28.11.2014 Views

หมวดหินห้วยหินลาด - กรมทรัพยากรธรณี

หมวดหินห้วยหินลาด - กรมทรัพยากรธรณี

หมวดหินห้วยหินลาด - กรมทรัพยากรธรณี

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานส านักธรณีวิทยา<br />

ฉบับที่ มธ 3/2555<br />

ล าดับชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด<br />

อนุวัชร ตรีโรจนานนท์<br />

ส านักธรณีวิทยา<br />

กรมทรัพยากรธรณี


อธิบดีกรมทรัพยากรธรณี<br />

นายนิทัศน์ ภู่วัฒนกุล<br />

ผู้อ านวยการส านักธรณีวิทยา<br />

นายมนตรี เหลืองอิงคะสุต<br />

ผู้อ านวยการส่วนมาตรฐานธรณีวิทยา นายสันต์ อัศวพัชระ<br />

จัดพิมพ์โดย<br />

ส านักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี<br />

ถนนพระรามที่ 6 เขตราชเทวี กรุงเทพฯ 10400<br />

โทรศัพท์ 02-621-9662 โทรสาร 02-621-9651<br />

พิมพ์ครั้งที่ 1 สิงหาคม 2555<br />

จ านวน 60 เล่ม<br />

ข้อมูลการลงรายงานบรรณานุกรม<br />

อนุวัชร ตรีโรจนานนท์<br />

ล าดับชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด / โดย อนุวัชร ตรีโรจนานนท์.<br />

กรุงเทพฯ: ส านักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 2555.<br />

63 หน้า: 65 ภาพประกอบ: 2 ตาราง.<br />

รายงานส านักธรณีวิทยา ฉบับที่ มธ 3/2555<br />

ISBN 978-616-316-002-7


ค าน า<br />

รายงานการศึกษาล าดับชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด กลุ่มหินโคราชฉบับนี้ จัดท าขึ้นเพื่อเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของกิจกรรมการจัดท ามาตรฐานล าดับชั้นหินหมวดหินห้วยหินลาด และหมู่หินนาหว้า หมวดหิน<br />

ภูทอก กลุ่มหินโคราช ภายใต้โครงการจัดท ามาตรฐาน และคลังตัวอย่างธรณีวิทยา โดยมีวัตถุประสงค์ส าคัญ<br />

เพื่อเป็นแหล่งข้อมูลค้นคว้า อ้างอิงทางวิชาการธรณีวิทยาของประเทศและสากล และเพื่อก าหนดมาตรฐาน<br />

ทางธรณีวิทยาทุกด้านให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั่วประเทศ รวมถึงเป็นการพัฒนากลไกในการน าไปใช้<br />

ประโยชน์ ตลอดจนรวบรวม จัดเก็บหลักฐานทางธรณีวิทยาของประเทศเพื่อใช้ในการอ้างอิง ตลอดจน<br />

ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง<br />

ผู้จัดท าหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาธรณีวิทยาในขอบเขตการล าดับชั้นหิน<br />

ของหมวดหินห้วยหินลาด หมวดหินโคราช และหากมีข้อแนะน าประการใด ผู้จัดท ายินดีน้อมรับข้อผิดพลาด<br />

อันจะก่อให้เกิดการแสดงความคิดเห็น และแลกเปลี่ยนความรู้ทางวิชาการให้ลึกซึ้งกว้างขวางยิ่งขึ้นต่อไป<br />

สิงหาคม 2555


ล าดับชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด<br />

บทคัดย่อ<br />

หมวดหินห้วยหินลาดเป็นหมวดหินที่อยู่ล่างสุดของกลุ่มหินโคราชที่แผ่กระจายอยู่ใน<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ประกอบด้วยหินกรวดมน หินทราย หินดินดาน วิทยาหินตะกอน<br />

บ่งชี้การสะสมตัวในสภาวะแวดล้อมแบบทะเลสาบร่วมกับการสะสมตัวโดยตัวการแบบทางน้ า มีชั้นหิน<br />

แบบฉบับอยู่บริเวณห้วยหินลาด ตั้งอยู่ทางตะวันออกเฉียงใต้ของบ้านผานกเค้า อ าเภอชุมแพ จังหวัด<br />

ขอนแก่น ไปประมาณ 18 กิโลเมตร และมีชั้นหินอ้างอิงอยู่ 2 แห่ง บริเวณบ้านตาดฟ้า อ าเภอน้ าหนาว<br />

จังหวัดเพชรบูรณ์ และบริเวณเขื่อนจุฬาภรณ์ จังหวัดชัยภูมิ<br />

หมวดหินห้วยหินลาด สามารถแยกออกจากกันตามลักษณะปรากฎทางวิทยาหินและตามลักษณะ<br />

ของสิ่งแวดล้อมที่สะสมตัวได้เป็น 4 หมู่หิน ความหนารวมประมาณ 1,300 เมตร ได้แก่หมู่หินโพไฮ<br />

ประกอบด้วยชุดลักษณ์ของหินตะกอนภูเขาไฟ และหินอัคนีพุ ความหนารวม 116 เมตร หมู่หินซ าแคน<br />

ประกอบด้วยหินกรวดมน และหินทราย สะสมตัวจากกระบวนการผุพังตามความลาดเอียงของภูมิประเทศ<br />

เดิมในลักษณะของตะกอนเศษหินเชิงผา ร่วมกับการพัดพาโดยกระบวนการที่มีน้ ามาเกี่ยวข้อง ให้หิน<br />

กรวดมนที่มีลักษณะแปรผันตามหินต้นก าเนิด ความหนารวมประมาณ 500 เมตร หมู่หินดาดฟ้า<br />

ประกอบด้วยหินทรายแป้ง และหินทรายสีด า สารเชื่อมประสารแคลเซียมคาร์บอเนต แทรกสลับกับหินปูน<br />

สีด า จนถึงสีเทาปนด า และหินปูนเนื้อดินสีด า หรือสีเทา บางส่วนอาจพบแร่ไพไรต์เกิดร่วมด้วย บ่งชี้ถึงการ<br />

ตกสะสมตัวในสภาพแวดล้อมทะเลสาบแบบไม่มีออกซิเจน ร่วมกับกระบวนการทางน้ าที่มีหินต้นก าเนิดอยู่<br />

ไม่ไกล ในภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง มีความหนารวม 250 เมตร หมู่หินภูฮีประกอบด้วยหินทรายสีเทา<br />

ชั้นปานกลางจนถึงหนา แทรกสลับกับหินทรายแป้งชั้นบางจนถึงหนา สะสมตัวโดยกระบวนการทางน้ า<br />

หนารวม 450 เมตร<br />

ในการศึกษานี้ได้แยกมวลหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้น ได้แก่หินไดออไรต์และหินอัคนีพุของหมู่หิน<br />

อีหม้อออกจากหมวดหินห้วยหินลาด โดยพิจารณาจากธรรมชาติของการเกิดหินอัคนีแทรกซอนที่สามารถ<br />

แทรกไปได้อย่างอิสระ และลักษณะทางศิลาวิทยาของชุดตะกอนที่ปิดทับอยู่ หมวดหินห้วยหินลาดปิดทับ<br />

หินยุคเพอร์เมียนแบบรอยชั้นไม่ต่อเนื่อง และวางตัวรองรับหมวดหินน้ าพองอย่างต่อเนื่อง


สารบัญ<br />

หน้า<br />

ค าน า .......................................................................................................................................................... ก<br />

บทคัดย่อ ..................................................................................................................................................... ค<br />

สารบัญ ....................................................................................................................................................... ง<br />

สารบัญรูป ................................................................................................................................................... จ<br />

สารบัญตาราง ............................................................................................................................................. ช<br />

บทที่ 1 บทน า ............................................................................................................................................. 1<br />

1.1 ค าจ ากัดความและความหมาย ....................................................................................................... 1<br />

1.2 กรอบแนวคิดในการจัดท ามาตรฐานล าดับชั้นหิน ........................................................................... 2<br />

1.2.1 หลักการและเหตุผล ............................................................................................................. 2<br />

1.2.2 วัตถุประสงค์ ........................................................................................................................ 2<br />

1.2.3 แนวทางการด าเนินงาน........................................................................................................ 3<br />

1.2.4 ขั้นตอนการด าเนินการ ......................................................................................................... 3<br />

1.2.5 ผู้ปฏิบัติงาน ......................................................................................................................... 3<br />

1.2.6 กรอบระยะเวลาปฏิบัติงาน .................................................................................................. 4<br />

1.2.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ ............................................................................................................. 4<br />

1.3 พื้นที่ปฏิบัติงาน.............................................................................................................................. 4<br />

1.3.1 สภาพและลักษณะภูมิศาสตร์ทั่วไป ...................................................................................... 4<br />

1.3.2 การคมนาคม ....................................................................................................................... 7<br />

1.3.3 ภูมิอากาศ ............................................................................................................................ 9<br />

บทที่ 2 การรวบรวมข้อมูลธรณีวิทยาเดิมของหมวดหินห้วยหินลาด .......................................................... 11<br />

บทที่ 3 ล าดับชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด .......................................................................................... 14<br />

3.1 หมวดหินห้วยหินลาด ................................................................................................................... 19<br />

3.1.1 หมู่หินโพไฮ (Pho Hai Member) ...................................................................................... 21<br />

3.1.2 หมู่หินซ าแคน (Sam Khaen Member) ........................................................................... 21<br />

3.1.3 หมู่หินดาดฟ้า (Dat Fa Member)..................................................................................... 22<br />

3.1.4 หมู่หินภูฮี (Phu Hi Member) ........................................................................................... 22<br />

3.1.5 หมู่หินอีหม้อ (I Mo Member) .......................................................................................... 22<br />

บทที่ 4 ล าดับชั้นหินที่น่าสนใจของหมวดหินห้วยหินลาด .......................................................................... 24<br />

4.1 ล าดับชั้นหินแบบฉบับ .................................................................................................................. 24<br />

4.2 หมู่หินโพไฮ ................................................................................................................................ 27<br />

4.3 หมู่หินซ าแคน .............................................................................................................................. 32<br />

4.4 หมู่หินดาดฟ้า .............................................................................................................................. 42<br />

4.5 หมู่หินภูฮี ..................................................................................................................................... 50<br />

4.6 หมู่หินอีหม้อ ................................................................................................................................ 52<br />

บทที่ 5 สรุป และอภิปรายผล ................................................................................................................... 57<br />

เอกสารอ้างอิง ........................................................................................................................................... 59<br />

ภาคผนวก ................................................................................................................................................. 62


สารบัญรูป<br />

หน้า<br />

รูปที่ 1.1 พื้นที่ปฏิบัติงานบริเวณแนวเทือกเขา เลย-เพชรบูรณ์..................................................................... 5<br />

รูปที่ 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ และเส้นทางคมนาคมบริเวณเทือกเขาเลย-เพชรบูรณ์ และพื้นที่<br />

ใกล้เคียง ....................................................................................................................................... 8<br />

รูปที่ 1.3 ปริมาณน้ าฝนรวม และอุณหภูมิเฉลี่ยของประเทศไทย พ.ศ. 2554 .............................................. 10<br />

รูปที่ 3.1 แผนที่ธรณีวิทยาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ....................................................................... 15<br />

รูปที่ 3.2 สัญลักษณ์และค าอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ................................. 16<br />

รูปที่ 3.3 แท่งล าดับชั้นหินของกลุ่มหินโคราช ............................................................................................. 17<br />

รูปที่ 3.4 แผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพของหมวดหินห้วยหินลาดบริเวณชั้นหินแบบฉบับ ................... 19<br />

รูปที่ 3.5 ลักษณะความสัมพันธ์ของหมู่หินต่าง ๆ ในหมวดหินห้วยหินลาด ................................................. 21<br />

รูปที่ 4.1 แท่งล าดับชั้นหินบริเวณชั้นหินแบบฉบับบริเวณห้วยหินลาดของ Iwai et al. (1966) .................. 24<br />

รูปที่ 4.2 หินกรวดมนปูนที่พบบริเวณห้วยหินลาด ...................................................................................... 25<br />

รูปที่ 4.3 ซากบรรพชีวินฟูซูลินิด verbeekina sp. ที่พบในเม็ดกรวด ของหินปูน ...................................... 25<br />

รูปที่ 4.4 ชั้นหินทราย สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต................................................................... 26<br />

รูปที่ 4.5 หินทรายเนื้อละเอียดสีแดงม่วง ตอนบนของล าดับชั้นหินบริเวณชั้นหินแบบฉบับ ........................ 26<br />

รูปที่ 4.6 ล าดับชั้นหินของหมู่หินโพไฮบริเวณชั้นหินแบบฉบับ ................................................................... 27<br />

รูปที่ 4.7 หินกรวดมนหมู่หินซ าแคนที่ปิดทับหมู่หินโพไฮ ............................................................................ 28<br />

รูปที่ 4.8 หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟส่วนบน .................................................................................................. 29<br />

รูปที่ 4.9 หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟส่วนล่าง ................................................................................................. 29<br />

รูปที่ 4.10 หินแอนดีไซต์บริเวณ ทางหลวงหมายเลข 12 กม.42+300 ....................................................... 30<br />

รูปที่ 4.11 หินดินดาน และหินทรายแป้งสีเทา จนถึงด า ของหมวดหินหัวนาค า อายุเพอร์เมียน ................. 30<br />

รูปที่ 4.12 เม็ดกรวดของหินทรายแป้งที่ฝังอยู่ในหินดินดานสีเทา ของหมวดหินหัวนาค า ........................... 31<br />

รูปที่ 4.13 แบบจ าลองการตกทับถมของหมู่หินซ าแคนที่ปิดทับหมวดหินโพไฮ<br />

บริเวณชั้นหินแบบฉบับ ............................................................................................................. 31<br />

รูปที่ 4.14 แผนที่ ภูมิประเทศแสดงแนวการส ารวจตามล าห้วยจาน ไปจนถึงน้ าตกพรานบา ...................... 32<br />

รูปที่ 4.15 แท่งล าดับชั้นหินของหินโผล่ที่พบตามล าห้วยจาน ไปจนถึงบริเวณน้ าตกพรานบา .................... 33<br />

รูปที่ 4.16 ปริมาณของเม็ดกรวดในหินกรวดมนค่อย ๆ ลดน้อยลงไปทางด้านบนของล าดับชั้นหิน ............. 34<br />

รูปที่ 4.17 หินทรายซับอาโคส ชั้นบางจนถึงชั้นหนา................................................................................... 35<br />

รูปที่ 4.18 เลนส์ของหินกรวดมนที่แทรกอยู่ในชั้นของหินทรายซับอาโคส .................................................. 35<br />

รูปที่ 4.19 หินทรายเนื้อละเอียดสีม่วงแดง สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนตมีเม็ดปูนฝังประ ........... 36<br />

รูปที่ 4.20 หินทรายชั้นหนาสีเทา เนื้อเม็ดปานกลาง ผุสีเทาเขียว ............................................................... 36<br />

รูปที่ 4.21 หินทรายชั้นหนา บริเวณน้ าตกพรานบาแสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel .............. 37<br />

รูปที่ 4.22 ต าแหน่งที่พบรอยตีนสัตว์เลื้อยคลานในหมวดหินห้วยหินลาด ................................................... 37<br />

รูปที่ 4.23 ระนาบลาดเอียงของหินทรายหมู่หินซ าแคนหมวดหินห้วยหินลาด<br />

บริเวณที่มีการพบรอยตีนของสัตว์เลื้อยคลาน .......................................................................... 38<br />

รูปที่ 4.24 ภาพพิมพ์ของรอยตีนสัตว์เลื้อยคลานที่พบบริเวณตาดห้วยน้ าใหญ่ ............................................ 38


รูปที่ 4.25 แนวรอยตีนสัตว์เลื้อยคลานที่พบบริเวณตาดห้วยน้ าใหญ่ .......................................................... 39<br />

รูปที่ 4.26 แนวรอยตีนสัตว์เลื้อยคลานบนหมู่หินซ าแคน ............................................................................ 39<br />

รูปที่ 4.27 รอยระแหงโคลนที่พบกระจายอยู่ทั่วไปบนชั้นของหินทรายที่ปิดทับชั้นหินทรายที่พบ<br />

รอยตีนสัตว์เลื้อยคลาน .............................................................................................................. 40<br />

รูปที่ 4.28 บ่อขุดที่พบบริเวณบ้านทรัพย์สว่าง ทางหลวง 2216 กม.25+500 ............................................. 41<br />

รูปที่ 4.29 เลนส์ของหินทรายที่แทรกอยู่ในหินกรวดมน ............................................................................. 41<br />

รูปที่ 4.30 เม็ดกรวดทรงกลมไปจนถึงทรงรี ความกลมมนดี แสดง Imbrication ........................................ 41<br />

รูปที่ 4.31 ชั้นหินทรายสลับหินทรายแป้งหมู่หินดาดฟ้าที่พบในห้วยกบ ..................................................... 42<br />

รูปที่ 4.32 ชั้นหินทรายแทรกสลับกับหินทรายแป้งในตอนล่างของหมู่หินดาดฟ้า ....................................... 43<br />

รูปที่ 4.33 หินปูนเนื้อละเอียดสีด าปนเทา บริเวณตอนบนของหมวดหินดาดฟ้า ......................................... 43<br />

รูปที่ 4.34 เม็ดกรวดหินปูนสีด าในหินทรายสีเทาแสดงถึงการพัดพาของตะกอน ........................................ 44<br />

รูปที่ 4.35 กระเปาะแร่ไพไรต์ในหินทราย บ่งชี้ถึงการสะสมตัวในภาวะแบบไม่มีออกซิเจน ......................... 44<br />

รูปที่ 4.36 รอยต่อของหมู่หินดาดฟ้า และหมู่หินภูฮี บริเวณห้วยกบ .......................................................... 44<br />

รูปที่ 4.37 ล าดับชั้นหินของหมู่หินดาดฟ้าบริเวณห้วยกบ ........................................................................... 45<br />

รูปที่ 4.38 หมู่หินดาดฟ้าบริเวณน้ าตกตาดใหญ่ ......................................................................................... 46<br />

รูปที่ 4.39 แผนที่ภูมิประเทศแสดงต าแหน่งที่ตั้งของจุดส ารวจ SH34 และ SH35 ...................................... 47<br />

รูปที่ 4.40 หินทรายสีเทาเข้ม แสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel .............................................. 47<br />

รูปที่ 4.41 เม็ดกรวดขนาดเล็กจนถึงขนาดกลางที่ฝังตัวอยู่ในชั้นหินทรายบริเวณใกล้น้ าตกตาดฟ้า ............. 48<br />

รูปที่ 4.42 รอยชั้นระแหงโคลนบนระนาบ ชั้นหินทรายบริเวณปากทางเข้าน้ าตกตาดฟ้า .......................... 48<br />

รูปที่ 4.43 หินทรายแป้งชั้นบางมาก แสดงชั้นต่อเนื่องแบบ continuous, even, parallel ....................... 49<br />

รูปที่ 4.44 ชั้นซากดึกด าบรรพ์ conchostracan ที่พบในบริเวณชั้นหินโผล่............................................... 49<br />

รูปที่ 4.45 หินทรายสีเทาเข้ม ผุสีน้ าตาลปนเหลืองของหมวดหินภูฮีตอนล่างบริเวณห้วยกบ ....................... 50<br />

รูปที่ 4.46 หินทรายชั้นหนา แสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel ส่วนบนของตอนล่าง<br />

ของหมู่หินภูฮี .......................................................................................................................... 51<br />

รูปที่ 4.47 หินทรายสลับหินทรายแป้ง ชั้นปานกลาง ตอนบนของหมู่หินภูฮีบริเวณห้วยกบ ........................ 51<br />

รูปที่ 4.48 แท่งล าดับชั้นหินหมู่หินภูฮีบริเวณห้วยกบ และบ้านห้วยสนามทราย ......................................... 52<br />

รูปที่ 4.49 หินอัคนีระดับตื้นแทรกดันอยู่ใต้หินทรายหมู่หินภูฮี บริเวณห้วยอีหม้อ ...................................... 53<br />

รูปที่ 4.50 ชั้นหินทรายสลับหินทรายแป้งหมู่หินภูฮีที่ปิดทับหินอัคนีแทรกดันระดับตื้น .............................. 54<br />

รูปที่ 4.51 หินทรายสีน้ าตาลอ่อน ชั้นบางถึงหนาปานกลาง เนื้อละเอียดถึงปานกลาง ................................ 54<br />

รูปที่ 4.52 รอยริ้วคลื่นบนผิวหน้าของหินทรายหมวดหินภูฮีที่ปิดทับหมู่หินอีหม้อบริเวณบ้านโป่งน้ า .......... 54<br />

รูปที่ 4.53 ชั้นเฉียงระดับขนาดเล็กที่พบในชั้นหินทรายบริเวณห้วยอีหม้อ .................................................. 55<br />

รูปที่ 4.54 ศิลาวรรณาของหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้นที่พบบริเวณห้วยอีหม้อ .......................................... 55<br />

รูปที่ 4.55 แผนภาพแสดงชนิดหินที่ได้จากการวิเคราะห์ทางเคมีโดยเครื่อง XRF<br />

ของหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้นที่พบบริเวณห้วยอีหม้อ ........................................................... 55<br />

รูปที่ 4.56 พนังที่พบในหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้น หมู่หินอีหม้อ .............................................................. 56<br />

รูปที่ 4.57 ชั้นฟองอากาศที่ถูกปิดทับด้วยหินทรายชั้นหนามากของหมู่หินภูฮี ............................................ 56


สารบัญตาราง<br />

หน้า<br />

ตารางที่ 3.1 วิวัฒนาการการแบ่งล าดับชั้นหิน กลุ่มหินโคราช ................................................................. 18<br />

ตารางที่ 4.1 ผลวิเคราะห์ปริมาณเปอร์เซ็นต์ธาตุออกไซด์หลักของหินอัคนีแทรกซอน<br />

ระดับตื้นที่พบบริเวณห้วยอีหม้อ ......................................................................................... 54


1.1 ค าจ ากัดความและความหมาย<br />

บทที่ 1<br />

บทน า<br />

มาตรฐาน (Standard) ตามพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 หมายถึง สิ่งที่ถือเป็น<br />

หลักส าหรับเทียบก าหนด<br />

มาตรฐานธรณีวิทยา (Geological standard) หมายถึงสิ่งที่ถือเอาเป็นเกณฑ์ทางธรณีวิทยาที่<br />

สังคมรับรองกันทั่วไป เกี่ยวข้องทั้งในด้านปริมาณ และคุณภาพ ซึ่งแบ่งออกเป็น มาตรฐานที่มีผลต่อสังคม<br />

และมาตรฐานทางวิชาการ<br />

ล าดับชั้นหิน (Stratigraphy) * คือวิชาสาขาหนึ่งที่ว่าด้วยรูปแบบ การวางตัว การแผ่กระจาย<br />

การสืบล าดับอายุ (chronologic succession) การจ าแนกชนิด และความสัมพันธ์ต่อกันของชั้นหิน (และ<br />

หินอย่างอื่นที่สัมพันธ์กัน) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งหมดที่มีอยู่ในหินเป็นเกณฑ์ก าหนดแบ่ง จึงมีความ<br />

เกี่ยวข้องกับต้นก าเนิด องค์ประกอบ สภาพแวดล้อม อายุ ประวัติ และความสัมพันธ์ที่มีต่อวิวัฒนาการของ<br />

สิ่งมีชีวิต ตลอดจนลักษณะอื่น ๆ ของชั้นหิน สรุปว่าหินทุกชนิดคือหินอัคนี หินแปร และหินตะกอนอยู่<br />

ภายในขอบข่ายทั่วไปของวิชาล าดับชั้นหินและการจ าแนกล าดับชั้นหิน นอกจากนี้ หินบางชนิดที่ไม่เป็นชั้น<br />

ก็จัดว่าอยู่ในวิชาล าดับชั้นหินนี้ด้วย เพราะหินเหล่านี้สัมพันธ์อย่างใกล้ชิดหรือเกี่ยวเนื่องกับหินชั้น<br />

อย่างไรก็ตาม โดยส่วนใหญ่ล าดับชั้นหินมักถูกน าไปใช้ในศาสตร์ของการเรียงตัวทับถมกันของ<br />

ตะกอนและสิ่งมีชีวิตที่ที่ตกทับถม ณ ที่แห่งหนึ่งในช่วงเวลาที่แตกต่างกัน ซึ่งมีความแตกต่างกันของชนิด<br />

ตะกอนตามเวลา ขึ้นกับสภาพแวดล้อมในอดีตช่วงนั้น<br />

มาตรฐานล าดับชั้นหิน (Stratigraphic standard) เป็นส่วนหนึ่งของมาตรฐานธรณีวิทยา<br />

ที่ใช้ก าหนดชั้นหินในแต่ละพื้นที่ และการเชื่อมโยงความสัมพันธ์ล าดับชั้นหินกับพื้นที่อื่นเข้าด้วยกัน และ<br />

ยึดถือเป็นเกณฑ์ทางธรณีวิทยาที่สังคมรับรองกันโดยทั่วไป<br />

ล าดับชั้นตามลักษณะหิน (Lithostratigraphy) หมายถึงการล าดับชั้นหินด้วยการรวมชั้นหิน<br />

เข้าด้วยกันเป็นหมวดต่าง ๆ โดยอาศัยลักษณะทางกายภาพของหินเป็นเกณฑ์ก าหนด<br />

ชั้นหินแบบฉบับ (Stratotype หรือ Type section) * หมายถึงล าดับชั้นหินใด ๆ ที่ก าหนดให้<br />

เป็นมาตรฐานเพื่อใช้อ้างอิงในการนิยามล าดับชั้นหิน โดยมีคุณสมบัติพิเศษที่เป็นเอกลักษณ์และบอก<br />

ขอบเขตบนและล่างของล าดับชั้นหินนั้นไว้ด้วย ชื่อของชั้นหินแบบฉบับหนึ่ง ๆ จะตั้งตามชื่อท้องถิ่นของหิน<br />

แบบฉบับนั้น ๆ<br />

* พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2544


- 2 -<br />

หมู่หิน (Member) * หมายถึงหน่วยล าดับชั้นหินตามลักษณะหิน จัดเป็นส่วนหนึ่งของหมวดหิน<br />

มีลักษณะเนื้อหินที่เด่นแตกต่างจากส่วนอื่น ๆ ของหมวดหินนั้น ๆ<br />

หมวดหิน (Formation) * หมายถึง หน่วยหลักในการจ าแนกล าดับชั้นหินตามลักษณะหิน<br />

ใช้ส าหรับแบ่งแผนภาพล าดับชั้นหินทั้งหมดอย่างสมบูรณ์แบบทั่วโลก โดยอาศัยลักษณะเนื้อหินเป็นหลัก<br />

หมวดหินหนึ่ง ๆ อาจหนาน้อยกว่า 1 เมตร ไปจนถึงหลายพันเมตรหรือมากกว่านั้น หมวดหินนี้อาจ<br />

ประกอบด้วยหินตะกอน/หินชั้น หินอัคนีพุ หินอัคนีแทรกซอน หรือหินแปร หรือในบางกรณีเป็นการ<br />

สลับชั้นกันของหินดังกล่าว 2 ชนิดหรือมากกว่านั้น<br />

กลุ่มหิน (Group) * หมายถึงหน่วยล าดับชั้นหินตามลักษณะหินหน่วยหนึ่ง ประกอบด้วยหมวดหิน<br />

ที่อยู่ติดกัน 2 หมวดหินหรือมากกว่านั้น ซึ่งมีลักษณะเนื้อหินที่ส าคัญ ๆ เป็นแบบเดียวกัน ก่อก าเนิดหรือ<br />

มีอายุอยู่ในยุคหรือมหายุคเดียวกัน<br />

1.2 กรอบแนวคิดในการจัดท ามาตรฐานล าดับชั้นหิน<br />

1.2.1 หลักการและเหตุผล<br />

กฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการกรมทรัพยากรธรณี พ.ศ.2555 ก าหนดให้กรมทรัพยากรธรณีมีภารกิจ<br />

ประจ าในการจัดท าและก าหนดมาตรฐานทางธรณีวิทยาของประเทศ โดยมีเป้าประสงค์ที่ส าคัญคือเพื่อเป็น<br />

แหล่งข้อมูลค้นคว้า อ้างอิงทางวิชาการธรณีวิทยาที่ส าคัญของประเทศและสากล และเพื่อก าหนดมาตรฐาน<br />

ทางธรณีวิทยาทุกด้านให้เป็นไปในทิศทางเดียวกันทั่วประเทศ ส านักธรณีวิทยาโดยส่วนมาตรฐานธรณีวิทยา<br />

มีหน้าที่รับผิดชอบเกี่ยวกับการจัดท ามาตรฐานและข้อก าหนดทางธรณีวิทยา รวมทั้งพัฒนากลไกในการ<br />

น าไปใช้ประโยชน์ ตลอดจนรวบรวม จัดเก็บหลักฐานทางธรณีวิทยาของประเทศเพื่อใช้ในการอ้างอิง<br />

ตลอดจนปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้อง หรือได้รับมอบหมาย<br />

ในปีงบประมาณ 2555 กรมทรัพยากรธรณีได้จัดตั้งโครงการจัดท ามาตรฐานและคลังข้อมูลด้าน<br />

ธรณีวิทยาและทรัพยากรธรณีขึ้น มีภารกิจจัดท ามาตรฐานการล าดับชั้นหิน ประกอบด้วยการจัดท า<br />

มาตรฐานล าดับชั้นหิน จ านวน 1 หมู่หิน และ 1 หมวดหิน ได้แก่หมู่หินนาหว้า หมวดหินภูทอก และหมวด<br />

หินห้วยหินลาด กลุ่มหินโคราช และการจัดท าคลังตัวอย่างธรณีวิทยา มีพื้นที่ปฏิบัติงานหลักในพื้นที่ต่าง ๆ<br />

ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การเก็บตัวอย่างหินและหลักฐานทางธรณีวิทยาปฏิบัติงานในพื้นที่ทุกภาคของ<br />

ประเทศไทย<br />

1.2.2 วัตถุประสงค์<br />

เพื่อจัดท ามาตรฐานการด้านธรณีวิทยา และทรัพยากรธรณีเพื่อการค้นคว้าอ้างอิงทางวิชาการ<br />

รวมไปถึงการจัดเก็บข้อมูลมาตรฐานและตัวอย่างอ้างอิง เพื่อน าไปใช้ปฏิบัติให้เป็นไปในทิศทางเดียวกัน<br />

* พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2544


- 3 -<br />

1.2.3 แนวทางการด าเนินงาน<br />

(1) ส ารวจ ตรวจสอบ ศึกษาทางธรณีวิทยาล าดับชั้นหิน เก็บตัวอย่างธรณีวิทยาในพื้นที่ต่าง ๆ ของ<br />

ประเทศที่มีลักษณะทางธรณีวิทยาที่เกี่ยวข้อง หรือมีปัญหาทางวิชาการที่คาบเกี่ยวกับพื้นที่ด าเนินการ<br />

แปลความหมายในภาพรวมของประเทศ และใกล้เคียง<br />

(2) จัดท ามาตรฐานการล าดับชั้นหินและระดมความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้อง หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย<br />

และแลกเปลี่ยนถ่ายทอดความรู้กับผู้เชี่ยวชาญในสาขาวิชาธรณีวิทยา<br />

(3) เผยแพร่ข้อมูลและผลการจัดท ามาตรฐานล าดับชั้นหินและคลังตัวอย่างที่ผ่านกระบวนการ<br />

ระดมความคิดเห็น ให้แก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนน าไปใช้ประโยชน์ในงานด้าน<br />

ธรณีวิทยา การบริหารจัดการทรัพยากรธรณี และด้านอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง<br />

1.2.4 ขั้นตอนการด าเนินการ<br />

(1) การเตรียมการ การรวบรวมข้อมูลธรณีวิทยา<br />

รวบรวม ทบทวนวรรณกรรม จากรายงานเดิม เพื่อการจัดท ามาตรฐานล าดับชั้นหินและ<br />

คลังธรณีวิทยา<br />

(2) การส ารวจเก็บข้อมูลในพื้นที่ด าเนินการ<br />

ส ารวจ ตรวจสอบ ศึกษาทางธรณีวิทยาและเก็บตัวอย่างต่าง ๆ จากพื้นที่ น ามาศึกษา<br />

วิเคราะห์ เพื่อการระบุคุณสมบัติ เก็บตัวอย่างทางธรณีวิทยาต่าง ๆ ในพื้นที่อื่น ๆ เพื่อเทียบเคียง<br />

การล าดับชั้นหิน และการจัดเก็บตัวอย่างเพื่อคลังตัวอย่างธรณีวิทยา<br />

(3) การน าเสนอผลงาน<br />

จัดประชุมรับฟังแนวทางจากผู้เชี่ยวชาญ และเสนอผลการศึกษาล าดับชั้นหินมาตรฐาน<br />

เบื้องต้น<br />

(4) การระดมความคิดเห็นและตรวจสอบเพิ่มเติม<br />

ระดมความคิดเห็นจากผู้เกี่ยวข้องแลกเปลี่ยนความรู้กลุ่มหินโคราช และตรวจสอบ<br />

ธรณีวิทยาในพื้นที่เพิ่มเติมตามข้อคิดเห็น<br />

(5) การสรุปผลงานและน าเสนอผลงาน<br />

จัดท ารายงานฉบับสมบูรณ์และตัวอย่างมาตรฐานในคลังตัวอย่างน าเสนอต่อที่ประชุมและ<br />

เผยแพร่ใช้ประโยชน์<br />

1.2.5 ผู้ปฏิบัติงาน<br />

1. นายอนุวัชร ตรีโรจนานนท์ นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ<br />

2. นายกิตติ ขาววิเศษ นักธรณีวิทยาช านาญการ<br />

3. นายชัยสิทธิ์ เครือสอน นักธรณีวิทยาปฏิบัติการ<br />

4. นางสาวรัชนีวรรณ ใจข้อ นักธรณีวิทยา<br />

5. นายอนันต์ คล้ายศร พนักงานขับรถยนต์


1.2.6 กรอบระยะเวลาปฏิบัติงาน<br />

- 4 -<br />

การจัดท ามาตรฐานล าดับชั้นหินจ านวน 1 หมู่หิน 1 หมวดหิน (หมู่หินนาหว้า หมวดหิน<br />

ภูทอก และหมวดหินห้วยหินลาด กลุ่มหินโคราช) และคลังตัวอย่างธรณีวิทยาอยู่ในกรอบระยะเวลา<br />

1 ปีงบประมาณ ตั้งแต่เดือนตุลาคม 2554 ถึงเดือนสิงหาคม 2555<br />

1.2.7 ผลที่คาดว่าจะได้รับ<br />

(1) แหล่งข้อมูลอ้างอิงทางวิชาการที่ส าคัญของหน่วยงานรัฐและเอกชน เพื่อเป็นข้อมูลทางด้าน<br />

การล าดับชั้นหินของประเทศไทยในการปฏิบัติงาน<br />

(2) แหล่งข้อมูลค้นคว้า หาความรู้ทางวิชาการธรณีวิทยาของนักเรียน นักศึกษาและผู้สนใจใน<br />

วิชาการธรณีวิทยา<br />

1.3 พื้นที่ปฏิบัติงาน<br />

การส ารวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงมาตรฐานชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด กลุ่มหิน<br />

โคราช เพื่อค้นหาชั้นหินแบบฉบับ และชั้นหินอ้างอิง ตลอดจนเก็บตัวอย่างเพื่อเป็นหลักฐานอ้างอิงในทาง<br />

ธรณีวิทยาอย่างเป็นระบบ โดยนี้มีพื้นที่ศึกษาอยู่ในขอบเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือทั้งหมด 19 จังหวัด<br />

ได้แก่ จังหวัดเลย หนองคาย อุดรธานี สกลนคร นครพนม ขอนแก่น กาฬสินธุ์ มุกดาหาร ชัยภูมิ<br />

มหาสารคาม ร้อยเอ็ด ยโสธร นครราชสีมา บุรีรัมย์ สุรินทร์ ศรีสะเกษ อุบลราชธานี อ านาจเจริญ และ<br />

หนองบัวล าภู รวมไปถึงภาคเหนือตอนล่างบางส่วนได้แก่บริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์ ท าการส ารวจหาชั้นหิน<br />

แบบฉบับของหมวดหินห้วยหินลาด กลุ่มหินโคราชในพื้นที่หลักตามแนวขอบตะวันตกและทิศใต้ของที่ราบ<br />

สูงโคราช ครอบคลุมพื้นที่ในแนวเทือกเขาเพชรบูรณ์ (Loei-Petchabun Fold Belt) และในบริเวณพื้นที่<br />

ใกล้เคียง เพื่อให้ได้ข้อมูลธรณีวิทยาพื้นฐาน ส าหรับการบูรณาการใช้ประโยชน์ร่วมกับข้อมูล<br />

ทรัพยากรธรรมชาติประเภทอื่นต่อไป<br />

1.3.1 สภาพและลักษณะภูมิศาสตร์ทั่วไป<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือตั้งอยู่ระหว่างเส้นรุ้ง 14-18 องศาเหนือ และเส้นแวง 101-105 องศา<br />

ตะวันออก มีอาณาเขตทิศเหนือและทิศตะวันออกติดกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว โดยมี<br />

แม่น้ าโขงเป็นแนวกั้นเขตแดนส่วนใหญ่ ทิศใต้ติดกับดินแดนภาคกลางและประเทศกัมพูชา โดยมีเทือกเขา<br />

พนมดงรัก และทิวเขาสันก าแพงเป็นเขตแดน ทิศตะวันตกติดกับภาคกลางโดยมีเทือกเขาเพชรบูรณ์ และ<br />

เทือกเขาดงพญาเย็นเป็นเขตแดน เนื่องจากภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่<br />

เป็นที่ราบในระดับความสูงระหว่าง 150-250 เมตร จากระดับน้ าทะเลปานกลาง โดยมีทิวเขาเป็นขอบกั้น<br />

ออกจากภาคกลางและภาคตะวันออกอย่างชัดเจน ฉะนั้น จึงมักเรียกลักษณะภูมิประเทศของภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือโดยรวม ๆ ว่าที่ราบสูงโคราช


- 5 -<br />

พื้นที่ปฏิบัติงานตั้งอยู่ในส่วนของ แนวเทือกเขาเลย-เพชรบูรณ์ (Phetchabun Range) บริเวณ<br />

รอยต่อขอบตะวันออกสุดของพื้นที่ภาคเหนือตอนล่างกับขอบตะวันตกสุดของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

บริเวณเขตรอยต่อของหลายจังหวัด (รูปที่ 1.1)<br />

มีระยะห่างจากกรุงเทพมหานครโดยทาง<br />

รถยนต์ประมาณ 340 กิโลเมตร และโดยทาง<br />

รถไฟประมาณ 400 กิโลเมตร มีขอบเขตอยู่ใน<br />

จังหวัดเพชรบูรณ์ เลย ชัยภูมิ และขอนแก่น<br />

ครอบคลุมพื้นที่ในอ าเภอน้ าหนาว อ าเภอ<br />

หล่มสัก อ าเภอหล่มเก่า อ าเภอบึงสามพัน<br />

อ าเภอหนองไผ่ อ าเภอวิเชียรบุรี อ าเภอศรีเทพ<br />

จังหวัดเพชรบูรณ์ อ าเภอหนองหิน อ าเภอ<br />

วังสะพุง อ าเภอด่านซ้าย อ าเภอภูกระดึง และ<br />

อ าเภอท่าลี่ จังหวัดเลย อ าเภอคอนสาร อ าเภอ<br />

เกษตรสมบูรณ์ อ าเภอหนองบัวแดง และอ าเภอ<br />

ภัคดีชุมพล จังหวัดชัยภูมิ อ าเภอเมือง อ าเภอ<br />

ชุมแพ อ าเภอสีชมพู และอ าเภอภูผาม่าน<br />

จังหวัดขอนแก่น มีพื้นที่ส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัด<br />

เลย ขอนแก่น และจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งแม้ว่า<br />

ทั้งสามจังหวัดนั้นมีลักษณะภูมิประเทศที่<br />

ค่อนข้างแตกต่างกัน แต่เนื่องจากจังหวัด<br />

ดังกล่าวส่วนใหญ่มีอาณาเขตอยู่ติดต่อกัน จึงท า<br />

ให้มีสภาพภูมิอากาศ ลักษณะของประชากร<br />

และการประกอบอาชีพ ในลักษณะคล้ายคลึงกัน<br />

รูปที่ 1.1 พื้นที่ปฏิบัติงานบริเวณแนวเทือกเขา<br />

เลย-เพชรบูรณ์ (หมายเลข 3) (กรมทรัพยากรธรณี,<br />

2550)<br />

ลักษณะภูมิประเทศโดยทั่วไปของพื้นที่ เป็นภูเขาสูงแบบภาคเหนือ และแบบภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ ที่ลาดลอนคลื่น และที่เนิน โดยมีที่ราบแบนหรือที่ลุ่มอยู่ส่วนน้อย มีระดับความสูง<br />

เหนือระดับทะเลปานกลาง ตั้งแต่ 200-1,300 เมตร ความสูงลดหลั่นจากทางด้านทิศตะวันตกไปทางด้าน<br />

ทิศตะวันออก ซึ่งมีลักษณะเป็นแนวทิวเขา/เทือกเขายาวสลับซับซ้อนที่มีแนวยาวต่อเนื่องมาจากทางด้าน<br />

ทิศเหนือลงไปทางทิศใต้ตั้งแต่บริเวณจังหวัดเลย จังหวัดเพชรบูรณ์ ไปจนถึงจังหวัดชัยภูมิ บริเวณพื้นที่ราบ<br />

ประกอบด้วยที่ราบขนาดเล็กในหุบเขา ที่ลาดลอนคลื่น ที่เนิน เนินตะพักและที่ลุ่ม (รูปที่ 1.2) เป็นที่ตั้งของ<br />

ชุมชนหรือหมู่บ้านต่าง ๆ อยู่โดยทั่วไป โดยบางบริเวณมีการรวมกลุ่มกันค่อนข้างมากเป็นชุมชนใหญ่<br />

ระบบทางน้ าในบริเวณพื้นที่ส ารวจ สามารถแบ่งออกได้เป็นสองส่วนโดยใช้เทือกเขาเพชรบูรณ์-เลย<br />

เป็นสันปันน้ า ได้แก่ระบบทางน้ าด้านตะวันตกและตะวันออก โดยระบบทางน้ าที่พบด้านตะวันออกของ<br />

พื้นที่นั้นตั้งอยู่ในบริเวณลุ่มน้ าป่าสัก มีต้นก าเนิดมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ โดยทางน้ าส่วนใหญ่จะไหลจาก


- 6 -<br />

เหนือลงใต้ ทางน้ าที่ส าคัญได้แก่ แม่น้ าป่าสัก เป็นแม่น้ าสายส าคัญที่สุดของจังหวัดเพชรบูรณ์ ซึ่งอยู่บริเวณ<br />

กลางแอ่งเพชรบูรณ์ ไหลผ่านตอนกลางของจังหวัดจากทิศเหนือไปทิศใต้ ยาวประมาณ 350 กิโลเมตร<br />

ต้นน้ าเกิดจากภูเขาผาลาในจังหวัดเลย ในพื้นที่ส ารวจ แม่น้ าป่าสักไหลผ่านอ าเภอหล่มเก่า อ าเภอหล่มสัก<br />

อ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ แม่น้ าพรม ล าเชิญ ล าชี ห้วยยาง ห้วยน้ าสุ ในจังหวัดชัยภูมิ ส่วนทางน้ ารองลงมานั้น<br />

เป็นทางน้ าที่ไหลลงมาจากเทือกเขาเพชรบูรณ์ ได้แก่ ห้วยอีหม้อ ห้วยสะดวงใหญ่ ห้วยน้ าดุก ห้วยระหงส์<br />

ห้วยวังยาว และคลองข่อย ในจังหวัดเพชรบูรณ์ไหลไปทางด้านตะวันตกลงมาบรรจบกับน้ าป่าสัก ล าน้ า<br />

สาขาและล าน้ าขนาดเล็ก เช่น ห้วยทับผลาญเกิด ห้วยหินลาด ห้วยชนาหินโงน ห้วยสนามทราย ล าสะพุง และ<br />

ห้วยทิก บริเวณจังหวัดเพชรบูรณ์ และขอนแก่น เป็นต้น<br />

สภาพภูมิประเทศในพื้นที่โดยสภาพความสูง-ต่ า สามารถแบ่งออกได้ 2 ลักษณะ ได้แก่ ลักษณะ<br />

พื้นที่ภูเขาสูง เทือกเขา และลาดเขา และ ลักษณะพื้นที่บริเวณที่ราบระหว่างหุบเขา<br />

1.3.1.1 พื้นที่ภูเขาสูง เทือกเขา และลาดเขา (Mountains and hill slope) ปกคลุม<br />

ร้อยละ 70-75 ของพื้นที่ทั้งหมด เป็นเทือกเขาสลับซับซ้อน ปรากฏอยู่ในทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-<br />

ทิศตะวันออกเฉียงใต้ และในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้ มีความลาดชันปานกลางถึงสูง (มากกว่า 25% ) ซึ่งเป็น<br />

ส่วนหนึ่งของเทือกเขาเลย-เพชรบูรณ์ ครอบคลุมพื้นที่ด้านตะวันออกของของอ าเภอหล่มเก่า อ าเภอหล่มสัก<br />

และอ าเภอเมืองเพชรบูรณ์ มีสภาพภูมิประเทศประกอบด้วยเทือกเขาสูง ลักษณะเป็นเนินเขาต่อเนื่องไป<br />

จนถึงยอดเขาสูง มียอดเขาแหลมคม และยาวต่อเนื่อง วางตัวในแนวเหนือ-ใต้ มีความสูงจากระดับน้ าทะเล<br />

ประมาณ 1,200 เมตร ระดับความสูงแปรเปลี่ยนระหว่าง 300-1,300 เมตร เหนือระดับน้ าทะเลปานกลาง<br />

และยังเป็นแนวเทือกเขาส าคัญวางตัวพาดผ่านตั้งแต่ตอนบนจนถึงตอนล่างของจังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นเส้น<br />

แบ่งเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ และจังหวัดชัยภูมิ นอกจากนี้เทือกเขาเลย-เพชรบูรณ์ยังเป็นต้นก าเนิดของแม่น้ า<br />

ที่ส าคัญได้แก่ แม่น้ าป่าสัก ซึ่งเป็นแม่น้ าสายส าคัญที่ใหลผ่านไปบนที่ราบของแอ่งเพชรบูรณ์ ภูเขาสูง<br />

ตอนกลางของพื้นที่มีลักษณะเป็นยอดเขาแบนราบปิดทับอยู่ด้านบน มีทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ ส่วนใหญ่<br />

ของพื้นที่ภูเขาถูกปกคลุมด้วยต้นไม้ค่อนข้างทึบ และอุดมสมบูรณ์ด้วยทรัพยากรป่าไม้ ได้แก่ ป่าเบญจพรรณ<br />

ป่าดิบชื้นป่าเต็งรัง ป่าดิบเขา ป่าสนเขา และยังเป็นแหล่งต้นน้ าล าธารที่ส าคัญของพื้นที่ ซึ่งวางตัวอยู่ด้านทิศ<br />

ตะวันออกและทิศใต้ ได้แก่ ที่ราบลุ่มอ าเภอหนองบัวแดง และอ าเภอชุมแพ ตามล าดับ<br />

1.3.1.2 ที่ราบระหว่างหุบเขา เป็นพื้นที่ราบเกิดทั้งแบบท าลายและแบบสะสม มีความ<br />

ต่อเนื่องลาดลงมาจากพื้นที่ภูเขา มีระดับความสูงอยู่ระหว่าง 230-250 เมตร เหนือทะเลปานกลาง<br />

ที่ลอนคลื่น เกิดจากการผุกร่อนของชั้นหิน โดยมีทางน้ ากัดเซาะลึกลงในแนวดิ่ง ที่ราบในพื้นที่แบ่งได้<br />

2 ประเภท ได้แก่ ที่ราบในหุบเขา และ ที่ราบลุ่ม ที่ราบในหุบเขา (intermontane basin) มีระดับความสูง<br />

ประมาณ 240-300 เมตร ปรากฏอยู่ในพื้นที่ที่มีภูเขาขนาบสองหรือสามด้าน ซึ่งเป็นที่รองรับล าน้ า และ<br />

ล าห้วยที่ไหลมาจากสันเขาต่าง ๆ มีการเปลี่ยนแปลงความชันอย่างรวดเร็วและฉับพลันลักษณะเป็นพื้นที่<br />

ค่อนข้างลาด เป็นที่ราบขนาดเล็กไม่กว้างมากนัก มีการเปลี่ยนแปลงของความสูงจากที่ลาดชันเป็นพื้นที่<br />

เนินราบ เป็นบริเวณที่มีการสะสมตัวของตะกอนของแม่น้ าสายใหญ่และแม่น้ าสาขา ได้แก่ น้ าพรม ล าเชิญ<br />

ห้วยไข่เต่า และห้วยน้ าสุ ในจังหวัดชัยภูมิ เป็นต้น ส่วนใหญ่เป็นที่ตั้งของชุมชนขนาดเล็ก กระจายตัวไม่


- 7 -<br />

หนาแน่นมากนัก ที่ราบส าคัญและมีพื้นที่ขนาดใหญ่นั้น พบทางด้านตะวันตกของพื้นที่ โดยเป็นส่วนหนึ่งของ<br />

ราบลุ่มของแอ่งเพชรบูรณ์ ที่ราบแห่งนี้มีผลมาจากการเปิดแอ่งในช่วงเทอร์เชียรีและท าให้เกิดเป็นแอ่งที่มี<br />

ตะกอนที่ถูกทางน้ าพัดพาลงมาสะสมตัวในแอ่งเป็นจ านวนมาก ทางน้ าส าคัญที่ก็คือแม่น้ าป่าสัก ซึ่งผลจาก<br />

กระบวนการทางน้ า ท าให้บริเวณที่ราบดังกล่าวมีลักษณะภูมิประเทศที่หลากหลาย ได้แก่ที่ราบแบบ<br />

ลอนคลื่น ตะพักล าน้ าหลายระดับ และที่ราบน้ าท่วมถึงที่ถูกน้ าท่วมเป็นประจ าทุกปี แต่ในขณะเดียวกัน<br />

น้ าท่วมที่เกิดขึ้นนั้นยังได้น าเอาความอุดมสมบูรณ์มาด้วย จึงท าให้ที่ราบเพชรบูรณ์เป็นแหล่งท าการเกษตรที่<br />

ส าคัญแห่งหนึ่งของประเทศไทย<br />

1.3.2 การคมนาคม<br />

การคมนาคมในพื้นที่ส ารวจ สามารถเข้าถึงได้ประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่ส ารวจ ส่วนพื้นที่ที่ไม่<br />

สามารถเข้าถึงได้เนื่องจากมีสภาพเป็นป่าทึบในเขตอุทยานแห่งชาติ เส้นทางในพื้นที่ส ารวจสามารถเชื่อมโยง<br />

กันไปได้ทั่วทั้งพื้นที่ สภาพถนนมีทั้งแบบถนนลาดยางแอสฟัลต์และแบบถนนลูกรัง โดยถนนสายหลักที่ใช้ใน<br />

การเข้าถึงพื้นที่ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 21 วางในแนวเหนือใต้จากอ าเภอหล่มสักถึงจังหวัด<br />

เพชรบูรณ์ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 ซึ่งวางตัวในทิศตะวันออก-ตะวันตกผ่านอ าเภอน้ าหนาว อุทยาน<br />

แห่งชาติน้ าหนาว ตอนกลางของพื้นที่ส ารวจในจังหวัดเพชรบูรณ์ และ ทางหลวงแผ่นดินสายรองลงมาที่<br />

ส าคัญได้แก่ ถนนหมายเลข 201 จากอ าคอนสารถึงจังหวัดเลย และถนนหมายเลข 203 จากอ าเภอหล่มสัก<br />

ถึงจังหวัดเลย นอกจากนี้ยังมีทางหลวงแผ่นดินที่มีหมายเลขสี่ตัว ซึ่งเป็นทางหลวงระหว่างจังหวัดกับอ าเภอ<br />

หรือระหว่างอ าเภอกับอ าเภออีกเป็นจ านวนมากกระจายเชื่อมโยงอยู่เกือบทั้งพื้นที่เพื่อใช้เดินทางระหว่าง<br />

หมู่บ้าน และเข้าสู่พื้นที่เกษตรกรรม ได้แก่ทางหลวงหมายเลข 2366 และทางหลวงหมายเลข 2009 เป็น<br />

เส้นทางสายหลักที่ผ่านไปยังพื้นที่ในบริเวณเขตอ าเภอเกษตรสมบูรณ์ และใกล้เคียง ทางหลวงหมายเลข<br />

2055 เป็นเส้นทางสายหลักที่ผ่านตอนกลางของพื้นที่บริเวณเขตอ าเภอคอนสารและในบริเวณใกล้เคียง ช่วย<br />

ให้การเข้าถึงพื้นที่ท าได้อย่างสะดวกและรวดเร็ว ส่วนในพื้นที่อุทยานแห่งชาติบางส่วนของพื้นที่ต้องใช้การ<br />

เดินเท้าเพื่อไปท าการส ารวจ


- 8 -<br />

รูปที่ 1.2 ลักษณะภูมิประเทศ และเส้นทางคมนาคมบริเวณเทือกเขาเลย-เพชรบูรณ์ และพื้นที่ใกล้เคียง


- 9 -<br />

1.3.3 ภูมิอากาศ<br />

จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดชัยภูมิ จังหวัดขอนแก่น จังหวัดเลย และจังหวัดนครราชสีมา เป็นจังหวัด<br />

ที่อยู่ในเขตภาคเหนือตอนล่างและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย มีภูมิอากาศแบบฝนเมืองร้อน<br />

(tropical savannah climate: A.W.) โดยมีระยะช่วงฝนสลับกับช่วงอากาศแห้งแล้งแตกต่างกันชัดเจน และ<br />

เนื่องจากภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นภูเขาและที่สูงจึงท าให้อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน โดยเฉพาะเดือนเมษายน<br />

เป็นเดือนที่มีอากาศร้อนที่สุด และจะหนาวจัดในฤดูหนาว ซึ่งอยู่ระหว่างเดือนธันวาคมถึงมกราคม ภูมิอากาศ<br />

โดยทั่วไปมีการเปลี่ยนแปลงไปตามอิทธิพลของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

แบ่งออกได้ 3 ฤดู ได้แก่ ฤดูร้อน ฤดูฝน และฤดูหนาว ฤดูร้อนเริ่มประมาณเดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม<br />

เดือนมีนาคมและเดือนเมษายนมีอากาศร้อนที่สุด ฤดูฝนเริ่มตั้งแต่เดือนมิถุนายนถึงตุลาคมซึ่งเป็นช่วงที่ลม<br />

มรสุมตะวันตกเฉียงใต้พัดลมร้อนชื้นมาจากมหาสมุทรอินเดีย ท าให้มีฝนตกทั่วไป เดือนที่มีฝนตกมากที่สุดคือ<br />

กันยายน ฤดูหนาวเริ่มตั้งแต่กลางเดือนพฤศจิกายนถึงเดือนกุมภาพันธ์ เป็นช่วงที่ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

พัดผ่าน ท าให้มีอากาศหนาวเย็นทั่วไป เดือนที่มีอากาศหนาวจัด ได้แก่เดือนพฤศจิกายน จนถึงเดือนมกราคม<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือได้รับฝนอย่างเด่นชัด 2 ทาง ด้วยกันคือ ฝนจากมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ได้รับน้อย<br />

และไม่สม่ าเสมอเพราะมีเทือกเขาเพชรบูรณ์ ดงพญาเย็น สันก าแพง และพนมดงรักกั้นฝนเอาไว้ พื้นที่ภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ ส่วนมากจึงเป็นด้านปลายลมของลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ และฝนจากพายุดีเปรสชัน<br />

ที่เคลื่อนที่เข้ามาในทิศทางตะวันออกไปทางตะวันตกปีละ 3-4 ลูก ท าให้ได้รับฝนเพิ่มขึ้น ซึ่งจังหวัดทางด้าน<br />

ตะวันออกก็จะได้รับฝนมากกว่าจังหวัดทางด้านตะวันตกเช่นเดียวกัน จังหวัดที่มีปริมาณฝนน้อยที่สุดได้แก่<br />

จังหวัดนครราชสีมา ปริมาณน้ าฝนอุณหภูมิเฉลี่ยของบริเวณเทือกเขาเลย-เพชรบูรณ์ รวมถึงส่วนอื่นของ<br />

ประเทศไทย ปี พ.ศ 2554 แสดงดังรูปที่ 1.3<br />

จังหวัดเพชรบูรณ์ มีลักษณะประเทศที่มีภูเขาล้อมรอบจึงท าให้อากาศร้อนจัดในฤดูร้อน หนาวจัดใน<br />

ฤดูหนาว โดยเฉพาะพื้นที่อ าเภอน้ าหนาว เขาค้อ และหล่มเก่า จะมีอากาศหนาวที่สุด และบนพื้นที่ภูเขาจะ<br />

มีอากาศเย็นตลอดทั้งปี ในฤดูร้อนและฤดูฝน อุณหภูมิโดยเฉลี่ยประมาณ 22.35 องศาเซลเซียส และ<br />

อุณหภูมิสูงสุด คือ 32.79 องศาเซลเซียส ปริมาณน้ าฝนตลอดปี 1,467.4 มิลมิเมตร ฝนตกโดยเฉลี่ย<br />

1,443.92 มิลลิเมตร/ปี<br />

ลักษณะภูมิอากาศของจังหวัดเลย สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่ที่เป็นภูเขาสูงส่งผลให้อุณหภูมิ มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ฤดูร้อนจะร้อนมาก มีอุณหภูมิสูงสุด เดือนเมษายน ในปี 2535 มีอุณหภูมิ<br />

สูงสุดถึง 43.5 องศาเซลเซียส ฤดูหนาวหนาวจัด บางปีอุณหภูมิลดลงถึง -1 ถึง -3 องศาเซลเซียส<br />

มีอุณหภูมิต่ าที่สุดที่เคยวัดได้ในท้องที่อ าเภอภูเรือ -13 องศาเซลเซียสในปี 2517 ส่วนในฤดูฝนจะมีฝนตกชุก<br />

พอประมาณ


- 10 -<br />

รูปที่ 1.3 (ซ้าย) ปริมาณน้ าฝนรวม (มม.) และ (ขวา) อุณหภูมิเฉลี่ย (°C) ของประเทศไทย<br />

พ.ศ. 2554 (ศูนย์ภูมิอากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา, 2555)


บทที่ 2<br />

การรวบรวมข้อมูลธรณีวิทยาเดิมของหมวดหินห้วยหินลาด<br />

หินที่เกิดบนภาคพื้นทวีปส่วนใหญ่เกิดในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ซึ่งได้มีการศึกษารายละเอียด<br />

มากพอสมควร มีการกล่าวถึงหินตะกอนที่เกิดบนภาคพื้นทวีปในมหายุคมีโซโซอิกบริเวณภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2464 สมัยเมื่อเริ่มมีการแสวงหาถ่านหินและปิโตรเลียม<br />

ในประเทศไทยเพื่อใช้เป็นวัสดุเชื้อเพลิงในกิจการรถไฟหลวง ชั้นหินสีแดงมหายุคมีโซโซอิกที่ตกสะสมตัวบน<br />

บกมีการกระจายตัวทั่วประเทศ โดยเฉพาะบริเวณที่ราบสูงโคราชจึงเป็นที่มาของชื่อกลุ่มหินนี้ หินที่เด่นใน<br />

กลุ่มหินนี้คือหินตะกอนเนื้อผสมสีแดง ได้แก่ หินทราย หินทรายแป้ง หินดินดาน และหินกรวดมน กลุ่มหิน<br />

โคราชวางตัวอย่างไม่ต่อเนื่องอยู่บนหินที่แก่กว่า โดยทั่วไปจะวางตัวอยู่บนหินมหายุคพาลีโอโซอิก แต่<br />

บางครั้งก็วางตัวอยู่บนหินอัคนีอายุเพอร์โมไทรแอสซิก (Permo-Triassic) หรือหินตะกอนอายุต้น<br />

ไทรแอสซิกตอนกลาง (Lower-Middle Triassic)<br />

กลุ่มหินโคราชได้เริ่มมีการศึกษาตามแบบแผนทางธรณีวิทยาเป็นครั้งแรกโดย Lee (1923) ซึ่งได้<br />

ศึกษาชั้นหินมหายุคมีโซโซอิกที่มีสภาวะแวดล้อมการเกิดแบบบนบกในบริเวณที่ราบสูงโคราช และได้จัดแบ่ง<br />

ชั้นหินออกเป็น 2 ส่วน ได้แก่ ส่วนบน (Upper Group) และส่วนล่าง (Lower Group) โดยชั้นหินทั้งสองไม่<br />

มีขอบเขตที่ชัดเจน และได้ให้อายุเป็นยุคไทรแอสซิก<br />

ต่อมา Brown et al. (1951) ได้ตั้งชื่อหินสีแดงที่ตกสะสมบนบก และหินปูนอายุไทรแอสซิกที่ตก<br />

สะสมตัวในทะเล บริเวณภาคเหนือของประเทศไทยเหล่านี้ว่า ชุดหินโคราช (Khorat Series) ซึ่งเรียกรวม<br />

หินยุคไทรแอสซิกจนถึงจูแรสซิก และบางส่วนที่อยู่ในช่วงอายุเพอร์เมียน และครีเทเชียสหรืออ่อนกว่าที่มี<br />

การแผ่กระจายอยู่ทั่วไปในที่ราบสูงโคราช ประกอบด้วยหินทรายสีแดงจนถึงม่วง หินกรวดมน หินดินดานที่<br />

บางส่วนแทรกสลับด้วยหินปูนเนื้อมาร์ลชั้นบาง บางส่วนแสดงเนื้อมวลสารพอก (concretion) พบการแปร<br />

สภาพเป็นหินควอร์ตไซต์ ฟิลไลต์ และหินชนวนได้ในบางบริเวณ บางแห่งพบแร่ยิปซั่มและเกลือหิน ไม่มี<br />

รายงานการพบซากดึกด าบรรพ์ยกเว้นไม้กลายเป็นหิน และได้รวมหินปูนกะเมาะ กะละ (Kamawkala<br />

Limestone) ที่พบในบริเวณ อ.แม่สอด จ.ตาก เข้าไว้ใน Khorat Series ด้วย<br />

ในปี พ.ศ. 2497 นิธิพัฒน์ ชาลีจันทร์ และดิ้น บุญนาค แบ่งชั้นหินตะกอนในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือออกเป็น 4 กลุ่มหิน (จากอายุแก่ถึงอ่อน) ดังนี้: กลุ่มหินภูกระดึงและกลุ่มหินพระวิหาร<br />

(อายุไทรแอสซิก) กลุ่มหินภูพาน และกลุ่มหินไม่ตั้งชื่อหรือกลุ่มหินนิรนาม (อายุเรเธียนถึงจูแรสซิก)<br />

ในปี พ.ศ. 2507 Ward and Bunnag (1964) ได้ตั้งชื่อ กลุ่มหินโคราช (Khorat Group) โดยให้<br />

ประกอบขึ้นด้วย 7 หน่วยหิน (จากอายุแก่ถึงอ่อน) ดังนี้: หน่วยหินน ้าพอง (อายุเรเธียน) หน่วยหินภูกระดึง<br />

หน่วยหินพระวิหาร หน่วยหินเสาขัว หน่วยหินภูพาน หน่วยหินโคกกรวด (อายุจูแรสซิกถึงครีเทเชียส) และ<br />

หน่วยหินไม่ตั้งชื่อหรือ หน่วยหินนิรนาม (อายุครีเทเชียสถึงเทอร์เชียรีตอนต้น)<br />

ในปีเดียวกัน Iwai and Asama (1964) แบ่งหินชุดโคราชออกเป็น 6 หน่วย โดยรวมหินพระวิหาร<br />

และเสาขัวเข้าด้วยกัน (จากอายุแก่ถึงอ่อน) ดังนี้: หน่วยหินน้ าพอง (อายุเรเธียน) หน่วยหินภูกระดึง หน่วย


- 12 -<br />

หินพระวิหาร หน่วยหินภูพาน หน่วยหินบ้านนายอ (อายุจูแรสซิกถึงครีเทเชียส) และหน่วยหินหล่มสัก (อายุ<br />

ครีเทเชียสตอนปลาย) และได้ตั้งหมวดหินห้วยหินลาดขึ้นโดยมีที่ตั้งของชั้นหินอ้างอิงอยู่ที่ห้วยหินลาด<br />

อ าเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น มีความหนาทั้งหมด 140 เมตร แบ่งได้เป็นสองช่วงคือ ส่วนล่างประกอบด้วย<br />

หินกรวดมนที่มีชั้นหินปูนสลับเล็กน้อย และช่วงบน หนา 40 เมตร ประกอบด้วยหินทราย หินดินดานปน<br />

ทราย หินทรายแป้ง และหินดินดาน สีเทา สีน้ าตาลปนเหลือง สลับกับมีหินปูนเล็กน้อย และได้ให้อายุของ<br />

หน่วยหินอยู่ในช่วงอายุเรเธียนจากหลักฐานซากต้นไม้ Neocalamites<br />

ในปี พ.ศ. 2510 Gardner et al. (1967) ตั้งชื่อหน่วยหินมหาสารคามให้เทียบเท่ากับหินหน่วย<br />

ไม่ตั้งชื่อหรือหน่วยหินนิรนามของ Ward and Bunnag (1964)<br />

ในปี พ.ศ. 2514 Bunopas (1971) ตั้งชื่อหน่วยหินน้ าผาขึ้นใหม่โดยให้อยู่ล าดับชั้นที่ต่ ากว่าหน่วย<br />

หินห้วยหินลาด และรวมหน่วยหินน้ าพองและภูกระดึงเข้าด้วยกัน โดยให้ชื่อว่าหน่วยหินภูกระดึง และยัง<br />

รายงานการพบซากบรรพชีวิน Estheria sp. อายุคาร์เนียน-นอเรียน ที่บริเวณเขื่อนน้ าพรม (จุฬาภรณ์)<br />

ในปี พ.ศ. 2516 Kobayashi (1973) รายงานการพบซากดึกด าบรรพ์ conchostracan ในส่วนล่างของกลุ่ม<br />

หินโคราชบริเวณเขื่อนน้ าพรม (จุฬาภรณ์) เป็นชนิด Eusteria mansuyi sp. ให้มีอายุอยู่ในยุคไทรแอสซิก<br />

ตอนปลาย (Norian) และในปีเดียวกันนี้ Konno & Asama (1973) ได้ให้อายุ Neocalamites จากหมวด<br />

หินห้วยหินลาดใหม่เป็นนอเรียน<br />

ในปี พ.ศ. 2521 Chonglakmani and Sattayarak (1978) พยายามรวมหน่วยหินน้ าผาเข้ากับ<br />

หน่วยหินห้วยหินลาด เรียกชื่อเป็นหน่วยหินห้วยหินลาด นอกจากนี้ยังแบ่งหมวดหินห้วยหินลาดออกสอง<br />

ส่วนคือ หน่วยหินตอนล่าง และหน่วยหินตอนบน และยังได้แยกย่อยออกเป็น 5 หมู่หิน ได้แก่หมู่หินโพไฮ<br />

หมู่หินซ าแคน หมู่หินดาดฟ้า หมู่หินภูฮี และหมู่หินอีหม้อ และในปีเดียวกัน Sattayarak and Suteethorn<br />

(1979) ตั้งชื่อหน่วยหินภูทอกแบบไม่เป็นทางการ โดยให้เทียบได้กับส่วนบนของหน่วยหินไม่ตั้งชื่อหรือ<br />

หน่วยหินนิรนามของ Ward and Bunnag (1964) และส่วนบนของหน่วยหินมหาสารคามของ Gardner et<br />

al. (1967)<br />

ในปี พ.ศ.2522 จงพันธ์ จงลักษณ์มณี และนเรศ สัตยารักษ์ ศึกษาสภาพธรณีวิทยา พร้อมจัดท า<br />

แผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน 1:250,000 ระวางจังหวัดเพชรบูรณ์ (NE47-16) ครอบคลุมพื้นที่ส ารวจ<br />

ธรณีวิทยามาตราส่วน 1:50,000 ระวางบ้านท่าช้าง (5242 I) ระวางบ้านน้ าดุกเหนือ (5242 II) ระวางอ าเภอ<br />

ภูกระดึง (5342 I) และระวางอ าเภอน้ าหนาว (5242 IV) ซึ่งจากข้อมูลการท าแผนที่ธรณีวิทยา 1:250,000<br />

ระวางจังหวัดเพชรบูรณ์ระบุว่า หมวดหินห้วยหินลาดมีความสัมพันธ์ไม่ต่อเนื่องกับหินยุคเพอร์เมียนที่รองรับ<br />

อยู่ แต่ต่อเนื่องกับหมวดหินน้ าพองที่วางตัวปิดทับ<br />

ในการศึกษาเกี่ยวกับอายุของชั้นหินสีแดงในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ Maranate and Vella<br />

(1986) ได้ก าหนดอายุหมวดหินต่าง ๆ ของกลุ่มหินโคราชโดยอาศัยผลจากการศึกษาและวิจัยสนามแม่เหล็ก<br />

โบราณ


- 13 -<br />

ในปี พ.ศ. 2534 Sattayarak และคณะ (1991) ได้เขียนรายงานเกี่ยวกับการล าดับชั้นหินจากการ<br />

เปรียบเทียบกับ seismic profiles และในปีต่อมา Thanomsap (1992) ได้สรุปเกี่ยวกับลักษณะโครงสร้าง<br />

ทางธรณีวิทยาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือให้เราได้รับทราบ<br />

ในด้านการศึกษาเกี่ยวกับโครงสร้างทางธรณีวิทยา Chuaviroj (1997) ได้เขียนรายงานเกี่ยวกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงลักษณะทางโครงสร้างในชั้นหินมหายุคมีโซโซอิกในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยสรุปว่ามีการ<br />

เปลี่ยนแปลงอย่างน้อย 3 ครั้ง<br />

Meesook (2000) ได้กล่าวถึงสภาวะแวดล้อมทางกายภาพ ซากดึกด าบรรพ์ และอากาศในอดีต<br />

ของยุคครีเทเชียสโดยอาศัยหลักฐานต่าง ๆ ที่พบในหมวดหินต่าง ๆ ของกลุ่มหินโคราชในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย<br />

ในปี พ.ศ.2551 กรมทรัพยากรธรณีด าเนินการส ารวจท าแผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน 1 : 50,000<br />

ล าดับชุด L7018 ในพื้นที่ต่าง ๆ หลายระวางด้วยกัน รวมถึงในระวางที่มีการแผ่กระจายของหมวดหิน<br />

ห้วยหินลาด ได้แก่ ระวางอ าเภอคอนสาร (5342 II) ระวางเขื่อนจุฬาภรณ์ (5342 III) ระวางอ าเภอเกษตร<br />

สมบูรณ์ (5341 I) และระวางบ้านทุ่งลุยลาย (5341 IV) โดยธีรพล วงษ์ประยูร และคณะ ระวางบ้านท่าช้าง (5242 I)<br />

ระวางบ้านน้ าดุกเหนือ (5242 II) ระวางอ าเภอภูกระดึง (5342 I) และระวางอ าเภอน้ าหนาว (5242 IV) โดย<br />

สุรเชษฐ ปุญปัน และคณะ ระวางอ าเภอหนองบัวแดง (5341 II) ระวางบ้านบุสีเสียด (5341 III) ระวางบ้าน<br />

ห้วยใหญ่ (5241 I) และระวางบ้านหนองใหญ่ (5241 II) โดยจิรศักดิ์ เจริญมิตร และคณะ


บทที่ 3<br />

ล าดับชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด<br />

ธรณีวิทยาบริเวณที่ราบสูงโคราชจากแผนที่ธรณีวิทยามาตราส่วน 1:2,500,000 (DMR, 1987)<br />

(รูปที่ 3.1 และ 3.2) ประกอบด้วยหินฐานที่เป็นหินตะกอน หินอัคนี และหินแปรของหินมหายุคพาลีโอโซอิก<br />

พบกระจายตัวอยู่บริเวณเทือกเขาดงพญาเย็น และเทือกเขาเพชรบูรณ์ทางขอบที่ราบสูงด้านตะวันตก<br />

หินมหายุคพาลีโอโซอิกนี้วางตัวรองรับอยู่ใต้หินตะกอนมหายุคมีโซโซอิกซึ่งแผ่กระจายตัวปกคลุมพื้นที่<br />

ส่วนใหญ่เกือบทั้งหมดของที่ราบสูงโคราช ประกอบด้วยหินตะกอนที่สะสมตัวบนบกที่มีชื่อว่า กลุ่มหินโคราช<br />

(Khorat Group) สะสมตัวตั้งแต่ยุคไทรแอสซิก จูแรสซิก ถึงยุคครีเทเชียส ปัจจุบันแบ่งออกเป็น 9 หมวดหิน<br />

(กรมทรัพยากรธรณี, 2550) (รูปที่ 3.3 และ ตารางที่ 1) จากหมวดหินที่อายุแก่ไปอ่อนมีดังนี้<br />

หมวดหินห้วยหินลาด ประกอบด้วยหินกรวดมนเนื้อปูน หินกรวดมน หินทรายสีเทาด า ความหนา<br />

ของหมวดหินแปรเปลี่ยนระหว่าง 100-1,300 เมตร หมวดหินนี้เป็นหมวดหินฐานของกลุ่มหินโคราช<br />

หมวดหินน้ าพอง ประกอบด้วยหินทราย หินดินดาน และหินกรวดมน ความหนาของหมวดหิน<br />

แปรเปลี่ยนระหว่าง 100-1,500 เมตร<br />

หมวดหินภูกระดึง ประกอบด้วยหินดินดาน และหินทรายแป้ง สีน้ าตาลแดง แทรกสลับด้วยหิน<br />

ทราย เนื้อปานกลาง สีเขียว ความหนาของหมวดหินแปรเปลี่ยนระหว่าง 800-1,200 เมตร<br />

หมวดหินพระวิหาร ประกอบด้วยหินทราย สีขาว เนื้อปานกลางถึงหยาบ แทรกสลับด้วย<br />

หินดินดาน ความหนาของหมวดหินแปรเปลี่ยนระหว่าง 100-250 เมตร<br />

หมวดหินเสาขัว ประกอบด้วยหินดินดาน และหินทรายแป้ง สีน้ าตาลแดง แทรกสลับด้วยหินทราย<br />

เนื้อละเอียด สีน้ าตาลแดง ความหนาของหมวดหินแปรเปลี่ยนระหว่าง 200-760 เมตร<br />

หมวดหินภูพาน ประกอบด้วยหินทราย และหินกรวดมน แสดงชั้นเฉียงระดับ ความหนาของ<br />

หมวดหินแปรเปลี่ยนระหว่าง 80-140 เมตร<br />

หมวดหินโคกกรวด ประกอบด้วยหินทรายแป้ง หินดินดาน สีแดง แทรกสลับด้วยหินทราย<br />

สีน้ าตาลแดง ความหนาของหมวดหินแปรเปลี่ยนระหว่าง 430-700 เมตร<br />

หมวดหินมหาสารคาม ประกอบด้วยหินดินดาน และชั้นเกลือหินมียิปซั่มปะปน ความหนาของ<br />

หมวดหินแปรเปลี่ยนระหว่าง 610-1,000 เมตร<br />

หมวดหินภูทอก ประกอบด้วยหินทรายเนื้อละเอียด หินทรายแป้ง และหินดินดาน สีน้ าตาลแดงสด<br />

ความหนาแปรเปลี่ยนระหว่าง 200-730 เมตร


- 15 -<br />

รูปที่ 3.1 แผนที่ธรณีวิทยาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

(ดัดแปลงจากแผนที่มาตราส่วน 1:2,500,000 ของกรมทรัพยากรธรณี (DMR, 1987))


- 16 -<br />

รูปที่ 3.2 สัญลักษณ์และค าอธิบายแผนที่ธรณีวิทยาบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


- 17 -<br />

รูปที่ 3.3 แท่งล าดับชั้นหินของกลุ่มหินโคราช (Meesook, 2001)


ตารางที่ 3.1 วิวัฒนาการการแบ่งล าดับชั้นหิน กลุ่มหินโคราช<br />

Period<br />

Lee (1923)<br />

Brawn et<br />

al., (1953)<br />

La Moreaux et<br />

al., (1956)<br />

Ward and Bunnag<br />

(1964)<br />

Iwai et<br />

al.,(1964; 1966)<br />

Kobayashi<br />

et., al<br />

(1964)<br />

Gardner et<br />

al., (1967)<br />

Bunopas<br />

(1971)<br />

DMR (1997)<br />

Tertiary<br />

Cretaceous<br />

L<br />

E<br />

Khorat (Salt F)<br />

Phu Thok F<br />

Series<br />

Unnamed Rk Lom Sak F Maha<br />

Maha<br />

Khorat Phu Phan m Sarakham F<br />

Sarakham F<br />

Series Phra Vihan m Khok Kruat F<br />

Khok Kruat F<br />

Ban Na Yo F Middle<br />

Phu Kradung m<br />

Khorat<br />

Phu Phan F<br />

Phu Phan F<br />

Series<br />

Sao Khua F<br />

Upper<br />

Sao Khua F<br />

(Including<br />

Phu Phan F<br />

Lowest<br />

marine<br />

U Phra Vihan F Khorat<br />

Triassic<br />

limestone)<br />

Jurassic M Phra Wihan F Series<br />

Triassic<br />

L Phu Kradung F Phu Kra Dung F Phu Kradung F<br />

( 3 members)<br />

Upper<br />

nonmarine<br />

Nam Phong F Huai Hin Lat F<br />

Nam Pha<br />

F<br />

Lower<br />

nonmarine<br />

The Khorat Group<br />

Phu Kradung F<br />

Phra Wihan F<br />

Nam Phong F<br />

Huai Hin Lat<br />

F


- 19 -<br />

3.1 หมวดหินห้วยหินลาด<br />

ข้อมูลทั่วไป: หมวดหินห้วยหินเป็นหมวดหินล่างสุดของชั้นหินที่ตกตะกอนบนภาคพื้นทวีป<br />

กระจายตัวอยู่มากในบริเวณขอบทางตะวันตกของที่ราบสูงโคราช ได้แก่บริเวณจังหวัดเลย เพชรบูรณ์<br />

ขอนแก่น ชัยภูมิ และนครราชสีมา (รูปที่ 3.1) โดยเริ่มแรก Iwai et al. (1966) ได้ตั้งชื่อหมวดหินนี้โดยมี<br />

ต าแหน่งชั้นหินแบบฉบับอยู่บริเวณห้วยหินลาด ซึ่งไหลผ่านทางหลวงหมายเลข 201 (เลย- ชุมแพ) บริเวณ<br />

กิโลเมตรที่ 109+250 (รูปที่ 3.4) ต่อมา Bunopas (1971) ได้พบ estheria sp. อายุ คาร์เนียน- นอเรียน<br />

ที่บริเวณเขื่อนจุฬาภรณ์ จึงได้ตั้งหมวดหินน้ าผา (Nam Pha Formation) ขึ้น โดยให้วางตัวรองรับหมวด<br />

หินห้วยหินลาดเป็นหมวดหินล่างสุดของกลุ่มหินโคราช (นเรศ สัตยารักษ์, 2525) และในภายหลัง<br />

Chonglakmani and Sattayarak (1978) ได้รวมหมวดหินนี้ให้เป็นหมวดหินห้วยหินลาด เนื่องจากมี<br />

ลักษณะหินและการวางตัวล าดับชั้นหินที่เหมือนกัน หมวดหินห้วยหินลาด มีความหนาที่ชั้นหินแบบฉบับ<br />

เท่ากับ 140 เมตร (Iwai et al., 1966) และมีชั้นหินอ้างอิงที่จัดท าโดย Chonglakmani and Sattayarak<br />

(1978) จ านวน 2 section ที่บริเวณบ้านตาดฟ้า และเขื่อนจุฬาภรณ์ โดยให้มีความหนา 1,300 และ 900<br />

เมตร ตามล าดับ (ธีระพล วงษ์ประยูร และ วิโรจน์ แสงศรีจันทร์, 2551)<br />

ความสัมพันธ์การล าดับชั้นหิน: หมวดหินห้วยหินลาดวางตัวไม่ต่อเนื่องกับหมวดหินน้ าดุก และชั้น<br />

หินปูนอายุเพอร์เมียนตอนปลาย (กรมทรัพยากรธรณี, 2550) และมีรอยสัมผัสแบบค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงกับ<br />

หมวดหินน้ าพองที่วางตัวปิดทับอยู่ (Chonglakmani and Sattayarak, 1979)<br />

ลักษณะทางกายภาพของหิน: หมวดหินห้วยหินลาดบริเวณต าแหน่งชั้นหินแบบฉบับ (type<br />

section) แบ่งออกได้เป็น 2 ส่วน (Iwai et al., 1966) คือ ส่วนล่างหนา 100 เมตร ประกอบด้วยหิน<br />

กรวดมนพื้นฐาน โดยมีหินปูนสลับอยู่ด้านบนเล็กน้อย ส่วนบนหนา 40 เมตร Iwai et al. (1966)<br />

ประกอบด้วยหินทราย หินดินดานปนทราย หินทรายแป้ง หินทรายสลับหินโคลน และหินปูนปนโคลนสี<br />

เทาด า หินดินดานสีเทา น้ าตาล เหลือง มีหินปูนแทรกสลับอยู่บ้างเล็กน้อย (รูปที่ 3.4) ในพื้นที่อื่น ๆ<br />

หมวดหินนี้ประกอบด้วยหินกรวดมนพื้นฐาน หินทรายสลับหินโคลน และหินโคลนสีเทาด าที่มีแร่ยิปซั่มสลับ<br />

เป็นบางชั้น<br />

รูปที่ 3.4 แผนที่แสดงลักษณะทางกายภาพของหมวดหินห้วยหินลาดบริเวณชั้นหินแบบฉบับ<br />

(Iwai et al., 1966)


- 20 -<br />

ภายหลังจากที่ได้รวมหมวดหินน้ าผาและหมวดหินห้วยหินลาดเข้าด้วยกัน โดยเรียกเป็นหมวดหิน<br />

ห้วยหินลาดเนื่องจากเป็นชื่อที่ตั้งก่อนแล้วนั้น Chonglakmani and Sattayarak, (1978) ได้แบ่งหมวดหิน<br />

ห้วยหินลาดออกเป็น 5 หมู่หินจากอายุแก่ไปอายุอ่อน ได้แก่<br />

หมู่หินโพไฮ (Pho Hai Member) ประกอบด้วยหินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ หินทัพฟ์ หินทราย<br />

และหินกรวดมนสีแดง นับเป็นหมู่หินล่างสุด<br />

หมู่หินซ าแคน (Sam Khaen Member) ประกอบด้วยหินกรวดมน หินทราย หินปูน เป็นหมู่หิน<br />

ล่างสุดในบริเวณที่ไม่มีหมู่หินโพไฮ<br />

หมู่หินดาดฟ้า (Dat Fa Member) ประกอบด้วยหินดินดานสีเทา สีเทาด า และสีด า มีเศษซากไม้<br />

มากมาย สลับกับหินปูนสีด า<br />

หมู่หินภูฮี (Phu Hi Member) ประกอบด้วยหินทราย หินดินดานสีเทา หินปูนสีเทา หินตะกอน<br />

สีแดง ในช่วงล่างมักจะมีหินกรวดมนขนาดเล็กด้วย<br />

หมู่หินอีหม้อ (I Mo Member) ประกอบด้วยหินไดออไรต์ หินทัพฟ์ หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟ<br />

หินดินดาน หินทราย และหินปูนสีเทา (นเรศ สัตยารักษ์, 2525)<br />

หมวดหินห้วยหินลาดสามารถแบ่งย่อยได้เป็น 2 ส่วนใหญ่ ๆ ได้แก่ ล าดับชั้นหินส่วนบน และล าดับ<br />

ชั้นหินส่วนล่าง ล าดับชั้นหินส่วนล่างประกอบด้วยชุดลักษณ์หินภูเขาไฟของหมู่หินโพไฮ และหินกรวดมน<br />

พื้นฐาน (basal conglomerate) ของหมู่หินกรวดมนซ าแคน ล าดับชั้นหินส่วนบนบริเวณชั้นหินอ้างอิง<br />

บริเวณบ้านตากฟ้าและพื้นที่ใกล้เคียงสามารถแบ่งได้เป็น 2 หมู่หิน ได้แก่ หมู่หินดาดฟ้า (Dat Fa<br />

Member) และหมู่หินภูฮี (Phu Hi Member) จากล่างขึ้นบนตามล าดับ และในบางแห่งเช่นทาง<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือของอ าเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ล าดับชั้นหินส่วนบนประกอบด้วย<br />

หน่วยหินตะกอนแทรกสลับกับ intermediate intrusive และหินภูเขาไฟ ซึ่งหินอัคนีดังกล่าวมีชื่อว่า<br />

หมู่หินอีหม้อ (I Mo Member)<br />

ความหนาของหมวดหินห้วยหินลาดอยู่ในช่วงตั้งแต่ 20-1,300 เมตร ซึ่งในบางบริเวณอาจไม่พบ<br />

หมวดหินห้วยหินลาดอยู่เลย โดยกลุ่มหินโคราชจะเริ่มต้นจากหมวดหินน้ าพอง เช่นบริเวณตะวันตกของ<br />

จังหวัดหนองคาย และอุดรธานี กล่าวโดยสรุปได้ว่า ในบริเวณที่ไม่พบการแผ่กระจายของหมู่หินโพไฮ<br />

โดยทั่วไปจะพบหมู่หินซ าแคนวางตัวรองรับหมู่หินดาดฟ้า และถูกปิดทับโดยหมู่หินภูฮี ซึ่งในบางบริเวณ<br />

อาจมีหมู่หินอีหม้อแทรก (รูปที่ 3.5) เนื่องจากหมวดหินห้วยหินลาดมีลักษณะการสะสมตัวในแอ่งที่<br />

ไม่ใหญ่นัก บางครั้งมีลักษณะเป็นแอ่งปิด ท าให้ได้ตะกอนที่เกิดจากการสะสมตัวในสภาพแวดล้อมแบบ<br />

ทะเลสาบ หรือจากแม่น้ าที่มีหินต้นก าเนิดอยู่เป็นระยะทางไม่ไกลนัก เกิดการสะสมตัวในภาวะแบบไม่มี<br />

ออกซิเจน (reducing environment) ดังเช่นในบริเวณ บ.ห้วยสนามทราย ต.โคกมน อ.น้ าหนาว<br />

จ.เพชรบูรณ์ (ทางหลวงหมายเลข 2216 กม.2+250) พบหินโคลน และหินทรายแป้ง สีด า สารเชื่อม<br />

ประสานพวกคาร์บอเนต มีจุดแร่ไพไรต์ขนาดเล็กมากฝังประอยู่ในเนื้อหิน นอกจากนี้ยังพบฟอสซิลขนาด


- 21 -<br />

เล็กของสัตว์จ าพวก Ostracod sp. รวมทั้ง Estheria sp. ในบริเวณดังกล่าว บ่งชี้ว่าเป็นตะกอนที่มีการตก<br />

สะสมตัวบนภาคพื้นทวีป<br />

รูปที่ 3.5 ลักษณะความสัมพันธ์ของหมู่หินต่าง ๆ ในหมวดหินห้วยหินลาด (ดัดแปลงจาก Chonglakmani<br />

and Sattayarak, 1978)<br />

3.1.1 หมู่หินโพไฮ (Pho Hai Member)<br />

หมู่หินโพไฮ หมวดหินห้วยหินลาด ประกอบด้วยหินตะกอนภูเขาไฟจ าพวกหินทัพฟ์ และกรวด<br />

เหลี่ยมภูเขาไฟ (agglomerate) และอัคนีพุ ไรโอไลต์ และแอนดีไซต์ แทรกสลับด้วยหินทรายและหิน<br />

กรวดมน มีชั้นหินแบบฉบับอยู่บริเวณถนนสายหล่มสัก-ชุมแพ บริเวณกิโลเมตรที่ 42 ถึง 44.5 ชื่อของ<br />

หมู่หินนี้ตั้งตามชื่อของห้วยโพไฮ ซึ่งตั้งอยู่ห่างออกไปประมาณ 0.5 กิโลเมตร ทางตะวันตกของบริเวณที่ตั้ง<br />

ชั้นหินแบบฉบับ ในพื้นที่ส่วนใหญ่รวมถึงบริเวณชั้นหินแบบฉบับจะพบหินตะกอนภูเขาไฟพวกหินทัพฟ์ และ<br />

หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟของหมู่หินโพไฮวางตัวไม่ต่อเนื่องเชิงมุม (angular conformity) ปิดทับหินดินดาน<br />

และหินทรายแป้ง สีเทาจนถึงด า อายุเพอร์เมียน แต่ในบางพื้นที่ เช่น บริเวณเขาไผ่ เขาเฉียงพระทราย<br />

ต าบลน้ าร้อน อ าเภอวิเชียรบุรี จังหวัดเพชรบูรณ์ พบหมู่หินโพไฮวางตัวไม่ต่อเนื่องปิดทับหินปูนที่มีซาก<br />

บรรพชีวินฟูซูลินิดอายุเพอร์เมียน ขอบเขตบนของหมู่หินโพไฮ ได้แก่ส่วนบนสุดของหินอัคนีพุที่วางตัว<br />

ต่อเนื่องกับหมู่หินซ าแคน ความหนาของหมู่หินนี้ หนา 210 เมตร ที่บริเวณชั้นหินแบบฉบับ<br />

3.1.2 หมู่หินซ าแคน (Sam Khaen Member)<br />

หมู่หินกรวดมนซ าแคน เป็นหมู่หินที่มีการแผ่กระจายกว้างขวางที่สุดในหมวดหินห้วยหินลาด<br />

ประกอบด้วยหินกรวดมนพื้นฐานเป็นหลัก ตั้งชื่อตามหินโผล่ที่พบอยู่ในห้วยหินลาด ตั้งอยู่ห่างออกไปทาง<br />

ทิศใต้ประมาณ 1 กิโลเมตรจากบ้านซ าแคน ซึ่งในบางแห่งอาจพบเพียงหินกรวดมนพื้นฐานของหมวดหิน<br />

ห้วยหินลาดนี้วางตัวอยู่ใต้หมวดหินน้ าพอง หมู่หินซ าแคนบริเวณชั้นหินแบบฉบับมีความหนา 100 เมตร


- 22 -<br />

ประกอบด้วยหินกรวดมนเนื้อปูน มีชั้นหินปูนแทรกสลับอยู่บ้าง หินกรวดมนหมู่หินซ าแคนหลายแห่งพบเป็น<br />

หินกรวดมน polymictic สีแดง และมักพบแทรกสลับอยู่กับหินทราย และหินดินดานสีแดง ขอบเขตล่างสุด<br />

ของหมู่หินอยู่ที่บริเวณส่วนล่างสุดของชั้นหินกรวดมนที่วางตัวปิดทับส่วนบนสุดของหินอายุเพอร์เมียน<br />

แต่ในบางบริเวณอาจวางตัวปิดทับชั้นบนสุดของหินอัคนีพุของหมู่หินโพไฮ ความหนาของหมู่หินอาจ<br />

แปรเปลี่ยนตามแต่บริเวณในช่วง 20-550 เมตร<br />

3.1.3 หมู่หินดาดฟ้า (Dat Fa Member)<br />

หมู่หินดาดฟ้า ประกอบด้วยหินดินดานเนื้อปูนประสาน สีเทาจนถึงสีด า มีปริมาณคาร์บอนสูง<br />

แสดงชั้นดี แทรกสลับกับชั้นหินปูนเนื้อดิน (argillaceous limestone) ความหนา 5 เซนติเมตรจนถึง 2<br />

เมตร วางตัวต่อเนื่องปิดทับหมู่หินกรวดมนซ าแคน หรือหมู่หินโพไฮ ชั้นหินแบบฉบับอยู่ในบริเวณบ้านโคก<br />

มน บ้านดงมะไฟ บ้านดงสะคร่าน และบ้านตาดฟ้า ในอ าเภอภูผาม่าน จังหวัดขอนแก่น ให้ชื่อตามล าห้วย<br />

ดาดฟ้าที่ไหลผ่านในบริเวณชั้นหินแบบฉบับ ซากบรรพชีวินที่พบในหมู่หินนี้ได้แก่ Estheria sp. และซากพืช<br />

มีขอบเขตด้านบนวางตัวต่อเนื่องกับหินที่ปิดทับอยู่ด้านบน ได้แก่ ส่วนล่างสุดของหินทรายหรือหินกรวดมน<br />

ของหมู่หินโพไฮ และขอบเขตล่างสุดวางตัวปิดทับหินกรวดมนชั้นบนสุดของหมู่หินกรวดมนซ าแคน หมู่หิน<br />

ดาดฟ้าที่ชั้นหินแบบฉบับมีความหนา 390 เมตร<br />

3.1.4 หมู่หินภูฮี (Phu Hi Member)<br />

หมู่หินภูฮี หมวดหินห้วยหินลาด ประกอบด้วยหินทรายสีเทา หินดินดาน และหินปูนเนื้อดิน ที่มีหิน<br />

กรวดมนแทรกสลับอยู่บ้างในส่วนครึ่งล่างของหมู่หิน มีชั้นหินแบบฉบับอยู่บริเวณเดียวกับหมู่หินดาดฟ้า<br />

ตั้งชื่อตามล าห้วยที่ไหลผ่านบริเวณชั้นหินแบบฉบับ มีความหนาแปรเปลี่ยนอยู่ในช่วง 650-850 เมตร<br />

วางตัวปิดทับอย่างต่อเนื่องกับหมู่หินดาดฟ้า ขอบเขตล่างสุดบริเวณชั้นหินแบบฉบับอยู่บริเวณส่วนบนสุด<br />

ของหินดินดานสีเทาและหินปูนของหมู่หินดาดฟ้า หรืออยู่บริเวณฐานของหินทรายสีเทาและชั้นหินกรวดมน<br />

ของหมู่หินภูฮี ขอบเขตบนสุดวางตัวต่อเนื่องกับหมวดหินน้ าพองที่บริเวณส่วนบนสุดของหินดินดานสีเทา<br />

และหินปูน หรือบริเวณส่วนล่างสุดของหินทรายแป้ง หินทราย และหินกรวดมนสีแดงของหมวดหินน้ าพอง<br />

3.1.5 หมู่หินอีหม้อ (I Mo Member)<br />

หมู่หินอีหม้อเป็นล าดับชั้นหินส่วนบนสุดของหมวดหินห้วยหินลาด ประกอบด้วยชุดลักษณ์ของหิน<br />

ไดออไรต์ และหินอัคนีพุที่มีก าเนิดร่วมกัน แทรกสลับกับหินดินดาน และหินทรายสีเทา แสดงชั้นดี และ<br />

หินปูน มีชั้นหินแบบฉบับอยู่ที่เขาอีหม้อ (Khao I Mo) เป็นภูเขาขนาดเล็ก สูงประมาณ 420 เมตร เหนือ<br />

ระดับน้ าทะเลปานกลาง ตั้งอยู่ห่างออกไปประมาณ 5 กิโลเมตรทางตะวันออกของบ้านห้วยอีจีน ต าบล<br />

ตาดกลอย อ าเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ ไม่พบขอบเขตบนสุดของหมู่หินนี้ในบริเวณพื้นที่ศึกษาของ<br />

Chonglakmani and Sattayarak, (1978) และขอบเขตล่างสุดให้อยู่บริเวณส่วนล่างสุดของหน่วยหินอัคนี<br />

ของหมู่หินอีหม้อ มีความหนาบริเวณชั้นหินแบบฉบับ 300 เมตร


- 23 -<br />

จุดล่างสุดของหมวดหินห้วยหินลาด ให้เป็นจุดล่างสุดของหินกรวดมนพื้นฐานชั้นล่างสุด หรืออยู่ที่<br />

จุดล่างสุดของหินภูเขาไฟชั้นล่างสุด และในกรณีที่ไม่มีหินกรวดมนพื้นฐานหรือหินภูเขาไฟอยู่ล่างสุด หมวด<br />

หินห้วยหินลาดมักจะเริ่มจากหินดินดานหรือหินทรายสีแดง วางตัวอย่างไม่ต่อเนื่องบนหินมหายุค<br />

พาลีโอโซอิก เช่นบริเวณอ าเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ จุดบนสุดของหมวดหินห้วยหินลาด ให้อยู่ ณ จุด<br />

ล่างสุดของหินกรวดมนสีแดงของหมวดหินน้ าพอง<br />

สภาวะแวดล้อมการตกตะกอนและภูมิอากาศโบราณ: จากการศึกษาการเรียงล าดับชั้นหิน<br />

ลักษณะทางกายภาพและส่วนประกอบของหิน และซากดึกด าบรรพ์ที่พบ ชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาด<br />

เกิดจากการสะสมตัวในที่ราบลุ่มเชิงเขา ภายใต้ภูมิประเทศที่ไม่ราบเรียบ บางบริเวณมีหนองน้ าเล็ก ๆ ซึ่ง<br />

ในน้ ามีสารละลายของปูนอยู่สูง ในสภาวะภูมิอากาศที่ค่อนข้างร้อนชื้นและค่อย ๆ เปลี่ยนเป็นกึ่งแห้งแล้ง<br />

(slightly humid to semi-arid conditions)<br />

ความหนาและการแผ่กระจาย: ความหนาของหมวดหินห้วยหินลาดบริเวณต าแหน่งชั้นหิน<br />

แบบฉบับ มีความหนา 140 เมตร แต่ในพื้นที่อื่น ๆ ความหนาแปรเปลี่ยนอยู่ในช่วง 100-1,300 เมตร<br />

หมวดหินนี้แผ่กระจายกว้างขวางในพื้นที่ขอบตะวันตกของที่ราบสูงโคราช เช่น บริเวณอ าเภอวังสะพุง<br />

อ าเภอทาลี่ จังหวัดเลย อ าเภอสีชมพู อ าเภอชุมแพ จังหวัดขอนแก่น อ าเภอคอนสาร อ าเภอภูเขียว จังหวัด<br />

ชัยภูมิ และอ าเภอเมือง อ าเภอหล่มสัก อ าเภอหล่มเก่า จังหวัดเพชรบูรณ์ เป็นต้น<br />

ซากดึกด าบรรพ์และอายุ: Iwai et al. (1966) รายงานการพบซากดึกด าบรรพ์พวกพืชชื่อ<br />

Neocalamites sp., Equisetites sp., Cladophebis sp., Clathropteris cf. meniscoides<br />

Brongnairt และ Pterophyllum sp. และให้อายุระหว่างเรเธียนถึงไทรแอสซิก นอกจากนี้บริเวณบ้าน<br />

คอนสวรรค์ อ าเภอสีชมพู จังหวัดขอนแก่น พบซากกระดองเต่าในหินปูนสีเทาด า ได้แก่ Chelonian<br />

ruchae (Broin et al., 1987) ส่วนซากดึกด าบรรพ์สัตว์มีกระดูกสันหลังอื่น ๆ ที่พบในภาค<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ ได้แก่ สัตว์ประเภทคางคก Cyclotosaurus cf. posthumus Frass (Ingavat and<br />

Janvier, 1981) สัตว์คล้ายจระเข้ phytosaur, Mystriosuchus sp. (Buffetaut and Ingavat, 1982;<br />

Buffetaut et al., 1993) และปลา Ceratodus cf. szechuanensis (Martin and Ingavat, 1982)<br />

เป็นต้น นอกจากนี้ยังพบซาก spore และ pollen ประกอบด้วย Ovalipollis luzensis, Cycadopites<br />

carpenticri, Alisporites sp., Zebrasporit fimbriatus, Camerosporites sp., Concavisporites<br />

luzensis และ Verrucosporites sp. ซึ่งมีอายุระหว่างคาร์เนียน-นอเรียน (Haile, 1973) และพวก<br />

Conchostracans Euestheria mansuyi Kobayashi, E. thailandica Kobayashi, E. buravasi<br />

Kobayashi, Khoratesteria macroumbo Kobayashi, Metarhabdosties (?), Asmussia<br />

symmetrica Kobayashi (Kobayashi, 1975)<br />

อายุ: หมวดหินห้วยหินลาดมีอายุอยู่ในช่วงไทรแอสซิกตอนปลาย หรือ คาร์เนียน-นอเรียน อาจถึง<br />

เรเธียนได้


4.1 ล าดับชั้นหินแบบฉบับ<br />

บทที่ 4<br />

ล าดับชั้นหินที่น่าสนใจของหมวดหินห้วยหินลาด<br />

4.1.1 ล าดับชั้นหินบริเวณห้วยหินลาด อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น ทางหลวงหมายเลข 201 กม.<br />

109+250 พิกัด 47Q 0819479 E 1850634 N (ระวาง อ าเภอคอนสาร, 5342 II)<br />

Iwai et al. (1966) ศึกษาหินในพื้นที่ที่ราบสูงโคราช และในพื้นที่จังหวัดเลย เพชรบูรณ์ พิษณุโลก<br />

และล าปาง และได้แบ่งกลุ่มหินโคราชออกเป็น 5 หมวดหินจากข้อมูลทางซากบรรพชีวิน และข้อมูล<br />

ภาคสนาม โดยมีช่วงอายุตั้งแต่ Rhaeto-Liassic ไปจนถึงครีเทเชียสตอนต้น วางตัวไม่ต่อเนื่องกับหิน<br />

ตะกอนมหายุคพาลีโอโซอิก เทียบได้กับการแบ่งของ Bunnag (1964) คือ หมวดหินบ้านนายอ และภูพาน<br />

เทียบเท่าได้กับหมวดหินโคกกรวดและ ภูพานตามล าดับ หมวดหินพระวิหาร เทียบได้กับหมวดหินเสาขัว<br />

และพระวิหาร หมวดหินภูกระดึงเทียบได้กับหมวดหินภูกระดึงและน้ าพอง และส่วนล่างสุดของหมวดหิน<br />

น้ าพองของ Ward & Bunnag (1964) อาจเทียบได้กับหมวดหินห้วยหินลาดของ Iwai et al. (1966) โดย<br />

Iwai et al. (1966) ได้ให้รายละเอียดของหมวดหินห้วยหินลาดไว้ดังนี้ (รูปที่ 4.1)<br />

หมวดหินห้วยหินลาด : ประกอบด้วย<br />

หินกรวดมน หินทราย และหินดินดาน ตอนล่างของ<br />

หมวดหินเป็นหินกรวดมนสีเทาเข้ม เนื้อเม็ดปานกลาง<br />

จนถึงหยาบ เม็ดกรวดส่วนใหญ่เป็นเม็ดกรวดของ<br />

หินปูนขนาด pebble กึ่งเหลี่ยมจนถึงเหลี่ยม<br />

กรวดอื่น ๆ ส่วนน้อยประกอบด้วยเม็ดกรวดของหิน<br />

ไรโอไลต์เนื้อสองขนาด หินเชิร์ต และหินอื่น ๆ<br />

กึ่งกลมมนจนถึงกลมมน ขนาด pebble บางส่วนพบ<br />

ชั้นของหินปูนสีเข้มแทรกสลับอยู่ในหินกรวดมน<br />

ส่วนบนของหมวดหินประกอบด้วยหินดินดานปนทราย<br />

สีเทาเข้ม หินทรายเนื้อละเอียดมาก สารเชื่อมประสาน<br />

แคลเซียมคาร์บอเนต สีเทาเข้มจนถึงด า และหินทราย<br />

รูปที่ 4.1 แท่งล าดับชั้นหินบริเวณชั้นหินแบบฉบับ<br />

เนื้อเม็ดละเอียดจนถึงปานกลาง สีเทาปนเหลือง<br />

บริเวณห้วยหินลาดของ Iwai et al. (1966)<br />

แทรกสลับกับหินดินดานปนทราย และหินทรายแป้ง<br />

ปนทราย โดยหินปูนสีเทาเข้มที่มีหินกรวดมนเนื้อปูนจะแทรกสลับอยู่ในส่วนดังกล่าว ความหนาของ<br />

หมวดหินหนาประมาณ 140 เมตร วางตัวไม่ต่อเนื่องกับหินปูนเพอร์เมียน ซากบรรพชีวินที่พบในหินหมวดนี้<br />

0 100<br />

meters


- 25 -<br />

ได้แก่ Neocalamintes sp. Equisetites sp. Cladophlebis sp. Clathropteris cf. meniscoides<br />

BROMGNIART และ Pterophyllum sp. ซึ่งซากบรรพชีวินทั้งหมดนี้บ่งชี้อายุ Rhaeto-Liassic<br />

หินกรวดมนปูน ประกอบไปด้วยเม็ดกรวด ของหินปูน ขนาด pebble กลมมนจนถึงกึ่งกลมมน ส่วนน้อย<br />

เป็นเม็ดกรวดของหินโคลนและหินทรายขนาด pebble เม็ดกรวดส่วนใหญ่ร้อยละ 80 เป็นทรงกลมดี<br />

หินกรวดมนที่พบเป็นชนิด clast-supported การคัดขนาดปานกลาง (รูปที่ 4.2) บางครั้งพบซากบรรพชีวิน<br />

ฟูซูลินิดอายุเพอร์เมียน (รูปที่ 4.3) และเศษเปลือกหอยแบรคิโอพอต รวมถึงเศษปะการัง และไบรโอซัวใน<br />

เม็ดกรวดของหินปูน<br />

รูปที่ 4.2 หินกรวดมนปูน<br />

ที่พบบริเวณห้วยหินลาด<br />

ประกอบด้วยกรวดของ<br />

หิ น ปู น ข น า ด pebble<br />

กึ่งกลมมน<br />

รูปที่ 4.3 ซากบรรพชีวิน<br />

ฟูซูลินิด verbeekina sp.<br />

ที่พบในเม็ดกรวด ของ<br />

หินปูน (มาตราส่วนเป็น<br />

เซนติเมตร)


- 26 -<br />

หินตะกอนสีเทา และสีน้ าตาลปนเหลือง<br />

ประกอบด้วยหินดินดานสีเทาถึงสีเทา<br />

เข้ม สารเชื่อมประสานแคลเซียม<br />

คาร์บอเนต หินดินดานสีน้ าตาลปน<br />

เหลือง หินทราย เนื้อเม็ดละเอียดจนถึง<br />

ปานกลาง และหินทรายแป้งสีน้ าตาล<br />

ปนเหลือง สารเชื่อมประสานแคลเซียม<br />

คาร์บอเนต (รูปที่ 4.4) แทรกสลับกับ<br />

หิน carbonaceous shale สีด า หิน<br />

หน่วยนี้วางตัวต่อเนื่องกับหินกรวดมน<br />

ปูนที่รองรับ และวางตัวต่อเนื่องกับหิน<br />

ตะกอนสีแดงม่วงที่ปิดทับอยู่<br />

รูปที่ 4.4 ชั้นหินทรายเนื้อเม็ดละเอียดจนถึงปานกลาง<br />

สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต<br />

หินตะกอนสีแดงม่วง ประกอบด้วยหินดินดานสีแดงม่วง หินทรายแป้ง และหินทราย แทรกสลับกับหินทราย<br />

ปนกรวด (Pebbly sandstone) และหินกรวดมน เม็ดกรวดขนาดเล็ก (Small-sized pebble<br />

conglomerate) ซึ่งหน่วยหินนี้วางตัวต่อเนื่องปิดทับหินตะกอนสีเทา และสีน้ าตาลปนเหลือง (รูปที่ 4.5)<br />

รูปที่ 4.5 หินทรายเนื้อละเอียดสีแดงม่วง ตอนบนของล าดับชั้นหินบริเวณชั้นหินแบบฉบับ


- 27 -<br />

4.2 หมู่หินโพไฮ<br />

4.2.1 หมู่หินโพไฮบริเวณชั้นหินแบบฉบับ ทางหลวงหมายเลข 12 กม.42-44.5<br />

พิกัด 47Q 0772464 E 1854127 N (ระวางอําเภอน้ําหนาว, 5342 IV)<br />

บริเวณทางหลวงหมายเลข 12 (หล่มสัก-ชุมแพ) บริเวณ กม.ที่ 42-45 เป็นลําดับชั้นหินแบบฉบับ<br />

ของหมู่หินโพไฮ (Pho Hai Member) ซึ่งเป็นหมู่หินที่อยู่ล่างสุดของหมวดหินห้วยหินลาด ให้ชื่อตาม<br />

ห้วยโพไฮซึ่งเป็นลําห้วยที่ไหลผ่านบริเวณชั้นหินแบบฉบับ ประกอบด้วยการแทรกสลับของหินกรวดเหลี่ยม<br />

ภูเขาไฟ หินตะกอนภูเขาไฟ และหินอัคนีพุชนิดต่าง ๆ ได้แก่หินไรโอไลต์ หินแอนดีไซต์ และหินอัลคาไลน์-<br />

บะซอลต์ โดยลําดับชั้นหินของหมู่หินโพไฮวางตัวไม่ต่อเนื่องเชิงมุมกับหินดินดาน และหินทรายแป้ง สีดํา<br />

จนถึงสีเทาของหมวดหินหัวนาคํา อายุเพอร์เมียน ปิดทับด้วยหินกรวดมนของหมู่หินซําแคน ของหมวดหิน<br />

ห้วยหินลาด (รูปที่ 4.6)<br />

ลําดับชั้นหินจากส่วนบนไปหาส่วนล่าง ได้แก่<br />

หินกรวดมนบริเวณ road-cut outcrop กม.45+475<br />

สูงประมาณ 3 เมตร ยาวต่อเนื่องไปประมาณ 150<br />

เมตร หินโผล่ประกอบด้วยหินกรวดมนสีแดงปนน้ําตาล<br />

ผุสีน้ําตาลปนเหลือง เม็ดกรวดขนาด granule ไปจนถึง<br />

pebble ประกอบด้วยหินทรายสีแดง ผุสีเทาขาว<br />

เป็นส่วนใหญ่ ประมาณ 70 เปอร์เซ็นต์ หินไรโอไลต์<br />

ประมาณ 20 เปอร์เซ็นต์ หินแอนดีไซต์ ผุสีขาว<br />

ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ เม็ดกรวดมีลักษณะ<br />

กึ่งกลมมน เป็นทรงรี การคัดขนาดดีปานกลาง<br />

เม็ดกรวดไม่อยู่เรียงชิดติดกัน (metrix supported)<br />

เมตริกซ์ประกอบด้วยตะกอนโคลนสีแดงปนน้ําตาล<br />

เกิดเป็นชั้นปานกลางจนถึงชั้นหนา ชั้นหินในบริเวณนี้ผุ<br />

ค่ อ น ข้ า ง ม า ก ว า ง ตั ว เ อี ย ง เ ท ไ ป ท า ง ทิ ศ<br />

ตะวันออกเฉียงเหนือ (38/052) ต่อเนื่องไปถึงบริเวณ<br />

กม. 45+150 บริเวณทางขึ้นสถานีทวนสัญญาณภูค้อ<br />

บริเวณพิกัด 47Q 0772477E 1854288N ประกอบ<br />

ด้วย หินกรวดมนสีแดง ผุสีส้มแดง เม็ดกรวดเกือบ<br />

ทั้งหมดประกอบด้วยเม็ดกรวดของหินทรายเนื้อ<br />

ละเอียดสีแดง ผุสีน้ําตาลปนเหลือง และส่วนน้อยเป็น<br />

เม็ดกรวดของหินไรโอไลต์ผุสีขาว และหินเชิร์ตสีดํา<br />

ประมาณชนิดละ 5 เปอร์เซ็นต์ ขนาด pebble จนถึง<br />

Fm. M. Lithology<br />

outline<br />

Huai Hin Lat<br />

Sam Khean<br />

Pho Hai<br />

Hua<br />

Na<br />

Kham<br />

Description<br />

- Conglomerate, consist of<br />

sandstone, andesite, rhyolite<br />

and chert, sub-angular to<br />

sub-rounded, low sphericity,<br />

poorly sorted.<br />

- Aggromerate, consist of<br />

rhyolite, andesite, cobble to<br />

boulder.<br />

- Rhyolite, grayish purple,<br />

aphanitic texture.<br />

- Andesite grayish green,<br />

aphanitic texture.<br />

- Andesitic tuff, grayish green.<br />

- Siltstone, gray interbeded<br />

with shale, black.<br />

0<br />

20 m<br />

รูปที่ 4.6 ลําดับชั้นหินของหมู่หินโพไฮบริเวณ<br />

ชั้นหินแบบฉบับ


- 28 -<br />

cobble เม็ดกรวดใหญ่ที่สุดมีขนาดประมาณขนาด boulder (30 x 25 เซนติเมตร) มีทั้งเม็ดกรวดที่เป็น<br />

ทรงกลมและทรงรีปะปนกัน มีความเป็นเหลี่ยมเป็นมุมคละกันตั้งแต่กึ่งเหลี่ยมไปจนถึงกลมมน การคัดขนาด<br />

ไม่ดี แนวแตกย่อยของชั้นหิน เอียงเทไปทางทิศเหนือค่อนไปทางตะวันออกเฉียงเหนือ (42/022; NNE)<br />

เม็ดกรวดที่เป็นทรงรีมีการวางตัวเอียงเทไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (28/200) ความหนารวมของชั้นหิน<br />

กรวดมนทั้งหมดประมาณ 101 เมตร (รูปที่ 4.7) ปิดทับหินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟซึ่งสามารถแยกได้เป็นสอง<br />

ส่วน ส่วนบนหนา 48 เมตร ประกอบด้วย เม็ดกรวดขนาด granule ไปจนถึง cobble (รูปที่ 4.8)<br />

ประกอบด้วย เม็ดกรวดของหินไรโอไลต์ประมาณ 90 เปอร์เซ็นต์ ที่เหลือเป็นกรวดของหินแอนดีไซต์ เชื่อม<br />

ประสานด้วยตะกอนภูเขาไฟที่มีส่วนประกอบค่อนไปทางแอนดีไซต์ และส่วนล่างหนาประมาณ 30 เมตร<br />

ประกอบด้วยหินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟสีม่วงแดง ขนาด cobble ไปจนถึง boulder เม็ดกรวดส่วนใหญ่เป็น<br />

หินไรโอไลต์ ขนาด boulder เชื่อมประสานกันด้วยตะกอนภูเขาไฟที่มีส่วนประกอบเหมือนหินไรโอไลต์<br />

(รูปที่ 4.9) ความหนารวมของหินกรวดมนทั้งสองส่วนประมาณ 78 เมตร รองรับด้วยหินไรโอไลต์ และ<br />

หินแอนดีไซต์ หนา 18 เมตร (รูปที่ 4.10) ปิดทับหินแอนดีซีติกทัฟฟ์ หนา 38 เมตร วางตัวอยู่บนรอยชั้นไม่<br />

ต่อเนื่องเชิงมุมกับหินทรายแป้ง และหินดินดานสีเทา จนถึงสีด า ของหมวดหินหัวนาค า อายุเพอร์เมียน<br />

บางช่วงมีเม็ดกรวดของหินทรายแป้งขนาด pebble เป็นทรงกลม ความกลมมนดี ฝังอยู่ในหินทรายแป้ง<br />

ประมาณ 10 เปอร์เซ็นต์ (รูปที่ 4.11 และ 4.12)<br />

รูปที่ 4.7 หินกรวดมนหมู่หินซ าแคนที่ปิดทับหมู่หินโพไฮ ประกอบด้วยเม็กกรวดของหินทราย<br />

หินไรโอไลต์และหินแอนดีไซต์ เชื่อมประสานด้วยตะกอนโคลนสีแดง บริเวณ กม. 44+700


- 29 -<br />

รูปที่ 4.8 หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟส่วนบน เม็ดกรวดส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินไรโอไลต์ เชื่อมประสานด้วย<br />

ตะกอนภูเขาไฟส่วนประกอบเหมือนหินแอนดีไซต์ บริเวณ กม. 44 (กม. 400)<br />

รูปที่ 4.9 หินกรวดเหลี่ยมภูเขาไฟส่วนล่าง เม็ดกรวดส่วนใหญ่ประกอบด้วยหินไรโอไลต์ เชื่อมประสานด้วย<br />

ตะกอนภูเขาไฟส่วนประกอบเหมือนหินไรโอไลต์ บริเวณ กม.42+850


- 30 -<br />

รูปที่ 4.10 หินแอนดีไซต์บริเวณ ทางหลวงหมายเลข 12 กม.42+300<br />

รูปที่ 4.11 หินดินดาน และหินทรายแป้งสีเทา จนถึงด า ของหมวดหินหัวนาค า อายุเพอร์เมียน


- 31 -<br />

รูปที่ 4.12 เม็ดกรวดของหินทรายแป้งที่ฝังอยู่ในหินดินดานสีเทา ของหมวดหินหัวนาค า<br />

หมู่หินซ าแคนที่ปิดทับหมวดหินโพไฮในบริเวณนี้ เกิดจากกระบวนการตกสะสมตัวในลักษณะของ<br />

การถล่มและการเลื่อนไถลของชั้นหิน และตะกอนอื่น ๆ เลื่อนไถลลงมาจากภูมิประเทศเดิมที่สูงชันอย่าง<br />

รวดเร็ว จากนั้นจึงมีการพัดพาไปตกสะสมเกิดเป็นหินกรวดมนเป็นชั้นหนากว่า 100 เมตร โดยมีหินต้น<br />

ก าเนิดเป็นหมู่หินโพไฮและหมวดหินหัวนาค าที่รองรับอยู่ (รูปที่ 4.13)<br />

รูปที่ 4.13 แบบจ าลองการตกทับถมของหมู่หินซ าแคนที่ปิดทับหมวดหินโพไฮบริเวณชั้นหินแบบฉบับ<br />

(ดัดแปลงจาก (Stow, 2007)<br />

หมายเหตุ: การนับหลักกิโลเมตรบนทางหลวงหมายเลข 12 ช่วงหล่มสัก-ชุมแพ<br />

ในอดีต ทางหลวงหมายเลข 12 ช่วงหล่มสัก – คอนสาร – ชุมแพ เริ่มจากสี่แยกพ่อขุนผาเมืองใน<br />

อ.หล่มสัก จ.เพชรบูรณ์ โดยกรมทางหลวงได้ก่อสร้างทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 12 ช่วงหล่มสัก – ชุมแพ


- 32 -<br />

เพื่อให้แล้วเสร็จตามโครงการเส้นทางยุทธศาสตร์สายเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตก (East-West<br />

Economic Corridor) โดยได้รับการช่วยเหลือเงินค่าก่อสร้างจากรัฐบาลออสเตรเลีย ทางหลวงในช่วงนี้ผ่าน<br />

อ.หล่มสัก อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์ เข้าสู่ อ.คอนสาร จ.ชัยภูมิ ตั้งแต่ช่วงกิโลเมตรที่ 64-65 และมีทางแยก<br />

เข้าตัวอ าเภอน้ าหนาวที่สามแยกห้วยสนามทราย (กิโลเมตรที่ 72) โดยจะมีบางช่วงตัดผ่าน อ.ภูผาม่าน<br />

จ.ขอนแก่น ด้วย เป็นระยะทางประมาณ 4 กิโลเมตร (กิโลเมตรที่ 77-81) ไปสิ้นสุดที่สามแยกถนนมะลิวัลย์<br />

ต.โนนหัน อ.ชุมแพ จ.ขอนแก่น (กิโลเมตรที่ 102)<br />

ปัจจุบัน ภายหลังจากเดือนตุลาคม พ.ศ.2551 กรมทางหลวงได้มีการปรับเปลี่ยนการนับหลัก<br />

กิโลเมตรของทางหลวงหมายเลข 12 โดยเริ่มต้นจาก อ.แม่สอด จ.ตาก – จ.มุกดาหาร โดยผ่าน อ.แม่สอด –<br />

ตาก – สุโขทัย – อ.วังทอง – อ.เขาค้อ – อ.หล่มสัก – อ.น้ าหนาว – อ.คอนสาร – อ.ชุมแพ – ขอนแก่น –<br />

กาฬสินธุ์ – มุกดาหาร เป็นเส้นทางสายระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก – ตะวันตก (East – West Economic<br />

Corridor: EWEC) หรือมีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งคือ เส้นทางหมายเลข 9 (R9) ซึ่งเป็นโครงข่ายคมนาคมขนส่งที่<br />

ส าคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ สามารถเชื่อมต่อการขนส่งสินค้าและการเดินทางจากพื้นที่ด้าน<br />

ตะวันออก คือ ประเทศเวียดนาม (เมืองท่าดานัง) ผ่าน สปป.ลาว เข้าสู่ประเทศไทยไปสิ้นสุดด้านตะวันตก<br />

ที่สหภาพพม่า (เมืองทวาย) ส่งผลให้การนับหลักกิโลเมตรของทางหลวงหมายเลข 12 ช่วง หล่มสัก –<br />

คอนสาร – ชุมแพ มีการเปลี่ยนแปลงจากในอดีต โดยต้องเพิ่มระยะทางตามระบบหลักกิโลเมตรเดิม<br />

(หล่มสัก-ชุมแพ) เป็นระยะทาง 356 กิโลเมตร จึงจะได้หลักกิโลเมตรในระบบการนับใหม่ที่ใช้ในปัจจุบัน<br />

(แม่สอด-มุกดาหาร)<br />

4.3 หมู่หินซ าแคน<br />

4.3.1 ล าดับชั้นหินโผล่ตามล าห้วยจาน (ล าน้ าสาขาของล าเชิญ) บริเวณต้นน้ าเหนือน้ าตก<br />

พรานบา อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์ พิกัด 47Q 0781616 E 1853164 N จนถึงบริเวณน้ าตกพรานบา<br />

พิกัด 47Q 0782621 E 1852597 N (ระวาง เขื่อนจุฬาภรณ์, 5342 III) (รูปที่ 4.14)<br />

แนวการส ารวจโดยประมาณ<br />

รูปที่ 4.14 แผนที่<br />

ภูมิประเทศแสดง<br />

แนวการส ารวจตาม<br />

ล าห้วยจาน ไปจนถึง<br />

น้ าตกพรานบา


- 33 -<br />

ล าดับชั้นของหินโผล่ ประกอบด้วยล าดับชั้นของหินกรวดมน หินทรายปนกรวด และหินทราย<br />

แทรกสลับกันเป็นวัฎจักร ไม่น้อยกว่า 6 วัฏจักร บางช่วงของล าดับหินโผล่ หินกรวดมนเกิดเป็นเลนส์แทรก<br />

เข้ามาในชั้นทราย เลนส์ของหินกรวดมนมีขนาดตั้งแต่ 0.3x1 เมตร ไปจนถึง 2x5 เมตร ซึ่งหินกรวดมนจะมี<br />

ปริมาณเม็ดกรวดหนาแน่นในส่วนล่างของวัฎจักร และมีปริมาณเม็ดกรวดลดน้อยลงไปทางด้านบนของ<br />

วัฎจักร โดยเปลี่ยนจากหินกรวดมนชนิด clast-supported ไปเป็น metrix-supported และเป็นหินทราย<br />

เนื้อปนกรวดจนเป็นหินทรายทั้งหมดในที่สุด แล้วจึงจะกลับมาเริ่มวัฎจักรใหม่อีกครั้งหนึ่ง โดยวัฎจักรหนึ่ง ๆ<br />

มีความหนาประมาณ 60-80 เมตร ล าดับชั้นของหินโผล่แสดงในรูปที่ 4.15 โดยมีรายละเอียดของหินโผล่ที่<br />

พบตามห้วยจานไปจนถึงบริเวณน้ าตกพรานบา จากล่างขึ้นบน ดังนี้<br />

500<br />

Conglomerate (Clast-supported)<br />

400<br />

Conglomerate (Metrix-supported)<br />

Sandstone<br />

300<br />

Siltstone<br />

200<br />

100<br />

รูปที่ 4.15 แท่งล าดับชั้นหินของหินโผล่ที่พบตามล าห้วยจาน<br />

ไปจนถึงบริเวณน้ าตกพรานบา


- 34 -<br />

1. หินกรวดมนสีเทาเข้ม ผุสีเทาเขียว clast supported การคัดขนาดไม่ดี กึ่งกลมมนจนถึงกลม เม็ด<br />

กรวดร้อยละ 70 มีความเป็นทรงกลมดี เม็ดกรวดส่วนใหญ่ประกอบด้วยเม็ดกรวดของหินทรายสี<br />

เทาเข้ม เนื้อแน่น ผุลีเทาเขียว ขนาดเนื้อเม็ดปานกลาง ขนาด pebble (2-12 เซนติเมตร) ส่วน<br />

น้อยเป็นหินดินดานสีด า หินกรวดมนนี้มีปริมาณเม็ดกรวดหนาแน่นในบริเวณส่วนล่างของชั้นหิน<br />

และน้อยลงขึ้นไปทางด้านบน (fining upward) (รูปที่ 4.16) ความหนาของชั้นหินกรวดประมาณ<br />

30-80 เซนติเมตร จนถึงประมาณ 2 เมตร<br />

2. หินทรายสีเทาเข้ม เนื้อเม็ดปานกลางจนถึงหยาบ กึ่งเหลี่ยม เป็นทรงกลมดี การคัดขนาดดี สาร<br />

เชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต จ าแนกตามเกณฑ์ของ Pettijohn (1975) ได้เป็นหินทราย<br />

ซับอาโคส (subarkose) ชั้นปานกลางจนถึงชั้นหนา ( 30-50 เซนติเมตร) แสดงชั้นแบบ<br />

continuous, even, parallel (รูปที่ 4.17) วางตัวแนวทิศเกือบตะวันออก-ตะวันตก เอียงเทค่อน<br />

ไปทางทิศใต้ (12/165) มีเม็ดกรวดฝังประอยู่ในเนื้อหินบ้าง มีเลนส์ของหินกรวดมนแทรกเป็น<br />

บางช่วง (รูปที่ 4.18) เม็ดกรวดเอียงเทไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ในทิศทาง 36/150 ชั้นหินมี<br />

แนวแยกในแนวทิศตะวันออก-ตะวันตก เอียงเทในทิศ 85/337<br />

3. หินทรายเนื้อละเอียดสีม่วงแดง ชั้นหนามาก (1.2-2 เมตร) สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต<br />

มีเม็ดปูน (caliche) ขนาด 1x1 เซนติเมตรฝังประอยู่ เนื้อหินค่อนข้างเปราะ แสดงการแตกแบบ<br />

กลีบหัวหอม (รูปที่ 4.19) ชั้นหินค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงไปเป็นหินทรายสีเทา<br />

4. หินทรายสีเทาเป็นชั้นหนา เนื้อเม็ดปานกลาง ผุสีเทาเขียว กึ่งเหลี่ยม ความเป็นทรงกลมดี<br />

การคัดขนาดดีมาก สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต ฟู่กรดเล็กน้อย (รูปที่ 4.20 และ 4.21)<br />

รูปที่ 4.16 ปริมาณของเม็ดกรวดในหินกรวดมนค่อย ๆ ลดน้อยลงไปทางด้านบนของล าดับชั้นหิน


- 35 -<br />

รูปที่ 4.17 หินทรายซับอาโคส ชั้นบางจนถึงชั้นหนา<br />

รูปที่ 4.18 เลนส์ของหินกรวดมนที่แทรกอยู่ในชั้นของหินทรายซับอาโคส


- 36 -<br />

รูปที่ 4.19 หินทรายเนื้อละเอียดสีม่วงแดง สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนตมีเม็ดปูนฝังประ<br />

รูปที่ 4.20 หินทรายชั้นหนาสีเทา เนื้อเม็ดปานกลาง ผุสีเทาเขียว


- 37 -<br />

รูปที่ 4.21 หินทรายชั้นหนา บริเวณน้ าตกพรานบาแสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel<br />

4.3.2 รอยตีนสัตว์เลื้อยคลานบริเวณตาดห้วยน้ าใหญ่ ทางตะวันออกของน้ าตกพรานบา<br />

อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์ พิกัด 47Q 0784438 E 1852443 (ระวาง เขื่อนจุฬาภรณ์, 5342 III) (รูปที่<br />

4.22)<br />

รอยตีนสัตว์เลื้อยคลาน<br />

รูปที่ 4.22 ต าแหน่งที่พบรอยตีนสัตว์เลื้อยคลานในหมวดหินห้วยหินลาด


- 38 -<br />

รอยตีนสัตว์เลื้อยคลาน archosaur ประเภท<br />

phytosaurs (สัตว์เลื้อยคลานคล้ายจรเข้) 2 แนว ห่างกัน<br />

ประมาณ 8 เมตร เป็นระยะทางกว่า 100 เมตร บนระนาบลาด<br />

ของชั้นหินทรายหมู่หินซ าแคน (รูปที่ 4.23) โดยรอยตีนดังกล่าว<br />

มีความกว้างระหว่างรอยตีนด้านใน 31 เซนติเมตร และมีความ<br />

กว้างถึงขอบนอกของรอยตีน 62 เซนติเมตร (4 เท่าของขนาด<br />

ความกว้างของรอยตีน) รอยตีนแต่ละรอยหันส่วนโค้งเข้าด้านใน<br />

ไม่พบรอยหางของสัตว์เลื้อยคลานบนชั้นหิน (Le Loeuff et al.,<br />

2009) ภาพพิมพ์ของรอยตีนที่พบแสดงดังรูปที่ 4.24 - 4.26<br />

ชั้นหินทรายของหมู่หินซ าแคนที่รองรับรอยตีนประกอบด้วยหิน<br />

ทรายสีเทาเข้ม ผุสีน้ าตาลเหลือง เนื้อเม็ดปานกลาง การคัดขนาด<br />

ดีมาก สารเชื่อมประสารแคลเซียมคาร์บอเนต ชั้นปานกลางจนถึง<br />

ชั้นหนา แสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel ความ<br />

หนารวมประมาณ 80 เมตร ชั้นหินวางตัวในแนวทิศตะวันตกเฉียง<br />

ใต้-ตะวันออกเฉียงเหนือ เอียงเทไปทางตะวันออกเฉียงใต้<br />

(40/156) พบรอยระแหงโคลนกระจายอยู่ทั่วไปบนชั้นของหิน<br />

ทรายที่ปิดทับรอยตีน (รูปที่ 4.27)<br />

รูปที่ 4.23 ระนาบลาดเอียงของหินทรายหมู่หินซ าแคน<br />

หมวดหินห้วยหินลาดบริเวณที่มีการพบรอยตีนของ<br />

สัตว์เลื้อยคลาน<br />

รูปที่ 4.24 ภาพพิมพ์ของรอยตีน<br />

สัตว์ เ ลื้ อย ค ล า นที่ พบบริเวณตาด<br />

ห้วยน้ าใหญ่ มาตราส่วนในภาพมีขนาด<br />

เท่ากับ 50 ซม. (Le Loeuff et al.,<br />

2009)


- 39 -<br />

รูปที่ 4.25 แนวรอยตีนสัตว์เลื้อยคลานที่พบบริเวณตาดห้วยน้ าใหญ่ทางตะวันออกของน้ าตกพรานบา<br />

รูปที่ 4.26 แนวรอยตีนสัตว์เลื้อยคลานบน<br />

หมู่หินซ าแคน (Le Loeuff et al., 2009)


- 40 -<br />

รูปที่ 4.27 รอยระแหงโคลนที่พบกระจายอยู่ทั่วไปบนชั้นของหินทรายที่ปิดทับชั้นหินทรายที่พบ<br />

รอยตีนสัตว์เลื้อยคลาน<br />

4.3.3 บ่อขุดที่ กม.25+500 ทางหลวง 2216 บ.ทรัพย์สว่าง ต.น้ าหนาว อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์<br />

พิกัด 47Q 0782415 E 1859190 N (ระวางอ าเภอน้ าหนาว, 5342 IV)<br />

ในบ่อขุดบริเวณ บ.ทรัพย์สว่าง ต.น้ าหนาว อ.หล่มเก่า จ.เพชรบูรณ์ พบหินกรวดมน (Polymictic<br />

conglomerate) สีน้ าตาลแดง หมู่หินซ าแคน (รูปที่ 4.28) เม็ดขนาดตั้งแต่ granule ไปจนถึง cobble<br />

รูปร่างเป็นทรงกลมไปจนถึงทรงรี ความกลมมนดี ไปจนถึงกึ่งกลมมน การคัดขนาดดีปานกลาง เม็ดกรวด<br />

ประกอบด้วยเศษหินหลายชนิด เช่น หินไรโอไลต์ หินแอนดีไซต์ หินทราย และหินเชิร์ต สารเชื่อมประสาน<br />

ซิลิกา เม็ดกรวดแสดงการเรียงตัว (Imbrication) เอียงเทไปในทิศทาง 20/012 (รูปที่ 4.29) มีเลนส์ของ<br />

หินทรายเนื้อหยาบจนถึงละเอียด คัดขนาดไม่ดี สีแดงปนน้ าตาล ขนาดความกว้าง 80 เซนติเมตร ยาว 10<br />

เมตร แทรกอยู่เป็นแนว (รูปที่ 4.30) บางช่วงแทรกเป็นชั้นหนา วางตัวเอียงเทไปทางทิศตะวันออก-<br />

เฉียงเหนือในทิศทาง 28/036


- 41 -<br />

รูปที่ 4.28 บ่อขุดที่พบบริเวณ<br />

บ้านทรัพย์สว่าง ทางหลวง<br />

2216 กม.25+500<br />

รูปที่ 4.29 เลนส์ของหินทราย<br />

ที่แทรกอยู่ในหินกรวดมน<br />

รูปที่ 4.30 เม็ดกรวดทรงกลม<br />

ไปจนถึงทรงรี ความกลมมนดี<br />

แสดง Imbrication


- 42 -<br />

4.4 หมู่หินดาดฟ้า<br />

4.4.1 หมู่หินดาดฟ้าบริเวณห้วยกบ บ้านห้วยสนามทราย ต.โคกมน อ.น้ าหนาว เพชรบูรณ์<br />

พิกัด 47Q 0791188E 1847104 N (ระวาง เขื่อนจุฬาภรณ์, 5342 III)<br />

ชั้นหินบริเวณห้วยกบ ซึ่งเป็นล าน้ าสาขาที่ไหลลงสู่ส าเชิญ ตั้งอยู่ทางตะวันตกเฉียงเหนือของบ้าน<br />

ห้วยสนามทราย ต.โคกมน อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์ ประกอบด้วยหินโผล่ของหมู่หินดาดฟ้า ต่อเนื่องไป<br />

จนถึงหมู่หินภูฮี หินในหมู่หินดาดฟ้าบริเวณนี้ประกอบด้วยการแทรกสลับของหินดินดาน หินทรายแป้ง สีด า<br />

สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต หินทรายเนื้อละเอียดจนถึงปานกลาง สีเทา ในตอนล่างของล าดับ<br />

ชั้นหิน (รูปที่ 4.31 และรูปที่ 4.32) และแทรกสลับกับหินปูนเนื้อดิน (argillaceous limestone) สีด า ชั้น<br />

บางจนถึงชั้นหนา ในส่วนบนของล าดับชั้นหิน (รูปที่ 4.33) บางช่วงพบเม็ดกรวดของหินปูนสีด าฝังตัวอยู่ใน<br />

เนื้อหินทราย สะท้อนให้เห็นถึงการพัดพาในแนวราบของตะกอนที่มาสะสมตัว (รูปที่ 4.34) นอกไปจากนี้ยัง<br />

พบซากบรรพชีวิน ostracod อยู่ในหินปูนเนื้อละเอียด และซากบรรพชีวินจ าพวกกุ้งกระดอง (estheria<br />

sp.) ในชั้นหินทรายแป้ง และหินปูนเนื้อละเอียดสีด า บ่งบอกถึงการสะสมตัวในทะเลสาบ ร่วมกับหลักฐาน<br />

การพบแร่ไพไรต์ทั้งในลักษณะเป็นจุดเล็กมากไปจนถึงลักษณะเป็นกระเปาะขนาดเล็กแทรกอยู่ทั่วไปในชั้น<br />

ของหินทรายแป้ง (รูปที่ 4.35) ท าให้สามารถอธิบายได้ว่าหินทรายแป้ง และหินปูนเหล่านี้มีการสะสมตัวใน<br />

แอ่งที่มีขนาดใหญ่นัก บางครั้งมีลักษณะเป็นแอ่งปิด ท าให้ได้ตะกอนที่เกิดจากการสะสมตัว<br />

ในสภาพแวดล้อมแบบทะเลสาบ หรือจากแม่น้ าที่มีหินต้นก าเนิดอยู่เป็นระยะทางไม่ไกล รวมถึงมีการสะสม<br />

ตัวในภาวะแบบไม่มีออกซิเจน (reducing environment) หมู่หินดาดฟ้าที่พบตามห้วยกบมีความหนา<br />

ประมาณ 250 เมตร ก่อนที่จะถูกปิดทับด้วยหินทรายชั้นหนาสลับกับหินทรายแป้งชั้นบางจนถึงปานกลาง<br />

ของหมู่หินภูฮี (รูปที่ 4.36) แท่งล าดับชั้นหินของหมู่หินดาดฟ้าที่พบตามห้วยกบ แสดงดังรูปที่ 4.37<br />

รูปที่ 4.31 ชั้นหินทรายสลับหินทรายแป้งหมู่หินดาดฟ้าที่พบในห้วยกบ


- 43 -<br />

รูปที่ 4.32 ชั้นหินทรายแทรกสลับกับหินทรายแป้งในตอนล่างของหมู่หินดาดฟ้า<br />

รูปที่ 4.33 หินปูนเนื้อละเอียดสีด าปนเทา ชั้นปานกลางถึงชั้นหนาสลับกับหินทรายและ<br />

หินทรายแป้งชั้นปานกลางบริเวณตอนบนของหมวดหินดาดฟ้า


- 44 -<br />

รูปที่ 4.34 เม็ดกรวดหินปูนสีด า<br />

ในหินทรายสีเทาแสดงถึงการพัด<br />

พาของตะกอน<br />

รูปที่ 4.35 กระเปาะแร่ไพไรต์ใน<br />

หินทราย บ่งชี้ถึงการสะสมตัวใน<br />

ภาวะแบบไม่มีออกซิเจน<br />

Phu Hi Member<br />

รูปที่ 4.36 รอยต่อของหมู่หิน<br />

ดาดฟ้า และหมู่หินภูฮี บริเวณ<br />

ห้วยกบ ที่พิกัด 47Q 0791188E<br />

1847104N


- 45 -<br />

รูปที่ 4.37 ล าดับชั้นหินของหมู่หินดาดฟ้าบริเวณห้วยกบ บ้านห้วยสนามทราย ต.โคกมน<br />

อ.น้ าหนาว เพชรบูรณ์ บริเวณ พิกัด 47Q 0791188E 1847104 N


- 46 -<br />

4.4.2 น้ าตกตาดใหญ่ ต.โคกมน อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์ พิกัด 47Q 0796731 E 1850780 N<br />

(ระวางอ าเภอคอนสาร, 5342 II)<br />

หมู่หินดาดฟ้าบริเวณน้ าตกตาดใหญ่ วางตัวอยู่ในแนวประมาณทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ทิศ<br />

ตะวันตกเฉียงใต้ เอียงเทไปทางทิศตะวันออก (11/152) เป็นหินโคลนสีเทาด าถึงเทาเขียว ชั้นบางเด่นชัดเจน<br />

ปรากฏอยู่ตลอดแนวชั้นหินโผล่ บางช่วงเป็นชั้นของแร่แคลไซต์ตกผลึกเป็นชั้นบาง พบแร่ไพไรต์เป็นเลนส์<br />

หนา 0.2-1 เซนติเมตรแทรกอยู่บ้างประปราย รอยแยกและรอยแตก จ านวน 2 แนวตัดกัน อยู่ในประมาณ<br />

ทิศตะวันออกเฉียงเหนือ-ทิศตะวันตกเฉียงใต้ เอียงเทไปทิศทาง 85-88/330-334 และแนวประมาณทิศ<br />

ตะวันตกเฉียงเหนือ-ทิศตะวันออกเฉียงใต้ เอียงเทไปทิศทาง 80-82/055-077 ข้อมูลแผ่นหินบางเนื้อพื้นสี<br />

ด าของพวกแร่ดิน มีแถบของชั้นบางชัดเจน แสดงรอยสัมผัสกันเป็นรูปฟันเลื่อย คาดว่าเกิดจากแรงกดทับ<br />

ภายหลัง (ธีระพล วงษ์ประยูร และ วิโรจน์ แสงศรีจันทร์, 2551) ชั้นบางประกอบด้วยตะกอนขนาด<br />

ทรายแป้งกับผลึกแร่เฟลด์สปาร์ รูปร่างกึ่งเหลี่ยมถึงเหลี่ยม ค่อนข้างเรียงขนาดเล็กขึ้นด้านบน (normal<br />

grading) การคัดขนาดปานกลาง เม็ดแร่ผุตามขอบด้านนอก บางส่วนผุทั้งผลึก ชั้นหินโผล่มีความหนา<br />

ประมาณ 100-150 เมตร (รูปที่ 4.38)<br />

รูปที่ 4.38 หมู่หินดาดฟ้าบริเวณน้ าตกตาดใหญ่ ประกอบด้วยหินโคลนสีเทาด าถึงเทาเขียวแสดงชั้นบาง<br />

บางช่วงเป็นชั้นของแร่แคลไซต์ตกผลึกเป็นชั้นบาง แสดงรอยสัมผัสกันเป็นรูปฟันเลื่อยภายใต้<br />

กล้องจุลทรรศน์ พบแร่ไพไรต์เป็นเลนส์หนา 0.2-1 เซนติเมตร แทรกอยู่บ้างประปราย


- 47 -<br />

4.4.3 จุดส ารวจบริเวณล าห้วยตัดถนน บริเวณสะพานใกล้น้ าตกตาดฟ้า ต.โคกมน อ.น้ าหนาว<br />

จ.เพชรบูรณ์ พิกัด 47Q 0798221 E 1852940 N (ระวาง อ าเภอคอนสาร, 5342 II) (รูปที่ 4.39)<br />

SH35<br />

SH34<br />

รูปที่ 4.39 แผนที่ภูมิประเทศแสดงต าแหน่งที่ตั้งของจุดส ารวจ SH34 และ SH35<br />

หินโผล่ของหินโผล่ของหมู่หินดาดฟ้าบริเวณล าห้วยใกล้กับน้ าตกตาดฟ้า (จุดส ารวจ SH 34, รูปที่<br />

4.39) ประกอบด้วยหินทราย<br />

สีเทาเข้ม ผุสีเขียวเทา เนื้อเม็ด<br />

ปานกลางจนถึงหยาบ กึ่งเหลี่ยม<br />

ความเป็นทรงกลมสูง การ<br />

คัดขนาดดี สารเชื่อมประสาน<br />

แ ค ล เ ซี ย ม ค า ร์ บ อเนต ชั้ น<br />

ปานกลางถึงชั้นหนา (20-40<br />

เซนติเมตร) แสดงชั้นแบบ<br />

continuous, even, parallel<br />

(รูปที่ 4.40) มีเม็ดกรวดขนาดเล็ก<br />

จนถึงขนาดกลาง (granule ถึง<br />

pebble) ขนาดประมาณ 0.2-1.5<br />

เซนติเมตร ฝังประอยู่ เม็ดกรวด<br />

รูปที่ 4.40 หินทรายสีเทาเข้ม ผุสีเขียวเทาชั้นปานกลางถึงชั้นหนา<br />

แสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel


- 48 -<br />

เป็นหินทรายสีเทา กลมมน ความเป็นทรงกลมดี ฝังอยู่ในหินทราย เนื้อหยาบ (metrix-supported) เป็น<br />

หลักฐานของการตกสะสมตัวในสิ่งแวดล้อมแบบที่มีทางน้ ามาเกี่ยวข้อง (รูปที่ 4.41) มีแนวการวางตัวในแนว<br />

ประมาณทิศตะวันออก-ตะวันตก เอียงเทเล็กน้อยไปทางทิศเหนือโดยประมาณ (10/345) ความหนารวม<br />

บริเวณชั้นหินโผล่ประมาณ 1.5 เมตร<br />

รูปที่ 4.41 เม็ดกรวดขนาดเล็กจนถึง<br />

ขนาดกลางที่ฝังตัวอยู่ในชั้นหินทราย<br />

บริเวณใกล้น้ าตกตาดฟ้า<br />

4.4.4 จุดส ารวจ SH35 บริเวณปากทางเข้าน้ าตกตาดฟ้า ต.โคกมน อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์<br />

พิกัด 47Q 0797399 E 1852908 N (ระวาง อ าเภอคอนสาร, 5342 II)<br />

หินโผล่ของหมู่หินดาดฟ้าบริเวณปากทางเข้าน้ าตกตาดฟ้า (จุดส ารวจ SH 35, รูปที่ 4.39)<br />

ประกอบด้วยหินทรายเนื้อละเอียดสีด า การคัดขนาดดีมาก สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต<br />

ชั้นปานกลาง (15-20 เซนติเมตร) แสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel พบชั้นระแหงโคลนบน<br />

ระนาบชั้นหิน (รูปที่ 4.42) เป็นหลักฐานของการตกสะสมตัวในสภาพแวดล้อมบนบก ในภูมิอากาศค่อนช้าง<br />

แห้งแล้ง ชั้นหินวางตัวเอียงเทไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ในทิศทาง 11/332<br />

รูปที่ 4.42 รอยชั้นระแหงโคลนบนระนาบ<br />

ชั้นหินทรายบริเวณปากทางเข้าน้ าตกตาดฟ้า


- 49 -<br />

4.4.5 หินโผล่บริเวณทางหลวงชนบท พช.3012 ปากทางเข้า รร.บ้านห้วยอีจีน (สาขา<br />

บ้านโป่งน้ า) พิกัด 47Q 0749396 E 1877640 N (ระวางบ้านท่าช้าง, 5242 I)<br />

หินโผล่บริเวณทางหลวงชนบท<br />

พช.3012 (แยกจากทางหลวง 2216)<br />

บริเวณปากทางแยกเข้าโรงเรียนบ้าน<br />

ห้วยอีจีน (สาขาห้วยโป่งน้ า) และวัดป่า<br />

ห้วยโป่งน้ า ต.ตาดกลอย อ.หล่มเก่า<br />

จ.เพชรบูรณ์ ล าดับชั้นหินของหินโผล่<br />

ประกอบด้วยหินทรายแป้ง สีสดสีด าถึง<br />

ด าปนเทา ผุสีน้ าตาลปนเหลือถึงเหลือง<br />

ปนเขียว ชั้นบางมาก (2-3 เซนติเมตร)<br />

แสดงชั้นต่อเนื่องแบบ continuous,<br />

even, parallel (รูปที่ 4.43) ชั้นหิน<br />

เอียงเทไปในทิศทาง 35/163 มีรอยแยก<br />

รูปที่ 4.43 หินทรายแป้งชั้นบางมาก แสดงชั้นต่อเนื่องแบบ<br />

continuous, even, parallel<br />

เด่น 2 แนว ได้แก่รอยแยกที่เอียงเทไปในทิศทาง น้ าตกตาดฟ้า 66/336 และ 84/235 พบซากดึกด าบรรพ์<br />

conchostracan ในชั้นหินทรายแป้ง (รูปที่ 4.44)<br />

รูปที่ 4.44 ชั้นซากดึกด าบรรพ์<br />

conchostracan ที่พบในบริเวณชั้น<br />

หินโผล่<br />

น้ าตกตาดฟ้า


- 50 -<br />

4.5 หมู่หินภูฮี<br />

4.5.1 หินโผล่บริเวณห้วยกบ บ.ห้วยสนามทราย ต.โคกมน อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์<br />

พิกัด 47Q 0791105 E 1846995 N (ระวาง อ าเภอคอนสาร, 5342 II)<br />

หมู่หินภูฮีบริเวณห้วยกบ สามารถแบ่งได้เป็น 2 ส่วน ได้แก่ล าดับชั้นหินส่วนล่างและล าดับชั้นหิน<br />

ส่วนบน ล าดับชั้นหินส่วนล่างเป็นลักษณะของหินทรายชั้นหนาถึงหนามาก แทรกสลับด้วยหินทรายแป้งชั้น<br />

บางถึงชั้นปานกลาง ประกอบด้วยหินทรายสีเทาเข้ม ผุสีน้ าตาลปนเหลือง เนื้อเม็ดปานกลาง กึ่งเหลี่ยม<br />

ความเป็นทรงกลมดี การคัดขนาดดี เป็นชั้นหนาถึงหนามาก (1.2-2 เมตร) บางชั้นแสดงชั้นเฉียงระดับแบบ<br />

tabular และ through cross bedding (รูปที่ 4.45 และรูปที่ 4.46) บางส่วนมีแร่ไมก้า และแร่ไพไรท์<br />

ปนอยู่ในเนื้อหินประมาณ 1% แร่ไพไรท์เม็ดขนาด 0.2-1 มิลลิเมตร และมีเม็ดปูนรูปร่าง irregular ขนาด<br />

ประมาณ 1-6 เซนติเมตร แทรกสลับกับหินทรายแป้ง สีน้ าตาลปนเหลือง ชั้นบางถึงหนา ชั้นหินวางตัว<br />

ในแนวทิศตะวันตกเฉียงเหนือ-ตะวันออกเฉียงใต้ เอียงเทไปทางทิศตะวันตกเฉียงใต้ (40/231) ล าดับชั้นหิน<br />

ส่วนบน เป็นล าดับชั้นหินของหินทรายชั้นหนาปานกลาง สลับกับหินทรายแป้งชั้นบางถึงปานกลาง<br />

สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต (รูปที่ 4.47) บางส่วนแทรกสลับด้วยหินปูนเนื้อดิน และหินดินดานสี<br />

ด า ผุสีเขียวปนเหลือง สารเชื่อมประสารแคลเซียมคาร์บอเนต ลักษณะแตกเปราะ ซึ่งชั้นหินบริเวณส่วนบน<br />

ของหมวดหินภูฮีจะมีการวางตัวเอียงเทลาดเอียงน้อยลงเมื่อเข้าใกล้รอยต่อกับหมวดหินน้ าพอง แท่งล าดับ<br />

ชั้นหินของหมู่หินภูฮีบริเวณห้วยกบ และบ้านห้วยสนามทรายแสดงดังรูปที่ 4.48<br />

ขอบเขตล่างสุดของหมวดหินภูฮี อยู่ที่หินทรายแป้งชั้นหนามากที่ปิดทับหินทรายและหินทรายแป้ง<br />

เนื้อปูน สีด า (calcareous silt/sandstone) สารเชื่อมประสานแคลเซียมคาร์บอเนต แสดงชั้นแบบ<br />

continuous, even, parallel ของหมู่หินดาดฟ้า ขอบเขตบนสุดของหมู่หินภูฮีในบริเวณนี้อยู่ที่หินทราย<br />

สีเทา หรือหินทรายแป้งสีน้ าตาลปนเหลือง จนถึงเขียวปนเหลือง ปิดทับด้วยหินทรายปนกรวด และ<br />

หินทรายสีแดงของหมวดหินน้ าพองที่เกิดจากการสะสมตัวในระบบทางน้ าแบบเต็มรูปแบบ ความหนารวม<br />

ของหมู่หินภูฮีบริเวณห้วยกบ และบ้านห้วยสนามทราย ประมาณ 450 เมตร<br />

รูปที่ 4.45 หินทรายสีเทาเข้ม ผุสี<br />

น้ าตาลปนเหลืองของหมวดหินภูฮี<br />

ตอนล่างบริเวณห้วยกบ


- 51 -<br />

รูปที่ 4.46 หินทรายชั้นหนา แสดงชั้นแบบ continuous, even, parallel ส่วนบนของตอนล่าง<br />

ของหมู่หินภูฮี<br />

รูปที่ 4.47 หินทรายสลับหินทรายแป้ง ชั้นปานกลาง ตอนบนของหมู่หินภูฮีบริเวณห้วยกบ


- 52 -<br />

4.6 หมู่หินอีหม้อ<br />

รูปที่ 4.48 แท่งล าดับชั้นหินหมู่หินภูฮีบริเวณห้วยกบ และบ้านห้วยสนามทราย<br />

4.6.1 หินโผล่บริเวณห้วยอีหม้อ บ้านห้วยโป่งน้ า พิกัด 47Q 0754951 E 1874417 N (ระวาง<br />

บ้านท่าช้าง, 5242 I)<br />

หินโผล่บริเวณห้วยอีหม้อ บ้านห้วยโป่งน้ า ด้านตะวันออกของอ าเภอหล่มเก่า สภาพพื้นที่เป็นทาง<br />

น้ ากึ่งน้ าตก จึงท าให้ชั้นหินปรากฎให้เห็นชัดเจนและสะดวกต่อการส ารวจ ล าดับชั้นหินในบริเวณดังกล่าว<br />

ประกอบด้วยชั้นหินทรายสลับหินดินดานที่ถูกแทรกดันด้วยหินอัคนีระดับตื้น (รูปที่ 4.49) โดยชั้นหินทราย<br />

สลับหินดินดานนั้นเป็นส่วนหนึ่งของหมู่หินภูฮี ประกอบด้วย หินทรายเกรย์แวกมีไมกา ชั้นบางถึงชั้นหนา<br />

ปานกลาง แทรกสลับด้วยหินดินดานชั้นบางสีน้ าตาลอ่อน (รูปที่ 4.50 และ 4.51) และพบเศษพืชสะสมตัว<br />

ในชั้นหินทรายจ านวนมาก มีโครงสร้างชั้นตะกอนที่ส าคัญได้แก่ ริ้วรอยคลื่นและชั้นเฉียงระดับขนาดเล็ก ซึ่ง<br />

สามารถพบได้ทั่วไป (รูปที่ 4.52 และ 4.53) ชั้นหินในบริเวณดังกล่าวมีความหนามากกว่า 80 เมตร เอียงเท<br />

ไม่มากนักไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ (20/320) ส่วนหินอัคนีประกอบด้วยหินไดออไรต์ และหิน<br />

แอนดีไซต์ ศิลาวรรณาและผลวิเคราะห์หินอัคนีแทรกซอนระดับตื้นที่พบบริเวณห้วยอีหม้อแสดงดังรูปที่


- 53 -<br />

4.54, 4.55 และตารางที่ 4.1 นอกจากนี้ยังพบว่าในหินอัคนีเดิมถูกหินอัคนีเนื้อละเอียดแทรกเข้ามาอีก<br />

หลายครั้ง (รูปที่ 4.56) ผลการส ารวจบริเวณรอยสัมผัสระหว่างหินทั้งสองชนิดปรากฎไม่ชัดเจนเนื่องจากใน<br />

ขณะที่หินอัคนีดันตัวขึ้นมาในขณะที่ยังร้อนอยู่ จึงท าให้ส่วนที่เป็นรอยสัมผัสกับหมู่หินภูฮีเกิดการ<br />

หลอมละลายและเชื่อมประสานด้วยสารละลายซิลิการ้อนท าให้ไม่สามารถสังเกตเห็นรอยสัมผัสได้ชัดเจน<br />

นอกจากนี้ยังพบชั้นของฟองอากาศที่มีการเรียงตัวเป็นแนวตามแนวการวางตัวของชั้นหินทรายที่ปิดทับ<br />

เป็นหลักฐานที่ท าให้ทราบว่าหินไดออไรต์มีการแทรกดันขึ้นมาภายหลังจากการตกสะสมตัวของหินทราย<br />

และหินทรายแป้งที่ปิดทับอยู่ (รูป 5.57) ลักษณะปรากฎของหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้นและหินอัคนีพุนี้<br />

สามารถเทียบเคียงได้กับ I Mo Member ของ Chonglakmani and Sattayarak (1978) ความหนาของ<br />

หินอัคนีแทรกซอนระดับตื้นประมาณ 130 เมตร<br />

อย่างไรก็ตาม ธรรมชาติของหินอัคนีแทรกซอนนั้นสามารถที่จะเกิดแทรกอยู่ในชั้นหินใด ๆ ได้อย่าง<br />

อิสระ นอกจากนี้ยังพบว่าหินไดออไรต์ และหินอัคนีพุอื่น ๆ มีการแทรกตัดเข้ามาในหมู่หินทรายในพื้นที่<br />

อ าเภอหล่มสัก และอ าเภอน้ าหนาวตลอดจนในพื้นที่ใกล้เคียงอีกหลายแห่ง และด้วยโครงสร้างทางตะกอน<br />

วิทยาที่พบในชั้นหินที่ปิดทับหินอัคนีแทรกซอน เช่น ชั้นรอยริ้วคลื่น และชั้นเฉียงระดับต่าง ๆ รวมทั้ง<br />

ล าดับชั้นหินที่พบมีความเหมือนกับล าดับชั้นหินหมู่หินภูฮีที่พบในบริเวณอื่น ๆ เช่น บริเวณห้วยกบ ใกล้กับ<br />

บ้านห้วยสนามทราย พบหินทรายสีเทา ชั้นปานกลางจนถึงชั้นหนามาก มีชั้นเฉียงระดับ แทรกสลับด้วยหิน<br />

ทรายแป้ง ชั้นบางจนถึงปานกลาง แสดงถึงการสะสมตัวของตะกอนในสภาพแวดล้อมแบบทางน้ า ดังนั้นใน<br />

การศึกษานี้จึงตัดแยกหมู่หินอีหม้อออกจากหมวดหินห้วยหินลาด โดยจัดให้มีอายุอยู่ในช่วงเพอร์โม-<br />

ไทรแอสซิกเช่นเดียวกับหินอัคนีแทรกซอน และหินอัคนีพุอื่น ๆ ที่พบในบริเวณอ าเภอหล่มสัก และอ าเภอ<br />

น้ าหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์<br />

รูปที่ 4.49 หินอัคนีระดับตื้นแทรกดันอยู่ใต้หินทรายหมู่หินภูฮี บริเวณห้วยอีหม้อ


- 54 -<br />

รูปที่ 4.50 ชั้นหินทรายสลับหินทราย<br />

แป้งหมู่หินภูฮีที่ปิดทับหินอัคนีแทรกดัน<br />

ระดับตื้น<br />

รูปที่ 4.51 หินทรายสีน้ าตาลอ่อน<br />

ชั้นบางถึงหนาปานกลาง เนื้อละเอียดถึง<br />

ปานกลาง<br />

รูปที่ 4.52 รอยริ้วคลื่นบนผิวหน้าของ<br />

หินทรายหมวดหินภูฮีที่ปิดทับหมู่หิน<br />

อีหม้อบริเวณบ้านโป่งน้ า


(Na20+K2O)<br />

- 55 -<br />

รูปที่ 4.53 ชั้นเฉียงระดับขนาดเล็ก<br />

ที่พบในชั้นหินทรายบริเวณห้วยอีหม้อ<br />

รูปที่ 4.54 ศิลาวรรณาของหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้นที่พบบริเวณห้วยอีหม้อ ประกอบด้วยแร่แพลกจิโอ-<br />

เคลส แอมฟิโบล ไพรอกซีน คลอไรต์ และแร่ทึบแสง แร่แอมฟิโบลมีการเปลี่ยนเป็นแร่คลอไรต์ จัดเป็น<br />

หินไดออไรต์<br />

ตารางที่ 4.1 (ขวา) ผลวิเคราะห์ปริมาณเปอร์เซ็นต์ธาตุออกไซด์หลัก ของหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้นที่พบ<br />

บริเวณห้วยอีหม้อ<br />

ปริมาณ<br />

16<br />

14<br />

12<br />

10<br />

8<br />

6<br />

4<br />

2<br />

0<br />

ijolite<br />

Gabbro<br />

Gabbro<br />

Nepheline-<br />

Syenite<br />

Syenite<br />

Syeno-Diorite<br />

Diorite<br />

Syenite<br />

Quarz<br />

Diorite<br />

Granite<br />

(%)<br />

SiO 2<br />

TiO 2<br />

49.49<br />

3.56<br />

Al 2 O 3 16.67<br />

FeO 6.05<br />

Fe 2 O 3 4.29<br />

MnO 0.17<br />

MgO 3.85<br />

CaO 7.94<br />

Na 2 O 5.14<br />

K 2 O 2.23<br />

P 2 O 5 0.6<br />

35 40 45 50 55 60 65 70 75<br />

SiO2<br />

รูปที่ 4.55 แผนภาพแสดงชนิดหินที่ได้จากการวิเคราะห์ทางเคมีโดยเครื่อง XRF ของหินอัคนีแทรกซอน<br />

ระดับตื้นที่พบบริเวณห้วยอีหม้อ


- 56 -<br />

รูปที่ 4.56 พนัง (dike) ที่พบในหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้น หมู่หินอีหม้อ<br />

รูปที่ 4.57 ชั้นฟองอากาศที่ถูกปิดทับด้วยหินทรายชั้นหนามากของหมู่หินภูฮี


บทที่ 5<br />

สรุป และอภิปรายผล<br />

หมวดหินห้วยหินลาด เป็นหมวดหินล่างสุดของกลุ่มหินโคราช วางตัวไม่ต่อเนื่องกับหมวดหินน้ าดุก<br />

และชั้นหินปูนยุคเพอร์เมียนตอนกลาง มีรอยสัมผัสแบบค่อย ๆ เปลี่ยนแปลงกับหมวดหินน้ าพองที่วางตัว<br />

ปิดทับอยู่ ล าดับชั้นหินของหมวดหินห้วยหินลาดในการศึกษาครั้งนี้ใช้แนวการจัดแบ่งหมู่หินตามความหมาย<br />

ของ Chonglakmani and Sattayarak (1979) ซึ่งจัดให้หมวดหินห้วยหินลาดประกอบไปด้วย 5 หมู่หิน<br />

ได้แก่ หมู่หินโพไฮ หมู่หินซ าแคน หมู่หินดาดฟ้า หมู่หินภูฮี และหมู่หินอีหม้อ ตามล าดับจากล่างขึ้นบน<br />

มีความหนารวมทั้งสิ้นประมาณ 20-1,300 เมตร<br />

โดยทั่วไป หมวดหินห้วยหินลาด เป็นหมวดหินที่ความหลากหลายทางวิทยาหินแตกต่างกันไปตาม<br />

ลักษณะภูมิประเทศโบราณและสิ่งแวดล้อมการสะสมตะกอน ซึ่งในภาพรวมนั้นยังไม่พบหินโผล่ที่แสดงความ<br />

ต่อเนื่องระหว่างหมู่หินต่าง ๆ พบเพียงรอยสัมผัสของหมู่หินต่าง ๆ เป็นคู่ ๆ เช่น รอยสัมผัสของหมู่หินโพไฮ<br />

และหมู่หินซ าแคนบริเวณทางหลวงหมายเลข 12 (หล่มสัก-ชุมแพ) กม. 45+475 หมู่หินดาดฟ้าและหมู่หิน<br />

ภูฮี บริเวณห้วยกบ บ้านห้วยสนามทราย ต.โคกมน อ.น้ าหนาว จ.เพชรบูรณ์ เป็นต้น ท าให้การล าดับชั้นหิน<br />

บางส่วนจึงต้องอาศัยความสัมพันธ์กับหินข้างเคียงในการก าหนดความสัมพันธ์ระหว่างหมู่หินต่าง ๆ ที่พบ<br />

ซึ่งสามารถแยกออกจากกันตามลักษณะปรากฎทางวิทยาหินและตามลักษณะของสิ่งแวดล้อมที่สะสมตัว<br />

ได้เป็น 5 หมู่หิน ได้แก่หมู่หินโพไฮ ประกอบด้วยชุดลักษณ์ของหินตะกอนภูเขาไฟ และหินอัคนีพุ ความหนา<br />

รวม 116 เมตร หมู่หินซ าแคน ประกอบด้วยหินกรวดมน และหินทราย สะสมตัวจากกระบวนการผุพังตาม<br />

ความลาดเอียงของภูมิประเทศเดิมในลักษณะของตะกอนเศษหินเชิงผา ร่วมกับการพัดพาโดยกระบวนการที่<br />

มีน้ ามาเกี่ยวข้อง ให้หินกรวดมนที่มีลักษณะแปรผันตามหินต้นก าเนิด ความหนารวมประมาณ 500 เมตร<br />

หมู่หินดาดฟ้า ประกอบด้วยหินทรายแป้ง และหินทรายสีด า สารเชื่อมประสารแคลเซียมคาร์บอเนต<br />

แทรกสลับกับหินปูนสีด า จนถึงสีเทาปนด า และหินปูนเนื้อดินสีด า หรือสีเทา บางส่วนอาจพบแร่ไพไรต์เกิด<br />

ร่วมด้วย บ่งชี้ถึงการตกสะสมตัวในสภาพแวดล้อมทะเลสาบแบบไม่มีออกซิเจน ร่วมกับกระบวนการทางน้ า<br />

ที่มีหินต้นก าเนิดอยู่ไม่ไกล ในภูมิอากาศกึ่งแห้งแล้ง มีความหนารวม 250 เมตร หมู่หินภูฮีประกอบด้วยหิน<br />

ทรายสีเทา ชั้นปานกลางจนถึงหนา แทรกสลับกับหินทรายแป้งชั้นบางจนถึงหนา สะสมตัวโดยกระบวนการ<br />

ทางน้ าหนารวม 450 เมตร และ หมู่หินอีหม้อ ประกอบด้วยหินอัคนีแทรกซอนระดับตื้น ได้แก่หินไดออไรต์<br />

และหินอัคนีพุที่มีก าเนิดร่วมกัน แทรกตัวเข้ามาในหมู่หินดาดฟ้า หรือหมู่หินภูฮี ความหนาไม่ต่ ากว่า<br />

130 เมตร<br />

ในการศึกษานี้ ได้จัดให้หินตะกอนที่ปิดทับหมู่หินอีหม้อรวมเข้าไว้ในหมู่หินภูฮี แตกต่างกับการ<br />

จัดแบ่ง ของ Chonglakmani and Sattayarak (1979) เนื่องจากธรรมชาติของหินอัคนีแทรกซอนนั้น<br />

สามารถที่จะเกิดแทรกอยู่ในชั้นหินใด ๆ ได้อย่างอิสระ นอกจากนี้ยังพบว่าหินไดออไรต์ และหินอัคนีพุอื่น ๆ<br />

มีการแทรกตัดเข้ามาในหมู่หินทรายบริเวณอื่น ๆ ในพื้นที่ อ าเภอหล่มสัก และอ าเภอน้ าหนาว ตลอดจน<br />

ในพื้นที่ใกล้เคียงอีกหลายแห่ง และด้วยโครงสร้างทางตะกอนวิทยาที่พบในชั้นหินที่ปิดทับหินอัคนี


58<br />

แทรกซอน เช่น ชั้นรอยริ้วคลื่น และชั้นเฉียงระดับต่าง ๆ รวมทั้งล าดับชั้นหินที่พบมีความเหมือนกับล าดับ<br />

ชั้นหินหมู่หินภูฮีที่พบในบริเวณอื่น ๆ เช่น บริเวณห้วยกบ ใกล้กับบ้านห้วยสนามทราย พบหินทรายสีเทา<br />

ชั้นปานกลางจนถึงชั้นหนามาก มีชั้นเฉียงระดับ แทรกสลับด้วยหินทรายแป้ง ชั้นบางจนถึงปานกลาง<br />

แสดงถึงการสะสมตัวของตะกอนในสภาพแวดล้อมแบบทางน้ า ดังนั้นในการศึกษานี้จึงตัดแยกหมู่หินอีหม้อ<br />

ออกจากหมวดหินห้วยหินลาด ยังผลให้หมวดหินห้วยหินลาด ประกอบด้วย 4 หมู่หิน ได้แก่หมู่หินโพไฮ<br />

หมู่หินซ าแคน หมู่หินดาดฟ้า และหมู่หินภูฮี ตามล าดับจากแก่ไปอ่อน มีความหนารวมของหมวดหิน<br />

ประมาณ 1,300 เมตร


เอกสารอ้างอิง<br />

กรมทรัพยากรธรณี, 2544, พจนานุกรมศัพท์ธรณีวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน: กรมทรัพยากรธรณี 384<br />

หน้า.<br />

กรมทรัพยากรธรณี, 2550, ธรณีวิทยาประเทศไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2 ฉบับปรับปรุง) (Geology of Thailand<br />

(2nd ed.): กรมทรัพยากรธรณี 628 หน้า.<br />

ธีระพล วงษ์ประยูร และ วิโรจน์ แสงศรีจันทร์, 2551, ระวางอ าเภอคอนสาร (5342 II) ระวางเขื่อนจุฬาภรณ์<br />

(5342 III) ระวางอ าเภอเกษตรสมบูรณ์ (5341 I) และระวางบ้านทุ่งลุยลาย (5341 IV), รายงานการส ารวจ<br />

ธรณีวิทยา ส านักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 121 หน้า.<br />

สุรเชษฐ ปุญปัน และ กิตติ ขาววิเศษ, 2551, ธรณีวิทยาระวางระวางบ้านท่าช้าง (5242 I) ระวางบ้านน้ าดุก<br />

เหนือ (5242 II) ระวางอ าเภอภูกระดึง (5342 I) และระวางอ าเภอน้ าหนาว (5242 IV), รายงาน<br />

การส ารวจธรณีวิทยา ส านักธรณีวิทยา กรมทรัพยากรธรณี, 72 หน้า.<br />

ศูนย์ภูมิอากาศ กรมอุตุนิยมวิทยา, สภาวะอากาศของประเทศไทย ในปีพ.ศ. 2554,<br />

http://climate.tmd.go.th/Page40000_Climate_Summary.aspx, เข้าถึงข้อมูล 12 สิงหาคม<br />

2555.<br />

Brown, G. F., Buravas, S., Charaljavanaphet, J., Jalichandra, N., Johnston, W.D., Sresthaputra,<br />

V. and Taylor, G.C., 1951, Geologic reconnaissance of the mineral deposits of<br />

Thailand, USGS Bulletin 984, 183 p, also as Royal Department of Mines Geological<br />

Survey, Memoir 1 (1953).<br />

Buffetaut, E. and Ingavat, R., 1982, Phytosaur remains (Reptilia, Thecodontia) from the<br />

Upper Triassic of Northeastern Thailand, Geobios, v.15, no.1, p.7-17.<br />

Buffetaut, E., Suteethorn, V., Martin, V., Chaimanee, Y. and Tong, H., 1993, Biostratigraphy<br />

of the Mesozoic Khorat Group of Northeastern Thailand: the contribution of<br />

vertebrate palaeontology, in T. Thanasuthipitak, ed., Proceedings of the<br />

International Symposium on Biostratigraphy of Mainland Southeast Asia (BIOSEA),<br />

Department of Geological Sciences, Chiang Mai University, Chiang Mai, v.1, p.51-62.<br />

Bunopas, S., 1971, On the geology and stratigraphy of the Nam Phrom Dam and its vicinity,<br />

Geological Society of Thailand, Newsletters, v.4, p.17-44.<br />

Chonglakmani, C. and Sattayarak, N., 1978, Stratigraphy of the Huai Hin Lat Formation<br />

(Upper Triassic) in NE Thailand, in P. Nutalaya, ed., Proceedings of the Third<br />

Regional Conference on Geology and Mineralogy Resources of Southeast Asia,<br />

Bangkok, p.739-762.<br />

Chonglakmani, C., and Sattayarak, N., 1979, Geological map of Thailand on 1:250,000 scale,<br />

sheet Changwat Phetchabun (NE 47-16): Geological Survey Division, Department of<br />

Mineral Resources.<br />

Chuaviroj, S., 1997, Deformation in Khorat plateau, in P. Dheeradilok, C. Hinthong, P.<br />

Chaodumrong, P. Putthaphiban, W. Tansathien, C. Utha-aroon, N. Sattarak, T.<br />

Nuchanong, and S. Techawan, eds., Proceedings of the International Conference on


- 60 -<br />

Statigraphy and Tectonic Evolution of Southeast Asia and the South Pacific<br />

(Geothai 97), Bangkok, Thailand, August 19-24, v.1, p.321-325.<br />

Department of Mineral Resources, 1987, Geological Map of Thailand, 1:2,500,000,<br />

Geological Survey Division, Rama VI, Bangkok, Thailand.<br />

Gardner, L.S., Howarth, H.F. and Na Chaingmai, P., 1967, Salt resources of Thailand,<br />

Department of Mineral Resources, Report of Investigation no.11, 100 p.<br />

Haile, N.S., 1973, Note on Triassic fossil pollen from the Nam Pha Formation, Chulabhorn<br />

(Nam Phrom) Dam, Thailand, Geological Society of Thailand, Newsletter, v.6, no.1,<br />

p.15-16.<br />

Iwai, J. and Asama, K., 1964, Geology and palaeontology of the Khorat Plateau and the<br />

plant–bearing Permian Formations, Report on the Stratigraphical and<br />

Palaeontological Reconnaissanic in Thailand and Malaysia, 1963–64, Overseas<br />

technical Cooperation Aqency, Tokyo.<br />

Iwai, J., Asama, K., Veeraburus, M. and Hongnusonthi, A., 1966, Stratigraphy of the so–<br />

called Khorat Series and a note on the fossil plant–bearing Paleozoic strata in<br />

Thailand, Geology and Paleontology of the SE Asia, Tokyo University Press, v.2,<br />

p.179–196.<br />

Jalichan, N., and Bunnag, D., 1954, A report on geologic reconnaissance of the mineral<br />

resources of northeastern Thailand: manuscript in Thai with English translation in<br />

tha file of the Geological Survey of Thailand, Dept. of Min. Resources, Bangkok.<br />

Kobayashi, K., 1963, On the Triassic Daonella beds in central Pahang, Malaya, Japanese<br />

Journal of Geology and Geography, v.34, no.3-4, p.101-102, 5 pls.<br />

Kobayashi, T., 1975, Upper Triassic estheriids in Thailand and the conchostracan<br />

development in Asia in the Mesozoic era, Geology and Palaeontology of Southeast<br />

Asia, v.16, p.57 – 90.<br />

Lee, W., 1923, Reconnaissance geological report of the districts of Payap and Maharastra,<br />

Northern Siam: Department of State Railway Resources, Bangkok, 16 p.<br />

Maranate, S., 1982, Paleomagnetism of the Khorat Group in Northeast Thailand, M.Sc.<br />

Thesis, Victoria University of Wellington, New Zealand, 398 p.<br />

Maranate, S. and Vella, P., 1986, Paleomagnetism of the Khorat Group, Mesozoic,<br />

Northeast Thailand, Journal of Southeast Asian Earth Sciences, v.1, p.23 - 31.<br />

Meesook, A., 2000, Cretaceous environments of Northeastern Thailand, in H. Okada and<br />

N.J. Mateer, eds. Cretaceous environment of Asia, Elesevier Science B.V., p.207-223<br />

Meesook A., 2001, Jurassic-Cretaceous Environments of Northeastern Thailand. Bangkok:<br />

Geological survey Division Department of Mineral Resources; 2001.<br />

Racey, A., Goodall, J.G.S., Love, M.A., Polachan, S. and Jones, P.D., 1994, New age data for<br />

the Mesozoic Khorat Group of Northeastern Thailand, in P. Angsuwathana, T.<br />

Wongwanich, W. Tansathien, S. Wongsomsak, and J. Tulyatid, eds., Proceedings of


- 61 -<br />

the International Symposium on Stratigraphic Correlation of Southeast Asia,<br />

Department of Mineral Resources, Bangkok, Thailand, November 15-20, p.245-252.<br />

Sattayarak, N. and Suteethorn, V., 1983, Geological map of Thailand 1:500,000<br />

(Northeastern Sheet), Geological Survey Division, Department of Mineral Resources,<br />

Bangkok, Thailand.<br />

Sattayarak, N., Polachan, S. and Charusirisawad, R., 1991, Cretaceous rock salt in the<br />

northeastern part of Thailand, the Seventh Regional Conference on Geology,<br />

Mineral and Energy Resources of Southeast Asia (GEOSEA VII), Bangkok, November<br />

5-8, Geological Society of Thailand, Abstract Volume, p.36.<br />

Sattayarak, N., Srigulwong, S. and Patarametha, M., 1991, Subsurface stratigraphy of the<br />

non-marine Mesozoic Khorat Group, NE Thailand, the Seventh Regional Conference<br />

on Geology, Mineral and Energy Resources of Southeast Asia (GEOSEA VII), Bangkok,<br />

November 5-8, Geological Society of Thailand, Abstract Volume, p.36.<br />

Stow, D. A. V. (2005). Sedimentary Rocks in the Field. Burlington, MA: Academic Press. ISBN<br />

978-1-874545-69-9.<br />

Thanomsap, S., 1992, Structural development on the Khorat Plateau and western adjacent<br />

area, in C. Piencharoen, ed., Proceedings of National Conference on Geologic<br />

Resources of Thailand: Potential for Future Development, Department of Mineral<br />

Resources, Bangkok, Thailand, November 17-24, p.29-38.<br />

Ward, D.E. and Bunnag, D., 1964, Stratigraphy of the Mesozoic Khorat Group in Northeast<br />

Thailand, Department of Mineral Resources, Bangkok, Report of Investigation, v.6,<br />

95p.


ภาคผนวก<br />

สัญลักษณ์ที่ใช้อธิบายความหมายของแท่งล าดับชั้นหิน


- 63 -

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!