17.11.2020 Views

ASA NEWSLETTER 09-10_63

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 8/<strong>63</strong><br />

ISA Building Site Visit Series เยี่ยมชมโครงการก่อสร้าง ครั้งที่ 4-<strong>63</strong><br />

ขอเชิญสมาชิกสมาคม สถาปนิก นิสิต - นักศึกษาสถาปัตยกรรม เข้าร่วมกิจกรรมทัศนศึกษา หาประสบการณ์ความรู้<br />

เกี่ยวกับงานสุขภัณฑ์ และผลิตภัณฑ์นวัตกรรมฝารองนั ่งอัตโนมัติโดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เยี่ยมชมศูนย์ข้อมูลนวัตกรรมสุขภัณฑ์และอุปกรณ์ห้องน ้า เยี่ยมโรงงานผลิตฝารองนั ่งอัตโนมัติ WASHLET ที่ใช้งบลงทุน<br />

มากกว่า 1,000 ล้านบาท ซึ่งประเทศไทยได้รับเลือกให้เป็ นฐานการผลิตครั้งนี้ ดูการผลิตด้วยเทคโนโลยีชั้นสูง<br />

และเครื่องจักรอันทันสมัย มีก าลังการผลิตมากกว่า 450,000 ชิ้นต่อปี เพื่อตลาดทั้งในและต่างประเทศ<br />

ให้ความรู้ และสนับสนุนรายการโดย TOTO<br />

ด าเนินรายการโดย : คุณปฏิกร ณ สงขลา<br />

Photo credit: FB TOTO Thailand, Website TOTO<br />

วันเสาร์ที่ 14 พฤศจิกายน พ.ศ. 25<strong>63</strong> เวลา 08.00 - 18.00 น.<br />

ณ TOTO Technical Center กรุงเทพฯ และ โรงงาน TOTO Washlet อ.หนองแค จ. สระบุรี<br />

อัตราค่าลงทะเบียน (เดินทางไปยังสถานที่กันเอง)<br />

สมาชิกสมาคมฯ/ นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ทั่วไป 700 บาท<br />

นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ 300 บาท<br />

สถาปนิกและผู้สนใจทั่วไป 1500 บาท<br />

ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับวุฒิบัตรจาก สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที่ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ฝ่ายจัดอบรม<br />

โทรศัพท์ 0-2319-6555 ต่อ 202, 206 / โทรสาร ต่อ 204, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่ www.asa.or.th<br />

(รับเพียง 30 ท่านเท่านั้น กรณีมีผู้สมัครเกินจ านวนที่ก าหนด สมาคมฯ สงวนสิทธิ์ส าหรับผู้ที่ช าระเงินลงทะเบียนก่อน)<br />

หมายเหตุ : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกรุณาแต่งกายสุภาพ และใส่หน้ากากผ้าหรือหน้ากากอนามัย


์<br />

สำหรับจดหมายเหตุอาษาฉบับที่ 3 ในรอบ 2 เดือนที่ผ่านมานั ้น มีกิจกรรมต่างๆ เกิดขึ ้ นมากมาย โดยทางสมาคมฯได้มีส่วนร่วม<br />

กับชุมชนและสมาชิกในการช่วยเหลือ ให้คำแนะนำและส่งเสริมการให้ความรู้ในแง่มุมต่างๆ ครอบคลุมทั ้งในเรื่องของกฎหมาย<br />

งานอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม และงานกีฬา เพื่อสร้างสัมพันธไมตรีที่ดีระหว่างสถาปนิก ซึ่งหลายๆกิจกรรมที่เกิดขึ ้ นนั ้น<br />

ในความเห็นส่วนตัวรู้สึกภาคภูมิใจ ที่สามารถขับเคลื่อนสมาคมฯให้เดินหน้าต่อไปได้อย่างราบรื่น แม้จะอยู่ในภาวะเศรษฐกิจโควิด<br />

ที่สมาคมฯไม่มีทุนทรัพย์มากนัก จึงขอใช้พื ้ นที่ตรงนี ้ ขอบคุณพี่น้อง สมาชิกที่มีคุณภาพของสมาคมฯทุกท่าน ที่ช่วยกันลดอุปสรรค<br />

ที่มีต่อการทำงานด้านต่างๆ กิจกรรมต่างๆ ทั ้งการรักษาคุณค่ามรดกทางศิลปวัฒนธรรม กฎหมาย เอกสารสัญญามาตรฐาน และ<br />

อื่นๆ ตามรายงานข้างล่าง สามารถดำเนินการสำเร็จลุล่วงไปได้ด้วยดี ซึ่งมีมากกว่า 20 กิจกรรมจากทุกภูมิภาค สุดท้ายนี ้ ยังคง<br />

ต้องขอความร่วมมือจากสมาชิกทุกท่านอีกมากในกิจการต่อไป และขอขอบพระคุณ ที่คอยให้การสนับสนุนและช่วยเหลือกิจกรรม<br />

ของสมาคมฯ ด้วยดีมาโดยตลอด<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี พ.ศ. 25<strong>63</strong>-2565<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ วาระปี พ.ศ. 25<strong>63</strong>-2565<br />

นายกสมาคม<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นายนิเวศน์ วะสีนนท์<br />

รศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ<br />

นายจีรเวช หงสกุล<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

นายพิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

เหรัญญิก<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

นายเฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

นายทะเบียน<br />

นายคมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

กรรมการกลาง<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

นางสาวปฐมา หรุ่นรักวิทย์<br />

นายเฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

นายอดุลย์ แก้วดี<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ วาระปี พ.ศ. 2562-2564<br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

นายวีระ ถนอมศักดิ ์ นายชนะ สัมพลัง<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจิตร<br />

นายเจตกำจร พรหมโยธี<br />

นายสุริยา รัตนพฤกษ์<br />

นายพงศ์ ศิริปะชะนะ<br />

นายธานี คล่องณรงค์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสาน<br />

นายวีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร


แต่งตั ้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและผู้แทนสถาบัน<br />

ในคณะกรรมการผังเมือง<br />

29 ต.ค. 25<strong>63</strong><br />

มี ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง แต่งตั ้งกรรมการผู้ทรง<br />

คุณวุฒิ และกรรมการจากผู้แทนสถาบันหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้อง<br />

กับการผังเมืองในคณะกรรมการผังเมือง ลงวันที่ 18 ตุลาคม<br />

25<strong>63</strong> ประกาศให้ทราบถึงมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 12 ตุลาคม<br />

25<strong>63</strong> อนุมัติแต่งตั ้งกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ และกรรมการจาก<br />

ผู้แทนสถาบันหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองในคณะ<br />

กรรมการผังเมือง จำนวน 13 คน ตามที่กระทรวงมหาดไทย<br />

เสนอ ประกอบด้วย<br />

กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

1. นายปรีชา รณรงค์ (ด้านการผังเมือง)<br />

2. นายสมชัย ศรีวิบูลย์ (ด้านสถาปัตยกรรมศาสตร์)<br />

3. นายโอฬาร ศักยโรจน์กุล (ด้านวิศวกรรมศาสตร์)<br />

4. นายปฏิคม วงษ์สุวรรณ (ด้านนิติศาสตร์)<br />

5. นายพิชัย อุทัยเชฏฐ์ (ด้านเศรษฐศาสตร์)<br />

6. นายชยพล ธิติศักดิ ์ (ด้านสังคมศาสตร์)<br />

7. นายสุรเจตส์ บุญญาอรุณเนตร (ด้านสิ่งแวดล้อม)<br />

8. นายสด แดงเอียด (ด้านประวัติศาสตร์หรือ<br />

โบราณคดี)<br />

9. นายสรวิศ ธานีโต (ด้านเกษตรกรรม)<br />

กรรมการจากผู้แทนสถาบันหรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการ<br />

ผังเมือง<br />

<strong>10</strong>. นายปวิณ ชำนิประศาสน์<br />

11. นายวัฒนา เชาวสกู<br />

12. นางพรศิริ มโนหาญ<br />

13. นายวิฑูรย์ สิมะโชคดี (ภาคประชาสังคม)<br />

อนึ่ง พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 25<strong>63</strong> บัญญัติให้มีคณะ<br />

กรรมการระดับต่างๆ ได้แก่ คณะกรรมการนโยบายการผังเมือง<br />

แห่งชาติ คณะกรรมการผังเมือง และคณะกรรมการผังเมือง<br />

จังหวัด ซึ่งในส่วนของคณะกรรมการผังเมือง มาตรา 80 บัญญัติ<br />

ให้มีคณะกรรมการผังเมือง ประกอบด้วย<br />

(1) ปลัดกระทรวงมหาดไทย เป็นประธานกรรมการ<br />

(2) กรรมการโดยตำแหน่ง ได้แก่ ปลัดกระทรวง<br />

กลาโหม ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ปลัดกระทรวง<br />

คมนาคม ปลัดกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม ปลัด<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปลัดกระทรวง<br />

วัฒนธรรม ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม เลขาธิการสำนักงานสภา<br />

พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ และเลขาธิการสำนักงาน<br />

ทรัพยากรน ้ำแห่งชาติ<br />

(3) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั ้งจาก<br />

ผู้มีความรู้ความสามารถ ความเชี่ยวชาญ และประสบการณ์ด้าน<br />

การผังเมือง สถาปัตยกรรมศาสตร์ วิศวกรรมศาสตร์ นิติศาสตร์<br />

เศรษฐศาสตร์ สังคมศาสตร์ สิ่งแวดล้อม ประวัติศาสตร์หรือ<br />

โบราณคดี และเกษตรกรรม จำนวนด้านละหนึ่งคน<br />

(4) กรรมการซึ่งเป็นผู้แทนสภาวิศวกร ผู้แทนสภา<br />

สถาปนิก ผู้แทนสภาหอการค้าแห่งประเทศไทย ผู้แทนสภา<br />

อุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย และผู้แทนสมาคมองค์กรปกครอง<br />

ส่วนท้องถิ่น<br />

(5) กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแต่งตั้งจากผู้แทนสถาบัน<br />

หรือบุคคลอื่นที่เกี่ยวข้องกับการผังเมืองจำนวนไม่เกินสี่คนซึ่ง<br />

ต้องมาจากภาคประชาสังคมอย่างน้อยหนึ่งคน<br />

(6) อธิบดีกรมโยธาธิการและผังเมือง เป็นกรรมการ<br />

และเลขานุการ<br />

ยกเลิกเทศบัญญัติควบคุมความสูงริมหาดวอน<br />

นภา<br />

15 ก.ย. 25<strong>63</strong><br />

เทศบาลเมืองแสนสุข จังหวัดชลบุรี ออก “เทศบัญญัติเทศบาล<br />

เมืองแสนสุข เรื่อง ยกเลิกเทศบัญญัติเทศบาลเมืองแสนสุข<br />

เรื่อง ห้ามก่อสร้างดัดแปลงอาคารสูงเกินกว่า 18 เมตร บริเวณ<br />

ชายทะเลหาดวอนนภา พ.ศ. 2553 พ.ศ. 25<strong>63</strong>” มีผลให้<br />

เทศบัญญัติเทศบาลเมืองแสนสุขซึ ่งออกใช้บังคับเมื่อปี 2553<br />

เพื่อควบคุมการก่อสร้างดัดแปลงอาคารสูงเกินกว่า 18 เมตร<br />

บริเวณชายทะเลหาดวอนนภา เป็นอันยกเลิกไป


้<br />

ประชุมแนวทางการพัฒนาพื ้ นที่โรงงานกระดาษ<br />

จ.กาญจนบุรี<br />

เมื่อวันที่ 9 กันยายน 25<strong>63</strong> สมาคมสถาปนิกสยามฯ นำโดย<br />

นายชนะ สัมพลัง นายกสมาคมฯ ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ อุปนายก<br />

ได้ร่วมประชุมกับ นายนำชัย แสนสุภา นายกสมาคมภูมิสถาปนิก<br />

และ กลุ่มภูมิเมืองกาญในประเด็นเรื่องแนวทางการพัฒนาพื ้ นที่<br />

โรงงานกระดาษ ณ อำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี โดยทางกลุ่ม<br />

ภูมิเมืองกาญได้เสนอให้สมาคมสถาปนิกสยามฯ ร่วมจัดประกวด<br />

แบบ เพื่อเป็นการส่งเสริมการอนุรักษ์สถานที่ที่มีความส ำคัญทาง<br />

ประวัติศาสตร์ ทั ้งนี ้ ทางสมาคมฯ เห็นด้วยและขอให้ทางกลุ่มภูมิ<br />

เมืองกาญทำหน้าที่ประสานงานกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อ<br />

ดำเนินการต่อไป<br />

การจัดทำสัญญาจ้างออกแบบมาตรฐาน<br />

เมื่อวันที่ 7 ตุลาคม 25<strong>63</strong> สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้แต่ง<br />

ตั ้ง คณะกรรมาธิการจัดทำสัญญาจ้างออกแบบมาตรฐาน โดย<br />

คุณสิน พงษ์หาญยุทธ เป็นประธาน ซึ่งคณะกรรมาธิการดัง<br />

กล่าวได้มีผู้ทรงคุณวุฒิจากสภาสถาปนิกและชมรมนักกฎหมาย<br />

ก่อสร้าง มีหน้าที่เพื ่อจัดทำสัญญาการจ้างออกแบบมาตรฐาน<br />

ให้แก่สถาปนิกและบุคคลทั่วไปได้ใช้งานโดยมีความเป็นธรรม<br />

และทัดเทียมกับต่างประเทศ ทั ้งนี ้ ที่ประชุมได้ร่างสัญญาขึ ้ นมา<br />

และมีการประชุมปรับแก้ไขเมื่อวันที่ 28 ตุลาคม 25<strong>63</strong> ทั ้งนี<br />

จะมีการเปิดสัมมนารับฟังความคิดเห็นอีกครั ้งในวันเสาร์ที่ 7<br />

พฤศจิกายน 25<strong>63</strong> เวลา 9.00 – 16.00 น ชั ้น 17 อาคาร<br />

ใบหยก 2 ถนนราชปรารภ แขวงถนนพญาไท เขตราชเทวี<br />

กรุงเทพฯ โดยสัญญาดังกล่าวมีกำหนดแล้วเสร็จภายในเดือน<br />

ธันวาคม 25<strong>63</strong><br />

ประชุมร่วมกับ 4 สมาคมวิชาชีพ<br />

เมื่อวันที่ 6 ตุลาคม 25<strong>63</strong> นายนิเวศน์ วะสีนนท์ อุปนายก ได้<br />

เข้าร่วมประชุม 4 สมาคมวิชาชีพ สมาคมวิศวกรรมสถานแห่ง<br />

ประเทศไทยฯ (วสท.) สมาคมวิศวกรที่ปรึกษาแห่งประเทศไทย<br />

(วปท.) และสมาคมอุตสาหกรรมก่อสร้างไทยฯ (TCA) ได้มีการ<br />

หารือในประเด็นเรื ่อง การช่วยเหลืออุตสาหกรรมก่อสร้างที่ได้<br />

รับผลกระทบจาก โควิด-19 ในเรื่องของการขยายระยะเวลา<br />

ของสัญญางดเว้นค่าปรับ เนื่องจากไม่สามารถปฏิบัติบัติงาน<br />

ได้ และ ได้มีการหารือเรื่องผลกระทบจาก พ.ร.บ.จัดซื ้ อจัดจ้าง<br />

ที่มีผลกระทบกับ 4 สมาคมวิชาชีพเพื่อหาแนวทางในการแก้ไข<br />

ปัญหาให้สถาปนิกและวิศวกรสามารถปฏิบัติงานได้สะดวกขึ ้ น<br />

ประชุมแนวทางการแก้ไขกฎกระทรวงกำหนด<br />

วิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม พ.ศ. 2549<br />

14 ตุลาคม 25<strong>63</strong> สภาสถาปนิกได้จัดการประชุม โดยมีผู้<br />

แทนจากทั ้ง 4 สมาคมวิชาชีพสาขาสถาปัตยกรรม และ สภา<br />

สถาปนิก เข้าร่วมอาทิ พล.อ.ต.ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์ นายก<br />

สภาสถาปนิก คุณนำชัย แสนสุภา นายกสมาคมภูมิสถาปนิกแห่ง<br />

ประเทศไทย คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ คุณพิพัฒน์ รุจิราโสภณ เลขาธิการฯ โดยมี<br />

การหารือในประเด็น การแก้ไข พ.ร.บ.สถาปนิก (ฉบับที่...) พ.ศ.<br />

.... แนวทางการแก้ไขกฎกระทรวงกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

ควบคุม พ.ศ. 2549 และได้มีการแต่งตั ้งคณะทำงานร่วมหารือ<br />

การแก้ไขกฎกระทรวงกำหนดวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม<br />

พ.ศ. 2549


ประกาศผลการคัดเลือกโครงการประกวด<br />

วิทยานิพนธ์ดีเด่น 25<strong>63</strong> (สาขาสถาปัตยกรรม<br />

หลัก) THESIS OF THE YEAR AWARD 2020<br />

ตามที่ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วม<br />

กับ สภาคณบดีคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ แห่งประเทศไทย<br />

ได้ประกาศเชิญชวนนักศึกษาและนิสิตร่วมส่งผลงาน เพื่อคัด<br />

เลือกวิทยานิพนธ์ดีเด่น 25<strong>63</strong> และเพื่อคัดเลือกผลงานเข้าร่วม<br />

ประกวดโครงการ THESIS OF THE YEAR ARCASIA ต่อไปนั ้น<br />

ในการจัดกิจกรรมครั ้งนี ้ มีผู้ส่งผลงานจากสถาบันการศึกษารวม<br />

ทั ้งสิ ้ น 188 ผลงาน<br />

ทางคณะกรรมการคัดเลือกของสมาคมฯ ได้ประชุมคัด<br />

เลือกผลงาน ในวันที่ 26 กันยายน 25<strong>63</strong> ที่ผ่านมา โดยพิจารณา<br />

จากรูปแบบการนำเสนอผลงานและแนวความคิดการออกแบบ<br />

ซึ่งคณะกรรมการฯ พิจารณาแล้วเห็นควรให้รางวัลตามรายชื่อ<br />

ดังต่อไปนี ้<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นแห่งปี 25<strong>63</strong> สาขาสถาปัตยกรรม<br />

หลัก ภาคกลาง<br />

อันดับ 1: โครงการฟาร์มสเตย์สวนมะพร้าว<br />

นายณัฐภัทร เลิศสงคราม สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

อันดับ 2: โรงแรมพิพิธภัณฑ์โรงงานกระดาษกาญจนบุรี<br />

นายเพชรรัตน์ อาจหาญ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี<br />

อันดับ 3: พื ้ นที่ทางศิลปะเพื่อสังคมที่หลากหลาย<br />

นายก้องเดช หวานจริง มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

รางวัลชมเชย: สถาปัตยกรรมฟื ้ นฟูพื ้ นที่สูญเปล่า<br />

นายสรเลข เกียงตระกูล มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลพระนคร<br />

รางวัลชมเชย: ฮาลา-บาลิจุฬาภรณ์พัฒนา ๙ จังหวัดยะลา<br />

นายภัทรพงศ์ ผูกเหมาะ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี<br />

รางวัลชมเชย: โครงการศูนย์พัฒนามนุษย์และธนาคารอาหาร<br />

เพื่อผู้แสวงหาถิ่นที่อยู่<br />

นายปรัชญา สอนอ่อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลธัญบุรี<br />

รางวัลตามประเภทผลงาน<br />

1. ความสร้างสรรค์/การทดลอง<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

โครงการสถานีดับเพลิงต้นแบบใหม่<br />

กรุงเทพมหานคร<br />

นายกิติกุล นนทแก้ว มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

2. ธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

โครงการศูนย์พัฒนามนุษย์และธนาคารอาหารเพื่อผู้<br />

แสวงหาถิ่นที่อยู่<br />

นายปรัชญา สอนอ่อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล<br />

ธัญบุรี<br />

3. ชุมชน/เมือง/การอนุรักษ์<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

การประกอบสร้างแบบชั่วคราวจากวัสดุหาง่ายในเมือง<br />

นายธนาธรณ์ นามศรีฐาน มหาวิทยาลัยศิลปากร<br />

4. FUNCTION เฉพาะ<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

ชุมชนที่อยู่อาศัยสีเขียวทดแทน เขตบางซื่อ<br />

นายสันติพัฒน์ ศรีรัตนมาศ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ<br />

5. ความรู้สึก<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

สถาปัตยกรรมบำบัดกับบทกวี<br />

นายพรธเนตร บุญแพง มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นแห่งปี 25<strong>63</strong> สาขาสถาปัตยกรรม<br />

หลัก ภูมิภาคล้านนา<br />

อันดับ 1: โครงการสถานีรถไฟบ้านปิน <strong>10</strong>5 ปี ในความ<br />

ทรงจำ<br />

นายแม้นสรวง ปันสุข มหาวิทยาลัยแม่โจ้<br />

อันดับ 2: พิพิธภัณฑ์และเรือลอยน ้ำเรียนรู้คุณค่าความ<br />

เป็นมนุษย์ผ่านโลกทัศน์มอแกน<br />

นางสาวนลพรรณ พลเมืองดี มหาวิทยาลัย<br />

เชียงใหม่<br />

อันดับ 3: อนุสรณ์สถานสำหรับชาวไทยเชื ้ อสายจีน<br />

นางสาวพศิกา ชุมภู มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

รางวัลตามประเภทผลงาน<br />

1. ความสร้างสรรค์/การทดลอง<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

ไม่มีผู้ได้รับรางวัล<br />

รางวัลสมควรเผยแพร่<br />

พาวิลเลี่ยน ออฟ บางปลาสร้อย (พื ้ นที่สาธารณะส ำหรับ<br />

ชุมชนบางปลาสร้อย อ.เมือง จ.ชลบุรี)<br />

นางสาวณัฐกาน เล่ห์เหลี่ยม มหาวิทยาลัยแม่โจ้


2. ธรรมชาติ/สิ่งแวดล้อม<br />

ไม่มีผู้ได้รับรางวัล<br />

3. ชุมชน/เมือง/การอนุรักษ์<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

โครงการสถานีรถไฟบ้านปิน <strong>10</strong>5 ปี ในความทรงจำ<br />

นายแมนสรวง ปันสุข มหาวิทยาลัยแม่โจ้<br />

รางวัลสมควรเผยแพร่<br />

ชุมชนตลาดใหญ่ ต.ตะกั่วป่ า อ.ตะกั่วป่ า จ.พังงา<br />

นางสาวจุฑารัตน์ ทัศการ มหาวิทยาลัยแม่โจ้<br />

4. FUNCTION เฉพาะ<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

พิพิธภัณฑ์และเรือลอยน้ำเรียนรู้คุณค่าความเป็นมนุษย์<br />

ผ่านโลกทัศน์มอแกน<br />

นางสาวนลพรรณ พลเมืองดี มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

5. ความรู้สึก<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่น<br />

อนุสรณ์สถานสำหรับชาวไทยเชื ้ อสายจีน<br />

นางสาวพศิกา ชุมภู มหาวิทยาลัยเชียงใหม่<br />

รางวัลชมเชย:<br />

รางวัลชมเชย:<br />

อันดับ 3:<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นแห่งปี 25<strong>63</strong> สาขาสถาปัตยกรรม<br />

หลัก ภูมิภาคอีสาน<br />

อันดับ 1: พิพิธภัณฑ์สัตว์น ้ำเค็มเพื่อส่งเสริมการอนุรักษ์<br />

สิ่งมีชีวิตทางทะเล จังหวัดกระบี่<br />

นางสาวจิรัญญา กาญจนวิลานนท์<br />

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

อันดับ 2: จักรวาลคู่ขนาน : พื ้ นที่แห่งความเท่าเทียม<br />

นายปิยะวัฒน์ โพธิขำ มหาวิทยาลัย<br />

มหาสารคาม<br />

อันดับ 3: ศูนย์สร้างสรรค์สีไทย<br />

นางสาวอภิชญา กสิกรรม มหาวิทยาลัย<br />

ขอนแก่น<br />

รางวัลชมเชย: สปาและรีสอร์ทชุมชนคีรีวง (โครงการส่งเสริม<br />

วิสาหกิจชุมชนเชิงสุขภาพ)<br />

นายภาณุวิชญ์ ศรีสุทธา มหาวิทยาลัย<br />

ขอนแก่น<br />

รางวัลชมเชย: ศูนย์เรียนรู้การอนุรักษ์สัตว์และทรัพยากรทาง<br />

ทะเล จังหวัดพังงา<br />

นายณัฐวุฒิ การะเว มหาวิทยาลัยขอนแก่น<br />

รางวัลชมเชย: ฮิปฮอป ฮับ<br />

นางสาวมลธิชา อ่อนสีดา มหาวิทยาลัย<br />

มหาสารคาม<br />

รางวัลชมเชย: พื้นที่เรียนรู้วิถีชีวิตเพื่อการอยู่ร่วมกับแผ่นดิน ไหว<br />

นางสาวอภิญญา อุ่นศรีเพ็ง มหาวิทยาลัย<br />

มหาสารคาม<br />

อุทยานเรียนรู้การสูญพันธุ์ครั ้งที่ 6<br />

นายชยุตพงศ์ ไทยนอก มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน<br />

พิพิธภัณฑ์ประวัติศาสตร์เรืออยุธยา<br />

นายนนท์พิสุทธิ ์ หงส์ทอง มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลอีสาน<br />

รางวัลวิทยานิพนธ์ดีเด่นแห่งปี 25<strong>63</strong> สาขาสถาปัตยกรรม<br />

หลัก ภูมิภาคทักษิณ<br />

อันดับ 1: หาดใหญ่เนเชอร์ฮับ<br />

นายสมยศ วัฒนา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลศรีวิชัย<br />

อันดับ 2:<br />

พิพิธภัณฑ์ช้าง<br />

นายธวัช อำพันทอง มหาวิทยาลัยสงขลา<br />

นครินทร์<br />

ศูนย์การเรียนรู้ระบบนิเวศป่ าชายฝั่งทะเล<br />

นายสันต์ภพ หัวคง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

ราชมงคลศรีวิชัย<br />

* ผลงานนักศึกษาที่ได้รับรางวัลทั ้งหมด สามารถดูเพิ่มเติมได้ที่<br />

https://asa.or.th/news/thesis-of-the-year-award-2020/<br />

ภาพบรรยากาศการตัดสินผลงาน สาขาสถาปัตยกรรมหลัก


้<br />

KAENG KHOI VERNADOC<br />

การสำรวจรังวัด ย่านอนุรักษ์แก่งคอย จ.สระบุรี 7 – 12<br />

ตุลาคม 25<strong>63</strong> เทศบาลเมืองแก่งคอย หอการค้าจังหวัดสระบุรี<br />

บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง จำกัด ร่วมกับสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ อาสาสมัครอนุรักษ์อาคาร และคณะ<br />

ครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันพระจอมเกล้า<br />

เจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

้<br />

้<br />

กำหนดการ<br />

7 ตุลาคม<br />

7.00 น. เดินทางจากคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ<br />

เทคโนโลยี<br />

<strong>10</strong>.00 น. ถึงอำเภอแก่งคอย<br />

11.00 น. ฟังบรรยายพืนที่ศึกษา<br />

13.00 น. สำรวจพืนที่ ย่านชุมชนเก่าแก่งคอย<br />

14.30 น. ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด<br />

8 ตุลาคม<br />

9.00 น. ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด<br />

13.00 น. ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด<br />

9 ตุลาคม<br />

9.00 น. ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด<br />

13.00 น. ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด<br />

้<br />

้<br />

<strong>10</strong> ตุลาคม<br />

9.00 น. ทัศนศึกษาในพืนที่ใกล้เคียง<br />

13.00 น. ทัศนศึกษาในพืนที่ใกล้เคียง<br />

11 ตุลาคม<br />

9.00 น. ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด<br />

13.00 น. ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด<br />

12 ตุลาคม<br />

9.00 น. สรุปงานเขียนแบบรังวัดในพื ้ นที่<br />

16.00 น. เดินทางกลับจากอำเภอแก่งคอย<br />

19.00 น. เดินทางถึงคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและ<br />

เทคโนโลยี<br />

13 – 23 ตุลาคม ปฏิบัติการเขียนแบบรังวัด ในสตูดิโอ<br />

24 ตุลาคม กำหนดส่งผลงาน<br />

หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง<br />

เทศบาลเมืองแก่งคอย<br />

หอการค้าจังหวัดสระบุรี<br />

บริษัท สระบุรีพัฒนาเมือง<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง<br />

ผู้รับผิดชอบ<br />

อนุกรรมการกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ผู้ปฏิบัติงาน<br />

นักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรม คณะครุศาสตร์<br />

อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบันเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

อาสาสมัครอนุรักษ์อาคาร<br />

ระยะเวลาดำเนินงาน<br />

* 7-12 ตุลาคม 25<strong>63</strong> ปฏิบ้ติงานเขียนแบบรังวัดใน<br />

พื ้ นที่จริง<br />

* 13 – 23 ตุลาคม 25<strong>63</strong> ปฏิบ้ติงานเขียนแบบรังวัด<br />

ในสตูดิโอ<br />

* 24 ตุลาคม 25<strong>63</strong> กำหนดส่งงาน พฤศจิกายน 25<strong>63</strong><br />

จัดนิทรรศการในพื ้ นที่<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดยคณะ<br />

กรรมาธิการฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ ได้รับการ<br />

ประสานจากบริษัทสระบุรีพัฒนาเมือง จำกัด (SBCD) เทศบาล<br />

เมืองแก่งคอย หอการค้าแก่งคอย และชุมชนโดยรอบ ขอความ<br />

ร่วมมือการจัดตั ้งโครงการฟื ้ นฟูตลาดเก่า เรือนแถวไม้ริมแม่น ้ำ<br />

ป่ าสัก เพื่อพัฒนา ไปสู่เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน รื ้ อฟื ้ นความทรง<br />

จำในอดีตและส่งเสริมการท่องเที่ยวชุมชนโดยชุมชน วางแผน<br />

ฟื ้ นฟูการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง เบื ้ องต้นเริ่มดำเนินการสำรวจ<br />

รังวัดอาคารเก่าทรงคุณค่าภายใต้กิจกรรม KAENG KHOI VER-<br />

NADOC ในระหว่างวันที่ 7-12 ตุลาคม 25<strong>63</strong> ที่ผ่านมา<br />

คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมและเทคโนโลยี สถาบัน<br />

เทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง ได้ให้การ<br />

สนับสนุนส่งนักศึกษาสาขาสถาปัตยกรรมชั ้นปีที่ 3 เข้าร่วม<br />

โครงการสำรวจรังวัด จำนวน 22 คน โดยมีที่ปรึกษาคณะ<br />

กรรมาธิการกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ นำโดยนาง<br />

สาวปฐมา หรุ่นรักวิทย์ ประธานกรรมาธิการ ผศ.ณธทัย จันเสน<br />

และอาจารย์ณัฐภูมิ รับคำอินทร์ คณะทำงานกิจกรรมในครั ้งนี<br />

โดยการสำรวจเบื่องต้น แบ่งอาคารทรงคุณค่าในพื ้ นที่แก่งคอย


เพื่อสำรวจ รังวัด เก็บข้อมูลได้เป็น 4 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่ม<br />

อาคารเรือนแถวไม้ริมแม่น ้ำป่ าสัก อาคารโรงแรมไม้หน้าสถานี<br />

รถไฟแก่งคอย อาคารแขวงการทางรถไฟ และอาคารโรงรถจักร<br />

แก่งคอย<br />

ในระยะเวลาการทำงาน มีอุปสรรคจากพายุฝนในพื ้ นที่<br />

อย่างต่อเนื่อง แต่คณะทำงานได้ดำเนินการสำรวจรังวัด เขียน<br />

แบบบันทึกข้อมูลอาคารจนแล้วเสร็จตามแผน ด้วยการดูแล<br />

สนับสนุนจากคุณนพดล ธรรมวิวัฒน์ ประธานบริษัทสระบุรี<br />

พัฒนาเมือง ทีมงานและชาวบ้านให้ความร่วมมือเป็นอย่าง<br />

ดี ทั ้งนี ้ ในระหว่างดำเนินการ คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้เดินทางไปเยี่ยมชมผล<br />

งานและให้กำลังใจนักศึกษา ซึ่งหลังจากกิจกรรมการเก็บข้อมูล<br />

สำรวจรังวัดในพื ้ นที่คณะทำงานนำผลงานกลับมาลงรายละเอียด<br />

ตามกระบวนการเขียนแบบสถาปัตยกรรมพื ้ นถิ่น (VERNADOC)<br />

จนแล้วเสร็จมีแผนที่จะร่วมกิจกรรมการจัดนิทรรศการในพื ้ นที่<br />

ช่วงปลายเดือนพฤศจิกายน เพื่อสร้างความตระหนัก รักและ<br />

หวงแหนสถาปัตยกรรมที่ทรงคุณค่าของชุมชน ตามวัตถุประสงค์<br />

โครงการเป็นลำดับต่อไป<br />

อาคารแขวงการทางรถไฟ<br />

คุณชนะ สัมพลัง ถ่ายรูปร่วมกับนักศึกษา<br />

แบบสารวจรังวัด (ขั้นตอนลงหมึก) กลุ่มเรือนแถวไม้ตลาดเก่า<br />

คณะทางาน นักศึกษาครุศาสตร์<br />

สถาปัตยกรรม<br />

ฟังบรรยายชุมชนแก่งคอย โดย<br />

คุณนพดล ธรรมวิวัฒน์<br />

แบบสารวจรังวัด (ขั้นตอนลงหมึก) อาคารแขวงการทางรถไฟ<br />

การสารวจรังวัด ท่ามกลางพายุฝน<br />

การสารวจรังวัด อาคารหัวรถจักร<br />

แก่งคอย<br />

แบบสารวจรังวัด (ขั้นตอนลงหมึก) กลุ่มเรือนแถวไม้โรงแรมรถไฟ<br />

การให้ความร่วมมือของชุมชนแก่งคอย คุณชนะ สัมพลัง ชมผลงานของนักศึกษา<br />

แบบสารวจรังวัด (ขั้นตอนลงหมึก) อาคารหัวรถจักรแก่งคอย


้<br />

โครงการบูรณะโบราณสถานอาคารป่ าไม้ภาค<br />

จังหวัดแพร่<br />

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 29 ตุลาคม พ.ศ. 25<strong>63</strong> เวลา 18:00 น.<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จัดประชุม<br />

เพื่อติดตามความคืบหน้าโครงการบูรณะโบราณสถานอาคาร<br />

ป่ าไม้ภาคจังหวัดแพร่ ที่ขณะนี ้ อยู่ในขั ้นตอนการขุดสำรวจทาง<br />

โบราณคดี<br />

โดยมีหัวข้อการประชุมดังนี<br />

1. ชี ้ แจงความคืบหน้าโครงการบูรณะฟื ้ นฟูโบราณสถาน<br />

2. ปัญหาและอุปสรรคของโครงการ<br />

3. การช่วยเหลือและสนับสนุนของสมาคมฯ ต่อภาคีเครือข่าย<br />

อนุรักษ์ฯ และกรมศิลปากรในการดำเนินโครงการ<br />

4. แนวทางการสนับสนุนและให้ความร่วมมือเพื่อจัดทำแผน<br />

แม่บทการอนุรักษ์และพัฒนาสวนรุกขชาติเชตวัน<br />

5. วางแผนสร้างกิจกรรมเพื่อส่งต่อความรู้ ความเข้าใจสู่ชุมชน<br />

และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ในหลายรูปแบบ<br />

โดยมีผู้เข้าร่วมประชุมประกอบด้วย / นายชนะ สัมพลัง นายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี 25<strong>63</strong><br />

- 2565 / นายวทัญญู เทพหัตถี ประธานคณะทำงาน / นาย<br />

จิตธาณัฐ พูลเกิด / นายจุลพร นันทพานิช / นางสาวนฤมล<br />

วงศ์วาร / นางปองขวัญ สุขวัฒนา ลาซูส / นางสาววรินทร<br />

ณ อุบล ผศ.สุดจิต (เศวตจินดา) สนั่นไหว / นายอริยะ ทรง<br />

ประไพ คณะทำงานมาตรการจัดการโบราณสถาน สำนักงาน<br />

ป่ าไม้จังหวัดแพร่ ร่วมกับ นายธีรวุธ กล่อมแล้ว / นางสาว<br />

ปวีณา ถือคำ ภาคีเครือข่ายอนุรักษ์เมืองเก่าแพร่ และ นาง<br />

สาวมนัชญา วาจก์วิศุทธิ ์ / นายสัญชัย ลุงรุ่ง / นายนฤดม แก้ว<br />

ชัย สถาปนิกจากกรมศิลปากร นายสายกลาง จินดาสุ / นาย<br />

ประยูร ธรรมจักร จากสำนักศิลปากรที่ 7 เชียงใหม่<br />

<strong>ASA</strong> GOLF 2020<br />

งานกิจกรรมกอล์ฟ “<strong>ASA</strong> GOLF 2020” จัดโดยสมาคมสถาปนิก<br />

สยามในพระบรมราชูปถัมภ์ ในวันศุกร์ที่ 25 กันยายน 25<strong>63</strong><br />

สนามกอล์ฟนวธานี โดยมี คุณ สุชาติ ชุติปภากร เป็นประธาน<br />

จัดการแข่งขัน มีนักกอล์ฟเข้าร่วมเต็มจำนวน 36 ทีม 144 ท่าน<br />

งาน <strong>ASA</strong> GOLF 2020 ครั ้งนี ้ ถือว่าเป็นงานเปิด<br />

กิจกรรมกอล์ฟ งานแรกในปีนี ้ ของหมู่มวลสถาปนิก หลังจาก<br />

ต้อง lockdown ปิดประเทศ เนื่องจากสถานการณ์วิกฤตโรค<br />

ระบาดเชื ้ อไวรัส โควิด-19 หลายเดือนที่ผ่านมา ซึ่งในครั ้งแรก<br />

กอล์ฟรายการนี ้ จะจัดกันตั ้งแต่เดือน มีนาคม <strong>63</strong> ทำให้นัก<br />

กอล์ฟสมาชิกสถาปนิก ได้กลับมาปะทะวงสวิง กันอย่างคึกคัก<br />

ตั ้งแต่ช่วงเช้า ทางเจ้าภาพ และผู้ร่วมสนับสนุน นำของที่ระลึก<br />

มาแจกมากมาย แต่ทั ้งนี ้ ทางเจ้าภาพก็ยังปฏิบัติตามระเบียบ<br />

ของกองควบคุมโรค กระทรงสาธารณะสุข และเว้นระยะห่างอย่าง<br />

เคร่งครัด<br />

การแข่งขันเริ่มทำการ shotgun เวลา 12:00 ตรง มี<br />

รางวัลโฮลอินวัน ให้ผู้เล่นพิชิตทุกหลุมพาร์ 3. ระหว่างการเล่น<br />

อากาศก็เป็นใจ ไม่มีฝนมารบกวนเลย<br />

ช่วงเย็นในงานเลี ้ ยงประกาศผลรางวัล ทางประธาน<br />

จัดงาน ได้เรียนเชิญ นายกสมาคมฯ คนปัจจุบัน คุณชนะ<br />

สัมพลัง, อดีตนายกสมาคมฯ คุณ อัชชพล ดุสิตนานนท์ และ<br />

นายกสภาสถาปนิก พล.อ.ต.ม.ล.ประกิตติ เกษมสันต์ มาเป็น<br />

เกียรติในการมอบรางวัล บรรยากาศเต็มไปด้วยความสามัคคี<br />

ความอบอุ่น สนุกสนานผ่อนคลาย ตามแบบฉบับของสถาปนิก<br />

ได้กลับมาใหม่อีกครั ้ง แถมท้ายด้วยการแจกรางวัลแจ็คพอต<br />

โทรศัพท์มือถือ รุ่นใหม่ล่าสุด อีก 2 เครื่อง<br />

พบกันใหม่ กับกิจกรรม กอล์ฟอาษา ทางช่องทาง<br />

ประชาสัมพันธ์ต่างๆ ของสมาคมฯ ได้ในครั ้งต่อไปครับ


ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ ครั้งที่ 9/<strong>63</strong><br />

ISA Building Material Visit Series รอบรู้เรื่องวัสดุก่อสร้าง ครั้งที่ 5-<strong>63</strong><br />

ขอเชิญสมาชิกสมาคม สถาปนิก นิสิต - นักศึกษาสถาปัตยกรรม เข้าร่วม<br />

กิจกรรมทัศนศึกษา หาประสบการณ์ความรู้เกี่ยวกับวัสดุและเทคโนโลยีการ<br />

ก่อสร้าง ‘งานเหล็กเพื่องานสถาปัตยกรรม’<br />

โดย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เยี่ยมโรงงานผลิต Steel Grating งานเหล็กโครงสร้าง งานเหล็กประกอบอาคาร<br />

มาตรฐานสากลส่งออกต่างประเทศ โรงงานเหล็กชุบสังกะสีแบบจุ่มร้อน (Hot-<br />

Dip Galvanized) ที่มีการลงทุนเทคโนโลยีการผลิตด้วยเครื่องจักรอันทันสมัย<br />

เป็นอันดับต้น ๆ ของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และรับฟังการบรรยายให้ความรู้<br />

โดยผู้ทรงคุณวุฒิ<br />

COOL WINTER STEEL<br />

ให้ความรู้ และสนับสนุนรายการโดย T-Rex Steel, Union Galvanizer<br />

ด าเนินรายการโดย : คุณปฏิกร ณ สงขลา<br />

Photo credit: T-Rex Steel, Union Galvanizer<br />

วันเสาร์ที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 25<strong>63</strong> เวลา 08.00 - 17.00 น. ณ อ.พนมสารคาม และ อ.เมือง จ.ฉะเชิงเทรา<br />

อัตราค่าลงทะเบียนพร้อมอาหารกลางวัน/อาหารว่าง และรถรับส่งไปกลับจากสมาคมฯไปยังสถานที่<br />

สมาชิกสมาคมฯ/ นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ทั่วไป 700 บาท<br />

นิสิต นักศึกษา (ระดับ ป.ตรี) ที่เป็นสมาชิกสมาคมฯ 300 บาท<br />

สถาปนิกและผู้สนใจทั่วไป 1,500 บาท<br />

ผู้เข้าร่วมสัมมนาจะได้รับวุฒิบัตรจาก สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

สนใจสอบถามรายละเอียดเพิ่มเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที่ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ฝ่ายจัดอบรม<br />

โทรศัพท์ 0-2319-6555 ต่อ 202, 206 / โทรสาร ต่อ 204, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที่ www.asa.or.th<br />

(รับเพียง 30 ท่านเท่านั้น กรณีมีผู้สมัครเกินจ านวนที่ก าหนด สมาคมฯ สงวนสิทธิ์ส าหรับผู้ที่ช าระเงินลงทะเบียนก่อน)<br />

หมายเหตุ : ผู้เข้าร่วมกิจกรรมกรุณาแต่งกายสุภาพ และสวมรองเท้าหุ้มส้น


กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 11 กันยายน 25<strong>63</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

ศูนย์สุราษฎร์ธานีและเกาะสมุย สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ จัดกิจกรรม CHILL OUT TALK กับ STUDIO<br />

MITI วิทยากรโดย คุณเผดิมเกียรติ สุขกันต์ ณ ร้าน TREE SPACE<br />

อำเภอเมืองสุราษฎร์ธานี จังหวัดสุราษฎร์ธานี<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 18 กันยายน 25<strong>63</strong> เวลา <strong>09</strong>.30 น. คุณชนะ<br />

สัมพลัง นายกสมาคมฯ, คุณรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว และคุณจีรเวช<br />

หงสกุล อุปนายกฯ เยี่ยมชมที่ทำการกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ ศูนย์หาดใหญ่ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ โดยนายกสมาคมฯ ให้ความเห็นว่า ควรจะมีการ<br />

ปรับปรุงอาคารที่ทำการฯ และอาคารศูนย์อาษาคลาวด์ จ.สงขลา<br />

โดยที่ใช้งบประมาณไม่มากนัก<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 18 กันยายน 25<strong>63</strong> เวลา 13.30 น. คุณชนะ<br />

สัมพลัง, คุณจีรเวช หงสกุล, คุณรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว อุปนา<br />

ยกฯ, คุณนิพนธ์ หัสดีวิจิตร ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณฯ, นายวัชรินทร์ จันทรักษ์ รองประธานกรรมาธิการ<br />

ฝ่ ายวิชาชีพ, นายวีรศักดิ ์ เพ็ชรแสง รองประธานกรรมาธิการ<br />

ฝ่ ายกิจกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ, นายราชิต ระเด่นอา<br />

หมัด กรรมาธิการกลาง หัวหน้าศูนย์ 3 จังหวัดชายแดนใต้, นาย<br />

อุทาร ล่องชุม กรรมาธิการกลาง หัวหน้าศูนย์นครศรีธรรมราช<br />

และนายชายแดน เสถียร ที่ปรึกษากรรมาธิการสถาปนิกทักษิณฯ<br />

ร่วมฟังบรรยายขององค์กรภาคประชาชน ภาคีคนรักเมืองสงขลา<br />

โดยมี ดร.สมศักดิ ์ ตันติเศรณี นายกเทศมนตรีนครสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 18 กันยายน 25<strong>63</strong> เวลา <strong>10</strong>.30 น. คุณชนะ<br />

สัมพลัง นายกสมาคมฯ, คุณรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว และคุณจีรเวช<br />

หงสกุล อุปนายกฯ เยี่ยมชมอาคารศูนย์อาษาคลาวด์ (<strong>ASA</strong><br />

Cloud) สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 18 กันยายน 25<strong>63</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท<br />

แซง-โกแบ็ง เวเบอร์ จำกัด จัดกิจกรรม DINNER TALK “CON-<br />

VERSATION WITH CHANA” วิทยากรโดย คุณชนะ สัมพลัง,<br />

คุณจีรเวช หงสกุล, คุณรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว ณ S HADYAI HOTEL<br />

อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศ


เมื่อวันพุธที่ 23 กันยายน 25<strong>63</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ดำเนินการคัด<br />

เลือกผลงานโครงการ THESIS OF THE YEAR IN ARCHITEC-<br />

TURE AWARD 2020 ณ ห้องประชุมสำนักงานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกทักษิณ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา และขอขอบคุณ<br />

คณะกรรมการตัดสินผู้ทรงคุณวุฒิทางวิชาชีพ ได้แก่ คุณพรชัย<br />

บุญสม, คุณสุภกร อักษรสว่าง, คุณราชวัลลภ สายทองอินทร์,<br />

คุณคำรน สุทธิ และคุณราชิต ระเด่นอาหมัด ที่ได้เสียสละ<br />

เวลามาร่วมพิจารณาผลงานทั ้ง 54 ผลงาน จาก 3 สถาบันการ<br />

ศึกษาในภาคใต้<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 2 ตุลาคม 25<strong>63</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

ศูนย์ตรัง สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ<br />

บริษัท เอสซีจีซิเมนต์ – ผลิตภัณฑ์ก่อสร้าง จำกัด (สำนักงาน<br />

ใหญ่) จัดกิจกรรม DINNER TALK โดยมีผู้ร่วมกิจกรรมประมาณ<br />

30 ท่าน ประกอบด้วย กลุ่มสถาปนิกในจังหวัดตรัง และกลุ่ม<br />

พนักงานเทศบาลสำนักการช่างเทศบาลนครตรัง ณ ร้านอาหาร<br />

แซบแบ้ง อำเภอเมืองตรัง จังหวัดตรัง<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

กรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา จัดแถลงนโยบายพร้อม<br />

แนะนำกรรมการ และจัดบรรยายการออกแบบแสงให้กับอาคาร<br />

ในชื่องานว่า “สถาปัตย์เปล่งแสง ตอน แสงแรก ต่อแสงหลวง”<br />

เวลา 16.00 น. วันเสาร์ที่ 26 กันยายน 25<strong>63</strong> ณ อาคาร<br />

ที่ทำการสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สาขา<br />

ล้านนา) ต.ดอนแก้ว อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่<br />

นายปราการ ชุณหพงษ์ ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา วาระปี 25<strong>63</strong>-2565 จัดแถลง นโยบาย และนำเสนอ<br />

ปฏิทินกิจกรรม ตลอดทั ้งวาระ พร้อมแนะนำคณะกรรมการ และ<br />

ทีมงาน ต่อด้วยการจัดบรรยาย การอกแบบแสงให้กับอาคาร<br />

(Lighting Design) ในชื่องานว่า “สถาปัตย์เปล่งแสง” ตอน แสง<br />

แรก ต่อแสงหลวง โดย คุณชัชวัลย์ กุลนิธิวิโรจน์ จาก บริษัทไลท์<br />

อินดีด จำกัด ให้เกียรติมาเป็นวิทยากร หลังจากจบการบรรยาย<br />

ช่วงแรก ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้ร่วมกันรับประทานอาหาร เครื่องดื่ม<br />

พบปะพูดคุยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น จากนั ้น ในการเสาวนา<br />

ช่วงที่ ผู้ดำเนินรายการและวิทยากร ได้พาผู้เข้าร่วมเสวนา เดิน<br />

บรรยายถึงวิธีการตกแต่งแสงสว่าง ณ อาคารที่ทำการฯ เมื่อได้<br />

รับการออกแบบแสงเพิ่มเติม สร้างความประทับใจให้กับบรรดา<br />

ผู้เข้าร่วมงานโดยทั่วกัน<br />

เมื่อวันศุกร์ที่ 16 ตุลาคม 25<strong>63</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท<br />

โฮมเมนู จำกัด จัดกิจกรรม DINNER TALK “THAT’S GOOD IS<br />

FINEDAY ENJOY THE PARTY” ณ โรงแรมนิวซีซั่น สแควร์<br />

หาดใหญ่ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา<br />

ภาพบรรยากาศ


PHRAE HERITAGE IN ACTION<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท<br />

เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จำกัด หรือ นีโอ จัดกิจกรรม<br />

PHRAE HERITAGE IN ACTION เมื่อวันที่ 5-6 กันยายนที่ผ่านมา<br />

พาสื่อมวลชนเข้าเยี่ยมชมความงามของมรดกสถาปัตยกรรมอัน<br />

ทรงคุณค่าในจังหวัดแพร่ และเป็นตัวอย่างของการเปลี่ยนวิกฤต<br />

ให้เป็นโอกาสในการสร้างโมเดลการอนุรักษ์มรดกสถาปัตยกรรม<br />

พร้อมจุดประกายสร้างพลังชุมชนให้มีส่วนร่วมในการปกป้อง เฝ้า<br />

ระวัง รักษามรดกของเมืองแพร่ ก่อนนำไปถ่ายทอดเพื่อตอกย ้ำ<br />

แนวคิดด้านการอนุรักษ์ในมุมมองใหม่ ในนิทรรศการ Refocus<br />

Heritage: มองเก่า ให้ใหม่ ที่กำลังจะเกิดขึ ้ นในงานสถาปนิก’64<br />

ที่จะจัดขึ ้ นในวันที่ 27 เมษายน​-2 พฤษภาคม​2564<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

<strong>ASA</strong> Building and Contruction Forum 2020<br />

เมื่อวันที่ 8 ตุลาคม 25<strong>63</strong> สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ร่วมกับ บริษัท เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์<br />

จำกัด (นีโอ) จัดงานสัมมนา <strong>ASA</strong> Building and Contruciton Forum<br />

2020 หัวข้อ “Thailand Economic Outlook 2020-2022<br />

ทิศทางและแนวโน้มเศรษฐกิจไทยในปี พ.ศ. 25<strong>63</strong>-2565 ”<br />

ณ มิตรทาวน์ฮอลล์ 1-1ชั ้น 5 ศูนย์การค้าสามย่านมิตรทาวน์<br />

โดยได้รับเกียรติจากวิทยากรผู้ทรงคุณวุฒิ นำโดย<br />

คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ดร.วสุ โปษยะนันทน์ ประธานจัดงานสถาปนิก’64<br />

คุณมณฑิรา หรยางกูร อูนากูล ผู้เชี่ยวชาญด้านวัฒนธรรม<br />

องค์การศึกษาวิทยาศาสตร์และวัฒนธรรม แห่งสหประชาชาติ<br />

(UNESCO) ผศ.ดร.ธนวรรธน์ พลวิชัย ที่ปรึกษาหอการค้าไทย<br />

และอธิการบดี มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย คุณรังสิน กฤต<br />

ลักษณ์ ผู้อำนวยการใหญ่สายปฏิบัติการ บริษัท บีทีเอส กรุ๊ป โฮ<br />

ลดิ ้ งส์ จำกัด (มหาชน) คุณภาคภูมิ ศรีชำนิ กรรมการผู้จัดการ<br />

บริษัท ซิโน-ไทย เอ็นจีเนียริ ่ง แอนด์ คอนสตรัคชั่น จำกัด<br />

(มหาชน) ดร.ปริญญ์ พานิชภักดิ ์ รองหัวหน้าพรรคและหัวหน้า<br />

ทีมเศรษฐกิจทันสมัย พรรคประชาธิปัตย์ และดำเนินรายการ<br />

โดย คุณบัญชา ชุมชัยเวทย์ ภายในงานยังมีกิจกรรมและการจัด<br />

แสดงผลิตภัณฑ์ นวัตกรรมและเทคโนโลยีเกี่ยวกับสถาปัตยกรรม<br />

และการก่อสร้าง จึงทำให้งานดังกล่าวได้รับความสนใจจาก<br />

สื่อมวลชนและมีผู้เข้าร่วมงานเป็นจำนวนมาก


ให้สัมภาษณ์รายการ ตีตรงจุด เกี่ยวกับเรื่องการ<br />

พัฒนาผังเมือง กทม.<br />

เมื่อวันพฤหัสบดีที่ 22 ตุลาคม 25<strong>63</strong> คุณชนะ สัมพลัง นายก<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ พร้อมด้วย รศ.ดร.พนิต ภู่จินดา นายก<br />

สมาคมนักผังเมืองไทย และ ที่ปรึกษา กรรมการบริหารสมาคมฯ<br />

ให้สัมภาษณ์รายการตีตรงจุด ของช่อง 7 เกี่ยวกับเรื่องผังเมือง<br />

กรุงเทพมหานครในอนาคต พร้อมให้ความเห็นเกี่ยวกับภาพฝัน<br />

การพัฒนาเมืองกรุงเทพฯให้น่าอยู่ และนโยบายของสมาคมฯ ที่<br />

จะเสนอและช่วยผลักดันเมืองให้ดียิ่งขึ ้ นต่อไปในอนาคต<br />

*สามารถดูคลิปรายการย้อนหลัง 3 ตอนได้ที่<br />

1. ตอน ชุมชน - ทุนอสังหาฯ กับแผนการพัฒนา กทม. https://<br />

news.ch7.com/detail/446167<br />

2. ตอน ผังเมืองใหม่ กับ กทม.ที่ยั่งยืน https://news.ch7.com/<br />

detail/44<strong>63</strong>65<br />

3. ตอน บ้าน-เมืองที่น่าอยู่ กทม.ในฝัน https://s.ch7.<br />

com/446624<br />

บรรยายหัวข้อ “บทบาทสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

ต่อวิชาชีพสถาปัตยกรรม”<br />

นายชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ประจำปี 25<strong>63</strong>-2565 ได้รับเชิญจากคณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรังสิต เป็นวิทยากร<br />

บรรยายหัวข้อ “บทบาทสมาคมสถาปนิกสยามฯ ต่อวิชาชีพ<br />

สถาปัตยกรรม” ในรายวิชา ARC 594 Professional Practice<br />

สำหรับนักศึกษาชั ้นปีที่ 4 เมื่อวันจันทร์ที่ 26 ตุลาคม 25<strong>63</strong><br />

เวลา <strong>10</strong>.00-12.00 น. ที่ผ่านมา ณ ตึก 19 ชั ้น 4 ห้อง 19-<br />

415 มหาวิทยาลัยรังสิต<br />

โดยเนื ้ อหาการบรรยายประกอบด้วย<br />

1. บทบาทของสมาคมฯต่อการปฏิบัติวิชาชีพสถาปนิก<br />

2. ศักยภาพการแข่งขันของสถาปนิกในเวทีโลก<br />

3. การปรับตัวของสถาปนิกในช่วงวิกฤติเศรษฐกิจ<br />

ภาพบรรยากาศ<br />

ภาพบรรยากาศ


18 PRIVATE<br />

POOL VILLAS<br />

<strong>10</strong> MINUTES TO<br />

EKKAMAI<br />

THONGLOR<br />

BALANCE YOUR CITY LIFEWITH A PRIVATE RESIDENCE OF 18 GLAMOROUS VILLAS<br />

WHICH ARE CAREFULLY DESIGNED TO BE HARMONIOUS WITH<br />

LAVISH GREENS AND NATURAL LIGHT<br />

18 UNITS STARTING AT 28.8 MB<br />

DON’T MISS OUT OUR EXCLUSIVE OFFER<br />

theglamorbangkok.com theglamor@peaceandliving.co.th 0<strong>63</strong> 265 4914


MEMBER CORNER<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ที่ผ่านการอนุมัติจากที่ประชุมกรรมการบริหาร<br />

ประจาเดือนกันยายน 25<strong>63</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 75 คน<br />

จานวน 17 คน<br />

จำนวน 29 คน<br />

จานวน 7 คน<br />

ประจำเดือนตุลาคม 25<strong>63</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทั่วไป<br />

• นักศึกษา<br />

จานวน 88 คน<br />

จานวน 27 คน<br />

จำนวน 43 คน<br />

จานวน 8 คน<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 9 บริษัท<br />

จำนวน - บริษัท<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ขึ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จานวน 3 บริษัท<br />

จำนวน 1 บริษัท

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!