25.09.2020 Views

ASA Journal 04/57

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ISSUE <strong>04</strong>.2014<br />

วารสารสถาปตยกรรม<br />

ของสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

THE ARCHITECTURAL JOURNAL<br />

OF THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

LANDSCAPE & ARCHITECTURE<br />

<strong>04</strong><br />

2014<br />

LANDSCAPE &<br />

ARCHITECTURE<br />

A TALK WITH THE LANDSCAPE<br />

ARCHITECTURE MASTER: DECHA<br />

BOONKHAM / 137 PILLARS HOUSE<br />

/ GREEN PARK BY INSEE / PYDE BY<br />

SANSIRI / HYDE SUKUMVIT 13 /<br />

SCG NEW HEAD QUARTER /<br />

LANDSCAPE & ARCHITECTURE:<br />

COLLABORATIONS IN CONVER-<br />

SATIONS<br />

ISSN 08<strong>57</strong>-3050


THEMES<br />

58<br />

64<br />

40 A Talk with the Landscape Architecture<br />

Master : Decha Boonkham<br />

46 137 Pillars House<br />

52 Green Park by Insee<br />

58 The Forest+Pool @Pyne by Sansiri<br />

64 Hyde Sukhumvit 13<br />

70 SCG New Head Quarter<br />

70<br />

แกไขขอผิดพลาด<br />

ในวารสารอาษา ฉบับ 03 I 2014 พฤษภาคม – มิถุนายน 25<strong>57</strong> หนา 26 รายละเอียดของ<br />

สถาปนิกผูออกแบบโครงการ PTT Innovation Park Landmark ที่ถูกตองคือ บริษัท<br />

สถาปนิก 49 จํากัด และ บริษัท ดีไซน คอนเซป จํากัด และในหนาเดียวกัน งบประมาณการ<br />

กอสรางที่ถูกตองคือ สองพันลานบาท กองบรรณาธิการวารสารอาษาขออภัยในความผิด-<br />

พลาดที่เกิดขึ้นมา ณ ที่นี้<br />

4 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


SECTIONS<br />

14<br />

NEWS<br />

14 Earthquake Recovery Project in<br />

Chiangrai<br />

22 17 I 80 from Line to Construction<br />

WORKS<br />

IN PROGRESS<br />

24 Compass House<br />

28 Siamese Ratchakru<br />

32 The Home Garden Ville<br />

36 Siriraj Hospice Center<br />

28<br />

CONVERSATION<br />

76 Landscape & Architecture :<br />

Collaborations in Conversations :<br />

Interviews with L49 + A49 / Landprocess<br />

+ OBA / Shma + Somdoon<br />

ASEAN<br />

88 The Silent Signature : Some talking<br />

points : Why condominiums designed<br />

by world-renowned architects<br />

in Singapore lack the souls<br />

of the architects themselves?<br />

CONSERVATION<br />

94 The Museum of Floral Culture<br />

<strong>ASA</strong> COMMITEE<br />

100 Interviewing the President :<br />

80 Years and Ways Forward<br />

106 DETAIL<br />

110 UPDATE MATERIAL<br />

112 PRODUCT NEWS<br />

114 REVIEW<br />

120 <strong>ASA</strong> CARTOON<br />

6 <strong>ASA</strong> CONTENTS วารสารอาษา


FOREWORD<br />

ADVISORS<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

SMITH OBAYAWAT<br />

PONGKWAN LASSUS<br />

TONKAO PANIN<br />

ANEK THONGPIYAPOOM<br />

M.L.PIYALADA THAVEEPRUNGSRIPORN<br />

WIRAT PANTAPATKUL<br />

MAADDI THUNGPANICH<br />

MONGKON PONGANUTREE<br />

EDITOR IN CHIEF<br />

SUPITCHA TOVIVICH<br />

CONTRIBUTORS<br />

AROON PURITAT<br />

JAKSIN NOYRAIPHOOM<br />

JIRAWIT YAMKLEEB<br />

SASIKAN SRISOPON<br />

SAKE SIMARAKS<br />

SORAVIS NA NAGARA<br />

SUPITCHA TOVIVICH<br />

XAROJ PHRAWONG<br />

WARUT DUANGKAEWKART<br />

WORARAT PATUMNAKUL<br />

SPECIAL THANKS TO<br />

ARCHITECTS 49<br />

DESIGN 103<br />

DECHA BOONKHAM<br />

HABITA ARCHITECTS<br />

INTER ARKITEK<br />

LAB STUDIO<br />

LANDPROCESS<br />

LANDSCAPE ARCHITECTS 49<br />

OFFICE OF BANGKOK ARCHITECTS<br />

OPENBOX<br />

P LANDSCAPE<br />

PALMER & TURNER (THAILAND)<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

SANITAS STUDIO<br />

SHMA<br />

SOMDOON ARCHITECTS<br />

TROP<br />

XSITE DESIGN STUDIO<br />

ENGLISH TRANSLATOR<br />

TANAKANYA CHANGCHAITUM<br />

GRAPHIC DESIGNERS<br />

WILAPA KASVISET<br />

MANUSSANIT SRIRAJONGDEE<br />

VANICHA SRATHONGOIL<br />

CO-ORDINATOR<br />

WARUT DUANGKAEWKART<br />

THE ASSOCIATION OF SIAMESE<br />

ARCHITECTS UNDER ROYAL<br />

PATRONAGE ORGANIZES<br />

248/1 SOI SOONVIJAI 4 (SOI 17)<br />

RAMA IX RD., BANGKAPI,<br />

HUAYKWANG, BANGKOK 10310<br />

T : +66 2319 6555<br />

F : +66 2319 6419<br />

W : asa.co.th<br />

E : office@asa.or.th<br />

PRINT<br />

FOCAL IMAGE<br />

248/1 SOI SANTINARUEMAN RD.<br />

SUKHUMVIT RD. BANGKOK 10230<br />

T : +66 2259 1523<br />

E : <strong>ASA</strong>JOURNAL@GMAIL.COM<br />

ADVERTISING DEPARTMENT<br />

T : +66 2397 0582-3<br />

F : +66 2747 6627<br />

SUBSCRIBE TO <strong>ASA</strong> JOURNAL<br />

T : +66 2319 6555<br />

การออกแบบภูมิสถาปตยกรรมเปนศาสตรสําคัญที่หากผสมผสานกับการออกแบบ<br />

สถาปตยกรรมไดอยางกลมกลืนแลวนั้นยอมชวยใหเกิดคุณภาพที่ดีของพื้นที่วาง ขอบเขตของ<br />

สองสาขาวิชานั้นมีความชัดเจนในเชิงเทคนิคและความรูเฉพาะทาง ในขณะที่มีความยืดหยุน ไม<br />

ชัดเจน และพรอมจะไหลเขาหากันในสวนของเนื้อหาและพื้นที่ วารสารอาษาเลมนี้เปนการพูดถึง<br />

ความสัมพันธของการออกแบบภูมิสถาปตยกรรมและสถาปตยกรรม โดยทีมงานไดรับเกียรติ<br />

จากศาสตราจารยกิตติคุณ เดชา บุญค้ํา ผูซึ่งเปนบุคคลสําคัญที่สุดทานหนึ่งของแวดวงภูมิ-<br />

สถาปตยกรรม มารวมพูดคุยเกี่ยวกับความเปนมาของวิชาชีพภูมิสถาปตยกรรม ในสวนของ<br />

คอลัมน Work in Progress เปนการอัพเดทงานออกแบบของนักออกแบบรุนใหมและรุนกลาง<br />

ที่มีความนาสนใจของการผสมผสานงานภูมิสถาปตยกรรมเขากับงานสถาปตยกรรม ในสวน<br />

Theme มีการรีวิวโปรเจ็คตงานออกแบบหลากหลายที่สถาปนิกและภูมิสถาปนิกทํางานรวมกัน<br />

ในระดับที่แตกตางกัน ทั้งที่เปนอาคารประเภทโรงแรม สวนสาธารณะ คอนโดมิเนียม และอาคาร<br />

สํานักงาน นอกจากนี้ยังมีบทสัมภาษณคูกันของสถาปนิกและภูมิสถาปนิกที่ทํางานรวมกันเปน<br />

ประจํา พูดคุยแลกเปลี่ยนกันถึงบทบาท หนาที่ และการเติมเต็มระหวางกันในการทํางาน ในสวน<br />

คอลัมนอื่นๆ มีความนาสนใจไมแพกัน เชน คอลัมน ASEAN กลาวถึงปจจัยแวดลอมตางๆ ที่<br />

อาจเปนผลทําใหผลงานออกแบบของสถาปนิกชื่อดังระดับโลกตางๆ มีเสนสายลายเซ็นที่ไมเดน<br />

ชัดนักเมื่อสรางงานในประเทศสิงคโปร รวมถึงคอลัมน Conservation พูดถึงโครงการพิพิธ-<br />

ภัณฑวัฒนธรรมดอกไม ที่เลาเรื่องราวและคุณคาของพืชพรรณในมิติทางวัฒนธรรมผานการ<br />

ออกแบบทางกายภาพที่นาสนใจ และบทสัมภาษณคุณพิชัย วงศไวศยวรรณ นายกสมาคมฯ คน<br />

ปจจุบันถึงแนวทางการทํางานและกิจกรรมตางๆ ที่นาตื่นเตนเนื่องในวาระครบ 80 ป ของสมาคมฯ<br />

The art and science of landscape architecture, when rightly combined with<br />

architectural design, cannot only conceive but maximize the quality of space.<br />

The boundary between the two fields may be separated by techniques and<br />

expertise, but there is a certain sense of flexibility and ambiguity; that blurry line<br />

where interfaces and connectivity of spaces and contents take place. This issue of<br />

<strong>ASA</strong> discusses the relationship between landscape architecture and architectural<br />

design. With great honor, <strong>ASA</strong> talks with the Emeritus Professor Decha Boonkham,<br />

one of the most prominent figures of Thailand’s landscape architecture scene<br />

about the history of the landscape architect profession in the country. Work in<br />

Progress gives you the latest updates on young and mid-career architects and<br />

their projects that exemplify distinctive combinations of architecture and landscape<br />

architecture. This issue’s Theme comes with reviews of a great variety of<br />

projects with collaborations between architects and landscape architects taking<br />

place at different levels and scales from hotels, condominiums and office buildings<br />

to a public park. Read the interviews with architects and landscape architects who<br />

have worked together on a great number of projects about their roles and responsibilities<br />

including the exchange of knowledge and the way they design their works<br />

to complement one another. Other columns are just as interesting, such as ASEAN<br />

and a discussion on the signature and characteristics of the works of superstar<br />

architects in Singapore, the Conservation column featuring a tour around the<br />

Museum of Floral Culture and its exquisite floral narrative told from a cultural<br />

perspective with a distinctive architectural and spatial design. Last but not least, is<br />

a conversation with Pichai Wongwaisayawan, <strong>ASA</strong>’s new President, regarding his<br />

vision, working philosophy and exciting activities that are about to happen as a<br />

part of the celebration for the association’s 80 th anniversary.<br />

8 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


สาสนจากนายกสมาคม<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ ป 25<strong>57</strong>-2559<br />

ที่ปรึกษา<br />

ศ.กิตติคุณ ดร.สุรพล วิรุฬหรักษ<br />

นาย สิน พงษหาญยุทธ<br />

นาย สถิรัตร ตัณฑนันทน<br />

นาย ประภากร วทานยกุล<br />

นายกสมาคม<br />

นาย พิชัย วงศไวศยวรรณ<br />

อุปนายก<br />

พ.ต.ท.ดร.บัณฑิต ประดับสุข<br />

นาย อนุชา ยูสานนท<br />

นาย ประดิชญา สิงหราช<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน<br />

รศ.ดร.ตนขาว ปาณินท<br />

นาย นิธิศ สถาปตานนท<br />

เลขาธิการ<br />

นาย ประกิต พนานุรัตน<br />

นายทะเบียน<br />

น.อ.อรอุสาห เชียงกูล<br />

เหรัญญิก<br />

นาย ครรชิต ปุณยกนก<br />

ปฏิคม<br />

นาย ปรีชา นวประภากุล<br />

ประชาสัมพันธ<br />

นางสาว สุรัสดา นิปริยาย<br />

กรรมการกลาง<br />

นาย ชวลิต ตั้งมิตรเจริญ<br />

นาย สุนันทพัฒน เฉลิมพันธ<br />

นาวาอากาศเอก อดิสร บุญขจาย<br />

นาง วินีตา กัลยาณมิตร<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปยลดา ทวีปรังษีพร<br />

ดร.พร วิรุฬหรักษ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกลานนา<br />

นาย อดุลย เหรัญญะ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

นาย สุรศักดิ์ โลหวนิชชัย<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

(อยูระหวางดําเนินการเลือกตั้ง)<br />

หมายเหตุ : อยูระหวางดําเนินการจดทะเบียนเปลี่ยนแปลง<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมที่กระทรวงมหาดไทย<br />

สวัสดีครับทานสมาชิกที่เคารพ ตอนนี้ยางเขาเดือนที่ 3 ที่ผมเขามารับหนาที่นายกสมาคมฯ<br />

ในชวง 2 เดือนที่ผานมามีเหตุการณตางๆ เกิดขึ้นมากมายทั้งภาระกิจของสมาคมและเหตุการณ<br />

บานเมืองตางๆ ทางสมาคมฯ เองไดรับเชิญจาก คสช. ใหไปรวมแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับทุจริต<br />

คอรรัปชั่นในวงการออกแบบกอสรางรวมกับสมาคมวิศวกรรมสถานแหงประเทศไทยฯ สมาคม<br />

อุตสาหกรรมกอสรางไทยฯ และสมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแหงประเทศไทย โดยมีอีก 2-3 สมาคมอื่นๆ<br />

รวมดวย สาระโดยรวมเปนการแสดงความคิดเห็น ใหขอเสนอแนะและแนวทางในการดําเนินการ<br />

เพื่อแกไขปญหาคอรรัปชั่นในงานภาครัฐ สมาคมฯ เสนอใหมีการปรับปรุงโครงสรางระเบียบการ<br />

จัดซื้อจัดจางโดยเสนอใหมีการตั้งคณะกรรมการปฏิรูปเนนเฉพาะที่เกี่ยวของกับงานออกแบบ<br />

กอสรางโดยเชิญผูเกี่ยวของทั้งจากทางภาครัฐและภาคธุรกิจเอกชนและเสนอใหมีแนวทางการ<br />

ดําเนินการเปนระยะทั้งเรงดวนจนถึงระยะยาวเพื่อการแกไขปญหาอยางยั่งยืน สมาคมจะจัดใหมี<br />

การสัมมนาเกี่ยวกับเรื่องดังกลาวโดยเร็วและหวังจะไดรับความรวมมือจากสมาชิกโดยทั่วกัน<br />

อีกเรื่องที่อยากกลาวถึงคือการประชุม ARCASIA เมื่อประมาณวันที่ 23-26 มิถุนายนที่ผานมา<br />

ซึ่งมีผูแทนจากประเทศสมาชิก 18 จาก19 ประเทศเขารวมประชุม และมีการประกาศรางวัล<br />

ARCASIA Awards เปนที่นาสังเกตวาปนี้มีงานที่ไดรับรางวัลจากประเทศจีนและเวียดนามเปน<br />

จํานวนมาก สถาปนิกไทยไดรับ 2 รางวัล สวนหนึ่งคาดวาเพราะปนี้สถาปนิกสามารถสงผลงาน<br />

เขารวมประกวดเองไดโดยตรงโดยไมตองผานสมาคมสถาปนิกของแตละประเทศ อาจทําใหประเทศ<br />

ที่มีความตื่นตัวสงผลงานเขารวมเปนจํานวนมาก นาสนใจที่ผลงานของสถาปนิกจากสองประเทศนี้<br />

มีการพัฒนาที่ชัดเจนและมีงานมีคุณภาพหลายชิ้น ผลงาน Building of The Year ตกเปนของ<br />

สถาปนิกหนุมชาวเวียดนามซึ่งรอยยิ้มของเขาแสดงถึงความตื่นเตนยินดีและภาคภูมิใจเปนอยาง<br />

ยิ่งและเชื่อวาจะเปนกําลังใหเขาตั้งใจทํางานใหดีตอไป สวนผมก็หวังวาสมาชิกของเราจะสงผลงาน<br />

ที่ดีเขารวมประกวดใหมากขึ้นเพื่อใหเห็นวาผลงานของสถาปนิกไทยมีคุณภาพสูงและไมแพใคร<br />

เชนกัน<br />

วารสารอาษาฉบับนี้เนนเนื้อหาเกี่ยวกับงานภูมิสถาปตยกรรมและการทํางานรวมกันระหวาง<br />

สถาปนิกและภูมิสถาปนิก เปนที่ทราบกันดีอยูแลวถึงคุณภาพของภูมิสถาปนิกไทยที่เปนที่ตองการ<br />

ของบริษัทสถาปนิกและภูมิสถาปนิกในภูมิภาค จนแทบมีผลใหเกิดการขาดแคลนบุคลากรใน<br />

ประเทศ วิชาชีพภูมิสถาปนิกไดเกิดขึ้นในประเทศไทยมาประมาณ 30 ป โดยมีทานอาจารยเดชา<br />

บุญคํ้า เปนผูผลักดันใหเกิดการเรียนการสอนและการทํางานวิชาชีพนี้อยางเต็มรูปแบบ การทํางาน<br />

รวมกันและความเขาใจบทบาทของสถาปนิกและภูมิสถาปนิกมีความสําคัญกับความสําเร็จของงาน<br />

ในหลายมิติ ตั้งแตการวางผังแมบท การวางตําแหนงอาคาร ไปจนถึงการออกแบบภูมิทัศนและ<br />

รายละเอียด โดยความเขาใจถึงแนวความคิดในการออกแบบโครงการรวมกันทําใหงานมีความ<br />

กลมกลอมตอเนื่องตั้งแตการเขาถึงพื้นที่จนถึงตัวอาคารในโครงการ<br />

นาย พิชัย วงศไวศยวรรณ<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ป 25<strong>57</strong>-2559<br />

10 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


Retractable Pergola System<br />

สามารถตานทานแรงลมตามมาตรฐาน BEAUFORT SCALE สูงสุดถึงไดถึงระดับ 11<br />

info@oceannewline.com<br />

www.oceannewline.com<br />

www.facebook.com/oceannewline<br />

Ocean Newline Co., Ltd.<br />

OFFICE & SHOWROOM<br />

4026 Rama IV Road, Prakanong,<br />

Klong Toey Bangkok 10110 Thailand<br />

Tel : 02 671-6008-9 fax : 02 671-6006-7<br />

SHOWROOM<br />

MBK Floor 5 (5C01-5C02)<br />

Tel & Fax : 02 620-9499<br />

กวา 50 ป ที่เราไดเลือกสรรผลิตภัณฑปองกันแดดและความรอนทั้งภายในและ<br />

ภายนอกอาคาร จนเปนที่ไววางใจจากผูออกแบบ และ เจาของโครงการ<br />

ระบบ Retactable Pergola System หลังคาผาใบเปด-ปดอัตโนมัติ นําเขาจาก<br />

ยุโรป ควบคุมดวยรีโมทคอนโทรล ใชงานงาย เพียงปลายนิ้วสัมผัส เสริมไฟ LED<br />

เพิ่มความสะดวกสบาย ให้คุณสนุกกับชีวิตกลางแจ้งได้ทุกเวลาและสภาพ<br />

อากาศ โครงสรางอลูมิเนียมคุณภาพสูงผานการอบสี powder coating แข็งแรง<br />

ทนทานติดตั้งภายนอกอาคาร กันไดทั้งแดด ลม และฝน มีรางระบายนํา้ซอนอยู<br />

ในโครงสรางอยางสวยงามเหมาะกับทุกรูปแบบสถาปตยกรรม รานอาหาร<br />

สระวายนํา้คอฟฟี่ช็อป โรงแรม รีสอรท หรือบานพักอาศัย<br />

Alpaca @ Ratchaburi


MESSAGE<br />

FROM<br />

THE PRESIDENT<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

THE ASSOCIATION OF<br />

SIAMESE ARCHITECTS<br />

UNDER ROYAL PATRONAGE<br />

2014—2016<br />

CONSULTANTS<br />

PROFESSOR SURAPON VIRULRAK, PH.D.<br />

SINN PHONGHANYUDH<br />

SATHIRUT TANDANAND<br />

PRABHAKORN VADANYAKUL<br />

PRESIDENT<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

VICE PRESIDENT<br />

POL.LT.COL. BUNDIT PRADUBSUK<br />

ANUCHAR YUSANANDA<br />

PRADITCHYA SINGHARAJ<br />

VASU POSHYANANDA, PH.D.<br />

ASSOC. PROF. TONKAO PANIN, PH.D.<br />

NITIS STHAPITANONDA<br />

SECRETARY GENERAL<br />

PRAKIT PHANANURATANA<br />

HONORARY REGISTRAR<br />

CAPT.ON-USAH CHIENGKUL<br />

HONORARY TREASURER<br />

KARNCHIT PUNYAKANOK<br />

SOCIAL EVENT DIRECTOR<br />

PREECHA NAVAPRAPAKUL<br />

PUBLIC RELATIONS DIRECTOR<br />

SURASSADA NIPARIYAI<br />

EXECUTIVE COMMITTEE<br />

CHAVALIT TANGMITJAROEN<br />

SUNANTAPAT CHALERMPANTH<br />

GP. CAPT. ADISORN BUNKHACHAI<br />

VINEETA KALYANAMITRA<br />

ASSOC. PROF. M.L.PIYALADA<br />

THAVEEPRUNGSRIPORN, PH.D.<br />

PONN VIRULRAK, PH.D.<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (LANNA)<br />

ADUL HERANYA<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (ESAN)<br />

SUR<strong>ASA</strong>K LOHWANICHAI<br />

CHAIRMAN OF NORTHERN REGION (TAKSIN)<br />

(THE ELECTION OF THE NEW CHAIRMAN OF<br />

THE SOUTHERN REGION IS IN THE VOTING<br />

PROCESS.)<br />

REMARK : IN THE PROCESS OF REGISTERING<br />

THE BOARD OF COMMITTEE TO THE MINISTRY<br />

OF INTERIOR.<br />

Good day to all <strong>ASA</strong> members. It has now reached the third month of my duty<br />

as the President. Many things have happened in these past two months, from the<br />

association’s missions to the major changes and incidents the country has gone<br />

through. The <strong>ASA</strong>, along with the Engineer Institute of Thailand under H.M. The<br />

King’s Patronage, the Thai Contractors Association under H.M. The King’s Patronage,<br />

the Consulting Engineers Association of Thailand and a couple of other associations<br />

were invited by the National Council for Peace and Order to discuss the corruption<br />

issue in the design and construction industry. The overall matter of the discussion<br />

revolved around proposed suggestions regarding possible measures and solutions<br />

to resolve corruption in the governmental sector. <strong>ASA</strong> proposes the improvement<br />

of government procurement by appointing the reform committee to focus on<br />

design and construction of federal and local government projects. Experts from<br />

both governmental and private sectors should be invited to join the committee<br />

with clear methods set out for immediate action and ultimately long term solutions<br />

and measures. The association will be holding a seminar regarding the issue soon<br />

and we sincerely hope for pleasant participation and incorporation by all the<br />

members.<br />

Another thing I wish to talk about is the ARCASIA meeting that took place on<br />

June, 23 rd - 26 th where 18 out of 19 member countries participated and received<br />

the announcement of the ARCASIA Awards. It was noticeable that many awards<br />

were given to architects from China and Vietnam, while Thai architects brought<br />

home two awards in total. It is possible that the fact that this was the first year<br />

that architects were able to compete by submitting their works directly to ARCASIA,<br />

instead of having to be submitted in the name of an architect association as last<br />

year, a significant number of works were sent in from Vietnam and China and,<br />

thanks to their inspiring enthusiasm, I noticed a great deal of development and<br />

quality in the works from these two countries. The Building of the Year award was<br />

given to a young Vietnamese architect and the bright smile on his face when his<br />

name was announced was filled with excitement and pride. I truly believe that<br />

the success will be a great source of encouragement for him to continue creating<br />

more good works. Also, I sincerely hope to see more works from Thai architects at<br />

next year’s awards.<br />

This issue of <strong>ASA</strong> features the art and science of landscape architecture and<br />

many interesting collaborations between architects and landscape architects. It is<br />

a well-known fact that the quality of Thai landscape architects has been a result<br />

of the increasing demand from architecture and landscape architecture firms<br />

across the region. The demand is so high that it has almost caused a shortage<br />

of landscape architects in Thailand. The profession has been present in Thailand<br />

for almost 30 years, with Professor Decha Boonkham serving as the initiator of<br />

landscape architecture education and practice in Thailand. The collaboration and<br />

understanding of the role of architects and landscape architects is extremely important<br />

to the success of a work on so many dimensions, from the scale of master<br />

planning and architectural planning to the design of landscape architecture and<br />

details of the overall ambience. The mutual understanding in the design concept<br />

of a project will allow for different elements of the design to complement each<br />

other, from spatial accessibility and connectivity to interactions between the interior<br />

and exterior spaces, for all can respond in harmony aesthetically and functionally.<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

<strong>ASA</strong> PRESIDENT 2014-2016<br />

12 <strong>ASA</strong> EDITORIAL วารสารอาษา


NEWS<br />

EARTHQUAKE<br />

RECOVERY PROJECT<br />

IN CHIANGRAI 01<br />

01<br />

หลังจากที่เกิดภัยพิบัติแผนดินไหวอยางรุนแรง<br />

ขนาด 6.3 ริกเตอร ในพื้นที่จังหวัดเชียงรายเมื่อวันที่<br />

5 พฤษภาคม 25<strong>57</strong> ที่ผานมา ไดสรางความเสียหาย<br />

ใหกับพื้นที่โดยรอบ ทั้งสิ่งปลูกสราง อาคารบานเรือน<br />

โรงเรียน และวัด มีผูประสบภัยไดรับความเดือดรอน<br />

เปนอยางมาก หลังจากเกิดเหตุ กลุม D4D (Design<br />

for Disasters) นําโดย วิภาวี คุณาวิชยานนท ไดลงสํารวจ<br />

พื้นที่ และเลือกโรงเรียน 9 แหง รวมถึงสถาปนิกรุนใหม<br />

9 คน เพื่อออกแบบอาคารเรียนเรงดวน ไดแก<br />

กรรณิการ รัตนปรีดากุล (Spacetime Architects)<br />

ปตุพงษ เชาวกุล (Supermachine Studio) จีรเวช หงสกุล<br />

(Idin Architects) จูน เซคิโน (Junsekino Architect<br />

and Design) ชุตยาเวศ สินธุพันธ (Site-Specific)<br />

02<br />

14 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


Owner : College of Music Mahidol University<br />

Architect : Thonsilp Studio Co.,Ltd.<br />

Photographer : Pruk Dejkhamhaeng<br />

วิทยาลัยดุริยางคศิลป ฝงตะวันตก<br />

(เรือนศิลปน & Music Square)<br />

Bhumibol Sangkeet Building<br />

รางวัลผลงานสถาปตยกรรมดีเดน ประเภทอาคารสถาบัน ประจําป 25<strong>57</strong><br />

(Gold Medal Awards) โดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

ที่มา และแนวคิดในการออกแบบ<br />

อาคาร “เรือนศิลปน” มีฐานะเปนเหมือนประตูตอนรับของ พิพิธภัณฑดนตรี<br />

อุษาคเนย โดยสถาปนิกตองการผสมผสานความรูสึกของ เรือนแถวไมริมนํ้า<br />

กับ รูปทรงของอาคารที่ทันสมัย เพื่อใหเกิดความรูสึกคุนเคยและเปนกันเอง<br />

ไปพรอมๆ กับความรูสึกใหมๆ ที่สถาปตยกรรมมอบให อาคารนี้ดานลางเปน<br />

รานคา และดานบนเปนเรือนพักของศิลปน รวมถึงผูเขารับการอบรมดนตรีตางๆ<br />

ขอดี และเหตุผลในการใชโครงสรางเหล็กรูปพรรณรีดรอน<br />

แมสวนใหญแลวโครงการนี้ใชวัสดุไมเปนหลัก และสถาปนิกไดใชโครงสราง<br />

เหล็กรูปพรรณรีดรอนมาทําในสวนเสาที่ใชรับชายคา และโครงสรางบางสวน<br />

เหตุผลที่เลือกใชโครงสรางเหล็กรูปพรรณรีดรอน สถาปนิกใหเหตุผลวา<br />

ตองการใหเสาโครงสรางนี้ดูบางแตแข็งแรง พรอมสรางภาพลักษณของกลุม<br />

อาคารใหดูทันสมัยยิ่งขึ้น.<br />

รวมสนุกกับ SYS เพียงตอบคําถามวา<br />

โครงการนี้ใชโครงสรางเหล็กรูปพรรณรีดรอนในสวนใด ?<br />

กด AS21 เสาที่ใชรับชายคา และโครงสรางบางสวน<br />

กด AS22 ผนัง และราวบันได<br />

สง SMS โดยพิมพ AS21 หรือ AS22 แลวสงมาที่ 4535300<br />

( ผูรวมสนุกเปนผูเสียคาใชจายในการสง ครั้งละ 3 บาท ) หมดเขต 31 ตุลาคม 25<strong>57</strong><br />

ประกาศรายชื่อผูโชคดีทาง www.syssteel.com ในวันจันทรที่ 10 พฤศจิกายน 25<strong>57</strong><br />

บริษัทขอสงวนสิทธิ์สําหรับทานที่ยังไมเคยรวมกิจกรรม campaign นี้ ในนิตยสารใดๆ มากอน<br />

ผูที่สงคําตอบที่ถูกตองเขามา 20 ทานแรก รับไปเลยบัตร Starbucks Card มูลคา 200 บาท<br />

SIAM YAMATO STEEL CO.,LTD. (SYS)<br />

Tel. : 0-2586-7777 e-mail : sys@syssteel.com<br />

www.syssteel.com www.facebook.com/sysfanpage<br />

Steel you can trust


03<br />

ทวิตีย วัชราภัย เทพาคํา (Department of ARCHI-<br />

TECTURE) สุริยะ อัมพันศิริรัตน (Walllasia) ฉัตรพงศ<br />

ชื่นฤดี (Chat architects) และ ม.ล.วรุตม วรวรรณ<br />

(Vin Varavarn Architects) นอกจากนี้จึงมีการจับมือกัน<br />

ระหวางสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ<br />

และ 3 องคกรวิชาชีพ คือ สมาคมวิศวกรรมสถานแหง<br />

ประเทศไทย ในพระราชูปถัมภ สมาคมวิศกรที่ปรึกษา<br />

แหงประเทศไทย และสมาคมอุตสาหกรรมกอสรางไทย<br />

ในพระราชูปถัมภ ภายใตโครงการ ‘ซอมสราง บาน วัด<br />

และโรงเรียนในพื้นที่ ประสบภัยจากเหตุแผนดินไหว<br />

ในจังหวัดเชียงราย’ โดยมี พันตํารวจโท ดร. บัณฑิต<br />

ประดับสุข เปนประธานของโครงการนี้<br />

ปจจัยในการเลือกสรางโรงเรียนทั้ง 9 แหงนี้ คือ<br />

เปนบริเวณที่ไดรับความเสียหายมากที่สุดและตองการ<br />

การบูรณะเรงดวนที่สุด ซึ่งอยูในอําเภอแมสรวย อําเภอ<br />

แมลาว และ อําเภอพาน โดยการกอสรางนั้นจะมี<br />

ทั้งหมด 3 เฟส ซึ่งเฟสแรกจะเริ่มตนขึ้นในชวงปลาย<br />

เดือนกรกฎาคมนี้ สวนลักษณะการออกแบบของอาคาร<br />

คํานึงถึงความพอดี หมายถึงความงายในการสรางและ<br />

ความสะดวกในการหาวัสดุ ซึ่งรวมไปถึงวัสดุที่มีราคา<br />

01 นิทรรศการ ‘โครงการพอดี<br />

พอดี เพื่อชวยเหลือผูประสบภัย<br />

แผนดินไหว จังหวัดเชียงราย’ ที่<br />

BACC หอศิลปวัฒนธรรมแหง-<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

02 โมเดลของอาคารโรงเรียน<br />

บานทาฮอที่กําลังเริ่มสราง<br />

เปนหลังแรก ออกแบบโดย<br />

กรรณิการ รัตนปรีดากุล<br />

(Spacetime Architects)<br />

03 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

องคการบริหารสวนตําบลเมือง<br />

พาน อําเภอพาน ออกแบบโดย<br />

สุริยะ อัมพันศิริรัตน (Walllasia)<br />

<strong>04</strong> ภาพจําลองของโรงเรียนบาน<br />

ทาฮอ อําเภอพาน ออกแบบ<br />

โดย กรรณิการ รัตนปรีดากุล<br />

(Spacetime Architects)<br />

05 ภาพจําลองของโรงเรียนธาร<br />

ทองวิทยา (ปารวก) อําเภอพาน<br />

ออกแบบโดย ฉัตรพงศ ชื่นฤดี<br />

(Chat architects)<br />

<strong>04</strong><br />

ถูกและรักษาสิ่งแวดลอม อยางไรก็ดีความทาทายในการ<br />

สราง คือ อาคารตองสามารถปองกันแผนดินไหวได<br />

สูงสุดถึง 7 ริกเตอร ซึ่งการสรางโรงเรียนทั้ง 9 แหง<br />

เราจะเห็นไดวา แตละแหงการออกแบบก็จะมีความ<br />

แตกตางกันไป เชน การออกแบบโรงเรียนบานดอยชาง<br />

อําเภอแมสรวย โดยสถาปนิก ชุตยาเวศ สินธุพันธ และ<br />

ทีมงาน Site-Specific ไดใชไมไผเปนวัสดุของการสราง<br />

ซึ่ง ไมไผที่ใชเปนวัสดุที่หาไดงายที่เชียงรายสะดวกใน<br />

การขนยายมายังพื้นที่ ทั้งยังเปนไมไผที่มีคุณภาพและ<br />

ถูกนําไปปรับสภาพใหใชไดอยางถาวร อีกหนึ่งตัวอยาง<br />

โรงเรียนที่ถูกออกแบบใหตางออกไปทางดานการใชสอย<br />

ก็คือ โรงเรียนบานหนองบัว อําเภอพาน ออกแบบโดย<br />

สถาปนิก จูน เซคิโน และทีมงาน Junsekino Architect<br />

and Design ลักษณะการออกแบบคํานึงถึงพื้นที่ใชสอย<br />

ของตัวอาคารใหเปนประโยชนสูงสุดกับคุณครูและนักเรียน<br />

ซึ่งหองเรียนสามารถปรับเปลี่ยนสัดสวนขนาดของพื้นที่<br />

โดยใชไมไผในการแบงพื้นที่ไดตามการใชสอย<br />

หลังจากทางกลุมสถาปนิกและกลุมวิศวกรไดออกแบบ<br />

และคํานวณโครงสรางตางๆ ของโรงเรียนทั้ง 9 หลัง<br />

ภายใน 2 สัปดาหแลว ขณะนี้อยูในชวงดําเนินการ<br />

กอสรางอาคารหลังแรกที่โรงเรียนบานทาฮอ ออกแบบ<br />

โดย กรรณิการ รัตนปรีดากุล (Spacetime Architects)<br />

ซึ่งไดรับการสนับสนุนจากหลายฝาย รวมทั้งภาคเอกชน<br />

ตางๆ อยางไรก็ตามยังขาดงบประมาณในการกอสราง<br />

อยูมาก ทางดานแรงงานไดเปดโอกาสใหนิสิตนักศึกษา<br />

สถาปตย และชาวบานในพื้นที่มารวมกันสรางโรงเรียน<br />

ทั้ง 9 แหงนี้ รวมถึงวัดอีกสองที่ คือ วัดดงมะเฟอง และ<br />

แมละออนาราม ซึ่งไดรับความเสียหายมากเชนกัน<br />

ทายที่สุดหากใครสนใจขอมูลตางๆ ของโครงการ<br />

สามารถเขาไปชมนิทรรศการ ‘โครงการพอดี พอดี เพื่อ<br />

ชวยเหลือผูประสบภัยแผนดินไหว จังหวัดเชียงราย’<br />

ไดที่ BACC หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพมหานคร<br />

จนถึงสิ้นเดือนสิงหาคมนี้<br />

16 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


05<br />

06 ภาพจําลองของโรงเรียนบาน<br />

หนองบัว อําเภอพาน ออกแบบ<br />

โดย จูน เซคิโน (Junsekino<br />

Architect and Design)<br />

07 ภาพจําลองของโรงเรียนบาน<br />

ทุงฟาผา (ศูนยพัฒนาเด็กเล็ก<br />

บานหัวริน) ออกแบบโดย อําเภอ<br />

แมสรวย จีรเวช หงสกุล (Idin<br />

Architects)<br />

08 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

ชุมชนบานปากอดํา อําเภอแมลาว<br />

ออกแบบโดย ปตุพงษ เชาวกุล<br />

(Supermachine Studio)<br />

06<br />

07<br />

When the violence of an earthquake with a magnitude<br />

of 6.3 on the Richter scale struck Chiangrai<br />

province on the 5 th of May 2014, it affected buildings,<br />

houses, schools and a temple creating many problems<br />

for its victims. Following the misfortune, D4D (Design<br />

for Disasters) group led by Vipavee Kunavichayanont<br />

surveyed the site and chose nine schools that had<br />

suffered the most damage to receive their focus. The<br />

team coordinated with nine new generation architects:<br />

Spacetime Architects, Supermachine Studio, Idin<br />

Architects, Junsekino Architect and Design, Site-Specific,<br />

Department of ARCHITECTURE, Walllasia, Chat architects<br />

and Vin Varavarn Architects to carry out an urgent<br />

response to the situation. Professional organizations:<br />

The Association of Siamese Architects under Royal<br />

Patronage (<strong>ASA</strong>), The Engineering Institute of Thailand<br />

Under H.M. The King’s Patronage, The Consulting<br />

Engineers Association of Thailand and Thai Contractions<br />

Association Under H.M. The King’s Patronage also<br />

stepped up to help and cooperate together under the<br />

project name: ‘Reconstruction of Houses, Temples<br />

and Schools Affected by the Earthquake in Chiang Rai’<br />

proceeded by Pol Lt Col Dr. Bundit Pradabsuk (the<br />

president of the project).<br />

08<br />

18 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


09 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

โปงแพรวิทยา อําเภอแมลาว<br />

ออกแบบโดย ทวิตีย วัชราภัย<br />

เทพาคํา (Department of<br />

ARCHITECTURE)<br />

10 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

บานดอยชาง อําเภอแมสรวย<br />

ออกแบบโดย ชุตยาเวศ สินธุพันธ<br />

(Site-Specific)<br />

11 ภาพจําลองของโรงเรียน<br />

บานหวยสานยาว อําเภอแมลาว<br />

ออกแบบโดย ม.ล. วรุตม<br />

วรวรรณ (Vin Varavarn<br />

Architects)<br />

09<br />

TEXT<br />

Worarat Patumnakul<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of Architects<br />

except as Worarat<br />

Patumnakul<br />

The project focused on reconstructing nine schools<br />

based on the severity of the damage finding those in<br />

Mae-Suai, Mae Laos and Phan provinces to require<br />

the most urgency. The construction process itself was<br />

separated into three phases, the first of which will<br />

begin at the end of July. The aspects considered in the<br />

design process depended on factors such as ease of<br />

construction, suitability to fast and low cost materials<br />

for construction and sustainable support for the environment.<br />

However, the true challenge of the project<br />

is that the new constructed buildings need to be able<br />

to withstand and undertake earthquakes ranking a 7<br />

on the Richter scale in order to ensure support in the<br />

future. Each school was designed differently, due to<br />

the unique context of the site and the specific needs<br />

of the school. For example, the architect Chutayaves<br />

Sinthuphan (Site Specific team) used the bamboo<br />

surrounding the site as the material for construction of<br />

‘Baan Doi Chang school’ in Mae Suai District due to the<br />

fact that it is not only a durable material but can also<br />

be easily transported and is readily available. Another<br />

creative team that designed ‘Baan Nong Bau school’<br />

in Phan district was Junsekino Architect and Design by<br />

the architect Jun Sekino. The school was designed to<br />

support flexible functions, allowing for the teacher and<br />

students to change the proportions of the building area<br />

by themselves.<br />

Recently, the first school Baan Ta Hor by Spacetime<br />

Architects, is in the early stages of construction.<br />

Moreover, there are not only nine schools that will be<br />

constructed in this project but also two temples in<br />

Chiang Rai. For more information, check out the exhibition<br />

‘Reconstruction of Houses, Temples and Schools<br />

Affected by the Earthquake in Chiang Rai’ at BACC<br />

(Bangkok Art And Culture Centre) till the end of August.<br />

10<br />

11<br />

20 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา


17 I 80 FROM<br />

LINE TO<br />

CONSTRUCTION<br />

02<br />

เนื่องในโอกาสครบรอบ 80 ป สมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ นอกจากงานสถาปนิก’<strong>57</strong> ที่จัดขึ้น<br />

ในธีม 18|80 แลว ทางสมาคมฯ ยังคงมีกิจกรรมอยาง<br />

ตอเนื่อง ภายใตเปาหมายการพัฒนาสมาคมฯ ใหมีความ<br />

กาวหนายั่งยืน และเปนที่รูจักในสังคมวงกวาง ซึ่งตลอด<br />

เดือนสิงหาคมนี้จะมีการจัดนิทรรศการ ‘๑๗ l ๘๐ จาก<br />

l เสน l สู l สราง’ ที่หอศิลปวัฒนธรรมแหงกรุงเทพฯ<br />

เพื่อเชิดชูเกียรติสถาปนิกศิลปนแหงชาติ 17 ทาน ผูได<br />

ริเริ่ม สงเสริม และพัฒนาวงการสถาปตยกรรมใหเจริญ<br />

กาวหนา และคงอยูมาจนถึงปจจุบันนี้ นิทรรศการจะเนน<br />

ภาพถายศิลปนแหงชาติและผลงานของทานในมุมมองใหม<br />

นําเสนอผานปรัชญา แนวคิด ผลงาน รวมไปถึงทัศนคติ<br />

ตางๆ เกี่ยวกับวงการสถาปตยกรรมในประเทศไทย<br />

เพื่อเปนขอคิดและแรงบันดาลใจใหแกผูเขาชมสถาปนิก<br />

และนักออกแบบรุนใหมที่สนใจ อีกทั้งยังทําใหคนรุนใหม<br />

ไดมีโอกาสทําความรูจักสถาปนิกศิลปนแหงชาติหรือ<br />

‘บรมครู’ ทางดานการออกแบบสถาปตยกรรมอีกดวย<br />

นอกจากนี้ในวันจันทรที่ 18 สิงหาคม 25<strong>57</strong> จะมี<br />

การจัดงานฉลองครบรอบ 80 ป ’18|80 <strong>ASA</strong> PARTY’<br />

ที่หอศิลปฯ เชนกัน เพื่อที่จะใหสถาปนิกทุกรุนทุกวัยได<br />

พบปะสังสรรคและพูดคุยกัน<br />

นอกจากนิทรรศการที่จัดขึ้นแลว ในโอกาสครบรอบ<br />

80 ป ยังมีการคัดเลือกสถาปนิกดีเดน เพื่อเชิดชูสถาปนิก<br />

ที่มีคุณวุฒิ และเปนผูสงเสริมในการพัฒนาวิชาชีพสถา-<br />

ปตยกรรม แบงออกเปน 5 กลุมสถาปนิก คือ สถาปนิก<br />

ที่ประสบความสําเร็จในงานดานวิชาชีพ สถาปนิกที่ประสบ<br />

ความสําเร็จในงานดานวิชาการ สถาปนิกที่มีประสบ<br />

ความสําเร็จในงานราชการและหนวยงานรัฐ สถาปนิก<br />

ที่มีคุณูปการตอวงการวิชาชีพและสาธารณชน ดานสังคม<br />

และวัฒนธรรม และสถาปนิกที่มีคุณูปการตอวิชาชีพ<br />

สถาปตยกรรมและองคกรวิชาชีพที่เกี่ยวของ โดยมีคุณ<br />

นิธิ สถาปตานนท ศิลปนแหงชาติ สาขาทัศนศิลป<br />

(สถาปตยกรรมแบบรวมสมัย) เปนประธานคณะทํางาน<br />

คัดเลือกฯ ซึ่งจะมีการประกาศเกียรติคุณสําหรับสถาปนิก<br />

ดีเดนตอไป<br />

01-02 ภาพจําลองนิทรรศการ<br />

๑๗ I ๑๘<br />

TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

PHOTOS<br />

Apostrophys<br />

The Synthesis Server<br />

In accordance with the Association of Siamese<br />

Architects (<strong>ASA</strong>) under Royal Patronage celebrating its<br />

80 th year, the organization purposes to create an exhibition<br />

titled ‘17 l 80’ which will be held at the BACC<br />

(Bangkok Art and Culture Centre) throughout the month<br />

of August. The 17 National Artists in Architecture of<br />

Thailand will be praised in the exhibition show through<br />

both photography and a showcase of their works<br />

investigating new approaches of those national artists<br />

through their philosophies and attitudes regarding the<br />

organization of architecture in Thailand. Surely a source<br />

of inspiration for all people, including the new generation<br />

of architects and designers, those who visit the exhibition<br />

will be able to learn more about these National<br />

artists and great teachers. Furthermore, the celebration<br />

of ‘18 | 80 <strong>ASA</strong> PARTY’ will be held on 18 August 2014<br />

at the BACC (Bangkok Art and Culture Centre) and will<br />

offer an opportunity for interaction and the exchange of<br />

architectural knowledge between architects of every<br />

generation.<br />

Furthermore, the 80 years of <strong>ASA</strong> exhibition will<br />

feature the selection of architects who are outstanding<br />

and whose works have been most notable for recognition<br />

in five categories : 1. Outstanding achievement in<br />

architectural practice 2. Outstanding achievement in<br />

architectural education 3. Outstanding achievement in<br />

civil and governmental service 4. Outstanding social<br />

and cultural contribution to the architectural profession<br />

and the public 5. Outstanding contribution to architectural<br />

and related professions. The selections will be<br />

made by the president of <strong>ASA</strong>, Nithi Sthapitanonda<br />

who himself is a Thai National Artist in contemporary<br />

architecture.<br />

01<br />

22 <strong>ASA</strong> NEWS วารสารอาษา<br />

02


WORK IN PROGRESS<br />

COMPASS HOUSE<br />

OPENBOX ARCHITECTS<br />

01<br />

คุณฐิตินาถ ณ พัทลุง ผูเขียนหนังสือเข็มทิศชีวิต<br />

และครูผูสอนเกี่ยวกับจิตใตสํานึกมีจุดประสงคจะสราง<br />

โครงการศาลาริมนํ้า บานเข็มทิศ (Compass House)<br />

ซึ่งเปนเหมือนโรงเรียนอนุบาลเข็มทิศ โรงเรียนสอนทาง<br />

ดานจิตใตสํานึกใหกับคนทุกวัย โครงการนี้เกิดจากการ<br />

ที่ครูออยตองการพื้นที่บานรับรองนักเรียนที่มาเยือน<br />

หองเรียนเข็มทิศ ทางบริษัท Openbox Architects จึง<br />

ออกแบบรูปทรงของตัวอาคารและบริเวณโดยรอบใหสื่อถึง<br />

ความรูสึกตอเนื่อง ไมสิ้นสุด จากตัวอาคารจะเห็นไดวา<br />

มีความปลอดโปรง มองแลวสบายตา ลมสามารถเขาถึง<br />

ดานในและสวนตางๆ ไดเปนอยางดี นอกจากนี้ลักษณะ<br />

ของตัวอาคารยังสื่อถึงปรัชญาแหงเข็มทิศชีวิต ซึ่งอาคาร<br />

เปรียบเสมือนการเคลื่อนไหวของเรือที่กําลังเดินทางออก<br />

สูมหาสมุทรแหงชีวิตอยางมั่งคงในจุดมุงหมาย พื้นที่<br />

ใชสอยของตัวอาคารแบงเปน 2 สวน ดานบนและดานลาง<br />

โดยดานบน พื้นที่เกิดจากการลาดขึ้นจากพื้นดินคอยๆ<br />

ยกระดับขึ้นกลายเปนหลังคาของอาคารในขณะเดียวกัน<br />

จึงเปนระเบียงที่มีพื้นที่โลงกวางสามารถทํากิจกรรมตางๆ<br />

ได ผูใชอาคารสามารถขึ้นดานบนจากทางลาดนี้และบันได<br />

ดานขาง สําหรับพื้นที่ดานลางภายในเปนพื้นที่โลงสําหรับ<br />

นั่งเรียนหรือทํากิจกรรม มีที่นั่งทั้งระดับพื้นและยกระดับ<br />

ซึ่งพื้นที่นั่งยกระดับจะถูกแบงเปน 4 หองเล็กที่มีเพียงเสา<br />

แยกแตละสวนจากกัน นอกจากนี้ดานลางยังมีขั้นบันได<br />

เชื่อมโยงกับพื้นที่ดานนอกที่มีลักษณะเวาเสมือนเปน<br />

amphitheater สวนลักษณะเดนของตัวอาคารจะเห็นไดวา<br />

มีสวนที่ยื่นออกติดกับแมนํ้าลายคลึงกับหัวเรือซึ่งเชื่อมโยง<br />

กับปรัชญาแหงเข็มทิศชีวิต<br />

01 ภาพจําลองของบานเข็มทิศ<br />

02 ภาพจําลองภายในชั้นลาง<br />

02<br />

24 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


PLAN<br />

1 Garden<br />

2 WC<br />

3 Main Living Area<br />

4 Open Terrace<br />

5 Main Roof Terrace<br />

5<br />

1<br />

2<br />

2<br />

3<br />

4<br />

03 ภาพจําลองสวนที่ยื่นออก<br />

ของอาคารที่ติดกับแมน้ํา<br />

OWNER<br />

Thitinart Na Pattalung<br />

LOCATION<br />

Umphur Bang Pakong,<br />

Chacheongsao<br />

COMPLETION<br />

2015<br />

ARCHITECT<br />

Openbox Architects<br />

INTERIOR DESIGNER<br />

Openbox Architects<br />

03<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Openbox Architects<br />

STRUCTURAL ENGINEER<br />

Openbox Architects<br />

SYSTEM ENGINEER<br />

Openbox Architects<br />

BUILDING AREA<br />

900 sq.m.<br />

(including roof terrace)<br />

Thitinart Na Pattalung is a well-known figure,<br />

Thailand’s all-time bestseller author of the Life Compass<br />

series of books and a renowned teacher of innovative<br />

mind healing methods. According to many students who<br />

have visited Thitinart’s classes, she planned to construct<br />

a house in the form of a ‘Compass House.’ In response,<br />

the Openbox Architects team designed a home that<br />

carries a sense of continuity and infinity similar to the<br />

manner in which a boat heads out toward the ocean.<br />

Referencing the philosophy of a life compass bringing<br />

people closer to their goals, the space of the home is<br />

separated between an upper and ground floor. For the<br />

upper floor, people can enter through a ramp that leads<br />

to the main roof terrace of the building. Or, taking another<br />

approach, there is also a stairway that can be used to<br />

access the upper floor as well. For the ground floor, there<br />

is a rather vast interior space including both a standard<br />

and a raised sitting area that allows for support of flex<br />

ible functions. Moreover, most of the interior is comprised<br />

of an open space, contributing to the overall flexibility<br />

and further allowing for adequate ventilation. The ground<br />

floor is not only slightly raised in order to continue and<br />

fall in line with the landscape, but also creates an amphitheater<br />

area. Lastly, people will realize that the shifting<br />

area of the building in reference to the river is not unlike<br />

a boat shifting toward the direction that is most suitable<br />

for reaching an ideal method of life.<br />

26 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


SIAMESE RATCHAKRU<br />

SOMDOON ARCHITECTS & SANITAS STUDIO<br />

เนื่องจากโครงการตั้งอยูบนถนนที่พลุกพลาน มี<br />

อาคารสํานักงานจํานวนมาก และมีแนวรถไฟฟาผานหนา<br />

โครงการซึ่งอยูหางไกลจากพื้นที่สวนสาธารณะ สถาปนิก<br />

จึงเล็งเห็นวา ตัวโครงการเองควรจะเปน ‘โอเอซิส’ ให<br />

กับผูอยูอาศัย โดยใหมีความรูสึกใกลชิดธรรมชาติมากขึ้น<br />

และเมืองจะไดรับพื้นที่สีเขียวเพิ่มจากตัวโครงการดวย<br />

จึงเกิดแนวความคิดในการวางพื้นที่สีเขียวในทุกอณูของ<br />

โครงการที่เปนไปได ตั้งแต front plaza จากบริเวณริม<br />

ถนน พื้นที่ดานหนาของอาคารพักอาศัยพื้นที่สระวายนํ้า<br />

ในชั้น 8 พื้นที่สวนครัว (urban farm) บนชั้น 28 รวม<br />

ถึงสวนในลักษณะแนวตั้ง จากตนไมบนระเบียงอาคาร<br />

สํานักงานทุกชั้น พื้นที่กําแพงสีเขียว ของอาคารจอดรถ<br />

ทั้งหมด และบริเวณทางหนีไฟของทุกชั้นซึ่งเริ่มตั้งแตชั้น<br />

1 ถึงชั้น 28<br />

โดยรูปแบบของ ‘โอเอซิส’ (พื้นที่สีเขียว) ไดรับการ<br />

จัดวางในลักษณะของการรวมตัวและกระจายตัวของ<br />

หนวย ‘โอเอซิส’ เล็กๆ ซึ่งประกอบกันเปนสภาพแวด-<br />

01 ภาพจําลองของโครงการ<br />

Siamese Ratchakru<br />

ลอมสีเขียวที่มีลักษณะกลมกลืนกับรูปแบบของตัวอาคาร<br />

เปนการตอบโจทยกับพื้นที่อันจํากัดของโครงการบริเวณ<br />

ใจกลางเมืองใหผูอยูอาศัยเขาถึงธรรมชาติงายยิ่งขึ้น สําหรับ<br />

พื้นที่สวนบริเวณสระวายนํ้าชั้น 8 มีการแบงพื้นที่เปน<br />

สระวายนํ้าและสวนพักผอนซึ่งบริเวณนั้นมีการปลูก<br />

พันธุไมหอมเพื่อคนที่มาใชพื้นที่จะรูสึกผอนคลายจาก<br />

ภายนอกที่วุนวายในขณะที่ชั้น 28 ภูมิสถาปนิก Sanitas<br />

Studio ไดเลือกพืชพรรณที่เปนพืชกินไดใหเปนพื้นที่<br />

สวนครัว และเสนอแนวความคิดที่คนเมืองสามารถใช<br />

ดาดฟาใหเปนประโยชนในการปลูกพืชกินได ลักษณะ<br />

เดนอีกอยางของโครงการนี้คือ รูปทรงสามเหลี่ยมของ<br />

พื้นที่สีเขียว สะทอนแนวความคิดการกระจายตัวของ<br />

‘โอเอซิส’ พื้นที่สีเขียวเปนหนวยเล็กๆ ที่กระจายอยาง<br />

ทั่วถึงจากชั้นลางถึงชั้นบนสุด โดยไดรับการคํานวณและ<br />

จัดองคประกอบเพื่อใหเกิดความลงตัวกับรูปแบบทาง<br />

สถาปตยกรรมใหสอดผสานกันอยางกลมกลืน<br />

01<br />

28 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


2<br />

6<br />

1<br />

5<br />

4<br />

3<br />

8 FLOOR PLAN<br />

1 Public Terrace<br />

2 Condo Lift Lobby<br />

3 Office Lift Lobby<br />

4 Gym<br />

5 Café<br />

6 Swimming Pool<br />

According to the site of Siam Ratchakru project,<br />

which is overcrowded with people and buildings and<br />

lacks the presence of a public park, the architect (Somdoon<br />

Architects) and the landscape designer (Sanitas<br />

Studio) concluded that the building needed an ‘Oasis’<br />

for its residents. Therefore, the building was designed<br />

with a green space to be included in every part. The<br />

Front Plaza, Entry Court, Swimming pool area, Urban<br />

Farm area, Vertical garden and green wall on the parking<br />

building and fire escape area (spanning from the 1 st to<br />

28 th floors) are a few examples.<br />

The arrangement of the ‘Oasis’ was created in a<br />

grouped and dispersed pattern that corresponds to the<br />

appearance of the building. Taking such an approach<br />

allows for the residential area to remain close to nature,<br />

even if in a big city. For the swimming pool lounge on<br />

the 8 th floor, the landscape designer selected a pleasing<br />

smelling plant creating an aromatic and relaxing experience.<br />

For the rooftop space on the 28 th floor however,<br />

edible plants were called upon to encourage the city<br />

people to take full advantage of all a green area can be.<br />

Another factor significantly contributing to the appearance<br />

of the building is the triangle geometry designed<br />

to reflect the concept of dispersing an ‘Oasis’.<br />

OWNER<br />

Siamese Asset<br />

BUILDING TYPE<br />

Mixed use development<br />

LOCATION<br />

Phahoyothin Road,<br />

Bangkok<br />

DURATION<br />

2012-2014<br />

ARCHITECT<br />

Somdoon Architects<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Sanitas Studio<br />

02 ภาพจําลองของโครงการ<br />

บริเวณชั้น 28<br />

02<br />

30 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


THE HOME<br />

GARDEN VILLE<br />

01<br />

XSITE DESIGN STUDIO<br />

โครงการโฮมการเดนทวิลล ตลาดนัดชุมชนมีจุด-<br />

ประสงคที่จะปรับรูปแบบพื้นที่ดานหนาของหมูบานใหดู<br />

ทันสมัยขึ้นและเขากับการใชสอยของคนในชุมชนหมูบาน<br />

นอกจากนี้ เพื่อใหหมูบานไดทัดเทียมกับตลาดอสังหา-<br />

ริมทรัพยที่มีการแขงขันกันสูงในปจจุบัน ทางบริษัทภูมิ-<br />

สถาปนิก XSiTE จึงเสนอใหโครงการนี้มีตลาดนัดชุมชน<br />

หนาหมูบานแทนที่จะเปนเพียงซุมเล็กๆ ซึ่งนอกจากจะ<br />

ทําใหเกิดความสะดวกสบายมากยิ่งขึ้นแกผูคนในชุมชน<br />

แลวนั้น ยังเปนการสอดแทรกเชื่อมโยงวิถีชีวิตความเปน-<br />

อยูของผูคนในชุมชนกับพื้นที่ดวยเชนกัน จากคอนเซ็ปตที่<br />

เรียบงายนี้ ทางบริษัทภูมิสถาปนิก XSiTE ไดตอยอด<br />

ความคิดการออกแบบใหมีความผสมผสานระหวางสถา-<br />

ปตยกรรมทองถิ่น ความเรียบงาย และความรวมสมัย<br />

บรรยากาศโดยรอบมีพื้นที่สีเขียวอยูทั้งทางดานหนา<br />

อาคารตลอดจนบริเวณทางเดินที่อํานวยความสะดวกแก<br />

ผูคน ทําใหดูสบายตาและรูสึกปลอดโปรง สําหรับการจัด<br />

พื้นที่ มีรานกาแฟเล็กๆ ดานหนาสุด ถัดมาเปนพื้นที่ตั้ง<br />

รานขายอาหาร เพื่อเปนการดึงดูดคนในชุมชนที่ชื่นชอบ<br />

ในการปนจักรยานจึงนําสวนประกอบของจักรยานมาเปน<br />

ขาโตะใหเกิดความแปลกใหม คลายคลึงกับทางเขาดาน<br />

หนาหมูบานที่มีซุมสูงและมีลอจักรยานหอยซอนกัน<br />

ใหเกิดความโดดเดนกับคนที่ผานไปมา ซึ่งเอกลักษณ<br />

ของจักรยานสะทอนวิถีชีวิตของคนในชุมชนหมูบานได<br />

อยางชัดเจน นอกจากนี้ซุมสูงดานหนายังเปนประโยชน<br />

แกคนในหมูบานเสมือนศาลาที่ใหคนสามารถมารอรถ<br />

หนาหมูบานไดอีกดวย อีกหนึ่งพื้นที่ที่นาสนใจคือ ลาน<br />

อเนกประสงคที่เปนทั้งสวนและเปดโอกาสใหคนมาเปด<br />

ทายขายของเหมือนลักษณะ weekend market ซึ่งถือ<br />

เปนพื้นที่สรางความสัมพันธที่ดีแกคนในชุมชนหมูบาน<br />

เชนกัน<br />

02<br />

03<br />

32 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


The Home Garden Ville (Village market) proposed<br />

to renovate the front yard of the village due to its outof-date<br />

character and a desire to shape the space in a<br />

manner that better corresponded to the village lifestyle.<br />

Consequently, XSiTE Landscape architect designs<br />

stepped in and re-envisioned the area to support a village<br />

market rather than a small arch entrance, contributing<br />

to a more comfortable and residential atmosphere.<br />

According to this simple concept and idea, the landscape<br />

architect designed the front yard to combine and bring<br />

together both folk and contemporary architecture.<br />

A prominent green area runs from the front of the<br />

building along the walkway creating a comfortable zone<br />

that surrounds the site. People enjoying a coffee may find<br />

the small coffee café at the front of the village both<br />

convenient and appealing. Furthermore, there is also an<br />

eating area that uses recycled bike wheels to create<br />

tables which reflect the village residents’ everyday<br />

lifestyles where they often use the two-wheeled means<br />

of transit to journey from here to there. Creating a new<br />

look and outstanding introduction to the village, the bicycle<br />

wheels were designed to hang and overlap one another<br />

creating an entrance arch. The wheel arch not only has<br />

the advantage of functioning as a waiting car pavilion,<br />

but also reflects the concept of the village residents’<br />

character. Another interesting area is the flexible functioning<br />

field that allows for various forms of interaction<br />

to occur and be integrated into the space such as a<br />

weekend market or other outdoor activities.<br />

OWNER<br />

Image Constructions<br />

LOCATION<br />

Suranarai Road,<br />

Nakornrachasima<br />

DURATION<br />

2014-2015<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

XSiTE Design Studio<br />

AREA<br />

3,431 sq.m.<br />

BUDGET<br />

4 Million Bahts<br />

PROJECT STAGE<br />

Concept Design<br />

01 ภาพจําลองของโครงการ<br />

The Home Garden Ville<br />

ที่มีความผสมผสานระหวาง<br />

สถาปตยกรรมทองถิ่น ความ<br />

เรียบงาย และความรวมสมัย<br />

02 ภาพจําลองบริเวณทางเขา<br />

ของโครงการ<br />

03 ภาพจําลองบริเวณรานขาย<br />

อาหาร<br />

<strong>04</strong> ภาพจําลองบริเวณลาน<br />

อเนกประสงค<br />

<strong>04</strong><br />

34 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


SIRIRAJ<br />

HOSPICE CENTER<br />

LANDPROCESS<br />

01<br />

ตามที่คณะแพทยศาสตรศิริราชพยาบาล มีนโยบาย<br />

สนับสนุนการดูแลผูปวยระยะสุดทายแบบประคับประคอง<br />

(Palliative care) ใหเกิดขึ้นเปนรูปธรรม จึงไดเกิดโครงการ<br />

ศิริราชสัปปายสถานเพื่อการบริรักษ (Siriraj Hospice<br />

Center) โดยมีเปาหมายที่จัดระบบบริการเพื่อการดูแล<br />

ผูปวยระยะสุดทายที่ดีที่สุด ภายใตวัตถุประสงคหลักเพื่อ<br />

คุณภาพชีวิตที่ดี ทั้งทางกาย ใจ สังคม และทางจิตวิญญาณ<br />

ดวยการนําองคความรูดานการแพทยแบบองครวม<br />

(Holistic Care) มาใช<br />

งานภูมิสถาปตยกรรมจึงใหความสําคัญอยางยิ่งใน<br />

การออกแบบใหมีบรรยากาศที่เหมาะสมกับหลักการ<br />

การรักษาโดยใชวิถีทางธรรมชาติบําบัด และเอื้อตอการ<br />

ทํากิจกรรมโดยสงเสริมใหผูปวยและครอบครัวไดใช<br />

เวลาชวงสุดทายรวมกัน การออกแบบยังคํานึงถึงแนวทาง<br />

ปรัชญาของพุทธศาสนามาใชในการวางผัง การรักษาและ<br />

สรางจิตวิญญาณของพื้นที่ และความกลมกลืนกับบริบท<br />

โดยรอบ แนวคูคลอง หรือนาขาว เปนโครงสรางหลัก<br />

ในการออกแบบ แนวความคิดมาจากการวิเคราะห<br />

วัฒนธรรมเกี่ยวกับความตายจากหลากหลายวัฒนธรรม<br />

จากทั่วทุกมุมโลก ซึ่งไดสรุปใจความของความเชื่อเหลา<br />

นั้นเปนการแปรเปลี่ยนของรางกายของผูจากไปสูธาตุ<br />

ธรรมชาติทั้ง 5 คือ ดิน นํ้า ลม ไฟ และความวางเปลา<br />

การวางมณฑลพลังแหงธาตุกับการวางผังเรื่องความเชื่อ<br />

ในภูมิจักรวาลเชิงพุทธ (Buddhism Mandala) มาสราง<br />

พลังผานองคประกอบทางภูมิสถาปตยกรรมเพื่อเพิ่ม<br />

ความหมายของการบําบัดรักษา นอกจากนี้ โครงการ<br />

ยังคํานึงถึงปจจัยสําคัญคือการจัดการและออกแบบเพื่อ<br />

รับมือกับปญหาในพื้นที่ ที่ตองเผชิญสภาวะนํ้าทวมราว<br />

2-3 เดือนตอป การเลือกใชพืชพรรณทองถิ่นที่เหมาะกับ<br />

พื้นที่ชุมนํ้า สามารถทนนํ้าขังไดดี สรางภาระดานการ<br />

ดูแลรักษาใหกับโครงการในอนาคตใหนอยที่สุด ทั้งยัง<br />

ใหบรรยากาศ ความรูสึกที่เปนธรรมชาติ แผรมเงา และ<br />

เต็มไปดวยความรูสึกสงบ<br />

การออกแบบภูมิสถาปตยกรรมยังคํานึงถึงมิติการ<br />

รับรูทางความรูสึก ความละเอียดลออทางจิตใจ ความ<br />

สงบอันเปนหนึ่งเดียวกันกับธรรมชาติ การเยียวยาทาง<br />

จิตใจแกผูปวยและญาติ การสรางพลังที่ดีทางความเชื่อ<br />

ความศรัทธา และการไปสู ที่ที่ดีในวาระสุดทายของผูปวย<br />

01 MADITATION ZONE<br />

36 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


02<br />

02 PRABIDA GARDEN<br />

03 OVERALL PLAN<br />

03<br />

Recently, Siriraj Hospital has incorporated the<br />

method of Palliative care for final stage cancer patients<br />

into the Siriraj Hospice Center scheme. This project<br />

purposes to create a better environment for both the<br />

physical and mental health of patients undergoing<br />

holistic care.<br />

In this project, the design of the landscape was<br />

crucial, as the space itself played a role in the caring<br />

and nurturing of patients through Naturopathy. Therefore,<br />

the space was designed to fall in line with a Buddhist<br />

approach, and acknowledge the manner in which death<br />

is considered by varying cultures from different countries.<br />

Summarizing the notion of the body into the five<br />

elements: earth, water, wind, fire and emptiness, the<br />

design references the Buddhist mandala. The landscape<br />

design is therefore not only connected to the<br />

patients mentally, but also supports their family members<br />

by referencing the belief and a faith that considers<br />

the afterlife of the patient.<br />

OWNER<br />

Faculty of Medicine<br />

Siriraj Hospital, Siriraj<br />

Hospital<br />

LOCATION<br />

Umphur Bang Yai,<br />

Nonthaburi<br />

COMPLETION<br />

2016<br />

ARCHITECT<br />

Arsomsilp Institute<br />

LANDSCAPE DESIGNER<br />

Landprocess<br />

CONSTRUCTION COST<br />

500 Million Bahts<br />

PROJECT STAGE<br />

Design Development<br />

38 <strong>ASA</strong> WORK IN PROGRESS วารสารอาษา


A TALK WITH THE LANDSCAPE<br />

ARCHITECTURE MASTER<br />

DECHA BOONKHAM<br />

พูดคุยกับภูมิสถาปนิกคนสําคัญของประเทศไทย<br />

ศาสตราจารยกิตติคุณ เดชา บุญค้ํา<br />

TEXT<br />

Supitcha Tovivich<br />

PHOTOS<br />

Worarat Patumnakul<br />

ศาสตราจารยกิตติคุณ เดชา บุญค้ํา นับเปนบุคคลสําคัญที่สุดทานหนึ่ง<br />

ของแวดวงภูมิสถาปตยกรรม ทานเปนเจาของสํานักงานภูมิสถาปนิก<br />

แหงแรกของประเทศไทย ชื่อบริษัทสํานักงานภูมิสถาปนิก ดี เอส บี<br />

แอสโซสิเอส (DSB Associates) ในป 2517 เปนผูกอตั้งภาควิชาภูมิ<br />

สถาปตยกรรม ที่คณะสถาปตยกรรมศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

ในป 2520 กอตั้งสมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย ป 2530 เปนผูรวม<br />

กอตั้งและเปนประธานสภาคณบดีคณะสถาปตยกรรมศาสตรแหง<br />

ประเทศไทยคนแรก เมื่อป 2537 และทานไดรับรางวัลศิลปนแหงชาติ<br />

ประจําป 2549 สาขาทัศนศิลป (ภูมิสถาปตยกรรม)<br />

เหตุใดอาจารยจึงมีความสนใจและเห็นความ<br />

สําคัญของสาขาวิชาภูมิสถาปตยกรรม ?<br />

เดชา บุญคํ้า : ตอนเด็กชอบธรรมชาติ อยูเชียงราย<br />

ชอบหนีโรงเรียนไปแมนํ้ากก ตอนเลือกเรียนจะไปเรียน<br />

พวกวนศาสตรมันก็ไมใช เพราะเราชอบทางดานออกแบบ<br />

ดวย ชอบงานสถาปตยกรรม แตตอนนั้นก็ยังไมรูวา<br />

สถาปตยกรรมเปนอยางไร คิดวาเกี่ยวกับการกอสราง<br />

ประมาณนี้ พอเขามาเรียนที่คณะ (คณะสถาปตยกรรม-<br />

ศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย) มีเรียนวิชาแลนดสเคป<br />

2 คอรส ลองไปถามกันสิ รุนกอนๆ ไมชอบเรียนแลนด-<br />

สเคปกันหรอก กลัวกันหมด สยอง เพราะตองทองชื่อ<br />

ตนไมเปนภาษาลาตินอะไรแบบนี้ ที่จําไดคือสไลดที่<br />

อาจารยจันทรลัดดา บุณยมานพสอน ทานนําตัวอยาง<br />

งานแลนดสเคปของตางประเทศมาใหดู ยังจําไดเลยวา<br />

มันไมใชแคเรื่องจัดสวน พอจบมาก็ทํางานที่กรมโยธาฯ<br />

ชวงป 2507 ออกแบบอยูดีๆ ก็มีเทศบาลสงขลาสง<br />

หนังสือมากรมโยธาฯ ใหออกแบบสวนสาธารณะที่เขานอย<br />

จังหวัดสงขลา เมื่อกอนไมไดเรียนหรอกพวก contour<br />

ก็เขียนไปเรื่อย เพราะชอบ ก็อยากจะรูวาการออกแบบ<br />

สวนสาธารณะ ออกแบบแลนดสเคป จริงๆ มันเปนอยางไร<br />

ตอมาก็มีอีกงานเปนงานออกแบบสวนสาธารณะที่จังหวัด<br />

ตรัง เมื่อถึงเวลาไดไปเรียนตอก็เลยเรียนดานภูมิสถา-<br />

ปตยกรรมดู<br />

40 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


หลังจากอาจารยเรียนจบ ทํางาน บรรจุเปน<br />

อาจารยที่คณะสถาปตยกรรม จุฬาลงกรณ-<br />

มหาวิทยาลัย ได 3 ป อาจารยก็ตั้งภาคภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมเลย อยากใหอาจารยชวยเลาให<br />

ฟงถึงความเปนมา ใหเราฟงหนอยไดไหม ?<br />

เดชา : สวนหนึ่งคือชวงที่อาจารยกลับมาก็มาทํางานที่<br />

กรมโยธาฯ ชวงป 2513-14 คณะก็มีแผนพัฒนาคณะ<br />

ตั้งภาควิชาตางๆ ใหครบ ทั้งดานการกอสรางและภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมตางๆ โดยมีอาจารยแสงอรุณเปนประธาน<br />

รางหลักสูตร สมัยกอนภูมิสถาปนิกมีไมกี่คน ซึ่งอาจารย<br />

ก็เปนที่รูจักระหวางเพื่อนอาจารยดวยกันที่เคยเชิญไป<br />

สอน เขาเลยเชิญไปเปนอาจารยรางหลักสูตร แลวราง<br />

ไมเสร็จสักที เลยโอนไปทํางานที่คณะเมื่อป 2517 พอ<br />

โอนก็ไปทําเรื่องหลักสูตรและสอนสตูดิโอสถาปตยดวย<br />

ลําบากมากในการรางหลักสูตรเพราะเราไมไดเรียน<br />

ปริญญาตรีแลนดสเคปเราเรียนปริญญาโทมา หลักสูตร<br />

มันคนละอยางกัน ก็เลยไปคนหลักสูตรและเขียนจดหมาย<br />

ไปขอจากสมาคมภูมิสถาปนิกอเมริกัน จากนั้นก็รางขึ้น<br />

มาแลวก็เปดรับรุนแรกในป 2521 ตอนนั้นเรียนเกือบ<br />

จะเหมือนกันกับสถาปตยกรรมหลักในปหนึ่งและปสอง<br />

รุนที่หนึ่งนี้เปนลักษณะสอบรวม เรียนดวยกันแลวมา<br />

แยกทีหลังโดยใหนักศึกษาเลือก ซึ่งไมคอยประสบความ<br />

สําเร็จ ไมคอยมีนักศึกษาเลือกเรียน เพราะยังไมแนใจวา<br />

ภูมิสถาปตยกรรมคืออะไร รุนหนึ่งนี่เรียกกันวารุนบา<br />

(หัวเราะ) มีกัน 11 คน เลือกเพราะอยากเรียนจริงๆ ป<br />

ถัดไปจึงแยกสอบและเปนภาคบังคับ ตอนเปดใหมๆ มี<br />

อาจารยทานหนึ่งเตือนวาถาดื้อดันจะเปดหลักสูตรมัน<br />

จะบาปนะ (หัวเราะ) นักศึกษาจบมาใครจะจางจัดสวน<br />

เพราะชางจัดสวนก็มีเยอะแยะไป ซึ่งแสดงถึงความเขาใจ<br />

ที่ไมถูกตองตอวิชาชีพและการศึกษาทางดานภูมิสถา-<br />

ปตยกรรมนี้<br />

กอนหนานี้มี conflict กันมาก คือ<br />

อีโกจัด ฉันเปนสถาปนิก คุณเปน<br />

ผูจัดสวนมาทีหลัง วิศวกรเดี๋ยวคอย<br />

มาละกัน เดี๋ยวมาคํานวณเอาทีหลัง<br />

WHAT ARE YOUR PRIMARY INTERESTS AND WHAT<br />

DO YOU SEE AS THE MAIN IMPORTANCE OF LAND-<br />

SCAPE ARCHITECTURE?<br />

DECHA BOONKHAM : When I was young and was<br />

living in Chiang Rai I liked nature very much. I used<br />

to run away from school to go to the Mae Kok River.<br />

When it came time to choose my field of study, I could<br />

not study in any science related fields, as they did not<br />

fit my liking. I liked to design. I liked architecture. But,<br />

at that time, I did not know what architecture was all<br />

about and I thought it was related to construction.<br />

When I began studying architecture (at the Faculty of<br />

Architecture, Chulalongkorn University), there were two<br />

landscape courses that I enquired about. The former<br />

students hadn’t liked to study landscape, as they were<br />

all scared and frightened of having to memorize the<br />

required names of trees in Latin. The slides shown<br />

by Ajarn Chanladda Boonyamanop showed examples<br />

of landscapes in foreign countries and I remember<br />

thinking that this was not just about gardening. After<br />

I graduated, I worked with the Department of Public<br />

Works and Town & Country Planning in 2507 and,<br />

while I was doing my design work, the Department<br />

received a letter from the Songkhla District requesting<br />

the Department to design a public park at Khao Noi,<br />

Songkhla Province. In the past, we were not taught<br />

about contours. I continued on with my design work<br />

because I enjoyed it but I also wanted to learn how to<br />

design a public park, a landscape. Later on, I was assigned<br />

to design a public park in Trang province. When<br />

the time came for me to further my study, I decided to<br />

study in the field of landscape architecture.<br />

AFTER YOU GRADUATED AND HAD WORKED AS A<br />

PROFESSOR IN THE FACULTY OF ARCHITECTURE,<br />

CHULALONGKORN UNIVERSITY FOR THREE YEARS,<br />

YOU FOUNDED THE DEPARTMENT OF LANDSCAPE<br />

ARCHITECTURE, COULD YOU TELL US ABOUT THE<br />

DEPARTMENT’S BACKGROUND?<br />

DB : When I returned to work at the Department of<br />

Public Works and Town & Country Planning between<br />

2513-2514, the Faculty of Architecture had plans to<br />

develop the Faculty by adding various related departments<br />

including construction and landscape architecture<br />

with Ajarn SaengAroon serving as the chairman<br />

who would draft the curriculum. In the past, there<br />

were few landscape architects and I was known among<br />

other professors who invited me to teach in this area.<br />

I was then invited to help draft the curriculum but the<br />

drafting was never actually finished. I was transferred<br />

from the Department of Public Works to work with<br />

the Faculty of Architecture in 2517 and it was then<br />

that I concentrated on creating the curriculum and<br />

also taught studio architecture. It was difficult to draft<br />

the curriculum, as I myself had not graduated with a<br />

degree in Landscape Architecture; I had only studied<br />

in the field for my Master Degree and the curriculums<br />

are different. I did a lot of research and wrote a letter<br />

to the American Landscape Architecture Association<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 41


อาจารยมีความคิดเห็นเกี่ยวกับพัฒนาการของ<br />

วิชาชีพภูมิสถาปตยกรรมตั้งแตในอดีตจนถึง<br />

ปจจุบันอยางไรบาง ?<br />

เดชา : ชวงแรกโปรเจ็คตที่เปนการออกแบบแลนดสเคป<br />

architect จริงๆ มีนอยมาก สวนมากจะเปนงานหลวง<br />

อยางของอาจารยจันทรลัดดาซึ่งทานอยูกรมศิลปากร<br />

แตตอนเรียนอาจารยเคยพาไปดูงานออกแบบแลนดสเคป<br />

บานคุณอุเทน เตชะไพบูลย จากนั้นมาก็เปนชวงมืดมน<br />

เพราะชวงนั้นสวนหยอมกําลังฮิตมาก เอาหิน นกกระยาง<br />

มาวางๆ เปนหยอมจริงๆ ตามมุมถนน ตอนนั้น กทม.<br />

เขาอยากทําสวนหยอมมาก ก็ดูรกไปทั้งเมืองเลย (หัวเราะ)<br />

ทางดานวิชาชีพนั้นเกิดจากชวงที่ประเทศไทยเริ่มมี<br />

ความตื่นตัวทางเศรษฐกิจในชวงที่มีการกูธนาคารโลก<br />

ประมาณป 2514-15 ซึ่งเปนปที่รัฐบาลไดกูเงินมาสราง<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตเกาที่บางเขน<br />

ปรับใหมหมด และก็วิทยาเขตใหมที่บางแสน ทีนี้ก็ทาง<br />

ธนาคารโลกตั้งสเปคมาวาใหฝรั่งออกแบบมาสเตอรแปลน<br />

ทั้งหมด ทํางานรวมกับสถาปนิกไทย วิศวะกรไทย ภูมิ-<br />

สถาปนิกไทย เขาสเปกมาหมดเลยวาตองมีภูมิสถาปนิก<br />

อาจารยจึงไดเขาไปทํา เพราะอาจารยและรุนพี่รูจัก จาก<br />

นั้นมาเศรษฐกิจก็เริ่มกระเตื้อง เริ่มมีงานโรงแรมเขามา<br />

เชน โรงแรมรามาการเดน ความที่เปนพื้นที่ขนาดใหญ<br />

เปนรอยไร อาจารยตองวางผังใหม ก็มี conflict กัน<br />

ระหวางบทบาทของสถาปนิกและภูมิสถาปนิก ถูกเหล<br />

พอสมควรวาไปยุงอะไรกับเขาเรื่องการวางตําแหนงสระ-<br />

วายนํ้าหรือถนนตางๆ ซึ่งเกิดจากความไมเขาใจ แตพอ<br />

เขาเห็นแบบเห็นอะไรตางๆ ถึงยอมรับ เพราะตอนแรก<br />

เขาคิดวาเหมือนมาเปนชางจัดสวนจะมายุงอะไรกับเขา<br />

(หัวเราะ) ทีนี้พองานออกมาดี คนก็เริ่มรับฟงและเห็น<br />

ขอดีของการที่ใหภูมิสถาปนิกและสถาปนิกทํางานรวมกัน<br />

ตั้งแตเริ่มตน แมกระทั่งป 2554 ที่ผานมาที่โรงแรม<br />

รามาการเดนนํ้าไมทวมอยูตรงเดียวนะ เพราะมีการทํา<br />

คานและกําแพงกันนํ้าไวตั้งแตป 2524<br />

เหมือนกับวาชวงแรกคนยังไมเขาใจบทบาทของ<br />

การทํางานระหวางภูมิสถาปนิกและสถาปนิก ?<br />

เดชา : มันเหมือนกับวาเปนการทํางานของปอดกับตับ<br />

ฟงกชั่นคนละอันกัน ตองทํางานรวมกัน เมื่อกอนนี้<br />

ไมคอยเขาใจกัน เพราะปอดมาดุตับ วาจะมายุงกับ<br />

การทํางานของเขาทําไม ทั้งที่ทํางานกันคนละหนาที่<br />

(หัวเราะ) ทีนี้ชวงหลังสถาปนิก วิศวกร ภูมิสถาปนิก<br />

ก็เห็นความสําคัญของการทํางานรวมกันมากขึ้น โดย<br />

เฉพาะอยางยิ่งโครงการที่มีพื้นที่ขนาดใหญ เขาจะเห็นวา<br />

ภูมิสถาปนิกควรจะเปนสวนที่เริ่มงานกอน อยางนอยทํา<br />

ในเชิงของลักษณะพื้นที่ ทางระบายนํ้าสโลปไปทางไหน<br />

ทางเขาทางออกเพราะสถาปนิกไมไดเชี่ยวชาญทางดาน<br />

circulation ภายนอกอาคาร ในขณะที่เสนทาง<br />

สัญจรเปนหัวใจหลักของงานภูมิสถาปตยกรรมเลย<br />

เหมือนรางกายของเราตองมีระบบเสนเลือด เสนประสาท<br />

ทางเดินหายใจ อยูดวยกันเต็มไปหมด ถามันอยูดวยกัน<br />

ไมดี ขัดกันไปขัดกันมาก็จะเกิดปญหา ซึ่งภูมิสถาปนิก<br />

จะถูกฝกเรื่องการจัด circulation เปนพิเศษ ทําไมรถขยะ<br />

มาผานหนาตึก รถดับเพลิงจะเขาตรงไหน เขาถึงในตึก<br />

อยางไร และสายรถดับเพลิงยาวเทาไหร วางหัวอะไร<br />

อยางไรที่ไหนนี่ก็รวมกับวิศวกรดวย รวมถึงการออกแบบ<br />

fire lane ทางที่รถดับเพลิงจะเขามา ที่ตองมีความ<br />

สวยงามดวย คือนอกจากฟงกชั่นแลว ก็ตองคํานึงเรื่อง<br />

ความสวยงามและผลกระทบกับสิ่งแวดลอมดวย และ<br />

บางทีก็เปนเรื่องของการปรับปรุงชุมชน และเรื่องของ<br />

ศิลปวัฒนธรรมดวย<br />

ในขั้นคอนเซ็ปตสถาปนิก ภูมิสถาปนิก และนักผังเมือง<br />

รวมถึงวิศวกร ที่ทํางานรวมกันตองรูคอนเซ็ปตของ<br />

ภาพรวมในระดับที่เทากัน คือสถาปนิกตองรูคอนเซ็ปต<br />

ของภูมิสถาปนิก ตองรูของผังเมืองหรือนักออกแบบ<br />

ผังเมืองและของวิศวกรดวย สวนมากมันจะมาเกิดตอน<br />

ไดบทเรียนแลว เดี๋ยวนี้ดีขึ้นเยอะ เมื่อกอนงานของภูมิ-<br />

สถาปนิกไมคอยไดรับการยอมรับจากสถาปนิกเทาไร<br />

สวนมากจะเรียกไปชวงทายเพื่อใหมาจัดสวนอะไรพวกนี้<br />

แตพอมาทีหลังมันก็ยุงจริงๆ นะ อะไรก็จะผิดไปหมด<br />

จะทําอะไรก็ไมได และบางทีก็เกิดความเสียดายมาก<br />

อยางการวางผังมหาวิทยาลัยเปนเรื่องมาสเตอรแปลน<br />

ตองใหภูมิสถาปนิกเปนคนนําใหเริ่มกอน แตถาเปนที่<br />

แถวๆ เยาวราช ในเมืองที่แนนๆ อันนี้สถาปนิกก็นํากอน<br />

แลวชวนภูมิสถาปนิกไปดูไปขอความเห็นวาจะทําใหมัน<br />

soft ใหไมรอนจะทําอยางไรไดบาง ควรถามกันตั้งแตแรก<br />

จะไดออกแบบไดอยางสอดคลองกัน<br />

ความแตกตาง ความสอดคลองสัมพันธ รวมถึง<br />

ขอบเขตของการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม<br />

และการออกแบบสถาปตยกรรมเปนอยางไร ?<br />

เดชา : ตองทํางานรวมกัน แตละคนก็จะมีอุปสรรคที่<br />

สําคัญของแตละคน เชน สถาปนิกบอกตรงนี้ไมไดนะ<br />

ขออันนี้โอเค หรือภูมิสถาปนิกบอกตรงนี้ไมไดนะไมงั้น<br />

ไมมีที่ปลูกตนไม ไมมีทางเขา ไมมีพลาซาตองคุยเรื่อง<br />

ที่สําคัญของแตละฝายกอน อยางภูมิสถาปนิกมาวางผัง<br />

มหาวิทยาลัย ตองแบงโซนกอน เชน academic zone<br />

โซนหอพัก โซน recreation โซนบริการสาธารณะ โซน<br />

ขยายในอนาคต campus มันไมมีอายุ ดูอยางมหาวิทยาลัย<br />

Cambridge หรือ Harvard มีอายุหลายรอยป ถาคุณ<br />

ไมเผื่ออนาคตไวขยายคุณก็ไมมีพื้นที่ ตองมาทุบตึกเกา<br />

อะไรแบบนี้ ภูมิสถาปนิกที่เชี่ยวเชี่ยวชาญในการวางผังก็<br />

จะ contribute ใหกับสถาปนิกซึ่งไมเคยออกแบบทางนี้มา<br />

กอน พูดงายๆ ก็คือ สถาปนิกก็จะไดความรูเรื่องผังจาก<br />

ภูมิสถาปนิก ในขณะเดียวกันภูมิสถาปนิกก็จะไดความ<br />

รูจากสถาปนิกและจากวิศวกร อาจารยเองก็ไดความรู<br />

42 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


จากการทํางานรวมกันอยางมาก กอนหนานี้มี conflict<br />

กันมาก คือ อีโกจัด ฉันเปนสถาปนิก คุณเปนผูจัดสวน<br />

มาทีหลัง วิศวกรเดี๋ยวคอยมาละกัน เดี๋ยวมาคํานวณเอา<br />

ทีหลัง ใหดีคือแตละฝายควรมาสุมหัวกันกอน ใครมีไอเดีย<br />

ดีๆ มาแลกเปลี่ยนกัน<br />

ถาพูดถึงขอบขายทางวิชาชีพ บทบาท และขอบเขต<br />

ของภูมิสถาปนิก ชื่อก็บอกวามันคือแลนดสเคปและ<br />

land มันไมมีขอบเขต ผิวโลกที่เปนพื้นที่บกทั้งหมดก็เปน<br />

land ซึ่งการพัฒนาพื้นที่มันตองเคารพตอขอจํากัดของ<br />

ลักษณะทางธรรมชาติของพื้นที่ เชน ที่ลุม ที่ดอน ที่นา<br />

ตางๆ ซึ่งเปนแลนดสเคปในสเกลใหญๆ หรือ regional<br />

landscape ภูมิสถาปนิกจะมีบทบาทเรื่องการวางผังภาค<br />

ซึ่งงาน regional landscape นั้นแทบจะไมมีในเมืองไทย<br />

เลย สวนแลนดสเคปที่เราเห็นทั่วไป เชน พวกงานสวน<br />

สาธารณะ งาน urban landscape ทําอยางไรถึงใหเมือง<br />

เขียวนาอยูเหมือนสิงคโปร การปลูกตนไมในเมือง การ<br />

ออกแบบพลาซาตางๆ รวมไปถึงการออกแบบภูมิสถา-<br />

ปตยกรรมในงานบานจัดสรรอสังหาริมทรัพยและโรงแรม<br />

ตางๆ โดยเปนงานในเชิงพาณิชย ซึ่งปจจุบันจะเห็นงาน<br />

กลุมนี้คอนขางมาก นอกจากนี้ก็มีงานของสถาบันการ<br />

ศึกษาที่จะมีการออกแบบวางผังมาสเตอรแพลนตางๆ<br />

แลวก็งานที่เกี่ยวของกับพวกทรัพยากร การกําหนดเขต<br />

พื้นที่ชุมนํ้า อุทยานแหงชาติ จุดบริการนักทองเที่ยวตางๆ<br />

อีกอันที่ภูมิสถาปนิกเกี่ยวของคือ อุทยานประวัติศาสตร<br />

และโบราณสถานตางๆ<br />

ในการทํางานถาเราเคารพซึ่งกันและกันมันก็จะดี<br />

เมื่อกอนมันยากนะ เมื่อกอนมันเปนการเขาใจผิดกันวา<br />

ภูมิสถาปนิกมาแยงงานสถาปนิก แบบจัดสวนทําเองก็ได<br />

อะไรแบบนี้ แตเดี๋ยวนี้ไมคอยเปนเชนนั้นแลว เพราะ<br />

เจาของโครงการเองก็ตองการภูมิสถาปนิก เพราะเจาของ<br />

ก็เรียนรูเหมือนกันวาตองการความเชี่ยวชาญของเรา ก็<br />

เริ่มดีขึ้นเยอะ<br />

อาจารยมองวาอนาคตการทํางานรวมกันของ<br />

สถาปนิกกับภูมิสถาปนิกควรเปนอยางไรบาง ?<br />

เดชา : ควรเปนการทํางานรวมกันในขั้น primary ตอง<br />

ทํางานดวยกันเปนปเปนขลุย แลวก็รูเทาๆ กัน แตพอ<br />

ชวงลงลึกคอยแยกกันไปทํางาน ตองยอมรับซึ่งกัน-และ<br />

กัน ใจกวาง อัตตานอยๆ หนอย หรือไมมีเลยก็ดี<br />

มันเหมือนกับวาเปนการทํางานของ<br />

ปอดกับตับฟงกชั่นคนละอันกัน<br />

ตองทํางานรวมกัน<br />

prior to drafting the course curriculum and the Department<br />

was launched for its first batch of students in<br />

2521. At that time, the program was organized in a<br />

structure similar to studying architecture in years 1<br />

and 2 with the first batch of students having to take<br />

the common examination as well. Students studied<br />

together and were later separated by their own choices<br />

and interests. It was not really successful and students<br />

rarely chose to study in the field, as they couldn’t<br />

understand clearly what landscape architecture was<br />

really about. The first batch of students was called the<br />

Grazy batch (laughing). But, there were 11 students<br />

who chose to study Landscape Architecture because<br />

they really were interested and wanted to study it.<br />

The following year, the examination was separated<br />

and became compulsory. When the Department was<br />

launched, there was one professor who warned that<br />

this approach might be bad karma, offering a course<br />

where students might not be able to find an employer<br />

to hire them, leaving them left to do gardening work<br />

where there were already many gardeners well-suited<br />

for the task. This showed that there was a misunderstanding<br />

regarding the profession and education of<br />

landscape architecture in general.<br />

WHAT IS YOUR OPINION REGARDING THE DE-<br />

VELOPMENT OF THE LANDSCAPE ARCHITECTURE<br />

PROFESSION FROM PAST TO PRESENT?<br />

DB : At first, there were few landscape architecture<br />

work projects, most of which were royal work projects<br />

assigned by Ajarn Chanladda who worked for the Fine<br />

Arts Department. When I was studying, my professor<br />

took me to see the design of the landscape of Uthane<br />

Techaphaiboon’s house. After that, there was a bit of a<br />

dark period, small patches of gardens with stones and<br />

bird decorations were very popular at every corner of<br />

Bangkok’s roads and the town looked so cluttered. The<br />

landscape architecture profession really began during<br />

Thailand’s economic recovery, during the year 2514-15,<br />

when the government borrowed funds from the World<br />

Bank to renovate the old Kasetsart University campus<br />

at Bangken and built a new campus in Bangsaen. The<br />

World Bank stipulated that a foreigner had to oversee<br />

the master plan and work alongside Thai architects,<br />

engineers and landscape architects. With my work<br />

connections, I was called in for the job. With Thailand’s<br />

economy recovering, work projects for hotels such<br />

as the Rama Gardens Hotel popped up as well. This<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 43


project encompassed a large area of some hundred<br />

acres, so I had to set up a new plan. There were conflicts<br />

regarding the roles of architects and landscape<br />

architects as well and several questions raised as to<br />

why landscape architects had anything to do with<br />

laying out plans for the location of elements such as<br />

the swimming pool and roads; all this was caused<br />

by misunderstandings. But once the layout plan was<br />

accepted, all acknowledged the work of landscape<br />

architects. At first, they thought we were there to do<br />

the gardening work and did not really understand what<br />

it was that we could offer (laughing). In the end, things<br />

worked out quite well. The landscape architect and the<br />

architect should work hand in hand, especially at the<br />

first stages of development in a project, and this was<br />

acknowledged, that we should be working together<br />

from the start. In 2554, the Rama Garden Hotel was<br />

spared from flooding owing to the beams and water<br />

wall protection that was built back in 2524.<br />

อยากใหอาจารยฝากถึงภูมิสถาปนิกและ<br />

สถาปนิกรุนใหมๆ<br />

ศ.เดชา: ในประเทศและทุกประเทศจะมีงานสวนหนึ่ง<br />

ที่เรียกวา Do it for good ทุกออฟฟศไมวาจะเปน<br />

สถาปนิก วิศวกร หรือ ภูมิสถาปนิก ออกแบบภายใน<br />

อะไรก็แลวแตควรจะแบงงบประมาณสัก 5% หรือ 10%<br />

ทํางานเพื่อสังคม ซึ่งก็เปนผลดีกับวิชาชีพ บางทีเราลืม<br />

ไปวางานที่เราไดมา มันไดมาจากประชาชน ไดมาจาก<br />

การเลาปากตอปาก การดูนิสัยใจคอ สังคมมันเชื่อมโยง<br />

กันหมด คือเราไมไดชวยสังคมเพื่อจะไปเอางานนะ คน<br />

เขาดูออกวาคนเราทําเพื่ออะไร แตถาเราไดทําเพื่อสังคม<br />

รวมกัน เกิดความปติดวยกัน มันก็จะแนะนํากันตอไป<br />

ซึ่งก็เปนวิธีที่ชวยใหไดงานอยางหนึ่ง แตก็ไมใชเปน<br />

สวนหลัก สวนหลักคือการไดชวยสังคม ควรทําอะไรให<br />

มันเปนประโยชนตอสังคม ไปรวมทีมกับสถาปนิก ภูมิ-<br />

สถาปนิก ผังเมือง ฟนฟูบานเมืองตางๆ contribute ที่<br />

ละเล็กละนอย อีกอยางหนึ่งคือการตอสูเพื่อวิชาชีพ เรา<br />

ไปเขาใจผิดวาการตอสูเพื่อวิชาชีพมันเปนการตอสูเพื่อ<br />

ตัวเอง เพื่อใหไดคาแบบเยอะๆ จริงๆ ไมใชหรอก การ<br />

บังคับใหผูที่มีใบอนุญาตจะตองรูถึงเทคโนโลยีใหมๆ รู<br />

อะไรใหมๆ ตลอดเวลาหรือการพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง<br />

มันตองมี แตเราไมยอมมี เราบอกวามันเรื่องอะไรกัน<br />

เรียนมาแลวไดรับปริญญามาแลว ทําไมยังตองมายุงอีก<br />

เปนตน ซึ่งนี่เปนเรื่องที่เขาใจคอนเซ็ปตผิด ทําใหวงการ<br />

สถาปนิกเราลาหลัง ลาหลังเพื่อนบานทั้งสิงคโปรและจีน<br />

เมื่อกอนจีนตามหลังอยูดีๆ แตตอนนี้ไปถึงไหนแลวไมรู<br />

CPD (Continuing professional development) หรือ<br />

พ.ว.ต (การพัฒนาวิชาชีพตอเนื่อง) นั้นเปนสิ่งที่มี<br />

ประโยชนมาก<br />

IT SEEMS THAT, AT FIRST, THE PUBLIC JUST<br />

REALLY DIDN’T UNDERSTAND THE DIFFERENCE<br />

BETWEEN THE ROLES OF ARCHITECTS AND<br />

LANDSCAPE ARCHITECTS.<br />

DB : It is similar to the functions of the liver and lungs<br />

in the human body. Both organs have to work together.<br />

Previously, there was a misunderstanding. The lungs<br />

will reprimand the liver if it interferes with its system<br />

of work; but, in reality, both organs have different<br />

functions but are a part of the same body system.<br />

Later on, architects, engineers and landscape architects<br />

realized the importance of working together. In particular,<br />

for projects that cover a large area, the landscape<br />

architects should start the work by designing the<br />

landscape area - the drainage paths, slope direction,<br />

entrances and exits, etc. Architects do not specialize in<br />

exterior circulation routes, while this is the core duty<br />

of landscape architecture. This is comparable to our<br />

body, which needs a respiratory system, blood vessels,<br />

nervous system, etc. If the circulation system of the<br />

land area is not well planned, things are not going to<br />

go well. The landscape architect has been specially<br />

trained in how to arrange the flow of circulation, or<br />

why a garbage truck needs to drive through the front<br />

of the building and how the fire brigade trucks are going<br />

to have access to the building, all of these aspects are<br />

considered. There are joint tasks that are achieved in<br />

cooperation with the engineer as well, designing lanes<br />

to give access to the fire brigade trucks being one<br />

example. In addition to the practical side, the work<br />

has to enhance beauty as well, taking into account<br />

the aesthetics and impact on the environment, and<br />

perhaps it’s also about improving the community, the<br />

art and culture.<br />

From a conceptual aspect, architects, landscape<br />

architects, urban planners and engineers who work<br />

together must have the same level of understanding<br />

regarding the concept. The architect must understand<br />

the concept of the landscape architects, of the urban<br />

designer and the engineer as well. Most of the time,<br />

they will gain this knowledge through learning first<br />

hand and this type of understanding has today been<br />

greatly improved. Previously, architects rarely recognized<br />

the works of landscape architects. Landscape architects<br />

would be called in at the final stage for gardening purposes.<br />

But to be called in at a late stage led to complications,<br />

as nothing could be repaired once the damage<br />

was done. The layout work of a campus is a master<br />

plan, which should be worked out first and foremost<br />

by a landscape architect. However, if we are talking<br />

about a crowded area, such as that in the city like<br />

Yaowaraj, then an architect could start the work and<br />

the landscape architect could be called in later to make<br />

things softer, find ways to improve things and ease the<br />

heat. But in general, if the landscape architect is involved<br />

earlier on, the work can be designed accordingly.<br />

44 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


WHAT IS THE DIFFERENCE, THE RELATION AND<br />

THE SCOPE OF DESIGN OF LANDSCAPE ARCHI-<br />

TECTURE IN CONTRAST TO STANDARD ARCHI-<br />

TECTURE?<br />

DB : Both must work together and each field has its<br />

own drawbacks. Architects and landscape architects<br />

have different points of view regarding where trees<br />

should be planted, locations of entrances and plazas,<br />

etc. and both must discuss their priorities. For a landscape<br />

architect to design a layout plan of a university,<br />

there must be zoning arrangements such as academic<br />

zones, dormitory zones, recreational zones and service<br />

zones as well as zones for future extensions of the<br />

campus considered. Cambridge University is 360-70<br />

years old. If one does not forecast for the future one<br />

will have no space left for expansion. Architects can<br />

also learn about urban planning from the perspective<br />

of a landscape architect. At the same time, the landscape<br />

architect can also learn from architects and<br />

engineers. I myself have learned a great deal from<br />

working together with them. Previously, there was a<br />

lot of conflict; everyone had their own egos. To get the<br />

best results, everyone should discuss, exchange and<br />

share ideas.<br />

If you are talking about the professional scope of<br />

a landscape architect, the name itself has two words<br />

that illustrate it: ‘landscape’ and ‘land.’ It has no boundary.<br />

The surface area of the earth is also land and in order<br />

to develop an area, one must respect the natural<br />

aspect of its surroundings. For example, if the area is<br />

a marshland, upland, field, etc. Aspects such as if the<br />

landscape is of a large scale or regional landscape have<br />

to be considered as well. The landscape architect’s<br />

role is to come up with a layout for the area. Regional<br />

landscapes do not exist in Thailand. The landscapes<br />

that we see are parks and the urban landscape of the<br />

city. How can we add more greenery so that the area<br />

becomes as nice as in Singapore? Tree planting in the<br />

city, designing plazas to include landscape architecture,<br />

developing layouts for real estate and hotels are examples<br />

of commercial work for landscape architects. In<br />

addition, there are educational institutions that require<br />

the design of a master plan, design resources, demarcation<br />

of wetlands, national historical sites and ancient<br />

sites. All of the aforementioned involve and require the<br />

work of a landscape architect.<br />

In the workforce, it is best if each profession respects<br />

one another; a fact that was difficult in the past.<br />

There was a misconception that architects and landscape<br />

architects were competitors. Nowadays, the<br />

perception has changed. The owner of a project needs<br />

a landscape architect because their expertise is needed.<br />

Things are getting better.<br />

WHAT IS YOUR OUTLOOK REGARDING THE<br />

FUTURE COLLABORATION OF ARCHITECTS AND<br />

LANDSCAPE ARCHITECTS?<br />

DB : At a primary stage, they should be working<br />

together at the same level in harmony. But when it<br />

comes to detailed work, each profession will have<br />

one’s own duty. This requires letting go of one’s ego<br />

and being generous.<br />

ANY ADVICE THAT YOU WOULD LIKE TO GIVE TO<br />

FUTURE ARCHITECTS?<br />

DB : In Thailand, and in all countries, there is a type of<br />

work which is called ‘do it for a good cause.’ Whether<br />

you are an architect, an engineer or a landscape<br />

interior decorator, one should designate 5% or 10% of<br />

the budget toward a good cause for society. This will<br />

also benefit one’s profession. Sometimes, one forgets<br />

that one’s work comes from the public, by word of<br />

mouth, from studying one’s personality; society is<br />

intertwined and connected. We do not do social work<br />

in order to have work and people know the purpose<br />

of our actions, but if we do work for the benefit of the<br />

whole society, everybody will be happy and our work<br />

will gain recognition and future recommendation. This<br />

is one way to get work, but it might not be the sole<br />

way. The main purpose and focus should be that one<br />

helps society and society benefits from one’s actions.<br />

To team up with architects, landscape architects, and<br />

city planners to develop the city by contributing little<br />

by little is, in a way, fighting for one’s profession. We<br />

misunderstand the idea of fighting for one’s profession<br />

as fighting for oneself in order to earn lots of money<br />

from the work. Encouraging people to learn new<br />

technologies, continually learn new things and strive to<br />

continue professional development is a requirement,<br />

but people do not agree. After graduating with a degree,<br />

nobody wants to study anymore. However, this is the<br />

wrong perspective and ultimately hinders the advancement<br />

of our architects who are now behind Singapore<br />

and China. Before China was less advanced than<br />

Thailand, but now China is more advanced. I am of the<br />

view that CPD (continuing professional development)<br />

is very useful.<br />

อ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ<br />

อาจารยประจําคณะสถาปตย-<br />

กรรมศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากรและ Editor in Chief<br />

วารสารอาษาป 2556-2558<br />

การบังคับใหผูที่มีใบอนุญาตจะตอง<br />

รูถึงเทคโนโลยีใหมๆ รูอะไรใหมๆ<br />

ตลอดเวลาหรือการพัฒนาวิชาชีพ<br />

ตอเนื่อง มันตองมี แตเราไมยอมมี<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 45


TEXT<br />

Aroon Puritat<br />

PHOTOS<br />

Wison Tunthunya<br />

P Landscape<br />

LANDSCAPE ARCHITECT<br />

P Landscape<br />

น 010-50<br />

LANDSCAPE CONTRACTOR<br />

Greenacts<br />

ARCHITECT<br />

Habita Architects<br />

น 021-51<br />

LANDSCAPE AREA<br />

1830 sq.m.<br />

YEAR COMPLETION<br />

2012<br />

โรงแรม 137 pillars house เปนบูติกโฮเต็ลที่ตั้งอยู<br />

ในยานที่อุดมไปดวยประวัติศาสตรอยางวัดเกตุการาม<br />

พื้นที่สําคัญทางประวัติศาสตรของเมืองเชียงใหม ภายใน<br />

โครงการเองก็มีอาคารไมโบราณอายุรวม 120 ป ตั้งอยู<br />

ใจกลางที่ดิน อาคารไมสไตลโคโลเนียลที่สรางขึ้นดวย<br />

ไมสักทั้งหลังนี้ เคยเปนบานพักและที่ทํางานของ หลุยส<br />

เลียวโนเวนส ลูกชายของ แอนนา เลียวโนเวนส ที่<br />

เรารูจักกันดีในฐานะ ‘พระอาจารยฝรั่ง’ ของพระบาท<br />

สมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว รัชกาลที่ 5 ซึ่งแต<br />

เดิมตั้งอยูอีกฝงของแมนํ้าปงกอนที่จะถูกยายมายังที่ตั้ง<br />

ปจจุบัน บานหลังนี้ไดถูกใชเปนบานพักรับรองใหกับผู-<br />

จัดการของบริษัท บอรเนียว จนถึงป 1927 กอนที่จะ<br />

ถูกยึดครองโดยกองทัพญี่ปุนในชวงสงครามโลกครั้งที่ 2<br />

และหลังสงครามโลกสิ้นสุดลง ทางบริษัทไดขายที่ดินให<br />

กับ William Bain ชาวสก็อต ซึ่งเคยทํางานเปนผูจัดการ<br />

ดูแลกิจการใหกับบริษัทบอรเนียวมากอน และถือวาเปน<br />

ผูจัดการคนสุดทายที่ทํางานใหกับบริษัทบอรเนียว สาขา<br />

เชียงใหม เขาไดแตงงานกับหญิงชาวมอญและอยูอาศัย<br />

ในบานหลังนี้จนสิ้นอายุขัย หลังจากนั้นอาคารก็ถูกทิ้ง<br />

รางไประยะหนึ่ง และมีนักวิจัยชาวเยอรมัน มาเชาพัก<br />

อาศัยเปนเวลารวม 10 ป กอนถูกปรับปรุงบูรณะเปนบูติก<br />

โฮเต็ล 137 pillars house ในที่สุด<br />

46 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


137<br />

PILLARS HOUSE<br />

NAWARAT CHIANG MAI<br />

P LANDSCAPE + HABITA ARCHITECTS<br />

01<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 47


12<br />

10<br />

11<br />

9<br />

8<br />

7<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

MASTER PLAN<br />

1 Arrival Court<br />

2 Parking Court<br />

3 Swimming Pool<br />

4 Pool Terrace<br />

5 Courtyard<br />

6 Wooden Terrace<br />

7 Tea Terrace<br />

8 137 Pillars House & Gallery<br />

9 Suite Garden<br />

10 Herb Garden<br />

11 Borneo Terrace<br />

12 Secret Garden<br />

1<br />

2<br />

1 M<br />

48 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


01 green wall แผงตนพลูดาง<br />

ความสูงรวม 15 เมตร ที่เปน<br />

ไฮไลทสําคัญอีกแหงในโครงการ<br />

137 pillars house<br />

02 บริเวณทางเขาโรงแรมที่เต็ม<br />

ไปดวยตนไมขนาดใหญ อยาง<br />

ตนมะขามเทศและตนหวา<br />

03 บรรยากาศชวงพลบค่ํา<br />

บริเวณริมสระวายน้ํา<br />

02<br />

137 pillars house is the name of a boutique hotel<br />

located in an area with a rich historical background, Wat<br />

Ketkaram of Chiang Mai. The project hosts a 120-yearold<br />

ancient wood building that stands in the middle<br />

of the property. The colonial style teak wood building<br />

was once the residence of Louis Leonowens, the<br />

son of Anna Leonowens who most Thais knew as the<br />

‘Westerner Teacher’ during the reign of King Rama V.<br />

The house was originally located on the other side of<br />

the Ping River before it was moved to its current location.<br />

This residence was used as a guesthouse for the<br />

manager of the Borneo Company until 1927 and later<br />

occupied by the Japanese Army during the Second<br />

World War. After the war ended, the company sold the<br />

land to William Bain, a Scottish man who oversaw Borneo’s<br />

business and the last manager of the company<br />

in Chiang Mai. Bain married a Mon lady and lived in the<br />

house until the day he died. The house was then left<br />

empty for a period of time before a German researcher<br />

rented the place for 10 years prior to its final renovation<br />

into the 137 Pillars House boutique hotel.<br />

Habita Architects was assigned to oversee the<br />

architectural design of the project with P Landscape<br />

being chosen to look after the landscape architecture.<br />

Habita Architect is a firm known for its expertise in<br />

the adaptation of vernacular architecture and unique<br />

characteristics of local architecture and localities<br />

within contemporary projects. Since the location of<br />

137 Pillars House hosts the presence of the ‘Borneo<br />

House’ as the project’s distinctive landmark, standing<br />

on the nearby grounds is another half concrete half<br />

wood building constructed in the same period, which<br />

has been the residence of William Bian’s offspring<br />

until today. The architect picked up on the distinctive<br />

traits of the colonial architecture as the hotel’s key<br />

design concept, with the house being renovated and<br />

used as the hotel’s reception lobby and restaurant. The<br />

planning is a collaborative attempt between both the<br />

architects and the landscape architects, with the area<br />

being entirely separated from other functional areas<br />

03<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 49


ในสวนของงานออกแบบสถาปตยกรรมนั้น ทาง<br />

โครงการไดสํานักงานสถาปนิก Habita Architects<br />

เขามาดูแล และสํานักงาน P Landscape รับผิดชอบ<br />

ในสวนงานออกแบบภูมิสถาปตยกรรม สําหรับ Habita<br />

นั้นเปนสํานักงานสถาปนิกซึ่งมีความเชี่ยวชาญสูงใน<br />

การนําเอาเอกลักษณของอาคารพื้นถิ่นในแตละทอง<br />

ที่มาประยุกตใชกับโครงการที่ตองออกแบบอยูเสมอ<br />

เนื่องจากในบริเวณที่ตั้งโครงการ 137 pillars house มี<br />

‘บานบอรเนียว’ อาคารไมโบราณสไตลโคโลเนียล เปน<br />

จุดเดนของโครงการ อีกทั้งในพื้นที่บริเวณใกลเคียงกัน<br />

ก็มีอาคารครึ่งไมครึ่งปูนอีกหลังที่กอสรางในระยะเวลา<br />

ใกลเคียงกับ ‘บานบอรเนียว’ ที่ลูกหลานของ William<br />

Bain ยังใชอาศัยอยูจวบจนปจจุบัน ทางสถาปนิกจึง<br />

ยึดเอารูปแบบสถาปตยกรรมแบบครึ่งตึกครึ่งไมสไตล<br />

โคโลเนียลเปนแนวทางหลักในการออกแบบ อีกทั้งยัง<br />

ปรับปรุงซอมแซม ตัวบานบอรเนียวขึ้นมาใหมเพื่อใช<br />

เปนสวนพักรับรองและสวนรานอาหาร โดยในขั้นตอน<br />

การวางผังนั้น สถาปนิกไดทํางานรวมกับภูมิสถาปนิก<br />

ในการจัดวางแบงพื้นที่ดานหนาโครงการใหเปนที่สวน<br />

ที่จอดรถใหแยกขาดจากพื้นที่ภายในดวยรั้วขนาดใหญ<br />

และมีตนมะขามเทศขนาดใหญซึ่งเปนตนไมเดิมอยูดาน<br />

หนาโครงการ เมื่อเดินกาวขามประตูผานเขามาก็จะเจอ<br />

กับพื้นที่สวนล็อบบี้เปดโลงซึ่งเปนอาคารไมสไตลโคโล-<br />

เนียลทาสีขาวทั้งหลัง อีกทั้งในบริเวณสวนนี้ยังมีการใช<br />

บอบัวเปนเสนนําสายตาและชวยปรับเปลี่ยนบรรยากาศ<br />

ทีละนิดทีละนอยจากบรรยากาศภายนอก ตั้งแตบริเวณ<br />

ประตูทางเขาเหมือนการยอนเวลากลับไปสูอดีต สวน<br />

อาคารวิลลาที่เปนหองพักนั้นถูกวางเรียงรายไวสองขาง<br />

ทางเดินที่จะนําเราไปสู ‘บานบอรเนียว’ ที่ตั้งอยูดานใน<br />

ในสวนอาคารหองพักนั้นถูกออกแบบใหเปนกลุมอาคาร<br />

สองชั้นที่แทรกตัวอยูทามกลางแมกไม โดยใชรูปแบบ<br />

ตัวอาคารครึ่งปูนครึ่งไม เนื่องจากการกระจายตัวหอง<br />

พักออกเปนหลังๆ นั้น ทําใหตัวอาคารก็ไมใหญเทอะทะ<br />

เหมือนอาคารขนาดใหญหลังเดียว อีกทั้งขอดีของการ<br />

กระจายอาคารออกเปนอาคารหลังเล็กๆ นั้น ชวยให<br />

ไมตองตัดตนไมเดิมที่มีอยูในโครงการและยังเพิ่มพื้นที่<br />

สีเขียวไดมากขึ้น<br />

ในสวนงานภูมิสถาปตยกรรมนั้น ทาง P Landscape<br />

นั้นไดอาศัยตนไมที่มีอยูเดิมภายในโครงการ อยางตนยาง<br />

อินเดียที่เคยถูกใชเปนที่ลามชางลากไมในอดีตตั้งอยูใกล<br />

กันกับบานบอรเนียว กิ่งกานสาขาขนาดใหญของตนยาง<br />

อินเดียที่แผออกไปโดยรอบในการชวยสรางบรรยากาศ<br />

และความรมรื่นและเปนจุดสนใจสําคัญอีกจุดภายใน<br />

โครงการ มีการสรางสวนเชื่อมตอกับบานบอรเนียวที่<br />

เปนไฮไลทของโครงการ โดยการยกระดับ บานบอรเนียว<br />

ใหสูงขึ้นเพื่อใหพนระดับนํ้าทวม ขณะเดียวกันก็จัดวาง<br />

ระดับตัวอาคารใหสัมพันธกับลานหญาสีเขียวขนาดใหญ<br />

ที่ไลระดับตอเนื่องขึ้นมาจากขั้นบันไดและลานไมขนาด<br />

ใหญ ซึ่งชวยขับเนนใหตัวบานบอรเนียวมีความโดดเดน<br />

มากขึ้น จุดเดนอีกสวนในงานภูมิสถาปตยกรรมก็คือ<br />

green wall ที่ใชตนพลูดางจํานวนมหาศาลวางบน<br />

โครงสรางเหล็กความสูงรวม 15 เมตร ริมสระวายนํ้า<br />

เพื่อแกปญหาของทัศนียภาพดานนอกโครงการที่เปน<br />

อาคารสูงซึ่งอยูชิดกับสวนสระวายนํ้าจนเกินไป และ<br />

ทําใหพื้นที่บริเวณนี้ขาดความเปนสวนตัว green wall<br />

จึงเขามาชวยแกปญหาความเปนสวนตัวทางสายตาให<br />

กับพื้นที่นี้ อีกทั้งเปนฉากหลังสีเขียวชวยใหมุมมองจาก<br />

ฝงบานบอรเนียวไดมองเห็นแผงตนพลูดางเปนสวนสี-<br />

เขียวแนวตั้งขนาดใหญ แทนที่จะเปนอาคารสมัยใหมที่<br />

ไมกลมกลืนกับรูปแบบสถาปตยกรรมภายในโครงการ<br />

เชียงใหมนั้นเปนเมืองที่มีประวัติศาสตรมายาวนาน<br />

และรองรอยเหลานั้นยังปรากฏใหเห็นผานหลักฐานทาง<br />

ประวัติศาสตรในรูปแบบตางๆ ประวัติศาสตรทองถิ่นได<br />

กลายเปนภาพสถาปตยกรรมคุนเคยที่ปกคลุมจินตนาการ<br />

ของเราตอเชียงใหม ไมวาจะเปนวัดในบริเวณคูเมือง<br />

กําแพงเมืองเกา เรือนพื้นถิ่น โดยเฉพาะอาคารเกาแก<br />

ในเชียงใหมนั้น สวนมากจะใชไมซึ่งมีอยูมากมายใน<br />

เวลานั้นเปนวัสดุหลักในการกอสราง โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

อาคารประเภทบานพักอาศัยและรานคา ซึ่งในปจจุบันมี<br />

ใหเห็นอยูไมมากนัก เนื่องจากเรือนพื้นถิ่นเหลานี้ ไดถูก<br />

ซื้อขายผลัดเปลี่ยนมือไปเปนจํานวนมากขึ้นเรื่อยๆ สวน<br />

หนึ่งไดรับการดูแลตอเนื่อง เพียงแตยายที่ตั้งจากชุมชน<br />

ไปสูรีสอรท แตบางหลังถูกรื้อถอนจนกลายเปนแควัสดุ<br />

กอสรางสําหรับอาคารหลังใหม หรือวาเปนวัสดุที่ใชใน<br />

การทําเฟอรนิเจอร นอกเหนือไปจากเรือนพื้นถิ่นแลว<br />

ยังมีอาคารที่ถูกสรางขึ้นโดยชาวตางชาติที่เขามาทํางาน<br />

และประกอบกิจการตางๆ ในเชียงใหมราว 100 กวาปกอน<br />

อยางเชน โบสถ โรงเรียน โรงพยาบาล อาคารสํานักงาน<br />

ซึ่งรูปแบบทางสถาปตยกรรมจะแตกตางไปจากเรือนไม<br />

พื้นถิ่น ทั้งในลักษณะการวางผัง รวมไปถึงวิธีการกอสราง<br />

ที่แตกตางกันไปตามสกุลชาง โครงการบูติกโฮเต็ล 137<br />

pillars house นั้นมีความพิเศษอยูตรงที่ตัวที่ตั้งโครงการ<br />

นั้นอุดมไปดวยอาคารและตนไมที่มีอายุทางประวัติศาสตร<br />

ไลเลี่ยกัน ซึ่งทางเจาของโครงการเล็งเห็นคุณคาความสําคัญ<br />

ของอาคารโบราณและความเปนมาทางประวัติศาสตร ซึ่ง<br />

ชวยเอื้อใหทั้งสถาปนิก และภูมิสถาปนิกมีโอกาสออกแบบ<br />

และสานตองานออกแบบทั้งสถาปตยกรรมและภูมิสถา-<br />

ปตยกรรมของตัวเองใหเขากับบริบททางประวัติศาสตร<br />

ในพื้นที่ซึ่งแวดลอมไปดวยโบราณสถาน และเปนอีกตัวอยาง<br />

ของโครงการที่ชวยสานตอลมหายใจใหกับตนไมและ<br />

อาคารโบราณที่ทรงคุณคาทางประวัติศาสตรไดสามารถ<br />

มีชีวิตตอเนื่องยาวนานไปกับชีวิตรวมสมัยในปจจุบัน<br />

<strong>04</strong> ในสวนบริเวณทางเดินภายใน<br />

โครงการมีการแทรกบอน้ําและ<br />

บอบัวเพื่อชวยลดพื้นที่ลานสวน<br />

ที่เปน hardscape<br />

05 แผงตนพลูดางที่ชวยบัง<br />

สายตาจากอาคารขางเคียง<br />

50 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


of the hotel by a large fence with a massive tamarind<br />

tree emphasizing the physicality of the border. Once<br />

stepping beyond the wall, one would encounter the<br />

open plan lobby area in the form of a spectacular white<br />

wooden colonial building. The lotus pond is used to<br />

lead the perspective and adjust the vibe, instilling a<br />

new mentality in the new territory, a journey into the<br />

past. The villas rest along both sides of the pond that<br />

leads visitors to the Borneo House located at the<br />

deeper end of the property. The rooms are allocated to<br />

be in a cluster of two storey half-wood half-concrete<br />

buildings that rest themselves in the verdant greenery.<br />

Such a program lessons the density of the overall<br />

architectural mass diminishing the bulkiness caused<br />

by having only one big building. Another upside of this<br />

type of building allocation is that the existing trees can<br />

be preserved as the green area is increased.<br />

As for the landscape, P Landscape makes the best<br />

use of the trees already grown in the property such as<br />

the Indian rubber bush that was once used to tame the<br />

working elephant located next to Borneo House. The<br />

expanding branches of the tree keep the nearby area<br />

shaded and cool while its majestic presence becomes<br />

a landmark of the hotel. An architectural interface<br />

is constructed to connect the hotel to the Borneo<br />

House, which is the highlight of the project. The house<br />

is elevated to stay above the flood level and, in the<br />

meantime, stand in harmony with the bright green<br />

hill that climbs up along the stairs from the massive<br />

wooden court down below. Such a foreground makes<br />

Borneo House even more distinctive physically as well.<br />

Another noticeable point of the landscape is the green<br />

wall made of an abundant amount of Devils’ Ivy crawling<br />

on the 15-meter high steel structure located next to<br />

the pool. The structure is there to block the unpleasant<br />

outside view of high-rise buildings that disturb the<br />

peace of the pool area. The presence of this green wall<br />

helps reconcile such dilemma while acting as a nice<br />

backdrop for Borneo House, a more fitting solution<br />

than the out-of-place modern buildings that struggle to<br />

อรุณ ภูริทัต<br />

จบการศึกษาดานสถาปตย-<br />

กรรมศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร เขียนบทความทางดาน<br />

สถาปตยกรรม งานออกแบบ<br />

และศิลปะใหกับนิตยสาร art4d,<br />

wallpaper (thai edition),<br />

fine art magazine ปจจุบัน<br />

ทํางานออกแบบสถาปตยกรรม<br />

ขนาดเล็ก ควบคูไปกับการ<br />

ทํางานศิลปะ<br />

fit within the project’s architecture.<br />

Chiang Mai is a city with a long historical background<br />

and the traces of the past can still be found<br />

in different forms of historical evidence. Local history<br />

becomes tangible visuals with architectural creations<br />

that shape our impressions of the city, from the<br />

temples along the city’s canal and the old city wall<br />

to the traditional local residential buildings. Most of<br />

the old buildings in Chiang Mai, residential buildings<br />

and shops in particular, are constructed of wood, a<br />

material that was highly available at the time. Such<br />

architectural characteristics are rarely seen today, for<br />

these local buildings have changed owners over time.<br />

Some are still under good care but used for different<br />

purposes such as a boutique resort, while others<br />

were torn down and replaced by new buildings. The<br />

materials may be used as decorative elements for<br />

the construction of new architectural creations or for<br />

other purposes such as furniture making. In addition<br />

to local residential buildings, there were buildings<br />

designed and constructed by foreigners who came<br />

to the city for business and work a century ago. The<br />

coming of these expats brought about the construction<br />

of churches, schools, hospitals, and office buildings<br />

with an architectural style that was noticeably different<br />

from the local architecture, whether it was the<br />

floor plan or construction techniques. The 137 Pillars<br />

House is unique for its incredibly verdant land, rich<br />

with ancient trees and a historical background that has<br />

grown with the land for a long period of time. The fact<br />

that the owner acknowledges the value of the ancient<br />

building and the history behind it aided the architects<br />

and landscape architects in developing the design of<br />

the hotel, supporting a harmonious architectural and<br />

historical narrative within its surrounding context of<br />

ancient buildings and historical sites. 137 pillars house<br />

exemplifies the way in which architecture can brilliantly<br />

revive the breath of the trees and prolong the life of<br />

ancient historical buildings, allowing even the old to<br />

survive and thrive as a contemporary way of life.<br />

<strong>04</strong> 05<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 51


TEXT<br />

Jaksin Noyraiphoom<br />

PHOTOS<br />

Pirak Anurakyawachon<br />

except as noted<br />

สําหรับโครงการสวนสาธารณะโดยทั่วไป อาจมี<br />

วัตถุประสงคในการสรางเพียงแคเพื่อเปนสถานที่พักผอน<br />

หรือศูนยรวมกิจกรรมสําหรับผูคนในยานนั้นๆ โปรแกรม<br />

การออกแบบโครงการประเภทนี้สวนใหญจึงมักถูกสราง<br />

ขึ้นเพื่อตอบสนองการใชงานทางกายภาพเปนหลัก แต<br />

สําหรับโครงการสวนมิ่งมงคลฯ แลว สิ่งที่เกิดขึ้นนั้น<br />

แตกตางออกไป เพราะสวนแหงนี้มีวัตถุประสงคในการ<br />

สรางที่มิใชเพียงแครองรับการใชงานขั้นพื้นฐานเชนเดียว<br />

กับสวนสาธารณะทั่วไปเทานั้น หากแตยังนําสาระและ<br />

ความรูดานสิ่งแวดลอมมาสอดแทรกอยูในโปรแกรมการ<br />

ออกแบบ ทําใหสวนแหงนี้มีเอกลักษณอันโดดเดน<br />

แตกตางจากโครงการประเภทเดียวกัน<br />

สวนมิ่งมงคลฯ หรือชื่ออยางเปนทางการวา ‘สวน-<br />

มิ่งมงคล เฉลิมพระชนมพรรษา 84 พรรษา’ ตั้งอยูริม<br />

ถนนมิตรภาพฝงขาเขากรุงเทพฯ ในเขตอําเภอแกงคอย<br />

จังหวัดสระบุรี บนเนื้อที่รวมกวา 20 ไร สวนแหงนี้สราง<br />

ขึ้นโดยบริษัทปูนซีเมนตนครหลวง จํากัด (มหาชน)<br />

เพื่อเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว เนื่องใน<br />

วโรกาสเฉลิมพระชนมพรรษาครบ 7 รอบ (84 พรรษา)<br />

และยังเปนสวนหนึ่งของความตั้งใจที่จะตอยอดแนวทาง<br />

การพัฒนาอยางยั่งยืนของบริษัท สูสาธารณชนในวงกวาง<br />

โดยตองการใหสวนมิ่งมงคลแหงนี้ เปนสวนสาธารณะ<br />

ตนแบบ สะทอนแนวคิดการอนุรักษธรรมชาติ และการ<br />

ใชพลังงานอยางคุมคาอันสอดคลองกับการพัฒนาอยาง<br />

ยั่งยืน<br />

“ความตองการเบื้องตนเลยก็คือ อยากไดสวนสาธารณะ<br />

ที่ชาวบานแถวนั้นสามารถเขามาใชงานได และนอกจาก<br />

การใชงานแบบสวนสาธารณะทั่วไปแลว อยากใหคนที่<br />

เขามาสามารถไดเรียนรูอะไรกลับไปบางเล็กๆ นอยๆ”<br />

ปรีดาพนธ บัณฑิตยานนท ภูมิสถาปนิกจากบริษัท L49<br />

ผูรับผิดชอบออกแบบภูมิสถาปตยกรรมของสวนสาธารณะ<br />

แหงนี้ กลาวถึงแนวคิดเบื้องตนในการออกแบบ<br />

GREEN PARK<br />

BY INSEE<br />

KAENG KHOI SARABURI<br />

L49 + A49<br />

52 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


For most public park projects, the purpose of<br />

their presence might only be to function as a place<br />

for recreation or as an activity hub for the local community;<br />

therefore, the design program of this type of<br />

project is often created to answer mainly to physical<br />

functionalities. In the case of Ming Mongkol Green<br />

Park, however, things are different. The park was initiated<br />

with the purpose of creating a space to serve not<br />

only the fundamental functionalities of a public park,<br />

like most parks do, but also to incorporate environmental<br />

content and knowledge as a part of the design<br />

program, making the park unique and distinctive from<br />

other projects within the same category.<br />

Ming Mongkol Green Park, with an official name<br />

of Ming Mongkol H.M. the King’s 84 Birthday Park<br />

by Insee, is located on Mittraphap Highway (Bangkok<br />

inbound) in Kang Koi district, Saraburi province. Spread<br />

over a 320,000-square meter piece of land, the park<br />

was constructed by Siam City Cement Public Company<br />

Limited to celebrate His Majesty the King’s 84 th<br />

birthday. The park is also the results of the company’s<br />

LANDSCAPE ARCHITECT<br />

L 49<br />

น 051-49<br />

LANDSCAPE CONTRACTOR<br />

VST AND MJ GARDENS<br />

ARCHITECT<br />

A 49<br />

น <strong>04</strong>9-49<br />

LANDSCAPE AREA<br />

35,200 sq.m.<br />

YEAR COMPLETION<br />

2012<br />

intention to further develop an approach aimed at<br />

sustainability amongst the general public. The park is<br />

expected to be a model public park that reflects an environmental<br />

preservation concept along with efficient<br />

use of energy and sustainable development.<br />

“The initial requirement was to build a park that<br />

the locals could make use of, and in addition to the<br />

basic usages commonly found in most public parks,<br />

we wanted people to be able to learn something from<br />

their visit,” described Predapond Bandityanond, the<br />

landscape architect of L49 responsible for the design<br />

of the park’s landscape architecture.<br />

With that in mind, the design team further developed<br />

the park’s plan. This process was a collaboration<br />

between L49, who was in charge of the park’s site<br />

planning landscape architecture, and A49 who was<br />

given the responsibility of the park’s architectural program.<br />

The plan was divided into different areas, each<br />

with its own functionality ranging from a parking lot<br />

to other service areas such as the Chaipattana Foundation<br />

shop, community shop for local sellers, rest-<br />

L49<br />

01<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 53


จากแนวคิดเบื้องตน ทางทีมผูออกแบบไดนํามา<br />

พัฒนาตอยอดเพื่อสรางเปนแนวคิดในการวางผังโครงการ<br />

โดยเปนการทํางานรวมกันระหวาง บริษัท L49 ผูรับ-<br />

ผิดชอบงานออกแบบภูมิสถาปตยกรรม และบริษัท A49<br />

ผูรับผิดชอบงานออกแบบสถาปตยกรรม ภายในผัง<br />

โครงการถูกแบงออกเปนพื้นที่สวนตางๆ ที่ถูกจัดวางตาม<br />

ประโยชนใชสอย ทั้งพื้นที่จอดรถสําหรับรองรับผูคนที่<br />

เดินทางมาโดยรถยนต พื้นที่บริการ ประกอบดวยรานคา<br />

มูลนิธิชัยพัฒนาและรานคาสําหรับใหชุมชนไดนําสินคา<br />

มาขาย หองนํ้า และลานกิจกรรมกลางแจง ซึ่งตั้งอยูใกล<br />

กับอาคารเฉลิมพระเกียรติที่ภายในใชแสดงพระราช-<br />

กรณียกิจของพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว นอกนั้น<br />

สวนใหญเปนพื้นที่พักผอนและสวนขนาดใหญ ซึ่งถือเปน<br />

หัวใจหลักของโครงการนี้<br />

ภายในพื้นที่สวน ผูออกแบบไดจําลองภูมิประเทศ<br />

ของยานที่ตั้ง ซึ่งมีทั้งเนินเขา ที่ราบ ลําธาร และบอนํ้า<br />

มาสรางเปนองคประกอบภายในสวน ที่มีความกลมกลืน<br />

กับภูมิประเทศโดยรอบราวกับอยูคูกับพื้นที่นี้มาอยาง<br />

ยาวนาน โดยพันธุไมที่เลือกนํามาใชภายในสวน ถือเปน<br />

เอกลักษณที่ทําใหสวนแหงนี้มีความโดดเดนและแตกตาง<br />

จากสวนแหงอื่นๆ “เราตั้งใจจะไมทําสวนที่ใชไมประดับ<br />

หลักการก็คือ เราตองการใชไมขางถนน ไมที่หาไดงาย<br />

ในทองถิ่น ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ซึ่งไมตองการ<br />

การดูแลรักษามาก” ปรีดาพนธกลาวถึงแนวคิดในการ<br />

ออกแบบภูมิสถาปตยกรรม<br />

พืชพรรณที่ถูกเลือกมาใชในสวนแหงนี้ มีทั้งไมยืนตน<br />

เชน ยูงทอง พยอม งิ้ว สําหรับใหรมเงา โดยเปนการ<br />

ผสมผสานตนไมที่นําเขามาปลูกใหมกับตนไมเดิมที่มีอยู<br />

ในพื้นที่ คละเคลาไปกับไมพุมอยาง โสน พุดตาน ชุม-<br />

เห็ดเทศ รวมทั้งไมคลุมดินอยาง หญาหางกระรอกแดง<br />

หงอนไกไทย บานไมรูโรยปา และวัชพืชชนิดตางๆ โดย<br />

จะทําการปลูกคละเคลากันแบบผสมผสาน ลอกเลียน<br />

รูปแบบที่พบเห็นไดทั่วไปตามธรรมชาติ บริเวรอบๆ ริม<br />

นํ้าจะปลูกพืชกินได เชน ผักชีลอม ผักชีลาว กะเพรา<br />

รวมกับตนธูปฤๅษีและพืชนํ้าอีกหลายชนิด นอกจากนี้<br />

ยังมีสวนของแปลงนาขาวสาธิต ที่สามารถปรับเปลี่ยน<br />

สําหรับพืชหมุนเวียน เชน พืชตระกูลถั่วหรือไมดอก<br />

สําหรับใหผูเยี่ยมชมไดเรียนรูการทําเกษตรกรรมเบื้องตน<br />

“เราอยากแสดงใหเห็นวาไมตองใชของแพง ก็ทําให<br />

สวยได และยังสามารถใชประโยชนไดดวย” ปรีดาพนธ<br />

อธิบายเสริม<br />

นอกจากความโดดเดนของงานภูมิสถาปตยกรรม<br />

แลว การออกแบบสถาปตยกรรมก็มีความนาสนใจ<br />

เชนกัน สถาปตยกรรมทั้งหมดจะสะทอนปรัชญาการ<br />

ออกแบบที่เนนความเรียบงาย ไมแสดงความฟุงเฟอ<br />

สามารถดูแลรักษาไดงาย และเขากับสภาพธรรมชาติ<br />

ของที่ตั้ง สวนพื้นที่รานคาไดรับการวางผังใหเปนกลุม<br />

กอนคลายกับชุมชนในชนบท ลอมรอบลานกลางชุมชน<br />

รูปลักษณของรานคาแตละหลัง จะคลายคลึงกับอาคาร<br />

พื้นถิ่นที่พบไดตามชนบท ในสวนอาคารเฉลิมพระเกียรติ<br />

เนนการใชรูปทรงที่เรียบงาย แตในขณะเดียวกันก็แสดง<br />

ความสงางามสมพระเกียรติ บริเวณหองนํ้าถูกออกแบบ<br />

ใหเปดโลงสามารถระบายอากาศไดดีตามธรรมชาติและ<br />

รมรื่นดวยผนังสวนแนวตั้ง ทั้งหมดมีผลิตภัณฑของปูน<br />

อินทรีประเภท green product เปนสวนประกอบเพื่อให<br />

สถาปตยกรรมที่เกิดขึ้นแสดงถึงความเปนมิตรกับสิ่ง-<br />

แวดลอม รวมทั้งยังมีบานประหยัดพลังงานตนแบบ<br />

ออกแบบโดย ศาสตราจารย ดร.บัณฑิต จุลาสัย ตั้งไว<br />

ภายในโครงการสําหรับใหผูที่ผานมาไดแวะเขามาเยี่ยม<br />

ชม และยังมีการใชพลังงานแสงอาทิตยและพลังงานลม<br />

ในสวนตางๆ เพื่อสงเสริมการใชพลังงานทดแทน<br />

เสนหประการสําคัญของสวนสาธารณะแหงนี้ยังอยู<br />

ที่การใหความรูและขอคิดตางๆ ดานสังคมและสิ่งแวดลอม<br />

ที่ถูกบรรจงสอดแทรกอยูในงานออกแบบในทุกๆ สวน<br />

อยางแนบเนียน “เราตองการใหความรูแบบไมยัดเยียด<br />

เพราะถาใหแบบยัดเยียดมากไปคนก็อาจเกิดการปฏิเสธ<br />

ได เราจะไมนําเสนอแบบตรงๆ แตผูคนตองคนพบเอง”<br />

ปรีดาพนธกลาว โดยขอคิดตางๆ นั้น จะถูกซอนอยูใน<br />

ปรัชญาการออกแบบ ซึ่งลวนตั้งอยูบนพื้นฐานของ<br />

ความเรียบงาย เนนการพึ่งพาตนเอง ไมปรุงแตงจน<br />

ฟุงเฟอเกินพอดี ซึ่งทั้งหมดนี้เปนสวนหนึ่งของปรัชญา<br />

เศรษฐกิจพอเพียงที่ผูออกแบบตองการสื่อไปยังผูที่เขา<br />

มาเยี่ยมชม<br />

01<br />

54 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


01 สวนมิ่งมงคล เฉลิมพระชนม-<br />

พรรษา 84 พรรษา สวนสวยที่<br />

ไมไดเปนแคเพียงสวนสาธารณะ<br />

แตยังแทรกแนวคิดในการอนุรักษ<br />

ธรรมชาติไวภายในไดอยาง<br />

กลมกลืน<br />

02 บรรยากาศบริเวณรานกาแฟ<br />

MASTER PLAN<br />

1 Memorial Building<br />

2 Coffee Café<br />

3 Otop Kiosk<br />

4 Baan Insee<br />

5 Royal Project Shop<br />

6 Toilets<br />

02<br />

6<br />

4 5<br />

3<br />

2<br />

1<br />

20 M<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 55


หลังจากกอสรางแลวเสร็จไดไมนาน สวนมิ่งมงคลฯ<br />

ไดชวยสรางประโยชนอยางมากตอชุมชนโดยรอบ ทั้ง<br />

การมีสวนสุขภาพสําหรับใหผูคนในยานนี้ไดเขามาออก<br />

กําลังกาย ลานสนามหญาขนาดใหญที่สามารถใชจัด<br />

กิจกรรมของชุมชนได หรือรานคาสําหรับขายผลิตภัณฑ<br />

ของชุมชน แตสวนแหงนี้ไมไดสรางประโยชนใหแก<br />

ชุมชนโดยรอบเพียงเทานั้น เพราะจากทําเลที่ตั้งซึ่งอยู<br />

ริมเสนทางสัญจรหลักขาเขากรุงเทพฯ ทําใหสวนแหงนี้<br />

มีศักยภาพเหมาะที่จะเปนจุดแวะพักสําหรับนักเดินทาง<br />

ซึ่งสวนใหญเปนคนเมือง “ผมคิดวาคนที่จะไดประโยชน<br />

จากสวนนี้ที่สุดคือคนกลุมนี้นะ ชาวบานนะเขาอยูกับ<br />

ธรรมชาติ อยูกันแบบเรียบงายอยูแลว แตคนเมืองนี่สิที่<br />

หางไกลธรรมชาติ แมไปทองเที่ยวตามแหลงธรรมชาติ แต<br />

รีสอรทตางๆ ก็เปนภาพปรุงแตงที่เปนรูปแบบทางการ<br />

ตลาดเปนหลัก เชน แนวความคิดเปนสวนของเมืองในตาง<br />

ประเทศ เปนตน ควรตองเขามาเรียนรูจากที่นี่” ปรีดาพนธ<br />

กลาวปดทาย<br />

โดยภาพรวมแลว สวนมิ่งมงคลฯ ถือไดวาสามารถ<br />

ตอบโจทยที่ทางผูออกแบบวางไวไดเปนอยางดีทุกขอ<br />

ไมวาจะเปนการรองรับการใชงานทางกายภาพ การสราง<br />

ความรมรื่นใหกับชุมชนและพื้นที่โดยรอบ รวมทั้งยังเปน<br />

สถานที่ใหความรูชั้นดีที่จะชวยกระตุกจิตสํานึก หลอหลอม<br />

ใหผูที่เขามาใชงานไดเรียนรูที่จะอยูรวมกับธรรมชาติและ<br />

ชุมชนอยางยั่งยืน<br />

03 รมเงาของตนไมที่ทอดตัวบน<br />

อาคารเฉลิมพระเกียรติ<br />

<strong>04</strong> ทางเดินเชื่อมตอระหวางกลุม<br />

อาคารและบริเวณสวนโดยรอบ<br />

03<br />

rooms and outdoor activity grounds located near the<br />

park’s main building where the King’s royal projects<br />

are exhibited. The rest of the area is occupied by the<br />

massive landscape of the park, which is the heart of<br />

the project.<br />

The team of landscape architects simulated the<br />

geographic condition of the park’s location, such as<br />

hills, plains, creeks and ponds, creating compositions<br />

that fall into a harmonious presence with the surrounding<br />

geographical context. The chosen variety of plants also<br />

contributed a great deal to the uniqueness of the park<br />

and, as Predapond explained, “It was our intention not<br />

to use decorative plants. The key principle here was<br />

to use locally available plants, flowers and trees that<br />

can be found growing naturally on the side of the road.<br />

Plants that do not require that much maintenance.”<br />

The plants chosen for the landscape are such as<br />

Yellow Jacaranda and White Meranti to provide shading,<br />

as well as new trees grown amongst the existing<br />

trees and shrubs such as Sesbania, Dixie Rosemallow,<br />

Candle Bush and some groundcovers such as fox<br />

tail or Chenille plant, Chinese Wool flower and other<br />

wild plants. All the plants are grown in combination,<br />

mixing and imitating natural growth patterns. Edible<br />

plants such as fennel, dill, and holy basil are grown at<br />

the waterside area along with cattail and other aquatic<br />

plants. There is also a rice field demonstrating basic<br />

agricultural practices including crop rotation where<br />

56 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


จักรสิน นอยไรภูมิ<br />

‘อ.แมลงภู’ จบการศึกษาดาน<br />

สถาปตยกรรมจาก คณะสถา-<br />

ปตยกรรมศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากร ปจจุบันเปนอาจารย<br />

ประจําคณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

และการออกแบบ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร<br />

ศาลายา ควบคูไปกับการเปน<br />

สถาปนิกและนักเขียนอิสระ มี<br />

ผลงานเขียนปรากฏตามนิตยสาร<br />

วารสาร และเวบไซตทางดานการ<br />

ออกแบบอยูอยางตอเนื่อง<br />

<strong>04</strong><br />

Fabaceae and other flowers are grown as well. “We<br />

want to show that even without expensive plants,<br />

the park can be beautiful and useful in many different<br />

ways.”<br />

Apart from the unique landscape architecture, the<br />

architectural design of the park is just as interesting.<br />

Everything reflects a design philosophy that highlights<br />

simplicity. It shines away from excessive lavishness<br />

and emphasizes the convenience of maintenance<br />

that fits well with the surrounding context. The retail<br />

area is properly set in a cluster reminiscent of a village<br />

or community in a rural area while the main building<br />

is simple in its form but graceful in its presence.<br />

The restrooms are designed to be airy and naturally<br />

ventilated and a vertical garden was added to keep the<br />

ambience more verdant. Furthermore, the architecture<br />

was all constructed using green products making the<br />

park a great example of an environmentally friendly<br />

architectural creation. Also located in the park is a prototype<br />

of an energy-saving house design by Dr. Bundit<br />

Chulasai that welcomes everyone for a visit. The use<br />

of solar and wind energy can also be found in different<br />

parts of the park promoting alternative energy usage.<br />

The most distinctive and charming features of<br />

this park lie in the social and environmental lessons<br />

that are cleverly inserted into the design. “We want<br />

to be informative and educational but not forceful. If<br />

you force people to learn, they might turn away. The<br />

knowledge is not taught directly, but more so through<br />

a discovery of experiences,” said Predapond. Ideas are<br />

hidden in the design philosophy that is based on simplicity<br />

and self-dependence, all in moderation and with<br />

humbleness. The approach is based on a philosophy of<br />

sufficiency, which is what the design team intends to<br />

convey.<br />

Since its completion, the park has served as a<br />

source of tremendous benefit for the locals, functioning<br />

as a place where people can exercise and an<br />

activity hub where commercial activities can take<br />

place within the community. Furthermore, due to its<br />

location, the park is an ideal spot for urban dwellers<br />

and travelers to take a rest as well. “I think people<br />

who benefit from the park the most are city people.<br />

The locals are always surrounded by nature, and they<br />

have always led a simple way of life. The city people<br />

live far away from nature and it is them who should be<br />

learning something from this place.”<br />

Looking at the big picture, Ming Mongkol Green<br />

Park has successfully achieved the design objectives<br />

initially set out for the project, from physical functionalities<br />

to serving as a place for recreation and a<br />

green space for the local community, to providing a<br />

knowledge hub that could potentially stimulate awareness<br />

of the importance of a sustainable coexistence<br />

between nature and the community.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> <strong>57</strong>


THE FOREST+POOL<br />

@PYNE<br />

BY SANSIRI<br />

SUKHUMVIT 64 BANGKOK<br />

TROP + PALMER & TURNER<br />

01<br />

58 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


8 TH MAIN POOL FLOOR PLAN<br />

1 Pool Terrace<br />

2 Pool<br />

3 Jacuzzi<br />

4 Structure<br />

5 Balconies<br />

6 Outdoor Shower<br />

3<br />

4<br />

2 3<br />

1<br />

6<br />

5 5<br />

5<br />

5 M<br />

กรุงเทพมหานครในปจจุบันเราคงตองถึงคราวยอมรับ<br />

กันไดแลววาเราขาดการวางแผนที่ดีจนเมืองใหญนี้อึดอัด<br />

ถาเราลองดูจํานวนรถยนตที่จดทะเบียนในกรุงเทพฯ นั้น<br />

มีกวา 8 ลานคัน แตถนนและทางสัญจรที่เราเตรียมไว<br />

กลับมีไดนอยนิด ทําใหภาพของกรุงเทพฯ ที่เมืองนาอยู<br />

ไดจางหายไปทีละนอย ซึ่งสงผลตอการออกแบบสถาปตย-<br />

กรรมอยางมาก ทําใหสถาปตยกรรมรวมสมัยในกรุงเทพฯ<br />

เองไดถูกขอจํากัดจากสภาพแวดลอมตางๆ เปนตัวผลักดัน<br />

ใหเกิดเสปซและการปดลอมมากกวาเปดรับ ประเด็น<br />

ตรงนี้ไดพัวพันไปถึงการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม<br />

ดวยเชนกัน ภูมิสถาปตยกรรมเปนศาสตรที่อยูระหวาง<br />

การออกแบบชุมชนเมืองและสถาปตยกรรมที่ชวยสรรค-<br />

สรางสภาวะแวดลอมของเมืองใหมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น<br />

การออกแบบภูมิสถาปตยกรรมที่ดีจึงไมใชแคสรางความ<br />

รมรื่นใหกับสถาปตยกรรมเทานั้นแตสงผลลัพธถึงความ<br />

นาอยูของเมืองเชนกัน<br />

TEXT<br />

Xaroj Phrawong<br />

PHOTOS<br />

Wison Tungthunya<br />

Tinnaphop Chawatin<br />

LANDSCAPE ARCHITECT<br />

TROP: terrains +<br />

open space<br />

น 005-<strong>57</strong><br />

LANDSCAPE CONTRACTOR<br />

Siphya Construction<br />

ARCHITECT<br />

Palmer & Turner<br />

(Thailand)<br />

น <strong>04</strong>1-52<br />

LANDSCAPE AREA<br />

2,900 sq.m.<br />

YEAR COMPLETION<br />

2013<br />

It might now be time to accept the fact that Bangkok<br />

is living the consequences of its unorganized urban<br />

planning and its residents are in great discomfort. If we<br />

look at the number of cars registered in Bangkok, there<br />

are over eight million, an enormous amount compared<br />

to the number of roads the city has constructed. The<br />

notion of Bangkok as a livable city is drifting away, and<br />

this unfortunate reality has had a great effect on architectural<br />

design within the city. Contemporary architecture<br />

in Bangkok is limited by numerous environmental<br />

factors that have forced the conceptions of enclosed<br />

spaces rather than open ones. This issue also involves<br />

landscape architectural design, considering how it<br />

is a science that exists between urban community<br />

design and architecture and its potential to improve the<br />

city’s environment and quality of life. Good landscape<br />

architecture is, therefore, not just about the creation of<br />

green space for an architectural project, for it has the<br />

potential to significantly influence comfort of living and<br />

quality of life within the city.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 59


หากเราเดินทางไปยังยานใจกลางกรุงเทพมหานคร<br />

อยางในแถบยานราชเทวี เราจะพบการขนสงที่หลาก-<br />

หลาย ทั้งที่เปนหลักคือถนนจากรถยนต รถประจําทาง<br />

วินมอเตอรไซคที่ระดับดิน หรือจะเลือกความสะดวก<br />

สบายที่สามารถควบคุมเรื่องเวลาไดก็ใชบริการรถไฟฟา<br />

แตถาตองการที่จะเดินทางไปยังเครือขายการขนสงแบบ<br />

ดั้งเดิมของบางกอกตองลองใชบริการเรือดวนในคลองที่<br />

ทาเรือใกลสุดคือสะพานหัวชางซึ่งสามารถเชื่อมโยงทาง<br />

สัญจรตั้งแตเกาะรัตนโกสินทรยาวไปจนถึงชานเมืองที่<br />

ทุงแสนแสบ และในยานใกลเคียงดวยการใชเวลาไมเกิน<br />

15 นาทีเราจะพบกับแหลงชอปปงระดับประเทศไดอยาง<br />

ประตูนํ้า หางมาบุญครอง หางสยามดิสคัฟเวอรี่ และ<br />

สยามแสควร บรรยากาศที่รายรอบยานนี้คือความเปน<br />

เมืองแบบมหานครที่เราไมอาจปฏิเสธมันไดถึงความเปน<br />

จริงที่แสนวุนวาย แออัด มันคือบรรยากาศที่เปนจริงของ<br />

กรุงเทพมหานคร และที่ตั้งเดียวกันนี้เองตรงถนนพญาไท<br />

บริเวณสถานีรถไฟฟาราชเทวีไดมีการพัฒนาที่ดินในป<br />

2553 เพื่อสรางคอนโดมิเนียมระดับสูงโดยบริษัทพัฒนา<br />

ที่ดินแสนสิริใหกลายเปน ‘Pyne by Sansiri’ ซึ่งเปน<br />

โจทยการออกแบบใหแกปญหาความเปนสวนตัวที่ตองการ<br />

ใหโครงการมีเอกลักษณของตัวเองที่ชัดเจนจากยานโดย<br />

รอบ และมีการสงเสริมสถาปตยกรรมดวยภูมิสถาปตย-<br />

กรรมชวยใหโครงการนี้มีความพิเศษเกิดขึ้นโดย TROP:<br />

terrains + open space รับหนาที่ออกแบบภูมิสถาปตย-<br />

กรรมโดย และออกแบบสถาปตยกรรมโดยปาลมเมอร<br />

แอนดเทรนเนอร (ประเทศไทย)<br />

การเขาถึงโครงการดวยสายตาสามารถทําไดสอง<br />

ระดับ ระดับแรกคือจากระดับถนน และระดับที่สองคือ<br />

จากสถานีรถไฟฟาราชเทวี ซึ่งมีระดับที่สูงตางกันมากซึ่ง<br />

เปนเงื่อนไขใหเกิดการออกแบบพื้นที่ภูมิทัศนหลังรั้วหิน<br />

ออนนี้ สําหรับการเขาถึงดวยสายตาเริ่มเมื่อกอนเขาถึง<br />

โครงการกําแพงหินออนสูงราว 3 เมตร และไมพุมทํา<br />

หนาที่ตัดขาดพื้นที่ภายในออกจากโลกภายนอก ซึ่งเปน<br />

ประเด็นเริ่มตนที่ภูมิสถาปนิกใชเปนเงื่อนไขแรกของการ<br />

สรางงานเนื่องจากสภาพแวดลอมโดยรอบคลายมีภูเขา<br />

ลอมรอบ แตเปนเขาประดิษฐดวยคอนกรีต คอนกรีต<br />

เหลานี้มีสภาพไมนาอภิรมยสําหรับการสรางใหพื้นที่<br />

ภายในคอนโดมิเนียมนี้นาอยูนักเพราะมันรายรอบไป<br />

ดวยกิจกรรมอยางอาคารสํานักงาน รานอาหาร การ<br />

เขาถึงดวยสายตาที่ระดับแรกจึงถูกตัดขาดออกไปจาก<br />

โลกภายนอก จนมาถึงการเขาถึงดวยสายตาในระดับ<br />

ที่สองจากสถานีรถไฟฟาราชเทวีซึ่งเปนฝงขามกับตัว<br />

คอนโดมิเนียม การประจันหนาตรงนี้สรางจินตนาการ<br />

ใหกับภูมิสถาปนิกวาเปนภูเขาที่ประจันหนาดวย เปน<br />

สาเหตุที่เลือกใชไมพุม ตนแคนา มาลดแรงปะทะที่เกิด<br />

ขึ้นเพื่อชวยสรางความเปนสวนตัวใหกับพื้นที่ภายใน<br />

ตนไมสูงเหลานี้นอกจากจะมีหนาที่ลดแรงปะทะแลว ยัง<br />

ชวยสรางเงาใหกับบริเวณสนามหญาหนาโครงการชวย<br />

ลดอุณหภูมิใหกับผิวดินได<br />

01 มุมมองจากยอดอาคารลง<br />

มายังฐานซึ่งเปนสระวายน้ําอยู<br />

เหนือสวนจอดรถ การออกแบบ<br />

สวนของภูมิสถาปตยกรรมจาก<br />

ดานลางเลื้อยมาปกคลุมสวนนี้<br />

กลายเปนการสรางสวนครอบ-<br />

ครองทองฟากรุงเทพฯ มาเปน<br />

หลังคาคลุม<br />

02 เสนสายอะลูมิเนียมคอมโพสิต<br />

เปนงานสวนภูมิสถาปตยกรรม<br />

เลื้อยลามจากพื้นเขามาเปนสวน<br />

หนึ่งกับสถาปตยกรรม<br />

03 เสนสายภูมิสถาปตยกรรมถูก<br />

ลดความกระดางดวยการแทรก<br />

ตนสรอยอินทนิลในแนวตั้ง<br />

<strong>04</strong> มุมมองจากดานหนาอาคาร<br />

หันออกไปยังสถานีรถไฟฟา<br />

ในจุดนี้ แลคลายลอมดวยเขาซึ่ง<br />

ภูมิสถาปนิกเสนอความคิดถึง<br />

การสรางสภาพแวดลอมธรรมชาติ<br />

ที่ประดิษฐขึ้นมาเพื่อสรางสภาวะ<br />

สวนตัวในโครงการ<br />

02<br />

60 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


If one travels to one of Bangkok’s most notable urban<br />

districts, such as Ratchathewi, he or she will come<br />

across incredibly diverse forms of transportation - be it<br />

cars, buses or motorcycle taxis on the street level, or<br />

the more convenient choice such as the skytrains. The<br />

most traditional mode of transportation in Bangkok has<br />

to be the express boat that runs through the expansive<br />

web of the city’s canals. Jump on board at Hua Chang<br />

pier in Ratchathewi district, and there are boats that<br />

can take you all the way to Rattanakosin Island or the<br />

suburban areas of Bangkok. Just a stone’s throw away<br />

are the country’s most vibrant shopping areas such<br />

as Pratunam, MBK, Siam Discovery Center or Siam<br />

Square. The area has everything a metropolitan is required<br />

to have but, what is undeniable is the reality that<br />

it is chaotic and restless; this is what Bangkok is really<br />

like. Within this very same neighborhood, on Phyathai<br />

Road near Ratchathewi BTS skytrain station, a land<br />

development project was initiated in 2010 by Sansiri<br />

with a plan to build a high-rise condominium later<br />

known as ‘Pyne by Sansiri.’ The main topic that called<br />

upon the design team for reconciliation was the privacy<br />

issue, which consequentially required the project to be<br />

physically distinctive from its surrounding context and<br />

created a fitting situation for the landscape architecture<br />

to come into play as a resolution that could potentially<br />

make the project more ‘special.’ TROP: terrains + open<br />

space was assigned to handle the project’s landscape<br />

architecture with Palmer and Turner (Thailand) being<br />

responsible for the architectural design.<br />

The project can be accessed from two levels, the<br />

first from the street level and the second from Ratchathewi<br />

BTS station. Such a difference in the height of<br />

accessibility became a design condition that later gave<br />

birth to the landscape architecture behind the project’s<br />

marble wall. The visual accessibility began before passing<br />

the project’s three meter high marble wall and rows of<br />

Agasta trees that seclude the inside of the project from<br />

the outside world. The second level of visual accessibility<br />

takes place at the skytrian station opposite to the<br />

condominium building. The confrontation became the<br />

landscape architect’s inspiration for the space, with the<br />

wall becoming reminiscent of a big grand mountain<br />

that every visitor has to cross in order to enter inside.<br />

Such a majestic presence was also the reason for the<br />

use of Agasta trees, lessening the confrontational<br />

force and creating a greater sense of privacy within<br />

the area beyond the wall. Since Agasta is a fairly tall<br />

tree, it can also provide shade within the yard at the<br />

front of the project, automatically decreasing the soil’s<br />

temperature.<br />

The area located between the outside and inside<br />

of the project was designed as a softscape with the<br />

presence of yard and trees that complement the<br />

project’s concept as the city’s oasis. From the concept<br />

that strives to create a natural green space for both the<br />

project and the city of Bangkok, the design gives<br />

precedence to seclusion rather that creating a connection<br />

between inside and outside spaces. The approach<br />

may sound a bit cruel to the city, but several legendary<br />

architectural creations have taken this path toward<br />

reconciling similar issues, be it the Azuma House in<br />

Sumiyoshi, Japan by Tadao Ando or Casa Luis Barragán<br />

in Mexico. Despite being located in different continents,<br />

the two works are similar in their design solutions,<br />

which encompass both the way architectural creations<br />

can take in the outside context partially as a part of its<br />

physical presence while at the same time eliminating<br />

several other contexts of the inside space. The context<br />

that was surrounding Azuma House at the time of its<br />

birth was Japan in the 70s. At that time, the city was<br />

filled with the unorganized presence of vernacular<br />

architectural creations. The architect therefore chose to<br />

03<br />

<strong>04</strong><br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 61


จวบจนเมื่อเขาสูพื้นที่ระหวางภายนอกและภายใน<br />

โครงการ การใชพื้นที่สวนนี้ถูกออกแบบใหเปน softscape<br />

ดวยสนามหญา ตนไมตางๆ เพื่อเพิ่มความเปน<br />

โอเอซิสของเมือง จากแนวคิดที่ตองการสรางพื้นที่<br />

ธรรมชาติใหเปนโอเอซิสของเมืองและใชภายในโครงการ<br />

เนนการตัดขาดจากสภาพโดยรอบมากกวาเชื่อมโยงเขา<br />

มายังสเปซภายใน แมในบทสนทนาที่เอยถึงแนวคิดนี้<br />

จากภูมิสถาปนิกเสนอวามันอาจจะฟงดูใจรายกับเมือง<br />

แตถาหากพิจารณาถึงงานสถาปตยกรรมหลายชิ้นระดับ<br />

ตํานานก็เลือกวิธีแกปญหาแบบนี้มากมายเชนกัน อยาง<br />

กรณีศึกษาจากงาน Azuma house ที่สึมิโยะชิ ญี่ปุน<br />

ออกแบบโดย ทาดาโอะ อันโดะ และ Casa Luis Barragán<br />

ที่เม็กซิโกออกแบบโดย หลุย บารากอง ทั้งสองงานนี้มี<br />

ความคลายคลึงในความตางของบริบท ตางกันที่งานแรก<br />

อยูเอเชีย แตอีกงานอยูที่ละตินอเมริกา แตทั้งสองงานนี้<br />

เลือกใชวิธีการแกปญหารวมกันคือการรับบริบทจาก<br />

ภายนอกบางสวน และเลือกที่จะตัดบริบทหลายสวน<br />

ออกจากสเปซภายใน ซึ่งในบริบทที่รายรอบงาน Azuma<br />

house นั้นคือญี่ปุนในยุค 70s บานเมืองในยุคนั้นเต็มไป<br />

ดวยลักษณะบานเรือนแบบเอเชียที่ไมไดมีระเบียบนัก<br />

สถาปนิกไดเลือกที่จะปดตัวบานเองจากสภาพโดยรอบ<br />

กลายเปนกลองคอนกรีตเปลือยทึบตัน มีเพียงประตู<br />

บานเดียวเล็กๆ เทานั้นที่บอกวายังเชื่อมกับโลกภายนอก<br />

ได แตเมื่อพิจารณาในระดับของสเปซภายในซึ่งเปนหัวใจ<br />

ของงานนี้ที่เลือกจะแยกสวนใชสอยภายในออกเปน<br />

สองสวนแลวเติมสปซวางลงไปในคอรตกลางบานแทน<br />

บานนี้จึงตัดตัวเองออกจากโลกภายนอกแตเชื่อมกับ<br />

ธรรมชาติดวยปรากฏการณผานคอรตกลางบาน สวน<br />

งาน Casa Luis Barragán นั้นอยูในตัวชุมชนเมือง<br />

เม็กซิโก ประเทศเม็กซิโก โดยเปนบานของบารากอง<br />

เอง สวนที่นาสนใจคือพื้นที่ดาดฟาซึ่งสถาปนิกเลือก<br />

ออกแบบใหมีเพียงผนังไมสูงนักที่ดาดฟาเพื่อชวยตัด<br />

สเปซสวนนี้ออกจากสภาพจอแจของเม็กซิโก แตผนัง<br />

สามารถไดยินเสียงจอแจของทองถนนที่อนุญาตเล็ดรอด<br />

เขามาแบบบางเบาเทานั้น<br />

พื้นที่ระหวางภายนอกและภายในโครงการนี้<br />

นอกจากการออกแบบ softscape ใหลดความกระดาง<br />

ของสวนดาดแข็งที่มากมายในกรุงเทพฯ โดยรอบ สวน<br />

ที่นาสนใจคือนอกจากการออกแบบภูมิสถาปตยกรรม<br />

ที่ไมไดเสนอแคการจัดสวน แตเสนอถึงสวนที่เชื่อมโยง<br />

สถาปตยกรรมเขากับภูมิสถาปตยกรรมจากสวนที่อาจ<br />

จะเปนสถาปตยกรรมหรือภูมิสถาปตยกรรมในขณะ<br />

เดียวจาก hardscape ซึ่งถาพิจารณาในระดับผังจะพบ<br />

วามีเสนสายที่ถูกออกแบบไวตอเนื่องจากรั้วหินออนที่<br />

ภายนอกไหลลงมายังสวนพื้นจนกลายเปนเสนสายของ<br />

ทางเดินในสวนผานสนามหญา จากนั้นเสนสายนี้ตอเนื่อง<br />

จากพื้นไลไปยัง façade ของสวนจอดรถจนสระวายนํ้าที่<br />

มีลักษณะแบบ single surface โดยเปลี่ยนวัสดุจากหิน<br />

คอนกรีต กลายเปนอะลูมิเนียมคอมโพสิตที่ façade<br />

05 มุมมองจากดานบนอาคาร<br />

ลงมายังสวนดานลาง เสนสาย<br />

ทางเดินเปนสวนที่ตอเนื่องขึ้นไป<br />

ยัง facade<br />

06 ภูมิสถาปตยกรรมถูกออก-<br />

แบบใหกลืนเปนเนื้อเดียวกันจาก<br />

เสนของรั้วจนถึงทางเดินในสนาม<br />

หญาและขึ้นไปยังอาคาร<br />

สาโรช พระวงค<br />

- สถ.บ.มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี และ สถ.ม.<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

- สถาปนิกผูหลงใหลในสวน<br />

อักษรจึงริลองเปนนักเขียนใหกับ<br />

หลากนิตยสารและเวบไซต<br />

- ปจจุบันเปนอาจารยประจําและ<br />

รองคณบดีฝายพัฒนานักศึกษา<br />

คณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช-<br />

มงคลธัญบุรี และอาจารยพิเศษ<br />

ในสถาบันอื่นๆ<br />

แทรกดวยผนังโลหะโปรงใหไมเลื้อยอยางสรอยอินทนิล<br />

เลื้อยจนถึงสวนที่ครอบครองสเปซบนสระวายนํ้าที่ตั้งอยู<br />

บนฐานอาคารซึ่งเปนสวนจอดรถ บนสระวายนํ้านี้ดึงเอา<br />

ทองฟากรุงเทพฯ มาเปนหลังคาคลุมและซอนดวยฝาจาก<br />

เสนอะลูมิเนียมคอมโพสิตที่ไหลตอเนื่องมาจาก façade<br />

ดานลางเพื่อสรางทิวทัศนที่พิเศษของสระวายนํ้าใหเห็น<br />

อีกมุมมองของกรุงเทพฯ ที่ไดประดิษฐขึ้นดวยเสนสาย<br />

ของสถาปตยกรรม และลดความแรงของแสงแดดบน<br />

ดาดฟาดวยตนจิกนํ้าที่ปลอยใหแสงลอดเขามาแบบรําไร<br />

ในพื้นที่บางสวน และเสนสาย single surface ที่ออกแบบ<br />

แลดูหวือหวาเหลานี้เปนสวนเชื่อมใหโครงการนี้ตั้งแตรั้ว<br />

ภายนอกจนมาถึงสวนบนอาคารใหมีภาษาที่บอกใหเปน<br />

เนื้อหาเดียวกันทั้งงาน อีกทั้งหากมองในระดับคนแลว<br />

เสนเหลานี้สามารถสรางการเชื่อมจากลางสูบน ในขณะที่<br />

หากมองจากดานบนสระนํ้าไปยังดานลางเสนเหลานี้ก็<br />

เปนการบอกดวยภาษาสถาปตยกรรมถึงเรื่องราวเดียวกัน<br />

ทําใหเกิดความคลองจองของไวยากรณในบริบทเมือง<br />

แบบกลมกลอมมากขึ้น<br />

งานภูมิสถาปตยกรรมที่ Pyne by Sansiri ก็เหมือน<br />

ปานอยที่ประดิษฐทับขึ้นมาบนปาคอนกรีตชื่อวากรุงเทพ-<br />

มหานครโดยมุงหวังจะสรางความสงบใหกับผูพักอาศัย<br />

ในคอนโดมิเนียมนี้ ใหกลายเปนพื้นที่ดังภูมิสถาปนิก<br />

เอยวามันคือ ‘Hypernature’ ซึ่งประดิษฐธรรมชาติขึ้น<br />

มากลางกรุง ประดิษฐเพื่อใหผูคนที่เดินทางลงจากรถไฟฟา<br />

มาสูปาประดิษฐหลีกความวุนวายสูพื้นที่สงบเพื่อการหลบ<br />

ความวุนวายของกรุงเทพฯ นี้ พลันทําใหนึกถึงงานเขียน<br />

ของ ‘รงค วงษสวรรค ศิลปนแหงชาติผูลวงลับจากสวน<br />

ทูนอินอยางหลีกเลี่ยงไมได “ใครก็ได หยุดกรุงเทพที<br />

ผมจะลง”<br />

05<br />

62 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


keep the house away from its surrounding environment,<br />

creating this dense, enclosed concrete box with only<br />

one door offering contact with the outside world.<br />

However, when considering the interior space, which<br />

is actually the key element of the work, the architect<br />

decided to divide the house’s functional spaces into<br />

two parts with an empty space that comes in the<br />

form of an indoor court located in the middle of the<br />

house. As a result, although shutting itself out from<br />

the outside world, the house’s connection with nature<br />

is made present by phenomena that take place in the<br />

house’s indoor court. Looking across the world to a<br />

community situated in the heart of Mexico and located<br />

at Casa Luis Barragán, we see a project that is the<br />

architect’s own house with a rooftop area functioning<br />

as one of the house’s most distinctive architectural<br />

elements. Using walls with a moderate height, Luis<br />

Barragán separated the space from Mexico’s hectic<br />

environment while allowing for only a limited amount<br />

of street sounds to pass through the walls.<br />

This particular in-between space is also interesting,<br />

as it becomes something that is much more than just a<br />

nice looking green garden, for it is designed to incorporate<br />

architectural interfaces as a parts of the landscape<br />

itself. In the meantime, when looking at the hardscape<br />

from the plan, it is noticeable that a series of lines have<br />

been designed to lead into a continual flow, from the<br />

marble wall down to the ground area and over to the<br />

walkway that cuts through the garden and the yard.<br />

This particular line continues its presence all the way<br />

to the façade at the parking area and the single surface<br />

pool. The material at the facade changes from stone<br />

and concrete to composite aluminum, sporadically<br />

inserted by an airy steel wall where crawling plants<br />

make their way up to the pool located at the top of<br />

the building’s foundation which is used as the parking<br />

space.<br />

The pool area embraces Bangkok’s sky as its<br />

natural roof, superimposed by the ceiling made of<br />

aluminum composite bars that flow in from the façade<br />

below. Such an installation creates a special view for<br />

the pool area, which opens itself up to the new perspective<br />

of Bangkok fabricated by these magnificent<br />

architectural lines. These bold single surface lines are<br />

what interweave the territory outside of this sanctuary<br />

into the upper part of the building under one unified<br />

architectural language. From a person’s visual point of<br />

view, these lines create a top-to-bottom connection.<br />

The view from the pool reveals the project’s architectural<br />

elements that speak harmoniously in one architectural<br />

language under Bangkok’s unique urban context.<br />

The landscape architecture of Pyne by Sansiri is pretty<br />

much like a small forest emerging in the midst of<br />

Bangkok’s concrete jungle. With an aim of serving as<br />

a place of tranquility for its residents, Pyne is the ‘Hypernature,’<br />

a manmade natural sphere existing in the<br />

middle of a chaotic metropolitan. It stands ground for<br />

its residents to walk from the skytrain into an urban forest,<br />

away from the hectic pace of the city of Bangkok.<br />

Like the great Thai literature laureate, Rong Wongsawan<br />

once said, ‘Somebody please stop Bangkok, I’m<br />

getting off here.”<br />

06<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 63


HYDE<br />

SUKHUMVIT 13<br />

KLONGTON NEUR BANGKOK<br />

SHMA + INTER ARKITEK & OBA<br />

01<br />

64 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


TEXT<br />

Supitcha Tovivich<br />

PHOTOS<br />

Wison Tungthunya<br />

01 แนวคิดการออกแบบภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมคือการสราง<br />

บรรยากาศของความเปน ‘ถ้ํา’<br />

กลางเมือง<br />

แมในปจจุบันการใชชีวิตทางตั้งหรือการอยูอาศัย<br />

ในคอนโดมิเนียมจะเปนสิ่งที่คนเมืองคุนเคยมากขึ้น<br />

ทุกวัน แตโดยลึกแลวมนุษยยังคงมีความตองการที่จะ<br />

ใกลชิดธรรมชาติ เพื่อความรูสึกผอนคลายจากความ<br />

เครงครัดและวุนวายของความเปนเมือง รวมถึงการได<br />

ใชสายตาสังเกตความเปลี่ยนแปลงของธรรมชาติแตละ<br />

ชวงเวลา หรือผิวหนังไดสัมผัสพื้นผิวที่มีความแตกตาง<br />

รวมถึงการไดยินเสียงนํ้าและลม ลวนชวยกระตุนใหคน<br />

เมืองรูสึกสดชื่น แจมใส สบาย และตื่นตัวไดดี สําหรับ<br />

โครงการ Hyde Condominium สุขุมวิท 13 เปนอาคาร<br />

ชุดสูง 40 ชั้น มีหองพักทั้งสิ้น 454 หอง ตั้งอยูใกล<br />

สถานีรถไฟฟา ริมถนนสุขุมวิทที่หนาแนน ขวักไขว และ<br />

เปนทําเลทองของเมืองทั้งในดานการเปนพื้นที่ทาง<br />

เศรษฐกิจ การคมนาคม การสังสรรค และไลฟสไตล<br />

คนเมือง ดวยทําเลที่ดี แนนอนวาที่ดินยอมมีราคาสูง<br />

เปนธรรมดา สิ่งที่นาสนใจคือเจาของโครงการตัดสิน<br />

ใจใชพื้นที่ของชั้น 5 ทั้งชั้นเพื่อเปนพื้นที่สวนกลางเพื่อ<br />

เพิ่มคุณภาพชีวิตของผูอยูอาศัยและเปนอีกจุดแข็งหนึ่ง<br />

เพื่อการแขงขันทางการตลาด ไดแก สระวายนํ้า หอง<br />

ฟตเนส หองโยคะ หองสมุด หองเด็กเลน jacuzzi หอง<br />

ดูหนังฟงเพลง และพื้นที่สําหรับปารตี้บาบีคิวแบบกึ่ง<br />

กลางแจง<br />

ในสวนของงานสถาปตยกรรมออกแบบโดยบริษัท<br />

Inter Arkitek และ Façade Design โดยบริษัท Office<br />

of Bangkok Architects (OBA) โครงการประกอบดวย<br />

หองพักประเภท 1-3 หองนอนและเพนทเฮาสขนาดหอง<br />

มีตั้งแต 31-497 ตารางเมตร สวนงานออกแบบสถาปตย-<br />

กรรมภายในรับผิดชอบโดยบริษัท Deca Atelier ในสวน<br />

ของงานออกแบบภูมิสถาปตยกรรมออกแบบโดยบริษัท<br />

ฉมา ซึ่งพื้นที่ทุกสวนไดถูกออกแบบรวมกันไดอยาง<br />

นาสนใจ ความทาทายอยางหนึ่งของการออกแบบภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมของโครงการ Hyde Condominium นั้น<br />

เกิดจากการที่เปนการออกแบบจากลักษณะโครงสราง<br />

และแบบรางของดีไซนอันเดิม เนื่องจากมีการหยุดโครงการ<br />

ไปชั่วขณะ โดยฉมาไดเขามาทําหนาที่ออกแบบภูมิสถา-<br />

ปตยกรรมในรายละเอียดจนแลวเสร็จ โจทยที่ทางฉมา<br />

ไดรับจากเจาของโครงการคือตองการใหสรางบรรยากาศ<br />

ที่รูสึกเหมือนอยูกลางแจง ทั้งที่พื้นที่สวนใหญที่ภูมิ-<br />

สถาปนิกรับผิดชอบในการออกแบบนั้นเปนพื้นที่ที่อยูใต<br />

อาคารเกือบทั้งสิ้น ซึ่งผูออกแบบไดนําความทาทายใน<br />

การออกแบบพื้นที่(กึ่ง)ภายนอกนี้เปนที่มาของแนวคิด<br />

ในการออกแบบภูมิสถาปตยกรรมวา ‘Urban Cave’ หรือ<br />

การสรางบรรยากาศของความเปน ‘ถํ้า’ กลางเมือง<br />

No matter how familiar urban habitants have<br />

become with a vertical way of life, living in high-rise<br />

condominiums, deep down, they still desire a connection<br />

with nature that offers them a sense of relief from<br />

a stressful hectic urban life. They can use their visual<br />

perception to observe nature over different periods of<br />

time, allow their skin to touch different textures, hear<br />

the sounds of the water and the wind. Nature possesses<br />

a great ability to freshen people’s state of mind and<br />

spirit. Hyde Condominium Sukhumvit 13 is a 40 story<br />

high residential project that hosts a total of 454 units.<br />

Located near the skytrain station on the busy Sukhumvit<br />

road, it stands amidst one of Bangkok’s most prime<br />

locations for the area and comes with great potential<br />

as a business district, a communication hub and a<br />

hip neighborhood with everything modern-day urban<br />

dwellers could ever ask for. With such an ideal location,<br />

the land price is naturally high, but the interesting thing<br />

about the project is the owner’s decision to use the<br />

entire fifth floor of the building as a communal area,<br />

adding another level of sophistication to the residents’<br />

quality of life and another strong point to the project’s<br />

marketing strategy. The area includes a pool, fitness,<br />

yoga room, library, children’s room, Jacuzzi, entertainment<br />

room and semi-outdoor barbeque area.<br />

The architectural design of the project has Inter<br />

Arkitek and Façade Design by Office of Bangkok Architects<br />

(OBA) running the show. The room type ranges from<br />

1-3 bedrooms and a penthouse with sizes ranging from<br />

31 to 497 square meters. Deca Atelier was assigned to<br />

oversee the building’s interior architecture while Shma<br />

handled the landscape architecture of the project<br />

with every element of the design being interestingly<br />

synchronized. One of the challenges of Hyde’s landscape<br />

architecture was in the way the design had to<br />

be worked out from the original design’s structure and<br />

drawing, as the landscape work was drawn up before<br />

Shma was called in to complete the details of the<br />

unfinished design. The brief given to the team was to<br />

create an outdoor-like atmosphere despite the fact that<br />

most of the areas the landscape architect had to work<br />

with were interior spaces; the challenge, which came<br />

later, conceptualized into the project’s exquisite ‘Urban<br />

Cave’ landscape architecture.<br />

LANDSCAPE ARCHITECT<br />

Shma<br />

น 003-54<br />

LANDSCAPE CONTRACTOR<br />

Siphya Construction<br />

ARCHITECT IN CHARGE<br />

Inter Arkitek<br />

FAÇADE DESIGN ARCHITECT<br />

The Office of Bangkok<br />

Architects (OBA)<br />

น 0<strong>04</strong>-49<br />

LANDSCAPE AREA<br />

4,950 sq.m.<br />

YEAR COMPLETION<br />

2014<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 65


8<br />

7<br />

4<br />

5<br />

6<br />

10<br />

6<br />

3<br />

2 12<br />

11<br />

1<br />

5 TH FLOOR PLAN<br />

1 Main Swimming Pool<br />

2 Jacuzzi<br />

3 Kid’s Pool<br />

4 Pool Deck<br />

5 Shower<br />

6 Life-Style Kitchen<br />

7 Dinning Pavilion<br />

8 Living Pavilion<br />

9 Reading Pavilion<br />

10 Day-Bed Pavilion<br />

11 Bubble Bed<br />

5 M<br />

02<br />

66 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


03<br />

02 ประติมากรรมไดแรงบันดาลใจ<br />

จากหินงอกหินยอยในถ้ําตาม<br />

ธรรมชาติ<br />

03 ล็อบบี้ทั้งสองสวนเชื่อม<br />

ระหวางกันดวยสวนกึ่งกลางแจง<br />

With an approximate area of 4,950 square meters<br />

to work with, the landscape elements include a garden<br />

at the ground floor area, a communal area and the pool<br />

on the fifth floor and the rooftop garden on the 21 st floor.<br />

When driving or walking through the main entrance<br />

into the lobby, the drop-off area hosts the presence of<br />

a sculpture inspired by a stalactite’s delicate organic<br />

line and free form. The natural glow of the stalactite is<br />

also translated into the shiny cladding material of the<br />

columns that lessens a great deal of the density of the<br />

building’s structural mass. Below the sculpture is a well<br />

with a fountain gently flowing and creating the serene<br />

sound of aquatic movements to ease the residents’<br />

states of mind from the hectic urban environment<br />

surrounding the property. The lobby is divided into two<br />

sections, which are connected together by a semioutdoor<br />

garden, where Shma places long pieces of<br />

dark stone along both sides of the walkway with water<br />

slowly running through. Such an installation is reminiscent<br />

of a small creek flowing through a dark cave. As<br />

the walk continues, one would notice the seat/sculptural<br />

piece. Inspired by the physical form of a stalactite, the<br />

structure is made of wooden frames placed together<br />

to create a ceiling to floor installation that gradually<br />

inclines into a seating area at the ground level.<br />

For the communal area on the fifth floor, the landscape<br />

architect conveys the ‘cave’ concept through the<br />

use of wood, linking the mass of the ceiling through<br />

a crawling random fashion into a series of wooden<br />

lattices that purposefully and suitably help to divide the<br />

functional areas. For instance, when walking out of the<br />

elevator, the lattice will block the users’ perspective<br />

in order to maintain the privacy of the pool area. This<br />

wooden composition also helps to define the empty<br />

spaces and separates the wet and dry area from each<br />

other. In addition, the fifth floor also hosts a reading<br />

pavilion, day-bed pavilion and barbecue pavilion, offering<br />

diverse recreational experiences for the Hyde’s residents.<br />

The pavilions are designed to be private, thanks to the<br />

handiwork of the wooden lattices and the continual<br />

ceiling to floor presence. Even with a limited space,<br />

the pool is of a nice length, extending from the shaded<br />

part under the building to the outdoor area with a<br />

perspective that embraces the horizon and causes the<br />

aquatic mass to be beautifully unified. The children’s<br />

pool is located separately in a corner in order to prevent<br />

noise from disturbing other areas. Shma added a pool<br />

deck, bubble bed, Jacuzzi and a 37-meter-long lap pool,<br />

which when placed at different locations, these aquatic<br />

elements support the landscape architect’s intention<br />

for the area to host diverse recreational activities.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 67


ประพันธ นภาวงศดี Design Director จากฉมา<br />

ตั้งใจออกแบบภูมิสถาปตยกรรมของโครงการ Hyde<br />

Condominium ที่เอื้อใหเกิดปรากฏการณทางธรรมชาติ<br />

ที่เรียบงาย มีรายละเอียด และนาสังเกต เชน เงา<br />

กระเพื่อมของนํ้าในสระจะสะทอนไปอยูบนฝาเพดานไม<br />

ดานบนอยางตั้งใจเพื่อใหบรรยากาศคลายกับการอยูใน<br />

ถํ้าตามธรรมชาติ โดยเงาจะเคลื่อนที่และเปลี่ยนแปลง<br />

ไปตามชวงเวลาและสภาพอากาศในแตละวัน และ<br />

เนื่องจากพื้นที่สวนกลางในชั้นหานี้เปนพื้นที่กึ่งกลางแจง<br />

จึงมีลมพัดผานตลอด ตนไมที่เลือกมาจึงตองมีความ<br />

ทนลมและอยูในพื้นที่กึ่งรมกึ่งกลางแจงได เชน เกล็ด<br />

กระโห พลับพลึง กระดาด ในสวนที่โดนแดดจัดสักหนอย<br />

ผูออกแบบเลือกใชตนแคนา จิกทะเล และบุหงาสาหรี<br />

นอกจากนี้ ตนไมบางชนิด เชน ตนหญานํ้าพุยังมีความ<br />

ออนพริ้วลูไปตามลมทําใหคนเราสามารถมองเห็นลม<br />

ที่จับตองไมไดไดชัดเจนยิ่งขึ้น ลําดับขั้นของการโอบลอม<br />

พื้นที่มีตั้งแตการเปดโลงเห็นทองฟา การเปดโลงใตอาคาร<br />

ที่มีเพดานสูง การเปดโลงใตอาคารที่มีเพดานเตี้ย การ<br />

ออกแบบพื้นที่กึ่งเปดโลงดวยการใชระแนงกั้นจากเพดาน<br />

ถึงพื้นโอบลอมเปนพื้นที่อานหนังสือหรือ shower รวมถึง<br />

การออกแบบพื้นที่กึ่งปดลอมที่ยังคงการเชื่อมโยงทาง<br />

สายตาไวอยางดีดวยการใชบานกระจกใสขนาดใหญที่<br />

กั้นพื้นที่ใชสอยภายในออกจากภายนอกอยางตอเนื่อง<br />

โครงการ Hyde Condominium เปนตัวอยางหนึ่ง<br />

ของโครงการที่พื้นที่ภายนอกอาคาร พื้นที่ภายในอาคาร<br />

งานสถาปตยกรรม โครงสราง และงานระบบถูกออกแบบ<br />

รวมกันโดยภูมิสถาปนิก สถาปนิก และสถาปนิกออกแบบ<br />

ภายในที่ทํางานรวมกันอยางสอดคลองกลมกลืน โดย<br />

แตละฝายมีขอบเขตความรับผิดชอบของการออกแบบ<br />

พื้นที่สวนตางๆ ที่แยกจากกันอยางชัดเจน การเชื่อมตอ<br />

และความสัมพันธของพื้นที่ภายในและภายนอกเปนไป<br />

อยางมีชั้นเชิง เรียบงาย ไมเสียงดัง และมากดวยราย-<br />

ละเอียด หากมองที่ผังพื้นแลวอาจรูสึกวาพื้นที่สําหรับ<br />

ปลูกตนไมนั้นมีคอนขางจํากัด เนื่องจากมีสัดสวนของ<br />

hardscape และพื้นที่ใตอาคารคอนขางมาก แตเมื่ออยู<br />

ในบรรยากาศของพื้นที่จริงนั้นการออกแบบภูมิสถาปตย-<br />

กรรมของโครงการ Hyde Condominium ทําใหรูสึกได<br />

อยางชัดเจนวานอกเหนือจากการสรางบรรยากาศที่<br />

นาอยูใหกับคอนโดกลางใจเมืองดวยการออกแบบสวน<br />

ตนไมเขียวครึ้มโดยทั่วไปนั้น การไดมองเห็นการไหล<br />

เอื่อยและการไดยินเสียงเบาๆ ของนํ้า การไดมองเห็น<br />

และสัมผัสกับสายลม รวมถึงการนําเอาปรากฏการณ<br />

ของแสงและเงามาเปนสวนหนึ่งของอาคารอยางตั้งใจ<br />

องคประกอบทางธรรมชาติทั้งหมดนี้ชวยสรางความรูสึก<br />

ผอนคลายไดดีอยางไมนาเชื่อใหกับการอยูอาศัยทางตั้ง<br />

ในเมืองใหญ นับเปนรูปแบบของการออกแบบภูมิสถา-<br />

ปตยกรรมในเมืองที่พิเศษ แตกตาง และนาสนใจ<br />

พื้นที่ของการออกแบบภูมิสถาปตยกรรมโดยรวมนั้น<br />

ประมาณ 4,950 ตารางเมตร โดยแบงเปนพื้นที่ของ<br />

สวนบริเวณชั้น 1 พื้นที่สวนกลางและสระวายนํ้าบริเวณ<br />

ชั้น 5 และสวนบนหลังคาบริเวณชั้น 21 เมื่อขับรถหรือ<br />

เดินเทาจากทางเขาหลักเขาสูลอบบี้จะผานสวนวนรถ<br />

ที่ตกแตงดวยประติมากรรมที่ไดแรงบันดาลใจมาจาก<br />

หินงอกหินยอยในถํ้าตามธรรมชาติ ที่มีเสนสายที่ออน<br />

โคงออแกนิคและเปนอิสระ บวกกับความแวววาวของ<br />

หยดนํ้าที่ผิวหินงอกหินยอยในถํ้าตามธรรมชาติที่ไดถูก<br />

แปลงกายภาพมาเปนวัสดุ cladding เสาที่มันวาว ชวย<br />

ลดทอนความเปนแมสที่ทึบตันของเสาอาคารลงไดเปน<br />

อยางดี พื้นดานลางของประติมากรรมเปนบอนํ้า มีนํ้าพุ<br />

ที่ประทุแบบเอื่อยๆ สรางความเคลื่อนไหวของพื้นนํ้า<br />

และทําใหเกิดเสียงของนํ้าแบบเบาๆ เพื่อเปนการเริ่มตน<br />

ผอนคลายผูอยูอาศัยจากสภาพแวดลอมภายนอกโครงการ<br />

ที่เปนบริบทเมืองที่หนาแนนและพลุกพลาน สวนของ<br />

ล็อบบี้แยกออกเปน 2 สวน เชื่อมระหวางกันดวยสวน<br />

กึ่งกลางแจง ที่ฉมาไดออกแบบเปนแทนหินสีดําขลับ<br />

แนวยาวขนาบทางเดินตลอดทั้งสองขางซึ่งมีนํ้าไหลเออ<br />

ลนแบบชาๆ ใหความรูสึกของลําธารในถํ้ามืดๆ ที่ไหล<br />

ชาๆ เย็นๆ ระหวางทางเดินมีที่นั่งกึ่งประติมากรรม<br />

วัสดุเปนโครงไมที่ไดแรงบันดาลใจของรูปทรงมาจาก<br />

หินงอกหินยอยเชนกัน โดยออกแบบเปนกรอบโครงไม<br />

ที่ลดหลั่นเลนมุมตอเนื่องจากระดับเพดานจนกลายมา<br />

เปนที่นั่งเลนในระดับพื้น<br />

ในสวนของพื้นที่สวนกลางในชั้น 5 นั้น ภูมิสถาปนิก<br />

ไดสื่อถึงแนวความคิดของถํ้าดวยการใชวัสดุไมที่เชื่อม<br />

ระนาบของเพดานใหเลื้อยตอเนื่องลงมาเปนระแนงไม<br />

ทางตั้งเพื่อการจัดการแบงพื้นที่ใชสอยใหเหมาะสมใน<br />

จุดตางๆ อยางเชนเมื่อเดินออกจากลิฟท แผงระแนง<br />

ไมไดถูกจัดวางเพื่อบังสายตา เพิ่มความเปนสวนตัว<br />

ใหกับสวนสระวายนํ้า define พื้นที่วาง และกั้นพื้นที่<br />

สวนเปยกและสวนแหงออกจากกัน นอกจากนี้ ยังมี<br />

พื้นที่ของ reading pavilion, day-bed pavilion และ<br />

barbecue pavilion สําหรับอานหนังสือ นอนเลน หรือ<br />

จัดปารตี้สบายๆ ริมสระวายนํ้าแบบโปรงสายตา ตางไดถูก<br />

ออกแบบใหมีความเปนสวนตัวดวยระแนงไมที่หอยยาว<br />

ตอเนื่องมาจากระดับฝาเพดานถึงพื้นเชนกัน นอกจาก<br />

นี้แมจะมีพื้นที่จํากัดแตสระวายนํ้าก็มีความยาวเชื่อมตอ<br />

จากสวนใตอาคารออกไปสูสวนที่เปดโลงสูทองฟา จึง<br />

สามารถวายนํ้าตอเนื่องถึงกันไดอยางอิสระ โดยสระ<br />

วายนํ้าสําหรับเด็กถูกวางผังแยกไวเปนสัดสวนบริเวณ<br />

ริมอาคารเพื่อกันเสียงรบกวนสวนอื่น ภายในพื้นที่สระ<br />

วายนํ้าฉมาไดออกแบบและจัดวาง pool deck, bubble<br />

bed และ jacuzzi เรียงตัวตามตําแหนงตางๆ เพื่อสราง<br />

กิจกรรมที่หลากหลาย อีกทั้งยังมีพื้นที่นั่งสังสรรคริม<br />

lap pool ซึ่งมีความยาวถึง 37 เมตร อีกดวย<br />

68 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


อ.ดร.สุพิชชา โตวิวิชญ<br />

อาจารยประจําคณะสถาปตย-<br />

กรรมศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

ศิลปากรและ Editor in Chief<br />

วารสารอาษาป 2556-2558<br />

05<br />

<strong>04</strong><br />

<strong>04</strong> การออกแบบเอื้อใหเกิด<br />

ปรากฏการณทางธรรมชาติที่<br />

เรียบงายและนาสังเกต เชน เงา<br />

กระเพื่อมของน้ําจะสะทอนไปอยู<br />

บนฝาเพดานอยางตั้งใจ<br />

05 barbecue pavilion ริมสระ<br />

โปรงสายตา เพิ่มความเปนสวน-<br />

ตัวดวยระแนงไมที่หอยยาวตอ-<br />

เนื่องมาจากระดับฝาเพดานถึงพื้น<br />

Prapan Napawongdee, Shma’s Design Director,<br />

wanted the landscape architecture of Hyde Condominium<br />

to generate a simple yet intricate natural phenomena.<br />

For instance, the way movements of water are reflected<br />

on the wooden ceiling creating a cave-like ambience or<br />

the manner in which users can see shadows move and<br />

change their forms throughout the day and at different<br />

climates are all factors intentionally fabricated by the<br />

landscape architect. Being a semi-outdoor space, this<br />

communal area on the fifth floor is airy and nicely ventilated.<br />

The trees grown in this particular area (Balsam<br />

apple, Crinum Lily) have to be wind-resistant and are<br />

able to survive the semi-outdoor condition. As for the<br />

area that is quite exposed to Bangkok’s strong sun, the<br />

landscape architect used Agasta, Fish Poison and Common<br />

Lime, while the bendy Fountain Grass makes the<br />

presence of the wind more tangible to the eyes. There<br />

are also designed orders of spatial openness, from the<br />

area that embraces the sky to the area under the highly<br />

elevated canopy or even just beneath the ceiling of a<br />

moderate height. The series of wooden lattices plays<br />

an important part in the design of this semi-outdoor<br />

space, for it helps define different functional spaces<br />

such as the reading and shower areas. Visual connection<br />

is carefully enhanced by a series of massive glass<br />

walls that continually and dynamically divide and link<br />

the indoor and outdoor spaces at the same time.<br />

Hyde Condominium is another example of a brilliant<br />

collaboration where outdoor and indoor, architecture,<br />

structure and system works are beautifully synchronized<br />

and interwoven by the architect, landscape architect<br />

and interior architect. Each party worked under a clearly<br />

assigned responsibility, nevertheless, the interfaces<br />

and connectivity between the interior and exterior take<br />

place with sophistication, simplicity and a sense of<br />

humbleness while remaining incredibly rich in terms of<br />

detail. Considering the floor plan, one can see the limitation<br />

in the size of the green space, for the presence of<br />

the hardscape takes up a good share of the area under<br />

the building; however, when actually experiencing the<br />

real space, we realize that the landscape has not only<br />

cast its spell and created a verdant softspace filled with<br />

fresh greenery, but one is also able to see and hear<br />

the water move, to observe and feel the wind blow, to<br />

experience the natural phenomena of light and shadow<br />

as a part of the architecture’s throbbing pulse; these<br />

elements make this vertical haven a home where one<br />

can find great comfort and serenity of body and mind.<br />

It is indeed an urban architectural wonder: stylistically<br />

special, different and interesting in both form and<br />

functionality.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 69


SCG<br />

NEW HEAD QUARTERS<br />

BANGSUE BANGKOK<br />

LAB + DESIGN 103<br />

70 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


TEXT<br />

Sake Simaraks<br />

Photos<br />

Rungkit Charoenwat<br />

LANDSCAPE ARCHITECT<br />

Landscape Architects of<br />

Bangkok<br />

น 024-54<br />

LANDSCAPE CONTRACTOR<br />

Cordia<br />

ARCHITECT<br />

Design 103<br />

น <strong>04</strong>4-49<br />

LANDSCAPE AREA<br />

15,650 sq.m.<br />

YEAR COMPLETION<br />

2014<br />

01<br />

ในปจจุบันสาขาวิชาชีพสถาปตยกรรมไดแตกแขนง<br />

และแบงขอบเขตงานเพื่อควบคุมการปฏิบัติวิชาชีพไป<br />

มากมาย สาขาวิชาสถาปตยกรรมหลักและภูมิสถาปตย-<br />

กรรมเปนสองสาขาวิชาชีพที่ไดแบงแยกออกจากกัน<br />

โดยงานสวนสถาปตยกรรมจะพูดถึงอาคาร ในขณะที่<br />

ภูมิสถาปตยกรรมจะพูดถึงสวนหรือภูมิทัศนรอบอาคาร<br />

อยางไรก็ตามสถาปนิกรุนใหมของญี่ปุนหลายทานได<br />

พยายามขยายขอบเขตของงานสถาปตยกรรมออกไป<br />

โดยพูดถึง ‘architecture as landscape’ หรือสถาปตย-<br />

กรรมที่ทําหนาที่เปนภูมิทัศนเชน SANAA, Sou Fujimoto<br />

หรือ Junya Ishigami ซึ่งทําใหขอบเขตระหวางสถาปตย-<br />

กรรมและภูมิสถาปตยกรรมเหลือเปนเพียงเสนบางๆ<br />

เมื่อเร็วๆ นี้ภายในบริเวณพื้นที่สํานักงาน SCG<br />

บางซื่อ อาคารสํานักงานสาขาใหญหลังที่ 3 ไดปรากฏ<br />

กายขึ้นมา เปนตึก 21 ชั้นสูงตระหงานขึ้นมาดวยรูปแบบ<br />

สถาปตยกรรมที่แปลกไปจากบริบทรอบขาง เปนเวลาที่<br />

ประจวบเหมาะกับการกาวเขาสูปที่ 100 ของ SCG ซึ่ง<br />

SCG มองวาเปนเวลาที่พรอมที่สืบทอดเจตนารมณไปยัง<br />

รุนตอรุน ทําใหอาคารสํานักงานใหญหลังที่ 3 ไดชื่อวา<br />

อาคาร 100 ป SCG และถูกออกแบบใหสอดคลองกับ<br />

เรื่องดังกลาวโดย บริษัท ดีไซน 103 อินเตอรเนชั่นแนล<br />

ไดแปลความการอยูรวมกันระหวางคนรุนเกา Generation<br />

B และ X กับ คนรุนใหม Generation Y และ M นําไป<br />

สูองคประกอบทางสถาปตยกรรมที่หยิบยืมเสนนอนจาก<br />

อาคาร 1 และ 2 ซึ่งเปนอาคารเดิมมาใชสื่อถึงคนรุนเกา<br />

ผสานเขากับเสนโคงเวาไปมาที่ใชสือถึงคนรุนใหม ทําให<br />

เมื่อมองจากระยะไกลจะมองเห็นเสนนอนไดชัดและ<br />

เปลี่ยนเปนเสนโคงชัดเจนขึ้นเมื่อเขาใกลอาคาร เพื่อ<br />

แสดงถึงการอยูรวมกันของความแตกตางของคนสองรุน<br />

ในอาคารเดียวกัน และเมื่อถึงเวลาอาคารเริ่มกอสราง<br />

บริษัทภูมิสถาปนิกกรุงเทพ หรือ LAB ก็ไดถูกคัดเลือก<br />

เขามาจัดการพื้นที่บริเวณโดยรอบอาคารจากการ<br />

ประกวดแบบ<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 71


ความตองการในการออกแบบของ LAB คือ คง<br />

สภาพแวดลอมเดิมไวโดยการเก็บรักษาทรัพยากรที่มีอยู<br />

บนที่ตั้งเดิม เชน ตนไม คลองเดิม และสภาพดิน เพื่อ<br />

ใหสภาพแวดลอมนั้นดําเนินตอไปและเพิ่มระบบนิเวศให<br />

สมบูรณขึ้น และตองการใหการใชอาคารหลังใหมและ<br />

อาคารเดิมมีความเชื่อมโยงกันทั้งดานกิจกรรมและการ<br />

สัญจร ซึ่งทั้งหมดสอดคลองตามแนวคิดของ SCG แต<br />

เนื่องจากเดิมที footprint ของสํานักงานใหญอาคาร 3<br />

ไดเคยถูกกําหนดระดับและตําแหนงไวแลวเพื่อปองกัน<br />

นํ้าทวม อาคาร 100 ป SCG ที่ตั้งอยูในปจจุบันจึงมีพื้น<br />

ชั้นแรกอยูสูงกวาอาคารเดิมถึง 2 เมตร ผูออกแบบจึง<br />

จัดการกับระดับแตกตางกันนี้โดยไดหยิบองคประกอบ<br />

ทางสถาปตยกรรมเสนนอนที่ปรากฏบนผนังของอาคาร<br />

100 ป SCG มาใชเปนเครื่องมือในการออกแบบเพื่อให<br />

งานออกแบบออกมาตามที่ตั้งใจ เสนนอนที่เปนเสนแยก<br />

จากกันถูกนํามาใชบนระนาบพื้นที่มีระดับตางกันเพื่อ<br />

ใชเปนทางคอนกรีตเชื่อมระหวางอาคารเดิมและอาคาร<br />

ใหม โดยมีการบิดโคงไปมาใหเกิดชองวางระหวางเสน<br />

เวนใหเปนพื้นดินใหกับตนไมและพื้นดินไดหายใจ นํ้า<br />

สามารถซึมลงไปที่ดินโดยตรง และเวนที่เพื่อรักษาระดับ<br />

เดิมของตนไมและของอาคาร 10 ซึ่งเปนอาคารอนุรักษ<br />

ตั้งอยูระหวางอาคารและอาคารเดิมใหคงอยูที่ระดับดิน<br />

เดิมไมถูกเปลี่ยนแปลง<br />

MASTER PLAN<br />

1 Scg 100 Th Year Building<br />

(New Head Quater)<br />

2 Building 2<br />

3 Building 10<br />

4 Car Park Building<br />

4<br />

3<br />

1<br />

2<br />

10 M<br />

72 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


02<br />

03<br />

01 เสนสายแนวนอนจากอาคาร<br />

ถูกนํามาใชในระนาบพื้นเชื่อม<br />

ระหวางอาคารเดิมและอาคารใหม<br />

02 เสนโคงที่แยกตัวเวนที่ใหตนไม<br />

เดิมมาบรรจบรวมกันเปนพื้นที่<br />

ขนาดกวาง เพื่อรองรับกิจกรรม<br />

บริเวณดานหนาอาคารเดิม<br />

03 มุมมองจากพื้นที่พักผอนเปด<br />

เขาสูมุมของอาคารที่ภูมิสถาปนิก<br />

มองวามีความสวยงามที่สุด<br />

The architectural profession has expanded a great<br />

deal with different territories being divided for greater<br />

control of the practice. Architecture and landscape<br />

architecture are two fields of study and practice that<br />

are now set apart from each other. While architecture<br />

involves the design and construction of buildings,<br />

landscape architecture revolves itself around gardens<br />

and landscapes that are located inside and around<br />

these buildings. Nevertheless, the new generation of<br />

Japanese architects, such as SANAA, Sou Fujimoto or<br />

Junya Ishigami, have attempted to further stretch the<br />

boundary of architecture by discussing ‘architecture<br />

as landscape,’ erasing the line between the two to be<br />

even more invisible than ever.<br />

Recently, at SCG Head office, Bangsue, a new<br />

building has emerged. The 21-story high office building<br />

stands out from the crowd with its distinctive architectural<br />

style, its birth marks another memorable milestone<br />

for SCG as it enters its 100th year of business<br />

operation, a time when the organization’s objective<br />

has been passed on from one generation to another.<br />

The design of SCG 100 th Year Building resonates with<br />

this memorable time where Design 103 International<br />

translated the coexistence of Generations B, X, Y and<br />

M into architectural elements that borrow the horizontal<br />

lines of the first and second head office buildings to<br />

represent the prior generation and combine them with<br />

contemporary curvy lines alluding to the new generation.<br />

When looked at from afar, one can see the clear<br />

horizontal grids that will gradually change into curvy<br />

lines when approaching the building. The design aims<br />

to reflect the way different generations are blended<br />

together as one harmonious force of the organization.<br />

When the construction began, Landscape Architects<br />

Bangkok was chosen to handle the landscape through<br />

a pitching competition.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 73


การบิดโคงทางตั้งทําใหการสัญจรระหวางอาคาร<br />

ที่มีระดับแตกตางกันไดเชื่อมตอกันไดโดยไมตองปรับ<br />

หนาดินทั้งหมด ในสวนของพื้นที่หนาอาคารเดิมและ<br />

อาคารใหม เสนนอนเหลานั้นก็จะมารวมตัวชิดกันเปน<br />

พื้นที่ขนาดใหญเพื่อใชรองรับกิจกรรมที่มีขนาดกวาง<br />

ขึ้นกวาเสนทางการเดินสัญจร และเพื่อความรวดเร็วใน<br />

การกอสรางเสนนอนที่บิดโคงเหลานั้นถูกสรางขึ้นจาก<br />

ชิ้นสวนคอนกรีตหลอสําเร็จทําผิวพื้นในตัว แบงออก<br />

เปนโมดูล 2 ชนิดคือแบบตรงและโคง ขนาดประมาณ<br />

80x120 ซม. และโมดูล-ขนาดเดียวกันที่มีสวนโคงจาก<br />

วงกลมรัศมี 25 เมตร โดยโมดูลทั้ง 2 ชนิดถูกนํามา<br />

วางตอกันเพื่อใหไดเปนเสนที่บิดโคงไปมาตามแบบ<br />

นอกจากเสนสายที่หยิบยกมาจากองคประกอบของ<br />

สถาปตยกรรมแลวยังมีการออกแบบสวนอื่นเพื่อสงเสริม<br />

ใหไดงานออกแบบไดตามที่ตั้งใจ สวนของบอนํ้าซึ่งเดิม<br />

เปนคลองที่ถูกละเลยถูกปรับปรุงขอบบอใหมีความชั้น<br />

ตํ่ากวา ¼ เพื่อปลูกพืชนํ้าใหเกิดระบบนิเวศและยังมี<br />

ความสวยงามเมื่อระดับนํ้ามีการขึ้นลง สวนของบอนํ้า<br />

ลนที่เพิ่มขึ้นมาเพื่อแสดงถึงโครงการฝายของ SCG ดวย<br />

ระบบการกรองนํ้าดวยวิธีธรรมชาติจากรากของพืชที่<br />

ปลูกไวที่บอทําใหนํ้าใสอยูตลอดเวลาและมีพื้นที่ใหนั่ง<br />

พักผอนและชื่นชมกับนํ้าในจุดเดียวกับที่สามารถชื่นชม<br />

อาคาร 100 ป SCG ในมุมที่สวยที่สุด และบางสวนที่<br />

ไดมีการขุดไปเจอรากตนไทรที่ซับซอนมีความเสี่ยงที่จะ<br />

ตายไดในระหวางการกอสรางผูออกแบบจึงใชการเลือก<br />

ยกทางเดินใหลอยขึ้นเพื่อที่จะเก็บรักษารากและความ<br />

ชันของดินสวนนั้นไวอยางเดิม องคประกอบทั้งหมดนี้<br />

ลวนแลวแตเกิดขึ้นมาเพื่อเก็บรักษาและสนับสนุนระบบ<br />

นิเวศนที่ดีของพื้นที่รอบอาคาร 100 ป SCG<br />

โครงการออกแบบอาคารสํานักงานใหญและภูมิทัศน<br />

ใหมของ SCG เปนโครงการที่แสดงใหเห็นถึงความ<br />

ชัดเจนของงานออกแบบสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตย-<br />

กรรม ไมวาจะเปนลักษณะการออกแบบตึกที่สูงไปทาง<br />

ตั้งและทัศนียภาพที่อยูในทางนอน นอกจากนี้ลักษณะ<br />

ความตองการและกิจกรรมของอาคารตองการพื้นที่ใน<br />

ระบบปดและใหความสําคัญกับความแนนอนของกิจกรรม<br />

ในขณะที่การออกแบบภูมิทัศนใหความสําคัญกับความ<br />

เปนระบบเปดและความยืดหยุนของกิจกรรม ทําให<br />

อาคารตองมีการปดลอมที่ชัดเจนในขณะที่ภูมิสถาปตย-<br />

กรรมแทบจะไมมีการปดลอมเลย เหลานี้เปนเงื่อนไขให<br />

ตัวอาคารนั้นมีความโดดเดนแยกออกมาจากบริบทอาคาร<br />

รอบขางมีและมีบทบาทกวางานภูมิสถาปตยกรรม แต<br />

ในขณะที่รูปแบบอาคารมีความโดดเดนมากนั้นผูออกแบบ<br />

ภูมิสถาปตยกรรมไดแสดงใหเห็นถึงความพยายามใน<br />

การเชื่อมโยงอาคารกับบริบทใหกลมกลืนกันโดยนํา<br />

เสนสายตางๆ มาใชประสานตัวอาคารเขากับบริบทและ<br />

สภาพแวดลอมรอบขางสงผลใหงานภูมิสถาปตยกรรม<br />

ทําหนาที่เปนพื้นหลังใหตัวอาคารเพื่อใหพื้นที่บริเวณนั้น<br />

เปนสถานที่เดียวกันไดอยางแนบเนียน<br />

<strong>04</strong> บอน้ําลนถูกนํามาใชแสดงถึง<br />

โครงการฝายของ SCG และเพื่อ<br />

ใหผูใชไดใกลชิดกับน้ํามากขึ้น<br />

จากระดับคลองเดิม<br />

05 เสนโคงแยกตัวออกจากกัน<br />

เวนพื้นที่ใหตนไมเดิมและยก<br />

ระดับขึ้นทางตั้งเชื่อมระหวาง<br />

อาคารที่มีระดับตางกัน<br />

ภูมิสถาปนิกผูออกแบบไดใหความเห็นเกี่ยวใน<br />

ประเด็นขอบเขตระหวางงานสถาปตยกรรมและภูมิสถา-<br />

ปตยกรรมไววา ในการออกแบบนั้นเสนแบงนี้บางมาก<br />

กลาวคือหากสถาปนิกคิดสถาปตยกรรมผานเรื่องตนไม<br />

ก็อาจเปนการคิดถึงงานภูมิสถาปตยกรรมหรือหากภูมิ-<br />

สถาปนิกคิดภูมิทัศนผานองคประกอบสถาปตยกรรม<br />

ก็อาจเปนการคิดถึงงานสถาปตยกรรมก็ได เปนเพียง<br />

การคิดจากคนละดานกันเทานั้น จะเห็นวาแมสถาปนิก<br />

อาจจะคิดจากทางซาย ภูมิสถาปนิกอาจจะคิดจากทาง<br />

ขวาแตทายที่สุดแลวเราตางกําลังคิดเพื่อใหไดสถานที่<br />

เดียวกันอยูเหมือนที่เห็นไดจากโครงการอาคาร 100 ป<br />

และในการหยิบยืมองคประกอบทางสถาปตยกรรมเขา<br />

มาใชในงานออกแบบภูมิทัศนนี้เองไมแนวาในอนาคตเรา<br />

อาจจะไดยินคําวา ‘landscape as architecture’ บางก็<br />

เปนได<br />

74 <strong>ASA</strong> THEME วารสารอาษา


05<br />

<strong>04</strong><br />

เสก สิมารักษ<br />

สถาปนิกและนักเขียน จบการ<br />

ศึกษาปริญญตรี สถาปตยกรรม<br />

จากมหาลัยขอนแกนและปริญญา<br />

โท สถาปตยกรรมสาขาแนวความ<br />

คิดการออกแบบจากมหาลัย<br />

ศิลปากร ปจจุบันเปนสถาปนิก<br />

สตูดิโอออกแบบ 2NDFL<br />

ARCHITECTS<br />

The initial intention of LAB’s design was the<br />

preservation of the existing environment of the land<br />

such as trees, the canal and soil in order for everything<br />

to continue its life cycle as an eco system that is still<br />

carefully nurtured. The new and the old buildings<br />

intended to stay connected through both activities<br />

and circulation, answering directly to the concept SCG<br />

itself has initiated. However, since the footprint of the<br />

third building was already set, in terms of level and<br />

location for flood prevention purposes, SCG 100 th Year<br />

Building was therefore constructed with its ground<br />

floor elevated from the original building by almost two<br />

meters. The team of architects tackled the differences<br />

of ground level by incorporating horizontal lines as a<br />

key element of the building’s exterior. Each line is separated<br />

and used in different levels as connecting walkways<br />

between the new and old buildings. The lines are<br />

also twisted to create voids that are filled with green<br />

elements such as soil and trees. These voids also allow<br />

the soil to breathe, as water can easily find its way to<br />

the ground directly below. Spaces were also set aside<br />

for the original tree line and the tenth building, which is<br />

a conserved building located in the middle of the two<br />

buildings, to stand at the same ground level.<br />

The vertical twist allows for the circulation<br />

between the buildings to connect without having to<br />

readjust the ground level. For the area in front of the<br />

new and old buildings, these horizontal lines come<br />

together and form a large activity ground that is much<br />

wider when compared to the width of the circulation.<br />

Aimed at allowing for a shorter construction time, the<br />

twisted horizontal lines are made from prefabricated<br />

concrete with a ready-to-use finishing. The two types<br />

of modules used for this particular part being straight<br />

and curvy designs, each of which comes in a size of<br />

80 x120 centimeters. The curvy style features 25 mm.<br />

curved rims from the radius and both types of modules<br />

are connected together creating the twisted lines as<br />

indicated in the design.<br />

Apart from the lines picked up by the architectural<br />

elements, there are other additional compositional<br />

elements of the design that make the work more complete.<br />

The canal that was once neglected has also been<br />

revitalized, with aquatic plants being called upon to<br />

improve the ecosystem as well as the physical beauty<br />

of the area and the additional catch basin representing<br />

SCG’s weir construction project. A natural filter system<br />

operated by the roots of the plants keeps the water<br />

clear at all times while also providing a waterside<br />

recreational area, which is the spot with the very best<br />

view of the 100 th Year Building. The design team also<br />

chose to preserve the soil level and complex roots of<br />

the existing banyan tree found during the dig in order<br />

to make sure that the timber wouldn’t be disturbed. All<br />

these elements were conceived together to conserve,<br />

support and nurture the eco system around the SCG<br />

100 th Year Building.<br />

The architectural and landscape design project for<br />

the new SCG head office illustrates different distinctive<br />

characters of architecture and landscape architecture,<br />

from the vertical and horizontal mass of the architecture<br />

and landscape architecture respectively, to the way<br />

activities and functional requirements help in forming<br />

a program that is much more definite in nature from<br />

that which is typical to landscape architecture where<br />

the space is more open and the activities are more<br />

flexible. This helps to explain why buildings require<br />

a definite enclosure and borders between spaces<br />

whereas landscapes are physically very wide open and<br />

barely enclosed. Such conditions are what make the<br />

building stand out from its surrounding architectural<br />

context and consequentially prioritize architecture over<br />

landscape. In the meantime, while the architectural<br />

mass is distinctive in its form, the landscape architects<br />

also reveal their attempt to harmoniously connect the<br />

building to the context of its location by the use of<br />

physical lines to interweave the building mass within<br />

its surrounding environment. Such endeavors allow for<br />

the landscape to act as a perfect backdrop for the building<br />

where everything coexists in great harmony.<br />

The landscape architect who is in charge of the<br />

project gave an interesting comment regarding the issue<br />

of boundaries between architecture and landscape<br />

that, in terms of design, the line is incredibly thin. In<br />

other words, if an architect materializes a piece of<br />

architecture through the story or presence of trees, it<br />

can be considered a landscape, whereas if a landscape<br />

architect conceives a design of a landscape out of<br />

architectural elements, it can be perceived as architectural<br />

thinking. It is, after all, all about looking at things<br />

from a different perspective. Architects might think<br />

from the left while landscape architects think from<br />

the right, but at the end of the day, we are all looking<br />

toward the same goal. The SCG 100 th year Building<br />

achieves such a dual perspective and the borrowing<br />

of architectural elements within the landscape design<br />

might depict a future where the phrase ‘landscape as<br />

architecture’ is much more tangible.<br />

วารสารอาษา<br />

THEME <strong>ASA</strong> 75


CONVERSATION<br />

LANDSCAPE & ARCHITECTURE<br />

COLLABORATIONS IN CONVERSATIONS<br />

INTERVIEWS WITH L49 + A49 / LANDPROCESS + OBA / SHMA + SOMDOON<br />

TEXT<br />

Warut Duangkaewkart<br />

PHOTOS<br />

Photos Courtesy of L49<br />

and A49<br />

การออกแบบสถาปตยกรรมที่สมบูรณคงไมใชการออกแบบอาคารใหสวยงามเพียงอยางเดียว<br />

หากแตเปนการผสมผสานในรายละเอียดของทั้งการออกแบบพื้นที่ภายนอกและพื้นที่ภายใน<br />

เพื่อใหเกิดความกลมกลืนและสอดคลองของภาษาที่สื่อสารออกมาไดอยางสมบูรณแบบ ซึ่ง<br />

ในหลายๆ ครั้งกระบวนการเหลานี้ตองผานการทํางาน แลกเปลี่ยนความคิดเห็นในแงมุมตางๆ<br />

ทั้งจากตัวผูออกแบบในแตละสวนเอง ไปจนถึงฝายการตลาด เจาของโครงการ หรือผูอยูอาศัย<br />

เพื่อใหเกิดงานที่มีคุณคาและตอบสนองความตองการของทุกๆ ฝาย วารสารอาษาฉบับ Landscape<br />

& Architecture นี้ ไดพูดคุยกับภูมิสถาปนิกและสถาปนิกที่ทํางานรวมกันเปนประจํา<br />

ถึงเรื่องราวการทํางานในมิติตางๆ ซึ่งในแตละทีมนั้นมีภาษา ความสนใจในการออกแบบ และ<br />

แนวทางในการตีความขอบเขตของงานที่แตกตางกันออกไป รวมถึงมีมุมมองที่หลากหลายใน<br />

การสรางงานที่ดีรวมกันเพื่อขับเคลื่อนสังคมผานงานสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตยกรรมของ<br />

พวกเขาเอง<br />

01<br />

76 <strong>ASA</strong> CONVERSATION วารสารอาษา


L49 + A49<br />

PREDAPOND BANDITYANOND<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN<br />

ดวยรูปแบบขององคกรที่ตองการสรางโครงสรางบริษัทใหแข็งแรงและ<br />

ครบวงจรในแงของที่ปรึกษาในการออกแบบ A49 และ L49 จึงเปรียบ<br />

เสมือนพี่นองครอบครัวเดียวกันที่คอยๆ เติบโต และสรางผลงานภายใต<br />

ปรัชญารวมกันมาตลอด 25 ป ตั้งแต L49 กอตั้งขึ้นมา ซึ่ง พิชัย<br />

วงศไวศยวรรณ (A49) และ ปรีดาพนธ บัณฑิตยานนท (L49) เปนตัวแทน<br />

ที่จะมาพูดคุยกับวารสารอาษาถึงรูปแบบและประสบการณการทํางาน<br />

รวมกันที่ผานมา<br />

เหมือนกับที่สถาปนิกใชผนัง<br />

ใชสเปซ ใชบันได ใชกําแพง แตวา<br />

ภูมิสถาปนิกใชพันธุไม ใชฮารด-<br />

สเคป ใชภูมิสถาปตยกรรมเขามา<br />

ชวยในการออกแบบพื้นที่<br />

02<br />

การทํางานรวมกันขององคกรในภาพรวมใหญ<br />

เปนอยางไร ?<br />

พิชัย วงศไวศยวรรณ : สําหรับหลักการทํางานนั้น<br />

คุณนิธิ สถาปตานนท ไดเปนผูเริ่มตนใหแนวคิดไว โดย<br />

มองวาบริษัทใน 49 Group นั้นประกอบดวยการทํางาน<br />

ของสาขาวิชาที่หลากหลาย ทั้งสถาปตยกรรมหลัก<br />

สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป ภูมิสถาปตยกรรม<br />

การควบคุมและจัดการงานกอสราง การออกแบบเรขศิลป<br />

วิศวกรรม และการอออกแบบแสงสวาง ดวยมองวาใน<br />

การทํางานนั้นสาขาวิชาตางๆ ตองทํางานสอดประสาน<br />

เปนเรื่องเดียวกัน เพื่อใหการทํางานใหลูกคามีความ<br />

สมบูรณ แตละสาขาวิชาจึงตองมีความพยายามที่จะพูด<br />

คุยและสื่อสารกันใหเขาใจถึงทิศทางการทํางานรวมกัน<br />

ปรีดาพนธ บัณฑิตยานนท : รูปแบบการทํางานมี<br />

หลายแบบ ในบางครั้งสถาปนิก สถาปนิกออกแบบภายใน<br />

และภูมิสถาปนิกอาจเริ่มงานพรอมกันตั้งแตตน หรือ<br />

บางครั้งสถาปนิกอาจเปนผูเริ่มทํางานไปกอน ซึ่งแตละ<br />

แบบก็จะมีวิธีการทํางานที่แตกตางกันไป<br />

พิชัย : ในแตละฝายเราจะพยายามรวมความคิดกัน นํา<br />

ความคิดของแตละทีมมาพูดคุยและระดมสมอง ชวยกัน<br />

คิดและชวยกันมองตลอดกระบวนการ โดยเมื่อไดขอสรุป<br />

ในระดับของแนวความคิดแลวนั้น ตางฝายตางไปดูแลและ<br />

ทํางานในสวนที่ตนเองรับผิดชอบ แลวจึงกลับมาเจอกัน<br />

อีกครั้ง<br />

วารสารอาษา<br />

CONVERSATION <strong>ASA</strong> 77


ปรีดาพนธ : ทั้งนี้รูปแบบการทํางานจะเปนอยางไรขึ้น<br />

อยูกับลูกคามากกวา ไมใชวาเราเปนฝายตองการอยาง<br />

นั้นหรืออยางนี้<br />

พิชัย : ในการทํางานเราจะคํานึงถึงโจทยและคํานึงถึง<br />

ลูกคา โดยทํางานอยูภายในกรอบความคิดของเราเอง<br />

ดวยเชนกัน<br />

ปรีดาพนธ : เคยมีงานประเภทประกวดแบบที่ไมไดวา<br />

แยกวาเปนงานของสาขาสถาปตยกรรมหรือภูมิสถา-<br />

ปตยกรรม ในชวงแรกที่หาแนวคิดที่หลากหลายกันนั้น<br />

ก็เหมือนเปนการประกวดแบบกันภายในกลุม คือ<br />

ภูมิสถาปนิกก็มองในมุมของเราวาถามองในแงของ<br />

ภูมิสถาปตยกรรม อาคารควรจะมีลักษณะอยางไร<br />

สถาปนิกเองก็อาจมีมุมมองที่แตกตาง จากนั้นก็โหวต<br />

กันในทีม ปรากฏวาบางครั้งแบบที่ถูกนําไปพัฒนาเปน<br />

แบบหลักในการประกวดนั้นเปนแบบของภูมิสถาปนิก<br />

แตทั้งนี้แนนอนวาเมื่อถึงขั้นตอนสุดทาย สถาปนิกก็ตอง<br />

เปนผูที่นําแบบของอาคารไปออกแบบตอ เพราะถาให<br />

ภูมิสถาปนิกมาออกแบบทั้งหมดมันก็คงจะไมใช<br />

พิชัย : ตองฟงทั้งสองฝาย อยางงานที่มีไซตคอนขางใหญ<br />

สามารถวางแปลนไดหลากหลาย สามารถทดลองทางเลือก<br />

ไดหลายแนวคิด กรณีนี้การทํางานของภูมิสถาปนิกจะ<br />

สําคัญมาก เพราะจะเปนผูชวยคิดในภาพใหญ<br />

ประเภทของงานสวนใหญที่ไดทํารวมกัน ?<br />

ปรีดาพนธ : อยางงานออกแบบบานพักอาศัยเราก็<br />

ทํางานรวมกันมาตั้งแตสมัยบานยังมีขนาดเล็กๆ มา<br />

จนถึงบานในปจจุบันที่คอนขางมีขนาดใหญ ไปจนถึง<br />

โครงการขนาด 30 ไร 50 ไร หรือ 100 ไร ก็ตาม<br />

พิชัย : นอกจากนี้ก็มีงานวางผังมาสเตอรแพลนขนาด<br />

ใหญ งานวางผังสถาบันการศึกษา การวางผังอาคารชุด<br />

รวมไปถึงโรงแรมและรีสอรทซึ่งตองการบทบาทของภูมิ-<br />

สถาปนิกมาก เนื่องจากโรงแรมและรีสอรทจะใหความ<br />

สําคัญกับเรื่องของภูมิทัศน ที่จําเปนตองคิดออกแบบไป<br />

พรอมกันกับการออกแบบสถาปตยกรรม<br />

คิดวาบทบาทของทั้งสองสวนมีความสําคัญตอกัน<br />

อยางไร ?<br />

พิชัย : โดยทั่วไปในภาพใหญสถาปนิกมักเปนทีม<br />

ลีดเดอร เนื่องจากเปนคนที่มองเห็นภาพเปนสามมิติ<br />

รวมถึงมีความเขาใจในเรื่องของการประสานงานของ<br />

สวนตางๆ ทั้งสถาปตยกรรมภายใน วิศวกร และภูมิ-<br />

สถาปตยกรรม แตอยางที่เรียนใหทราบวาเราทํางาน<br />

รวมกัน ดังนั้นผมไมไดหมายความวาสถาปนิกเปนคน<br />

เริ่มตนหรือผูคิดงานกอน มันขึ้นกับปจจัยของโครงการ<br />

และงานนั้นๆ วาเหมาะสมกับการทํางานรวมกับภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมตั้งแตสวนไหน อยางงานที่มีพื้นที่ไซต<br />

ใหญ มีพื้นที่ใหวางผังบริเวณเยอะ จะมีความสําคัญ<br />

มากที่สถาปนิกและภูมิสถาปนิกตองทํางานดวยกัน<br />

เพราะภูมิสถาปนิกมีคุณสมบัติที่ดีในการมองภาพใหญ<br />

ที่เกี่ยวกับภูมิทัศน การออกแบบการเขาถึงสวนตางๆ<br />

ความสําคัญของตัวอาคารตอสภาพแวดลอม ภูมิสถาปนิก<br />

จะมีเรื่องทางเทคนิคมากมาย แมกระทั่งเรื่องการจัดการ<br />

นํ้า การจัดการดิน สถาปนิกจะไมชํานาญในเรื่องเหลานี้<br />

รวมถึงการใชพันธุไม หรือการใชสัดสวนของตนไมมาสราง<br />

บรรยากาศในสเปซ เปนตัวนําสายตาไปสูตัวอาคาร หรือ<br />

วาเปนทิวทัศนใหมองจากตัวอาคารออกมา เหลานี้เปน<br />

เรื่องที่ภูมิสถาปนิกเชี่ยวชาญ เหมือนกับที่สถาปนิกใช<br />

ผนัง ใชสเปซ ใชบันได ใชกําแพง แตวาภูมิสถาปนิกใช<br />

พันธุไม ใชฮารดสเคป ใชภูมิสถาปตยกรรมเขามาชวย<br />

ในการออกแบบพื้นที่<br />

ปรีดาพนธ : พูดแบบตรงตัวภูมิสถาปนิกคือสถาปนิกที่<br />

ออกแบบสิ่งที่อยูนอกตึก ทุกอยางที่เกี่ยวของกับแผนดิน<br />

ที่ไมใชตัวอาคาร แมกระทั่งการออกแบบวาอาคารควร<br />

จะถูกวางอยูบริเวณใดดวย เพราะฉะนั้นการเรียนรูตางๆ<br />

ก็มีความเฉพาะเจาะจง เชน การจัดการกับคอนทัวร<br />

ระบบจราจร รวมถึงประเด็นทางวิศวกรรม ภูมิสถาปนิก<br />

ตองมีความเขาใจและตองทํางานประสานกันไดกับวิศวกร<br />

ดวย ซึ่งสถาปนิกบางคนจะรูเฉพาะเรื่องทางวิศวกรรม<br />

ที่อยูในอาคาร แตภูมิสถาปนิกตองเขาใจการทํางานของ<br />

วิศวกรที่มีความเชี่ยวชาญดานสาธารณูปโภคนอกอาคาร<br />

และการระบายนํ้า สุดทายแลวภูมิสถาปนิกจะเปนคน<br />

กําหนดวาที่ดินแปลงนี้ควรวางอาคารบริเวณใด เราจะดู<br />

ภาพใหญ การทํางานขึ้นกับรูปแบบของแตละงานหรือ<br />

ภูมิสถาปนิกแตละคน และแตละบริษัท<br />

อยากใหพูดถึงโครงการที่เคยทํางานรวมกัน มี<br />

รูปแบบการทํางานอยางไร และมีปญหาอยางไรบาง ?<br />

พิชัย : อยางกรณีงานออกแบบรีสอรท เราทําโรงแรม<br />

Renaissance Phuket ซึ่งเปนการทํางานรวมกันบนที่ดิน<br />

ประมาณ 25 ไร มีโรงแรมประมาณ 200 หอง แตมี<br />

ขอกําหนดทางกฎหมายวาอาคารตองสูงไมเกิน 4 ชั้น<br />

พื้นที่ไมเกิน 2,000 ตารางเมตร เพราะฉะนั้นจึงโดนบังคับ<br />

โดยปริยายวาตองออกแบบในลักษณะของกลุมอาคาร<br />

ปรีดาพนธ : ซึ่งเมื่อมีกลุมของกอนอาคารขึ้นมาแลว<br />

เริ่มแรกสุดตางคนก็จะตางไปออกแบบของตนเอง จากนั้น<br />

นํามาคุยกัน ขยับและปรับแบบจนลงตัวจึงนําไปเสนอ<br />

ลูกคา และใหลูกคาคอมเมนตกลับมา ในขณะเดียวกัน<br />

ระหวางทําผังบริเวณก็ตองคิดกลับไปกลับมาวาทําไม<br />

รูปทรงอาคารจึงเปนอยางนี้ จุดเดนจุดดอยของสเปซ<br />

แตละสวนคืออะไรในแตละมุมมอง คอยๆ ทํางานประสาน<br />

กันทีละชั้น<br />

พิชัย : อยางมาสเตอรแพลนเราจะทํางานรวมกัน แต<br />

พอถึงขั้นตอนตอมามันจะมีรายละเอียดในระดับที่ลึก<br />

ลงไป มีเรื่องของการออกแบบเฉพาะจุด หรืออยางที่<br />

ทับแขก กระบี่ ในไซตมีตนไมเดิมจํานวนมาก เราก็<br />

พยายามเก็บตนไมเดิมเอาไว แลวสรางอาคารใหไปแทรก<br />

อยูกับตนไมเลย ซึ่งเราก็ตอง survey และกําหนดตําแหนง<br />

ตนไมอยางละเอียดและถูกตอง<br />

ปรีดาพนธ : พอวางอาคารเสร็จก็ตองหันมามองผัง หัน<br />

มาออกแบบทางเทาและทางเชื่อมตางๆ เพิ่มเติมเขาไป<br />

78 <strong>ASA</strong> CONVERSATION วารสารอาษา


นอกจากการออกแบบภูมิสถาปตยกรรมโดยใช<br />

ตนไม การออกแบบฮารดสเคปหรือทางเดินตางๆ<br />

ที่เปนเสนสายภายนอกอาคารเปนอยางไร ?<br />

ปรีดาพนธ : อยางโครงการ BU Landmark เจาของ<br />

โครงการตองการสรางตึกที่เปนแลนดมารค มีอาคาร 4<br />

กอน ทําใหพื้นที่แลนดสเคปเดิมหายไป<br />

พิชัย : คือเนื่องจากหนาที่ดินแคบ รถวิ่งบนไฮเวยมาดวย<br />

ความเร็วกวา 100 กิโลเมตรตอชั่วโมง ชั่วครูเดียวก็ขับ<br />

เลยไปแลว ดังนั้นคนที่จะไป มหาวิทยาลัยกรุงเทพ จะมี<br />

ขอสังเกตคือสะพานลอย หลังคาสีฟา ซึ่งไมนาจะเปน<br />

ทางเขาของมหาวิทยาลัยที่เหมาะสม เนื่องจากทางเขา<br />

ของมหาวิทยาลัยไมมีความชัดเจน ทางมหาวิทยาลัย<br />

จึงตองการปรับปรุง approach ทางเขา สถาปนิกและ<br />

ภูมิสถาปนิกจึงชวยกันระดมสมองและออกแบบทําให<br />

แลนดมารคของพื้นที่นาสนใจ ชัดเจน และดีขึ้น เลือกใช<br />

สัญลักษณเพชรเปนแลนดมารคใหม เพราะเปนตรา<br />

มหาวิทยาลัย และยังเปนชื่อของผูกอตั้งดวย จึงดีไซนเปน<br />

อาคารในรูปแบบกลุมเพชร ในที่สุดจึงพัฒนาแบบไปเรื่อยๆ<br />

เพิ่มการใชสอยตางๆ เพิ่มหองประชุม อยางไรก็ตาม<br />

ระหวางนั้นมีปญหาคือหากสรางอาคารเปนรูปทรงเพชร<br />

จํานวน 4 กอน คงกอสรางไดยาก ราคาคากอสรางสูง<br />

จึงมีการปรับแบบ เก็บอาคาร 2 กอนดานหนาเอาไว<br />

ภูมิสถาปนิกก็เสนอวาการสรางแลนดมารคตรงนี้ควรมี<br />

นํ้าอยูดานหนา เพื่อใหเปนภาพสะทอนของอาคาร ทําให<br />

เกิดความสงางาม ซึ่งทายที่สุดจึงเหมือนมีเพชรอยู 4 กอน<br />

เหมือนเดิม เปนการสราง first impression ของมหา-<br />

วิทยาลัยและใหเปนแลนดมารคตามที่ลูกคาตองการดวย<br />

ปรีดาพนธ : ในแงของภูมิสถาปตยกรรม หากสนาม<br />

หญาแบนราบมาก จะมองไมเห็น จึงตองมีการออกแบบ<br />

พื้นที่มีความชัน ยกพื้นใหสูงขึ้น นอกจากนี้เสนที่เกิด<br />

ขึ้นจากการเชื่อมทางเดินตางๆ จะตัดกันเปนรูปเพชร<br />

เชนกัน<br />

พิชัย : อยางกรณีนี้ แนวคิดใหญๆ มาจากความ<br />

ตองการแลนดมารค เมื่อไดแนวคิดออกมาเปนเพชร<br />

การทํางานทุกอยางของทุกฝายก็จะมุงไปที่จุดเดียวกัน<br />

03<br />

01 Renaissance Hotel<br />

02 จากซาย พิชัย วงศไวศยวรรณ<br />

และ ปรีดาพนธ บัณฑิตยานนท<br />

03-<strong>04</strong> โครงการ Renaissance<br />

phuket<br />

อยากใหพูดถึงแนวโนมของงานออกแบบ<br />

ภูมิสถาปตยกรรมและงานสถาปตยกรรม<br />

ในปจจุบันกับในอนาคตที่นาจะเปน<br />

พิชัย : ถามองบริษัทรุนใหมๆ เราจะเริ่มเห็นบริษัท<br />

สถาปนิกที่มีสาขาวิชาที่หลากหลาย ทั้งภูมิสถาปตยกรรม<br />

สถาปตยกรรมภายในและมัณฑนศิลป รวมถึงการออกแบบ<br />

เรขศิลปที่อยูในบริษัทเดียวกัน เพราะวาเริ่มเกิดความ<br />

เขาใจแลววาการทํางานตองประสานไปและทํางานรวมกัน<br />

อยางใกลชิด ไมใชวาสามารถตัดขอบเขตงานของใคร<br />

ของมัน... นี่คือสิ่งที่เราทํามา 20-30 ป เพียงแควาเรา<br />

อาจไมไดบอกวาทุกบริษัทยอยคือบริษัทเดียวกัน การที่<br />

เราเปน 49 Group ก็คือการที่บริษัทยอยเหลานี้มารวม<br />

ทํางานเสริมกัน อยางไรก็ตามไมใชในทุกโครงการ เรา<br />

ไมไดบังคับลูกคาวาตองจางพวกเราทุกครั้ง ... ถาคุณ<br />

ตองการไดงานออกแบบที่ดี ตองประกอบดวย 3 สวน<br />

ไดแก นักออกแบบ เจาของโครงการ และผูรับเหมา<br />

ทั้งหมดตองทํางานไปดวยกันเปนทีมและตองมีความ<br />

เขาใจซึ่งกันและกัน<br />

ปรีดาพนธ : สวนที่สําคัญที่สุดคือเจาของโครงการ<br />

เพราะถาเขาเขาใจและอยูฝายเดียวกับผูออกแบบ การ<br />

ทํางานจะสามารถฟนฝาไปไดดีกวา<br />

พิชัย : ในขณะเดียวกันมันก็อยูที่ความสามารถของผู-<br />

ออกแบบดวย ในการสื่อสารกับเจาของโครงการวาจะ<br />

ทําอยางไรใหเขาเขาใจ ใหเขาซื้อแนวคิด หรือใหเขาเห็น<br />

ดวยกับสิ่งที่นักออกแบบเสนอให ความยากอยูตรงนี้<br />

บางครั้งการอธิบายใหลูกคาฟงไมใชเรื่องงาย ซึ่งก็ตองขึ้น<br />

กับความสามารถในการสื่อสารของสถาปนิกเอง มันจึง<br />

เปนเรื่องสําคัญที่ตองทําใหลูกคามองเห็นสิ่งที่เราอยาก<br />

จะทําใหเขาไดอยางชัดเจนใหได<br />

<strong>04</strong><br />

วารสารอาษา<br />

CONVERSATION <strong>ASA</strong> 79


LANDPROCESS + OBA<br />

SMITH OBAYAWAT<br />

KOTCHAKORN VORA-AKOM<br />

OBA (The office of Bangkok architect) ถือวาเปนหนึ่งในบริษัท<br />

สถาปนิกที่มีผลงานที่ดีออกมาใหเห็นกันอยางตอเนื่อง โดยมีการทํางาน<br />

รวมกับ Landprocess ตั้งแตชวงที่ กชกร วรอาคม กลับมายังประเทศ<br />

ไทย หลังจากจบการศึกษาระดับปริญญาโท สาขาภูมิสถาปตยกรรม จาก<br />

มหาวิทยาลัยฮาวารด และไดรวมงานกันอยางตอเนื่องสืบมา<br />

negative space เปนเรื่องที่<br />

สําคัญมาก และภูมิสถาปนิกเปน<br />

คนที่ใช negative space ในการ<br />

ออกแบบเพื่อใหเขากับงานของ<br />

สถาปนิก<br />

05<br />

มองบทบาทและรูปแบบการทํางานของสถาปนิก<br />

และภูมิสถาปนิกเปนอยางไร ?<br />

กชกร วรอาคม : : ในชวงแรกที่กลับมา ไดมาเจอพี่ปุย<br />

(สมิตร โอบายะวาทย) แลวมีโอกาสไดเรียนรูจากพี่เขา<br />

ตอนแรกเราเห็นพี่ปุยนั่งสเก็ตงานภูมิสถาปตยกรรมก็<br />

ตกใจ วาทําไมสถาปนิกมาทํางานภูมิสถาปตยกรรม ซึ่ง<br />

ในตางประเทศมักไมทํากัน เราก็งงไปสักพัก จนเมื่อ<br />

ไดมีโอกาสทํางานรวมกันจึงรูวาพี่ปุยมีอะไรใหเราได<br />

เรียนรูและศึกษาอีกมาก พี่ปุยเปนสถาปนิกที่ทํางานได<br />

หลากหลายอยาง แตกตางจากการทํางานออกแบบของ<br />

สถาปนิกตางประเทศที่งานแตละสาขามักจะแยกออก<br />

จากกันเลย<br />

สมิตร โอบายะวาทย : ตอนนั้นบริษัทยังไมมีภูมิ-<br />

สถาปนิก แลวผมทําไซตแปลนเปนผมจึงทําเอง แตผมก็<br />

รูแคพอประมาณ แคเขาใจวาอาคาร สถานที่ และ<br />

สภาพแวดลอมมันควรจะอยูรวมกันอยางไร ในทุกครั้ง<br />

ถาเราสรางพื้นที่วางสวยๆ ตึกจะสวยทุกที เพราะเรารู<br />

วาสถาปตยกรรมมันไมสามารถสวยไดดวยตัวของมัน<br />

เองเทานั้น หลายๆ ครั้งที่ไดทํางานกับภูมิสถาปนิกที่มี<br />

ฝมือ งานออกแบบจะออกมาดีทุกครั้ง ไมมียกเวนเลย<br />

กชกร : negative space เปนเรื่องที่สําคัญมาก และ<br />

ภูมิสถาปนิกเปนคนที่ใช negative space ในการออกแบบ<br />

เพื่อใหเขากับงานของสถาปนิก<br />

สมิตร : พวกเราสวนมากใสตนไมลงไปในผังยังไมสวย<br />

เลย พอมีภูมิสถาปนิกเขามา เขาก็มานําที่วางที่เรา<br />

เตรียมไวใหเขาไปออกแบบ ถามันไมเหมาะสมเขาก็อาจ<br />

จะขอใหเราขยับอาคาร เพิ่มพื้นที่ ซึ่งก็ทําใหสถาปนิก<br />

เขาใจได<br />

80 <strong>ASA</strong> CONVERSATION วารสารอาษา


คิดอยางไรกับการที่มีสถาปนิกทํางานออกแบบ<br />

ภูมิทัศนดวย ?<br />

กชกร : จากประสบการณที่เคยทํางานในตางประเทศ<br />

มันเหมือนจะมีขอบเขตชัดเจนในการทํางาน แตวาการ<br />

ทํางานกับ OBA จะเปนการเริ่มไปพรอมกัน บางทาน<br />

มองวาภูมิสถาปตยกรรมคือพื้นที่เหลือ แตจริงๆ แลว<br />

มันคือบทสนทนาระหวางงานสถาปตยกรรมกับภูมิสถา-<br />

ปตยกรรม ซึ่งจะทําใหงานออกแบบมีความสมบูรณและ<br />

ดียิ่งขึ้น<br />

สมิตร : เวลาผมออกแบบผังบริเวณ ผมเขียนที่โลงกอน<br />

ใหรูวาเราจะสรางที่วางไวตรงไหนแลวจึงวางตึก บางครั้ง<br />

ที่วางสรางรูปทรงของอาคารขึ้นมาดวยซํ้า แตสถาปนิก<br />

สวนใหญจะคิดวาตัวเองเปนมาสเตอรของงานทั้งหมด<br />

ผมก็เปน...แตก็พยายามที่จะดึงคนอื่นๆ เขามารวมคิด<br />

ไปดวยกัน ไมวาจะเปนภูมิสถาปนิก หรือสถาปนิก<br />

ออกแบบภายใน เพราะเราจะไดเรียนรูจากเขาดวย<br />

นอกจากเรื่องของพื้นที่สีเขียวแลว negative<br />

space สามารถเปนรูปแบบใดไดอีก ?<br />

กชกร : โดยทั่วไปผูคนจะคาดหวังเรื่องของพื้นที่สีเขียว<br />

จากเรานะคะ แตในบางโครงการที่อาจไมไดมองเรื่อง<br />

ตนไมเปนหลัก เราก็จะใหความสําคัญกับสเปซที่มีความ<br />

สวยงามแทน ซึ่งการออกแบบภูมิสถาปตยกรรมก็จะมี<br />

ภาษาที่แตกตางออกไป<br />

สมิตร : โครงการ SQ 1 (Siam Square One) คือ<br />

ตัวอยางหนึ่ง ตอนทําแบบประกวดตองตรวจสอบละเอียด<br />

วาแสงลงตําแหนงไหน ลงอยางไร คือคําวาภูมิสถาปตย-<br />

กรรมมันมีศิลปะ มีที่วาง มีนํ้า ไมใชทําอะไรเพียงอยางเดียว<br />

ตองดูวาตรงไหนควรทําอะไร<br />

05 จากซาย สมิตร โอบายะวาทย<br />

และ กชกร วรอาคม<br />

06 Siam Squre one<br />

โครงการ SQ 1 มีที่มาและความนาสนใจอยางไร ?<br />

สมิตร : เราทําแบบประกวดและคิดวาอยากออกแบบ<br />

ตึกที่สยามที่เขาใจบริบทของชุมชนสยามเดิม ซึ่งมาส-<br />

เตอรแปลนเกาดีอยูแลวแตเมื่อเวลาเปลี่ยนไปตัวรูปแบบ<br />

อาคารถูกรวบเปนกอนใหญๆ กอนเดียว จึงตองมาหา<br />

วิธีวาทําอยางไรใหตึกกอนนี้สามารถทะลุได สรางความ<br />

รูสึกแบบเกาได อยากสรางความแปลกใหมใหกับกรุงเทพฯ<br />

สรางพื้นที่ไมถูกแบงแยก ตอนประกวดแบบก็เสนอไป<br />

ทางจุฬาฯ และเขาตอบรับมา จึงไดเริ่มทํางานกับกชกร<br />

ตอนแรกมองวางานมีพื้นที่ภูมิสถาปตยกรรมใหเลนไม<br />

คอยเยอะ เลยคิดวาเรานาจะมาทําอะไรสนุกๆ กันใน<br />

พื้นที่วางที่ผมไดจัดเตรียมไวแลว กชกรก็เขามาศึกษา<br />

DNA ของอาคารหลังนี้ วามีอะไรบาง<br />

กชกร : พอมีโครงทางสถาปตยกรรมที่คลายๆ กับโพรง<br />

ทําใหมีรู มีชอง มีฝนดวย พอโจทยมาแบบนี้เริ่มสนุกแลว<br />

เพราะทุกคนมองวาเปนปญหาวาเดินหางแลวจะเปยก<br />

เดินแลวจะโดนลมพัด เราก็เลยดึงเขามาใหเปนภาษา<br />

สถาปตยกรรมที่ชัดขึ้น มาพูดถึงเรื่องของฤดูกาล ปกติ<br />

ถาไปเดินหางที่ปดเปนกลองมันจะเหมือนกับวาถูกปด<br />

หรือถูกสะกดจิต แตสําหรับโครงการ SQ 1 นี้จะรูสึกวา<br />

เดินแลวเห็นแสง เห็นเงาที่เปลี่ยนไป หรือมีฝนตกลงมา<br />

กลางหางดวย เราเลยดึงตรงนั้นมาเปนคาแร็คเตอรเลย<br />

มี Rainy Court, Summer Court และ Winter Court<br />

แนวความคิดนี่ไดถูกสงตอไปทั้งในการออกแบบเรขศิลป<br />

และสวนอื่นๆ เพื่อใหงานออกมาดูเปนภาพเดียวกันที่<br />

กลมกลืน<br />

สวนของ negative space แมวาคนอาจจะไมสังเกต<br />

แตพอธีมที่ทําเริ่มกลายมาเปนจุดเดนของตัวศูนยการคา<br />

แลวนั้น ดวยทางจุฬาฯ เองที่เปนเดเวลอปเปอรทางการ<br />

ศึกษาไมใชเชิงพาณิชย ทําใหการสรางคุณคาที่หางอื่นๆ<br />

อาจจะไมคิด สามารถสรางไดที่นี่ ถาเปนที่อื่นเดเวลอป-<br />

เปอรคนอื่น การสรางพื้นที่เปดขนาดนี้ ทางเดินเยอะ<br />

ขนาดนี้ นาจะเปนไปไดยาก<br />

สมิตร : ตองใหเครดิตกับทางเจาของและคณะกรรมการ<br />

มากๆ เพราะการที่เขาเลือกแบบของเรา และยอมให<br />

ออกแบบเพื่อสรางพื้นที่ใหมๆ มันไมตองกดเครื่องคิดเลข<br />

ไมตองคิดถึงพื้นที่ขายเปนหลักเหมือนปกติที่ทํากัน หลังจาก<br />

ตึกนี้เสร็จคุณจะรูเลยวาสถาปตยกรรมที่ใหกับคน ที่ให<br />

กับเมืองเปนอยางไร<br />

06<br />

วารสารอาษา<br />

CONVERSATION <strong>ASA</strong> 81


สมิตร : ผมวางานภูมิสถาปตยกรรมมีโอกาสสราง<br />

ความเพลิดเพลินไดมากกวางานสถาปตยกรรมนะ<br />

ดวยฟงกชั่นที่นอยกวา ในพื้นที่โลง 1 สวน คุณใสนํ้า<br />

ก็ได ปลูกหญา โรยกรวด ปลูกตนไมก็ไมผิด แตในเชิง<br />

สถาปตยกรรมมันมีความผิดพลาดที่เกิดขึ้นไดเยอะ<br />

ภูมิสถาปนิกเลยสบายใจที่จะสรางอะไรไดมากกวา เวลา<br />

เราถูกสรางขอกําหนดตางๆ ความดื้นรั้นเราก็จะหายไปไง<br />

ผมเองตองหาเด็กรุนใหมๆ มาชวยสรางความดื้อรั้น<br />

ความแปลกใหมใหเกิดขึ้นในงานเสมอ งานสถาปตย-<br />

กรรมบางครั้งดูแคไมกี่รอบก็เบื่อ แตนัยของพื้นที่โลง<br />

มันมีอยู ถาพื้นที่โลงดีภาพรวมก็สวย ตัวตึกอาจไมมี<br />

อะไรก็ได ผมจึงตองใชภูมิสถาปนิกเขามาชวยเสริมให<br />

การออกแบบสถาปตยกรรมดีขึ้นไปอีก<br />

กชกร : อีกอยางที่อาคารนี้ใหกับเมือง สวนตัวคิดวา<br />

มันเปนพื้นที่สาธารณะรูปแบบใหม ซึ่งในตางประเทศ<br />

อาจจะเคยเห็นบอยๆ แตในเมืองไทยยังไมเคยปรากฏ<br />

มากนัก อยางทางลาดจากตึกที่เชื่อม BTS ลงไปถึง<br />

สยามสแควร มีรายละเอียดตางๆ ที่สงเสริมใหวัยรุน<br />

มานั่งเลน มีทางลาดสําหรับผูพิการ และนอกจากตัว<br />

negative space ที่อยูภายในตัวอาคารแลวยังมีเรื่อง<br />

green roof ที่นําตนไมเดิมหรือดินที่เคยอยูบนพื้นที่ขึ้น<br />

ไปสรางเปนภูมิสถาปตยกรรมดานบนอีกที เพื่อสราง<br />

sense of place ใหกับตัวอาคาร<br />

07 Siam Squre one<br />

07<br />

แนวโนมของงานสถาปตยกรรมและภูมิสถาปตย-<br />

กรรมที่คํานึงถึงพื้นที่เปดโดยรอบ ?<br />

สมิตร : ความจริงแนวโนมนี้เริ่มมีมาตั้งแตการเกิด<br />

outdoor mall ตางๆ เริ่มมี J-Avenue ที่ผูคนตื่นเตน<br />

กับประสบการณใหม ธรรมชาติมันนาสนใจกวาอยูแลว<br />

เหมือนเวลาที่ไปรานอาหารคนจะเลือกนั่งบริเวณริมนํ้า<br />

กอนแลวคอยไปนั่งหองปรับอากาศแนวโนมควรจะเปน<br />

แบบนั้นและเราก็พยายามผลักดันในการพูดถึง green<br />

building พูดถึงเรื่องการใชพลังงานที่นอยลง ลองคิดดูวา<br />

ถาโครงการ SQ 1 ปดดวยกระจกตองใชเครื่องปรับ<br />

อากาศอีกเทาไร สุดทายก็ปลอยความรอนออกมา แลว<br />

อาคารโดยรอบจะรอนขนาดไหน<br />

กชกร : อาคารหลังนี้ชวยลด urban heat island ได<br />

เปนอยางมาก ลดความรอนที่จะแผออกมา เพราะซอย<br />

5 และ 7 ที่อยูขางๆ เปนซอยที่ผูคนนิยมเดิน หรือแม<br />

กระทั่งรูปดานที่ 5 ที่เปน green roof เราก็ไมไดปลอย<br />

ความรอนออกไป คนมองมาก็ยังสบายใจที่จะมองดวย<br />

สมิตร : แนวโนมของพื้นที่ในกรุงเทพฯ ควรกลับมามอง<br />

เรื่องพื้นที่สาธารณะ การใชพื้นที่รวมกัน มีโครงการอยาง<br />

เกษรพลาซา InterContinental และ Holiday Inn ที่มี<br />

การออกแบบการเชื่อมอาคารถึงกัน และก็มีตรงสยามนี้<br />

จะมีสักกี่อาคารที่สนใจทําแบบนี้ ซึ่งเราไมสามารถหา<br />

การเชื่อมตอแบบนี้ไดเลยในอาคารทั่วไป ในตางประเทศ<br />

เชน ฮองกงหรือสิงคโปรบางสวนคุณสามารถเดินทะลุ<br />

จากอาคารสูอาคารไดเลย ความเปนเมืองมันอยูตรงนั้น<br />

โซนสยามเปนตัวอยางที่ดีที่พอจะเห็นวาการเชื่อมตอ<br />

จากอาคาร จากพื้นที่ที่สรางความเปนเมืองเปนอยางไร<br />

ซึ่งเราควรจะชวยกันสรางขึ้นมา<br />

82 <strong>ASA</strong> CONVERSATION วารสารอาษา


SHMA + SOMDOON<br />

YOSSAPON BOONSOM<br />

PUIPHAI KHUNAWAT<br />

ยศพลและปุยฝายรูจักกันตั้งแตสมัยเรียนปริญญาตรีที่จุฬาลงกรณ<br />

มหาวิทยาลัย หลังจากจบการศึกษา ยศพลไดเดินทางไปทํางานใน<br />

ตําแหนงภูมิสถาปนิกของบริษัท Cicada ในประเทศสิงคโปร และปุยฝาย<br />

ไดทํางานเปนสถาปนิกที่บริษัท WOHA ในปตอมา ทําใหมีโอกาสได<br />

ทํางานรวมกันพอสมควรในสิงคโปร กอนที่ทั้งคูจะกลับมาเปดบริษัทที่<br />

ประเทศไทยในนาม Shma และ Somdoon Architects ซึ่งไดมีโอกาส<br />

ทํางานที่นาสนใจรวมกันในหลายโครงการ<br />

ไมใชเขาสรางตึก แลวเราสรางสวน<br />

หรือพื้นที่วางอันนี้ แลวมาแขงกัน<br />

หรือวาแยงซีนกัน แตวามันคือสเปซ<br />

ที่สรางความกลมกลืนไปดวยกัน<br />

การที่เรารูจักกันดีอยูแลว มีสวนชวยในการทํางาน<br />

อยางไรบาง ?<br />

ยศพล บุญสม : มันสําคัญเหมือนกันเพราะวาถาคนเรา<br />

ทํางานดวยกันได นั่นก็แสดงวาตองรูจักนิสัยใจคอกันดี<br />

รวมถึงลักษณะวิธีการทํางานดวย<br />

ปุยฝาย คุณาวัฒน : เหมือนถูกเทรนมาดวยโรงเรียน<br />

เดียวกันตลอดเวลา ตั้งแตเด็กเรียนโรงเรียนเดียวกัน<br />

ตอนไปทํางานลักษณะของออฟฟศก็คลายๆ กัน คือเปน<br />

ออฟฟศที่สนใจเรื่องงานออกแบบเปนหลัก และมี intensity<br />

ในการทํางานสูง จังหวะของการทํางานที่สิงคโปรมันจะ<br />

คอนขาง professional และโปรเจ็คตที่สิงคโปรสวนใหญ<br />

จะใหความสําคัญกับเรื่องภูมิสถาปตยกรรมมากนะคะ<br />

ตอนที่ยศทํางานอยูที่ Cicada จะมีโครงการที่ออฟฟศ<br />

ทําดวยกันอยูหลายที่ โครงการที่ WOHA ทําเยอะๆ จะ<br />

อยูที่สิงคโปร ซึ่งในสิงคโปรนั้น มันเหมือนเปนนโยบาย<br />

ของรัฐบาลที่เขาจะสนับสนุนเรื่องภูมิสถาปตยกรรมเปน<br />

สําคัญ<br />

08<br />

ยศพล : คือแตละบริษัทโดยทั่วไปที่สิงคโปรนั้นจะพยายาม<br />

จะ integrate งานออกแบบ งานสถาปตยกรรมภายในและ<br />

มัณฑนศิลป งานภูมิสถาปตยกรรม หรือวาในทุกศาสตร<br />

อะไรตางๆ นี้เขาดวยกัน แตผมวาจุดสําคัญที่ผมเรียนรู<br />

คือตอนที่ไดมีโอกาสทํางานกับ WOHA ที่ปุยฝายทํา คือ<br />

intensity มันยิ่งมากกวาออฟฟศโดยปกติอีก อยางคุณ<br />

Wong Mun Summ เจาของ WOHA เขาสามารถจะ<br />

integrate งานออกแบบไดอยางลงรายละเอียดมาก<br />

มากจนเหมือนกับวาเขาจะออกแบบภูมิสถาปตยกรรม<br />

ไดดวยซํ้าไป แตอันนี้มันก็ทําใหเราเรียนรูไงวา จริงๆ แลว<br />

การผสมผสานของงานสถาปตยกรรมกับภูมิสถาปตย-<br />

กรรมมันอาจจะมีดีกรีที่มากกวาที่เราเคยรับรูโดยทั่วไป<br />

ครั้งแรกที่ผมตกใจเลยคือระบบโมดูลา 150 มิลลิเมตร<br />

ของ WOHA นั้นถูกกําหนดมาเลย เราก็ตกใจวาขนาดนี้<br />

เลยหรือ ที่ทุกคนตองเขียนใหมันเปนโมดูลเดียวกันตั้งแต<br />

สิ่งเล็กๆ มาจนถึงสิ่งใหญๆ ก็เลยเขาใจวานี่ละคือสุดยอด<br />

ของการ integrate ที่สอดประสานกันของภาษาการ<br />

ออกแบบที่มันสามารถสะทอนออกมาเปนกายภาพได<br />

อยางชัดเจน<br />

ปุยฝาย : 150 มิลลิเมตร ที่ยศวา คือสมมติเหมือนเวลา<br />

เราออกแบบ มันไมใชแคเขียนบันได เราเปนสถาปนิก<br />

ใชไหม จะเขียนบันไดความกวางบันไดก็ตอง 300 มิลลิเมตร<br />

คือหมายถึงหาร 150 ไดลงตัว เสร็จแลวมันก็จะสงผล<br />

ตอแบบทุกหองก็จะตอง 3 เมตร หรือหอง 4.5 เมตร<br />

เพื่อใหหารลงตัว คือโมดูลที่วามันจะมีประโยชนในหลายๆ<br />

ระดับ เชน ในแงของการออกแบบภาพรวม การจัดวาง<br />

กริดไลน รวมถึงการจัดวางกระเบื้อง หรือวัสดุตางๆ<br />

ภาพที่ออกมามันก็จะลงตัว จนมาถึงกระบะตนไมของ<br />

เรามันก็จะตรงกันพอดี ฟงดูมีกรอบเล็กนอย แตพอมัน<br />

ประสบความสําเร็จ คือหมายถึงวาพอมันสรางเสร็จทุก<br />

อยางจะเขากันไดดี<br />

วารสารอาษา<br />

CONVERSATION <strong>ASA</strong> 83


ยศพล : มันก็จะไดวางไดลงพอดี เสนของเรากับของ<br />

ตึกมันจะตอกัน เกิดเปนสเปซที่เปนหนึ่งเดียวกันระหวาง<br />

งานภูมิสถาปตยกรรมและงานสถาปตยกรรม แลวเวลา<br />

กลับมาทํางานเมืองไทย โดยสวนตัวของผม เราก็พยายาม<br />

คิดวาลักษณะการทํางานรวมกันอยางนี้มันนํามาสูงาน<br />

ที่มีคุณภาพสูง มันออกมาเปนเรื่องราวเดียวกัน เกิด<br />

สเปซที่มันชัดเจน เลยกลายเปนลักษณะการทํางานที่<br />

เราอยากใหมันเกิดอยางนั้นกับทุกๆ โปรเจ็คตที่เราได<br />

มีโอกาสทํา แตเราก็ตองเขาใจวาการจะทําอยางนั้นได<br />

มันมีสิ่งที่เราตองแลก คือเราตองใชเวลากับมันเยอะ<br />

การประสานงานก็เยอะ ทุกสิ่งทุกอยางมันก็เยอะเปน<br />

ทวีคูณ และสิ่งสําคัญคือเราตองจูนทัศนคติระหวางเรา<br />

กับสถาปนิกและคนในทีมใหเห็นเปาหมายและคุณคา<br />

ของงานในลักษณะนี้รวมกัน ซึ่งมันก็มีงานที่มันไมไดถึง<br />

ขั้นนั้นเหมือนกัน ขึ้นอยูกับไดเรกชั่นของแตละโปรเจ็คต<br />

และเปาหมายของสถาปนิกแตละคนดวยคนดวย เพราะ<br />

บางทีเราอยากคุยดวยแตเขาไมอยากคุยดวยก็มี<br />

คิดอยางไรกับบทบาทขอบเขตงานของสถาปนิก<br />

และภูมิสถาปนิก ?<br />

ยศพล : ในยุคหนึ่งผมเชื่อวาบทบาทมันคอนขางมีเสน<br />

แบงชัดเจน แตมันอาจจะมียุคที่มันดีกวานั้น อยางยุคที่<br />

ดีไซเนอรคนเดียวแลวทําทุกอยาง คือจะออกแบบตั้งแต<br />

เฟอรนิเจอร กระเบื้อง มาจนถึงภูมิสถาปตยกรรม งาน<br />

มันก็ออกมาดีมากเลย แตในยุคที่ทุนนิยมเขามามี<br />

อิทธิพลมากหนอย งานมันก็เริ่มแบงอยางชัดเจนวาใคร<br />

ทําอะไรไดและทําไดแคไหน ทําใหตางคนก็ตางทําหนาที่<br />

ของตัวเองไป งานก็จะออกมาอีกรูปแบบนึง ที่จะเห็นวา<br />

แนวคิดของสถาปนิกอยางหนึ่ง ภูมิสถาปนิกอยางหนึ่ง<br />

ซึ่งงานประเภทนี้ก็สามารถอยูมาได จนปจจุบันก็ยังมีให<br />

เห็นอยู ตอนที่เราเรียนเราก็ไมรูสึกไงวามันมีความแตก-<br />

ตางอะไร แตพอไปที่สิงคโปร หรือทํางานรวมกับ Mun<br />

Summ จะเห็นวามันไมใช คือมันตองเขาใจโมดูล เขาใจ<br />

ทุกสิ่งอยาง เขาใจภาษาการออกแบบ ซึ่งมันทําใหเรา<br />

เขาใจเลยวาบทบาทคือเราตองคุยกัน แลวทําใหคิดวา<br />

สิ่งที่เราสรางมันเปนไปในแนวทางเดียวกัน คือไมใชเขา<br />

สรางตึก แลวเราสรางสวนหรือพื้นที่วางอันนี้ แลวมา<br />

แขงกันหรือวาแยงซีนกัน แตวามันคือสเปซที่สรางความ<br />

กลมกลืนไปดวยกัน<br />

ปุยฝาย : สนใจที่ยศพูดเรื่องสมัยกอน ที่มีมาสเตอร<br />

ทําทุกอยาง ยอนไปตั้งแตยุคสมัยเรเนซองสแมนทํา<br />

ทุกอยาง แตสําหรับฝายก็มีความเชื่อสวนตัวดวยวา<br />

ใครทําอะไรก็ได คือหมายถึงวาสถาปนิกก็ทํางานภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมได ภูมิสถาปนิกก็ทําตึกได คือถาทุกคน<br />

เขาใจอยางเชนโปรเจ็คตนี้เราจะทําอะไร มีแนวทางอะไร<br />

โมดูลมันคืออะไร ภาษาที่เราจะเลือกนํามาใชมันคือ<br />

อะไร ทุกๆ คนในทีมก็เปนดีไซเนอรได คือยศจะมา<br />

ออกแบบสวนหนึ่งของงานสถาปตยกรรม ก็ทําไดเพราะ<br />

วาเขาใจ เราก็สามารถจะทําภูมิสถาปตยกรรมไดเพราะ<br />

วาเราเขาใจภาษา เขาใจโมดูล คือในความรูสึกสวนตัว<br />

มันตองถึงขั้นนั้นเลย มันถึงจะทําออกมาแลวงานดี<br />

ยศพล : แตความสัมพันธแบบนี้เกิดขึ้นไมไดงายเลยนะ<br />

เพราะวาคือมันตองยอมรับและเขาใจซึ่งกันและกันใน<br />

ระดับหนึ่งกอน เชื่อใจซึ่งกันและกันวาเขาสามารถมี<br />

ความเขาใจในสิ่งที่เราทํา แลวเราก็เชื่อมั่นในสิ่งที่เขาทํา<br />

และถามันเกิดขึ้นมันก็จะสรางโอกาสของการสรางสิ่ง<br />

ใหมๆ ใหเกิดขึ้นกับลูกคาและสังคม อยากเสริมปุยฝาย<br />

อยางตอนที่เราทําประกวดแบบงานลานเฉลิมพระเกียรติฯ<br />

ดวยกัน เปนจุดที่เห็นไดชัด คือกอนหนานั้นพอกลับมา<br />

เมืองไทยเราจะถูกตีกรอบกลับมาบริบทเดิม คือทํางาน<br />

แครอบอาคารที่เหลือไวซึ่งทําเต็มที่มันก็ไดประมาณหนึ่ง<br />

แตงานนี้เราพยายามจะทําเปนอีกแนวทางหนึ่ง เหมือน<br />

ที่ปุยฝายบอก เราลองทําอาคารไหม อาคารที่มันเปนใน<br />

มุมมองจากภูมิสถาปตยกรรมดูวา มันนาจะเปนอยางไร<br />

มันไมควรจะเปนอาคารและมันก็ไมใชพื้นที่วางแตมันคือ<br />

สิ่งที่ประสานเขาดวยกันระหวางสถาปตยกรรมและภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมใชมั้ย เพื่อใหเกิดพื้นที่สาธารณะรูปแบบ<br />

ใหมใหกับเมือง แลวก็ชวนปุยฝายมาชวยทํา<br />

ปุยฝาย : ตอนเขารอบ 2<br />

ยศพล : สิ่งที่ทําถึงจุดๆ หนึ่งเราทําตอไมได เพราะวา<br />

มันมีมุมมองทางสถาปตยกรรม เปนความสามารถเฉพาะ<br />

ดานบางอยาง<br />

ปุยฝาย : คือตอนออกแบบงานสถาปตยกรรมก็เรื่องหนึ่ง<br />

แตทําตึกทําอาคารมันจะมีเรื่องเทคนิค เรื่องเกี่ยวกับ<br />

งานระบบ เกี่ยวกับงานโครงสราง คือมันตองรองรับใน<br />

หลายๆ เรื่องในการที่จะทําตึกใหสําเร็จ คือในแงของงาน<br />

ออกแบบหรือในแงของภาพรวม มันก็ใครๆ ก็ออกแบบได<br />

แตพอออกแบบไปถึงขั้นหนึ่งแลวนั้น มันจะตองเปนงาน<br />

ออกแบบที่มันเปนวิธีแกปญหาของทุกๆ เรื่อง ไมวาจะ<br />

เปนแกไขปญหาเรื่องโครงสราง แกปญหาเรื่องสเปซ<br />

เรื่องโปรแกรม เรื่องอื่นๆ ไปถึงขั้นนึงมันตองการความ<br />

ละเอียดแลวก็ความรูหรือประสบการณในการแกปญหา<br />

เหลานี้มากขึ้น อันนี้ก็จะเปนสวนที่เราเขาไปชวยได<br />

ยศพล : เหมือนแตละคนรูบทบาท เราแคบอกวาบทบาท<br />

นี้ใครเหมาะ แลวแตโจทยที่ไดมา มันก็นาจะเกิดงานที่<br />

นาสนใจได<br />

08 จากซาย ยศพล บุญสม และ<br />

ปุยฝาย คุณาวัฒน<br />

09 Via 31<br />

84 <strong>ASA</strong> CONVERSATION วารสารอาษา


แลวงานที่ทํารวมกันอยูมีการผสมผสานกัน<br />

แบบไหน เขามาเริ่มกระบวนการคิดตั้งแต<br />

เมื่อไหร ?<br />

ปุยฝาย : จริงๆ ก็แลวแตนะ คืออยางถาเปนงานมาส-<br />

เตอรแพลนเองเลย หรือถาเปนโครงการใหญๆ บางที่<br />

ภูมิสถาปนิกก็ทํากอน แลวคอยชวนสถาปนิกเขาไป ที่<br />

จริงสวนมากหลังๆ มานี้ ซึ่งก็คิดวาเปนเรื่องที่ดีดวยนะ<br />

ที่เราไดโปรเจ็คตมาปุบไมวาจะติดตอเรา หรือติดตอยศ<br />

ก็ตาม เขาก็จะใหเราเสนอ แนะนําทีมเขาไปเลย แลว<br />

เราก็จะไดทํางานดวยกันตั้งแตแรกเลย ซึ่งมันดีมาก<br />

อยางเมื่อกอนนี้อาจใหออกแบบไปแลวสักพักหนึ่ง จน-<br />

กระทั่งเหลือพื้นที่แลวถึงจะเรียก แตเดี๋ยวนี้เขาก็ใหเริ่ม<br />

ทําตั้งแตแรกแลว<br />

ยศพล : ถาเปนสเกลคอนโดจะมียุคที่เราถูกตีกรอบให<br />

ทําจากพื้นที่ที่เหลืออยู พอทีนี้เมื่อเราเริ่มเขาไปทีหลัง<br />

ก็ไปเสนอให ขอเอายูนิตนี้ออก ขอทําตรงนี้ใหกวางขึ้น<br />

ไดไหม บางทีเราขอทําบางสวนของพื้นที่อินทีเรียดวย<br />

ไหม บางครั้งสิ่งที่เราเสนอก็สงผลกระทบตอการวางตัว<br />

อาคาร แมสอาคาร หรือ façade อาคารดวย ลูกคาก็<br />

จะเริ่มเห็นวา นาจะมากอนนี้ก็จะดีนะ จะไดไมตองมา<br />

แกกันทีหลัง คือเขาก็เห็นคุณคาของสิ่งที่เราทําวามันดี<br />

ทีนี้ชวงหลังลูกคาก็เริ่มบอกวามาเร็วกวานั้นก็ได ซึ่งมัน<br />

ก็เปนสัญญาณที่ดีในการเห็นบทบาทของวิชาชีพที่ผม<br />

พยายามจะบอกวาเราไมไดทําแคเรื่องสวนหรือพื้นที่<br />

ภายนอกแตเรามีบทบาทในการออกแบบพื้นที่วางที่<br />

ยุคสมัยนี้มันมีขอบเขตที่เปลี่ยนแปลงไป และมันไมใช<br />

เพื่อความสวยงามอยางเดียวแตมันเพื่อตอบสนองการ<br />

ใชชีวิตของผูคน สังคมและระบบนิเวศนที่เปลี่ยนแปลง<br />

และมีความทาทายมากขึ้น เราไมไดมองวานั่นคือการ<br />

กาวกายแตมันคือการทําหนาที่และทําลายขอจํากัดเพื่อ<br />

หาสิ่งที่ดีที่สุด และเราทุกคนควรเปดใจกับสิ่งนี้<br />

มีตัวอยางโปรเจ็คตไหนบางที่นาสนใจ ?<br />

ยศพล : สวนใหญเราจะทํางานคอนโดรวมกัน ทั้ง<br />

Ideo Morph หรือ Via 39 แตอยางงาน Via 31 จะ<br />

คอนขางทาทายคืออาคารจะคอนขางเล็ก ซึ่งในงานนี้<br />

ทางปุยฝายเขาจะพูดเรื่องสเปซที่มันตองกดล็อบบี้ลงไป<br />

เล็กนอย คือเราก็ตองเขาไปแกปญหาเพื่อใหแสงมันไหล<br />

เขามา<br />

ปุยฝาย : ปญหาของคอนโด 8 ชั้น ทั่วกรุงเทพฯ ก็คือ<br />

ชั้น 1 จะโดนกดลงไปนิดหนึ่งใชไหม เพื่อให floor to<br />

floor ของชั้นอื่นๆ ที่เปนหองพักอาศัยมีความสูงที่เหมาะสม<br />

พอกดลงไปแลวทุกที่ในล็อบบี้ก็จะมืดๆ ความรูสึกเหมือน<br />

ไมไดกลับบาน คือที่ยศเลาใหฟงก็คือ เราก็กดระดับของ<br />

ล็อบบี้ลงไปที่อยูที่ชั้น1 เสร็จแลวระดับของล็อบบี้ก็จะตํ่ากวา<br />

ระดับถนน ซึ่งระหวางล็อบบี้กับถนนนั้นจะมีพื้นที่วางทาง<br />

ภูมิสถาปตยกรรมที่ตองออกแบบ ยศก็เลยออกแบบเปน<br />

เนินยาว ใหตอเนื่องขึ้นไปสูถนน<br />

ยศพล : ...เปนเนินใหเชื่อมตอ สเปซก็กวางขึ้น หรือ<br />

แมกระทั่งภาษาของสวนโดยรอบ ก็มาจากตอนแรกที่<br />

ทางภูมิสถาปนิกจะโฟกัสปญหาเรื่องสเปซที่มันเล็กมาก<br />

ไมรูจะใสอะไรไปได เพราะฉะนั้นสิ่งที่ใสไดก็คือจุดเล็กๆ<br />

ก็เกิดภาษาที่เปนเสนๆ ขึ้นมาแลวมันก็คอยๆ คลี่คลาย<br />

รวมกันกับ façade อาคาร กลายเปนรั้วที่มีสัดสวน มี<br />

จังหวะและภาษาเดียวกัน ที่ชวยพรางแสงและสรางการ<br />

เชื่อมโยงมุมมองของพื้นที่ภายในและภายนอกโครงการ<br />

ไดอยางนาสนใจ ซึ่งจริงๆ 2 โปรเจ็คตที่เราไดทําดวยกัน<br />

ผมคอนขางพอใจมากนะ เพราะวามันเปนการทํางานที่<br />

เห็นผลวา การสรางบทสนทนาที่ดีรวมกันระหวางสถาปนิก<br />

และภูมิสถาปนิกจะนําไปสูความเขาใจที่สอดคลองและ<br />

เชื่อมโยงกันในหลายๆ เรื่องทั้ง วัสดุ ภาษา สเปซ คือ<br />

ถึงแมเปนโปรเจ็คตที่เล็ก แตเขาไปแลวจะเขาใจไดวามัน<br />

ผานกระบวนการคิดรวมกันมา<br />

ปุยฝาย : อีกโครงการหนึ่งตอนนี้ที่ทําอยูดวยกันของ<br />

Somdoon กับ Shma ก็คือ FYI CENTER อยูบริเวณ<br />

สี่แยกคลองเตย ที่ทํางานรวมกันกับภูมิสถาปนิกมีอยู 2<br />

เรื่อง อยางแรกก็คือการออกแบบพลาซาใหเปนเหมือน<br />

urban plaza แหงใหมของสี่แยกนั้นเลย เพราะวามันเปน<br />

ยานซึ่งไมมีพลาซา มากอน ฝงหนึ่งเปนตลาดคลองเตย<br />

และอีกฝงหนึ่งเปนชุมชนเทพประทาน ซึ่งยังไมไดพัฒนา<br />

ซึ่งแบบของพลาซานี้ Shma ก็ไดเอาภาษาของอาคาร<br />

มาใชและทําเนินทางภูมิสถาปตยกรรมขึ้นมาเพื่อพราง<br />

ชองระบายอากาศตางๆ อยางที่ 2 คืออาคารสํานักงาน<br />

ตั้งแตชั้น 3 ไปจนถึงชั้น 12 มันจะเปนออฟฟศ สวน<br />

ชั้น 1 กับ ชั้น 2 เปนรานคา ซึ่งโซนรานคาและล็อบบี้<br />

เราออกแบบใหตึกมันพรุน มันจะไมเหมือนล็อบบี้ของ<br />

อาคารสํานักงานโดยทั่วๆ ไปซึ่งเขาปดกระจกแลวก็ติด<br />

แอรหมดเลย อันนี้เราจะเจาะใหมันพรุน เหมือนแยก<br />

เปนอิสระแตละกอน แลวสเปซระหวางนั้นคือพวกทาง<br />

เดิน ทางเชื่อม พื้นที่เปด ภูมิสถาปนิกเขาทําใหพลาซา<br />

มีพื้นผิวที่มันตอเนื่องกัน ที่มันไหลเขาไปขางใตตึกเลย<br />

ซึ่งตรงนี้ทําใหมันไมเหมือนกับอาคารสํานักงานทั่วๆ ไป<br />

ถาเราทํางานรวมกันมันก็จะสามารถเกิดอะไรอยางนี้ขึ้น<br />

มาได<br />

09<br />

วารสารอาษา<br />

CONVERSATION <strong>ASA</strong> 85


ในปจจุบันนี้มองวาภาพรวมของการอยูรวมกัน<br />

ของงานภูมิสถาปตยกรรมกับงานสถาปตยกรรม<br />

เปนอยางไร ?<br />

ยศพล : คือเราไมชอบงานที่มันรูสึกวามันเปนแคของ<br />

ตกแตง คือมันสามารถถูกดึงออกไดโดยที่อาคารอยูได<br />

โดยที่ปราศจากฉัน หรือฉันอยูไดโดยปราศจากอาคาร<br />

แตชอบงานที่มันแยกขาดจากกันไมได แตนั่นหมายความวา<br />

ภูมิสถาปตยกรรมเองตองทํามากกวาเรื่องความสวยงาม<br />

ตองทําใหเรามีคุณคาที่ตอบสนองวิถีชีวิตคนและฟนฟู<br />

สภาพแวดลอมไดอยางมีนัยสําคัญจะมากหรือนอยก็<br />

ตองทํา คือถาเรามองโลกในแงดี เราเชื่อวาตอนนี้ทุกคน<br />

พยายามที่จะทําใหมันออกมาดีตามจรรยาบรรณของ<br />

วิชาชีพอยูแลวเพื่อใหมันตอบสนองทุกสิ่งอยาง แตถา<br />

เรามองโลกในความเปนจริงมันจะมีสิ่งที่เรารูอยูวามัน<br />

ยังเปนปญหาของวงการ อยางเรื่องทํา EIA ใหมัน<br />

สอดคลองสมบูรณ ตรงตามกฎหมายที่กําหนด อยาง<br />

ที่ปุยฝายบอก มันเปนไปไดนี่ ถูกกฎหมายดวย ลูกคา<br />

ก็ไดกําไรตามนั้นดวยซึ่งมันจะดีแคไหน แตแคนั้นมัน<br />

ไมพอเราเคยทําพรีเซ็นตอันหนึ่งไปบอกกับลูกคาวามัน<br />

มีคุณคาที่ประเมินคาไมไดในของบางอยางที่เราทําที่สง<br />

ผลกระทบตอสิ่งแวดลอม บริบทของพื้นที่สาธารณะ<br />

สังคม และจิตใจ เพราะฉะนั้นมันมีสิ่งที่เดเวลอปเปอร<br />

ควรทํานะ เพราะกําไรที่เปนตัวเงินอยางเดียวมันไมยั่งยืน<br />

สุดทายก็พับเก็บกลับไปกอน แตตอนนั้นเราเชื่ออยางนั้น<br />

จริงๆ แตเราไมสามารถบอกวาตัวเลขจริงๆ เทาไหร กี่<br />

สิบลาน กี่รอยลาน แตเราเชื่อวาดวยแนวโนมของสังคม<br />

ตัวอยางที่ดีในกระแสโลกนั้นมีอยูที่เขาแสดงใหเห็นวา<br />

คุณคาของงานที่ดีนั้นคืออะไรและมันยิ่งใหญแคไหน<br />

สิ่งเหลานี้มันจะคอยๆ สรางจิตสํานึกมากขึ้นทั้งตอคน<br />

ที่สรางงานเองวาอันนี้มันคือสิ่งที่มีคุณคาที่แทที่เปน<br />

มากกวาการสรางเรื่องราวทางการตลาดที่ฉาบฉวย<br />

และมันไมไดสรางผลกระทบหรือการเปลี่ยนแปลงอัน<br />

ใดตอการปรับปรุงคุณภาพชีวิตที่เปนอยูใหดีขึ้นทั้งใน<br />

ระดับสวนตัว สวนสาธารณะและสิ่งแวดลอม อีกสิ่งที่<br />

สําคัญกวาคือตัวลูกคาที่มาซื้อโปรเจ็คตและเขามาใช<br />

งาน คือเขาจะเริ่มเขาใจวาทําไมเขาจะยังซื้องานที่มัน<br />

ไมไดมีคุณคาอะไรในเมื่อเขาสามารถเลือกงานที่ดีได<br />

เพื่อใหเขามีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้นทั้งตอตัวเขาเองและเผื่อ<br />

แผถึงสังคมที่เขาอยูอาศัยดวย สุดทายผูบริโภคเองจะ<br />

เปนคนกําหนดทิศทางของการพัฒนาที่ยั่งยืนตอจาก<br />

นี้ ซึ่งถาถามจริงๆ อยางที่พวกเราทํางานที่ดีมันก็ไมได<br />

หมายความวาจําเปนตองแพงเสมอไป<br />

ปุยฝาย : จะลูกคา หรือที่ปรึกษา หรือผูออกแบบ คือ<br />

ถาทํางานรวมกัน หมายถึงรวมมือกันจริงๆ มันก็จะไดงาน<br />

ที่ดีกวาอยูแลว และสําหรับสถาปนิกรุนใหมหรือภูมิ-<br />

สถาปนิกรุนใหม คิดวาจริงๆ มันไมมีขอบเขตนะ มันไมมี<br />

เสนแบง อยากจะทํางานใหมันดีก็ทํางานใหมันดี แลวมัน<br />

ก็ดียิ่งขึ้นไปไดอีก เมื่อตอนเด็กจะไดยินคนที่ทํางานแลว<br />

บนวาทําโครงการที่กรุงเทพฯ อาจจะไมมีโอกาศที่จะเจอ<br />

ลูกคาที่อยากไดอาคารที่ไดรับการออกแบบมาก แตพอ<br />

โตขึ้นมาปุบไมอยากจะเชื่อเลยวาในชวงชีวิตเรา เราก็ได<br />

พบลูกคาที่ใสใจการออกแบบและไดรับโอกาสออกแบบ<br />

อาคารสูงที่ดีหลายโครงการ คือหมายถึงวามันก็ทําได<br />

จริงๆ แลวก็มีคนชื่นชม หรือวามีคนเห็นคุณคาของ<br />

ความตั้งใจของการทํางานของเราดวย แลวเดี๋ยวนี้ก็มี<br />

ประกวดแบบดีๆ เพิ่มมากขึ้น ในชวงชีวิตของเราที่ได<br />

เคยยินวาอาจจะไมมีงานราชการ อาคารสาธารณะที่ได<br />

รับการออกแบบอยางเต็มที่ มันก็มีประกวดแบบอาคาร<br />

สาธารณะที่มีโปรแกรมนาสนใจเพิ่มมากขึ้น เราก็ทํากัน<br />

ใหญเลย คือรูสึกวามันก็ไมจริงที่อนาคตจะไมดีหรือโลก<br />

มันจะไมดี<br />

ยศพล : แลวก็ถาจะฝากถึงภูมิสถาปนิกรุนใหมอยาก<br />

ใหคิดวาทุกอยางมันไมควรจะจํากัดขอบเขต คือทุกครั้ง<br />

เวลาพวกผูใหญจะทะเลาะกันเรื่องสโคปของงาน เราจะ<br />

รูสึกวาโอเคมันก็เขาใจไดในระดับหนึ่ง แตเราไมแนใจวา<br />

เด็กๆ หรือพวกเรากันเองควรมองเรื่องนี้กันอยางไร<br />

สําหรับผมมันเปนเรื่องของกฎหมาย แตกฎหมายมัน<br />

ไมไดจํากัดความคิดหรือจินตนาการของเราในการที่จะ<br />

ตั้งคําถามแลวสรางไดอะล็อคกับทีมกับสถาปนิกกับอะไร<br />

ก็แลวแตเพื่อแสวงหาความเปนไปไดใหมของอนาคต<br />

ภูมิสถาปตยกรรมไมใชแคเรื่อง 'สวนและพื้นที่ภายนอก<br />

อาคาร' แตเราควรมองสภาพแวดลอมเปนขอบเขตที่<br />

แผกวางและ 'เชื่อมโยงกัน' กับ ระบบนิเวศน วิถีชีวิต<br />

เมือง อาคาร พื้นที่ภายใน วัตถุตางๆ ลวนคือสิ่งที่ประกอบ<br />

เขาเปนสภาพแวดลอมที่เราอยูอาศัย ดังนั้นเราควรที่<br />

จะสามารถออกแบบสิ่งตางๆ เหลานั้นให 'ประสานเปน<br />

หนึ่ง' ดวย 'มุมมองทางภูมิสถาปตยกรรม' ไดเชนกัน<br />

อยาตีกรอบงานและวิธีคิด เหมือนที่ปุยฝายวาคือถาเขาใจ<br />

เราจะออกแบบอินทีเรียก็ได เรายังอยากออกแบบสถา-<br />

ปตยกรรมภายในแบบภูมิสถาปตยกรรมเลย อยากรูวา<br />

ตึกแบบภูมิสถาปตยกรรมเปนอยางไร หรือสถาปนิกเอง<br />

ก็สามารถบอกไดวาฉันอยากออกแบบสวนในมุมมอง<br />

ของสถาปนิก มันเปนยุคสมัยที่ทุกคนพยายามจะผสม-<br />

ผสานและทํางานรวมกัน<br />

ปุยฝาย : ...คือเราก็ไปหาคนที่มีความหลากหลายมา<br />

ทํางานรวมกัน เขาจะไดใหคําแนะนําบางสวนดวย เรา<br />

แนะนําบางสวนดวย ทํางานรวมกันดีที่สุด<br />

86 <strong>ASA</strong> CONVERSATION วารสารอาษา


ASEAN<br />

THE SILENT SIGNATURE<br />

SOME TALKING POINTS : WHY CONDOMINIUMS<br />

DESIGNED BY WORLD-RENOWNED ARCHITECTS<br />

IN SINGAPORE LACK THE SOULS OF THE ARCHI-<br />

TECTS THEMSELVES?<br />

คอนโดมิเนียมโดย Jean<br />

Nouvel<br />

88 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


TEXT+ PHOTOS<br />

Jirawit Yamkleeb<br />

สุสานตึกเปน : เหตุใดคอนโดมิเนียมโดย<br />

สถาปนิกระดับโลกในสิงคโปร จึงไมสามารถ<br />

สื่อถึงจิตวิญญาณของผูออกแบบได<br />

In our neighboring country Singapore, the trend<br />

has been for investors to hire foreign architects to<br />

develop residential condominium projects. This practice<br />

started in and around the 80’s, when examples<br />

such as The Colonnade, which was designed by one<br />

of the greatest masters Paul Rudolph and retains a<br />

contemporary look still today, and the Ardmore Habitat<br />

Condominiums by Moshe Safdie, derived from the<br />

same concept as Habitat 67 that Safdie designed<br />

previously for the Expo’67 in Montreal, Canada, were<br />

constructed. Other than these past examples, various<br />

condominiums have recently been designed by the<br />

next generation of famous architects including Toyo<br />

Ito, OMA, Daniel Libeskind, Zaha Hadid and Jean<br />

Nouvel etc. as well. The market has slowly opened up<br />

to this trend, and it is believed that projects designed<br />

by famous foreign architects can actually fetch a higher<br />

market price - by approximately five to ten percent<br />

more. A research study suggests that by using the<br />

name of Moshe Safdie for the Sky Habitat project in<br />

the Bishan area, the project’s value increased by approximately<br />

30-35%. Even with a real estate development<br />

company such as SC Global having been able to<br />

develop a brand name and international acceptance<br />

in the Luxury Residential Development market by<br />

working with local architects only, the practice of hiring<br />

foreign architects remains a hugely popular trend.<br />

One example being The Marq condominium project<br />

that took 6 th place in the top 10 for projects having<br />

the highest value in the world as surveyed by the<br />

international real estate consultancy firm Savills in the<br />

year 2012, and they, however, have recently decided<br />

to follow the current trend by joining hands with<br />

Carlos Zapata for their latest condominium project at<br />

Ardmore Park. This may seem to be a marketing<br />

strategy that is rather effective for the residential<br />

market of Singapore – where residents are used to<br />

the design of the HDB flats that look exactly the same<br />

as one another minus the fact that they are situated in<br />

different locations. The writer and his architect friends,<br />

which included both foreigners and Singaporeans, had<br />

identical opinions in regards to the projects carried<br />

out by these well known architects, finding them<br />

to be not very impressive when compared to their<br />

other projects, be it due to space planning or even<br />

the external characteristics that were unable to reveal<br />

any type of individual design or what you might refer<br />

สําหรับประเทศเพื่อนบานเราอยางสิงคโปร ความนิยมของกลุมนายทุนในการวา<br />

จางสถาปนิกตางชาติสําหรับโครงการพัฒนาที่พักอาศัยแบบคอนโดมิเนียมนั้นไดเริ่ม<br />

ตนมาตั้งแตในชวงกลางยุคป 80 แลว อาทิเชน The Colonnade โดยสถาปนิกชั้น<br />

บรมครู Paul Rudolph ที่จวบจนปจจุบันก็ยังแลดูรวมสมัย และ Ardmore Habitat<br />

Condominiums โดย Moshe Safdie ซึ่งเปนแนวความคิดเดียวกับ Habitat 67 ที่<br />

Safdie เคยออกแบบเอาไวสําหรับงาน Expo’67 ที่ Montreal ประเทศแคนาดา มา<br />

จนถึงในยุคปจจุบันที่คอนโดมิเนียมโดยสถาปนิกชื่อดังรุนหลังๆ เชน Toyo Ito, OMA,<br />

Daniel Libeskind, Zaha Hadid และ Jean Nouvel เปนตน ไดทําการทยอยเปดตัว<br />

ออกสูทองตลาดมาอยางตอเนื่อง เปนที่เชื่อกันวาโครงการที่ออกแบบโดยสถาปนิก<br />

ตางชาติที่มีชื่อเสียงนั้นสามารถทําราคาไดสูงกวาราคากลางตลาดประมาณ 5-10%<br />

และมีรายงานการวิเคราะหชิ้นหนึ่งไดกลาวเอาไววาการใชชื่อของ Moshe Safdie<br />

สําหรับโครงการ Sky Habitat ในยาน Bishan นั้นทําใหมันมีมูลคาสูงขึ้นถึง 30-35%<br />

เลยทีเดียว 1 นับวาเปนเทรนดที่กําลังมาแรงมากในปจจุบันจนแมกระทั่งบริษัทพัฒนา<br />

อสังหาริมทรัพยอยาง SC Global ซึ่งสามารถสรางแบรนด ที่มีชื่อเสียงเปนที่ยอมรับ<br />

ในระดับนานาชาติในตลาดของ Luxury Residential Development จากการทํางาน<br />

รวมกับสถาปนิกทองถิ่นเทานั้น โดยเฉพาะโครงการคอนโดมิเนียม The Marq ที่<br />

ติดอันดับ 6 บนโผท็อป 10 อสังหาริมทรัพยที่มีราคาสูงที่สุดในโลกซึ่งจัดสํารวจโดย<br />

บริษัทที่ปรึกษาอสังหาริมทรัพยนานาชาติ Savills เมื่อป พ.ศ. 2555 2 ก็ยังตัดสินใจ<br />

เปลี่ยนมาตามกระแสโดยการรวมงานกับ Carlos Zapata ในโครงการคอนโดมิเนียม<br />

ใหมลาสุดของทางบริษัทที่ Ardmore Park เหลานี้ แมจะดูเปนกลยุทธทางการตลาดที่<br />

คอนขางจะไดผลดีทีเดียวสําหรับตลาดที่พักอาศัยของชาวสิงคโปรที่ประชากรสวนมาก<br />

คุนเคยกับงานออกแบบที่อยูอาศัยประเภทแฟลต HDB 3 ที่มีลักษณะหนาตาละมาย<br />

คลายคลึงกันแมจะตั้งอยูกันคนละที่ ผูเขียนและเพื่อนสถาปนิกทั้งชาวตางชาติและ<br />

ชาวสิงคโปรเองตางลงความเห็นพองตองกันวาผลงานโดยสถาปนิกระดับมือพระกาฬ<br />

เหลานี้กลับดูไมคอยนาประทับใจเทาที่ควรเมื่อเทียบกับผลงานชิ้นอื่นๆ ที่ผานมาของ<br />

สถาปนิกทานนั้นๆ ไมวาจะเปนในแงการวางผังพื้นหรือรูปลักษณภายนอกที่บางครั้ง<br />

มิไดบงบอกถึงแนวทางในการออกแบบเฉพาะตนหรือที่เรียกกันวาลายเซ็นตของทาน<br />

เหลานั้นเลย อยางไรก็ดี ความเห็นนี้เปนเพียงหนึ่งมุมมองจากกลุมบุคคลที่มีความรู<br />

ทางดานสถาปตยกรรมที่ในความเปนจริงตามกลไกทางการตลาดแลวอาจจะไมมีความ<br />

สําคัญเลยแมแตนิดสําหรับคนที่ตองการเปนเจาของหองพักที่ออกแบบโดยสถาปนิก<br />

ตางชาติชื่อดังเพื่อยกระดับหรือรักษาสถานะทางสังคมของตนเอง บทความชิ้นนี้มิได<br />

เขียนขึ้นเพื่อเปนการวิพากษวิจารณโครงการใดโครงการหนึ่งในแงลบหากแตเปนการ<br />

รวบรวมและนําเสนอตัวอยางปจจัยที่มีความเปนไปไดอันสงผลกระทบถึงผลงานขั้น<br />

สุดทายใหมีความแตกตางออกไปจากแนวความคิดเบื้องตนในการออกแบบที่ไดวาง<br />

เอาไวตามประสบการณตรงของผูเขียนที่ไดมีโอกาสรับผิดชอบงานออกแบบโครงการ<br />

คอนโดมิเนียมในหลากหลายประเทศรวมทั้งในสิงคโปรเองตลอดชวงระยะเวลากวา 10<br />

ปที่ผานมา ดังตอไปนี้<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 89


to as signature features of the architects themselves.<br />

But be that as it is, this is just one perspective held by<br />

people who are well acquainted with architecture; in<br />

reality, with reference to the market mechanics, this<br />

factor may hold no importance at all for people who<br />

want to become owners of residential units designed<br />

by world-renowned architects more so for the purpose<br />

of raising or maintaining their social status. This article<br />

is not written as a critique of any particular project, but<br />

as a means of gathering information and presenting<br />

factors that may affect the final outcome of the project<br />

in manners different from the original design concept.<br />

As for the direct experience of the writer, who has had<br />

the opportunity to design several condominium projects<br />

in various countries including Singapore within the last<br />

10 years, here are a few points to be noted:<br />

01 CONTRACTUAL INVOLVEMENT<br />

Foreign architects can come and work in Singapore<br />

as design consultants, collaborating with local architectural<br />

firms registered with the Board of Architects<br />

Singapore who will take on the professional and legal<br />

responsibilities and be involved from beginning to end,<br />

assisting the architect through to the completion of<br />

the project. Even developers can hire foreign architects<br />

for any period of time, either for the purpose of<br />

developing a concept design only, or on a continuous<br />

basis through the Schematic Design Stage or Design<br />

Development stage. Such involvement increases the<br />

amount of investment respectively, as the design fees<br />

charged by these architects are many folds higher than<br />

the fees charged by local architects. Therefore, when<br />

considering certain architectural works, and wondering<br />

whether they were actually the works of this or that<br />

world famous architect, the truth is it could be a combination<br />

- where foreign architects were hired for developing<br />

the concept design only, allowing for the project<br />

to capitalize on the use of their name in marketing<br />

and promotion. This is supplemented by the fact that<br />

the local architectural firm may lack the capability to<br />

develop the construction design as per the vision of<br />

the architectural team, adding even more opportunity<br />

for a combination effect to come through.<br />

02 LOCAL BUILDING CODES AND REGULATIONS<br />

Sometimes the architectural forms that we see are<br />

a result of the controls set by various building regulations<br />

and codes, such as the Skyrise Greenery Incentive<br />

Scheme by the National Parks Board (NParks), an<br />

organization that takes care of the greenery around<br />

Singapore and provides aid in the form of capital<br />

reaching as high as 50% for the installation of landscaping<br />

on rooftop/terrace areas or on the proximity<br />

of high rise properties. Or, it could be support granted<br />

from the Urban Redevelopment Authority (URA), who<br />

exempts the calculation of the Gross Floor Area (GFA)<br />

of sky terrace areas that include landscaping for public<br />

use per the set regulations. These are a few reasons<br />

that support the green architecture we see abundantly<br />

displayed in the latest magazines, but at the same time,<br />

this perspective may not be appropriate or even economically<br />

feasible in other places such as Kuala Lumpur<br />

or Jakarta that calculate the GFA in sky terrace areas<br />

01 ความรับผิดชอบที่ระบุไวในสัญญาวาจาง<br />

สถาปนิกตางชาติสามารถเขามาทํางานออกแบบในสิงคโปรไดในฐานะที่ปรึกษา<br />

ทางดานการออกแบบที่ทํางานรวมกับบริษัทสถาปนิกทองถิ่นที่ขึ้นทะเบียนกับทางสภา-<br />

สถาปนิกสิงคโปร ในขณะที่บริษัททองถิ่นตามความรับผิดชอบทางดานวิชาชีพและ<br />

ตามกฎหมายแลวจะตองดําเนินงานตั้งแตเริ่มโปรเจ็คตจนสิ้นสุดการกอสราง หากแต<br />

ทางดีเวลลอปเปอรเองสามารถทําการวาจางสถาปนิกตางชาติเปนชวงระยะเวลาเทาใด<br />

ก็ได ไมวาจะเปนการวาจางเพื่อทําคอนเซ็ปตเพียงอยางเดียวหรืออาจตอเนื่องไปจนถึง<br />

งานขั้น Schematic Design Stage หรือ Design Development Stage ซึ่งก็จะเปน<br />

การลงทุนที่ทวีเพิ่มมากขึ้นตามลําดับเนื่องจากสถาปนิกชื่อดังเหลานี้เรียกคาแบบสูง<br />

กวาสถาปนิกทองถิ่นหลายเทาตัว ฉะนั้นงานสถาปตยกรรมบางชิ้นที่เราอาจตั้งขอ-<br />

สงสัยวาเปนผลงานของสถาปนิกระดับโลกทานนั้นทานนี้ จริงหรือไมอาจเปนสิ่งที่เกิด<br />

จากการผสมผสานกันระหวางการวาจางสถาปนิกตางชาติทานนั้นเพียงแคขั้นคอน-<br />

เซ็ปตเทานั้นเพื่อนําชื่อมาใชในทางการตลาด ผนวกกับการที่บริษัทสถาปนิกทองถิ่น<br />

ไมมีศักยภาพเพียงพอในการพัฒนาแบบกอสรางใหออกมาตรงกับวิสัยทัศนที่ทางทีม<br />

ออกแบบไดวางเอาไวในเบื้องตน<br />

02 กฎหมายอาคารทองถิ่น<br />

รูปลักษณของสถาปตยกรรมที่เราเห็นกันนั้นในบางครั้งก็เปนผลลัพธมาจากสิ่งที่<br />

กฎหมายอาคารกําหนดควบคุมหรือสนับสนุนไว ยกตัวอยางเชน Skyrise Greenery<br />

Incentive Scheme ที่ทาง National Parks Board (NParks) ซึ่งเปนองคกรที่มีหนาที่<br />

ดูแลพื้นที่สีเขียวของสิงคโปร จะใหเงินทุนสนับสนุนถึง 50% สําหรับคาใชจายใน<br />

การติดตั้งงานภูมิทัศนบนหลังคาหรือบนตัวรูปดานอาคารสูงเอง 4 หรือการสนับสนุน<br />

จาก Urban Redevelopment Authority (URA) โดยยกเวนการคํานวณ Gross Floor<br />

Area (GFA) ของพื้นที่ Sky Terrace ที่มีการจัดภูมิทัศนและเพื่อประโยชนใชสอย<br />

สาธารณะตามเกณฑที่กําหนดไว5 เหลานี้เปนเหตุสนับสนุนการเกิดสถาปตยกรรม<br />

เขียวของสิงคโปรที่เราเห็นกันดาษดื่นตามหนานิตยสารในปจจุบัน ซึ่งแนวคิดเดียวกัน<br />

นี้เองอาจไมเหมาะสมหรือแทบจะเปนไปไมไดเลยกับที่อื่นๆ ในทางเศรษฐศาสตร เชน<br />

กัวลาลัมเปอรหรือจาการตา ที่คิด GFA ของบริเวณ Sky Terrace ในอัตรา 100%<br />

และ 50% ของพื้นที่ทั้งหมดตามลําดับ แมจะมีการจัดประโยชนใชสอยเพื่อสวนรวม<br />

และมีการจัดภูมิทัศนในลักษณะเดียวกัน ทําใหผูลงทุนนอกจากจะเสียเงินคากอสราง<br />

เพิ่มแลวยังเสียพื้นที่ทํากําไรโดยใชเหตุ หรือลาสุดที่ทาง Building and Construction<br />

Authority (BCA) ระงับการใชวัสดุบุอาคารภายนอกใดๆ ที่มีคาการสะทอนแสง<br />

ธรรมชาติเกินกวา 20% อันหมายรวมถึงการทาสีขาวบนผนังอาคารดวย 6 ซึ่งคงมีผล-<br />

กระทบตอบรรดาสถาปนิกญี่ปุนที่นิยมใชสีขาวเปนหลักอยาง SANAA เปนตน ไมมาก<br />

ก็นอย<br />

03 กลไกทางการตลาดทองถิ่น<br />

Ole Scheeren กลาวไวในบทสัมภาษณเกี่ยวกับ The Interlace งานคอนโด-<br />

มิเนียมในสิงคโปรที่เขามีหนาที่รับผิดชอบสมัยยังทํางานอยู OMA ในนิตยสาร Architectural<br />

Record วา สิงคโปรเปนตลาดที่มีความละเอียดออนและไรความปราณี<br />

ที่สุดแหงหนึ่ง ถาคุณไมสามารถทําไดตามเปาของประสิทธิภาพอาคาร (Building<br />

Efficiency) ที่ทางผูลงทุนตั้งไวคุณก็ไมสามารถที่จะสรางได แรงกดดันทางเศรษฐกิจ<br />

นี้เองที่เปนตัวบังคับมิใหสถาปนิกสามารถออกแบบไดอยางเต็มที่ และตัวอยางที่เห็น<br />

ไดอยางชัดเจนก็คือโครงการ d’Leedon ที่แทบจะดูไมออกเลยวาเปนงานออกแบบ<br />

ของ Zaha Hadid 7 อยางไรก็ดี ทุกครั้งที่ผูเขียนเริ่มออกแบบโครงการคอนโดมิเนียม<br />

ในสิงคโปรจะตองตั้งเปาเอาไววา GFA Efficiency ของอาคารจะตองไมตํ่ากวา 85%<br />

เปนอยางนอย มิฉะนั้นหากออกจากหองประชุมของลูกคาไปแลวอาจมิไดกลับมาอีก<br />

เลยก็เปนได ทําใหการแนะนํา Private Lift ซึ่งชวยลดระยะของทางเดินสวนกลาง<br />

หรือการเพิ่มหนวยพักอาศัยแบบ Townhouse เปนตน เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไดยากใน<br />

90 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


The Interlace โดย OMA<br />

ที่ดูแตกตางจากทัศนียภาพ<br />

เบื้องตนไปพอสมควร<br />

บางสถานการณ หากสังเกตดูจะเห็นไดวาทางทีมงานของ Zaha ก็ไดเตรียม Townhouse<br />

ไวสําหรับโครงการ d’Leedon ดวยเชนกันแมจะเปนเพียงจํานวนนอยนิดเมื่อ<br />

เทียบกับหนวยพักอาศัยทั้งหมด<br />

<strong>04</strong> ประเภทอาคารและความถนัด<br />

แมจะเปนสิ่งที่สถาปนิกสวนใหญไมตองการใหเกิดขึ้นกับตนเองแตการตีตราความ<br />

ถนัดในการออกแบบอาคารประเภทใดๆ โดยมวลชนก็เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไดยากโดยเฉพาะ<br />

ความสําเร็จจากประเภทผลงานที่สรางชื่อใหกับสถาปนิกทานนั้น การเลือกใชสถาปนิก<br />

ของนักลงทุนโครงการที่พักอาศัยแบบคอนโดมิเนียมในสิงคโปรนั้นมิไดมีแบบแผนเฉพาะ<br />

เจาะจงวาจะตองเปนสํานักงานที่มีชื่อเสียงทางดานการออกแบบโครงการประเภทที่พัก<br />

อาศัย ซึ่งบางชื่อไดยินแลวก็ถึงกับขมวดคิ้วกันเลยทีเดียวก็มี เชน โครงการ Reflections<br />

at Keppel Bay โดย Daniel Libeskind ที่มีชื่อเสียงมาจากงานออกแบบ<br />

ประเภทพิพิธภัณฑและอนุสรณสถานหลายๆ แหงทั่วโลก เมื่อเขาไปในเวบไซตของทาง<br />

โครงการ 8 ภาพแรกที่เห็นจะเปนภาพ Libeskind นั่งอยูขางหมูอาคาร Reflections ใน<br />

แบ็คกราวด รวมทั้งภาพลายเสนสเก็ตชคอนเซ็ปตที่ถูกนํามาใชเปนโลโกของทางโครงการ<br />

อยางไรก็ดี หากสังเกตดูจะเห็นวามีลักษณะเฉพาะรวมกันคือมีหลายๆ โครงการที่ไดรับ<br />

การออกแบบโดยสถาปนิกระดับรางวัล Pritzker เชน South Beach โดย Norman<br />

Foster, Skyline @ Orchard Boulevard โดย Fumihiko Maki, The Interlace โดย<br />

OMA/ Rem Koolhaas, d’Leedon โดย Zaha Hadid, Nouvel 18 & Le Nouvel<br />

Ardmore โดย Jean Nouvel และ The Belle Vue Residences โดย Toyo Ito จะ<br />

สังเกตไดวา บางโครงการถึงกับทําการตลาดโดยนําชื่อผูออกแบบมาเปนชื่อโครงการ<br />

กันเลยทีเดียว ซึ่งก็เปนไปไดวาในกระบวนการคัดเลือกอาจเปนการนําเสนอชื่อตอ<br />

บอรดบริหารจากฝายการตลาดที่อาจมิไดมีความรูทางแวดวงสถาปตยกรรมมากนัก<br />

05 การตัดงบประมาณการกอสราง<br />

หนึ่งในปจจัยสําคัญที่สุดที่ทําใหงานออกแบบในโลกวิชาชีพแตกตางเปนอยางมาก<br />

จากการทําโปรเจ็คตในชั้นเรียนก็คือการพิจารณาในเรื่องงบประมาณการกอสราง รูป-<br />

แบบทางสถาปตยกรรมอันหวือหวานาตื่นตาตื่นใจในทางปฏิบัติแลวยอมนํามาซึ่งราคา<br />

คากอสรางที่สูงกวาปกติและอาจเกี่ยวโยงถึงความจําเปนในการใชเทคโนโลยีทางการ<br />

กอสรางแบบพิเศษอันสงผลใหทางผูลงทุนตองพึ่งพาบริษัทรับเหมากอสรางระดับนานา-<br />

at up to 100% and 50% of the total area respectively,<br />

regardless of the fact that this area is also allocated as<br />

a common area and has therefore been landscaped in<br />

a similar way. The investors, other than having to pay<br />

higher construction costs, also have to compromise<br />

this area that could actually be used for gaining profits.<br />

Lately, the Building Construction Authority (BCA) have<br />

prohibited the use of external construction materials<br />

that have a reflection index of natural light which<br />

exceeds 20%, a factor that includes the painting of the<br />

external walls white and affects Japanese architects<br />

such as SANAA in particular who have a preference for<br />

the color.<br />

03 LOCAL MARKETING STRATEGY<br />

In an interview with the magazine Architectural<br />

Record, Ole Scheeren described that in regards to The<br />

Interlace, a condominium project in Singapore he was<br />

responsible for during the time he was still working<br />

with OMA, he considered Singapore to be a very<br />

refined market and merciless as well. For example, if<br />

you are unable to meet the Building Efficiency requirements<br />

investors have set, you will not be allowed to<br />

construct your project, period. This type of economic<br />

pressure prohibits architects from designing freely,<br />

one clear example being the d’Leedon which hardly<br />

seems to reflect the design style of Zaha Hadid at all.<br />

Whenever an architect starts to design a condominium<br />

project in Singapore, they have to set the GFA Efficiency<br />

level to no lower than 85% or, when they leave the<br />

customer’s meeting room, they may not have a chance<br />

to come back. Therefore, recommending Private Lifts<br />

that reduce the common area passageways or even<br />

Townhouse units etc. are necessary in certain circumstances<br />

- if you notice the team of Zaha also prepared<br />

the Townhouse concept for the d’Leedon project -<br />

although in a small quantity when compared to the<br />

entire residential project itself.<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 91


<strong>04</strong> BUILDING TYPOLOGY AND SPECIALIZATION<br />

This is one aspect that many architects do not<br />

strive for but is almost unavoidable, as their value is<br />

set by the masses who depend on the types of buildings<br />

that the architects are comfortable with designing or<br />

specializing in and their success depends on the type<br />

of structure that has made them famous. The choice<br />

of architects by investors for residential projects such<br />

as condominiums in Singapore has no set plan- it is<br />

not necessary that the architectural firm be particularly<br />

famous for designing residential projects, in fact there<br />

are some names that you hear which may make you<br />

raise your eyebrows - for example, the project Reflections<br />

at Keppel Bay designed by Daniel Libeskind who<br />

is very popular for his work done designing museums<br />

and monuments around the world. When you enter<br />

the project website, you will see Libeskind with the<br />

Reflections in the background together with the license<br />

gate concept that is used as the logo of the project.<br />

However, if we pay attention, we can see a common<br />

characteristic that many projects have been designed<br />

by architects who have received Pritzker awards such<br />

as South Beach by Norman Foster, Skyline @ Orchard<br />

Boulevard by Fumihiko Maki, The Interlace by OMA/<br />

Rem Koolhaas, d’Leedon by Zaha Hadid, Nouvel 18 &<br />

Le Nouvel Ardmore by Jean Nouvel and The Belle Vue<br />

Residences by Toyo Ito.<br />

An observation can be made that some projects<br />

carry out their marketing by presenting the name of<br />

the designer as a part of the project’s name. The<br />

marketing team will present this name that includes<br />

the architect’s name to the management board who,<br />

on a whole, may not have much knowledge in regards<br />

to the architectural arena.<br />

05 BUDGET CUT<br />

This is one of the most important factors that affects<br />

project designs. Designing in the professional world<br />

differs greatly from projects that are designed in the<br />

classroom only. With consideration being given to the<br />

construction budget, architectural forms that are striking,<br />

eye-catching and exciting are likely to have a higher<br />

cost of construction due to the fact that they often<br />

utilize specialized types of construction technology.<br />

Therefore, investors have to depend on international<br />

contractors and are unable to utilize lower-cost local<br />

contractors. Furthermore, the nature of the real estate<br />

business as related to condominiums is a one-time<br />

profit making business that differs greatly from other<br />

building types such as department stores or structures<br />

that attract the public in multitudes such as a museum.<br />

The museum has gained much popularity recently as<br />

compared to the past, a factor that can be seen by the<br />

overwhelming success of The Guggenheim Museum<br />

Bilbao project. If evaluated carefully and accurately<br />

monitored by the Quantity Surveyor, the actual budget<br />

cut in construction may not affect the design that the<br />

team has developed, but a worst-case scenario is that<br />

the design itself would have to be adjusted. What is<br />

known as Value Engineering can occur when the price<br />

quoted by the contractor during the submission of the<br />

tender is higher than the budget itself, yet the owner<br />

of the project still wants to build as per schedule.<br />

ชาติและไมสามารถใชผูรับเหมาทองถิ่นบางรายที่มีราคาถูกกวาได รวมถึงธรรมชาติ<br />

ของอสังหาริมทรัพยประเภทคอนโดมิเนียมเองซึ่งเปนการทํากําไรเพียงครั้งเดียวตาง<br />

จากอาคารประเภทอื่น เชน ศูนยการคา หรืออาคารที่จําเปนตองดึงดูดความสนใจ<br />

จากมวลมหาประชาชนอยางเชนพิพิธภัณฑซึ่งมีคานิยมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางมาก<br />

จากในอดีตหลังจากความสําเร็จอันทวมทนของโครงการ The Guggenheim Museum<br />

Bilbao ซึ่งการตัดงบประมาณในการกอสรางนี้อาจจะยังไมสงผลกระทบตอแบบที่ทาง<br />

ทีมออกแบบไดพัฒนามามากนักหากไดรับการประเมินและคุมราคาอยางรอบคอบและ<br />

แมนยําโดย Quantity Surveyor แตที่เลวรายกวานั้นคือการตองปรับแบบหรือที่เรียก<br />

กันวา Value Engineering เมื่อราคาที่เสนอมาจากผูรับเหมาในชวงประกวดราคาสูง<br />

เกินกวางบที่ตั้งไวและทางเจาของโครงการก็ยังแสดงเจตนจํานงที่จะตองสรางใหเสร็จ<br />

ตามหมายกําหนดการ<br />

06 แผนการและระยะเวลาดําเนินงานโครงการ<br />

ความแตกตางอยางเห็นไดชัดระหวางอุตสาหกรรมกอสรางในเอเชียเมื่อเทียบกับ<br />

ทางยุโรปหรืออเมริกาก็คือระยะเวลาดําเนินงานโครงการซึ่งทางภูมิภาคเรานี้มีสปดที่<br />

เร็วกวามากทําใหมีเวลาในการพัฒนาแบบนอยซึ่งอาจไมเปนที่คุนเคยของสถาปนิกจาก<br />

ฟากฝงตะวันตก ผนวกกับวัฒนธรรมทางวิชาชีพที่ไมเหมือนกัน เชน การคิดคาแบบเพิ่ม<br />

เมื่อลูกคาทําการเปลี่ยนบรีฟในขณะที่ไดเริ่มออกแบบไปแลวซึ่งสถาปนิกแถบบานเรา<br />

ดูจะอะลุมอลวยกวามากในกรณีนี้ ในขณะที่บริษัทตางชาติจะชารจเพิ่มทันทีและจะไม<br />

ยอมทําตอจนกวาจะตกลงกันได ซึ่งในบางกรณีกวาจะเคลียรกันเปนที่เรียบรอยก็ทําให<br />

เสียเวลาไปมาก สงผลใหทางทีมออกแบบมีเวลานอยลงไปอีกหรือไมก็กระทบแผนงาน<br />

ของทางผูลงทุน ระยะทางที่หางไกลกันมากเกินไปก็มีสวนทําใหการติดตอสื่อสารกัน<br />

เปนไปอยางไมคอยราบรื่น แมในปจจุบันเทคโนโลยีทางดานการสื่อสารจะชวยแกปญหา<br />

เหลานี้ไดบาง เชน การประชุมผานระบบอินเตอรเนตซึ่งก็มีอยูหลายทางเลือกในปจจุบัน<br />

เชน Skype, Webex หรือ GoToMeeting เปนตน แตก็คงจะชวยไมไดมากหากลูกคา<br />

และทีมงานทองถิ่นอยูที่สิงคโปรแตทีมออกแบบอยูที่นิวยอรกเนื่องจากการสื่อสารจะ<br />

เกิดขึ้นไมไดเลยหากไมมีฝายหนึ่งฝายใดยอมทํางานลวงเวลา<br />

“สิงคโปรเปนประเทศที่เปดรับอาเซียนและการปฏิบัติวิชาชีพแบบขามพรมแดน<br />

เปนอยางมาก” เปนคําใหสัมภาษณกับนิตยสาร Archinesia ของ Theodore Chan<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสิงคโปรคนปจจุบัน 9 จากตัวอยางที่ไดกลาวมาขางตนของการ<br />

เขามาของสถาปนิกตางชาติตั้งแตเมื่อยุคป 80 รวมถึงถอยแถลงของทานนายกสมาคม<br />

เองจะเห็นไดวาวงการสถาปตยกรรมของสิงคโปรนั้นมีความพรอมอยางเต็มเปยมในการ<br />

เปดการคาเสรีที่จะมาถึงในเร็ววันนี้ ในขณะเดียวกันสํานักงานสถาปนิกในสิงคโปรเอง<br />

ก็ไดออกไปรับงานออกแบบในตางประเทศมาเปนระยะเวลาพอสมควรแลว หากพลิก<br />

ดูหนังสือรวบรวมรายชื่อและผลงานของสํานักงานที่จัดทําโดยทางสมาคมสถาปนิก<br />

สิงคโปรทุกๆ 2 ปแลวจะเห็นไดวาเกือบทุกสํานักงานมีงานออกแบบในตางประเทศกัน<br />

ทั้งนั้น Theodore กลาวทิ้งทายไวในบทสัมภาษณวา “ตามความเขาใจของผมในฟลิปปนส<br />

ประเทศไทย และมาเลเซียนั้น คุณตองมีสัญชาติของประเทศนั้นๆ จึงจะสามารถขอ<br />

ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพได ถาพวกเขาจริงจังกับเรื่องขอตกลงยอมรับรวมคุณสมบัติ<br />

นักวิชาชีพอาเซียน สิ่งนี้ควรจะตองเปลี่ยน ที่สิงคโปรคุณไมจําเปนตองเปนพลเมือง<br />

ของประเทศเราก็สามารถประกอบวิชาชีพได ตราบไดที่คุณจบมาจากมหาวิทยาลัยที่<br />

ไดรับการรับรอง มีคุณสมบัติตามเกณฑและสอบผานคุณก็สามารถรับใบประกอบ-<br />

วิชาชีพได ไมจําเปนตองถือสัญชาติสิงคโปร”<br />

92 <strong>ASA</strong> PROFESSIONAL วารสารอาษา


1 ขอมูลอางอิงจาก www.<br />

propertyguru.com.sg/<br />

property-managementnews/2012/6/33440/singapore-developers-turningto-foreign-architects<br />

2 http://business.asiaone.<br />

com/property/the-marq-<br />

6th-most-expensiveglobally<br />

3 HDB Flat เปนชื่อสามัญ<br />

เขาใจกันโดยทั่วไปในสิงคโปรวา<br />

หมายความถึงโครงการพักอาศัย<br />

ของรัฐบาลที่พัฒนาโดย Housing<br />

Development Board<br />

(HDB)<br />

4 www.skyrisegreenery.<br />

com/index.php/home/incentive_scheme<br />

5 Circular no. URA/<br />

PB/2009/12-DCG, Revised<br />

GFA Exemption Criteria for<br />

Sky Terraces to Encourage<br />

More Attractive Communal<br />

Spaces and Greater Provision<br />

of Planting, Urban<br />

Redevelopment Authority,<br />

2009<br />

6 Ref: BCA BC 15.0.3 vol<br />

11, 28 Oct 2013, Building<br />

and Construction Authority<br />

7 “Singapore is one of the<br />

most refined and ruthless<br />

market. […] If you do<br />

not hit certain efficiency<br />

targets, you simply cannot<br />

build. This economic<br />

pressure has forced<br />

architects into a design<br />

straightjacket”, “A good<br />

example is d’Leedon, Zaha<br />

Hadid’s seven 36-story<br />

residential towers, still<br />

under construction, that<br />

show almost no sign of<br />

their creator’s outrageous<br />

signature.”, The Interlace,<br />

Supersized Design, Architectural<br />

Record, The Big<br />

Issue, March 2014, p.105<br />

8 www.reflectionsatkeppelbay.com.sg<br />

คอนโดมิเนียมโดย Zaha<br />

Hadid<br />

จิรวิชช แยมกลีบ<br />

จบการศึกษาระดับปริญญาตรี<br />

จากคณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย และ<br />

Bouwkundig Ingenieur (Ir) -<br />

M.Sc. in Urbanism จาก Delft<br />

University of Technology<br />

ประเทศเนเธอรแลนด ปจจุบัน<br />

ทํางานอยูกับบริษัท SCDA<br />

Architects ประเทศสิงคโปร ใน<br />

ตําแหนง Senior Associate<br />

06 PROJECT SCHEDULE<br />

An evident difference between the construction<br />

industry in Asia as compared to that in Europe and the<br />

United States is the total time elapsed during completion<br />

of the project. In this region, the project duration<br />

is much shorter, the period of time to actually develop<br />

the design being shorter as well, and western architects<br />

may not be too familiar with this norm. There is a<br />

difference in the professional culture as well, western<br />

architects may be used to charging an extra design fee<br />

when the customer makes changes to the brief whilst<br />

the design process is going on whereas architects in<br />

our region often compromise on this point. For foreign<br />

companies, an additional charge will immediately be<br />

made and work will not continue until both parties<br />

have reached an agreement. In some circumstances,<br />

a long time might pass and be wasted in the process<br />

before this issue can be cleared which subsequently<br />

allots even less time to the design team and can even<br />

affect the overall plan of the investors as well. And<br />

while the latest forms of communication technology<br />

can help to support the smooth flow of information<br />

across long distances, even Skype, Webex or GoTo-<br />

Meeting etc. cannot help much when the customer<br />

and the local team are in Singapore and the design<br />

team is situated in New York, a situation which does<br />

not allow for meetings to take place at all unless either<br />

party is willing to work overtime.<br />

“Singapore is very open and welcomes this<br />

ASEAN cross-border practice and exchange” were<br />

the words given in an interview with Theodore Chan,<br />

the president of the Singapore Institute of Architects,<br />

to Archinesia magazine and, as we mentioned at the<br />

beginning of this article, foreign architects have been<br />

coming to work in Singapore since the 80’s. This fact<br />

and the statement made by the president of the association<br />

alone proving point to the fact that Singapore’s<br />

architecture circle is clearly ready for the free<br />

trade that will shortly be prevalent. On the other hand,<br />

Singaporean architectural firms have also been going<br />

abroad to work on foreign projects for quite some time<br />

now and, if you flip through the book that is published<br />

every two years by the association, you will find the<br />

names and projects of almost all the Singaporean<br />

architectural firms who have designed projects abroad.<br />

Chan ended his interview with these words, “From<br />

what I understand, in countries like Philippines,<br />

Thailand and Malaysia, you need to be a citizen as a<br />

pre-requisite of obtaining a practicing license. If they<br />

are serious about ASEAN MRA, this should change.<br />

[…] In Singapore, you do not need to be a citizen of<br />

the country in order to be able to practice. As long as<br />

you come from an accredited university, have met the<br />

academic criteria and passed the examination for professional<br />

practice, you can obtain a practicing license.<br />

It does not matter if you are a citizen or not.”<br />

วารสารอาษา<br />

PROFESSIONAL <strong>ASA</strong> 93


CONSERVATION<br />

THE MUSEUM OF<br />

FLORAL CULTURE<br />

พิพิธภัณฑวัฒนธรรมดอกไม<br />

01<br />

TEXT<br />

Sasikan Srisopon<br />

PHOTOS<br />

Courtesy of The Museum of<br />

Floral Culture<br />

‘ดอกไม’ สิ่งสรางสรรคโดยธรรมชาติที่หลายคน<br />

ชื่นชมและใชประโยชนจากรูปลักษณและคุณสมบัติมา<br />

ชานานมากวานั้นคือคุณคาและความสําคัญที่สัมพันธกับ<br />

วิถีชีวิตผูคนสะทอนผานวัฒนธรรมที่นาสนใจมากมาย<br />

เมื่อเรื่องราวของมันถูกนํามารอยเรียงจัดแสดงในบาน<br />

โบราณสอดรับกับสวนที่มีการตกแตงเพิ่มเติมไดอยาง<br />

ลงตัว จึงเกิดเปนความนาสนใจเชื้อเชิญใหผานเขาไปใน<br />

สถานที่นั้นที่รูจักกันในนามวา ‘พิพิธภัณฑวัฒนธรรม<br />

ดอกไม’<br />

พิพิธภัณฑวัฒนธรรมดอกไม (The Museum of<br />

Floral Culture) ตั้งอยูบนพื้นที่ไรเศษ ในซอยองครักษ 13<br />

ถนนสามเสน เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร แวดลอมไปดวย<br />

ชุมชนที่อยูอาศัยที่เงียบสงบ ผสมผสานวิถีชิวิตเกาและ<br />

ใหมกอตั้งขึ้นโดยคุณสกุล อินทกุล ศิลปนนักจัดดอกไม<br />

ที่มีชื่อเสียงระดับนานาชาติ เปดตอนรับสาธารณชนให<br />

เขาชมครั้งแรกเมื่อวันที่ 12 สิงหาคม 2555 เพื่อรวม<br />

เทิดพระเกียรติสมเด็จพระนางเจาฯ พระบรมราชินีนาถ<br />

เนื่องในวโรกาสมหามงคล เจริญพระชนพรรษาครบ 80<br />

พรรษา โดยมีวัตถุประสงคการกอตั้ง คือ เพื่อที่จะนํา<br />

ขอมูล เรื่องราวและขาวของที่เกี่ยวกับงานวัฒนธรรม<br />

ดอกไมที่ไดสืบคนมามากมายนํามาถายทอดความรูไปสู<br />

คนในชุมชน<br />

อาคารพิพิธภัณฑวัฒนธรรมดอกไม เปนบานไมสัก<br />

โบราณ 2 ชั้น มีอายุราว 100 ป พื้นที่ใชสอยโดยประมาณ<br />

155 ตารางเมตร ไดรับการปรับปรุงและตอเติมบางสวน<br />

โดยคุณสุวภาคย สุวรุจิพร เจาของสถานที่ และผูดูแล<br />

ปรับปรุงอาคาร เพื่อการใชงานที่ตอบสนองกับกิจกรรม<br />

และสอดคลองกับบริบทพื้นที่ในปจจุบันภายในอาคาร<br />

ชั้นลางทําเปนสวนจัดนิทรรศการ 5 หอง เริ่มตนดวย<br />

หองที่ 1 ‘หองหอภาพดุสิต’ เปนหองขนาดประมาณ 26<br />

ตารางเมตร มีบันไดไมที่เชื่อมตอไปยังพื้นที่ชั้นสองชิดกับ<br />

ประตูทางเขาสรางความขัดแยงกับลําดับการเขาชมการ<br />

จัดแสดงงานที่เปนเชนนี้มีสาเหตุมาจากเดิมหองดังกลาว<br />

มีตําแหนงอยูดานหลังของอาคารแตไดมีการปรับเปลี่ยน<br />

ตําแหนงหนา-หลังอาคารใหมใหเหมาะสมและสอดคลอง<br />

กับการเขาถึงสถานที่และบริบทที่ตั้ง ทําใหในปจจุบันหอง<br />

94 <strong>ASA</strong> CONSERVATION วารสารอาษา


Flowers are natural creations whose beauty and<br />

attributes are adored and used in various human creations<br />

and, beyond their physical attraction, the significance of<br />

flowers are closely related to our way of life, a notion that<br />

has been reflected through their presence in different<br />

human cultures across time. There is a place in Bangkok,<br />

an ancient traditional Thai residence with a verdant garden<br />

that houses the ‘Museum of Floral Culture,’ where stories<br />

of flowers are comprised and beautifully told.<br />

The Museum of Floral Culture is located on an<br />

approximately 400 square-meter piece of land in Soi<br />

Ongkarak 13, Samsen Road, Dusit District of Bangkok.<br />

Surrounded by a quiet residential neighborhood where<br />

the old and the new ways of life coexist, the museum<br />

was founded by Sakul Intakul, an internationally renowned<br />

floral artist. First opened to the public on August 12 th ,<br />

2012 during celebrations for the Auspicious Occasion<br />

of Her Majesty the Queen's 80 th Birthday, the museum’s<br />

aim is to share and pass on information, stories and<br />

objects related to Thai floral culture to the general public.<br />

The museum building is a century old, two-story<br />

antique teak wooden Thai house with an approximate<br />

functional space of 155 square meters. Suwapark<br />

Suwarujiporn is the owner of the space who also oversaw<br />

the renovation to accommodate the current activities<br />

and spatial context of the building. The ground floor of<br />

the house is divided into 5 exhibition rooms including the<br />

Dusit Gallery, a 26 square-meter room with a wooden<br />

staircase that links the area to the second floor of the<br />

house. Such spatial connectivity led to a fairly confusing<br />

circulation regarding the order of the exhibition rooms,<br />

the main reason being that the Dusit Gallery was originally<br />

situated at the rear of the house, but once the house’s<br />

plan was readjusted for better accessibility and the context<br />

of the location, the back of the house became the front<br />

and consequentially relocated the Dusit Gallery to the<br />

OWNER<br />

Sakul Intakul<br />

LOCATION<br />

Dusit, Bangkok<br />

DURATION<br />

2011- 2012<br />

CONTRACTOR<br />

Suwapark Suwarujiporn<br />

AREA<br />

1,800 sq.m.<br />

01 อาคารไมสักโบราณ 2 ชั้น<br />

ตั้งแตยุคสมัยรัชกาลที่ 6 ที่<br />

แสดงถึงสถาปตยกรรมรูปแบบ<br />

โคโรเนียล<br />

02 บริเวณศาลาไทยเกาที่ใช<br />

ในการสอนการจัดดอกไมและ<br />

สระนํ้าที่สรางขึ้นใหมชวยสราง<br />

บรรยากาศภายในพื้นที่ใหมีชีวิต<br />

ชีวามากขึ้น<br />

front side of the building. The gallery exhibits old photographs<br />

of flowers, the way of life and architecture of<br />

the Dusit District. The World of Floral Culture is the name<br />

of the second gallery, with an approximate size that is<br />

equal to the first and exhibitions featuring prominent<br />

floral cultures from around the world, particularly Asia,<br />

including several ancient documents such as the secret<br />

book of Ikenobo’s Shoga Floral Arrangement, a 256-<br />

year-old Japanese folding book. The third room, named<br />

‘The Church of Flowers,’ is the smallest of all, comprising<br />

only some 11 square meters of space and reflecting<br />

an opposition to the government’s permission to cut<br />

down trees in forests through promotion of the preservation<br />

of the locals’ way of life and their unique floral<br />

cultures. The space also features a connection between<br />

the forest, water, community and people by simulating<br />

Pu Soun Sai National Park and the Church of Sri Oh Chai<br />

Temple in Loei province. The fourth and fifth rooms are<br />

joined together into a 62 square meter exhibition space<br />

chronicling Thai floral culture from past to present with<br />

traditional floral creations such as garland, flower chan<br />

deliers, and other traditional floral arrangements. The<br />

original windows and doors of the room provide visual<br />

access to the garden outside with a terrace clad in magni<br />

ficent antique tiles linking the building’s interior and<br />

exterior together.<br />

The area located on the upper floor is divided into<br />

two functional spaces with two rooms being used as<br />

an office area and the other two serving as an additional<br />

exhibition area under the name ‘The Pen and Pencils<br />

Gallery’ that showcases Sakul’s drawings from past to<br />

present. Among them, there is one distinctive piece<br />

he created for the royal reception on King Bhumibol’s<br />

60 th anniversary of accession to the throne in 2006.<br />

The seventh room, or ‘The Heart of Modern Floral<br />

Arrangements,’ is under renovation and will be used as<br />

02<br />

วารสารอาษา<br />

CONSERVATION <strong>ASA</strong> 95


ดังกลาวจึงกลายเปนดานหนาของอาคารโดยปริยายโดย<br />

หองนี้จัดแสดงภาพถายโบราณของงานดอกไมไทยที่มีมา<br />

ตั้งแตอดีตรวมถึงภาพถายโบราณของวิถีชีวิตผูคนและ<br />

งานสถาปตยกรรมในอดีตของเขตดุสิต หองที่ 2 ‘หอง<br />

โลกแหงวัฒนธรรมดอกไม’ มีขนาดใกลเคียงกันกับหอง<br />

แรกจัดแสดงงานวัฒนธรรมดอกไมที่สําคัญจากทั่วโลก<br />

มุงเนนที่ทวีปเอเชีย และแสดงเอกสารโบราณที่สําคัญ<br />

มากมาย อาทิ คัมภีรลับการจัดดอกไมแบบโชกะของ<br />

อิเคโนโบะหนังสือมวนโบราณของญี่ปุนอายุ 256 ป<br />

เปนตน ในหองนี้จึงมีการติดเครื่องปรับอากาศเพื่อชวย<br />

รักษาวัตถุที่นํามาจัดแสดง หองที่ 3 มีขนาดเล็กที่สุด<br />

ในบรรดาหองจัดนิทรรศการทั้งหมด คือมีขนาดประมาณ<br />

11 ตารางเมตร ชื่อ ‘หองอุโบสถแหงดอกไม’ ไดรับ<br />

แรงบันดาลใจจากการตอตานการใหสัมปทานตัดไม<br />

ของรัฐและการรวมพลังการอนุรักษวิถีชีวิตชุมชนใหอยู<br />

โดยชาวชุมชนรวมถึงมีวัฒนธรรมดอกไมที่มีเอกลักษณ<br />

เปนของตัวเอง จัดแสดงเรื่องเลาสายสัมพันธระหวาง<br />

ปาไม สายนํ้า ชุมชน และผูคน โดยเปนลักษณะจําลอง<br />

อุทยานแหงชาติภูสวนทรายและอุโบสถวัดศรีโพธิ์ชัย<br />

จังหวัดเลย มาอยูในพื้นที่ หองที่ 4 และหองที่ 5 มี<br />

ลักษณะเปน 2 หองเชื่อมตอทะลุถึงกันได คือ ‘หองหอ<br />

มรดกวัฒนธรรมดอกไม’ ขนาดประมาณ 62 ตารางเมตร<br />

นําเสนอเรื่องราวของมรดกทางวัฒนธรรมของดอกไม<br />

ที่เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของคนไทยมาตั้งแตอดีต เชน<br />

งานมาลัย งานเครื่องแขวน งานพานดอกไม งานบายศรี<br />

งานใบตอง เปนตน หองนี้มีหนาตางและประตู ซึ่งเดิม<br />

เคยเปนทางเขาหลักของอาคารเปดใหเห็นสวนภายนอก<br />

และมีชานปูพื้นดวยกระเบื้องเกาลวดลายงดงาม เปน<br />

สิ่งที่เชื่อมพื้นที่ภายในและภายนอกของอาคารเขาดวยกัน<br />

ในสวนอาคารชั้นบนแบงพื้นที่ใชสอยหลักเปนสวนทํางาน<br />

2 หองและสวนจัดแสดงนิทรรศการ 2 หอง แบงเปน<br />

หองที่ 6 ‘หองปากกาและดินสอ’ จัดแสดงภาพรางใน<br />

อดีตบางสวนของสกุล มีงานแสดงชิ้นสําคัญคือ ภาพราง<br />

ของงานตกแตงดอกไมสดสําหรับงานพระราชทานเลี้ยง<br />

ในพระบรมมหาราชวัง เมื่อครั้งฉลองครองสิริราชสมบัติ<br />

ครบ 60 ป พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ป พ.ศ. 2549<br />

และหองที่ 7 ‘หองหัวใจแหงงานจัดดอกไมสมัยใหม’<br />

หองนี้อยูในระหวางดําเนินการปรับปรุง เพื่อจัดแสดง<br />

ปฐมบททั้ง 9 แหงงานดอกไมสมัยใหมที่คุณสกุลคิดคน<br />

ขึ้น นอกจากนั้นยังมีการใชสอยพื้นที่อื่นๆ อีกคือ มีการ<br />

ใชพื้นที่ระเบียงไมของอาคารชั้นลางเปดเปนรานเล็กๆ<br />

ขายขนมหวานไทยและเครื่องดื่มประเภทชาและกาแฟ<br />

สวนภายนอกอาคารยังมีพื้นที่ที่แสดงงานที่เรียกวา<br />

‘Living Exhibition’ หอจัดแสดงงานมีชีวิตประกอบไป<br />

ดวยสวนที่เต็มไปดวยพรรณไมไทยทั้งไมดอกและไม<br />

ประดับ โดยมีแนวคิดการปลูกชนิดตนไมในตําแหนง<br />

ที่สอดคลองกับทิศความเชื่อไทยโบราณทําใหกลาย<br />

เปนพื้นที่แสดงงานกลางแจงที่นาสนใจไมนอย และยัง<br />

มีศาลาไทย สระนํ้า และลานขยาดยอมไวสําหรับทํา<br />

กิจกรรมตางๆ ที่จัดขึ้นในโครงการ<br />

03 หองจัดแสดงวัฒนธรรม<br />

ดอกไมในประเทศตางๆ ที่มีการ<br />

ติดตั้งเครื่องปรับอากาศเพื่อ<br />

ชวยรักษาวัตถุที่นํามาจัดแสดง<br />

<strong>04</strong> ผลงานสวนหนึ่งที่จัดแสดง<br />

ในพิพิธภัณฑ เนนใหเห็นถึง<br />

วัฒนธรรมไทยและเอเชีย<br />

05 ผลงานสรางสรรคการจัด<br />

ดอกไมแบบญี่ปุน ที่สะทอนถึง<br />

บริบทและวัฒนธรรมไดอยาง<br />

นาสนใจ<br />

พิพิธภัณฑวัฒนธรรมดอกไมนอกจากจะกลายเปน<br />

สถานที่แสดงเรื่องราวความสําคัญวัฒนธรรมดอกไมแลว<br />

ยังสะทอนใหเห็นถึงคุณคาทางสถาปตยกรรมของกรุงเทพฯ<br />

ในอดีต แสดงถึงเอกลักษณสําคัญของอาคารในยุคสมัย<br />

รัชกาลที่ 6 ที่มีการแพรขยายของสถาปตยกรรมรูปแบบ<br />

โคโลเนียล (Colonial style) หรือ ‘สถาปตยกรรมอาณา-<br />

นิคม’ มีความสําคัญ คือ การนําเอาสถาปตยกรรมของ<br />

ประเทศแมไปกอสรางในดินแดนอาณานิคมแลวจึงคอย<br />

ปรับรูปแบบสู ลักษณะที่สอดคลองกับความเปนอยูตาม<br />

สภาพอากาศในแตละพื้นถิ่น ถึงแมวาประเทศไทยจะไม<br />

ไดเปนประเทศอาณานิคมแตก็ไดรับอิทธิพลจากการเขา<br />

มาของชนชาติตะวันตก จึงปรากฏอาคารที่มีความผสม-<br />

ผสานทางวัฒนธรรมดวยลักษณะของอาคารที่เปนบาน<br />

ไม 2 ชั้น มีหองใตหลังคาตอเนื่องขึ้นไปจากชั้นที่ 2<br />

เพิ่มความโดดเดนใหกับตัวอาคารแตในปจจุบันไมมี<br />

THE MUSEUM’S AIM IS TO SHARE<br />

AND PASS ON INFORMATION,<br />

STORIES AND OBJECTS RELATED<br />

TO THAI FLORAL CULTURE TO<br />

THE GENERAL PUBLIC.<br />

03<br />

96 <strong>ASA</strong> CONSERVATION วารสารอาษา


<strong>04</strong><br />

05<br />

an area where the prologue of Sakul’s nine floral arrange<br />

ments can be exhibited. Other functional areas include<br />

a little café located on the ground floor terrace selling<br />

tea, coffee and Thai desserts to visitors as well as an<br />

outdoor exhibition space named ‘Living Exhibition,’ which<br />

features a verdant garden filled with Thai flowers and<br />

plants. The garden is designed under the traditional Thai<br />

belief that different types of tress and flowers should be<br />

planted at specific orientations and directions. The<br />

museum also makes place for a traditional Thai pavilion,<br />

a pool and a courtyard for activities to be held.<br />

The Museum of Floral Culture has not only become<br />

a space where the stories of floral culture are depicted,<br />

but also reflects Bangkok’s valuable architectural history<br />

from the past. The building stands as a source of architectural<br />

memorabilia of the period during the reign of<br />

King Rama VI, when colonial style architecture was<br />

expanding its popularity. The presence of this kind of<br />

architecture reflects how western architecture was<br />

localized to suit the local climate and geography. Despite<br />

not being colonized, the western influence on Thailand<br />

can be seen through the merge of architectural compositions<br />

where two-story wooden houses often come<br />

with an attic that runs continually from the second floor<br />

area. Although adding an interesting characteristic to<br />

the building, these architectural elements and functional<br />

spaces are often left unused in the present time. The<br />

floor plan was designed to be in an almost symmetrical<br />

rectangular shape, with the ground floor elevated to<br />

approximately 80 centimeters. The wall of the elevated<br />

floor is a dense concrete wall with an opening at the<br />

top for ventilation, keeping the humidity from damaging<br />

the wooden flooring upstairs. The original main entrance<br />

was located right in the middle of the building and, with<br />

the readjustment of the building’s spatial functionalities,<br />

suits the new activities and context, the entrance now<br />

being used as the back door. The roof is clad in red kite<br />

tiles while the wide canopy is supported by a series of<br />

wooden columns preventing the area from both the sun<br />

and the rain. The ground floor of the building is almost<br />

entirely surrounded with terraces while the wooden wall<br />

is constructed with wood panels lined in a horizontal<br />

pattern. Painted in a pastel cream color, the warm tone of<br />

the walls creates a nice contrast against the dark green<br />

of the windows and doorframes. The windows and doors<br />

are made with traditional Thai carpentry details where<br />

both doors can be opened at the same time. The translucent<br />

glass opening is divided into small square units<br />

using wooden frames while the louvers are fixed above<br />

the doors and windows to enhance the ventilation and<br />

release the heat coming in from under the ceiling, the<br />

glass window set adding another layer of opening to<br />

the wooden windows. The staff described that such<br />

an arrangement has been present within the house since<br />

its construction, making the functionality of the interior<br />

space more convenient and practical. In addition, the<br />

main functional space inside of the building is connected<br />

with a series of doors, a feature which helps enhance<br />

accessibility and spatial flow. The building indeed reflects<br />

a combination of western and Thai architecture, resulting<br />

in an architectural beauty that answers perfectly to the<br />

Thai context and environment. Newly constructed functional<br />

spaces (restroom, kitchen and flower shop) go<br />

together well with the original condition and physicality<br />

of the building. These new architectural elements are<br />

connected to the building through the walkway by a<br />

polycarbonate roof that allows for a suitable amount of<br />

natural light to enter the space while the convenience of<br />

spatial functionality is amplified. The wall area welcomes<br />

the original presence of greenery present in front of<br />

the building while plenty of Thai plants are grown in<br />

the garden, keeping the space verdantly surrounded<br />

by trees and flowers. The pavilion at the back garden<br />

is a nice addition to the ambience featuring traditional<br />

carpentry details while the pool area keeps the space<br />

fresh and alive throughout the day.<br />

The alteration of functionalities of an ‘old house’ to<br />

the ‘Museum of Floral Culture’ is a form of architectural<br />

conservation where the original elements and uniqueness<br />

of the building are suitably preserved and reconfigured<br />

to suit new functionalities and activities. By learning to<br />

make the best use of the architecture’s existing potential<br />

through understanding rather than rebuilding and renovation,<br />

new functional demands are answered to and,<br />

with the right technology, the building compositions can<br />

be brilliantly adapted to serve the new, more contemporary<br />

way of life and context. Such an approach is not<br />

only valuable from the aspect of architectural conservation,<br />

but also reconnects people and history through new<br />

activities and the environment, causing the space to<br />

flourish through both unique art, flora and cultural values.<br />

วารสารอาษา<br />

CONSERVATION <strong>ASA</strong> 97


การใชสอยในพื้นที่ดังกลาว สวนผังของอาคารคอนขาง<br />

ไปทางสี่เหลี่ยมผืนผาและรูปทรงอาคารมีลักษณะเกือบ<br />

สมมาตร ชั้นลางยกพื้นสูงประมาณ 80 เซนติเมตร<br />

กอผนังปดทึบโดยมีการเจาะชองระบายอากาศบนผนังสวน<br />

ติดดินเพื่อชวยระบายความชื้นออกไปไมใหรบกวนสวน<br />

ที่เปนพื้นไมดานบน มีประตูทางเขาหลักเดิมอยูกึ่งกลาง<br />

อาคารซึ่งปจจุบันมีการปรับเปลี่ยนการใชงานสวนหนา-<br />

หลังอาคารตามกิจกรรมและบริบทพื้นที่ที่เปลี่ยนไปทําให<br />

ประตูทางเขาดังกลาวเปลี่ยนมาเปนประตูดานหลังอาคาร<br />

แทนหลังคาทรงปนหยามุงดวยกระเบื้องวาวสีแดง มีเสาไม<br />

เปนแนวรับชายคาคอนขางกวางสามารถปองกันแดดและ<br />

ฝนไดดี มีระเบียงบริเวณชั้นลางเกือบรอบอาคาร ผนัง<br />

อาคารยังคงเปนผนังไมตีแนวนอนทาสีครีมตัดกับสีเขียวแก<br />

ของวงกบและบานประตู-หนาตางที่ดานนอก สวนดานใน<br />

ของวงกบและบานประตู-หนาตางทาสีครีมเชนเดียวกับ<br />

สีภายในอาคารทําใหหองดูกวางและสวางใหความรูสึก<br />

อบอุน บานประตู-หนาตางมีลักษณะเปนบานลูกฟกไม<br />

สวนใหญเปนบานเปดคู มีชองแสงกระจกฝามีไมแบง<br />

ซอยกระจกเปนตารางและมีชองระบายเปนบานเกล็ด<br />

ไมติดตายอยูเหนือประตู-หนาตางทําใหลมสามารถผาน<br />

เขามาภายในหองชวยระบายความรอนใตฝาเพดาน<br />

ออกไป ทั้งนี้ในสวนของชุดหนาตางมีการติดตั้งหนาตาง<br />

บานกระจกเพิ่มซอนอยูดานในหนาตางบานลูกฟกซึ่ง<br />

จากการสอบถามเจาหนาที่พิพิธภัณฑ พบวามีการติดตั้ง<br />

มากอนหนาแลวซึ่งชุดหนาตางดังกลาวชวยใหมีการใชสอย<br />

พื้นที่ภายในอาคารไดดีขึ้น นอกจากนี้ ในสวนพื้นที่ใชสอย<br />

หลักภายในอาคารยังมีประตูเชื่อมตอถึงกันไดทุกหอง<br />

สามารถเขาถึงไดสะดวกและเกิดความตอเนื่องทางการ<br />

ใชสอย อาคารดังกลาวนับวาไดสะทอนถึงความผสมผสาน<br />

สถาปตยกรรมตะวันตกกับสถาปตยกรรมไทยเกิดเปน<br />

ความงดงามทางสถาปตยกรรมที่สามารถตอบสนองกับ<br />

สภาพแวดลอมไทยไดอยางลงตัว ทั้งนี้ยังมีสวนพื้นที่<br />

ใชสอยที่มีการกอสรางขึ้นใหมใหมีรูปแบบสอดคลองกับ<br />

อาคารเดิม ประกอบไปดวยหองนํ้า หองครัว และราน<br />

จัดดอกไม ซึ่งมีการเชื่อมตอกับอาคารเดิมดวยทางเดิน<br />

และหลังคาที่มุงดวยวัสดุโพลีคารโบเนตแบบใสเปนการ<br />

ชวยลดพลังงานโดยใชแสงจากธรรมชาติและยังเพิ่ม<br />

ความสะดวกในการใชพื้นที่ในสวนของผังบริเวณมีการคงไว<br />

ของตนไมใหญเดิมที่มีอยู ประกอบไปดวยตนกราง<br />

(ไทรชนิดหนึ่ง) และตนมะขาม ปลูกอยูบริเวณดานหนา<br />

ของอาคารในปจจุบัน และมีการสรางสวนปลูกตนไมไทย<br />

เพิ่มเติมอีกมากมายโดยถือสวนหนึ่งของพื้นที่จัดแสดง<br />

ทําใหบริเวณโดยรอบอาคารมีบรรยากาศที่รมรื่นไปดวย<br />

ไมใบและไมดอกมงคลนานาชนิด และเพิ่มเติมความ<br />

โดดเดนของสวนดานหลังดวยศาลาไทยหลังคาทรงจั่ว<br />

ที่มีการตกแตงหนาบันดวยการแกะสลักลวดลายอยาง<br />

งดงามและสระนํ้าที่สรางขึ้นใหมเพื่อสงเสริมสภาพ-<br />

แวดลอมใหมีชีวิตชีวามากขึ้น<br />

06 บานประตูวัดมีภาพเขียนเปน<br />

งานจัดดอกไม สะทอนถึงมรดก<br />

ทางวัฒนธรรมของดอกไมที่<br />

เกี่ยวเนื่องกับวิถีชีวิตของคนไทย<br />

มาตั้งแตอดีต<br />

ศศิกาญจน ศรีโสภณ<br />

รักและสนใจในเรื่องราวของ<br />

สถาปตยกรรม ชุมชน และสภาพ<br />

แวดลอม ปจจุบันเปนอาจารย<br />

ประจําคณะสถาปตยกรรมศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยรังสิต<br />

การปรับเปลี่ยนประโยชนใชสอยของอาคารจาก<br />

‘บานเกา’ สู ‘พิพิธภัณฑวัฒนธรรมดอกไม’ นับเปน<br />

รูปแบบการอนุรักษสถาปตยกรรมเกาที่สามารถรักษา<br />

ลักษณะและเอกลักษณของสถาปตยกรรมเดิมโดยมี<br />

ความสอดคลองกับการใชสอยพื้นที่หรือกิจกรรมใหมได<br />

อยางลงตัว การไมพยายามเพิ่มเติมสิ่งอื่นในงานสถาปตย-<br />

กรรมเพื่อตอบสนองความตองการใหมอยูตลอดเวลาแต<br />

เลือกที่จะเรียนรูการใชศักยภาพของสถาปตยกรรมอยาง<br />

มีความเขาใจและมีการปรับเปลี่ยนองคประกอบอาคาร<br />

อยางชาญฉลาดใหสอดคลองกับวิถีชีวิตและบริบทที่เปลี่ยน<br />

ไปดวยเทคโนโลยีที่เหมาะสม นอกจากจะเปนแนวทาง<br />

รักษาสถาปตยกรรมที่มีคุณคาแลวยังเปนการสรางความ<br />

เชื่อมโยงคนกับประวัติศาสตรผานกิจกรรมและสภาพ-<br />

แวดลอมที่เกิดขึ้นใหมไดอยางนาสนใจไมนอยทําใหสถานที่<br />

แหงนี้เต็มไปดวยคุณคาทางศิลปะและวัฒนธรรม<br />

06<br />

98 <strong>ASA</strong> CONSERVATION วารสารอาษา


<strong>ASA</strong> COMMITTEE<br />

ONE THING I FIND IMPORTANT IS HOW TO<br />

HELP THE GENERAL PUBLIC TO BETTER<br />

KNOW AND UNDERSTAND THE ROLE THAT<br />

ARCHITECTS PLAY... OUR ROLE ENCOMPASSES<br />

A VAST SCOPE OF RESPONSIBILITIES AND,<br />

IF THE GENERAL PUBLIC UNDERSTANDS THAT,<br />

WE CAN SERVE THEM BETTER.<br />

INTERVIEWING<br />

THE PRESIDENT<br />

80 YEARS AND WAYS FORWARD<br />

วารสารอาษาฉบับนี้ไดรวมพูดคุยกับคุณพิชัย วงศไวศยวรรณ<br />

นายกสมาคมฯ คนใหม เกี่ยวกับแนวทางการทํางาน การพัฒนา<br />

วิชาชีพและสมาคม รวมถึงกิจกรรมพิเศษตางๆ ในวาระครบรอบ<br />

80 ป ของสมาคมฯ<br />

วางแนวทางการทํางานในฐานะนายกสมาคมฯ<br />

ไวอยางไรบาง ?<br />

พิชัย วงศไวศยวรรณ : พอทํางานมาถึงอายุหนึ่งก็จะ<br />

เห็นปญหาในวิชาชีพเราบาง ถึงเวลาที่เราจะสามารถ<br />

สนับสนุน และชวยเหลือในวิชาชีพสถาปนิก ผมเองก็<br />

ชอบรวมกิจกรรมมาตั้งแตสมัยเรียน และสิบกวาปที่แลว<br />

ผมก็เขาสมาคมสถาปนิกฯ ตอนนั้นไดมีโอกาสมาชวย<br />

พี่ออด (คุณพิศิษฐ โรจนวานิช) ทานเปนนายกสมาคม<br />

สถาปนิกฯ ป 2543 ชวงนั้นผมไดเปนอุปนายกสมาคม<br />

ดานวิชาชีพใหทาน ซึ่งตอนนั้นรับชวงตอมาจากพี่ปุ<br />

(ชวพงศ ชํานิประศาสน) งานก็จะเปนอีกรูปแบบหนึ่ง<br />

จากชวงนั้นมาผมก็ชวยสมาคมฯ มาเปนระยะๆ แตก็<br />

100 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> COMMITTEE วารสารอาษา


ไมไดพักอยางเต็มตัว ลักษณะของงาน เชน ชวยงาน<br />

ประชุมอภิปรายในการแสดงความคิดเห็น ชวยงาน<br />

สถาปนิก และถูกเชิญเปนกรรมการ แตรวมๆ แลวก็ถึง<br />

เวลาที่ผมจะมาชวยอาสาประสานงานตอจากพี่ๆ ตอนที่<br />

เขามาเปนก็เห็นเหมือนกันวาขอบเขตของงานสมาคมฯ<br />

ขยายออกไปพอสมควรเทียบกับเมื่อสิบปที่แลว และก็มี<br />

เนื้องานที่เริ่มแตกตางออกไป มีความกวางขึ้น และมุม-<br />

มองใหมๆ เพิ่มเขามา แลวจุดสําคัญอันหนึ่งที่ผมพอจะ<br />

ชวยไดก็คือเรื่องของตางประเทศ ผมเองก็มีการทํางาน<br />

ในตางประเทศอยูบาง ดวยประสบการณสวนตัวเคย<br />

ทํางานที่เมืองนอก หรือออฟฟศที่บริษัทไปเปดที่ตะวัน-<br />

ออกกลาง การทํางานในตางประเทศในแตละบริษัทเรา<br />

ก็มีความคุนเคยกับตางชาติ รูวาแนวคิดวิธีการตางๆ<br />

เขาเปนอยางไร ซึ่งถาเราสามารถทํางานกับองคกรของ<br />

เขาได ก็จะเปนสวนชวยใหมีการเปลี่ยนแปลงขององคกร<br />

วิชาชีพสถาปนิกฯ ซึ่งในจังหวะหัวเลี้ยวหัวตอจะไดเขา<br />

ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนอยางราบรื่นดวย นอกจากนี้<br />

ทางสมาคมสถาปนิกฯ ไดเตรียมความพรอมใหกับ<br />

สถาปนิกไทยสามารถรับกับการเปดประเทศอาเซียนได<br />

ผมเคยใหสัมภาษณกับหนังสือวาเรื่องการเปด AEC<br />

เปนเรื่องทั้งรุกทั้งรับ เปนโอกาสที่จะขยายตลาดออกไป<br />

ในขณะเดียวกันแนนอนวามีมุมมองที่หลายๆ ทานเปน<br />

หวงเรื่องการเปดประเทศ เพราะประเทศเราถูกปดมา<br />

เปนเวลาหลายสิบป ฉะนั้นการที่เปดประเทศคนจึงหวง<br />

วาจะโดนแยงงาน จากนี้ตางชาติก็จะมาแยงงานเรา แต<br />

ถามองในมุมกลับก็คือ คนในประเทศจะมีโอกาสเขาไป<br />

ทํางานไดเปน 10 ประเทศ ซึ่งก็แปลวา ตลาดมันใหญขึ้น<br />

แตทั้งนี้ทั้งนั้นเราก็ตองแนใจวา มาตรฐานคุณภาพของ<br />

เราเปนสากล เราสามารถแขงขันได เพื่อการแขงขันผม<br />

ก็หวังวาในประสบการณที่ผมมีอยูบางจะสามารถชวย<br />

เรื่องพวกนี้ได นี่จึงเปนเหตุผลหนึ่งที่ผมตัดสินใจเขามา<br />

เปนนายกสมาคมสถาปนิกฯ แตพอเขามาก็จะเห็นวามี<br />

ประเด็นเยอะมาก ซึ่งนโยบายที่ผมวางไวเปนหลักๆ ก็<br />

เกี่ยวกับวิชาชีพ มาตรฐานตางๆ เชนเรื่องเกี่ยวกับการ<br />

ตอบสนองที่จะเปดเศรษฐกิจอาเซียน รวมถึงการตอตาน<br />

คอรรัปชั่นในบานเรา มันสะทอนใหเราเห็นวาปญหา<br />

คอรรัปชั่นเปนปญหาที่ฝงรากลึก ถาในฐานะสมาคมหรือ<br />

คนทํางานในดานนี้เริ่มผลักดันใหเห็นปญหา หาทางแก<br />

ปญหา อยางนอยๆ ก็เฉพาะที่เกี่ยวกับวิชาชีพของเรา<br />

และอีกเรื่องหนึ่งที่สําคัญก็เปนเรื่องตางประเทศที่ผูกกับ<br />

ตัวเราเรื่องวิชาชีพธุรกิจ<br />

ในสวนของการพัฒนาสมาคมฯ มีเรื่องใดบางที่<br />

มุงเนนเปนพิเศษ ?<br />

พิชัย : ผมคิดวาเปนเรื่องสําคัญที่ตัวสมาคมเองมี<br />

สํานักงานและมีเจาหนาที่เกือบ 20 คน ผมวาตรงนี้เปน<br />

ตัวจักรสําคัญในการขับเคลื่อนกิจกรรมหรือกิจการของ<br />

สมาคมใหเปนไปไดดวยดี เพราะคนเหลานี้มีทั้งที่เปน<br />

สถาปนิก มีทั้งที่เปนธุรการในหลายๆ ดาน ทางสมาคมเอง<br />

TEXT<br />

<strong>ASA</strong> Team<br />

PHOTOS<br />

Worarat Patumnakul<br />

THE PRESIDENT’S WORKING PHILOSOPHY.<br />

PICHAI WONGWAISAYAWAN : Reaching a certain<br />

point in my career, I’m starting to see problems in<br />

the practice and realized that it’s now time for me to<br />

do something to support and help the architectural<br />

profession. I have always, since back in my own school<br />

days, been a keen participant in student activities and I<br />

joined the association helping Pisit Rojanavanich when<br />

he was the president back in 2000. I was on the committee<br />

as the president in profession and I have been<br />

helping the association from time to time on different<br />

occasions but not under any official role or responsibility.<br />

Most of the time, I helped out by participating in conventions<br />

and meetings, helping with the Architects<br />

Expo and working as one of the committee members.<br />

I think it’s now time for me to continue the works<br />

that the former presidents have initiated. Since I’ve<br />

taken the job, I’ve seen how the scope of work of the<br />

association has expanded in comparison to 10 years<br />

ago and the contents and details are different as well.<br />

Everything has become more expansive and there are<br />

always new perspectives emerging. One key point of<br />

which I believe I can be of help is in relation to international<br />

affairs. I have done projects abroad and with my<br />

own personal experiences of working internationally,<br />

our firm opening offices in the Middle East and our<br />

projects in other foreign countries, we’re familiar with<br />

international collaborations. We know the process, the<br />

way of thinking and the working methods. If we Thai<br />

architects are able to work with international organizations,<br />

it will contribute a great deal to changes in the<br />

architectural profession, especially considering the fact<br />

that we are about to enter AEC; therefore, readiness<br />

in regards to such issue could make the transition<br />

more pleasant and not so much of a struggle. The<br />

association has been prepping Thai architects to be<br />

able to cope with the AEC professionally and I myself<br />

once gave an interview for a magazine about the AEC,<br />

describing how I see it as both a matter of offense<br />

and defense. It’s a chance for us to expand the market<br />

and, in the meantime, it’s worrisome for some people<br />

that the country will now be open after having been<br />

closed for decades. There are concerns over how this<br />

free market will allow for the international workforce<br />

to steal clients from our architects, but from the other<br />

side of the spectrum, we now have the opportunity to<br />

expand our work into our neighbor countries as well,<br />

allowing for the market to become so much larger.<br />

But having said that, we have to make sure that our<br />

standard is universal and our architects are able to<br />

compete with these new competitors. I do hope that<br />

my experiences can be used to help with this issue<br />

and this is one of the reasons I decided to take the<br />

job as the president but, now that I’m actually working<br />

for the association, there are many other issues that<br />

have to be dealt with as well. The main policies I have<br />

laid out so far involve the professional aspects and<br />

standards concerning the AEC and corruption, which is<br />

a deeply rooted dilemma in our country. The association<br />

and people who work in the industry should really<br />

force the issue of corruption to stand out at the fore-<br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE <strong>ASA</strong> 101


ใชระบบเลือกตั้งนายกสมาคมฯ มีวาระ 2 ป แลวรับ<br />

สมัครคนและก็แตงตั้งคนที่เปนผูบริหารสมาคมขึ้นมา<br />

ซึ่งมันก็เปนไปไดวากรรมการเหลานี้อาจจะเปนคนที่ไมเคย<br />

เขาสมาคมเลย จึงไมมีความตอเนื่องของนโยบายตางๆ<br />

ขณะเดียวกันการรับชวงตอจากนายกสมาคมทานเกามา<br />

ถึงยุคของผมเอง ผมก็เห็นวา นโยบายของเราบางอยาง<br />

มันสอดคลองและตอเนื่องกับนายกสมาคมฯ ทานเกา<br />

บางเรื่องก็เปนเรื่องใหมที่เราคิดอยากจะทํา ดังนั้นมันก็<br />

ตองเกิดความตอเนื่อง เจาหนาที่สมาคมเปนคนที่ตอง<br />

อยูตลอด คนเหลานี้มีความสําคัญเพราะถาเขาทํางาน<br />

อยางมีประสิทธิภาพสูง มีความเขาใจ เขาสามารถที่จะ<br />

ชวยใหกรรมการที่เขามาทานใหมๆ เกิดความตอเนื่อง<br />

ของเรื่องราวตางๆ ไดดี ฉะนั้นการปรับปรุงในสมาคม<br />

เองมีทั้งกายภาพในเชิงบุคลากรซึ่งจําเปนตองใหความ<br />

สําคัญ อยางเรื่องเล็กๆ ที่ใหญมากคือเรื่องระบบไอที<br />

ทางสมาคมมีขอมูลคนควาอยูเต็มไปหมดจึงตองมีระบบ<br />

การจัดเก็บขอมูลตางๆ อยางเปนระบบ ฉะนั้นการคนหา<br />

หรือการใชใหเปนประโยชนในอนาคตมันจะเกิดขึ้น การ<br />

เก็บขอมูลของทะเบียนสมาชิกก็สําคัญเชนกัน เรื่องนี้<br />

เปนเรื่องที่การพัฒนาทั้งบุคลากรทั้งทางกายภาพของ<br />

สมาคมก็มีสวนสําคัญ<br />

จากงานสถาปนิก 18 I 80 ที่ผานมาที่พยายาม<br />

สื่อสารเรื่องบทบาทของสถาปนิก มีความคิด<br />

เห็นอยางไรกับเรื่องนี้ ?<br />

พิชัย : จุดหนึ่งที่คิดวาสําคัญคือ ทําอยางไรใหสังคมใน<br />

วงกวางรูจักและเขาใจบทบาทของสถาปนิกที่ชัดเจนขึ้น<br />

ฉะนั้นถาเรารูวาเราทําอะไร รูวาเราเกงดานไหน อาจจะ<br />

ทําใหเราทํางานไดงายขึ้น อีกมุมหนึ่งก็คือเขาจะใชเราใน<br />

ทางที่ถูกกับความสามารถของเรา เพราะเขารูวาเราทํา<br />

อะไรใหเขาได ปจจุบันผมก็ยังรูสึกวาคนสวนใหญไม<br />

เขาใจวาสถาปนิกเปนใคร ผมรูสึกวาคนยังรูจักในระดับ<br />

ที่ยังไมดีพอ ตรงนี้เปนหนาที่สําคัญของสถาปนิกเอง<br />

ที่จะประชาสัมพันธใหคนเขาใจวา สถาปนิกไมใชแค<br />

ออกแบบบาน อะไรก็ออกแบบบานอยางเดียว มันเปน<br />

ประโยคที่สั้นเกินไป สถาปนิกเปนวิชาชีพที่สามารถชวย<br />

คนตอบสนองความตองการไดในการออกแบบบานหรือ<br />

อาคารใหเหมาะสมกับการใชงาน ความเขาใจในดาน<br />

ธุรกิจดวยเชนกัน ในการลงทุนที่เกี่ยวของกับอสังหา-<br />

ริมทรัพย ซึ่งจริงๆ แลวสถาปนิกมีความหลากหลายมาก<br />

ซึ่งถาคนทั่วไปเขาใจสถาปนิกไดดี สถาปนิกก็จะสามารถ<br />

ชวยคนอื่นไดดีขึ้น หรือการทํางานก็จะงายขึ้นเชนกัน<br />

ฉะนั้นบทบาทในการประชาสัมพันธเปนเรื่องสําคัญ และ<br />

เรามองวาปจจุบันตองใหชาวบานเขาใจวา สถาปนิก<br />

ไมไดมีไวตอบสนองนายทุนเทานั้น จริงๆ แลวสถาปนิก<br />

ทํางานใหประชาชนทุกระดับเพราะเราทํางานสาธารณะ<br />

อาคารสาธารณะก็เยอะนะครับ เดี๋ยวนี้มีระบบสถาปนิก<br />

ชุมชน การที่เราไปเกี่ยวของกับชุมชน เขาไปทํางาน<br />

รวมกับชาวบานทําใหเขารูวา ความตองการของเขาคือ<br />

front and actively find a solution to the problem, at the<br />

very least, consider the issues that concern our profession.<br />

Another important matter I wish to advocate<br />

is that of international affairs and how they are related<br />

to us, especially in relation to business aspects.<br />

WHAT ARE YOUR AREAS OF FOCUS IN REGARDS<br />

TO THE DEVELOPMENT OF THE ASSOCIATION?<br />

PW : I think it’s important for the association to have<br />

a proper office considering that we now have 20 staff<br />

working for us who are the key and driving force behind<br />

the association’s successful activities and operations.<br />

People who are working for the association are<br />

architects and administration officers. The association<br />

uses an election process to appoint the president and<br />

each president serves a two-year term in office while<br />

the members on the working committee and staff are<br />

appointed later. It is possible that the members of the<br />

committee have never had any access to the association’s<br />

work before, so it is understandable that there<br />

are certain disconnections regarding the implementation<br />

of policies. In the meantime, continuing the works<br />

of the former president, I see that there are connections<br />

between the matters that have been initiated<br />

and new policies that we are thinking about doing, so<br />

it is important for the staff to be on hand and maintain<br />

a sense of continuity. These people are very crucial<br />

because, with a high level of efficiency and comprehensive<br />

understanding of the association’s works and<br />

projects, they can help the new committee members<br />

a great deal in taking over the association’s missions.<br />

The development of the association has to be done in<br />

different aspects including things like managing the IT<br />

system as we have a massive database of information<br />

that needs to be systematically organized in order for<br />

future research, studies and usage to take place effectively.<br />

The membership system is also important as well.<br />

Human resources are therefore, in my opinion, one<br />

of the key factors that will lead to the development of<br />

the association itself.<br />

WHAT ARE YOUR OPINIONS ON ARCHITECTS’<br />

14’S ATTEMPT TO BRING ABOUT A DISCUSSION<br />

REGARDING THE ROLE OF ARCHITECTS?<br />

PW : One thing I find important is how to help the<br />

general public to better know and understand the role<br />

that architects play. So, if we know what we’re doing,<br />

and what we’re good at, that can make our jobs easier.<br />

People will use and call upon us to aid in what we’re<br />

trained for, because they will now know and truly<br />

understand what we are capable of doing. Even now,<br />

I still feel that most people don’t have a proper understanding<br />

of what architects do. They have certain ideas<br />

about who we are, but not at a satisfactory level. This<br />

is the architects’ job, to create a better understanding<br />

amongst the general public, informing people that an<br />

architect is not just someone who designs a house.<br />

That definition is way too succinct. An architect is a<br />

profession that can help people to meet their demands<br />

in both design and functionality of the places they live<br />

102 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> COMMITTEE วารสารอาษา


อะไร สถาปนิกไปชวยชาวบานคิดปรับปรุงพื้นที่ใชสอย<br />

การจัดการตางๆ ทางกายภาพใหมันดีขึ้นไดอยางไร นั้น<br />

คือบทบาทของสถาปนิกของคนในปจจุบันซึ่งจะเห็นไดวา<br />

ขอบเขตของสถาปนิกคอนขางกวางมาก<br />

เราตอบโจทยไดเยอะ เราทําอาคารทําไมเราตองพูดถึง<br />

universal design เพราะมันเปนเรื่องการใชงานของอาคาร<br />

ของคนทุกคน ทั้งคนแก เด็ก คนพิการ ความปลอดภัย<br />

อาคาร สถาปนิกตองรูตองเขาใจการออกแบบ ฉะนั้น<br />

การออกแบบไมใชวาเราออกแบบใหสวยอยางเดียว คน<br />

ที่ใชอาคารจะตองปลอดภัยดวย ดังนั้นสถาปนิกจะตอง<br />

เปนคนที่มีความรูที่กวางขวางพอสมควร และสถาปนิก<br />

ก็ตองสื่อใหสังคมทราบถึงบทบาทหนาที่ตางๆ เหลานี้<br />

ดวยเชนกัน<br />

โครงการที่เขาไปชวยเหลือประสบภัยจากเหตุ<br />

แผนดินไหวในจังหวัดเชียงราย ที่ทางสมาคม<br />

ไดเปนสวนหนึ่งที่เขาไปชวยเหลือ บทบาทของ<br />

สถาปนิกมีความสําคัญอยางไร ?<br />

พิชัย : อันนี้ก็เปนสวนหนึ่งของการพัฒนาสังคมในกรณี<br />

ที่เกิดภัยพิบัติแผนดินไหวมันเกี่ยวของโดยตรงกับวิชา-<br />

ชีพสถาปนิก และของวิศวกร เพราะเราดูแลเรื่องการ<br />

ออกแบบอาคาร วิศวกรดูแลเรื่องความปลอดภัยในการ<br />

สราง มันเปนเรื่องโดยตรงที่เราจะตองเขาไปชวยโดย<br />

บทบาทหนาที่แลวเราจะเห็นวามันไมใชแคโครงสราง<br />

อยางเดียว ถาเกิดจากสิ่งที่สถาปนิกออกแบบไว เชน<br />

ประตูพังลงมาทับคนบาดเจ็บ มันก็จะกลายเปนปญหา<br />

ฉะนั้นความเขาใจตรงนี้ ผมคิดวาการเขาไปชวยเพื่อให<br />

ชาวบานเขาใจดวยวา คนกลุมนี้คือสถาปนิก และคน<br />

กลุมนี้คือวิศวกร ซึ่งมีสวนโดยตรงกับเขา การใหชาวบาน<br />

เห็นวาบานที่พังลงมามันไมไดถูกออกแบบอยางถูกหลัก<br />

วิชาการหรือหลักที่มันควรจะเปน ซึ่งมันไมไดมีมาตรฐาน<br />

ที่เหมาะสม โดยเฉพาะอยางยิ่งตอนนี้โซนเชียงราย<br />

เชียงใหม หรือโซนบริเวณพื้นที่แผนดินไหว ซึ่งจําเปน<br />

ที่จะไดรับการออกแบบสามารถรองรับแรงที่เกิดจาก<br />

แผนดินไหวได มันก็มีเทคนิคที่เราสามารถแนะนําให<br />

ชาวบานเขาใจไดวา ไมใชคุณจะสรางบานโดยไมตอง<br />

ออกแบบ ไมตองคิด ไมตองคํานวณ ซึ่งตอไปควรจะ<br />

ตองมีขั้นตอนที่เหมาะสม อันนี้เปนสวนที่เรามีบทบาท<br />

หนาที่ที่จะตองทําโดยตรง ก็เปนโอกาสดีที่เราไดสื่อสาร<br />

ออกไปดวย<br />

กิจกรรมในวาระครบรอบ 80 ป ที่จะจัดขึ้นเปน<br />

พิเศษ มีอะไรบาง ?<br />

พิชัย : มีการตั้งกรรมการเฉพาะกิจขึ้นมาเพื่อดําเนิน<br />

การเรื่องนี้ ทางดานกิจกรรมพี่ปอง (พลเรือเอกฐนิธ<br />

กิตติอําพล) ไดตั้งโจทยไว 5 ขอ ขอแรกเปนเรื่องการ<br />

ศึกษา อันนี้เกี่ยวกับสมาคมคอนขางมาก ซึ่งจะศึกษา<br />

เรื่องที่ทําการของสมาคมทางดานกายภาพวา ณ ตอนนี้<br />

ที่ตั้งสมาคมมีขอดี ขอเสียอยางไร ในอนาคตเราควรจะ<br />

in and buildings they use. We also place a high regard<br />

on the business aspect as a part of our job considering<br />

our greater role in the real-estate development industry.<br />

Our role encompasses a vast scope of responsibilities<br />

and, if the general public understands that, we can<br />

serve them better. Our job will be easier and we can do<br />

it more effectively; therefore, the role of public relations<br />

is important as well. We need to make the public<br />

understand that architects do not work only to serve<br />

investors. We work in public projects and we have<br />

community architects who work closely with people<br />

in communities, helping them figure out what they<br />

want and how we can help to make such demands<br />

happen. With our knowledge and expertise, we work<br />

with people toward the improvement and development<br />

of functional spaces and spatial management of their<br />

homes and communities; that is one of our roles in<br />

the modern-day society and it encompasses such a<br />

vast territory. We are able to answer to a great variety<br />

of demands. When you design a building, why is there<br />

a need to talk about universal design? Because it involves<br />

every group of users ranging from old people and<br />

children to the handicapped and includes other factors<br />

such as safety issues. Architects have to understand<br />

universal design and that it is not just about aesthetic<br />

beauty but also considers issues of safety. Architects<br />

have to possess a wide range of knowledge and it<br />

is our job to inform the public about these roles and<br />

duties as well.<br />

HAVING PARTICIPATED IN THE EARTHQUAKE<br />

RELIEF PROJECT IN CHIANG RAI, WHAT IS THE<br />

ROLE OF THE ASSOCIATION AND ARCHITECTS<br />

DURING A TIME OF CRISIS SUCH AS THIS?<br />

PW : That is also a part of the social development<br />

policy. Such a time of crisis is directly involved with the<br />

architectural and engineering profession because our<br />

works deal with building design while the engineers<br />

oversee the safety of construction. It’s an obligation<br />

for us to help. If you look at the role of architects, it’s<br />

not just about designing structures, because certain<br />

additional instances of damage can be the results of<br />

what architects have created, say a door crashing down<br />

and hurting someone. That’s the problem. So us being<br />

there helped the locals to understand how the roles of<br />

architects and engineers are related to them and their<br />

lives directly, informing people that the fact that their<br />

homes failed to meet building design and construction<br />

standards consequentially resulted in devastating<br />

damage. Chiang Rai and Chiang Mai are sensitive<br />

areas for earthquakes, and it is necessary that buildings<br />

in these areas be earthquake-resistant in both design<br />

and construction. There are certain techniques we have<br />

instructed the locals about in regards to the importance<br />

of a building’s structural design and calculations. From<br />

now on, proper procedures and measures have to be<br />

put into use. This is directly involved with the role and<br />

responsibilities of architects. Having participated in this<br />

project was also a great chance for us to inform and provide<br />

the public with useful information and knowledge.<br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE <strong>ASA</strong> 103


ขยับขยายหรือไม ตองสรางสมาคมใหมไหม จะยาย<br />

ตําแหนงสมาคมรึเปลา นี้ก็เปนเรื่องหนึ่งที่มีการศึกษา<br />

วิเคราะหมาวา ถาตอไปสมาคมสามารถจัดการเปน<br />

เจาของอาคารเอง มีพื้นที่หรือพื้นที่เชา เพื่อใหสมาคม<br />

มีรายไดขึ้นมาและสามารถอยูไดอยางยั่งยืน จึงเปน<br />

แนวคิดอันหนึ่งที่มีการศึกษาขึ้น เรื่องที่สองเกี่ยวกับงาน<br />

เลี้ยงครบรอบ 80 ป ก็จะจัดวันที่ 18 สิงหาคม 25<strong>57</strong><br />

เปนสวนหนึ่งของงานนิทรรศการ 80 ปสมาคมฯ ที่<br />

หอศิลปกรุงเทพฯ แนวคิดของงานก็คือจะมีการเชิดชู<br />

สถาปนิก ศิลปนแหงชาติซึ่งปจจุบันมีอยู 17 ทาน และ<br />

จะเชิดชู ดร.นิจ หิญชีระนันทน ทานเปนผูใหญเกาแก<br />

ในวงการและสรางผลงานดีๆ ไวกับสังคมมากมายจึงจะ<br />

เชิดชูทานเปนพิเศษ นอกจากนี้ก็จะมีนิทรรศการทั้งป<br />

จะดําเนินไปเกี่ยวกับศิลปนแหงชาติทั้ง 17 ทาน วาแตละ<br />

ทานทําอะไรไวบาง แตละทานมีมุมมองแตละดานอยางไร<br />

เรื่องที่สามคือทําถวายในหลวง จะไปชวยสรางที่โรงเรียน<br />

ประชานุเคราะห 47 อําเภอหัวหิน ตั้งใจวาจะสรางอาคาร<br />

ถวายพระองคในโอกาสครบรอบ 80 ป ซึ่งตอนนี้มีการ<br />

จัดทีมรางแบบเชิญสถาปนิกเขามาทํางานดวยกัน โดย<br />

พี่ปุย (สมิตร โอบายะวาทย) อดีตนายกสมาคมฯ เปน<br />

แกนนําเรื่องนี้ แนวคิดการออกแบบจะเปนตลาดแสดง<br />

สินคา ผลิตภัณฑของนักเรียน ซึ่งที่นั้นมีระบบการเรียน<br />

การสอนทางดาน ทําไร ทําสวน เลี้ยงสัตว เลี้ยงฟารม<br />

โคนม เปนตน จุดประสงคหลักของในหลวงทานคือ<br />

ตองการใหนักเรียนไดโภชนาการที่ครบสมบูรณ เรียน<br />

จบนักเรียนสามารถที่จะไปทําฟารม ทําอะไรตางๆ ได<br />

จากการปลูกสามารถบริโภคแตละสวน สวนที่เหลือ<br />

สามารถเอาไปขายได ลักษณะคลายๆ ตลาดเกษตรที่<br />

โรงเรียน เรื่องที่สี่เปนเรื่องหนังสือที่ระลึก อันนี้คุณสุพินท<br />

เรียนศรีวิไล เปนประธานรวบรวมประวัติสถาปนิก<br />

สมาคมสยาม และก็พูดถึงเรื่องกิจกรรมสําคัญๆ ที่สมาคม<br />

ไดทําทั้งกับสมาชิกเองและตอสังคม เนื้อหาจะเนนชวง<br />

10 ปที่ผานมา เรื่องสุดทายคือเรื่องสถาปนิกดีเดน ซึ่ง<br />

คัดเลือกโดยคณะกรรมการมีคุณนิธิ สถาปตานนท เปน<br />

ประธาน<br />

มีเกณฑการคัดเลือกสถาปนิกดีเดนอยางไร ?<br />

พิชัย : กรรมการจะเปนอดีตนายกสมาคมประมาณ<br />

7-8 ทาน แบงออกเปนดานวิชาชีพ ดานวิชาการ แลวก็<br />

ดานงานราชการ พยายามมองใหครบถึงสถาปนิกที่ไป<br />

ทํางานอยูในวงการวิชาชีพสาธารณะชน งานเพื่อสังคม<br />

และศิลปะวัฒนธรรม ซึ่งในปนี้เรามีอยูดวยกัน 5 กลุม<br />

ไดแก 1. สถาปนิกที่ประสบความสําเร็จในงานดานวิชาชีพ<br />

2. สถาปนิกที่ประสบความสําเร็จในงานดานวิชาการ 3.<br />

สถาปนิกที่มีประสบความสําเร็จในงานราชการและ<br />

หนวยงานรัฐ 4. สถาปนิกที่มีคุณูปการตอวงการวิชาชีพ<br />

และสาธารณชน ดานสังคมและวัฒนธรรม 5. สถาปนิก<br />

ที่มีคุณูปการตอวิชาชีพสถาปตยกรรมและองคกรวิชาชีพ<br />

ที่เกี่ยวของ<br />

WHAT WILL BE SOME OF THE SPECIAL ACTIVITIES<br />

HELD AS A PART OF THE ASSOCIATION’S 80 TH<br />

ANNIVERSARY CELEBRATION?<br />

PW : A special working committee has been appointed<br />

to oversee this matter. Admiral Thanit Kittiampon set<br />

out five missions. The first one requires a great deal of<br />

the association’s participation for it’s a study about the<br />

location of the association and the future possibilities<br />

for new changes such as expansion or relocation. This<br />

issue has been discussed for some time regarding the<br />

possibility of the association having its own building<br />

and spaces that can be rented out to generate sustainable<br />

income. This is just one of the concepts that has<br />

been looked at. The next mission is the 80 th anniversary<br />

reception that will be held on August 18 th 2014 as a<br />

part of the 80 th Anniversary exhibition organized at the<br />

Bangkok Art and Culture Centre. The concept of the<br />

event is to honor the 17 National Artists in Architecture,<br />

especially Dr.Nij Hiyachiranan, a prominent figure in<br />

Thailand’s architectural community who has created<br />

many monumental works. There will be exhibitions<br />

held throughout the year regarding the 17 architectural<br />

laureates, their works and points of view. There is also<br />

an activity we will be holding in honor of His Majesty<br />

the King, which is the building of Prachanukhro 47<br />

School in Hua Hin. It’s a great project to celebrate the<br />

80 th anniversary of the association and we are currently<br />

in the process of writing up a proposal inviting architects<br />

to participate. Smith Obayawat, the former president<br />

will be leading the project. The design concept is<br />

basically a market where students’ products, created<br />

through the school’s curriculum which includes agricultural<br />

and dairy farming studies, will be sold. The<br />

main purpose for H.M. the King to initiate this curriculum<br />

is for the students to have access to healthy<br />

nutrition and, after they graduate, they can use this<br />

knowledge to begin a career in farming or agriculture.<br />

Furthermore, the excess products from the school’s<br />

farm can be sold to generate extra income through a<br />

process very much like a school farmer’s market. The<br />

fourth mission is the making of a memorial book with<br />

Supin Riansrivilai serving as the president of the working<br />

committee accumulating the history and important<br />

activities the association has achieved with its members<br />

and the public. The content will focus on the past<br />

decade of the association’s works. The last mission<br />

is the selection of outstanding architects with Nithi<br />

Sathapitanon serving as the president of the judging<br />

committee.<br />

1<strong>04</strong> <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> COMMITTEE วารสารอาษา


เรื่องที่อยากฝากถึงสถาปนิก<br />

พิชัย : หลักๆ เรื่องที่อยากจะฝากเบื้องตนเลยคือ<br />

ปญหาของคอรรัปชั่นตางๆ ฉะนั้นในฐานะสถาปนิก เรื่อง<br />

ความซื่อตรงตออาชีพ ความเปนมืออาชีพถือเปนเรื่อง<br />

สําคัญที่เราควรจะยึดถือจรรยาบรรณ การไมรับสินบน<br />

ความตรงไปตรงมา ทั้งตอตัวเราและเพื่อนรวมอาชีพ<br />

ซึ่งผมมองวาจะชวยใหสังคมเราดีขึ้นไดในขั้นพื้นฐาน<br />

ซึ่งเปนเรื่องสําคัญมากถาพวกเราเคารพซึ่งกันและกัน<br />

ก็ไมควรทํา สําหรับผมเราตองเอาใจใส ตองมอง ตอง<br />

คิดถึงคนอื่นในการทํางานดวย ถาสมมติวาเราทํางาน<br />

ออกแบบใหลูกคา เราไมควรคิดเฉพาะประโยชนของ<br />

ลูกคาคนเดียว เราตองคํานึงถึงสิ่งแวดลอม ผลที่มันจะ<br />

เกิดขึ้น ผลกระทบกับคนที่อยูในบริเวณนั้น เพราะการที่<br />

เราเปนสถาปนิก เราควรจะมีวิจารณญาณที่จะสามารถ<br />

มองเห็นภาพคอนขางครบในทุกมิติ มันไมใชแคสามมิติ<br />

ในเชิงกายภาพ แตในเชิงความคิด ความเขาใจตางๆ ทั้ง<br />

สังคมและวัฒนธรรม เพราะฉะนั้นงานของเราจริงๆ แลวมี<br />

ผลกระทบตอเนื่องทั้งหลายๆ ดาน บางครั้งอาจจะมากกวา<br />

ที่เราคิดก็เปนได หลักๆ พวกนี้ก็คือสิ่งที่อยากฝากเอาไว<br />

เพราะมันตอบคําถามวาสถาปนิกเปนใคร เราไมใชแค<br />

คนรางแบบฟอรมเทานั้น เพราะวาสิ่งที่เราทํามันมีผลตอ<br />

คนอื่นที่ใชอาคาร มีผลกระทบตอสิ่งแวดลอม ถาเราจะ<br />

เปนสถาปนิกที่สมบูรณเราก็ควรจะเขาใจทั้งหมดนี้<br />

WHAT ARE THE QUALIFICATIONS AND STANDARDS<br />

USED IN THE SELECTION OF OUTSTANDING ARCHI-<br />

TECTS?<br />

PW : The judging panel will consist of seven to eight<br />

former presidents and we will be looking at three<br />

aspects: professional, academic and civil. We’re trying<br />

to cover a comprehensive scope of work that also encompasses<br />

public projects and social projects including<br />

art and culture. We have five categories this year: 1.<br />

Architect with outstanding professional success. 2.<br />

Architect with outstanding academic works. 3. Civil<br />

architect with outstanding professional performance.<br />

4 Architect with an outstanding contribution to the<br />

industry and public in art and culture and 5. Architects<br />

with an outstanding contribution to the architectural<br />

profession and other involved industries.<br />

ANY WORDS FOR YOUR FELLOW ARCHITECTS<br />

PW : Corruption is the main issue I want to emphasize.<br />

Professional integrity and responsibility, honesty and<br />

belief in professional ethics, opposition to bribery,<br />

righteousness toward both yourself and other architects,<br />

all of these can help to improve the society at a<br />

fundamental level. It’s very important that we uphold<br />

a certain level of respect for each other. I personally<br />

believe that you have to respect each other. To me, it’s<br />

important for you to be considerate toward others when<br />

you work. If you design a building for a client, you can’t<br />

just think about the benefit of your client alone, but<br />

you have to consider the impact your creation is going<br />

to have on the environment and the people in the area.<br />

Being an architect, you need to uphold common sense<br />

and maintain an ability to look at things from all dimensions,<br />

not just the three physical dimensions but conceptual<br />

aspects as well and with an understanding of<br />

the society and culture. The work that we do has the<br />

potential to impact many aspects and levels of the<br />

society and sometimes the impact goes far beyond<br />

what we may have expected. So mainly, these are the<br />

things I want to say to my fellow architects, things which<br />

answer to questions regarding our role and identity.<br />

We’re not just someone who draws up a form because<br />

what we do affects people who use the buildings we<br />

design and our creations can have a significant effect<br />

on the environment. And if you’re going to become a<br />

great architect, you should be able to understand all<br />

of that.<br />

WE’RE NOT JUST SOMEONE WHO<br />

DRAWS UP A FORM BECAUSE WHAT<br />

WE DO AFFECTS PEOPLE WHO USE<br />

THE BUILDINGS WE DESIGN AND OUR<br />

CREATIONS CAN HAVE A SIGNIFICANT<br />

EFFECT ON THE ENVIRONMENT.<br />

วารสารอาษา<br />

<strong>ASA</strong> COMMITTEE <strong>ASA</strong> 105


DETAILS<br />

SEAT<br />

SCULPTURE<br />

เนื่องดวยโครงการ Hyde Condominium ตั้งอยูใน<br />

ยานสุขุมวิทที่มีความหนาแนนและวุนวาย ตัวอาคาร<br />

จึงตองทําหนาที่สรางบรรยากาศใหสงบและผอนคลาย ซึ่ง<br />

นอกจากงานสถาปตยกรรมที่นาสนใจแลว ฉมาไดเขามา<br />

ทําหนาที่ออกแบบภูมิสถาปตยกรรมโดยโจทยของเจาของ<br />

โครงการคือตองการใหสรางบรรยากาศที่รูสึกเหมือนอยู<br />

กลางแจง แตดวยพื้นที่ที่สวนใหญอยูในอาคาร ทําใหเกิด<br />

แนวคิดในการออกแบบพื้นที่ลักษณะกึ่งภายในภายนอก<br />

จนกลายมาเปนแนวความคิดที่เรียกวา ถํ้ากลางเมือง<br />

(urban cave)<br />

จากแนวคิด ผูออกแบบไดนําธรรมชาติ แสงสวาง ลม<br />

นํ้า ตนไม เขามาแทรกตัวอยูในพื้นที่ตางๆ อยางเชน ล็อบบี้<br />

ทางเดิน และสระวายนํ้า เพื่อสรางใหเกิดสเปซที่นาสนใจ<br />

โดยไลเรียงลําดับเรื่องราวจากภายนอกสูภายใน จุดหนึ่งที่<br />

นาสนใจของโครงการนี้คือบริเวณทางเดินที่เชื่อมสวนล็อบบี้<br />

ทั้งสองสวน การเชื่อมตอสเปซจากภายนอกถึงภายในมา<br />

จากแนวความคิดหลักคือ ถํ้า ที่เปนเตัวกําหนดองคประกอบ<br />

ตางๆ เชน นํ้า หิน ประติมากรรมตางๆ โดยใชองคประกอบ<br />

เหลานี้มาจัดวางใหเกิดฟงกชั่นและแสงเงาที่สวยงามและ<br />

มีประโยชน เชน การจัดวางบอนํ้า ใหอยูติดกับดานภายนอก<br />

อาคาร เพื่อเปนตัวกระจายแสงธรรมชาติ สะทอนมาสูภายใน<br />

คลายแสงเงาของนํ้าภายในถํ้า กอนที่ถัดไปจะยกระดับของนํ้า<br />

สูงขึ้นเพื่อเปนที่นั่ง และยังคงคอนเซปของความเปนถํ้าดวย<br />

01-02 ทางเดินภายในโครงการ<br />

คาแร็คเตอรของหินงอกหินยอยตางๆ วัสดุที่ใชไดคํานึงถึง<br />

การที่เปนพื้นที่ใชงานสวนรวมและอยูภายนอก วัสดุปูพื้น<br />

และบอนํ้าจึงใชหินแกรนิตเปนหลักเพื่อใหมีความแข็งแรง<br />

และทนสภาพอากาศไดเปนอยางดี นอกจากนี้มีการเลือก<br />

ใชไม ในสวนที่เปนประติมากรรมเปนไมจริง (ตะเคียน)<br />

เพื่อใหไดผิวสัมผัสและสีที่เปนธรรมชาติที่หอยลงมา อีกทั้ง<br />

ยังทําใหสามารถใชงาน นั่งพักผอนได จึงไดคิดรายละเอียด<br />

ของโครงสรางโดยการเสริมเหล็กลงไปตรงกลางและใชไม<br />

ตะเคียนประกบ และมีการยึดไมแตละแถวเปนชุดๆ เพื่อ<br />

เพิ่มความแข็งแรงเขาดวยกันกอนจะพับไมหักไปมา โดย<br />

นํามาจากคาแร็คเตอรของหินยอย จากภาพรวมทั้งหมดนั้น<br />

ทําใหสเปซนั้นสงผลกระทบไปยังผูที่เดินเขา-ออกอาคาร<br />

กระตุนใหเกิดความรูสึกผอนคลายและใกลชิดธรรมชาติ<br />

มากขึ้นแมจะอยูในเมืองใหญก็ตาม<br />

01<br />

106 <strong>ASA</strong> DETAILS วารสารอาษา


1<br />

2<br />

SEAT SCULPTURE TYPITAL DETAIL<br />

1 Galvanized Steel Hollow<br />

Section 50X100x3.2 Mm. Thk.<br />

2 Hanging Wire And T-Bar Grid<br />

3 Chamfered 3 mm.<br />

4 5mm. water film thickness<br />

5 Finished: Polished<br />

6 Chamfered 3 mm.<br />

7 Finished: Sand Blasted<br />

8 Iron Wood<br />

9 Galvanized Steel T-Bar<br />

30X30x5mm. Thk. (X2)<br />

10 Galvanized Steel Rod<br />

6Mm. @0.30M. C/C<br />

11 Chamfered 3 Mm.<br />

6<br />

7<br />

3<br />

4<br />

5<br />

8<br />

9<br />

10<br />

11<br />

10 CM<br />

02<br />

Seeing as the site of the Hyde Condominium is on<br />

the always-crowded Sukhumvit road, the project itself<br />

needed to create a sense of serenity and tranquility<br />

adding some calm to the surroundings. Thus, the Shma<br />

company came up with an interesting concept called<br />

‘urban cave’ creating a mix between a semi-outdoor and<br />

indoor space within the building.<br />

The spaces are infused with natural light, wind,<br />

water and trees in sequence that gradually move from<br />

the outside in. Moreover, the beautiful and functional<br />

space found at the connection between the two lobbies<br />

seamlessly welcomes elements of water, stone and<br />

sculpture. Consideration to detail has clearly been given,<br />

for example in the way that the arrangement of the pond<br />

like water and the shadows reflected in the cave play off<br />

of the character of the stalactites used to design the<br />

adjacent sitting area. The materials were also carefully<br />

chosen to correspond to the space, creating a welcoming<br />

outdoor public area. Overall, people who pass through<br />

the space while moving in and out of the building are<br />

encouraged to take some time and relax, enveloped<br />

by a touch of nature that has found its way into the<br />

heart of the city.<br />

108 <strong>ASA</strong> DETAILS วารสารอาษา


MATERIALS<br />

WOOD-SKIN<br />

Wood-Skin ประกอบดวยชิ้นไมอัดเซาะรองติดประกบ<br />

กับแกนผาไนลอน เหมาะสําหรับทําเฟอรนิเจอร งานตกแตง<br />

ภายใน งานสถาปตยกรรมที่ไมรับนํ้าหนัก กรุผิวอาคาร<br />

และงานจัดแสดงตางๆ แนวเซาะรองนี้จะมีอยูทั่วพื้นผิว<br />

ทําใหวัสดุปดผิวทั้งผืนมีความออนตัวที่ขึ้นรูปได งายตอ<br />

การขนยายและติดตั้ง และรองของแผนวัสดุยังชวยเพิ่ม<br />

คุณสมบัติซับเสียงอีกดวย ขนาดมาตรฐาน 2,500x1,250<br />

มิลลิเมตร และ 3,050x1,525 มิลลิเมตร ความหนาตั้งแต<br />

5 ถึง 40 มิลลิเมตร สามารถสั่งทําขนาดพิเศษเพื่อการ<br />

ใชงานเฉพาะได รวมทั้งสามารถเลือกชนิดของไม ตลอดจน<br />

สียอมและสีเคลือบไดหลากหลาย<br />

wood-skin.com<br />

I-MESH<br />

เกิดจากผาที่ทอสานกันในหลายทิศทางจนเกิดเปนพื้นผิว<br />

เหมาะสําหรับใชกรุผนังระบายอากาศที่ผิวอาคาร ทําแผง<br />

กันแดด ผนังกั้นสวนภายในอาคาร เฟอรนิเจอร และอุปกรณ<br />

ตกแตง วัสดุนี้มีคุณสมบัติไมลามไฟ ชวยในการดูดซับเสียง<br />

และมีความเหนียวสูง สามารถใชทดแทนตาขายโลหะได<br />

โดยมีนํ้าหนักเบาและงายตอการขนสง ขนาดใหญที่สุดคือ<br />

5×15 เมตร มีโครงทอหลายลวดลายใหเลือกทั้งลายขัด<br />

ลายโคง หรือลายคลื่น สามารถกําหนดสีของผาไดโดยใชสี<br />

ของเสนใย สามารถผลิตตามสั่งไดทุกชิ้นและพัฒนาให<br />

เหมาะกับการใชงาน<br />

i-mesh.eu<br />

FLOOR TILES BY SNAIL POO<br />

วัสดุปูพื้นเนื้อนุม ผิวหยาบขรุขระที่ทําจากมูลหอยทาก<br />

สีตางๆ ซึ่งเกิดจากทดลองของนักออกแบบชาวดัตช Lieske<br />

Schreuder ที่ไดทดลองใหหอยทากกินกระดาษสีเขาไป<br />

(กระดาษมีโครงสรางเซลลเหมือนกับพืชที่หอยทากกินเปน<br />

อาหาร) หอยทากจะถูกเลี้ยงอยางเครงครัดโดยใหกระดาษ<br />

เซลลูโลสสีตางๆ เปนอาหารเพื่อใหถายออกมาเปนวัสดุที่<br />

ผิวหยาบและมีสีไมสมํ่าเสมอ โดยจะใชเวลา 5 วันในการ<br />

ผลิตมูลนํ้าหนัก 6 กรัม (0.2 ออนซ) สีของมูลที่ถายออก<br />

มาขึ้นอยูกับสีของกระดาษที่หอยทากกินเขาไป นําไปใส<br />

ในเครื่องเพื่อบด ผสม และอัดเปนแผนกระเบื้องแบบพื้นผิว<br />

หยาบในที่สุด สามารถกําหนดสีสันและขนาดของแผน<br />

วัสดุได<br />

lieskeschreuder.nl<br />

110 <strong>ASA</strong> UPDATE MATERIALS วารสารอาษา


PRODUCT<br />

NEWS<br />

บริษัท แสงทองผาใบ กันสาด จํากัด<br />

T : +662 569 1898<br />

F : +662 569 1897<br />

E : sales@sang-thong.com<br />

W : sang-thong.com<br />

02<br />

01<br />

FOLDING ARM<br />

AWNING<br />

กันสาดผาใบพับเก็บไดมาตรฐานนานชาติ โครงสราง<br />

แข็งแรง ทนทาน ติดตั้งงาย ปองกันแสงแดดและฝน<br />

ชวยใหสถานที่มีความรมเย็นไดตลอดเวลา ไมบดบัง<br />

ทัศนียภาพเพราะสามารถพับเก็บได ควบคุมการเปด<br />

ปด ของกันสาดไดทั้งระบบมือหมุนและมอเตอรไฟฟา<br />

พรอมรีโมท รูปแบบของผาใบสามารถเลือกไดตาม<br />

สไตลของบาน โรงแรม รีสอรท รานอาหาร และ<br />

อาคารตามความเหมาะสมและยังเสริมความสวยงาม<br />

ของอาคารสถานที่ใหดูดีไดดวย<br />

Ampelite Fibreglass (Thailand)<br />

Co.,Ltd. (Temporary Office)<br />

T : +662 175 2028<br />

F : +662 175 2017<br />

E : marketing@amplite.co.th<br />

W : ampelite.co.th<br />

BEST SELLER FULL<br />

HD TILES<br />

บริษัท สหโมเสคอุตสาหกรรม จํากัด (มหาชน) หรือ UMI<br />

ผูผลิตและจัดจําหนายกระเบื้องปูพื้น กระเบื้องบุผนัง ภายใต<br />

แบรนดดูราเกรส แนะนําสินคา Best Seller กระเบื้อง<br />

FULL HD ไซส 12”x12” Brooklyn (บรูคลิน) กระเบื้อง<br />

นวัตกรรมลวดลายหินออนธรรมชาติ ที่ใหความสมจริงใน<br />

ดานสีสันและผิวสัมผัส ใหความรูสึกเปนธรรมชาติสําหรับ<br />

ผนังในบาน ใหทุกมุมภายในบานเปนเสมือนพื้นที่พักผอน<br />

ชมตัวอยางไดที่รานคาวัสดุกอสรางชั้นนําและรานคาตัวแทน<br />

จําหนายทั่วประเทศ หรือ www.umi-tiles.com<br />

The Union mosaic Industry PCL<br />

T : +662 248 7007<br />

F : +662 248 7006<br />

E : duragres-pr@umi-tiles.com<br />

W : umi-tiles.com<br />

AMPELFLOW<br />

AmpelFlow จาก Ampelite กลองระบายอากาศสําเร็จรูป<br />

สําหรับโรงงานแบบใหมที่ออกแบบใหสามารถใชงานไดกับ<br />

หลังคาทุกประเภท ผลิตจากเหล็กเคลือบคุณภาพสูง AZ<br />

150 จาก BlueScope Steel มีคุณสมบัติแข็งแรงทนทาน<br />

ตอการกัดกรอน ชวยในการระบายอากาศรอนและความชื้น<br />

ชวยในการถายเทฝุนละอองออกภายนอกอาคารไดดีเพิ่ม<br />

การไหลเวียนของอากาศที่ทําใหภายในเกิดภาวะเย็นสบาย<br />

มากขึ้น<br />

03<br />

112 <strong>ASA</strong> PRODUCT NEWS วารสารอาษา


บริษัท อีลิทเดคอร จํากัด<br />

964 หมูที่ 4 ตําบลหัวทะเล อําเภอเมืองนครราชสีมา<br />

จังหวัดนครราชสีมา 30000<br />

T. +66 44327061 / +66 861465089<br />

F. +66 44327239<br />

E. buafoam@gmail.com<br />

www.e-d.co.th / www.buabau.com<br />

ELITE DECOR<br />

บริษัท อีลิทเดคอร จํากัด เปนผูผลิตรายแรกในประเทศไทยบัวตกแตงเปนสถาปตยกรรมภายนอก<br />

จากโฟม EPS โดยเทคโนโลยีใหมลาสุด เราผลิต คิ้วบัว บัวประตูหนาตาง เสาโรมัน แผนผนัง ฯลฯ<br />

สําหรับการติดตั้งภายนอกอาคาร ผลิตภัณฑของเรามีผิวคงทนและมีความยืดหยุนซึ่งปกปองโฟม<br />

EPS จากรังสียูวีและความแตกแยก การใชผลิตภัณฑของเราชวยใหคุณประหยัดเงินดวยการติด<br />

ตั้งงาย ใชทุนนอยในการติดตั้ง และชวยใหดูดี ดูเดน ใหดูเหมือนมีบานราคาแพง สําหรับบานของ<br />

คุณใหสอดคลองกับความฝนของคุณดวยผลิตภัณฑบัวเบา เพิ่ม ควํามโดดเดนของบานและอาคาร<br />

ดวยคิ้วบัวโฟมสําเร็จรูป ชุดเสา แผนประดับนูนต่ํา เพิ่มมิติใหบานสวยยิ่งขึ้น สามารถติดตั้งไดงาย<br />

รวดเร็ว ราคาประหยัด รูปแบบดีไซดที่หลากหลาย ทําใหคุณสามารถตกแตงบานไดตามสไตลที่<br />

ตองการนวัตกรรมสําหรับความสวยงามและทรงคุณคา ใหกับอาคารและสถานที่ เปนบัวที่ผลิตจาก<br />

โฟม EPS และใหความรูสึกเสมือนบัวหินจริง บัวโฟมยังชวยประหยัดพลังงานภายในบานและอาคาร<br />

ที่ใช เพราะเปนฉนวนกันความรอนดวยในตัว ประหยัดทั้งเวลาและคาใชจายในการติดตั้ง<br />

• เปนบัวชนิดเดียวที่เปนฉนวนกันความรอน<br />

• สําหรับใชภายนอก ทนทาน ทนแดด ทนฝน<br />

• ไมกอใหเกิดเชื้อรา<br />

• น้ําหนักเบาที่สุด ชวยลดน้ําหนักโครงสราง<br />

• เบากวาแข็งแรงกวา<br />

• พื้นผิวชิ้นงานเปนสวนผสมของแรธาตุบนฐานอะคลีลิกและสารเคลือบผิว จึงทําใหมีความสวย<br />

งามและความคงทน<br />

• โพลีเมอรที่ใชสําหรับสารเคลือบผิวเดียวกันปดรอยตอ เดียวกันดังนั้นจะไมมีรอยแตก<br />

• ฝาครอบมีความยืดหยุนชวยใหคุณติดตั้งบัวบนพื้นผิวที่นูนได<br />

• รูปทรงที่ถูกตองของผลิตภันฑผลิตดวยเครื่องจักรที่ทันสมัยทําใหไดรูปทรงที่ถูกตองสวยงาม<br />

ติดตั้งงายโดยใชปูนกาว ประหยัดคาใชจายกวา<br />

• ไมเปนอันตรายตอสุขภาพของมนุษยไมไดกอใหเกิดมลพิษตอสิ่งแวดลอมและชั้นโอโซน<br />

และไมเปนอันตรายตอสิ่งแวดลอม<br />

• นอกจากนั้นยังมีโฟมแผนชนิดไมลามไฟ<br />

• สามารถสั่งทําลวดลายและขนาดตามความตองการได<br />

• ยาวมาตรฐาน 2,4 เมตร<br />

• การรับประกันเกี่ยวกับผลิตภัณฑ<br />

(พื้นที่โฆษณา)


REVIEW<br />

A MARRIAGE OF<br />

ARCHITECTURE<br />

AND LANDSCAPE:<br />

OPENBOX<br />

ปจจุบันสถาปนิกและภูมิสถาปนิกมีโอกาสทํางาน<br />

รวมกันมาก แตสตูดิโอออกแบบโอเพนบอกซ (Openbox<br />

Architects - OPNBX) นาสนใจตรงที่เปนสํานักงาน<br />

ออกแบบที่ทํางานออกแบบทั้งสถาปตยกรรมและภูมิ-<br />

สถาปตยกรรมควบคูกันไปในบริษัทเดียว หนังสือภาพ<br />

รวมผลงาน A Marriage of Architecture and Landscape<br />

สะทอนแนวความคิดและความเชื่อของผูกอตั้ง<br />

บริษัท Openbox Architects คือ รติวัฒน สุวรรณไตรย<br />

(สถาปนิก) และ วรรณพร สุวรรณไตรย (ภูมิสถาปนิก)<br />

วาอาคาร บริบท และธรรมชาติ จะตองมีขั้นตอนการคิด<br />

ออกแบบ และตกผลึกไปพรอมๆ กัน เพื่อที่จะสามารถ<br />

ถายทอดแนวความคิดหลักของโครงการนั้นๆ ไดอยางมี<br />

ประสิทธิภาพ เนื้อหาภายในของหนังสือประกอบไปดวย<br />

ภาพผลงานของ Openbox Architects ที่ทําหนาที่เปน<br />

บทนําในการถายทอดแนวคิดหลักที่ทั้งคูใชในการทํางาน<br />

ผลงานออกแบบที่ถูกคัดเลือกมาลงในหนังสือเลมนี้<br />

TITLE<br />

A Marriage of Architecture<br />

and Landscape :<br />

Openbox<br />

WRITER<br />

OPENBOX ARCHITECTS<br />

PAGE<br />

55 pp.<br />

LANGUAGES<br />

English<br />

ISBN<br />

978-616-92083-0-3<br />

01 ตัวอยางภาพในหนังสือ A<br />

Marriage of Architecture<br />

and Landscape<br />

01<br />

114 <strong>ASA</strong> REVIEW วารสารอาษา


02 กลุมบานพักอาศัย THE<br />

CREEK-HILL TOP HOUSE<br />

ที่เขาใหญ<br />

03 U-HOUSE ที่พหลโยธิน 21<br />

<strong>04</strong> VANACHAI OFFICE<br />

วรรัตน ปทุมนากุล<br />

จบการศึกษาจาก INDA<br />

(International Program of<br />

Design and Architecture)<br />

Chulalongkorn University<br />

ปจจุบันเปนกองบรรณาธิการ<br />

ประจําวารสารอาษาและนิตยสาร<br />

art4d ควบคูกับการเปนชาง-<br />

ภาพอิสระ<br />

02<br />

03<br />

แสดงถึงความสัมพันธระหวางสถาปตยกรรม ภูมิสถา-<br />

ปตยกรรม และชีวิตของผูใชอาคารและผูอยูอาศัยได<br />

อยางนาสนใจ โดยใชวิธีแบงมุมตางๆ ของชีวิตออกเปน<br />

สามหัวขอ คือ LIFE = LIVE + WORK + PLAY ซึ่ง<br />

ผลงานประเภทบานพักอาศัย บานตากอากาศ จนถึง<br />

อาคารชุดพักอาศัยถูกจัดอยูในหมวด LIVE ของหนังสือ<br />

ตัวอยางเชน กลุมบานพักอาศัย The Creek ที่เขาใหญ<br />

ซึ่งลักษณะเดนของบานแตละหลังมีความแตกตางกัน<br />

ออกไปขึ้นอยูกับสภาพธรรมชาติของพื้นที่ตั้งของบาน<br />

แตละหลังโดยยังคงเอกลักษณเฉพาะตัวและไมไดถูก<br />

กลืนไปกับธรรมชาติโดยรอบ หมวด WORK รวมผลงาน<br />

ประเภทอาคารสํานักงาน ไดแก อาคาร Vanachai Offi ce<br />

ที่ถูกออกแบบใหมีความสัมพันธกันระหวางตัวอาคารและ<br />

ปรัชญาทางธุรกิจ ใหอาคารที่มีความโดดเดนและทันสมัย<br />

ทายสุดเปนหมวด PLAY เปนผลงานประเภทงานทดลอง<br />

หรือผลงานออกแบบที่เนนแนวคิดและจินตนาการใน<br />

การถายทอดใหกลายเปนจริงขึ้นมา หนึ่งในผลงานกลุมนี้<br />

ที่เปนที่รูจักมากที่สุด คือโครงการเพลินวานที่ไดถายทอด<br />

ความสุขใหกับผูคนมากมาย จนไดกลายเปนสัญลักษณ<br />

ดานการทองเที่ยวอีกหนึ่งแหงของหัวหิน<br />

หนังสือถูกถายทอดออกมาเปนภาพรวมของโปรเจ็คต<br />

ตางๆ แมวารูปแบบของสถาปตยกรรมจะมีความเรียบงาย<br />

แตดวยการออกแบบที่เริ่มตนไปพรอมๆ กับภูมิสถาปตย-<br />

กรรม ความเกี่ยวเนื่องของพื้นตางระดับกับรูปแบบอาคาร<br />

ทําใหอาคารกับสภาพแวดลอมภายนอกมีความสัมพันธกัน<br />

มีองคประกอบไมมากและไมนอย สวนขั้นตอนการคิด<br />

และขั้นตอนการทํางานที่เปนสาระสําคัญของแตละโครงการ<br />

จะถูกรวบรวมไวในหนังสือเลมตอไปของ Openbox<br />

Architects ซึ่งมีกําหนดพิมพประมาณปลายปนี้<br />

<strong>04</strong><br />

116 <strong>ASA</strong> REVIEW วารสารอาษา


MEMBERSHIP<br />

หนังสือและเอกสาร<br />

• วารสารอาษา วารสารวิชาการดานสถาปตยกรรม<br />

ราย 2 เดือน<br />

• จดหมายเหตุ หนังสือขาวในแวดวงดานสถาปตยกรรม<br />

และเพื่อการประชาสัมพันธกิจกรรมตางๆ ของสมาคมฯ<br />

ราย 1 เดือน<br />

• หองสมุด สําหรับบริการเพื่อสมาชิกไดเขาใชศึกษา<br />

ขอมูล คนควา ทางดานวิชาการ (ณ ศูนย<br />

ประชาสัมพันธ asa center สยามดิสคัพเวอรรี่ ชั้น 5)<br />

• หนังสือตางๆ สมาชิกสามารถสั่งซื้อหนังสือ เอกสาร<br />

และคูมือตางๆ ทั้งทางดานวิชาการและที่เปนประโยชน<br />

ทางดานการปฏิบัติวิชาชีพที่สมาคมฯ ไดจัดทําขึ้นใน<br />

ราคาพิเศษ เฉพาะสมาชิก เชน กฎหมายอาคาร ฯลฯ<br />

WEBSITE<br />

• asa web สมาชิกสามารถเขาถึงขาวสารขอมูลออนไลน<br />

ไดที่ www.asa.or.th<br />

• asa webboard ชุมชนออนไลน สําหรับการแลกเปลี่ยน<br />

ขอมูลของสมาชิก<br />

กิจกรรมดานตางๆ<br />

• สถาปตยสัญจร การจัดทัศนนักศึกษาทางดานสถาปตย-<br />

กรรมทั้งในและตางประเทศ ปละประมาณ 2 ครั้ง<br />

• กิจกรรมดานวิชาการและวิชาชีพ การจัดอบรม<br />

โครงการสุดสัปดาหวิชาการ การจัดสัมมนาดาน<br />

วิชาการและวิชาชีพ เพื่อพัฒนาศักยภาพในการ<br />

ประกอบวิชาชีพปละประมาณ 10 ครั้ง<br />

• กิจกรรมดานสันทนาการเพื่อความสนุกสนานสามัคคี<br />

ของสมาชิกสมาคมฯ เชน asa cup (การแขงขัน<br />

ฟุตบอลสนามเล็กขางละ 8 คน), golf asa,<br />

badmintion asa, asa night ฯลฯ<br />

• กิจกรรมอื่นๆ ขึ้นอยูกับการจัดขึ้นมาเปนครั้งๆ ไป<br />

เชน การรวมประกวดแบบตางๆ ที่สมาคมฯจัดขึ้น<br />

หรือรับรอง สนับสนุน การรวมสงประกวดงาน<br />

สถาปตยกรรมดีเดนงานอนุรักษดีเดน บางกิจกรรม<br />

นั้นจัดเฉพาะสมาชิกเทานั้นและทุกกิจกรรมจะคิด<br />

ราคาสมาชิกพิเศษกวาบุคคลทั่วไป<br />

งานสถาปนิก<br />

• asa club สามารถเขาใชพื้นที่ asa club เพื่อการ<br />

พักผอน พบปะสังสรรค นั่งเลนในบริเวณงาน<br />

• asa shop จําหนายหนังสือทางดานสถาปตกรรม<br />

ตางๆ และของที่ระลึกที่ทางสมาคมฯผลิตขึ้นโดย<br />

จําหนาย ในราคาพิเศษสําหรับสมาชิกฯ<br />

หมายเหตุ รายละเอียดอาจเปลี่ยนแปลงไดตาม<br />

ความเหมาะสมขึ้นอยูกับคณะกรรมการบริหาร<br />

สมาคมในแตละสมัย<br />

ประเภทของสมาชิกและคาสมัคร (รวม vat 7%)<br />

สมัครสมาชิกประเภทบุคคล คาลงทะเบียน 100 บาท<br />

ภาคี-คาบํารุงรายป ปละ 400 บาท รวม 535 บาท<br />

สามัญ-คาบํารุงราย 5 ป ครั้งละ 1,800 บาท<br />

รวม 2,033 บาท<br />

สมทบ [บุคคลทั่วไป]-คาบํารุงรายป ปละ 900 บาท<br />

รวม 1,070 บาท<br />

สมทบ [นักศึกษา]-คาบํารุงรายป ปละ 200 บาท<br />

รวม 321 บาท<br />

สมัครสมาชิกประเภทสํานักงานนิติบุคคล<br />

คาลงทะเบียน 500 บาท<br />

คาบํารุงราย 2 ปครั้งละ 8,000 บาท รวม 8,500 บาท<br />

สนใจรายละเอียด ขอแตกตางของแตละประเภทสมาชิก<br />

และวิธีการสมัคร ติดตอที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

คุณนพมาส สมใจเพ็ง โทร 02 3196555 ตอ 109<br />

E-mail : memberasa@gmail.com<br />

ใบสมัครสมาชิก วารสารอาษา<br />

(ถายเอกสารได)<br />

ขาพเจา :<br />

ที่อยู (สําหรับการจัดสงหนังสือ) :<br />

โทรศัพท : โทรสาร : e-mail :<br />

ตองการสมัครเปนสมาชิก ‘วารสารอาษา’ อัตราตอไปนี้<br />

บุคคลทั่วไป สมาชิกรายครึ่งป (3 เลม) 225 บาท สมาชิกรายป (6 เลม) 500 บาท<br />

นิสิตนักศึกษาคณะสถาปตยกรรมศาสตร สมาชิกรายครึ่งป (3 เลม) 225 บาท สมาชิกรายป (6 เลม) 440 บาท<br />

รวมคาสงทางไปรษณียแลว (เฉพาะภายในประเทศ)<br />

ลงชื่อ : วันที่ :<br />

การชําระเงิน เงินสด ชําระเงินที่ สมาคมสถาปนิกสยามฯ โอนเงิน เขาในนาม สมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ที่อยู (สําหรับใบเสร็จรับเงิน) ธนาคารกสิกรไทย สาขาถนนพระราม 9<br />

บัญชีออมทรัพย เลขที่บัญชี 713-2-02232-6<br />

กรณีการโอนเงิน<br />

- กรุณาสงโทรสารใบสมัครและหลักฐานการชําระเงิน และจดหมายรับรองสถานภาพ กรณีเปนนิสิต-นักศึกษา ลงนามโดยอาจารยหัวหนาภาควิชาฯ ที่ฝายการเงิน<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ โทรสาร 02-3196419 พรอมโทรศัพทยืนยันการสงเอกสารที่โทรศัพท 0-2319-6555 กด 109<br />

- สมาคมฯ จะจัดสงใบเสร็จใหทางไปรษณีย<br />

หมายเหตุ สามารถซื้อหนังสือวารสารอาษาไดที่สมาคมสถาปนิกสยามฯ ราคาเลมละ 90 บาท


CARTOON<br />

SRV<br />

120 <strong>ASA</strong> <strong>ASA</strong> CARTOON วารสารอาษา

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!