19.08.2020 Views

WorldOfRubber2

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

คิดเป็นร้อยละ 74 ของจำานวนการผลิตยางธรรมชาติ ในการส่งออกยางธรรมชาติ

จะผลิตเป็นน้ำายางข้น 1.12 ล้านตัน คิดเป็นร้อยละ 30 ของการส่งออกยางของ

ประเทศไทย และกว่าครึ่งหนึ่งของน้ำายางข้นที่ส่งออกของไทยคือส่งไปประเทศ

มาเลเซีย ประเทศจีนก็เป็นประเทศที่รับซื้อน้ำายางข้นเป็นอันดับ 2 (คิดเป็น

ร้อยละ 35) ส่วนในยางแห้งที่ส่งออกจะผลิตเป็นยางแผ่นรมควัน 0.476 ล้านตัน

ยางแท่ง (STR) 1.47 ล้านตัน ซึ่งเป็นที่น่าตั้งเป็นข้อสังเกตว่ายางแท่งมีปริมาณ

ความต้องการมากกว่ายางแผ่นรมควันเกือบ 3 เท่าตัว

ถ้าดูจากข้อมูลด้านบน เราจะเห็นว่าน้ำายางข้นก็เป็นผลิตภัณฑ์การเกษตร

ที่สำาคัญตัวหนึ่งที่ทำารายได้ให้ประเทศไทย พวกเราอาจละเลยและไม่ได้

ให้ความสนใจในเรื่องของน้ำายางมากเท่ายางแห้ง เราควรหันมาวิเคราะห์ตลาด

ของน้ำายางข้นกันบ้างเพื่อเพิ่มมูลค่าแก่สินค้าตัวนี้ ตลาดสำาคัญของน้ำายางคือ

ตลาดถุงมือทางการแพทย์ถุงมืออุตสาหกรรม ถุงยางอนามัย และหมอนยางพารา

ตลาดถุงมือและถุงยางอนามัยเติบโตขึ้นมากเพราะการระบาดของโรคเอดส์ในปีนี้

ราคาน้ำายางมีราคาสูงขึ้นเนื่องจากความต้องการถุงมือยางมีจำานวนเพิ่มมากขึ้น

เพราะการระบาดของเชื้อไวรัสโควิด19 ปัจจุบันทั่วโลกมีความต้องการถุงมือยาง

จำานวน 3 แสนล้านชิ้นและคาดว่าจะมีการเติบโตรัอยละ12 ต่อปี ประเทศมาเลเซีย

คือผู้ผลิตถุงมือยางที่ใหญ่เป็นอันดับหนึ่งของโลกโดยครองตลาดกว่าร้อยละ 63

ประเทศไทยตามมาเป็นอันดับ 2 มีส่วนแบ่งตลาดเพียงร้อยละ 18 ทั้งๆ ที่

ประเทศไทยเป็นแหล่งวัตถุดิบทั้งน้ำายางธรรมชาติและน้ำายาง NBR (ผลิตโดย

บริษัท กรุงเทพ ซินธิติกส์) ตามมาด้วยจีนเป็นผู้ผลิตถุงมือยางเป็นอันดับ3 และ

อินโดนิเซียเป็นอันดับ 4 การใช้น้ำายางธรรมชาติในการผลิตถุงมือยางในครั้งอดีต

ถูกทดแทนด้วยน้ำ ายาง Chloroprene เมื่อประมาณ 18 ปีมาแล้ว สาเหตุใหญ่มาจาก

การแพ้โปรตีนในน้ำายางธรรมชาติของบุคคลากรทางการแพทย์ และกำาลังจะถูก

ทดแทนด้วยน้ำายางสังเคราะห์NBR ที่เติบโตขึ้นมาอย่างรวดเร็วข้อมูลอีกเรื่องหนึ่ง

38

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!