22.11.2016 Views

รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว ฉบับที่ 4

Download ISSUU: https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_4



Download ISSUU:
https://issuu.com/terforissuu/docs/tourism_economic_review_issue_4

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

จำนวนนักทองเที่ยวตางชาติ ไตรมาสที่ 2<br />

ป 2557 - 2559<br />

+8.23<br />

+36.92<br />

-15.94<br />

5.10<br />

ลานคน<br />

6.98<br />

ลานคน<br />

7.55<br />

ลานคน<br />

ป 2557 ป 2558<br />

ป 2559<br />

4 <strong>ฉบับที่</strong><br />

เม.ย. - มิ.ย. 2559<br />

CULINARY TRAIL<br />

ทองเที่ยวดานอาหารไทย แตะ 5 แสนลานบาท<br />

SPIRITUAL TOURISM<br />

ทองเที่ยวอิมใจ สุขใจ เกิดปญญา<br />

ทองเที่ยวโลก<br />

ขยายตัว 5.3%<br />

ทองเที่ยวไทย ไตรมาส 2/2559<br />

ขยายตัวตอเนื่อง 8.23%


บทบรรณาธิการ<br />

รายงานภาวะเศรษฐกิจทองเที่ยว <strong>ฉบับที่</strong> 4 นําเสนอสถานการณทองเที่ยวของโลก<br />

ที่มีการขยายตัวรอยละ 5.3 เปนผลมาจากราคานํ้ามันที่ลดลง ทําใหเกิดการเดินทาง<br />

ระหวางประเทศเพิ่มมากขึ้น สถานการณทองเที่ยวไทยมีรายไดจากการทองเที่ยว<br />

ในไตรมาส 2/2559 จํานวน 571,681.93 ลานบาท ขยายตัวรอยละ 11.89 เปนรายได<br />

จากนักทองเที่ยวชาวตางชาติรอยละ 13.20 และนักทองเที่ยวไทยรอยละ 8.65<br />

ในเลมนําเสนอบทความการทองเที ่ยวเชิงอาหาร ที ่สะทอนถึงวัฒนธรรมของ<br />

แตละทองถิ่นไทย ซึ่งอาหารเปนสวนหนึ่งของกิจกรรมการทองเที่ยว ในป 2558<br />

ประเทศไทยมีรายไดจากการทองเที่ยวเชิงอาหารรวม 456,000 ลานบาท คิดเปน<br />

รอยละ 20 ของรายไดรวมจากการทองเที่ยวทั้งหมด และบทความการทองเที่ยว<br />

เชิงศาสนาและจิตใจ เปนอีกบทความที่สะทอนใหเห็นถึงรูปแบบการทองเที่ยว<br />

ที่ไดรับความนิยมเพิ่มขึ้นจากสภาพสังคม วิถีชีวิต คุณภาพชีวิตในปจจุบันที่เกิด<br />

ความเครียด ความไมสบายใจ นําไปสูการเดินทางเพื่อความผอนคลายจากความ<br />

ทุกข โดย World Tourism Organization (UNWTO) วิเคราะหวา ในชวงทศวรรษ<br />

ที่ผานมา การทองเที ่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ มีการเติบโตขึ้นอยางรวดเร็วใน<br />

ดานปริมาณ โดยเฉพาะในกลุมเอเชียตะวันออกเฉียงใต และกลุมสถานที่สักการะ<br />

ทางศาสนา ดวยประเทศไทยเปนดินแดนแหงพุทธศาสนา มีทรัพยากรที่สามารถ<br />

นํามาพัฒนาตอยอดใหเกิดการทองเที่ยวเชิงศาสนาซึ่งควรใหความสําคัญยิ่ง<br />

สํานักงานปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา<br />

หวังเปนอยางยิ่งวารายงานภาวะเศรษฐกิจทองเที่ยวฉบับนี้ จะเปนประโยชนกับ<br />

ผูสนใจทุกทาน หากมีขอติชมประการใด ทีมบรรณาธิการยินดี และพรอมที่จะ<br />

รับฟงเพื่อนําไปปรับปรุงแกไขใหเกิดความสมบูรณมากขึ้น<br />

สํานักงานปลัดกระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา


Tourism Vol4-Cover process.indd 2-3<br />

-15.94<br />

+36.92<br />

+8.23<br />

ป 2557 ป 2558<br />

ป 2559<br />

7/30/16 7:32 PM<br />

สารบัญ<br />

02 หน้าเปิดเรื่อง<br />

03 สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

08 สถานการณ์นักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย<br />

ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

10 สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

22 แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยวไตรมาสที่ 3<br />

ปี 2559 และตลอดปี 2559<br />

24 12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

กลุมสารสนเทศเศรษฐกิจการทองเที่ยวและกีฬา<br />

กองเศรษฐกิจการทองเที่ยวและกีฬา<br />

กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา<br />

เลขที่ 4 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร 10100<br />

โทรศัพท : 0-2283-1500 โทรสาร : 0-2356-0746<br />

ภายใตโครงการจัดทำรายงานภาวะเศรษฐกิจการทองเที่ยวรายไตรมาส<br />

บรษัท เอ็กเซลเลนท บิสเนส แมเนจเมนท จำกัด<br />

32 แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

38 การท่องเที่ยวเพื่อการเรียนรู้ด้านอาหาร<br />

46 การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

58 ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

จำนวนนักทองเที่ยวตางชาติ ไตรมาสที่ 2<br />

ป 2557 - 2559<br />

5.10<br />

ลานคน<br />

ทองเที่ยวโลก<br />

ขยายตัว 5.3%<br />

6.98<br />

ลานคน<br />

7.55<br />

ลานคน<br />

<strong>ฉบับที่</strong> 4<br />

ทองเที่ยวไทย ไตรมาส 2/2559<br />

ขยายตัวตอเนื่อง 8.23%<br />

<strong>ฉบับที่</strong><br />

เม.ย. - มิ.ย. 2559<br />

เมษายน - มิถุนายน 2559<br />

คณะที่ปรึกษา:<br />

นายพงษ์ภาณุ เศวตรุนทร์<br />

ปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

นางธิดา จงก้องเกียรติ<br />

รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

นายนเร เหล่าวิชยา<br />

รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

บรรณาธิการอานวยการ:<br />

นางธิดา จงก้องเกียรติ<br />

รองปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

4<br />

CULINARY TRAIL<br />

ทองเที่ยวดานอาหารไทย แตะ 5 แสนลานบาท<br />

SPIRITUAL TOURISM<br />

ทองเที่ยวอิมใจ สุขใจ เกิดปญญา<br />

03<br />

38<br />

46<br />

32<br />

กองบรรณาธิการ:<br />

คณะทางานพัฒนาข้อมูลรายงานภาวะเศรษฐกิจ<br />

การท่องเที่ยวรายไตรมาส<br />

กลุ่มสารสนเทศเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

จัดทาโดย:<br />

สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา<br />

เลขที่ 4 ถนนราชดาเนินนอก แขวงวัดโสมนัส<br />

เขตป้อมปราบศัตรูพ่าย กรุงเทพ 10100<br />

ภายใต้โครงการจัดทารายงานภาวะเศรษฐกิจ<br />

การท่องเที่ยวรายไตรมาส<br />

บริษัท เอ็กเซลเลนท์ บิสเนส แมเนจเม้นท์ จากัด


การท่องเที่ยวโลกในปี 2016 มีแนวโน้มขยายตัว<br />

WTTC (World Travel and Tourism Council) คาดว่า GDP ของการเดินทางและการท่องเที่ยวโลกในปี 2016 เติบโตร้อยละ 3.3<br />

สูงกว่าปีก่อนที่เติบโตร้อยละ 2.8 ผลจากราคาน ้ามันลดลง ส่งเสริมให้เกิดผลดีต่อการเดินทางและการท่องเที่ยว และการลงทุน<br />

การท่องเที่ยวเติบโตร้อยละ 4.7 ในปี 2016 นอกจากนี้ IATA Airlines Financial Monitor คาดการณ์ว่าราคาค่าโดยสารเครื่องบิน<br />

จะลดลงประมาณร้อยละ 4.0<br />

สถานการณ์ท่องเที่ยวของประเทศไทย ไตรมาส 2 ปี 2559 เติบโตต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา<br />

นักท่องเที ่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามายังประเทศไทย ในไตรมาส 2/2559 ขยายตัวร้อยละ 8.23 ก่อให้เกิดรายได้ด้านการท่องเที่ยว<br />

แก่ประเทศไทยคิดเป็นมูลค่า 362,933.27 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 13.20 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ในขณะที่รายได้จากการ<br />

ท่องเที่ยวภายในประเทศ 208,748.66 ขยายตัวร้อยละ 8.65 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยวของประเทศไทย ไตรมาสที่ 3 ปี 2559 เติบโตต่อเนื่อง<br />

ทั้งจากปัจจัยภายนอกประเทศ และปัจจัยภายในประเทศ<br />

โดยคาดว่า นักท่องเที่ยวระหว่างประเทศจะเติบโตมากกว่าไตรมาสที่ 2 จากการเติบโตของนักท่องเที่ยวจีน มาเลเซีย นักท่องเที่ยวมุสลิม<br />

และนักท่องเที่ยวยุโรป ขณะที่การท่องเที่ยวภายในประเทศได้รับการสนับสนุนจากการเพิ่มวันหยุดพิเศษต่อเนื่อง โดยคาดว่านักท่องเที่ยว<br />

ชาวต่างชาติจะขยายตัวร้อยละ 11 และการท่องเที่ยวภายในประเทศจะขยายตัวร้อยละ 8<br />

การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตวิญญาณในประเทศไทย<br />

ศาสนาไม่เพียงแต่จะเป็นหนึ ่งในสถาบันหลักของชาติแต่ยังมีบทบาทสาคัญต่อวิถีชีวิตของชาวไทย และโดยที่ประเทศไทยเปิดเสรีในการ<br />

นับถือศาสนามาแต่อดีตจึงทาให้มีความหลากหลายของศาสนา รวมถึงมีพระภิกษุ นักบวช นักการศาสนาที่มีความรู้ ความสามารถ<br />

ตลอดจนศาสนถานที่สาคัญทั่วประเทศ ปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตวิญญาณมีแนวโน้มได้รับความนิยมเพิ่มขึ้นไม่เพียงแต่<br />

ในหมู่ชาวไทยเท่านั้น ยังรวมถึงชาวต่างชาติที่ต้องการปฏิบัติธรรมเพื่อยกระดับจิตใจ และเพื่อความสบายใจ การท่องเที่ยวประเภทนี้<br />

สร้างรายได้ให้แก่ประเทศทั้งจากค่าใช้จ่ายในการเดินทาง ค่าที่พัก และค่าอาหาร และในหลายพื้นที่เป็นกิจกรรมส าคัญที่ดึงดูดนักท่องเที่ยว<br />

ทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติ โดยเฉพาะกลุ่มที่เดินทางมาด้วยแรงศรัทธาเพื่อความสบายใจซึ่งเป็นกลุ่มที่มีขนาดใหญ่ที่สุด สาหรับกลุ่มที่<br />

เดินทางมาเพื่อยกระดับจิตใจมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องโดยเฉพาะชาวต่างชาติ แต่สถานปฏิบัติธรรมส่วนใหญ่ยังขาดความพร้อม<br />

ทั้งด้านสถานที่ และบุคลากร<br />

การท่องเที่ยวอาหารจากการท่องเที่ยวทางเลือกสู่กลยุทธ์การสร้างศักยภาพการแข่งขัน<br />

การท่องเที่ยวอาหารมีความสาคัญมากขึ้น จากเดิมที่เป็นส่วนหนึ่งการท่องเที่ยวทางเลือกปัจจุบันที่บทบาทเพิ่มขึ้น จนเป็นหนึ่งในกลยุทธ์<br />

ที่ก่อให้เกิดศักยภาพทางการแข่งขันอย่างยั่งยืนได้ ซึ่งส่วนหนึ่งเป็นผลจากกระแสความนิยมของนักท่องเที่ยวทั่วโลกที่ให้ความส าคัญมากขึ้น<br />

ต่ออาหารและสุขภาพ โดยในปี 2015 องค์การท่องเที่ยวโลกคาดว่า การท่องเที่ยวอาหารสร้างรายได้รวมกว่า 150 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ<br />

สาหรับประเทศไทยในปี 2558 มีรายได้รวมจากการซื้ออาหารและเครื่องดื่มของนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทย และชาวต่างประเทศกว่า 4.56<br />

แสนล้านบาท โดยเป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวไทยที่ท่องเที่ยวในประเทศ 1.74 แสนล้านบาท และนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 2.82<br />

แสนล้านบาท โดยเป็นรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวจีน 0.71 แสนล้านบาท นอกจากนี้ การท่องเที่ยวอาหารยังสร้างรายในด้านอื่นๆ<br />

ให้แก่ประเทศ เช่น รายได้จากการเรียนทาอาหาร และการเยี่ยมชมฟาร์มเกษตร เป็นต้น<br />

02 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

แนวโน้มนักท่องเที่ยวโลก มองหาประสบการณ์ใหม่ สร้างความประทับใจ<br />

แนวโน้มพฤติกรรมนักท่องเที่ยวในปี 2030<br />

บริษัท อมาเดอุส และฟรอสต์แอนด์ซัลลิแวน (Amadeus and<br />

Frost & Sullivan) จัดทารายงานผลการศึกษา ‘Future Traveller<br />

Tribes 2030: Building a More Rewarding Journey’ เพื่อ<br />

นาเสนอลักษณะของนักท่องเที่ยวในปี 2030 ได้แบ่งนักท่องเที่ยว<br />

ออกเป็น 6 กลุ่ม ได้แก่ 1) Obligation Meter’s เป็นกลุ่มที่เดินทางเพื่อ<br />

ดาเนินกิจกรรมที่จาเป็น เช่น นักท่องเที่ยวทางธุรกิจ 2) Simplicity<br />

Searchers เป็นกลุ่มที่ต้องการความสะดวกจากแหล่งข้อมูล<br />

3) Ethical Travelers เป็นกลุ่มที่นาปัจจัยด้านสภาพแวดล้อม และ<br />

จริยธรรมวางแผนในการท่องเที่ยว 4) Reward Hunters เป็นกลุ่ม<br />

ที่ให้รางวัลกับตัวเองจากการทางาน 5) Cultural Purists เป็นกลุ่ม<br />

ที่เดินทางค้นหาวัฒนธรรมใหม่ๆ ที่แตกต่างจากสิ่งที่คุ้นเคย<br />

6) Social Capital Seekers เป็นกลุ่มที่นิยมแชร์ประสบการณ์<br />

ท่องเที่ยวผ่านสื่อสังคมออนไลน์เพื่อต้องการเป็นที่ยอมรับ โดยทั้ง<br />

6 กลุ่มนี้จะได้รับอิทธิพลจากปัจจัยทางจิตวิทยา และเทคโนโลยี<br />

เป็นสาคัญ<br />

สิ่งที่ทาให้นักท่องเที่ยวเลือกใช้บริการบริษัทนาเที่ยวสืบเนื่องจาก<br />

ราคา เทคโนโลยี และความสามารถในการเข้าใจลูกค้า โดยร้อยละ<br />

42 ของผู้ใช้บริการบริษัทนาเที่ยว ชื่นชอบบริษัทที่พวกเขารู้สึกว่า<br />

ได้มีส่วนร่วม และรับฟังความต้องการของลูกค้า นอกจากนี้เรื่องสินค้า<br />

การบริการ การสร้างประสบการณ์ให้แก่ลูกค้ารวมถึงด้านราคา การ<br />

เข้าใจการเปลี่ยนแปลงที่มีอยู่ตลอดเวลาของลูกค้า พฤติกรรมด้าน<br />

การท่องเที่ยวของลูกค้า การใช้เทคโนโลยีเพื่อเป็นเครื่องมือทาง<br />

การตลาดเป็นสิ่งที่ต้องคานึงถึง เพื่อประโยชน์ของธุรกิจ และ<br />

ของลูกค้าเช่นกัน ซึ่งในประเด็นนี้ Mr. Simon Er ผู้จัดการทั่วไป<br />

General Manage ของ Global Travel and Scenic Travel<br />

บริษัทนาเที่ยวยักษ์ใหญ่ในสิงคโปร์ กล่าวว่า “บริษัทนาเที่ยว<br />

ต้องนาเสนอบริการที่ออกแบบเพื่อเป็นแรงบัลดาลใจให้กับลูกค้า<br />

และสร้างประสบการณ์ที่เป็นเอกลักษณ์และน่าจดจา” ดังนั้น ลูกค้า<br />

มีความคาดหวังในการเดินทางท่องเที่ยวจะได้รับประสบการณ์<br />

การท่องเที่ยวที่ดีที่สุด<br />

ในปัจจุบันนักท่องเที่ยวคาดหวังการได้รับข้อมูลจากบริษัทนาเที่ยว<br />

รวมทั้งการเสนอประสบการณ์ที่แปลกใหม่ เป็นที่ปรึกษาที่ดีแก่<br />

นักท่องเที่ยวทั้งแบบออนไลน์ และออฟไลน์<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

03


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

ค่าโดยสารเครื่องบินมีแนวโน้มจะปรับตัว<br />

เพิ่มขึ้น<br />

ช่วงกลางปี 2017 สายการบิน Delta สายการบิน American และ<br />

สายการบิน United มีแนวทางร่วมกันขึ้นค่าโดยสารอย่างค่อยเป็น<br />

ค่อยไปเพื่อไม่ให้เกิดผลกระทบต่อความต้องการของลูกค้า รายงาน<br />

ของ IATA Airlines Financial Monitor ฉบับเดือนเมษายน 2016<br />

ได้สรุปข้อมูลด้านการบินที่สาคัญ คือ<br />

• แม้ปัจจุบันราคาน้ามันจะปรับเพิ่มขึ้นแต่ยังคาดการณ์ว่า<br />

ราคาน้ามันจะยังคงอยู่ที่ต่ากว่า 50 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อบาร์เรล<br />

จนถึงปี 2018<br />

• คาดการณ์ว่าราคาค่าโดยสารเครื่องบินจะลดลงประมาณ 4%<br />

ตรงกันข้ามกับอัตราการแลกเปลี่ยนเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ที่เพิ่มขึ้น<br />

ทั่วโลก และการขึ้นของราคาน้ามันร้อยละ 65 ตั้งแต่เดือน<br />

มกราคม ทาให้มีแนวโน้มในการขึ้นค่าโดยสารในอนาคต<br />

• การเดินทางทั่วโลกยังมีจานวนมากในไตรมาสที่ 1 ไม่แตกต่าง<br />

จากไตรมาสแรกของปีที่แล้ว และมีอัตราการลดลงในช่วงแรก<br />

ของไตรมาสที่ 2<br />

การประชุม CAPA SUMMIT<br />

การประชุม CAPA (Centre for Aviation) Airlines in Transition<br />

ผู้เชี่ยวชาญด้านธุรกิจการบินจากทั่วโลกได้หารือเกี่ยวกับอนาคต<br />

และแนวโน้มของการเดินทางของโลก ซึ่งส่งผลต่อการวางแผน<br />

การเดินทาง และการตัดสินใจดาเนินธุรกิจด้านการบิน Kevin Toland<br />

จาก Dublin Airport ได้กล่าวว่าในปี 2015 สนามบินมีผู้โดยสารถึง<br />

3.3 ล้านคน นับได้ว่าเป็นสนามบินที่มีอัตราการเติบโตสูงในกลุ่ม<br />

ประเทศแถบยุโรป และมีเส้นทางเชื่อมโยงที่คล่องตัวหลายเส้นทาง<br />

เชื่อมต่อกับเมืองต่างๆ ในประเทศอังกฤษ และอเมริกาเหนือ<br />

Peter Harbison ตาแหน่ง Executive Chairman ของ CAPA กล่าว<br />

ถึงการเติบโตทางธุรกิจการบินของประเทศอิหร่าน และสายการบิน<br />

ต้นทุนต่ามีการสั่งซื้อเครื่องบินเกือบครึ่งหนึ่งของการสั่งทั้งหมด<br />

ในโลกปัจจุบันนี้ ทาให้สายการบินแบบ Full Service Carriers<br />

(FSCs) มุ่งเน้นการแข่งขันในด้านความสะดวกสบาย และการปรับ<br />

เส้นทางการบินระยะสั้นใหม่ แนวโน้มความต้องการของผู้บริโภค<br />

ต่อธุรกิจการบินในอนาคต คือ การใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่เป็น<br />

ช่องทางการซื้อ และแลกเปลี่ยนประสบการณ์มากกว่าตัวสินค้า<br />

04 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

Global Connectivity<br />

Ranking<br />

The world's Top 20 most connected cities<br />

RANK CITY COUNTRY<br />

1 − London United Kingdom<br />

2 − Paris France<br />

3 − Frankfurt am Main Germany<br />

4 − Amsterdam Netherlands<br />

5 1 ▲ Istanbul Tukey<br />

ลอนดอนได้ตาแหน่งอันดับที่หนึ่งของ<br />

Global Connectivity Ranking<br />

รายงานTransport Focus Report ของ Rome2rio ของประเทศ<br />

ออสเตรเลีย ได้จัดลาดับประเทศที่มีเครือข่ายการเชื่อมโยงทาง<br />

อากาศ (Global Connectivity Ranking) 20 ประเทศแรกที่มีเที่ยวบิน<br />

ตรงระหว่างประเทศมากที่สุด โดย กรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ<br />

มีเส้นทางเชื่อมโยงที่มากที ่สุดในโลก ซึ่งมีเที่ยวบินตรงระหว่าง<br />

ประเทศมากถึง 351 เส้นทาง<br />

โดยข้อมูลจาก Global Connectivity Ranking เป็นข้อมูลสาคัญต่อ<br />

การคาดการณ์แนวโน้มอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ซึ่งได้แก่<br />

• เมืองโตรอนโต (Toronto) เป็นเมืองที่มีเส้นทางเชื่อมโยงระหว่าง<br />

ประเทศมากที่สุดในทวีปอเมริกาเหนือมี 154 เส้นทางการบิน<br />

• เมืองนิวยอร์ค มีสนามบิน 3 แห่ง เชื่อมโยงเส้นทางการบิน<br />

ระหว่างประเทศทั้งหมด 137 เส้นทางส่วนใหญ่เป็นเส้นทาง<br />

การบินภายในประเทศ เมืองนิวยอร์คจึงมีความสาคัญน้อยกว่า<br />

หลายประเทศในภูมิภาคยุโรป<br />

• สาหรับประเทศอังกฤษ เมืองที่เป็นรองลอนดอน คือ เมือง<br />

แมนเชสเตอร์ซึ่งมีเที่ยวบินตรงระหว่างประเทศ 162 เที่ยวบิน<br />

• เมืองอีสตันบูล ประเทศตุรกีมีอัตราการเพิ่มเที่ยวบินถึง<br />

ร้อยละ 20 ซึ่งเป็นเส้นสู่จุดหมายปลายทางใหม่ 40 แห่ง<br />

อีสตันบูลจึงถือเป็นเมืองที่มีเส้นทางเชื่อมโยงมากที่สุดในหมู่<br />

ประเทศมุสลิม ซึ่งมีผลมาจากการขยายตัวของภาคธุรกิจ และ<br />

ชนชั้นกลางที่มีฐานะที่ดีขึ้น ทาให้เกิดความต้องการในการ<br />

เชื่อมโยงเส้นทางหรือคู่ค้าใหม่ๆ<br />

• เมืองเคียฟ ประเทศยูเครน เส้นทางเชื่อมโยงมีอัตราลดลงอย่าง<br />

ต่อเนื่องนับตั้งแต่ปี 2014 จากเดิม 83 เส้นทาง เหลือเพียง<br />

60 เส้นทาง โดยเส้นทางที่ลดลงส่วนใหญ่ อยู่ในประเทศรัสเซีย<br />

ผลจากความขัดแย้งของคาบสมุทรไครเมียน (Crimean Conflict)<br />

6 1 ▲ Munich Germany<br />

7 1 ▲ Brussels Belgium<br />

8 3 ▼ Dubai UAE<br />

9 1 ▲ Rome Italy<br />

10 2 ▲ Diisseldorf Germany<br />

11 2 ▲ Vienna Austria<br />

12 3 ▲ Milan Italy<br />

13 2 ▼ Ziirich Switzerland<br />

14 − Manchester United Kingdom<br />

15 6 ▼ Moscow Russia<br />

16 2 ▲ Barcelona Spain<br />

17 − Toronto Cannada<br />

18 4 ▲ Berlin Germany<br />

19 10 ▲ Dublin Ireland<br />

20 1 ▲ Hong Kong Hong Kong<br />

https://www.rome2rio.com<br />

• ฮ่องกง เมืองที่มีเส้นทางเชื่อมโยงมากที่สุดในภูมิภาคเอเชีย<br />

เชื่อมโยงสู่ 147 เมือง รองลงมา ได้แก่ กรุงโซลมี 141 เส้นทาง<br />

กรุงเทพฯ 131 เส้นทาง และสิงคโปร์ 129 เส้นทาง ตามลาดับ<br />

• จีน ประเทศที่น่าจับตามอง มีเที่ยวบินเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง<br />

นับตั้งแต่ปี 2014 เป็นต้นมา เช่นปักกิ่งมีเส้นทางเพิ่มขึ้น<br />

22 เมือง เซี่ยงไฮ้เพิ่มขึ้น 17 เมือง และกวางโจวเพิ่มขึ้น 12 เมือง<br />

CLMVT Forum 2016 ครั้งแรกจัดโดยไทย<br />

จากการที่รัฐบาลไทยมุ่งยกระดับเศรษฐกิจในภูมิภาคและความ<br />

ร่วมมือทางการค้า การลงทุน การท่องเที่ยว กับประเทศกลุ่ม<br />

CLMVT กระทรวงพาณิชย์ จึงร่วมกับกระทรวงการท่องเที่ยวและ<br />

กีฬา กระทรวงอุตสาหกรรม และสานักงานคณะกรรมการส่งเสริม<br />

การลงทุน จัดการประชุมและเสวนา “CLMVT Forum 2016”<br />

ขึ้นเป็นครั้งแรก (16-18 มิถุนายน 2559) ภายใต้แนวคิด Towards a<br />

Shared Prosperity หรือ ประสาน แบ่งปัน มั่งคั่ง ยั่งยืน มีผู้เข้าร่วม<br />

เกือบ 1,000 คน การประชุมเสวนาครั้งนี้มุ่งเน้น 4 ข้อหลัก ได้แก่<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

05


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

1. Unleashing CLMVT: การปลดปล่อยศักยภาพ และเชื่อมโยง<br />

เครือข่าย 2. Unlocking CLMVT: สร้างความเชื่อมโยงแบบ<br />

ไร้รอยต่อหรือปลดล็อกจากอุปสรรค 3. Quality CLMVT: พัฒนา<br />

ศักยภาพของผู้ประกอบการ 4. Digital CLMVT: สนับสนุน<br />

โครงสร้างพื้นฐานด้านดิจิตอล<br />

การประชุมครั้งนี้เพื่อสานต่อให้ Asean Connect เป็นรูปธรรม ซึ่ง<br />

ประเทศไทยเน้นเรื่องการเติบโตของการท่องเที่ยวใน Intra ASEAN<br />

แลกเปลี่ยนความเห็นในเรื่องการกระจายออกเป็น 3 ส่วน<br />

เพื่อเพิ่มการเติบโตด้านท่องเที่ยว คือ 1) เวลา คานึงถึง low season<br />

(rainny season หรือ green season) 2) สถานที่ ไปยังเมืองรอง<br />

เน้นภาคอีสาน 3) คานึงถึงการกระจายไปยังภาคส่วนอื่นๆ ในการ<br />

ได้รับประโยชน์จากการท่องเที่ยว เช่น ภาคการเกษตร เป็นการ<br />

แชร์ข้อมูลร่วมกันเพื่อการวางแผน และทาตลาดด้านการท่องเที่ยว<br />

นางกอบกาญจน์ วัฒนวรางกูล รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการท่องเที่ยว<br />

และกีฬา ได้เสวนาในหัวข้อ Seamless Travel in CLMVT และ<br />

ได้กล่าว คาดหวังจานวนนักท่องเที ่ยวจากกลุ่มประเทศ CLMVT<br />

จะเดินทางมาเที่ยวเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 ทั้งต้องการขยายเส้นทาง<br />

คมนาคม โดยเฉพาะสายการบินเพื่ออานวยความสะดวกในการ<br />

เดินทางท่องเที่ยว โดยเฉพาะเส้นทางการบินไปยังเมืองรองของ<br />

แต่ละประเทศเพื่อขยายการท่องเที่ยวให้มากขึ้น และต้องการผลักดัน<br />

เส้นทางการท่องเที่ยวทางน้า โดยเฉพาะลุ่มแม่น้าโขง อ่าวไทย<br />

WTTC รายงานผลกระทบทางเศรษฐกิจ<br />

ของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว<br />

WTTC (World Travel and Tourism Council) คาดว่าการเติบโต<br />

ของ GDP การเดินทางและการท่องเที ่ยวโลกในปี 2016 ลดลง<br />

จากเดิมที่เคยคาดการณ์โดยเติบโตร้อยละ 3.3 และถึงแม้ว่ามีการ<br />

ปรับลดอัตราการเติบโต แต่การเดินทางและท่องเที่ยวจะยังคง<br />

เติบโตได้มากกว่าเศรษฐกิจโลก<br />

• การเติบโตในปี 2016 ร้อยละ 3.3 เมื่อเทียบกับร้อยละ 2.8<br />

ในปี 2015 ผลมาจากการเพิ ่มขึ้นของเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

ยังเติบโตแม้จะมีการลดลงของ GDP โลก และการลดลงของ<br />

ราคาน้ามันในช่วงเวลาที่ผ่านมาส่งผลให้เกิดการเดินทางระหว่าง<br />

ประเทศอย่างต่อเนื่อง ขณะที่ราคาน้ามันลดลงส่งเสริมให้เกิด<br />

ผลดีต่อการเดินทาง และการท่องเที่ยว การปรับลดราคาน้ามัน<br />

ส่งผลให้เศรษฐกิจประเทศส่งออกน้ามันลดลงจึงทาให้เกิดคาถาม<br />

ที่ว่า การปรับลดราคาน้ามันส่งผลดีหรือไม่ต่อการท่องเที่ยว<br />

ที่เพิ่มขึ้นทั้งหมดโดยรวม<br />

• การเดินทางและการท่องเที่ยวในปี 2016 คาดว่าจะเติบโตได้<br />

เร็วขึ้นกว่าในปี 2015 การลงทุนการท่องเที่ยวเติบโตร้อยละ<br />

4.7 ในปี 2016 ขณะที่การเดินทางและการท่องเที่ยวใช้จ่าย<br />

ภายในประเทศ และต่างประเทศคาดว่าจะเติบโตร้อยละ 3.3<br />

และร้อยละ 3.0 ตามลาดับ<br />

• ในปี 2016 การแข็งค่าของเงินดอลลาร์สหรัฐฯ ส่งผลต่อ<br />

แนวโน้มการท่องเที่ยวของระบบเศรษฐกิจที่สกุลเงินผูกกับ<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ เช่น ประเทศฮ่องกง กาตาร์ ซาอุดิอาระเบีย และ<br />

สหรัฐอาหรับเอมิเรตส์<br />

06 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์การท่องเที่ยวโลก<br />

• ประเทศไทย ในปี 2026 จะมีนักท่องเที่ยวมากเป็นอันดับ 2<br />

ของโลก สูงกว่าประเทศจีน และสเปน<br />

• ประเทศจีน สหรัฐอเมริกา เยอรมนี และอังกฤษ เป็นประเทศ<br />

ที่มีการใช้จ่ายด้านการท่องเที่ยวสูงสุด 4 อันดับแรกในปี 2026<br />

Brexit จะไม่ส่งผลกระทบต่อภาค<br />

การท่องเที่ยว<br />

จากการที่เสียงส่วนใหญ่ของสหราชอาณาจักรลงมติออกจาก<br />

สหภาพยุโรป (Brexit) ส่งผลต่อตลาดเงินของอังกฤษ ค่าเงินปอนด์<br />

อ่อนค่าลงทันทีร้อยละ 10 สาหรับผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยว<br />

ดังนี้<br />

• GDP ด้านการเดินทางและการท่องเที่ยวในปี 2016<br />

ลาตินอเมริกาหดตัวร้อยละ 0.5 เนื่องจากการหดตัวของ GDP<br />

ของบราซิล ที่มีขนาดเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในภูมิภาค หรือครึ่งหนึ่ง<br />

ของละตินอเมริกา ส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจของภูมิภาค<br />

แนวโน้มการท่องเที่ยวในปี 2016-2026<br />

• ใน 10 ปีข้างหน้า คาดว่า GDP ภาคการท่องเที่ยวจะเติบโต<br />

โดยเฉลี่ยร้อยละ 4.0 ต่อปี<br />

• ในปี 2026 การท่องเที่ยวจะส่งผลให้เกิดการจ้างงานเพิ่มขึ้น<br />

ทั้งหมด 370 ล้าน ตาแหน่งงานทั่วโลก ซึ่งถือเป็น 1 ใน 9 ของ<br />

ตาแหน่งงานทั้งหมดในโลก<br />

• ในปี 2026 เอเชียใต้จะมีการเติบโตของ GDP ภาคการท่องเที่ยว<br />

มากที่สุด ร้อยละ 7.1 โดยอินเดียเติบโตร้อยละ 7.5 จีนร้อยละ 7.0<br />

ส่วนภูมิภาคที่คาดว่าจะเติบโตในช่วงร้อยละ 4.0-6.0 ได้แก่<br />

เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ร้อยละ 5.8 เอเชียตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ร้อยละ 5.6 แอฟริการ้อยละ 4.2 ตะวันออกกลางร้อยละ 4.9 และ<br />

แอฟริกาเหนือร้อยละ 4.2 ในขณะที่ภูมิภาคที่คาดว่าจะเติบโต<br />

ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของโลก (ร้อยละ 4.0) คือ ลาตินอเมริการ้อยละ<br />

3.7 อเมริกาเหนือร้อยละ 3.5 แคริบเบียนร้อยละ 3.4 และยุโรป<br />

ร้อยละ 2.8<br />

• ประเทศจีนจะมีการลงทุนทางการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นมากกว่า<br />

สหรัฐอเมริกาแต่คาดการณ์ว่า GDP การท่องเที่ยวของ<br />

สหรัฐอเมริกาจะเติบโตมากกว่า<br />

• ประเทศอินเดีย ในปี 2026 จะอยู่ใน 10 อันดับประเทศด้านการ<br />

ท่องเที่ยว รวมถึงเมียนมา นามิเบีย แทนซาเนีย ยูกันดา<br />

เวียดนาม และแซมเบีย<br />

1) การวิเคราะห์ของ Mike Olson นักวิจัยอาวุโส จาก Piper Jaffray<br />

คาดว่าภาคการท่องเที่ยวของสหภาพยุโรป และสหราชอาณาจักร<br />

จะไม่ได้รับผลกระทบในทันที เนื ่องจากยังไม่มีสัญญาณที ่แสดงให้<br />

เห็นถึงแนวโน้มการเปลี่ยนแปลงของผู้บริโภค นักท่องเที่ยวอังกฤษ<br />

สร้างรายได้ให้กับประเทศไทยกว่า 69,000 ล้านบาท ในปี 2558 ซึ่ง<br />

สูงเป็นอันดับที่ 3 คาดว่าในระยะแรก หรือ 3 เดือน นับจากการลง<br />

ประชามติจะยังไม่ส่งผลกระทบต่อภาคการท่องเที่ยวไทย เนื่องจาก<br />

นักท่องเที่ยวกลุ่มนี้วางแผนการเดินทางล่วงหน้า นอกจากนี้<br />

คุณเจริญ วังอานนท์ นายกสมาคมไทยธุรกิจท่องเที่ยว หรือ แอตต้า<br />

เชื่อว่า ต้องใช้เวลาติดตามผลกระทบอย่างน้อย 6 เดือน<br />

2) การวิเคราะห์ของ Stephen Dunk กรรมการผู้จัดการภาคพื้น<br />

ยุโรปของทราเวลซู (Travel Zoo) เว็ปไซต์ตัวแทนผู้ให้บริการด้าน<br />

การท่องเที ่ยวรายใหญ่ของโลก คาดว่า ธุรกิจการบินใน<br />

สหราชอาณาจักรอาจได้รับผลกระทบทางตรงจากการไม่ได้รับ<br />

ประโยชน์จากความตกลงเปิดน่านฟ้าเสรี (Open Skies Agreement)<br />

โดยเฉพาะสายการบินต้นทุนต่า และผลกระทบทางอ้อมจาก<br />

อัตราแลกเปลี่ยน เนื่องจากการชาระค่าเชื้อเพลิงเป็นเงิน<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ สาหรับธุรกิจโรงแรม คาดว่าจะได้รับผลกระทบจาก<br />

ค่าจ้างแรงงานที่เพิ่มขึ้น เนื่องจากปัจจุบันแรงงานในธุรกิจโรงแรม<br />

ส่วนใหญ่เป็นผู้อพยพจากสหภาพยุโรป และจากการสารวจของ<br />

Travelzoo พบว่า สิ่งที่ชาวยุโรป และชาวสหราชอาณาจักร<br />

เป็นกังวลหลังการออกจากสหภาพยุโรป คือ ค่าใช้จ่ายค่าประกันภัย<br />

ด้านการท่องเที่ยวที่เพิ่มขึ้น<br />

สาหรับประเทศไทย หากรัฐบาลอังกฤษดาเนินมาตรการต่างๆ<br />

เพื่อเตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจและสังคม คาดว่า จะไม่ส่งผล<br />

กระทบต่อภาวะเศรษฐกิจของประเทศ รวมถึงจะไม่มีผลกระทบ<br />

ใดๆ ต่อภาคการท่องเที่ยวของไทย<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

07


สถานการณ์นักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย<br />

สถานการณ์นักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย<br />

ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

“นักท่องเที่ยวอาเซียนขยายตัวลดลงในปี 2559 จากการปรับฐานสู่แนวโน้มปกติ”<br />

ในไตรมาสที่ 2 ปี 2559 มีนักท่องเที่ยวอาเซียนเดินทางมาประเทศไทย<br />

2,176,641 คน ขยายตัวร้อยละ 6.34 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่<br />

ผ่านมา ลดลงจากร้อยละ 32.12 ในปีก่อนที่ขยายตัวสูงหลังการ<br />

หดตัวในปี 2557 จากสถานการณ์การเมืองในขณะนั้น การเติบโตของ<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียนในปี 2559 จึงเป็นการปรับฐานเข้าสู่แนวโน้ม<br />

จานวนนักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย ไตรมาส 2 ปี 2557 - 2559P<br />

ปกติ สาหรับนักท่องเที่ยวอาเซียนที่มีจานวนมากที่สุด 3 อันดับ<br />

แรก คือ มาเลเซีย ลาว และสิงคโปร์ (สัดส่วนร้อยละ 39.15 ร้อยละ<br />

15.21 และร้อยละ 11.45 ตามลาดับ) มีสัดส่วนรวมกันเท่ากับ<br />

ร้อยละ 65.81 สาหรับนักท่องเที่ยวอาเซียนที่มีอัตราการขยายตัว<br />

สูงสุด 3 อันดับแรก คือ เมียนมา กัมพูชา และสปป.ลาว ตามลาดับ<br />

จำนวน (คน)<br />

2,500,000<br />

2,000,000<br />

1,500,000<br />

1,000,000<br />

500,000<br />

จำนวนนักทองเที่ยว<br />

2,046,875 2,176,641<br />

+32.12<br />

1,549,235<br />

+6.34<br />

+17.33<br />

2557 2558 2559<br />

จำนวนนักทองเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปที่ผานมา<br />

%CH (Y-o-Y)<br />

+40.00<br />

+30.00<br />

+20.00<br />

+10.00<br />

+0.00<br />

-10.00<br />

-20.00<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

จานวนนักท่องเที่ยวอาเซียนรายประเทศของไทย ไตรมาส 2 ปี 2559P<br />

จำนวน (คน)<br />

852,203<br />

จำนวนนักทองเที่ยว สัดสวน (รอยละ)<br />

%CH (Y-o-Y)<br />

Malaysia (39.15%)<br />

-1.03<br />

331,043<br />

Laos (15.21%)<br />

+11.40<br />

249,181<br />

239,101<br />

Singapore (11.45%)<br />

Vietnam (10.98%)<br />

+1.01<br />

+1.58<br />

191,966<br />

Cambodia (8.82%)<br />

+42.91<br />

132,506<br />

Indonesia (6.09%)<br />

+9.22<br />

91,636<br />

Myanmar (4.21%)<br />

+44.24<br />

82,263<br />

Philippines (3.96%)<br />

+2.49<br />

2,742 Brunei (0.13%)<br />

-15.58<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

08 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สถานการณ์นักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียนสร้างรายได้กว่า 6 หมื่นล้านบาท<br />

ในไตรมาสที่ 2/2559 นักท่องเที่ยวอาเซียนสร้างรายได้ 60,887.63<br />

ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 8.53 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

โดยขยายตัวลดลงจากปีก่อนที่สูงถึงร้อยละ 42.62 ตามทิศทาง<br />

การเติบโตของจานวนนักท่องเที่ยว สาหรับนักท่องเที่ยวอาเซียน<br />

ที่สร้างรายได้สูงสุด 3 อันดับแรก คือ มาเลเซีย สิงคโปร์ และ<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวอาเซียนของไทย ไตรมาส 2 ปี 2557 - 2559P<br />

เวียดนาม (สัดส่วนร้อยละ 35.09 ร้อยละ 14.91 และร้อยละ<br />

12.76 ตามลาดับ) สัดส่วนรวมกันเท่ากับร้อยละ 62.76 และ<br />

นักท่องเที่ยวอาเซียน ที่รายได้ขยายตัวสูงสุด 3 อันดับแรก คือ<br />

เมียนมา กัมพูชา และสปป.ลาว ตามลาดับ<br />

รายได (ลานบาท)<br />

70,000<br />

60,000<br />

50,000<br />

40,000<br />

30,000<br />

20,000<br />

10,000<br />

รายไดจากนักทองเที่ยว<br />

56,102.24<br />

+42.62<br />

60,887.63<br />

39,337.52<br />

+8.53<br />

-18.68<br />

2557 2558 2559<br />

จำนวนนักทองเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปที่ผานมา<br />

%CH (Y-o-Y)<br />

+50.00<br />

+40.00<br />

+30.00<br />

+20.00<br />

+10.00<br />

+0.00<br />

-10.00<br />

-20.00<br />

-30.00<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวอาเซียนรายประเทศของไทย ไตรมาส 2 ปี 2559P<br />

รายไดจากนักทองเที่ยว<br />

รายได (ลานบาท) สัดสวน (รอยละ) %CH (Y-o-Y)<br />

21,362.49<br />

Malaysia (35.09%)<br />

+0.97<br />

9,080.89<br />

7,771.33<br />

Singapore (14.91%)<br />

Vietnam (12.76%)<br />

+3.01<br />

+3.45<br />

5,988.85<br />

Laos (9.85%)<br />

+13.62<br />

4,930.27<br />

3,912.20<br />

Cambodia (8.10%)<br />

Myanmar (6.43%)<br />

+45.53<br />

+47.11<br />

3,881.67<br />

3,834.44<br />

Philippines (6.38%)<br />

Indonesia (6.30%)<br />

+4.52<br />

+11.41<br />

3,834.44<br />

Brunei (0.19%)<br />

-14.13<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

09


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

“ท่องเที่ยวระหว่างประเทศของไทย ไตรมาส 2 ปี 2559 เติบโตลดลง<br />

จากช่วงที่ผ่านมา จากการชะลอตัวของนักท่องเที่ยวจีน”<br />

ไตรมาส 2/2559P ตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ไตรมาส 2/2559 ตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติของไทยยังคงขยายตัว<br />

ต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมาในอัตราที่ลดลง ส่วนหนึ่งเป็นผลจากการ<br />

ชะลอตัวของนักท่องเที่ยวจีน (คิดเป็นร้อยละ 30 ของนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติในไตรมาส 2) โดยในช่วงไตรมาสที่ 2 นักท่องเที่ยว<br />

ที่มีจานวนมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน มาเลเซีย และลาว<br />

เทศกาลถือศีลอดส่งผลให้นักท่องเที่ยวตะวันออกกลาง และมาเลเซีย<br />

หดตัวร้อยละ 19 และร้อยละ 10 การขยายตัวของนักท่องเที่ยว<br />

คาดว่าจะขยายตัวดีขึ้นในไตรมาส 3 ตามการเติบโตของ<br />

นักท่องเที่ยวจีน และนักท่องเที่ยวมุสลิม<br />

รายได้นักท่องเที่ยวต่างชาติของไทยในไตรมาส 2/2559 ขยายตัว<br />

ต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมาในอัตราที่ลดลง โดยนักท่องเที่ยวภูมิภาค<br />

เอเชียตะวันออกมีอัตราการขยายตัวสูงสุด สาหรับนักท่องเที่ยว<br />

ที่สร้างรายได้สูงสุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน มาเลเซีย และ<br />

สหราชอาณาจักร<br />

10 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ไตรมาส 2 ปี 2556 ถึง 2559<br />

หนวย : จำนวนนักทองเที่ยว (คน) หนวย : % การเปลี่ยนแปลงจากปที่ผานมา<br />

8,000,000<br />

7,000,000<br />

6,000,000<br />

5,000,000<br />

4,000,000<br />

3,000,000<br />

2,000,000<br />

1,000,000<br />

2556<br />

+24.31<br />

-15.94<br />

+36.92<br />

2557 2558 2559P<br />

+8.23<br />

+40.00<br />

+30.00<br />

+20.00<br />

+10.00<br />

+0.00<br />

-10.00<br />

-20.00<br />

-30.00<br />

-40.00<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

จำนวน (คน)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปกอนหนา (แกนขวา)<br />

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 10 อันดับแรกของไทย ในไตรมาส 2/2559P<br />

หนวย : จำนวนนักทองเที่ยว (คน) หนวย : อัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

2,270,011<br />

China<br />

+13.38<br />

852,203<br />

Malaysia<br />

-1.03<br />

334,055<br />

331,043<br />

Laos<br />

India<br />

+11.40<br />

+13.09<br />

309,143<br />

Japan<br />

+0.90<br />

จำนวน : 7,323,111 คน<br />

%Share : 70.48%<br />

299,552<br />

249,181<br />

Korea<br />

Singapore<br />

+1.01<br />

+11.91<br />

239,101<br />

Vietnam<br />

+1.58<br />

224,906<br />

USA<br />

+12.88<br />

213,916<br />

United Kingdom<br />

+1.94<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

11


่<br />

สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 10 อันดับแรกของไทย ในไตรมาส 2/2559P<br />

หนวย : รายไดจากการทองเที่ยว (ลานบาท) หนวย : อัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

114,928.33<br />

China<br />

+23.62<br />

21,362.49<br />

16,873.99<br />

Malaysia<br />

United Kingdom<br />

+0.97<br />

+3.93<br />

16,384.79<br />

Australia<br />

+40.51<br />

16,287.95<br />

India<br />

+15.25<br />

จำนวน : 252,190.65 ลานบาท<br />

%Share : 69.49%<br />

15,687.41<br />

15,116.41<br />

Russia<br />

USA<br />

-0.62<br />

+15.06<br />

13,420.60<br />

Japan<br />

+14.10<br />

12,947.94<br />

Korea<br />

+2.81<br />

9,180.74<br />

Singapore<br />

+15.24<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

โครงสร้างตลาดนักท่องเที่ยวต่างชาติของไทย ในไตรมาส 2/2559P<br />

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติเดินทางเข้ามายังประเทศไทยในไตรมาส<br />

2/2559 มีจานวน 7,553,011 คน ขยายตัวร้อยละ 8.23 ลดลงจาก<br />

ไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 15.45 ตามแนวโน้มของนักท่องเที่ยว<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออก และภูมิภาคอื่นๆ ยกเว้นภูมิภาคยุโรปที<br />

นักท่องเที่ยวขยายตัวสูงขึ ้นจากการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวรัสเซีย<br />

นักท่องเที่ยวต่างชาติของไทยขยายตัวต่อเนื่อง โดยเป็นผล<br />

มาจากการเติบโตของนักท่องเที่ยวจีน มาเลเซีย รัสเซีย และ<br />

ตะวันออกกลาง ประกอบกับการแข่งขันของสายการบินที่มีเป็น<br />

จานวนมาก และราคาค่าโดยสารเครื่องบินที่ลดลงตามราคา<br />

น้ามันดิบในตลาดโลก<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก มีจานวน 5,396,840 คน<br />

ขยายตัวร้อยละ 8.20 ลดลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ<br />

19.63 ตามการชะลอตัวของนักท่องเที่ยวจีน มาเลเซีย สิงคโปร์<br />

ฮ่องกง ญี่ปุ่น เป็นต้น และคาดว่าในไตรมาสที่ 3 การขยายตัวของ<br />

นักท่องเที่ยวจะปรับตัวดีขึ้นจากการปิดภาคการศึกษาในประเทศจีน<br />

และวันหยุดของชาวมุสลิมในวันตรุษอีฏิ้ลฟิตริ<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรป มีจานวน 1,039,243 คน ขยายตัว<br />

ร้อยละ 10.67 เพิ่มขึ้นจากเดิมที่ขยายตัวร้อยละ 8.56 ในไตรมาส<br />

ก่อน ผลจากการฟื้นตัวของนักท่องเที่ยวรัสเซีย และเยอรมนี<br />

ขยายตัวกว่าร้อยละ 37.83 และ 13.05 จากช่วงเวลาเดียวกันของ<br />

ปีที่ผ่านมา นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรปบางประเทศมีจานวน<br />

ลดลงจากช่วงเวลาเดียวกันของปีที ่ผ่านมาเป็นผลจากการแข่งขัน<br />

ฟุตบอลแห่งชาติยุโรปในเดือนมิถุนายน ได้แก่ สวิตเซอร์แลนด์<br />

(-5.69%) รวมถึงนักท่องเที่ยวเบลเยี่ยมที่ยังหดตัวอย่างต่อเนื่อง<br />

ในไตรมาสนี้ (-2.84%) หลังเหตุระเบิดในกรุงบรัสเซลส์ อย่างไรก็ตาม<br />

คาดว่าในไตรมาสที่ 3 การขยายตัวของนักท่องเที่ยวจะปรับตัวดีขึ้น<br />

ตามการเติบโตของนักท่องเที่ยวตลาดหลัก<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื่นๆ มีจานวน 1,116,928 คน ขยายตัว<br />

ร้อยละ 6.21 ลดลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 8.85 ตามการ<br />

ขยายตัวของนักท่องเที่ยวเกือบทุกภูมิภาค เช่น สหรัฐอเมริกา และ<br />

ออสเตรเลีย ขณะที่นักท่องเที่ยว อาร์เจนติน่า บราซิล มีการขยายตัว<br />

ในอัตราที่สูง นักท่องเที่ยวภูมิภาคอื่นคาดว่ามีแนวโน้มการขยาย<br />

ตัวในไตรมาสที่ 3 ดีขึ้น ตามทิศทางการเติบโตจาก สหรัฐอเมริกา<br />

ตะวันออกกลาง อินเดีย<br />

12 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559P<br />

หนวย : จำนวนนักทองเที่ยว (คน)<br />

10,000,000<br />

9,000,000<br />

8,000,000<br />

7,000,000<br />

6,000,000<br />

5,000,000<br />

4,000,000<br />

3,000,000<br />

2,000,000<br />

1,000,000<br />

0<br />

Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2<br />

Q3 Q4 Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

East Asia<br />

Europe<br />

Other<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2557 ถึง ไตรมาส 2/2559P<br />

หนวย : % การเปลี่ยนแปลงจำนวน<br />

นักทองเที่ยว (Y-o-Y)<br />

+70.00<br />

+60.00<br />

+50.00<br />

+40.00<br />

+30.00<br />

+20.00<br />

+10.00<br />

+0.00<br />

-10.00<br />

-20.00<br />

-30.00<br />

Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2<br />

Q3<br />

Q4<br />

Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

13


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

ร้อยละของจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559P<br />

ไตรมาสที่ 1 ป 2557 ไตรมาสที่ 1 ป 2558 ไตรมาสที่ 1 ป 2559<br />

15.01% 13.45% 12.68%<br />

East Asia<br />

East Asia<br />

49.85% Europe<br />

24.85% 61.90% Europe<br />

23.18% 64.14%<br />

35.14%<br />

Other<br />

Other<br />

East Asia<br />

Europe<br />

Other<br />

ไตรมาสที่ 2 ป 2557 ไตรมาสที่ 2 ป 2558 ไตรมาสที่ 2 ป 2559<br />

18.89%<br />

East Asia<br />

15.07%<br />

20.25% 60.86% Europe<br />

13.46%<br />

71.47%<br />

Other<br />

East Asia<br />

Europe<br />

Other<br />

13.76%<br />

14.79%<br />

71.45%<br />

East Asia<br />

Europe<br />

Other<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

วันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ไตรมาส 2/2559P<br />

วันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมายังประเทศไทย<br />

ในช่วงไตรมาส 2 ปี 2559 มีจานวน 9.54 วัน ใกล้เคียงกับช่วงเวลา<br />

เดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยนักท่องเที่ยวภูมิภาคยุโรปพักยาวนาน<br />

จานวนวันพักเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559P<br />

ที่สุด 18.20 วัน นักท่องเที่ยวภูมิภาคเอเชียตะวันออกพัก 7.32 วัน<br />

และนักท่องเที่ยวภูมิภาคอื่นๆ พัก 12.20 วัน<br />

หนวย : จำนวนวันพักเฉลี่ย (วัน)<br />

20.00<br />

18.00<br />

16.00<br />

14.00<br />

12.00<br />

10.00<br />

8.00<br />

6.00<br />

4.00<br />

2.00<br />

0.00<br />

Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2<br />

Q3 Q4 Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

East Asia<br />

Europe<br />

Other<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

14 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ไตรมาส 2/2559P<br />

ไตรมาส 2/2559 นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ<br />

5,037.03 บาท/วัน ขยายตัวร้อยละ 4.05 ลดลงจากไตรมาสก่อน<br />

ที่ขยายตัวร้อยละ 6.41<br />

ภูมิภาคยุโรป นักท่องเที่ยวมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ 4,060.20 บาท/วัน<br />

ขยายตัวร้อยละ 2.34 ปรับตัวลดลงจากเดิมที่ขยายตัวร้อยละ 4.47<br />

ในไตรมาสก่อน<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออก นักท่องเที่ยวมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ<br />

5,456.30 บาท/วัน ขยายตัวร้อยละ 5.56 ลดลงจากไตรมาสก่อน<br />

ที่ขยายตัวร้อยละ 6.58<br />

ภูมิภาคอื่นๆ นักท่องเที่ยวมีค่าใช้จ่ายเฉลี่ยคนละ 5,100.26 บาท/วัน<br />

ขยายตัวร้อยละ 1.51 ลดลงจากไตรมาสก่อน ที่ขยายตัวร้อยละ 6.07<br />

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาตจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559 P<br />

หนวย : คาใชจายเฉลี่ย (บาท/คน/วัน)<br />

7,000.00<br />

6,000.00<br />

5,000.00<br />

4,000.00<br />

3,000.00<br />

2,000.00<br />

1,000.00<br />

0.00<br />

Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2<br />

Q3<br />

Q4<br />

Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559 P<br />

หนวย : % การเปลี่ยนแปลงของ<br />

คาใชจายเฉลี่ย (Y-o-Y)<br />

+10.00<br />

+8.00<br />

+6.00<br />

+4.00<br />

+2.00<br />

+0.00<br />

-2.00<br />

-4.00<br />

Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2<br />

Q3<br />

Q4<br />

Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

East Asia<br />

Other<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

15


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ไตรมาส 2/2559P<br />

การใช้จ่ายในด้านต่างๆ ของนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางมายัง<br />

ประเทศไทยในช่วงไตรมาส 2/2559 ก่อให้เกิดรายได้ด้านการ<br />

ท่องเที่ยวแก่ประเทศไทยคิดเป็นมูลค่า 362,933.27 ล้านบาท<br />

ขยายตัวร้อยละ 13.20 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีก่อนหน้า<br />

ลดลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 20.15<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคเอเชียตะวันออก สร้างรายได้<br />

215,574.54 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 15.01 จากช่วงเวลาเดียวกัน<br />

ของปีที่ผ่านมา ลดลงจากไตรมาสก่อนที่ขยายตัวร้อยละ 27.69<br />

โดยนักท่องเที่ยวที่สร้างรายได้สูงสุด 3 อันดับแรก คือ จีน มาเลเซีย<br />

และเกาหลี<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคยุโรป สร้างรายได้ 76,794.04 ล้านบาท<br />

ขยายตัวร้อยละ 13.30 เพิ่มขึ้นเล็กน้อยจากไตรมาสก่อนนักท่องเที่ยว<br />

ที่สร้างรายได้สูงสุด 3 อันดับแรก คือ สหราชอาณาจักร รัสเซีย<br />

และเยอรมนี<br />

นักท่องเที่ยวจากภูมิภาคอื ่นๆ สร้างรายได้ 70,564.69 ล้านบาท<br />

ขยายตัวร้อยละ 7.91 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ชะลอตัว<br />

จากไตรมาสก่อน ที่ขยายตัวร้อยละ 13.23 นักท่องเที่ยวที่สร้าง<br />

รายได้สูงสุด 3 อันดับแรก คือ อินเดีย สหรัฐอเมริกา และ<br />

ออสเตรเลีย<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559P<br />

500,000.00<br />

450,000.00<br />

400,000.00<br />

350,000.00<br />

300,000.00<br />

250,000.00<br />

200,000.00<br />

150,000.00<br />

100,000.00<br />

50,000.00<br />

0.00<br />

หนวย : รายไดจากนักทองเที่ยว<br />

(ลานบาท)<br />

Q1<br />

2557<br />

East Asia<br />

Other<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

Q2<br />

Q3 Q4 Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

16 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติจากภูมิภาคต่างๆ<br />

ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559<br />

หนวย : % การเปลี่ยนแปลงของ<br />

รายได (Y-o-Y)<br />

+100.00<br />

+80.00<br />

+60.00<br />

+40.00<br />

+20.00<br />

+0.00<br />

-20.00<br />

-40.00<br />

Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2<br />

Q3<br />

Q4<br />

Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

East Asia<br />

Other<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

การท่องเที่ยวภายในประเทศของไทย<br />

ไตรมาสที่ 2 ปี 2559 ขยายตัวต่อเนื่อง<br />

การท่องเที่ยวภายในประเทศในไตรมาสที่ 2 ปี 2559 ขยายตัว<br />

ต่อเนื่องจากช่วงที่ผ่านมา โดยสถานพักแรมโดยรวมมีอัตราการ<br />

เข้าพักเฉลี่ยเท่ากับร้อยละ 65.61 ขยายตัวร้อยละ 2.12 จากช่วงเวลา<br />

เดียวกันของปีที่ผ่านมา และก่อให้เกิดรายได้ 571,681.93 ล้านบาท<br />

ขยายตัวร้อยละ 11.89 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

โดยปัจจัยที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวให้ขยายตัว คือ การเผยแพร่สื่อ<br />

ประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย<br />

และการเพิ่มวันหยุดพิเศษต่อเนื่องในเดือนพฤษภาคม<br />

อัตราการเข้าพักของสถานพักแรม ไตรมาส<br />

2/2559P<br />

อัตราการเข้าพักของสถานพักแรมในช่วงไตรมาส 2/2559 โดยรวม<br />

เท่ากับร้อยละ 65.61 ภูมิภาคที่มีอัตราการเข้าพักสูงสุด 3 อันดับ<br />

แรก คือ กรุงเทพฯ ภาคตะวันออก และภาคใต้ และเมื่อเปรียบ<br />

เทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา พบว่า อัตราการเข้าพัก<br />

เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.12 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา ลดลง<br />

จากไตรมาสก่อนหน้าที ่ขยายตัวร้อยละ 4.22 ภูมิภาคที่อัตราการ<br />

เข้าพักแรมขยายตัวสูงสุด 3 อันดับแรก คือ ภาคกลาง ภาคเหนือ<br />

และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (ขยายตัวร้อยละ 3.58 ร้อยละ 3.54<br />

และร้อยละ 2.72 ตามลาดับ)<br />

อัตราการเข้าพักของสถานพักแรมรายภูมิภาค ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559P<br />

หนวย : อัตราการเขาพักเฉลี่ย (รอยละ)<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

Q1<br />

2557<br />

กรุงเทพฯ<br />

ภาคตะวันออก<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

Europe<br />

Grand Total<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558P<br />

ภาคเหนือ<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ภาคตะวันตก<br />

ภาคใต<br />

Q2<br />

ภาคกลาง<br />

รวม<br />

Q3<br />

Q4<br />

Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

17


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศ ไตรมาส 2/2559P<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศ ไตรมาส 2/2559 มีมูลค่า<br />

เท่ากับ 208,748.66 ล้านบาท โดยภูมิภาคที่มีรายได้จากการท่องเที่ยว<br />

ภายในประเทศสูงสุด 3 อันดับแรก คือ กรุงเทพฯ 78,156.76<br />

ล้านบาท ภาคใต้ 37,949.91 ล้านบาท และภาคเหนือ 25,504.28<br />

ล้านบาท ตามลาดับ เมื่อเปรียบเทียบกับช่วงเวลาเดียวกันของปี<br />

ที่ผ่านมา พบว่า ขยายตัวร้อยละ 8.65 เพิ่มขึ้นจากไตรมาสก่อน<br />

หน้าที่ขยายตัวร้อยละ 8.34 ทั้งนี้สภาพอากาศที่ร้อนเป็นอุปสรรค<br />

และส่งผลกระทบต่อความพึงพอใจของนักท่องเที่ยว อย่างไรก็ตาม<br />

การเติบโตของรายได้จากการท่องเที่ยวส่วนหนึ่งเป็นผลจากการ<br />

เผยแพร่สื่อประชาสัมพันธ์ของการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และ<br />

การเพิ่มวันหยุดพิเศษต่อเนื่องในเดือนพฤษภาคม มีผลช่วยกระตุ้น<br />

การท่องเที ่ยวภายในประเทศให้เติบโตขึ ้น โดยจากการสารวจของ<br />

กรมการท่องเที่ยวพบว่า ในระหว่างวันที่ 5-9 พฤษภาคม 2559 มี<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศ 11,400 ล้านบาท เพิ่มขึ้น<br />

ร้อยละ 5 จากการท่องเที่ยวในช่วงปกติ<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศรายภูมิภาค ไตรมาส 1/2557 ถึงไตรมาส 2/2559P<br />

หนวย : รายไดจากการทองเที่ยว (ลานบาท)<br />

250,000.00<br />

200,000.00<br />

150,000.00<br />

100,000.00<br />

50,000.00<br />

0.00<br />

Q1<br />

2557<br />

Q2 Q3 Q4 Q1<br />

2558<br />

Q2<br />

Q3<br />

Q4<br />

Q1<br />

2559P<br />

Q2<br />

กรุงเทพฯ<br />

ภาคตะวันออก<br />

ภาคเหนือ<br />

ภาคตะวันตก<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

ภาคใต<br />

ภาคกลาง<br />

รวม<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

แรงงานภาคการท่องเที่ยว<br />

แรงงานภาคการท่องเที่ยวในไตรมาสที่ 2 ปี 2559 มีจานวน<br />

38,517,261 คน คิดเป็นร้อยละ 11.14 ของจานวนแรงงานทั้งหมด<br />

ใกล้เคียงกับไตรมาสก่อนที่เท่ากับร้อยละ 11.06 โดยประเภทของ<br />

ธุรกิจที่มีสัดส่วนแรงงานภาคการท่องเที่ยวสูงสุด 3 อันดับแรก คือ<br />

การบริการอาหารและเครื่องดื่ม การขนส่งโดยสาร และสถานพักแรม<br />

โดยมีสัดส่วนเท่ากับร้อยละ 50.62 ร้อยละ 17.24 และร้อยละ 12.23<br />

ตามลาดับ ซึ่งมีสัดส่วนรวมกันประมาณร้อยละ 80 ขณะที่ภาค<br />

บริการอื่น ๆ มีสัดส่วนแรงงานเฉลี่ยเพียงร้อยละ 4 เท่านั้น<br />

18 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


สรุปสถานการณ์การท่องเที่ยวของไทย<br />

สัดส่วนจานวนแรงงานภาคการท่องเที่ยวต่อจานวนแรงงานทั้งหมด<br />

ปี 2557 ถึงไตรมาส 2/2559P<br />

หนวย : รอยละตอจำนวน<br />

นักทองเที่ยวทั้งหมด<br />

สัดสวนจำนวนแรงงาน<br />

100%<br />

90%<br />

80%<br />

70%<br />

60%<br />

50%<br />

40%<br />

30%<br />

20%<br />

10%<br />

0%<br />

89.26%<br />

10.74%<br />

89.13%<br />

10.87%<br />

88.94%<br />

11.06%<br />

88.86%<br />

11.14%<br />

2557<br />

2558<br />

ไตรมาสที่ 1/2559<br />

ไตรมาสที่ 2/2559<br />

ภาคการทองเที่ยว<br />

ภาคธุรกิจอื่นๆ<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

สัดส่วนแรงงานภาคการท่องเที่ยวจาแนกตามบริการ ไตรมาส 2/2559P<br />

สัดสวนจำนวนแรงงานภาคการทองเที่ยว<br />

6.08%<br />

4.26%<br />

12.23%<br />

สถานพักแรม<br />

6.47%<br />

การบรการอาหารและเคร่องดี่ม<br />

1.31%<br />

1.79%<br />

การขนสงโดยสาร<br />

ตัวแทนบรษัทนำเที่ยว<br />

การแสดง การละเลนพ้นบาน ศิลปวัฒนธรรม<br />

บรการกีฬาและนันทนาการ<br />

17.24%<br />

50.62%<br />

การขายสินคาเพ่อการทองเที่ยว<br />

บรการอื่นๆ ดานการทองเที่ยว<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

การท่องเที่ยวไทยในไตรมาส 2/2559 มีจานวนนักท่องเที่ยวและ<br />

รายได้เพิ่มขึ้นแต่เป็นการเพิ่มในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

เป็นผลมาจากการลดลงของการเติบโตนักท่องเที่ยวจีนในไตรมาส 2<br />

ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 30 ของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติทั้งหมด จึงเป็น<br />

จุดเสี่ยงของการท่องเที่ยวไทยที ่มีนักท่องเที่ยวจากตลาดใดตลาด<br />

หนึ่งมากเกินไป ดังนั้น การกระจายนักท่องเที่ยวไปยังตลาดอื่น<br />

เช่น ยุโรป จึงมีความสาคัญในการลดความเสี่ยงดังกล่าว นอกจากนี้<br />

การบริหารจัดการการเปลี่ยนแปลงนักท่องเที่ยวจีนจึงเป็นประเด็น<br />

ที่ควรคานึงถึงเพื่อป้องกันผลกระทบต่อภาพรวมการท่องเที่ยว<br />

ของไทย สาหรับการท่องเที่ยวภายในประเทศเติบโตต่อเนื่อง<br />

จากช่วงก่อนหน้า โดยเฉพาะรายได้ที่ขยายตัวเพิ่มขึ้น ซึ่งส่วนหนึ่ง<br />

เป็นผลจากการดาเนินมาตรการกระตุ้นด้านการท่องเที่ยวของ<br />

ภาครัฐทั้งด้านการประชาสัมพันธ์ และการเพิ่มวันหยุดพิเศษ<br />

ต่อเนื่อง นอกจากนี้ ในไตรมาสที่ 2/2559 แรงงานภาคการท่องเที่ยว<br />

มีสัดส่วนประมาณร้อยละ 11 ของจานวนแรงงานทั้งหมด และ<br />

ส่วนใหญ่เป็นแรงงานในธุรกิจการบริหารอาหารและเครื่องดื่ม<br />

การขนส่งโดยสาร และสถานพักแรม<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

19


สรุปสถานการณ<br />

ทองเที่ยวไทย<br />

ป 2559p<br />

ไตรมาสที่ 2 ¨Ó¹Ç¹áÅÐÃÒÂä´Œ¨Ò¡¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇ äµÃÁÒÊ·Õè 2<br />

»‚ 2556 - 2559p<br />

2556 2557<br />

2558<br />

2559<br />

+24.31%<br />

6.06<br />

Ōҹ¤¹<br />

+28.49%<br />

0.26<br />

ŌҹŌҹºÒ·<br />

-15.94<br />

5.10<br />

Ōҹ¤¹<br />

-14.07<br />

0.22<br />

ŌҹŌҹºÒ·<br />

+36.92%<br />

6.98<br />

Ōҹ¤¹<br />

+42.53%<br />

0.32<br />

ŌҹŌҹºÒ·<br />

+8.23%<br />

7.55<br />

Ōҹ¤¹<br />

+13.20%<br />

0.36<br />

ŌҹŌҹºÒ·<br />

¨Ó¹Ç¹¹Ñ¡·‹Í§à·ÕèÂÇ<br />

ÃÒÂä´Œ¨Ò¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇ<br />

%CH (Y-O-Y)<br />

ÊÒ¹¡Òó¹Ñ¡·‹Í§à·ÕèÂÇ äµÃÁÒÊ·Õè 2 »‚ 2559p<br />

East Asia<br />

Europe<br />

Others<br />

¨Ó¹Ç¹¹Ñ¡·‹Í§à·ÕèÂÇ Çѹ¾Ñ¡à©ÅÕè ¤‹Ò㪌¨‹ÒÂà©ÅÕè µ‹Í¤¹/Çѹ ÊÌҧÃÒÂä´Œ<br />

+8.20%<br />

+0.05 Çѹ<br />

+5.56%<br />

+15.01%<br />

5.39 7.32 5,456.30 2.15<br />

Ōҹ¤¹<br />

Çѹ<br />

ºÒ·/Çѹ<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

+10.67%<br />

1.03<br />

Ōҹ¤¹<br />

+6.21%<br />

1.11<br />

Ōҹ¤¹<br />

-0.01 Çѹ<br />

18.20<br />

Çѹ<br />

+0.01 Çѹ<br />

12.20<br />

Çѹ<br />

+2.43%<br />

4,060.20<br />

ºÒ·/Çѹ<br />

+1.51%<br />

5,100.26<br />

ºÒ·/Çѹ<br />

+13.30%<br />

0.76<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

+7.91%<br />

0.70<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

Grand total<br />

+8.23%<br />

7.55<br />

Ōҹ¤¹<br />

+0.05 Çѹ<br />

9.54<br />

Çѹ<br />

+4.05%<br />

5,037.03<br />

ºÒ·/Çѹ<br />

+13.20%<br />

3.62<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

·ÕèÁÒ : ¡ÃÁ¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇ<br />

%CH (Y-O-Y)


¨Ó¹Ç¹¹Ñ¡·‹Í§à·ÕèÂǵÒÁÊÑÞªÒµÔ ÃÒÂä´Œ¨Ò¡¹Ñ¡·‹Í§à·ÕèÂǵÒÁÊÑÞªÒµÔ<br />

China<br />

+1.01%<br />

Singapore<br />

0.24<br />

Ōҹ¤¹<br />

1<br />

+13.38%<br />

2.27<br />

Ōҹ¤¹<br />

+11.40%<br />

India<br />

0.33<br />

Ōҹ¤¹<br />

4 +0.90% 5<br />

+11.91% 6<br />

7 8 9 10<br />

+1.58%<br />

Vietnam<br />

0.23<br />

Ōҹ¤¹<br />

2<br />

Malaysia<br />

-1.03%<br />

0.85<br />

Ōҹ¤¹<br />

Japan<br />

0.30<br />

Ōҹ¤¹<br />

USA<br />

0.22<br />

Ōҹ¤¹<br />

Laos<br />

3<br />

+13.09%<br />

0.39<br />

Ōҹ¤¹<br />

Korea<br />

0.29<br />

Ōҹ¤¹<br />

+1.94%<br />

+12.88%<br />

United<br />

Kingdom<br />

0.21<br />

Ōҹ¤¹<br />

%CH (Y-O-Y)<br />

China<br />

1<br />

+23.62%<br />

1.14<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

+40.51% 4 +15.25% 5<br />

-0.62% 6<br />

Australia<br />

0.16<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

+15.06%<br />

USA<br />

0.15<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

2<br />

United Kingdom<br />

+3.93%<br />

0.16<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

7 8 9 10<br />

+14.10%<br />

Japan<br />

0.13<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

India<br />

0.16<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

Korea<br />

0.12<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

3<br />

Malaysia<br />

+0.97%<br />

0.21<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

Russia<br />

0.15<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

+15.24%<br />

+2.81%<br />

Singapore<br />

0.09<br />

áʹŌҹºÒ·<br />

%CH (Y-O-Y)<br />

¨Ó¹Ç¹¹Ñ¡·‹Í§à·ÕèÂÇÍÒà«Õ¹¢Í§ä·Â »‚ 2559<br />

(Á.¤.-ÁÔ.Â.)<br />

646,833 คน<br />

+10.36%<br />

672,561คน<br />

+19.26%<br />

+12.14%<br />

+19.35%<br />

+6.70%<br />

717,634 คน<br />

712,668 คน<br />

741,764 คน722,209 คน<br />

+3.17%<br />

ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย.<br />

%CH (Y-O-Y)<br />

·ÕèÁÒ : ¡ÃÁ¡Ò÷‹Í§à·ÕèÂÇ


แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว<br />

แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยวไตรมาสที่ 3<br />

ปี 2559 และตลอดปี 2559<br />

การท่องเที่ยวไทยในไตรมาสที่ 3 ปี 2559 คาดว่าจะเติบโตต่อเนื่องจากไตรมาสที่ผ่านมา โดยรายได้<br />

จากการท่องเที่ยวระหว่างประเทศขยายตัวร้อยละ 11 และรายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศขยายตัวร้อยละ 8<br />

ตั ้งแต่ต้นปีที่ผ่านมาไทยมีรายได้จากการท่องเที่ยวทั้งสิ้น<br />

1,383,241.82 ล้านบาท เป็นรายได้จากการท่องเที่ยว<br />

ระหว่างประเทศ 958,614.37 ล้านบาท (1 ม.ค. - 28 ก.ค. 59) และ<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศ 424,627.45 ล้านบาท<br />

(ม.ค. - มิ.ย. 59) นอกจากนี้ การพยากรณ์โดยใช้แบบจาลอง<br />

stochastic simulation ประกอบกับข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญ<br />

ด้านการท่องเที่ยวถึงแนวโน้มในไตรมาส 3 ปี 2559 คาดว่า<br />

ภาคการท่องเที่ยวจะก่อให้เกิดรายได้รวม 597,018.72 ล้านบาท<br />

ขยายตัวประมาณร้อยละ 10 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

โดยมีจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติประมาณ 8 ล้านคน และ<br />

สร้างรายได้ 393,599.15 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 11 จาก<br />

ช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจากการเติบโต<br />

ต่อเนื่องจากไตรมาสก่อนของนักท่องเที่ยวจีน นักท่องเที่ยว<br />

อาเซียน ยุโรป อเมริกา เอเชียใต้ และตะวันออกกลาง<br />

ปัจจัยสาคัญที่ส่งเสริมการเติบโตของนักท่องเที่ยว<br />

ในไตรมาส 3 เป็นผลมาจากสถานการณ์การท่องเที่ยวของโลก<br />

22 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยว<br />

สถาบันการศึกษาในประเทศจีนอยู่ในช่วงปิดภาคเรียน<br />

ราคาตั๋วโดยสารเครื่องบินระหว่างประเทศที่อยู่ในระดับต่า<br />

และการท่องเที่ยวในวันตรุษอีฎิ้ลฟิตริของนักท่องเที่ยวมุสลิม<br />

แนวโน้มสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ คาดว่ามีผู้เดินทาง<br />

36 ล้านคน-ครั้ง และสร้างรายได้ 203,419.57 ล้านบาท ขยาย<br />

ตัวร้อยละ 8 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา เป็นผลมาจาก<br />

กระแสการท่องเที่ยวตามโครงการ 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด<br />

และ12 เมือง ต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

การเพิ่มวันหยุดพิเศษในเดือนกรกฎาคม เพื่อกระตุ้นการท่องเที่ยว<br />

นอกฤดูกาล (low season) โดยการเพิ่มวันหยุดดังกล่าวในช่วง<br />

ที่ผ่านมาพบว่า สามารถกระตุ้นการท่องเที่ยวภายในประเทศ<br />

ให้เพิ่มขึ้นจากช่วงเวลาปกติได้ประมาณร้อยละ 5 - 8 ดังนั้น<br />

จึงคาดว่าในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2559 จะมีรายได้จาก<br />

การท่องเที่ยวรวม 1,848,286.94 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 77 ของ<br />

เป้าหมายรายได้ในปี 2559 เป็นรายได้จากการท่องเที่ยวระหว่าง<br />

ประเทศ 1,220,239.92 ล้านบาท และรายได้จากการท่องเที่ยว<br />

ภายในประเทศ 628,047.02 ล้านบาท<br />

ปัจจัยสาคัญที่ส่งเสริมให้การท่องเที่ยวไทยบรรลุเป้าหมายนั้น คือ<br />

การลดปัจจัยเสี่ยงที่จะมีผลต่อการตัดสินใจในการเดินทางท่องเที่ยว<br />

ของนักท่องเที่ยวไทยและต่างชาติ อาทิ ความไม่มั่นใจในภาวะ<br />

เศรษฐกิจ ภาพลักษณ์ของคนไทยในการปฏิบัติต่อนักท่องเที่ยว<br />

บางกลุ่ม ซึ่งเป็นปัจจัยสาคัญที่สามารถทาให้จานวนนักท่องเที่ยวไทย<br />

และต่างชาติมีจานวนสูงถึง 33 ล้านคนในปีนี้*<br />

* หมายเหตุ ปรับปรุงข้อมูลแนวโน้มจานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติในปี 2559 จากเดิม 32 ล้านคน เป็น 33 ล้านคน<br />

เนื่องจากการพยากรณ์ด้วยแบบจาลองโดยใช้ข้อมูลที่เป็นปัจจุบัน (มิถุนายน 2559) กว่าที่พยากรณ์ในฉบับก่อนหน้า<br />

(เมษายน 2559) ร่วมกับการวิเคราะห์ด้วยปัจจัยเชิงคุณภาพอื่นๆ<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

23


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

12<br />

“โครงการ”<br />

เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

สร้างรายได้3.3 หมื่นล้านบาท ในไตรมาสที่2 ปี 2559<br />

พลัส<br />

สำหรับ การดำเนินการโครงการ 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด และ 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด<br />

พลัส ในไตรมาสที่ 2 ที่ผ่านมา สามารถดึงดูดให้มีผู้ไปเยือน 11.09 ล้านคน และสร้างรายได้<br />

กว่า 33,095 ล้านบาท โดยขยายตัวร้อยละ 6.84 และ 9.34 จากช่วงเวลาเดียวกันของ<br />

ปีที่ผ่านมา ตามลำดับ ในจำนวนนี้เป็นรายได้จาก 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด 17,787 ล้านบาท<br />

ขยายตัวร้อยละ 7.27 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา โดยจังหวัดที่มีรายได้สูงสุด<br />

2 อันดับแรก คือ นครศรีธรรมราช และตราด สำหรับ 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

สร้างรายได้ 15,308 ล้านบาท ขยายตัวร้อยละ 11.85 จากช่วงเวลาเดียวกันของปีที่ผ่านมา<br />

โดยจังหวัดที่มีรายได้สูงสุด 2 อันดับแรก คือ ระยอง และพิษณุโลก (ที่มา: กรมการท่องเที่ยว)<br />

จากการส่งเสริมการท่องเที่ยวใน 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด และ 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด<br />

พลัส ส่งผลให้แหล่งท่องเที่ยวใน 24 จังหวัดเป็นที่รู้จักและเกิดการรับรู้อย่างต่อเนื่อง<br />

โดยเฉพาะแหล่งท่องเที่ยวรองภายในจังหวัดเป็นที่รู้จักมากขึ้น มีการนำเสนอจุดเด่นทาง<br />

การท่องเที่ยวในพื้นที่ด้านอื่นๆ อาทิ แหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนา/ศรัทธา แหล่งท่องเที่ยว<br />

เชิงกีฬา ใน 12 เมือง ต้องห้ามพลาด พลัส มีการเพิ่มขึ้นของนักทัศนาจรที่มากกว่า<br />

นักท่องเที่ยวที่พักค้างคืน ผลจากข้อจำกัดการให้บริการด้านการท่องเที่ยวที่ไม่ครบวงจร<br />

24 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

•12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยว 12 เมือง ต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

ไตรมาสที่2 ปี 2559<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

1 จ.ลำปาง<br />

“เมืองที่ไม่หมุนตามกาลเวลา”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

2<br />

จ.ลำพูน<br />

“เที่ยวเมืองเก่ากลิ่นอาย<br />

ของวันวาน”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+9.87% จำนวน +12.68% รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่องในอัตรา<br />

ที่สูงกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• หมอกควันจากไฟป่า/อากาศร้อนจัด<br />

เป็นอุปสรรคต่อการท่องเที่ยว<br />

ลำปาง<br />

••••<br />

ลำพูน<br />

1<br />

+7.12 จำนวน +10.24% รายได้<br />

โอกาส<br />

• การท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่องในอัตรา<br />

ที่สูงกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• ผู้มาเยือนเพิ่มขึ้นแต่ส่วนใหญ่เป็น<br />

นักทัศนาจร<br />

• หมอกควันจากไฟป่า/อากาศร้อนจัด<br />

2<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

3<br />

จ.น่าน<br />

“กระซิบรักเสมอดาว”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

4<br />

จ.แพร่<br />

“เที่ยวด้วยตัวเองแบบช้าๆ<br />

ดื่มด่ำรายละเอียด”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+1.78 % จำนวน +6.42 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อนโดย<br />

มีชาวจีนมาท่องเที่ยวเพิ่มขึ้น<br />

ข้อจำกัด<br />

• ขาดรถสาธารณะเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยว<br />

นอกตัวเมือง<br />

• ที่จอดรถในตัวเมืองไม่เพียงพอ<br />

น่าน<br />

••••<br />

แพร่<br />

3<br />

4<br />

+4.52 % จำนวน +6.66 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน เป็นผล<br />

มาจากการเชื่อมโยงกับจังหวัดน่าน<br />

ข้อจำกัด<br />

• ขาดรถสาธารณะสู่แหล่งท่องเที่ยว<br />

• ขาดบริษัทนำเที่ยวและ มัคคุเทศก์<br />

ท้องถิ่น<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

25


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

5 จ.เพชรบูรณ์<br />

“ภูดอกไม้สายหมอก”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+4.01 % จำนวน +8.36 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• การเพิ่มขึ้นของรายได้น้อยกว่ า<br />

ไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• หมอกควันจากไฟป่า/อากาศร้อนจัด<br />

• ขาดกิจกรรมส่งเสริมนอกฤดูกาล<br />

ท่องเที่ยว<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

7 จ.เลย<br />

“เย็นสุด...สุขที่เลย”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

เพชรบูรณ์<br />

••••<br />

5<br />

พิษณุโลก<br />

6<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

6 จ.พิษณุโลก<br />

“เที่ยวธรรมชาติสวยงาม<br />

ภูเขา ดอกไม้สายหมอก”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+4.89 % จำนวน +8.18 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน เป็นผล<br />

จากการเชื่อมโยงนักท่องเที่ยว<br />

จากจังหวัดเพชรบูรณ์<br />

ข้อจำกัด<br />

• มีผู้มาเยือนมากขึ้นแต่ส่วนใหญ่เป็น<br />

นักทัศนาจร<br />

• หมอกควันจากไฟป่า<br />

• ชุมชนมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรม<br />

ค่อนข้างน้อย<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

8 จ.ชัยภูมิ<br />

“เที่ยวทางธรรมชาติสวยงาม<br />

UNSEEN และ ADVENTURE”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+1.50 % จำนวน +4.17 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• อากาศร้อนจัด<br />

• ป้ายบอกทางสู่แหล่งท่องเที่ยวไม่เพียงพอ<br />

เลย<br />

••••<br />

ชัยภูมิ<br />

7<br />

+5.35 % จำนวน +4.66 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• ผู้เยี่ยมเยือนเพิ่มขึ้นจากวันหยุด<br />

รายได้เพิ่มขึ้นน้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

8<br />

26 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

9 จ.บุรีรัมย์<br />

“เมืองปราสาทสองยุค”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+7.39 % จำนวน +8.67 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่สูงกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• ขาดรถสาธารณะสู่แหล่งท่องเที่ยว<br />

นอกตัวเมือง<br />

บุรีรัมย์<br />

••••<br />

9<br />

สุรินทร์<br />

10<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

10 จ.สุรินทร์<br />

“เที่ยวปราสาทหินโบราณ<br />

และอารยธรรมขอม”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+5.22 % จำนวน +5.77 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่สูงกว่าไตรมาสก่อน ผลจาก<br />

การจัดกิจกรรมด้านการท่องเที่ยว และ<br />

นักท่องเที่ยวจากประเทศเพื่อนบ้าน<br />

ข้อจำกัด<br />

• ขาดรถสาธารณะสู่แหล่งท่องเที่ยว<br />

นอกตัวเมือง<br />

• นักท่องเที่ยวจากประเทศเพื่อนบ้าน<br />

ไม่กระจายสู่แหล่งท่องเที่ยวนอกตัวเมือง<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

11 จ.ราชบุรี<br />

“ชุมชนคนอาร์ต”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+8.70 % จำนวน +12.40 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• การเพิ่มขึ้นของรายได้น้อยกว่า<br />

ไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• อากาศร้อนจัดเป็นอุปสรรคต่อ<br />

การท่องเที่ยว<br />

• นักท่องเที่ยววันธรรมดามีน้อย<br />

ราชบุรี<br />

••••<br />

11<br />

สุพรรณบุรี<br />

12<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

12 จ.สุพรรณบุรี<br />

“เที่ยวชมศิลปะพื้นบ้าน<br />

ศิลปะที่ถูกสร้างขึ้นมาใหม่”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+5.72 % จำนวน +7.07 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• แหล่งท่องเที่ยวมีศักยภาพแต่ขาด<br />

การบริหารจัดการที่ดี<br />

• นักท่องเที่ยวหนาแน่นในช่วงวันหยุด<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

27


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

13 จ.สมุทรสงคราม<br />

“เมืองสายน้ำสามเวลา”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

14 จ.นครปฐม<br />

“เที่ยววิถีชีวิตสายน้ำ”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+11.40 % จำนวน +15.70 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• การเพิ่มขึ้นของรายได้น้อยกว่า<br />

ไตรมาสก่อน<br />

• ตลาดร่มหุบเปิดให้ค้าขายหลังปิด<br />

ปรับปรุง<br />

ข้อจำกัด<br />

• การจราจรในแหล่งท่องเที่ยวติดขัด<br />

• ผู้มาเยือนส่วนใหญ่เป็นนักทัศนาจร<br />

สมุทรสงคราม<br />

••••<br />

13<br />

นครปฐม<br />

14<br />

+7.86 % จำนวน +9.17 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• การท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่องในอัตรา<br />

ที่สูงกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• ผู้มาเยือนส่วนใหญ่เป็นนักทัศนาจร<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

15 จ.จันทบุรี<br />

“สวนสวรรค์ร้อยพันธุ์ผลไม้”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+4.91 % จำนวน +7.86 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• อากาศร้อนส่งผลกระทบต่อ<br />

แหล่งท่องเที่ยว และปริมาณผลผลิต<br />

การเกษตร<br />

จันทบุรี<br />

••••<br />

15<br />

สระแก้ว<br />

16<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

16 จ.สระแก้ว<br />

“เที่ยวเชื่อมโยงสู่<br />

อรัญประเทศ”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+4.41 % จำนวน +5.03 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• อากาศร้อนส่งผลกระทบต่อ<br />

แหล่งท่องเที่ยวน้ำตก<br />

28 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

17 จ.ตราด<br />

“เมืองเกาะในฝัน”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+8.89 % จำนวน +13.09 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• ผู้เยี่ยมเยือนเพิ่มขึ้นจากวันหยุด<br />

รายได้เพิ่มขึ้นน้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• อากาศร้อนส่งผลกระทบต่อ<br />

แหล่งท่องเที่ยว และปริมาณผลผลิต<br />

การเกษตร<br />

ตราด<br />

••••<br />

17<br />

ระยอง<br />

18<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

18 จ.ระยอง<br />

“เที่ยวแบบหรูหรา<br />

เที่ยวทางทะเล”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+13.74 % จำนวน +18.64 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• การท่องเที่ยวขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่สูงกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• อากาศร้อนส่งผลกระทบต่อ<br />

แหล่งท่องเที่ยว และปริมาณผลผลิต<br />

การเกษตร<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

19 จ.ชุมพร<br />

“หาดทรายสวยสี่ร้อยลี้”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

20 จ.ระนอง<br />

“เที่ยวทางทะเล/เกาะ<br />

และสวนกาแฟ”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+1.64 % จำนวน +1.56 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

โดยมีกิจกรรมเทศกาลดนตรี<br />

เป็นตัวดึงดูดนักท่องเที่ยว<br />

ข้อจำกัด<br />

• นักท่องเที่ยววันธรรมดามีน้อย<br />

ชุมพร<br />

••••<br />

19<br />

ระนอง<br />

+6.19 % จำนวน +6.52 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• ผู้เยี่ยมเยือนเพิ่มขึ้นจากวันหยุด<br />

รายได้เพิ่มขึ้นน้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• การเข้าสู่ฤดูมรสุม และการปิดอุทยาน<br />

แห่งชาติทางทะเล (ประจำทุกปี)<br />

20<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

29


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

21 จ.ตรัง<br />

“ยุทธจักรแห่งความอร่อย”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

22 จ.สตูล<br />

“เที่ยวด้วยอาหารอร่อย<br />

ขึ้นชื่อของพื้นถิ่น”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+3.61 % จำนวน +4.29 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

โดยมีการสร้างเส้นทางท่องเที่ยวใหม่<br />

นอกฤดูท่องเที่ยว<br />

ข้อจำกัด<br />

• ความไม่พร้อมของระบบสาธารณูปโภค<br />

แหล่งท่องเที่ยวในพื้นที่มีจำกัด<br />

ตรัง<br />

••••<br />

สตูล<br />

21<br />

+2.22 % จำนวน +5.30 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

22<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด<br />

12 เมืองต้องห้าม...พลาด พลัส<br />

23 จ.นครศรีธรรมราช<br />

“นครสองธรรม”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

24 จ.พัทลุง<br />

“เที่ยวแบบธรรมะ<br />

และธรรมชาติ”<br />

จำนวนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือน ไตรมาสที่ 2 ปี 2559<br />

+3.92 % จำนวน +5.07 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• นักท่องเที่ยวมีการขยายตัวต่อเนื่อง<br />

ในอัตราที่น้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• ป้ายบอกทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยว<br />

ไม่เพียงพอ<br />

• การพัฒนาการท่องเที่ยวในหมู่บ้ านคีรีวง<br />

ขาดการบูรณาการระหว่างชุมชน<br />

นครศรีธรรมราช<br />

••••<br />

23<br />

พัทลุง<br />

24<br />

+8.52 % จำนวน +9.48 % รายได้<br />

โอกาส<br />

• ผู้เยี่ยมเยือนเพิ่มขึ้นจากวันหยุด รายได้<br />

เพิ่มขึ้นน้อยกว่าไตรมาสก่อน<br />

ข้อจำกัด<br />

• ผู้มาเยือนส่วนใหญ่เป็นนักทัศนาจร<br />

30 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


12 เมืองต้องห้าม...พลาด + พลัส<br />

อัตราการเข้าพัก จำนวนผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย และรายได้จากชาวไทย ไตรมาสที่ 2 ปี 2559P<br />

จังหวัด อัตราการเข้าพัก จำนวนผู้เยี่ยมเยือน รายได้<br />

OR Δ คน %Δ ล้านบาท %Δ<br />

ลำปาง 52.10 +4.71 213,324 +9.87 635.99 +12.68<br />

ลำพูน 54.46 +5.16 242,733 +7.12 307.32 +10.24<br />

น่าน 51.83 +2.50 185,355 +1.78 613.46 +6.42<br />

แพร่ 41.81 +2.57 144,852 +4.52 251.12 +6.66<br />

เพชรบูรณ์ 49.48 +3.25 465,883 +4.01 1,392.16 +8.36<br />

พิษณุโลก 52.00 +4.66 735,332 +4.89 1,528.91 +8.18<br />

เลย 48.80 +2.89 465,373 +1.50 748.20 +4.17<br />

ชัยภูมิ 48.77 +1.69 345,134 +5.35 361.96 +4.66<br />

บุรีรัมย์ 52.40 +3.63 498,503 +7.39 600.52 +8.67<br />

สุรินทร์ 46.72 +1.91 275,252 +5.22 455.30 +5.77<br />

ราชบุรี 47.08 +3.13 352,476 +8.70 534.64 +12.40<br />

สุพรรณบุรี 78.28 +1.84 454,574 +5.72 920.73 +7.07<br />

สมุทรสงคราม 64.50 +5.26 311,173 +11.40 413.19 +15.70<br />

นครปฐม 68.80 +4.62 659,322 +7.86 815.65 +9.17<br />

จันทบุรี 57.21 +1.33 516,450 +4.91 1,697.37 +7.86<br />

สระแก้ว 55.19 +1.53 399,446 +4.41 1,108.14 +5.03<br />

ตราด 62.88 +3.71 427,322 +8.89 2,921.72 +13.09<br />

ระยอง 73.09 +9.71 1,942,143 +13.74 6,764.56 +18.64<br />

ชุมพร 63.71 +3.23 307,058 +1.64 1,508.30 +1.56<br />

ระนอง 56.50 +5.01 183,588 +6.19 1,074.90 +6.52<br />

ตรัง 64.64 +1.92 367,262 +3.61 1,715.43 +4.29<br />

สตูล 67.63 +5.18 243,870 +2.22 1,074.06 +5.30<br />

นครศรีธรรมราช 63.37 +1.56 1,041,573 +3.92 5,006.10 +5.07<br />

พัทลุง 65.18 +2.49 313,864 +8.52 645.86 +9.48<br />

รวม 60.07 +4.04 11,091,862 +6.84 33,095.59 +9.34<br />

หมายเหตุ : P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

31


แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

แนวโน้มการลงทุน<br />

ในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

ธุรกิจโรงแรมมีการลงทุนเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง โรงแรมขนาดกลาง<br />

และขนาดเล็กเติบโตมากที่สุด<br />

ในปี 2559 มีสถานพักแรมทั้งหมด 16,749 แห่ง โดยภูมิภาคที่<br />

มีจานวนสถานพักแรมมากที่สุด 2 อันดับแรก คือ ภาคใต้ และ<br />

ภาคเหนือ (ร้อยละ 31 และร้อยละ 19 ตามลาดับ) ขณะที่จานวน<br />

ห้องพักในภาคใต้ และกรุงเทพฯ เป็นภูมิภาคที่มีห้องพักมากที่สุด<br />

2 อันดับแรก (ร้อยละ 29 และ 20 ตามลาดับ) แสดงให้เห็นว่า<br />

ภาคใต้มีการลงทุนสถานพักแรมจานวนมาก และกรุงเทพฯ เป็น<br />

จังหวัดที่มีห้องพักมากที่สุด เนื่องจากเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ<br />

และการท่องเที่ยว<br />

แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมมีการเติบโตอย่างต่อเนื่องโดย<br />

สัมพันธ์กับการเติบโตของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทาง<br />

มาท่องเที่ยวในประเทศไทย ที่มีการเติบโตเฉลี่ยร้อยละ 14 ต่อปี<br />

ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมามีนักท่องเที่ยวเข้ามาท่องเที่ยวมากกว่า<br />

ปีละ 24 ล้านคน ทารายได้ให้กับประเทศมากกว่า 4 แสนล้านบาท<br />

การเติบโตของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย ส่วนใหญ่อยู่ในแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวหลัก และมีรูปแบบเปลี่ยนแปลงตามกระแสการท่องเที่ยว<br />

พฤติกรรมนักท่องเที่ยวเปลี่ยนแปลงไป รูปแบบการแข่งขันในตลาด<br />

ออนไลน์ที่มีมากขึ้น ส่งผลให้การลงทุนด้านโรงแรมของไทยเป็น<br />

โรงแรมขนาดเล็ก ลักษณะบูติกโฮเต็ล และโรงแรมราคาประหยัด<br />

(Budget Hotel) มากขึ้น<br />

32 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

จานวนสถานพักแรม และจานวนห้องพักแรม ปี 2559P จาแนกตามภูมิภาค<br />

สัดสวน (รอยละ)<br />

ภาคใต (31.62%)<br />

จำนวนสถานพักแรม<br />

จำนวน (แหง)<br />

5,296<br />

ภาคเหนือ (19.83%)<br />

3,322<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (15.20%)<br />

2,546<br />

ภาคตะวันตก (11.45%)<br />

1,918<br />

ภาคตะวันออก (9.77%)<br />

กรุงเทพ (8.51%)<br />

1,426<br />

1,637<br />

ภาคกลาง (3.62%)<br />

604<br />

สัดสวน (รอยละ)<br />

ภาคใต (29.59%)<br />

จำนวนหองพักแรม<br />

จำนวน (แหง)<br />

200,950<br />

กรุงเทพ (20.03%)<br />

136,043<br />

ภาคตะวันออก (15.08%)<br />

ภาคเหนือ (14.28%)<br />

102,409<br />

96,971<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ (10.82%)<br />

73,483<br />

ภาคตะวันตก (5.95%)<br />

ภาคกลาง (4.25%)<br />

28,861<br />

40,437<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมา ธุรกิจโรงแรมมีการขยายตัวเพิ่มขึ้น จาก<br />

12,895 แห่ง เป็น 16,749 แห่ง เฉลี่ยร้อยละ 14 ต่อปี ทาให้จานวน<br />

ของที่พักเพิ่มขึ้นจาก 550,627 ห้องในปี 2557 เป็น 679,154 ห้อง<br />

ในปี 2559 การเพิ่มขึ้นของผู้ประกอบการส่งผลให้เกิดการแข่งขัน<br />

ที่มากขึ้น ผู้ประกอบการแต่ละกลุ่มใช้กลยุทธ์ต่างๆ ในการพัฒนา<br />

ธุรกิจโรงแรมดังนี้<br />

1) ธุรกิจโรงแรมขนาดใหญ่ที ่เน้นการลงทุนสูง ตั้งอยู่ในแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวทางธรรมชาติ โดยสร้างความประทับใจการบริการ เน้น<br />

ความหรูหรา และเป็นส่วนตัวแก่นักท่องเที่ยว มักกาหนดราคาสูง<br />

เริ่มต้นที่ 10,000 บาท ขึ้นไป เช่น โรงแรมในเครือซิกซ์เซนส์<br />

เซนต์รีจิส เป็นต้น 1<br />

2) โรงแรมกึ่งพรีเมียม เน้นความสะดวกสบาย มีสิ่งอานวย<br />

ความสะดวกราคาเริ่มต้นประมาณ 2,800 บาท เช่น กลุ่ม ไอเอชจี<br />

(IHG) โนโวเทล เป็นต้น 2<br />

1<br />

Hotel Industry Trend: Boutique กับ Budget มันต่างกัน, http://www.oknation.net/blog/kirk/2013/02/16/entry-11<br />

2<br />

อ้างแล้ว 1 และไอเอชจีชูแบรนด์ “โฮเต็ลอินดิโก้” รร.บูติค 5 ดาวดูดนักลงทุน,<br />

น.ส.พ.ประชาชาติธุรกิจ 28 มี.ค. 58<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

33


แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

3) โรงแรมที่เน้นการออกแบบ (Fashion & Boutique) เน้นความ<br />

แตกต่างให้เป็นเอกลักษณ์ และมีราคาตั้งแต่ระดับกลางถึงสูง เช่น<br />

โรงแรมเทนเฟสแบงค๊อก (Tenface Bangkok) ดับเบิลยูโฮเต็ล<br />

(W Hotel)<br />

5) เซอร์วิสอพาร์ทเม้นท์ และเซอร์วิสคอนโดมีเนียม เป็นกลุ่มเติบโต<br />

สูง ที่พักอาศัยที่มีการจัดแบ่งห้องพักชัดเจนสาหรับการเช่ารายวัน<br />

และรายเดือน ส่วนใหญ่จะตั้งอยู่ในกรุงเทพฯ และแหล่งท่องเที่ยว<br />

ที่สาคัญ เช่น หัวหิน พัทยา ภูเก็ต เป็นต้น<br />

4) โรงแรมราคาประหยัด (Budget Hotel) เป็นกลุ่มที่เติบโตได้รับ<br />

ความนิยมตามแนวโน้มภาวะเศรษฐกิจ และพฤติกรรมนักท่องเที่ยว<br />

เน้นห้องพักขนาดเล็ก มีความสะอาด แต่มีสิ่งอานวยความสะดวกที่<br />

จาเป็น ให้บริการราคาไม่เกิน 1,500 บาท<br />

จานวนสถานพักแรม และจานวนห้องพักแรม ปี 2557-2559P<br />

ธุรกิจโรงแรมโดยรวมมีการเติบโตอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้ห้องพักที่<br />

เพิ ่มขึ้นแข่งขันรุนแรงทาให้โรงแรมราคาประหยัดขยายตัวสูง<br />

โดยเฉพาะกรุงเทพฯ โรงแรมขนาดเล็ก และห้องพักต่อ<br />

สถานประกอบการลดลงจาก 43 ห้อง เป็น 41 ห้อง พื้นที่ที่ลดลงมาก<br />

คือ กรุงเทพฯ จากแห่งละ 139 ห้อง เป็นแห่งละ 95 ห้อง<br />

จำนวน (แหง)<br />

จำนวนสถานพักแรม<br />

%CH (Y-o-Y)<br />

18,000<br />

16,000<br />

14,000<br />

12,000<br />

10,000<br />

8,000<br />

6,000<br />

4,000<br />

2,000<br />

16,749<br />

15,469<br />

12,895<br />

+19.96<br />

+4.01<br />

2557 2558 2559<br />

+8.27<br />

+25.00<br />

+20.00<br />

+15.00<br />

+10.00<br />

+5.00<br />

+0.00<br />

จำนวนสถานพักแรม (แหง)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปที่ผานมา<br />

จำนวน (หอง)<br />

800,000<br />

700,000<br />

600,00<br />

500,00<br />

400,00<br />

300,00<br />

200,00<br />

100,00<br />

จำนวนหองพักแรม (หอง)<br />

650,643<br />

+18.16<br />

679,154<br />

550,627<br />

+1.95<br />

2557 2558 2559<br />

+4.38<br />

%CH (Y-o-Y)<br />

+20.00<br />

+18.00<br />

+16.00<br />

+14.00<br />

+12.00<br />

+10.00<br />

+8.00<br />

+6.00<br />

+4.00<br />

+2.00<br />

+0.00<br />

จำนวน (คน)<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงจากปที่ผานมา<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

34 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

SMEs พร้อมปรับกลยุทธ์รับมือการแข่งขันสูงของธุรกิจโรงแรม<br />

ข้อมูลการลงทุนด้านโรงแรมจากศูนย์วิจัยกสิกรไทยพบว่า<br />

ในปี 2559 จานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ และนักท่องเที่ยวชาวไทย<br />

ที่เพิ่มขึ้น จะมีเม็ดเงินสะพัดสู่ธุรกิจโรงแรม 537,000-544,000<br />

ล้านบาท เติบโตร้อยละ 4.7-6.0 คิดเป็นมูลค่า 513,000 ล้านบาท<br />

ผลจากการกระตุ้นการท่องเที่ยวจากภาครัฐซึ่งจะหนุนให้เม็ดเงิน<br />

สะพัดสู่ธุรกิจโรงแรมเติบโตต่อเนื่องจากปีที่ผ่านมา ธุรกิจโรงแรม<br />

รายใหญ่รุกขยายธุรกิจในประเทศควบคู่ในต่างประเทศทั้งในภูมิภาค<br />

อาเซียน และภูมิภาคอื่นๆ ธุรกิจโรงแรมขนาดกลาง และเล็กมุ่งเจาะ<br />

นักท่องเที่ยวที่ต้องการเปิดประสบการณ์ใหม่ๆ มุ่งสร้างเอกลักษณ์<br />

ของโรงแรม<br />

ศูนย์วิจัยกสิกรไทยมองว่า ในปี 2559 ธุรกิจโรงแรมขนาดกลาง<br />

และเล็กต้องปรับกลยุทธ์ดึงดูดนักท่องเที่ยวเพื่อเพิ่มรายได้ และ<br />

การบริหารจัดการอย่างเป็นระบบเพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน<br />

การแข่งขัน ธุรกิจโรงแรมขนาดกลาง และเล็กควรบริหารช่องทาง<br />

การขายควบคู่กันไป เพื่อลดการพึ่งพิงตัวกลางที่ให้บริการจอง<br />

โรงแรมผ่านออนไลน์ โดยมี 6 กลยุทธ์ดึงดูดนักท่องเที่ยวเพื่อเพิ่ม<br />

รายได้ 1. สร้างเอกลักษณ์ เจาะกลุ่มนักท่องเที่ยวระดับบน 2. น าเสนอ<br />

ความคุ้มค่าและบริการครบวงจร 3. บริหารจัดการข้อมูลอย่างเป็น<br />

ระบบ 4. เพิ่มช่องทางการขายออนไลน์ของตัวเอง 5. พัฒนาระบบ<br />

การชาระเงินแบบออนไลน์ 6. วางแผนจองห้องพักล่วงหน้า 3<br />

แผนภาพที่ 3 จานวนห้องพักแรมต่อสถานพักแรม ปี 2557– 2559P จาแนกตามภูมิภาค<br />

จำนวน (หอง/แหง)<br />

160<br />

140<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

43 42 41<br />

139<br />

95 95<br />

57 56 63 49 49 48<br />

จำนวนหองพักแรมตอสถานพักแรม<br />

รวม กรุงเทพฯ ภาคตะวันออก ภาคกลาง ภาคใต<br />

2557 2556<br />

2559<br />

40 39 38 32 31 29 30 30 29 26 26 21<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคเหนือ ภาคตะวันตก<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

โรงแรมโนโวเทล แบงคอก แพลตตินั่ม<br />

3<br />

SMEพร้อมปรับกลยุทธ์รับมือการแข่งขันสูงของธุรกิจโรงแรม , http://www.kasikornbank.com/TH/SME/KSMEKnowledge/KSMEAnalysis/Documents/SMEHotelStrategy2016.pdf<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

35


แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

สถานพักแรมสร้างรายได้ 0.87 ล้านบาทต่อห้องต่อปี โดยสถาน<br />

พักแรมในกรุงเทพฯ สร้างรายได้สูงสุด 1.50 ล้านบาทต่อปี รองลง<br />

มาได้แก่ ภาคใต้ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก ภาคเหนือ ภาคกลาง<br />

และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ สะท้อนอัตราการเข้าพักสูงที่สุด<br />

และสามารถเพิ่มราคาห้องพักได้<br />

รายได้จากห้องพักต่อจานวนห้องพักทั้งหมด ปี 2557 - 2558P<br />

ลานบาท / หอง / ป<br />

1.00<br />

0.80<br />

0.60<br />

รายไดจากหองพักตอจำนวนหองพักทั้งหมด<br />

0.88 0.87<br />

+3.86%<br />

-1.80%<br />

0.40<br />

0.20<br />

0.00<br />

2557 2558<br />

%CH (Y-o-Y)<br />

+25.00<br />

+20.00<br />

+15.00<br />

+10.00<br />

+5.00<br />

+0.00<br />

-5.00<br />

-10.00<br />

-15.00<br />

-20.00<br />

-25.00<br />

+11.72<br />

+5.36<br />

+0.30<br />

อัตราการเปลี่ยนแปลงของรายไดจากหองพักตอจำนวนหองพักทั้งหมด<br />

+3.39<br />

-2.13<br />

+0.47 +0.80<br />

-19.87<br />

ภาคเหนือ กรุงเทพฯ ภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันตก<br />

ภาคใต รวม<br />

-2.09<br />

+21.78<br />

+11.91<br />

+4.60<br />

+8.50<br />

-5.28<br />

+3.86<br />

-1.80<br />

2557 2558<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

ป่าสักทอง รีสอร์ท เชียงราย<br />

36 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


แนวโน้มการลงทุนในธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย<br />

รายได้จากห้องพักต่อจานวนห้องพักทั้งหมด ปี 2558P จาแนกตามภูมิภาค<br />

รายไดจากหองพักตอจำนวนหองพักทั้งหมด<br />

ลานบาท/หอง/ป<br />

กรุงเทพฯ<br />

1.50<br />

ภาคใต<br />

0.93<br />

ภาคตะวันออก<br />

0.58<br />

ภาคตะวันตก<br />

0.70<br />

ภาคเหนือ<br />

ภาคกลาง<br />

0.44<br />

0.44<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ<br />

0.28<br />

หมายเหตุ : P ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่มา : กรมการท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

37


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

(Gastronomic Tourism)<br />

รองศาสตราจารย์ ดร.พรรณี สวนเพลง และคณะ<br />

อาหารเป็นสื่อที่บ่งบอกถึงความเป็นมาของสังคมและวัฒนธรรม<br />

ท้องถิ่นของประเทศต่างๆ ดังนั้นการท่องเที่ยวเชิงอาหาร จึงเป็น<br />

สิ่งหนึ่งที่ช่วยดึงดูดนักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและต่างชาติให้เกิด<br />

การเดินทางท่องเที่ยวสู่ท้องถิ่นต่างๆ อันจะส่งผลท าให้การท่องเที่ยว<br />

ขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ผลของการท่องเที่ยวเชิงอาหารเกิดประโยชน์<br />

ทั้งทางตรงและทางอ้อมต่อเศรษฐกิจการท่องเที่ยว โดยการ<br />

ท่องเที่ยวเชิงอาหารก่อให้เกิดการการกระจายรายได้สู่ชุมชนท้องถิ่น<br />

ที่เป็นแหล่งท่องเที่ยวในทุกกลุ่มคน<br />

การท่องเที่ยวเชิงอาหารในปัจจุบันได้รับการขับเคลื ่อนจากการ<br />

เติบโตของเทคโนโลยี สื่อออนไลน์เป็นส่วนสาคัญในการช่วยส่งเสริม<br />

การท่องเที่ยวเชิงอาหาร โดยเทคโนโลยีสมัยใหม่สร้างความสะดวก<br />

สบายให้กับนักท่องเที่ยวในการค้นหาข้อมูล แหล่งท่องเที่ยว เส้นทาง<br />

ท่องเที่ยวชิมอาหาร แหล่งผลิตอาหารที่เป็นต้นฉบับ ร้านอาหาร<br />

แนะนา เมนูแนะนาท้องถิ่น เป็นต้น โดยการท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

ที่โดดเด่น ระดับโลกเช่น เส้นทางชิมไวน์ ทัวร์ชิมอาหารของญี่ปุ่น<br />

การท่องเที่ยวชิมผลไม้ในสวนภาคตะวันออก หรือแม้แต่การเข้าร่วม<br />

ในเทศกาลกินเจ เป็นต้น<br />

38 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

สถานการณ์ท่องเที่ยวเชิงอาหารของโลก<br />

องค์การท่องเที่ยวโลก (UNWTO) ได้แสดงให้เห็นว่า การท่องเที่ยว<br />

เชิงอาหารสร้างรายได้มีมูลค่าสูงถึง 150,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ<br />

โดยนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่นิยมรูปแบบการท่องเที่ยว<br />

เชิงอาหารมากที ่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ สเปน ฝรั่งเศล อิตาลี<br />

โดยพิจารณาจากค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่มี<br />

การใช้จ่ายด้านอาหารมากที่สุด<br />

กิจกรรมการท่องเที ่ยวเชิงอาหารที่สาคัญ มีรูปแบบกิจกรรมการ<br />

ท่องเที่ยวแบบการเยี ่ยมชมและชิมอาหาร เข้าเรียนทาอาหาร<br />

รับประทานอาหารแบบท้องถิ่น และการซื้อทัวร์ท่องเที่ยวเกี่ยวกับอาหาร<br />

ในปี 2556 - 2557 1 Global Wellness Institute พบว่า การท่องเที่ยว<br />

อาหารทั่วโลก สร้างรายได้ 350,000 - 550,000 ล้านเหรียญสหรัฐฯ<br />

มีมิติการท่องเที ่ยวที่เชื่อมโยงกับการท่องเที่ยวเชิงเกษตร<br />

(Agriculture-tourism) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Eco-tourism)<br />

และการท่องเที่ยวยั่งยืน (Sustainable tourism) และในกิจกรรม<br />

การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความงาม (Wellness tourism) มี<br />

กิจกรรมการทาอาหารเพื่อสุขภาพเป็นกิจกรรมส่วนหนึ่งในการ<br />

ท่องเที่ยว<br />

1<br />

Global Wellness Institute, The Global Wellness Tourism Economy 2013 & 2014<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

39


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

สถานการณ์ท่องเที่ยวเชิงอาหารของไทย<br />

จากข้อมูลกรมการท่องเที่ยว พบว่า ในปี 2558 ประเทศไทยมีรายได้<br />

จากการท่องเที่ยวอาหารจานวน 456,000 ล้านบาท หรือคิดเป็น<br />

ร้อยละ 20 ของรายได้รวมจากการท่องเที่ยวทั ้งหมด โดยเป็น<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวไทยเที่ยวไทย 174,000 ล้านบาท และ<br />

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ 282,000 ล้านบาท<br />

สาหรับนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มีการใช้จ่ายในการท่องเที่ยว<br />

ในรูปแบบของรายได้จากอาหารและเครื่องดื่มระหว่างเดินทางของ<br />

นักท่องเที่ยวมากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่ จีน อังกฤษ และรัสเซีย โดย<br />

ในช่วง 3 ปีที่ผ่านมาพบว่า รายได้จากอาหารและเครื่องดื่มของนัก<br />

ท่องเที่ยวชาวต่างชาติมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 5.74 เป็นผล<br />

มาจากการใช้จ่ายด้านอาหารของนักท่องเที่ยวภูมิภาคโอเชียเนีย<br />

เอเชียตะวันออก และเอเชียใต้<br />

การเพิ่มขึ ้นของรายได้จากการท่องเที่ยวด้านอาหาร รัฐบาล<br />

จึงมีนโยบายส่งเสริมการท่องเที่ยวเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ ทั้งจาก<br />

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่มาท่องเที่ยวในประเทศไทย และ<br />

นักท่องเที่ยวชาวไทยเที่ยวไทย อย่างต่อเนื่อง อาทิ การจัดโครงการ<br />

Amazing Thai Taste เพื่อส่งเสริมและกระตุ้นการท่องเที่ยว<br />

ภายใต้โครงการสานพลังประชารัฐ เพื่อกระจายประโยชน์ทาง<br />

เศรษฐกิจสู่ภาคการเกษตร โดยร่วมกันสร้างภาพลักษณ์ (Brand)<br />

40 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

ของอาหารและผลไม้ไทยให้เป็นสินค้าเกรดดี (Premium Product)<br />

ทั้งส่งเสริมให้ทานผลไม้ไทยตามฤดูกาล ช่วยส่งเสริมให้เกิดการ<br />

กระจายรายได้จากการซื ้ออาหาร/เครื ่องดื่มของนักท่องเที่ยว<br />

ชาวไทยและต่างชาติเพิ่มขึ้นร้อยละ 50 นอกจากนี้ยังได้กาหนด<br />

เป้าหมายอาหารไทย 6 ชนิดของอาหารไทยที่นิยมของนักท่องเที่ยว<br />

คือ ผัดไทย ต้มยากุ้ง แกงเขียวหวาน ส้มตา มัสมั่น และ<br />

ต้มข่าไก่ โดยได้รับการส่งเสริมจากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย<br />

จัดทาภาพยนตร์โฆษณา ซึ่งสะท้อนให้เห็นความสาคัญและเรื่องราว<br />

ของผัดไทย ในมุมมองของการท่องเที่ยวเชิงอาหารเผยแพร่<br />

ภายใต้ Discover Amazing Stories : PADTHAI ซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของ Amazing Thailand Discover Amazing Stories.<br />

https://youtu.be/F7pSQ-0Yf-U<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

41


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

การท่องเที่ยวเชิงอาหารของไทย<br />

อาหารไทยในแต่ละท้องถิ่นมีเอกลักษณ์ที่แตกต่างกันตามวัฒนธรรม<br />

และวัตถุดิบของแต่ละท้องถิ่น จึงทาให้มีรสชาติที่แตกต่างกัน โดย<br />

ในแต่ละจังหวัดมีอาหารแนะนาของแต่ละท้องถิ่น รวมถึงสินค้า<br />

ที่เกี่ยวกับอาหาร เช่น ข้าวซอย ของจังหวัดเชียงใหม่ ไข่เค็ม<br />

ของฝากจังหวัดสุราษฎร์ธานี เป็นต้น<br />

ความเป็นเอกลักษณ์ของอาหารไทยทาให้เป็นที่นิยมของ<br />

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ได้มาลิ้มลอง โดยทางคณะกรรมการ<br />

วัฒนธรรมร่่วมกับรายการ Top Ten ทางสถานีโทรทัศน์ช่อง 9<br />

องค์การสื่อสารมวลชนแห่งประเทศไทย ได้สารวจอาหารไทยที่เป็น<br />

ที่นิยมของชาวต่างประเทศ 10 อันดับ 2 ได้แก่ ต้มยากุ้ง แกงเขียวหวาน<br />

ผัดไทย ผัดกะเพรา แกงเผ็ดเป็ดย่าง ต้มข่าไก่ ยาเนื้อ หมูสะเต๊ะ<br />

ไก่ผัดเม็ดมะม่วง และพะแนงเนื้อ<br />

(Amita Thai Cooking Class)โรงเรียนสอนทาอาหารบลูอีเลเฟ้นท์<br />

(Blue Elephant Cooking School) โรงเรียนสอนทาอาหารไทยสีลม<br />

(Silom Thai Cooking School) Cooking with Poo &Friends<br />

เป็นต้น โดยมีรูปแบบในการกิจกรรมที่หลากหลาย นับตั้งแต่การนา<br />

นักท่องเที่ยวไปเลือกซื้อวัตถุดิบในตลาดสด หรือเลือกใช้วัตถุดิบ<br />

ประเภทพืชสวนครัวจากในไร่ ให้ความรู้เกี่ยวกับวัตถุดิบ สมุนไพร<br />

ไทย สุดท้ายเป็นขั้นตอนในการทาอาหารไทย ซึ่งจากความนิยม<br />

ทาให้เกิดโรงเรียนสอนทาอาหารไทยนั้น จึงคาดการณ์ว่า ธุรกิจ<br />

การสอนทาอาหารไทยสามารถสร้างรายได้ให้แก่ประเทศประมาณ<br />

ปีละกว่า 590 ล้านบาท นอกจากนี้วัตถุดิบ สมุนไพรไทยที่ใช้<br />

ส่วนใหญ่เป็นของผลิตในประเทศ จึงเป็นการช่วยกระจายรายได้<br />

ทางอ้อมสู่ภาคการเกษตร<br />

จากความนิยมของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่ได้ลิ้มลองอาหารไทย<br />

จึงต้องการที่จะเรียนรู้เกี่ยวกับวิธีการทาอาหารไทย เพื่อสามารถ<br />

นากลับไปทารับประทานเองได้เมื่อกลับจากประเทศไทยไปแล้ว<br />

จึงทาให้เกิดโรงเรียนสอนทาอาหาร (Cooking School) ดังนั้น<br />

การเรียนทาอาหารจึงเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมด้าน<br />

การท่องเที่ยว และก่อให้เกิดรายได้ในประเทศ โดยโรงเรียน<br />

สอนทาอาหารไทยมีในเมืองท่องเที่ยวหลัก เช่น เชียงใหม่<br />

ภูเก็ต กรุงเทพฯ ซึ่งได้แก่ โรงเรียนสอนทาอาหารไทยอมิตา<br />

เชียงราย<br />

เชียงใหม่<br />

หนองคาย<br />

จังหวัด<br />

พระนครศรีอยุธยา<br />

สุพรรณบุรี<br />

เพชรบุรี<br />

จันทบุรี<br />

42 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

Website สอนทำอำหำรกับพู่ http://www.cookingwithpoo.com/<br />

อาหาร สินค้า/ของที่ระลึกเกี่ยวกับอาหาร<br />

อาหาร ร้านอาหาร สินค้า ร้านค้า<br />

ร้านแหนมนันทวัน<br />

อาหารจีนยูนนาน<br />

แม่สลองอิ่มอร่อย<br />

อาหารพื้นเมือง<br />

ร้านวรรณภา<br />

ชาจีน<br />

ไร่ชา 101<br />

ชาอู่หลง<br />

ไร่ชา 101<br />

ไร่ชาฉุยฟง<br />

ข้าวซอย<br />

อาหารเวียดนาม<br />

แหนมเนือง เฝอ<br />

ก๋วยเตี๋ยวเรือ<br />

ก๋วยเตี๋ยวไก่<br />

ก๋วยเตี๋ยวเนื้อ<br />

โรตีสายไหม<br />

ผลิตภัณฑ์จากปลา<br />

เช่น ปลาม้า น้าพริกปลาร้า<br />

ขนมสาลี่ และขนมเปี๊ยะ<br />

ข้าวแช่<br />

ขนมหม้อแกง และขนมไทย<br />

หมูชะมวง<br />

ผลไม้ตามฤดูกาล<br />

ข้าวซอยเสมอใจ<br />

ข้าวสอยลาดวนฟ้าฮ่าม<br />

แดงแหนมเนือง<br />

เฝอ ถนนบันเทิงจิต<br />

ก๋วยเตี๋ยวเรือป้าเล็ก<br />

ก๋วยเตี๋ยวไก่ฉีกคุณประนอม<br />

ก๋วยเตี๋ยวเนื้อนายเลี๊ยก<br />

โรตีสายไหมอาบีดีน<br />

สวนอาหารเบญจรงค์<br />

สาลี่แม่ถ้วน<br />

ข้าวแช่แม่นิด<br />

ขนมหม้อแกงแม่กิมไล้<br />

จันทรโภชนา<br />

สุราษฎร์ธานี อาหารทะเล ร้านเพื่อนนักเดินทาง<br />

อาหารพื้นเมือง<br />

แหนมเนือง<br />

หมูยอ<br />

กุนเชียงปลา<br />

โรตีสายไหม<br />

ขนมสาลี่<br />

ข้าวแช่<br />

ขนมหม้อแกง และขนมไทย<br />

หมูชะมวงแช่แข็ง<br />

เส้นจันทร์ผัดไท<br />

อาหารทะเลแปรรูป/ผลไม้แปรรูป<br />

ไข่เค็มไชยา<br />

อาหารทะเลแปรรูป<br />

ร้านวนัสนันท์<br />

ร้านดารงค์<br />

ร้านแดงแหนมเนือง<br />

ร้านหมูยอชื่นจิต<br />

ร้านหมูยอแม่ถ้วน<br />

โรตีสายไหมอาบีดีน<br />

ร้านแม่ชูศรีโรตีสายไหม<br />

ร้านสาลี่แม่ถ้วน<br />

ร้านเอกชัยสาลี่<br />

ร้านข้าวแช่แม่นิด<br />

ร้านขนมหม้อแกงแม่กิมไล้<br />

ร้านบ้านขนมนันทวัน<br />

ร้านแม่วรรณาของฝาก<br />

ร้านอ๋าของฝาก<br />

ร้านต้นตารับ<br />

ร้านจุติมาไข่เค็ม<br />

ร้านไข่เค็มทิพวัลย์<br />

ร้านร้อยเกาะของฝาก OTOP<br />

2<br />

พิมพ์ระวี โรจน์รุ่งสัตย์. (2556). ความสาคัญและกิจกรรมสื่อสารเรียนรู้จากการท่องเที่ยว<br />

“อาหาร” สาหรับนักท่องเที่ยวกลุ่มตลาดผู้หญิงชาวต่างประเทศของไทย.<br />

วารสารการบริการและการท่องเที่ยวไทย. <strong>ฉบับที่</strong> 1, หน้า 61-72.


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

สินค้าที่ระลึกเกี่ยวกับอาหาร<br />

จากความนิยมในอาหารไทยของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติทาให้<br />

นักท่องเที่ยวต้องการเลือกซื้อสินค้าด้านอาหารกลับไปเป็นของฝาก<br />

หรือนาไปใช้ในการประกอบอาหาร ทั้งนี้สินค้าที่นักท่องเที่ยว<br />

ชาวต่างชาตินิยมหาซื้อ ได้แก่ ผลไม้อบแห้ง พริกแห้ง สมุนไพรไทย<br />

อบแห้ง ผลไม้อบแห้ง อุปกรณ์ทาครัว เป็นต้น โดยสินค้าของที่ระลึก<br />

อาทิผลไม้อบแห้ง และนมอัดเม็ด จิตรลดา เป็นที่นิยมของ<br />

นักท่องเที่ยวชาวจีนเป็นอย่างมาก<br />

สาหรับเทศกาลอาหารของไทยมีการจัดขึ้นทุกภูมิภาคทั่วประเทศ<br />

โดยมีเทศกาลที่สาคัญคล้ายคลึงกับงานเทศกาลของต่างประเทศ<br />

เช่น เทศกาลอาหารถิ่นประเทศไทย จังหวัดชลบุรี เทศกาลอาหาร<br />

หัวหิน เทศกาลอาหารสองทะเล สงขลา และเทศกาลผลไม้จันทบุรี<br />

เป็นต้น โดยเทศกาลอาหารนอกจากจัดในพื้นที่แหล่งท่องเที่ยวแล้ว<br />

ยังมีการจัดเทศกาลอาหารไทยในต่างแดนเพื่อส่งเสริมอาหารไทย<br />

ให้เป็นที่รู้จักและเป็นการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหารไทยอีก<br />

ด้วย อาทิ เทศกาลอาหารไทยในญี่ปุ่น เทศกาลอาหาร AEC ที่<br />

โตเกียวและในช่วงปลายปีจะมีการจัดงาน ASEAN Festival<br />

ที่ประเทศเกาหลี<br />

สื่อออนไลน์กับการท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

ในปัจจุบันสื่อออนไลน์มีความสาคัญต่อการท่องเที่ยวด้านอาหาร<br />

เป็นตัวช่วยในการหาข้อมูลไม่ว่าจะป็นร้านแนะนา เมนูท้องถิ่น<br />

เส้นทางร้านอาหาร โปรโมตร้านอาหาร แชร์ผ่าน Instagram และ<br />

Check in ใน Facebbok เป็นต้น สาหรับเว็บไซต์/แอปพลิเคชั่น<br />

แนะนาอาหารที่นิยมในประเทศไทย เช่น Wongnai EDT guide<br />

Aroireviews<br />

เทศกาลอาหาร<br />

การจัดเทศกาลอาหารยังเป็นกิจกรรมหนึ่งที่ช่วยส่งเสริมด้าน<br />

การท่องเที่ยวอีกทางหนึ่ง โดยการจัดเทศกาลอาหารในต่างประเทศ<br />

จะมีการจัดงานขึ้นทุกภูมิภาคทั่วโลก โดยเทศกาลที่สาคัญ ได้แก่<br />

เทศกาลไวน์ เทศกาลอาหารท้องถิ่น เทศกาลอาหาร Street food<br />

เทศกาลผลผลิตทางการเกษตร เช่น งานเทศกาล Napa Truffle<br />

Festival และ งานเทศกาล Beaver Creek & Wine Weekend<br />

ของสหรัฐอเมริกา<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

43


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

การแนะนาอาหารจากคนดัง<br />

จากการที่สื่อออนไลน์ได้มาเข้ามามีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใน<br />

การเดินทางของนักท่องเที่ยว สื่อออนไลน์ เชฟ หรือ บล๊อกเกอร์<br />

ก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่ส่งเสริมกระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

ไปยังแหล่งผลิตอาหารที่ได้รับการแนะนาจากบล๊อกเกอร์ เชฟ หรือ<br />

นักชิมคนดัง โดยผู้มีชื ่อเสียงทางการทาอาหารที ่ได้รับความนิยม<br />

ที่มีการกล่าวถึงอาหารไทย อาทิ เจมี่ โอลิเวอร์ เชฟหนุ่มชื่อดัง<br />

ที่รู้จักกันดีในอังกฤษ ที่ได้รณรงค์ต่อต้านการบริโภคอาหารขยะ<br />

ตามโรงเรียนในอังกฤษ โดยจัดโครงการกระตุ้นให้เด็กในอังกฤษ<br />

เลิกรับประทานอาหารขยะและมารับประทาน “แกงไก่” ของไทย<br />

แทน เนื่องจากเป็นอาหารเพื่อสุขภาพ<br />

มาร์ค วีนส์ ได้นาเสนอเรื่องราวการท่องเที่ยวเชิงอาหาร ว่าตลอด<br />

2 สัปดาห์ในกรุงเทพฯ ได้พบแหล่งท่องเที่ยวด้านอาหารที่น่าสนใจ<br />

มากมาย โดยเฉพาะในเยาวราชที่มีอาหารให้เลือกทานได้ตลอด<br />

ทั้งวัน ทั้งอาหารคาวและอาหารหวาน เช่น กุ้งเผา ข้าวมันไก่<br />

ก๋วยจั๊บ ขนมปังปิ้ง น้าจับเลี้ยง เป็นต้น<br />

หม่อมหลวง ภาสันต์ สวัสดิ์วัตน์ นักชิมซุปตาร์ขั้นเทพของเมืองไทย<br />

ที่ได้ใช้ประสบการณ์จากบิดามาต่อยอดมากขึ้น ได้ให้ค าแนะนาเรื่อง<br />

กินเที่ยวจากร้านอาหารกว่า 5,000 ร้านทั่วโลก และได้แนะนาเมนู<br />

พิเศษที่สร้างสรรค์จากเมนูธรรมดาด้วยการใช้นมข้นจืดคาร์เนชั่น<br />

เป็นส่วนหนึ่งในการประกอบหลัก เช่น เมนูต้มยาทะเลข้นนมแซ่บ<br />

เว่อร์ ที่ใช้นมแทนกะทิให้รสชาติเข้มข้นและดีต่อสุขภาพ<br />

http://waymagazine.org/cooking-with-poo/<br />

ชมพู่ เจ้าของ http://www.cookingwithpoo.com/ คนไทยที่ได้รับ<br />

การยอมรับจากชาวต่างชาติและเชฟชื่อดังอย่างเจมี่ โอลิเวอร์<br />

เป็นผู้นาเสนอการสอนอาหารไทยให้เป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ<br />

โดยมีการทาโครงการ ร่วมกับ Helping Hands ซึ่งเป็น NGO<br />

ในเมืองเมลเบิร์น ออสเตรเลีย โดยรายได้บางส่วนของการสอน<br />

ทาอาหารของชมพู่ นาไปสนับสนุนช่วยเหลือธุรกิจชุมชนในพื้นที่<br />

ชุมชนคลองเตย<br />

44 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

โอกาสและข้อจากัดของการท่องเที่ยวเชิงอาหารไทย<br />

ด้วยความเป็นเอกลักษณ์ของอาหารไทยเป็นที่รู้จักของชาวต่างชาติ<br />

ทาให้เกิดการเดินทางเพื่อการท่องเที่ยวเชิงอาหารซึ่งเป็นส่วนหนึ่ง<br />

ของกิจกรรมในการท่องเที่ยวทั้งนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติและ<br />

ชาวไทย จากความนิยมในปัจจุบันทาให้การท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

ช่วยส่งเสริมให้เศรษฐกิจทางการท่องเที่ยวเกิดการขยายตัวเพิ่ม<br />

มากขึ้น อีกทั้งเป็นการช่วยให้เกิดการกระจายรายได้สู่ท้องถิ่นและ<br />

ภาคการเกษตรจากวัตถุดิบต่างๆ<br />

ในโลกปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงอาหารยังมีเทคโนโลยีเข้ามามีส่วน<br />

ช่วยในการสร้างการรับรู้ให้กับนักท่องเที่ยว ด้วยการใช้สื่อออนไลน์<br />

หรือแอปพลิเคชั่นต่างๆ ในการส่งเสริม แนะนา และสร้างความ<br />

สะดวกสบายให้กับนักท่องเที่ยวในการค้นหาข้อมูลต่างๆ อีกด้วย<br />

ทั้งนี้ การท่องเที่ยวเชิงอาหารของไทยมีโอกาสและข้อจากัด ดังนี้<br />

• ไทยมีต้นทุนเป็นที่รู้จักของโลกทั้งทางด้านเป็นแหล่งวัตถุดิบ<br />

ที่เป็นอู่ข้าวอู่น้าของภูมิภาค วัตถุดิบอาหารไทยที่มีชื่อเสียง<br />

ระดับโลกเช่น ข้าวหอมมะลิ อาหารทะเล และผลไม้ที่เป็นที่นิยม<br />

ของนักท่องเที่ยวและชาวต่างชาติ อาทิ ทุเรียน ที่เป็นที่นิยม<br />

ของนักท่องเที่ยวจีน มังคุดที่เป็นที่ชื่นชอบของคนญี่ปุ่น เป็นต้น<br />

• การส่งเสริมการผลิตแบบเกษตรอินทรีย์สอดคล้องกับกระแส<br />

สนใจอาหารเพื่อสุขภาพ<br />

• ขาดการส่งเสริมร้านอาหารให้ได้มาตรฐานและเป็นที่รู้จัก<br />

• ขาดการเชื่อมโยงให้เป็นมูลค่าและความสาคัญของการท่องเที่ยว<br />

เชิงอาหารในแง่การกระจายรายได้จากการท่องเที่ยว<br />

• ควรมีการจัดเทศกาลอาหารไทยให้เป็นที่รู้จักของนักท่องเที่ยว<br />

อย่างสม่าเสมอ<br />

• ควรมีการศึกษาและวางระบบส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงอาหาร<br />

อย่างจริงจังสอดคล้องกับโครงการส่งเสริมครัวไทยสู่ครัวโลก<br />

• ส่งเสริมการเชื่อมโยงอาหารไทยสู่ ASEAN Culinary<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

45


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

สินียา ไกรวิมล<br />

การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

Religious and Spiritual Tourism<br />

จะดีแค่ไหนถ้าการเดินทางท่องเที่ยวของเราก่อให้เกิดความอิ่มใจ<br />

สุขใจ เบิกบาน ทั้งกาย และใจ เมื่ออยู่ในสถานที่นั้นๆ และภายหลัง<br />

การท่องเที ่ยวเดินทาง ยิ่งไปกว่านั้นยังก่อให้เกิดปัญญาสั่งสมที่<br />

จะพาให้ปลดปล่อยตัวเองจากความทุกข์ได้ การได้เดินทางไปยัง<br />

สถาปัตยกรรมอันสวยงาม ของวัดวาอาราม สถูปเจดีย์ วิหารใน<br />

คริสตศาสนา หรือมัสยิด ศาสนสถานแห่งมุสลิม อยู่ในวงล้อมสีทอง<br />

ของรูปเคารพของศาสนาต่างๆ ก่อให้เกิดความสงบใจ และราลึกถึง<br />

บุญกุศลอันดีงาม การเที่ยวไปอย่างใฝ่รู้ และเข้าใจในสถานที ่ทาง<br />

ศาสนา เชื่อมโยงกับข้อธรรมคาสอนของพระศาสดา เราพบกับ<br />

สิ่งเหล่านี้ได้ กับการท่องเที่ยวในรูปแบบที่เรียกว่า การท่องเที่ยว<br />

เชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ความหมายของการท่องเที่ยวเชิงศาสนา<br />

และจิตใจ<br />

การท่องเที่ยวเชิงจิตวิญญาณ หรือ Spiritual Tourism ว่าเป็นการ<br />

ท่องเที่ยวที่ประกอบไปด้วยศรัทธา เป็นการท่องเที่ยวที่ผู้เดินทาง<br />

อาจไปตามลาพังหรือเป็นกลุ่ม เพื่อไปนมัสการสิ่งที่เคารพในศาสนา<br />

การเดินทางเผยแพร่ศาสนาหรือเดินทางเพื่อความสบายใจ โดยการ<br />

ท่องเที่ยวทางศาสนาที่ใหญ่ที่สุดโดยมีผู้คนจ านวนมาก คือการเดินทาง<br />

ไปยังสถานที่ทาพิธีฮัจญ์ ที่เมืองเมกกะ ประเทศซาอุดิอาระเบีย<br />

นอกจากนี้ได้แก่ การเดินทางไปยังดินแดนศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาต่างๆ<br />

เช่น เยรูซาเล็ม อิสราเอล หรือ พาราณสี อินเดีย เป็นต้น 1<br />

จากการศึกษาของ Asia Society สหรัฐอเมริกา พบว่า<br />

การเดินทางไปยังสถานที่สาคัญทางศาสนาพุทธของพุทธศาสนิกชน<br />

1<br />

https://en.wikipedia.org/wiki/Religious_tourism<br />

46 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

มิใช่เป็นเพียงการไปเยือนเท่านั้น หากเป็นการปฏิบัติธรรมเพื่อ<br />

ปรับเปลี่ยนภายใน โดยได้ยกมหาปรินิพพานสูตรที่ทรงแสดงถึง<br />

สังเวชนียสถานว่าเพื่อ “ได้เห็น และเป็นสิ่งบันดาลใจให้เกิดการ<br />

เรียนรู้ แล้วเปลี่ยนแปลง เป็นกระบวนการภายในที่นาสู่ความตื่น<br />

และตระหนักรู้ผ่านการปฏิบัติมากกว่าเพียงการได้ผ่านพบ ทุกการ<br />

เดินทางท่องเที่ยวทางพระพุทธศาสนา พึงสร้างเสริมให้ผู้เข้าร่วม<br />

ได้ค้นพบความหมาย และคุณค่าที่แท้ของสถานที่ แล้วสามารถนา<br />

มาเพื่อการขับเคลื่อนเพื่อการคลี่คลายภายในตน ไม่ว่าจะเป็นเรื่อง<br />

ของศรัทธา สู่ความเอาจริงเอาจังในการปฏิบัติธรรม ทั้ง ทาน ศีล<br />

สมาธิ จิต และปัญญา” 2<br />

การเดินทางจาริกแสวงบุญ การเดินทางเชิงศาสนา เป็นการเดินทาง<br />

นับตั้งแต่โบราณในพุทธศาสนา เกิดขึ้นมานับแต่ครั้งพุทธกาล โดย<br />

ชาวพุทธจาริกแสวงบุญ เพื่อเดินทางมาเข้าเฝ้าพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

ต่อมาพระอานนท์ทูลถามพระพุทธเจ้าว่า เมื่อพระองค์เสด็จ<br />

ดับขันธปรินิพพานไปแล้วควรไป ณ สถานที่ใดจึงจะจ าเริญใจเหมือน<br />

ได้เฝ้าพระพุทธเจ้า ซึ่งได้ตรัสตอบว่า สถานที่ควรไปเพื่อยังให้เกิด<br />

ความแช่มชื่น เบิกบานใจ เจริญใจ และสังเวชใจ คือ สังเวชนียสถาน<br />

ทั้ง 4 ตาบล (ลุมพินีวัน พุทธคยา สารนาถ กุสินารา)<br />

นายแพทย์บัญชา พงษ์พานิช กรรมการและเลขานุการมูลนิธิ<br />

หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญได้มีมุมมองของการท่องเที่ยว<br />

ทางศาสนา โดยใช้กรณีศึกษาจากท่านพระพุทธทาสภิกขุ ที่<br />

สวนโมกขพลาราม จังหวัดสุราษฏร์ธานี คือ ท่านพุทธทาสมองว่ามนุษย์<br />

ต้องเดินทางเพื่อศึกษาและเรียนรู้ เติมเต็มสิ่งที่มนุษย์ควรจะได้<br />

ให้เกิดประโยชน์ เมื่อมาที่สวนโมกข์แล้วก็สามารถให้มนุษย์เติมก าลังใจ<br />

มีความผ่อนคลาย มีความเบิกบานทั้งทางกาย และทางใจ เป็น<br />

การเที่ยวให้ถึงธรรม คือ เที่ยวแล้วได้แง่คิด ได้ข้อธรรม ได้ซึมซับ<br />

ได้สัมผัส และได้กลับไปใช้ เกิดปัญญาทางพระพุทธศาสนา<br />

มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ ได้ศึกษาถึงเรื่องการ<br />

เดินทางท่องเที่ยวทางศาสนา พึงมีลักษณะสาคัญ คือ เป็นการ<br />

ท่องเที่ยวแบบจาริกในทางที่ดีงามหรือบุญจาริกคือ จาริกที่เป็นบุญ<br />

กล่าวคือ เป็นการจาริกไปพร้อมกับการบาเพ็ญบุญ เพื่อความเจริญ<br />

ทั้งในทาน ศีล สมาธิปัญญา ศรัทธาในพระพุทธศาสนาให้ยิ่งๆ ขึ้น<br />

ทั้งเป็นการเดินทางตามคุณลักษณะแห่งชาวพุทธคือ ใฝ่รู้ใฝ่ศึกษา<br />

และนามาปฏิบัติเพื่อประโยชน์ทั้งของตน และของส่วนรวม สาหรับ<br />

สิ่งที่ควรให้ความสนใจจากการท่องเที่ยวทางธรรมคือ สิ่งที่เกี่ยวเนื่อง<br />

กับประวัติศาสตร์พระพุทธศาสนา และหลักธรรมคาสอน 3<br />

รูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจที่เกิดขึ้นในปัจจุบัน ได้จาแนก<br />

ออกเป็น 2 ลักษณะคือ การเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อความ<br />

สบายใจ และการเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อยกระดับจิตใจ<br />

การเดินทางท่องเที่ยวทางศาสนาเพื่อความสบายใจ เป็นการ<br />

เดินทางท่องเที่ยวที่อยู่ในระดับที่ไม่ลึกซึ้งเท่ากับในอีกรูปแบบหนึ ่ง<br />

ผู้เดินทางท่องเที ่ยวพึงพอใจเพียงแค่ได้ไปถึง ได้สักการะบูชา ใน<br />

สถานที่อันศรัทธา ในบางครั้งมีการเน้นจานวนโดยไปให้ได้จานวน<br />

สถานที่มากๆ อาจจะใช้เวลาภายใน 1 วัน เป็นการท่องเที่ยวที่เน้น<br />

ถึงความสบายใจ การแก้ไขความไม่สบายใจ ขอพรสิ่งศักดิ์สิทธิ์<br />

ความรื่นเริงบรรเทิงในประเพณีวัฒนธรรมทางศาสนา ซึ่งในบางครั้ง<br />

2<br />

มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ .กรอบแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศาสนา<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) โดย ภูมิภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ,2557<br />

3<br />

นายแพทย์บัญชา พงษ์พานิช. กรรมการและเลขานุการมูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ.สัมภาษณ์<br />

,29มิถุนายน 2559<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

47


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

มีศาสนพานิชย์เข้ามาเกี่ยวข้อง เช่น ทัวร์ไหว้พระ 9 วัด ทัวร์<br />

เดินทางสักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งในและต่างประเทศ การแสวงบุญ<br />

ไหว้พระทาบุญ ในสถานที่ต่างๆ เช่น แสวงบุญเขาคิชกูฏ งานกินเจ<br />

ภูเก็ต งานบุญบั้งไฟพญานาค งานแห่เทียนพรรษา งานชักพระ<br />

ประเพณีทางภาคใต้ เป็นต้น<br />

การเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อยกระดับจิตใจ เป็นการเดินทาง<br />

ท่องเที่ยวที่ลึกซึ้ง ไม่ฉาบฉวย มากกว่าการไปกราบไหว้บูชาเพื่อ<br />

พบเห็นหรือขอพร มีความใฝ่รู้ ศึกษา แสวงหาความรู้ เกิดแง่คิด<br />

เกิดข้อธรรม เพื่อพัฒนา และยกระดับจิตใจให้ดียิ่งๆ ขึ้นไปหรือใน<br />

ระดับที่ลึกซึ้งมาก คือการเดินทางไปเพื่อเรียนรู้ ปฏิบัติ ในสถานที่<br />

ที่ใดที่หนึ่งในระยะเวลาหนึ่ง อาจเป็นระยะเวลาช่วงสั้น 3-5 วัน<br />

หรือ 7 วัน หรือยาวนานกว่านั้น เป็นการสั่งสมปัญญาทางศาสนา<br />

เพื่อทุกข์ที่ลดลง เช่น การเดินทางทัศนศึกษาเที่ยวไปในสถานที่ทาง<br />

ศาสนาต่างๆ การเดินทางไปปฏิบัติธรรมในสถานที่ต่างๆ<br />

ปัจจัยส่งเสริมให้เกิดการท่องเที่ยวเชิงศาสนา<br />

และจิตใจ<br />

ประเทศไทยตั้งอยู่ ณ ดินแดนสุวรรณภูมิ โดยรับพระพุทธศาสนา<br />

มาตั้งแต่ครั้งพระเจ้าอโศกมหาราช ซึ่งได้จัดส่งพระศาสนทูตไปยัง<br />

ดินแดนต่างๆ ทาให้พระพุทธศาสนาหยั่งรากลึกมาอย่างยาวนาน<br />

รวมถึงหัวใจของพระพุทธศาสนา ก่อเกิดเป็นศาสนสถาน ศาสนวัตถุ<br />

ที่งดงาม และทรงคุณค่าทางจิตใจ ให้ระลึกถึงพระสัมมาสัมพุทธเจ้า<br />

รวมถึงหลักพระธรรมคาสอน สิ่งเหล่านี้ส่งต่อส่งทอดกันเรื่อยมา<br />

ซึมซับอยู่ในวิถีชีวิตของผู้คน ตั้งแต่เหนือจรดใต้ ตะวันออกจรด<br />

ตะวันตก ภาคกลางของประเทศ ล้วนแล้วแต่มีศาสนสถาน ศิลปะ<br />

อันงดงามทางสถาปัตยกรรมของวัดวาอาราม พระสถูปเจดีย์ รวมถึง<br />

เจดีย์อันเป็นที่ประดิษฐานของพระบรมธาตุ พระธาตุ อันควรเคารพ<br />

บูชา อีกทั้ง ศาสนวัตถุ ดังเช่น พระพุทธรูปที่งดงาม และมีคุณค่า<br />

ทางใจ ศาสนบุคคล พระสงฆ์ครูบาอาจารย์ ผู้มุ่งหน้าปฏิบัติธรรม<br />

เพื่อเดินตามรอยพระสัมมาสัมพุทธเจ้า มรดกทางศาสนาอันหาค่า<br />

มิได้ทั้งมวลนี้ ก่อให้ประเทศไทยเป็นศูนย์กลางในการเดินทางใน<br />

เชิงศาสนาและจิตใจ<br />

นอกจากนี้ ด้วยประเพณีวัฒนธรรม อันเกี่ยวข้องกับพระพุทธศาสนา<br />

ที่มีอย่างมากมาย แต่ละภูมิภาคล้วนมีประเพณีวัฒนธรรมทาง<br />

ศาสนา ตามลักษณะภูมิภาคของตน ดังเช่น ฮีต12 ของชาวอีสาน<br />

ซึ่งในจานวนประเพณี 12 เดือนของภาคอีสานนี้ เป็นประเพณี<br />

เกี่ยวเนื่องกับพระพุทธศาสนาถึง 6 เดือน คือ บุญเข้ากรรม บุญข้าวจี่<br />

บุญผะเหวด บุญเข้าวัดสา บุญออกวัดสา และ บุญกฐินภาคใต้<br />

เช่น ประเพณีชักพระ ประเพณีแห่ผ้าขึ้นธาตุ เมืองนครฯ ตักบาตร<br />

ธูปเทียน ภาคกลาง เช่น ประเพณีตักบาตรเทโว ห่มผ้าองค์พระ<br />

ปฐมเจดีย์ ตักบาตรดอกไม้ ประเพณีโยนบัว ภาคเหนือ ประเพณี<br />

ยี่เป็ง ไหว้พระธาตุช่อแฮ สรงน้าพระธาตุหิริภุญชัย ประเพณี<br />

วัฒนธรรมทางศาสนาเหล่านี้ เป็นปัจจัยที่เอื้อต่อการเดินทาง<br />

ท่องเที่ยวในเชิงศาสนา<br />

อีกทั้งด้วยสภาพสังคม เศรษฐกิจ วิถีชีวิต คุณภาพชีวิต ในปัจจุบัน<br />

ที่บีบรัด และบีบคั้นจิตใจในทุกๆ ด้าน ก่อให้เกิดความเครียด ความ<br />

ไม่สบายใจ ความไม่สบายกาย นาไปสู่การแสวงหาการเดินทาง<br />

เพื่อปลดเปลื้องความไม่สบายใจนั้น ภราเดช พยัฆวิเชียร อดีต<br />

ผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย มีมุมมองถึงปัจจัยที่ท าให้เกิด<br />

การเดินทางมีด้วยกันหลายปัจจัย แต่ปัจจัยหนึ่ง คือ แรงกดดันของวิถี<br />

ความเป็นอยู่ สังคมหรือสิ่งแวดล้อมรอบตัวของเราเอง เนื่องจาก<br />

เมื่อสังคมโตขึ้นอย่างรวดเร็ว ความเครียดสะสมจากสังคมแออัด<br />

ในเมืองก็จะมากขึ้น สังคมเปลี่ยนวิถีชีวิตจากเกษตรเป็นอุตสาหกรรม<br />

มากขึ้น ดังนั้น ในวิถีชีวิตการทางานของคนทั่วไปจะมีแรงกดดัน<br />

จากการทางาน คนทั่วไปเมื่อมีแรงกดดันทาให้เกิดความเครียด<br />

ส่งผลให้ผู้คนในเมืองต้องหาการผ่อนคลาย ผู้คนเริ่มถวิลหาการเป็น<br />

ธรรมชาติความเงียบสงบ ซึ่งการเดินทางสามารถตอบสนองการ<br />

ท่องเที่ยวได้ จะเกิดความ สุขกาย สุขใจ สุขกาย คือ สุขภาพที่ดี<br />

สุขใจ คือ จิตใจที่ดี4<br />

4<br />

ภราเดช พยัฆวิเชียร .อดีตผู้ว่าการการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย .สัมภาษณ์ , 21 มิถุนายน 59<br />

48 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ศาสนาและจิตใจ กับการท่องเที่ยว<br />

แนวโน้มที่ผู้คนทั่วโลกต่างดิ้นรนแสวงหาการเยียวยาทางจิตใจ ซึ่ง<br />

การท่องเที่ยวในเชิงศาสนาและจิตใจ สามารถตอบสนองสิ่งนี้ได้<br />

เป็นอย่างดี การท่องเที่ยวทางด้านจิตใจจึงเป็นการท่องเที ่ยวที ่มี<br />

การเติบโตอย่างรวดเร็วมากที่สุดกลุ่มหนึ่ง สาหรับประเทศไทย<br />

การท่องเที่ยวทางศาสนาและจิตใจสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่ม<br />

กลุ่มนักท่องเที่ยวไทย ท่องเที่ยวในเชิงศาสนาและจิตใจ ในประเทศ<br />

ประกอบด้วย การเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อความสบายใจ<br />

เช่น การทัวร์ไหว้พระ 9 วัด เดินทางแสวงบุญกราบไหว้สิ่งศักสิทธิ์<br />

เที่ยวตามประเพณีต่างๆ เป็นต้น และการเดินทางท่องเที่ยวเชิง<br />

ศาสนาเพื่อยกระดับจิตใจเช่น การเดินทางที่มีการศึกษาข้อมูล<br />

มีการเรียนรู้ พัฒนา และยกระดับจิตใจ การเดินทางไปปฏิบัติฝึกฝน<br />

ให้เกิดปัญญา<br />

กลุ่มนักท่องเที่ยวไทย ท่องเที่ยวในเชิงศาสนาและจิตใจ ในต่าง<br />

ประเทศ ในแต่ละปีมีนักท่องเที่ยวไทยเดินทางท่องเที่ยวในเชิง<br />

ศาสนาและจิตใจในต่างประเทศเป็นจานวนมากโดยประเทศที่นิยม<br />

เดินทางไป ได้แก่ อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีน ลาว กัมพูชา<br />

ภูฏาน อินโดนีเซีย โดยเฉพาะอินเดีย และเนปาล เนื่องจากเป็น<br />

ที่ตั้งของสังเวชนียสถานทั้ง 4 ซึ่งเน้นการไปแสวงบุญ การไหว้พระ<br />

หรืออาจมีรูปแบบของการท่องเที่ยวแบบการสืบสาวราวเรื่อง<br />

เชื่อมโยงประวัติศาสตร์ และความเป็นมาของแต่ละสถานที่ โดยมี<br />

กิจกรรมอื่นๆ เสริม เช่นการสวดมนต์ ทาวัตรเช้า ทาวัตรเย็น<br />

สมาทานศีล ฟังบรรยายธรรมะ สนทนาธรรม ของผู้ปฏิบัติเมื่อไป<br />

ถึงอินเดีย 5<br />

นักท่องเที่ยวต่างชาติเที ่ยวเชิงศาสนาและจิตใจในประเทศไทย<br />

นับตั้งแต่เดือนมกราคมจนถึงเดือนพฤษภาคม 2559 จากสถิติ<br />

จานวนนักท่องเที่ยวของกรมการท่องเที่ยว พบว่า มีนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติเดินทางมาท่องเที่ยวในประเทศไทย จานวน 14,158,649<br />

คน ขยายตัวร้อยละ 12 จากช่วงเวลาเดียวกัน ของปีที่ผ่านมา<br />

ในจานวนนี้มีนักท่องเที่ยวเยี่ยมชมศาสนสถาน และปฏิบัติ<br />

ศาสนกิจจานวน 6.62 ล้านคน หรือคิดเป็นร้อยละ 46 ของ<br />

นักท่องเที่ยวทั้งหมด และส่วนมากเป็นนักท่องเที่ยวที่จัดการเดินทาง<br />

ผ่านบริษัทนาเที่ยว 6 (จากการสัมภาษณ์) นอกจากนี้ คาดว่า<br />

ในช่วงไตรมาสที่ 4 จะมีนักท่องเที่ยวกลุ่มนี้เพิ่มขึ้นจากผู้ที่เดินทาง<br />

มาร่วมงานเทศกาลกินเจในพื้นที่ภาคใต้ เช่น หาดใหญ่ ภูเก็ต เป็นต้น<br />

สาหรับการท่องเที ่ยวในเชิงศาสนาและจิตใจ ของนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติ ประกอบด้วย 2 รูปแบบการเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนา<br />

เพื่อความสบายใจ และการเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อ<br />

ยกระดับจิตใจ<br />

การเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อความสบายใจ โดยมาก<br />

เป็นการไหว้พระ และเทพต่างๆ ตามความเชื่อ เช่น พระแก้วมรกต<br />

พระพรหม เอราวัณ เที่ยวชมวัดสวยงาม วัดพระแก้วมรกต วัดโพธิ์<br />

วัดอรุณราชวราราม วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามราชวรมหาวิหาร<br />

การท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ โบราณสถาน ซึ่งนักท่องเที่ยว<br />

จีน นิยมกิจกรรมการชมวัดไหว้พระ ส่วนนักท่องเที่ยวเมียนมา<br />

มีทัศนคติว่าครั้งหนึ่งในชีวิตขอให้ได้มาวัดพระแก้ว<br />

5<br />

ดร.แสน ชฏารัม . นวลจันทร์ เพียรธรรม .เจ้าของกิจการทัวร์ . สัมภาษณ์ ,20 มิถุนายน 2559<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

49


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

การเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อยกระดับจิตใจ เป็นนักท่องเที่ยว<br />

ที่เดินทางเพื่อแสวงหาวิธีปฏิบัติ เป็นนักท่องเที่ยวจากยุโรป และ<br />

อเมริกา มีความสนใจในศาสนา หลักธรรมทางพระพุทธศาสนา<br />

ปรัชญาต่างๆ การนั่งสมาธิ มักไปยังจังหวัดต่างๆ เช่น อยุธยา<br />

สุโขทัย เชียงใหม่ และเชียงราย อีกทั้งเลือกไปยังสถานที่ต่างๆ ที่เปิด<br />

ให้ต่างชาติเข้าฝึกปฏิบัติได้ เช่น ทีปภาวัน เกาะสมุย สุราษฏร์ธานี<br />

สวนโมกข์นานาชาติ สุราษฏร์ธานี วัดร่าเปิง เชียงใหม่ วัดพระธาตุ<br />

ศรีจอมทอง เชียงใหม่ วัดป่าถ้าวัวสุญตาราม แม่ฮ่องสอน<br />

ศูนย์สมาธิวิริยานุภาพ วัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ วัดป่านานาชาติ<br />

อุบลราชธานี วัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ เป็นต้น<br />

แนวโน้มของนักท่องเที่ยวต่างชาติที ่แสวงหาการท่องเที่ยวเชิง<br />

ศาสนา โดยเฉพาะพุทธศาสนา คือ ชาวจีน ทั้งในระดับการเดินทาง<br />

ท่องเที่ยวเชิงศาสนาเพื่อความสบายใจ และการเดินทางท่องเที่ยว<br />

เชิงศาสนาเพื่อยกระดับจิตใจ<br />

เชียงใหม่นิวส์ ได้รายงานถึงทัวร์จีนกว่า 1,200 คน เช่าเหมาลาบิน<br />

ตรงสู่เชียงใหม่ เพื่อร่วมงานมหกรรมถวายสังฆทานแด่พระสงฆ์<br />

ไทย 5,000 รูป เสวนาชาวพุทธเถรวาท และมหายาน ครั้งที่ 3 ซึ่ง<br />

จัดขึ้นโดยมหาเถรสมาคม มูลนิธิฮ่องกง และองค์กรแลกเปลี่ยน<br />

พุทธศาสนาและวัฒนธรรมโลก สาธารณรัฐประชาชนจีน และ<br />

คณะสงฆ์จังหวัดเชียงใหม่ โดยมีพระมหาเถระผู้นาสงฆ์ฝ่าย<br />

เถรวาท ประมุขสงฆ์แห่งเมียนมา สปป.ลาว กัมพูชา และศรีลังกา<br />

เข้าประชุมแลกเปลี่ยนทัศนะและแนวคิดในการเผยแพร่หลักธรรม<br />

คาสอนของพระพุทธเจ้า ซึ่งจัดขึ้นในวันที่ 17-19 กรกฎาคม 2559<br />

โดยมีการปลงผมบวชในระยะสั้น ที่อุโบสถวัดเจดีย์หลวงวรวิหาร 7<br />

นอกจากนี้ ปัจจุบันได้มีชาวจีนจานวนหนึ่ง จากหลายๆ มณฑล<br />

50 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

จานวนเกือบร้อยคน ได้รวมตัวกันมาศึกษาธรรมะแนวปฏิบัติอย่าง<br />

ลึกซึ้ง อย่างเฉพาะเจาะจง ระยะเวลาหลายวันในวัดทางภาคตะวันออก<br />

รวมถึงมีวิปัสนาจารย์ ไปสอนที่ประเทศจีนในเมืองต่างๆ ซึ่ง<br />

ได้รับความสนใจเป็นอันมาก<br />

การเช่าวัตถุมงคล เป็นสิ่งหนึ่งที่เป็นที่นิยมของนักท่องเที่ยว<br />

ต่างชาติ ปี 2558 มีรายงานการเช่าวัตถุมงคล รวมทั้งสิ้นมูลค่า<br />

15,173.89 ล้านบาท โดยนักท่องเที่ยวจากประเทศต่างๆ ในเอเชีย<br />

ตะวันออกเป็นผู้เช่าวัตถุมงคลมากที่สุด ที่ 11,165.64 ล้านบาท<br />

โดยมีนักท่องเที่ยวจากประเทศจีน เช่ามากที่สุด มีมูลค่า 8,928.38<br />

ล้านบาท และสูงที่สุดในบรรดาทุกประเทศ รองลงมาคือ ภูมิภาคยุโรป<br />

มีมูลค่า 2,928.36 ล้านบาท ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยวจากประเทศอังกฤษ<br />

ที่ 1,253.56 ล้านบาท (จากการสารวจ, กรมการท่องเที่ยว)<br />

ศาสนาและจิตใจ ในการท่องเที่ยวระดับโลก<br />

นโยบาย และมุมมองของต่างประเทศ<br />

จากการวิเคราะห์ของ World Tourism Organization (UNWTO)<br />

นับเป็นเวลากว่าทศวรรษ ที่กระแสการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ได้เติบโตขึ้นอย่างรวดเร็วในด้านปริมาณ ประเทศต่างๆ ล้วนแต่<br />

มีทรัพยากรที่เอื้อต่อการท่องเที่ยวในรูปแบบนี้ ในกลุ่มเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต้ เช่น ไทย มาเลเซีย อินโดนีเซีย กลุ่มสถานที่สักการะ<br />

ทางศาสนา เช่น เนปาล อินเดีย กัมพูชา อิหร่าน นอกจากนี้ ยังมี<br />

จีน ญี่ปุ่น เกาหลี ศรีลังกา ปากีสถาน และ ออสเตรเลีย 8<br />

อินเดีย แหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจที่สาคัญของโลก ด้วย<br />

เป็นดินแดนที่เป็นแหล่งกาเนิดศาสนาของโลก คือ ฮินดู และ พุทธ<br />

ถนนการเดินทางท่องเที่ยวทุกสายจึงมุ่งไปสู่อินเดีย รัฐบาลอินเดีย<br />

7<br />

http://www.chiangmainews.co.th/page/archives/501964<br />

8<br />

https://en.wikipedia.org/wiki/Religious_tourism


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ตระหนักถึงเรื ่องนี้เป็นอย่างดี ว่าเป็นสิ่งที่เกิดมูลค่าทางเศรษฐกิจ<br />

ต่อประเทศจานวนมาก จึงให้ความสนใจกับทัวร์เชิงศาสนาเป็นอย่าง<br />

มาก ด้วยการสนับสนุนเส้นทางท่องเที่ยวเชิงศาสนา อานวยความ<br />

สะดวกด้วยยานพาหนะ และรายการเดินทางที่สะดวกสบาย อีกทั้ง<br />

เปิดเส้นทางการท่องเที่ยวเชิงศาสนาใหม่ๆ ที่เดินทางเชื่อมโยงกัน<br />

นอกจากนี ้ยังทาการตลาดไปยังประเทศต่างๆ โดยเฉพาะในหมู่<br />

ชาวพุทธ ทั้งนี้เพราะสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ของศาสนาพุทธเกือบทั้งหมด<br />

อยู่ในประเทศอินเดีย<br />

เมื่อปี 2551 รัฐบาลอินเดียได้จัดให้มีรถไฟ ที่เรียกว่า Mahaparinirvan<br />

Express ขึ้น เป็นรถไฟที่มีความหรูหรา ออกเดินทางจากกรุงนิวเดลี<br />

ไปตามรัฐต่างๆ สามรัฐด้วยกัน คือ พิหาร อุตตรประเทศ และโอริสสา<br />

โดยแวะเยือนสถานที่ศักดิ์สิทธิ์คือ พุทธคยาที่ซึ่งพระพุทธเจ้าทรง<br />

ตรัสรู้ สารนาถที่ทรงทาปฐมเทศนา พาราณสีที่ทรงแสดงธรรม<br />

และกุสินาราที่เสด็จดับขันธ์ปรินิพพาน ซึ่งสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ทาง<br />

พุทธศาสนาในอินเดียส่วนใหญ่อยู่ในรัฐที่ยากจน ซึ่งหาที่พักดีๆ<br />

ปลอดภัย และราคาประหยัดได้ยาก ทั้งการเดินทางยังเข้าถึง<br />

ไม่สะดวก ซึ่งอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว และรัฐบาลอินเดียเริ่มมอง<br />

เห็นปัญหา และเข้าใจว่าจะต้องทาอะไรบ้างเพื่อดึงดูดนักท่องเที่ยว<br />

สาหรับทัวร์เชิงศาสนา พร้อมกันนั้นก็เร่งปรับปรุงทางหลวง<br />

และท่าอากาศยานสาหรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการวางแผนการ<br />

เดินทางเองโดยนายกสมาคม Tour Operators ของอินเดีย เชื่อว่า<br />

จะมีนักท่องเที่ยวชาวพุทธปีละสองถึงสามล้านคน โดยรัฐบาลอินเดีย<br />

เรียกโครงการนี้ว่า “Buddhist circuit” หรือ ”วงจรชาวพุทธ” และ<br />

ได้ส่งรัฐมนตรีเพื่อชักชวนให้ญี่ปุ่นเข้าไปลงทุนในภาคการบริการ<br />

ต้อนรับ เพราะญี่ปุ่นเป็นอีกประเทศหนึ่งที่มีชาวพุทธจานวนไม่น้อย<br />

รวมถึงศรีลังกา และไทย นอกจากนี้กระทรวงวัฒนธรรมได้มีการจัด<br />

ตั้งคณะกรรมการระดับชาติเพื่อพัฒนาวงจรท่องเที่ยวทางศาสนา<br />

แหล่งใหม่ขึ้น เป็นสองเส้นทางใหม่ เรียกว่า เส้นทางรามายณะ<br />

และเส้นทางกฤษณะ โดยวงจรรามายณะ จะขยายจาก เนปาล<br />

Rameshwaram และศรีลังกา และวงจรกฤษณะจะเริ ่มที่มถุราไป<br />

จบที่อรุณาจัลประเทศ 9<br />

นอกจากนี้ ที่ผ่านมาประเทศไทย และอินเดียมีความร่วมมือที่ดี<br />

ในการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงศาสนาร่วมกัน เช่น การพัฒนา<br />

เส้นทางท่องเที่ยวทางพุทธศาสนา และการก่อสร้างโรงแรม 5 ดาว<br />

ในประเทศอินเดีย 10 เป็นต้น<br />

กระทรวงวัฒนธรรมและการท่องเที ่ยวของอินเดีย ได้ตระหนักถึง<br />

วัฒนธรรมประวัติศาสตร์ศาสนา และธรรมชาติที่อุดมไปด้วยมรดก<br />

ทางวัฒนธรรมของอินเดีย ซึ่งมีศักยภาพมากสาหรับการพัฒนาของ<br />

การท่องเที่ยว และการสร้างงาน จึงต้องการที่จะยกระดับมาตรฐาน<br />

ของสถานที่ท่องเที่ยวที่มีอยู่ และการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวใหม่<br />

ของมาตรฐานระดับโลก โดยพยายามบูรณาการ และประสานงาน<br />

ที่ดีของภาครัฐบาล โดยเฉพาะการท่องเที่ยวทางศาสนาซึ่งเป็นส่วน<br />

ที่สาคัญของการท่องเที่ยวในประเทศ โดยศาสนาที่สาคัญๆ ของโลก<br />

มีศูนย์แสวงบุญใหญ่และรายย่อยในส่วนต่างๆ ของประเทศ มีเป้าหมาย<br />

ในการบริการที่ดีกว่าและสิ่งอานวยความสะดวกโครงสร้าง<br />

พื้นฐาน ทั ้งเว็บไซต์แสวงบุญสามารถเสริมสร้างประสบการณ์ทาง<br />

จิตวิญญาณของผู้แสวงบุญ ให้ศูนย์วัฒนธรรมเขตต่างๆ ส่งเสริม<br />

ให้ชาวบ้านช่วยทานุบารุงศิลปวัฒนธรรม 11<br />

จีนดินแดนเก่าแก่ทางพุทธศาสนาแห่งหนึ่ง ที่รับวัฒนธรรม<br />

มาจากอินเดีย ในการแสวงบุญยุคแรกๆ ของหลวงจีนฟาเหียน<br />

9<br />

http://articles.economictimes.indiatimes.com/2016-06-06/news/73600759_1_lord-krishna-circuits-rahul-sinha<br />

10<br />

India-Thailand Joint Statement during the visit of Prime Minister of Thailand to India, www.mea.gov.in<br />

11<br />

http://articles.economictimes.indiatimes.com/2015-11-26/news/68582274_1_tourismministry-religious-tourism-new-tourism-destinations<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

51


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

และพระถังซัมจั๋ง ที่เดินทางรอนแรมเป็นเวลานานไปศึกษาพุทธศาสนา<br />

ในดินแดนอินเดีย และคัดลอกพระธรรม พระไตรปิฏก มาสู่ประเทศ<br />

จีน แม้ว่าวัฒนธรรมในหลายๆ ส่วนจะถูกท าลายไปในยุคคอมมิวนิสต์<br />

อันเข้มข้น โลกเสรีนิยมของปัจจุบัน ได้เจือจางคอมมิวนิสต์ของจีน<br />

ให้คลายลง ผู้คนโหยหาศาสนา และสิ่งยึดเหนี่ยวทางจิตใจ อย่าง<br />

เข้มข้นมีความต้องการเติมสูญญากาศทางจิตวิญญาณที่หายไป<br />

ผู้คนสนใจศาสนาต่างๆ เช่น ลัทธิเต๋า ขงจื้อ คริสตศาสนา อิสลาม<br />

มีคากล่าวว่า “ความเชื่อทางศาสนาได้เบ่งบาน และเจริญรุ่งเรือง<br />

ไกลแซงหน้ากรอบของรัฐบาลที่จะควบคุม” 12 มีศูนย์การศึกษา<br />

ทางศาสนาที ่เกิดขึ้นในมหาวิทยาลัยทั่วประเทศจีน ในหลายพื้นที่<br />

มีการฟื้นฟูประเพณีทางพุทธศาสนาชาวจีนเริ่มเรียนธรรมะที่หายไป<br />

อีกครั้ง รวมทั้งเดินทางท่องเที่ยวเชิงศาสนา ทั้งใน และต่างประเทศ<br />

ในแหล่งท่องเที่ยวที่นิยมของจีนดังเช่น วัดเส้าหลิน แปรเปลี่ยน<br />

เป็นพุทธพานิชย์อย่างเต็มขั้นโดยวัดเส้าหลิน แรกเริ ่มเดิมทีมี<br />

จุดประสงค์ก็เพื่อให้พระภิกษุจากอินเดียมาจ าวัด และเผยแพร่ศาสนา<br />

พุทธนิกายเถรวาท เมื่อประเทศจีนเปลี่ยนแปลงการปกครองเข้าสู่<br />

ระบอบสังคมนิยม วัดเส้าหลินรกร้างลง มีเพียงวิชากังฟูเส้าหลินที่<br />

ยังคงถูกถ่ายทอดกันต่อๆ มาเมื่อจีนเปิดประเทศ เรื่องราวกังฟูของ<br />

เส้าหลินได้สร้างเป็นภาพยนตร์ ส่งอิทธิพลกระตุ้นให้นักท่องเที ่ยว<br />

หลั่งไหลเข้ามาเยี่ยมชมวัดเส้าหลินอย่างไม่ขาดสาย รัฐบาลจีนได้<br />

โอกาสผลักดันวัดเส้าหลินให้กลายเป็นสถานที่ท่องเที่ยวหลักของ<br />

มณฑลเหอหนาน โดยเน้นชูประวัติความเก่าแก่ของวัด 1,500 ปี กับ<br />

กังฟูแห่งวัดเส้าหลิน โดยมีโรงเรียนเปิดสอนกังฟูเส้าหลินทั่วมณฑล<br />

เหอหนาน และได้ยื่นต่อยูเนสโกให้ 'วัดเส้าหลิน' เป็นมรดกโลก<br />

ปี 2542 เจ้าอาวาสเป็นพระมหาเถระรูปแรก ที่สาเร็จการศึกษาระดับ<br />

ปริญญาโท สาขาบริหารธุรกิจ เริ่มแปลงวัดเส้าหลินจากอารามที่สุข<br />

สงบท่ามกลางธรรมชาติ และจากธรรมสถานต้นตารับศิลปะการ<br />

ต่อสู้แบบกังฟูให้เป็น “พุทธพาณิชย์” ที่มีมูลค่านับแสนล้านบาท<br />

ทาให้แต่ละปี วัดเส้าหลินมีรายได้จากค่าเข้าชมกว่า 750 ล้านบาท<br />

ยังมีรายได้จากการส่งพระเส้าหลินเดินสายไปแสดงศิลปะกังฟู<br />

ยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก ร่วมการแข่งขันชกมวยในลาสเวกัสทั้ง<br />

โครงการแปลงวัดเป็น “คอมเพล็กซ์” ต่อยอดจากโครงการเร่งขยาย<br />

สาขาของวัดเส้าหลินไปยังประเทศต่างๆ ทั่วโลก รวมแล้วราว 40<br />

แห่ง นอกจากนี้การนาวัดเส้าหลินไปจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์<br />

ในฮ่องกง และเซี่ยงไฮ้ในฐานะเป็นบริษัทท่องเที่ยว โดยสามารถขาย<br />

หุ้นที่เปิดขายต่อสาธารณะได้กว่า 100 ล้านหยวน นับว่าเข้าสู่วงจร<br />

ศาสนาพาณิชย์ จนวัดเส้าหลินดั้งเดิมอาจจะเหลือเพียงตานาน 14<br />

ญี่ปุ่น เป็นประเทศหนึ่งที่รับพระพุทธศาสนามาอย่างยาวนาน<br />

ปัจจุบันมีศาสนาพุทธแบบชินโต เป็นศาสนาประจาชาติ และมี<br />

เสรีภาพทางศาสนาอย่างเต็มรูปแบบ ญี่ปุ่นได้ผนวกศาสนา<br />

และวัฒนธรรมไว้ด้วยกัน เช่นกันกับการท่องเที่ยวเชิงศาสนา มีการ<br />

ออกแบบการเที่ยววัดในเขตภูมิภาคต่างๆ ไปกับวัฒนธรรมของ<br />

แหล่งนั้น ตัวอย่างโปรแกรมการท่องเที่ยวของญี่ปุ ่น เช่น สวดมนต์<br />

ตอนเช้าที่วัดของภูเขา Koya ผ่อนคลายใน YunomineOnsen<br />

อาบน้าพุร้อน ธุดงค์เส้นทางแสวงบุญของ Kumano Kodo<br />

เข้าร่วมในพิธีชงชา เยี่ยมชมศาลเจ้า Ise เข้าพัก เรียวกัง โรงแรม<br />

ขนาดเล็กและเข้าพักที่วัด 15 นอกจากนี้ วัดหลายแห่ง ได้เปิดสอน<br />

แนวทางของเซน โดยเก็บค่าเข้าศึกษา เช่น Eiheiji วัดที่มีชื่อเสียง<br />

โดยมหาวิทยาลัย Komazawa เป็นหนึ่งในสถานที่ที่ดีที่สุดในโตเกียว<br />

สาหรับการศึกษาวิชาการของพุทธศาสนาและพุทธศาสนานิกายเซน<br />

สอนถึงประเพณีของการเรียนรู้ประวัติศาสตร์ ปรัชญา และวรรณคดี<br />

และภูมิปัญญาเซน 16<br />

การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจของไทย<br />

ประเทศไทยเป็นประเทศที ่มีความพรั่งพร้อม ในการท่องเที่ยวเชิง<br />

ศาสนาเป็นอย่างมากด้วยพุทธศาสนาเป็นศาสนาที่หยั่งลงและ<br />

สืบทอดต่อกันมา ณ ดินแดนแห่งนี้มานานกว่าสองพันปี<br />

52 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

ย้อนสู่กาล พ.ศ. 235 ห้วงเวลาที่พระเจ้าอโศกมหาราชได้ทรง<br />

ส่งสมณทูตไปเผยแผ่พระพุทธศาสนายังดินแดนต่างๆ รวม 9 สาย<br />

12<br />

http://www.npr.org/templates/story/story.php?storyId=128544048<br />

13<br />

http://www.chinadaily.com.cn/bizchina/2010-11/19/content_11578399.htm<br />

14<br />

http://www.komchadluek.net/news/detail/211162<br />

15<br />

https://www.insidejapantours.com/self-guided-japan-holidays/i-ppc/pilgrims-paths<br />

16<br />

https://www.insidejapantours.com/japanese-culture/religion/#/


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

หนึ่งในนั้นคือดินแดนประเทศไทยในปัจจุบัน กล่าวกันว่ามีคณะของ<br />

สมณทูตซึ่งมีพระโสณเถระ และพระอุตตรเถระเป็นหัวหน้าคณะ<br />

เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาเป็นครั้งแรก และมีคณะสมณทูต<br />

เข้ามาเผยแผ่พระพุทธศาสนาในกาลต่อๆ มา ทาให้พระมหากษัตริย์<br />

และชนในดินแดนนี้นับถือพระพุทธศาสนาสืบทอดมาโดยตานาน<br />

พระพุทธเจดีย์ พระนิพนธ์ของสมเด็จกรมพระยาดารงราชานุภาพ<br />

นิพนธ์ไว้ว่า คนไทยเรานั้นได้นับถือพระพุทธศาสนามาก่อนที่จะ<br />

อพยพมาตั้งประเทศไทยในปัจจุบันนี้แล้ว<br />

ครั้งถึงสมัยชนชาติไทยตั้งอาณาจักรสุโขทัย เป็นปึกแผ่นมั ่นคง<br />

พระพุทธศาสนาในประเทศไทยเริ่มเปลี่ยนแปลงจากลัทธิมหายาน<br />

และหินยานแบบเดิม มาเป็นลัทธิหินยานแบบลังกาวงศ์ ซึ่งแพร่<br />

หลายในห้วงเวลานั้น พุทธศักราช 1820 เมื่อพ่อขุนรามคาแหง<br />

มหาราช ได้ทรงสดับกิตติศัพท์ พระสงฆ์ที่ไปศึกษาที่ประเทศ<br />

ลังกา กลับมาสั ่งสอนอยู่ที่เมืองนครศรีธรรมราช มีความรอบรู้<br />

พระธรรมวินัย และมีวัตรปฏิบัติน่าเลื่อมใส จึงได้อาราธนาจากเมือง<br />

นครศรีธรรมราช ขึ้นมาตั้งสานัก และเผยแพร่คาสอน ณ กรุงสุโขทัย<br />

โดยทรงเลื่อมใสศรัทธาอย่างแรงกล้ามากโปรดให้อยู่ ณ วัดอรัญญิก<br />

นอกเมือง ดังมีความในศิลาจารึกว่า “วันเดือนดับ วันเดือนเต็ม<br />

ท่านแต่งช้างเผือก กระพัดลยาง เทียนย่อมงาทอง ขวาชื่อรุจาศรี<br />

พ่อขุนรามขึ้นขี่ไปนบพระอรัญญิกแล้วกลับมา” นับแต่นั้นพระพุทธ<br />

ศาสนาแบบหินยานลัทธิลังกาวงศ์ เข้ามาสู่สยามประเทศ ได้ถือเป็น<br />

แบบอย่างที่ดีงาม และเจริญรุ่งเรืองสืบมาเป็นศาสนาประจ าชาติไทย<br />

จวบจนถึง ณ ปัจจุบัน<br />

ทั้งในยุคสมัย และรัชกาลต่างๆ ของกรุงศรีอยุธยา กรุงธนบุรี<br />

และ กรุงรัตนโกสินทร์เป็นราชธานีจนบัดนี้ พระมหากษัตริย์<br />

ได้สร้างวัด และพระพุทธรูปสาคัญ และมีความงดงามในรูปแบบ<br />

ของสถาปัตยกรรม และพุทธลักษณะ ขึ้นอย่างมากมาย อีกทั้ง<br />

ได้ส่งพระมหาเถระร่วมคณะไปสืบพระพุทธศาสนาลัทธิลังกาวงศ์<br />

ณ ลังกาทวีป ในสมัยกรุงศรีอยุธยา ในส่วนของพระธรรม สมเด็จ<br />

พระเจ้าตากสินมหาราช ได้ทรงขวนขวายสืบแสวงหาพระไตรปิฎก<br />

มารวบรวมไว้ จากการที่พระไตรปิฎกถูกเผาทาลายเสียจนเกือบสิ้น<br />

นามาให้ราชบัณฑิตคัดลอกรวบรวมไว้ทั้งพระบาทสมเด็จพระพุทธ<br />

ยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช โปรดฯ ให้สังคายนาพระไตรปิฏก นับเป็น<br />

ครั้งที่ 9 และครั้งที่ 2 ในดินแดนประเทศไทย (ครั้งที่ 8 สมัยพระเจ้า<br />

ติโลกราช อาณาจักรล้านนา)<br />

การที่พระพุทธศาสนาได้รับการทะนุบารุง ทั้งในด้านศาสนสถาน<br />

พระพุทธปะติมากร การสืบต่อพระธรรม และการส่งต่อคาสอน และ<br />

การปฏิบัติจากชนต่อรุ่นสู่รุ่น สืบทอดต่อเนื่องอย่างยาวนานทาให้<br />

ดินแดนอันได้ชื่อว่าประเทศไทย เป็นดินแดนหนึ่งที่ทรงไว้ซึ่งคุณค่า<br />

ในพุทธศาสนา ดินแดนหนึ่งของโลกสิ่งนี้ก่อเกิดสิ่งที่รองรับ การท่องเที่ยว<br />

ในรูปแบบนี้มากมาย ในสถานที่ต่างๆ เช่น<br />

หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ หรือเรียกกันในนาม<br />

สวนโมกข์กรุงเทพฯ ที่สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) เป็นหอ<br />

จดหมายเหตุศาสนธรรม (Religious Archives) จัดตั้งภายใต้มูลนิธิ<br />

หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญโดยมีกิจกรรมต่างๆ ให้<br />

17<br />

http://www.bia.or.th/html_th/events/2012-03-12-09-31-10.html<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

53


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ผู้สนใจ เข้าเรียนรู้มากมาย ทั้งกิจกรรมการเจริญสติ เช่น หลักสูตร<br />

อบรม อานาปานสติจากพระโอษฐ์ เป็นการเตรียมความพร้อม<br />

ทางด้านปริยัติ ก่อนลงมือปฏิบัติอานาปานสติภาวนาเพื่อนาไปสู่<br />

ความราบรื่น ก้าวหน้า ในการปฏิบัติโดยจัดทุกวันอาทิตย์สัปดาห์<br />

ที่ 5 ของเดือน (ปีละประมาณ 4 ครั้ง)<br />

หลักสูตรอานาปานสติภาวนา โดยยึดแนวทาง อานาปานสติ 16 ขั้น<br />

ของท่านอาจารย์พุทธทาส กิจกรรมจัดทุกวันอาทิตย์มี 4 ครั้ง<br />

ในหนึ่งเดือน โดยได้รับเมตตาจากพระวิปัสสนาจารย์หลายรูป ที่มา<br />

นาภาวนา ให้คาแนะนา และตอบคาถาม โดยเริ่มจากการวางพื้นฐาน<br />

ไปสู่การปฏิบัติในขั้นสูงต่อไป กิจกรรมวันสาคัญทางศาสนาต่างๆ<br />

เช่น วันเพ็ญอาสาฬหปุรณมีบูชา ขึ้น 15 ค่า เดือน 8 ในวาระปี<br />

แห่งการนาศีลธรรมกลับมาเถิด นอกจากนี้ ยังจัดให้มีกิจกรรม<br />

ฟังธรรมตามกาล กับครูบาอาจารย์ ทั้งของไทย และต่างประเทศ<br />

ซึ่งจัดขึ้นเป็นประจา 17<br />

ทีปภาวัน เกาะสมุย จ.สุราษฏร์ธานี ทีปภาวัน ธรรมสถาน สร้าง<br />

ขึ้นในปี 2547 โดยมีหลวงพ่อพระภาวนาโพธิคุณ ซึ่งเป็นชาวสมุย<br />

โดยกาเนิดเป็นผู้ริเริ่มให้มีการก่อสร้างขึ้น นับตั้งแต่นั้น ได้ดาเนิน<br />

กิจกรรมส่งเสริมการปฎิบัติธรรมในรูปแบบของการจัดอบรมการ<br />

ปฏิบัติธรรมภาคจิตภาวนา ให้กับประชาชนทั่วไปทั้งใน และต่าง<br />

ประเทศต่อเนื่องมาจนถึงปัจจุบัน โดยการอบรมสาหรับชาวไทย<br />

เปิดอบรม ในวันที่ 12-17 ของทุกเดือน สาหรับชาวต่างชาติ<br />

โครงการ 1 สัปดาห์ เปิดอบรมทุกวันที่ 20-27 ของทุกเดือน สาหรับ<br />

54 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

โครงการสั้น เปิดอบรมทุกวันที่ 7-10 ของทุกเดือน 18<br />

วัดธรรมมงคล กรุงเทพฯ ตั้งอยู่ที่สุขุมวิท 101 กรุงเทพฯ ซึ่งพระ<br />

ธรรมมงคลญาณหรือหลวงพ่อวิริยังค์สิรินฺธโร ใช้เป็นที่พักธุดงค์ใน<br />

ระหว่างเดินทาง เข้ากรุงเทพฯ ต่อมาได้ตั้งสถาบันพลังจิตตานุภาพ<br />

และได้เปิดสอนครูสมาธิรุ่นแรกขึ้น ในพื้นที่กว่า 30 ไร่ มีสถานที่อัน<br />

สัปปายะ อันเหมาะแก่การปฏิบัติสมาธิ และวิปัสสนาเช่น ถ้ าวิปัสสนา<br />

มีเนื้อที่ 4 ไร่ จาลองบรรยากาศการปฏิบัติในป่า-ถ้า เพื่อเข้าไป<br />

นั่งสมาธิ และฟังธรรมในถ้า สามารถรองรับผู้ปฏิบัติธรรมได้กว่า<br />

200 คน ล้อมรอบด้วยสวนป่า มีไม้ดอกไม้ใบ สระน้า และเนินเขาซึ่ง<br />

ให้บรรยากาศร่มรื่น ศูนย์สมาธิวิริยานุภาพ ตั้งอยู่บริเวณด้านข้าง<br />

ของวัดเป็นสถานที่ที่สร้างขึ้น เพื่อช่วยให้ฆราวาสผู้มาปฏิบัติธรรม<br />

มีที่พัก สถาบันพลังจิตตานุภาพ เป็นสถาบันที่มีหน้าที่สอนหลักสูตร<br />

ครูสมาธิให้แก่ บุคคลทั่วไป ทาการสอนเกี่ยวกับสมาธิเบื้องต้นตั้งแต่<br />

การเริ่มบริกรรม จนถึงสมาธิชั้นสูง ที่หลวงพ่อวิริยังค์ได้เล่าเรียน<br />

ศึกษามาจากพระอาจารย์ใหญ่ทางวิปัสนา ได้แก่ พระอาจารย์มั่น<br />

และพระอาจารย์กงมา รวมถึงประสบการณ์ชีวิตในการปฏิบัติสมาธิ<br />

ของหลวงพ่อวิริยังค์เองกว่า 60 ปี นอกจากผู้เรียนจะได้เข้าใจ การ<br />

ทาสมาธิ ทั้งสมถะ-วิปัสสนา อย่างถี่ถ้วนแล้ว และยังสามารถเป็น<br />

ครูสอนสมาธิให้แก่บุคคลอื่นได้โดยถูกต้องด้วย 19<br />

วัดป่าถ้าวัวสุญญตาราม จ.แม่ฮ่องสอน วัดป่าถ้าวัวสุญญตาราม<br />

มีเจ้าอาวาสคือ พระอธิการสายหยุด ปัญญาธโร จากจุดเริ่มต้นเล็กๆ<br />

ที่มีชาวต่างชาติมาปฏิบัติธรรมจานวนไม่มากนัก ได้มีลูกศิษย์ชาว<br />

18<br />

http://www.dipabhavan.org<br />

19<br />

http://www.dhammamongkol.com//


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

Resting in between beautiful mountains of exotic<br />

Mae Hong Son, Thailand is Wat Pa Tam Wua Forest<br />

Monastery. Capturing green nature, running rivers,natural<br />

caves and never-ending waterfalls of this spectacular<br />

Northern country.<br />

เนเธอร์แลนด์ ได้กลับไปเขียนเรื่องราวของวัด และตีพิมพ์ จึงได้<br />

เผยแพร่ไปทั่วโลก ในแต่ละปีจะมีชาวต่างชาติ จาก 140 ประเทศ<br />

ไม่ต่ากว่า 2,000 คน พากันเดินทางมาปฏิบัติธรรม ซึ่งในจานวนนั้น<br />

มีทั้งคนที่นับถือศาสนาคริสต์ และอิสลาม ที่มาปฏิบัติธรรม<br />

ตามหลักของพระพุทธศาสนา โดยไม่มีการแบ่งเชื้อชาติ ชนชั้น<br />

หรือวรรณะ แต่อย่างใด ทุกคนอยู่ร่วมกันด้วยเมตตาธรรม การสอน<br />

ปฏิบัติธรรม จะเน้นที่การกาหนดจิต รู้สติ แต่ในกรณีที่ผู้ปฏิบัติถนัด<br />

ในการทาสมาธิในรูปแบบอื่นๆ ก็ไม่มีการห้ามหรือบังคับแต่อย่างใด<br />

เป็นไปด้วยความสมัครใจ<br />

ในส่วนของคนเอเชีย ส่วนใหญ่ในประเทศสิงคโปร์ ฮ่องกง และ<br />

ไต้หวัน บริษัทต่างๆ นิยมนาพนักงานของบริษัท เดินทางมาใน<br />

ลักษณะกรุ๊ปทัวร์ มาปฏิบัติธรรม ที่วัดป่าถ้าวัว เพื่อเพิ่มสมาธิใน<br />

การทางานให้แก่องค์กร ก่อนที่จะเดินทางไปเที่ยวพักผ่อนในแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวของไทย และเดินทางกลับประเทศ โดยผู้บริหารของ<br />

บริษัทเหล่านั ้น เล็งเห็นความสาคัญของการทาสมาธิที่จะส่งผลให้<br />

งานของบริษัทสาเร็จได้โดยง่าย ทั้งนี้พนักงานที่ไม่มีสมาธิหรือ<br />

ไม่รู้จักการทาสมาธิจะปฏิบัติงานสู้คนที่ผ่านการอบรมฝึกทาสมาธิ<br />

ไม่ได้ และส่งผลเสียต่อองค์กรในระยะยาว<br />

ด้วยเป็นสานักปฏิบัติธรรมที่มีความสะอาด สงบ สันติ สิ่งแวดล้อม<br />

ร่มรื่น สวยงาม เหมาะสมที ่จะปฏิบัติธรรม ทาให้วัดป่าถ้าวัว<br />

ติดอันดับ 1 ใน 5 ของสานักปฏิบัติธรรมที่ดีที่สุดในโลก 20<br />

รูปแบบการท่องเที่ยว เชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ในห้วงเวลาที่ผ่านมาได้มีการส่งเสริม ค้นคว้า วิจัย เพื่อให้<br />

เกิดการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ ในหน่วยงานต่างๆ เช่น<br />

20<br />

http://watpatamwua.com<br />

21<br />

มูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ .กรอบแนวทางการส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศาสนา<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (ททท.) โดย ภูมิภาคภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ,2557/<br />

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม<br />

หอจดหมายเหตุพุทธทาสอินทรปัญโญ ในรูปแบบของการจัดทา<br />

คู่มือเส้นทางการท่องเที่ยวรวมถึงให้ข้อมูลสถานที่ และออกแบบ<br />

เส้นทางการท่องเที่ยว เช่น 108 เส้นทางออมบุญ เที่ยวทั่วไทย<br />

ให้ถึงธรรม ความสุขที่แท้บนเส้นทางบุญทั่วไทย เที่ยวไทยถิ่นธรรมะ<br />

เรียนรู้แก่นแท้พระพุทธศาสนา แนะนาสถานที่ปฏิบัติธรรม<br />

ทั่วประเทศ<br />

โดยหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทรปัญโญ หรือสวนโมกข์<br />

กรุงเทพฯ ได้ร่วมมือกับการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย ได้ออกแบบ<br />

เส้นทาง และจัดกิจกรรมท่องเที่ยวเชิงศาสนาขึ้นมี 4 รูปแบบด้วย<br />

กัน คือ<br />

1. ท่องเที ่ยวตามรอยธรรม คือ ไปดู ไปเรียนรู้ ได้อยู่วัด ได้<br />

เพลิดเพลิน ได้เสริมศรัทธา โดยใช้เวลาไม่นานนักตาม<br />

เส้นทางต่างๆ ที่ได้ออกแบบในแต่ละครั้ง<br />

2. ท่องเที่ยวอาจาริยบูชา คือ ไปงานตามโอกาสต่างๆ เช่น งาน<br />

อาจารย์ชา อาจารย์มั่น อาจารย์เสาร์ ซึ่งมักเป็นในภาคอีสาน<br />

หรืออิงจากวัด อาทิ วัดพระธาตุพนม ที่ได้คิดงานใหม่ขึ้นมา<br />

โดยให้ปฏิบัติธรรมกันทั้งคืน โดยบางงานนั ้นมีอยู่แล้ว<br />

บางงานก็สร้างขึ้นมาใหม่<br />

3. ท่องเที่ยวปฏิบัติใหญ่ คือ การปฏิบัติเลย<br />

4. การอยู่วัดปฏิบัติธรรม 3-7 วัน แล้วแต่จังหวะ โอกาส วันหยุด<br />

สถานที่ และพระ เช่น วัดป่าสุคะโต ปฏิบัติธรรม 1 อาทิตย์<br />

วัดป่าธรรมทัสสีปฏิบัติธรรม 3 วัน วัดป่าโนนกุดหล่ม 2 วัน<br />

เป็นต้น<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

55


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ตัวอย่างเส้นทางท่องเที่ยวเรียนรู้ และปฏิบัติธรรมตลอดปี 12 เดือน<br />

ประกอบด้วยการเดินทางท่องเที่ยวสักการะบูชา และเรียนรู้<br />

รอยธรรมตามเส้นทางเพื่อเสริมสร้างศรัทธาในพระพุทธศาสนาแล้ว<br />

รับศีลอุโบสถเข้าอยู่วัดปฏิบัติธรรม 1-2 วัน ที่สานักปฏิบัติธรรม<br />

ในเส้นทาง อาทิ วัดพระธาตุแช่แห้ง จังหวัดน่าน วัดพระธาตุ<br />

ผาซ่อนแก้ว จังหวัดเพชรบูรณ์ สวนโมกขพลาราม ไชยา จังหวัด<br />

สุราษฎร์ธานี ขุนน้าเขาหลวง คีรีวง จังหวัดนครศรีธรรมราช<br />

วัดสุนันทวนาราม จังหวัดกาญจนบุรี วัดสุญญตาราม จังหวัด<br />

ประจวบคีรีขันธ์ วัดป่าโสมพนัส จังหวัดสกลนคร วัดป่านานาชาติ<br />

จังหวัดอุบลราชธานี วัดอุโมงค์ จังหวัดเชียงใหม่21<br />

โอกาสและข้อจากัดของไทยต่อการท่องเที ่ยว<br />

เชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ประเทศไทยในฐานะเป็นศูนย์กลางทางพุทธศาสนา ของเอเชีย<br />

ตะวันออกเฉียงใต้ เป็นประเทศหนึ่งที่พรั่งพร้อมด้วยสถาปัตยกรรม<br />

ทางพุทธศาสนาอันเก่าแก่งดงาม พระธรรมคาสั่งสอนที่หยั่งรากลึก<br />

มาอย่างยาวนาน และปูชนียบุคคล บูรพาจารย์ต่างๆ ผู้ศึกษาธรรมะ<br />

สิ่งนี้เป็นโอกาสอันดี ต่อการท่องเที่ยวในรูปแบบเชิงศาสนาและ<br />

จิตใจ สาหรับข้อจากัดของการท่องเที่ยวนั้น ผู้ดาเนินการท่องเที่ยว<br />

เชิงศาสนา อย่างหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทรปัญโญ โดย<br />

นายแพทย์บัญชา พานิช ได้สะท้อนว่า ปัจจุบันความต้องการ<br />

การท่องเที่ยวในเชิงศาสนามีปริมาณมาก แต่ผู้จัดไม่พอเพียงกับ<br />

ปริมาณความต้องการที่เกิดขึ้น และการท่องเที่ยวในรูปแบบนี้<br />

รับได้จานวนไม่มากนักต่อการเดินทางในแต่ละครั้ง จึงมีนักท่องเที่ยว<br />

แม้จะมีการพยายามผลักดันจากหน่วยงานต่างๆเช่น การท่องเที่ยว<br />

แห่งประเทศไทย กรมการศาสนา กระทรวงวัฒนธรรม ซึ่งต่าง<br />

ทาไปในทิศทางของตน ไม่มีการประสานให้มีทิศทางที่สอดคล้อง<br />

และมีความสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ในทรัพยากรที่มี<br />

นอกจากนี้ ปัจจุบันการท่องเที่ยวเชิงศาสนายังไม่อยู่ในวงกว้าง ไม่มี<br />

อะไรเป็นแรงบันดาลใจใหม่ ทั้งแหล่งท่องเที่ยว และแรงจูงใจในการ<br />

เดินทาง ผู้เดินทางจึงเป็นกลุ่มคนเดิมๆ ที่นิยมเที่ยวในลักษณะนี้<br />

อีกทั้งความที่ไม่มีนิยาม และรูปแบบที่ชัดเจน ทาให้การท่องเที่ยว<br />

ทางศาสนาและจิตใจ ไม่สามารถมีทิศทางในการพัฒนาได้อย่าง<br />

ชัดเจนและมั่นคง<br />

จานวนมากที่ไม่ได้รับการตอบสนอง 22<br />

56 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

22<br />

นายแพทย์บัญชา พงษ์พานิช. กรรมการและเลขานุการมูลนิธิหอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ.<br />

สัมภาษณ์ ,29มิถุนายน 2559


การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

ข้อเสนอแนะในการดาเนินการของภาครัฐ<br />

และภาคเอกชน<br />

• ควรกาหนดให้การท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ เป็นหนึ่งใน<br />

การท่องเที่ยวรายสาขาที่จะส่งเสริมและพัฒนาให้เป็น<br />

การท่องเที่ยวที่สาคัญ โดยศึกษาและจัดทายุทธศาสตร์การ<br />

ส่งเสริมและพัฒนาเพื่อเป็นแนวทางในการบูรณาการหน่วยงาน<br />

ที่เกี่ยวข้องในการพัฒนาอย่างเป็นระบบและยั่งยืน<br />

• จัดทามาตรฐานการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ สาหรับแหล่ง<br />

ท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ และบริษัทนาเที่ยวเชิงศาสนา<br />

และจิตใจ<br />

• ส่งเสริมให้มัคคุเทศก์ มีปริมาณที่เพียงพอ และมีคุณภาพในการ<br />

ให้ข้อมูลสถานที่ และข้อมูลด้านธรรมะ ต่อการท่องเที่ยว<br />

เชิงศาสนาและจิตใจ<br />

• สร้างสรรค์การท่องเที่ยวในเชิงศาสนาและจิตใจ ให้เชื่อมโยงกับ<br />

คุณภาพที่ดีของกาย และใจ เช่น โยคะ อาหารเพื่อสุขภาพ สปา<br />

เพื่อความผ่อนคลาย เป็นต้น<br />

• สร้างความร่วมมือระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชนในการ<br />

จัดบริการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจที่มีคุณค่า ให้เหมาะสม<br />

และเพียงพอกับความต้องการของนักท่องเที่ยว<br />

• ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจแก่นักท่องเที่ยว<br />

ชาวต่างชาติให้มากขึ้น<br />

• ส่งเสริมให้นักท่องเที่ยวจัดอันดับแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนา<br />

ประเภทต่างๆ ในประเทศไทย และเผยแพร่ผ่านสื ่อต่างๆ<br />

เพื่อเป็นแนวทางแก่ชาวต่างชาติที่สนใจ และกระตุ้นให้เดินทาง<br />

มาประเทศไทย<br />

ประเทศไทย ในฐานะดินแดนที่พระพุทธศาสนาหยั่งรากมาเนิ่นนาน<br />

เป็นประเทศที่มีศักยภาพ สาหรับการท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจ<br />

เป็นอย่างสูง เพียงเริ่มตระหนักถึงสิ่งนี้ และร่วมสร้างรูปธรรมของ<br />

การท่องเที่ยวให้ชัดเจน โดยความร่วมมือของภาครัฐ และเอกชน<br />

พร้อมกับดูแลให้ทิศทางของการท่องเที่ยวทางศาสนา ให้ไม่กระทบ<br />

ชุมชนผู้เป็นเจ้าของแหล่งท่องเที่ยว ก็จะทาให้ประเทศไทยสามารถ<br />

เป็นแหล่งท่องเที่ยวเชิงศาสนาและจิตใจที่สาคัญแห่งหนึ่งของโลก<br />

หากประเทศไทยไม่มีความพร้อมรองรับ อาจเป็นช่องทางที่ไทย<br />

จะสูญเสียโอกาสนี้ไป<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

57


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

(Thailand Tourism Indicators)<br />

จำานวนนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2557 – 2559P และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: จำนวนนักท่องเที่ยว (คน)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

2559P<br />

Q1P Q2P<br />

East Asia 14,603,825 19,871,773 4,846,314 4,988,026 5,130,180 4,907,253 5,797,621 5,396,840<br />

Europe 6,161,893 5,629,122 1,930,027 939,035 1,071,722 1,688,338 2,095,250 1,039,243<br />

Other 4,043,965 4,380,196 1,052,812 1,051,654 1,105,806 1,169,924 1,146,022 1,116,928<br />

Grand Total 24,809,683 29,881,091 7,829,153 6,978,715 7,307,708 7,765,515 9,038,893 7,553,011<br />

หน่วย: % กรเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

2559P<br />

Q1 Q2P<br />

East Asia -8.22 +36.07 +52.47 +60.80 +34.60 +8.76 +19.63 +8.20<br />

Europe -2.28 -8.65 -13.85 -9.02 +1.36 -7.84 +8.56 +10.67<br />

Other -6.59 +8.31 +10.02 +9.21 +12.64 +2.41 +8.85 +6.21<br />

Grand Total -6.54 +20.44 +22.79 +36.92 +24.91 +3.73 +15.45 +8.23<br />

หมยเหตุ : P หมยถึงข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่ม : กรมกรท่องเที่ยว<br />

58 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อวันของนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2557 – 2559P<br />

และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: ค่ใช้จ่ยเฉลี่ย (บท/คน/วัน)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

2559P<br />

Q1P Q2P<br />

East Asia 5,114.28 5,500.11 5,570.66 5,169.06 5,611.05 5,692.80 5,937.31 5,456.30<br />

Europe 4,208.91 4,270.42 4,146.89 3,963.78 4,115.53 4,534.14 4,332.19 4,060.20<br />

Other 5,266.19 5,416.60 5,054.43 4,926.09 5,284.50 5,722.57 5,227.90 5,100.26<br />

Grand Total 4,774.93 5,072.69 4,919.63 4,841.10 5,173.13 5,238.27 5,234.83 5,037.03<br />

หน่วย: % กรเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

2559P<br />

Q1P Q2P<br />

East Asia +5.81 +7.54 +9.38 +8.92 +7.87 +5.89 +6.58 +5.56<br />

Europe +2.28 +1.46 +1.08 +2.07 +2.73 -1.92 +4.47 +2.43<br />

Other +4.85 +2.86 +3.43 +3.54 +3.21 -1.66 +6.07 +1.51<br />

Grand Total +3.43 +6.24 +7.77 +8.05 +7.03 +2.15 +6.41 +4.05<br />

หมยเหตุ : P หมยถึงข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่ม : กรมกรท่องเที่ยว<br />

รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ ปี 2557 – 2559P<br />

และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: รยได้ (ล้นบท)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

2559P<br />

Q1P Q2P<br />

East Asia 504,208.13 759,583.60 184,930.45 187,445.36 205,242.17 181,965.62 236,137.06 215,574.54<br />

Europe 424,381.34 408,447.94 136,061.29 67,779.98 76,525.70 128,080.97 154,036.97 76,794.04<br />

Other 244,208.70 279,126.51 64,944.25 65,390.93 71,318.84 77,472.49 73,533.47 70,564.69<br />

Grand Total 1,172,798.17 1,447,158.05 385,935.99 320,616.27 353,086.71 387,519.08 463,707.50 362,933.27<br />

หน่วย: % กรเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

Country<br />

of Nationality<br />

2557<br />

Y<br />

2558<br />

Y<br />

2558P<br />

Q1 Q2 Q3P Q4P<br />

2559P<br />

Q1P Q2P<br />

East Asia -4.15 +50.65 +68.00 +85.62 +50.69 +15.94 +27.69 +15.01<br />

Europe -1.00 -3.75 -7.89 -1.68 +6.58 -5.77 +13.21 +13.30<br />

Other -3.25 +14.30 +17.91 +18.84 +18.19 +5.03 +13.23 +7.91<br />

Grand Total -2.85 +23.39 +23.35 +42.53 +31.58 +5.70 +20.15 +13.20<br />

หมยเหตุ : P หมยถึงข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่ม : กรมกรท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

59


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

อัตราการเข้าพักของสถานพักแรมในประเทศ และการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: ร้อยละ<br />

ภูมิภาค 2557 2558 2558P<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

2559P<br />

Q1 Q2<br />

กรุงเทพฯ 67.50 76.33 75.47 69.03 66.38 78.59 81.16 76.91<br />

ภาคกลาง 50.95 56.27 59.05 55.40 52.34 57.83 63.18 59.34<br />

ภาคเหนือ 50.11 54.2 62.22 48.58 45.92 60.21 65.09 52.00<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 50.48 53.83 57.03 50.06 51.10 57.26 60.44 52.30<br />

ภาคตะวันออก 62.96 68.02 70.41 67.69 61.67 72.32 72.60 72.06<br />

ภาคตะวันตก 58.54 64.26 68.12 59.66 59.23 70.04 71.08 62.18<br />

ภาคใต้ 61.35 66.69 73.69 64.97 57.43 66.68 77.97 67.69<br />

รวม 58.93 65.12 68.58 60.75 56.79 67.79 72.80 65.61<br />

หน่วย: ร้อยละ<br />

ภูมิภาค 2557 2558 2558P<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

2559P<br />

Q1 Q2<br />

กรุงเทพฯ -0.84 +8.83 +9.60 +5.74 +2.64 +1.50 +5.69 +1.82<br />

ภาคกลาง +5.60 +5.32 +5.46 +5.57 +6.96 +2.82 +4.13 +3.58<br />

ภาคเหนือ +6.57 +4.09 +3.42 +4.86 +4.93 +3.27 +2.87 +3.54<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ +1.39 +3.35 +3.98 +3.45 +3.94 +2.18 +3.41 +2.51<br />

ภาคตะวันออก +1.39 +5.06 +5.08 +5.98 +4.57 +4.61 +2.19 +2.02<br />

ภาคตะวันตก +3.99 +5.72 +4.85 +5.69 +5.56 +5.12 +2.96 +2.72<br />

ภาคใต้ +2.91 +5.34 +3.43 +5.19 +3.36 +5.41 +4.28 +1.20<br />

รวม +2.63 +6.19 +4.86 +5.02 +3.92 +4.26 +4.22 +2.12<br />

หมยเหตุ : P หมยถึง ข้อมูลเบื้องต้น<br />

ที่ม : กรมกรท่องเที่ยว<br />

60 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

รายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศของชาวไทย และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย: ล้นบท<br />

ภูมิภาค 2557 2558P 2558P<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

2559P<br />

Q1 Q2<br />

กรุงเทพฯ 250,931.26 285,399.26 68,222.48 71,814.05 86,589.24 58,773.49 72,498.11 78,156.76<br />

ภาคกลาง 35,180.27 38,694.36 7,786.79 9,580.46 8,712.43 12,614.68 8,408.83 9,929.13<br />

ภาคเหนือ 97,084.33 108,586.30 30,717.89 23,395.28 18,144.72 36,328.41 33,808.53 25,504.28<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 56,463.65 61,830.06 16,232.42 15,113.79 14,854.22 15,629.63 16,793.88 19,702.06<br />

ภาคตะวันออก 68,972.35 78,794.14 16,023.92 20,841.63 16,178.93 25,749.66 17,856.28 14,277.13<br />

ภาคตะวันตก 53,230.85 60,486.36 13,400.89 12,511.50 13,182.65 21,391.32 15,038.51 23,229.39<br />

ภาคใต้ 139,588.77 156,239.10 46,875.88 37,044.42 30,689.26 41,629.54 51,474.65 37,949.91<br />

รวม 701,451.48 790,029.58 199,260.27 190,301.13 188,351.45 212,116.73 215,878.79 208,748.66<br />

หน่วย: ร้อยละ<br />

ภูมิภาค 2557 2558P 2558P<br />

Q1 Q2 Q3 Q4<br />

2559P<br />

Q1 Q2<br />

กรุงเทพฯ +3.23 +13.74 +13.22 +6.90 +9.83 +31.60 +6.27 +4.24<br />

ภาคกลาง +7.52 +9.99 +11.77 +11.18 +15.67 +4.56 +7.99 +3.02<br />

ภาคเหนือ +16.10 +11.85 +12.73 +15.33 +10.59 +9.61 +10.06 +9.87<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ +4.00 +9.50 +13.12 +11.49 +14.51 +0.28 +3.46 +30.59<br />

ภาคตะวันออก +3.15 +14.24 +13.69 +17.22 +8.33 +16.19 +11.44 +14.11<br />

ภาคตะวันตก +11.25 +13.63 +16.10 +13.61 +16.14 +10.69 +12.22 +10.92<br />

ภาคใต้ +5.52 +11.93 +9.70 +15.21 +8.94 +13.95 +9.81 +6.14<br />

รวม +6.17 +12.63 +12.46 +11.56 +10.66 +15.61 +8.34 +8.65<br />

จำานวนห้องพักของสถานพักแรม ปี 2559 รายภูมิภาค<br />

ภูมิภาค<br />

จำานวนห้องพัก<br />

2558 2559P % การเปลี่ยนแปลง<br />

กรุงเทพมหานคร 138,286 136,043 -1.62<br />

ภาคกลาง 28,463 28,861 +1.40<br />

ภาคเหนือ 95,910 96,971 +1.11<br />

ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 67,885 73,483 +8.25<br />

ภาคตะวันออก* 80,443 102,409 +27.31<br />

ภาคตะวันตก 39,082 40,437 +3.47<br />

ภาคใต้ 200,574 200,950 +0.19<br />

รวม 650,643 679,154 +4.38<br />

หมยเหตุ : จังหวัดชลบุรีปรับฐนจำนวนห้องพักตมควมเห็นของสมคมด้นกรท่องเที่ยว กรท่องเที่ยวแห่งประเทศไทยจังหวัดชลบุรี และกรมกรท่องเที่ยว<br />

ที่ม : กรมกรท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong><br />

61


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

จำานวนเที่ยวบินในประเทศ และระหว่างประเทศ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย : เที่ยวบิน<br />

2558<br />

2558 2559<br />

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2<br />

Domestic Flight Scheduled Flight 480,368 117,793 117,774 118,803 125,998 125,129 124,408<br />

Non-Scheduled<br />

Flight<br />

25,890 7,393 6,569 5,930 5,998 6,882 5,434<br />

Total 506,258 125,186 124,343 124,733 131,996 132,011 129,842<br />

International Flight Scheduled Flight 367,407 88,681 89,334 92,108 97,284 102,111 97,580<br />

Non-Scheduled<br />

Flight<br />

17,469 6,261 3,701 3,657 3,850 5,449 2,703<br />

Total 384,876 94,942 93,035 95,765 101,134 107,560 100,283<br />

Grand total 891,134 220,128 217,378 220,498 233,130 239,571 230,125<br />

ที่ม : กรมท่อกศยน<br />

หน่วย : ร้อยละ<br />

2558<br />

2558 2559<br />

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2<br />

Domestic Flight Scheduled Flight +22.37 +21.31 +28.58 +28.44 +13.14 +6.23 +5.63<br />

Non-Scheduled<br />

Flight<br />

-13.65 -10.28 -13.80 -20.10 -10.45 -6.91 -17.28<br />

Total +19.81 +18.84 +25.32 +24.83 +11.81 +5.45 +4.42<br />

International Flight Scheduled Flight +17.77 +10.61 +21.62 +27.20 +13.20 +15.14 +9.23<br />

Non-Scheduled<br />

Flight<br />

-8.34 -14.02 +1.76 -2.77 -12.08 -12.97 -26.97<br />

Total +16.26 +8.56 +20.68 +25.72 +11.97 +13.29 +7.79<br />

Grand total +18.25 +14.18 +23.29 +25.22 +11.88 +8.83 +5.86<br />

ที่ม : กรมท่อกศยน<br />

62 <strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong>


ตัวชี้วัดเศรษฐกิจการท่องเที่ยว<br />

จำานวนผู้โดยสารเที่ยวบินในประเทศ และระหว่างประเทศ และอัตราการเปลี่ยนแปลง (Y-o-Y)<br />

หน่วย : คน<br />

2558 2559<br />

2558<br />

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2<br />

Domestic Flight Scheduled Flight 62,402,387 15,684,619 14,587,319 15,308,510 16,821,939 17,801,969 16,304,241<br />

Non-Scheduled 550,691 156,921 143,438 130,961 119,371 257,394 121,235<br />

Flight<br />

Total 62,953,078 15,841,540 14,730,757 15,439,471 16,941,310 18,059,363 16,425,476<br />

International Flight Scheduled Flight 59,624,515 15,294,607 14,279,499 14,493,435 15,556,974 17,791,727 15,857,154<br />

Non-Scheduled 2,959,705 1,103,710 616,060 579,012 660,923 1,061,837 478,926<br />

Flight<br />

Total 62,584,220 16,398,317 14,895,559 15,072,447 16,217,897 18,853,564 16,336,080<br />

Grand total 125,537,298 32,239,857 29,626,316 30,511,918 33,159,207 36,912,927 32,761,556<br />

ที่ม : กรมท่อกศยน<br />

หน่วย : ร้อยละ<br />

2558 2559<br />

2558<br />

Q1 Q2 Q3 Q4 Q1 Q2<br />

Domestic Flight Scheduled Flight +25.82 +27.45 +29.71 +28.29 +19.20 +13.50 +11.77<br />

Non-Scheduled +2.08 -12.38 +10.88 +3.90 +13.70 +64.03 -15.48<br />

Flight<br />

Total +25.56 +26.88 +29.49 +28.03 +19.16 +14.00 +11.50<br />

International Flight Scheduled Flight +22.68 +24.96 +33.79 +26.11 +9.57 +16.33 +11.05<br />

Non-Scheduled -14.64 -23.04 -1.54 -6.62 -16.08 -3.79 -22.26<br />

Flight<br />

Total +20.19 +19.92 +31.84 +24.43 +8.22 +14.97 +9.67<br />

Grand total +22.83 +23.24 +30.66 +26.23 +13.55 +14.49 +10.58<br />

ที่ม : กรมท่อกศยน<br />

จำานวนแรงงานในภาคการท่องเที่ยว ปี 2553 – 2559e (ไตรมาสที่ 2)<br />

หน่วย : คน<br />

ภูมิภาค 2553 2554 2555 2556 2557 2558p 2559e<br />

ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2<br />

สถานพักแรม 348,492 404,849 470,371 494,636 503,854 516,100 522,051 524,766<br />

การบริการอาหารและเครื่องดื่ม 2,314,475 2,142,755 2,119,879 2,083,304 2,100,865 2,129,419 2,153,694 2,171,139<br />

การขนส่งผู้โดยสารทางรถไฟ 15,041 16,405 16,585 16,801 17,053 17,104 17,145 17,145<br />

การขนส่งผู้โดยสารโดยรถโดยสาร 553,872 526,577 589,902 588,819 584,990 592,857 602,342 608,968<br />

การขนส่งทางผู้โดยสารทางทะเล<br />

และชายฝั่ง<br />

29,608 31,829 34,630 37,574 40,661 44,127 44,921 45,281<br />

การขนส่งทางอากาศ 30,493 35,128 39,618 44,071 47,081 51,094 53,751 56,063<br />

การเช่ารถยนต์และอุปกรณ์โดยไม่มี<br />

ผู้ควบคุม<br />

5,851 6,468 9,856 8,488 10,580 11,482 11,734 11,981<br />

ตัวแทนบริษัทนำาเที่ยว 40,016 47,721 57,412 68,223 64,504 70,003 73,783 76,955<br />

การแสดง การละเล่นพื้นบ้าน<br />

ศิลปวัฒนธรรม<br />

69,155 62,938 59,899 52,685 52,645 54,595 56,014 56,239<br />

บริการกีฬาและนันทนาการ 127,300 164,682 246,650 252,793 258,431 265,367 271,629 277,426<br />

การขายสินค้าเพื่อการท่องเที่ยว 287,783 291812 294,362 259,396 240,648 241,851 251,767 260,831<br />

บริกรอื่น ๆ ด้นกรท่องเที่ยว 109,513 122,983 143,275 162,588 168,070 174,084 178,959 182,717<br />

รวมแรงงนภคกรท่องเที่ยว 3,931,599 3,854,147 4,082,439 4,069,378 4,089,382 4,168,083 4,237,792 4,289,509<br />

จำนวนแรงงนทั้งหมด 38,037,342 38,464,670 38,939,127 38,216,622 38,077,430 38,330,420 38,312,290 38,517,261<br />

สัดส่วนแรงงานภาคการท่องเที่ยวต่อ 10.34 10.02 10.48 10.65 10.74 10.87 11.06 11.14<br />

แรงงานทั้งหมด (ร้อยละ)<br />

หมยเหตุ : p หมยถึง ข้อมูลเบื้องต้น e หมยถึง ข้อมูลประมณกร ที่ม : กรมกรท่องเที่ยว<br />

<strong>รายงานภาวะเศรษฐกิจท่องเที่ยว</strong> 63


NOTE


กลุมสารสนเทศเศรษฐกิจการทองเที่ยวและกีฬา<br />

กองเศรษฐกิจการทองเที่ยวและกีฬา<br />

กระทรวงการทองเที่ยวและกีฬา<br />

เลขที่ 4 ถนนราชดำเนินนอก แขวงวัดโสมนัส เขตปอมปราบศัตรูพาย กรุงเทพมหานคร 10100<br />

โทรศัพท : 0-2283-1500 โทรสาร : 0-2356-0746<br />

ภายใตโครงการจัดทำรายงานภาวะเศรษฐกิจการทองเที่ยวรายไตรมาส<br />

บรษัท เอ็กเซลเลนท บิสเนส แมเนจเมนท จำกัด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!