08.06.2013 Views

ธรรมะใกล้ตัว

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

นวนิยายอิงธรรมะ<br />

มาร่วมฟังเกร็ดประวัติทางพุทธ<br />

ไปพร้อมกับกับความสนุกของเรื่อง<br />

ที่เข้มข้นขึ้นใน<br />

รัก พ.ศ. ๑๐๐<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

Free Online Magazine<br />

่ ๐๕๖<br />

๒๗ พ.ย. ๕๑<br />

dharma at hand ฉบับที<br />

ธรรมะสำหรับคนยุคใหม่ ที่อยู่ใกล้แค่เอื้อม<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/<br />

รักแท้มีจริง<br />

พบกับวิธีรักษาความรู้สึก<br />

ในชีวิตรักให้ยั่งยืนได้ในฉบับนี้<br />

แง่คิดจากหนัง<br />

มาพบแง่คิดจากหนังญี่ปุ่น<br />

ที่รับรางวัลมาแล้วอย่างท่วมท้น<br />

ใน<br />

Always – ใจสะอาด<br />

หน้า ๕๘ หน้า ๑๗ หน้า ๔๒


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

๙<br />

รักแท้มีจริง ๑๗<br />

ไดอารี่หมอดู<br />

๓๑<br />

กวีธรรม ๓๔<br />

• อบายภูมิสี่<br />

คำคมชวนคิด ๓๕<br />

สัพเพเหระธรรม ๓๖<br />

• ปีที่<br />

๓ กับความรู้สึกที่ต่างไป<br />

แง่คิดจากหนัง ๔๒<br />

• Always – ใจสะอาด<br />

เรื่องสั้นอิงธรรมะ<br />

๔๙<br />

• เรื่องของกรรมอันซับซ้อน<br />

(๒)<br />

นวนิยายอิงธรรมะ ๕๘<br />

• รัก พ.ศ. ๑๐๐<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

ที่ปรึกษาและผู้จุดประกาย: ศรันย์ ไมตรีเวช<br />

หัวหน้าบรรณาธิการ<br />

จากใจบ.ก.ใกล้ตัว: อลิสา ฉัตรานนท์<br />

ธรรมะจากพระผู้รู้: อนัญญา เรืองมา<br />

เตรียมเสบียงไว้เลี้ยงตัว: อนัญญา เรืองมา<br />

เขียนคนให้เป็นเทวดา: อนัญญา เรืองมา<br />

ไดอารี่หมอดู: จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ<br />

กวีธรรม: ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

คำคมชวนคิด: ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

สัพเพเหระธรรม: ชนินทร์ อารีหนู<br />

ธรรมะจากคนสู้กิเลส: พราวพรรณราย<br />

มัลลิกะมาลย์ ทองเลี่ยมนาค<br />

ของฝากจากหมอ: พริม ทัพวงศ์<br />

แง่คิดจากหนัง: เกสรา เติมสินวาณิช<br />

นิยาย/เรื่องสั้นอิงธรรมะ: สุปราณี วอง<br />

เที่ยววัด: เกสรา เติมสินวาณิช<br />

ธรรมะปฏิบัติ: ชนินทร์ อารีหนู<br />

ธรรมะกับไลฟ์สไตล์: ศดานันท์ จารุพูนผล<br />

กองบรรณาธิการ: กนกเรขา กฤษฎารักษ์<br />

กานต์พัทธ์ รัชพันธ • กิษรา รัตนาภิรัต<br />

จรินทร์ธร ธนชัยหิรัญศิริ • ชนินทร์ อารีหนู<br />

ณัฐชญา บุญมานันท์ • ณัฐธีรา ปนิทานเต<br />

ณัฐพร สกุลอุทัยศักดิ์ • ปรียาภรณ์ เจริญบุตร<br />

ปิยมงคล โชติกเสถียร • พราวพรรณราย<br />

มัลลิกะมาลย์ ทองเลี่ยมนาค<br />

พรหมเนตร สมรักษ์ • พิจิตรา โตวิวิชญ์<br />

พิทา จารุพูนผล • พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

มยุรฉัตร พงษ์ผาตินันท์ • เมธี ตั ้งตรงจิตร<br />

เยาวลักษณ์ เกิดปราโมทย์ • วรางคณา บุตรดี<br />

วิบูรณ์ศักดิ์ ใจภักดี • วิมล ถาวรวิภาส<br />

วิมุตติยา นิวาดังบงกช • ศดานัน จารุพูนผล<br />

ศศิธร ศิวะนันทากรณ์ • ศิราภรณ์ อภิรัฐ<br />

สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ • สาริณี สาณะเสน<br />

สิทธินันท์ ชนะรัตน์ • สุปราณี วอง<br />

อนัญญ์อร ยิ่งชล • อนัญญา เรืองมา<br />

อมรา ตั้งบริบูรณ์รัตน์ • อัจจนา ผลานุวัตร<br />

ฝ่ายรวบรวมบทความ: สิทธินันท์ ชนะรัตน์<br />

ฝ่ายสื่อเสียงอ่านนิตยสาร: อนุสรณ์ ตรีโสภา<br />

ฝ่ายสื่อเว็บไซต์: สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ<br />

ไพลิน ลายสนิทเสรีกุล • กฤษฎ์ อักษรวงศ์<br />

ฝ่ายสื่อ Word: พีรยสถ์ อุบลวัตร<br />

ฝ่ายสื่อ PDF: บุณยศักดิ์ ธีรวงศ์กิจ<br />

เกียรติภูมิ จารุเสน • จรรยาณี วิสุทธิกุลพาณิชย์<br />

โยธิน มรกตอัมพร • วรรณรักษ์ ปัญจชวพร<br />

ฝ่ายระบบ Send mail: สมเจตน์ ศฤงคารรัตนะ<br />

และทีมงานอาสาท่านอื่นๆ อีกจำนวนมาก<br />

ท่านสามารถรับนิตยสารฉบับนี<br />

้ได้<br />

ในรูปแบบ เสียงอ่าน · Word


จากใจบ.ก.ใกล้ตัว<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

สวัสดีค่ะ<br />

ธันวาคมแล้ว... เผลอแผล็บเดียว<br />

เราก็ก้าวย่างเข้ามาสู่เดือน<br />

๑๒ เดือนสุดท้ายของปีกันแล้วนะคะ<br />

และจุดที่กาลเวลาเดินมาบรรจบครบขวบปีครั้งหนึ่ง<br />

ก็มักเป็นจุดที่ทำให้ใครหลายคน<br />

นึกทบทวนถึงภาพเหตุการณ์ต่าง ๆ<br />

ที่ไหลผ่านเข้ามาในชีวิตเมื่อวันวานกันขึ้นมาอีกครั้ง<br />

หันมามองชีวิตตัวเองในช่วงสามร้อยหกสิบกว่าวันที่ผ่านมาจนถึงวันนี้...<br />

มีทั้งเสียงหัวเราะ<br />

รอยยิ้ม<br />

ความสุขใจ ผ่านเหตุการณ์ต่าง ๆ เกี่ยวพันกับบุคคลต่าง<br />

ๆ<br />

ได้ร่วมกิจการงานบุญ ได้เที่ยวกับครอบครัว<br />

ได้คุยสนุกกับเพื่อน<br />

ได้ของชิ้นใหม่<br />

ฯลฯ<br />

ขณะเดียวกัน ก็ยังจำได้ถึงน้ำตา เสียงสะอื้นไห้ ความเศร้า ความเสียใจ ที่ประดังประเด<br />

ผ่านเหตุการณ์ความทุกข์อันเป็นเสมือนมรสุมใหญ่ ที่ไม่ได้ผ่านเข้ามาในชีวิตบ่อยนัก<br />

แต่ไม่ว่าจะเป็นความสุข หรือความทุกข์<br />

เมื่อยืนทบทวนอยู่ตรงจุดอันเป็นปัจจุบันวันนี้<br />

ก็พบว่าทั้งสุขและทุกข์นั้น<br />

ต่างก็เหมือนกันอย่างหนึ่งคือ<br />

มันต่างก็ผ่านเข้ามาชั่วคราว<br />

อยู่ตรงนั้นชั่วคราว<br />

แล้วมันก็จะผ่านไป<br />

ผ่านมา ผ่านไป... ผ่านมา แล้วก็ผ่านไป...<br />

ทุกอย่างล้วนเป็นเหมือนภาพความฝัน<br />

ที่เคยเห็นจริงเห็นจังราวกับมีตัวมีตนให้หยิบจับสัมผัส<br />

และยึดถือเอาไว้ได้นั้น<br />

ครั้นก้มหน้าแบมือลงดูวันนี้<br />

ก็กลับมีแต่ความว่างเปล่า<br />

คว้าอะไรเป็นแก่นสารสาระไว้ไม่ได้จริงสักอย่างเดียว<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

3


4<br />

แต่แม้รู้อย่างนี้แล้ว<br />

เราต่างก็ยังมืดบอด<br />

ยังคงวิ่งไล่คว้าหาความสุข<br />

ดิ้นรนหนีความทุกข์<br />

อยู่กับภาพลวงตาแบบนี้กันอยู่ตลอดชีวิต<br />

ความสุข... มีแต่คนอยากได้ แต่มันก็มักจะสั้นเกินไปเสมอ<br />

ความทุกข์... ไม่มีใครอยากได้ และแม้จะเกิดขึ้นสั้นเพียงใด<br />

ก็มักจะดูยาวนานเกินไปเสมอ<br />

แต่แม้ความทุกข์จะเป็นสิ่งที่ไม่มีใครอยากได้<br />

และไม่เคยมีใครหลีกหนีมันพ้น<br />

แต่โดยส่วนตัว วันนี้ก็รู้สึก<br />

“ขอบคุณความทุกข์” ที่ผ่านเข้ามาในชีวิต<br />

ในอาการดิ้นรนเต็มกำลังของใจ<br />

ในสภาวะที่อึดอัดคับข้องเต็มที่นั้น<br />

ถึงจุดหนึ่ง<br />

ใจมันกลับยอมศิโรราบให้กับกฎของเหตุและผลของธรรมชาติ<br />

ได้เห็นถึงความจริง ว่าเราไม่มีอำนาจบังคับสิ่งใด<br />

ๆ ในโลก แม้แต่ใจของเราเอง<br />

ได้เห็นและเข้าใจตามถึงความจริงอย่างหนึ่งที่ครูบาอาจารย์ท่านเคยสอนว่า<br />

ยิ่งดิ้นรนหาความสุข<br />

ยิ่งไม่มีความสุข<br />

ยิ่งดิ้นรนหาความสุข<br />

ยิ่งได้ความทุกข์<br />

แต่ถ้ารู้ทุกข์ไปด้วยใจเป็นกลาง<br />

จนหมดความดิ้นรน<br />

ความสุขจะเกิดขึ้นเอง<br />

นับเป็นเรื่องแปลกแต่จริงของธรรมชาติ<br />

แบบฝึกหัดที่ยาก<br />

มักจะทำให้เราต้องอดทนและพากเพียรมากขึ้น<br />

แต่เมื่อผ่านบททดสอบนั้นไปได้<br />

ประสบการณ์นั้นก็มักทำให้เราเติบโตขึ้นเสมอนะคะ<br />

เมื่อมองย้อนกลับไปแล้ว<br />

ปีที่ผ่านมา<br />

แม้จะเป็นปีที่ทุกข์ร้าย<br />

ๆ ผ่านมาเยี่ยมเยือน<br />

แต่ก็กลับเหมือนเป็นอีกปีหนึ่งของจุดเปลี่ยน ที่ทำให้รู้จัก “ความสุข” มากขึ้นด้วย : )<br />

แปลกดีนะคะ... ยิ่งเรา “รู้ทุกข์” มากเท่าไหร่ เราก็จะยิ่งเป็นอิสระจากทุกข์มากเท่านั้น<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


อีกไม่นาน สิ้นปีนี้ก็กำลังจะผ่านไปแล้วอีกหนึ่งปี<br />

ใครที่มีเวลา<br />

ก็ลองทบทวนชีวิตตัวเองดูกันสักนิดนะคะ<br />

ว่าเราได้ใช้ ๓๖๖ วันที่ผ่านมา<br />

ได้อย่างคุ้มค่าที่สุดเท่าที่ศักยภาพของมนุษย์คนหนึ่งจะพึงมีแล้วหรือยัง<br />

ความสุขแบบไหน เป็นความสุขแบบภาพลวงตา<br />

ความสุขแบบไหน เป็นความสุขที่แท้จริง<br />

และเรา... กำลังเดินก้าวเท้าเข้าหาและเริงร่ากับความสุขแบบไหนอยู่กันแน่?<br />

ชีวิตหนึ่ง<br />

ๆ ไม่ได้ยาวนานอย่างที่เราคิดหรอกนะคะ<br />

วันนี้<br />

วันพรุ่ง<br />

จะล้มหมอนนอนเสื่อ<br />

หรือลงโลงเมื่อไหร่<br />

ไม่มีใครรู้ได้<br />

ปีหน้าเราจะยังได้ฉลองปีใหม่กับเขาอีกหรือเปล่าก็ยังไม่รู้<br />

ในขณะที่โลกของเราก็วิกฤติและเสื่อมโทรมลงไปทุกวัน<br />

ทุกวัน<br />

ถ้าวันนี้<br />

คุณผู้อ่านเป็นคนหนึ่งที่มีโอกาสได้สดับตรับฟังคำสอน<br />

และรู้จักเส้นทางอันเป็นทางลัดสู่ทางพ้นทุกข์ของพระพุทธเจ้าแล้ว<br />

อย่ามัวเดินเล่นกันอยู่เลยนะคะ<br />

เร่งตักตวงโอกาสในชีวิตนี้<br />

ของการเกิดเป็นมนุษย์ ผู้พบพุทธศาสนา<br />

และศรัทธาในคำสอน<br />

พาตัวเองให้เดินเข้าใกล้ “ความสุขที่แท้จริง”<br />

ที่สุดเท่าที่จะทำได้<br />

ศึกษาหลักให้เข้าใจ เป็นผู้หนักแน่นในเส้นทาง<br />

และอย่าสักแต่ได้ชื่อว่าปฏิบัติธรรม<br />

แต่เอาเข้าจริงแล้วทำเรื่อย<br />

ๆ แบบลอยชาย<br />

ลองเหลือบตาดูเข็มทิศกับหลักกิโลข้างทางไปด้วยเป็นระยะ<br />

ว่าเรายังเดินถูกทางอยู่หรือไม่<br />

และวันนี้เรามาได้ถึงไหนแล้ว<br />

หลวงพ่อปราโมทย์ ปาโมชฺโช<br />

ท่านเคยตั้งคำถามเป็นแนวทางไว้ให้ผู้ฝึกปฏิบัติเจริญภาวนาทั้งหลาย<br />

ได้ใช้ลองตอบตัวเองกันดูเป็นระยะอยู่นะคะว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

5


6<br />

สามเดือนที่แล้ว<br />

กับสามเดือนนี้<br />

เรามีพัฒนาการอะไรบ้าง?<br />

ดีขึ้นตรงไหน<br />

เพราะอะไร - แย่ลงตรงไหน เพราะอะไร<br />

ท่านตั้งคำถามให้เราได้ลองตอบเพื่อตรวจสอบตัวเอง<br />

อาจจะเป็นเพียงพัฒนาการเล็ก ๆ เช่น รักษาศีลได้ดีขึ้น<br />

จิตใจมีกำลังขึ้น<br />

มีความพอใจในการปฏิบัติมากขึ้น<br />

รู้ตัวได้บ่อยขึ้นกว่าเดิมเล็กน้อย<br />

หรือแม้แต่มีความเข้าใจธรรมะมากขึ้น<br />

หรือฝึก ๆ ไป ปฏิบัติไปแล้ว อาจจะรู้สึกว่ากลับแย่ลงก็ได้<br />

ก็ไม่เป็นไร<br />

ขอแค่ให้รู้ตามจริง<br />

และรู้ว่าเพราะอะไร<br />

เท่านั้นเอง<br />

คำสอนของพระพุทธเจ้านั้น<br />

เป็นสิ่งที่พิสูจน์ได้ด้วยตนเองทุกคนนะคะ<br />

หากเราฝึกเจริญภาวนาอย่างใส่ใจ อย่างต่อเนื่อง<br />

และอย่างไม่ทอดธุระเสียแล้ว<br />

เราย่อมเห็นพัฒนาการที่สัมผัสได้ถึงจิตถึงใจ<br />

ด้วยตนเองอย่างแน่นอน<br />

ไม่ว่าปีที่กำลังจะผ่านไปนี้<br />

คุณผู้อ่านจะสุขหรือทุกข์มากกว่ากัน<br />

อย่างน้อยก็ขอให้สุขและทุกข์ที่ผ่านมากับปีที่กำลังจะจากไปนี้<br />

ได้เป็นเครื่องเตือนสติเราอีกครั้งหนึ่งนะคะว่า<br />

ความสุขหายวับไปได้ทุกเมื่อ<br />

ความทุกข์วิ่งปุบปับมาหาเราได้ทุกเมื่อ<br />

และความเสื่อม<br />

กับความตาย ก็รอเราอยู่ข้างหน้าทุกเมื่อเช่นกัน<br />

ขอเพียง “อย่าประมาท” กับวันนี้<br />

และวันพรุ่งนี้<br />

เพราะกิเลสไม่เคยปราณีใคร และวิบากแห่งกรรมก็ยุติธรรมเสมอ<br />

หาที่พี่งที่แท้จริงให้ตัวเองไว้เสียแต่วันนี้เถิดนะคะ<br />

ก่อนที่วันหน้าจะไม่มีแม้แต่เงาของพระพุทธเจ้าให้เราเดินตามอีกต่อไป<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เรื่องน่าสนใจประจำฉบับ<br />

ช่วงเทศกาลงานกฐินที่ผ่านมา<br />

เราอาจคุ้นตากันเป็นอย่างดีกับโรงทานในวัดนะคะ<br />

คุณมนสิการ เป็นอีกคนหนึ่งค่ะ<br />

ที่ตั้งหน้าตั้งตาเปิดซุ้มโรงทานงานกฐินอย่างต่อเนื่อง<br />

คราวนี้เธอเลยได้ส่งเรื่อง<br />

ปีที่<br />

๓ กับความรู้สึกที่ต่างไป<br />

มาเล่าสู่กันฟัง<br />

ในคอลัมน์ “สัพเพเหระธรรม” – ก็เธอเปิดโรงทานมาเป็นปีที่<br />

๓ แล้วนี่คะ<br />

ลองไปฟังกันดูหน่อยไหมคะ ว่าการตั้งโรงทานปีนี้<br />

ต่างไปอย่างไรสำหรับเธอบ้าง<br />

คอลัมน์ “นิยายเรื่องยาวอิงธรรมะ”<br />

ตอนนี้<br />

ยังคงเป็นความสนุกสนานของเรื่อง<br />

รัก พ.ศ. ๑๐๐ โดย คุณวิลาศินี ซึ่งฉบับนี้ลงติดต่อกันถึง<br />

บทที่<br />

๑๘ แล้วค่ะ<br />

เรื่องราวกำลังชวนติดตาม<br />

หลังจากที่มีเหตุการณ์ลอบปลงพระชนม์บนหน้าผา<br />

และเจ้าชายได้พาจันทราวตีที่สลบไสลไปพักรักษาตัวยังที่ประทับ<br />

โดยที่ภาวิณีไม่ทราบและเที่ยวเดินตามหาจันทราวตี<br />

จนมาพบกับศรีรามที่อาสาช่วยเดินตามหาเป็นเพื่อน<br />

สองหนุ่มสาวจึงได้โอกาสสนทนาผูกสัมพันธไมตรีกันระหว่างทาง<br />

และยังได้คุยกันถึงเรื่องราวของเศรษฐีสมัยพุทธกาล<br />

ให้คุณผู้อ่านได้ติดตามกันด้วยค่ะ<br />

ปิดท้ายด้วยหนังญี่ปุ่นที่คว้ารางวัลใหญ่มาถึง<br />

๑๒ รางวัล<br />

จากเวที Japanese Academy Award 2006 ที่<br />

คุณชลนิล นำมาฝาก<br />

ในคอลัมน์ “แง่คิดจากหนัง” กับเรื่อง<br />

Always – ใจสะอาด<br />

ติดตามความใสซื่อของเจ้าหนูจุนโนะสุเกะคนนี้ดูนะคะ<br />

คุณชลนิลว่า มันสะอาดเสียจนสะท้อนความอัปลักษณ์ของผู้ใหญ่ได้ทีเดียวค่ะ<br />

ข่าวสารและกิจกรรมที่น่าสนใจ<br />

<br />

วันพุธที่<br />

๒๔ ธันวาคม ๒๕๕๑ นี้<br />

เวลา ๙.๐๐ น.<br />

คุณดังตฤณ จะไปเป็นวิทยากรบรรยายในหัวข้อเรื่อง<br />

“ทำงานให้เก่งขึ้น<br />

ด้วยคุณภาพจิตที่เพิ่มขึ้น”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

7


8<br />

ที่การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย<br />

(กฟผ.)<br />

ใครสนใจอยากฟังเคล็ดลับจากคุณดังตฤณในหัวข้อนี้<br />

กฟผ. เขาก็เปิดให้ผู้สนใจทั่วไปเข้าฟังได้เช่นกันนะคะ<br />

ที่<br />

ห้อง Conventional Hall ชั้น<br />

๙ อาคารจอดรถ (๒๐ ชั้น)<br />

ดูแผนที่ได้ที่นี่ค่ะ<br />

http://www.egat.co.th/th/index.php?option=com_content&task=view&<br />

id=26&Itemid=37<br />

และแจ้งข่าวกันอีกครั้งสำหรับหนังสือ<br />

ดังตฤณวิสัชนา ฉบับ รู้คุณ<br />

แทนคุณ ที่ไม่มีวางขายที่ไหน<br />

แต่ผู้มีจิตศรัทธาท่านหนึ่งในนาม<br />

คุณ Burning Blood<br />

ได้ลุกขึ้นมาขออนุญาตคุณดังตฤณเพื่อรวบรวมเนื้อหาจัดพิมพ์ขึ้น<br />

โดยคุณดังตฤณได้เขียนคำโปรยปกเอาไว้ให้ว่า<br />

“เลี้ยงดูให้รู้คุณ<br />

แทนคุณด้วยที่พึ่ง”<br />

และยังได้เขียนบทความเรื่องใหม่เรื่อง<br />

“ใส่บาตรครั้งแรก”<br />

ให้เพิ่มเติมด้วย<br />

จะปิดรับยอดสมทบทุนเพื่อจัดพิมพ์<br />

วันจันทร์ที่<br />

๑๕ ธันวาคม นี้แล้วนะคะ<br />

ใครสนใจสามารถติดตามอ่านรายละเอียด<br />

ทั้งเนื้อหา<br />

ข้อมูลการบริจาค และการติดต่อรับหนังสือได้ที่นี่เลยค่ะ<br />

http://larndham.net/index.php?showtopic=33287&st=0<br />

<br />

ขอให้ทุกท่านมีความสุขกับวันหยุดยาว ๆ<br />

และอากาศสบาย ๆ ช่วงปลายปีกันทุกท่านนะคะ : )<br />

แล้วพบกันฉบับหน้าค่ะ สวัสดีค่ะ<br />

กลาง ชล<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


ธรรมะจากพระผู้รู้<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ถาม: ทำ อย่างไร ถึง จะ หยุด คิด ได้ ครับ<br />

ผม ได้ ฟัง ผู้<br />

ปฏิบัติธรรม หลาย ท่าน<br />

ปรารภ กัน ถึง เรื่อง<br />

“ความ คิด กับ การ ปฏิบัติธรรม”<br />

บ้าง ก็ สนใจ ใน จุด ที่<br />

ว่า ทำ อย่างไร จึง จะ ดับ ความ คิด เสีย ได้<br />

เพราะ ความ คิด เป็น สิ่ง<br />

ตรง ข้าม กับ “รู้”<br />

เมื่อ<br />

หมด ความ คิด จะ ได้ เหลือ แต่ “รู้”<br />

บาง ท่าน ถึง กับ ตราหน้า ความ คิด ว่าเป็น ตัว วิปัสสนึก ไม่ ใช่ วิปัสสนา<br />

เมื่อ<br />

อยาก จะ ทำ วิปัสสนา จึง ต้อง ดับ ความ คิด เสีย ให้ ได้<br />

อย่างไรก็ตาม นัก ปฏิบัติ อีก กลุ่ม<br />

หนึ่ง<br />

กลับ กลัว ว่า<br />

ปฏิบัติ แล้ว จะ เหลือ แต่ “รู้”<br />

ไม่ มีค วาม คิด<br />

แล้ว จะ ทำให้ กลาย เป็น คน โง่ เขลา หรือ สมองฝ่อ ใน ภายหลัง<br />

ถ้า สังเกต ให้ ดี จะ เห็น ว่า สิ่ง<br />

ที่<br />

ปรารภ กัน ส่วน มาก นั้น<br />

เป็นความ เข้าใจ เกี่ยว<br />

กับ ความ คิด ที่สุด<br />

โต่ง กัน อยู่<br />

๒ ด้าน<br />

ระหว่าง “กลุ่ม<br />

ที่<br />

ปฏิเสธ ความ คิด” คือ ไม่ อยาก ให้ มีค วาม คิด<br />

กับ “กลุ่ม<br />

ที่<br />

กลัว ว่า จะ หมด ความ คิด”<br />

ผม ขอ ไม่ กล่าว ถึง เรื่อง<br />

ที่<br />

ว่า หมด ความ คิด ไป ชั่ว<br />

ขณะ แล้ว จะ ทำให้ โง่<br />

เพราะ ใน ความ เป็น จริง แล้ว คน เรา แทบ ไม่ เคย หยุด คิด เลย แม้ กระทั่ง<br />

ใน เวลา หลับ<br />

ยิ่ง<br />

คน ที่<br />

พยายาม จะ ไม่ คิด นั้น<br />

ก็ มัก จะ ยิ่ง<br />

คิดมาก ขึ้น<br />

คือ คิด ที่<br />

จะ ไม่ คิด<br />

ประเด็น ที่<br />

จะ ขอก ล่า วใน ที่<br />

นี้<br />

จึง ตี กรอบ ไว้ เพียง ประเด็น เดียว<br />

คือ จะ กล่าว ถึง การ ปฏิเสธ ความ คิด ของ นัก ปฏิบัติ<br />

ที่<br />

นัก ปฏิบัติธรรม จำนวน มาก ปฏิเสธ ความ คิด<br />

ก็ เพราะ เคย ได้ยิน คำ สอน ที่<br />

หลากหลาย เกี่ยว<br />

กับ การ ไม่ คิด<br />

เช่น ใน อรรถกถา พระ ธรรมบท<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

9


10<br />

เล่า ถึง พระรูป หนึ่ง<br />

ที่<br />

ท่าน ปรารภ ว่า<br />

“สังขาร ทั้งหลาย<br />

สงบ เสีย ได้ เป็น สุข”<br />

ก็ เลย คิด ว่า สังขาร รวม ทั้ง<br />

สังขาร ขันธ์ หรือ ความ คิด นึก ปรุง แต่ง<br />

เป็น ตัว ทุกข์ ดับ มัน เสีย ได้ แล้ว จึง จะ พ้น ทุกข์<br />

หลวง พ่อ เทียน แห่ง วัด สนาม ใน ท่าน สอน ว่า “คิด เป็น หนู รู้<br />

เป็น แมว”<br />

ความ คิด พอก ระ ทบ “รู้”<br />

ก็ ดับ วับ ไป เหลือ แต่ “รู้”<br />

นาย แพทย์ ประเวศ วะ สี ท่าน กล่าว ว่า คิด กับ รู้<br />

เป็น สิ่ง<br />

ที่<br />

ตรง ข้าม กัน<br />

เมื่อ<br />

“รู้”<br />

ต่อ เนื่อง<br />

จิต จะ ดำเนิน อยู่<br />

ใน ปัจจุบัน<br />

ใน ขณะ ที่<br />

การ คิด นั้น<br />

มัก จะ เป็น เรื่อง<br />

ของ อดีต และ อนาคต ไม่ เป็น ปัจจุบัน<br />

หลวง ปู่<br />

ดูลย์ อตุโล แห่ง วัด บูรพา ราม สุรินทร์ ท่าน สอน ว่า<br />

“คิด เท่า ไห ร่ก็ไม่ รู้<br />

ต้อง หยุด คิด จึง รู้<br />

แต่ ก็ ต้อง อาศัย คิด”<br />

คำ สอน ใน ฝ่าย เซ็น มี เรื่อง<br />

เกี่ยว<br />

กับ มหา สุญ ญตา<br />

อันเป็น เรื่อง<br />

เหนือ ความ คิด และ คำ พูด<br />

เช่น เมื่อ<br />

ท่าน วิมล เกียรติ จะ แสดง ธรรม สูง สุด<br />

ท่าน แสดง ด้วย การ ไม่ กล่าว คำ พูด ใดๆ เลย<br />

ทำให้ พระ โพธิสัตว์ มัญชุ ศรี กล่าว สรรเสริญ ว่า ท่าน แสดง ธรรม ได้ สุด ยอด ที่สุด<br />

คือ ธรรม ที่<br />

เหนือ ความ คิด และ คำ พูด<br />

อีก ประการ หนึ่ง<br />

เรา มักได้ ยิน คำว่า<br />

“วิปัสสนึก” อัน หมาย ถึง การ ใช้ ความ คิด ไม่ ใช่ วิปัสสนา<br />

ผู้<br />

ปฏิบัติ บาง ท่าน ศึกษา มาก เกินไป จน เกิด สับสน ขึ้น<br />

เอง<br />

ใน เรื่อง<br />

ความ คิด กับ การ ปฏิบัติธรรม<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

ใน เวลา ที่<br />

มี ท่าน หนึ่ง<br />

ท่าน ใด ถาม ผม ว่า<br />

“ทำ อย่างไร จึง จะ ดับ หรือ หยุด ความ คิด ได้”


ผม มัก จะ ถาม กลับ ว่า<br />

“คิด จะ หยุด ความ คิด แล้ว<br />

คิด จะ หยุด ลม หายใจ เข้า ออก ด้วย หรือ เปล่า”<br />

ที่<br />

ถาม เช่น นี้<br />

ไม่ ได้ ถาม ด้วย ความ ยียวน<br />

แต่ ถาม เพื่อ<br />

อรรถ เพื่อ<br />

ธรรม จริงๆ<br />

เพราะตราบ ใด ที่<br />

เรา ยัง มี ชีวิต อยู่<br />

เรา ก็ ต้อง มี ลม หายใจ อยู่<br />

และ ตราบ ใด ที่<br />

เรา ยัง มี ชีวิต อยู่<br />

เรา ก็ ต้อง มีค วาม คิด นึก ปรุง แต่ง อยู่<br />

ความ คิด เป็น สังขาร ขันธ์<br />

พระพุทธเจ้า ท่าน ไม่ ได้ สอน ว่า “ขันธ์” เป็น ทุกข์<br />

เพราะ ขันธ์ เป็น เพียง ขันธ์ เป็น กลุ่ม<br />

เป็นกอง<br />

เป็น ธรรมชาติ ธรรมดา ของ สิ่ง<br />

ที่<br />

ประกอบ กัน เป็น ชีวิต<br />

ตัว มัน เอง ไม่ มีค วาม ทุกข์ ความ สุข ใดๆ หรอก<br />

แต่ เมื่อ<br />

ใด จิต เข้าไป ยึด มั่น<br />

ใน ขันธ์<br />

ขันธ์ อัน ถูก ยึด มั่น<br />

หรือ “อุปาทาน ขันธ์” ต่างหาก ที่<br />

คือ ทุกข์<br />

พระพุทธเจ้า ท่าน สอน ให้ เรา “รู้<br />

ทุกข์” ท่าน ไม่ ได้ สอน ให้ เรา “ละ ทุกข์”<br />

สิ่ง<br />

ที่<br />

ท่าน สอน ให้ ละ คือ สมุทัย หรือ ตัณหา หรือ ความ ทะยานอยาก ของ จิต<br />

แต่ ผู้<br />

ปฏิบัติ จำนวน มาก กลับ “อยาก จะ ละ ขันธ์” เพราะ เห็น ว่า มัน เป็น ทุกข์<br />

การ ที่<br />

เห็น ขันธ์ อันเป็น ธรรมชาติ ธรรมดา เป็น ทุกข์<br />

คือ ความ เห็น ผิด ใน เบื้องต้น<br />

เนื่องจาก<br />

ไม่ ทราบ ว่า<br />

ทุกข์ คือ อะไร และ เกิด จาก อะไร<br />

ส่วน การ ปฏิเสธ ทุกข์ หรือ อยาก ละ ทุกข์ คือ ความ ผิด พลาด ใน ขั้น<br />

ต่อ มา<br />

ถ้า เรา เชื่อ<br />

พระพุทธเจ้า เข้าใจ สิ่ง<br />

ที่<br />

พระองค์ สอน<br />

ก็ จะ รู้<br />

ว่า เรา ไม่ ต้อง คิด ไป ดับ ความ คิด<br />

เหมือน ที่<br />

เรา ไม่ ควร คิด จะ เลิก หายใจ<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

11


12<br />

คราว นี้<br />

มา ถึง ปัญหา ที่<br />

ว่า เรา จะ จัดการ กับ ความ คิด อย่างไร<br />

ผู้<br />

ปฏิบัติ จำนวน มาก แยก ไม่ ออก ระหว่าง ความ คิด กับ ความ ฟุ้งซ่าน<br />

ความ คิด นั้น<br />

อาจ จะ คิด ดี ก็ได้ คิด ชั่ว<br />

ก็ได้<br />

แต่ ความ ฟุ้งซ่าน<br />

เป็น ธรรม ฝ่าย ชั่ว<br />

มัน เป็นความ หย่อน สมรรถภาพ ของ จิต<br />

จิต ถูก ผลัก ดัน ให้ โลด เร่า ไป ตาม กระแส อารมณ์<br />

หาก เรา จะ ปฏิบัติธรรม เรา จะ ต้อง จัดการ ขั้น<br />

เด็ดขาด กับ ความ ฟุ้งซ่าน<br />

เพราะ เป็น ตัว ขัดขวาง ไม่ ให้ จิต มี คุณภาพ พอที่<br />

จะ รู้<br />

สภาพธรรม ที่<br />

กำลัง ปรากฏ ได้<br />

เครื่องมือ<br />

ที่<br />

จะ ใช้ จัดการ กับ ความ ฟุ้งซ่าน<br />

คือ การ ทำ สมถะ<br />

สมถะ เป็น เครื่องมือ<br />

จัด ระเบียบ จิตใจ ไม่ ให้ โลด เร่า เกินไป<br />

คือ แทน ที่<br />

ผู้<br />

ปฏิบัติ จะ ปล่อย ให้ จิต โลด เร่า ไป เรื่อยๆ<br />

ก็ รวม จิต ให้ ลง มา รู้<br />

อารมณ์ อัน เดียว<br />

เมื่อ<br />

จิต สามารถ รู้<br />

อารมณ์ อัน เดียว โดย ต่อ เนื่อง<br />

แล้ว<br />

คราว นี้<br />

จิต ก็ พร้อม ที่<br />

จะ เจริญ วิปัสสนา<br />

คือ รู้<br />

สภาพธรรม ที่<br />

กำลัง ปรากฏ ที ละ อย่าง<br />

ด้วย จิต ที่<br />

เป็นกลาง พ้น จาก ความ ยินดี ยินร้าย ต่อ สิ่ง<br />

ที่<br />

จิต ไป รู้<br />

เข้า<br />

ก็ จะ เห็น ธรรม ทั้งปวง<br />

เกิด ขึ้น<br />

ตั้ง<br />

อยู่<br />

และ ดับ ไป<br />

ความ คิด ก็ เป็น ธรรม อัน หนึ่ง<br />

เป็น กระแสความ ปรุง แต่ง ของ จิต ที่<br />

เกิด ขึ้น<br />

เป็น คราวๆ ไม่ คงที่<br />

มี แล้ว ก็ ดับ ไป<br />

ไม่ มี ใคร เลย ที่<br />

จะ ดับ ความ คิด ได้ เว้นแต่ การ ตก ภวังค์<br />

การ เข้า นิโรธสมาบัติ และ การ เข้า อยู่<br />

ใน ภพ ของ พรหม ลูกฟัก<br />

ตัว ความ คิด เอง ก็ ไม่ ได้ เป็น อุปสรรค ต่อ การ ปฏิบัติธรรม<br />

แต่ การ จัดการ อย่าง ไม่ ถูก ต้อง กับ ความ คิด ต่างหาก<br />

ที่<br />

เป็น อุปสรรค ต่อ การ ปฏิบัติธรรม<br />

เมื่อ<br />

จิต จะ คิด ก็ ควร ปล่อย ให้ มัน คิด ไป<br />

อย่า ไป คิด ที่<br />

จะ ดับ ความ คิด เพราะ จิต จะ ฟุ้งซ่าน<br />

เสีย เปล่าๆ<br />

แม้แต่ มัน จะ คิด ชั่ว<br />

คิด จน เกิด กิเลส ก็ ไม่ ต้อง ไป ห้าม มัน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ให้ ทำ สติ รู้เท่า<br />

ทัน ปฏิกิริยา ของ จิต ที่<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ไป เพราะ กระแสความ คิด นั้น<br />

จิต มี อกุศล เช่น มี ราคะ หรือ มี โทสะ ก็ รู้<br />

จิต มี กุศล เช่น ไม่ มี ราคะ หรือ ไม่ มี โทสะ ก็ รู้<br />

ถ้า จะ เจริญ วิปัสสนา ก็ อย่า ห้าม ความ คิด<br />

ความ คิด จะ ผันแปร อย่างไร ก็ ช่าง มัน<br />

ขอ ให้ มี จิต ที่<br />

ตั้ง<br />

มั่น<br />

ไม่ หลงตา มค วาม คิด หรือ เสีย ความ เป็นกลาง ไป ก็ พอ แล้ว<br />

เพราะ ถ้า จิต ซัด ส่าย เลื่อน<br />

ไหล ไป ตาม ความ คิด และ อารมณ์ ที่มา<br />

กระทบ<br />

อัน นั้น<br />

คือ ความ ฟุ้งซ่าน<br />

เป็น ภาวะ ที่<br />

ไม่ มี ทั้ง<br />

สมถะ และ ไม่ มี ทั้ง<br />

วิปัสสนา<br />

<br />

คราว นี้<br />

ก็ มา ถึง ปัญหา ที่<br />

ว่า สิ่ง<br />

ที่<br />

ผม กล่าว มา นี้<br />

ขัด กับ คำ กล่าว ของ พระ เถระ ทั้ง<br />

ใน ตำรา ฝ่าย เถรวาท<br />

ตำรา ฝ่าย มหายาน และ ผู้<br />

ปฏิบัติ ร่วม สมัย ของ เรา เช่น หลวง พ่อ เทียน หรือ ไม่<br />

ขอ เรียน ว่า ไม่ ได้ ขัดแย้ง กัน เลย<br />

ที่<br />

พระ เถระ ครั้ง<br />

พุทธกาล ท่าน ปรารภ ถึง ความ ดับ สนิท แห่ง สังขาร นั้น<br />

เป็น ภาวะ ที่<br />

เป็น ผล ของ การ ปฏิบัติ<br />

ซึ่ง<br />

จิต ของ ท่าน เข้าถึง ความ ดับ สนิท แห่ง ขันธ์<br />

ส่วน พวก เรา กำลัง อยู่<br />

ระหว่าง การ ปฏิบัติ อันเป็น การ ทำ เหตุ<br />

จะ นำ ธรรม ที่<br />

เป็น เหตุ กับ เป็น ผล มา อธิบาย ปน กัน ไม่ ได้<br />

ธรรม ที่<br />

เหนือ ความ คิด และ คำ พูด ทีเซ็น<br />

่ กล่าว โดย ไม่ มี การก ล่า ว นั้น<br />

ก็ เป็นการ อธิบาย ถึง สิ่ง<br />

ที่<br />

เป็น ผล แล้ว เช่น กัน<br />

ส่วน สิ่ง<br />

ที่<br />

หลวง พ่อ เทียน หลวง ปู่<br />

ดูลย์ และ คุณ หมอ ประเวศ กล่าว นั้น<br />

ท่าน กล่าว เพื่อ<br />

เตือนสติ นัก ปฏิบัติ ให้ รู้จัก<br />

“รู้”<br />

โดย สามารถ แยก “รู้”<br />

กับ “คิด” ออก จาก กัน ได้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

13


14<br />

“รู้”<br />

คือ สภาวะ จิต ที่<br />

มี สัมมาสมาธิ มี สติสัมปชัญญะ บริสุทธิ์<br />

ด้วย อุเบกขา<br />

ซึ่ง<br />

เป็น จิต ที่<br />

สามารถ รู้<br />

สภาพธรรม ที่<br />

กำลัง ปรากฏ ตาม ความ เป็น จริง ได้<br />

หรือ จะ กล่าว ว่า จิต สามารถ ทำ ตน เป็น ผู้<br />

สังเกตการณ์<br />

โดย ปราศจาก ความ ยินดี ยินร้าย ต่อ อารมณ์ ได้<br />

ความ รู้<br />

แท้ ทาง พระ พุทธ ศาสนา นั้น<br />

ต้อง เกิด จาก การ ที่<br />

จิต เป็น ผู้<br />

สังเกตการณ์<br />

จน เข้าใจ ความ จริง ของ สังขารธรรม ทั้งปวง<br />

ว่าเป็น ไตรลักษณ์<br />

และ เข้าใจ อริยสัจ จ์ซึ่ง<br />

ประจักษ์ อยู่<br />

กับ จิต นั่นเอง<br />

ผู้<br />

ที่<br />

ไม่ เข้าใจ การ ปฏิบัติ จะ คิด เอา ง่ายๆ ว่า<br />

จิต ของ ตน เป็นกลาง และ มี ขณิก สมาธิ แล้ว<br />

เพราะ สามารถ ขับ รถ ได้ อ่าน หนังสือ ได้ ก็ สามารถ เจริญ วิปัสสนา ได้<br />

ทั้งที่<br />

ความ จริง ใน ขณะ นั้น<br />

จิต กำลัง หลง อยู่<br />

กับ อารมณ์ ที่<br />

จิต ไป รู้<br />

เข้า<br />

เพียง แต่ ไม่ รู้<br />

ว่า จิต กำลัง หลง อยู่<br />

ท่าน ที่<br />

ปฏิบัติ มา แล้ว อย่าง โชกโชน จึง ย้ำ นักหนา ให้ รู้จัก<br />

“รู้”<br />

แต่ ก็ ไม่ ได้ หมายความ ว่า ท่าน จะ สั่ง<br />

ให้ พวก เรา ต้อง หัด เข้าฌาน ก่อน<br />

เพราะ ทั้ง<br />

หลวง พ่อ เทียน หรือ หลวง ปู่<br />

ดูลย์<br />

ไม่ เคย สอน เรื่อง<br />

การ เข้าฌาน เลย<br />

(ทั้งทีหลวง<br />

่ ปู่<br />

ดูลย์ เป็น พระ ที่<br />

ชำนาญ ใน สมาบัติ ต่างๆ สูง มาก)<br />

มี แต่ สอน ให้ เจริญ สติสัมปชัญญะ ใน ชีวิต จริงๆ ของ เรา นี่แหละ<br />

แต่ ภาวะ ที่<br />

จิต มี สติสัมปชัญญะ จริงๆ หรือ จิต รู้<br />

นั้น<br />

ไม่ เหมือน กัน เลย กับ จิต ที่<br />

กำลัง หลง ไป ตาม ความ คิด<br />

ตัวอย่าง เช่น ผู้<br />

ปฏิบัติ บาง ท่าน เดิน จงกรม อยู่<br />

จิต เคลื่อน<br />

ออก ไป เกาะ อยู่<br />

ที่<br />

เท้า บ้าง<br />

ไหล ไป ใน ความ คิด เรื่อง<br />

การ เคลื่อนไหว<br />

เท้า บ้าง<br />

หรือ บาง ท่าน นั่ง<br />

อยู่<br />

พอ เมื่อย<br />

อยาก จะ เปลี่ยน<br />

อิริยาบถ<br />

ก็ คิด บรรยาย อาการ จิต ตน เอง ว่า “อยาก เปลี่ยน<br />

อิริยาบถ”<br />

แล้ว ตั้ง<br />

คำ ถาม ตน เอง ว่า “ทำไม จึง อยาก เปลี่ยน<br />

อิริยาบถ”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


แล้ว ก็ ตอบ ตน เอง ว่า “เพราะ จำเป็น ต้อง เปลี่ยน<br />

อิริยาบถ”<br />

พอ คิด ตาม สูตร เสร็จ แล้ว จึง ค่อย เปลี่ยน<br />

อิริยาบถ<br />

เหล่า นี้<br />

เป็นการ ปฏิบัติ ที่<br />

ยัง เจือ ด้วย ความ คิด ทั้งสิ้น<br />

เป็นการ สร้าง ภาระ ให้ จิต ต้อง คิด ต้อง ทำ งาน<br />

แทน ที่<br />

จิต จะ เป็น เพียง ผู้<br />

สังเกตการณ์ สภาพธรรม ที่<br />

กำลัง ปรากฏ ขึ้น<br />

เรื่อง<br />

“รู้”<br />

เป็น เรื่อง<br />

ที่<br />

อธิบาย ด้วย ตัวหนังสือ ยาก ที่สุด<br />

แต่ ถ้า สามารถ “รู้”<br />

ได้ แล้ว การ ปฏิบัติ จะ เป็น เรื่อง<br />

ง่าย ไป หมด<br />

เพราะ สามารถ กระทำ ต่อ เนื่อง<br />

ได้ ตลอด เวลา ที่<br />

ยัง ตื่น<br />

อยู่<br />

หลวง ปู่<br />

ดูลย์ ท่าน จึง สอน ว่า “คิด เท่าไร ก็ ไม่ รู้”<br />

เพราะ ถ้า หลง อยู่<br />

ใน โลก ของ ความ คิด<br />

ก็ ไม่ สามารถ รู้<br />

สภาพธรรม ตาม ความ เป็น จริง ได้<br />

ท่าน สอน อีก ว่า “ต้อง หยุด จึง จะ รู้”<br />

ตรง นี้<br />

ท่าน ไม่ ได้ สอน ให้ เรา “คิด ที่<br />

จะ หยุด คิด”<br />

แต่ เมื่อ<br />

เจริญ สติสัมปชัญญะ อย่าง ถูก ต้อง ไป ถึง จุดๆ หนึ่ง<br />

ขันธ์ จะ ดับ ลง ชั่ว<br />

ขณะ<br />

ตรง นั้น<br />

แหละ เมื่อ<br />

ผ่าน แล้ว จิต จึง ย้อน ทวน พิจารณา<br />

ก็ จะ เข้าใจ ธรรม ทั้ง<br />

ฝ่าย ที่<br />

เกิด ดับ และ ฝ่าย ที่<br />

ไม่ เกิด ไม่ ดับ<br />

ที่<br />

สำคัญ หลวง ปู่<br />

ดูลย์ ยัง สอน ประโยค สุดท้าย ที่<br />

เรา ชอบ ลืม กัน ว่า<br />

“แต่ ก็ ต้อง อาศัย คิด”<br />

คือ เรา ต้อง ปล่อย ให้ จิต คิด ไป จิต รู้<br />

ไป<br />

จิต ก็ จะ เห็น ปฏิกิริยา ของ จิต เป็น กุศล บ้าง อกุศล บ้าง เป็นกลาง บ้าง<br />

เกิด ความ ยินดี ยินร้าย ขึ้น<br />

บ้าง<br />

เห็น มาก เข้า ก็ จะ เห็น ความ ไม่ มี สาระ แก่นสาร ของ ธรรม ที่<br />

เกิด ดับ เหล่า นั้น<br />

แล้ว จิต ก็ จะ ปล่อย วาง ธรรม เหล่า นั้น<br />

เข้าถึง ธรรม ที่<br />

เหนือ ความ คิด นึก ปรุง แต่ง<br />

<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

15


16<br />

สรุป แล้ว ผู้<br />

ปฏิบัติ ไม่ ควร รังเกียจ ความ คิด คิด ไป เถอะ ครับ<br />

(แต่ ไม่ ใช่ คิด จน ฟุ้งซ่าน<br />

คือ จิต วิ่ง<br />

หลงตา มค วาม คิด ไป)<br />

และ ที่<br />

สำคัญ ก็ คือ ต้อง รู้จัก<br />

“รู้”<br />

ให้ ดี<br />

เพราะ ถ้า ไม่ มี “รู้”<br />

จิต จะ หลง ไป ตาม ความ คิด ทันที<br />

และ ไม่ สามารถ รู้<br />

สภาพธรรม ที่<br />

กำลัง ปรากฏ ด้วย ความ เป็นกลาง ได้ เลย<br />

วัน ที่<br />

๒๔ สิงหาคม พ.ศ. ๒๕๔๒<br />

http://www.larndham.net/cgi-bin/kratoo.pl/000323.htm<br />

สันตินันท์<br />

(พระ ปราโมทย์ ปา โมชฺโช ใน ปัจจุบัน)<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


รักแท้มีจริง<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ความ สามารถ ใน การ ทำ เรื่อง<br />

ดีๆ ร่วม กัน<br />

คน ที่ ใช่ ไม่ ได้ แปล ว่า ของ ตาย<br />

ถ้า พฤติกรรม ของ คุณ ไม่ ใช่<br />

ก็ เปลี่ยน เขา หรือ เธอ จาก ใช่ เป็น ไม่ ใช่ ได้ เสมอ<br />

บท ที่<br />

๔<br />

รักษา ความ รู้สึก<br />

ความ รัก คือ อารมณ์ คือ ความ รู้สึก<br />

ชนิด หนึ่ง<br />

ถ้า ต้องการ รักษา ความ รัก สิ่ง<br />

ที่<br />

ต้อง<br />

รักษา ก็ คือ ความ รู้สึก<br />

เดิมๆ หรือ อารมณ์ เดิมๆไว้ ให้ ได้ นั่นเอง<br />

การ นั่ง<br />

กอด ยืน กอด กัน ทั้ง<br />

ชาติ ไม่ มี ทาง หล่อเลี้ยง<br />

ความ รู้สึก<br />

ระหว่าง กัน ไว้ การ รักษา<br />

ความ รู้สึก<br />

ต้อง ใช้ ใจ ไม่ ใช่ มือ เท้า ฉะนั้น<br />

ก่อน อื่น<br />

ท่อง ไว้ ให้ แม่น เลย ว่า ความ เอาใจใส่<br />

คือ สัญญาณ ว่า วัน นี้<br />

ยัง มี ใจ ส่วน การ ตายใจ คือ สัญญาณ เริ่ม<br />

ตาย ไป ของ ความ รัก<br />

คน ส่วน ใหญ่ แทบ ร้อยทั้งร้อย<br />

ยัง ไม่ทัน หมั้น<br />

หรือ แต่งงาน ขอ เพียง ไป มา หาสู คุ ่ ้นเคย<br />

กัน ก็ พร้อม จะ เห็น กันและกัน เป็น ของ ตาย หรือ กระทั่ง<br />

เห็น คน รัก เป็น ถัง ขยะ ทิ้ง<br />

อารมณ์<br />

ส่วนตัว<br />

โลก นี้<br />

เต็ม ไป ด้วย สิ่ง<br />

ล่อ ใจ ให้ คิด อยาก ได้ และ พวก เรา ก็ ตั้งหน้าตั้งตา<br />

แต่ จะ เอา มา<br />

ให้ ได้ ทว่า ไม่ มีค วาม ตระหนัก ว่า ยิ่ง<br />

ได้ มา เท่าไร ก็ ยิ่ง<br />

ต้อง พยายาม รักษา ไว้ เท่านั้น<br />

โดย<br />

เฉพาะ ความ รัก ซึ่ง<br />

เปรียบ เหมือน สิ่ง<br />

มี ชีวิต ที่<br />

หิว เก่ง บาดเจ็บ ง่าย และ ตาย ไว<br />

เพียง ชะล่า ใจ ไม่ นาน หัน มา อีก ที คุณ จะ พบ ว่า ใน บ้าน เหลือ แต่ ชาย หญิง คู หนึ ่ ่ง ที เดิน ่<br />

ไป มาส วน กัน ส่วน ความ รัก หนี ออก จาก บ้าน ไป ตั้งแต่<br />

เมื่อ<br />

ไห ร่ก็ไม่ รู้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

17


18<br />

ถ้า รัก แท้ ได้ มา ง่าย คุณ ก็ คง รักษา มัน ไว้ ได้ ง่ายๆ เหมือน ปล่อย เป็ด ไก่ หากิน ตาม ลาน<br />

ดิน เอา เอง ก็ ไม่ ตาย แต่ หาก ประสบการณ์ บอก คุณ ว่า รัก แท้ เป็น สิ่ง<br />

ได้ มา โดย ยาก คุณ ก็<br />

ควร รู้<br />

ว่า ไม่ อาจ ใช้ วิธี ทิ้งขว้าง<br />

ปล่อย ให้ มัน เลี้ยงดู<br />

ตัว เอง แล้ว จะ รอด<br />

สำหรับ บท นี ก็ ้ จะ ครอบ คลุม ตั้งแต่<br />

อาหาร หล่อเลี้ยง<br />

ขั้น<br />

พื้นฐาน<br />

ไป จนถึง น้ำพุ อมฤต<br />

ที่<br />

บันดาล ให้ ความ รัก เป็น อมตะ อยูเหนือ<br />

่ ความ ตาย ของ คู่รัก<br />

ได้<br />

ช่วง เริ่ม ปลื้ม อารมณ์ หวาน คือ พยาน ให้ กับ ความ รัก<br />

แต่ ช่วง เริ่ม ชิน อารมณ์ หวาน จะ เป็น หลักฐาน ให้ กับ ความ ไม่ เที่ยง<br />

อารมณ์ หวาน กับ ความ รู้สึก<br />

นึก รัก มัก มา ด้วย กัน จะ แค่ นึก รัก เดี๋ยวเดียว<br />

จะ หลง รัก<br />

นาน หน่อย หรือ จะ แสน รัก เหมือน ชนะ กาล เวลา ต่าง ก็ ยืนพื้น<br />

อยู บน ่ อารมณ์ อ่อนหวาน<br />

ด้วย กัน ทั้งสิ้น<br />

แต่ อารมณ์ หวาน ที่<br />

น้อย ลง ก็ ไม่ ได้ แปล ว่า คุณ หรือ คน รัก แปร ใจ บาง คน สำคัญ ผิด<br />

คิด ว่า อารมณ์ หวาน ที่<br />

ลด ลง หมาย ถึง ไม่ ได้ รัก กัน แล้ว ความ จริง คือ พวก คุณ ไม่ รู้จัก<br />

ทำให้ อารมณ์ หวาน เติบโต ขึ้น<br />

ตาม วัน เวลา ที่<br />

อยู่<br />

ด้วย กัน ต่างหาก มัน จึง ตกตะกอน<br />

นอนก้น หรือ อยู่<br />

ใน สภาพ มี เหมือน ไม่ มี<br />

สังเกต เถิด อารมณ์ หวาน จะ มา กับ การก ระ ทำ เช่น ใน ช่วง ต้น คน ที่<br />

ใช่ มัก เป็น แรง<br />

บันดาล ใจ ให้ อยาก ทำ อะไร หวานๆบ้าง ต่อ ให้ คุณ เคย เป็น พวก เย็น ชา มา นาน แค่ ไหน ทุก<br />

ครั้ง<br />

ที่<br />

เห็น หน้า คน รัก อย่าง น้อย ก็ ต้อง อยาก เรียก ขาน ชื่อ<br />

ของ เขา หรือ เธอ ด้วย อารมณ์<br />

หวาน บ้าง ซึ่ง<br />

ก็ อาจ ออก แนว ขี้<br />

เล่น กุ๊กกิ๊ก<br />

ขำๆอย่าง เช่น ‘สุด ที่รัก<br />

จ๋า!’<br />

ถึง คำ พูด คล้าย จะ แหย่ ให้ หัวเราะ หรือ แกล้ง ให้ เลี่ยน<br />

เล่น แต่ อารมณ์ หวาน ก็ เกิด ขึ้น<br />

ใน ใจ จริงๆ และ พวก คุณ ก็ จะ สัมผัส ความ จริง นั้น<br />

ได้ ด้วย ใจ<br />

อย่างไรก็ตาม อารมณ์ หวาน ของ คุณ จะ ผูก ติด อยู กับ ่ คน รัก เพียง ใน ระยะ แรก ที ความ ่<br />

ปลื้ม<br />

ยัง ไม่ จาง นาน ไป พอ ความ ปลื้ม<br />

จาง ลง ซึ่ง<br />

อาจ เร็ว กว่า สี บ้าน อารมณ์ หวาน ของ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


คุณ ก็ จะ ไม่ เกิด ขึ้น<br />

อีก ต่อ ไป แม้ จะ รู้ตัว<br />

ว่า ยัง คง ปักใจ อยู่<br />

กับ เขา หรือ เธอ เช่น เดิม ก็ตาม<br />

แล้ว จะ ทำ อย่างไร ให้ อารมณ์ หวาน ยัง คง อยู คู ่ ่ชีวิต รัก ของ พวก คุณ? คำ ตอบ คือ ต้อง<br />

ทำ อะไร หวานๆบ้าง อย่า เอาแต่ มอง หน้า หรือ พูด จา กัน ด้วย ความ เคย ชิน เพราะ<br />

ความ เคย ชิน จะ เหมือน แกงจืด ที เพิ ่ ่ม ปริมาณ ขึ้น<br />

ทุกที กระทั่ง<br />

ความ หวาน ถูก เจือจาง<br />

จน ไม่ เหลือ รส<br />

การ ทำ อะไร บ้าง ที่<br />

ว่า หวานๆ? คำ ตอบ เป็น ที่<br />

รู้อยู่<br />

แต่ คน สมัย นี้<br />

ชอบ แกล้ง ทำเป็น<br />

แหวะ ใส่ อย่าง เช่น การ ให้ ดอกไม้ กัน การ ใช้ คำ พูด คำ จา เป็น ศัพท์ แสง ลิเก เป็น ครั้ง<br />

คราว<br />

ตลอด จน พูด ง่ายๆ แต่ ชัด ถ้อย ชัด คำว่า ‘ผม รัก คุณ ’ หรือ ‘เค้า รัก ตัว เอง นะ ’ แค่ นี ก็ ้ เรียก<br />

หวาน แล้ว ไม่ ใช่ ต้อง สร้าง ฉาก วิ ลิ ศมา หรา เลิศ ลอย เกิน จินตนาการ ใดๆ เลย<br />

ถ้า กระดาก ที่<br />

จะ พูด คำว่า รัก แต่ ร้องเพลง รัก ได้ เก่ง ก็ เอาเลย ร้อง มัน เข้าไป ยิ่ง<br />

ถ้า<br />

มี ฝีมือ แต่ง เพลง เอง ได้ ก็ ยิ่ง<br />

แจ่ม แต่ง ให้ คน รัก แบบ อุทิศ ให้ เขา หรือ เธอ คน เดียว แบบ นี้<br />

เรียก หวาน อย่าง มี เอกลักษณ์ คน รัก จะ ประทับใจ ความ คิด สร้างสรรค์ ที่<br />

คุณ ทำให้ โดย<br />

เฉพาะ เหนือ สิ่ง<br />

อื่น<br />

ใด แม้ วัน หนึ่ง<br />

คุณ หลงๆลืมๆแล้ว คน รัก ของ คุณ ก็ จะ ยัง คง จดจำ ได้<br />

อย่าง แม่นยำ เสมอ ไป คำ โบราณ เขา เรียก ซาบซึ้ง<br />

ตรึงตรา ซึ่ง<br />

สมัย นี้<br />

หา ยาก แล้ว<br />

วัน เกิด ก็ เป็น วัน รักษา อารมณ์ หวาน ประจำ ปี ด้วย นะ ครับ เป็น วัน ที ห้าม ่ ลืม เด็ดขาด<br />

สั่ง<br />

ให้ มือ ถือ เตือน แบบ ประจำ ทุก ปี ไว้ เลย เพราะ นั่น<br />

เป็น วัน แห่ง ตัว ตน ถ้า จำ วัน เกิด ไม่<br />

ได้ คน รัก ก็ อาจ เข้าใจ ว่า คุณ จำ ตัว ตน ของ เขา ไม่ ได้ เช่น กัน<br />

ถ้า เคย สร้าง บรรยากาศ น่า ประทับใจ ใน วัน เกิด ไว้ แค่ ไหน ก็ ให้ รักษา ระดับ ความ<br />

พิเศษ นั้น<br />

ไว้ ให้ ดี มิ ฉะนั้น<br />

คน รัก จะ รู้สึก<br />

ว่า คุณ ให้ ความ สำคัญ กับ เขา น้อย ลง ทาง ที่<br />

ดี<br />

ทำให้ เป็นกลางๆตั้งแต่<br />

แรก ของขวัญ ซื้อ<br />

แบบ ที มีค ่ วาม หมาย ราคา ไม่ ถูก จน น่า ยี้<br />

แล้ว<br />

ก็ ไม่ แพง จน คุณ ต้อง หนักใจ ทุก ปี และ อย่า สร้างสรรค์ บรรยากาศ เสีย จน ลวง ให้ คน รัก<br />

รู้สึก<br />

ว่า ตัว เอง เป็น เจ้า หญิง หรือ เจ้า ชาย เสร็จ แล้ว ใน ปี หลังๆโดน ลด บรรดาศักดิ์<br />

ค่อยๆ<br />

เลื่อน<br />

ลง มา เป็น สามัญ ชน แล้ว อาจ ตก ฮวบ ลง มา คล้าย ไพร่ เพราะ ท่า นั้น<br />

ไม่ มี ใคร ทน<br />

ไหว หรอก ครับ<br />

หาก มี เงิน พอ การ ไป เที่ยว<br />

ทาง ไกล ด้วย กัน เอา แบบ สถาน ที่<br />

ที่<br />

น่า ประทับใจ มากๆ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

19


20<br />

ก็ นับ เป็นการ สร้าง อารมณ์ หวาน ไม่ รู ลืม ้ ฝรั่ง<br />

เขา ถึง เรียก การ เที่ยว<br />

ทาง ไกล ด้วย กัน ว่า ไป<br />

‘ดื่ม<br />

น้ำผึ้ง<br />

พระ จันทร์ ’ หรือ ฮันนีมูน ไงครับ<br />

แต่ การ เดินทาง ที่<br />

ดี ที่สุด<br />

หวาน ที่สุด<br />

ชนิด เงิน อย่าง เดียว ซื้อ<br />

ไม่ ได้ คือ การ เดินทาง<br />

ไป ทำบุญ! คุณ ไม่ จำเป็น ต้อง มี เงิน มาก นัก ขอ แค่ รู้จัก<br />

วัด ดี ขอ แค่ รู้จัก<br />

เลือก ของดี ไม่ กี่<br />

ชิ้น<br />

ไป ถวาย พระ แค่ นั้น<br />

ก็ พอๆกัน หรือ เลิศ กว่า ไป ฮันนีมูน แล้ว<br />

ลอง ถวาย สังฆทาน ด้วย ความ มี ใจ เลื่อมใส<br />

ศรัทธา ร่วม กัน เอา ให้ ได้ ๔ วัด ภายใน<br />

วัน เดียว ระวัง อย่า ให้ เกิด การ ทะเลาะเบาะแว้ง ใน วัน นั้น<br />

แล้ว ดู ว่า อะไร จะ เกิด ขึ้น<br />

กับ<br />

ความ รู้สึก<br />

ของ คุณ ความ สบาย ใจ อย่าง ประหลาด หรือ ความ สุข อัน โอฬาร หรือ ปีติ<br />

เย็น ซ่าน ไป ทุก ทิศ หรือ โสมนัส จน ต้อง ฉีก ยิ้ม<br />

ค้าง ไว้ อย่าง นั้น<br />

แล้ว ลอง ถาม คน รัก ด้วยว่า รู้สึก<br />

อย่าง เดียวกัน ไหม<br />

ปีติ สุข ที่<br />

เกิด ขึ้น<br />

ไม่ สามารถ อธิบาย ด้วย เหตุผล ทาง วัตถุ เพราะ ข้าวของ ที่<br />

ถวาย สงฆ์<br />

เป็น เพียง รูปธรรม แต่ ความ รู้สึก<br />

ของ พวก คุณ เป็น นามธรรม คุณ รู แต่ว่า ้ มัน เวิร์ก รู แต่ว่า ้<br />

นี่แหละ<br />

เขา เรียก ‘บุญ ’<br />

แล้ว ใน ที่สุด<br />

ก็ได้ ข้อ สรุป แบบ รู้อยู่<br />

เต็มอก ว่า บุญ ร่วม กัน นั่นแหละ<br />

ตัว เสก อารมณ์<br />

หวาน<br />

ชีวิต แต่งงาน มัก นำ มา ซึ่ง<br />

รส ขม หลาย รูป แบบ คุณ ต้องสู กับ ้ กองทัพ รส ขม ด้วย สายน้ำ<br />

แห่ง อารมณ์ หวาน พยายาม ให้ มัน ไหล ริน ไม่ หยุด ทุก วัน แล้ว จะ อัศจรรย์ ใจ ว่า อารมณ์<br />

หวาน กับ โลก ที่<br />

สว่าง สวย ยัง คง อยู่<br />

กับ พวก คุณ ไม่ ว่า จะ กี่<br />

เดือน กี่<br />

ปี ผ่าน ไป ก็ตาม<br />

สรุป คือ ทาง เดียว ที่<br />

จะ รักษา น้ำ หวาน ที่<br />

ลด ระดับ ลง คือ ต้อง เติม ของ ใหม่ เพิ่ม<br />

ลง ไป<br />

ทุก วัน นะ ครับ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

เสียง หัวเราะ เป็นได้ ทั้ง วิตามิน<br />

และ ยา สมา นแผล


วิตามิน คือ สาร สำคัญ ที่<br />

ร่างกาย ของ คุณ ต้อง ได้ รับ มิ ฉะนั้น<br />

ก็ อาจ เจ็บป่วย ฉันใด ก็<br />

ฉันนั้น<br />

รอย ยิ้ม<br />

และ เสียง หัวเราะ คือ วิตามิน ที่รัก<br />

แท้ ต้อง ได้ รับ มิ ฉะนั้น<br />

อาจ ทรุดโทรม<br />

ลง อย่าง รวดเร็ว<br />

คน เรา ใช้ ชีวิต ระมัดระวัง อย่างไร ก็ ต้อง เจอ ดี ได้ แผล บน เนื้อตัว<br />

เข้า สัก วัน ซึ่ง<br />

หมอ ก็<br />

ปรุง ยา รักษา หรือ สมา นแผล ไว้ หลาย ขนาน แม้แต่ น้ำผึ้ง<br />

หวานๆก็ มี สรรพคุณ สมา นแผล<br />

ได้ ดี เนื่องจาก<br />

ความ เข้มข้น ของ น้ำผึ้ง<br />

จะ ทำให้ เชื้อโรค<br />

ฝ่อ ตาย และ นั่น<br />

ก็ เช่น กัน รอย<br />

ยิ้ม<br />

กับ เสียง หัวเราะ เปรียบ เสมือน น้ำผึ้ง<br />

ที่<br />

สมา นแผล ให้ รัก แท้ ได้ เมื่อ<br />

เกิด อุบัติเหตุ<br />

ทาง อารมณ์ จน ได้ แผล ทาง ใจ ระหว่าง คุณ กับ คน รัก<br />

วิตามิน เป็น สิ่ง<br />

ที่<br />

ควร กิน ตุน ไว้ ทุก วัน ส่วน ยา สมา นแผล ก็ ควร มี ประจำ บ้าน ไว้ ก่อน<br />

เกิด แผล ไม่ ใช่ เกิด แผล แล้ว ค่อย วิ่ง<br />

หา ซื้อ<br />

มัน อาจ ช้า ไป หน่อย<br />

ถ้า คุณ เลือก ได้ คน ที่<br />

ใช่ ตาม แนวทาง ใน บท ก่อน แนวโน้ม คือ คุณ กับ คน รัก จะ พูด จา<br />

กัน ด้วย ความ เข้า อก เข้าใจ อยู่<br />

ร่วม กัน ด้วย รอย ยิ้ม<br />

และ เสียง หัวเราะ ทั้งนี้<br />

เพราะ ความ<br />

รัก ทำให้ ใจ เปิด และ สมอง เบา ดังนั้น<br />

อะไร ที เกิด ่ ขึ้น<br />

กับ ความ รัก จึง มัก เป็น เรื่อง<br />

เบาสมอง<br />

ได้ หมด<br />

แต่ คน เรา มัก หัวร่อ ต่อ กระซิก กัน แค่ ใน ช่วง ต้น พอ เข้า มา อยู่<br />

บ้าน เดียวกัน ก็ ชัก ลืมๆ<br />

คล้าย ต่าง คน ต่าง ต้อง แอบ ไป หัวเราะ กับ เพื่อน<br />

นั่น<br />

ถือ เป็นความ ผิด อย่าง ใหญ่ หลวง ร่วม<br />

กัน ต้อง มี สัก คน พา เสียง หัวเราะ กลับ มานะ ครับ<br />

หาก รู้ตัว<br />

ว่า คุณ เป็น เสือ ยิ้ม<br />

ยาก หรือ สิงห์ เส้นลึก ที่<br />

หัวเราะ ไม่ค่อย เป็น อัน นี้<br />

น่า<br />

ปรับปรุง ผม ไม่ ได้ จะ ให้ พวก คุณ แกล้ง ขำ โดย ไม่ มี เหตุผล เหมือน คน บ้า แต่ อยาก ให้ ใช้<br />

ความเครียด หรือ ความ ขี้<br />

โมโห ของ คุณ นั่นแหละ<br />

เป็น สนาม ฝึก ปล่อย อารมณ์ขัน<br />

วิธี นั้น<br />

ไม่ ยาก แต่ ต้อง จำ ขั้น<br />

ตอน ให้ แม่น และ ตั้ง<br />

สติ ให้ ทัน เท่านั้น<br />

ตอน คุณ กำลัง ตึงเครียด หรือ เผชิญ ปัญหา กับ คน รัก ด้วย ความ รู้สึก<br />

อึดอัด ใจ คุณ จะ<br />

หนัก อึ้ง<br />

ความ คิด วนเวียน อยู่<br />

แต่ว่า นี่<br />

เป็น เรื่อง<br />

แย่ คุณ จำเป็น ต้อง รู้สึก<br />

แย่ๆ และ แบก<br />

ความ อึ้ง<br />

หนัก นั้น<br />

เอา ไว้ มิ ฉะนั้น<br />

จะ เหมือน ไม่ ให้ ความ สำคัญ กับ ปัญหา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

21


22<br />

แต่ ถ้า พลิก มุม มอง ใหม่ แค่ นิดเดียว ถาม ตัว เอง ว่า ‘ทำไม ต้อง ให้ ความ สำคัญ กับ<br />

ปัญหา มาก กว่า ใจ ด้วย ล่ะ?’<br />

เมื่อ<br />

เห็น ค่า ของ ใจ เมื่อ<br />

เห็นแก่ จิต มาก กว่า เรื่อง<br />

นอก ตัว คุณ จะ ฉลาด ขึ้น<br />

ทันที อย่าง<br />

น้อย ก็ เลิก สำคัญ ผิด คิด ว่า มี ปัญหา ต้อง ทำใจ หนักๆจึง จะ สมควร<br />

ใจ หนักๆตันๆน่ะ คิด ไม่ค่อย ออก นะ ครับ ไม่ ใช่ คิด ได้ แคล่วคล่อง ว่องไว ท่อง ไว้ เป็น<br />

คาถา ประจำ ตัว ก็ได้ ยิ่ง<br />

หนักอก เท่าไร ยิ่ง<br />

โง่ หนัก ขึ้น<br />

เท่านั้น<br />

ขอ ให้ อก ใส ใจเบา ขึ้น<br />

หน่อย เถอะ ถอย ออก มา จาก ตรง นั้น<br />

แล้ว คุณ จะ เห็น เลย<br />

ว่าความ หนักอก ทำให้ คิด ช้า ลง ตัดสินใจ ผิด พลาด ง่าย ขึ้น<br />

หลังจาก พลิก มุม มอง ได้ จริงๆ แล้ว ต่อ ไป พอ เกิด เรื่อง<br />

กดดัน ให้ เครียด หรือ ส่อ เค้า<br />

ว่า จะ มี ปาก เสียง กัน คุณ จะ ไม่ ส่ง สายตา จ้อง หน้า คน รัก อย่าง เดียว แต่ จะ เฉลียว นึก ขึ้น<br />

ได้ ว่า เอา แล้ว หนักอก แล้ว และ กำลัง จะ พูด อะไร โง่ๆแล้ว<br />

ทันที ที่<br />

รู้สึก<br />

ตัว จิต จะ เริ่ม<br />

ฉลาด ขึ้น<br />

ทันที และ คลาย อาการ ยึด มั่น<br />

ถือ มั่น<br />

ออก ได้ เอง<br />

ดุจ เดียว กับ การ ปลด ตะขอ ปล่อย ถุง ขยะ ทิ้ง<br />

พื้น<br />

การ ปลด ตะขอ แห่ง ความ ยึด มั่น<br />

ออก จะ ทำให้ ใจ คุณ โล่ง และ เข้า สู่<br />

ภาวะ รับ ความ<br />

จริง ได้ พร้อม จะ แก้ ปัญหา ได้ ตลอด จน พร้อม จะ พูด อะไร ฉลาดๆออก ไป อย่าง ทัน การณ์<br />

ที เด็ด ่ คือ ความ เบาสมอง จะ ช่วย ให้ คุณ คิด มุข ตลก ออก ไม่ เอาแต่ ทำ หน้า เครียด ตีบตัน<br />

อั้นตู้<br />

ยก ตัวอย่าง นะ ครับ ตอน สมอง ข้น หนัก คุณ อาจ อยาก ร้อง อุทาน ว่า ‘เฮ้ย! ทำไม<br />

เป็น อย่าง นี้<br />

วะ?’ แต่ ถ้า คุณ มี อารมณ์ขัน เป็น ฐาน แข็งแรง พอ ใจ จะ คลาย ได้ ใน พริบ ตา<br />

และ เปลี่ยน<br />

เป็น ‘โอ๊! ทำไม เป็น อย่าง นี้<br />

ได้ ล่ะ จ๊ะ … สุด ที่รัก?’<br />

ทั้ง<br />

สีหน้า สี ตา ท่าทาง ตลอด จน น้ำเสียง ของ คุณ รวม กัน อาจ บ่ง ได้ ว่า คุณ ยัง โมโห<br />

อยู่<br />

นั่นแหละ<br />

คำว่า ‘สุด ที่รัก<br />

’ อาจ ถูก เค้น ออก มา ด้วย น้ำเสียง ขื่น<br />

หรือ ขึ้งเคียด<br />

แต่ ไม่<br />

ใช่ แบบ ขาด สติ แล้ว ก็ ไม่ มีค วาม คิด ประทุษร้าย คน รัก เจือ อยู ด้วย ่ เลย ยิ่ง<br />

ไป กว่า นั้น<br />

ตัว<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ถ้อยคำ ที เกินๆ ่ ยัง แฝง แวว ตลก ดู ออก ว่า อีก ไม่ กี พริบ ่ ตา คุณ ก็ หัวเราะ ได้ และ นั่น<br />

ก็ อาจ<br />

ทำให้ คน รัก ของ คุณ ชิง หัวเราะ ตัดหน้า เสีย ก่อน<br />

ถ้า ตั้งต้น<br />

อยู ด้วย ่ กัน เป็น อย่าง นี้<br />

ยิ่ง<br />

เกิด เรื่อง<br />

น่า โมโห บ่อย ขึ้น<br />

เท่าไร ระหว่าง คุณ กับ<br />

คน รัก ก็ จะ ยิ่ง<br />

อบอวล ด้วย บรรยากาศ ขำ ขัน มาก ขึ้น<br />

เท่านั้น<br />

และ เช่น กัน หาก เกิด เรื่อง<br />

ร้ายแรง ให้ ต้อง ทะเลาะเบาะแว้ง หนักๆ ชนิด ที ตอน ่ แรก ยัง<br />

จุก อก หัวเราะ ไม่ ออก หรือ กระทั่ง<br />

รู้สึก<br />

เหมือน เกิด รอยร้าว ขึ้น<br />

ใน หัวใจ ต้อง เมินๆหรือ<br />

เหินห่าง กัน สัก พัก ถึง จุด หนึ่ง<br />

เมื่อ<br />

พอที่<br />

จะ หัน หน้า เข้าหา กัน เสียง หัวเราะ และ รอย ยิ้ม<br />

จะ มา มี บทบาท สำคัญ ใน การ ช่วย ประสาน สัมพันธ์ ได้<br />

อย่า ไป เชื่อ<br />

ใคร นะ ครับ ว่าความ รัก เหมือน แก้ว เปราะ บาง ร้าว แล้ว ไม่ อาจ ประสาน<br />

เพราะ ความ จริง ก็ คือ คุณ อาศัย เสียง หัวเราะ และ อารมณ์ขัน ประสาน รอยร้าว ได้ สนิท ดัง<br />

เดิม หรือ อาจ จะ แนบเนียน ยิ่ง<br />

กว่า เดิม เสีย อีก<br />

แล้ว ถ้า เลือก ได้ หมั่น<br />

ดู หนัง ตลก หรือ ที ทำให้ ่ หัวเราะ ครึกครื้น<br />

ร่วม กัน มาก กว่า หนัง<br />

สยอง ขวัญ หรือ หนัง เศร้า โศก หดหู ก็ ่ จะ ดี ความ จริง ถึง เป็น หนัง ประเภท ไหน ถ้า ได้ ดู กับ<br />

คน รัก ก็ มีค วาม สุข ทั้งนั้น<br />

แต่ หนัง ตลก หรือ หนัง น่า รัก ที พวก ่ คุณ ดู แล้ว ยิ้ม<br />

หรือ หัวเราะ<br />

ร่วม กัน บ่อยๆ จะ สร้าง แนวโน้ม ทาง อารมณ์ ให้ พวก คุณ อยาก คุย กัน ใน เรื่อง<br />

เฮฮา<br />

มาก กว่า เรื่อง<br />

เคร่งเครียด<br />

หัวข้อ นี้<br />

ท่อง ไว้ นิดเดียว ก็ได้ วิตามิน ยัง ต้อง กิน วัน ละ หน ฉะนั้น<br />

พวก คุณ ก็ ต้อง<br />

หัวเราะ ร่วม กันให้ ได้ อย่าง น้อย วัน ละ ครั้ง<br />

แล้ว ขำ แบบ ฝืดๆกับ ขำ แบบ ไม่ จริงใจ นี่<br />

ไม่<br />

ถือ เป็น วิตามิน นะ ครับ!<br />

สรุป คือ ทำใจ เบาๆ ทำ สมอง เบาๆเข้า ไว้ ให้ ชิน แต่ เนิ่นๆ<br />

เถิด แล้ว จะ รู เอง ้ ว่า ทุก ปัญหา<br />

ใน โลก นี้<br />

เบา เหมือน ปุย นุ่น<br />

ได้ หมด แต่ ถ้า คุณ มอง อย่าง ยึด มั่น<br />

ถือ มั่น<br />

เป็นจริงเป็นจัง ไป<br />

ทุก เรื่อง<br />

โลก นี้<br />

ทั้ง<br />

ใบ ก็ คือ ลูก เหล็ก ให้ คุณ อุ้ม!<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

23


24<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ความ รู้สึก เล็กๆน้อยๆคือ เรื่อง ใหญ่ ที่สุด ใน ชีวิต คู่<br />

เพราะ ไม่ มีค วาม รู้สึก ใด เกิด ขึ้น บ่อย เท่า นี้ อีก แล้ว<br />

ความ รู้สึก<br />

เล็กๆน้อยๆทีดูเหมือน<br />

่ ‘ไม่ มี อะไร ’ หรือ เหมือน ชินๆผ่านๆไป นั่นแหละ<br />

ครับ พอ ผ่าน เดือน ผ่าน ปี สะสม รวม ตัว กัน แล้ว จะ กลาย เป็นความ รู้สึก<br />

ที่แท้<br />

จริง ที่<br />

มี<br />

ต่อ กัน<br />

คิด ให้ ดี คน เรา คบหา และ อยู ร่วม ่ กัน ส่วน ใหญ่ จะ มี แต่ ความ รู้สึก<br />

เล็กๆน้อยๆ นาน<br />

ที ปี หน หรอก ถึง จะ เกิด ความ ประทับใจ ใหญ่ๆขึ้น<br />

มา และ เวลา คน เรา ระลึก ถึงกัน ก็ จะ<br />

นึกถึง ความ รู้สึก<br />

ที เกิด ่ ขึ้น<br />

ระหว่าง อยู ด้วย ่ กัน ตาม ปกติ ไม่ ใช่ ความ รู้สึก<br />

แสน พิเศษ ใน<br />

เทศกาล ไหน<br />

ฉะนั้น<br />

เร่ง สำรวจ เถิด …<br />

วิธี ทักทาย ยาม เจอ กัน คุณ ยิ้ม<br />

ให้ หรือ เมิน เฉย?<br />

วิธี ใช้ คำ ทัก คุณ พูด ที เล่น ที จริง เช่น ‘หวัด ดี อีแก่ ’ บ่อย แค่ ไหน?<br />

วิธี ใช้ หางเสียง คุณ ออก ห้วน ตลอด หรือ ทอดเสียง อ่อนโยน บ้าง?<br />

วิธี เจรจา ปัญหา คุณ ใช้ เสียง กระด้าง หรือ นุ่มนวล<br />

เป็น เหตุ เป็น ผล?<br />

วิธี แสดง ความ ไม่ เห็น ด้วย คุณ ใช้ โทสะ หรือ เมตตา?<br />

วิธี พูด ว่า ‘ไม่ ให้ ’ คุณ อธิบาย เหตุผล อย่าง ดี หรือ มี เพียง คำ ปฏิเสธ?<br />

วิธี แสดง ความ ไม่ พอใจ คุณ ใช้ ท่าที กระ แนะ กระแห นหรือ รอ ให้ หาย ขุ่น<br />

แล้ว ค่อย พูด?<br />

เวลา อยู่<br />

ท่ามกลาง เพื่อนฝูง<br />

คุณ จิก กัด แบบ ขาย กันเอง หรือ ยกยอปอปั้น<br />

กัน ดีๆ?<br />

เวลา เห็น อีก ฝ่าย เหนื่อย<br />

คุณ เอาเรื่อง<br />

เย็น ไป ลูบ หรือ เอาเรื่อง<br />

ร้อน ไป ช่วย ซ้ำ?


เวลา อีก ฝ่าย เข้า มา สัมผัส คุณ เบี่ยง<br />

หลบ หรือ สัมผัส ตอบ?<br />

เวลา ไป เที่ยว<br />

กัน คุณ คุย โทรศัพท์ กับ เพื่อน<br />

เป็น ชั่วโมง<br />

หรือ รีบ ขอ วาง?<br />

เวลา เดิน ไป ด้วย กัน คุณ เหล่ หนุ่ม<br />

เหล่ สาว อย่าง เปิดเผย หรือ ขอ แค่ ตอน คน รัก เผลอ?<br />

เวลา ป่วย ไข้ คุณ อยู่<br />

ตรง นั้น<br />

เนิ่นนาน<br />

หรือ อ้าง ธุระ ขอตัว เร็ว?<br />

เวลา ร้องไห้ คุณ เป็นความ อบอุ่น<br />

หรือ ตัว เพิ่ม<br />

ความ เหน็บ หนาว?<br />

คน เรา จะ ทำ ตาม อำนาจ ความ เคย ชิน แล้ว ทุก คู่<br />

นะ ครับ ถ้า ผ่าน เดือน ผ่าน ปี ไป<br />

นานๆ ถึง เวลา นั่ง<br />

ปรับ ความ เข้าใจ ครั้ง<br />

ใหญ่ กัน เมื่อ<br />

ใด ก็ มัก อ้า ปาก หวอ ด้วย ความ งง<br />

ว่า เรื่อง<br />

แค่ นี้<br />

คิด ด้วย เห รอ?<br />

ทุก สิ่ง<br />

ที่<br />

คุณ ทำ กระทบ หูก ระ ทบ ตา คน รัก มัน กระตุ้น<br />

ให้ คิด หมด แหละ ครับ ถ้า นึก<br />

ว่า มี สิ่ง<br />

ใด เป็น เรื่อง<br />

เล็ก ขอ ให้ คิด ใหม่ และ ให้ ถาม ตัว เอง ว่า ถ้า จะ ให้ เรื่อง<br />

เล็กๆนั้น<br />

แปร<br />

เป็นความ ทรง จำ ด้าน ดี คุณ จะ ต้อง ลงทุน อะไร บ้าง?<br />

ส่วน ใหญ่ นะ ครับ ก็ แค่ เปลี่ยน<br />

คำ พูด บาง คำ หรือ กระทั่ง<br />

เปลี่ยน<br />

น้ำเสียง เสีย ใหม่ ใน<br />

ระยะ ยาว คุณ จะ อยู่<br />

ใน ความ ทรง จำ ของ คน รัก เป็น อีก แบบ หนึ่ง<br />

อย่าง สิ้นเชิง<br />

ตัว ตน ของ คุณ ใน ความ ทรง จำ ของ คน รักน่ะ เรื่อง<br />

ใหญ่ หรือ เรื่อง<br />

เล็ก ล่ะ ครับ?<br />

สรุป คือ ต้อง ให้ ค่า ความ สำคัญ เป็นอัน ดับ หนึ่ง<br />

กับ ความ รู้สึก<br />

เล็กๆน้อยๆนะ ครับ ไม่<br />

ใช่ ให้ เป็นอัน ดับ สุดท้าย อย่าง ที่<br />

ทำ กัน ผิดๆเกือบ ทุก คู่<br />

รัก แท้ ไม่ ได้ แปล ว่า มีค วาม สุข ตลอด กาล<br />

แต่ หมาย ถึง การ ร่วม สุข ร่วม ทุกข์ ด้วย กัน ตลอด ไป<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

25


26<br />

ทุก ครั้ง<br />

ที เอ่ย ่ ถึง ความ รัก สิ่ง<br />

แรก ที คน ่ ส่วน ใหญ่ จะ นึกถึง คือ ความ สุข หวาน แหว ว พอ<br />

พบ รัก ที กำลัง ่ สดชื่น<br />

ตื่น<br />

ใจ ก็ ลิงโลด หัวใจ พอง โต ราวกับ ขึ้น<br />

สวรรค์ และ ปักใจ ว่า นี่แหละ<br />

รางวัล ทาง ความ รู้สึก<br />

ที่<br />

คนๆหนึ่ง<br />

ควร ได้ รับ จาก ความ รัก<br />

แต่ พอ อยู่<br />

กับ ความ รัก ไป ได้ สัก พัก พบ ว่า รัก ไม่ ได้ มี ให้ แต่ ความ สุข แต่ ยัง พ่วง ทุกข์<br />

มา ด้วย อีก เป็น ขบวน ยาว สีหน้า สี ตา คุณ จะ เปลี่ยน<br />

ไป เป็น ผิดหวัง ซม เศร้า และ อยาก<br />

ถอย หนี แต่ ก็ เป็น ไป แบบ กลืนไม่เข้าคายไม่ออก เพราะ ชัก สับสน ว่าที เผชิญ ่ อยู นั ่ ้น เป็น<br />

สุข หลอกๆ ทุกข์ จริงๆ หรือ ว่า สุข จริงๆ ทุกข์ หลอกๆ กัน แน่<br />

ความ อ่อนแอ ทาง กาย จะ ทำให้ คุณ มี ภูมิ ต้านทาน โรค ต่ำ ส่วน ความ อ่อนแอ ทาง<br />

วิญญาณ จะ ทำให้ คุณ มี ภูมิ ต้านทาน ความ ทุกข์ น้อย ถ้า พื้นฐาน<br />

ของ คุณ เป็น คน มีค วาม<br />

อดทน สูง ความ รัก ก็ จะ ไม่ ถูก กระทบกระเทือน ให้ สั่น<br />

คลอน ง่าย นัก<br />

แล้ว ก็ ขึ้น<br />

อยู่<br />

กับ ว่า คุณ เข้าใจ ความ จริง ข้อ นี้<br />

ได้ แค่ ไหน ด้วย ครับ ความ จริง คือ<br />

เหตุการณ์ ภายนอก ไม่ ใช่ ทั้ง<br />

สุข ไม่ ใช่ ทั้ง<br />

ทุกข์ สุข และ ทุกข์ เป็น ของ จริง ที เกิด ่ ขึ้น<br />

จริง<br />

ใน ใจ คุณ แล้ว ก็ จะ หาย ไป จาก ใจ คุณ จริงๆ เช่น กัน สุดแต่ ว่า จะ ช้า หรือ เร็ว เท่านั้น<br />

คุณ ไม่ ได้ กำลัง หายใจ อยู บน ่ สวรรค์ คุณ กำลัง ปักหลัก ยืน อยู บน ่ พื้น<br />

ดิน และ บน พื้น<br />

ดิน นี ก็ ้ มี ทั้ง<br />

เรื่อง<br />

น่า ชอบใจ และ ไม่ น่า ชอบใจ เรียงราย หลายหลาก ฉะนั้น<br />

อย่า หวัง ว่า จะ<br />

ไม่ เป็น ทุกข์ เลย อย่าง เด็ดขาด แม้ จะ ได้ รับ การ คุ้มครอง<br />

จาก คน รัก คุณ ก็ มี สิทธิ์<br />

แค่ คาด<br />

หมาย ว่า คน รัก จะ อยู เคียง ่ ข้าง คุณ เสมอ ไม่ ว่า จะ กำลัง เป็น สุข หรือ เป็น ทุกข์ และ ใน ทาง<br />

กลับ กัน คุณ เอง ก็ ต้อง เป็นความ คาด หวัง ให้ คน รัก เช่น เดียวกัน ด้วย<br />

เวลา คน รัก เป็น สุข คุณ อยู่<br />

ที่<br />

นั่น<br />

ไหม?<br />

แล้ว เวลา ที่<br />

คน รัก เป็น ทุกข์ ล่ะ คุณ อยู่<br />

ด้วย หรือ เปล่า?<br />

ขณะ กำลัง เสวย สุข คน รัก จะ เป็น สุข ยิ่ง<br />

ขึ้น<br />

ถ้า มี คุณ ร่วม สุข ด้วย อีก คน เหมือน เทียน<br />

สอง ดวง ย่อม สว่าง กว่า เทียน ดวง เดียว และ การ ประสาน แสง สุข คู่<br />

กัน ย่อม ให้ รส ดูดดื่ม<br />

แตก ต่าง จาก การ ส่อง แสง สุข ของ จิต เพียง โดดเดี่ยว<br />

เอกา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


และ ขณะ กำลัง เสวย ทุกข์ ความ รู้สึก<br />

ของ คน รัก เหมือน เปลว เทียน ดับ ก็ อาจ กลับ<br />

ส่อง สว่าง ได้ ใหม่ ถ้า แสง สุข ของ คุณ ยัง ไม่ มอด การ มี คุณ อยู ข้าง ่ เคียง ย่อม เปรียบ เหมือน<br />

การ ต่อ เทียน ให้ ใหม่ แทน เปลว เดิม ที่<br />

ดับ แล้ว<br />

สำคัญ คือ พวก คุณ ต้อง ไม่ เป็น เปลว เทียน ที่<br />

ดับ พร้อม กัน เมื่อ<br />

เห็น ทำท่า ริบหรี่<br />

จะ<br />

ดับ รอมร่อ ทั้ง<br />

คู่<br />

ต้อง ปลุก ปลอบ กันและกัน เป็น กำลังใจ ให้ กันและกัน ว่า เรา จะ กอด<br />

คอ กัน ลุก ไม่ ใช่ เหนี่ยว<br />

ตัว กัน ล้ม<br />

คนใน โลก เป็นความ ห่อเหี่ยว<br />

ให้ แก่ กันและกัน อยู่<br />

แล้ว ทุก คน จึง ต้องการ ใคร สัก คน<br />

ที่<br />

ไว้ใจ ได้ ว่า จะ เป็นความ ชุ่มชื่น<br />

ให้ และ นั่น<br />

ก็ คือ ความ หมาย ของ การ พบ รัก และ มีค นรัก<br />

ไว้ เคียง กัน เพียง เริ่ม<br />

ต้น ด้วย ความ ตั้งใจ<br />

จะ เป็นความ ชุ่มชื่น<br />

อุบาย วิธี จะ หลั่งไหล<br />

มา<br />

เหมือน น้ำ ริน เหมาะ กับ การ ดับ ไฟ ใน แต่ละ สถานการณ์ ไป เอง<br />

ช่วง เวลา ที่<br />

มี กันและกัน ทั้ง<br />

ยาม สุข และ ยาม ทุกข์ จะ ประทับ ลง ใน ความ ทรง จำ ของ<br />

คุณ ไป จน ตาย ฉะนั้น<br />

จึง คุ้ม<br />

ที จะ ่ อยู ที ่ นั ่ ่น แม้ คุณ จะ ต้อง แลก กับ อะไร บ้าง ก็ เชื่อ<br />

เถอะ ว่า<br />

มี ไม่ กี่<br />

อย่าง ใน โลก นี้<br />

หรอก ที่<br />

คุ้ม<br />

กว่า ความ ทรง จำ ยาม ได้ ร่วม ทุกข์ ร่วม สุข กับ คน รัก<br />

คู่รัก<br />

ที่<br />

มีค วาม ทรง จำ ร่วม กัน น้อย จะ มีค วาม เดียวดาย ติด อยู่<br />

ใน ความ ทรง จำ มาก<br />

เกินไป จนกระทั่ง<br />

จำ ได้ แม่น อย่าง เดียว คือ ความ สูญ เปล่า ของ การ มี กันและกัน<br />

สรุป คือ เมื่อ<br />

คน รัก เป็น ทุกข์ อย่า ทิ้ง<br />

เมื่อ<br />

คน รัก เป็น สุข ให้ รีบ เสนอ หน้า ก่อน ใคร!<br />

ไม่ สำคัญ ว่า พวก คุณ แก้ ปัญหา อย่างไร<br />

มัน สำคัญ ที่ พวก คุณ พยายาม แก้ ปัญหา ด้วย กัน หรือ เปล่า<br />

เพราะ โลก นี้<br />

มี โจร ตำรวจ จึง เป็นความ อุ่นใจ<br />

เพราะ ชีวิต นี้<br />

มี โรค หมอ จึง เป็นความ อุ่นใจ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

27


28<br />

และ เพราะ การ ครอง เรือน เต็ม ไป ด้วย ปัญหา คน รัก จึง เป็นความ อุ่นใจ<br />

ยิ่ง<br />

กว่า อะไร<br />

ทั้งหมด!<br />

คิด ให้ เห็น คู่<br />

ตรง ข้าม เช่น นี้<br />

แล้ว ความ รู้สึก<br />

ที่<br />

มี ต่อ ปัญหา น่า จะ เปลี่ยน<br />

ไป ได้ บ้าง นะ<br />

ครับ แม้ ว่า ปัญหา จะ ไม่ ใช่ สิ่ง<br />

ดี ที่<br />

น่า รอ คอย แต่ ก็ เป็น สิ่ง<br />

น่า สนใจ ไม่ น้อย ถ้า คิด ว่า<br />

มัน เป็น เหตุ ให้ คุณ กับ คน รัก รู้จัก<br />

ความ อุ่นใจ<br />

ใน การ มี กันและกัน<br />

แต่ละ คน มี ดี มี สิ่ง<br />

ที อีก ่ ฝ่าย ขาด อยู เสมอ ่ ขอ เพียง เปิด โอกาส ให้ ปัญหา มา เป็น เครื่อง<br />

พิสูจน์ เถอะ ทุก ครั้ง<br />

ที่<br />

ช่วย กัน ปัดเป่า ปัญหา ใหญ่ น้อย ให้ ผ่าน พ้น ไป ได้ พวก คุณ จะ รู้สึก<br />

อุ่นใจ<br />

กับ การ มี กันและกัน มาก ขึ้น<br />

ทุกที อาจ เพราะ ได้ เห็น เปรียบเทียบ ว่า ดี กว่า แก้ ปัญหา<br />

ด้วย ความ เหน็บ หนาว ตามลำพัง เพียง ใด นั่นเอง<br />

สำคัญ คือ อย่า เผลอ หัน เอา แง่ ร้าย ของ แต่ละ ฝ่าย มา ซ้ำเติม ปัญหา เท่านั้น!<br />

จุด เริ่ม<br />

ต้น ของ การ รู้จัก<br />

ร่วม กัน แก้ ปัญหา อาจ เป็น อะไร ที่<br />

ง่ายดาย แค่ ยก ของ หนัก<br />

ด้วย กัน แค่ ล้าง จาน ด้วย กัน แค่ ทำความ สะอาด บ้าน ด้วย กัน แค่ ช่วย ทำครัว ด้วย กัน<br />

ลอง สำรวจ เถอะ ว่า อย่าง ไหน ให้ ความ รู้สึก<br />

ดี กว่า ระหว่าง ทำ คน เดียว กับ มี อีก คน ช่วย<br />

การ หัด ทำ ภาระ เล็กๆน้อยๆให้ ลุล่วง จะ จุด ชนวน ให้ ระบบ ความ คิด ของ คุณ ทั้ง<br />

สอง<br />

สามารถ ประสานงา นกัน เห็น การ ขจัด อุปสรรค คือ เรื่อง<br />

เป็น ไป ได้ ด้วย การ ร่วม แรง ร่วมใจ<br />

แต่ ถ้า งาน ไหน ต้องการ สอง แรง ร่วม กัน แล้ว มี ฝ่าย หนึ่ง<br />

ผละ หนี ด้วย ความ คิด เอาเปรียบ<br />

ก็ จะ เป็น ชนวน ความ คิด ทำนอง ‘เรื่อง<br />

ของ แก!’ และ ‘ฉัน ไม่ เกี่ยว!’<br />

จน ติด เป็น นิสัย<br />

แล้ว กลาย เป็น ชีวิต คู่<br />

แบบ ต่าง คน ต่าง อยู่<br />

ต่าง คน ต่าง พยายาม ผลัก ภาระ<br />

ทั้งนี้ทั้งนั้น<br />

ก็ ต้อง ดู ตาม จริง ด้วย นะ ครับ ว่า ขอบเขต ความ สามารถ ใน การ แก้ ปัญหา<br />

หนึ่งๆ<br />

ของ คุณ มี มาก หรือ น้อย กว่า คน รัก บาง คน เป็น พวก ไฮเปอ ร์จัด อยาก แสดง ให้<br />

เห็น ว่า ช่วย คน รัก แก้ ปัญหา ได้ ทุก เรื่อง<br />

อาจ กลับกลาย เป็น เพิ่ม<br />

ปัญหา อย่าง บริสุทธิ์ใจ<br />

ไป โน่น<br />

สรุป คือ เมื่อ<br />

ปัญหา มา ทำ อะไร ได้ ให้ รีบ ทำ และ เป็นการ ทำ ร่วม กัน ด้วย แต่ ถ้า ทำ ไม่<br />

ได้ ก็ อย่า เพิ่ง<br />

เข้า โหมด ขยัน ปล่อย ให้ ฝ่าย ที ถนัด ่ กว่า แก้ ปัญหา ไป แค่ คุณ คอย เอาใจช่วย<br />

หรือ คอย อยู่<br />

ฝ่าย สนับสนุน เมื่อ<br />

คน รัก ขอ ก็ นับ ว่า ดี พอ แล้ว<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ปัญหา ที่ น่า หนักใจ ที่สุด ของ ชีวิต คู่<br />

คือ การ เอา คน มี ปัญหา สอง คน มา อยู่ ด้วย กัน<br />

แต่ละ คน มี ปัญหา ติดตัว มา เสมอ เช่น ปัญหา นอน ห้องแอร์แล้วแพ้ ปัญหา ฟัง เพลง<br />

ลูกทุ่ง<br />

ได้ แนว เดียว ปัญหา กรน ดัง ปัญหา นิยม ดูด บุหรี่<br />

ก่อน นอน ปัญหา เข้า ผู้ใหญ่<br />

ไม่ค่อย เก่ง ฯลฯ<br />

ปัญหา ส่วน ใหญ่ จะ ไม่ เป็น ปัญหา ถ้า อยู่<br />

คน เดียว แต่ จะ เริ่ม<br />

เป็น ปัญหา ทันที เมื่อ<br />

มา<br />

อยู่<br />

ร่วม กับ ใคร อีก คน!<br />

คิด ไป คิด มา คุณ อาจม อง ก็ได้ ว่า คน เรา แตก ต่าง กัน การ เอา ความ แตก ต่าง มา อยู่<br />

ร่วม กัน นั่นแหละ<br />

คือ ตัว ปัญหา<br />

เมื่อ<br />

ปัญหา มัน เริ่ม<br />

ส่อ เค้า มา ตั้งแต่<br />

ตอน จับ คู่<br />

กัน คุณ ก็ ต้องเต รี ยม ใจ ไว้ ว่า คู่รัก<br />

เริ่ม<br />

ต้น จาก ความ เข้า กัน ได้ เป็น บาง ส่วน และ เข้า กัน ไม่ ได้ เป็น บาง ส่วน เสมอ ต่อ เมื่อ<br />

ได้ อยู่<br />

ด้วย กัน ลงท้าย จะ พบ ว่า คุณ กับ คน รัก เข้า กัน ได้ เป็น บาง ส่วน และ เข้า กัน ไม่<br />

ได้ เป็น บาง ส่วน อยู่<br />

ดี!<br />

การเต รี ยม ใจ จะ นำ ไป สู ความ ่ พร้อม ใน การ ยอม รับ ความ จริง ตลอด จน ยอม ปรับ ตัว<br />

บาง อย่าง ไม่ ใช่ จะ เอาแต่ พยายาม ปรับ ทุก อย่าง ให้ มา เข้า กับ ตัว ท่าเดียว<br />

เมื่อ<br />

ความ รัก ถูก สร้าง ขึ้น<br />

จาก คน สอง คน ที ไม่ ่ เหมือน กัน ความ รัก จึง คล้าย การ ประกบ<br />

ประกอบ ของ วัตถุ สอง ชิ้น<br />

ที ต่าง ่ เหลี่ยม<br />

ต่าง ทรง คุณ จำเป็น ต้องหา จุด ที เชื ่ ่อม ต่อ กัน ได้<br />

มา เป็น ศูนย์ กลาง ยึดเหนี่ยว<br />

ไว้ และ ปล่อย ให้ เหลี่ยม<br />

มุม ที่<br />

เหลือ หัน ไป อยู่<br />

ด้าน นอก<br />

ไกลๆ ไม่ ต้อง มา โดน กัน<br />

อยู่<br />

กับ สิ่ง<br />

ที่<br />

พอใจ ร่วม กันให้ มาก จับตา มอง จุด นั้น<br />

ให้ ชัด แล้ว ความ ไม่ น่า พอใจ จะ<br />

ดู พร่า เลือน ไป เอง เช่น พวก คุณ ชอบ พรรคการเมือง คนละ ฟาก พรรค คน หนึ่ง<br />

เข้าข้าง<br />

รัฐบาล อีก คน เข้าข้าง ฝ่ายค้าน ก็ อย่า คุย เรื่อง<br />

การเมือง หัน หัวข้อ เกี่ยว<br />

กับ การเมือง ออก<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

29


30<br />

ไป ห่างๆ ไม่ ว่า จะ นึก คึก อยาก ด่า นักการเมือง แค่ ไหน พยายาม เห หัว สนทนา ไป หาเรื่อง<br />

ที่<br />

ชอบ ด้วย กัน เป็นต้น ว่า รายการ ที วี สุด โปรด หนัง ใหม่ ประจำ สัปดาห์ เบื้องหลัง<br />

การ<br />

ถ่าย ทำ ฯลฯ ขอ ให้ ชอบ ด้วย กัน ใจ ตรงกัน เถอะ ยิ่ง<br />

คุย เรื่อง<br />

ที ใจ ่ ตรงกัน บ่อย ขึ้น<br />

เท่าไร<br />

คุณ จะ รู้สึก<br />

ว่า ส่วน ที่<br />

ต่าง กัน ลด น้อย ถอย ลง เรื่อยๆ<br />

เท่านั้น<br />

ตอน อยู่<br />

บ้าน บางที คุณ ต้อง พูด บาง เรื่อง<br />

ที่<br />

ชอบใจ ให้ น้อย ลง เพื่อ<br />

เพิ่ม<br />

ความชอบ ใจ<br />

ใน การ อยู่<br />

บ้าน ร่วม กับ คน รัก ให้ มาก ขึ้น!<br />

สรุป นะ ครับ การเต รี ยม ใจ ไว้ ล่วงหน้า เป็น ที่มา<br />

ของ การ ปรับ ตัว ปรับ ความ รู้สึก<br />

และ<br />

ปรับ วิถี ชีวิต ให้ เข้า กับ ‘ตัว จริง ’ ของ คน รัก แต่ การ คาด หวัง ว่า ทุก อย่าง จะ เป็น ดัง เดิม<br />

เหมือน เมื่อ<br />

ครั้ง<br />

เป็น โสด ก็ คือ การ นับ ถอยหลัง เข้า สู่<br />

ภาวะ รับ ไม่ ได้ ทน ไม่ ไหว นั่นเอง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

คน เรา จะ ทำ ผิด กี่ ครั้ง ก็ ถูก หมด ถ้า พยายาม แก้ไข<br />

การ เรียน รู้<br />

จาก ความ ผิด พลาด คือ คุณสมบัติ เด่น ที่<br />

มนุษย์ ทำได้ เหนือ กว่า สัตว์ อื่น<br />

และ ยิ่ง<br />

กว่า นั้น<br />

นะ ครับ การ เปลี่ยน<br />

ความ ผิด พลาด ให้ เป็นความ ถูก ต้อง หรือ กลับ<br />

ร้าย ให้ กลาย เป็น ดี พลิก วิกฤต ให้ เป็น โอกาส คือ อาวุธ ชิ้น<br />

เดียว ที มนุษย์ ่ จะ ชนะ กรรม<br />

เก่า เน่าๆของ ตัว เอง ได้<br />

คุณๆที่<br />

เชื่อ<br />

หมอดู นะ ครับ ถ้า หมอดู ระดับ ประเทศ ทาย ทัก ว่า ดวง ต้อง เลิก กัน คุณ<br />

จะ หัก คำ ทำนาย ได้ ก็ ด้วย อาวุธ ชิ้น<br />

นี้<br />

แหละ!<br />

(อ่าน ต่อ ฉบับ หน้า)<br />

ดัง ตฤณ<br />

สารบัญ


ไดอารี่หมอดู<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ได อา รี่<br />

หมอดู หน้าที่<br />

๕๗<br />

โดย หมอพีร์<br />

สวัสดี ค่ะ ทุก ท่าน ที่<br />

ติดตาม อ่าน ได อา รี่<br />

หมอดู ช่วง นี้<br />

อากาศ หนาว มาก ทำให้ นึกถึง<br />

บรรยากาศ ที่<br />

บ้าน ทาง เหนือ ค่ะ หนาว จน พูด ไม่ ออก เลย เมื่อ<br />

ก่อน สมัย เป็น นักเรียน อยู่<br />

ที่<br />

ลำปาง จำ ได้ ว่า ถึง เวลา หน้าหนา วที ไร จะ ขี้<br />

เกียจ เรียน หนังสือ เพราะ ต้อง ตื่น<br />

แต่ เช้า<br />

หกโมง ยัง มืด อยู่<br />

เลย พอ ตก เย็น แค่ สี่<br />

โมง ก็ หนาว มาก แล้ว จะ อ่าน หนังสือ นี่<br />

ตัว แข็ง ไป<br />

เลย ตอน อยู ภาค ่ เหนือ เลย ไม่ค่อย ชอบ ฤดู หนาว ยิ่ง<br />

ปี นี กรุงเทพ ้ ยัง หนาว ที่<br />

บ้าน ไม่ ต้อง<br />

พูด ถึง ค่ะ หนาว มาก ๆ ต้อง ห่ม ผ้า นวม กัน สอง สาม ชั้น<br />

พอ พูด ถึง ความ หนาว มี หลาย ๆ คน กำลัง เตรียมตัว ไป เที่ยว<br />

ทาง เหนือ กัน บ้าง แล้ว<br />

สิ คะ ช่วง หน้าหนา วรถ ขึ้น<br />

เหนือ เยอะ มาก ขับ รถ ต้อง ระวัง อุบัติเหตุ กัน บ้าง นะ คะ<br />

พีร์ไม่ค่อย ชอบ ไป เที่ยว<br />

ตอน เทศกาล เท่า ไห ร่หรอก ค่ะ ไม่ ชอบ คน เยอะ ใคร ไป เที่ยว<br />

ต้อง ดูแล ตัว เอง กัน หน่อย นะ คะ<br />

อาทิตย์ นี้<br />

นึก ไม่ ออก เหมือน เคย ว่า จะ เขียน เรื่อง<br />

อะไร แต่ เผอิญ ว่า เมื่อ<br />

คืน นี้<br />

มี น้อง<br />

คนหนึ่ง<br />

โทร มา อ้อนวอน ขอ ดูด วง ตอน ประมาณ สี ทุ ่ ่ม พีร์ฟัง เสียง แล้ว ก็ ใจอ่อน เลย ต้อง ดู<br />

ให้ จำ ได้ ว่า น้อง คน นี เคย ้ โทร มาก ลาง ดึก อย่าง นี ครั ้ ้ง หนึ่ง<br />

ตอน นั้น<br />

รู้สึก<br />

ว่า เธอ จะ มี ปัญหา<br />

กับ แม่ ของ เธอ คือ ทั้ง<br />

คู ไม่ ่ เคย เข้าใจ กัน เลย ทะเลาะ กัน ตลอด ทำให้ นึก ขึ้น<br />

มาได้ ว่า เธอ<br />

มี วิบาก เรื่อง<br />

คำ พูด ติดตัว มา ค่อนข้าง แรง คือ เธอ จะ พูด ให้ คน อื่น<br />

รู้สึก<br />

สำนึก ผิด ให้ คน อื่น<br />

รู้สึก<br />

น้อยเนื้อต่ำใจ<br />

และ ใน ใจ ของ เธอ มี แต่ จะ คิด ว่า คน อื่น<br />

ผิด ตัว เอง ไม่ ผิด อยู ตลอด ่ เวลา<br />

จึง ทำให้ โมโห ทุก ครั้ง<br />

ที่<br />

เวลา มี เรื่อง<br />

กัน และ ใน ขณะ นั้น<br />

เธอ เอง จะ ไม่ค่อย รู้ตัว<br />

ว่า เจตนา<br />

ของ เธอ มุ่ง<br />

เน้น ทำร้าย จิตใจ คน อื่น<br />

ให้ เจ็บปวด<br />

คราว นี เธอ ้ โทร มาบ อก ว่า พี คะ ่ ช่วย ดูด วง ให้ หนู หน่อย เถอะ ค่ะ ตอน นี กำลัง ้ เครียด<br />

มาก ไม่ รู จะ ้ ทำ ยังไงดี มัน รู้สึก<br />

แย่ มัน รู้สึก<br />

ไม่ อยาก จะ ทำ อะไร ทั้งนั้น<br />

เลย ค่ะ ก็ ถาม ว่าเป็น<br />

อะไร หรือ คะ เธอ ก็ บอก ว่า มี เรื่อง<br />

กับ เพื่อน<br />

คือ ว่า เพื่อน<br />

ทำ งาน กลุ่ม<br />

ด้วย กัน แต่ เพื่อน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

31


32<br />

ไม่ เคย เห็น หัว เลย นัด กัน ก็ ไม่ บอก งาน ต้อง ให้ หนู ตาม ตลอด เวลา ทำ งาน ก็ ไม่ช่วยกัน<br />

ทั้ง<br />

ๆ ที่<br />

เขา เป็น คน เก่ง กัน ทั้ง<br />

กลุ่ม<br />

ต้อง ปล่อย ให้ หนู ทำ งาน อยู่<br />

คน เดียว บาง เรื่อง<br />

หนู ก็<br />

ต้อง ติดต่อ ทุก อย่าง เอง หมด<br />

เธอ บอก รู้สึก<br />

แย่ มาก ๆ ค่ะ พี่<br />

ไม่ ใช่ แค่ ครั้ง<br />

นี้<br />

ครั้ง<br />

แรก นะ คะ มัน เกิด กับ หนู บ่อย มาก<br />

หนู ต้อง มา นั่ง<br />

ทำ งาน ให้ คน อื่น<br />

เขา ได้ ดี กัน หมด ไม่ รู ว่า ้ หนู จะ ทำ ต่อ ไป ดี หรือ เปล่า พรุ่งนี้<br />

ต้อง พรี เซนต์งาน หนู ว่า จะ ไม่ ไป แล้ว ให้ เขา ทำ กันเอง หนู ขอ ดูด วง หน่อย นะ คะ ว่า<br />

ทำไม ดวง ถึง เป็น แบบ นี้<br />

ตลอด<br />

ตอน นั้น<br />

จำ ดวง ของ เธอ ได้ ว่าไม่ได้ มี ปัญหา อะไร เรื่อง<br />

เพื่อน<br />

เท่า ไหร่ แต่ ดวง ของ น้อง<br />

คน นี้<br />

เป็น ดวง ที่<br />

ค่อนข้าง มี ปัญหา ทาง จิตใจ<br />

ลักษณะ จิต ของ เธอ จะ เป็น คน ที่<br />

ทำความ ดี หรือ ช่วย ใคร ไป แล้ว เวลา ที่<br />

คน อื่น<br />

ได้ ดี<br />

เธอ จะ โมโห เจ็บใจ คิด แต่ว่า ตัว เอง ทำ อยู คน ่ เดียว และ จะ คิด แต่ ใน แง่ ลบ ตลอด ทำให้<br />

จิตใจ เกิด ความเครียด ความ กดดัน ความ มืด<br />

ก็ บอก เธอ ไป ว่า รู้<br />

ไหม คะ เวลา ที่<br />

หนู ให้ อะไร ใคร ไป ต้อง พยายาม ไม่ ไป คิดมาก<br />

หลังจาก นั้น<br />

อีก ว่า ทำไม เขา ได้ ดี ทั้งที่<br />

เขา ไม่ ได้ ทำ ให้ คิด ใน แง่ บวก ไว้ ว่า คง เป็น โชค ของ<br />

เขา ใน ครั้ง<br />

นี ที ้ ไม่ ่ ต้อง ลงแรง มาก ก็ได้ สิ่ง<br />

ดี ๆ แต่ คราว หน้า ถ้า ต้อง ทำ งาน กลุ่ม<br />

ก็ ใช่ ว่า ต้อง<br />

เลือก คน เดิม เรา ก็ เปลี่ยน<br />

คน ใหม่ ไม่ ใช่ ว่า เลือก ไป อยู่<br />

กับ คน ที่<br />

ไม่ ทำ งาน อีก<br />

แต่ ข้อ ดี ที ต้อง ่ ทำ งาน เอง ก็ มี เยอะ เช่น เรา เรียน ไม่ค่อย เก่ง อยู แล้ว ่ การ ได้ ทำ งานเอง<br />

จะ ทำให้ ความ รู้<br />

เรา แน่น ขึ้น<br />

วัน หนึ่ง<br />

จบ ออก ไป จะ ได้ แกร่ง ทำ อะไร ก็ ทำเป็น หมด ส่วน<br />

เพื่อน<br />

ที่<br />

กินแรง คน อื่น<br />

ถึง เขา เรียน เก่ง วัน หนึ่ง<br />

พอ ไป ทำ งาน แล้ว เจอ ปัญหา อาจ จะ แก้<br />

ไม่เป็น ก็ได้ คน เรียน เก่ง ก็ ใช่ ว่า จะ ทำ งาน เก่ง ต้อง พยายาม ไม่ คิด ใน ทาง ลบ เพราะ จิต<br />

จะ มืด การ คิด ใน แง่ ลบ มัก จะ ไป ใน ทาง เห็นแก่ ตัว พอ คิดเห็น แก่ตัว จิต จะ มืด ความ ทุกข์<br />

ก็ เกิด ขึ้น<br />

ใน ใจ ถ้า เรา เป็น ผู้<br />

ให้ ไม่ มี วัน ขาดทุน หรอก ค่ะ ให้ ไป มี แต่ ได้ กลับ มา<br />

เธอ ถาม กลับ มา อีก ว่า ทำไม หนู ถึง ต้อง เจอ แต่ คน พวก นี้<br />

ล่ะ คะ พีร์ตอบ ไป ว่า ก็<br />

เพราะ หนู คิด แบบ นี้ไง<br />

คิด ว่า กลัว คน อื่น<br />

มา ทำให้ หนู เดือดร้อน ไม่ อยาก ให้ ใคร เอาเปรียบ<br />

ไม่ อยาก เสียเปรียบ ใคร พอ เสียเปรียบ ไป แล้ว ก็ มา นั่ง<br />

คิด แต่ว่า ทำไม เขา เป็น คน แบบ นี้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


ทำไม เขา ทำ กับ เรา อย่าง นี้<br />

ทำไม เรา ต้อง เจอ แต่ เรื่อง<br />

แบบ นี้<br />

จิตใจ มี แต่ โทสะ มี แต่ ความ<br />

โกรธ ความ น้อยเนื้อต่ำใจ<br />

พอ จิตใจ เป็น แบบ นี้<br />

ย่อม ดึงดูด ให้ คน พวก นี้<br />

มา เจอ กับ เรา<br />

ต้อง เปลี่ยน<br />

ความ คิด ใหม่ อย่า กลัว ว่า ใคร จะ มา เบียดเบียน เรา ถ้า เรา ให้ ได้ ก็ ให้ไป<br />

ให้ โดยที่<br />

ไม่ เกิน ความ สามารถ ของ เรา ถ้า เขา มา เบียดเบียน เรา มาก เกินไป เรา ก็ ต้อง<br />

หลบ ไป ให้ ไกล ๆ เขา หน่อย คิด ใน แง่ บวก ไว้ ว่า แค่ นี้<br />

ไม่ เป็นไร หรอก หรือ ถ้า เรา ช่วย<br />

ใคร ไป ก็ อย่า ไป หวัง ว่า เขา จะ มา สำนึก ใน บุญ คุณ เพราะ ถ้า เขา ไม่ ทำ อย่าง นั้น<br />

เรา ก็<br />

ต้อง มา เป็น ทุกข์ อีก<br />

เธอ ถาม ขึ้น<br />

มา อีก ว่า ถ้า อย่าง นั้น<br />

หนู ควร ต้อง ไป พรี เซนต์งาน วัน พรุ่งนี<br />

สิ ้ คะ พีร์ตอบ<br />

ว่า ใช่ ค่ะ หนู ควร ไป เพื่อ<br />

ฝึก เป็น ผู้<br />

ให้ไงคะ ถ้า ขาด หนู ไป สัก คน แล้ว งาน ต้อง เสียหาย<br />

เพื่อน<br />

ๆ ต้อง เดือดร้อน จะ กลาย เป็น ว่า หนู ต้อง ทำบาป ฐาน ทิ้ง<br />

งาน ให้ เพื่อน<br />

เดือดร้อน<br />

ต่อ ไป ต้อง ไป เจอ คน ที่<br />

ชอบ ทิ้ง<br />

งาน ตลอด นะ<br />

พอ พูด จบ เธอ หัวเราะ พูด ออก มา ว่า แค่ ความ คิด นี่<br />

มัน ทำให้ เรา เกิด ความ ทุกข์ ได้<br />

ขนาด นี้<br />

เลย หรือ ตอน นั้น<br />

พีร์สังเกต ว่า จิตใจ เธอ ได้ เปลี่ยน<br />

ไป จาก เดิม มาก กลาย เป็น<br />

โล่ง โปร่ง เบา สบาย ไม่ คับแคบ ไม่ มืดมัว เหมือน เดิม เลย<br />

เห็น ไหม คะ ความ คิด ที่<br />

เป็น ผู้<br />

ให้ ทำให้ ใจ ไม่ คับแคบ ใจ จะ โปร่ง โล่ง เบา พร้อม กับ<br />

ดึงดูด ความ โชค ดี อีก ด้วย พีร์เชื่อ<br />

ว่า น้อง คน นี้<br />

เริ่ม<br />

มีค วาม โชค ดี ใน ชีวิต ได้ ก็ ตรง ที่<br />

เริ่ม<br />

เป็น<br />

ผู้<br />

ให้ นี่แหละ<br />

ค่ะ การ เริ่ม<br />

ต้น ทำความ ดี เริ่ม<br />

จาก การ ให้ ได้ ค่ะ ให้ โดย ไม่ ต้อง เสีย สตางค์<br />

สัก บาท แต่ เปลี่ยน<br />

ชีวิต เรา ให้ ดี ขึ้น<br />

ได้ ไม่ ว่า จะ เป็นการ ให้ โอกาส ให้อภัย ให้ เวลา ให้<br />

ความ รู้<br />

ให้ คน อื่น<br />

ได้ ดี สิ่ง<br />

ที่<br />

เรา ได้ สิ่ง<br />

แรก คือ ใจ ที่<br />

สบาย ค่ะ ใคร หวัง ผล ใน การ ให้ นั้น<br />

จะ<br />

เป็น ทุกข์ นิดหนึ่ง<br />

ให้ ฝึก รู้ทัน<br />

ว่า ใจ กำลัง หวัง ผล เวลา ให้ อะไร ใคร ต่อ ไป ใจ จะ ไม่ค่อย<br />

หวัง ผล ไป เอง ค่ะ<br />

แม้ กระทั่ง<br />

การ ให้ ทาง แก่ รถ คัน อื่น<br />

ๆ บ้าง ก็ จะ ทำให้ เรา เจอ แต่ คน ที ไม่ ่ เห็นแก่ ตัว บน<br />

ท้อง ถนน อาจ ทำให้ ลด การ เกิด อุบัติเหตุ ลง หรือ เจอ คน กวน ประสาท น้อย ลง ได้ ค่ะ<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

33


34<br />

อบายภูมิ สี่<br />

โดย สิ ลินท์<br />

่ ้ ๏ อะเอ๋ยอ บาย สีที่หมาย<br />

ของ ผูประพฤติ<br />

ผิด<br />

ใน ยาม เป็น มนุษย์ มิ หยุด คิด ถลำ จิต เสพ กิเลส จน ชิน ชา<br />

่<br />

หนึ่ง<br />

นรก ร้อน เร่า เศร้า สุด แสน ทั้ง<br />

ผืน แผ่น พื้น<br />

ผิว ดั่ง<br />

ไฟ หนา<br />

ทีของ<br />

คน ก่อ กรรม ก่อเวรา โมหะ พา มืดมน ท้น ใน ทรวง<br />

หนึ่ง<br />

คือ เปรต ขอ เศษส่วน บุญ ผล อสุรกาย ก็ อีก ตน ทุกข์ ใหญ่ หลวง<br />

ทั้ง<br />

อดอยาก หิว กระหาย สิ่ง<br />

ทั้งปวง<br />

เพราะ ใจ หวง จิต ละ โม ภเป็น กอบ กอง<br />

อีก หนึ่ง<br />

ภูมิ คือ สัตว์ เดรัจฉาน ความ มืด ดารดาษ ทั่ว<br />

หม่น มัวหมอง<br />

จาก จิต เสพ คุ้น<br />

มี โมหะ ครอง ด้วย คะนอง สร้าง บาป หยาบ อธรรม<br />

้ ่ ใน ยาม นีทีเรา<br />

เป็น มนุษย์ ประเสริฐ สุด กว่า อบาย อัน ร้าย ล้ำ<br />

จง พาต นให้ ห่าง ทาง มืด ดำ พึง น้อมนำ กอปร กุศล ดล สุข เอย<br />

<br />

สำหรับสืบค้นคำศัพท์<br />

พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน พุทธศักราช ๒๕๔๒<br />

http://rirs3.royin.go.th/dictionary.asp<br />

พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลธรรม<br />

และ พจนานุกรมพุทธศาสตร์ ฉบับประมวลศัพท์<br />

http://84000.org/tipitaka/dic/<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

กวีธรรม<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

สารบัญ


คำคมชวนคิด<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

ราตรี ยาว แก่ คน ผู้<br />

ตื่น<br />

อยู่<br />

โยชน์ ยาว แก่ คน ผู้<br />

เมื่อย<br />

ล้า<br />

สงสาร ยาว แก่ คน พาล ผู้<br />

ไม่ รู้<br />

แจ้ง พระ สัทธรรม<br />

คาถา ธรรมบท พาล วรรค ที่<br />

๕<br />

จาก ธรรมบท ใน พระ สุตตันตปิฎก<br />

จาก พระ ไตรปิฎก ฉบับ สยามรัฐ เล่ม ที่<br />

๒๕<br />

สืบ ค้น ข้อมูล จาก http://84000.org<br />

<br />

เส้น ชัย อยู่<br />

ที่<br />

“ใจ”<br />

เพียง ถึง เส้น ชัย ครั้ง<br />

เดียว<br />

ก็ คว้า ชัย ที่<br />

เด็ดขาด<br />

พรั่งพร้อม<br />

อำนาจ ที่<br />

เกรียงไกร<br />

เพราะ ไม่ ต้อง แพ้ ใคร อีก ทั้ง<br />

โลก<br />

จาก คิด จาก ความ ว่าง เล่ม ที่<br />

๑ โดย ดัง ตฤณ<br />

<br />

ปัญญา เสมือน ไฟ ส่อง ทาง ให้ ก้าว พ้น ดง เหว ภยันตราย<br />

ครู ที่<br />

ดี เสมือน เข็มทิศ ชี้<br />

ทาง ที่<br />

ปลอดภัย แม้ ต้อง ก้าว ไป ใน ความ สลัว ก็ตาม<br />

<br />

โดย ศดานัน<br />

Have a strong mind and a soft heart.<br />

จง มี จิตใจ ที่<br />

เข้มแข็ง และ หัวใจ ที่<br />

อ่อนโยน<br />

โดย แอ นโธนี เจ ดิแอ นเจโล<br />

สรร หา มา ฝาก โดย วิมุตฺติ ยา<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

35


36<br />

ปี ที่<br />

๓ กับ ความ รู้สึก<br />

ที่<br />

ต่าง ไป<br />

โดย มนสิการ<br />

ปี นี้<br />

เป็น ปี ที่<br />

๓ ที่<br />

เรา เปิด โรง ทาน ที่<br />

บุญญาวาส อีก ครั้ง<br />

เม นูปีนี้<br />

เรา ย้อน กลับ ไป ทำ คา นา เป้ เหมือน ปี แรก ที่มา<br />

ด้วย เหตุผล ที่<br />

ยัง ไม่ สามารถ หา อาหาร อื่น<br />

มาท ดแทน ได้<br />

และ ก็ เห็น ความ สะดวก ของ การ ทำ คา นา เป้ อยู่<br />

แอบ หวัง กัน อยู่<br />

ลึกๆว่า อาจ จะ มีค นที่<br />

รอ รับประทาน คา นา เป้ ของ เรา<br />

จึง ไม่ อยาก เปลี่ยน<br />

เม นูให้ผิด หวัง กัน<br />

กระนั้น<br />

ก็ตาม ก็ ยัง คง ต้อง ทดสอบ หน้า คา นา เป้ เพื่อ<br />

ความ แน่ใจ<br />

เรา ใช้ หน้า เดิม ๓ หน้า และ เพิ่ม<br />

หน้า ใหม่ ขึ้น<br />

อีก ๑ หน้า<br />

หน้า เดิม ๓ หน้า นั้น<br />

คือ แซ ลม อนรม ควัน ไข่ปลา และซัลซ่า<br />

ซึ่ง<br />

รสชาติ ไม่ ได้ มี ปัญหา เพราะ ผ่าน การ ทดสอบ มา แล้ว เมื่อ<br />

๒ ปี ก่อน<br />

เพียง แต่ ต้องการ กะ ปริมาณ ให้ พอดี<br />

ส่วนหน้า ใหม่ ที่<br />

คิด ขึ้น<br />

มา นั้น<br />

คือ กุ้ง<br />

มาย องเนส<br />

ที่<br />

ได้ แรง บันดาล ใจมา จาก การ ไป รับประทาน ซูชิหมุน ร้าน หนึ่ง<br />

ที่<br />

ทำ หน้า กุ้ง<br />

มาย อง เนสบน หน้าซูชิ<br />

ทำเอา ประหลาด ใจถึง ความ เข้า กัน ได้ ของ กุ้ง<br />

มาย อง เนสและ ข้าวซูชิ<br />

ดังนั้น<br />

ก็ เลย คิด ว่า ถ้า ขนาด เข้า กับข้าว ซูชิได้ ก็ น่า จะ เข้า กับ ขนมปัง ได้<br />

แต่ ก็ ต้อง ลอง กับ ขนมปัง หลายๆแบบ<br />

ก่อน จะ ตกลง เป็น crostini เหมือนกับ หน้าซัลซ่า<br />

ส่วน สอง หน้าที่<br />

เหลือ ยัง คง ยืนพื้น<br />

เป็น scone<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สัพเพเหระธรรม<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน


ปรับ สูตร สอง สาม ครั้ง<br />

เพื่อให้<br />

มั่นใจ<br />

ว่า ถูกปาก คน ส่วน มาก<br />

ก่อน จะ ออก มา เป็น รสชาติ ที่<br />

สามารถ นำ ออก แจก ได้<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

37


38<br />

นอกจาก นี้<br />

ยัง เพิ่ม<br />

ส่วน ของ ขนม ทั้ง<br />

คุกกี้<br />

คัพเค้ก เค้ก กล้วย หอม<br />

ที่<br />

ใช้ เวลา ใน การ อบ ส่วน นี้<br />

หลาย วัน เสาร์ อาทิตย์ ก่อน หน้า<br />

และ ตั้งแต่<br />

วัน พฤหัสบดี จนถึง วัน เสาร์<br />

ถึง แม้ จะ เป็น ครั้ง<br />

ที่<br />

๓ แล้ว แต่ ยัง มีค วาม กังวล ใน ใจ อยู่<br />

ดี<br />

กังวล เรื่อง<br />

ปริมาณ ที่<br />

จะ นำ ไป แจก<br />

แม้ จะ ใช้ ปริมาณ เท่า เดิม กับ ปี ก่อน หน้า<br />

แต่ ด้วย เพราะ ไม่ ได้ เป็น มือ อาชีพ ได้ ทำ ปี ละ ๑ ครั้ง<br />

ก็ ทำให้ กังวล ใจ ว่า อาจ จะ ไม่ พอดี ได้<br />

ไม่ อยาก เหลือขอ งทิ้ง<br />

ให้ เสีย ของ<br />

เนื่องจาก<br />

เงิน ที่<br />

เรา เอา มา เป็น ทุน นั้น<br />

มา จาก หลาย คน<br />

กังวล เรื่อง<br />

การ ขับ รถ จาก กรุงเทพฯ ไป วัด<br />

ที่<br />

จะ ต้อง ออก ตั้งแต่<br />

ตี สาม ครึ่ง<br />

เพื่อ<br />

จะ ไป ให้ ทัน ก่อน ถวาย เช้า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


อยาก มี เวลา เตรียมตัว เพื่อ<br />

จะ จัด อาหาร ขึ้น<br />

ประเคน<br />

ทำให้ จำเป็น จะ ต้อง ขับ รถ แบบ ฟ้า ไม่ สว่าง ใน เส้นทาง นี้<br />

ซึ่ง<br />

ไม่ เคย ขับ เอง เลย ใน ปี ที่<br />

ผ่าน มา<br />

แต่ ปี นี้<br />

จำเป็น จะ ต้อง เป็น หนึ่ง<br />

ใน มือ ขับ ทั้ง<br />

ไป และ กลับ<br />

แต่ เมื่อ<br />

เวลา มา ถึง ก็ ต้อง ทำ ไป ตาม ที่<br />

เตรียม การ และ ทุก อย่าง ก็ ดำเนิน ไป ด้วย ดี<br />

เพื่อนๆ<br />

ที่<br />

ไป ด้วย กัน ปี นี้<br />

เรา ทำ งาน ประสาน กัน ได้ เป็น อย่าง ดี<br />

โดย แทบ จะ ไม่ ต้อง พูด จา กัน มาก ด้วย ซ้ำ<br />

เหมือน ทุก คน รู้<br />

งาน ว่า จะ ต้อง ทำ อะไร ตรง ไหน<br />

เพื่อ<br />

จะ ให้ จัด อาหาร ออก แจก ได้ ทัน<br />

นอกจาก รสชาติ ที่<br />

เรา พิถีพิถัน<br />

ใช้ เวลา ใน การ ทดสอบ ลอง ผิด ลอง ถูก แล้ว<br />

อีก อย่าง หนึ่งซึ่ง<br />

คน อื่น<br />

มอง ไม่ เห็น<br />

แต่ เรา จำเป็น ต้อง ระวัง มากๆ คือ เรื่อง<br />

ความ สะอาด<br />

เพราะว่า เคย สัมผัส การ ทำ งาน เกี่ยว<br />

กับ อาหาร มา ก่อน<br />

ทำให้ ไม่ สบาย ใจ ถ้าหากว่า ทำ ไม่ ถูก ต้อง ตาม ที่<br />

เคย เรียน มา<br />

อุณหภูมิ ของ อาหาร ที่<br />

เก็บ และ ที่<br />

เสิร์ฟ<br />

รวม ถึง การ ใส่ ถุง มือ การ ไม่ สัมผัส อาหาร โดย ตรง<br />

จนกว่า จะ ถึง มือ ของ คน ที่มา<br />

รับ นั้น<br />

เป็น เรื่อง<br />

ที่<br />

เรา ให้ ความ สำคัญ ด้วย<br />

แม้ จะ ไม่ ๑๐๐% ตาม ขั้น<br />

ตอน ทุก อย่าง<br />

แต่ มั่นใจ<br />

ว่า เรา ทำ ดี ที่สุด<br />

แล้ว<br />

กับ ความ สะอาด ของ อาหาร ที่<br />

จะ ออก แจก<br />

เรา ยืน อยู่<br />

ตรง นั้น<br />

ทั้ง<br />

ลงมือ ทำ คา นา เป้ ทั้ง<br />

ควบคุม งาน ให้ แจก ให้ ทัน<br />

เห็น เพื่อนๆทีลงมือ<br />

่ ทำ กัน อย่าง ไม่ รู้จัก<br />

เหน็ดเหนื่อย<br />

ทั้งๆ<br />

ที่<br />

บาง คน นอน กัน ไม่ กี่<br />

ชั่วโมง<br />

ต้อง ตื่น<br />

มา แต่ ยัง ไม่ เช้ามืด<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

39


40<br />

บาง คน ก็ เหนื่อย<br />

กับ การเต รี ยม งาน มา หลาย วัน<br />

แต่ ทุก คน ยิ้มแย้ม<br />

แจ่มใส และ สนุกสนาน กับ การ ทำ คา นา เป้ แจก ให้ กับ คน ที่มา<br />

งาน กฐิน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ซึ่ง<br />

ภาพ ที่<br />

เห็น นี้<br />

กลับ เป็น ภาพ ที่<br />

ทำให้ เรา มีค วาม สุข<br />

แตก ต่าง จาก ปี ที่<br />

ผ่านๆมา<br />

ปี ก่อน หน้า นี้<br />

เรา มีค วาม สุข ใน การ ได้ ลงมือ ทำ ได้ แจก<br />

ได้ ทำ อะไร สำเร็จ ด้วย มือ ของ ตัว เอง<br />

ได้ เห็น ว่า คน รับ แจก มีค วาม สุข<br />

จาก การ ได้ รับประทาน อาหาร ที่<br />

เรา ตั้งใจ<br />

ทำ<br />

ปี นี้<br />

เรา อาจ จะ ชิน กับ ความ สุข แบบ นั้น<br />

แล้ว<br />

แต่ สิ่ง<br />

ที่<br />

ได้ เห็น เพิ่ม<br />

คือ<br />

การ ที่<br />

ได้ เห็น เพื่อน<br />

ร่วม แรง ร่วมใจ<br />

ไม่ มี ใคร บ่น ว่า เหนื่อย<br />

หรือ แสดง ทีท่า ว่า ไม่ อยาก ทำ<br />

แต่ ทุก คน สนุก กับ งาน นี้<br />

มากๆ ทำให้ อด ดีใจ ไม่ ได้ ว่า<br />

งาน นี้<br />

ไม่ ได้ มี แค่ เรา ที่<br />

สนุก และ มีค วาม สุข<br />

แต่ ยัง มีค นอื่นๆ<br />

อีก หลาย คน ที่<br />

รู้สึก<br />

เช่น เดียวกัน<br />

เพื่อน<br />

บาง คน ไม่ เคย มี โอกาส แบบ นี้<br />

เลย ใน ชีวิต<br />

แต่ เรา ได้ ทำให้ เขา ได้ พบ กับ ความ สุข แบบ นี้<br />

เป็น ครั้ง<br />

แรก<br />

ทำให้ เขา ได้ เห็น ว่า นอกจาก สิ่ง<br />

ที่<br />

เจอ มา ใน ทุก วัน ทั้ง<br />

ชีวิต<br />

ก็ ยัง มีค วาม สุข ชนิด นี้<br />

อยู่<br />

ใน โลก ด้วย<br />

ความ สุข ที่<br />

ได้ ทำให้ คน อื่น<br />

มีค วาม สุข จาก การ ให้ ของ เรา


สุดท้าย แล้ว ความ กังวล ทั้งหมด<br />

ก็ หาย ไป<br />

เมื่อ<br />

เรา แจก ทุก อย่าง หมด ใน เวลา แค่ ๑๑ โมง เท่านั้น<br />

กับ คา นา เป้ จำนวน กว่า พัน ชิ้น<br />

และ ขนม อีก หลาย ร้อย ชิ้น<br />

ความ เหนื่อย<br />

ความ กังวล ใจ ตอน นั้น<br />

เหมือน สลาย ไป ใน พริบ ตา<br />

การ ทำ อาหาร ออก แจก ใน โรง ทาน นั้น<br />

ถ้าหากว่า ไม่ เคย ทำ มา ก่อน อาจ จะ คิด ว่ายาก<br />

แต่ ไม่ มี อะไร ที่<br />

จะ สำเร็จ ได้ ถ้า ไม่ มี การ เริ่ม<br />

ต้นคิด ว่า จะ ทำ<br />

เมื่อ<br />

เริ่ม<br />

ต้น ว่า จะ ทำ เสีย อย่าง แล้ว<br />

เชื่อ<br />

ได้ เลย ว่า สุดท้าย แล้ว เรา สามารถ ทำได้ ทุก อย่าง<br />

ถ้า ยินดี จะ สู้<br />

กับ ทุก อุปสรรค ที่<br />

เจอ<br />

แรง ใจ เป็น สิ่ง<br />

สำคัญ ที่สุด<br />

ใน การ ลงมือ ทำ อะไร ที่<br />

เรา คิด ว่ายาก<br />

และ ปี นี้<br />

เป็น ปี ที่<br />

๓ ยิ่ง<br />

เป็นการ ตอก ย้ำ ว่า<br />

ถ้าหากว่า เกิน ความ สามารถ จริงๆ คง ทำ ไม่ ได้ จนถึง ปี นี้<br />

คง จะ ล้ม เหลว กัน ตั้งแต่<br />

ปี แรก คง ไม่ มี โอกาส ยืน ระยะ มา ได้ จนถึง บัดนี้<br />

ทั้งๆ<br />

ที่<br />

เรา ไม่ ใช่ มือ อาชีพ ใน การ ทำ อาหาร กัน สัก คน<br />

มี แต่ ความชอบ และ ความ อดทน...เท่านั้น<br />

เอง<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

41


42<br />

Always – ใจ สะอาด<br />

โดย ชลนิล<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

แง่คิดจากหนัง<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

บทความนี้มีการเฉลยเนื้อหาที่อาจจะทำให้ผู้อ่านเสียอรรถรสในการชมภาพยนตร์<br />

หนัง ญี่ปุ่น<br />

เรื่อง<br />

นี้<br />

คว้า 12 รางวัล ใหญ่ จาก เวที Japanese Academy Award<br />

2006 นี เป็น ่ เหตุผล ที่<br />

ผม สนใจ ซื้อ<br />

ดี วี ดี หนัง เรื่อง<br />

นี้<br />

มา เก็บ ไว้ ตั้งใจ<br />

ว่า ว่าง ๆ จะ หา เวลา


มา ดู สัก ที แต่ จนแล้วจนรอด ก็ ไม่ ได้ หยิบ มา ดู สัก ครั้ง<br />

จน มีค นแนะนำ อยาก ให้ ผม เขียน<br />

ถึง หนัง เรื่อง<br />

นี้<br />

จึง ลอง ขอ ดู สัก หน่อย<br />

ชื่อ<br />

เต็ม ของ หนัง คือ Always …Sunset On Third Street เนื้อหา<br />

เกี่ยว<br />

กับ ผู้คน<br />

ใน ชุมชน เล็ก ๆ บน ถนน สาย ที่<br />

3 ของ กรุง โตเกียว ปี ค.ศ. 1958 สิบ สาม ปี หลัง<br />

สงครามโลก ครั้ง<br />

ที่<br />

สอง<br />

ผู้คน<br />

มากมาย หลากหลาย อาชีพ มี ทั้ง<br />

เด็ก สาว บ้านนอก ที่<br />

เข้า มา ทำ งาน ใน เมือง<br />

เจ้าของ ร้าน ซ่อม รถยนต์ ที่<br />

มุ่ง<br />

มั่น<br />

จะ สร้าง บริษัท รถ ให้ ได้ นัก เขียน หนุ่ม<br />

ไส้แห้ง ผู้<br />

พลาด<br />

รางวัล จาก การ ประกวด นิยาย มา ตลอด คุณ หมอ ผู้<br />

อารี ที่<br />

ต้อง สูญ เสีย ครอบครัว ลูก<br />

เมีย จาก ระเบิด ใน สงคราม เด็กชาย ไร้ บ้าน ที่<br />

ถูก ใคร ต่อ ใคร โยน ไป โยน มา เหมือน เขา ไม่<br />

มี ชีวิต จิตใจ หญิง สาว อดีต นาง โชว์ ที่<br />

เปลี่ยน<br />

อาชีพ มา เปิด ร้าน ขาย เหล้า แต่ละ ชีวิต<br />

ถูก เรียง ร้อย ให้ เข้า มา ผูกพัน ใต้ ฟ้า โตเกียว บน ถนน สาย ที่<br />

3 ใกล้ กับ หอคอย โตเกียว<br />

ที่<br />

กำลัง ก่อสร้าง<br />

พวก เขา ใช้ ชีวิต อยู่<br />

ใน ช่วง การ เปลี่ยนแปลง<br />

ของ ยุค สมัย แต่ละ คน ต่าง มี ปัญหา ของ<br />

ตัว เอง กำลัง เผชิญ ช่วง การ เปลี่ยนแปลง<br />

ชีวิต ...ทุก คน หวัง ที่<br />

จะ มี ชีวิต ดี ขึ้น<br />

พร้อม กับ<br />

การ รอ คอย วัน เวลา ที่<br />

จะ ได้ เห็น หอคอย โตเกียว สร้าง เสร็จ...ด้วย ความ ภาคภูมิ ใจ ว่า...<br />

เมื่อ<br />

ไห ร่ที่หอคอย<br />

นี้<br />

สำเร็จ มัน จะ เป็น หอคอย ที่<br />

สูง ที่สุด<br />

ใน โลก!<br />

ภาพ และ เรื่องราว<br />

ใน หนัง ล้วน ก่อ ให้ เกิด ความ หวัง ความ อบอุ่น<br />

ซาบซึ้ง<br />

ตรึง ให้<br />

ชวน ติดตาม จนถึง ฉาก สุดท้าย...พอดู หนัง จบ ผม ก็ ถาม ตัว เอง ว่า จะ เขียน ถึง ประเด็น ใด<br />

ดี เนื้อหา<br />

ของ หนัง ค่อนข้าง กว้าง จน ผู้<br />

ชม สามารถ เลือก เสพ รับ และ เก็บ ประเด็น เล็ก<br />

ประเด็น น้อย ไป เป็น ประโยชน์ แก่ ตน เอง โดย ไม่ค่อย ซ้ำ กัน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

43


44<br />

ผม เลย ขอ เลือก ประเด็น กระทบ ใจมา กที่สุด<br />

แล้วกัน...เป็น เรื่อง<br />

ของ เจ้า หนู<br />

จุนโนะสุเกะ เด็กชาย ที่<br />

ไม่ มี ใคร ต้องการ<br />

จุน โนะสุ เกะ ถูก แม่ ที่<br />

เป็น เกอิชา ทอดทิ้ง<br />

ให้ อยู่<br />

กับ คน โน้น คน นี้<br />

ตลอด เวลา ซึ่ง<br />

ช่วง<br />

หลัง สงคราม ใคร ๆ ก็ ลำบาก ทำ มา หากิน ไม่ มี ใคร อยาก เพิ่ม<br />

ภาระ จึง ไม่ มี ใคร อยาก<br />

เลี้ยงดู<br />

เขา จน ล่า สุด เขา ก็ได้ ไป อยู่<br />

กับ นัก ประพันธ์ ไส้แห้ง ทีเผลอ<br />

่ รับปาก เลี้ยง<br />

เขา ตอน<br />

กำลัง เมา<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


พอ สร่าง เมา นัก เขียน ไส้แห้ง ก็ รีบ พา จุน โนะสุ เกะ ไป คืน แต่ ไม่ สำเร็จ จึง จำ ใจ เลี้ยง<br />

ทั้งที่<br />

ไม่ ได้ เป็น ญาติ กัน เลย<br />

ริ วโนะสุ เกะ นัก ประพันธ์ หนุ่ม<br />

ไส้แห้ง มี อาชีพ เขียน นิยาย เกี่ยว<br />

กับ เด็ก ขาย พอ<br />

ประทัง ชีวิต เขา แปลก ใจ อย่าง ยิ่ง<br />

ที เด็กชาย ่ ไร้ บ้าน คน นี กลับ ้ เป็น แฟนนิยาย ตัว จริง ของ<br />

เขา...จุน โนะสุ เกะ ที่<br />

ไม่ มี ใคร ต้องการ ใช้ นิยาย ของ เขา เป็น เสมือน โลก แห่ง จินตนาการ<br />

สร้าง ความ ฝัน ความ สุข ที่<br />

ไม่ อาจ หา ได้ ใน ชีวิต จริง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

45


46<br />

พอ จุน โนะสุ เกะ มา อยู่<br />

บ้าน นัก ประพันธ์ เขา ก็ มี โอกาส ได้ อ่าน หนังสือ ที่รัก<br />

ที่<br />

ชอบ<br />

มากมาย จน เกิด แรง บันดาล ใจ เขียน นิยาย ตาม อย่าง คน ที่<br />

เลี้ยง<br />

เขา บ้าง ซึ่ง<br />

จินตนาการ<br />

ของ เด็กชาย คน นี้<br />

มี สี สัน โดด เด่น ชัดเจน บอก ถึง ความ มี พรสวรรค์ ซ่อน เร้น พอ เพื่อน<br />

ใน ห้อง เรียน เดียวกัน ได้ อ่าน ต่าง ก็ ชอบ กัน ทุก คน<br />

วัน หนึ่ง<br />

หนุ่ม<br />

นัก ประพันธ์ สมอง ตื้อ<br />

คิด อะไร ไม่ ออก ไม่ มี ปัญญา เขียน ต้นฉบับ ส่ง<br />

บังเอิญ เห็น นิยาย ที เด็ก ่ ใน บ้าน เขียน จึง นำ มา อ่าน แล้ว ก็ ต้อง แปลก ใจ ใน ความ สามารถ<br />

เกิน เด็ก เช่น นั้น<br />

ความ ที่<br />

ยัง คิด อะไร ไม่ ออก และ ต้อง รีบ ส่ง ต้นฉบับ เขา จึง เอางาน ของ<br />

จุน โนะสุ เกะ ไป ส่ง ใน ชื่อ<br />

ของ ตน เอง<br />

นัก เขียน ไส้แห้ง หา ข้ออ้าง ให้ ตัว เอง ว่า ที่<br />

ทำ เช่น นี้<br />

ก็ เพราะ เขา ต้อง รับ เลี้ยง<br />

เด็ก ที่<br />

ไม่<br />

ใช่ ญาติ ฉะนั้น<br />

เขา จึง มี สิทธิ เอา ความ คิด ผล งาน ของ เด็ก ไป ขาย กิน<br />

พอ หนังสือ ออก เขา ก็ ไม่ กล้า ให้ เด็กชาย อ่าน แต่ เจ้า หนู กลับ ไป ได้ หนังสือ เล่ม นี้<br />

มา<br />

จาก เพื่อน<br />

ใน ห้อง ที เคย ่ อ่าน ผล งาน ของ เขา ทำให้ เด็ก น้อย รีบ วิ่ง<br />

หน้าตา ตื่น<br />

ถือ หนังสือ<br />

กลับ บ้าน หนุ่ม<br />

นัก ประพันธ์ เห็น ความ ลับ เปิดเผย อย่าง นั้น<br />

ก็ อาย รีบ หา ข้ออ้าง ข้อ<br />

แก้ตัว ต่าง ๆ นานา เพื่อให้<br />

ตน เอง พ้น ผิด<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เจ้า หนู จุน โนะสุ เกะ ฟัง คำ แก้ตัว แทบ ไม่ รู เรื ้ ่อง ดวงตา เขา เบิก กว้าง มือ ถือ หนังสือ เล่ม<br />

นั้น<br />

ชู ให้ นัก เขียน หนุ่ม<br />

ดู จนกระทั่ง<br />

เขา แก้ตัว จบ เด็กชาย จึง เอ่ย ปาก ด้วย เสียง สั่น<br />

ๆ<br />

“ผม...ดีใจ มาก เลย...ทีน้า<br />

่ เอาเรื่อง<br />

ของ ผม ไป ทำเป็น นิยาย จริง ๆ...ตอน นี้<br />

มัน ก็ได้ ลง<br />

หนังสือ แล้วด้วย...เหลือเชื่อ<br />

ที่สุด<br />

ยอด เยี่ยม<br />

เลย ครับ ”<br />

สีหน้า และ แวว ตาขอ งจุน โนะสุ เกะ บอก ถึง ความ ปลาบปลื้ม<br />

ยินดี อย่าง ไม่ เคย เกิด<br />

มา ก่อน ใน ชีวิต ชนิด ไม่ มี เสแสร้ง<br />

นัก ประพันธ์ หนุ่ม<br />

นิ่ง<br />

อั้น<br />

พูด อะไร ไม่ ออก แค่ บอก ว่า ละอาย ใจ ยัง น้อย ไป...ความ<br />

รู้สึก<br />

มัน รุนแรง ยิ่ง<br />

กว่า โดน เด็ก ดูถูก ด่าทอ ให้ ทุก คนใน โลก ประณาม เขา ยัง ดี กว่า เจอ<br />

สถานการณ์ เช่น นี้<br />

ความ ตื่นเต้น<br />

ยินดี คำ พูด ใส ซื่อ<br />

ของ เด็ก เหมือน กระจก ใส ที สะท้อน ่ ให้ เห็น ถึง ความ<br />

อัปลักษณ์ ใน ใจ ของ เขา เอง!<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

47


48<br />

จุน โนะสุ เกะ ไม่ สนใจ หรอก ว่า งาน ของ เขา ถูก ลอก อย่าง น่า ไม่ อาย ไม่ สนใจ ว่า ชื่อ<br />

ที่<br />

ปรากฏ หัวเรื่อง<br />

จะ เป็น ชื่อ<br />

ใคร...ไม่ ใส่ใจ ด้วย ซ้ำ ว่า ตน เอง ถูก โกง ค่า ลิขสิทธิ์<br />

เขา ภูมิใจ...ดีใจ อย่าง ยิ่ง<br />

ที งาน ่ ของ เขา ได้ ตี พิมพ์ ไม่ ว่า มัน จะ ถูก ลง ว่าเป็น ชื่อ<br />

ของ ใคร<br />

ก็ตาม แต่ เจ้า หนู ก็ รู้<br />

ว่า นี่<br />

คือ งาน ของ ตน เอง...ความ จริง ข้อ นี้<br />

มัน เปลี่ยนแปลง<br />

ไม่ ได้!<br />

ใจ ที สะอาด ่ ใส ซื่อ<br />

เช่น นี ก็ ้ เป็น เช่น กระจก ใส มอง เห็น ถึงใจ ตน เอง และ เป็น ตัวอย่าง<br />

สะท้อน ให้ ฝ่าย ตรง ข้าม วก กลับ มา ดูใจ ของ เขา เช่น กัน<br />

...เห็น กิเลส ความ เลว ร้าย อัปลักษณ์ อยู่<br />

ใน นั้น<br />

ไหม?...<br />

หอคอย โตเกียว สร้าง เสร็จ แล้ว มัน จะ เป็น หอคอย ที สูง ่ ที่สุด<br />

ใน โลก หรือ เปล่า ผม ไม่<br />

ทราบ...แต่ ตัว ละคร หลาย ชีวิต ยัง คง ดำเนิน ต่อ ไป...ท่ามกลาง ความ เปลี่ยนแปลง<br />

ของ โลก<br />

ภายนอก และ ภายใน กาย – ใจ ของ ตน เอง<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

สารบัญ


เรื่องสั้นอิงธรรมะ<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน<br />

เรื่อง<br />

ของ กรรม อัน ซับซ้อน (๒)<br />

โดย ธีระวัฒน์ อนันตวรส กุล<br />

เช้า วัน รุ่ง<br />

ขึ้น<br />

ซึ่ง<br />

เป็น วัน ว่าง จาก ภารกิจ หมอ อ้อย รีบ อาบ น้ำ แต่งตัว ออก ไป วัด แต่ เช้า<br />

เนื่องด้วย<br />

ความ ศรัทธา ต่อ แม่ ชี ชรา เกิด ขึ้น<br />

มากมาย ทันที เชื่อ<br />

สนิท ใจ แล้ว ว่า แม่ ชี ชรา รูปนี้<br />

ไม่ ธรรมดา แน่นอน ระหว่าง ที่<br />

ขับ รถ มุ่ง<br />

หน้า ไป วัด ก็ นึกถึง สายตา เอื้อ<br />

อาทร ของ แม่ ชี ที่<br />

เคย มอง เธอ ใน ระหว่าง ที่<br />

เธอ ตรวจ คนไข้ใน ห้อง ผู้<br />

ป่วย อายุ รก รรม หญิง เมื่อ<br />

ครั้ง<br />

ที่<br />

แม่ ชี<br />

ยัง นอน ป่วย อยู่<br />

ใน โรง พยาบาล เหมือนกับ แม่ ชี มี อะไร จะ บอก กับ เธอ ณ ศาลา ท่า น้ำ<br />

ที่<br />

เดิม แม่ ชี ชรา รอ อยู่<br />

เหมือน รู้<br />

ว่า หมอ อ้อย จะ มา<br />

“สวัสดี ค่ะ แม่ ชี ” หมอ อ้อย ยกมือ ไหว้ อย่าง นอบน้อม<br />

“ลาภ ที่<br />

ไม่ ใช่ ของ เรา อย่า ไป เสียดาย มัน เลย แม่ รู้<br />

แล้ว ว่า หนู ต้อง มา “ แม่ ชี พูด<br />

ตอบ เหมือน อ่าน ใจ หมอ ได้<br />

“ทำ อย่างไร หนู ถึง จะ มี ลาภ ค่ะ ” หมอ อ้อย ถาม<br />

“หนู ต้อง ทำ ทาน แบบ ไม่ ตั้งใจ<br />

มา ก่อน ทำให้ คน รับ รู้สึก<br />

ว่า ได้ อย่าง ไม่ คาด ฝัน มา ก่อน<br />

จึง จะ มี ลาภ ” แม่ ชี ตอบ<br />

“แม่ ชี ให้ กระดาษ หนู ทำไม ไม่ บอก ละ คะ เสียดาย จัง ค่ะ ” หมอ อ้อย ถาม ความ โลภ<br />

จุด ประกาย แม่น ขนาด นี้<br />

ความ เสียดาย โอกาส ทอง เกิด ขึ้น<br />

ใน ใจ<br />

“แค่ อยาก ให้ หนู ลด ความ ดื้อ<br />

รั้น<br />

เชื่อ<br />

ใน คำ ที่<br />

แม่ จะ บอก หนู หนู เป็น คน ดี แม่ ไม่<br />

อยาก ให้ หนู คิด อะไร ผิดๆ คน อย่าง หนู ถ้า คิด ถูก จะ มี ประโยชน์ แก่ คน หมู่<br />

มาก ทีเดียว ”<br />

แม่ ชี ตอบ เหมือน มี อะไร มาก กว่า นี้<br />

จะ บอก เธอ<br />

“แม่ ชี จะ บอก อะไร หนู คะ ” หมอ อ้อย ถาม ต่อ ไป<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

49


50<br />

“หนู กำลัง ลังเล ว่า ทำ ดี ได้ ดี จริง ไหม? แม่ ชี ไม่ อยาก ให้ หนู คิด อย่าง นั้น<br />

หนู เป็น คน ดี<br />

การ ที่<br />

หนู ไม่ เชื่อ<br />

ว่า ทำ ดี ได้ ดี จะ ทำให้ หนู มีค วาม ทุกข์ ใน อนาคต ” แม่ ชี ตอบ<br />

หมอ อ้อย ตะลึง ใช่ แล้ว เธอ กำลัง ลังเล เพราะ คิด อย่าง นั้น<br />

จริงๆ แม่ ชี พูด ต่อ ไป<br />

“เพราะ ตั้งแต่<br />

การ ตาย ของ จ้อน หนู เริ่ม<br />

ลังเล ว่า คน ดีๆ ทำ ดี ทำไม พบ เจอ เรื่อง<br />

ร้ายๆ ใช่ ไหม ”<br />

หมอ อ้อย ตอบ รับ ว่า “ค่ะ แม่ ชี หนู เริ่ม<br />

คิด อย่าง นั้น<br />

จริงๆ ค่ะ หนู เห็น ว่า จ้อน เป็น<br />

เด็ก ดี แต่ กลับ เจอ เรื่อง<br />

ร้ายๆ ต้อง ตาย ก่อน วัย อัน สมควร ”<br />

แม่ ชี พูด ขึ้น<br />

ว่า “เพราะ หนู รู้จัก<br />

จ้อน แค่ ใน ชาติ ปัจจุบัน นะ สิ คน เรา ไม่ ได้ เกิด มา ชาติ<br />

เดียว เรา เวียน ว่าย ตาย เกิด กัน มา นับ ภพ นับ ชาติ ไม่ ถ้วน แล้ว กรรม ที่<br />

ทำ กัน มา ใน อดีต<br />

มากมาย จำ กัน ไม่ ได้ เอง ”<br />

แม่ ชี พูด ต่อ ไป ว่า “หนู สงสาร จ้อน แต่ ถ้า หนู เห็น การก ระ ทำ ใน อดีต ของ จ้อน หนู<br />

อาจ เข้าใจ ที่<br />

จ้อน ต้อง พบ จุดจบ แบบ นี้<br />

ก็ได้ หนู สงสาร ย่า ของ จ้อน แต่ ถ้า หนู รู้เห็น<br />

การก<br />

ระ ทำ ใน อดีต ของ ย่า จ้อน หนู ก็ จะ เห็น ว่า สมควร แล้ว ที่<br />

ได้ รับ กรรม ดังนี้<br />

มัน เป็น กรรม<br />

เก่า ทุก อย่าง อยู่<br />

ภาย ใต้ กฎแห่งกรรม และ ยุติธรรม เสมอ ”<br />

“จ้อน ทำ อะไร มา เห รอ ค่ะ แม่ ชี ” หมอ อ้อย ถาม ด้วย ความ อยาก รู้<br />

แม่ ชี นิ่ง<br />

สัก พัก ดู ไป ทาง ลาน วัด ที เย็น ่ นี จะ ้ มี งาน แล้ว ตอบ ว่า “ก็ เคย ฆ่า คน ตาย มาไง<br />

แม้ ชาติ นั้น<br />

หนี กฎ ของ บ้านเมือง ได้ แต่ ก็ หนี กฎแห่งกรรม ไม่ พ้น ”<br />

“แล้ว ตอน นี้<br />

จ้อน เป็น อย่างไร คะ หนู อยาก รู้<br />

” หมอ อ้อย ถาม ต่อ ไป<br />

แม่ ชี ตอบ ว่า “ถ้า หนู รู้<br />

หนู อาจ สงสาร ตัว เอง เพราะ จ้อน ใน ตอน นี้<br />

ไป เกิด เป็น<br />

เทพบุตร เสวย ทิพยสุข อัน ประณีต อยู่<br />

บน สวรรค์ ”<br />

แม่ ชี เล่า ให้ ฟัง ว่า “จ้อน ใน อดีต เป็น มหา เศรษฐี มี ทรัพย์ มาก จาก กรรม ใน อดีตชาติ<br />

เก่า กว่า นั้น<br />

เคย ลังเล ที จะ ่ ทำบุญ ทำให้ ผู้ทรง<br />

ศีล หมู คณะ ่ หนึ่ง<br />

ต้อง รอ อยู อย่าง ่ ลำบาก พอ<br />

สมควร เลย ได้ รับ ผล ของ บุญ ช้า ชาติ นี จึง ้ เกิด มา อัตคัด ลำบาก ถึง ขั้น<br />

ต้อง เก็บ ขยะ ขาย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


กำพร้า พ่อ แม่ เพราะ เคย ไป พราก ลูก เขา จาก อก พ่อ แม่ ต้อง อายุ สั้น<br />

เพราะ เคย ลอบ ฆ่า<br />

คน ใน ด้าน ดี ใน ชาติ ที เป็น ่ เศรษฐี หลังจาก เขา ตัด ความ ตระหนี ก็ ่ ทำบุญ ใหญ่ มหาศาล<br />

แต่ ก่อน ตาย จิต กลับ คิด กลัว ความ ผิด ที ไป ่ ฆ่า เขา เลย ต้อง ไป เกิด ใน นรก ทุก อย่าง ล้วน<br />

เป็น ตาม กรรม ที่<br />

สมควร ”<br />

“จ้อน นะ เห รอ คะ เคย ฆ่า คน ตาย ไม่ อยาก จะ เชื่อ<br />

เลย แก เป็น เด็ก ดี ออก ” หมอ<br />

อ้อย รำพึง<br />

แม่ ชี เล่า ต่อ ไป ว่า “ใน ชาติ นั้น<br />

เขา เคย หลง รัก ผู้หญิง<br />

คน หนึ่ง<br />

จน ทน ไม่ ไหว ต้อง ไป<br />

ลอบ ฆ่า สามี ของ เขา เพื่อให้<br />

ได้ ตัว เธอ มา ตามใจ ปรนเปรอ กิเลส ฝ่าย ต่ำ ใน ใจ ตัวอย่าง<br />

ไร้ ศีลธรรม ควบคุม การ เวียน ว่าย ตาย เกิด ใน วัฏสงสาร นั้น<br />

เอา แน่ เอา นอน อะไร ไม่ ได้<br />

ทำความ ดี พอได้ ผล ดี ใน ชาติ ต่อ ไป มีค วาม สุข พอ มีค วาม สุข เข้า ราคะ ก็ กำเริบ ทำ ชั่ว<br />

ได้ พอ ทำ ชั่ว<br />

ได้ รับ ผล ชั่ว<br />

ใน ชาติ ถัด ไป ก็ มี ทุกข์ พอ มี ทุกข์ โทสะ ก็ กำเริบ ทำ ชั่ว<br />

ไป อีก<br />

จะ มี สัก กี่<br />

ชาติ ที่<br />

พบ พุทธ ศาสนา หรือ แม้ ได้ยิน เสียง พระ สัทธรรม ”<br />

“น่า กลัว จัง ค่ะ แม่ ชี ทำไม กรรม นั้น<br />

แรง นัก คะ ” หมอ อ้อย สงสัย<br />

“เพราะ มีค วาม ตั้งใจ<br />

อย่าง แรง กล้า ใน การ ประกอบ กรรม ชั่ว<br />

น่ะสิ ” แม่ ชี ตอบ<br />

“ชาติ นี ก่อน ้ ตาย เขา ก็ได้ ประกอบ กรรม ดี เงิน ของ จ้อน พอที จะ ่ ซื้อ<br />

โจ๊ก ให้ ย่า ได้ และ<br />

เงิน ยัง เหลือ จ้อน เห็น พระ บิ ณบาตร ใน ตอน เช้า ก่อน มา โรง พยาบาล ใจ เป็น กุศล จึง ซื้อ<br />

อาหาร ใส่ บาตร เกิด ความ ปิติยินดี ใน บุญ เป็นอันมาก ขี่<br />

รถจักรยาน ตั้งใจ<br />

จะ เอา โจ๊ก<br />

ที่<br />

ซื้อ<br />

มา ป้อน ย่า ด้วย ใจ ที่<br />

มีค วาม สุข อย่าง ที่สุด<br />

รถยนต์ ที่<br />

กฎแห่งกรรม ส่ง มา ได้ จังหวะ<br />

เหมาะเจาะ อีก ทั้ง<br />

จ้อน เสีย เวลา ใส่ บาตร พระ จน ล่า ช้า ได้ เวลา พอดี ที่<br />

จะ ถูก พราก ชีวิต<br />

ใน ภพ ชาติ นี้<br />

ไป ด้วย รถยนต์ คัน นั้น<br />

จ้อน ตาย อย่าง ฉับพลัน ทันที ไม่ทัน รู้ตัว<br />

และ ไม่ทัน<br />

ได้ รับ ความ เจ็บปวด อัน รุนแรง จาก บาดแผล ฉกรรจ์ ” แม่ ชี ตอบ<br />

แม่ ชี นิ่ง<br />

ไป สัก พัก มอง ดู คน ขับ สามล้อ นอก ศาลา กำลัง ซื้อ<br />

หนังสือพิมพ์ แล้ว จึง พูด<br />

ต่อ ไป ว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

51


52<br />

“ตอน ที่<br />

เขา ไป ลา ย่า เขา แม่ ก็ เห็น คน เยอะแยะ ไป หมด ไม่ มี ใคร เห็น ขบวน เทวดา ที่<br />

นำ ราช รถ มา รับ จ้อน ไป นั้น<br />

มา อย่าง เอิก เริกรับ จ้อน สู วิมาน ่ ชั้น<br />

ฟ้า อัน เหมาะสม แก่ กรรม<br />

ตน ใน อดีต ซึ่ง<br />

รอ ให้ ผลอ ยู่<br />

นาน แล้ว ”<br />

“ดวง กำหนด มา แล้ว เห รอ คะ แล้ว คน เรา จะ ฝืน ดวง ได้ ไหม คะ ” หมอ อ้อย ถาม<br />

เพราะ สงสัย มา นาน แล้ว ใน เรื่อง<br />

การ ผูกดวง ตาม หลัก โหราศาสตร์ และ การ ทำนาย<br />

เรื่อง<br />

ต่างๆ<br />

แม่ ชี ตอบ ว่า “คน เรา ส่วน ใหญ่ ทำตา มค วาม เคย ชิน ใน ใจ เลย ต้อง รับ บทบาท เป็น ไป<br />

ตามด วง ถ้า หนู ฝืน พฤติกรรม ด้วย การ ฝืน ใจ ไม่ ทำ ตามใจ ใน สิ่ง<br />

ที ไม่ ่ ดี หนู ก็ เปลี่ยนแปลง<br />

กรรม ได้ บ้าง หรือ ทำกรรม ใหม่ ที่<br />

มี ผล แรง กว่า กรรม เก่า ”<br />

แม่ ชี พูด ต่อ ไป ว่า “ถ้า หนู มี เวร กรรม ผูกพัน ต้อง อยู่กิน<br />

กับ คนๆ หนึ่ง<br />

เพื่อ<br />

ที่<br />

จะ พบ<br />

กับ ความ ทุกข์ กรรม ที ผูกพัน ่ กัน มา จะ ทำให้ หนู ต้อง หลง รัก เขา และ รับ ทุกข์ ใน ที่สุด<br />

แต่<br />

ถ้า หนู ปฏิบัติธรรม ฝึก ใจ ตน เอง หนู จะ มี สติ ไตร่ตรอง มาก ขึ้น<br />

อาจ พ้น จาก ผลก รรม<br />

เก่า ได้ ”<br />

ดูเหมือน ประโยค สุดท้าย นั่นเอง<br />

ที่<br />

แม่ ชี อยาก บอก อยาก จะ เตือน และ เป็น สิ่ง<br />

ที่<br />

บาดใจ ของ หมอ อ้อย มาก เป็น จังหวะ เดียว กับ ที่<br />

ลุง คน ถีบรถ สามล้อ ที่<br />

ซื้อ<br />

หนังสือพิมพ์<br />

เมื่อ<br />

สัก ครู่<br />

ก้าว เข้า มา ใน ศาลา นั่ง<br />

ฝั่ง<br />

ตรง ข้าม หมอ อ้อย และ แม่ ชี กาง หนังสือพิมพ์ หัวสี<br />

ขึ้น<br />

มา อ่าน แม่ ชี มอง ไป ทาง หนังสือพิมพ์ หมอ อ้อย หัน ตาม ไป ดู เหมือน มี อะไร บาง<br />

อย่าง อยาก ให้ หมอ อ้อย รับ รู้<br />

อาจ เป็นความ บังเอิญ อัน พอเหมาะ ที่<br />

สายตา หมอ อ้อย<br />

ตาม อ่าน ไป เห็น พาด หัว ตัว รอง<br />

“สาว ป.โท ช้ำ รัก ซด ยา พิษ ดับ คา ห้อง เช่า ”<br />

ทุก อย่าง ดูเหมือน ถูก จัด วาง ให้ เธอ คิดถึง ความ รัก ที่<br />

ไม่ ราบรื่น<br />

ของ เธอ เพลง รัก ที่<br />

มี<br />

เนื้อหา<br />

กล่าว ถึง ผู้หญิง<br />

คน หนึ่ง<br />

ถูก ผู้ชาย<br />

ที่<br />

มี ภรรยา แล้ว หลอก จน เสียใจ มากมาย ก็<br />

ดังขึ้น<br />

กับ การ เปิด เสียง เพลง ทดสอบ ลำโพง ของ จอ หนัง กลางแปลง หน้า วัด ที จะ ่ เริ่ม<br />

คืนนี้<br />

ลุง คน ถีบ สามล้อ อ่าน ข่าว เสร็จ ก็ พูด กับ แม่ ชี ว่า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


“แย่ จัง นะ ครับ แม่ ชี ผู้ชาย<br />

มี เมีย อยู่<br />

แล้ว ก็ ไป หลอก ผู้หญิง<br />

เสียใจ จน กิน ยา พิษ ตาย<br />

สงสาร พ่อ แม่ ของ เขา จัง ”<br />

หมอ อ้อย สะดุ้ง<br />

อีก ครั้ง<br />

ประมาณ 6-7 เดือน มา นี้<br />

มี นัก ธุรกิจ ใหญ่ วัย แก่ กว่า<br />

เธอ มาก มา ตาม จีบ เธอ จน เธอ ก็ รัก เขา ตอบ นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

เป็น คน ที่<br />

เธอ ถูกใจ อย่าง<br />

ประหลาด เรื่อง<br />

เริ่ม<br />

ขึ้น<br />

เมื่อ<br />

เดือน พฤศจิกายน ปี ที่<br />

แล้ว ตอน ที่<br />

เธอ เป็น แพทย์ ใช้ ทุน ปี<br />

หนึ่ง<br />

ช่วง นั้น<br />

เป็นต้น ฤดู หนาว เด็ก เล็กๆ ป่วย กัน มาก ตาม ฤดูกาล วัน ที่<br />

ที่<br />

พบ กัน ครั้ง<br />

แรก เป็น โรง พยาบาล เอกชน ที เธอ ่ ไป อยู่เวร<br />

พิเศษ ใน วัน นั้น<br />

นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

พา ลูก ชาย<br />

วัย 2 ขวบ มา หา หมอ พร้อม กับ ลูก สาว วัย 4 ขวบ อีก คน บทสนทนา ใน วัน นั้น<br />

ถูก<br />

ทบทวน ใน สมอง ของ เธอ อีก ครั้ง<br />

ขึ้น<br />

“อย่า ดื้อ<br />

กับ คุณ น้า หมอ สิ ลูก ไม่ ต้อง กลัว พ่อ อยู่<br />

นี่<br />

แล้ว ” นัก ธุรกิจ หนุ่ม<br />

ใหญ่ พูด<br />

“แม่ๆๆๆ แม่ หนู จะ หา แม่ ” เด็ก น้อย วัย 2 ขวบ ร้องไห้ จ้า หา แม่<br />

“เดี๋ยว<br />

น้า หมอ ตรวจ เดี๋ยวเดียว<br />

ก็ จะ ได้ กลับ บ้าน ไป หา แม่ แล้ว ” หมอ อ้อย กล่าว<br />

ปลอบ เจ้า หนู ยัง ไม่ หยุด ร้อง<br />

“ผม แยก กัน อยู่<br />

กับ ภรรยา นะ ครับ อยู่<br />

ระหว่าง ฟ้อง หย่า ครับ ” นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

ตอบ ด้วย น้ำเสียง เศร้าๆ มอง เธอ อย่าง ไม่ กระ พริบ ตา แวว ตา นั้น<br />

ทำให้ หมอ อ้อย รู้สึก<br />

ประหลาด ตรวจ เสร็จ หมอ อ้อย มอง ไป ทาง เด็กหญิง 4 ขวบ พีสาว<br />

่ ที่<br />

อุ้ม<br />

ตุ๊กตา<br />

ยืน รอ<br />

พ่อ และ น้อง ช่าง น่า เวทนา เด็ก น้อย ทั้ง<br />

2 คน จะ ไม่ มี แม่ หรือ นี่<br />

กุมภาพันธ์ ที เพิ ่ ่ง ผ่าน มา เธอ เจอ กับ นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

อีก ที โรง ่ พยาบาล เอกชน เพราะ<br />

พา ลูก ที ไม่ ่ สบาย มา หา หมอ อีก เป็น ครั้ง<br />

ที สอง ่ คืน วัน นั้น<br />

เป็น วัน ก่อน วัน วา เลน ไทน์ 1 วัน<br />

เธอ ต้อง อยู่เวร<br />

ถึง เช้า ที โรง ่ พยาบาล เอกชน ก่อน นอน หมอ อ้อย นอน คิดถึง วัน วา เลน ไทน์<br />

ที่<br />

จะ มา ถึง ใน วัน พรุ่งนี้<br />

หมอ อ้อย ใน คืน นั้น<br />

กำลัง นึก เบื่อๆ<br />

เพราะ ยัง ไม่ มี แฟนอย่าง คน<br />

อื่น<br />

เขา เนื่องด้วย<br />

เป็น เด็ก เรียน เรียบร้อย มี เพื่อนๆ<br />

หลาย คน เคย ตาม จีบ แม้ กระทั่ง<br />

นักศึกษา วิ ศวะ จาก ต่าง มหาวิทยาลัย แต่ เธอ ก็ มุ่ง<br />

แต่ เรียน เรื่อย<br />

มา พอ คิด จะ มี แฟนเข้า<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

53


54<br />

จริงจัง บรรดา คน ที่<br />

เคย ตาม จีบ ก็ หายหน้า ไป หมด แล้ว เพื่อนๆ<br />

หมอ ที่<br />

เป็น ชาย แท้ๆ<br />

ก็ ล้วน มี แฟนไป หมด แล้ว เหลือ แต่ เพื่อน<br />

หน้า หล่อ เท่ห์ แต่ กลับ เป็น กระ เท ยเก๊ก แมน คน<br />

หนึ่ง<br />

คิด เพลินๆ แล้ว ก็ หลับ ไป จน เช้า เพราะ ไม่ มี อุบัติเหตุ หรือ คนไข้ ด่วน ใดๆ เข้า มา<br />

เลย ตลอด คืน พอ จะ กลับ บ้าน ใน ตอน เช้า ของ วัน วา เลน ไทน์ เจ้าหน้าที่<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

จึง แจ้ง ให้ หมอ อ้อย ทราบ ว่า<br />

“มี ของ ฝาก ถึง คุณ หมอ อ้อย ค่ะ เพิ่ง<br />

มา สัก ครู ก่อน ่ ที่<br />

หมอ จะ ลง มา นี่เอง<br />

” เจ้าหน้าที่<br />

ประชาสัมพันธ์ ยิ้ม<br />

น้อย ยิ้ม<br />

ใหญ่ ด้วย สายตา ล้อเลียน ยื่น<br />

กล่อง ช็อคโกแลตอย่าง ดี พร้อม<br />

กับ ดอก กุหลาบ สี ขาว ที เธอ ่ ชอบ ที จัด ่ ช่อ อย่าง สวย งาม พร้อม การ์ดรูป หัวใจ เขียน คำ อวย<br />

พร ว่า “สุข สันต์ วัน วา เลน ไท น์ครับ คุณ หมอ คน สวย ”<br />

หมอ อ้อย ผู้<br />

เรียบร้อย รู้สึก<br />

เขิน อาย และ ทำ อะไร ไม่ ถูก ถาม ดู จึง รู้<br />

ว่า นัก ธุรกิจ พ่อ<br />

ของ คนไข้ เด็ก ของ เธอ เอง ที่<br />

ฝาก ของ ให้ ของขวัญ ชิ้น<br />

นั้น<br />

ทำเอา เธอ เขิน อาย ไป ครึ่ง<br />

ค่อน<br />

วัน แต่ สิ่ง<br />

ที่<br />

ประทับใจ ที่สุด<br />

ไม่ ใช่ วัน นั้นแต่<br />

เป็น เหตุการณ์ ใน วัน หยุด ของ หมอ อ้อย วัน<br />

หนึ่ง<br />

หลังจาก วัน นั้น<br />

เธอ ไป ฟัง สัมมนา ทาง ด้าน การ ลงทุน ใน ตลาดหลักทรัพย์ ที กรุงเทพ ่<br />

ใน งาน สัมมนา ฟรี แห่ง นั้น<br />

เอง นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

เจ้าของ ของขวัญ วัน วา เลน ไท น์ก็ได้ รับ<br />

เชิญ มา เป็น ผู้<br />

ให้ ความ รู้<br />

บน เวที พูด จา วิเคราะห์ เศรษฐกิจ การ ลงทุน อย่าง ฉาดฉาน เป็น<br />

ที่<br />

น่า ประทับใจ เธอ ฟัง เขา พูด ทุก คำ มอง หน้า เขา เหมือน ตน ตก อยู่<br />

ใน ภวังค์ หมอ อ้อย<br />

เพิ่ง<br />

เปิด พอ ร์ทล งทุน ใน หุ้น<br />

ไม่ นาน นัก ได้ คุย กับ นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

หลัง งาน เลิก เล็กน้อย ถึง<br />

เรื่อง<br />

การ ลงทุน และ รู้<br />

ว่า นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

ประกอบ ธุรกิจ ใน นิคมอุตสาหกรรม ใน จังหวัด<br />

ที่<br />

เธอ ทำ งาน นั่นเอง<br />

ความ เพียร พยายาม ของ นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

ใน การ ได้ มา ซึ่ง<br />

ข้อมูล หมายเลข โทรศัพท์<br />

ที่<br />

อยู่<br />

ที่<br />

ทำ งาน เป็น สิ่ง<br />

แสดง อย่าง ดี ว่า นัก ธุรกิจ หนุ่ม<br />

ใหญ่ สนใจ ใน ตัว หมอ อ้อย ไม่ น้อย<br />

เหมือน ที่<br />

หมอ อ้อย แอบ สนใจ ใน ตัว เขา ดอกไม้ ช่อ ใหญ่ หลาย ต่อ หลาย ช่อ ถูก นำ มา ส่ง<br />

ที่<br />

ประชาสัมพันธ์ โรง พยาบาล ให้ หมอ อ้อย จน เป็น ที่<br />

โจษ ขาน นัก ธุรกิจ คน นั้น<br />

พยายาม<br />

ติดต่อ จีบ เธอ ได้ ระยะ หนึ่ง<br />

จน หมอ อ้อย เริ่ม<br />

ใจอ่อน ยอม คุย โทรศัพท์ กับ เขา และ เริ่ม<br />

สนิทสนม คุย กัน นานๆ มาก ขึ้นๆ<br />

ยอม ออก ไป พบ รับประทาน อาหาร เย็น กับ เขา ตาม<br />

ที่<br />

เขา ชักชวน และ ล่า สุดกำลัง มี แผนที จะ ่ ยอม ไป เที่ยว<br />

กับ เขา แบบ ไป เช้า เย็น กลับ ใน วัน<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


หยุด เดือน หน้าที จะ ่ ถึง นี ตาม ้ ที เขา ่ อ้อนวอน ชักชวน มา นาน เธอ จะ ไป เที่ยว<br />

น้ำตก เอราวัณ<br />

ที่<br />

จังหวัด กาญจนบุรี กับ เขา ใน เดือน หน้า โดย ลูกๆ ทั้ง<br />

สอง ของ เขา จะ ร่วม ไป ด้วย<br />

แปลก แต่ จริง คน สวย ใจดี อย่าง เธอ มีค นมา ตาม จีบ มากมาย กลับ ไม่ สนใจ ใคร ไม่<br />

ถูกใจ ใคร สัก ที แต่ กับ นัก ธุรกิจ ใหญ่ ราย นี้<br />

เหมือน เธอ ต้อง มนต์ เคลิบเคลิ้ม<br />

อย่าง<br />

ประหลาด นัก คลับคล้าย กับ ว่า คุ้นเคย<br />

กัน มา แต่ ชาติ ไหน ปากขอ งเขา ที่<br />

พร่ำ บอก<br />

ทางโทรศัพท์ ว่า แยก กัน อยู่<br />

กับ ภรรยา และ กำลัง จะ หย่า ใน ไม่ ช้า แต่ ก็ ผลัด ผ่อน ไม่ หย่า<br />

สัก ที อ้าง โน่น อ้าง นี่<br />

มา หลาย เดือน เธอ จึง แอบ มีค วาม ฝัน มาก ขึ้น<br />

ที่<br />

จะ ไป ใช้ ชีวิต คู่<br />

กับ<br />

เขา แม้ วัย จะ ต่าง กัน มาก ก็ตาม และ แม้ ว่า เธอ จะ รู้สึก<br />

ว่า แท้ที่จริง<br />

แล้ว เขา อาจ จะ ไม่ หย่า<br />

กับ ภรรยา จริง อย่าง ที่<br />

เขา พูด เพราะ มี พี่<br />

พยาบาล ที่<br />

รู้จัก<br />

ครอบครัว เขา ดี มา เตือน แล้ว ว่า<br />

ควร จะ ระวัง ว่า จะ โดน หลอก เพราะ จริงๆ แล้ว เขา อาจ ไม่ หย่า กับ ภรรยา คน ปัจจุบัน<br />

อย่าง ที่<br />

บอก แถม อีก ทั้ง<br />

ยัง มี ประวัติ เจ้าชู้<br />

จน เป็น ที่<br />

เลื่องลือ<br />

และ กำลัง คืนดี กับ ภรรยา<br />

แต่ หมอ อ้อย ก็ ยัง ไม่ ฟัง แอบ คิด ว่า ตัว เอง ที่<br />

สาวก ว่า สวย กว่า จะ ต้อง ทำให้ เขา หย่า ขาด<br />

กับ ภรรยา ที ระหองระแหง ่ ได้ สัก วัน อีก ทั้ง<br />

เขา ก็ มีอายุ มาก ขึ้น<br />

ทุกที คง อาจ กำลัง คิด ที จะ ่<br />

หยุด ความ เจ้าชู้<br />

กับ ผู้หญิง<br />

ดีๆ สัก คน หนึ่ง<br />

และ ผู้หญิง<br />

คน นั้น<br />

คง เป็น เธอ หมอ อ้อย รู้สึก<br />

ว่า นัก ธุรกิจ คน นี้<br />

มี ทุก อย่าง ที่<br />

เธอ ชอบ ไม่ ว่า จะ การ ศึกษา ฐานะ ความ ฉลาด ความ<br />

สำเร็จ ใน ชีวิต ทุก อย่าง ดู ดี ไป หมด<br />

กลับ มา อยู่<br />

กับ ปัจจุบัน เธอ กำลัง สนทนา กับ แม่ ชี ที่<br />

ดูเหมือน จะ รู้ความ<br />

คิด เธอ ทุก<br />

อย่าง เธอ นั่ง<br />

อยู่<br />

กับ แม่ ชี ที่<br />

ศาลา ท่า น้ำ นั้น<br />

เธอ กราบ ลง บน ตัก แม่ ชี ด้วย ความ เคารพ<br />

นับถือ อย่าง จริงใจ แม่ ชี ลูบ หัว เธอ ด้วย ความ เอ็นดู<br />

“คิด ดีๆ นะ หนู แม่ บอก หนู ได้ แค่ นี้<br />

ที่<br />

เหลือ หนู ต้อง เลือก เอง ”<br />

จาก การ สนทนา ใน วัน นั้น<br />

หมอ อ้อย เริ่ม<br />

ปฏิบัติธรรม ง่ายๆ ด้วย การ กำหนด ลม<br />

หายใจ ใน เวลา ที่<br />

ระลึก ได้ ตาม ที่<br />

ค้นคว้า หา วิธี ปฏิบัติธรรม จาก ทาง อิน เต อร์เน็ท และ<br />

พบ ว่า เธอ มี สติ ใน การ คิด พิจารณา ไตร่ตรอง มาก ขึ้น<br />

ผล การ ปฏิบัติ ไม่ เคลิบเคลิ้ม<br />

ไป ตาม<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

55


56<br />

ความ คิด ตน เอง มอง สิ่ง<br />

ต่างๆ ตาม ความ เป็น จริง มาก ขึ้น<br />

ไม่ ใช่ ตาม กิเลส ชวน ให้ มอง<br />

เห็น ชัด ว่า ใน เวลา ที่<br />

จิตใจ ลุ่มหลง<br />

ใน ความ รัก กับ คน ที่<br />

ถูกใจ สามารถ ที่<br />

จะ มอง อะไรๆ ดี<br />

ไป หมด ไม่ เห็น ข้อ เสีย เลย แม้ สัก ประการ เดียว หาก แม้ มี ข้อ เสีย สะกิด ใจ บ้าง มัน ก็ ไม่<br />

ใช่ เรื่อง<br />

ใหญ่<br />

หมอ อ้อย พยายาม ฝืน ใจ ที่<br />

จะ ไม่ รับ โทรศัพท์ ของ เขา ที่<br />

พากเพียร โทร มา อย่าง ไม่ รู้<br />

เหนื่อย<br />

นั่ง<br />

พิจารณา ความ คิด ตัว เอง จน เห็น ความ คิด ที จะ ่ แย่ง ชิง เขา มา เป็น ของ ตัว เอง<br />

แล้ว เกิด ความ ละอาย แก่ ใจ จนถึง ขั้น<br />

ตัดขาด ความ สัมพันธ์ เด็ดขาด โดย บอก ไป ตรงๆ ว่า<br />

มัน เป็น เรื่อง<br />

ที ไม่ ่ เหมาะสม ยิ่ง<br />

คุย กัน เขา กับ ภรรยา ก็ ระหองระแหง มาก ขึ้น<br />

และ อยาก<br />

จบ ความ สัมพันธ์ แต่ เพียงนี้<br />

จะ ดี กว่า เธอ รู้สึก<br />

เจ็บปวด อยู่<br />

บ้าง ที่<br />

ต้อง ฝืน ใจ เมื่อ<br />

นึกถึง มัน<br />

แต่ เมื่อ<br />

เวลา ผ่าน ไป ระยะ หนึ่ง<br />

เธอ ก็ รู้สึก<br />

ว่า เธอ ได้ ระงับ เหตุ แห่ง การ ก่อ กรรม ไป ได้ มาก<br />

ทำให้ ตน เอง ไม่ ตก อยู่<br />

ใน ห้วง ทุกข์ อย่าง ที่<br />

อาจ จะ เป็น หาก เธอ ไม่ พบ แม่ ชี ชรา ท่าน นี้<br />

ขอบคุณ ความ เจริญ ของ โลก ของ อิน เต อร์เน็ท ใน ปัจจุบัน ทีทำให้<br />

่ เธอ เข้าถึง ข้อมูล<br />

แนะ การ ปฏิบัติธรรม ได้ ง่าย ขึ้น<br />

โดย ไม่ ต้อง เดินทาง ออก ไป หา ซื้อ<br />

หนังสือ ที่ไหน<br />

คนใน<br />

ยุค เรา ที่<br />

เข้าถึง อิน เต อร์เน็ท อาจ เข้าถึง ข้อมูล พระ ธรรม คำสั่ง<br />

สอน ของ องค์ พระ สัมมา<br />

สัมพุทธเจ้า ได้ ด้วย ปลาย นิ้ว*<br />

ไม่ เหมือน ยุค โบราณ สมัย เช่น ใน ยุค พระ ถัง ซัมจั๋ง<br />

พระ<br />

สงฆ์ จีน สมัย ราชวงศ์ ถัง ที่<br />

ต้อง บุก ฝ่า ภยัน อันตราย และ ความ หฤโหด ต่างๆ นานา<br />

จาก การ เดินทาง ไกล ไป กลับ หลาย ปี เพื่อ<br />

ไป อัน เชิญ พระ ไตรปิฎก จาก อินเดีย เสีย เวลา<br />

อีก นาน กว่า จะ แปล เป็น ภาษา จีน ให้ ผู้<br />

ศรัทธา ที่<br />

รอ คอย ได้ อ่าน ได้ ศึกษา ปัจจุบัน พระ<br />

ไตรปิฎก ฉบับ ภาษา ไทย 45 เล่ม และ สารพัด หนังสือ เรียน นักธรรม ถูก เก็บ ใน แผ่น CD<br />

แผ่น เดียว ซึ่ง<br />

มี ผู้<br />

ทำ แจก เป็น ธรรม ทาน เนืองๆ และ มี ให้ คัด ลอก อย่าง ง่ายๆ หนังสือ<br />

แนะนำ การ ศึกษา พระ ไตรปิฎก ก็ มี สรุป ให้ ค้น ว่า พระ สูตร ไหน เกี่ยว<br />

กับ เรื่อง<br />

อะไร หนังสือ<br />

ดีๆ ก็ มี ให้ คัด ลอก มา อ่าน ได้ ง่ายๆ หลาย ต่อ หลาย เล่ม<br />

หมอ อ้อย ได้ เริ่ม<br />

ต้น ใน ทาง ที่<br />

ดี กว่า แล้ว ทาง ที่<br />

จะ ทำให้ ทุกข์ ใน ชีวิต นี้<br />

น้อย ลง และ<br />

อาจ ทำให้ การ เวียน ว่าย ตาย เกิด ที่<br />

ไม่ รู้จัก<br />

จบ สิ้น<br />

สั้น<br />

ลง ด้วย<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


* ค้น พระ ไตรปิฎก ๔๕ เล่ม (http://84000.org/tipitaka/pitaka_item/)<br />

รายการ หนังสือ อ้างอิง<br />

•<br />

•<br />

มหา มกุฏ ราชวิทยาลัย “นำเที่ยว<br />

พระ ไตรปิฎก ”<br />

http://mahamakuta.inet.co.th/books/books120.htm<br />

พระ พรหม โมลี (วัด ยานนาวา) มุนี นาถ ทีปนี<br />

http://www.dokya.co.uk/popup_image.php?pID=289&osCsid=ef545b<br />

ca43da8cc0d2f6af<br />

สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

57


58<br />

รัก พ.ศ. ๑๐๐<br />

โดย วิ ลาศินี<br />

(เริ่ม<br />

ลง ตั้งแต่<br />

ฉบบ ที่<br />

๔๖ http://dungtrin.com/mag/?46.fiction)<br />

“พี่<br />

ศรี ราม …”<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

บท ที่<br />

สิบแปด<br />

นวนิยายอิงธรรมะ<br />

สดับ เสียง นุ่ม<br />

เย็น ก็ รู ว่าเป็น ้ ใคร อื่น<br />

ไป มิได้ ภา วิณีนำน้ำ ปานะไป ถวาย พระ ภิกษุ กลับ<br />

มา ไม่ พบ จัน ทราว ตี จึง ออก ตาม หา แม้ จะ รู้<br />

ว่า คง มี องครักษ์ ติดตาม ไป ดูแล อยู่<br />

ตลอด<br />

แต่ ก็ ไม่ คิด นอนใจ เห็น ว่า ศรี ราม คอย ดูแล ความ เป็น ไป ใน ขบวน อยู่<br />

จึง หมาย จะ เข้าไป<br />

สอบถาม<br />

“ตาม หา เพื่อน<br />

หญิง อยู่<br />

หรือ ขอรับ ”<br />

ศรี ราม หัน ไป ขาน รับ ด้วย รู้เห็น<br />

เหตุการณ์ ภายหลัง จาก มี การ ลอบ ปลง พระ ชนม์ บน<br />

หน้าผา และ เจ้า ชาย โอบอุ้ม<br />

หญิง สาว ที่<br />

สลบไสล ลง มา และ พา ไป รักษา พยาบาล ยัง ที่<br />

ประทับ แต่ อาจ จะ ไม่ ดี นัก หาก จะ ให้ ผู้<br />

ใด ไป ขัดจังหวะ ใน เวลา นี้<br />

เมื่อ<br />

ภา วิณีตอบ รับ ว่า<br />

ใช่ ชาย หนุ่ม<br />

จึง แสร้ง หัน มอง ไป ทั่ว<br />

บริเวณ แล้ว เอ่ย ถาม<br />

“หาย ไป นาน หรือ ยัง ขอรับ ”<br />

“สัก พัก แล้ว จ้ะ ฉัน เดิน หา มา จาก ด้าน หลัง ของ ขบวน แล้ว ไม่ พบ จึง ลอง มา ถาม พี่<br />

ศรี ราม ที่<br />

ดูแล อยู่<br />

ทาง ด้านหน้า ”<br />

“น้อง หญิง คลาด กัน เมื่อ<br />

เวลา ใด และ ตรง จุด ใด ของ ขบวน ล่ะ ขอรับ ”<br />

“ตรง บริเวณ หลัง ขบวน ที่ทำการ<br />

กวน ข้าว มธุปายาส จ้ะ ”<br />

อ่านบนเว็บ • ฟังเสียงอ่าน


“เช่น นั้น<br />

น่า จะ กลับ ไป ดู บริเวณ นั้น<br />

อีก ครั้ง<br />

บางที เมื่อ<br />

ครู่<br />

น้อง หญิง อาจ จะ สำรวจ ได้<br />

ไม่ ทั่ว<br />

ยิ่ง<br />

เวลา นี้<br />

เริ่ม<br />

พลบ ค่ำ ให้ กระผม ตาม ไป ส่ง จะ ดี กว่า นะ ขอรับ ”<br />

แม้ จะ ฉลาด ใน ธรรม เพียง ใด ก็ ไม่ รู้<br />

เล่ห์ ศรี ราม มิได้ ออกปาก สัก คำว่า ‘เห็น ’ หรือ<br />

‘ไม่ เห็น ’ แต่ อาสา ว่า จะ ไป เป็น เพื่อน<br />

ภา วิณีกระ พริบ ตา ถาม ประสา ซื่อ<br />

“ไม่ เป็นการ รบกวน หรือ เจ้า คะ ”<br />

“ไม่ หรอก ขอรับ ที่จริง<br />

ก็ เป็นความ ผิด ของ กระผม เอง ที่<br />

มัว แต่ วุ่นวาย<br />

อยู่<br />

กับ การ จัด<br />

ขบวน จึง ดูแล ผู้คน<br />

ไม่ ทั่วถึง<br />

เวลา นี้<br />

รูป ขบวน จัด เสร็จ เรียบร้อย แล้ว ควร จะ ทำ อะไร<br />

ชดใช้ ความ ผิด บ้าง ”<br />

ภา วิณีลังเล อยู ครู ่ หนึ ่ ่ง ด้วย ความ เป็น ห่วง ว่า หาก จัน ทราว ตี กำลัง ตก อยู ใน ่ อันตราย<br />

แล้ว เธอ เข้าไป พบ เพียง ผู เดียว ้ คง ไม่ อาจ ช่วย อะไร ได้ อย่าง น้อย การ มี บุรุษ ติดตาม ไป ย่อม<br />

ปลอดภัย กว่า ทบทวน แล้ว ว่า ศรี ราม เอง ก็ เป็น บุคคล ที่<br />

ไว้ใจ ได้ ผู้<br />

หนึ่ง<br />

จึง เอ่ย ปาก รับ<br />

“ขอบใจ จ้ะ ”<br />

ฟัง เสียง นุ่ม<br />

เย็น ตอบ มา อย่าง เป็น มิตร ศรี ราม รู้สึก<br />

ชื่น<br />

ใจ จน เผลอ ยิ้ม<br />

กว้าง ผาย มือ<br />

นำทาง ให้ อย่าง ยินดี<br />

“เชิญ ทาง นี้<br />

ขอรับ เดิน สะดวก กว่า …”<br />

ระหว่าง ที เดิน ่ สำรวจ ขบวน ศรี ราม เดิน เอื่อย<br />

อย่าง ใจเย็น หาเรื่อง<br />

ชม นก ชม ไม้ และ<br />

เล่า เหตุการณ์ ที่<br />

พบ ระหว่าง การ เดินขบวน มากมาย ขณะ ที่<br />

ภา วิณีนิ่ง<br />

ฟัง แล้ว ส่าย หน้า<br />

เอียง คอ สงสัย<br />

“มี อะไร หรือ ขอรับ ”<br />

“จ้ะ ฉัน กำลัง ฉงน ใจ ว่า เมื่อ<br />

ครู่<br />

ท่าน รู้<br />

ได้ อย่างไร ว่า ฉัน ตาม หาว ตี อยู่<br />

โดยที่<br />

ฉัน ยัง<br />

ไม่ เอ่ย ปาก ”<br />

เป็น เรื่อง<br />

ที ภา ่ วิณีสงสัย และ แปลก ใจมา นาน ด้วย ความ คิด ใน จิตใจ ของ เธอ แต่ละ ครั้ง<br />

มัก จะ ถูก ศรี ราม อ่าน ออก เสมอ เมื่อ<br />

ต้องการ สิ่ง<br />

ใด บาง ครั้ง<br />

มิ ต้อง เอ่ย ปาก พูด ศรีราม ก็<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

59


60<br />

นำ มา หยิบ ยื่น<br />

ให้ ใน ทันใด และ แม้ ครั้ง<br />

นี้<br />

ก็ มิได้ ต่าง กัน นัก ศรี ราม เอ่ย ปาก ทัก ตั้งแต่<br />

เธอ<br />

เดิน เข้าไป หา<br />

หาก คู่<br />

สนทนา จะ ตอบ ว่า เขา มี ญาณ วิเศษ ที่<br />

รู้<br />

สภาวะ ธรรม ใน จิตใจ ของ ผู้<br />

อื่น<br />

ก็ ไม่ ใช่<br />

เรื่อง<br />

แปลก นัก ด้วยว่า แม้ พระพุทธองค์ จะ ปรินิพพาน ไป กว่า ร้อย ปี แต่ ก็ ยัง มี พระ เถระ<br />

เถรี และ อุบาสก อุบาสิกา ที่<br />

มี ฤทธิ์<br />

และ ถ่ายทอด แนวทาง การ ปฏิบัติ ทั้ง<br />

ด้าน สมถะ และ<br />

วิปัสสนา จน ได้ ญาณ กัน อยู่<br />

มาก หลาย แต่ ผู้<br />

ใด มี ก็ ไม่ มีค วาม จำเป็น ต้อง เอา มา โอ้อวด<br />

ด้วย สิ่ง<br />

เหล่า นั้น<br />

ล้วน เป็น ผลพลอยได้ หา ใช่ ทาง สาย กลาง ที่<br />

นำ ไป สู่<br />

การ หลุดพ้น ไม่<br />

แต่ ภา วิณีต้องการ จะ ถาม เพื่อ<br />

รับ รู ไว้ ้ เพื่อ<br />

เป็นการ หยั่ง<br />

เชิง ว่า หาก ศรี ราม มี ญาณ พิเศษ<br />

ชนิด นั้น<br />

เธอ ย่อม ต้อง ระวัง ให้ มาก ก่อน จะ หลุด คำ พูด หรือ ความ คิด ใดๆ ให้ ชาย หนุ่ม<br />

สงสัย<br />

ศรี ราม ชะงัก อึ้ง<br />

แล้ว พินิจ มอง สตรี ตรง หน้า เธอ ถาม ราวกับ อยาก รู้<br />

ว่า เขา มี เจ โต<br />

ปริยญาณ หรือ ไม่ แต่ จะ เป็น ไป ได้ อย่างไร ที่<br />

หญิง สาว ชาว บ้าน จะ รู้จัก<br />

คำๆ นั้น<br />

ทั้ง<br />

ญาณ วิเศษ ที เขา ่ มี ก็ มิ ใช่ ของเล่น ที จะ ่ หยิบยก มา อวด ใคร ได้ พร่ำเพรื่อ<br />

ด้วย ขอบเขต ความ<br />

สามารถ ใน การ ควบคุม ยัง มี เพียง จำกัด เปิด รับ เฉพาะ คน ที ใกล้ ่ ชิด และ มี จิต ผูกพัน กัน มา<br />

ก่อน หน้า หรือ อาจ ต้อง มา อยู่<br />

ใกล้ รัศมี กัน พอ สมควร<br />

สิ่ง<br />

ที่<br />

ศรี ราม สัมผัส ได้ ชัดเจน คือ เมื่อ<br />

ใด จิตใจ ของ อีก ฝ่าย ขุ่นมัว<br />

กระแส พลัง จะ<br />

เหนี่ยวรั้ง<br />

ให้ ใจ เขา สั่น<br />

ไหว และ ร้อน รุม เมื่อ<br />

ใด จิตใจ ของ อีก ฝ่าย ผ่องใส ก็ จะ เหมือน ได้<br />

รับ กระแสลม ชื่น<br />

เย็น ของ ยาม รุ่ง<br />

อรุณ พัด ผ่าน เช่น เดียว กับ เมื่อ<br />

อยู ใกล้ ่ หญิง สาว ในยามนี้<br />

ก็ รู้สึก<br />

ถึง ความ เป็น มิตร ที่<br />

ฉ่ำ เย็น จน คิด จะ เปิด ใจ หาก แต่ ด้วย ได้ รับ การ กำชับ จาก<br />

พระเถราจารย์มา ก่อน หน้า ที่<br />

ห้าม มิ ให้ เปิดเผย เรื่อง<br />

ญาณ วิเศษ กับ ผู้<br />

ใด โดย ไม่ จำเป็น<br />

เห็น ภา วิณีสงสัย จึง ได้ แต่ ยิ้ม<br />

อย่าง ถนอม น้ำใจ ก่อน กล่าว<br />

“ก็ ทุก คราว กระผม เห็น น้อง หญิง ทั้ง<br />

สอง อยู ด้วย ่ กัน ตลอด นี ขอรับ ่ วัน นี เห็น ้ น้อง หญิง<br />

ภา วิณีมา ผู้<br />

เดียว และ เหมือน มอง หา ผู้<br />

ใด อยู่<br />

จึง เดา ดู เท่านั้น<br />

ขอรับ ”<br />

“อ๋อ … เจ้า ค่ะ ”<br />

ภา วิณีรับคำ และ นิ่ง<br />

ไป …คง เป็นการ คาด เดา อย่าง ที่<br />

เขา ว่า ตัด ความ สงสัย ออก ไป<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


แล้ว เหลียว มอง หา เพื่อน<br />

หญิง ทาง ทิศ อื่น<br />

ต่อ ศรี ราม ชำเลือง มอง แล้ว หาเรื่อง<br />

มาส นทนา<br />

แก้ขัด<br />

“คราว ก่อน น้อง หญิง ถาม ถึง เวฬุวัน วิหาร กระผม ยัง มิได้ เล่า เรื่อง<br />

พิสดาร ยิ่ง<br />

กว่า<br />

นั้น<br />

เลย ขอรับ ”<br />

อยาก คิด จะ ดึง เธอ ไว้ ให้การ สนทนา ยาว นาน ขึ้น<br />

จึง เกริ่น<br />

ถึง เรื่อง<br />

ที่<br />

อีก ฝ่าย น่า จะ<br />

สนใจ และ ดู ที ว่า จะ ได้ ผล<br />

“เรื่อง<br />

อะไร หรือ เจ้า คะ ”<br />

“มี อีก วัด หนึ่ง<br />

ที่<br />

สร้าง ขึ้น<br />

มา ต่อ จาก เวฬุวัน วิหาร และ ไป ตั้ง<br />

อยู่<br />

ที่<br />

เมือง สา วัต ถี น้อง<br />

หญิง ทราบ หรือ ไม่ ขอรับ ว่าเป็น วัด ใด ”<br />

ศรี ราม ตั้ง<br />

ปุจฉา แล้ว ก็ พบ ว่า ผิด ความ คาด หมาย เมื่อ<br />

ภา วิณีวิสัชนา กลับ ไป อย่าง<br />

คล่องแคล่ว<br />

“ทราบ จ้ะ เชตวัน มหา วิหาร ใช่ หรือ ไม่ ”<br />

“ใช่ ขอรับ ดู ท่า กระผม จะ เอา มะพร้าวห้าว มา ขาย สวน เสีย แล้ว ”<br />

ศรี ราม บ่น อุบอิบ ภา วิณีจึง หัวเราะ ต่ำๆก่อน เอ่ย คำ ปลอบ ใจ<br />

“เล่า มา เถิด จ้ะ ฉัน รอ ฟัง อยู่<br />

”<br />

เมื่อ<br />

เธอ เปิด โอกาส ศรี ราม จึง วางมาด ผู รู ้ แล้ว ้ สูด ลม หายใจ เข้า ลึกๆ ก่อน เล่า นิทาน<br />

เรื่อง<br />

ยาว ให้ หญิง สาว ฟัง อีก ครั้ง<br />

“เมื่อ<br />

เวฬุวัน วิหาร สร้าง แล้ว เสร็จ และ พระ บรม ศาสดา เสด็จ เข้า ประทับ ใน ระหว่าง<br />

พรรษา ที่<br />

สาม ของ การ เผยแผ่ พระ ศาสนา ท่าน อนาถ บิณฑิกะ เศรษฐี พ่อ ค้า ผู้<br />

มั่งคั่ง<br />

แห่ง<br />

เมือง สา วัต ถี ได้ เดินทาง ไป ยัง เมือง ราช คฤห์และ มี โอกาส เข้าเฝ้า พระพุทธองค์ พร้อม รับ<br />

ฟัง พระ ธรรม เทศนา ก็ เกิด ความ ศรัทธา เลื่อมใส<br />

ใน พระพุทธองค์ อย่าง ล้นพ้น จึง เข้าไป<br />

กราบ ทูล เชิญ เสด็จ โปรด ชาว เมือง สา วัต ถี บ้าง เมื่อ<br />

พระ บรม ศาสดา ทรง รับคำ ทูล เชิญ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

61


62<br />

ท่าน อนาถ บิณฑิกะ เศรษฐี จึง ได้ เตรียม หา ซื้อ<br />

ที่ดิน<br />

เพื่อ<br />

จัด สร้าง วัด ถวาย เป็น ที พัก ่ แด่ พระ<br />

ศาสดา และ ภิกษุ สงฆ์ ดั่ง<br />

วิหาร เวฬุวัน บ้าง ”<br />

ศรี ราม ชำเลือง มอง สตรี ที่<br />

เดิน เคียง ข้าง ริมฝีปาก บาง กลับ ปรากฏ รอย แย้ม ยิ้ม<br />

ชายหนุ่ม<br />

จึง เอ่ย ถาม<br />

“เรื่อง<br />

นี้<br />

ก็ รู้<br />

แล้ว หรือ ขอรับ ”<br />

“จ้ะ ”<br />

ภา วิณีพยัก หน้า เห็น ว่า ศรี ราม เลิก คิ้ว<br />

เขม่น ตา ทำท่า สงสัย เธอ จึง เป็น ฝ่าย เล่า<br />

บ้าง<br />

“เมื่อ<br />

ราว ร้อย ปีก ว่า ก่อน ใน กรุง สา วัต ถี มี เศรษฐี ผู หนึ ้ ่ง ชื่อ<br />

สุทัตตะ เป็น คน เอื้อเฟื้อ<br />

เผื่อแผ่<br />

คน ยากจน ได้ ตั้ง<br />

โรง ทาน ให้ อาหาร คน อนาถา ทุก วัน จึง ได้ชื่อ<br />

ว่า อนาถ บิณฑิกะ<br />

แปล ว่า มี ก้อน ข้าว เพื่อ<br />

คน อนาถา เป็น ชื่อ<br />

ที่<br />

เรียก กัน มา จน ติดปาก ใน คราว ที่<br />

ท่าน เกิด<br />

ความ เลื่อมใส<br />

ศรัทธา ใน พระ บรม ศาสดา อย่าง แรง กล้า และ คิด จะ สร้าง วัด ถวาย ก็ได้ ไป<br />

ขอ ซื้อ<br />

ที่ดิน<br />

จาก ราชา ที่ดิน<br />

ชื่อ<br />

พระเจ้าเชตุ<br />

จะ ด้วย พระเจ้า เชตุหวงแหน ที่ดิน<br />

หรือ ต้องการ เงิน ทอง มากมาย ประการ ใด ก็ ไม่ รู ได้ ้<br />

จึง ประกาศ ว่า หาก ผู้<br />

ใด เอา เหรียญ ทองคำ มา ปู ให้ ทั่ว<br />

บริเวณ ที่ดิน<br />

ได้ เมื่อ<br />

ไร ละ ก็ จะ ขาย<br />

ให้ ท่าน อนาถ บิณฑิกะ เศรษฐี จึง ให้ คนใช้ เอา เหรียญ ทอง บรรทุก เกวียน มา วาง เรียงราย<br />

เกลี่ย<br />

ลง บน ที่ดิน<br />

นั้น<br />

จน เกือบ เต็ม หมด ทั่ว<br />

บริเวณ พระเจ้า เชตุจึง ยอม ตกลง ขาย เมื่อ<br />

ท่าน เศรษฐี ได้ที ดิน ่ มา จึง ทำ การ สร้าง วัด ที มีชื ่ ่อ ว่า “เชตวัน มหา วิหาร ” และ ทูล อัญเชิญ<br />

พระบรม ศาสดา มา จำพรรษา เป็น เรื่อง<br />

ที่<br />

เล่า ขาน กัน มา นาน แล้ว ”<br />

“ขอรับ แล้ว เหตุการณ์ หลังจาก นั้น<br />

เล่า ”<br />

“มี เหตุการณ์ อะไร ต่อ ไป อีก หรือ เจ้า คะ ”<br />

“น้อง หญิง คง ไม่ รู้<br />

ว่า ด้วย แรง ศรัทธา ใน การ สร้าง ทานบารมี ของ ท่าน เศรษฐี แม้ ว่า ใน<br />

บั้นปลาย<br />

แห่ง ชีวิต ท่าน จะ ยากจน ลง จน แทบ ไม่ มี จะ กิน แต่ ก็ ยัง อุตส่าห์ เอา ปลายข้าวต้ม<br />

ถวาย ใส่ บาตร แด่ ภิกษุ สงฆ์ ทุก วัน แม้ ทาน ที่<br />

ท่าน ให้ ใน ภายหลัง นั้น<br />

จะ มี เพียง น้อย และ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong>


เศร้าหมอง พระพุทธองค์ ก็ ยัง ทรง สรรเสริญ ว่า การ ให้ ทาน จะ ดี ประณีต หรือ ธรรมดา<br />

ก็ตาม ขึ้น<br />

อยู่<br />

กับ เจตนา ของ ผู้<br />

ให้ ไม่ จำเป็น ต้อง เป็น ของดี ประณีต เสมอ ไป ”<br />

“ใช่ จ้ะ หาก ผู ให้ ้ น้อม จิต ไป เพื่อ<br />

กุศล กรรม อัน ดี ให้ ด้วย ความ เคารพ นอบน้อม เปี่ยม<br />

ด้วย เมตตา หวัง เพื่อ<br />

อนุเคราะห์ เผื่อแผ่<br />

และ เชื่อ<br />

ใน ผล ของ กรรม วิบาก ของ การ ให้ ทาน นั้น<br />

ก็ ย่อม มี มากมาย มหาศาล … ว่า แต่ พี่<br />

ศรี ราม รู้<br />

เรื่องราว<br />

ของ ท่าน อนาถ บิณฑิกะ ละเอียด<br />

นัก ทั้งที่<br />

อยู่<br />

ถึง เมือง ราชคฤห์ ได้ รู้<br />

เรื่อง<br />

เหล่า นี้<br />

มา จาก ไหน เจ้า คะ ”<br />

“ท่าน อนาถ บิ ณฑกะ เศรษฐี เป็น ทวด ของ กระผม เอง น่ะขอรับ ที่จริง<br />

แล้ว กระผม ก็ มี<br />

สายเลือด ของ ชาว เมือง สา วัต ถี และ มี ญาติ มิตร อยู ที ่ นั ่ ่น บ้าง เชื้อสาย<br />

ตระกูล ของ กระผม<br />

คือ ลูก หลาน ของ ท่าน อนาถ บิณฑิก เศรษฐี ที่<br />

ย้าย ไป ตั้ง<br />

รกราก อยู ที ่ ่ เมือง ราช คฤห์และ ไป<br />

อาสา เป็น ผู้<br />

ดูแล วิหาร เวฬุวัน นั่นเอง<br />

”<br />

เล่า จบ แล้ว ศรี ราม จึง นึกถึง เมื่อ<br />

ยาม เล็ก ที่<br />

บิดา มารดา เคย พา ไป เยี่ยม<br />

ญาติ ที่<br />

เมือง<br />

สาวัต ถี ความ ทรง จำ หนึ่ง<br />

ผุด ขึ้น<br />

มา คลับคล้ายคลับคลา ว่า เขา เคย พบ หญิง สาว ที มีหน้า ่ ตา<br />

ละม้าย คล้ายคลึง กับ ภา วิณีมา ก่อน ชาย หนุ่ม<br />

พินิจ มอง หญิง สาว ตรง หน้าที่<br />

ยัง ยิ้ม<br />

เย็น<br />

“อ้อ … เป็น เช่น นี้<br />

เอง พีศรี<br />

่ ราม จึง อธิบาย ราย ละเอียด ได้ ชัดเจน นัก ”<br />

ภา วิณีกล่าว ชม จน ศรี ราม ต้อง หัวเราะ แก้ เก้อ<br />

“กระผม เป็น คน ที่<br />

เข้า ออก วิหาร บ่อย ครั้ง<br />

ยัง รู้เท่า<br />

นี้<br />

น้อง หญิง เสีย อีก ที่<br />

อยู่<br />

ใน ป่า ดง<br />

พง ไพร กลับ ทราบ เกร็ด ประวัติ ของวัด ทาง พระ พุทธ ศาสนา และ เรื่องราว<br />

ของ เหล่า<br />

สาวก มาก พอ สมควร นะ ขอรับ ดูรา วกับ เป็น ลูก หลาน ของ บุคคล สำคัญ ใน สมัย พุทธกาล<br />

คน หนึ่ง<br />

เหมือน กัน เรา น่า จะ หา เวลา มา รู้จัก<br />

พูด คุย กันให้ มาก กว่า นี้<br />

คง มี สิ่ง<br />

ดีๆ มา<br />

แลกเปลี่ยน<br />

กัน ได้ มาก ”<br />

ฟัง ประโยค นี้<br />

แล้ว ภา วิณีกลับ นิ่ง<br />

อึ้ง<br />

รำพึง ออก มา อย่าง ชั่งใจ<br />

“หาก ฉัน ไม่ ได้ ร่วม เดินทาง กับ พี จน ่ เสร็จ สิ้น<br />

งาน สังคายนา เมื่อ<br />

เรา ได้ กลับ มา พบ กัน<br />

อีก ครั้ง<br />

พี่<br />

ศรี ราม จะ จดจำ ราย ละเอียด ภายใน งาน มา เล่า ให้ ฉัน ฟังได้ หรือ ไม่ ”<br />

เป็น คำ ถาม ที สร้าง ่ ความ ประหลาด ใจ ให้ กับ ศรี ราม ยิ่ง<br />

นัก ชาย หนุ่ม<br />

หัวเราะ เบาๆแล้ว<br />

กล่าว อย่าง เต็มใจ<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

63


64<br />

“ทำไม จะ ไม่ ได้ ล่ะ ขอรับ แต่ น้อง หญิง ภา วิณีพูด อย่าง กับ จะ จาก ไป ไหน ป่า ดง พง<br />

ไพร อันตราย ออก อย่าง นี้<br />

เดินทาง โดย ไม่ มี การ คุ้มกัน<br />

ของ ขบวน เห็น ที จะ ลำบาก ”<br />

ศรี ราม ยั่วเย้า<br />

เล่น แต่ หญิง สาว ตรง หน้า หลุบ เปลือกตา ลง ต่ำ อย่าง อับจน ถ้อยคำ ใด<br />

มาสนทนา ต่อ หัน หน้า มอง ทาง อื่น<br />

ไป พลาง เดิน ไป จนถึง หลัง ขบวน แล้ว ยัง ไม่ พบ ว่าว ตี<br />

อยู่<br />

แห่ง ไหน เมื่อ<br />

เงย หน้า ขึ้น<br />

มอง ท้อง ฟ้า ก็ เห็น ว่าเป็น เวลา พลบ ค่ำ และ ฝน กำลัง ตั้งเค้า<br />

สังเกต จาก กลุ่ม<br />

เมฆ หนา ที่<br />

ลอย มา ทาง ทิศ ตะวันตก จึง ชวน ให้ ศรี ราม กลับ<br />

“มืด แล้ว เจ้า ค่ะ กลับ กัน ดี กว่า วตี อาจ จะ ไป รอ ที่<br />

กระโจม แล้ว ก็ได้ ”<br />

พูด ได้ ไม่ทัน ขาดคำ เมฆ ฝน ที่<br />

ทำท่า ว่า จะ ตั้งเค้า<br />

ก็ ปรากฏ ลอย ต่ำ และ อากาศ<br />

แปรปรวน ลม กรรโชก แรง ขึ้น<br />

มา อย่าง ไม่ มี ปี่<br />

ไม่ มี ขลุ่ย<br />

แล้ว ฝน ก็ เท กระหน่ำ ลง มา ก่อน<br />

ที่<br />

ภา วิณีและ ศรี ราม จะ ไป ถึง กระโจม ที่<br />

พัก หาก จะ วิ่ง<br />

รี่<br />

ไป ให้ ถึง กระโจม ของ คน ใด คน<br />

หนึ่ง<br />

คง มี อัน ต้อง เปียก ปอน ทั้ง<br />

คู่<br />

ชาย หนุ่ม<br />

และ หญิง สาว จึง จำเป็น ต้อง หลบ อยู ใต้ ่ ต้นไม้ ใหญ่ อยู แนบ ่ ชิด ใกล้ ด้วย โคน<br />

ไม้ ที่<br />

เป็น ที่<br />

กำบัง ฝน นั้น<br />

มี พื้นที่<br />

คับแคบ สำหรับ คน สอง คน จะ เข้าไป อยู่<br />

ด้วย กัน ศรี ราม<br />

ทรุด ตัว นั่ง<br />

บัง อยู ด้าน ่ นอก และ ถอด ผ้า โพก ศีรษะ ขึ้น<br />

มา กาง บัง เพื่อ<br />

ไม่ ให้ ละออง ฝน สาด<br />

กระเซ็น มา โดน หญิง สาว ที่<br />

อยู่<br />

เคียง ข้าง …<br />

(...อ่าน ตอน ต่อ ไป ใน ฉบับ หน้า)<br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

<br />

*น้ำ ปานะ เครื่อง<br />

ดื่ม,<br />

น้ำ สำหรับ ดื่ม<br />

ทีคั<br />

่ ้น จาก ลูกไม้ (น้ำ คั้น<br />

ผลไม้) จัด เป็น<br />

ยามกาลิก ท่าน แสดง ไว้ ๘ ชนิด คือ<br />

น้ำ มะม่วง น้ำ ชมพูหรือ<br />

่ น้ำ หว้า น้ำ กล้วย มี เม็ด น้ำ กล้วย ไม่ มี เม็ด น้ำ มะ ทราง<br />

หรือ “มะซาง ” (ต้อง เจือ น้ำ จึง จะ ควร) น้ำ ลูก จันทร์ หรือ องุ่น<br />

น้ำ เหง้า อุบล และ น้ำ<br />

มะปราง หรือ ลิ้นจี่<br />

ปอก หรือ คว้าน ผลไม้ เหล่า นี้<br />

ที่<br />

สุก เอา ผ้า ห่อ บิด ให้ ตึง อัด เนื้อ<br />

ผลไม้<br />

ให้ คาย น้ำ ออก จาก ผ้า เติม น้ำลง ให้ พอดี (จะ ไม่ เติม น้ำ ก็ได้ เว้นแต่ ผล มะ ทราง ซึ่ง<br />

ท่าน<br />

ระบุ ว่า ต้อง เจือ น้ำ จึง ควร) แล้ว ผสม น้ำตาล และ เกลือ เป็นต้น ลง ไป พอ ให้ ได้ รส ดี


สารบัญ <br />

<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

65


ร่วม ส่ง บทความ<br />

นิตยสาร เล่ม นี จะ ้ เป็น นิตยสาร คุณภาพ ได้ ก็ ด้วย เนื้อหา<br />

ดี ๆ ภายใน ฉบับ ที่<br />

จัดสรร ลง อย่าง ต่อ เนื่อง<br />

นะ คะ<br />

หาก คุณ ผู้<br />

อ่าน ท่าน ใด มีค วาม สามารถ ใน การ เขียน มี<br />

ศรัทธา และ ความ เข้าใจ ใน คำ สอน ของ พุทธ ศาสนา ไม่<br />

ว่า จะ ใน ระดับ เบื้องต้น<br />

เบื้อง<br />

กลาง หรือ เบื้อง<br />

ปลาย<br />

และ มี ใจ รัก ที อยาก ่ จะ สื่อสาร<br />

ถ่ายทอด สิ่ง<br />

นั้น<br />

ให้ กับ ผู อื ้ ่น<br />

ได้ ทราบ และ ได้ ประโยชน์ จาก สิ่ง<br />

เหล่า นั้น<br />

เช่น เดียว กับ<br />

ที่<br />

เรา อาจ เคย ได้ รับ จาก ผู้<br />

อื่น<br />

มา แล้ว ก็ ขอ เชิญ ทุก ท่าน<br />

ส่ง บทความ มา ร่วม เป็น ส่วน หนึ่ง<br />

ของ <strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

ด้วย กัน นะ คะ<br />

คุณ อาจ ไม่ จำเป็น ต้อง เป็น นัก เขียน ฝีมือ เลิศ แต่ หาก มี<br />

ใจ ที่<br />

คิด อยาก จะ ถ่ายทอด มี สิ่ง<br />

ที่<br />

คิด ว่า อยาก แบ่งปัน<br />

ความ รู้ความ<br />

เข้าใจ นั้น<br />

ให้ กับ คน อื่น<br />

ๆ ก็ ลอง เขียน ส่ง<br />

เข้า มา ได้ เลย ค่ะ<br />

<br />

๑. คอ ลัมน์ที่<br />

เปิด รับ บทความ<br />

คอลัมน์: ธรรมะ จากคน สู้<br />

กิเลส<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส ให้ คุณๆ ได้ เล่า ประสบการณ์ จริง<br />

ของ ตน เอง ว่า ผ่าน อะไร มา บ้าง มี อะไร เป็น ข้อคิด ที เป็น ่<br />

ประโยชน์ บ้าง อะไร ทำให้ คน ธรรมดา คน หนึ่ง<br />

กลาย<br />

เป็น คน ดี ขึ้น<br />

มา และ ทำให้ คน มี กิเลส เยอะ กลาย เป็น<br />

คน กิเลส บาง ลง ได้ มี แต่ คน ที่<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ตัว เอง แล้ว<br />

เท่านั้น<br />

จึง จะ เขียน ธรรมะใกล้ ตัว ได้ สำเร็จ<br />

คอลัมน์: นิยาย/เรื่องสั้นอิง<br />

ธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

เปิด โอกาส กว้าง สำหรับ คน ที่<br />

ชอบ คิด ชอบ<br />

เขียน โดย เฉพาะ อดีต นัก ฝัน ที่<br />

เพิ่ง<br />

ผัน ตัว มา อยู่<br />

ใน<br />

โลก ธรรมะ เพื่อ<br />

สร้างสรรค์ เรื่องราว<br />

ให้ คน ได้ ข้อคิด ข้อ<br />

ธรรม ผ่าน ความ สนุก ของ รูป แบบ นิยาย หรือ เรื่องสั้น<br />

ได้ อย่าง เพลิดเพลิน<br />

คอลัมน์: คำคมชวน คิด<br />

เนื้อหา:<br />

รวบรวม ข้อคิด หรือ คำคม ของ บุคคล ต่าง ๆ<br />

ที่<br />

เคย ได้ยิน มา แล้ว สะดุดใจ มาบ อก ต่อ ยิ่ง<br />

ถ้า ใคร<br />

สามารถ สร้างสรรค์ วรรค ทอง ได้ เอง ยิ่ง<br />

ดี เพราะ จะ<br />

ได้ ฝึก ริเริ่ม<br />

วลี สะดุดใจ ซึ่ง<br />

เป็น แม่บท ของ กรรม ที ทำให้ ่<br />

มีค วาม คิด สร้างสรรค์ ได้ อย่าง สุด ยอด เนื่องจาก<br />

แง่ คิดดีี<br />

ๆ จะ ช่วย ให้ คน อ่าน คิด ดี หรือ ได้คิด เพื่อ<br />

เปลี่ยนแปลง<br />

ชีวิต วิบาก ที ย้อน ่ กลับ มาส นอง ตอบแทน<br />

คุณ ก็ คือ การ ผุด ไอ เดียเหมือน น้ำพุ ไม่ รู้<br />

จบ รู้<br />

สิ้น<br />

กับ ทั้ง<br />

เป็น ที่<br />

ยอม รับ ใน วง กว้าง ด้วย<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

หรือ แปล มา จาก<br />

ภาษา อังกฤษ กรุณา ระบุ แหล่ง ที่มา<br />

หรือ ชื่อ<br />

ของ บุคคล<br />

ผู้<br />

เป็น เจ้าของ คำคม ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: สัพเพเหระธรรม<br />

เนื้อหา:<br />

เรื่องราว<br />

เรื่อง<br />

เล่า อาจ มา จาก ฉาก หนึ่ง<br />

ใน<br />

ชีวิต ของ คุณ ที่<br />

มี เกร็ด ข้อคิด ทาง ธรรม หรือ ข้อคิด ดี ๆ<br />

อันเป็น ประโยชน์ อาจ เป็น เรื่อง<br />

เล่า สั้น<br />

ๆ ใน รูป แบบ ที่<br />

เสมือน อ่านเล่น ๆ แต่ อ่าน จบ แล้ว ผู อ่าน ้ ได้ เกร็ด ธรรม<br />

หรือ ข้อคิด ดี ๆ ติด กลับ ไป ด้วย<br />

คอลัมน์: กวีธรรมะ<br />

เนื้อหา:<br />

พื้นที่<br />

ที่<br />

เปิด กว้าง สำหรับ กวี ธรรมะ ทั้งหลาย<br />

โดย ไม่ จำกัด รูป แบบ และ ความ ยาว ของ บท กวี หรือ<br />

หาก จะ คัด เอา บท กวี ที่<br />

น่า ประทับใจ ให้ แง่ คิด อะไร<br />

ใน เชิง บวก ก็ สามารถ นำ มา ลง ได้ เช่น กัน แต่ ถ้า ให้ ดี<br />

กลั่นกรอง<br />

ออก มา ด้วย ตน เอง ได้ ก็ ยิ่ง<br />

ดี ค่ะ<br />

กติกา: หาก เป็นการ คัด มา จาก ที่<br />

อื่น<br />

ต้อง ระบุ ที่มา<br />

ที่<br />

ไป อย่าง ชัดเจน ด้วย นะ คะ<br />

คอลัมน์: เที่ยววัด<br />

เนื้อหา:<br />

รับ หมด ไม่ ว่า จะ เป็น วัด สวย หรือ สถาน ที่<br />

ปฏิบัติธรรม ข้อมูล ข่าวสาร จาก ทั่ว<br />

ประเทศ นั้น<br />

ไม่ มี<br />

วัน ที่<br />

ใคร คน เดียว จะ รู้<br />

ได้ หมด ถ้า ช่วย เป็น หู เป็น ตา ให้<br />

แก่ กัน ก็ คง จะ มี ประโยชน์ อย่าง มหาศาล<br />

กติกา: นอกจาก ข้อมูล เกี่ยว<br />

กับ สถาน ที่<br />

บรรยากาศ<br />

ปฏิปทา ฯลฯ ของวัด แล้ว ต้อง ขอ รบกวน ส่ง ภาพ<br />

สวย ๆ มา ประกอบ บทความ อีกทั้ง<br />

ไม่ พา ชม หรือ<br />

แทรก ธรรมะ ด้าน การปฏิบัติ ที่<br />

ขัดแย้ง กับ แนวทาง ของ<br />

นิตยสาร นะ คะ<br />

คอลัมน์: ธรรมะปฏิบัติ<br />

เนื้อหา:<br />

ร่วม บอก เล่า ประสบการณ์ จริง ประสบการณ์<br />

ตรง จาก การ ปฏิบัติธรรม เพื่อ<br />

เป็น ทั้ง<br />

ธรรม ทาน และ


เป็น ทั้ง<br />

กำลังใจ สำหรับ ผู้<br />

ที่<br />

กำลัง ร่วม เดินทาง อยู่<br />

บน<br />

เส้น อริยมรรค เส้น เดียวกัน นี้<br />

คอลัมน์: ของ ฝากจาก หมอ<br />

เนื้อหา:<br />

นำ เสนอ ข่าวสาร ใน วงการ แพทย์ หรือ<br />

สาระ น่า รู้<br />

อันเป็น ประโยชน์ เกี่ยว<br />

กับ สุขภาพ ที่<br />

คน<br />

ทั่วไป<br />

สนใจ หรือ นำ ไป ใช้ได้ เพื่อ<br />

เป็น วิทยาทาน ให้ กับ<br />

ผู้อ่าน<br />

จาก แง่มุม ต่าง ๆ ทีแพทย์<br />

่ แต่ละ แขนง มีค วาม รู้<br />

ความเชี่ยวชาญ<br />

ต่าง ๆ กัน<br />

กติกา:<br />

• หาก เป็น บทความ ที่<br />

แนะนำ ให้ มี การ ทดลอง กิน<br />

ยา หรือ แนะนำ ให้ ผู้<br />

อ่าน ปฏิบัติ ตาม ด้วย ขอ<br />

จำกัด เฉพาะ ผู้<br />

เขียน ที่<br />

เป็น ผู้<br />

เรียน หรือ ทำ งาน<br />

ใน สาขา วิชาชีพ ที่<br />

เกี่ยวข้อง<br />

เท่านั้น<br />

เพื่อ<br />

ป้องกัน<br />

การ นำเสนอ ข้อมูล ที คลาดเคลื ่ ่อน และ อาจ ส่งผล<br />

ต่อ ผู้<br />

อ่าน ได้ ค่ะ<br />

• หาก นำ เสนอ ประเด็น ที่<br />

ยัง เป็น ที่<br />

ถกเถียง อยู่<br />

ใน<br />

วงการ แพทย์ ขอ ให้ มี การ อ้างอิง ด้วย เช่น มา<br />

จาก งาน วิจัย ชิ้น<br />

ไหน หรือ หาก เป็น เพียง ความเห็น<br />

ส่วนตัว ของ หมอ ก็ กรุณา ระบุ ให้ ชัดเจน ด้วย ค่ะ<br />

<br />

๒. อ่าน สัก นิด ก่อน คิด เขียน<br />

เนื่องจาก<br />

ใน แต่ละ สัปดาห์ มี งาน เขียน ส่ง เข้า มา เป็น<br />

จำนวน มาก ชิ้น<br />

ขึ้น<br />

เรื่อย<br />

ๆ ดังนั้น<br />

เพื่อ<br />

เป็นการ ช่วย ลด<br />

เวลา และ ลด ภาระ ให้ กับ อาสา สมัคร ใน การ เข้า มา<br />

ช่วยกัน คัดเลือก และ พิสูจน์ อักษร ของ ทุก บทความ<br />

ต้อง ขอ รบกวน ผู ส่ง ้ บทความ เรียบเรียง งาน เขียน ตาม<br />

แนวทาง ดังนี้<br />

ด้วย นะ คะ<br />

๒.๑ ตรวจ ทาน คำ ถูก ผิด ให้ เรียบร้อย<br />

ก่อน ส่ง บทความ รบกวน ผู เขียน ้ ทุก ท่าน ช่วย ตรวจ ทาน<br />

ให้ แน่ใจ ก่อน นะ คะ ว่า ไม่ มี จุด ไหน พิมพ์ ตกหล่น พิมพ์<br />

เกิน พิมพ์ ผิด พลาด หรือ เขียน ตัวสะกด ไม่ ถูก ต้อง ผ่าน<br />

สายตา ของ ผู้<br />

เขียน แล้ว<br />

หาก ไม่ แน่ใจ ตัวสะกด ของ คำ ไหน สามารถ ตรวจ สอบ<br />

ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เลย ค่ะ<br />

เว็บ เครือ ข่าย พจนานุกรม ราชบัณฑิต ยสถาน<br />

http://rirs3.royin.go.th/ridictionary/lookup.html<br />

๒.๒ จัด รูป แบบ ตาม หลัก งาน เขียน ภาษา ไทย<br />

เพื่อให้<br />

ทุก บทความ มี ลักษณะ ของ การ จัด พิมพ์ ที่<br />

สอดคล้อง กัน ขอ ให้ ใช้ การ จัด รูป แบบ ใน ลักษณะ ดังนี้<br />

นะ คะ<br />

• เครื่องหมาย<br />

คำ ถาม (?) และ เครื่องหมาย<br />

ตกใจ (!)<br />

เขียน ติดตัว หนังสือ ด้านหน้า และ วรรค ด้าน หลัง<br />

เช่น “อ้าว! เธอ ไม่ ได้ ไป กับ เขา หรอก หรือ? ฉัน<br />

นึก ว่า เธอ ไป ด้วย เสีย อีก ”<br />

• การ ตัด คำ เมื่อ<br />

ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่<br />

สำหรับ คน ที่<br />

นิยม เขียน แบบ เคาะ [Enter] เพื่อ<br />

ตัด ขึ้น<br />

บรรทัด ใหม่ แทน การ รวบ คำ อัตโนมัติ ของ<br />

โปรแกรม คอมพิวเตอร์ อยาก ให้ ช่วย ดู การ ตัด<br />

คำ ด้วย นะ คะ ว่า ตัด ได้ อย่าง เหมาะสม คือ อ่าน<br />

ได้ ลื่น<br />

ไม่ สะดุด ไม่ แยก คำ หรือ ไม่ ขึ้น<br />

บรรทัด<br />

ใหม่ ผ่า กลาง วลี ที่<br />

ควร อ่าน ต่อ เนื่อง<br />

กัน โดย ไม่<br />

จำเป็น เช่น<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำ แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า ผลก รรม<br />

ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ”<br />

“ฉัน ไม่ อยาก ให้ เธอ ทำ แบบ นั้น<br />

ก็ เลย บอก เธอ ไป ว่า<br />

ผลก รรม ข้อ กา เม นั้น<br />

หนัก ไม่ ใช่ เล่น ” (อ่าน ง่าย กว่า ค่ะ)<br />

หรือ ดู หลักเกณฑ์ อื่น<br />

ๆ ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

เพิ่มเติม<br />

ด้วย ก็ได้ ค่ะ<br />

ราชบัณฑิต ยสถาน > หลักเกณฑ์ ต่าง ๆ<br />

http://www.royin.go.th/th/profile/index.php<br />

๒.๓ ความ ถูก ต้อง ของ ฉันทลักษณ์ สำหรับ ชิ้น<br />

งาน ร้อยกรอง<br />

สำหรับ ท่าน ที่<br />

แต่ง ร้อยกรอง เข้า มา ร่วม ใน คอลัมน์<br />

กวีธรรม ขอ ให้ ตรวจ ทาน ให้ แน่ใจ สัก นิด นะ คะ ว่า<br />

บทกลอน นั้น<br />

ถูก ต้อง ตาม ฉันทลักษณ์ แล้ว หรือ ยัง จะ<br />

ได้ ช่วย กัน ใส่ใจ และ เผยแพร่ แต่ ใน สิ่ง<br />

ที่<br />

ถูก ต้อง ให้ ผู้<br />

อื่น<br />

กัน ค่ะ<br />

คุณ ผู้<br />

อ่าน สามารถ ตรวจ สอบ หรือ หาความ รู้<br />

เพิ่มเติม<br />

เกี่ยว<br />

กับ ฉันทลักษณ์ ของ กวี ไทย ได้ จาก ที่<br />

นี่<br />

ด้วย นะ คะ


ร้อยกรอง ของ ไทย<br />

(โคลง ฉันท์ กาพย์ กลอน ร่าย)<br />

http://thaiarc.tu.ac.th/poetry/index.html<br />

๒.๔ ความ ยาว ของ บทความ และ การ จัด ย่อหน้า<br />

ปกติ แล้ว เรา ไม่ จำกัดความ ยาว ของ ชิ้น<br />

งาน ใน ทุก คอ<br />

ลัมน์ค่ะ แต่ ก็ อยาก ให้ ผู้<br />

เขียน ใช้ ดุลยพินิจ ดู ด้วย ค่ะ ว่า<br />

ความ ยาว ประมาณ ใด น่า จะ เหมาะสม โดย ลอง ดู จาก<br />

บทความ ที ลง ่ ใน เล่ม และ ลอง เทียบเคียง ความ รู้สึก<br />

ใน<br />

ฐานะ ผู้<br />

อ่าน ดู นะ คะ<br />

สำหรับ เรื่องสั้น<br />

หรือ นวนิยาย ทีอาจ<br />

่ มีค วาม ยาว มาก<br />

กว่า บทความ อื่น<br />

ๆ และ มี การ เปลี่ยน<br />

ฉาก อยู บ้าง ่ อย่า<br />

ลืม เบรก สายตา ผู้<br />

อ่าน โดย การ ขึ้น<br />

ย่อหน้า ใหม่ เมื่อ<br />

ถึง<br />

จุด หนึ่ง<br />

ๆ ของ เรื่อง<br />

ที่<br />

เหมาะสม ด้วย นะ คะ เพราะ<br />

การ เขียน เป็น พรืด เห็น แต่ ตัวหนังสือ ติด ๆ กันลง มา<br />

ยาว ๆ จะ ลด ทอน ความ น่า อ่าน ของ บทความ ไป อย่าง<br />

น่า เสียดาย ค่ะ<br />

หาก บทความ ใด อ่าน ยาก ๆ หรือ มี จุด บกพร่อง ที ต้อง ่<br />

แก้ไข เยอะ มาก ๆ ทาง ทีม งาน อาจ จะ ต้อง ขอ อนุญาต<br />

เก็บ ไว้ เป็นอัน ดับ หลัง ๆ ก่อน นะ คะ<br />

<br />

๓. ส่ง บทความ ได้ที่<br />

ไหน อย่างไร<br />

๓.๑ กระดาน ส่ง บทความ<br />

เมื่อ<br />

เขียน อ่าน ทาน และ ตรวจ ทาน บทความ พร้อม ส่ง<br />

เรียบร้อย แล้ว งาน เขียน ทุก ชิ้น<br />

สามารถ โพ สท์ส่ง ได้ที่<br />

กระดาน “ส่ง บทความ ” ได้ เลย ค่ะ ที่:<br />

http://dungtrin.com/forum/viewforum.php?f=2<br />

โดย หัวข้อ กระทู้<br />

ขอ ให้ ใช้ ฟอร์แมท ลักษณะ นี้<br />

นะ คะ<br />

(ชื่อ<br />

คอลัมน์) ชื่อ<br />

เรื่อง<br />

โดย ชื่อ<br />

ผู้<br />

แต่ง<br />

เช่น<br />

(สัพเพเหระ ธรรม) เทพธิดา โรง ทาน โดย คน ไกล วัด<br />

(ธรรมะ ปฏิบัติ) เส้นทาง การ ปฏิบัติ 1 โดย satima<br />

(ของ ฝาก จาก หมอ) เครียด ได้...แต่ อย่า นาน โดย หมอ อติ<br />

เพื่อ<br />

ช่วย ให้ ทีม งาน สามารถ จัด หมวด หมู่<br />

ของ ชิ้น<br />

งาน<br />

ได้ เร็ว ขึ้น<br />

ค่ะ<br />

๓.๒ แนบไฟล์ Word มา ด้วย ทุก ครั้ง<br />

หาก แปะ เนื้อความ<br />

ลง ใน กระทู้<br />

เลย ฟอร์แมท ต่าง ๆ<br />

เช่น ตัว หนา ตัว บาง ตัว เอียง จะ หาย ไป ค่ะ เพื่อ<br />

ความ<br />

สะดวก รบกวน ทุก ท่าน แนบไฟล์ Word ทีพิมพ์<br />

่ ไว้ มา<br />

ด้วย นะ คะ (ใน หน้า โพสต์ จะ มี ปุ่ม<br />

Browse ให้ เลือก<br />

Attach File ได้ เลย ค่ะ)<br />

ใคร มี รูป ประกอบ ก็ Attach มา ด้วย วิธี เดียวกัน นี้<br />

เลย<br />

นะ คะ<br />

และ หาก ไฟล์มี ขนาด ใหญ่ ทำเป็น zip เสีย ก่อน ก็ จะ<br />

ช่วย ประหยัด พื้นที่<br />

ได้ ไม่ น้อย ค่ะ<br />

<br />

๔. ส่ง แล้ว จะ ได้ ลง หรือ ไม่<br />

ปกติ แล้ว เวที แห่ง นี เป็น ้ เวที ที เปิด ่ กว้าง หาก บทความ<br />

นั้น<br />

ให้ เนื้อหา<br />

สาระ ที เป็น ่ ไป เพื่อ<br />

เกื้อกูล<br />

กัน ใน ทาง สว่าง<br />

และ เป็น แนวทาง ที่<br />

ตรง ตาม แนวทาง คำ สอน ของ<br />

พระพุทธเจ้า หรือ เป็น ประโยชน์ ต่อ ผู้<br />

อ่าน จาก ผู้<br />

รู้<br />

จริง<br />

ใน ด้าน ที่<br />

เชี่ยวชาญ<br />

ก็ จะ ได้ รับ การ ลง แน่นอน ค่ะ<br />

ทั้งนี้<br />

รวม ถึง ความ ยาก ง่าย ใน การ อ่าน พิจารณา<br />

บทความ การ แก้ไข จุด บกพร่อง ต่าง ๆ ใน งาน พิสูจน์<br />

อักษร หาก เป็น ไป อย่าง คล่องตัว ก็ จะ ช่วย ให้ พิจารณา<br />

ชิ้น<br />

งาน ได้ ง่าย ขึ้น<br />

ด้วย ค่ะ<br />

แต่ หาก บทความ ใด ยัง ไม่ ได้ รับ คัดเลือก ให้ ลง ก็ อย่า<br />

เพิ่ง<br />

หมด กำลังใจ นะ คะ วัน หนึ่ง<br />

คุณ อาจ รู้<br />

อะไร ดี ๆ<br />

และ เขียน อะไร ดี ๆ ใน มุม ที่<br />

ใคร ยัง ไม่ เห็น เหมือน คุณ<br />

อีก ก็ได้ ค่ะ : )<br />

และ ถ้า อยาก เริ่ม<br />

ต้น การ เป็น นัก เขียน ธรรมะ ที ดี ่ ก็ ลอง<br />

ติดตาม อ่าน คอลัมน์ เขียน ให้ คนเป็น เทวดา ที คุณ ่ ‘ดัง<br />

ตฤณ ’ มา ช่วย เขียน เป็น นัก เขียน ประจำ ให้ ทุก สัปดาห์<br />

ดู นะ คะ<br />

ขอ อนุโมทนา ใน จิต อัน มี ธรรม เป็น ทาน ของ ทุก ท่าน ค่ะ


<strong>ธรรมะใกล้ตัว</strong><br />

dharma at hand<br />

มาร่วมเป็นอีกหนึ่งกำลัง<br />

ที่ช่วยสร้างภาพใหม่ให้กับพระพุทธศาสนา<br />

ด้วยการร่วมส่งบทความ ดูข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ท้ายเล่ม<br />

หรือที่<br />

http://dungtrin.com/dharmaathand/

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!