองทองปลองที่ 2-7 มี<br />

แถบสีดํา ในเพลี้ยไฟเพศเมียจะมองเห็นอวัยวะวางไขมีลักษณะคลายฟนเลื่อยที่บริเวณทองปลองที่8-10<br />

เพลี้ยไฟในระยะนี้มีการเคลื่อนไหวรวดเร็วและวองไวมาก<br />

ตัวออนและตัวเต็มวัยจะดูดกินน้ําเลี้ยงตามสวนตางๆ ของลําไยไดแก ยอดออน ชอดอกและ<br />

ผลออน ถาระบาดรุนแรงใบจะแสดงอาการไหม ดอกและผลรวง ระบาดรุนแรงในชวงแลง พืชอาหาร<br />

ไดแก มะมวง มะมวงหิมพานต สมโอ ทุเรียน แตงโม เงาะมังคุด ลําไย ลิ้นจี่ องุน เนคทารีน สตรอ<br />

เบอรี่ ชมพู มะขามเทศ ลองกอง มะปราง พริก หนอไมฝรั่ง มะเขือเปราะ สะเดา ถั่วฝกยาว ผักชี<br />

กระถิน หอมแดง บวบ แมงลัก ผักกระเฉด ถั่วลิสง ออย ชา หมอน มันฝรั่ง กุหลาบ มะลิ ดาวเรือง


บัว กลวยไม พญายอ สาบเสือ พบระบาดทั่วไปในแหลงที่มีการปลูกพืชอาหารโดยเฉพาะในชวงพืช<br />

แตกใบออน ออกดอกหรือติดผลออน การระบาดรุนแรงชวงแลง<br />

การปองกันกําจัด<br />

พนสารฆาแมลง fipronil (Ascend 5%SC) อัตรา 10 มิลลิลิตร หรือ imidacloprid (<strong>Co</strong>nfidor<br />

10%SL) อัตรา 10 มิลลิลิตร หรือ carbosulfan (Posse 20%EC) อัตรา 50 มิลลิลิตรตอน้ํา 20 ลิตร โดย<br />

พนสลับกัน<br />

ไรกํามะหยี่ลําไย (longan erineum mite)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Aceria longana Boczek and Knihinicki วงศ Eriophyidae ตัวเต็มวัยเพศ<br />

เมียรูปรางลักษณะเปนปลองคลายหนอน ลําตัวยาวตรงสีครีม ความยาวของลําตัว เฉลี่ย 196 ไมครอน<br />

กวางเฉลี่ย 38 ไมครอน แผนปดลําตัวดานสันหลัง (dorsal shield) ไมมีลักษณะเปน lobe ยื่นยาว<br />

ออกไปคลุมสวนปาก (gnathosoma) ริ้วรอยบนแผนปดหลังประกอบไปดวยรอยเสนสั้นๆ หลายเสน<br />

อยูที่บริเวณดานขางของแผนปดหลัง ขน (dorsal setae) บนแผนปดหลัง ตั้งอยูที่ฐานและชี้ไปทางดาน<br />

หนาของ shield โดยที่ปลายสอบเขาหากันเล็กนอย เล็บ (feather claw) ที่ปลายขาแตกแขนงออกจาก<br />

แกนกลาง จํานวน 5 แขนง ปุมนูน (microtubercle) บนปลองตางๆของลําตัวมีลักษณะเปนรูปไข แผน<br />

ปดอวัยวะเพศเมีย (coverflap) มีลายเปนเสนนูน (rib) ตามแนวตั้ง จํานวน 10 เสน<br />

การเจริญเติบโต แบงไดเปน 4 ระยะคือ ระยะไขเฉลี่ย 2.9 วัน ตัวออนระยะที่ 1 ใชเวลาในการ<br />

เจริญเติบโตเฉลี่ย 0.9 วัน ตัวออนระยะที่ 2 เฉลี่ย 0.8 วัน โดยมีระยะพักตัวกอนลอกคราบครั้งที่ 1 เฉลี่ย<br />

0.7 วันและระยะพักตัวกอนลอกคราบครั้งที่ 2 เฉลี่ย 0.9 วัน ระยะกอนวางไข 2.4 วัน เพศเมียวางไขได<br />

เฉลี่ย 2.7 ฟอง อัตราการฟกของไขประมาณ 68 เปอรเซ็นต รวมระยะเวลาที่ใชในการเจริญเติบโตจาก<br />

ไขจนเปนตัวเต็มวัยเฉลี่ย 6.1 วัน ระยะตัวเต็มวัยมีอายุอยูไดนาน 5.1 วัน<br />

เขาทําลายชอใบออนของลําไยทําใหใบออนมีขนาดเล็ก ขอบใบบิดมัวนงอ บางครั้งมี<br />

ลักษณะบิดเปนเกลียว เมื่อนําใบที่มีลักษณะดังกลาวตรวจดูใตกลองที่มีกําลังขยายตั้งแต 40 เทาขึ้นไป<br />

จะพบเสนขนละเอียด สีเขียว หรือน้ําตาลออนขึ้นปกคลุมที่ผิวใบ หรือยอดออนทั้งบนใบ และ ใตใบ<br />

บริเวณซอกขนละเอียดเหลานี้ จะพบไรตัวเล็กๆ คลายหนอนลําตัวขาวนวลซุกซอน อาศัยอยูเปน<br />

จํานวนมาก ชอใบที่ถูกทําลายนี ้ ตอมคอยๆ เปลี่ยนเปนสีน้ําตาลและแหงคาชอ บางสวนที่ยังไมถูกไร<br />

ทําลายก็ยังสามารถแทงชอใบขึ้นมาใหม แตก็มีอาการหงิกเชนเดิม ชอใบที่ถูกไรทําลายนี้ จะมีกานชอ<br />

แตกเปนพุมเปนกระจุกมีขอปลองสั้นคลายพุมไมกวาด ถาไรเขาทําลายในระยะที่ลําไยแตกชอดอก<br />

ประมาณเดือนกุมภาพันธ จะทําใหชอดอกของลําไยมีลักษณะแตกพุมคลายไมกวาดชอดอกสั้นที่ดอกจะ<br />

มีขนละเอียดสีน้ําตาลขึ้นปกคลุมเชนเดียวกับที่พบบนใบออน ชอดอก หลังจากที่ถูกไรเขาทําลายดอกจะ<br />

แหงรวง เหลือแตกานชอเปนพุมสีน้ําตาลแหง ไมติดผลหรือติดผลนอย


ไรกํามะหยี่ลําไยระบาดในพื้นที่ปลูกลําไยของจังหวัดเชียงใหม เชียงรายและลําพูน โดยจะ<br />

ระบาดรุนแรงมากในบางป สําหรับพื้นที่ปลูกลําไยในสวนอื่นของประเทศเชน อําเภอปากชอง จังหวัด<br />

นครราชสีมาและอําเภอโปงน้ํารอน จังหวัดจันทบุรี พบการทําลายของไรกํามะหยี่ลําไยบาง แตไมมีการ<br />

ระบาดรุนแรง ประชากรของไรกํามะหยี่ลําไยมีปริมาณสูงสุดในเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่งเปนชวงที่<br />

ลําไยแทงชอดอกและพบระบาดมากในชวงลําไยแตกใบออนประมาณเดือนกันยายน-ตุลาคมและ<br />

มกราคม-กุมภาพันธ<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ใชกิ่งตอนจากตนที่ไมมีอาการพุมแจมาปลูก<br />

2. จากการสํารวจพบวา ไรกํามะหยี่ลําไยระบาดมากในพันธุเบี้ยวเขียว โดยเฉพาะตนลําไยที่มี<br />

อายุมาก สวนพันธุดอและพันธุอื่นๆ พบนอยกวา ดังนั้นจึงควรปลูกลําไยพันธุตานทานในแหลงที่มี<br />

การระบาดของไรชนิดนี้<br />

3. ใหตัดแตงกิ่งและยอดที่ถูกทําลาย แลวนําไปเผาทําลาย จะชวยลดการระบาดได<br />

4. ถามีการระบาดมากและไมสามารถตัดแตงกิ่งที่ถูกทําลายลงไดหมด ใหใชสารฆาไรพน<br />

หลังการเก็บเกี่ยว และตัดแตงทรงพุม โดยใชสารฆาไร propargite (Omite 30%WP) อัตรา 30 กรัม หรือ<br />

กํามะถันผง (ไมโครไทออล สเปเซียล 80%WP) อัตรา 200 กรัมตอน้ํา 20 ลิตร พนซ้ําเมื่อลําไยแทง<br />

ยอดใหมไมควรพนสารฆาไร เมื่อมีแดดจัด เพราะอาจทําใหใบออนไหมได<br />

ในธรรมชาติพบไรตัวห้ํา 2 ชนิด ปะปนอยูในประชากรของไรกํามะหยี่ลําไยคือ Amblyseius<br />

paraaerialis Muma และ Phytoseius hawaiiensisi Prasad ในวงศ Phytiseiidae<br />

วัชพืชในสวนลําไย<br />

หญาคา (lalang or cogongrass)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Imperata cylindrica (L.) P. Beauv. วงศ Poaceae เปนวัชพืชอายุหลายป<br />

แพรระบาดดวยไหลใตดินและเมล็ด ลําตนตั้งตรง สูง 15-20 เซนติเมตร ไหลใตดินมีใบเกล็ดหุม ใบ<br />

เรียบรูปขนาน ปลายใบแหลมอาจยาวถึง 1.5 เมตร กวาง 4-18 มิลลิเมตร มีขนที่บริเวณโคนตนและขอบ<br />

กาบใบ ชอดอกแบบแขนงดอกยอยอัดกันแนน ยาว 3-20 เซนติเมตร กวาง 0.5-2.5 เซนติเมตร สีขาว<br />

หรือครีม ดอกยอยยาว 3-6 มิลลิเมตร ลอมรอบดวยขนออนนุมยาว 10 มิลลิเมตร ผลิตเมล็ดไดมากถึง<br />

3,000 เมล็ดตอตน ขยายพันธุรวดเร็วดวยไหลใตดิน เปนแหลงอาศัยของแมลง เชน ตั๊กแตนและโรคพืช<br />

โรคสนิมเหล็ก (Puccinia refipes) พบทั้งในพืชไร พืชสวนและพื้นที่รกรางวางเปลา เจริญเติบโตไดดี<br />

ทั้งในดินแหงและดินชื้น


การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดปละ 2-3 ครั้งกอนวัชพืชออกดอก<br />

2. ใชวัสดุคลุม เชน เศษซากวัชพืช<br />

3. ใชสารไกลโฟเสต กลูโฟสิเนต-แอมโมเนียมและพาราควอต อัตรา 240, 120 และ 160<br />

กรัมสารออกฤทธิ์ตอไร ตามลําดับ เพื่อกําจัดวัชพืชที่เพิ่งงอกหรือหลังจากวัชพืชงอกแลว ในระยะ<br />

กําลังเจริญเติบโต ระวังอยาใหละอองสารถูกตนลําไย<br />

หญาตีนนก หญาปลองขาวนก (tropical ctabgrass or summer grass)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Digitaria adscendens (H.B.K.) Henr. วงศ Poaceae เปนวัชพืชอายุปเดียว<br />

ลําตนแบนเรียบ สวนโคนตนมักทอดนอนแลวตั้งตรง สูงประมาณ 60 เซนติเมตร รากออกตามขอ ใบ<br />

จัดเรียงแบบสลับ แผนใบบางคอนขางขาว ขอบใบเปนคลื่น ใบขนานแคบยาว 5-10 เซนติเมตร ชอ<br />

ดอกคลายนิ้วมือ ออกเปนกระจุกจากแกนเดียวกัน มี 5-8 ชอดอกยอย ยาว 8-10 เซนติเมตร ผลิตเมล็ด<br />

ไดประมาณ 1,700 เมล็ดตอตน ขยายพันธุดวยเมล็ด ชอบสภาพที่ดอน แพรระบาดในแหลงปลูกพืชที่<br />

สูงและพืชไร<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ถอนหรือดายในรัศมีทรงพุมลําไย<br />

2. การตัดดวยเครื่องตัดวัชพืชระหวางแถวหรือระหวางตนลําไย<br />

3.ใชสารกําจัดวัชพืชเชน ฟลูอะซิฟอป-พี-บิวทิลหรือฮาโลฟอบเมทิล อัตรา 80 กรัมสารออก<br />

ฤทธิ์ตอไร พนหลังวัชพืชงอก<br />

หญาเห็บ หญานมหนอน (sour grass, buffalo grass, caraboa grass, hilograss)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Paspalum conjugatum Berg. วงศ Poaceae เปนวัชพืชอายุขามป ลําตนเปน<br />

ไหล (runner) เลื้อยราบไปกับพื้น ลักษณะแบน มีขนที่ขอและขอที่ติดกับดินผอมบาง แผนใบบางแบน<br />

รูปรางคลายหอก ยาว 5-15 เซนติเมตร กวาง 5-15 มิลลิเมตร ชอดอกแตกออกเปน 2-3 แฉกบางๆ ยาว<br />

10-15 เซนติเมตร กวางประมาณ 1 มิลลิเมตร ดอกสีเหลืองเรียงตัวเปน 2 แถว ดอกยอยรูปกลมรีแบน<br />

เรียงซอนกันตามแนวแกนแบน ดอกบานภายใน 4-5 สัปดาหหลังงอกจากเมล็ด ผลิตเมล็ดไดประมาณ<br />

1,500 เมล็ดตอตน ขยายพันธุดวยเมล็ดและไหล เจริญเติบโตในแหลงปลูกพืชที่สูงและพืชสวน ชอบ<br />

สภาพแวดลอมทั้งแหงและชื้น<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัด ปละ 2-3 ครั้ง


2.ใชสารกําจัดวัชพืชเชน สารไกลโฟเสต กลูโฟสิเนต-แอมโมเนียมหรือพาราคอต อัตรา<br />

240, 120 และ 80 กรัมสารออกฤทธิ์ตอไรตามลําดับ ระวังอยาใหละอองสารถูกตนลําไย<br />

หญาปลองหิน (Indian paspalum)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Paspalum scrobiculatum Linn. วงศ Poaceae เปนวัชพืชอายุปเดียว ลําตน<br />

ตั้งตรง สูง 0.5-1.0 เมตร ผิวเรียบผอมบาง แผนใบแบนตรง ยาว 15-50 เซนติเมตร กวาง 5-15 มิลลิเมตร<br />

ผิวเรียบหรือมีขน ขอบใบไมเรียบ กาบใบสีเขียวเขม ยาว 10-12 เซนติเมตร ชอดอกยาว 2-6 เซนติเมตร<br />

กวาง 2-3มิลลิเมตร ดอกยอยมีรูปรางรีเกือบกลม เรียงตัวกันแบบสลับอยูทางดานลาง ขยายพันธุดวย<br />

เมล็ด เมล็ดที่เพิ่งสุกแกมักมีการพักตัว โดยทั่วไปออกดอกหลังจากงอกจากเมล็ดประมาณ 80 วัน พบได<br />

ทั่วไปในแปลงปลูกพืชยืนตน ชอบสภาพดินชื้นแฉะ โดยเฉพาะตามแนวริมทางคมนาคม<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดปละ 2-3 ครั้ง<br />

2.ใชสารกําจัดวัชพืช โดยพนสารไกลโฟเสต กลูโฟสิเนต-แอมโมเนียมหรือพาราคอต<br />

อัตรา 240, 120 และ 80 กรัมสารออกฤทธิ์ตอไร ตามลําดับ ระวังอยาใหละอองสารถูกตนลําไย<br />

ไมยราบเลื้อย ไมยราบหนาม ไมยราบขาว (giant sensitive plant)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Mimosa invisa Mart. วงศ Mimosaceae เปนวัชพืชอายุปเดียวหรือขามป ลํา<br />

ตนตั้งตรงและเลื้อย สูง 1-2 เมตร มีหนามรูปรางโคงกลับแหลมคมมากมายและมีขน ใบเปนใบ<br />

ประกอบสองแถว ไวตอการสัมผัส ชอดอก กลม สีชมพู มีหนามบนฝก มีเมล็ด 4-5 เมล็ดตอฝก ออก<br />

ดอกหลังจากงอกจากเมล็ดประมาณ 150 วัน เมล็ดสีน้ําตาลหรือน้ําตาลออน ขยายพันธุดวยเมล็ด ชอบ<br />

สภาพดินชื้น แพรกระจายในแหลงปลูก<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดกอนที่แหวหมูจะออกดอก<br />

2. ใชสารควบคุมหลังวัชพืชเริ่มงอก เชนสารไกลโฟเสต กลูโฟสิเนต-แอมโมเนียมหรือพารา<br />

คอต อัตรา 240, 120 และ 80 กรัมสารออกฤทธิ์ตอไรตามลําดับ ระวังอยาใหละอองสารถูกตนลําไย<br />

ผักปลาบ (common spiderwort)<br />

มีชื่อวิทยาศาสตร <strong>Co</strong>mmelina diffusa Burm. f. วงศ <strong>Co</strong>mmelinaceae เปนวัชพืชอายุขามป<br />

ลําตน อวบน้ํา เลื้อยแตกกิ่งกานและงอกรากจากขอ ยาว 0.5-1.0 เมตร ใบรูปหอก กาบใบมีขน ขอบใบ


และแผนใบบิด ชอดอกคอยๆบานจากขางลางขึ้นมา ดอกแบงครึ่งไดสองสวนเหมือนกัน มีกานสั้น<br />

กลีบดอกสีน้ําเงิน ขยายพันธุไดทั้งจากเมล็ดและลําตน ชอบสภาพดินชื้นในที่รกรางวางเปลา ตามแนว<br />

คันคลองและในแปลงผัก<br />

การปองกันกําจัด<br />

- ใชสารกําจัดวัชพืชพนกลูโฟสิเนต-แอมโมเนียม อัตรา 20 กรัมสารออกฤทธิ์ตอไร หลังผัก<br />

ปลาบงอก ระวังอยาใหละอองสารถูกตนลําไย<br />

หญานกสีชมพู หญาปลอง หญาขาวนา (shama millet, awnless barnyard grass, junglerice,<br />

birdrices, swamp grass)<br />

ชื่อวิทยาศาสตร Echinochloa colonum (L.) Link. วงศ Poaceae เปนวัชพืชอายุปเดียว ขึ้น<br />

เปนกอลําตนตรงเรียว ขอบใบขนาน ปลายใบแหลม ยาว 10-15 เซนติเมตร ชอดอกแบบชอแขนงสั้นๆ<br />

มี 3-10 แขนง ยาว 5-15 เซนติเมตร ออกดอกตลอดป ออกดอก 45 วันหลังงอกจากเมล็ด ขยายพันธุ<br />

ดวยเมล็ด ผลิตเมล็ดได 3,000-6,000 เมล็ดตอตน ตองการแสงสวางในการงอก เปนวัชพืชที่แกงแยงธาตุ<br />

อาหารและน้ํากับพืชปลูก แพรระบาดทั่วประเทศไทย ชอบสภาพทั้งชื้นและแหงในพืชไรและนา<br />

หวานขาวแหง<br />

การปองกันกําจัด<br />

1. ตัดกอนวัชพืชออกดอก<br />

2. ใชสารกําจัดวัชพืช เชน อะลาคลอร อัตรา 360 กรัมสารออกฤทธิ์ตอไร กอนวัชพืชงอก<br />

หรือพนพาราควอต อัตรา 80 กรัมสารออกฤทธิ์ตอไร หลังวัชพืชงอก


โรคศัตรูลําไย<br />

โรคใบจุดดํา<br />

โรคพุมไมกวาดทําใหแตกผอดฝอย<br />

ไลเคนส<br />

โรคจุดสนิม<br />

โรคราดํา


โรคศัตรูลําไย<br />

โรคราน้ําฝนที่ผล<br />

โรคราน้ําฝนที่ใบ<br />

โรคผลเนาสีน้ําตาล<br />

โรคหงอยลําไย<br />

โรครากเนาและโคนเนาระยะเริ่มแรก โรครากเนาและโคนเนาในระยะติดผล


แมลงศัตรูลําไย<br />

การทําลายของเพลี้ยไกแจลําไย<br />

การทําลายของหนอนกินชอดอกลําไย<br />

การทําลายของเพลี้ยแปง การทําลายของไรสี่ขาสีเทา


แมลงศัตรูลําไย<br />

ผีเสื้อหนอนเจาะกิ่ง หนอนเจาะกิ่ง<br />

หนอนเจาะผล<br />

ผีเสื้อหนอนเจาะผล<br />

การทําลายของหนอนชอนใบ ผีเสื้อหนอนชอนใบ


แมลงศัตรูลําไย<br />

หนอนมวนใบ<br />

มวนลําไย<br />

เพลี้ยหอย<br />

ผีเสื้อมวนหวาน<br />

ผีเสื้อหนอนเจาะขั้วผล<br />

หนอนเจาะยอดลําไย


วัชพืชในสวนลําไย<br />

หญาตีนกา ไมยราบเลื้อย แหวหมู<br />

สาบแรงสาบกา<br />

หญาคา<br />

หญาขจรจบ


วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวลําไย<br />

เบญจมาศ รัตนชินกร<br />

นิพัฒน สุขวิบูลย<br />

ลําไยเปนผลไมสําคัญทางเศรษฐกิจของไทยในกลุมของ product champion ในป 2544 ประเทศ<br />

ไทยสงออกลําไยสด 101,305 ตัน คิดเปนมูลคา 1,910 ลานบาท ตลาดสงออกใหญสุดคือ ฮองกง รองมา<br />

คือ มาเลเซีย จีนและสิงคโปร โดยสวนใหญแลวจะสงออกทางเรือ ยกเวนประเทศที่หางไกลออกไป จึง<br />

จําเปนตองขนสงทางอากาศ แตไมวาจะขนสงลําไยสดแบบใดก็ตาม สิ่งสําคัญคือ การจัดการดาน<br />

คุณภาพเพื่อใหเปนที่ยอมรับของประเทศปลายทาง ดังนั้นการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวจึงมีความสําคัญ<br />

เพื่อใหลําไยมีคุณภาพดีและเปนที่ตองการของตลาดสงออก<br />

การเก็บเกี่ยว<br />

ลําไยที่ปลูกจากกิ่งตอนมักจะเริ่มออกดอกติดผลหลังจากปลูกประมาณ 3 ป การเก็บเกี่ยวลําไย<br />

เพื่อการสงออกจําเปนตองเก็บเกี่ยวในระยะที่แกพอเหมาะ โดยสังเกตจากลักษณะภายนอกของผลคือ<br />

สีผิวจะเปลี่ยนจากเขียวเปนน้ําตาลออน ขนาดผลขยายใหญสุด ลําไยที่เก็บออนไปจะมีรสชาติไมดี แต<br />

หากเก็บแกเกินไปเนื้อจะฟามหวานชืดและไมทนทานตอการขนสงและเก็บรักษา อยางไรก็ตามแตละ<br />

แหลงอาจมีลักษณะภายนอกที่แตกตางกันบาง ดังนั้นการบันทึกวันออกดอกจะชวยในการประมาณ<br />

อายุเก็บเกี่ยวได เชนลําไยพันธุดอเริ่มออกดอกปลายเดือนธันวาคม หลังจากดอกบาน 2 สัปดาหจะติด<br />

ผลและอีก 6-7 เดือนก็สามารถเก็บผลผลิตไดในชวงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม<br />

การเก็บเกี่ยวลําไยมักเริ่มตั้งแตตอนเชาจนถึงบาย โดยใชบันไดหรือพะองพาดไปบนตนเพื่อหัก<br />

หรือตัดชอผล แลวนํามาใสเขงไมไผที่ผูเก็บนําขึ้นไปดวย สําหรับตนที่อายุมากหรือสูงใหญ เมื่อผลเต็ม<br />

เขงแลวก็จะโรยเชือกลงมาใหคนขางลางและเปลี่ยนเขงใหมขึ้นไปแทน ผลลําไยที่เก็บแลวก็รวบรวมไว<br />

ในตะกราที่สะอาด ไมควรกองบนพื้นดินเพราะอาจทําใหผลสกปรกและอาจมีเชื้อโรคติดผล ทําใหผล<br />

เนาขณะเก็บรักษาหรือขนสง เมื่อนําผลผลิตลําไยมายังโรงเรือแลวก็ตัดแตงชอผลเอาใบและกานที่ไมติด<br />

ผลออก สวนใหญจะตัดใหชอผลยาวประมาณ 15 เซนติเมตร สําหรับการคัดขนาดนั้นเปนไปตาม<br />

ขอตกลงระหวางผูซื้อและผูขายหรืออาจจะใชมาตรฐานลําไยของประเทศไทย ซึ่งโดยปกติแลวลําไยที่<br />

สงออกจะตองมีการคัดเลือกผลที่มีตําหนิ ผลช้ําหรือเนาออก<br />

การบรรจุภัณฑ<br />

บรรจุภัณฑสําหรับลําไยสดที่ใชมี 2 ประเภทคือ ตะกราพลาสติกซึ่งบรรจุลําไยสดได 10-11<br />

กิโลกรัมและกลองกระดาษลูกฟูกที่บรรจุลําไยไดประมาณ 10 กิโลกรัม ตะกราพลาสติกจะโปรงและมี


ฝาปด ทั้งนี้เพื่อใหการรมควันดวยซัลเฟอรไดออกไซดทําไดรวดเร็ว ทั่วถึงและมีประสิทธิภาพ โดยมัก<br />

นําผลมาเรียงบรรจุในตะกราพลาสติกที่บุดวยแผนฟองน้ําที่บางหรือใบลําไยเพื่อปองกันการกระแทก<br />

ใหผลช้ําหรือมีตําหนิ<br />

การลดอุณหภูมิ<br />

กอนการขนสงลําไยโดยใชรถหองเย็นหรือกอนเก็บรักษาในหองเย็น เพื่อรอการจําหนายหรือ<br />

สงออกตางประเทศ ควรมีการลดอุณหภูมิโดยเร็วหลังการเก็บเกี่ยวแลวเพื่อลดอัตราการหายใจ การคาย<br />

น้ําและลดความรอนที่ติดมากับผลลําไย ทําใหสามารถเก็บผลลําไยไวไดนาน การลดอุณหภูมิทําไดโดย<br />

การจุมตะกราบรรจุลําไยในน้ําเย็นที่เติมน้ําแข็งสําหรับรักษาอุณหภูมิไวที่ 2-5 o ซ นาน 10-15 นาที<br />

จากนั้นจึงทําใหผลสะเด็ดน้ํากอนนําเขาเก็บในหองเย็นหรือรถหองเย็น<br />

การเก็บรักษา<br />

ลําไยจะสูญเสียน้ําหนักอยางรวดเร็วและตอเนื่องหลังการเก็บเกี่ยว เมื่อเก็บในภาชนะเปดที่<br />

อุณหภูมิหองจะมีการสูญเสียความชื้นของเปลือก ทําใหเปลือกแหงแข็งและเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลเขม<br />

ไมเปนที่สนใจของผูซื้อภายใน 2-3 วัน ดังนั้นการเก็บผลใหนานขึ้นจึงจําเปนตองเก็บไวในที่ที่มี<br />

ความชื้นสัมพัทธอากาศสูง 90-95% อุณหภูมิที่เหมาะสมคือประมาณ 4-5 ° ซ จะทําใหเก็บไดนาน 2-4<br />

สัปดาห ถาเก็บผลที่อุณหภูมิ 5-10 ° ซ จะเก็บไดนาน 20-30 วัน หลังจากนําตะกราลําไยออกจากหองเย็น<br />

ควรอยูในสภาพอุณหภูมิต่ําอยางตอเนื่อง สําหรับผลสดที่ผานการรมควันดวยซัลเฟอรไดออกไซด จะ<br />

เก็บรักษาไดนานกวาลําไยที่ไมไดรมควัน<br />

การเก็บรักษาผลลําไยสดในสภาพบรรยากาศที่มีออกซิเจนต่ําประมาณ 2% ผสมกับไนโตรเจน<br />

มีแนวโนมชวยใหเก็บรักษาลําไยซึ่งรมควันซัลเฟอรไดออกไซดแลวไดนานประมาณ 45 วันที่อุณหภูมิ<br />

5 ° ซ อยางไรก็ตามยังตองมีการศึกษารายละเอียดและความเหมาะสมในเชิงพาณิชยตอไป<br />

การรมควันดวยซัลเฟอรไดออกไซด<br />

การรมควันดวยซัลเฟอรไดออกไซด (SO 2 ) เปนวิธีลดหรือชะลอการเนาเสียของผลอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ นอกจากนี้ยังชวยใหสีเปลือกเปนสีน้ําตาลออนและเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลชาลง ทั้งนี้เพราะ<br />

ซัลเฟอรไดออกไซดจะไปจับตัวกับสารประกอบพวกฟนอลทําใหขบวนการออกซิเดชั่นของ<br />

สารประกอบดังกลาวลดลง นอกจากนี้ซัลเฟอรไดออกไซดยังทําใหเปลือกผลออนตัวและไมกรอบ<br />

มากเหมือนลําไยปกติ สําหรับขั้นตอนการรมควันดวยซัลเฟอรไดออกไซดนั้น กรมวิชาการเกษตรมี<br />

ขอกําหนดและมาตรฐานการรมควัน ซึ่งผูสงออกสามารถติดตอขอรายละเอียดไดจากสํานักวิจัยพัฒนา<br />

วิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร กรมวิชาการเกษตร โดยลําไยเมื่อขนสงถึง


ประเทศปลายทางจะตองมีปริมาณซัลเฟอรไดออกไซดในเนื้อไมเกิน 10 ไมโครกรัม/กรัม (ppm) ตาม<br />

มาตรฐานของคณะกรรมการ <strong>Co</strong>dex Food Additives <strong>Co</strong>mmittee ลําไยที่ผานการรมควันดวยซัลเฟอร<br />

ไดออกไซด จะสามารถยืดอายุการเนาเสียของผลลําไยไดประมาณ 4-6 สัปดาหเมื่อเก็บที่อุณหภูมิ 0-2 o ซ<br />

ซึ่งพอเพียงในการขนสงสูตลาดตางประเทศ ลําไยเหลานั้นมีอายุวางจําหนายที่อุณหภูมิ 25-30 o ซ ได<br />

นาน 2-3 วัน<br />

หองรมควันซัลเฟอรไดออกไซดที่ดีควรมีสถานที่ตั้งเหมาะสม ใชวัสดุกอสรางที่แข็งแรงและ<br />

ทนทานตอการกัดกรอนของกาชซัลเฟอรไดออกไซด พื้นหองควรเปนคอนกรีตฉาบเรียบที่สามารถ<br />

รองรับน้ําหนักไดดีและทําความสะอาดไดงาย ในหองตองมีดวงไฟและมีชองกระจกสําหรับสังเกต<br />

ความเปนไปในหองรมควันได มีระบบปองกันไฟฟาลัดวงจรเพื่อความปลอดภัยและปองกันอัคคีภัย<br />

ตารางที่ 8.1 อัตราการใชและผลตกคางของซัลเฟอรไดออกไซดในเปลือกและเนื้อของผลลําไยสด<br />

อัตราการใช ผลตกคางของ SO 2 (ppm)<br />

(มิลลิลิตร/100 กรัม) เปลือก เนื้อ<br />

หมายเหตุ<br />

15 1,200 0-5 ต่ําเกินไป<br />

20-25 1,500-2,200 < 10 อัตราที่แนะนํา<br />

30 2,200-3,200 10-30 อัตราสูงสุดที่จะนําไปใช<br />

35 >3,200 >30 สูงเกิน<br />

ขนาดของหองรมควันขึ้นอยูกับความตองการของผูประกอบการ มีขนาดที่บรรจุลําไยได 200-<br />

1,000 ตะกราพลาสติก หองสูง 2.4-2.5 เมตร ขนาดประตูหองประมาณ 1.5 เมตร อาจจะเปนชนิดบาน<br />

เดียวหรือชนิดสองบานเปดเขาหากัน ประตูควรเปนแสตนเลสหรือไมอัดบุโฟไมกา ควรใสยางขอบ<br />

ประตูและใชกาวซิลิโคนอุดตามรอยรั่วเพื่อไมใหกาซกาชซัลเฟอรไดออกไซด รั่วไหล<br />

การจัดเรียงตะกราลําไยในหอง ตองใหมีการกระจายตัวของกาซซัลเฟอรไดออกไซดไดสะดวก<br />

และทั่วถึง ไมควรเรียงตะกราชิดติดผนังหองจนเกินไป ตองคํานึงถึงความสะดวก รวดเร็วในการขนยาย<br />

ลําไยเขาและออกอีกดวย<br />

กาซซัลเฟอรไดออกไซดไดจากการเผากํามะถัน โดยเตาเผาที่ใชมี 2 แบบคือ เตาไฟฟาและเตา<br />

แกสหุงตุม เตาไฟฟามีขอเสียที่ตองวางเตาและพัดลมไวในหองรมควัน ทําใหไมสะดวกตอการจัดเรียง<br />

ตะกราลําไย อาจไมปลอดภัยตอผูปฏิบัติงานและเกิดอุบัติเหตุได อุปกรณอาจสึกหรอเสื ่อมสภาพจาก<br />

การกัดกรอนของกาซซัลเฟอรไดออกไซดและยังมีปญหาการเผาไหมที่ไมสมบูรณอีกดวย สวนเตาแกส<br />

หุงตมเปนแบบที่ใชสะดวก ไมเสียงาย สามารถควบคุมการปลดปลอยและกระจายตัวของกาซซัลเฟอร<br />

ไดออกไซดไดดี ตลอดจนทําความสะอาดไดงาย


ในหองรมควันตองมีการผสมกาซซัลเฟอรไดออกไซดกับอากาศภายในหอง จึงตองมีระบบ<br />

การผสมและการกระจายกาซกับอากาศภายในหองรมควัน (Forced Air-Gas Mixing and Diffusing<br />

System) ซึ่งมีสวนประกอบสําคัญคือ ทอดูดกาซ (hopper) ที่ทําหนาที่ดูดเอากาซที่ถูกปลอยจากทอ<br />

ทางออกผสมกับอากาศภายในหองแลวสงตอใหพัดลมพนกระจายกลับเขาไปในหอง หัวกระจายกาซ<br />

(diffuser) จะพนสวนผสมกาซและอากาศไปทุกทิศทาง ตองมีความแรงพอเพียงที่แทรกซึมไปถึงตะกรา<br />

หลังจากรมควันแลวก็ตองมีการบําบัดกาซซัลเฟอรไดออกไซด ซึ่งมี 2 แบบคือ ระบบกําจัด<br />

แบบ Ventury ซึ่งเปนระบบเปยก ใชน้ําปูนขาวชวยในการบําบัด เปนระบบที่มีประสิทธิภาพสูง การ<br />

ดูแลรักษางาย กอสรางงายและราคาพอสมควร เมื่อเปรียบเทียบกับระบบกําจัดแบบ Pack Tower ซึ่งใช<br />

วัสดุ Packing เพื่อเพิ่มพื้นที่ผิวการสัมผัสกับกาซใหมากขึ้น แตมักอุดตันดวยตะกอนเขมาหรือเกล็ดที่<br />

เกิดจากการจับตัวของน้ําปูนขาวกับกาซซัลเฟอรไดออกไซดหรือยิบซัม ระบบบําบัดแบบ Ventury<br />

ประกอบดวยทอดูดกาซซัลเฟอรไดออกไซดออกจากหองรมควัน ถังตกตะกอนหรือถังไซโคลนซึ่งเปน<br />

ถังแสตนเลสทรงกรวยกลม มีทออากาศออกอยูกลางถังและทอทางเขาอยูดานบนของถัง ทําใหการจับ<br />

ตัวของกาซซัลเฟอรไดออกไซดกับละอองน้ําปูนขาวมีประสิทธิภาพ<br />

การใชสารอื่นๆ<br />

ปจจุบัน ไดมีการศึกษาหาสารอื่นทดแทนซัลเฟอรไดออกไซดในลดความเสียหายจากการเนา<br />

เสีย ระหวางเก็บรักษาหรือขนสง เชน การใชสาร Antioxidant ประเภทกรดอินทรียชนิดตางๆ ไดแก<br />

กรดซิตริกและกรดน้ําสม เปนตนหรือการใชสารระเหยเชน อะเซทตาลดีไฮนและแอลกอฮอลที่ระเหย<br />

เร็วหรือมีจุดเดือดต่ํา ตลอดจนอาจใชสารเคลือบผิวซึ่งเปนสารสกัดจากธรรมชาติเชน ไคโตซานและโพ<br />

ลีเซคคาไอน อยางไรก็ตามผลงานวิจัยการใชสารตางๆดังกลาวแลวยังไมชัดเจน จึงไมสามารถสรุปและ<br />

ที่จะใชในเชิงการคาได<br />

มาตรฐานลําไยของประเทศไทย (THAILAND STANDARD FOR LONGANS)<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณไดออกประกาศกําหนดมาตรฐานลําไยของประเทศไทย ณ วันที่<br />

6 กรกฏาคม 2546 เพื่อเปนประโยชนตอการปรับปรุงคุณภาพ การอํานวยความสะดวกทางการคาและ<br />

คุมครองผูบริโภค โดยมีรายละเอียดดังนี้<br />

รายละเอียดตาม longan.pdf


มาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

ลําไย<br />

มกอช 1 -2546<br />

1 นิยามของผลิตผล (DEFINITION OF PRODUCE)<br />

มาตรฐานนี้ใชกับ “ลําไย” (Longans) พันธุที่ผลิตเปนการคาที่มีชื่อวิทยาศาสตรวา “Dimocarpus longan<br />

Lour.” อยูในวงศ Sapindaceae สําหรับการบริโภคสด<br />

2 ขอกําหนดเรื่องคุณภาพ (PROVISIONS CONCERNING QUALITY)<br />

2.1 คุณภาพขั้นต่ํา (Minimum Requirements)<br />

2.1.1 ลําไยทุกชั้นมาตรฐานตองมีคุณภาพดังตอไปนี้ เวนแตจะมีขอกําหนดเฉพาะของแตละชั้นและเกณฑ<br />

ความคลาดเคลื่อนที่ยอมใหมีไดตามที่ระบุไว<br />

2.1.1.1 เปนผลสมบูรณ<br />

2.1.1.2 มีลักษณะคุณภาพที่ดี ไมเนาเสีย<br />

2.1.1.3 ไมช้ํา และไมมีตําหนิที่เห็นเดนชัด<br />

2.1.1.4 ปลอดจากศัตรูพืชและความเสียหายอันเนื่องมาจากศัตรูพืช<br />

2.1.1.5 ปลอดจากความเสียหายอันเนื่องมาจากอุณหภูมิต่ํา และหรืออุณหภูมิสูง<br />

2.1.1.6 ปลอดจากความชื้นที่ผิดปกติจากภายนอก<br />

2.1.1.7 ปลอดจากกลิ่นแปลกปลอม 1 และรสชาติผิดปกติ<br />

2.1.2 ผลลําไยมีความแกไดที่ ซึ่งเหมาะกับพันธุและแหลงปลูก ผลขยายตัวเต็มที่ ผิวเปลือกเกลี้ยงและ<br />

มีรสชาติเหมาะสมกับการบริโภคสด และเปนที่ยอมรับของผูบริโภค ผลอยูในสภาพที่ยอมรับได สีเปลือก<br />

ผลและเนื้ออาจจะแตกตางกันไปตามพันธุและแหลงปลูก หรือสีเปลือกผลอาจจะเปลี่ยนแปลงเล็กนอยได<br />

ในกรณีที่มีการรมดวยซัลเฟอรไดออกไซด<br />

--------------------------------------------------------------<br />

1<br />

ยกเวนกลิ่นที่เกิดจากการใชวัตถุเจือปนอาหารตามขอ 7


มกอช 1 -2546 2<br />

2.2 การแบงชั้นคุณภาพ (Classification)<br />

ลําไยตามมาตรฐานนี้ แบงเปน 3 ชั้นคุณภาพ ดังนี้<br />

2.2.1 ชั้นพิเศษ (“Extra” Class)<br />

ผลลําไยชั้นนี้มีคุณภาพดีที่สุด ตรงตามพันธุ สีเปลือกผลสม่ําเสมอ ผลปลอดจากตําหนิ ยกเวนตําหนิผิวเผิน<br />

เล็กนอย โดยไมมีผลตอรูปลักษณทั่วไปของผลิตผล คุณภาพ คุณภาพการเก็บรักษา และการจัดเรียงเสนอ<br />

ในภาชนะบรรจุ<br />

2.2.2 ชั้นหนึ่ง (Class I)<br />

ผลลําไยในชั้นนี้มีคุณภาพดี ตรงตามพันธุ สีเปลือกผลสม่ําเสมอ ผลมีตําหนิไดเล็กนอย โดยไมมี<br />

ผลตอรูปลักษณทั่วไปของผลิตผล คุณภาพ คุณภาพการเก็บรักษา และการจัดเรียงเสนอในภาชนะบรรจุ<br />

ตําหนิที่ผิวมีไดเล็กนอย โดยพื้นผิวตําหนิรวมตอผลไมเกิน 0.5 ตารางเซนติเมตร<br />

2.2.3 ชั้นสอง (Class II)<br />

ชั้นนี้รวมผลลําไยที่ไมเขาขั้นชั้นที่สูงกวา แตมีคุณภาพขั้นต่ําดังขอ 2.1 แตยังคงคุณภาพ คุณภาพการเก็บ<br />

รักษา และการจัดเรียงเสนอในภาชนะบรรจุ โดยใหพื้นผิวมีตําหนิรวมตอผลไมเกิน 0.5 ตารางเซนติเมตร<br />

3 ขอกําหนดเรื่องขนาด (PROVISIONS CONCERNING SIZING)<br />

ขนาดของผลพิจารณาจากจํานวนผลตอกิโลกรัม หรือเสนผาศูนยกลางของผล ซึ่งแบงออกเปน 6 ขนาด<br />

ตามตารางที่ 1 ดังนี้<br />

ตารางที่ 1 ขอกําหนดเรื่องขนาดของลําไยชอและลําไยผลเดี่ยว<br />

จํานวนผล/กิโลกรัม<br />

เสนผาศูนยกลางผล<br />

รหัสขนาด<br />

ลําไยผลเดี่ยว<br />

ลําไยชอ<br />

(มิลลิเมตร)<br />

(ตัดเหลือขั้ว)<br />

1 < 85 < 91 >28<br />

2 85 – 94 91 – 100 >27 – 28<br />

3 95 – 104 101 – 111 >26 – 27<br />

4 105 – 114 112 – 122 >25–26<br />

5 ≥ 115 ≥ 123 >24 – 25<br />

6 - - 22-24


3<br />

มกอช 1 -2546<br />

4 ขอกําหนดเรื่องเกณฑความคลาดเคลื่อน (PROVISIONS CONCERNING<br />

TOLERANCES)<br />

เกณฑความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพและขนาดที่ยอมใหมีไดในแตละภาชนะบรรจุ สําหรับผลิตผลที่ไมเขา<br />

ชั้นที่ระบุไวมีดังนี้<br />

4.1 เกณฑความคลาดเคลื่อนเรื่องคุณภาพ (Quality Tolerances)<br />

4.1.1 ชั้นพิเศษ (“Extra” Class)<br />

ไมเกินรอยละ 5 โดยจํานวนหรือน้ําหนักของผลลําไยที่คุณภาพไมเปนไปตามขอกําหนดของชั้นพิเศษ<br />

แตเปนไปตามคุณภาพชั้นหนึ่ง หรือคุณภาพยังอยูในเกณฑความคลาดเคลื่อนของคุณภาพชั้นหนึ่ง<br />

4.1.2 ชั้นหนึ่ง (Class I)<br />

ไมเกินรอยละ 10 โดยจํานวนหรือน้ําหนักของผลลําไยที่คุณภาพไมเปนไปตามขอกําหนดของชั้นหนึ่ง<br />

แตเปนไปตามคุณภาพชั้นสอง หรือคุณภาพยังอยูในเกณฑความคลาดเคลื่อนของคุณภาพชั้นสอง<br />

4.1.3 ชั้นสอง (Class II)<br />

ไมเกินรอยละ 10 โดยจํานวนหรือน้ําหนักของผลลําไยที่คุณภาพไมเปนไปตามขอกําหนดของชั้นสอง<br />

หรือไมไดคุณภาพขั้นต่ํา โดยไมมีผลเนาเสียหรือมีสภาพไมเหมาะสมตอการบริโภค<br />

4.2 เกณฑความคลาดเคลื่อนเรื่องขนาด (Size Tolerances)<br />

ลําไยทุกชั้นมีลําไยขนาดที่ใหญหรือเล็กกวาชั้นถัดไปหนึ่งชั้นปนมาไดไมเกินรอยละ 20 โดยจํานวนหรือ<br />

น้ําหนักสําหรับลําไยที่ขายเปนชอ และไมเกินรอยละ 10 สําหรับลําไยที่ขายเปนผลเดี่ยว<br />

5 ขอกําหนดเรื่องการบรรจุและการจัดเรียงเสนอ (PROVISIONS CONCERNING<br />

PRESENTATION)<br />

5.1 ความสม่ําเสมอ (Uniformity)<br />

ลําไยที่บรรจุในแตละภาชนะบรรจุตองมีความสม่ําเสมอทั้งในเรื่องของพันธุ คุณภาพ และขนาด สวนของ<br />

ผลในภาชนะบรรจุที่มองเห็นไดตองเปนตัวแทนของผลิตผลทั้งหมด


มกอช 1 -2546 4<br />

5.2 การบรรจุหีบหอ (Packaging)<br />

ตองบรรจุลําไยในลักษณะที่สามารถเก็บรักษาลําไยไดเปนอยางดี วัสดุที่ใชในการบรรจุตองสะอาดและ<br />

มีคุณภาพเพื่อปองกันความเสียหายอันจะมีผลตอลําไย การใชวัสดุโดยเฉพาะกระดาษหรือตราประทับที่มี<br />

ขอกําหนดทางการคาสามารถทําได หากการพิมพหรือการแสดงฉลากใชหมึกพิมพหรือกาวที่ไรพิษ<br />

5.2.1 รายละเอียดของบรรจุภัณฑ (Description of <strong>Co</strong>ntainers)<br />

บรรจุภัณฑตองมีคุณภาพ ถูกสุขลักษณะ และมีคุณสมบัติทนทานตอการขนสง และรักษาผลลําไยได บรรจุภัณฑ<br />

ตองปราศจากสิ่งแปลกปลอม และกลิ่น<br />

5.3 การจัดเรียงเสนอ (Presentation)<br />

ผลลําไยตองมีการจัดเสนอในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่งดังตอไปนี้<br />

5.3.1 ลําไยผลเดี่ยว<br />

ลําไยที่ตัดเปนผลเดี่ยวตองตัดใหเหลือขั้วไวแตยาวไมเกิน 5 มิลลิเมตร<br />

5.3.2 ลําไยชอ<br />

ลําไยแตละชอควรมีผลติดอยูไมต่ํากวา 3 ผล และความยาวชอไมเกิน 15 เซนติเมตร อนุญาตใหมีผลรวง<br />

ระหวางการขนสงไดไมเกินรอยละ 10 โดยจํานวนหรือน้ําหนักของแตละภาชนะบรรจุ<br />

6 การแสดงเครื่องหมายหรือฉลาก (MARKING OR LABELLING)<br />

6.1 บรรจุภัณฑสําหรับผูบริโภค (<strong>Co</strong>nsumer Packages)<br />

ตองมีขอความแสดงรายละเอียดใหเห็นไดงาย ชัดเจน ไมเปนเท็จหรือหลอกลวง ดังตอไปนี้<br />

6.1.1 ประเภทของผลิตผล (Nature of Produce)<br />

ขอความวา “ลําไย” และหรือ “ชื่อพันธุลําไย” ถาไมสามารถมองเห็นผลิตผลจากภายนอกของภาชนะ<br />

บรรจุได<br />

6.1.2 น้ําหนักสุทธิเปนระบบเมตริก<br />

6.1.3 ขอมูลผูจําหนาย<br />

แสดงชื่อ และที่ตั้ง ของผูจําหนาย หรือผูแบงบรรจุ หรือแสดงเครื่องหมายการคาที่จดทะเบียน<br />

6.1.4 ประเทศผูผลิต ถาการไมระบุประเทศจะทําใหเกิดความเขาใจผิด หรือเปนการหลอกลวงผูบริโภค


5<br />

มกอช 1 -2546<br />

6.1.5 กรณีที่มีการรมดวยซัลเฟอรไดออกไซด และพบสารตกคางในเนื้อเกินกวา 10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม<br />

ใหแสดงขอความวา “ผานการรมดวยซัลเฟอรไดออกไซด”<br />

6.2 บรรจุภัณฑสําหรับขายสง (Non-Retail <strong>Co</strong>ntainers)<br />

แตละหีบหอตองประกอบดวยขอความ ซึ่งจะระบุในเอกสารกํากับสินคา หรือบนฉลาก หรือแสดงไวที่<br />

ภาชนะบรรจุก็ได ขอความตองอานไดชัดเจนไมหลุดลอก โดยมีรายละเอียดดังตอไปนี้<br />

6.2.1 ขอมูลผูขายสง<br />

ชื่อและที่ตั้งของผูขายสง ผูบรรจุ และหมายเลขรหัสสินคา (ถามี)<br />

6.2.2 ประเภทของผลิตผล<br />

ขอความวา “ลําไย” และหรือ “ชื่อพันธุลําไย”<br />

6.2.3 ขอมูลแหลงผลิต<br />

ประเทศที่ผลิต และหรือแหลงผลิตในประเทศ<br />

6.2.4 ขอมูลเชิงพาณิชย<br />

6.2.4.1 ชั้นคุณภาพ<br />

6.2.4.2 ขนาด (รหัสขนาดหรือเสนผาศูนยกลางต่ําสุดและสูงสุดเปนมิลลิเมตร)<br />

6.2.4.3 น้ําหนักสุทธิเปนระบบเมตริก<br />

6.2.5 กรณีที่มีการรมดวยซัลเฟอรไดออกไซด และพบสารตกคางในเนื้อเกินกวา 10 มิลลิกรัมตอกิโลกรัม<br />

ใหแสดงขอความวา “ผานการรมดวยซัลเฟอรไดออกไซด”<br />

6.3 ภาษา (Language)<br />

ฉลากของลําไยตองมีขอความเปนภาษาไทย กรณีฉลากลําไยที่ผลิตเพื่อสงออกจะแสดงขอความเปนภาษา<br />

ใดก็ได<br />

6.4 เครื่องหมายการตรวจสอบทางราชการหรือเครื่องหมายรับรอง (Official Inspection Mark or<br />

Certification Mark)<br />

ใหเปนไปตามหลักเกณฑและเงื่อนไขของหนวยตรวจหรือหนวยรับรองที่ไดรับการยอมรับจากกระทรวงเกษตร<br />

และสหกรณ


มกอช 1 -2546 6<br />

7 วัตถุเจือปนอาหาร (FOOD ADDITIVES)<br />

ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวของ และขอกําหนดของมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

เรื่องวัตถุเจือปนอาหาร<br />

8 สารปนเปอน (CONTAMINATION)<br />

ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวของ และขอกําหนดของมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

เรื่องสารปนเปอน<br />

9 สารพิษตกคาง (PESTICIDE RESIDUES)<br />

ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวของ และขอกําหนดของมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

เรื่องสารพิษตกคาง<br />

10 สุขลักษณะ (HYGINE)<br />

การเก็บเกี่ยว การเก็บรักษา และการขนสงลําไยตองปฏิบัติอยางถูกสุขลักษณะ เพื่อปองกันการปนเปอน<br />

ที่จะกอใหเกิดอันตรายตอผูบริโภค<br />

11 วิธีวิเคราะหและชักตัวอยาง (METHODS OF ANALYSIS AND SAMPLING)<br />

ใหเปนไปตามขอกําหนดในกฎหมายที่เกี่ยวของ และขอกําหนดของมาตรฐานสินคาเกษตรและอาหารแหงชาติ<br />

เรื่องวิธีวิเคราะหและชักตัวอยาง


การเก็บเกี่ยวและการจัดการหลังการเก็บเกี่ยว<br />

การเก็บเกี่ยวลําไย<br />

การคัดเกรดและตัดแตงชอ<br />

การบรรจุตะกรา


ผลิตภัณฑลําไย<br />

เนื้อลําไยอบแหง<br />

น้ําลําไย<br />

ลําไยอบแหง


การแปรรูปลําไย<br />

การอบแหงผลลําไยทั้งเปลือก<br />

เอกศักด ฐาปนะดิลก<br />

สุใจ คงคุณากุล<br />

การผลิตและสงออกลําไยอบแหงของประเทศไทยไดเพิ่มขึ้นตอเนื่องตั้งแตป 2539 เปนตนมา<br />

เนื่องจากตลาดมีความตองการเพิ่มขึ้นทุกปและรัฐบาลสนับสนุนการผลิตโดยอนุมัติเงินทุนหมุนเวียน<br />

ปลอดดอกเบี้ยใหเกษตรกรกูซื้อเครื่องอบลําไย ทําใหแกปญหาผลผลิตลนตลาดและราคาตกต่ําไดใน<br />

ระดับหนึ่ง ปจจุบันประเทศไทยเปนผูผลิตและสงออกลําไยอบแหงอันดับหนึ่งของโลก โดยในป 2544<br />

สงออกรวม 24,609 ตัน คิดเปนมูลคา 1,144 ลานบาท โดยมีสาธารณรัฐประชาชนจีนเปนตลาด<br />

ตางประเทศที่สําคัญ<br />

1. ชนิดของเครื่องอบแหง<br />

เครื่องอบแหงผลลําไยสวนใหญเปนเครื่องอบแหงแบบกระบะขนาด 235 x 235 x 80 ลูกบาศก<br />

เซนติเมตร ภายในมีตะแกรงเหล็กรูกลมเบอร 8 เสนผาศูนยกลาง 2.15 มิลลิเมตรวางอยูสูงจากพื้น<br />

กระบะ 30-45 เซนติเมตร เครื่องบรรจุลําไยสดไดประมาณ 1,500-2,000 กิโลกรัม ดานใตตะแกรงเปนที่<br />

วางใหลมรอนผานเขามาและผานผลลําไยบนตะแกรงออกไป อุปกรณกําเนิดลมรอนและพัดลมติดอยู<br />

ดานขางของกระบะ เตาเผามีทั้งแบบใชน้ํามันดีเซลและแกสหุงตุมเปนเชื้อเพลิง สามารถควบคุม<br />

อุณหภูมิดวยการปรับการฉีดน้ํามันหรือแกสหุงตุม การใชน้ํามันดีเซลอาจมีปญหาเรื่องการเผาไหมไม<br />

หมด ทําใหอาจมีกลิ่นน้ํามันติดผลลําไย จึงควรเลือกซื้อเครื่องอบแหงจากโรงงานผลิตที่มีคุณภาพและมี<br />

บริการหลังการขายที่ดี<br />

2. ขั้นตอนการอบผลทั้งเปลือก<br />

(1) ควรเลือกผลลําไยที่ไมเนาเสียหรือแตก แลวแยกขนาดผลเปนขนาดเล็ก กลางและใหญ<br />

เนื่องจากแตละขนาดใชเวลาในการอบแหงที่อุณหภูมิ 70-80 o ซ ไมเทากันคือ ผลเล็กใชเวลาอบแหงอยาง<br />

นอย 40 ชั่วโมง สวนผลใหญใชเวลาอบแหงอยางนอย 48 ชั่วโมง<br />

(2) ถาเกษตรกรมีเครื่องอบแหงเพียงเครื่องเดียว ควรใสผลขนาดใหญลงไปกอนเพื่อใหอยูใกล<br />

ความรอนมากที่สุด แยกแตละขนาดโดยใชตะแกรงแบงเปนชั้นเทาๆ กัน น้ําหนักบรรจุไมควรเกิน<br />

2,000 กิโลกรัม เพื่อพลิกกลับไดสะดวก แตถามีเครื่องอบแหงหลายเครื่องแนะนําใหอบแยกตามขนาด


(3) อุณหภูมิอบแหงที่เหมาะสมคือ 70-80 o ซ การควบคุมอุณหภูมิของลมรอนใหคงที่เปนสิ่ง<br />

สําคัญ ถาอุณหภูมิต่ํากวานี้ก็ตองใชเวลานานมากขึ้น ถาอุณหภูมิสูงกวาที่กําหนดจะทําใหเนื้อลําไยมี<br />

กลิ่นไหมและเปนสีดํา<br />

(4) ผลที่อยูดานลางสุดจะแหงกอนและทยอยแหงจากดานลางขึ้นสูขางบน ดังนั้นจึงควรพลิก<br />

กลับ 2 ครั้งคือ พลิกกลับเมื่ออบแหงได 15 ชั่วโมงและพลิกกลับครั้งที่สองอีก 15 ชั่วโมงตอมา โดยนํา<br />

ผลที่อยูชั้นกลางลงมาไวชั้นลาง แลวเอาผลที่ชั้นลางขึ้นไปไวชั้นบน แลวอบแหงตอไปใหครบ 40 – 48<br />

ชั่วโมง ซึ่งขึ้นอยูกับความชื้นของผล พันธุและขนาดผล การพลิกกลับมีทั้งใชเครนยกตาขายออกหรือ<br />

โกยผลจากกระบะหนึ่งไปใสอีกกระบะหนึ่ง<br />

(5) เมื่ออบแหงตามกําหนดเวลาแลวควรตรวจวัดความชื้นของผล หากไมมีเครื่องตรวจวัดควร<br />

สุมตรวจผลขนาดใหญวาแหงหรือไม โดยเมล็ดของผลตองแหงสนิท จากนั้นจึงเปาลมเย็นเพื่อใหผลเย็น<br />

ลงประมาณ 1 ชั่วโมงหรือทิ้งไวใหเย็น<br />

จากนั้นคัดแยกผลลําไยอบแหงที่แตกและมีตําหนิออกใหหมด ทําความสะอาดเศษดินโดยใช<br />

ลมเปาออก ลักษณะลําไยอบแหงที่ดีคือ เปนลูกกลมๆ ไมบุม ผิวเปลือกสีเหลืองออกน้ําตาลนวล เนื้อ<br />

ลําไยมีความชื้นไมเกิน 18% รสชาดหวาน ไมขมและมีกลิ่นหอม ถาพบวาลําไยอบแหงที่เก็บไวมี<br />

ความชื้นเพิ่มขึ้น ควรอบแหงอีกครั้งที่อุณหภูมิ 40-50 o ซ จากนั้นจึงบรรจุในถุงพลาสติกชนิดหนาเพื่อกัน<br />

ความชื้น ปดปากถุงใหแนนและบรรจุในกลองกระดาษลูกฟูกขนาดบรรจุ 10 กิโลกรัมอีกครั้ง ควรเก็บ<br />

ไวในที่เย็นและระบายอากาศดีเพื่อรอการสงออก<br />

ผลลําไยสด 1 กิโลกรัมเมื่ออบแหงใหเหลือความชื้น 17% จะไดผลลําไยอบแหง 361 กรัมหรือ<br />

คิดเปนสัดสวน 3:1 โดยน้ําหนัก สําหรับมาตรฐานขนาดลําไยอบแหงที่ใชเครื่องคัดขนาด มีดังนี้คือ<br />

-เกรด AA ขนาดผลลําไยมีเสนผาศูนยกลาง 25 มิลลิเมตรขึ้นไป<br />

-เกรด A ขนาดผลลําไยมีเสนผาศูนยกลาง 22-25 มิลลิเมตร<br />

- เกรด B ขนาดผลลําไยมีเสนผาศูนยกลาง 20-21 มิลลิเมตร<br />

-เกรด C ขนาดผลลําไยมีเสนผาศูนยกลาง ต่ํากวา 20 มิลลิเมตร<br />

3. ตนทุนการผลิต<br />

ตนทุนการอบแหงผลลําไยทั้งเปลือกในป 2539 ซึ่งใชเครื่องอบแหงแบบกระบะที่ใชแกสหุงตม<br />

เปนเชื้อเพลิง โดยอบผลลําไยสดจํานวน 2,000 กิโลกรัมที่อุณหภูมิ 90-80-70 o ซ นาน 40 ชั่วโมง ไดผล<br />

ลําไยแหง 640 กิโลกรัมและมีตนทุนการผลิตดังนี้<br />

ผลลําไยสด 2,000 กิโลกรัม x 12 บาท 24,000.00 บาท (90.8%)<br />

แกสหุงตม 72.4 กิโลกรัม x 12.50 บาท 905.00 บาท (3.4%)<br />

ไฟฟา 0.746 กิโลวัตต x 40 ชั่วโมง x 2.50 บาท 75.00 บาท (0.3%)<br />

แรงงาน 3 คน x 12 วัน x 121 บาท 730.00 บาท (2.8%)


คาใชจายอื่นๆ (บรรจุภัณฑ, คาเสื่อมราคา, คาขนสง) 730.00 บาท (2.8%)<br />

รวม 16,440.00 บาท (100%)<br />

ตนทุนตอกิโลกรัมผลลําไยแหง 41.31 บาท<br />

สําหรับตนทุนการอบแหงผลลําไยทั้งเปลือกในป พ.ศ. 2539 ซึ่งใชเครื่องอบแหงแบบกะบะ ใช<br />

น้ํามันดีเซลเปนเชื้อเพลิง โดยอบผลลําไยสดจํานวน 2,000 กิโลกรัมที่อุณหภูมิ 70-80 o ซ นาน 48<br />

ชั่วโมง ไดผลลําไยแหง 640 กิโลกรัม<br />

ผลลําไยสด 2,000 กิโลกรัม x 12 บาท 24,000.00 บาท (90.8%)<br />

น้ํามันดีเซล 240 ลิตร x 8 บาท 1,920.00 บาท (3.4%)<br />

ไฟฟา 0.746 กิโลวัตต x 48 ชั่วโมง x 2.50 บาท 90.00 บาท (0.3%)<br />

แรงงาน 3 คน 730.00 บาท (2.8%)<br />

คาใชจายอื่นๆ 730.00 บาท (2.8%)<br />

รวม 27,470.00 บาท (100%)<br />

ตนทุนตอกิโลกรัมผลลําไยแหง 42.92 บาท<br />

ตนทุนการผลิตลําไยอบแหงทั้งเปลือกจะแปรผันไปตามราคาของผลลําไยสด ดังนั้นจึงคิด<br />

ตนทุนผลลําไยแหงตามราคาผลลําไยสด คือ<br />

ราคาผลลําไยตอกิโลกรัม ตนทุนผลลําไยอบแหงตอกิโลกรัม (บาท)<br />

แกสหุงตม น้ํามันดีเซล<br />

12 41.31 42.92<br />

15 50.69 52.30<br />

20 66.31 67.92<br />

25 81.94 83.55<br />

30 97.56 99.17<br />

การอบแหงเนื้อลําไย<br />

เนื้อลําไยอบแหงเปนผลิตภัณฑอีกชนิดที่มีศักยภาพในการสงออกตางประเทศ เนื่องจากมี<br />

คุณภาพดีกวาทั้งสี รูปราง ความสะอาดและความนารับประทาน ผูบริโภคสามารถรับประทานไดทันที<br />

โดยไมตองแกะเปลือกและเมล็ดออก นอกจากนี้ยังประหยัดคาใชจายในการขนสงและเก็บรักษา ตลาด<br />

สงออกเนื้อลําไยอบแหงที่สําคัญไดแก ญี่ปุน ยุโรป สหรัฐอเมริกา ไตหวัน ฮองกงและสิงคโปร การผลิต


เนื้อลําไยอบแหงมี 2 วิธีคือ การอบผลลําไยทั้งเปลือกกอนแลวแกะเนื้อออกมา ลักษณะเนื้อจะมีสีคล้ํา<br />

และคุณภาพไมดี ตอมาไดพัฒนาวิธีการอบแหงโดยปอกเปลือกและควานเมล็ดลําไยออก แลวลางเนื้อ<br />

ดวยน้ํา กอนแชในสารเคมีเพื่อปองกันเนื้อเปลี่ยนเปนสีดํา จากนั้นจึงอบแหงในเครื่องอบแหงชนิดถาด<br />

ทําใหไดเนื้อลําไยที่มีสีเหลืองทอง คุณภาพดีและมีกลิ่นหอม<br />

1. ชนิดเครื่องอบแหง<br />

เครื่องอบแหงเนื้อลําไยจะตองเปนตูอบแหงที่แข็งแรง ไมมีลมรอนรั่วไหล วัสดุในตูอบแหง<br />

และตะแกรงตองไมเปนสนิม ภายในตูอบแหงมีพัดลมกระจายความรอนอยางสม่ําเสมอทุกๆชั้น<br />

อุปกรณกําเนิดลมรอนมีทั้งใชไฟฟาและแกสหุงตม โดยการใชไฟฟาจะดีกวาแกสหุงตมที่สะอาดกวา<br />

แตคาใชจายจะสูงกวา มีการควบคุมอุณหภูมิใหคงที่ โดยใชเทอรโมสตัท อุปกรณวัดอุณหภูมิควรอยู<br />

ภายในตูอบใกลทางออกของลมรอน ควรพิจารณาเลือกซื้อเครื่องอบแหงจากผูผลิตที่มีคุณภาพ มีบริการ<br />

หลังการขายที่ดี<br />

2. ขั้นตอนการอบแหง<br />

(1) คัดเลือกผลที่มีเนื้อหนา สีขาวใส คุณภาพดีไมเนา พันธุที่เหมาะสมที่สุดคือ อีดอ<br />

(2) ควานเมล็ดและแกะเปลือกออกลางน้ําใหสะอาด<br />

(3) แชเนื้อในสารละลายโพแทสเซียมเมตาไบซัลไฟต (30 กรัม ตอน้ํา 10 ลิตร) นานประมาณ 5<br />

นาที เพื่อใหเนื้อมีสีเหลืองทอง ไมเปลี่ยนเปนสีน้ําตาลและเก็บรักษาไวไดนาน<br />

(4) จัดเรียงเนื้อลําไยบนตะแกรง โดยวางชั้นเดียว ไมซอนกัน ผึ่งใหแหงหมาดโดยใชพัดลม<br />

(5) อบที่อุณหภูมิ 60-70 o ซ นาน 12-15 ชั่วโมง ขึ้นอยูกับความหนาและปริมาณของเนื้อ ไมควร<br />

ใชอุณหภูมิสูงกวา 70 o ซ. เพราะทําใหเนื้อลําไยมีสีเขมถึงสีดํา เครื่องอบแหงที่กระจายความรอนไม<br />

ทั่วถึงจะตองหมั่นพลิกสลับถาดใหเนื้อลําไยมีความแหงใกลเคียงกัน ลักษณะของเนื้อลําไยอบแหงที่ดี<br />

คือ เปนเนื้อลําไยลวนๆที่ไมมีขั้วเมล็ดหรือเปลือกติดอยูที่เนื้อ มีกลิ่นหอมของลําไย ไมมีกลิ่นควันและ<br />

เหม็นไหม รดชาดหวานไมขม มีความชื้นไมเกิน 18% ซึ่งอาจตรวจสอบโดยสัมผัสแลวไมเหนียวติดมือ<br />

จากนั้นควรเปาลมเย็นใหเย็นตัวลงหรือทิ้งไวใหเย็น แลวบรรจุใสถุงพลาสติกชนิดหนา ปดปากถุงให<br />

สนิทหรือบรรจุในสภาพสูญญากาศ หรือในบรรยากาศของกาซเฉื่อย แลวบรรจุในกลองกระดาษลูกฟูก<br />

ที่ปดใหมิดชิด การเก็บรักษาเนื้อลําไยอบแหงที่อุณหภูมิหอง จะทําใหเนื้อลําไยมีสีน้ําตาลเขมขึ้นตาม<br />

ระยะเวลาที่เก็บรักษา ถาตองการเก็บรักษาเนื้อลําไยนานกวา 6 เดือน ควรเก็บรักษาในหองเย็น<br />

ผลลําไย 1 กิโลกรัม แกะไดเนื้อลําไย 681 กรัม เนื้อลําไยอบแหง 100 กรัม คิดเปนสัดสวน<br />

ประมาณ 10 ตอ 1 โดยน้ําหนัก<br />

มาตรฐานเนื้อลําไยอบแหงใชพิจารณาดวยสายตาของขนาด สีและความสมบูรณของเนื้อ โดย<br />

แบงเปน 2 เกรดคือ


เกรด A สีเหลืองทอง เนื้อไมฉีดขาด แหงสนิท ไมมีสิ่งเจือปนและใชบริโภคไดทันที<br />

เกรดคละ ขนาดไมสม่ําเสมอ ฉีกขาดบางเล็กนอย สีเหลืองทอง แหง ไมมีสิ่งเจือปนและใช<br />

บริโภคไดทันที<br />

3. ตนทุนการผลิต<br />

ตนทุนการผลิตเนื้อลําไยอบแหง โดยใชเครื่องอบแหงแบบถาดและใชแกสหุงตมเปนเชื้อเพลิง<br />

ที่อุณหภูมิ 70 o ซ นาน 15 ชั่วโมง โดยใชผลลําไยสด 500 กิโลกรัม ควานไดเนื้อลําไยสด 340 กิโลกรัม<br />

และอบแหงไดเนื้อลําไยอบแหงรวม 50 กิโลกรัม<br />

ผลลําไยสด 500 กิโลกรัม x 12 บาท 6,000.00 บาท (64.0%)<br />

ควานกิโลกรัมละ 5 บาท 2,500.00 บาท (25.7%)<br />

แรงงาน 1 คน 200.00 บาท (2.1%)<br />

แกส 5 กิโลกรัม x 12.50 บาท 63.00 บาท (1.1%)<br />

ไฟฟา 0.373 กิโลวัตต x 15 ชั่วโมง x 2.50 บาท 14.00 บาท (0.1%)<br />

สารเคมี 0.5 กิโลกรัม x 100 บาท 50.00 บาท (5.3%)<br />

คาใชจายอื่นๆ 500.00 บาท (5.3%)<br />

รวมคาใชจายทั้งสิ้น 9,370.00 บาท (100%)<br />

ตนทุนตอกิโลกรัมเนื้อลําไยแหง 187.40 บาท<br />

เมื่อเปรียบเทียบกับการอบแหงทั้งเปลือกพบวา การอบแหงลําไยทั้งเปลือก 2,000 กิโลกรัมและ<br />

มีตนทุนการผลิตรวม 26,440 บาท ไดลําไยอบแหงทั้งเปลือก 640 กิโลกรัม ขายเกรดคละไดราคา<br />

กิโลกรัมละ 60 บาท รายไดรวม 38,400 บาท จะไดกําไร 11,960 บาท ในขณะที่การอบแหงเนื้อลําไย<br />

จํานวน 500 กิโลกรัม มีตนทุนการผลิต 9,370 บาท รายไดรวม 12,500 บาท ไดกําไร 3,130 บาทตอครั้ง<br />

จึงเห็นไดวาสรายไดสุทธิจากการอบแหงเนื้อจะสูงกวาการอบแหงทั้งเปลือกเล็กนอย<br />

ผูประกอบการอบแหงลําไยมีหลายประเภท ไดแก ผูประกอบการกลุม ซึ่งเปนสมาชิกของกลุม<br />

ตางๆ เชนกลุมเกษตรกรและกลุมแมบานเกษตร ผูประกอบการรายบุคคลในรูปของโรงงานอบแหง<br />

และผูประกอบการรายยอยสวนใหญอยูในจังหวัดลําพูนและเชียงใหม


ลําไยกระปอง<br />

1. ขั้นตอนการผลิต<br />

ลําไยที่ใชในการผลิตลําไยกระปองตองมีเนื้อหนาและกรอบเชน พันธุดอ เบี้ยวเขียวหรือแหว<br />

เปนตน เกรดของผลลําไยที่ใชก็มีหลายเกรดเชนกัน แตที่สงออกตางประเทศมักเปนเกรดจัมโบ A และ<br />

B ขั้นตอนการผลิตลําไยกระปองมีดังนี้คือ<br />

(1) นําลําไยสดมาลางน้ําทําความสะอาด แลวควานเมล็ดออก<br />

(2) แชเนื้อลําไยในสารละลายแคลเซียมคลอไรด 0.1%และกรดซิตริก 0.2% นาน 15-20 นาที<br />

(3) ลางน้ําใหสะอาด 2-3 ครั้งและผึ่งใหสะเด็ดน้ํา<br />

(4) บรรจุในกระปองเคลือบดีบุกน้ําหนักเนื้อลําไย 250 กรัมตอกระปอง<br />

(5) เติมน้ําเชื่อมเขมขน 23-25 O บริกซที่รอนใหเหลือจากขอบกระปองประมาณ 1 เซนติเมตร<br />

และไลอากาศใหอุณหภูมิในกระปองรอนประมาณ 85 O ซ กอนปดฝากระปอง<br />

(6) นําไปตนฆาเชื้อที่อุณหภูมิ 100 O ซ เปนเวลา 22 นาที<br />

(7) เมื่อครบกําหนดเวลาจึงแชกระปองในน้ําเย็นประมาณ 20-30 นาที<br />

(8) นํากระปองมาผึ่งใหแหง ตรวจสอบคุณภาพ ปดสลากและบรรจุหีบหอ<br />

2. ตนทุนการผลิต<br />

ตนทุนการผลิตลําไยกระปองขึ้นกับราคาลําไยสดที่ใชเปนวัตถุดิบและตนทุนอื่นที่ใชในการ<br />

บรรจุกระปอง โดยเปนตนทุนของวัตถุดิบประมาณ 48% และเปนคาแปรรูปประมาณ 52% ตนทุนการ<br />

ผลิตลําไยกระปองเคลือบดีบุกขนาด 20 ออนซหรือน้ําหนัก 230-255 กรัมในป 2540 เปนเงิน 21.77 บาท<br />

ตอกระปอง ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้<br />

คาใชจาย ปริมาณ ราคาตอหนวย เปนเงิน<br />

คาผลลําไยสด 0.52 20.26 10.54<br />

คาแรงงาน 2.29 1.00 2.29<br />

คาเชื้อเพลิง 0.45 1.00 0.45<br />

คาวัสดุและสารเคมี 1.38 1.00 1.38<br />

คาหีบหอ 5.73 1.00 5.73<br />

คาใชจายอื่นๆ 1.38 1.00 1.38


ลําไยแชแข็ง<br />

การผลิตลําไยแชแข็งตองใชลําไยที่มีลูกใหญและเนื้อหนาพอสมควร การผลิตมีขั้นตอนดังนี้คือ<br />

(1) คัดเลือกผลที่ไมเนาเสียแลวลางในน้ําสะอาด<br />

(2) ปอกเปลือกและควานเมล็ดออก แลวแชเนื้อในสารละลายกรดซิตริก 0.3 % กอนที่จะแชใน<br />

สารละลายแคลเซียมคลอไรด (7%) และกรดแอสคอรบิก 0.05% นาน 30 นาที<br />

(3) ลางเนื้อลําไยอีกครั้งดวยน้ําสะอาด<br />

(4) เตรียมน้ําเชื่อมที่เขมขน 0.5% แลวกรองใหสะอาดและตั้งทิ้งไวใหเย็น<br />

(5) แชเนื้อลําไยที่เตรียมไวในน้ําเชื่อมประมาณ 30 นาที จึงนําขึ้นมาใหสะเด็ดน้ํา<br />

(6) บรรจุเนื้อลําไยแชแข็งในถุงพลาสติกแบบหนาและปดปากถุงใหสนิท<br />

(7) นําไปแชแข็งที่อุณหภูมิ-40 O ซ จนเนื้อลําไยแข็งตัว<br />

(8) รักษาอุณหภูมิที่ –18 O ซ<br />

การแปรรูปเปนผลิตภัณฑอื่น<br />

นอกจากแปรรูปลําไยเปนผลิตภัณฑตางๆ ดังกลาวแลวขางตน ผลลําไยยังสามารถแปรรูปเปน<br />

ผลิตภัณฑตางๆไดอีกหลายชนิด เชน เครื่องดื่มน้ําลําไย ลําไยดองและลําไยกวนปรุงรส เปนตน<br />

1. เครื่องดื่มน้ําลําไยผง (จากลําไยสด)<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไย 1 กิโลกรัม<br />

น้ําตาลทรายขาว 600 กรัม<br />

โซเดียมเมตาไบซัลไฟต<br />

1 กรัม<br />

น้ํา 1 ลิตร<br />

กรรมวิธี<br />

1. ปอกเปลือกและควานเมล็ดออก ลางเนื้อลําไยสดดวยน้ําสะอาด<br />

2. เตรียมสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต 1 กรัม ในน้ํา 1 ลิตร<br />

3. แชเนื้อลําไยในสารละลายโซเดียมเมตาไบซัลไฟต นาน 15 นาที<br />

4. นําขึ้นผึ่งใหสะเด็ดน้ํา แลวลวกในน้ําเดือดนาน 2 นาทีเติมน้ําเล็กนอย ตีปนเนื้อลําไยกับน้ํา<br />

5. กรองน้ําลําไยดวยผาขาวบาง<br />

6. อบน้ําลําไยในตูอบลมรอนที่อุณหภูมิ 55 O ซ จนน้ําลําไยขนขึ้นในเวลาประมาณ 4 ชั่วโมง<br />

เติมน้ําตาลทรายขาวคลุกใหเขากัน อบตอจนแหงซึ่งจะใชเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง<br />

7. ตีปนเปนผง บรรจุในภาชนะที่สะอาด แหงและปดสนิท


2. เครื่องดื่มน้ําลําไยแหงผง (สเปรยดราย)<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยแหง 500 กรัม<br />

แบะแซ<br />

300 กรัม<br />

กรรมวิธี<br />

1. น้ําเนื้อลําไยแหงมาลางน้ําใหสะอาดตมในน้ํา 1 ลิตร ใหเดือดประมาณ 10 นาที แลวกรอง<br />

ดวยผาขาวบาง<br />

2. กากที่เหลือใหเติมน้ําเพิ่มอีก 1 ลิตร ตมใหเดือดอีกครั้งแลวกรองดวยผาขาวบาง<br />

3. นําน้ําลําไยที่กรองไดทั้ง 2 ครั้งมารวมกันแลวระเหยใหขนเหลือ 1 ลิตร<br />

4. เติมแบะแซและคนใหละลายแลวตมใหเดือด<br />

5. ผานเครื่องสเปรยดรายที่อุณหภูมิ 200 O ซ และใหอุณหภูมิออกจากตู 100 O ซ จะไดลําไยผง<br />

6. เก็บในขวดที่สะอาด แหงและปดสนิท<br />

3. เครื่องดื่มน้ําลําไยชนิดเปนเม็ด (granule) จากลไยแหง<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยแหง 100 กรัม<br />

น้ําตาลทรายขาว 400 กรัม<br />

น้ํา 1 ลิตร<br />

กรรมวิธี<br />

1. ใชเนื้อลําไยแหงแชน้ําคางคืน เชนเนื้อตอน้ําสัดสวน 1:10 ทิ้งไวประมาณ 1 คืน แลวนํามา<br />

ตมจนไดน้ําลําไยขนประมาณ 100 กรัม ใชเวลาประมาณ 1 ชั่วโมงครึ่ง<br />

2. กรองน้ําลําไยดวยผาขาวบาง<br />

3. อบในตูอบลมรอนที่อุณหภูมิ 55 O ซ จนเกือบแหง ใชเวลาประมาณ 2 ชั่วโมง เติมน้ําตาล<br />

ทรายขาวและคลุกใหเขากัน แลวอบตอจนแหงซึ่งจะใชเวลาประมาณ 6-8 ชั่วโมง<br />

4. ตีปนเปนผงและเติมน้ํารอยละ 4 ของน้ําหนักลําไยผงคลุกใหเขากัน แลวนําไปรอนบน<br />

ตะแกรงเบอร 8 เพื่อใหเปนเม็ดหยาบ ๆ<br />

5. นําไปอบตอในตูอบลมรอนที่อุณหภูมิ 55 o ซ จนแหง ซึ่งใชเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง<br />

6. บรรจุในภาชนะที่สะอาด แหงและปดสนิท


สวนประกอบ<br />

4. น้ําลําไยพรอมดื่มบรรจุขวดและถุงพลาสติก (จากลําไยสด)<br />

เนื้อลําไยสด 600 กรัม<br />

น้ําตาลทรายขาว 210 กรัม<br />

น้ํา 2.5 ลิตร<br />

กรรมวิธี<br />

1. ลวกเนื้อลําไยในน้ําเดือดนานประมาณ 1 นาที จากนั้นก็ตีปนกับน้ําดวยเครื่องตีไฟฟา<br />

กรองดวยผาขาวบางหลายชั้น<br />

2. เติมน้ําใหครบจํานวน ตั้งไฟใหเดือดเติมน้ําตาลทรายแลวตมใหเดือดอีกครั้งหนึ่ง<br />

3. บรรจุขวดหรือถุงพลาสติกกันความรอน<br />

4. ถาตองการเก็บไวนานใหใสโซเดียมเมตาไบซัลไฟตไมเกิน 0.007 % กอนบรรจุขวด<br />

5. น้ําลําไยพรอมดื่มบรรจุขวดและถุงพลาสติก (จากลําไยแหง)<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยแหง 100 กรัม<br />

น้ําตาลทรายขาว 300 กรัม<br />

น้ํา 2.5 ลิตร<br />

กรรมวิธี<br />

1. ตมเนื้อลําไยแหงในน้ําเดือด กรองใหไดน้ํา 2.5 ลิตร<br />

2. เติมน้ําตาลทรายขาวแลวตมใหเดือดบรรจุขวดหรือถุงพลาสติกทนความรอน<br />

6. น้ําลําไยหวานเขมขน (จากลําไยสด)<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยสด 500 กรัม<br />

น้ําเชื่อม (2:1) 1.5 ลิตร<br />

กรดซิตริกและกรดมะนาว 1 กรัมหรือประมาณ ¼ ชอนชา


กรรมวิธี<br />

1. ปอกเปลือกลําไย ควานเมล็ดออก ลางดวยน้ําสะอาดไดเนื้อลําไยสด<br />

2. น้ําเนื้อลําไยติใหละเอียดดวยเครื่องตีไฟฟา ผานตะแกรงหรือผากรองอยางหยาบ<br />

3. ผสมน้ําลําไยกับน้ําเชื่อม เติมกรดซิตริก<br />

4. ตมใหเดือดกอนบรรจุขวดที่สะอาดและปดจุก<br />

หมายเหตุ<br />

1. วิธีทําน้ําเชื่อม ใชน้ําตาลทราย 2 กิโลกรัมตอน้ําสะอาด 1 กิโลกรัม ตมใหเดือดและกรอง<br />

2. ถาเก็บในตูเย็นไมตองเติมสารกันเสีย แตถาเก็บที่อุณหภูมิหองใหเติมโซเดียมเบนโซเอต<br />

0.5 กรัม หรือประมาณ ¼ ชอนชา ตอน้ําลําไยหวานเขมขน 1 กิโลกรัม กอนบรรจุขวด<br />

3. เวลาตองการดื่มใชผสมน้ํา 2 เทา เติมน้ําแข็งตามความพอใจ<br />

7. น้ําลําไยหวานเขมขน (จากเนื้อลําไยแหง)<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยแหง 50 กรัม<br />

น้ําตาลทราย 1 กิโลกรัม<br />

น้ํา 1 ¼ ลิตร<br />

กรรมวิธี<br />

1. ตมเนื้อลําไยแหงกับน้ําดวยไฟออนๆ ประมาณ 30 นาที<br />

2. ใสน้ําตาลทราย คนใหละลายและกรอง<br />

3. ตมใหเดือดอีกครั้งกอนบรรจุขวดที่สะอาดและปดจุก<br />

หมายเหตุ<br />

วิธีเก็บและวิธีทําเปนเครื่องดื่มเหมือนวิธีการของน้ําลําไยหวานเขมขน (ทําจากลําไยสด)<br />

8. ลําไยกวน (จากลําไยสด)<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยสด 1 กิโลกรัม<br />

น้ําตาลทรายขาว 400 กรัม<br />

แบะแซ<br />

50 กรัม


กรรมวิธี<br />

1. ปอกเปลือกลําไย ควานเมล็ดออก ลางดวยนําสะอาดไดเนื้อลําไยสด<br />

2. สับเนื้อลําไยใหเปนชิ้นเล็กๆ<br />

3. นําขึ้นตั้งไฟเคี่ยวจนเกือบแหง เติมน้ําตาลทรายและแบะแซ กวนจนขนไดที่<br />

4. บรรจุในภาชนะที่สะอาด แหงและปดสนิท หรือหอดวยกระดาษแกวใส<br />

9. ลําไยกวน (จากลําไยแหง)<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยแหง 200 กรัม<br />

น้ําตาลทราย 400 กรัม<br />

แบะแซ<br />

50 กรัม<br />

กรรมวิธี<br />

1. ตมเนื้อลําไยแหงในน้ํา ใหเนื้อลําไยพองตัว<br />

2. สับเนื้อลําไยใหเปนชิ้นเล็กๆ<br />

3. นําขึ้นตั้งไฟเคี่ยวจนเกือบแหงเติมน้ําตาลทรายและแบะแซ คนใหละลาย<br />

4. กวนจนขนไดที่<br />

5. บรรจุในภาชนะที่แหง สะอาดและปดสนิท หรือหอดวยกระดาษแกวใส<br />

10. ลําไยกวนปรุงรส<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไย 1 กิโลกรัม<br />

น้ําตาลทราย 300 กรัม<br />

กรดซิตริก (กรดมะนาว)<br />

12 กรัม หรือ 1 ชอนโตะ<br />

เกลือ<br />

20 กรัม หรือ 2 ชอนโตะ<br />

ชะเอม<br />

8 กรัม หรือ 3 ชอนโตะ<br />

กรรมวิธี<br />

1. ปอกเปลือกลําไย ควานเมล็ดออก ลางดวยน้ําสะอาดไดเนื้อลําไยสด<br />

2. หั่นเนื้อลําไยเปนเล็กๆ เติมสวนผสมทั้งหมด ยกขึ้นตั้งไฟออนๆ กวนจนแหง<br />

3. บรรจุใสภาชนะที่สะอาด แหงและปดสนิท หรือหอดวยกระดาษแกวใส


11. ลําไยแชอิ่ม<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไย 1 กิโลกรัม<br />

น้ําตาลทราย 700 กรัม<br />

กรดซิตริก (กรดมะนาว)<br />

10 กรัม<br />

โซเดียมเมตาไบซัลไฟต<br />

1 กรัม<br />

กรรมวิธี<br />

1. ปอกเปลือกลําไย ควานเมล็ดออก ลวงดวยน้ําสะอาด ไดเนื้อลําไย<br />

2. ลวกเนื้อลําไยในน้ําเดือน นาน 2 นาที<br />

3. เตรียมน้ําเชื่อมใหมีความเขมขนรอยละ 30 (น้ําตาลทราย 300 กรัมในน้ํา 1 ลิตร) เติมกรด<br />

ซิตริก (กรดมะนาว) 10 กรัม และโซเดียมเมตาซัลไฟต 1 กรัม คนใหละลาย<br />

4. บรรจุเนื้อลําไยในขวดโหลสะอาด เทน้ําเชื่อมลงไปใหทวมเนื้อลําไย<br />

5. รุงขึ้นเอาเนื้อลําไยขึ้นจากน้ําเชื่อม เพิ่มความเขมขนของน้ําเชื่อมทุกวันโดยการเติมน้ําตาล<br />

ทรายขาวอีกวันละ 100 กรัม แลวตมน้ําเชื่อมใหเดือดกอนนําลําไยลงแชทุกครั้ง ทําเชนนี้<br />

จนกระทั่งไดน้ําเชื่อมที่มีความเขมขนรอยละ 70<br />

6. นําเนื้อลําไยขึ้นผึ่งใหแหงแลวบรรจุในภาชนะที่สะอาดแหงและปดสนิท<br />

12. ลําไยเคลือบน้ําตาล<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไย<br />

น้ําตาลทราย<br />

กรดซิตริก (กรดมะนาว)<br />

โซเดียมเมตาไบซัลไฟต<br />

กรรมวิธี<br />

1. นําเนื้อลําไยแชอิ่มมาลางในน้ําเชื่อมเจือจาง<br />

2. เอาขึ้นผึ่งหรืออบใหแหงจนเปนเกล็ดน้ําตาลเคลือบบางๆ<br />

3. บรรจุในภาชนะที่สะอาด แหงและปดสนิท


13. ลําไยดอง<br />

สวนประกอบ<br />

ผลลําไย<br />

1 กิโลกรัม<br />

น้ําเกลือสําหรับดอง 1.3 ลิตร<br />

(ประกอบดวยน้ํา 1,200 กรัม เกลือ 100 กรัม หรือ 10 ชอนโตะ<br />

กรดซิตริก (กรดมะนาว) 12 กรัม หรือประมาณ 1 ชอนโตะ<br />

โซเดียมเบนโซเอต 0.5 กรัม หรือประมาณครึ่งชอนชา<br />

แคลเซียมคลอไรด 2.5 กรัม (หรือน้ําปูนใส)<br />

ตมใหละลาย ทิ้งใหเย็น<br />

กรรมวิธี<br />

1. ลางลําไยทั้งเปลือกใหสะอาด<br />

2. บรรจุลงในภาชนะที ่จะใชดอง<br />

3. เทน้ําเกลือที่เตรียมไวใหทวมผลลําไย ใชของหนักทับหรือวางไมไผขัดขางบนใหลําไยจม<br />

อยูในน้ําเกลือและปดผา<br />

4. ดองไว 10 วัน รับประทานได ถาตองการเก็บไวนานควรลดปริมาณเกลือลง<br />

14. ทอฟฟลําไยแหง<br />

สวนประกอบ<br />

เนื้อลําไยแหง 100 กรัม<br />

น้ําตาลทราย 400 กรัม<br />

แบะแซ<br />

300 กรัม<br />

กรรมวิธี<br />

1. ตมเนื้อลําไยแหงในน้ําใหเนื้อลําไยพองตัว แลวสับใหเปนชิ้นเล็กๆ<br />

2. นําขึ้นตั้งไฟ เคี่ยวจนเกือบแหง เติมน้ําตาลทรายและแบะแซ แลวกวนตอไปจนไดที่<br />

3. หอดวยกระดาษแกวใส เก็บในภาชนะที่สะอาดแหงและปดสนิท


บรรณานุกรม<br />

กรมสงเสริมการเกษตร. 2543. สถิติการปลูกไมผลไมยืนตน ป 2543. กองแผนงาน กรมสงเสริม<br />

การเกษตร กรุงเทพฯ. หนา 253-267.<br />

กรมวิชาการเกษตร. 2542. คําแนะนําการใชสารกลุมคลอเรตเรงการออกดอกลําไยอยางปลอดภัย.<br />

กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. 22 หนา<br />

กรมวิชาการเกษตร. 2542. เกษตรดีที่เหมาะสมสําหรับลําไย. กรมวิชาการเกษตร. โรงพิมพชุมนุม<br />

สหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. 22 หนา<br />

กรมวิชาการเกษตร. 2542. มาตรฐานลําไยของประเทศไทยและการผลิตลําไยอยางถูกตองและ<br />

เหมาะสม. ศูนยผลักดันสินคาเกษตรเพื่อการสงออก กรมวิชาการเกษตร . 24 หนา<br />

กรมวิชาการเกษตร. 2546. ฐานขอมูลเชื้อพันธุพืช : ลําไย. สํานักคุมครองพันธุพืช กรมวิชาการ<br />

เกษตร. โรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. 94 หนา<br />

ธวัชชัย รัตนชเลิศและศิวาพร ธรรมดี. 2542. พันธุไมผลการคาในประเทศไทย : คูมือเลือกพันธุ<br />

สําหรับผูปลูก. สํานักพิมพรั้วเขียว กรุงเทพฯ. หนา 1-19.<br />

นันทรัตน ศุภกําเนิดและคมจันทร สรงจันทร. 2544. ศึกษาความตองการธาตุอาหารของลําไย<br />

พันธุดอโดยการวิเคราะหพืช. รายงานผลงานวิจัยประจําป 2544 ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย<br />

กรมวิชาการเกษตร.<br />

นภดล จรัสสัมฤทธิ์ พาวิน มะโนชัย นพมณี โทปุญญานนท ธีรนุช จันทรชิต วินัย วิริยะอลงกรณ<br />

และพิชัย สมบูรณวงศ. 2543. การผลิตลําไย. สิรินาฎการพิมพ เชียงใหม. 128 หนา.<br />

พาวิน มะโนชัย. 2543. ลําไย. สิรินาฎการพิมพ. 54 หนา<br />

พาวิน มะโนชัย วรินทร สุทนต วินัย วิริยะอลงกรณ นพดล จรัสสัมฤทธิ์ และเสกสันต<br />

อุสสหตานนท. 2542 . ผลของโพแทสเซียมคลอเรตตอการออกดอกของลําไยพันธุดอและ<br />

สีชมพู. รายงานการสัมนาฮอรโมนพืชเพื่อการผลิตไมผลนอกฤดู. สํานักงานคณะกรรมการ<br />

วิจัยแหงชาติ ณ โรงแรมเคพีแกรนด จังหวัดจันทบุรี. หนา 1-8.<br />

พิทยา สรวมศิริและพาวิน มะโนชัย. 2545. การผลิตลําไยนอกฤดูอยางมืออาชีพ. ธนวรรณการพิมพ<br />

เชียงใหม. 64 หนา<br />

พงศพันธ จึงอยูสุข. 2542. คําอธิบายเกี่ยวกับโพแทสเซียมคลอเรต. เอกสารแจกในรายการพบ<br />

เกษตรกรชาวสวนลําไย. ณ สํานักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขต 1 จังหวัดเชียงใหม. 1 หนา.<br />

ยุทธนา เขาสุเมรุ ชิติ ศรีตนทิพยและสันติ ชางเจรจา. 2544. ดินและธาตุอาหารลําไย. เอกสาร<br />

ประกอบการฝกอบรมหลักสูตร ‘การจัดการดิน น้ําและปุยเพื่อการทําสวนเชิงธุรกิจ’<br />

สํานักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย หนา 261-276.


วลัยภรณ ภัสสรศิริ. 2531. การปฎิบัติหลังการเก็บเกี่ยวลําไย. เอกสารประกอบการฦึกอบรม<br />

หลักสูตรลําไย. ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย กรมวิชาการเกษตร.<br />

วินัย วิริยะอลงกรณ วรินทร สุทนต พาวิน มะโนชัย นภดล จรัสสัมฤทธิ์ และเสกสันต<br />

อุสสหตานนท. 2542. การศึกษาเบื้องตนของวิธีการฉีดสารโพแทสเซียมคลอเรตเขาทางกิ่ง<br />

ตอการออกดอกของลําไยพันธุสีชมพู. รายงานการสัมนาฮอรโมนพืชเพื ่อการผลิตไมผลนอก<br />

ฤดู. สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแหงชาติ ณ โรงแรมเคพีแกรนด จังหวัดจันทบุรี. หนา<br />

9-14.<br />

สถาบันวิจัยพืชสวน. 2539. ลําไย. เอกสารวิชาการสถาบันวิจัยพืชสวน กรมวิชาการเกษตร<br />

กรุงเทพฯ. 84 หนา<br />

สิริชัย สงเสริมวงษ. 2541. การอบแหงลําไยคุณภาพเพื่อการสงออก. รายงานการสัมมนาทาง<br />

วิชาการเชิงปฎิบัติการเรื่อง เทคโนโลยีการผลิตลําไยครบวงจร. วันที่ 14-15 กันยายน 2541<br />

โรงแรมเชียงใหมภูคํา จ. เชียงใหม<br />

สํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช. 2546. ศัตรูลําไย. เอกสารวิชาการสํานักวิจัยพัฒนาการอารักขาพืช<br />

ป พ.ศ. 2546 กรมวิชาการเกษตรโรงพิมพชุมนุมสหกรณการเกษตรแหงประเทศไทย จํากัด. 22<br />

หนา<br />

สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. 2540. การผลิตการตลาดลําไย ป 2538/39. เอกสารเศรษฐกิจการ<br />

เกษตร เลขที่ 1/2541 สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร. 72 หนา<br />

สํานักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. 2545. สถิติการเกษตรของประเทศไทยปเพาะปลูก 2544/45.<br />

เอกสารสถิติการเกษตรเลขที่ 3/2545 ศูนยสารสนเทศการเกษตร สํานักงานเศรษฐกิจการเกษตร<br />

กรุงเทพฯ. หนา 178-183.<br />

เอกศักดิ์ ฐาปนะดิลกและสุใจ คงคุณากุล. 2537. ลําไยเพื่อการอุตสาหกรรม. วารสารเทคโนโลยี ป<br />

ที่ 15 ฉบับที่ 2 มิถุนายน 2537 กรมสงเสริมเทคโนโลยี สํานักปลัด<br />

กระทรวงวิทยาศาสตรเทคโนโลยีและสิ่งแวดลอม<br />

Luke M.A., Froberg J.E., Doose G.M. and Matsumoto H.T. 1981. Improved mutriresidue gas<br />

chromotographic determination of organophosphorus, organonitrogen and organoha-logen<br />

pesticides in produce, using flame photometric and electrolytic, conductivity detectors. J.<br />

Assoc. Off. Anal. Chem. 64 (5): 1187-1195.<br />

Tongdee S.C. 1993. Sulfur dioxide fumigation in post-harvest handling of fresh longan and<br />

lychee for export. Post-harvest Handling of Tropical Fruit. ACIAR Proceeding No. 50.<br />

pp. 186-195.


ผูรวบรวมและเรียบเรียง<br />

นิพัฒน สุขวิบูลย นักวิชาการเกษตร 6 ว. ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย<br />

มนตรี ทศานนท นักวิชาการเกษตร 7 ว. ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย<br />

นันทรัตน ศุภกําเนิด นักวิชาการเกษตร 7 ว. ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย<br />

เบญจมาส รัตนชินกร นักวิชาการเกษตร 8 ว. สํานักวิจัยและพัฒนาวิทยาการ<br />

หลังการเก็บเกี่ยวและแปรรูปผลิตผลเกษตร<br />

เอกศักดิ์ ฐาปนะดิลก สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยี<br />

สุใจ คงคุณากุล<br />

สํานักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร<br />

และเทคโนโลยี<br />

เอื้อเฟอภาพโดย<br />

นายมนตรี ทศานนท นักวิชาการเกษตร 7 ว. ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย<br />

นายสุรชาติ คูอารยกุล นักวิชาการเกษตร 8 ว. ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย<br />

นายวิทย นามเรืองศรี นักวิชาการเกษตร 7 ว. สถาบันวิจัยพืชสวน

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!