11.05.2016 Views

PSC Annual Report 2011

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

สารจากผู้อํานวยการศูนย์บริการประชาชน<br />

ปัจจุบันได้เกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจ การเมือง และภัย<br />

ธรรมชาติอย่างรวดเร็วและรุนแรง ส่งผลกระทบให้ประชาชนจํานวนมากได้รับ<br />

ความเดื อดร้ อน ศู นย์ บริ การประชาชน สํ านั กงาน<br />

ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี ในฐานะศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล<br />

มีความมุ่งมั่นที่จะพัฒนาขีดสมรรถนะขององค์กรอย่างต่อเนื่อง<br />

เพื่อยกระดับการให้บริการในการช่วยเหลือแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ<br />

ประชาชนได้ หลากหลายและเหมาะสมกั บสถานการณ์ ทั้ งนี้<br />

เพื่อประโยชน์สุขของประชาชนเป็นสําคัญ<br />

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ได้เกิดมหาอุทกภัย ซึ่งก่อให้เกิด<br />

ความเสียหายอย่างรุนแรงในหลายพื้นที่ทั่วประเทศ ในการนี้ รัฐบาลได้จัดตั้ง<br />

ศูนย์ปฏิบัติการช่วยเหลือผู้ประสบอุกทกภัย (ศปภ.) โดยให้บริการรับเรื่องร้อง<br />

ทุกข์และการขอความช่วยเหลือกรณีปัญหาอุทกภัยผ่านสายด่วน ๑๑๑๑ กด ๕<br />

และได้มอบหมายให้ศูนย์บริการประชาชนเป็นหน่วยงานกลางในการประสานให้ความช่วยเหลือกรณีดังกล่าว ซึ่งมี<br />

ผู้ใช้บริการมากกว่า ๑.๘๕ ล้านครั้ง นอกจากนี้ ยังมีภารกิจสําคัญด้านอื่นๆ เช่น การส่งเสริมการมีส่วนร่วมของ<br />

ประชาชนในการบริ หารงานภาครั ฐ การกํ ากั บ ติ ดตาม และประเมิ นผล<br />

การพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา และการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของกลุ่มมวลชน เป็นต้น<br />

ในนาม ศูนย์บริการประชาชนหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน<br />

จะสามารถนําข้อมูลเรื่องราวร้องทุกข์ประจําปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ จากการประมวลผลของ<br />

ศูนย์บริการประชาชน ไปใช้ให้เกิดประโยชน์ เพื่อบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนต่อไป


สารบัญ<br />

สารจากผู้อํานวยการศูนย์บริการประชาชน<br />

ส่วนที่ ๑<br />

ข้อมูลทั่วไป<br />

- อํานาจหน้าที่ ๔<br />

- วิสัยทัศน์ ๔<br />

- พันธกิจ ๔<br />

- โครงสร้างส่วนราชการ ๕<br />

- อัตรากําลัง ๖<br />

- บุคลากร ๗<br />

- ช่องทางการให้บริการ ๑๔<br />

- แผนที่ทําเนียบรัฐบาล และสถานที่ตั้งศูนย์บริการประชาชน ๑๕<br />

ขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๑๖<br />

ส่วนที่ ๒<br />

ภารกิจศูนย์บริการประชาชน<br />

- การดําเนินการด้านประสานมวลชนและองค์กรประชาชน ๒๐<br />

- การดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ๒๙<br />

- การร้องทุกข์และประสานงานการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัยผ่านช่องทางโทรศัพท์ ๑๑๑๑<br />

- ภารกิจตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.๒๕๔๘<br />

- ภารกิจด้านความร่วมมือกับส่วนราชการอื่น (MOU)<br />

- การเสริมสร้างสมรรถนะเจ้าหน้าที่ผู้ปฏบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์<br />

ภารกิจเชิงนโยบาย / ภารกิจพิเศษที่ได้รับมอบหมาย<br />

- การกํากับ ติดตาม และประเมินผล การพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา<br />

- การแก้ไขปัญหากรณีการให้สัมปทานเหมืองแร่<br />

- การแก้ไขปัญหาเครือข่ายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง กรณีการแก้ไขปัญหาสัญชาติ<br />

- การแก้ไขปัญหาสภาเครือข่ายประชาชนภาคอีสาน (สอส.) สภาประชาชน ๔ ภาค<br />

ส่วนที่ ๓<br />

กฎ ระเบียบ มติคณะรัฐมนตรีที่เกี่ยวข้อง<br />

- ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ.๒๕๕๒<br />

- ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.๒๕๔๘<br />

- มติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔


ข้อมูลทั่วไป<br />

ศูนย์บริการประชาชนเป็นส่วนราชการระดับสํานัก เดิมสังกัดสํานักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีภายหลังจากการ<br />

ปรับปรุงโครงสร้างระบบราชการ ได้โอนกิจการบริหาร และอํานาจหน้าที่มาสังกัดสํานักงานปลัด<br />

สํานักนายกรัฐมนตรี ตามพระราชกฤษฎีกาโอนกิจการบริหารและอํานาจหน้าที่ของส่วนราชการตามพระราชบัญญัติ<br />

ปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. ๒๕๔๕ ลงวันที่ ๖ ตุลาคม ๒๕๔๕ ศูนย์บริการประชาชนได้ให้ความสําคัญกับการ<br />

พัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ โดยปรับโครงสร้าง กระบวนการและเทคโนโลยี ให้มีความเหมาะสม สอดคล้อง<br />

กับหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี เพื่อยกระดับคุณภาพการให้บริการให้สนองตอบความต้องการของ<br />

ประชาชนผู้รับบริการและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียแต่ละกลุ่มได้อย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ปัจจุบัน<br />

อํานาจหน้าที่<br />

ศูนย์บริการประชาชนมีอํานาจหน้าที่ตามกฎหมาย ดังนี้<br />

๑. ดําเนินการเกี่ยวกับการร้องทุกข์ ร้องเรียนขอความเป็นธรรม และการขอความช่วยเหลือที่มี<br />

ผู้ยื่นคําร้องต่อนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรีรวมทั้งปัญหาความเดือดร้อน<br />

ของประชาชน<br />

๒. ให้คําแนะนําเกี่ยวกับกฎหมายและการดําเนินคดีแก่ประชาชนที่มาขอความช่วยเหลือและขอคําแนะนําจาก<br />

นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

๓. ประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหาและอํานวยความสะดวกแก่มวลชนที่มาพบหรือชุมนุมร้องเรียนต่อ<br />

นายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี และรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

๔. ตรวจสอบเรื่องร้องเรียนในพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาสําคัญที่เป็นกรณีเร่งด่วน<br />

๕. ดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็น<br />

ของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘<br />

๖. ดําเนินการให้เป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์<br />

พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

๗. ปฏิบัติงานร่วมกับหรือสนับสนุนการปฏิบัติงานของหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องหรือที่ได้รับมอบหมาย<br />

วิสัยทัศน์<br />

เป็นองค์กรกลางในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล และเป็นศูนย์กลางแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของ<br />

ประชาชนที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพื่อประโยชน์สุขและตอบสนองการมีส่วนร่วมของประชาชนในการ<br />

บริหารงานภาครัฐ<br />

พันธกิจ<br />

๑. พัฒนาช่องทางการร้องทุกข์ในทุกช่องทางให้เป็นศูนย์รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล<br />

๒. พัฒนาระบบเครือข่ายให้เป็นศูนย์ประสานเร่งรัดติดตามและประเมินผลการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน<br />

ของประชาชน<br />

๓. เพิ่มประสิทธิภาพและประสิทธิผลการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน โดยยึดประชาชน<br />

เป็นศูนย์กลาง<br />

๔. พัฒนากระบวนการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนอย่างเป็นระบบ<br />

โครงสร้างส่วนราชการ


ศูนย์บริการประชาชน มีการแบ่งโครงสร้างอย่างเป็นทางการเป็น ๓ ส่วน และ ๑ ฝ่าย ดังนี้<br />

เรื่องร้องทุกข์จากประชาชน<br />

ผู้อํานวยการศูนย์บริการประชาชน<br />

ส่วนบริการประชาชน ๑<br />

ส่วนบริการประชาชน ๒ ส่วนประสานมวลชน ฝ่ายบริหารงานทั่วไป<br />

และประเมินผล<br />

โดยที่โครงสร้างอย่างเป็นทางการเป็นโครงสร้างตามกฎกระทรวงแบ่งส่วนราชการสํานักงานปลัด<br />

สํานักนายกรัฐมนตรีสํานักนายกรัฐมนตรี พ.ศ. ๒๕๔๙ ซึ่งในปัจจุบันสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ การเมือง สังคม และ<br />

ปัจจัยแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกได้เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ว ทําให้โครงสร้างอย่างเป็นทางการ<br />

ไม่สามารถรองรับและตอบสนองการดําเนินภารกิจและการให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ<br />

ในการนี้ ศูนย์บริการประชาชน ได้แบ่งโครงสร้างการบริหารงานภายในศูนย์บริการประชาชนใหม่ประกอบด้วย<br />

๖ ส่วน และ ๑ ฝ่าย ดังนี้<br />

ปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

ผู้อํานวยการศูนย์บริการประชาชน<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน<br />

ส่วนดําเนินการ<br />

เรื่องราวร้องทุกข์ ๑<br />

ส่วนดําเนินการ<br />

เรื่องราวร้องทุกข์ ๒<br />

ส่วนดําเนินการ<br />

เรื่องราวร้องทุกข์ ๓<br />

ส่วนประสานมวลชน<br />

และองค์กรประชาชน<br />

ส่วนการมีส่วนร่วมของ<br />

ประชาชน<br />

ส่วนแผนและ<br />

ประมวลผล<br />

ฝ่ายบริหารทั่วไป


อัตรากําลัง<br />

ศูนย์บริการประชาชน มีอัตรากําลังทั้งสิ้น ๑๒๖ อัตรา ประกอบด้วย ข้าราชการ ๔๙ อัตรา พนักงานราชการ ๗๗ อัตรา<br />

อัตรากําลังข้าราชการ<br />

๑. ตําแหน่งประเภทอํานวยการระดับสูง (ผู้อํานวยการศูนย์บริการประชาชน) ๑ อัตรา<br />

๒. ตําแหน่งประเภทวิชาการ<br />

๒.๑ ระดับเชี่ยวชาญ ๑ อัตรา<br />

๒.๒ ระดับชํานาญการพิเศษ ๗ อัตรา<br />

๒.๓ ระดับชํานาญการ ๒๔ อัตรา<br />

๒.๔ ระดับปฏิบัติการ ๑๐ อัตรา<br />

๓. ตําแหน่งประเภททั่วไป<br />

๓.๑ ระดับชํานาญงาน ๕ อัตรา<br />

๓.๒ ระดับปฏิบัติงาน ๑ อัตรา<br />

อัตรากําลังพนักงานราชการ<br />

รวม ๔๙ อัตรา<br />

- เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน ๔๔ อัตรา<br />

- นิติกร ๑๘ อัตรา<br />

- นักวิชาการคอมพิวเตอร์ ๑ อัตรา<br />

- เจ้าหน้าที่ระบบข้อมูลเทคโนโลยีสารสนเทศ ๒ อัตรา<br />

- เจ้าพนักงานธุรการ ๓ อัตรา<br />

- เจ้าหน้าที่ธุรการ ๒ อัตรา<br />

- เจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูล ๗ อัตรา<br />

รวม ๗๗ อัตรา<br />

(ข้อมูล ณ วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๕๕)


ผู้บริหารศูนย์บริการประชาชน<br />

นายสมพาศ นิลพันธ์<br />

ผู้อํานวยการศูนย์บริการประชาชน<br />

นางอัจจิมา จันทร์สุวานิชย์<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านมวลชน


นายทศพร สุวรรณาภิรมย์<br />

ผู้อํานวยการส่วนดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๑<br />

นายสมพงษ์ ไวถนอมสัตว์<br />

ผู้อํานวยการส่วนดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๒<br />

นายอภัย เจริญมิตร<br />

ผู้อํานวยการส่วนดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๓<br />

นายสมเจตน์ โรจน์พัฒนากุล<br />

ผู้อํานวยการส่วนประสานมวลชน<br />

และองค์กรประชาชน<br />

นายอิทธิพล ช่างกลึงดี<br />

ผู้อํานวยการส่วนการมีส่วนร่วมของประชาชน<br />

นางมาลินี ภาวิไล<br />

ผู้อํานวยการส่วนแผนและประเมินผล<br />

นางศรีสําอาง โกศาสตร์<br />

หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไป


บุคลากร<br />

ส่วนดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๑<br />

ส่วนดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๒


ส่วนดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๓<br />

ส่วนประสานมวลชนและองค์กรประชาชน


ส่วนการมีส่วนร่วมของประชาชน<br />

ส่วนแผนและประเมินผล


ฝ่ายบริหารทั่วไป


ช่องทางการให้บริการ<br />

สายด่วนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

www.1111.go.th<br />

ตู้ ปณ.๑๑๑๑ ทําเนียบรัฐบาล กทม. ๑๐๓๐๒ จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑


แผนที่ทําเนียบรัฐบาล<br />

สถานที่ตั้งศูนย์บริการประชาชน ภายในทําเนียบรัฐบาล


ขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์ ๔ ช่องทาง<br />

แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการ จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑<br />

แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนที่เดินทางมาร้องเรียนที่จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑ ทําเนียบรัฐบาล<br />

กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลาในการตรวจสอบข้อเท็จจริงมากและไม่ซับซ้อน) และประสานส่งหน่วยงานทางโทรศัพท์ / โทรสาร /Web Portal / e-mail<br />

สรุป ๔ ขั้นตอน ๑ จุดบริการ รวมระยะเวลาประมาณ ๑.๓๘ วันทําการ / เรื่อง<br />

ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓<br />

ขั้นตอนที่ ๔<br />

ผู้ร้องเดินทางมาร้องเรียน<br />

ที่จุดบริการประชาชน<br />

๑๑๑๑<br />

ทําเนียบรัฐบาล<br />

เจ้าหน้าที่<br />

ให้การต้อนรับ / รับ<br />

และอ่าน<br />

คําร้อง<br />

เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบฯ<br />

เพื่อบันทึกข้อมูลเรื่อง<br />

ร้องเรียน<br />

ในระบบฯ<br />

ตรวจสอบข้อมูล<br />

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ<br />

เรื่องร้องเรียน<br />

พิจารณาเรื่องและ<br />

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

ประสานส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาหรือ<br />

รับทราบแล้วแต่กรณี<br />

ทางโทรศัพท์ /โทรสาร / Web Portal/<br />

e-mail และบันทึก<br />

การดําเนินการในระบบฯ<br />

แจ้งให้ผู้ร้องทราบการดําเนินการเบื้องต้น และ<br />

บันทึกการดําเนินการ<br />

ในระบบฯ<br />

๑.๕ ชั่วโมง<br />

๑.๕ ชั่วโมง<br />

๑ วันทําการ ชม.


แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการ ตู้ ปณ. ๑๑๑๑<br />

แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนที่ส่งเรื่องร้องเรียนทางไปรษณีย์กรณีปกติ<br />

สรุป ๖ ขั้นตอน ๑ จุดบริการ รวมระยะเวลาประมาณ ๙ วันทําการ / ๑ เรื่อง<br />

ขั้นตอนที่ ๑<br />

ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓<br />

ขั้นตอนที่ ๔<br />

ขั้นตอนที่ ๕<br />

ขั้นตอนที่ ๖<br />

- ผู้ร้องส่งเรื่องร้องเรียนที่เป็น<br />

หนังสือรับจาก ตู้ ปณ. ๑๑๑๑<br />

นรม. รอง นรม. รมต.นร. อื่นๆ<br />

- ฝบท.คัดแยกเรื่องเข้าส่วน/ ฝ่าย<br />

ส่วน/ฝ่าย<br />

- รับงานจาก ฝบท.<br />

- คัดแยกประเภทเรื่อง<br />

- มอบหมายงาน<br />

จนท. ตรวจสอบ<br />

ข้อมูลข้อเท็จจริง<br />

เกี่ยวกับ<br />

เรื่องร้องเรียน<br />

จนท. บันทึก<br />

ข้อมูล<br />

เรื่องร้องเรียน<br />

ในระบบฯ<br />

- พิจารณาเรื่องร้องเรียน<br />

- ทําหนังสือตอบผู้ร้อง<br />

- เสนอผู้บังคับบัญชา<br />

ลงนาม<br />

กรณีที่เป็นหนังสือ<br />

- ส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาทาง<br />

โทรศัพท์ / โทรสาร / Web Portal / e-mail<br />

และบันทึกการดําเนินการในระบบฯ<br />

- ผู้บังคับบัญชาพิจารณาลงนาม<br />

-บันทึกการดําเนินการในระบบฯ<br />

แจ้งให้ผู้ร้องที่ร้องเรียนทราบ<br />

การดําเนินการเบื้องต้นและ<br />

บันทึกการดําเนินการในระบบฯ<br />

๑ วันทําการ<br />

๑ วันทําการ<br />

- พิจารณาเรื่องร้องเรียน<br />

- ทําหนังสือส่งเรื่องให้<br />

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

- ทําหนังสือตอบผู้ร้อง<br />

- เสนอผู้บังคับบัญชาลงนาม<br />

- ผู้บังคับบัญชาพิจารณาลงนาม<br />

- บันทึกการดําเนินการ ในระบบฯ<br />

แจ้งให้ผู้ร้องทราบ<br />

การดําเนินการเบื้องต้น<br />

ส่งหน่วยงาน<br />

ที่เกี่ยวข้องพิจารณา<br />

๖ วันทําการการ<br />

๑ วันทําการการ


แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการ สายด่วนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนที่ร้องเรียนทางโทรศัพท์ สายด่วนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลาในการตรวจสอบข้อเท็จจริงมากและไม่ซับซ้อน)<br />

สรุป ๔ ขั้นตอน ๑ จุดบริการ รวมระยะเวลาประมาณ ๒ ชั่วโมง / เรื่อง<br />

ขั้นตอนที่ ๑ ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓<br />

ขั้นตอนที่ ๔<br />

ประชาชนร้องเรียนผ่านสาย<br />

ด่วนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

เจ้าหน้าที่รับสายสอบถาม<br />

รายละเอียดและบันทึก<br />

ข้อมูล<br />

ในระบบฯ<br />

- เจ้าหน้าที่ตรวจสอบข้อมูล<br />

ข้อเท็จจริง<br />

- พิจารณาแนวทางการแก้ปัญหา<br />

- พิจารณาหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

แจ้งให้ผู้ร้องทราบการ<br />

ดําเนินการเบื้องต้น<br />

ประสานหน่วยงาน<br />

ที่เกี่ยวข้องพิจารณา<br />

หรือรับทราบแล้วแต่กรณี<br />

ทางโทรศัพท์ / โทรสาร/Web<br />

Portal / e-mail และบันทึก<br />

การดําเนินการ<br />

ในระบบฯ<br />

๒ ชั่วโมง


แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการ เว็บไซต์ www.1111.go.th<br />

แผนผังแสดงขั้นตอนและระยะเวลาการดําเนินการแก้ไขปัญหาให้กับประชาชนที่ส่งเรื่องร้องเรียน<br />

ทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์ กรณีปกติ (ไม่ใช้เวลาในการตรวจสอบข้อเท็จจริงมากและไม่ซับซ้อน)<br />

สรุป ๔ ขั้นตอน ๑ จุดบริการ รวมระยะเวลาประมาณ ๓.๐๙ วันทําการ / เรื่อง<br />

ขั้นตอนที่ ๑<br />

ขั้นตอนที่ ๒ ขั้นตอนที่ ๓ ขั้นตอนที่ ๔<br />

ผู้ร้องส่งเรื่องร้องเรียนทางระบบ<br />

อิเล็กทรอนิกส์<br />

ผ่านเว็บไซต์/e-mail<br />

ส่วน / ฝ่าย<br />

- อ่านเรื่อง<br />

- คัดแยกประเภทของเรื่อง<br />

- มอบหมายงาน<br />

เจ้าหน้าที่เข้าสู่ระบบฯเพื่อ<br />

รับงาน อ่าน / บันทึกข้อมูล<br />

เรื่องร้องเรียนและบันทึก<br />

ข้อมูลในระบบฯ<br />

ตรวจสอบข้อมูล<br />

ข้อเท็จจริงเกี่ยวกับ<br />

เรื่องร้องเรียน<br />

พิจารณาเรื่องและ<br />

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

ส่งหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพิจารณาผ่าน<br />

หรือรับทราบแล้วแต่กรณี ผ่านทางโทรศัพท์ / โทรสาร<br />

/ Web Portal /e-mail และบันทึกการดําเนินการใน<br />

ระบบฯ<br />

แจ้งให้ผู้ร้องที่ร้องเรียนทราบ<br />

การดําเนินการเบื้องต้นและบันทึก<br />

การดําเนินการในระบบฯ<br />

๑.๐๙ วันทําการ ๑ วันทําการการ ๑ วันทําการการ


สรุปผลการดําเนินการด้านการประสานมวลชนและ<br />

องค์กรประช<br />

ประชาชน<br />

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ ศูนย์บริการประชาชนได้ดําเนินการด้านประสานมวลชนและองค์กรประชาชนสรุปภารกิจ<br />

ที่สําคัญได้ ดังนี้<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนตุลาคม ๒๕๕๓<br />

( ๑ ) วันที่ ๔ ตุลาคม ๒๕๕๓<br />

กลุ่มสหพันธ์พัฒนาองค์กรชุมชนคนจนเมืองแห่งชาติ (สอช.) จํานวนประมาณ ๒,๐๐๐ คน ได้เดินทางมายื่น<br />

หนังสือ เสนอข้อเรียกร้อง เนื่องจากเป็นวันที่อยู่อาศัยโลก จึงขอให้รับชุมชนที่ได้รับผลกระทบจากโครงการพัฒนาของรัฐเข้าไป<br />

มีส่วนร่วมเพื่อรับรู้และร่วมกันวางแผนเพื่อแก้ไขปัญหาร่วมกัน<br />

( ๒ ) วันที่ ๕ ตุลาคม ๒๕๕๓<br />

เครือข่ายภาคประชาชนที่สนับสนุนกฎหมายคุ้มครองผู้เสียหายจากบริการสาธารณสุข<br />

จํานวนประมาณ ๕๐๐ คน ได้เดินทางมาเพื่อสนับสนุนร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองผู้เสียหายจากการบริการสาธารณสุข<br />

พ.ศ. ....


กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนพฤศจิกายน ๒๕๕๓<br />

( ๑ ) วันที่ ๙ พฤศจิกายน ๒๕๕๓<br />

กลุ่มสมาคมเครือข่ายสถาบันเกษตรกร (คสก.) จํานวนประมาณ ๕๐๐ คน ได้เดินทางมายื่นหนังสือ<br />

ขอสนับสนุนนโยบายการช่วยเหลือเกษตรกรและผู้ยากจนกับการพัฒนาอาชีพของเกษตรกร ขอเข้าร่วมโครงการแหล่งน้ําในไร่<br />

นานอกเขตชลประทาน<br />

( ๒ ) วันที่ ๑๗ พฤศจิกายน ๒๕๕๓<br />

กลุ่มผู้ได้รับความเดือดร้อนจากการประกอบอาชีพค้าขายจากสถาบันราชประชาสมาสัย จํานวนประมาณ<br />

๕๐ คน ได้เดินทางมายื่นหนังสือขอความเป็นธรรมกรรีเจ้าหน้าที่สถาบันราชประชาสมาสัยห้ามประกอบอาชีพค้าขายภายใน<br />

สถาบันราชประชาสมาสัย จังหวัดสมุทรปราการเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือน ธันวาคม ๒๕๕๓<br />

( ๑ ) วันที่ ๗ ธันวาคม ๒๕๕๓<br />

กลุ่มพ่อค้าแม่ค้าตลาดสดเทศบาลตําบลรัตนบุรี จํานวนประมาณ ๓๐ คน ได้เดินทางมายื่นหนังสือขอความเป็น<br />

ธรรมเนื่องจากได้รับความเดือดร้อน กรณีประกาศเทศบาลตําบลรัตนบุรี เรื่องหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการเข้าจําหน่าย<br />

สินค้าในตลาดสดเทศบาลตําบลรัตนบุรี


( ๒ ) วันที่ ๑๓ ธันวาคม ๒๕๕๓<br />

กลุ่มเครือข่ายสลัม ๔ ภาค จํานวนประมาณ ๘๐ คน ได้เดินทางมายื่นหนังสือ เสนอข้อเรียกร้องใน<br />

วันสิทธิมนุษยชนสากล<br />

( ๓ ) วันที่ ๒๑ ธันวาคม ๒๕๕๓<br />

กลุ่ มเครื อข่ ายคนไทยรั กชาติ จํ านวนประมาณ ๑๐๐ คน ได้ ยื่ นแถลงการณ์ คั ดค้ าน<br />

เรื่องพระราชบัญญัติองค์กรจัดสรรคลื่นความถี่และกํากับการประกอบการวิทยุกระจายเสียงวิทยุโทรทัศน์และกิจการ<br />

โทรคมนาคม พ.ศ. ๒๕๕๔ ขัดต่อรัฐธรรมนูญและผิดเจตนารมณ์การปฏิรูปสื่อ<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนมกราคม ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๑๐ มกราคม ๒๕๕๔<br />

กลุ่มสหกรณ์รถยนต์โดยสารตรัง จํากัด จํานวนประมาณ ๓๐ คน ได้เดินทางมายื่นหนังสือ<br />

ขอความช่วยเหลือในการกําหนดอายุการใช้งานรถตู้โดยสารประจําทาง


( ๒ ) วันที่ ๑๘ มกราคม ๒๕๕๔<br />

กลุ่มชมรมรถจักรยานยนต์รับจ้างเพื่อความมั่นคง จํานวนประมาณ ๒๐ คน ได้ยื่นหนังสือเสนอแนะ<br />

หลักเกณฑ์ในการอนุมัติหนังสือรับรองการจดทะเบียนรถจักรยานยนต์รับจ้าง<br />

( ๓ ) วันที่ ๑๙ มกราคม ๒๕๕๔<br />

ตัวแทนกลุ่มคนไทยหัวใจรักชาติ จํานวน ๗ คน ได้ยื่นหนังสือขอให้รัฐบาลใช้สิทธิที่มีอยู่ในสนธิสัญญา<br />

ว่าด้วยการส่งผู้ร้ายข้ามแดน ระหว่างราชอาณาจักรไทยกับราชอาณาจักรกัมพูชา เพื่อช่วยเหลือคนไทยที่ถูกจับ<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนกุมภาพันธ์ ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔<br />

กลุ่มเครือข่ายพลเมืองอาสาป้องกันแผ่นดิน จํานวน ๘ คน ได้ยื่นหนังสือขอให้นําบันมึกความเข้าใจ (MOU)<br />

๒๕๔๓ และ MOU ๒๕๔๔ เสนอรัฐสภาเพื่อให้ความเห็นชอบ


( ๒ ) วันที่ ๔ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔<br />

กลุ่มสมาพันธ์ชุมชนแห่งประเทศไทยและพรรคไทยพอเพียง จํานวนประมาณ ๓๐๐ คน ได้ยื่นหนังสือ<br />

แถลงการณ์ฉบับที่ ๑/๒๕๕๔ เสนอข้อเรียกร้องของกลุ่ม โดยขอให้ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร<br />

กับธนาคารออมสิน ปล่อยเงินกู้ให้กับสมาชิกของกลุ่มฯ และประชาชนทั่วไป และแต่งตั้งคณะกรรมการร่วมกันระหว่างรัฐบาล<br />

และกลุ่มฯ เพื่อแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ<br />

( ๓ ) วันที่ ๗ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔<br />

กลุ่มแนวร่วมเกษตรกรไทย จํานวนประมาณ ๒,๐๐๐ คน ได้ยื่นหนังสือเพื่อขอให้แก้ไขปัญหาหนี้สินของ<br />

เกษตรกร<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนมีนาคม ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๕๔<br />

คณะกรรมการสมานฉันท์แรงงานไทย (คสรท.) สหภาพแรงงาน แม็กซิส ประเทศไทย และพนักงานบริษัท<br />

ซีพีบี เซ็นเตอร์ จํากัด จํานวนประมาณ ๓๐๐ คน ได้ยื่นหนังสือขอให้พิจารณาแก้ไขปัญหาข้อพิพาทแรงงาน


กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนเมษายน ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๔ เมษายน ๒๕๕๔<br />

กลุ่มชาวนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยาและชาวนาไทย ๒๒ จังหวัด จํานวนประมาณ ๒๕ คน ได้ยื่นหนังสือเพื่อ<br />

ขอความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหาราคาข้าว โดยขอให้รัฐบาลรับซื้อข้าวจากชาวนาโดยตรง ในความชื้นที่ ๒๕% ราคาตันละ<br />

๑๑,๕๐๐๐ บาท<br />

( ๒ ) วันที่ ๑๒ เมษายน ๒๕๕๔<br />

คณะกรรมการญาติวีรชนพฤษภา ’๓๕ จํานวน ๒๑ คน ได้ยื่นหนังสือขอให้พิจารณาปฏิบัติตามข้อเสนอของ<br />

คณะกรรมการอิสระเพื่อติดตามผู้สูญหายและช่วยเหลือเยียวยาผู้เสียหายจากเหตุการณ์เดือนพฤษภาคม ๒๕๕๓ และขอให้<br />

รัฐบาลแสดงความเสียใจต่อเหตุการณ์ความสูญเสียเมื่อเดือนเมษายน - พฤษภาคม ๒๕๕๓ เพื่อสร้างแนวปรองดอง<br />

( ๓ ) วันที่ ๒๙ เมษายน ๒๕๕๔<br />

ตัวแทนกลุ่มผู้ได้รับผลกระทบจากการก่อสร้างฝายรีไศล จังหวัดศรีสะเกษ จํานวนประมาณ ๓๐ คน ได้ยื่น<br />

หนังสือเพื่อขอให้เร่งรัดพิจารณาติดตามการจ่ายเงินชดเชยให้ราษฎรที่ได้รับผลกระทบจาการก่อสร้างฝานราษีไศล จังหวัด<br />

ศรีสะเกษ


กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนพฤษภาคม ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๑๘ พฤษภาคม ๒๕๕๔<br />

กลุ่มข้าราชการตํารวจชั้นประทวน จํานวนประมาณ ๕๐ คน ได้ยื่นหนังสือขอความเป็นธรรมในการประกาศ<br />

ผลสอบของข้าราชการตํารวจชั้นประทวนเข้ารับการฝึกอบรมเพื่อแต่งตั้งเป็นข้าราชการตํารวจชั้นสัญญาบัตร<br />

พ.ศ. ๒๕๕๓<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนมิถุนายน ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๗ มิถุนายน ๒๕๕๔<br />

กลุ่มสหกรณ์ผู้เลี้ยงไก่ไข่ จํานวนประมาณ ๔๐ คน ได้ยื่นหนังสือขอความช่วยเหลือในการแก้ไขปัญหา<br />

ราคาไข่ไก่<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนกรกฎาคม ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๕ กรกฎาคม ๒๕๕๔<br />

ศูนย์บริการประชาชน ได้ประสานผู้อํานวยการส่วนแผนและประสานงาน (พันเอก บัณฑิต สุวัฑฒน)<br />

ศูนย์ปฏิบัติการ ๔ กองอํานวยการรักษาความมั่นคงภายในราชอาณาจักร และกลุ่มผู้ร่วมพัฒนาชาติไทย เพื่อร่วมประชุมหารือ<br />

และชี้แจงการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อนของผู้ร่วมพัฒนาชาติไทยกรณีรายชื่อของราษฎรตกหล่นทําให้ไม่ได้รับเงินช่วยเหลือ<br />

ณ ห้องประชุมเรือนรับรองประชาชน


กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนสิงหาคม ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๑๑ สิงหาคม ๒๕๕๔<br />

กลุ่มชาวเขาเผ่ามูเซอ อําเภอแม่สอด จังหวัดตาก จํานวนประมาณ ๑๒๐ คน ได้เดินทางมายื่นหนังสือ<br />

ขอความเป็นธรรม กรณีเจ้าหน้าที่ของรัฐเข้ามาดําเนินการรื้อถอนตลาดร้านค้าชาวไทยภูเขา บริเวณถนนสายตาก-แม่สอด<br />

( ๒ ) วันที่ ๒๕ สิงหาคม ๒๕๕๔<br />

กลุ่มกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกร และกลุ่มเครือข่ายหนี้สินชาวนาแห่งประเทศไทย ได้เดินทางมายื่น<br />

หนังสือ ขอให้นายกรัฐมนตรีดํารงตําแหน่งประธานกรรมการกองทุนฟื้นฟูและพัฒนาเกษตรกรและขอให้แก้ไขปัญหาหนี้สิน<br />

เกษตรกรเป็นวาระแห่งชาติ<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมประจําเดือนกันยายน ๒๕๕๔<br />

( ๑ ) วันที่ ๒๗ กันยายน ๒๕๕๔<br />

เครือข่ายแก้ปัญหาการคืนสัญชาติคนไทย : คนไทยพลัดถิ่น ได้เดินทางมายื่นหนังสือ เพื่อขอให้พิจารณา<br />

ดําเนินการสนับสนุนร่างพระราชบัญญัติสัญชาติ พ.ศ. ... เพื่อคืนสัญชาติคนไทยพลัดถิ่น


( ๒ ) วันที่ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๔<br />

เครือข่ายต่อสู้เอาชนะความยากจน ได้เดินทางมายื่นหนังสือขออนุญาตนําคณะเครือข่ายต่อสู้<br />

เพื่อเอาชนะความยากจน ๑๔ จังหวัด เข้าพบนายกรัฐมนตรีเพื่อหารือเกี่ยวกับปัญหาความเดือดร้อน


สรุปผลการดําเนินการเรื่องร้องทุกข์จากประชาชน<br />

ในปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ ประชาชนได้แจ้งเรื่องร้องทุกข์ ต่อนายกรัฐมนตรี รองนายกรัฐมนตรี<br />

และรัฐมนตรีประจําสํานักนายกรัฐมนตรี ผ่านช่องทางต่างๆ สรุปประเด็นสําคัญได้ ดังนี้<br />

๑.สถิ ติ การแจ้ งเรื่ องร้ องทุ กข์ ของประชาชน จํ าแนกตามช่ องทางการร้ องทุ กข์ ๑๑๑๑<br />

(๔ ช่องทาง)<br />

๑,๓๖๘ ๑๓,๙๖๑<br />

๘,๒๕๓<br />

๑๐๕,๙๔๔<br />

จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑ เว็บไซต (www.1111.go.th)<br />

ตู ปณ. ๑๑๑๑/ไปรษณีย/โทรสาร สายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑<br />

ลําดับที่ ชองทางการติดตอ จํานวนการติดตอ (ครั้ง) รอยละ<br />

๑ สายดวนของรัฐบาล ๑๑๑๑ ๑๐๕,๙๔๔ ๘๑.๗๙<br />

๒ เว็บไซต (www.๑๑๑๑.go.th) ๑๓,๙๖๑ ๑๐.๗๘<br />

๓ ตู ปณ. ๑๑๑๑/ไปรษณีย/โทรสาร ๘,๒๕๓ ๖.๓๗<br />

๔ จุดบริการประชาชน ๑๑๑๑ ๑,๓๖๘ ๑.๐๖<br />

รวมทั้งสิ้น ๑๒๙,๕๒๖ ๑๐๐.๐๐


๒.จํานวนเรื่องร้องทุกข์จําแนกตามประเภทเรื่อง เรียงตามลําดับประเภทเรื่องหลักที่มีการร้องทุกข์มากที่สุด<br />

สังคมและสวัสดิการ<br />

๔๒,๖๒๓<br />

การเมือง-การปกครอง<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม<br />

เศรษฐกิจ<br />

กฎหมาย<br />

๓,๒๐๐<br />

๖,๘๗๒<br />

๑๑,๒๒๐<br />

๒๒,๙๒๔<br />

๐ ๑๐,๐๐๐ ๒๐,๐๐๐ ๓๐,๐๐๐ ๔๐,๐๐๐ ๕๐,๐๐๐<br />

ลําดับที่ ประเภทเรื่องหลัก ประเภทเรื่องรอง จํานวน (เรื่อง) ร้อยละ<br />

๑ สังคมและสวัสดิการ<br />

๒ การเมือง - การปกครอง<br />

สาธารณูปโภค ๑๖,๖๖๕<br />

(๑)<br />

สังคมเสื่อมโทรม ๙,๙๒๒<br />

(๓)<br />

๑๙.๒๕<br />

๑๑.๔๖<br />

การพนัน ๓,๒๗๐ ๓.๗๘<br />

สวัสดิการสงเคราะห์ ๒,๖๗๑ ๓.๐๙<br />

จัดระเบียบสังคม ๑,๕๔๗ ๑.๗๙<br />

สาธารณสุข ๑,๕๒๕ ๑.๗๖<br />

ปัญหาแรงงาน ๑,๔๓๖ ๑.๖๖<br />

สถานภาพของบุคคล ๑,๑๕๐ ๑.๓๓<br />

ปัญหาที่ดิน ๑,๑๑๓ ๑.๒๘<br />

การศึกษา ๑,๑๐๑ ๑.๒๗<br />

ปัญหาที่อยู่อาศัย ๘๖๙ ๑.๐๐<br />

ประกันสังคม ๔๓๐ ๐.๕๐<br />

ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ๓๔๓ ๐.๔๐<br />

สิทธิมนุษยชน ๓๐๙ ๐.๓๖<br />

หลักประกันสุขภาพ ๒๑๓ ๐.๒๔<br />

การกีฬา ๕๙ ๐.๐๗<br />

รวม ๔๒,๖๒๓ ๔๙.๒๔<br />

กล่าวโทษหรือร้องเรียนเจ้าหน้าที่ของรัฐ ๑๒,๘๘๙<br />

๑๔.๘๙<br />

(๒)<br />

นโยบายของรัฐบาล ๔,๙๑๖ ๕.๖๘


ลําดับ<br />

ที่<br />

ประเภทเรื่องหลัก<br />

๓ ทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดล้อม<br />

ประเภทเรื่องรอง จํานวน (เรื่อง) ร้อยละ<br />

การใช้อํานาจของหน่วยงานของรัฐ ๒,๗๑๕ ๓.๑๔<br />

การเมือง ๑,๖๘๖ ๑.๙๕<br />

ปัญหาความมั่นคง ๕๖๗ ๐.๖๕<br />

สถาบันพระมหากษัตริย์ ๑๕๑ ๐.๑๗<br />

รวม ๒๒,๙๒๔ ๒๖.๔๘<br />

ปัญหาน้ําผิวดิน ๙,๗๓๘ ๑๑.๒๕<br />

ปัญหาในพื้นที่ป่า ๔๙๒ ๐.๕๗<br />

ปัญหาของเสีย ๓๙๗ ๐.๔๖<br />

คุณภาพอากาศและเสียง ๒๒๘ ๐.๒๖<br />

คุณภาพน้ํา ๑๑๖ ๐.๑๓<br />

นโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ่งแวดล้อม<br />

๘๖ ๐.๑๐<br />

สัตว์ป่าและพืชป่า ๘๒ ๐.๐๙<br />

ทรัพยากรธรณี ๕๘ ๐.๐๗<br />

ทรัพยากรชายฝั่งทะเล ๑๔ ๐.๐๒<br />

ปัญหาน้ําบาดาล ๙ ๐.๐๑<br />

รวม ๑๑,๒๒๐ ๑๒.๙๖<br />

๔ เศรษฐกิจ การค้า ๑,๖๘๘ ๑.๙๕<br />

ปัญหาหนี้สิน ๑,๒๘๓ ๑.๔๘<br />

รายได้ ๑,๐๑๓ ๑.๑๗<br />

การเกษตร ๘๓๓ ๐.๙๖<br />

การเงิน ๖๖๘ ๐.๗๗<br />

การลงทุน ๕๙๕ ๐.๖๙<br />

ราคาพลังงาน ๓๙๔ ๐.๔๖<br />

การคลัง ๓๑๔ ๐.๓๖<br />

อุตสาหกรรม ๘๔ ๐.๑๐<br />

รวม ๖,๘๗๒ ๗.๙๔<br />

๕ กฎหมาย การกระทําความผิดอาญา ๑,๔๓๓ ๑.๖๖<br />

การบังคับตามกฎหมาย ๗๒๔ ๐.๘๔<br />

การเสนอและตรากฎหมาย ๔๐๗ ๐.๔๗<br />

การใช้สิทธิหรือข้อพิพาทระหว่างเอกชน ๓๕๙ ๐.๔๑<br />

รวม ๒,๙๒๓ ๓.๓๘<br />

รวมทั้งสิ้น ๘๖,๕๖๒ ๑๐๐.๐๐<br />

หมายเหตุ : (๑) (๒) (๓) หมายถึง ลําดับที่ที่มีจํานวนเรื่องรองทุกขมากที่สุด ๓ ลําดับแรก


๓ .จํ านวนเรื่ องร้ องทุ กข์ และผลการดํ าเนิ นการของหน่ วยงาน (ไม่ รวมองค์ กรปกครอง<br />

ส่วนท้องถิ่นและจังหวัด) เรียงตามลําดับหน่วยงานที่ได้รับการประสานงานเรื่องร้องทุกข์มากที่สุด<br />

รวม<br />

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน<br />

เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา<br />

ลําดับ<br />

หน่วยงาน<br />

ดําเนินการจนได้<br />

ที่<br />

จํานวน<br />

ร้อยละ<br />

รอผลการพิจารณา<br />

(เรื่อง) จํานวน จํานวน<br />

ข้อยุติ<br />

ร้อยละ ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง) จํานวน<br />

จํานวน<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

๑ กระทรวง ๑๓,๑๗๖ ๔๘.๖๐ ๘,๒๑๔ ๖๒.๓๔ ๔,๙๖๒ ๓๗.๖๖ ๓,๔๘๐ ๗๐.๑๓ ๑,๔๘๒ ๒๙.๘๗<br />

๑.๑ กระทรวงสาธารณสุข ๑,๖๒๗ ๖.๐๐ ๑,๒๕๑ ๗๖.๘๙ ๓๗๖ ๒๓.๑๑ ๒๑๓ ๕๖.๖๕ ๑๖๓ ๔๓.๓๕<br />

๑.๒ กระทรวงพาณิชย์ ๑,๒๙๔ ๔.๗๗ ๑,๑๐๒ ๘๕.๑๖ ๑๙๒ ๑๔.๘๔ ๑๖๗ ๘๖.๙๘ ๒๕ ๑๓.๐๒<br />

๑.๓ กระทรวงมหาดไทย ๑,๒๘๔ ๔.๗๔ ๙๒๐ ๗๑.๖๕ ๓๖๔ ๒๘.๓๕ ๒๔๗ ๖๗.๘๖ ๑๑๗ ๓๒.๑๔<br />

๑.๔ กระทรวงคมนาคม ๑,๒๖๔ ๔.๖๖ ๙๙๕ ๗๘.๗๒ ๒๖๙ ๒๑.๒๘ ๑๙๕ ๗๒.๔๙ ๗๔ ๒๗.๕๑<br />

๑.๕ กระทรวงการคลัง ๑,๒๒๘ ๔.๕๓ ๗๐๖ ๕๗.๔๙ ๕๒๒ ๔๒.๕๑ ๓๘๓ ๗๓.๓๗ ๑๓๙ ๒๖.๖๓<br />

๑.๖ กระทรวงศึกษาธิการ ๑,๒๐๕ ๔.๔๕ ๖๒๐ ๕๑.๔๕ ๕๘๕ ๔๘.๕๕ ๓๓๔ ๕๗.๐๙ ๒๕๑ ๔๒.๙๑<br />

๑.๗ กระทรวงแรงงาน ๑,๑๖๕ ๔.๓๐ ๖๖๗ ๕๗.๒๕ ๔๙๘ ๔๒.๗๕ ๔๒๐ ๘๔.๓๔ ๗๘ ๑๕.๖๖<br />

๑.๘ กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ๑,๐๖๖ ๓.๙๓ ๔๕๔ ๔๒.๕๙ ๖๑๒ ๕๗.๔๑ ๕๐๕ ๘๒.๕๒ ๑๐๗ ๑๗.๔๘<br />

๑.๙ สํานักนายกรัฐมนตรี ๖๔๖ ๒.๓๘ ๒๙๖ ๔๕.๘๒ ๓๕๐ ๕๔.๑๘ ๑๐๑ ๒๘.๘๖ ๒๔๙ ๗๑.๑๔<br />

๑.๑๐ กระทรวงการพัฒนาสังคม ๖๓๑ ๒.๓๓ ๑๗๘ ๒๘.๒๑ ๔๕๓ ๗๑.๗๙ ๓๓๒ ๗๓.๒๙ ๑๒๑ ๒๖.๗๑<br />

และความมั่นคงของมนุษย์<br />

๑.๑๑ กระทรวงกลาโหม ๔๒๔ ๑.๕๖ ๑๕๘ ๓๗.๒๖ ๒๖๖ ๖๒.๗๔ ๒๕๘ ๙๖.๙๙ ๘ ๓.๐๑<br />

๑.๑๒ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ ๓๓๑ ๑.๒๒ ๑๙๕ ๕๘.๙๑ ๑๓๖ ๔๑.๐๙ ๘๖ ๖๓.๒๔ ๕๐ ๓๖.๗๖<br />

และสิ่งแวดล้อม<br />

๑.๑๓ กระทรวงพลังงาน ๒๕๖ ๐.๙๕ ๒๑๓ ๘๓.๒๐ ๔๓ ๑๖.๘๐ ๒๘ ๖๕.๑๒ ๑๕ ๓๔.๘๘<br />

๑.๑๔ กระทรวงเทคโนโลยี ๑๙๒ ๐.๗๑ ๑๕๑ ๗๘.๖๕ ๔๑ ๒๑.๓๕ ๓๓ ๘๐.๔๙ ๘ ๑๙.๕๑<br />

สารสนเทศและการสื่อสาร<br />

๑.๑๕ กระทรวงยุติธรรม ๑๘๕ ๐.๖๘ ๘๓ ๔๔.๘๖ ๑๐๒ ๕๕.๑๔ ๖๖ ๖๔.๗๑ ๓๖ ๓๕.๒๙<br />

๑.๑๖ กระทรวงอุตสาหกรรม ๑๕๒ ๐.๕๖ ๗๘ ๕๑.๓๒ ๗๔ ๔๘.๖๘ ๖๐ ๘๑.๐๘ ๑๔ ๑๘.๙๒<br />

๑.๑๗ กระทรวงการต่างประเทศ ๘๕ ๐.๓๑ ๔๗ ๕๕.๒๙ ๓๘ ๔๔.๗๑ ๒๓ ๖๐.๕๓ ๑๕ ๓๙.๔๗<br />

๑.๑๘ กระทรวงวัฒนธรรม ๘๑ ๐.๓๐ ๖๔ ๗๙.๐๑ ๑๗ ๒๐.๙๙ ๑๕ ๘๘.๒๔ ๒ ๑๑.๗๖<br />

๑.๑๙ กระทรวงการท่องเที่ยว ๕๕ ๐.๒๐ ๓๓ ๖๐.๐๐ ๒๒ ๔๐.๐๐ ๑๒ ๕๔.๕๕ ๑๐ ๔๕.๔๕<br />

และกีฬา<br />

๑.๒๐ กระทรวงวิทยาศาสตร์ ๕ ๐.๐๒ ๓ ๖๐.๐๐ ๒ ๔๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

และเทคโนโลยี<br />

๒ หน่วยงานอื่น ๘,๕๒๕ ๓๑.๔๔ ๗,๑๒๒ ๘๓.๕๔ ๑,๔๐๓ ๑๖.๔๖ ๙๙๗ ๗๑.๐๖ ๔๐๖ ๒๘.๙๔<br />

๒.๑ สํานักงานตํารวจแห่งชาติ ๗,๔๐๓ ๒๗.๓๐ ๖,๓๘๕ ๘๖.๒๕ ๑,๐๑๘ ๑๓.๗๕ ๗๕๖ ๗๔.๒๖ ๒๖๒ ๒๕.๗๔<br />

๒.๒ สํานักงานคณะกรรมการ ๓๖๙ ๑.๓๖ ๒๖๗ ๗๒.๓๖ ๑๐๒ ๒๗.๖๔ ๖๖ ๖๔.๗๑ ๓๖ ๓๕.๒๙<br />

กิจการกระจายเสียง กิจการ<br />

โทรทัศน์และกิจการ<br />

โทรคมนาคมแห่งชาติ<br />

๒.๓ ธนาคารแห่งประเทศไทย ๑๖๒ ๐.๖๐ ๑๑๑ ๖๘.๕๒ ๕๑ ๓๑.๔๘ ๓๖ ๗๐.๕๙ ๑๕ ๒๙.๔๑<br />

๒.๔ สํานักงานคณะกรรมการ ๑๓๕ ๐.๕๐ ๑๒๕ ๙๒.๕๙ ๑๐ ๗.๔๑ ๒ ๒๐.๐๐ ๘ ๘๐.๐๐<br />

การเลือกตั้ง<br />

๒.๕ สํานักงานพระพุทธศาสนา ๑๒๔ ๐.๔๖ ๗๗ ๖๒.๑๐ ๔๗ ๓๗.๙๐ ๑๖ ๓๔.๐๔ ๓๑ ๖๕.๙๖<br />

แห่งชาติ<br />

๒.๖ สภาทนายความ ๖๑ ๐.๒๓ ๗ ๑๑.๔๘ ๕๔ ๘๘.๕๒ ๔๓ ๗๙.๖๓ ๑๑ ๒๐.๓๗<br />

๒.๗ สํานักงานคณะกรรมการ<br />

กํากับและส่งเสริมการ<br />

ประกอบธุรกิจประกันภัย<br />

๕๔ ๐.๒๐ ๒๗ ๕๐.๐๐ ๒๗ ๕๐.๐๐ ๑๖ ๕๙.๒๖ ๑๑ ๔๐.๗๔


ลําดับ<br />

ที่<br />

หน่วยงาน<br />

รวม<br />

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน<br />

จํานวน ร้อยละ เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา<br />

(เรื่อง)<br />

ดําเนินการจนได้<br />

รอผลการพิจารณา<br />

จํานวน จํานวน<br />

ข้อยุติ<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง) จํานวน<br />

จํานวน<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

๔๒ ๐.๑๖ ๓๘ ๙๐.๔๘ ๔ ๙.๕๒ ๓ ๗๕.๐๐ ๑ ๒๕.๐๐<br />

๒.๘ สํานักงานเลขาธิการสภา<br />

ผู้แทนราษฎร<br />

๒.๙ สํานักงานอัยการสูงสุด ๓๐ ๐.๑๑ ๗ ๒๓.๓๓ ๒๓ ๗๖.๖๗ ๑๘ ๗๘.๒๖ ๕ ๒๑.๗๔<br />

๒.๑๐ สํานักราชเลขาธิการ ๑๖ ๐.๐๖ ๑๔ ๘๗.๕๐ ๒ ๑๒.๕๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๒.๑๑ สํานักงานคณะกรรมการสิทธิ ๑๔ ๐.๐๕ ๑๓ ๙๒.๘๖ ๑ ๗.๑๔ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

มนุษยชนแห่งชาติ<br />

๒.๑๒ สภากาชาดไทย ๑๔ ๐.๐๕ ๑๐ ๗๑.๔๓ ๔ ๒๘.๕๗ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐๐.๐๐<br />

๒.๑๓ สํานักงานคณะกรรมการ ๑๒ ๐.๐๔ ๘ ๖๖.๖๗ ๔ ๓๓.๓๓ ๒ ๕๐.๐๐ ๒ ๕๐.๐๐<br />

ป้องกันและปราบปราม<br />

การทุจริตแห่งชาติ<br />

๒.๑๔ สํานักงานศาลยุติธรรม ๙ ๐.๐๓ ๔ ๔๔.๔๔ ๕ ๕๕.๕๖ ๓ ๖๐.๐๐ ๒ ๔๐.๐๐<br />

๒.๑๕ สํานักงานคณะกรรมการ ๙ ๐.๐๓ ๓ ๓๓.๓๓ ๖ ๖๖.๖๗ ๖ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

ป้องกันและปราบปราม<br />

ยาเสพติด<br />

๒.๑๖ ธนาคารพาณิชย์จดทะเบียน ๘ ๐.๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๘ ๑๐๐.๐๐ ๗ ๘๗.๕๐ ๑ ๑๒.๕๐<br />

ในประเทศ<br />

๒.๑๗ สํานักงานเลขาธิการวุฒิสภา ๖ ๐.๐๒ ๓ ๕๐.๐๐ ๓ ๕๐.๐๐ ๑ ๓๓.๓๓ ๒ ๖๖.๖๗<br />

๒.๑๘ สํานักงานคณะกรรมการ ๕ ๐.๐๒ ๒ ๔๐.๐๐ ๓ ๖๐.๐๐ ๒ ๖๖.๖๗ ๑ ๓๓.๓๓<br />

ป้องกันและปราบปราม<br />

การทุจริตในภาครัฐ<br />

๒.๑๙ สถาบันทดสอบทางการศึกษา ๕ ๐.๐๒ ๑ ๒๐.๐๐ ๔ ๘๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐๐.๐๐<br />

แห่งชาติ (องค์การมหาชน)<br />

๒.๒๐ ศูนย์ปฎิบัติการตํารวจจังหวัด ๔ ๐.๐๒ ๑ ๒๕.๐๐ ๓ ๗๕.๐๐ ๒ ๖๖.๖๗ ๑ ๓๓.๓๓<br />

ชายแดนภาคใต้<br />

๒.๒๑ สํานักงานคณะกรรมการ ๔ ๐.๐๒ ๓ ๗๕.๐๐ ๑ ๒๕.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กํากับหลักทรัพย์และตลาด<br />

หลักทรัพย์<br />

๒.๒๒ สํานักงานกองทุนหมู่บ้านและ ๔ ๐.๐๒ ๑ ๒๕.๐๐ ๓ ๗๕.๐๐ ๒ ๖๖.๖๗ ๑ ๓๓.๓๓<br />

ชุมชนเมืองแห่งชาติ<br />

๒.๒๓ สํานักพระราชวัง ๓ ๐.๐๑ ๒ ๖๖.๖๗ ๑ ๓๓.๓๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐<br />

๒.๒๔ สํานักงานคณะกรรมการ ๓ ๐.๐๑ ๑ ๓๓.๓๓ ๒ ๖๖.๖๗ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

พิเศษเพื่อประสานโครงการ<br />

อันเนื่องมาจากพระราชดําริ<br />

๒.๒๕ ศาลปกครอง ๓ ๐.๐๑ ๒ ๖๖.๖๗ ๑ ๓๓.๓๓ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๒.๒๖ ศูนย์อํานวยการบริหาร ๓ ๐.๐๑ ๓ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

จังหวัดชายแดนภาคใต้<br />

๒.๒๗ สํานักงานคณะกรรมการ ๒ ๐.๐๑ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กองทุนหมู่บ้านและชุมชน<br />

เมืองแห่งชาติ<br />

๒.๒๘ ราชบัณฑิตยสถาน ๒ ๐.๐๑ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๒.๒๙ สํานักงานทรัพย์สิน<br />

๒ ๐.๐๑ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

ส่วนพระมหากษัตริย์<br />

๒.๓๐ พรรคประชาธิปัตย์ ๒ ๐.๐๑ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐


รวม<br />

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน<br />

จํานวน ร้อยละ เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา<br />

(เรื่อง)<br />

หน่วยงาน<br />

ดําเนินการจนได้<br />

รอผลการพิจารณา<br />

จํานวน จํานวน<br />

ข้อยุติ<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง) จํานวน จํานวน<br />

ร้อยละ ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

๒.๓๑ มูลนิธิโรคไตแห่งประเทศไทย ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๒.๓๒ ศาลอาญา ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๒.๓๓ สํานักงานป้องกันและ ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐<br />

ปราบปรามการฟอกเงิน<br />

๒.๓๔ สํานักงานคณะกรรมการวิจัย ๑ ๐.๐๐๓ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

แห่งชาติ<br />

๒.๓๕ สํานักงานสภาที่ปรึกษา ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ<br />

๒.๓๖ สภาสตรีแห่งชาติในพระบรม ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

ราชินูปถัมภ์<br />

๒.๓๗ สํานักงานการตรวจเงิน ๑ ๐.๐๐๓ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

แผ่นดิน<br />

๒.๓๘ สํานักงานกองทุน ซี ซี เอฟ ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐<br />

เพื่อพัฒนาเด็ก<br />

๒.๓๙ สถาบันคุ้มครองผู้บริโภค ใน ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กิจการโทรคมนาคมสํานักงาน<br />

คณะกรรมการกิจการ<br />

โทรคมนาคมแห่งชาติ<br />

๒.๔๐ บริษัท ทรู คอร์ปอเรชั่น ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐<br />

จํากัด (มหาชน)<br />

๒.๔๑ สํานักงานกองทุนสนับสนุน ๑ ๐.๐๐๓ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

การวิจัย<br />

๒.๔๒ องค์การบริหารการพัฒนา ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

พื้นที่พิเศษเพื่อการท่องเที่ยว<br />

อย่างยั่งยืน (องค์การมหาชน)<br />

๒.๔๓ สํานักงานกองทุนสนับสนุน ๑ ๐.๐๐๓ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

การสร้างเสริมสุขภาพ<br />

(องค์การมหาชน)<br />

๒.๔๔ โรงพยาบาลบ้านแพ้ว ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐<br />

(องค์การมหาชน)<br />

๒.๔๕ สํานักงานส่งเสริมวิสาหกิจ ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

ขนาดกลางและขนาดย่อม<br />

๓ รัฐวิสาหกิจ ๕,๔๑๓ ๑๙.๙๖ ๓,๒๙๒ ๖๐.๘๒ ๒,๑๒๑ ๓๙.๑๘ ๑,๖๗๙ ๗๙.๑๖ ๔๔๒ ๒๐.๘๔<br />

๓.๑ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๑,๕๖๕ ๕.๗๗ ๑,๐๘๗ ๖๙.๔๖ ๔๗๘ ๓๐.๕๔ ๔๒๙ ๘๙.๗๕ ๔๙ ๑๐.๒๕<br />

กระทรวงมหาดไทย<br />

๓.๑.๑ การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค ๖๕๖ ๒.๔๒ ๔๐๙ ๖๒.๓๕ ๒๔๗ ๓๗.๖๕ ๒๒๖ ๙๑.๕๐ ๒๑ ๘.๕๐<br />

๓.๑.๒ การไฟฟ้านครหลวง ๔๓๒ ๑.๕๙ ๓๔๙ ๘๐.๗๙ ๘๓ ๑๙.๒๑ ๗๒ ๘๖.๗๕ ๑๑ ๑๓.๒๕<br />

๓.๑.๓ การประปาส่วนภูมิภาค ๓๖๔ ๑.๓๔ ๒๔๔ ๖๗.๐๓ ๑๒๐ ๓๒.๙๗ ๑๐๖ ๘๘.๓๓ ๑๔ ๑๑.๖๗<br />

๓.๑.๔ การประปานครหลวง ๑๑๓ ๐.๔๒ ๘๕ ๗๕.๒๒ ๒๘ ๒๔.๗๘ ๒๕ ๘๙.๒๙ ๓ ๑๐.๗๑<br />

๓.๒ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๑,๔๐๘ ๕.๑๙ ๓๙๕ ๒๘.๐๕ ๑,๐๑๓ ๗๑.๙๕ ๗๘๖ ๗๗.๕๙ ๒๒๗ ๒๒.๔๑<br />

กระทรวงการคลัง<br />

๓.๒.๑ ธนาคารออมสิน ๔๕๕ ๑.๖๘ ๑๐๗ ๒๓.๕๒ ๓๔๘ ๗๖.๔๘ ๒๓๐ ๖๖.๐๙ ๑๑๘ ๓๓.๙๑<br />

๓.๒.๒ ธนาคารเพื่อการเกษตร ๒๗๗ ๑.๐๒ ๙๓ ๓๓.๕๗ ๑๘๔ ๖๖.๔๓ ๑๗๕ ๙๕.๑๑ ๙ ๔.๘๙<br />

และสหกรณ์การเกษตร<br />

๓.๒.๓ ศูนย์อํานวยการปฏิบัติการ<br />

แก้ไขปัญหาหนี้สิน<br />

ภาคประชาชน<br />

๑๗๖ ๐.๖๕ ๕ ๒.๘๔ ๑๗๑ ๙๗.๑๖ ๑๑๔ ๖๖.๖๗ ๕๗ ๓๓.๓๓


รวม<br />

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน<br />

จํานวน ร้อยละ เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา<br />

ลําดับ<br />

(เรื่อง)<br />

หน่วยงาน<br />

ดําเนินการจนได้<br />

ที่<br />

รอผลการพิจารณา<br />

จํานวน จํานวน<br />

ข้อยุติ<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง) จํานวน จํานวน<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

๓.๒.๔ สํานักงานสลากกินแบ่ง ๑๕๔ ๐.๕๗ ๑๐๐ ๖๔.๙๔ ๕๔ ๓๕.๐๖ ๕๒ ๙๖.๓๐ ๒ ๓.๗๐<br />

รัฐบาล<br />

๓.๒.๕ ธนาคารพัฒนาวิสาหกิจ ๘๘ ๐.๓๒ ๑๙ ๒๑.๕๙ ๖๙ ๗๘.๔๑ ๖๗ ๙๗.๑๐ ๒ ๒.๙๐<br />

ขนาดกลางและขนาดย่อม<br />

แห่งประเทศไทย<br />

๓.๒.๖ ธนาคารอาคารสงเคราะห์ ๘๖ ๐.๓๒ ๑๘ ๒๐.๙๓ ๖๘ ๗๙.๐๗ ๖๑ ๘๙.๗๑ ๗ ๑๐.๒๙<br />

๓.๒.๗ ธนาคารกรุงไทย จํากัด ๗๒ ๐.๒๖ ๒๔ ๓๓.๓๓ ๔๘ ๖๖.๖๗ ๔๓ ๘๙.๕๘ ๕ ๑๐.๔๒<br />

(มหาชน)<br />

๓.๒.๘ กองทุนเงินให้กู้ยืมเพื่อ ๖๙ ๐.๒๕ ๑๘ ๒๖.๐๙ ๕๑ ๗๓.๙๑ ๒๙ ๕๖.๘๖ ๒๒ ๔๓.๑๔<br />

การศึกษา<br />

๓.๒.๙ กองทุนบําเหน็จบํานาญ ๑๐ ๐.๐๔ ๖ ๖๐.๐๐ ๔ ๔๐.๐๐ ๒ ๕๐.๐๐ ๒ ๕๐.๐๐<br />

ข้าราชการ<br />

๓.๒.๑๐ ธนาคารอิสลามแห่งประเทศไทย ๗ ๐.๐๓ ๒ ๒๘.๕๗ ๕ ๗๑.๔๓ ๓ ๖๐.๐๐ ๒ ๔๐.๐๐<br />

๓.๒.๑๑ โรงงานยาสูบ ๕ ๐.๐๒ ๓ ๖๐.๐๐ ๒ ๔๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๓.๒.๑๒ บรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย ๔ ๐.๐๒ ๐ ๐.๐๐ ๔ ๑๐๐.๐๐ ๓ ๗๕.๐๐ ๑ ๒๕.๐๐<br />

๓.๒.๑๓ บรรษัทประกันสินเชื่อ ๓ ๐.๐๑ ๐ ๐.๐๐ ๓ ๑๐๐.๐๐ ๓ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

อุตสาหกรรมขนาดย่อม<br />

๓.๒.๑๔ บริษัท บริหารสินทรัพย์ ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

สุขุมวิท จํากัด<br />

๓.๒.๑๕ บริษัทบริหารสินทรัพย์ ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กรุงเทพพาณิชย์ จํากัด<br />

๓.๓ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๑,๓๒๘ ๔.๙๐ ๑,๑๓๑ ๘๕.๑๗ ๑๙๗ ๑๔.๘๓ ๑๕๐ ๗๖.๑๔ ๔๗ ๒๓.๘๖<br />

กระทรวงคมนาคม<br />

๓.๓.๑ องค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ ๘๐๘ ๒.๙๘ ๖๙๙ ๘๖.๕๑ ๑๐๙ ๑๓.๔๙ ๑๐๕ ๙๖.๓๓ ๔ ๓.๖๗<br />

๓.๓.๒ การรถไฟแห่งประเทศไทย ๒๑๗ ๐.๘๐ ๑๘๕ ๘๕.๒๕ ๓๒ ๑๔.๗๕ ๑๕ ๔๖.๘๘ ๑๗ ๕๓.๑๓<br />

๓.๓.๓ บริษัท ขนส่ง จํากัด ๑๕๕ ๐.๕๗ ๑๔๐ ๙๐.๓๒ ๑๕ ๙.๖๘ ๙ ๖๐.๐๐ ๖ ๔๐.๐๐<br />

๓.๓.๔ การทางพิเศษแห่งประเทศ ๖๕ ๐.๒๔ ๕๔ ๘๓.๐๘ ๑๑ ๑๖.๙๒ ๑๐ ๙๐.๙๑ ๑ ๙.๐๙<br />

ไทย<br />

๓.๓.๕ บริษัท ท่าอากาศยานไทย ๕๒ ๐.๑๙ ๓๖ ๖๙.๒๓ ๑๖ ๓๐.๗๗ ๕ ๓๑.๒๕ ๑๑ ๖๘.๗๕<br />

จํากัด (มหาชน)<br />

๓.๓.๖ การรถไฟฟ้าขนส่งมวลชน ๑๙ ๐.๐๗ ๑๐ ๕๒.๖๓ ๙ ๔๗.๓๗ ๒ ๒๒.๒๒ ๗ ๗๗.๗๘<br />

แห่งประเทศไทย<br />

๓.๓.๗ การท่าเรือแห่งประเทศไทย ๘ ๐.๐๓ ๔ ๕๐.๐๐ ๔ ๕๐.๐๐ ๔ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๓.๓.๘ บริษัท การบินไทย จํากัด ๔ ๐.๐๒ ๓ ๗๕.๐๐ ๑ ๒๕.๐๐ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐<br />

(มหาชน)<br />

๓.๔ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๘๑๖ ๓.๐๑ ๕๓๕ ๖๕.๕๖ ๒๘๑ ๓๔.๔๔ ๒๐๒ ๗๑.๘๙ ๗๙ ๒๘.๑๑<br />

กระทรวงเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศและการสื่อสาร<br />

๓.๔.๑ บริษัท ทีโอที จํากัด (มหาชน) ๕๘๐ ๒.๑๔ ๓๗๒ ๖๔.๑๔ ๒๐๘ ๓๕.๘๖ ๑๕๐ ๗๒.๑๒ ๕๘ ๒๗.๘๘<br />

๓.๔.๒ บริษัท ไปรษณีย์ไทย จํากัด ๒๒๑ ๐.๘๑ ๑๕๔ ๖๙.๖๘ ๖๗ ๓๐.๓๒ ๔๖ ๖๘.๖๖ ๒๑ ๓๑.๓๔<br />

๓.๔.๓ บริษัท กสท โทรคมนาคม<br />

จํากัด (มหาชน)<br />

๑๕ ๐.๐๖ ๙ ๖๐.๐๐ ๖ ๔๐.๐๐ ๖ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐


ลําดับ<br />

ที่<br />

หน่วยงาน<br />

๓.๕ รัฐวิสาหกิจในสังกัด<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคม<br />

และความมั่นคงของมนุษย์<br />

รวม<br />

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน<br />

จํานวน ร้อยละ เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา<br />

(เรื่อง)<br />

ดําเนินการจนได้<br />

รอผลการพิจารณา<br />

จํานวน<br />

จํานวน<br />

ข้อยุติ<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

จํานวน จํานวน<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

๒๐๓ ๐.๗๔ ๙๙ ๔๘.๗๗ ๑๐๔ ๕๑.๒๓ ๗๖ ๗๓.๐๘ ๒๘ ๒๖.๙๒<br />

๓.๕.๑ การเคหะแห่งชาติ ๒๐๑ ๐.๗๓ ๙๙ ๔๙.๒๕ ๑๐๒ ๕๐.๗๕ ๗๕ ๗๓.๕๓ ๒๗ ๒๖.๔๗<br />

๓.๕.๒ สถาบันพัฒนาองค์กรชุมชน ๒ ๐.๐๑ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐<br />

(องค์การมหาชน)<br />

๓.๖ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๒๖ ๐.๐๙ ๑๕ ๕๗.๖๙ ๑๑ ๔๒.๓๑ ๓ ๒๗.๒๗ ๘ ๗๒.๗๓<br />

กระทรวงการท่องเที่ยว และ<br />

กีฬา<br />

๓.๖.๑ การกีฬาแห่งประเทศไทย ๒๖ ๐.๐๙ ๑๕ ๕๗.๖๙ ๑๑ ๔๒.๓๑ ๓ ๒๗.๒๗ ๘ ๗๒.๗๓<br />

๓.๗ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๒๔ ๐.๐๙ ๑๑ ๔๕.๘๓ ๑๓ ๕๔.๑๗ ๑๒ ๙๒.๓๑ ๑ ๗.๖๙<br />

กระทรวงพลังงาน<br />

๓.๗.๑ การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่ง ๑๖ ๐.๐๖ ๕ ๓๑.๒๕ ๑๑ ๖๘.๗๕ ๑๐ ๙๐.๙๑ ๑ ๙.๐๙<br />

ประเทศไทย<br />

๓.๗.๒ บริษัท ปตท. จํากัด (มหาชน) ๘ ๐.๐๓ ๖ ๗๕.๐๐ ๒ ๒๕.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๓.๘ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๒๒ ๐.๐๘ ๑๐ ๔๕.๔๕ ๑๒ ๕๔.๕๕ ๑๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กระทรวงกลาโหม<br />

๓.๘.๑ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก ๒๒ ๐.๐๘ ๑๐ ๔๕.๔๕ ๑๒ ๕๔.๕๕ ๑๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

๓.๙ รัฐวิสาหกิจในสังกัดสํานัก ๗ ๐.๐๓ ๕ ๗๑.๔๓ ๒ ๒๘.๕๗ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐<br />

นายกรัฐมนตรี<br />

๓.๙.๑ บริษัท อสมท จํากัด ๗ ๐.๐๓ ๕ ๗๑.๔๓ ๒ ๒๘.๕๗ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐<br />

(มหาชน)<br />

๓.๑๐ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๗ ๐.๐๓ ๒ ๒๘.๕๗ ๕ ๗๑.๔๓ ๕ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ์<br />

๓.๑๐.๑ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร ๔ ๐.๐๒ ๑ ๒๕.๐๐ ๓ ๗๕.๐๐ ๓ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๓.๑๐.๒ สํานักงานกองทุนสงเคราะห์ ๒ ๐.๐๑ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

การทําสวนยาง<br />

๓.๑๐.๓ องค์การส่งเสริมกิจการโคนม ๑ ๐.๐๐๓ ๐ ๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

แห่งประเทศไทย<br />

๓.๑๑ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๓ ๐.๐๑ ๒ ๖๖.๖๗ ๑ ๓๓.๓๓ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กระทรวงอุตสาหกรรม<br />

๓.๑๑.๑ การนิคมอุตสาหกรรม ๓ ๐.๐๑ ๒ ๖๖.๖๗ ๑ ๓๓.๓๓ ๑ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๓.๑๒ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๒ ๐.๐๑ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิ่งแวดล้อม<br />

๓.๑๒.๑ องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ๒ ๐.๐๑ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๓.๑๓ รัฐวิสาหกิจในสังกัด ๒ ๐.๐๑ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐<br />

กระทรวงพาณิชย์<br />

๓.๑๓.๑ องค์การคลังสินค้า ๒ ๐.๐๑ ๐ ๐.๐๐ ๒ ๑๐๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐ ๑ ๕๐.๐๐<br />

รวมทั้งสิ้น ๒๗,๑๐๘ ๑๐๐.๐๐ ๑๘,๖๒๘ ๖๘.๗๐ ๘,๔๘๖ ๓๑.๓๐ ๖,๑๕๖ ๗๒.๕๔ ๒,๓๓๐ ๒๗.๔๖


๔. จํานวนเรื่องร้องทุกข์และผลการดําเนินการขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.) และจังหวัด โดย<br />

เรียงตามลําดับจาก อปท. และจังหวัดที่ได้รับการประสานงานเรื่องร้องทุกข์มากที่สุด<br />

รวม<br />

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน<br />

เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา<br />

ลําดับที่ อปท./จังหวัด จํานวน ร้อยละ<br />

ดําเนินการจนได้ข้อยุติ รอผลการพิจารณา<br />

(เรื่อง)<br />

จํานวน<br />

จํานวน<br />

ร้อยละ ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

จํานวน<br />

จํานวน<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

๑ กรุงเทพมหานคร ๓,๔๙๑ ๑๗.๐๕ ๒,๔๘๗ ๗๑.๒๔ ๑,๐๐๔ ๒๘.๗๖ ๗๔๑ ๗๓.๘๐ ๒๖๓ ๒๖.๒๐<br />

๒ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ๑,๑๑๕ ๕.๔๔ ๔๓๑ ๓๘.๖๕ ๖๘๔ ๖๑.๓๕ ๕๙๙ ๘๗.๕๗ ๘๕ ๑๒.๔๓<br />

๓ จังหวัดสงขลา ๘๕๗ ๔.๑๘ ๓๐๗ ๓๕.๘๒ ๕๕๐ ๖๔.๑๘ ๔๐๑ ๗๒.๙๑ ๑๔๙ ๒๗.๐๙<br />

๔ จังหวัดนนทบุรี ๘๕๖ ๔.๑๘ ๕๔๖ ๖๓.๗๙ ๓๑๐ ๓๖.๒๑ ๒๑๒ ๖๘.๓๙ ๙๘ ๓๑.๖๑<br />

๕ จังหวัดนครศรีธรรมราช ๘๕๕ ๔.๑๗ ๒๙๔ ๓๔.๓๙ ๕๖๑ ๖๕.๖๑ ๒๗๒ ๔๘.๔๘ ๒๘๙ ๕๑.๕๒<br />

๖ จังหวัดปทุมธานี ๗๐๗ ๓.๔๕ ๕๑๙ ๗๓.๔๑ ๑๘๘ ๒๖.๕๙ ๑๒๙ ๖๘.๖๒ ๕๙ ๓๑.๓๘<br />

๗ จังหวัดสมุทรปราการ ๖๙๔ ๓.๓๙ ๕๖๖ ๘๑.๕๖ ๑๒๘ ๑๘.๔๔ ๙๘ ๗๖.๕๖ ๓๐ ๒๓.๔๔<br />

๘ จังหวัดนครราชสีมา ๖๗๗ ๓.๓๑ ๓๓๐ ๔๘.๗๔ ๓๔๗ ๕๑.๒๖ ๑๖๗ ๔๘.๑๓ ๑๘๐ ๕๑.๘๗<br />

๙ จังหวัดชลบุรี ๔๘๘ ๒.๓๘ ๓๔๙ ๗๑.๕๒ ๑๓๙ ๒๘.๔๘ ๑๐๑ ๗๒.๖๖ ๓๘ ๒๗.๓๔<br />

๑๐ จังหวัดนครสวรรค์ ๔๖๖ ๒.๒๘ ๒๑๗ ๔๖.๕๗ ๒๔๙ ๕๓.๔๓ ๑๙๖ ๗๘.๗๑ ๕๓ ๒๑.๒๙<br />

๑๑ จังหวัดสุราษฎร์ธานี ๔๖๕ ๒.๒๗ ๒๔๓ ๕๒.๒๖ ๒๒๒ ๔๗.๗๔ ๑๖๙ ๗๖.๑๓ ๕๓ ๒๓.๘๗<br />

๑๒ จังหวัดเชียงใหม่ ๓๑๔ ๑.๕๓ ๑๗๔ ๕๕.๔๑ ๑๔๐ ๔๔.๕๙ ๗๓ ๕๒.๑๔ ๖๗ ๔๗.๘๖<br />

๑๓ จังหวัดลพบุรี ๓๑๒ ๑.๕๒ ๑๔๑ ๔๕.๑๙ ๑๗๑ ๕๔.๘๑ ๘๙ ๕๒.๐๕ ๘๒ ๔๗.๙๕<br />

๑๔ จังหวัดสระบุรี ๓๐๘ ๑.๕๐ ๑๘๘ ๖๑.๐๔ ๑๒๐ ๓๘.๙๖ ๗๙ ๖๕.๘๓ ๔๑ ๓๔.๑๗<br />

๑๕ จังหวัดอุบลราชธานี ๓๐๘ ๑.๕๐ ๑๕๓ ๔๙.๖๘ ๑๕๕ ๕๐.๓๒ ๘๖ ๕๕.๔๘ ๖๙ ๔๔.๕๒<br />

๑๖ จังหวัดขอนแก่น ๓๐๗ ๑.๕๐ ๑๘๕ ๖๐.๒๖ ๑๒๒ ๓๙.๗๔ ๙๓ ๗๖.๒๓ ๒๙ ๒๓.๗๗<br />

๑๗ จังหวัดสมุทรสาคร ๒๘๔ ๑.๓๙ ๒๑๗ ๗๖.๔๑ ๖๗ ๒๓.๕๙ ๕๓ ๗๙.๑๐ ๑๔ ๒๐.๙๐<br />

๑๘ จังหวัดสุรินทร์ ๒๘๓ ๑.๓๘ ๑๓๗ ๔๘.๔๑ ๑๔๖ ๕๑.๕๙ ๑๒๔ ๘๔.๙๓ ๒๒ ๑๕.๐๗<br />

๑๙ จังหวัดชัยภูมิ ๒๗๑ ๑.๓๒ ๑๑๒ ๔๑.๓๓ ๑๕๙ ๕๘.๖๗ ๗๙ ๔๙.๖๙ ๘๐ ๕๐.๓๑<br />

๒๐ จังหวัดสุพรรณบุรี ๒๕๙ ๑.๒๖ ๑๑๗ ๔๕.๑๗ ๑๔๒ ๕๔.๘๓ ๑๑๒ ๗๘.๘๗ ๓๐ ๒๑.๑๓<br />

๒๑ จังหวัดศรีสะเกษ ๒๔๘ ๑.๒๑ ๑๔๖ ๕๘.๘๗ ๑๐๒ ๔๑.๑๓ ๗๖ ๗๔.๕๑ ๒๖ ๒๕.๔๙<br />

๒๒ จังหวัดนครปฐม ๒๓๕ ๑.๑๕ ๑๑๗ ๔๙.๗๙ ๑๑๘ ๕๐.๒๑ ๕๗ ๔๘.๓๑ ๖๑ ๕๑.๖๙<br />

๒๓ จังหวัดฉะเชิงเทรา ๒๓๓ ๑.๑๔ ๑๗๑ ๗๓.๓๙ ๖๒ ๒๖.๖๑ ๓๕ ๕๖.๔๕ ๒๗ ๔๓.๕๕<br />

๒๔ จังหวัดบุรีรัมย์ ๒๓๒ ๑.๑๓ ๑๒๐ ๕๑.๗๒ ๑๑๒ ๔๘.๒๘ ๘๘ ๗๘.๕๗ ๒๔ ๒๑.๔๓<br />

๒๕ จังหวัดร้อยเอ็ด ๒๒๖ ๑.๑๐ ๑๐๙ ๔๘.๒๓ ๑๑๗ ๕๑.๗๗ ๙๑ ๗๗.๗๘ ๒๖ ๒๒.๒๒<br />

๒๖ จังหวัดราชบุรี ๒๒๓ ๑.๐๙ ๑๔๕ ๖๕.๐๒ ๗๘ ๓๔.๙๘ ๔๔ ๕๖.๔๑ ๓๔ ๔๓.๕๙<br />

๒๗ จังหวัดอุดรธานี ๒๑๒ ๑.๐๔ ๑๓๐ ๖๑.๓๒ ๘๒ ๓๘.๖๘ ๖๙ ๘๔.๑๕ ๑๓ ๑๕.๘๕<br />

๒๘ จังหวัดพัทลุง ๒๐๙ ๑.๐๒ ๗๔ ๓๕.๔๑ ๑๓๕ ๖๔.๕๙ ๑๒๙ ๙๕.๕๖ ๖ ๔.๔๔<br />

๒๙ จังหวัดเพชรบูรณ์ ๑๙๗ ๐.๙๖ ๑๑๑ ๕๖.๓๕ ๘๖ ๔๓.๖๕ ๗๕ ๘๗.๒๑ ๑๑ ๑๒.๗๙<br />

๓๐ จังหวัดเชียงราย ๑๘๗ ๐.๙๑ ๑๐๒ ๕๔.๕๕ ๘๕ ๔๕.๔๕ ๗๐ ๘๒.๓๕ ๑๕ ๑๗.๖๕<br />

๓๑ จังหวัดกาญจนบุรี ๑๗๓ ๐.๘๔ ๑๐๐ ๕๗.๘๐ ๗๓ ๔๒.๒๐ ๕๙ ๘๐.๘๒ ๑๔ ๑๙.๑๘<br />

๓๒ จังหวัดพิษณุโลก ๑๗๑ ๐.๘๔ ๙๒ ๕๓.๘๐ ๗๙ ๔๖.๒๐ ๕๕ ๖๙.๖๒ ๒๔ ๓๐.๓๘<br />

๓๓ จังหวัดสิงห์บุรี ๑๗๑ ๐.๘๔ ๗๐ ๔๐.๙๔ ๑๐๑ ๕๙.๐๖ ๙๑ ๙๐.๑๐ ๑๐ ๙.๙๐<br />

๓๔ จังหวัดระยอง ๑๖๕ ๐.๘๑ ๙๘ ๕๙.๓๙ ๖๗ ๔๐.๖๑ ๔๓ ๖๔.๑๘ ๒๔ ๓๕.๘๒<br />

๓๕ จังหวัดปราจีนบุรี ๑๖๑ ๐.๗๙ ๑๐๓ ๖๓.๙๘ ๕๘ ๓๖.๐๒ ๒๕ ๔๓.๑๐ ๓๓ ๕๖.๙๐<br />

๓๖ จังหวัดกําแพงเพชร ๑๕๕ ๐.๗๖ ๙๔ ๖๐.๖๕ ๖๑ ๓๙.๓๕ ๕๒ ๘๕.๒๕ ๙ ๑๔.๗๕<br />

๓๗ จังหวัดสกลนคร ๑๕๔ ๐.๗๕ ๙๗ ๖๒.๙๙ ๕๗ ๓๗.๐๑ ๔๗ ๘๒.๔๖ ๑๐ ๑๗.๕๔<br />

๓๘ จังหวัดชุมพร ๑๕๒ ๐.๗๔ ๙๒ ๖๐.๕๓ ๖๐ ๓๙.๔๗ ๓๙ ๖๕.๐๐ ๒๑ ๓๕.๐๐<br />

๓๙ จังหวัดกาฬสินธุ์ ๑๕๑ ๐.๗๔ ๘๘ ๕๘.๒๘ ๖๓ ๔๑.๗๒ ๕๐ ๗๙.๓๗ ๑๓ ๒๐.๖๓<br />

๔๐ จังหวัดภูเก็ต ๑๕๑ ๐.๗๔ ๑๐๘ ๗๑.๕๒ ๔๓ ๒๘.๔๘ ๓๕ ๘๑.๔๐ ๘ ๑๘.๖๐<br />

๔๑ จังหวัดมหาสารคาม ๑๔๙ ๐.๗๓ ๗๓ ๔๘.๙๙ ๗๖ ๕๑.๐๑ ๕๓ ๖๙.๗๔ ๒๓ ๓๐.๒๖


รวม<br />

วัตถุประสงค์ของการประสานงาน<br />

เพื่อทราบ เพื่อพิจารณา<br />

อปท./จังหวัด จํานวน ร้อยละ<br />

ดําเนินการจนได้ข้อยุติ รอผลการพิจารณา<br />

(เรื่อง)<br />

จํานวน<br />

จํานวน<br />

ร้อยละ ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

จํานวน<br />

จํานวน<br />

ร้อยละ<br />

ร้อยละ<br />

(เรื่อง)<br />

(เรื่อง)<br />

๔๒ จังหวัดกระบี่ ๑๔๙ ๐.๗๓ ๙๓ ๖๒.๔๒ ๕๖ ๓๗.๕๘ ๒๖ ๔๖.๔๓ ๓๐ ๕๓.๕๗<br />

๔๓ จังหวัดพิจิตร ๑๔๘ ๐.๗๒ ๘๔ ๕๖.๗๖ ๖๔ ๔๓.๒๔ ๔๗ ๗๓.๔๔ ๑๗ ๒๖.๕๖<br />

๔๔ จังหวัดลําปาง ๑๔๘ ๐.๗๒ ๙๕ ๖๔.๑๙ ๕๓ ๓๕.๘๑ ๓๖ ๖๗.๙๒ ๑๗ ๓๒.๐๘<br />

๔๕ จังหวัดอ่างทอง ๑๓๕ ๐.๖๖ ๕๙ ๔๓.๗๐ ๗๖ ๕๖.๓๐ ๕๗ ๗๕.๐๐ ๑๙ ๒๕.๐๐<br />

๔๖ จังหวัดชัยนาท ๑๓๕ ๐.๖๖ ๕๔ ๔๐.๐๐ ๘๑ ๖๐.๐๐ ๗๕ ๙๒.๕๙ ๖ ๗.๔๑<br />

๔๗ จังหวัดตรัง ๑๒๙ ๐.๖๓ ๖๙ ๕๓.๔๙ ๖๐ ๔๖.๕๑ ๔๙ ๘๑.๖๗ ๑๑ ๑๘.๓๓<br />

๔๘ จังหวัดสุโขทัย ๑๒๙ ๐.๖๓ ๖๕ ๕๐.๓๙ ๖๔ ๔๙.๖๑ ๕๒ ๘๑.๒๕ ๑๒ ๑๘.๗๕<br />

๔๙ จังหวัดสระแก้ว ๑๒๘ ๐.๖๓ ๖๗ ๕๒.๓๔ ๖๑ ๔๗.๖๖ ๔๖ ๗๕.๔๑ ๑๕ ๒๔.๕๙<br />

๕๐ จังหวัดเลย ๑๑๖ ๐.๕๗ ๖๕ ๕๖.๐๓ ๕๑ ๔๓.๙๗ ๔๕ ๘๘.๒๔ ๖ ๑๑.๗๖<br />

๕๑ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ ๑๑๖ ๐.๕๗ ๗๒ ๖๒.๐๗ ๔๔ ๓๗.๙๓ ๑๗ ๓๘.๖๔ ๒๗ ๖๑.๓๖<br />

๕๒ จังหวัดปัตตานี ๑๑๑ ๐.๕๔ ๒๘ ๒๕.๒๓ ๘๓ ๗๔.๗๗ ๘๐ ๙๖.๓๙ ๓ ๓.๖๑<br />

๕๓ จังหวัดจันทบุรี ๑๐๘ ๐.๕๓ ๖๗ ๖๒.๐๔ ๔๑ ๓๗.๙๖ ๓๑ ๗๕.๖๑ ๑๐ ๒๔.๓๙<br />

๕๔ จังหวัดเพชรบุรี ๙๗ ๐.๔๗ ๖๓ ๖๔.๙๕ ๓๔ ๓๕.๐๕ ๓๐ ๘๘.๒๔ ๔ ๑๑.๗๖<br />

๕๕ จังหวัดแพร่ ๙๖ ๐.๔๗ ๓๘ ๓๙.๕๘ ๕๘ ๖๐.๔๒ ๕๕ ๙๔.๘๓ ๓ ๕.๑๗<br />

๕๖ จังหวัดอุตรดิตถ์ ๙๒ ๐.๔๕ ๕๖ ๖๐.๘๗ ๓๖ ๓๙.๑๓ ๓๓ ๙๑.๖๗ ๓ ๘.๓๓<br />

๕๗ จังหวัดอํานาจเจริญ ๘๙ ๐.๔๓ ๕๗ ๖๔.๐๔ ๓๒ ๓๕.๙๖ ๓๒ ๑๐๐.๐๐ ๐ ๐.๐๐<br />

๕๘ จังหวัดอุทัยธานี ๘๙ ๐.๔๓ ๔๓ ๔๘.๓๑ ๔๖ ๕๑.๖๙ ๔๐ ๘๖.๙๖ ๖ ๑๓.๐๔<br />

๕๙ จังหวัดพังงา ๘๖ ๐.๔๒ ๕๑ ๕๙.๓๐ ๓๕ ๔๐.๗๐ ๑๙ ๕๔.๒๙ ๑๖ ๔๕.๗๑<br />

๖๐ จังหวัดยโสธร ๘๔ ๐.๔๑ ๔๖ ๕๔.๗๖ ๓๘ ๔๕.๒๔ ๓๓ ๘๖.๘๔ ๕ ๑๓.๑๖<br />

๖๑ จังหวัดนครพนม ๘๔ ๐.๔๑ ๔๘ ๕๗.๑๔ ๓๖ ๔๒.๘๖ ๓๐ ๘๓.๓๓ ๖ ๑๖.๖๗<br />

๖๒ จังหวัดนครนายก ๗๙ ๐.๓๙ ๕๐ ๖๓.๒๙ ๒๙ ๓๖.๗๑ ๑๙ ๖๕.๕๒ ๑๐ ๓๔.๔๘<br />

๖๓ จังหวัดหนองคาย ๗๖ ๐.๓๗ ๓๔ ๔๔.๗๔ ๔๒ ๕๕.๒๖ ๓๗ ๘๘.๑๐ ๕ ๑๑.๙๐<br />

๖๔ จังหวัดยะลา ๗๓ ๐.๓๖ ๔๖ ๖๓.๐๑ ๒๗ ๓๖.๙๙ ๑๙ ๗๐.๓๗ ๘ ๒๙.๖๓<br />

๖๕ จังหวัดพะเยา ๗๐ ๐.๓๔ ๓๓ ๔๗.๑๔ ๓๗ ๕๒.๘๖ ๓๔ ๙๑.๘๙ ๓ ๘.๑๑<br />

๖๖ จังหวัดนราธิวาส ๗๐ ๐.๓๔ ๓๖ ๕๑.๔๓ ๓๔ ๔๘.๕๗ ๒๘ ๘๒.๓๕ ๖ ๑๗.๖๕<br />

๖๗ จังหวัดหนองบัวลําภู ๗๐ ๐.๓๔ ๔๔ ๖๒.๘๖ ๒๖ ๓๗.๑๔ ๑๗ ๖๕.๓๘ ๙ ๓๔.๖๒<br />

๖๘ จังหวัดน่าน ๖๙ ๐.๓๔ ๒๔ ๓๔.๗๘ ๔๕ ๖๕.๒๒ ๓๔ ๗๕.๕๖ ๑๑ ๒๔.๔๔<br />

๖๙ จังหวัดลําพูน ๖๖ ๐.๓๒ ๒๘ ๔๒.๔๒ ๓๘ ๕๗.๕๘ ๒๕ ๖๕.๗๙ ๑๓ ๓๔.๒๑<br />

๗๐ จังหวัดตาก ๖๖ ๐.๓๒ ๓๗ ๕๖.๐๖ ๒๙ ๔๓.๙๔ ๒๐ ๖๘.๙๗ ๙ ๓๑.๐๓<br />

๗๑ จังหวัดมุกดาหาร ๖๕ ๐.๓๒ ๔๑ ๖๓.๐๘ ๒๔ ๓๖.๙๒ ๑๘ ๗๕.๐๐ ๖ ๒๕.๐๐<br />

๗๒ จังหวัดสตูล ๖๓ ๐.๓๑ ๓๙ ๖๑.๙๐ ๒๔ ๓๘.๑๐ ๑๖ ๖๖.๖๗ ๘ ๓๓.๓๓<br />

๗๓ จังหวัดสมุทรสงคราม ๕๙ ๐.๒๙ ๔๒ ๗๑.๑๙ ๑๗ ๒๘.๘๑ ๑๓ ๗๖.๔๗ ๔ ๒๓.๕๓<br />

๗๔ จังหวัดระนอง ๔๘ ๐.๒๓ ๒๔ ๕๐.๐๐ ๒๔ ๕๐.๐๐ ๑๔ ๕๘.๓๓ ๑๐ ๔๑.๖๗<br />

๗๕ จังหวัดตราด ๓๕ ๐.๑๗ ๑๙ ๕๔.๒๙ ๑๖ ๔๕.๗๑ ๖ ๓๗.๕๐ ๑๐ ๖๒.๕๐<br />

๗๖ จังหวัดแม่ฮ่องสอน ๓๑ ๐.๑๕ ๑๖ ๕๑.๖๑ ๑๕ ๔๘.๓๙ ๙ ๖๐.๐๐ ๖ ๔๐.๐๐<br />

รวมทั้งสิ้น ๒๐,๔๘๑ ๑๐๐.๐๐ ๑๑,๖๘๖ ๕๗.๐๖ ๘,๗๙๕ ๔๒.๙๔ ๖,๒๙๘ ๗๑.๖๑ ๒,๔๙๗ ๒๘.๓๙


สถิติการร้องทุกข์และการประสานงานการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ผ่านช่องทาง<br />

โทรศัพท์ ๑๑๑๑<br />

๑. สถิติการร้องทุกข์และการประสานงานการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ผ่านช่องทางโทรศัพท์<br />

๑๑๑๑ ตั้งแต่วันที่ ๒๕ ตุลาคม - ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ จําแนกตามวันที่ได้รับเรื่องร้องทุกข์จากประชาชน<br />

1,400<br />

1,200<br />

1,171<br />

1,000<br />

จํานวนเรื่อง<br />

800<br />

600<br />

622<br />

400<br />

200<br />

513 526 558 310 282<br />

145 134<br />

25/10/2553<br />

26/10/2553<br />

27/10/2553<br />

28/10/2553<br />

29/10/2553<br />

จากแผนภูมิแสดงสถิติการร้องทุกข์และการประสานงานการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ผ่านช่องทาง<br />

โทรศัพท์ ๑๑๑๑ ข้างต้นพบว่า ประชาชนได้ร้องทุกข์ผ่านช่องทางโทรศัพท์ ๑๑๑๑ จํานวนรวมทั้งสิ้น ๕,๓๙๖ ราย<br />

โดยวันที่ได้รับเรื่องร้องทุกข์จากประชาชนมากที่สุด ได้แก่ วันที่ ๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ เนื่องจากในวันดังกล่าว ได้เกิด<br />

สถานการณ์อุทกภัยรุนแรงอย่างฉับพลันในหลายพื้นที่ภาคใต้ทําให้มีฝนตกหนักและได้รับความเดือดร้อน<br />

๒. สถิติการร้องทุกข์และการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ผ่านช่องทางโทรศัพท์ ๑๑๑๑ ตั้งแต่วันที่<br />

๒๕ ตุลาคม - ๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓ จําแนกเป็นรายจังหวัด<br />

จังหวัด จํานวนเรื่อง<br />

สงขลา ๑,๘๑๙<br />

พระนครศรีอยุธยา ๑,๐๗๑<br />

นนทบุรี ๓๙๘<br />

สิงห์บุรี ๒๐๕<br />

นครราชสีมา ๑๕๖<br />

สุราษฎร์ธานี ๑๕๒<br />

สุพรรณบุรี ๑๒๘<br />

226<br />

30/10/2553<br />

31/10/2553<br />

1/11/2553<br />

2/11/2553<br />

3/11/2553<br />

4/11/2553<br />

331<br />

วันที่รับแจ้งเรื่อง<br />

251<br />

73 58 48 47 43 33 25<br />

5/11/2553<br />

6/11/2553<br />

7/11/2553<br />

8/11/2553<br />

9/11/2553<br />

10/11/2553<br />

11/11/2553<br />

12/11/2553


จังหวัด จํานวนเรื่อง<br />

พัทลุง ๑๑๙<br />

นครสวรรค์ ๑๑๖<br />

ปทุมธานี ๑๑๔<br />

ลพบุรี ๑๐๑<br />

กรุงเทพมหานคร ๑๐๐<br />

นครศรีธรรมราช ๙๙<br />

ชัยนาท ๘๘<br />

สระบุรี ๘๐<br />

ปัตตานี ๓๓<br />

อ่างทอง ๓๓<br />

อุทัยธานี ๓๐<br />

ตรัง ๒๙<br />

นครปฐม ๒๘<br />

สุรินทร์ ๑๙<br />

บุรีรัมย์ ๑๘<br />

สตูล ๑๖<br />

ชัยภูมิ ๑๔<br />

ขอนแก่น ๑๓<br />

ยะลา ๑๑<br />

ชุมพร ๑๐<br />

มหาสารคาม ๑๐<br />

นราธิวาส ๙<br />

ปราจีนบุรี ๗<br />

พิจิต ๕<br />

ศรีสะเกษ ๕<br />

ฉะเชิงเทรา ๔<br />

ร้อยเอ็ด ๔<br />

ราชบุรี ๓<br />

ลําพูน ๓<br />

สุโขทัย ๓<br />

อุบลราชธานี ๓<br />

กําแพงเพชร ๒<br />

นครนายก ๒<br />

ประจวบคีรีขันธ์ ๒


จังหวัด จํานวนเรื่อง<br />

พังงา ๒<br />

ภูเก็ต ๒<br />

สมุทรสาคร ๒<br />

กระบี่ ๑<br />

ชลบุรี ๑<br />

เชียงราย ๑<br />

เชียงใหม่ ๑<br />

ตาก ๑<br />

นครพนม ๑<br />

พะเยา ๑<br />

พิษณุโลก ๑<br />

เพชรบุรี ๑<br />

เพชรบูรณ์ ๑<br />

สกลนคร ๑<br />

หนองคาย ๑<br />

ชุมพร ๑๐<br />

มหาสารคาม ๑๐<br />

นราธิวาส ๙<br />

ปราจีนบุรี ๗<br />

พิจิต ๕<br />

ศรีสะเกษ ๕<br />

ฉะเชิงเทรา ๔<br />

ร้อยเอ็ด ๔<br />

ราชบุรี ๓<br />

ลําพูน ๓<br />

สุโขทัย ๓<br />

อุบลราชธานี ๓<br />

กําแพงเพชร ๒<br />

นครนายก ๒<br />

ประจวบคีรีขันธ์ ๒<br />

พังงา ๒<br />

ภูเก็ต ๒<br />

สมุทรสาคร ๒<br />

กระบี่ ๑


จังหวัด จํานวนเรื่อง<br />

ชลบุรี ๑<br />

เชียงราย ๑<br />

เชียงใหม่ ๑<br />

ตาก ๑<br />

นครพนม ๑<br />

พะเยา ๑<br />

พิษณุโลก ๑<br />

เพชรบุรี ๑<br />

เพชรบูรณ์ ๑<br />

สกลนคร ๑<br />

หนองคาย ๑<br />

อุดรธานี ๑<br />

-ไม่ระบุจังหวัด- ๓๐๔<br />

รวมทั้งสิ้น ๕,๓๙๖<br />

จากตารางแสดงสถิติการร้องทุกข์และการประสานงานการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบอุทกภัย ผ่านช่องทางโทรศัพท์<br />

๑๑๑๑ ข้างต้นพบว่า ประชาชนได้ร้องทุกข์ผ่านช่องทางโทรศัพท์ ๑๑๑๑ จํานวน ๕,๓๙๖ ราย ครอบคลุม ๕๘ จังหวัด โดยมี<br />

จังหวัดที่ได้ประสานงานเพื่อแก้ไขปัญหามากที่สุด ได้แก่ จังหวัดสงขลา รองลงมา คือจังหวัดพระนครศรีอยุธยา และจังหวัด<br />

นนทบุรี ตามลําดับ


ภารกิจด้านความร่วมมือกับส่วนราชการอื่น (MOU)<br />

สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรีกับสํานักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจ และสังคมแห่งชาติได้จัดทํา<br />

บันทึกข้อตกลงความร่วมมือในการใช้ข้อมูล จากฐานข้อมูลในระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์<br />

ของศูนย์บริการประชาชน และช่องทางการบริการรับเรื่องราวผ่านโทรศัพท์หมายเลข ๑๑๑๑ เพื่อสะท้อน<br />

ประเด็นปัญหาความเดือดร้อน ความต้องการ และความคิดเห็นของประชาชน เพื่อให้สํานักงานสภาที่ปรึกษา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาตินําข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการจัดทําความเห็น และข้อเสนอแนะของสภาที่ปรึกษา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ที่มาจากกระบวนการมีส่วนร่วมของภาคประชาชน


การเสริมสร้างสมรรถนะเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์<br />

การอบรมเจ้าหน้าที่ใหม่<br />

การอบรมเจ้าหน้าที่บรรจุใหม่เมื่อปลายปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔ เพื่อรองรับการปฏิบัติงานตามภารกิจการ<br />

รับเรื่องราวร้องทุกข์ของรัฐบาล ในการนี้ รองปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี (นายพันธุ์ชัย วัฒนชัย) ประธานการอบรมฯ ได้<br />

ให้นโยบายและแนวทางในการปฏิบัติงานแก่เจ้าหน้าที่ด้วย


กิจกรรมการคัดเลือกผู้ปฏิบัติเรื่องราวร้องทุกข์ต้นแบบ<br />

เพื่อให้ได้เจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์ที่เป็นมืออาชีพ มีความรู้ความสามารถ มีใจรักบริการ<br />

(Service Mind) และมีความทุ่มเทในการปฏิบัติงานเพื่อส่วนรวม และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์<br />

นางสาววราภรณ์ หินอ่อน<br />

(เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน)<br />

เป็นผู้ใช้งานระบบการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ได้อย่างถูกต้อง<br />

บันทึกรายละเอียดข้อมูลการปฏิบัติงานครบถ้วน<br />

นายนิติธร ชูปาน<br />

นางสาวนันท์นภัส แสงแจ่ม<br />

(นิติกร)<br />

(นิติกร)<br />

เป็นผู้นําความรู้เกี่ยวกับกฎหมาย และระเบียบของทางราชการ เป็นผู้ปฏิบัติงานอย่างเต็มความรู้ความสามารถด้วยความรวดเร็ว<br />

ที่เกี่ยวข้องมาใช้กับการปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์ได้เป็นอย่างดี และสามารถแก้ไขปัญหาเฉพาะหน้าได้เป็นอย่างดี<br />

นายนิคม ขําเถื่อน นางสาวสมลวรรณ หมายถิ่นกลาง<br />

(เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน) (เจ้าหน้าที่วิเคราะห์นโยบายและแผน)<br />

เป็นผู้ถ่ายทอดสอนงานความรู้ เทคนิค หรือประสบการณ์ในการปฏิบัติงาน เป็นผู้มีใจรักบริการ (Service Mind) มีทัศนคติและพฤติกรรม<br />

เรื่องราวร้องทุกข์ให้เพื่อนร่วมงานหรือบุคคลอื่น พึงประสงค์ต่อการบริการ เช่น ซื่อสัตย์ สุจริต โปร่งใส และเป็นธรรม


การดําเนินโครงการเสริมสร้างสมรรถนะเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์ ประจําปี<br />

งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔<br />

เมื่อวันที่ ๒๖-๒๘ สิงหาคม ๒๕๕๔ ศูนย์บริการประชาชนได้จัดอบรมสัมมนาโครงการเสริมสร้างสมรรถนะเจ้าหน้าที่<br />

ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์ ที่อําเภอสามร้อยยอด จังหวัดประจวบคีรีขันธ์ โดยมีกิจกรรม ดังนี้<br />

๑. การอภิปราย “องค์ความรู้และมาตรฐานการทํางานของเจ้าหน้าที่ผู้ปฏิบัติงานเรื่องราวร้องทุกข์”<br />

ณ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี


๒. ปลูกหญ้าแฝก และเยี่ยมชมศึกษาดูงาน การพัฒนาห้วยทรายอันเนื่องมาจากพระราชดําริ<br />

ตําบลสามพระยา อําเภอชะอํา จังหวัดเพชรบุรี


๓. กิจกรรมกลุ่มสัมพันธ์ เรื่อง “การพัฒนาทีมงาน” และ Walk Rally เมื่อวันที่ ๒๗ สิงหาคม<br />

พ.ศ.๒๕๕๔ ณ จังหวัดประจวบคีรีขันธ์


ภารกิจเชิงนโยบาย/ภารกิจพิเศษที่ได้รับมอบหมาย<br />

การกํากับ ติดตาม และประเมินผลการพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา<br />

ในปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๕๔ สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี โดยคณะอนุกรรมการกํากับ ติดตาม และ<br />

ประเมินผล ภายใต้คณะกรรมการพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา ได้ดําเนินการตามภารกิจการกํากับ ติดตาม และประเมินผล<br />

การพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา โดยมีกิจกรรมสําคัญสรุปได้ดังนี้<br />

ผลการประชุมคณะกรรมการ/คณะอนุกรรมการที่เกี่ยวข้องกับการกํากับติดตามและประเมินผล<br />

การพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา สรุปได้ดังนี้<br />

๑. เห็นชอบแผนการดําเนินงานและแผนการกํากับ ติดตามและประเมินผล ประจําปีงบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๔<br />

โดยมีการลงพื้นที่รวม ๓ ครั้ง คือ<br />

(๑) ครั้งแรกที่จังหวัดสงขลา ระหว่างวันที่ ๒๘-๒๙ มีนาคม<br />

๒๕๕๔ เพื่อติดตามและประเมินผลโครงการจัดการน้ําเสียชุมชน<br />

เทศบาลเมืองสะเดา และโครงการระบายน้ําของกรมชลประทาน<br />

ต่อไป<br />

(๒) ครั้งที่สองจังหวัดนครศรีธรรมราช ระหว่างวันที่ ๑๓-๑๔<br />

มิถุนายน ๒๕๕๔ ประเด็นการบริหารจัดการลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา<br />

เชื่อมโยงกับการจัดการลุ่มน้ําปากพนัง<br />

(๓) ครั้งที่สามจังหวัดพัทลุงระหว่างวันที่ ๑๕-๑๖ สิงหาคม<br />

๒๕๕๔ ประเด็นปัญหาเครื่องมือประมงและความตื้นเขินของ<br />

ทะเลสาบ<br />

๒. เห็นชอบให้มีการติดตามและประเมินผลการดําเนินโครงการที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา<br />

โดยเครือข่ายภาคประชาชนและภาคีชุมชน ซึ่งเป็นการดําเนินการต่อเนื่องจากโครงการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตาม<br />

แผนแม่บทการพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา โดยเครือข่ายภาคประชาชน และภาคีชุมชน ปี ๒๕๕๓ โดยมีวัตถุประสงค์<br />

เพื่อเป็นการเพิ่มศักยภาพ และความเข้มแข็งของภาคประชาชนให้เข้ามามีส่วนร่วมให้ในการติดตามและประเมินผลการ<br />

พัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา<br />

๓. เห็นชอบการกํากับ ติดตามและประเมินผลระยะต่อไป ในพื้นที่จังหวัดสงขลา โดยมีประเด็น/โครงการ ดังนี้<br />

(๑) โครงการสร้างฐานข้อมูลองค์ความรู้ท้องถิ่น แหล่งวัฒนธรรมและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ และการ<br />

สร้างชุดการเรียนการสอนและสื่อ เพื่อกระตุ้นจิตสํานึกสาธารณะความรักและความหวงแหนลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลาของ<br />

มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา<br />

(๒) โครงการเพาะขยายพันธุ์สัตว์น้ําที่เสี่ยงต่อการสูญพันธุ์ ประเด็นการอนุรักษ์โลมาอิรวดีของกรมประมง<br />

(๓) โครงการป้องกันการกัดเซาะชายฝั่งทะเลสาบสงขลาตลอดแนวของกรมโยธาธิการและผังเมือง<br />

(๔) โครงการบริหารจัดการพื้นที่และควบคุมเครื่องมือประมงผิดกฎหมายของกรมประมง


ผลการดําเนินการตามมติที่ประชุม<br />

การลงพื้นที่เพื่อกํากับ ติดตามและประเมินผลการจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมบริเวณ<br />

ลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลา จํานวน ๓ ครั้ง ใน ๓ จังหวัด ได้แก่ จังหวัดสงขลา จังหวัดนครศรีธรรมราช และจังหวัดพัทลุง ดังนี้<br />

การลงพื้นที่ ครั้งที่ ๑ ที่จังหวัดสงขลา เมื่อวันที่ ๒๘ - ๒๙ มีนาคม ๒๕๕๔<br />

โครงการระบายน้ําของกรมชลประทาน<br />

โครงการจัดการขยะและน้ําเสียชุมชนของเทศบาลเมืองสะเดา<br />

- ระบบบําบัดน้ําเสียชุมชนขนาดเล็ก<br />

- ระบบกําจัดขยะมูลฝอยอย่างถูกหลักสุขาภิบาล


การลงพื้นที่ ครั้งที่ ๒ ที่จังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ ๑๓-๑๔ มิถุนายน ๒๕๕๔<br />

การบริหารจัดการลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลาเชื่อมโยงกับการจัดการลุ่มน้ําปากพนัง ของศูนย์อํานวยการและประสาน การพัฒนา<br />

พื้นที่ลุ่มน้ําปากพนัง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดนครศรีธรรมราชและ<br />

สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ ๕ (นครศรีธรรมราช)<br />

การลงพื้นที่ ครั้งที่ ๓ ที่จังหวัดพัทลุง เม่อวันที่ ๑๕-๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๔<br />

โครงการศึกษาและฟื้นฟูเต่ากระอานในทะเลสาบสงขลา ของศูนย์วิจัยทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่งอ่าวไทย


พื้นที่ทะเลน้อยและป่าพรุพื้นที่ทะเลน้อยและป่าพรุ<br />

โครงการปรับปรุงฟื้นฟูแหล่งน้ําพรุทุ่งสําเภา ตําบลชัยบุรี อําเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุงพื้นที่ทะเลน้อยและป่าพรุ<br />

การจัดการบ่อฝังกลบขยะมูลฝอยของเทศบาลเมืองพัทลุง<br />

การติดตามประเมินผลโดยการมีส่วนร่วมของชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบ<br />

โดยสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี และสถานีทรัพยากรทะเลและชายฝั่ง มอ.หาดใหญ่<br />

วันที่ ๑๐ มิถุนายน ๒๕๕๔<br />

โรงแรมหาดใหญ่ เซ็นทรัล อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา


การประชุมเพื่อเสนอผลงานในการติดตามประเมินผลการดําเนินงานตามแผนแม่บท<br />

การพัฒนาลุ่มน้ําทะเลสาบสงขลาเมื่อวันที่ ๗ กันยายน ๒๕๕๔


ภารกิจด้านคณะกรรมการ/อนุกรรมการ<br />

การแก้ไขปัญหาของขบวนการประชาชนเพื่อสังคมที่เป็นธรรม<br />

กรณีการให้สัมปทานเหมืองแร่<br />

คณะรัฐมนตรีในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๘ มีนาคม ๒๕๕๔ ได้มีมติเกี่ยวกับกรณี เหมืองแร่ทองคําในพื้นที่จังหวัดพิจิตร<br />

พิษณุโลก และเพชรบูรณ์ เหมืองหินบริเวณเขาคูหา อําเภอรัตภูมิ จังหวัดสงขลา เหมืองสังกะสี แม่ดาว อําเภอแม่สอด<br />

จังหวัดตาก โดยมอบหมายรัฐมนตรีว่าการกระทรวงอุตสาหกรรมและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องดําเนินการ ดังนี้<br />

๑) ให้ชะลอการให้สัมปทานเหมืองแร่รายใหม่<br />

๒) ให้มีการตรวจสอบผลกระทบด้านต่างๆ ที่เกิดขึ้น และเร่งรัดดําเนินการแก้ไขปัญหา และให้การช่วยเหลือเยียวยา<br />

แก่ผู้ได้รับผลกระทบจากการประกอบกิจการเหมืองแร่ที่ดําเนินการอยู่แล้ว รวมทั้งปัญหาด้านสุขภาพอนามัย และปัญหา<br />

การถูกข่มขู่คุกคามด้วย<br />

การแก้ไขปัญหาของเครือข่ายชุมชนเพื่อการปฏิรูปสังคมและการเมือง<br />

กรณีการแก้ไขปัญหาสัญชาติของคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาสัญชาติ (คนไทยพลัดถิ่น กลุ่มมุสลิม<br />

จากมะริด กลุ่มลาวอพยพ และคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ) ตามคําสั่งคณะกรรมการแก้ไขปัญหาของเครือข่ายชุมชนเพื่อการ<br />

ปฏิรูปสังคมและการเมือง ที่ ๓/๒๕๕๓ ลงวันที่ ๓๑ มีนาคม ๒๕๕๓<br />

ศูนย์บริการประชาชนในฐานะเลขานุการคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาสัญชาติ (คนไทยพลัดถิ่น กลุ่มมุสลิม<br />

จากมะริด กลุ่มลาวอพยพ และคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ) ได้ลงพื้นที่เร่งรัด ติดตามการดําเนินการของส่วนราชการ ซึ่งกรณีดังกล่าว<br />

ได้มีการผลักดันนําร่างพระราชบัญญัติสัญชาติ (ฉบับที่...) พ.ศ. .... เสนอคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ซึ่งได้<br />

ผ่านการพิจารณาของคณะกรรมการกฤษฎีกาแล้ว และจะได้มีการผลักดันร่างฯ ดังกล่าวให้มีการประกาศใช้โดยเร็วต่อไป<br />

ประธานคณะอนุกรรมการแก้ไขปัญหาสัญชาติ (คนไทยพลัดถิ่น กลุ่มมุสลิมจากมะริด กลุ่มลาวอพยพ และคนไร้รัฐ ไร้สัญชาติ<br />

และคณะอนุกรรมการฯ ร่วมประชุมและลงพื้นที่เพื่อแก้ไขปัญหาให้แก่กลุ่มคนไทยพลัดถิ่น ฯลฯ เมื่อวันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๕๔


การแก้ไขปัญหาของสภาเครือข่ายประชาชนภาคอีสาน (สอส.) สภาประชาชน ๔ ภาค<br />

คณะอนุกรรมการติดตามการแก้ไขปัญหาของสภาเครือข่ายประชาชนอีสาน (สอส.) ประชาชน ๔ ภาค<br />

กรณีด้านการจัดการที่ดินบรรษัทบริหารสินทรัพย์ไทย (บสท.) ได้มีมติในคราวประชุม เมื่อวันที่ ๖ ธันวาคม ๒๕๕๔<br />

ให้สํานักงานตํารวจแห่งชาติ พิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริง กรณีนายทุนเข้าไป ขับไล่ รื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ทําลายและเผา<br />

กระท่อมเพื่อผลักดันให้สมาชิกสภาเครือข่ายฯ ออกจากพื้นที่ที่เข้าครอบครองทําประโยชน์<br />

คณะะกรรมการติดตามและเร่งรัดแก้ไขปัญหาของสภาประชาชนอีสาน (สอส.) สภาประชาชน ๔ ภาค และเจ้าหน้าที่ศูนย์บริการประชาชน<br />

ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และตัวแทนสภาเครือข่ายประชาชนอีสาน (สอส.) เข้าร่วมประชุมเพื่อแก้ไขและบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนกรณี<br />

ที่ดินทํากิน ให้แก่ราษฎรกลุ่มรักสันติ ที่เคลื่อนย้ายออกมาจากป่าสงวนแห่งชาติดงใหญ่ อําเภอโนนดินแดง จังหวัดบุรีรัมย์<br />

เมื่อวันที่๑๔ พฤศจิกายน ๒๕๕๔<br />

คณะอนุกรรมการติดตามการแก้ไขปัญหาของสภาเครือข่ายประชาชนอีสาน (สอส.) สภาประชาชน<br />

๔ ภาค กรณีปัญหาหนี้สินเกษตรกรและข้าราชการ ได้มีมติในคราวประชุม เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ เห็นชอบ<br />

ในหลักการขอให้พักชําระหนี้ ให้แก่เกษตรกรและข้าราชการ โดยไม่คิดดอกเบี้ยเป็นระยะเวลา ๕ ปี หลังจากนั้นปีที่ ๖<br />

ให้ผ่อนชําระในอัตราดอกเบี้ยต่ํา<br />

การประชุมคณะอนุกรรมการติดตามการแก้ไขปัญหาของสภาเครือข่ายประชาชนอีสาน (สอส.) สภาประชาชน ๔ ภาค กรณีปัญหาหนี้สินเกษตรกร<br />

และข้าราชการ ณ ห้องประชุม ๑๐๑ ชั้น ๑ อาคารสํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๒๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๔


ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

ว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ ได้กําหนดขึ้น<br />

เพื่อให้ประชาชนได้มีโอกาสเข้าถึงความยุติธรรมอย่างแท้จริง เพราะในอดีตที่ผ่านมามีปัญหา<br />

หลายประการที่ขัดขวางมิให้ประชาชนเข้าถึงความยุติธรรมได้ เช่น ปัญหาความยากจน การขาดความรู้<br />

ความเข้าใจในบทบัญญัติของกฎหมายและสิทธิเสรีภาพที่พึงมีพึงได้โดยชอบธรรม เป็นต้น<br />

ซึ่งประชาชนผู้ด้อยโอกาสเหล่านี้แม้จะมีสิทธิในการร้องทุกข์ต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องได้ตามรัฐธรรมนูญ<br />

ได้ให้หลักประกันไว้ แต่ในหลายกรณีไม่อาจได้รับความช่วยเหลือและได้รับการเยียวยา หรือบรรเทา<br />

ความเสียหายที่เกิดขึ้นตามหลักสิทธิมนุษยชนอย่างดีเพียงพอและมีมาตรฐานเดียวกัน<br />

จึงได้มีระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ พ.ศ. ๒๕๕๒ เพื่อนําไปใช้เป็น<br />

กลไกและมาตรการในการกําหนดหลักเกณฑ์ และวิธีการรับเรื่องราวร้องทุกข์ การบรรเทาและเยียวยา<br />

ความเดือนร้อนของประชาชนให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและใช้เป็น “มาตรฐานงานขั้นต่ํา” ของระบบ<br />

การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ได้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลมากยิ่งขึ้น ทั้งนี้ มีผลบังคับใช้ตั้งแต่<br />

วันที่ ๑๔ ธันวาคม พ.ศ. ๒๕๕๒<br />

ระเบียบดังกล่าวเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๕๙ บัญญัติว่า<br />

ให้บุคคลมีสิทธิเสนอเรื่องราวร้องทุกข์และได้รับการแจ้งผลการพิจารณาภายในเวลาอันรวดเร็ว<br />

โดยในระเบียบนี้ ได้กําหนดหลักเกณฑ์ ขั้นตอน และวิธีการในการรับเรื่องราวร้องทุกข์ เพื่อให้<br />

หน่วยงานของรัฐมีแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจนและเป็นไปในแนวทางเดียวกันและกําหนดให้มี<br />

คณะกรรมการ ๒ ระดับ คือ คณะกรรมการจัดการเรื่องราวร้องทุกข์และคณะกรรมการจัดการ<br />

เรื่องราวร้องทุกข์ประจํากระทรวง


ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

ว่าด้วยการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ.๒๕๔๘<br />

ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการจัดการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน<br />

พ.ศ. ๒๕๔๘ ได้มีความเป็นมาโดยนายกรัฐมนตรีได้ลงนามในระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

ว่าด้วยการจัดการรับฟังความคิดเห็นของประชาชน พ.ศ. ๒๕๔๘ เมื่อวันที่ ๓๐ มิถุนายน ๒๕๔๘ และได้<br />

ประกาศในราชกิจจานุเบกษา เมื่อวันที่ ๒๗ กรกฎาคม ๒๕๔๘ โดยมีผลบังคับให้หน่วยงานของรัฐต้องปฏิบัติ<br />

และด้เนินการตามระเบียบตั้งแต่วันที่ ๒๕ กันยายน ๒๕๔๘ เป็นต้นมา ในการนี้ ศูนย์บริการประชาชนได้<br />

ดําเนินการตามระเบียบนี้ โดยมีภารกิจด้านการส่งเสริม การมีส่วนร่วมของประชาชนกับหน่วยงานของรัฐ ใน<br />

การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมต่างๆด้วยการจัดหลักสูตร ศึกษาวิจัย และประชุมสัมมนาเชิงปฏิบัติการใน<br />

ทุกภูมิภาคทั่วประเทศ เพื่อเป็นการพัฒนาและสร้างความเข้าใจกับหน่วยงานภาครัฐ เกี่ยวกับหลักการ<br />

แนวคิด และวิธีการมีส่วนร่วมของประชาชน รวมทั้ง สามารถเผยแพร่ข้อมูลโครงการของรัฐ และการ<br />

ประกาศข้อมูลเกี่ยวกับการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนผ่านระบบเครือข่ายสารสนเทศและเว็บไซต์<br />

www.publicconsultation.opm.go.th<br />

ระเบียบดังกล่าวเป็นไปตามรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย มาตรา ๖๗ วรรค ๒ บัญญัติว่า<br />

การดําเนินโครงการหรือกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดผลกระทบต่อชุมชนอย่างรุนแรงทั้งทางด้านคุณภาพ<br />

สิ่งแวดล้อม ทรัพยากรธรรมชาติ และสุขภาพ จะกระทํามิได้ เว้นแต่จะได้ศึกษาและประเมินผลกระทบ<br />

ต่อคุณภาพสิ่งแวดล้อมและสุขภาพของประชชนในชุมชน และจัดให้มีกระบวนการรับฟังความคิดเห็น<br />

ของประชาชนและ ผู้มีส่วนได้เสียก่อน รวมทั้งได้ให้องค์การอิสระซึ่งประกอบด้วยผู้แทนองค์การเอกชน<br />

ด้านสิ่งแวดล้อมและสุขภาพ และผู้แทนสถาบันอุดมศึกษาที่จัดการการศึกษาด้านสิ่งแวดล้อมหรือ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติหรือด้านสุขภาพ ให้ความเห็นประกอบก่อนมีการดําเนินการดังกล่าว


มติคณะรัฐมนตรี<br />

เมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔<br />

คณะรัฐมนตรี ได้มีมติในคราวประชุมเมื่อวันที่ ๑๓ ธันวาคม พ.ศ.๒๕๕๔ ดังนี้<br />

๑. รับทราบสรุปผลการดําเนินการเรื่องราวร้องทุกข์จากประชาชน ในปีงบประมาณ<br />

พ.ศ.๒๕๕๔<br />

๒. มอบหมายให้กระทรวงและจังหวัดนําข้อมูลเรื่องราวร้องทุกข์จากฐานข้อมูลในระบบ<br />

การจัดการเรื่องราวร้องทุกข์ของศูนย์บริการประชาชน สํานักงานปลัดสํานักนายกรัฐมนตรี<br />

รวมทั้งข้อมูลเรื่องร้องทุกข์ของแต่ละหน่วยงานเป็นข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการกําหนด<br />

นโยบาย แผนงาน โครงการของกระทรวงและจังหวัดตามลําดับความสําคัญ จําเป็น<br />

และเหมาะสมต่อไป

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!