11.04.2022 Views

ASA NEWSLETTER_01-02_65

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ุ<br />

์<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้ทำงานเผยแพร่องค์ความรู้ทางด้านวิชาชีพสถาปัตยกรรมผ่านงานสถาปนิกมา<br />

อย่างยาวนานตั ้งแต่ปี พ.ศ. 2529 โดยในทุกๆปี จะมีเนื ้ อหาทางด้านวิชาการ วิชาชีพ นำเสนอในรูปแบบที่แตกต่างกันออกไป ซึ่ง<br />

ในปีนี ้ งานสถาปนิก’<strong>65</strong> จัดภายใต้แนวคิด “พึ่งพา อาศัย : CO - WITH CREATORS” จะเป็นการนำเสนอเนื ้ อหา และงานออกแบบ<br />

ผ่านการทำงานร่วมกันระหว่างสถาปนิกและนักสร้างสรรค์ในสาขาอาชีพอื่นๆ เพื่อแสดงให้เห็นว่า “การสร้างสรรค์ร่วมกัน” ของ<br />

คนที่ต่างสาขาอาชีพนั ้นสามารถทำได้อย่างไรบ้าง พร้อมก่อให้เกิดผลลัพธ์ของงานสถาปัตยกรรมในมุมมองใหม่ๆ หรือเรื่องราว<br />

ใหม่ๆ ที่เราอาจจะไม่เคยเห็นมาก่อน ผ่านกิจกรรมต่างๆ มากมาย อาทิ นิทรรศการธีมงานหลัก CO with Covid, Professional<br />

Collaboration, Local Innovation และ <strong>ASA</strong> Member พื ้ นที่นำเสนอผลงานการทำงานในรูปแบบ Co-Creation ระหว่างสถาปนิก<br />

และนักสร้างสรรค์จากภูมิภาคต่างๆ 12 คู่ ที่มาร่วมออกแบบ 12 นิทรรศการในพื ้ นที่สมาคมฯ อีกทั ้งกิจกรรม <strong>ASA</strong> Forum ที่มี<br />

สถาปนิกและนักออกแบบชั ้นนำจากเมืองไทยและระดับโลกมาบรรยายให้ความรู้ เป็นต้น<br />

จดหมายเหตุอาษา ฉบับงานสถาปนิก’<strong>65</strong> ( <strong>01</strong>-<strong>02</strong>:<strong>65</strong> ) ฉบับนี ้ หวังว่าจะทำให้สมาชิกที่มาชมงาน ได้เข้าใจภาพรวมของ<br />

นิทรรศการทั ้งหมด และสามารถเยี่ยมชมดูงานได้อย่างมีความสุข เรื่องราวที่น ำเสนอในนิทรรศการต่างๆ นั ้นสามารถนำมาประยุกต์<br />

ให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวันได้เป็นอย่างดี ทางสมาคมฯ ขอขอบคุณสมาชิกทุกท่านที่เข้ามาชมและแชร์ประสบการณ์ในงาน<br />

สถาปนิก’<strong>65</strong> “พึ่งพา อาศัย : CO-WITH CREATOR” จัดขึ ้ นระหว่างวันอังคารที่ 26 เมษายน – 1 พฤษภาคม 25<strong>65</strong> ณ อิมแพค<br />

เมืองทองธานี สุดท้ายนี ้ จึงขอเรียนเชิญสมาชิกทุกท่านเข้าร่วมงาน มา ณ โอกาสนี ้ ครับ<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำปี พ.ศ. 2563-25<strong>65</strong><br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ วาระปี พ.ศ. 2563-25<strong>65</strong><br />

นายกสมาคม<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นายนิเวศน์ วะสีนนท์<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

นายจูน เซคิโน<br />

นายชุตยาเวศ สินธุพันธ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

นายรุ่งโรจน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

นายพิพัฒน์ รุจิราโสภณ<br />

เหรัญญิก<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจิตร<br />

ปฏิคม<br />

นายเฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

นายทะเบียน<br />

นายคมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

รศ.ดร.ม.ล.ปิยลดา ทวีปรังษีพร<br />

กรรมการกลาง<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

นายเฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

นายอดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จันเสน<br />

นายกศินธ์ ศรศรี<br />

นายณัฎฐวุฒิ พิริยประกอบ<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ วาระปี พ.ศ. 2564-2566<br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

นายสิน พงษ์หาญยุทธ นายชนะ สัมพลัง<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจิตร<br />

นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส<br />

รศ.ยุพยง เหมะศิลปิน<br />

นายสมิตร โอบายะวาทย์<br />

นายวิญญู วานิชศิริโรจน์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

อีสาน<br />

นายวีรพล จงเจริญใจ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

นายนิพนธ์ หัสดีวิจิตร


งานสถาปนิก’<strong>65</strong><br />

พึ่งพา - อาศัย : CO – with CREATORs<br />

ระหว่างวันอังคารที่ 26 เมษายน –วันอาทิตย์ที่ 1 พฤษภาคม 25<strong>65</strong><br />

ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี<br />

แนวคิดหลักในการจัดงานงานสถาปนิก’<strong>65</strong> พึ่งพา - อาศัย : CO – with CREATORs<br />

พึ่งพา - อาศัย<br />

ระบบการพึ่งพาอาศัยในสิ่งมีชีวิตเป็นวิวัฒนาการที่มีตั ้งแต่ยุคโบราณหรือที่เรียกว่า วิวัฒนาการร่วม ระบบการพึ่งพาอาศัยข้ามสายพันธุ์เกิด<br />

จากการค่อยๆ ปรับเปลี่ยนลักษณะบางประการเพื่อให้เหมาะสมและเอื ้ อประโยชน์ซึ่งกันและกัน พืชมีวิวัฒนาการทางรูปทรงและสีสันหรือ<br />

รสชาติเพื่อให้ดึงดูดผู้ที่จะมาช่วยผสมเกสร ส่วนในแมลงหรือสัตว์ ก็วิวัฒนาการในด้านสรีรวิทยาเพื่อประโยชน์ในการเก็บเกี่ยวผลผลิต การ<br />

พึ่งพาอาศัยไม่ได้มีไว้เพื่อตักตวงเอาให้ได้มากที่สุด แต่เป้าหมายคือประโยชน์ที่จะได้รับร่วมกันทั ้งสองฝ่ ายอย่างยั่งยืน ซึ่งเป็นหัวใจส ำคัญของ<br />

การอยู่รอดในอนาคต เหมือนดอกไม้ที่จะได้ขยายพันธุ์ต่อไปเรื่อยๆ ในขณะที่ผึ ้ งทั ้งเผ่าพันธุ์จะมีน ้ำหวานกินไปตลอดช่วงชีวิต<br />

CO – with CREATORs<br />

งานสถาปนิก ’<strong>65</strong> นั ้นจะหยิบยกเอางานสถาปัตยกรรมที่ใช้กระบวนการออกแบบในลักษณะ “พึ่งพา อาศัย” มาเป็นหัวข้อในการจัดงาน<br />

ส่วนหนึ่งเป็นเพราะมองเห็นความน่าสนใจของกระบวนการทำงานออกแบบในลักษณะ “การสร้างสรรค์ร่วมกัน” (Co-Create) ของเพื่อนๆ<br />

ต่างสาขาอาชีพมากขึ ้ นเรื่อยๆ เช่นการทำงานร่วมกันระหว่างสถาปนิกกับภูมิสถาปนิก ศิลปิน นักออกแบบแสง แฟชั่นดีไซเนอร์ ช่างภาพ<br />

หรือนักออกแบบสาขาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทำให้ผลลัพธ์ของงานสถาปัตยกรรมมีมุมมองที่หลากหลายจากไอเดียที่แตกต่าง นอกจากนั ้น งาน<br />

สถาปนิก ’<strong>65</strong> ยังเป็นเวทีสำหรับการตั ้งคำถามและการค้นหาคำตอบถึงการพึ่งพาอาศัยระหว่างสถาปนิกและนักสร้างสรรค์ (ที่อาจจะไม่ใช่<br />

นักออกแบบ) ในสาขาอื่นๆ เพื่อพึ่งพาศักยภาพของกันและกัน เช่น หมอ นักพัฒนาซอฟท์แวร์ พ่อครัว เกษตรกร นักบินอวกาศ นัก<br />

ชีววิทยา พระสงฆ์ ฯลฯ เราจะแสดงให้เห็นว่าการออกแบบร่วมกันโดยปรับเปลี่ยนคุณลักษณะหรือวิธีการทำงานบางประการของวิชาชีพ<br />

เพื่อเอื ้ อประโยชน์ซึ่งกันและกันนั ้นทำได้อย่างไรบ้าง<br />

โดยงานสถาปนิก ’<strong>65</strong> เป็นครั ้งแรกที่มีประธานจัดงาน 3 ท่าน จาก 3 ภูมิภาค ซึ่งเป็นอีกหนึ่งกระบวนการทำงานรูปแบบใหม่ที่แสดงให้เห็น<br />

ถึงแนวคิด ‘พึ่งพา-อาศัย’ ของสถาปนิกทุกคนไม่ว่าจะอยู่ในพื ้ นที่ใดของประเทศไทย<br />

นิทรรศการและกิจกรรมสำคัญปี นี ้ ประกอบด้วย<br />

1. ส่วนนิทรรศการหลัก ประกอบด้วย<br />

1.1 นิทรรศการ Co - with Covid<br />

นำเสนอผลงานการออกแบบพื ้ นที่สำหรับรองรับวิกฤตการณ์เชื ้ อไวรัส Covid-19 ระบาดในทุกๆ พื ้ นที่ของประเทศในช่วงปีพ.ศ.<br />

2562-2564 โดยจะนำเสนอการมีส่วนร่วมของสถาปนิกที่เข้ามามีบทบาทในการช่วยจัดการพื ้ นที่ปลอดภัยสำหรับคนไทย ทั ้งในส่วนของ<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ ที่ช่วยให้ความรู้เรื่องการออกแบบพื ้ นที่ นำเสนอไอเดียจากสถาปนิกอาสาจากทั่วประเทศ และนำเสนอการร่วมมือ<br />

ระหว่างประชาชนคนไทยที่ต้องการช่วยให้วิกฤต Covid-19 ผ่านไปได้ในทุกๆ รูปแบบ<br />

1.2 นิทรรศการ LOCAL INNOVATION<br />

นำเสนอผลงานนวัตกรรมวัสดุท้องถิ่นร่วมสมัยจากทุกๆ ภูมิภาคของประเทศไทย เพื่อเป็นทางเลือกส ำหรับสถาปนิกที่ต้องการใช้วัสดุ<br />

ประกอบอาคารที่มาจากภูมิปัญญาท้องถิ่น ทั ้งในส่วนงานโครงสร้าง วัสดุปิดผิว หรืองานตกแต่ง ซึ่งการเลือกใช้วัสดุท้องถิ่นจะสามารถสร้าง<br />

คุณค่าต่อยอดให้กับภูมิปัญญาของการก่อสร้างในอดีต และมีประโยชน์ต่อสังคมในเรื่องของการลดปริมาณคาร์บอนที่ปล่อยสู่ชั ้นบรรยากาศ<br />

จากการใช้วัสดุในพื ้ นที่ได้อีกด้วย ซึ่งในปีนี ้ จะเป็นครั ้งแรกที่จะมีการคำนวณปริมาณ Carbon Footprint ที่เกิดจากนิทรรศการสถาปนิก’<strong>65</strong><br />

เพื่อสร้างความตระหนักรู้เรื่องสิ่งแวดล้อมและสร้างเครื่องมือสำหรับนักออกแบบที่สามารถจะช่วยสิ่งแวดล้อมตั ้งแต่ต้นทางได้ด้วย<br />

1.3 นิทรรศการ PROFESSIONAL COLLABORATION<br />

นำเสนอผลงานการทำงานในรูปแบบ Co-Create ของสถาปนิกและนักสร้างสรรค์จากภูมิภาคต่างๆ 12 คู่ ที่มาร่วมออกแบบ 12<br />

นิทรรศการในงานสถาปนิก’<strong>65</strong> โดยจะเป็นการนำเสนอแนวคิดของการออกแบบ วิธีการทำงานแบบข้ามสายอาชีพ และกระบวนการสื่อสาร<br />

ข้ามภูมิภาคในยุค New Normal ที่อาจจะไม่ใช่วิธีการทำงานฉุกเฉินในช่วง Covid แต่อาจจะเป็นรูปแบบการทำงานร่วมกันปกติในอนาคต


1.4 นิทรรศการผลงานสถาปนิก สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯ (<strong>ASA</strong> Member)<br />

นำเสนอผลงานของสมาชิกสมาคมสถาปนิกสยามฯทั ้งประเภทนิติบุคคลและบุคคลภายใต้กรอบธีมงานที่กำหนด<br />

1.5 นิทรรศการ Delineation of Architectural Masters<br />

นิทรรศการ Delineation of Architectural Masters เป็นนิทรรศการที่เริ่มต้นจากโครงการ <strong>ASA</strong> Talk Series ที่จัดโดยสถาบัน<br />

สถาปนิกสยาม ( Institute of Siamese Architect : ISA ) โดยได้เชิญสถาปนิกระดับตำนานที่เชี่ยวชาญในเรื่องการเขียนรูปทัศนียภาพใน<br />

ประเทศไทย จัดแสดงผลงานภาพสเก๊ตซ์ เพื่อให้ผู้เข้าชมได้ศึกษาและชื่นชมผลงานอย่างใกล้ชิด<br />

2. นิทรรศการวิชาการ ประกอบด้วย<br />

2.1 นิทรรศการ <strong>ASA</strong> Workshop<br />

<strong>ASA</strong> Architectural Design Student Workshop นำเสนอผลงานเหล่านิสิต นักศึกษาจากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ สถาบันการ<br />

ศึกษาต่างๆ ทั่วประเทศ ที่เข้าร่วมโครงการปฏิบัติการออกแบบสถาปัตยกรรมระดับนิสิตนักศึกษา นิทรรศการ <strong>ASA</strong> Workshop ภายใต้กรอบ<br />

ธีมงานที่กำหนด<br />

2.2 นิทรรศการประกวดแบบเชิงแนวความคิด (<strong>ASA</strong> Experimental Design)<br />

การแสดงผลงานการประกวดแบบในระดับนานาชาติ ที่เปิดให้สมาชิกสมาคมฯ และผู้สนใจทั่วไปเข้าร่วมส่งผลงานแสดงแนวคิดใน<br />

การออกแบบภายใต้กรอบธีมงานที่กำหนด<br />

3. นิทรรศการ สมาคม วิชาชีพ วิชาการ ประกอบด้วย<br />

3.1 นิทรรศการรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่น และ รางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม ประจำปี 25<strong>65</strong><br />

นำเสนอผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมที่ได้รับรางวัลสถาปัตยกรรมดีเด่นคัดเลือกโดยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

ในปี พ.ศ. 25<strong>65</strong> นำเสนอผลงานออกแบบสถาปัตยกรรมที่ได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม ประจำปี 25<strong>65</strong> ที่คัดเลือกโดยสมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

3.2 นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

นำเสนอผลงาน นิทรรศการ เฉลิมราชสุดา สถาปัตยานุรักษ์ นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระ<br />

เทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในด้านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทย โดยได้ทรงดำรงตำแหน่ง “แม่กอง” ในอนุรักษ์และสืบสาน<br />

มรดกสถาปัตยกรรมสำคัญๆ เช่น พระตำหนักใหญ่ วังสระปทุม<br />

3.3 นิทรรศการงานประกวดแบบภาครัฐและองค์กรอื่นๆ<br />

นำเสนอผลงานออกแบบ อาทิเช่น โครงการประกวดวิทยานิพนธ์ทางสถาปัตยกรรมดีเด่น ประจาปี 2564 (TOY ARCH) , โครงการ<br />

ประกวดแบบศูนย์การแพทย์รามาธิบดีศรีอยุธยา , โครงการประกวดแบบแก่งคอยเมืองสร้างสรรค์ Green City<br />

4. ส่วนงานพื ้ นที่กิจกรรมและบริการ<br />

้<br />

้<br />

้<br />

4.1 หมอบ้านอาษา บริการให้คำปรึกษาในเรื่องการออกแบบและก่อสร้าง โดยกลุ่มสถาปนิกหมอบ้านอาษา<br />

4.2 <strong>ASA</strong> Shop พืนที่จำหน่ายหนังสือและของที่ระลึกสมาคมฯ หนังสือวิชาการจากสถาบันการศึกษา<br />

4.3 <strong>ASA</strong> Club พืนที่ Meeting Point และจุดพักผ่อนประจำของชาวอาษา<br />

4.4 ลานกิจกรรมกลาง พืนที่จัดกิจกรรมต่างๆ อาทิ เสวนา ดนตรี ทดลองสาธิต workshop<br />

4.5 <strong>ASA</strong> Night 2<strong>02</strong>2 งานสังสรรค์ตามประเพณีของเหล่าสมาชิกอาษาทุกรุ่นทุกสมัยทุกสถาบัน<br />

5. ส่วนงานสัมมนาวิชาการ<br />

5.1 <strong>ASA</strong> International Forum 2<strong>02</strong>2<br />

งานสัมมนาวิชาการ โดยนักออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรมจากต่างประเทศ ภายใต้ธีมงาน พึ่งพา - อาศัย : CO – with<br />

CREATORs และเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์ที่อาจจะยังมีการระบาดของเชื ้ อไวรัส Covid-19 ในงาน <strong>ASA</strong> International Forum 2<strong>02</strong>2<br />

จะจัดให้อยู่รูปแบบ Hybrid Forum ที่จะสามารถเข้าร่วมฟังสัมมนาแบบ On-site และแบบ On-line ได้ในทุกๆ พื ้ นที่ของประเทศ<br />

5.2 <strong>ASA</strong> Seminar 2<strong>02</strong>2<br />

งานสัมมนาวิชาการ โดยนักออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรมในประเทศไทย ภายใต้ธีมงาน พึ่งพา - อาศัย : CO – with<br />

CREATORs โดยส่วนหนึ่งของงานสัมมนา จะเป็นรูปแบบ Hybrid Forum ที่จะสามารถเข้าร่วมฟังสัมมนาแบบ On-site และแบบ On-line ได้<br />

ในทุกๆ พื ้ นที่ของประเทศเช่นกัน


นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ<br />

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี<br />

นำเสนอผลงาน นิทรรศการ เฉลิมราชสุดา สถาปัตยานุรักษ์ นิทรรศการเทิดพระเกียรติสมเด็จพระกนิษฐาธิราชเจ้า กรมสมเด็จพระเทพ<br />

รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ในด้านการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมไทย โดยได้ทรงดำรงตำแหน่ง “แม่กอง” ในอนุรักษ์และสืบสานมรดก<br />

สถาปัตยกรรมสำคัญๆ เช่น พระตำหนักใหญ่ วังสระปทุม


1. Co-with COVID pavilion<br />

สาริน นิลสนธิ X ผศ.เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ<br />

สถาปนิก นักสร้างสรรค์<br />

สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื ้ อไวรัส COVID-19 ยังคงเป็นประเด็นใหญ่ที่ทั่วโลก<br />

ให้ความสำคัญ ซึ่งการระบาดของเชื ้ อไวรัสที่ยืดยาวมากว่า 2 ปี ทำให้ยุทธศาสตร์และ<br />

แนวทางการรับมือกับโรคติดเชื ้ อดังกล่าวถูกปรับเปลี่ยนจากการต้องอยู่แบบยำเกรง สู่<br />

การยอมรับ ปรับตัว และอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจไปกับสภาวะที่ยังไม่มีทีท่าว่าจะยุติการ<br />

แพร่กระจายลงได้ในเร็ววัน เช่นเดียวกันกับการออกแบบพาวิลเลียน ‘Co-with COVID’<br />

ที่ถูกพัฒนาขึ ้ นจากการประมวลและวิเคราะห์สถานการณ์ในทิศทางแบบเดียวกันนี ้ ที่ได้สำนักงานสถาปนิก ดี กว่า ดีไซน์ สตูดิโอ (D KWA<br />

Design Studio) นำทีมโดย สาริน นิลสนธิ และ ผศ.เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ ศิลปินและผู้ก่อตั ้ง ปาตานี อาร์ตสเปซ (Patani Artspace)<br />

เข้ามารับหน้าที่ในการออกแบบ<br />

ทั ้งคู่นำเสนอแนวคิดข้างต้นผ่านการออกแบบโครงสร้างที่ใช้ผ้าเป็นวัสดุหลักในการกำหนดขอบเขต ออกแบบพื ้ นที่ภายในโดยทำการจัด<br />

แบ่งสเปซออกเป็นส่วนๆ และใช้ลำดับการเข้าถึงในการเล่าเรื่อง สำหรับเนื ้ อหาภายในประกอบไปด้วยการตอบคำถามในเรื่องการอยู่อาศัย<br />

และการอยู่ร่วมกันในสถานการณ์โรคระบาดที่เกิดขึ ้ นจริง โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้เข้าชมงานตระหนักถึงกฎเกณฑ์ของธรรมชาติและวัฏจักร<br />

ของสิ่งมีชีวิต ซึ่งมีการหยิบเอาอัตลักษณ์ในการสร้างสรรค์งานศิลปะที่มีความเฉพาะตัวอย่างลวดลาย สีสันอันประณีต ความอ่อนช้อย และ<br />

เอกลักษณ์เฉพาะถิ่นของ ผศ.เจะอับดุลเลาะ มาร่วมขัดเกลาให้ภาพรวมของการออกแบบพาวิลเลียนหลังนี ้ มีความลึกซึ ้ งและสื่อความหมาย<br />

ได้มากขึ ้ นผ่านการใช้เส้นสาย สุนทรียภาพ และแนวคิดทางศิลปะ<br />

ทีมออกแบบเลือกใช้ประโยชน์จากเอฟเฟ็คต์ของวัสดุต่างๆ ในการจำลองความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์และสิ่งมีชีวิตที่ถูกแทนค่าด้วยท่อน ำแสง<br />

(Lighting tube) และใช้วัสดุที่มีคุณสมบัติสะท้อนแสงมาเป็นตัวแทนของเชื ้ อไวรัส โดยยังเปรียบความสัมพันธ์ที่ว่านี ้ เสมือนชีวิตคู่ขนานที่ต้อง<br />

อยู่ร่วมและพึ่งพาอาศัยกันอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ อันเป็นเรื่องธรรมชาติและความธรรมดาของสิ่งมีชีวิตบนโลกใบนี ้ ที่จะเกี่ยวข้องและเป็นส่วน<br />

หนึ่งของกันและกันตั ้งแต่วันเริ่มต้นชีวิตจนกระทั่งกลับคืนสู่ธรรมชาติ โดยวัสดุทั ้งหมดนี ้ สามารถนำกลับมาใช้ใหม่ได้หลังจบงาน<br />

พาวิลเลียน Co-with COVID นอกจากจะเป็นการเล่นกับวัสดุจนเกิดบรรยากาศสนุกๆ มีชีวิต และความเคลื่อนไหว รวมถึงเป็นการปรับเปลี่ยน<br />

พื ้ นที่ว่างให้กลายเป็นพาวิลเลียนที่นำเสนอทางเลือกในการเดินหน้าไปสู่การดำเนินชีวิตแบบปกติใหม่อย่างมั่นคงว่าสามารถทำได้อย่างไร<br />

ท่ามกลางการระบาดที่เกิดขึ ้ นนี ้ ตลอดจนการได้ทำความเข้าใจธรรมชาติของสรรพสิ่งเพื่อให้เกิดประโยชน์ทั ้งต่อตนเองและสังคมแล้ว ใน<br />

ขณะเดียวกัน เรายังได้เห็นถึงบทบาทของการออกแบบและศิลปะที่ชัดเจนในฐานะของการเป็นเครื่องมือหนึ่งซึ่งถูกใช้เพื่อสร้างความเข้าใจ<br />

และแก้ปัญหาต่อวิกฤตที่เกิดขึ ้ น อันจะนำไปสู่วิถีการปฏิบัติตัวที่เหมาะสมต่อไปในอนาคตด้วย<br />

สาริน นิลสนธิ<br />

กรรมการผู้จัดการ<br />

บริษัท ดี กว่า ดีไซน์ สตูดิโอ จำกัด (D KWA Design Studio Co.,Ltd.)<br />

ผศ.เจะอับดุลเลาะ เจ๊ะสอเหาะ<br />

ผู้ก่อตั้ง<br />

ปาตานี อาร์ตสเปซ (Patani Artspace)


2. Local innovation pavilion<br />

คำรน สุทธิ X จีรศักดิ์ พานเพียรศิลป์<br />

สถาปนิก นักสร้างสรรค์<br />

จากโจทย์ใหญ่อย่างการเฟ้นหาวัสดุพื ้ นถิ่นเพื่อทำการทดลอง ออกแบบ และพัฒนา<br />

ให้เกิดนวัตกรรมที่ยั่งยืน คำรน สุทธิ สถาปนิกแห่ง Eco Architect ผู้มีความเชื่อว่า<br />

สถาปัตยกรรมทุกหลังที่ออกแบบจะต้องอยู่สบายและหายใจร่วมกับธรรมชาติ จึงนำ<br />

โจทย์ดังกล่าวมาเป็นต้นขั ้วทางความคิดของการออกแบบพาวิลเลียน ‘Local innovation’<br />

ในปีนี ้ ซึ่งหลอมรวมเอาอัตลักษณ์สำคัญของตัวเขากับ จีรศักดิ ์ พานเพียรศิลป์<br />

หรือ Joez19 ช่างภาพสายครีเอทีฟที่ภาพของเขามักเอ่ยถึงเรื่องธรรมชาติ วิถีชีวิต และความทรงจำ เข้าไว้ด้วยกัน จนนำไปสู่การออกแบบ<br />

พาวิลเลียนในนาม ‘Co-breathing house’ หลังนี ้ ขึ ้ น<br />

ด้วยตำแหน่งที่ตั ้งซึ่งอยู่ใกล้บริเวณทางเข้าของงาน อีกทั ้งยังอยู่ล้อมรอบไปด้วยพาวิลเลียนอื่นที่น่าสนใจมากมาย ทีมออกแบบจึงเปิดพื ้ นที่<br />

บริเวณหัวมุมเพื่อรับมุมมองและดึงดูดความสนใจจากผู้เข้าชม ขณะที่พื ้ นที่ด้านในเป็นการจำลองห้องต่างๆ ภายในบ้านของจีรศักดิ ์ ที่แต่ละ<br />

ห้องมีฉากหลังเป็นภาพถ่ายซึ่งสะท้อนให้เห็นถึงความงามของธรรมชาติ ตลอดจนเสน่ห์ของแสงและเงา อันเป็นปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ<br />

ที่สอดคล้องไปกับปรัชญาในการออกแบบสถาปัตยกรรมสีเขียวของ Eco Architect<br />

ในส่วนของการสร้างลำดับการเข้าถึงนั ้นเป็นไปในลักษณะ linear circulation ที่มีการแบ่งพื ้ นที่ภายในออกเป็น 6 ห้องหลักๆ แต่ละห้องเป็นการ<br />

นำภูมิปัญญาของวัสดุพื ้ นถิ่นของไทยมาใช้ในเชิงทดลองจนเกิดรูปแบบใหม่ในการทำหน้าที่เป็นเปลือกอาคาร (Facade) โดยแสดงออกถึง<br />

วัตถุประสงค์ต่างๆ ที่เหมาะสมไปในแต่ละภูมิภาค อีกหนึ่งความพิเศษของ Co-breathing house คือการออกแบบผนังกั ้นภายในห้องต่างๆ<br />

ให้กลมกลืนไปกับวัสดุพื ้ นถิ่น และเลือกเล่นไปกับผัสสะหรือประสาทสัมผัสของมนุษย์ผ่านภาพ เสียง การสัมผัส เพื่อให้ผู้ชมมีส่วนร่วมกับ<br />

เนื ้ อหาที่เกี่ยวเนื่องกับวัสดุพื ้ นถิ่นในแต่ละภาค รวมถึงอัตลักษณ์ของผู้สร้างสรรค์ได้อย่างแท้จริง<br />

คำรน สุทธิ<br />

ผู้ก่อตั ้ง<br />

บริษัท อีโค่ อาร์คิเทค จำกัด (Eco Architect Co.,Ltd.)<br />

จีรศักดิ ์ พานเพียรศิลป์<br />

ช่างภาพ


3. Professional collaboration<br />

ปกรณ์ อยู่ดี / วิภาดา อยู่ดี X ดร.ณัฐพงศ์ นิธิอุทัย<br />

สถาปนิก<br />

นักสร้างสรรค์<br />

ก่อนที่พาวิลเลียน ‘Professional collaboration’ จะมีลักษณะหน้าตาอย่างที่เห็น ปกรณ์<br />

และวิภาดา อยู่ดี จาก อินลิ สตูดิโอ (INLY STUDIO) ได้รับมอบหมายให้ออกแบบพื ้ นที่ที่<br />

สามารถแสดงออกถึงเอกลักษณ์สำคัญ ไม่ว่าจะเป็นมุมมอง วิธีคิด ปรัชญา ไปจนถึง<br />

กระบวนการในการพัฒนาผลงานของพวกเขาเอง โดยต้องดึงเอาบุคลิกและแนวคิดของ<br />

ดร.ณัฐพงศ์ นิธิอุทัย ผู้ก่อตั ้งธุรกิจเพื่อสังคม ‘ทะเลจร’ ให้โดดเด่นและผสมผสานอยู่ใน<br />

นั ้น โดยพาวิลเลียนดังกล่าวถูกกำหนดให้เป็นพื ้ นที่สำหรับจัดแสดงแนวความคิดและการทำงานร่วมกันของสถาปนิกและนักสร้างสรรค์จาก<br />

ทั่วประเทศทั ้ง 24 กลุ่ม ภายในงานสถาปนิก’<strong>65</strong> กับผลงานในรูปแบบหุ่นจำลอง (Model) ภาพถ่ายแนวความคิด และสื่อวิดีทัศน์<br />

จากความตั ้งใจที่ต้องการสร้างพื ้ นที่และความรู้สึกเสมือนอยู่ท่ามกลางเกลียวคลื ่นที ่ถูกปกคลุมด้วยขยะซึ่งถูกรีไซเคิลแล้วของทะเลจร INLY<br />

STUDIO ได้คลี ่คลายแนวความคิดดังกล่าวให้กลายเป็นรูปทรงอันเรียบง่าย แต่มีความเคลื่อนไหวเป็นพลวัต (Dynamic) เพื่อสร้างเป็นจุด<br />

สนใจ (Landmark) จากระยะไกลในการดึงดูดผู้ชมให้เข้าสู่พื ้ นที่จัดงาน ตัวโครงสร้างขึ ้ นรูปจากตะแกรงเหล็ก (Wire mesh) ซึ่งเอื ้ อให้สามารถ<br />

สร้างสรรค์รูปทรงอ่อนช้อยของเกลียวคลื่นได้อย่างสมบูรณ์ มีความแข็งแรง ขณะที่การก่อสร้างก็สามารถทำได้อย่างรวดเร็วด้วยเช่นกัน จาก<br />

นั ้นทีมออกแบบจึงเปลี่ยนมุมมองการใช้วัสดุจากขยะดังกล่าวโดยห่อหุ้มชิ ้ นส่วนเหล่านั ้นด้วยตะแกรงเหล็ก ผลลัพธ์ที่เกิดขึ ้ นคือโครงสร้างที่<br />

ทำหน้าที่คล้ายกับผลงานประติมากรรมถูกนำมาจัดเรียงกันให้สามารถสร้างการรับรู้ได้แบบ 360 องศา ทำให้ผู้ที่เข้าชมสามารถมีมุมมอง<br />

ที่แตกต่างกันออกไป ส่งผลให้ได้รับสัมผัสและประสบการณ์ความรู้สึกเฉพาะตัวไปในแต่ละจุดของพาวิลเลียน<br />

อีกหนึ่งความน่าสนใจเบื ้ องหลังโครงสร้างทั ้งหมดนี ้ คือการที่สถาปนิกและนักสร้างสรรค์ตั ้งใจแสดงให้เห็นถึงคุณสมบัติเด่นของวัสดุจากขยะ<br />

ในเรื่องความยืดหยุ่น ซึ่งสามารถใช้งานได้หลากหลายรูปแบบ ไม่ว่าจะเป็นแบบแผ่นเพื่อล้อไปกับรูปทรงที่ลื่นไหลของลอนคลื่นในทะเลหรือ<br />

การขึ ้ นรูปแบบสามมิติ รวมถึงการหยิบจับขยะจากทะเลมาสร้างสรรค์เพื่อสะท้อนถึงศักยภาพและคุณค่าที่เป็นได้มากกว่าของไร้ค่าอย่างที่<br />

เคยเป็นมา พร้อมๆ ไปกับการส่งสารให้ผู้ชมได้ตระหนักถึงปัญหาเรื่องขยะในมหาสมุทร ตลอดจนการคิดและพัฒนาเพื่อลดปัญหาจากขยะ<br />

ด้วยการนำกลับมาใช้ใหม่ (Recycle) อันเป็นสิ่งที่ ดร.ณัฐพงศ์และทะเลจรได้พยายามสื่อสารมาโดยตลอดอีกด้วย<br />

ปกรณ์ อยู่ดี / วิภาดา อยู่ดี<br />

กรรมการผู้จัดการ I Managing Director<br />

บริษัท อินลิ สตูดิโอ จำกัด (INLY STUDIO Co.,Ltd.)<br />

ดร.ณัฐพงศ์ นิธิอุทัย<br />

ผู้ก่อตั ้ง I Founder<br />

บริษัท ทะเลจร เอสอี จำกัด (Tlejourn SE Co.,Ltd.)


4. <strong>ASA</strong> Member pavilion<br />

รังมดแดง (Rang Mod Deang)<br />

ธรรศ วัฒนาเมธี / อัชฌา สมพงษ์ X ศุภชัย แกล้วทนงค์<br />

สถาปนิก<br />

นักสร้างสรรค์<br />

การออกแบบพาวิลเลี่ยน ‘<strong>ASA</strong> Member’ หลังนี ้ เป็นผลงานร่วมกันระหว่าง ธรรศ<br />

วัฒนาเมธี และ อัชฌา สมพงษ์ สองสถาปนิกแห่ง ชานเฌอ สถาปนิกและการ<br />

ออกแบบ (Chan Cher Architects and Design) จากสกลนคร และ ศุภชัย แกล้ว<br />

ทนงค์ นักออกแบบผลิตภัณฑ์แห่ง นักคิด ดีไซน์ สตูดิโอ (Nakkhid Design Studio)<br />

จากนครศรีธรรมราช ที่มีแนวคิด ‘พึ่งพาอาศัย’ เป็นจุดตั ้งต้น จากนั ้นจึงขยายมุมมอง<br />

ของโจทย์ดังกล่าวด้วยการนำเรื่อง ‘ไข่มดแดง’ ที่นักออกแบบได้พบเจอในตลาดสดระหว่างการหาข้อมูลว่าอะไรคือวัฒนธรรมร่วมของสอง<br />

ภูมิภาค ซึ่งน่าสนใจมาก และสะท้อนให้เห็นถึงวิถีของการพึ่งพาอาศัย อันเป็นความสัมพันธ์ระยะยาวของสิ่งมีชีวิตที่อาศัยอยู่ร่วมกันในระบบ<br />

นิเวศ โดยที่ทั ้ง 2 ฝ่ ายต่างได้รับผลประโยชน์จากความสัมพันธ์ในลักษณะนี ้ มาใช้เป็นแก่นสำคัญของการทำงาน<br />

ทีมออกแบบเนรมิตรพาวิลเลียนในชื่อ ‘รังมดแดง (Rang Mod Deang)’ ด้วยการนำเอาวิถีชีวิตของมดแดงมาเป็นต้นแบบ ตั ้งแต่เรื่องของความ<br />

สัมพันธ์ระหว่างมดกับธรรมชาติ ที่สิ่งมีชีวิตตัวเล็กๆ ต้องพึ่งพาสิ่งรอบตัวเพื่อใช้ดำรงชีวิต ไม่ว่าจะเป็นแหล่งอาหารหรือการสร้างที่พักอาศัย<br />

ไปจนถึงสมาชิกภายในรังเองต่างก็พึ่งพาอาศัยกันและมีทำหน้าที่หลักของตัวเอง ทั ้งมดตัวผู้ ตัวเมีย มดนางพญา และมดงาน โดยเฉพาะมด<br />

งานที่ต้องรับผิดชอบทั ้งเรื่องการหาอาหารและสร้างรัง<br />

หลังจากได้ไอเดียในการออกแบบและจัดการขอบเขตของพื ้ นที่แล้ว ก็เป็นเรื่องของการจัดการพื ้ นที่การใช้งาน (Function) ภายในให้สามารถ<br />

รองรับการจัดแสดงหุ่นจำลอง (Model) จำนวน 100 ชิ ้ น จากสำนักงานสถาปนิก 100 แห่ง ซึ่งเปรียบเสมือนตัวอ่อนของมดหรือไข่มด ที่<br />

เหล่า <strong>ASA</strong> Member ทำการฟูมฟักก่อนจะกลายร่างเป็นผลงานจริงและเป็นสัญลักษณ์ของการทำงานแบบพึ่งพาอาศัยกันด้วย<br />

ภาพสะดุดตาซึ่งเชื ้ อเชิญผู้คนที่ผ่านไปมาคือความโดดเด่นและแปลกตาของรูปทรงพาวิลเลียนที่ภายในมีการนำฟอร์มของไข่มดแดงมาส<br />

ร้างสรรค์เป็นแท่นจัดวางงานและโคมไฟตกแต่ง รวมไปถึงการนำวัสดุธรรมชาติที่เป็นเอกลักษณ์ท้องถิ่นของจังหวัดสกลนครและซี่ลูกกรง<br />

ไม้กระถินณรงค์มาเป็นองค์ประกอบเสริม ใช้เทคนิคการสร้างฟอร์มของงานเหล็กเพื่อให้ได้รูปทรงเสมือนงานศิลปะของตัวรังมดแดง นับ<br />

เป็นการพลิกแพลงที่ว่างให้กลายเป็นพื ้ นที่สาธารณะที่สามารถใช้จัดแสดงในอาคารและสร้างเอกลักษณ์ให้พาวิลเลียนแห่งนี ้ ไปพร้อมๆ กัน<br />

ธรรศ วัฒนาเมธี / อัชฌา สมพงษ์<br />

ผู้จัดการงานออกแบบ / นักออกแบบ<br />

ชานเฌอ สถาปนิกและการออกแบบ (Chan Cher Architects and Design)<br />

ศุภชัย แกล้วทนงค์ผู้ก่อตั ้ง<br />

ผู้ก่อตั้ง<br />

บ ริ ษั ท นั ก คิ ด ดี ไ ซ น์ ส ำ ตู ก ั ดิ ด โ ( อ N a จ k k h i d<br />

Design Studio Company Limited)


5. นิทรรศการ Delineation of Architectural Masters<br />

อ. ครองศักดิ์ จุฬามรกต / อ.ชาตรี ลดาลลิตสกุล / ผศ. รังสรรค์ ต่อสุวรรณ / อ.อาวุธ อังคาวุธ<br />

สถาปนิก<br />

นิทรรศการ Delineation of Architectural Masters เป็น<br />

นิทรรศการที่เริ่มต้นจากโครงการ <strong>ASA</strong> Talk Series ที่จัด<br />

โดยสถาบันสถาปนิกสยาม (Institute of Siamese Architect;<br />

ISA) โดยได้เชิญสถาปนิกระดับตำนานที่เชี่ยวชาญในเรื่อง<br />

ก า ร เ ขี ย น รู ป ท ั ศ นี ย ภ า พ ใ น ป ร ะ เ ท ศ ไ ท ย ท ั้ ง ห ม ด 4 ท่ า น ไ ด ้แ ก ่<br />

อ.ครองศักดิ ์ จุฬามรกต ผู้ร่วมก่อตั ้งและที่ปรึกษากลุ่มบริษัทแปลน<br />

Co-Founder and Consultant of Plan Group Co., Ltd. สถาปนิก<br />

อิสระ ศิลปิน อ.ชาตรี ลดาลลิตสกุล บริษัท ต้นศิลป์ สตูดิโอ จำกัด<br />

ศิลปินแห่งชาติ สาขาศิลปะสถาปัตยกรรม ประจำปี 2562 ผู้ช่วย<br />

ศาสตราจารย์ รังสรรค์ ต่อสุวรรณ และ อ.อาวุธ อังคาวุธ ปรมาจารย์<br />

ทางด้านการวาดภาพ perspective ของเมืองไทย โดยทั ้ง 4 ท่าน<br />

ได้มาแชร์จุดเริ่มต้นของการเป็นสถาปนิก เรื่องราวระหว่างการ<br />

ทำงานออกแบบสถาปัตยกรรม และความสุขในการวาดภาพ ผ่าน<br />

การสัมภาษณ์ที่ได้รับชมกันไปในรูปแบบแบบออนไลน์เมื่อปลายปี<br />

2564 ที่ผ่านมา<br />

งานสถาปนิก’<strong>65</strong> ได้รับเกียรติจัดแสดงผลงานภาพ perspective จากสถาปนิกทั ้ง 4 ท่าน โดยจัดแสดงภายใน<br />

พาวิลเลียน Delineation of Architectural Masters ที่จะทำให้ทุกคนได้เห็นผลงานของสถาปนิกระดับตำนานอย่างใกล้ชิด<br />

อ.ครองศักดิ ์ จุฬามรกต<br />

ผู้ร่วมก่อตั ้งและที่ปรึกษากลุ่ม<br />

บริษัทแปลน<br />

อ.ชาตรี ลดาลลิตสกุล<br />

บริษัท ต้นศิลป์ สตูดิโอ จำกัด<br />

ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รังสรรค์ ต่อสุวรรณ<br />

รังสรรค์แอนด์อะโซชีเอท จำกัด<br />

อ.อาวุธ อังคาวุธ<br />

Arwut Ankawut


6. <strong>ASA</strong> Student and Workshop pavilion<br />

( Street Wonder )<br />

ดร.ณรงค์วิทย์อารีมิตร X สร้างสรรค์ณ สุนทร<br />

สถาปนิก<br />

นักสร้างสรรค์<br />

หลังจากการจับคู่และถูกโยนโจทย์ให้ร่วมออกแบบ <strong>ASA</strong> Student and Workshop พาวิลเลียนที่<br />

มีฟังก์ชั่นหลักอย่างการน ำเสนอและเผยแพร่ความรู้ความสามารถของนักศึกษาสถาปัตยกรรม<br />

รวมถึงการทำความเข้าใจสภาวะแวดล้อม และปัจจัยต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชีวิตนักศึกษา เพื่อให้<br />

พื ้ นที่ดังกล่าวสามารถแสดงออกถึงตัวตนและศักยภาพที่แท้จริงของเหล่าเมล็ดพันธ์ ุด้านการ<br />

ออกแบบเหล่านี ้ ดร.ณรงค์วิทย์ อารีมิตร และ สร้างสรรค์ ณ สุนทร สถาปนิกจากขอนแก่นและนักสร้างสรรค์จากเชียงใหม่ จึงได้ร่วมกันสร้างสรรค์พาวิลเลียน<br />

ในชื่อ ‘Street Wonder’ นี ้ ขึ ้ น<br />

จากการใช้โจทย์ร่วมกับนักศึกษาในการสร้างประโยชน์ให้เกิดกับสาธารณะ ความพยายามที่สร้างนิทรรศการนี ้ ให้ลดผลกระทบกับสิ่งแวดล้อมให้มากที่สุดด้วยการ<br />

ลดขยะที่จะเหลือจากการจัดนิทรรศการ และสร้างประโยชน์จากการใช้งบประมาณให้เกิดกับคนที่เข้ามามีส่วนร่วมในนิทรรศการให้มากที่สุด ดังนั้น กระบวนการ<br />

ในการออกแบบนิทรรศการนี ้ จึงมุ่งเน้นที่จะไม่สร้าง แต่จะเป็นการหยิบยืมที่มีการปรับการใช้สอยของสิ่งนั้นๆ ให้เกิดประโยชน์ใหม่กับบริบทใหม่<br />

ในทุกๆ ปีที่มีการจัดนิทรรศการ การพยายามให้คนที่เข้ามาชมเข้าถึงนิทรรศการเป็นประเด็นที่ต้องพิจารณาทั้งในแง่ต ำแหน่งและเนื ้ อหาของนิทรรศการ ค ำถาม<br />

ที่ทีมออกแบบจุดประเด็นคือ เราจ ำเป็นต้องจำกัดให้ทุกคนต้องเข้ามาหานิทรรศการนั้นๆ แต่เพียงอย่างเดียวหรือไม่ เฉกเช่นการน ำเสนอเนื ้ อหาในงานสถาปนิก<br />

ของบริษัทผู้มาเช่าพื ้นที่อื่นๆ ก็ยังมีการริเริ่มที่จะน ำผู้ประชาสัมพันธ์ออกเดินไปหาผู้คนที่อาจจะสนใจซึ่งผลิตภัณฑ์ของตน ดังนั้น นิทรรศการจึงแสดงตัวตนด้วย<br />

ความสามารถในการเคลื่อนที่เข้าไปหาคนดูได้<br />

จากโจทย์เรื่องการเคลื่อนที่ ประกอบกับสถานการณ์ทางด้านเศรษฐกิจที่ตกต่ ำ<br />

จาก COVID-19 ทีมออกแบบจึงมองหาหน่วยเล็กๆ ของประชาชนที่สามารถ<br />

ตอบโจทย์กับการเคลื่อนที่ได้ ซึ่งรถเข็นอาหารของพ่อค้าแม่ค้าในตลาดท ำให้<br />

ดร.ณรงค์วิทย์และสร้างสรรค์รู้สึกสนใจที่จะท ำงานร่วมกับคนเหล่านี ้ เพื่อช่วยให้<br />

เกิดประโยชน์ซึ่งกันและกัน ค ำว่า Street Wonder จึงทำหน้าที่เป็นชื่อพ้องเสียง<br />

กับ Street vendor ผู้ค้าขายตามท้องถนนและทางเท้าที่ทั้งคู่ไปขอเช่ายืมรถเข็น<br />

โต๊ะ ที่นั่งของพวกเขามาเพื่อใช้เป็นองค์ประกอบพื ้นฐานส ำหรับพาวิลเลียนแสดง<br />

งานของนักศึกษา<br />

งบประมาณที่จัดแบ่งไว้ส ำหรับการเนรมิตพาวิลเลียนขึ ้ น แทนที่จะใช้ไปในการ<br />

สร้างก่อสร้าง แต่คือการน ำเสนอให้ใช้ไปในการเช่ายืมรถเข็น โต๊ะ และที่นั่งจากผู้<br />

ประกอบการตามทางเท้าและท้องถนน เพื่อให้เกิดเป็นรายได้ส ำหรับรายที่ได้รับ<br />

การตรวจสอบคัดเลือกแล้วว่าได้รับผลกระทบทางเศรษฐกิจจริงจากสถาณการณ์<br />

โรคระบาดปัจจุบัน รวมทั้งการช่วยเหมาสินค้าของพ่อค้าแม่ค้าเหล่านั้นเพื่อให้เป็นเครื่องมือในการช่วยให้เกิดปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้แสดงงานและผู้ชม<br />

เนื่องจากประเด็นของ ecology และ economy ณ จุดปัจจุบัน ทั้งที่เป็นอยู่แล้วและที่ถูกขับเร่งโดย COVID จนเกิดเป็นสภาพและสถานการณ์ที่เป็นอยู่ทั้งในประเทศ<br />

และทั่วโลก ทีมผู้ออกแบบต้องการให้โอกาสที่สถาปนิกจะได้co-with นักออกแบบ เป็นโอกาสที่ทั้งคู่จะได้co-with ทีมสถาปนิกผู้จัดงาน ผู้จัดงบประมาณการจัด<br />

งาน คณาจารย์ที่จัดเตรียมและดูแลการท ำเวิร์กช็อปของนักศึกษา ตลอดจนตัวนักศึกษาเองด้วย เพื่อที่ความหมายและความตั้งใจของ co-with จะมีพลัง มีความ<br />

ทั่วถึง อีกทั้งยังสร้างความเปลี่ยนแปลงในระดับที่ซับซ้อนของโครงสร้างได้มากกว่านี ้<br />

การ co-with ในครั้งนี ้ ว่ากันในส่วนของผู้จัด เป็นการร่วมมือกันตั้งแต่ต้นน้ ำ คือสมาคมสถาปนิกสยามฯ ผ่านกลุ่มประธานจัดงาน ผ่านสถาปนิกและนักออกแบบ<br />

พาวิลเลียน และนักศึกษาผู้แสดงงาน โยงไปถึงผู้รับเหมา ผู้ให้เช่ารถเข็น และอาจจะไปถึงส่วนของผู้ชมงาน Street Wonder จะเป็นโอกาสให้แต่ละคนได้น ำสิ่ง<br />

อัศจรรย์ใจตามรายทางมาเสนอ มาพูดคุย และแลกเปลี่ยนในงานครั้งนี ้ ด้วย<br />

ดร.ณรงค์วิทย์ อารีมิตร<br />

- กรรมการบริหาร บริษัท สถาปนิก 49 จำกัด<br />

- ผู้จัดการสาขาขอนแก่น บริษัท สถาปนิก 49 จำกัด (ขอนแก่น)<br />

- ผู้เชี่ยวชาญทางด้านพลังงานและสิ่งแวดล้อม I LEED Accredited Professional<br />

สร้างสรรค์ ณ สุนทร<br />

ผู้ก่อตั้ง<br />

มอกกำปอ (MOK KAM POR)


7. <strong>ASA</strong> Experimental design pavilion<br />

( The Hijab )<br />

สาโรช พระวงค์ X เอ็มโซเฟี ยน เบญจเมธา<br />

สถาปนิก<br />

นักสร้างสรรค์<br />

เพราะบรรยากาศของงานสถาปนิกตลอดระยะเวลาที่ผ่านมามักคราคร่ ำไปด้วยผู้คนจากทุก<br />

สารทิศ ความท้าทายของการออกแบบ ‘<strong>ASA</strong> Experimental design’ จึงเป็นการสร้างสรรค์<br />

พาวิลเลียนให้มีสภาพแวดล้อมที่ต้องเอื ้ อให้การจัดแสดงนิทรรศการผลงานการประกวด<br />

แบบจากสมาคมสถาปนิกสยามฯ ทั้งในระดับนักศึกษาและระดับวิชาชีพ สามารถสื่อสาร<br />

และสร้างความเข้าใจให้กับผู้ชมได้อย่างมีประสิทธิภาพท่ามกลางความจอแจของการเป็น<br />

พื ้นที่สาธารณะในลักษณะดังกล่าว สถาปนิกอย่าง สาโรช พระวงค์ จึงท ำงานร่วมกับ เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา นักออกแบบเซรามิกจากปัตตานี ในการ<br />

ทดลองพื ้นที่อันจะช่วยส่งเสริมและขับเน้นผลงานที่จัดแสดง รวมถึงการสร้างบรรยากาศให้ผู้ชมเกิดสมาธิขณะอยู่ภายในส่วนจัดแสดงได้มากกว่าเดิม<br />

จุดเด่นของการออกแบบในครั้งนี ้ คือการใช้ผ้าสีด ำมาห่อหุ้มโครงสร้างของพาวิลเลียนที่ขึ ้ นรูปจากไม้เคร่า โดยการน ำผ้าดำมาล้อมรอบพื ้นที่จัดแสดง<br />

เอาไว้ในลักษณะดังกล่าว ไม่เพียงแต่จะสื่อถึง ‘ฮิญาบ’ อันเป็นสัญลักษณ์แทนความรู้สึก วิถี และวัฒนธรรมของภาคใต้ได้เป็นอย่างดี รวมถึงเชื่อมโยง<br />

ไปกับความหมายของฮิญาบที่แปลว่า ‘ปิดกั้น ม่านกั้น การช่วยป้องกันสายตาที่ไม่ให้เกียรติแก่สุภาพสตรี และการปกป้องความไม่ดีจากภายนอกเข้าสู่<br />

ภายใน’ เท่านั้น แต่สีด ำของผ้ายังมีคุณสมบัติส ำคัญในการดูดซับสี ช่วยลดความวุ่นวาย และก่อให้เกิดสมาธิ ซึ่งจะช่วยให้ผู้ชมสามารถจดจ่อกับเนื ้ อหา<br />

และผลงานในนิทรรศการได้มากยิ่งขึ ้ น ขณะที่ยังชวนให้เกิดความสงสัยและอยากรู้ว่ามีอะไรอยู่หลังผืนผ้าสีด ำได้ในเวลาเดียวกันด้วย<br />

นอกเหนือไปจากการสร้างพื ้ นที่เพื่อให้สามารถสร้างประสบการณ์ในการชมนิทรรศการได้อย่างสมบูรณ์ที่สุดส ำหรับผู้เข้าชมแล้ว พาวิลเลียน <strong>ASA</strong><br />

Experimental design ยังมีลูกเล่นอย่างการน ำกระเบื ้ องโมบายเซรามิค อันเป็นผลงานสร้างสรรค์จาก เบญจเมธา เซรามิก (Benjametha Ceramic)<br />

มาสร้างเสียงเสนาะโสตบริเวณทางเข้า เพื่อให้ผู้ชมได้สัมผัสถึงเสียงและการสั่นไหวเพื่อดึงดูดความสนใจและท ำหน้าที่น ำทางในการเข้าสู่พื ้นที่จัดแสดง<br />

ผลงาน อีกทั้งยังสะท้อนการรับรู้ถึงการมีอยู่ของลมอันเป็นตัวแทนของสายลมที่พัดผ่านจากภาคใต้สู่พาวิลเลียน จากหลักคิดที่ต้องการเปรียบเปรย<br />

เรื่องการรับรู้ถึงการมีอยู่ของผู้ทรงสร้างจากการสัมผัสธรรมชาติซึ่งถูกสร้างให้เห็นประจักษ์อย่างสมบูรณ์แบบนั่นเอง<br />

ทั้งสองออกแบบกระบวนการก่อสร้างพาวิลเลียนหลังนี ้ จากการคิดโครงสร้างให้เป็นหน่วย (Module) ย่อยที่สุด นั่นคือกล่องไม้ขนาด 0.60 x 1.20 x<br />

4.80 เมตร โดยกล่องไม้ดังกล่าวผลิตขึ ้ นจากไม้เคร่าขนาด 1 x 2 นิ ้ ว ประกอบเข้าด้วยกันอย่างง่ายๆ ก่อนจะห่อด้วยผ้าด ำแบบสอดผ้าสลับกับโครง<br />

เคร่าไม้ด้วยเทคนิคผนังไผ่สานในเรือนพื ้นถิ่น จากนั้นโครงไม้พร้อมผ้าด ำจำนวน 1 หน่วยจะถูกนำมาจัดวางต่อๆ กันไป โอบล้อมพื ้นที่ที่ก ำหนดไว้จน<br />

ได้เป็นพาวิลเลียนชื่อ ‘The Hijab’ ในที่สุด<br />

สาโรช พระวงค์<br />

อาจารย์<br />

คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี<br />

เอ็มโซเฟียน เบญจเมธา<br />

ผู้ก่อตั ้ง I Founder<br />

บริษัท เบญจเมธา เซรามิก จำกัด (Benjametha Ceramic Co.,Ltd.)


้<br />

8. <strong>ASA</strong> Architectural design award 2<strong>02</strong>2 pavilion<br />

กำแพงแห่งปัญญา (Wall of Wisdom)<br />

ธนชาติ สุขสวาสดิ ์ / กานต์ คำแหง X กาญจนา ชนาเทพาพร<br />

สถาปนิก<br />

นักสร้างสรรค์<br />

จากความตั ้งใจที่จะสร้างพื ้ นที่สำหรับจัดแสดงผลงานรางวัลการออกแบบ<br />

สถาปัตยกรรมดีเด่นและนิทรรศการรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปสถาปัตยกรรม<br />

ประจำปี 25<strong>65</strong> นำไปสู่แนวคิดในการออกแบบพาวิลเลียนในนาม ‘กำแพงแห่ง<br />

ปัญญา’ (Wall of Wisdom) ที่เป็นการผสมผสานระหว่างจุดเด่นของ BWILD ISAN<br />

แบรนด์แฟชั่นจากจังหวัดขอนแก่นที่ กาญจนา ชนาเทพาพร ได้แรงบันดาลใจจากวิถีชีวิต วัฒนธรรม ภูมิปัญญาดั ้งเดิมของอีสาน โดยใช้<br />

ความคิดสร้างสรรค์และความกล้าในการเปลี่ยนสิ่งธรรมดาให้กลายเป็นสิ่งพิเศษ กับความโดดเด่นในงานออกแบบของ Pommballstudio<br />

สตูดิโอออกแบบสถาปัตยกรรมที่สองสถาปนิก อย่าง ธนชาติ สุขสวาสดิ ์ และ กานต์ คำแหง ซึ่งมักใช้แนวคิดในการออกแบบจากการนำวัสดุ<br />

ธรรมดาที่พบเห็นได้ทั่วไปมาปรับใช้กับงานสถาปัตยกรรมและตกแต่งภายในให้มีเอกลักษณ์เฉพาะตัวเข้าด้วยกัน<br />

ทีมออกแบบนำเสนอพาวิลเลียนในลักษณะ sculpture architecture ซึ่งเป็นการนำแรงบันดาลใจจากสิ่งรอบตัวที่เป็นธรรมชาติมาแปลงให้<br />

เป็นแนวทางในการกำหนดพื ้ นที่และพัฒนารูปลักษณ์ ทั ้งคู่เลือกผนังกั ้น (Partition) มาใช้เป็นองค์ประกอบสำหรับเป็นจุดจัดแสดงหลักและ<br />

ถ่ายทอดแนวคิดในการออกแบบ ผนังกั ้นทั ้งหมดได้ถูกจัดเรียงซ้อนชั ้นกันเพื่อสร้างทางสัญจรที่ถูกแยกออกเป็นแฉก คล้ายคลึงกับลักษณะ<br />

การลำเลียงอาหารของใบไม้ แต่ละแผ่นผืนของผนังซึ่งมีขนาดและความสูงต่ำแตกต่างกันไป ยังถูกนำมาวางไล่เรียงลำดับจากต่ำไปสูงและ<br />

จากเล็กไปใหญ่สลับกันไปเพื่อจำลองลักษณะซ้อนทับกันของวัสดุจากธรรมชาติอย่างหน่อไม้และเปลือกไม้ โดยการออกแบบในลักษณะดัง<br />

กล่าวเป็นการเปิดมิติมุมมองในส่วนต่างๆ ภายในบูธที่จะสร้างประสบการณ์และการรับรู้ที่แตกต่างและหลากหลายแบบไม่ซ ้ำกันในแต่ละจุด<br />

การจัดแสดงผลงานต่างๆ ถูกกำหนดให้อยู่ติดกับทางเดินหลักบริเวณกลางพาวิลเลียนและมีทางเดินรองเป็นส่วนประกอบซึ่งอยู่ติดกับทาง<br />

เดินภายนอก โดยถอดแบบมาจากลักษณะการห่อหุ้มเมล็ดแกนกลางของสิ่งมีชีวิตในธรรมชาติ เช่น ดอกไม้และเมล็ดพันธ์ต่างๆ และเป็นการ<br />

จัดเรียงลำดับความสำคัญในการเล่าเรื่องจากภายนอกเข้าสู่เนื ้ อหาสาระสำคัญของการจัดแสดงผลงานที่อยู่แกนกลางของพาวิลเลียนหลังนี<br />

สำหรับส่วนจัดแสดงผลงานที่เป็นผนังทึบตันสีขาวล้วน ใช้วัสดุไม้ประกอบโครงและปิดผิวด้วยแผ่นสมาร์ทบอร์ดหรือยิปซั่มเป็นวัสดุหลัก<br />

ขณะที่ส่วนโปร่งแสง/โปร่งใสซึ่งทำหน้าที่เสมือนเป็นผิว (Skin) ห่อหุ้มแกนกลางภายในเอาไว้มีที่มาจากลักษณะการซ้อนทับกันของวัสดุจาก<br />

ธรรมชาติ อีกทั ้งยังมีการแฝงรายละเอียดของการทอผ้าที่มีการซ้อนทับกันของเส้นด้ายแนวตั ้งและแนวนอนจนเกิดเป็นลวดลายโปร่งแสง/<br />

โปร่งใสไปตามแต่ละผนังดังกล่าวด้วย<br />

Wall of Wisdom เป็นพาวิลเลียนที่แสดงออกถึงความสมดุลระหว่างอัตลักษณ์ของ BWILD ISAN แบรนด์จากภาคอีสานและสำนักงานสถาปนิก<br />

Pommballstudio จากภาคเหนือได้อย่างพอดิบพอดี และสะท้อนถึงความหมายของการพึ่งพาอาศัยกันตามการตีความของทีมออกแบบที่มี<br />

ตรงกันอย่าง ‘การนำวัตถุดิบที่ธรรมดามาสร้างให้เกิดคุณค่า’ มาใช้ในการออกแบบ จัดวาง และทำซ ้ำ โดยมีเป้าหมายเพื่อให้พาวิลเลียน<br />

หลังนี ้ สามารถตอบสนองด้านการใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีความงามที่เรียบง่าย ขณะที่ยังคงความโดดเด่นและสามารถดึงดูดความ<br />

สนใจผู้ร่วมงาน ตลอดจนสร้างประสบการณ์และความรู้สึกที่แตกต่างกันไปในแต่ละมิติและมุมมองดังที่ทีมออกแบบตั ้งใจซ่อนรายละเอียด<br />

ต่างๆ เอาไว้ด้วยเช่นกัน<br />

กานต์ คำแหง / ธนชาติ สุขสวาสดิ ์<br />

สถาปนิก I Architect<br />

บริษัท ปอมบอลสตูดิโอ จำกัด (Pomballstudio Co.,Ltd.)<br />

กาญจนา ชนาเทพาพร<br />

ประธานกรรมการบริหาร / ผู้ก่อตั ้ง I CEO / Founder<br />

บริษัท บีไวลด์ บีเอช จำกัด (BWILD BH CO.,LTD.)


9. นิทรรศการประกวดแบบภาครัฐ<br />

ชาวนาและช่างก่อสร้าง (Farmer and Builder)<br />

ซัลมาน มูเก็ม X รติกร ตงศิริ<br />

สถาปนิก นักสร้างสรรค์<br />

สำหรับพื ้ นที่จัดแสดงนิทรรศการประกวดแบบภาครัฐประจำปี 25<strong>65</strong> หลังนี ้ เป็นฝีมือ<br />

การออกแบบของ ซัลมาน มูเก็ม หัวเรือใหญ่แห่ง ‘สถาปนิกมุสลิมเพื่อชุมชน’ ซึ่งเกิด<br />

ขึ ้ นจากการหาจุดเชื่อมโยงระหว่างมุมมองของตัวเขาเองในฐานะสถาปนิก กับบุคลิก<br />

(Character) และความคิดความเชื่อของ รติกร ตงศิริ นักสร้างสรรค์ที่เป็นทั ้งผู้ก่อตั ้ง<br />

‘ป่ านาคำหอม’ และหนึ่งในสมาชิก ‘ชาวนาไทอีสาน’ พาวิลเลียนหลังนี ้ จึงถูกออกแบบขึ ้ นเพื่อเป็นตัวแทนกลุ่มอาชีพสำคัญของประเทศอย่าง<br />

ชาวนาและช่างก่อสร้าง ผู้ที่ทั ้งครอบครองมูลค่าทางวัตถุที่สำคัญอย่างพลังแรงงานและความสามารถในการทำงาน คือรากฐานซึ่งสำคัญต่อ<br />

ระบบเศรษฐกิจ รวมทั ้งเป็นฟันเฟืองที่ช่วยให้เกิดผลผลิตกับทุกสินค้าและกระบวนการ อันมีผลโดยตรงในการกำหนดความมั่นคงก้าวหน้า<br />

หรือความอ่อนแอทางเศรษฐกิจ<br />

ภายในพาวิลเลียนเป็นการนำเสนอเรื่องราวของกลุ่มชาวนาไทอีสานที่เกิดการ<br />

รวมตัวกันของคนรุ่นใหม่ซึ่งมีเป้าหมายเดียวกัน คือเป็นชาวนาที่ทำนาประณีต<br />

แบบอินทรีย์ สืบทอดความดีงามแห่งท้องไร่ท้องนาจากบรรพบุรุษ เก็บรักษา<br />

เมล็ดพันธุ์พื ้ นบ้าน พร้อมๆ ไปกับการปรับปรุงและพัฒนาพันธุ์ใหม่ๆ ที่ตอบ<br />

สนองทั ้งด้านการผลิตและบริโภคเพื่อความมั่นคงทางอาหารและความหลาก<br />

หลายทางชีวภาพ โดยมีการจัดแสดงพันธุ์ข้าวที่ชาวนาไทอีสานทำการอนุรักษ์<br />

ไว้กว่า 150 สายพันธุ์ เพื่อบอกเล่าถึงความหลากหลายของพันธุ์ข้าวที่เชื่อม<br />

โยงไปสู่วัฒนธรรมและภูมิปัญญาของบรรพบุรุษ และส่งต่อมาจนถึงชาวนารุ่น<br />

ปัจจุบัน ซึ่งจุดเด่นสำคัญคือข้าว 7 สายพันธุ์ใหม่ที่ถูกพัฒนาและปรับปรุงขึ ้ น<br />

ในกลุ่มชาวนาไทอีสาน โดยผ่านกระบวนการปรับปรุงพัฒนาที่ใช้เวลาต่อเนื่อง<br />

ไม่น้อยกว่า 8 ปี กว่าจะเป็นพันธุ์ข้าวที่มั่นใจว่าสามารถตอบสนองต่อการปลูก<br />

ด้วยระบบอินทรีย์ ให้ผลผลิตดี ดูแลง่าย สีสันสวยงาม ให้รสสัมผัสที่เหนียวนุ่ม<br />

หอม และอร่อย<br />

ในส่วนของเทคนิคการก่อสร้างเป็นการนำทักษะเชิงช่างพื ้ นฐานของช่าง<br />

ก่อสร้างมาใช้ในการออกแบบ และใช้วัสดุง่ายๆ จากงานก่อสร้างเพื่อสื่อ<br />

ถึงศิลปะและความงามอันเกิดจากฝีมือของช่างเหล่านี ้ โดยมีเป้าหมายเพื่อ<br />

ถ่ายทอดให้เห็นถึงมุมมองของซัลมานและรติกรที่มีต่อกลุ่มวิชาชีพดังกล่าวว่า<br />

มีบทบาทสำคัญและเท่าเทียมกับวิชาชีพอื่นๆ ในการเป็นกำลังของการพัฒนา<br />

บ้านเมืองและขับเคลื่อนประเทศไปข้างหน้า และนี่คงเป็นเหตุผลที่พาวิลเลียน<br />

หลังนี ้ ถูกตั ้งชื่อว่า ‘ชาวนาและช่างก่อสร้าง’ หรือ ‘Farmer and Builder’ เพื่อบ่ง<br />

บอกถึงสิ่งที่ทีมออกแบบต้องการส่งสารไปสู่สาธารณชนนั่นเอง<br />

ซัลมาน มูเก็ม<br />

หัวหน้ากลุ่ม<br />

สถาปนิกมุสลิมเพื่อชุมชน (MAFC Muslim Architect For Community)<br />

รติกร ตงศิริ<br />

ผู้ก่อตั ้ง I Founder<br />

ป่ านาคำหอม (Pa Na Come Home)


10. หมอบ้านอาษา<br />

จักรพันธุ์ บุษสาย / วาสิฏฐี ลาธุลี X วีรดา ศิริพงษ์<br />

สถาปนิก<br />

นักสร้างสรรค์<br />

อีกหนึ่งโปรแกรมของงานสถาปนิกที่ทุกคนตั ้งตารอ คงหนีไม่พ้น ‘หมอบ้านอาษา’<br />

กิจกรรมที่เป็นการเปิดพื ้ นที่ให้บุคคลทั่วไปสามารถเข้ามาปรึกษาทุกปัญหาคาใจเกี่ยว<br />

กับบ้านและการก่อสร้างกับทีมสถาปนิกจิตอาสาได้ สำหรับการออกแบบพาวิลเลียน<br />

หมอบ้านในปีนี ้ เป็นการจับคู่ระหว่างนักออกแบบจากภาคอีสานและภาคเหนือ โดยมีสถาปนิกจาก สุนทรีย์ พลัส (S OO N T A R E E +) ที่<br />

นำทีมโดย จักรพันธุ์ บุษสาย และ วาสิฏฐี ลาธุลี ได้จับมือกับ วีรดา ศิริพงษ์ นักออกแบบผลิตภัณฑ์และผู้ก่อตั ้งแบรนด์ ’carpenter เพื่อร่วม<br />

นำเสนอแนวคิดที่เป็นส่วนผสมระหว่างปรัชญาในการออกแบบผลงานของวีรดา ทั ้งในเรื่องการสร้างคุณค่าและเพิ่มมูลค่าให้เศษไม้เหลือทิ ้ ง<br />

ด้วยความคิดสร้างสรรค์ การสร้างความตระหนักเรื่องคุณค่าทรัพยากรธรรมชาติ แนวทางการลดขยะให้เป็นศูนย์ และเศรษฐกิจหมุนเวียน<br />

กับกระบวนการการออกแบบของทีมสถาปนิก S OO N T A R E E + ซึ่งมีแรงผลักดัน (Passion) เป็นแรงกระตุ้น และมีความสมดุลเป็น<br />

ผลลัพธ์ปลายทาง<br />

หลังจากการเสนอไอเดียเรื่องรูปทรงสามเหลี่ยมซึ่งเป็นภาพจำของ ‘สเกล (Scale) ไม้’ ผลิตภัณฑ์จากแบรนด์ ’carpenter และเป็นฟอร์มที่<br />

นำไปใช้ต่อได้ง่ายในการออกแบบ เนื่องจากเป็นมิติเรขาคณิตที่สามารถต่อกันได้ไม่รู้จบ ตลอดจนการเลือกใช้วัสดุที่สามารถสะท้อนตัวตน<br />

และปลายทางที่วัสดุจะถูกหมุนเวียนไปใช้ได้หลังสิ ้ นสุดนิทรรศการ วีรดาได้ส่งไม้ต่อให้กับจักรพันธุ์และวาสิฏฐีเพื่อนำแนวคิดดังกล่าวไป<br />

ต่อยอด โดยทีมสถาปนิกได้ดึงเอกลักษณ์อันโดดเด่นของ ’carpenter คือฟอร์มสามเหลี่ยมด้านเท่าขนาด 1 เมตร มาประกอบกันเป็นฟอร์ม<br />

ของพาวิลเลียน โดยนำเอาวิธีคิดแบบหน่วยมาตรฐาน (Modular) มาใช้ เพื่อให้โครงสร้างที่เกิดขึ ้ นสามารถทั ้งผลิตและขนส่งได้ง่าย รวมทั ้ง<br />

ยังช่วยลดปริมาณก๊าซเรือนกระจก (Carbon Footprint) ที่ปล่อยออกมาจากผลิตภัณฑ์ได้ด้วย<br />

พาวิลเลียน ‘หมอบ้านอาษา’ ที่มาในรูปแบบงานประติมากรรมและมีฟังก์ชั่นใช้งานแบบเดียวกับงานสถาปัตยกรรมขนาดย่อมหลังนี ้ ก่อสร้าง<br />

ขึ ้ นด้วยไม้อัด OSB ที่ได้จากเศษไม้และขี ้ เลื่อย, ผ้าจากแบรนด์ moreloop ที่เหลือทิ ้ งจากอุตสาหกรรมสิ่งทอ และยังใช้แผ่นโพลีคาร์บอเนต<br />

ใส ซึ่งเป็นวัสดุก่อสร้างที่หาได้ง่ายในท้องตลาดเพื่อสร้างให้พื ้ นที่พาวิลเลียนมีความกึ่งทึบกึ่งโปร่งและน่าดึงดูดขึ ้ น นอกจากนี ้ ยังมีการนำ<br />

ชิ ้ นส่วนที่เหลือจากการไดคัทรูปทรงสามเหลี่ยมข้างต้นมาออกแบบเป็นโต๊ะ เก้าอี ้ และผ้ากันเปื ้ อน สำหรับใช้ภายในพื ้ นที่ โดยวัสดุทั ้งหมด<br />

จะสามารถส่งต่อเพื่อนำไปใช้ประโยชน์ด้านอื่นๆ ต่อไป โดยไม่เหลือทิ ้ งแม้แต่ชิ ้ นเดียว ซึ่งสอดคล้องไปกับแนวคิดเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม<br />

ตามแนวทางของ ’carpenter<br />

สำหรับบรรยากาศภายในถูกออกแบบให้มีความผ่อนคลาย มีความสุนทรีย์ และเป็นมิตร ไม่ต่างไปจากการนั่งคุยกับเพื่อนในคาเฟ่ เพื่อเชื ้ อ<br />

เชิญผู้สนใจเข้ามานั่งพูดคุยและปรึกษากับทีมสถาปนิกอาสาด้วยความรู้สึกสบายและเป็นกันเอง โดยมีการนำกราฟิกสเกลมาติดตั ้งบนพื ้ น<br />

และผนังเพื่อช่วยบอกระยะให้ประชาชนเทียบขนาดได้ระหว่างรับคำปรึกษา ซึ่งเป็นสิ่งที่ ’carpenter สื่อสารมาโดยตลอดอย่าง #เรื่องสเกล<br />

ไว้ใจผม และ #รักษ์โลกเริ่มที่ตัวเรา อีกด้วย<br />

จักรพันธุ์ บุษสาย / วาสิฏฐี ลาธุลี<br />

สถาปนิก I Architect<br />

สุนทรีย์ พลัส (S OO N T A R E E +)<br />

วีรดา ศิริพงษ์<br />

ประธานกรรมการบริหาร / ผู้ก่อตั ้ง / ผู้อำนวยการฝ่ ายสร้างสรรค์ I<br />

บริษัท คาร์เพนเทอร์ สตูดิโอ จำกัด (carpenter studio Co.,Ltd.)


11. <strong>ASA</strong> SHOP PLAYBRARY<br />

ชารีฟ ลอนา x สเริงรงค์ วงษ์สวรรค์<br />

สถาปนิก นักสร้างสรรค์<br />

‘ไม่ใช่เพียงแค่พื ้ นที่สำหรับผู้อ่าน แต่ต้องเหมาะสมสำหรับทุกคนด้วย’ นี่คือข้อความและ<br />

จุดตั ้งต้นของ ชารีฟ ลอนา และ สเริงรงค์ วงษ์สวรรค์ ในการสร้างสรรค์ ‘<strong>ASA</strong> Shop’ ซึ่ง<br />

เป็นพื ้ นที่สำหรับขายหนังสือ สื่อสิ่งพิมพ์ และผลิตภัณฑ์ทั ้งจากสมาคมสถาปนิกสยามฯ<br />

รวมไปถึงผลงานออกแบบของเหล่าสถาปนิกและนักสร้างสรรค์ โดยการออกแบบพา<br />

วิลเลียนที่พวกเขาตั ้งชื่อว่า ‘<strong>ASA</strong> SHOP PLAYBRARY’ หลังนี ้ เกิดจากการตั ้งคำถามว่า ‘พื ้ นที่เชิงพาณิชย์และร้านหนังสือสามารถเป็นพื ้ นที่<br />

อเนกประสงค์ที่สามารถใช้งานหลากหลายแง่มุมได้อย่างไร รวมถึงสามารถให้ผู้คนจากต่างสาขาอาชีพ ไม่ว่าจะเป็นนักออกแบบ ผู้รับเหมา<br />

นักติดต่อธุรกิจ นักศึกษา และประชาชนทั่วไปใช้งานแตกต่างกันได้อย่างไร’ โดยชารีฟและสเริงรงค์ตอบคำถามดังกล่าวด้วยการออกแบบ<br />

พาวิลเลียนในลักษณะ experience space บนแนวคิดของการก่อให้เกิดความสนุก การเรียนรู้ และแบ่งปันแบบที่ทุกคนสามารถเข้ามามี<br />

ส่วนร่วมในการใช้งานได้<br />

พื ้ นที่ภายในเป็นการผนวกเอาโปรแกรมของห้องสมุด ร้านหนังสือ และสนามเด็กเล่นเข้าด้วยกัน โดยสร้างให้เป็นพื ้ นที่สำหรับมอบ<br />

ประสบการณ์ร่วมของการจับจ่าย การเพลิดเพลินไปกับอิริยาบถต่างๆ ทั ้งการนั่ง ยืน หรือสนทนา ตลอดจนการสัมผัสถึงความคิดสร้างสรรค์<br />

ผ่านโปรแกรมของพื ้ นที่ที่ได้รับการออกแบบไว้<br />

สำหรับผลิตภัณฑ์ต่างๆ ถูกจัดวางเสมือนเป็นองค์ประกอบหนึ่งของพื ้ นที่ทั ้งหมด โดยทีมออกแบบตั ้งใจที่จะเล่นกับประสบการณ์ของผู้ใช้งาน<br />

ซึ่งได้เริ่มกลับมาอยู่ในพื ้ นที่สาธารณะอีกครั ้ง หลังจากการอยู่ภายใต้มาตรการรักษาระยะห่างในช่วงเวลาของโรคระบาดกว่า 2 ปีที่ผ่านมา<br />

โดยผู้ใช้งานสามารถสร้างอิสระในการครอบครอง และยังเลือกเริ่มต้นกิจกรรมภายในพื ้ นที่ <strong>ASA</strong> Shop ได้ทั ้งแบบเลือกเองหรือสุ่มว่าพวกเขา<br />

สนใจที่จะเริ่มใช้พื ้ นที่ในรูปแบบใด กระทั่งเกิดการใช้งานและเเลกเปลี่ยนประสบการณ์กันภายในพื ้ นที่ที่ออกแบบไว้<br />

จุดเด่นและองค์ประกอบสําคัญของ <strong>ASA</strong> SHOP PLAYBRARY หลังนี ้ คือการจัดสรรพื ้ นที่ออกเป็น 3 ส่วน เพื่อตอบสนองต่อฟังก์ชั่นที่ต่างกัน<br />

ไม่ว่าจะเป็นส่วนขาย ส่วนนั่งเล่น รวมถึงส่วนชมสินค้า โดยล้อไปกับแนวคิดหลักอย่าง ‘Free space’ และ ‘Co-with creators’ อันเป็นแนวคิด<br />

สำคัญของงานสถาปนิกประจำปี 25<strong>65</strong> นอกจากนี ้ ตัวพาวิลเลียนยังขึ ้ นโครงสร้างจากวัสดุทางสถาปัตยกรรม การออกแบบภายใน และการ<br />

ออกแบบผลิตภัณฑ์ที่สามารถนำไปใช้ต่อได้หลังจบงาน อาทิ โครงสร้างชั่วคราวผนังเบาโครง C-LINE, ผ้าใบหุ้ม, วัสดุพื ้ น Checker plate,<br />

แผ่นกันลื่น และกระเบื ้ องยาง เป็นต้น<br />

ชารีฟ ลอนา<br />

ผู้อำนวยการฝ่ ายออกแบบ<br />

บริษัท สตูดิโอ แอคท์ ออฟ ไคด์เนส แบงค็อก จำกัด<br />

สเริงรงค์ วงษ์สวรรค์<br />

นักออกแบบ / ผู้ก่อตั ้ง I Designer / Founder<br />

บริษัท รับเบอร์คิลเลอร์ จำกัด (Rubber Killer Co.,Ltd.)


้<br />

้<br />

12. <strong>ASA</strong> Club<br />

‘รส < ลด > สัมผัส’ (Touchless)<br />

ปรัชญา สุขแก้ว X สุเมธ ยอดแก้ว<br />

สถาปนิก นักสร้างสรรค์<br />

‘รส < ลด > สัมผัส’ หรือ ‘Touchless’ คือชื่อและแนวคิดในการออกแบบ ‘<strong>ASA</strong> Club’<br />

พาวิลเลียนที่มีหน้าที่ใช้สอยหลักคือการเป็นจุดนัดพบ พักคอย และเป็นพื ้ นที่พักผ่อน<br />

สำหรับการรับประทานของว่างและเครื่องดื่มของชาว <strong>ASA</strong> โดยได้ ปรัชญา สุขแก้ว<br />

สถาปนิกจาก Nuzen และนักสร้างสรรค์ สุเมธ ยอดแก้ว ผู้ก่อตั ้งค่ายเพลง Minimal<br />

Records มาออกแบบร่วมกัน<br />

เมื่อพูดถึงพื ้ นที่สำหรับการกิน ดื่ม และพักผ่อน สิ่งแรกๆ ที่ทีมออกแบบนึกไปถึงก็คือการ ‘สัมผัส’ ซึ่งจะให้ ‘รส’ และประสบการณ์ที่แตก<br />

ต่างกันไปตามความคิด ความชอบ และความรู้สึกของคน โดยในทางกายภาพ เมื่อได้สัมผัส บดเคี ้ ยว และกลืนมวลสารของรสชาติแล้ว ผู้<br />

ทานจะรู้สึกได้ถึงความลุ่มลึกของรสมากขึ ้ น ส่วนคำว่า ‘ลด’ ในมุมมองของปรัชญาและสุเมธแล้ว เป็นการบ่งบอกถึงสถานการณ์โรคระบาด<br />

ในปัจจุบันที่เรายังคงต้องอยู่อย่างระมัดระวังและจำเป็นจะต้องทิ ้ งระยะห่างระหว่างกันอย่างเหมาะสม ขณะที่เรายังคงต้องการได้รับรสชาติ<br />

แบบที่เคยเป็นมา ดังนั ้น แนวคิดอย่าง ‘สัมผัสที่เหมาะสม’ จึงเป็นต้นน ้ำของการออกแบบพาวิลเลียนหลังนี<br />

นอกจากฟังก์ชั่นหลักที่ต้องตอบโจทย์ในเรื่องจุดประสงค์และอารมณ์ของการนัดพบให้ครอบคลุมแล้ว พื ้ นที่ <strong>ASA</strong> Club ยังถูกกำหนดให้เป็น<br />

พื ้ นที่สำหรับรองรับการจัดกิจกรรมดนตรีสด สามารถบรรจุคนได้ในจำนวน 200 คน และต้องคำนึงถึงความปลอดภัยของผู้เข้าร่วมงานเป็น<br />

สำคัญ เพื่อลดความเสี่ยงในการปฏิสัมพันธ์ระหว่างผู้เข้าร่วมงานที่อาจจะก่อให้เกิดการแพร่กระจายของเชื ้ อไวรัสด้วย<br />

ในส่วนการจัดการพื ้ นที่ถูกสร้างสรรค์ภายใต้เครื่องมือการออกแบบที่น้อย ซึ่งสอดคล้องไปกับตัวตนของนักสร้างสรรค์อย่างสุเมธที่มีแนวคิด<br />

ในการสร้างผลงานบนความเรียบง่าย แนวทางการออกแบบจึงเป็นการลดทอนสิ่งไม่จำเป็นออกจนเหลือเพียงใจความสำคัญ แต่ทำให้ความ<br />

น้อยนั ้นมีความแข็งแรงและตอบโจทย์เรื่องการใช้งานได้มากที่สุด ตัวโครงสร้างพาวิลเลียนเป็นการนำเอากระดาษ ซึ่งเป็นสัญลักษณ์ของ<br />

ความน้อย แต่มากไปด้วยประโยชน์ และยังสามารถส่งต่อและนำกลับมาใช้ใหม่ มาขึ ้ นรูปด้วยการทำเป็นหุ่นจำลองกระดาษหรือการจัดการ<br />

พื ้ นที่ของลังกระดาษ เพื่อให้เกิดฟังก์ชั่นใช้สอย มีความรวดเร็วในแง่การก่อสร้าง และสะดวกต่อการจัดเก็บในภายหลังงาน ไม่เพียงเท่านี<br />

ยังมีการนำลักษณะเด่นและรูปแบบการสร้างงานที่ถนัดของสุเมธมาผสานในรูปแบบงานอนิเมชั่น กราฟิก แสง และเสียงที่เป็นเอฟเฟ็คต์<br />

ซ้อนทับเข้าไปในตัวงาน เกิดเป็นสถาปัตยกรรมขนาดย่อมที่ผนวกเอามุมมองและเรื่องราวของสถาปนิกและครีเอเตอร์ออกมาได้เป็นอย่างดี<br />

ปรัชญา สุขแก้ว<br />

กรรมการผู้จัดการ / สถาปนิก I Managing Director / Architect<br />

บริษัท นูเซ็น จำกัด (Nuzen Company Limited)<br />

สุเมธ ยอดแก้ว<br />

- ผู้ก่อตั ้ง บริษัท มินิมอล เรคคอร์ด จำกัด<br />

- อาจารย์ วิทยาลัยศิลปะ สื่อ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัย เชียงใหม่


13. ลานกิจกรรม / Main stage<br />

ขวัญ (เอย ขวัญ มา) (Spiral)<br />

ภูริทัต ชลประทิน X ปณชัย ชัยจิรรัตน์ / ปุญญิศา ศิลปรัศมี<br />

สถาปนิก<br />

นักสร้างสรรค์<br />

จากความสนใจในงานศิลปะหลากหลายมิติ ทั ้งศิลปะร่วมสมัย ศิลปะท้องถิ่น ไปจนถึง<br />

การตีความประเด็นต่างๆ อาทิ ประวัติศาสตร์ สังคม และวัฒนธรรมผ่านการนำเสนอ<br />

งานศิลปะจากอดีตจนถึงปัจจุบันในพื ้ นที่อีสานของ ปณชัย ชัยจิรรัตน์ และ ปุญญิศา<br />

ศิลปรัศมี ผู้ก่อตั ้ง นัวโรว์ อาร์ตสเปซ (Noir Row Art Space) จังหวัดอุดรธานี ได้ถูก<br />

นำมาหลอมรวมเข้ากับความชอบและพื ้ นฐานทางสถาปัตย์ของ ภูริทัต ชลประทิน สถาปนิกจาก ธรรมดา อาร์คิเทค (Thammada Architect)<br />

จังหวัดพิษณุโลก ที่ถ่ายทอดจุดเด่นทั ้งหมดนี ้ ออกมาเป็นการออกแบบพื ้ นที่ลานกิจกรรมภายในงานสถาปนิก’<strong>65</strong> โดยได้แรงบันดาลใจมา<br />

จากลวดลาย ‘ก้นหอย’ อันเป็นอัตลักษณ์พิเศษของเครื่องปั ้นดินเผาบ้านเชียงในจังหวัดอุดรธานี<br />

หลังจากการค้นคว้าข้อมูลเรื่องลวดลายดังกล่าว ซึ่งเป็นสิ่งที่ปณชัยและปุญญิศามีความสนใจมาโดยตลอด พบว่า ‘ก้นหอย’ หรือ ‘ขวัญ’ มีความ<br />

สัมพันธ์ไปกับร่างกายของมนุษย์มาช้านาน อีกทั ้งยังเกี่ยวข้องกับความเชื่อหลังความตาย และเป็นลวดลายที่ถูกให้ความสำคัญในเชิงสัญญะ<br />

ภูริทัตจึงได้นำเอาเส้นสายของลวดลายดังกล่าวมาพัฒนาต่อจนเกิดเป็นรูปแบบของพาวิลเลียนชื่อว่า ‘ขวัญ (เอย ขวัญ มา)’ หรือ ‘Spiral’<br />

ด้วยความตั ้งใจที่อยากใช้วัสดุซึ่งสามารถหาได้ในจังหวัดอุดรธานี มีความหมายในเชิงความเชื่อ ทั ้งยังสอดคล้องไปกับธีมงานหลักอย่าง<br />

‘พึ่งพา - อาศัย’ เส้นใยฝ้ายย้อมสีดินจากอุดรนาคินทร์ กลุ่มทอผ้ามัดหมี่ย้อมครามสีธรรมชาติจึงถูกเลือกให้เป็นพระเอกในการสร้างสรรค์<br />

พื ้ นที่ดังกล่าว โดยจุดเด่นหลักๆ ของวัสดุที่ว่าคือสีสันบนใยฝ้ายที่ได้จากการย้อมสีดินนาคาและสีของดอกดาวเรืองที่ผ่านการบูชาจากดิน<br />

แดน ศักดิ ์สิทธิ ์อย่างคำชะโนดอีกทั ้งใบมะม่วง คราม และฝางในพื ้ นที่อำเภอบ้านดุง จังหวัดอุดรธานี ทีมออกแบบใช้เทคนิคการก่อสร้างโดย<br />

นำเส้นฝ้ายมาขึ ้ นรูปด้วยการเรียงเป็นเส้นๆ ตามโครงฉากที่ถูกออกแบบให้เป็นเสมือนผนังบางๆ วนโดยรอบพื ้ นที่ เมื่อนำเส้นฝ้ายเหล่านั ้น<br />

มาจัดเรียงให้ขนานกัน จะให้ความรู้สึกโปร่ง เบา และสามารถซ้อนทับกันได้ ก่อให้เกิดน ้ำหนักตามสีที่ถูกเรียงซ้อนทับกัน โดยลานกิจกรรม<br />

กลางดังกล่าว นอกจากเป็นพื ้ นที่แบบอเนกประสงค์ที่สามารถรองรับและยืดหยุ่นไปกับรูปแบบและความหลากหลายของกิจกรรม รวมทั ้งเป็น<br />

พื ้ นที่ซึ่งสร้างสีสันและความสนุกให้กับบรรยากาศโดยรวมของงานได้เป็นอย่างดีแล้ว ก็ยังสะท้อนให้เห็นถึงการเกื ้ อกูลระหว่างชุมชนท้องถิ่น<br />

กับธรรมชาติรอบตัวได้ในเวลาเดียวกันด้วย<br />

ภูริทัต ชลประทิน<br />

สถาปนิก / ผู้ก่อตั ้ง<br />

ห้างหุ้นส่วนจำกัด ธรรมดา อาร์คิเทค (Thammada Architect Limited Partnership)<br />

ปณชัย ชัยจิรรัตน์ / ปุญญิศา ศิลปรัศมี<br />

ผู้ก่อตั้ง<br />

นัวโรว์ อาร์ตสเปซ (Noir Row Art Space)


asa Journal 03-06<br />

Printed Edition<br />

สมาชิกสมาคมฯ<br />

รับฟรี!<br />

บูธ <strong>ASA</strong> CLUB<br />

งานสถาปนิก’<strong>65</strong><br />

asa Journal 05 : Home Smart Home<br />

asa Journal 04 : Towards Circular Living<br />

NEW! asa Journal 06 : Let There Be Light<br />

วารสารอาษา ฉบับ 03-06<br />

Printed Edition ราคา 189.- (พิมพ์จํานวนจํากัด)<br />

• สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สามารถเลือกรับได้ฉบับใด ฉบับหนึ ่ง<br />

จํานวน 1 เล่มเท่านั้น โดยแสดงบัตรสมาชิก หรือ หลักฐานการสมัคร ได้ที่บูธ <strong>ASA</strong> CLUB<br />

• หากท่านยังไม่เป็ นสมาชิกฯ สามารถสมัครและรับวารสารได้ทันที ในช่วงวันจัดงาน<br />

สถาปนิก’<strong>65</strong> ระหว่างวันที่ 26 เมษายน - 1 พฤษภาคม 25<strong>65</strong><br />

• สามารถสมัครสมาชิกสมาคมฯ ผ่านไลน์ @asaline หรือ สอบถามการสมัครสมาชิกได้ที่<br />

คุณรติรัตน์ จันทร เบอร์ <strong>02</strong>-319-<strong>65</strong>55 ต่อ 113 / 081-632-1752<br />

asa Journal 03 : Seeing Through<br />

• สามารถติดต่อสอบถามเพิ ่มเติม สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

เบอร์ <strong>02</strong>-319-<strong>65</strong>55 ต่อ 205 / 089-171-1795


ขอเรียนเชิญ ท่านสมาชิกสามัญ ร่วมประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 25<strong>65</strong><br />

ด้วยสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จะจัดการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 25<strong>65</strong> ในวันอังคารที่ 26 เมษายน พ.ศ.<br />

25<strong>65</strong> เวลา 16.00 น. ณ ห้องจูปิ เตอร์ 4-7 อาคารชาเลนเจอร์ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุมอิมแพ็คเมืองทองธานี (ภายใน<br />

งานสถาปนิก’<strong>65</strong>) และประชุม Online ระบบ Zoommeeting โดยมีกำหนดการ ดังนี ้<br />

15.30 น. ลงทะเบียนประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 25<strong>65</strong><br />

15.55 น. พิธีมอบสมาชิกกิตติมศักดิ ์ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

1. Mr. Peter Exley, FAIA - 2<strong>02</strong>1 AIA President<br />

2. Mr. Daniel S. Hart, FAIA - 2<strong>02</strong>2 AIA President<br />

เริ่มการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 25<strong>65</strong> ตั ้งแต่เวลา 16:00 น. โดยมีวาระการประชุมดังนี ้<br />

วาระที่ 1 คณะกรรมการกองทุนแถลงกิจการในรอบปี พร้อมทั ้งอธิบายข้อสังเกตแผนการดำเนินงานประจำปี และ แผนการเงินประจำปีที่<br />

คณะกรรมการบริหารเสนอ<br />

วาระที่ 2 พิจารณารับรองรายงานการประชุม<br />

2.1 รับรองรายงานการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 2564 (วันเสาร์ที่ 19 มิถุนายน 2564)<br />

2.2 รับรองรายงานการประชุมใหญ่วิสามัญ ครั ้งที่ 1 ประจำปี 2564 (วันอาทิตย์ที่ 21 พฤศจิกายน 2564)<br />

วาระที่ 3 นายกสมาคมแถลงกิจการในรอบปี และ ภารกิจสืบเนื่องที่นายกสมาคมคนใหม่จะต้องรับหน้าที่ปฏิบัติต่อไป<br />

วาระที่ 4 เหรัญญิกเสนองบดุล ซึ่งผู้ตรวจสอบบัญชีสมาคมรับรองแล้ว ให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณา<br />

วาระที่ 5 นายกสมาคม ประจำปี 25<strong>65</strong>-2567 แถลงนโยบาย และแนะนำคณะกรรมการบริหาร ประจำปี 25<strong>65</strong>-2567<br />

วาระที่ 6 นำเสนอแผนการดำเนินงานประจำปี และงบประมาณ ปี 25<strong>65</strong>-2566/แผนดำเนินงาน ให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณา<br />

วาระที่ 7 เลือกตั ้งผู้ตรวจสอบบัญชี<br />

วาระที่ 8 ข้อยุติการจัดงานสถาปนิก 63 กับทางบริษัท เอ็น.ซี.ซี. เอ็กซิบิชั่น ออกาไนเซอร์ จำกัด (นีโอ) ให้ที่ประชุมใหญ่พิจารณา<br />

วาระที่ 9 สมาชิกแสดงความคิดเห็น<br />

วาระที่ 10 เรื่องอื่นๆ<br />

ในกรณีที่อาจมีสมาชิกเข้าประชุมในวันอังคารที่ 26 เมษายน พ.ศ. 25<strong>65</strong> น้อยกว่าหนึ่งร้อยคน และทำให้ไม่สามารถดำเนินการประชุม<br />

ได้ เนื่องจากไม่ครบองค์ประชุม คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ จึงขอนัดประชุมครั ้งที่ 2 ของการประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 25<strong>65</strong> ใน<br />

วันอาทิตย์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ.25<strong>65</strong> เวลา 13.30 น. ณ ห้องประชุมพระสาโรชรัตนนิมมานก์ ชั ้น 3 อาคารสมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์<br />

เพื่อความสะดวกในการจัดเตรียมเอกสารการประชุม และสถานที่การประชุม สมาคมฯ ใคร่ขอความกรุณาจากสมาชิกโปรดแสดงความ<br />

จำนงในการเข้าร่วมประชุมใหญ่สามัญ ประจำปี 25<strong>65</strong> โดยสแกน QR Code ตามรูปแบบการประชุมที่ท่านเลือก เพียง 1 QR Code เท่านั ้น<br />

ภายในวันพุธที่ 22 เมษายน พ.ศ. 25<strong>65</strong> จักเป็นพระคุณยิ่ง<br />

ลงทะเบียนตอบรับเข้าร่วมการประชุมใหญ่สามัญ<br />

ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม<br />

ณ ห้องจูปิเตอร์ 4-7<br />

อาคารชาเลนเจอร์ เมืองทองธานี<br />

(จำกัดผู้เข้าร่วมประชุม 150 ท่าน)<br />

ลงทะเบียนเข้าร่วมประชุม<br />

Online ผ่านระบบ ZOOM<br />

Meeting<br />

หมายเหตุ :<br />

1. สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ผู้มีสิทธิ ์ออกเสียงลงมติจะต้องเป็น สมาชิกสามัญ<br />

2. กรณีที่ท่านสะดวกเข้าร่วมประชุม ณ ห้องจูปิเตอร์ 4-7 กรุณาแสดงผลทดสอบการตรวจ ATK ไม่เกิน 24 ชั่วโมง<br />

หากมีข้อสงสัยกรุณาติดต่อ คุณนพมาส สมใจเพ็ง โทรศัพท์ 0 2319 <strong>65</strong>55 ต่อ 109<br />

3. เอกสารงบประมาณและแผนการดำเนินงาน ปี 25<strong>65</strong> – 2566 ดาวน์โหลดเพิ่มเติมได้ที่ www.asa.or.th


CLOSE<br />

AW MAGAZINE AD_21x27cm.pdf 1 8/3/25<strong>65</strong> BE 09:04<br />

C<br />

M<br />

Y<br />

CM<br />

MY<br />

CY<br />

CMY<br />

K

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!