29.09.2022 Views

ASA NEWSLETTER_07-08_65

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ุ<br />

์<br />

สวัสดีสมาชิกทุกท่านครับ จำดหมายเหตุอาษา ฉ.<strong>08</strong>-09 : <strong>65</strong> ในรอบ 2 เดือนทีผ่านมานั ้นได้มีกิจำกรรมของสมาคมฯเพิมมาก<br />

ข้ ้ น ทั ้งในส่วนต่างประเทศทีได้ไปร่วมงานในภูมิภาคเอเชีย อันประกอบไปด้วยกิจำกรรมการประชุม the 42nd ARCASIA Council<br />

Meeting และการประชุม UIA Region IV Presidents ณ ประเทศมองโกเลีย ซึ่่งเป็นทีน่ายินดีอย่างยิงทีบางประเทศได้มีการเปิดให้<br />

เดินทางเข้าออกแล้ว โลกได้เริ มกลับมาเป็นปกติอีกครั ้ง ทำให้เกิดกิจำกรรมภายนอกร่วมกับเพื อนอาชีพในประเทศต่างๆ มากข้ ้ น<br />

ส่วนกิจำกรรมภายในประเทศของภูมิภาคต่างๆนั ้น เช่น งานสถาปนิกบูรพา’<strong>65</strong> จััดข้ ้ นทีพัทยา จำ.ชลบุรี โดยกรรมาธิการสถาปนิก<br />

บูรพา ซึ่่งเป็นกรรมาธิการน้องใหม่และจััดงานสถาปนิกบูรพาข้ ้ นเป็นครั ้งแรก ทำให้ปลุกสถาปนิกในฝั่่งตะวันออกตอนใต้ให้มีชีวิต<br />

ชีวาและค้กคักมากยิงข้ ้ น ภายในงานได้รับเกียรติจำากคุณปรเมศวร์ งามพิเชษฐ์ นายกเทศมนตรีเมืองพัทยาเป็นประธานเปิดงาน<br />

การจััดงานนับว่าประสบความสำเร็จล ุล่วงไปด้วยดี ทางภูมิภาคอืนๆ โดยกรรมาธิการสถาปนิกล้านนา อีสานและทักษิณ ก็ได้มี<br />

กิจำกรรมสัมมนาวิชาการและวิชาชีพให้แก่สมาชิกและผู้สนใจำเช่นกัน<br />

ส่วนการจััดสัมมนาออนไลน์และออนไซึ่ต์ โดย ISA มีการจััดข้ ้ นอย่างต่อเนืองในทุกๆเดือนและจำากนี ้ ไปจำะเป็นออนไซึ่ต์มากยิงข้ ้ น<br />

เพราะสังคมจำะกลับเข้าสู่การใช้ชีวิตปกติ สมาคมฯ จำะให้ความสาคัญกับการให้ความรู้ในเรือง material ซึ่่งสามารถติดตามโปสเตอร์<br />

ประชาสัมพันธ์ได้ในเล่ม ส่วนกิจำกรรมเยียมชมโรงงานวัสดุก็ได้จััดข้ ้นอย่างต่อเนืองควบคู่กันไป จึึงขอเชิญชวนสมาชิกทุกท่านเข้าร่วม<br />

งาน เพือเป็นแรงสนับสนุนและกาลังใจำแก่ผู้จำัด อีกทั ้งได้เก็บเกียวความรู้กันด้วยครับ ส่วนงานอืนๆ เช่น การประกวดแบบ Bluescope<br />

Design Award 2022 ทีได้รับการสนับสนุนและจััดข้ ้ นในปีนี ้ อีกครั ้ง สมาชิกสามารถส่งผลงานเข้าร่วมเพือลุ้นเงินรางวัลกันได้ครับ<br />

ขอถือโอกาสนี ้ เชิญชวนสมาชิกทีสนใจรัับตัวเล่มวารสารอาษา ฉ.<strong>07</strong>/2022 : Co-with Creators ที จำะจััดพิมพ์ข้ ้ น On demand<br />

สามารถแจ้้งชือรับตัวเล่มได้ที @asaline ภายใน 30 กันยายนนี ้ เพือเก็บสะสมเป็นทีระล้ก โดยทีมงานได้ตั ้งใจำจำัดทาข้ ้นอย่างสวยงาม<br />

ทั ้งนี ้ สมาชิกยังสามารถดาวน์โหลดและอ่านในรูปแบบ E-book ได้เช่นเดิม<br />

สุดท้ายนี ้ ขอขอบคุณคณะกรรมการกองทุน วาระปี 64-66 เป็นอย่างยิง ทีได้ปฏิิบัติหน้าทีทำให้สมาคมฯผ่านช่วงเวลาวิกฤติไปได้<br />

ด้วยดี ซึ่่งทุกท่านเป็นผู้ทีเสียสละและมีคุณูปการต่อสมาคมฯเป็นอย่างยิงและจำะหมดวาระในเดือนเมษายน 2566 ในระหว่างนี ้ ้จะ<br />

มีการเลือกตั ้งคณะกรรมการฯ ชุดใหม่ วาระปี 66-68 ในวันที 28 กันยายน 25<strong>65</strong> จึึงขอเชิญชวนสมาชิกทุกท่านติดตามและลง<br />

คะแนนเลือกตั ้ง ได้ทั ้งผ่านระบบออนไลน์และออฟไลน์ ซึ่่งทางสมาคมฯได้มีการพัฒนาระบบเพืออำนวยความสะดวก รวดเร็วและ<br />

ปลอดภัย มีให้เลือกลงคะแนนได้หลากหลายวิธี เพือให้เหมาะสมและครอบคลุมแก่สมาชิกทุกท่านครับ ขอบคุณมากครับ<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำำปี พ.ศ. 25<strong>65</strong>-2567<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 25<strong>65</strong>-2567<br />

นายกสมาคม<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นายนิเวศน์ วะสีนนท์<br />

นาย จำีรเวช หงสกุล<br />

นายไพทยา บัญชากิตติกุล<br />

นายชุตยาเวศ สินธุพันธ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

นายรุ่งโรจำน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

นายพิพัฒน์ รุจำิราโสภณ<br />

เหรัญญิก<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจำิตร<br />

ปฏิคม<br />

นายเฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

นายทะเบียน<br />

นายคมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

นางสาวกุลธิดา ทรงกิตติภักดี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

นายเฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

นายอดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จำันเสน<br />

นายธนพงศ์ วิชคำหาญ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

นายวีรพล จำงเจำริญใจำ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

ดร.กาญจำน์ เพียรเจำริญ<br />

ประธานกรรมธิการสถาปนิกบูรพา<br />

นายคมกฤต พานนสถิตย์<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2564-2566<br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

นายสิน พงษ์หาญยุทธ<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส<br />

รศ.ยุพยง เหมะศิลปิน<br />

นายสมิตร โอบายะวาทย์<br />

นายวิญญู วานิชศิริโรจำน์<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจำิตร


ปรับปรุงวิิชาชีพวิิศวิกรรมควิบคุม<br />

6 ก.ค. 25<strong>65</strong><br />

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทยออก “กฎกระทรวงกำหนด<br />

สาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม พ.ศ. 25<strong>65</strong>”<br />

ประกาศในราชกิจำจำานุเบกษาเมือวันที 6 กรกฎาคม 25<strong>65</strong> โดย<br />

ให้ใช้บังคับเมือพ้นกำหนด 180 วันนับแต่วันประกาศในราชกิจำจำา<br />

นุเบกษาเป็นต้นไป กฎกระทรวงฉบับนี ้ ออกมาเพือใช้บังคับแทน<br />

กฎกระทรวงฉบับเดิม พ.ศ. 2550 และฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ.<br />

2560 เพื อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ในปัจำจำุบันซึ่่งวิทยาการ<br />

และเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว และ<br />

เพือให้สอดคล้องกับกฎหมายอืนทีกำหนดเกียวกับความปลอดภัย<br />

ทางด้านวิศวกรรม<br />

กฎกระทรวงฉบับนี ้ ยังคงกำหนดให้วิชาชีพวิศวกรรม 7 สาขาเป็น<br />

วิชาชีพวิศวกรรมควบคุม ได้แก่ วิศวกรรมโยธา วิศวกรรมเหมือง<br />

แร่ วิศวกรรมเครืองกล วิศวกรรมไฟฟ้า วิศวกรรมอุตสาหการ<br />

วิศวกรรมสิ งแวดล้อม และวิศวกรรมเคมี รวมทั ้งกำหนดสาขา<br />

วิศวกรรมอืนอีก 19 สาขา ตามทีได้เคยกำหนดแล้วในกฎกระทรวง<br />

กำหนดสาขาวิชาชีพวิศวกรรมและวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม (ฉบับ<br />

ที 2) พ.ศ. 2560 และกำหนดงานในวิชาชีพวิศวกรรมควบคุม<br />

แต่ละสาขา 6 ชนิด ซึ่่งยังคงเดิม ได้แก่ งานให้คำปร้กษา งานวาง<br />

โครงการ งานออกแบบและคำนวณ งานควบคุมการสร้างหรือการ<br />

ผลิต งานพิจำารณาตรวจำสอบ และงานอำนวยการใช้<br />

ส่วนสาคัญทีมีการแก้ไขเพิ มเติมข้ ้ นในกฎกระทรวงฉบับนี ้ อยู่ใน<br />

ส่วนของการกำหนดประเภทและขนาดของงานวิชาชีพวิศวกรรม<br />

ควบคุมสาขาต่างๆ เฉพาะในสาขาวิศวกรรมโยธา (ข้อ 6) ได้เพิม<br />

จำาก 21 ประเภท เป็น 30 ประเภท ใน 21 ประเภทเดิม ส่วน<br />

ใหญ่เป็นการปรับปรุงถ้อยคำ มีการแก้ไขเพิ มเติมในเนื ้ อหาของ<br />

บางประเภท เช่น<br />

– สำหรับอาคารโดยทัวไป (1) ยังคงกำหนดให้งานในวิชาชีพ<br />

วิศวกรรมควบคุมสาขาวิศวกรรมโยธาได้แก่ อาคารที มีความสูง<br />

ตั ้งแต่ 3 ชั ้นข้ ้ นไป หรืออาคารที มีชั ้นใดชั ้นหน้งมีความสูงตั ้งแต่<br />

4 เมตรข้ ้ นไป ส่วนอาคารที มีช่วงคานตั ้งแต่ 5 เมตรข้ ้ นไป กฎ<br />

กระทรวงฉบับนี ้ ได้ปรับปรุงเป็น “อาคารทีมีระยะห่างระหว่าง<br />

ศูนย์กลางเสาหรือสิงรองรับอืนตั ้งแต่ 5 เมตรข้ ้นไปหรือองค์อาคาร<br />

ยืนจำากขอบนอกของทีรองรับตั ้งแต่ 2 เมตรข้ ้ นไป”<br />

– สำหรับอัฒจัันทร์ (6) นอกจำากจำะกำหนดอัฒจัันทร์ที มีพื ้ นที<br />

ตั ้งแต่ 1,000 ตารางเมตรข้ ้ นไปแล้ว ยังกำหนดเพิมสำหรับกรณี<br />

มีส่วนใดส่วนหน้งของพื ้นอัฒจัันทร์สูงจำากระดับฐานหรือพื ้นดินที<br />

ก่อสร้างตั ้งแต่ 2.50 เมตรข้ ้ นไปด้วย<br />

– เปลียนแปลงจำาก ชิ ้ นส่วนโครงสร้างคอนกรีตหล่อสำเร็จำหรือ<br />

คอนกรีตอัดแรงหล่อสำเร็จท ุกชนิดทีมีความยาวตั ้งแต่ 5 เมตร<br />

ข้ ้ นไป เป็น “(23) โครงสร้างทีเป็นคาน เสา พื ้ น กำแพง ผนัง<br />

หรือบันได ทีใช้รับน้ ำำหนัก ประกอบด้วยคอนกรีตหล่อสำเร็จำหรือ<br />

คอนกรีตอัดแรงหล่อสำเร็จำ ทุกขนาด” (ไม่ระบุความยาว)<br />

– แบบหล่อคอนกรีตและโครงสร้างรองรับแบบหล่อคอนกรีต (30)<br />

เพิมเติมกรณีคานหรือแผ่นพื ้นทีมีความสูงตั ้งแต่ 3 เมตรข้ ้นไป และ<br />

ฐานรองรับน้ ำำหนักทีมีความสูงตั ้งแต่ 3 เมตรข้ ้ นไป<br />

สำหรับประเภททีกำหนดเพิมข้ ้น ซึ่่งหลายประเภทเป็นการกำหนด<br />

ให้สอดคล้องกับกฎกระทรวงควบคุมอาคารที มีการแก้ไขเพิมเติม<br />

ในช่วงไม่กีปีมานี ้ และกฎหมายทีเกียวข้องอืนๆ ได้แก่<br />

(3) อาคารตามประเภททีกำหนดในกฎกระทรวงว่าด้วย<br />

เรืองการต้านทานแรงสันสะเทือนของแผ่นดินไหว<br />

(4) อาคารทีมีพื ้ นทีรวมกันตั ้งแต่ 150 ตารางเมตรข้ ้ น<br />

ไป ซึ่่งอยู่บนพื ้ นทีเชิงลาดทีมีความลาดตั ้งแต่ 35 องศาข้ ้ นไป<br />

(13) งานยกหรือเคลื อนย้ายอาคารทุกประเภทที มีน้ ำำ<br />

หนักรวมของอาคารตั ้งแต่ 50 เมตริกตันข้ ้ นไป หรือมีพื ้ นทีตั ้งแต่<br />

150 ตารางเมตรข้ ้ นไป<br />

(14) งานต่อเติม รื ้อถอน หรือดัดแปลงอาคารทุกประเภท<br />

ที ทำให้สัดส่วนของอาคารผิดไปจำากแบบแปลนหรือรายการ<br />

ประกอบแบบทีได้รับอนุญาตเกินร้อยละ 5 ของพื ้ นทีอาคารนั ้น<br />

หรือเป็นการเพิ มน้ ำำหนักให้แก่โครงสร้างของอาคารส่วนหน้ งส่วน<br />

ใดเกินร้อยละ 10<br />

(15) งานขุดดินทีมีความล้กจำากระดับพื ้ นดินมากกว่า 3<br />

เมตร หรือพื ้ นทีปากบ่อดินมากกว่า 10,000 ตารางเมตร<br />

(16) งานถมดินทีมีพื ้ นทีของเนินดินติดต่อเป็นผืน<br />

เดียวกันมากกว่า 2,000 ตารางเมตร และมีความสูงของเนินดิน<br />

ตั ้งแต่ 2 เมตร นับจำากระดับทีดินต่างเจ้้าของทีอยู่ข้างเคียง<br />

(24) โครงสร้างรองรับท่อที มีเส้นผ่านศูนย์กลางตั ้งแต่<br />

0.30 เมตรข้ ้ นไป หรือพื ้ นทีหน้าตัดของทุกท่อรวมกันตั ้งแต่ 0.10<br />

ตารางเมตรข้ ้ นไป<br />

(25) โครงสร้างรองรับหรือติดตั ้งเครืองเล่นทีเคลือนทีได้<br />

โดยมีความเร็วตั้งแต่ 6 กิโลเมตรต่อชัวโมงข้ ้นไป หรือมีความสูงจำาก<br />

ระดับพื ้ นทีตั ้งของเครืองเล่นถ้งระดับพื ้ นทีสูงสุดที ผู้เล่นเครืองเล่น<br />

ข้ ้ นไปเล่นตั ้งแต่ 2.50 เมตรข้ ้ นไป หรือมีส่วนทีต้องใช้น ้ามีความ<br />

ล้กของระดับน ้าตั ้งแต่ 0.80 เมตรข้ ้ นไป<br />

(26) โครงสร้างของปั ้นจำันหอสูงหรือเดอริกเครนทุก<br />

ขนาด<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2022<strong>07</strong><strong>08</strong>/


สรุปการเข้าร่วิมประชุม The 42nd ARCASIA<br />

Council Meeting และ the 5th Region IV President<br />

Meeting<br />

วันที 6-7 กันยายน 25<strong>65</strong> ณ เมืองอูลานบาตอร์ ประเทศ<br />

มองโกเลีย<br />

การประชุม the 42nd ARCASIA Council Meeting<br />

การประชุม the 42nd ARCASIA Council Meeting จััด<br />

ข้ ้ นระหว่างวันที 6-7 กันยายน 25<strong>65</strong> ณ เมืองอูลานบาตอร์<br />

ประเทศมองโกเลีย และผ่านระบบการประชุมออนไลน์ Zoom<br />

Meeting โดยมีสมาคมสถาปนิกมองโกเลีย เป็นเจ้้าภาพ มีคณะผู้<br />

แทนจำากประเทศสมาชิกเข้าร่วมการประชุมจำานวน 20 ประเทศ<br />

ได้แก่ ประเทศภูฏิาน บังคลาเทศ อินเดีย ปากีสถาน ศรีลังกา<br />

เนปาล ลาว ไทย อินโดนิเชีย มาเลเชีย บรูไน สิงคโปร์ ฟิลิปปินส์<br />

เวียดนาม มาเก๊า จีีน ฮ่่องกง สาธารณรัฐเกาหลี และมองโกเลีย<br />

โดยประเทศเมียนมาร์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชน<br />

เกาหลี ไม่ได้เข้าร่วมประชุม<br />

โดย สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้ส่งผู้แทนและผู้<br />

สังเกตการณ์เข้าร่วมการประชุม ประกอบด้วย<br />

1. คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคม เป็นผู้แทนเข้าร่วม<br />

ประชุม<br />

2. คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์ อุปนายก เป็นผู้แทนเข้า<br />

ร่วมประชุม<br />

3. คุณสลิลา ตระกูลเวช เจ้้าหน้าทีฝั่่ ายต่างประเทศ<br />

เป็นผู้สังเกตการณ์การประชุม<br />

สาระสำคััญของการประชุม<br />

1. ประธานสรุปผลการดำเนินงานและกิจำกรรมต่างๆ ของ<br />

ARCASIA<br />

2. การรับรองรายงานการประชุม 41st ARCASIA Council<br />

Meeting<br />

3. รายงานงบประมาณรายรับ-รายจ่่าย โดยทีประชุมมีมติ<br />

อนุมัติเห็นชอบ<br />

4. การยกเว้นค่าสมาชิก ประกอบด้วย<br />

4.1 สมาคมสถาปนิกเมียนมาร์ เนืองจำากสถานการณ์การ<br />

ทางการเมืองภายในประเทศทำให้ไม่สามารถชำระค่าสมาชิกได้ตาม<br />

กำหนด โดยทีประชุมมีมติอนุมัติเห็นชอบ<br />

4.2 สมาคมสถาปนิกภูฎาน เนืองจำากสถานการณ์ภายใน<br />

องค์กร ทั ้งนี ้ สมาคมสถาปนิกบัคลาเทศและสมาคมสถาปนิก<br />

ปากีสถาน จำะเป็นผู้ออกค่าใช้จ่่ายให้กับสมาคมสถาปนิกภูฎานจำนกว่า<br />

จำะสามารถจ่่ายค่าสมาชิกเองได้ โดยทีประชุมมีมติอนุมัติเห็นชอบ<br />

5. รายงานผลการจััดงาน 19th ARCASIA Congress of<br />

Architects (ACA19) โดยสมาคมสถาปนิกสาธารณรัฐประชาชนจีีน<br />

6. รายงานความคืบหน้าการจััดทำวารสาร Architecture<br />

Asia โดยคณะบรรณาธิการ และการขออนุญาตจำาหน่ายวารสาร<br />

Architecture Asia โดยทางคณะบรรณาธิกาจำะจััดทาทั ้งหมด 4 ฉบับ<br />

ประกอบด้วย 1) ผลงานสถาปัตยกรรมของกลุ่มประเทศสมาชิกใน<br />

โซึ่น B 2) ผลงานสถาปัตยกรรมของกลุ่มประเทศสมาชิกโซึ่น A 3) ผล<br />

งานสถาปัตยกรรมตามหัวข้อทีได้รับ และ 4) ผลงานสถาปัตยกรรม<br />

ทีได้รับรางวัล ARCASIA Awards for Architect 2023 โดยทีประชุม<br />

มีมติให้คณะบรรณาธิการนำำเสนอหัวข้อและเนื ้ อหาของแต่ละฉบับให้<br />

คณะกรรมการบริหารของ ARCASIA เห็นชอบก่อนดำเนินการจััดทำ<br />

และไม่อนุญาตให้จำาหน่าย แต่ให้หาผู้สนับสนุนในการจััดพิมพ์โดยให้<br />

แต่ละประเทศในกลุ่มสมาชิกในแต่ละโซึ่นช่วยหาผู้สนับสนุน<br />

7. รายงานผลการประกวดโครงการ ARCASIA Ar. Barry<br />

Will Award โดยสมาคมสถาปนิกบังคลาเทศ<br />

8. ประเทศกลุ่มสมาชิกนำำเสนอประเด็นปัญหาในการ<br />

ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมในแต่ละประเทศ ประกอบด้วย การ<br />

เปลียนแปลงสภาพภูมิอากาศ (Climate change) การจััดการภัยพิบัติ<br />

ทางธรรมชาติ (Natural Disaster Management) การใช้นวัตกรรม<br />

ด้านเทคโนโลยีในการปฏิิบัติวิชาชีพ (Technological Innovation in<br />

Practice) ความเสือมโทรมภูมิทัศเมืองประวัติศาสตร์ (Degeneration<br />

of Historic Urban Cultural Landscape) ความรับผิดชอบต่อสังคม<br />

(Social Responsibility) และเป้าหมายการพัฒนาทียังยืน (Sustainable<br />

development goals)<br />

9. รองประธานสรุปผลการดำเนินการและประเด็นปัญหา<br />

ด้านการปฏิิบัติวิชาชีพในแต่ละกลุ่มประเทศ<br />

10. รายงานผลการดำเนินการของคณะอนุกรรมการกลุ่ม<br />

ต่างๆ ได้แก่ ARCASIA Committee on Professional Practice (ACPP),<br />

ARCASIA Committee on Green and Sustainable Architects (ACG-<br />

SA), ARCASIA Committee on Architectural Education (ACAE),<br />

ARCASIA Social Responsibility Committee (ACSR), ARCASIA<br />

Committee on Young Architects (ACYA) และ ARCASIA Fellowship<br />

11. รายงานความคืบหน้าผลการดำเนินงานของคณะ<br />

ทำงาน the ARCASIA Heritage Preservation Group (AHPG)<br />

12. รายงานความคืบหน้าผลการดำเนินงานของคณะ<br />

ทำงาน the ARCASIA Emergency Architects (AEA)<br />

13. รายงานการจััดประกวด ARCASIA Architectural Award<br />

2022 โดยประธานจััดงาน<br />

14. รายงานการจััดทำเว็บไซึ่ต์ โดยทีประชุมมีมติให้


ปรับปรุงเว็บไซึ่ด์ในรูปแบบไดนามิก เข้าถ้งได้ง่าย สามารถลงข้อมูล<br />

ได้เองโดยไม่พ้งเว็บมาสเตอร์ และไม่ต้องมีการแก้ไขปรับปรุงอย่าง<br />

น้อย 2 ปี โดยให้คณะกรรมการสถาปนิกรุ่นใหม่ (ACYA) ตั ้งคณะ<br />

ทำงานดูแลเว็บไซึ่ด์องค์กร<br />

15. เลือกประเทศเจ้้าภาพจััดงาน the 20th ARCASIA<br />

Congress of Architects (ACA20) และ ARCASIA Forum 20 โดย<br />

ประเทศทีได้รับการคัดเลือก คือ ประเทศฟิลิปปินส์ได้รับคัดเลือกเป็น<br />

เจ้้าภาพจััดงาน ACA20 ส่วน ARCASIA Forum 20 ยังไม่มีผู้ใดเสนอ<br />

เป็นเจ้้าภาพ<br />

16. เลือก ARCASIA President-Elect และ Deputy Committee<br />

Chairs โดยผู้ทีได้รับการคัดเลือก คือ<br />

1. Ar. Saifuddin Bin Ahmad สมาคมสถาปนิกมาเลเซึ่ีย<br />

President-Elect<br />

2. Ar. Zhang Wei สมาคมสถาปนิกจีีน Deputy Chair ACPP<br />

3. Ar. Jonathan Manalad สมาคมสถาปนิกฟิลิปปินส์<br />

Deputy Chair ACAE<br />

4. Ar. Alice Leong Pek Lian สมาคมสถาปนิกมาเลเซึ่ีย<br />

Deputy Chair ACGSA<br />

5. Ar. Ferhana Shamin Emu สมาคมสถาปนิกบังคลา<br />

เทศ Deputy Chair ACSR<br />

6. Ar. Denny Setiawan สมาคมสถาปนิกอินโดนิเซึ่ีย<br />

Deputy Chair ACYA<br />

การประชุม UIA Region IV Presidents ครั งที 5<br />

การประชุม UIA Region IV Presidents ครั ้งที 5 จััด<br />

ข้ ้ นในวันที 7 กันยายน 25<strong>65</strong> เวลา 9.00-11.30น. ณ เมือง<br />

อูลานบาตอร์ ประเทศมองโกเลีย และผ่านระบบการประชุม<br />

ออนไลน์ Zoom Meeting โดยมีคณะผู้แทนจำากประเทศ<br />

สมาชิกเข้าร่วมการประชุมจำานวน 19 ประเทศ ได้แก่ ประเทศ<br />

ออสเตรเลีย ซึ่าอุดิอาระเบีย จีีน ฮ่่องกง อินโดนิเซึ่ีย ญีปุ ่ น มาเก๊า<br />

มาเลเชีย เนปาล สาธารณรัฐเกาหลี ปากีสถาน ฟิลิปปินส์ ศรี<br />

ลังกา ไทย บังคลาเทศ มองโกเลีย อินเดีย สิงคโปร์ และเวียดนาม<br />

โดย สมาคมสถาปนิกสยามฯ ได้ส่งผู้แทนและผู้สังเกตการณ์เข้า<br />

ร่วมการประชุม ประกอบด้วย<br />

1. คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคม เป็นผู้แทนเข้าร่วม<br />

ประชุม<br />

2. คุณชุตยาเวศ สินธุพันธุ์ อุปนายก เป็นผู้แทนเข้า<br />

2. การติดต่อประสานงานกับสมาชิกที ขาดการติดต่อ<br />

และการรับสมัครสมาชิกเพิมเติม โดยประเทศสมาชิกทีขาดการ<br />

ติดต่อ ได้แก่ ไต้หวัน นิวซึ่ีแลนด์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตย<br />

ประชาชนเกาหลี โดยได้มอบหมายให้สาธารณรัฐประชาชนจีีน<br />

ติดต่อประสานงานกับประเทศไต้หวัน ประเทศออสเตรียติดต่อ<br />

ประสานงานกับประเทศนิวซึ่ีแลนด์ และสาธารณรัฐเกาหลีติดต่อ<br />

ประสานงานกับสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนเกาหลี เพือ<br />

เชิญชวนเข้าร่วมกิจำกรรม ส่วนประเทศที จำะเชิญชวนเข้าเป็น<br />

สมาชิกเพิมเติม คือ เมียรมาร์ ลาว กัมพูชา ได้มอบหมายให้<br />

ประเทศอินเดียประสานงานเชิญชวนเชิญเข้าร่วมเป็นสมาชิก<br />

ภูฏิาน ได้มอบหมายให้ประเทศเนปาลประสานงานเชิญชวน<br />

เชิญเข้าร่วมเป็นสมาชิก ติมอร์-แลซึ่ต์ ได้มอบหมายให้ประเทศ<br />

มาเก๊าประสานงานเชิญชวนเชิญเข้าร่วมเป็นสมาชิก สหรัฐ<br />

อาหรับเอมิเรตส์ อิราน อิรัค อัฟกานิสถาน ได้มอบหมายให้<br />

ประเทศปากีสถานประสานงานเชิญชวนเชิญเข้าร่วมเป็นสมาชิก<br />

ปาปัวนิวกินี หมู่เกาะโซึ่โลมอน สาธารณรัฐหมู่เกาะมาร์แชลล์ ได้<br />

มอบหมายให้ประเทศออสเตรเลียประสานงานเชิญชวนเชิญเข้า<br />

ร่วมเป็นสมาชิก<br />

3. รายงานผลการดำเนินการและกิจำกรรมต่างๆ ของ<br />

The UIA Task Force Group<br />

4. รายงานความคืบหน้าการจััดงาน UIA World Congress<br />

Copenhagen ระหว่างวันที 2-6 กรกฎาคม 2566<br />

5. รายงานการจััดกิจำกรรมในประเทศสมาชิกต่างๆ<br />

6. รายงานรายรับ-รายจ่่าย และการชำระค่าสมาชิกใน<br />

กลุ่มประเทศสมาชิก<br />

7. กำหนดการและตารางกิจำกรรมของ UIA Region IV<br />

8. รายงานความคืบหน้าการจััดงาน UIA Bureau Meeting<br />

ระหว่างวันที 21-23 ตุลาคม 25<strong>65</strong> ณ ประเทศบังคลาเทศ<br />

9. รายงานปัญหาและอุปสรรคในการปฏิิบัติวิชาชีพ<br />

ของแต่ละประเทศสมาชิก<br />

10. Ms. Louis Cox และ Mr. Esa Mohammad อดีต<br />

ประธาน UIA ให้ข้อเสนอแนะในการดำเนินกิจำกรรมต่างๆ<br />

ร่วมประชุม<br />

3. คุณสลิลา ตระกูลเวช เจ้้าหน้าทีฝั่่ ายต่างประเทศ<br />

เป็นผู้สังเกตการณ์การประชุม<br />

สาระสำคััญของการประชุม<br />

1. รายงานความคืบหน้าการจััดทำหนังสือครบรอบ 75<br />

ปี UIA


กรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

รายงานโครงการ DINNER TALK “ การเดิินทาง”<br />

โดิย คุณสุริยะ อัมพันศิริรัตน์<br />

บทสรุป<br />

คุณสุริยะ อัมพันศิริรัตน์ ศิลปินศิลปาธร สาขา<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ ปี 2557 สถาปนิกและนักออกแบบภูมิ<br />

ทัศน์ บริษัท WALLLASIA จำำกััด ได้มาแบ่งปันประสบการณ์การ<br />

ทำงาน รวมถ้งวิธีคิดในการสร้างสรรค์ผลงานต่างๆ ทีได้รับการ<br />

ยอมรับและได้รับรางวัลในระดับนานาชาติ<br />

เริมจำากเป็นคนอำเภอควนขนุน จัังหวัดพัทลุง มีบิดา<br />

เป็นครูและผู้นาชุมชน ที สร้างอาคารเรียนด้วยตัวเองและชาว<br />

บ้าน บิดาเป็นผู้ชอบปลูกต้นไม้คุณสุริยะได้ช่วยบิดาปลูกต้นไม้<br />

ทุกวัน มารดาค้าขายทำโรงสี ความชืนชอบในการพบปะผู้คน<br />

ทักษะเชิงช่าง งานศิลปะและต้นไม้ จึึงได้มาจำากสภาพแวดล้อม<br />

ในวัยเยาว์<br />

ต่อมาในระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพจึึงมาสอบเข้า<br />

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล วิทยาเขตอุเทนถวาย(ในอดีต) และ<br />

ต่อในระดับอุดมศ้กษาที สาขาสถาปัตยกรรม คณะครุศาสตร์<br />

อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจำอมเกล้าลาดกระบัง<br />

ระหว่างเรียนได้ฝั่้กเขียนทัศนียภาพด้วยเทคนิคต่างๆจำนสามารถ<br />

ประกอบอาชีพเป็นนักเขียนภาพทัศนียภาพ ซึ่่งสร้างรายได้ให้<br />

เป็นอย่างดีกระทังเกิดวิกฤติค่าเงินบาทในปี 2540 จึึงได้ไปเขียน<br />

ภาพ ทำของทีระล้กให้จิิมทอมสัน และเริมงานจััดภูมิทัศน์ กระทัง<br />

ประสบอุบัติเหตุ<br />

คุณสุริยะได้เข้าปฏิิบัติธรรมทีวัดเขาพุทธโคดม จำ.ชลบุรี<br />

หลายปี จำนมีโอกาสได้ออกแบบกุฏิิพระถวายให้หลวงพ่อ ซึ่่งใช้วิธี<br />

การก่อสร้างทีเรียบง่าย ภายใต้ข้อจำำกััดต่างๆอาทิวัสดุก่อสร้าง<br />

ได้จำากการบริจำาค และแรงงานในการก่อสร้างก็คือพระ-เณร<br />

ในวัดนันเอง และผลงานชิ ้ นนี ้ ส่งผลให้คุณสุริยะได้รางวัลทั ้งใน<br />

ประเทศและต่างประเทศ หลวงพ่อเจ้้าอาวาสยังให้คุณสุริยะ<br />

ออกแบบทั ้งกุฏิิพระ(Walled Monk’s Cell),(Circle Monk’s<br />

Cell),หอไตร,พิพิธภัณฑ์์ ผลงาน Walled Monk’s Cell ได้รางวัล<br />

ระดับนานาชาติมากมายและรางวัลที สาคัญคือรางวัล New<br />

Trends for Emerging Architecture Europe & Asia – Pacific ปี<br />

20<strong>08</strong>-2010 ทีผู้คัดเลือกคือสถาปนิกชือดังชาวญีปุ ่ น Toyo Ito<br />

จำากนั ้นคุณสุริยะได้นำำเสนอวิธีคิดในการออกแบบ<br />

โรงแรมขนาดเล็กใน จำ.ฉะเชิงเทราอย่าง Oui J’aime Hotel ที<br />

พื ้ นทีดินมีหน้าแคบเพียง 7 เมตรและยาว 30 เมตร จุุดเด่นคือ<br />

การออกแบบเพือสร้างความแปลกใจำในการรับรู้ขณะเปิดเข้าห้อง<br />

พัก จุุดเด่นคือการใช้โครงสร้างเหล็กเจำาะรูพับเป็นแพทเทริ ์นเพือ<br />

สร้างการเชือมโยงถ้งอาคารพักอาศัยของคนจีีนในอดีต และการ<br />

ใช้ต้นไม้แทรกในอาคาร<br />

No Sunrise No Sunset ทีอ่าวนาง เป็นงานทีทาร่วมกับ<br />

คุณคามิน เลิศชัยประเสริฐ ซึ่่งเป็นศิลปิน ในการแสดงงาน Thailand<br />

Biennale Krabi 2018 หลายคนรู้จำักงานนี ้ ้จากชือ”ยายสา”<br />

จุุดเด่นคือการใช้เทคนิคสร้างกล่องให้หุ่นยายสายที ยืนอยู่ตรง<br />

ปลายอาคาร เมือน ้าทีอยู่บริเวณพื ้ นเชือโยงกับทะเลและท้องฟ้า<br />

ในยามพระอาทิตย์ตกดิน สร้างบรรยากาศการรอคอยคนรักกลับ<br />

มาอย่างไม่มีวันสิ ้ นสุด และกล่องภายนอกทีบุอลูมิเนียมคอมโพ<br />

สิทคล้ายกระจำก สะท้อท้องฟ้า ตัดกับหน้าผาใหญ่ทีอยู่ด้านหลัง<br />

สร้างมิติการรับรู้แบบพิเศษข้ ้ นมา งานนี ้ สร้างเศรษฐกิจำให้กับ<br />

คนในพื ้ นทีจำนทำให้งานชัวคราวทีต้องถูกรื ้ อถอนออกภายใน 4<br />

เดือนตามกำหนดเวลาจััดแสดง ถูกเลื อนออกไปจำากคาร้องขอ<br />

ของชาวบ้านในพื ้ นที<br />

อาคารที พักอุบาสิกา วัดป่ าวชิรบรรพต เป็นงานที พัก<br />

ขนาดใหญ่ 4 ชั ้นจำานวน 100 ห้อง งานนี ้ ออกแบบด้วยโครง<br />

สร้างค.ส.ล.แบบเรียบง่าย เหมือนอาคารสร้างไม่เสร็จำ คล้าย<br />

กล่องสีขาวเสียบเข้าไปในภูเขาสีเขียว โดดเด่นด้วยการซึ่่อนงาน<br />

ระบบต่างๆ เพื อให้SPACE แสดงตัวมากที สุด ความเรียบ นิง<br />

ของพื ้ นทีช่วยสร้างสมาธิให้กับผู้ปฏิิบัติธรรม สามารถเชือมโรง<br />

กับทัศนวิสัยภายนอกได้ จุุดเด่นอยู่ทีทางเดินกว้าง 4 เมตรและ<br />

การใช้น ้ากั ้นพื ้นทีแทนราวกันตก น ้ายังสะท้อนท้องฟ้านาวิวจำาก<br />

ภายนอกเชือมสู่ภายในอาคารได้<br />

TINY MUSEUM วัดโสมนัสราชวรวิหาร เป็นโครงการ<br />

พิพิธภัณฑ์์ขนาดเล็กทีแทรกตัวอยู่ในวัดหลวงทีข้ ้ นทะเบียน<br />

กับกรมศิลป์ ความยากจึึงอยู่ทีการทำงานต้องละเอียดระดับ<br />

มิลลิเมตรและตัวอาคารใหม่ต้องไม่ไปแตะกับตัวอาคารเดิม คุณ<br />

สุริยะจึึงออกแบบด้วยการใช้แผ่นเหล็ก ตัด พับ ประกอบกันเพือ<br />

ใช้เป็นทั ้งตัวโครงสร้าง และตัวสถาปัตยกรรม และนาสีแดงมาใช้<br />

สร้างพื ้ นทีเฉพาะในการรับรู้<br />

LOTUS RESIDENCE เป็นบ้านพักอาศัยขนาดใหญ่<br />

ซึ่่งเจ้้าของเป็นผู้รับเหมา และเป็นเพือนของคุณสุริยะ จุุดเด่น<br />

นอกจำากจำะเป็นบ้านพักขนาดใหญ่แล้ว พื ้ นทีด้านหลังยังมีสระ<br />

ว่ายน้ ำำและสวนน ้ารูปวงกลมภายในมีต้นกระจููดอันเป็นส่วนหน้ง<br />

ของทะเลน้อย อันเป็นบ้านเกิดของเจ้้าของบ้าน อาคารหลังนี ้ จำ้ง<br />

เสมือนเป็นนามบัตรให้กับเจ้้าของบ้าน<br />

BIOGENESIS 2121 เป็นงานประติมากรรมที คุณ<br />

สุริยะ ร่วมแสดงในงาน “Urban In Progress: One Bangkok’s<br />

Edition” ณ หอศิลปวัฒนธรรมแห่งกรุงเทพมหานคร (BACC)<br />

เป็นนิทรรศการศิลปะร่วมสมัยที สำรวจำความเปลี ยนแปลงของ<br />

กรุงเทพฯ จำากอดีตสู่ปัจำจำุบัน ตลอดจำนแนวโน้มและความเป็น<br />

ไปได้ในอนาคต โดยเน้นความสาคัญของการอยู่ร่วมกันทีเป็น


ประโยชน์ร่วมกันระหว่างมนุษย์ เมือง และธรรมชาติ นอกจำาก<br />

นี ้ ยังสะท้อนให้เห็นถ้งความมุ่งมันของมนุษยชาติในการปรับ<br />

ตัวเพื อให้สอดคล้องกับการเปลียนแปลงของเมืองอย่างยังยืน<br />

โดยชิ ้ นงานมีแนวความคิดมาจำากรูปฟอร์มที เสถียรและคุ้นตา<br />

มนุษย์มากทีสุดอย่างรูปทรงปิรามิด มาผนวกกับความคิดในโลก<br />

อนาคตในการใช้โซึ่ล่าเซึ่ลในการสร้างพลังงาน และผักตบชวาที<br />

สามารถอยู่รอดในน้ ำำเสียได้<br />

นอกจำากนี ้ คุณสุริยะยังได้นำำเสนอการออกแบบศาล<br />

พระภูมิในทิศทางใหม่ๆ ทีดูทันสมัย แต่ยังคงจิิตวิญญาณและคติ<br />

ความเชือดั ้งเดิม ซึ่่งคุณสุริยะมองเป็นงานศิลปะชิ ้ นหน้ง งานจััด<br />

สวนก็เป็นงานอีกประเภททีคุณสุริยะถนัด ได้ยกตัวอย่างถ้งการ<br />

เลือกใช้ต้นไม้ ความละเอียดของใบ การใช้หินมาเบรก การใช้<br />

สีอ่อนของใบอีกชนิดมาเบรกกันเลียน ทั ้งนี ้ ประสาทสัมผัสจำาก<br />

การเขียนทัศนียภาพช่วยให้การออกแบบสวนมีความงามมากข้ ้น<br />

นอกจำากการทีจำะมีความรู้เรืองต้นไม้และระบบราก,น้ ำำ,แสงแดด<br />

การออกแบบ วางผัง จุุดชมวิวบ้งบอระเพ็ดจำ.นครสวรรค์<br />

ก็เป็นอีกงานทีคุณสุริยะบอกว่าถ้าไม่เคยออกแบบวางผังอาคาร<br />

ขนาดใหญ่อย่าง LOTUS RESIDENCE มาก่อนคงทำได้ยาก งาน<br />

นี ้ นอกจำากจำะต้องออกแบบพัฒนาพื ้ นที แล้วยังต้องคาน้งถ้งการ<br />

จััดทัศนียภาพในผังเป็นสาคัญ ดอกบัวแดง และอุปกรณ์จัับปลา<br />

ของชาวบ้านจึึงรวมกันมาเป็นแนวความคิดหลักในการออกแบบ<br />

หอชมวิว<br />

สิ งสาคัญในการเดินทางของคุณสุริยะ ก็คือนอกจำาก<br />

เราจำะเดินทางภายนอก แล้วการเดินทางภายใน เช่นการพัฒนา<br />

ความคิดจำากตัวเราเองก็เป็นสิงสาคัญ ดังนั ้นท่ามกลางสือต่างๆ<br />

รวมทั ้งข้อมูลจำากสือออนไลน์สามารถใช้เป็น”เครืองมือ”ในการ<br />

สื อสารกับลูกค้าให้เห็นภาพเคร่าๆได้ แต่สิ งสาคัญคือความคิด<br />

ของเราทีแข็งแกร่งภายใน<br />

• วันที 9 กรกฎาคม พ.ศ. 25<strong>65</strong> เวลา 16.00-19.00 น.<br />

กิจำกรรมทีดำำาเนินการ<br />

กิจำกรรมเสวนา พูดคุยแชร์ประสบการณ์ มุมมอง วิธี<br />

คิดในการทำงาน ตั ้งแต่ระดับเล็กที สุดอย่างศาลพระภูมิ งาน<br />

ประติมากรรม งานจััดภูมิทัศน์ ไปจำนถ้งงานอาคารทีงบประมาณ<br />

น้อยทีสุดอย่างกุฏิิวัด ไปจำนถ้งงานวางผังและอาคารสาธารณะ<br />

ขนาดใหญ่ รวมไปถ้งงานที ได้รางวัลระดับนานาชาติ โดย คุณ<br />

สุริยะ อัมพันศิริรัตน์ สถาปนิกและนักออกแบบภูมิทัศน์ บริษัท<br />

WALLLASIA จำำกััด<br />

สถานทีดำำาเนินการ<br />

The Good View All Day Restaurant<br />

ผู้ลทีคาดิวิ่าจำะได้้รับ<br />

- ผู้เข้ารับฟังเกิดแรงบันดาลใจำในการสร้างผลงานที ดี<br />

นำำความรู้ที เก็บเกี ยวได้ไปพัฒนาการออกแบบของตนเอง ก้าว<br />

ข้ามจำำกััดต่างๆและมีมุมมองทีกว้างขวางข้ ้ น สามารถเชือมโยง<br />

ไปยังองค์ประกอบอื นๆเช่นงานภูมิทัศน์ งานตกแต่งภายใน<br />

ประกอบวิชาชีพด้วยความเข้าใจำในกระบวนการออกแบบเพิมข้ ้น<br />

- สมาคมสถาปนิกสยามฯ เป็นทีรู้จำักและมีสมาชิกเพิมข้ ้น<br />

วััตถุประสงค์<br />

- เพื อให้ผู้ร่วมงานได้มีแรงบันดาลใจำในการพัฒนา<br />

งานของตนเอง สามารถต่อยอดหรือจุุดประกายความคิดและมี<br />

ทัศนคติทีดีในการประกอบวิชาชีพ<br />

- เพือให้หมู่มวลสมาชิกได้พบปะ มีปฏิิสัมพันธ์กันมาก<br />

ข้ ้ นหลังจำากหยุดกิจำกรรมไปในช่วงโควิด-19 ทีผ่านมา<br />

จำำานวินผูู้้เข้าร่วิม<br />

สถาปนิกสามัญ สถาปนิกภาคีและสถาปนิกสมทบ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม จำานวน 70 คน ผู้รับฟังทางออนไลน์<br />

16 คน และมีผู้ดูภายหลัง 472 ครั ้ง (ถ้งวันที15/<strong>07</strong>/2022)<br />

ระยะเวิลาดำำาเนินการ


กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

เมือวันเสาร์ที 26 มิถุนายน 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์จััดกิจำกรรม <strong>ASA</strong><br />

THAKSIN TALK สัมภาษณ์ อาจำารย์เจร ิญ ลิ มสกุล ประธาน<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ประจำำป ี 2529 - 2531 (ประธานผู้ก่อตั ้ง) เรือง<br />

การประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

เมือวันที 15 กรกฎาคม 25<strong>65</strong> คณะกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประชุมหารือ<br />

แนวทางการปรับปรุงพื ้นทีอาคารศูนย์อาษาคลาวด์กรรมาธิการ<br />

สถาปนิกทักษิณฯ ถนนนครนอก อำเภอเมืองสงขลา จัังหวัด<br />

สงขลา เพือปรับปรุงพื ้ นที ให้เกิดประโยชน์กับสมาชิกสถาปนิก<br />

ในพื ้ นที ต่อไป<br />

เมื อวันที 7 กรกฎาคม 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นำำโดย ดร.<br />

กาญจน ์ เพียรเจริิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ประจำา<br />

ปี 25<strong>65</strong> – 2567 ร่วมกับคณะกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณฯ<br />

เข้าร่วมประชุมเครือข่าย “เด็กไทยไม่กินหวาน” โดยสานัก<br />

ทันตสาธารณสุข กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข ตามหลัก<br />

การ host-agent-environment<br />

เมือวันศุกร์ที 22 กรกฎาคม 25<strong>65</strong> ดร.กาญจน ์ เพียรเจร ิญ<br />

ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ เข้าร่วมประชุมเชิงปฏิิบัติการ การพัฒนา<br />

หาดใหญ่สู่เมืองแห่งการเรียนรู้คลองเตยลิงก์ : การวิจััยและ<br />

พัฒนาเทศบาลนครหาดใหญ่สู่การเป็นเมืองแห่งการเรียนรู้<br />

ระยะที 2 เวลา 13.00 - 17.00 น. ณ ห้องศศินิล ชั ้น 8 โรงแรม<br />

Lee Gardens Plaza อำเภอหาดใหญ่ จัังหวัดสงขลา<br />

เมื อวันศุกร์ที 8 กรกฎาคม 25<strong>65</strong> กิจำกรรม <strong>ASA</strong> THAK-<br />

SIN TALK ในหัวข้อ “BIM IMPLEMENTATION” วิทยากรโดย<br />

คุณหรินทร์ ปานแจ่่ม และรับฟังการแนะนำำผลิตภัณฑ์์สินค้า<br />

บริษัท สกุลไทย จำำกััด โดย คุณ ธันญญพัทธ์ วรภูมิพิพัฒน์ (ผู้<br />

จั ัด ก า รฝั่่ า ย เ ท คนิ ค บริษั ท สกุ ล ไ ท ย จำำกัด ) เ ว ล า 1 8 . 0 0 น .<br />

ณ โรงแรมนิวซึ่ีซั่่น สแควร์ อำเภอหาดใหญ่ จัังหวัดสงขลา<br />

เมื อวันศุกร์ที 29 กรกฎาคม 25<strong>65</strong> คุณศิริชัย ศิลปรัศมี<br />

กรรมาธิการกลาง หัวหน้าศูนย์นครศรีธรรมราช กรรมาธิการ<br />

ภูมิภาคทักษิณฯ, คุณณัฐนันท์ รุจิิวณิชย์กุล คณะทำงาน ฝั่่ าย<br />

เลขานุการ, อาจำารย์สุเมธ รุจิิวณิชย์กุล ทีปร้กษา, คุณอุทาร ล่อง<br />

ชุม ทีปร้กษา และผศ.ดร.วิรุจำ ถินนคร เข้าร่วมกิจำกรรมกลุ่มอาสา<br />

วัดพระมหาธาตุสู่มรดกโลก


เมือวันพฤหัสบดีที 11 สิงหาคม 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นำำโดย<br />

ดร.กาญจน ์ เพียรเจร ิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ,<br />

คุณสิทธิศักดิ ์ ตันมงคล , คุณจำามีกร มะลิซึ่้อน ทีปร้กษา. และ<br />

คณะกรรมาธิการ คุณปรัชญา ชลเจริิญ เลขานุการ กรรมาธิการ,<br />

นายอธิปัตย์ ยินดี กรรมาธิการ ฝั่่ ายการเงิน, นายธาริน กาล<br />

สงค์ กรรมาธิการ ฝั่่ ายประชาสัมพันธ์, นายตรีชาติ ชูเวทย์<br />

กรรมการกลาง หัวหน้าศูนย์ตรัง, คุณสิทธิชัย จัันทรา คณะ<br />

ทำงาน ฝั่่ ายภูมิภาค และอาจำารย์ธีระพงษ์ นงค์นวล คณะ<br />

ท ำำง า น ฝั่่ า ยกิจำ ก า ร พิ เ ศ ษ ขเ<br />

้าร่ ว มกิจำ ก ร ร ม ศิ ลป์จุ่ ม่<br />

ไ ห ว ้ครูช ่ า ง<br />

ณ คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์<br />

วิทยาเขตตรัง พร้อมทั ้งเข้าร่วมประชุมเพือเตรียมความพร้อมรับ<br />

ก า ร ป ร ะ เ มิ น หล ักสู ต ร ให ้ส อ ด คล ้อ ง ต า ม เ ก ณ ฑ์ ์ข อ ง ส ภ า ส ถนิ า ป ก<br />

ซึ่่งหลักสูตรสถาปัตยกรรมศาสตรบัณฑิิต สาขาสถาปัตยกรรม<br />

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2561<br />

คณะทำงานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ศูนย์ 3 จัังหวัดชายแดน<br />

ใต้ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้ความช่วย<br />

เหลือออกแบบบ้านพักอาศัย และประมาณการราคาการก่อสร้าง<br />

ให้กับผู้ประสบอัคคีภัยในพื ้ นที อำเภอเมืองนราธิวาส จัังหวัด<br />

นราธิวาส<br />

คณะทำงานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ศูนย์ 3 จัังหวัดชายแดน<br />

ใต้ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ให้ความช่วย<br />

เหลือออกแบบบ้านพักอาศัย และประมาณการราคาการก่อสร้าง<br />

ให้กับผู้ประสบอัคคีภัยในพื ้ นทีอำเภอท่าสาป จัังหวัดยะลา<br />

เมือวันที 15 สิงหาคม 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ เข้าร่วมกิจำกรรม<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณสัญจำรพบปะกลุ่มสถาปนิกในพื ้ นที<br />

จัังหวัดภูเก็ต พร้อมทั ้งร่วมกิจำกรรมเลี ้ ยงขอบคุณคณะทำงาน<br />

กรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ศูนย์ภูเก็ตสมาคมสถาปนิกสยาม ใน<br />

พระบรมราชูปถัมภ์ ประจำำป ี 2563 – 25<strong>65</strong> และต้อนรับคณะ<br />

ทำงานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ศูนย์ภูเก็ต สมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำำป ี 25<strong>65</strong> - 2567<br />

เมือวันศุกร์ที 19 สิงหาคม 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์จััดกิจำกรรม <strong>ASA</strong><br />

THAKSIN TALK ในหัวข้อ “TOWN OLD TOWN” วิทยากรโดย<br />

คุณชายแดน เสถียร และคุณวีรศักดิ ์ เพ็ชรแสง รับฟังการแนะนำำ<br />

ผลิตภัณฑ์์สินค้า บริษัท อินโนวาฟลอร์ (ประเทศไทย) จำำกััด<br />

เวลา 18.00 น. ณ คาเฟ่ อเมซึ่อน เมืองเก่าสงขลา อำเภอเมือง<br />

สงขลา จัังหวัดสงขลา


คณะทำงานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ศูนย์นครศรีธรรมราช<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นำำโดย คุณศิริชัย<br />

ศิลปะรัศมี กรรมาธิการกลาง หัวหน้าศูนย์นครศรีธรรมราช, นาย<br />

ณัฐนันท์ รุจิิวณิชย์กุล คณะทำงาน ฝั่่ ายเลขานุการ, คุณสุเมธ<br />

รุจิิวณิชย์กุล, คุณจิิตรา มโนสงค์, คุณอุทาร ล่องชุม ทีปร้กษา<br />

คณะทำงานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ศูนย์นครศรีธรรมราช<br />

ร่วมเสนอข้อคิดเห็นในการจััดตั ้งโรงพยาบาล ของเทศบาลนคร<br />

นครศรีธรรมราชในพื ้ นทีสวนสมเด็จำพระศรีนครินทร์ฯ<br />

เมือวันพุธที 24 สิงหาคม 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นำำโดย ผศ.ดร.<br />

ทัชชญา สังขะกูล รองประธานกรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

ฝั่่ ายวิชาการ และนายศิวกร สนิทวงศ์ รองประธานกรรมาธิการ<br />

สถาปนิกทักษิณ ฝั่่ ายกิจำกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ เข้า<br />

ร่วมรับการประเมินเมืองสิงแวดล้อมยังยืน ระดับประเทศ ประจำา<br />

ปี 25<strong>65</strong> เวลา 13.30 - 15.00 น. ณ สวนหย่อมศุภสาร<br />

รังสรรค์(ท่งเซึ่ียเซี่่ยงต้ ง) อำเภอหาดใหญ่ จัังหวัดสงขลา<br />

เมือวันเสาร์ที 27 สิงหาคม 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นำำโดย ดร.กาญ<br />

จน ์ เพียรเจร ิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ, คุณ<br />

วัชรินทร์ จัันทรักษ์ รองประธานกรรมาธิการฝั่่ ายกิจำการพิเศษ,<br />

ผศ.ดร.ทัชชญา สังขะกูล รองประธานกรรมาธิการฝั่่ ายวิชาการ,<br />

คุณอดิศร จำงวัฒนไพบูลย์ รองประธานกรรมาธิการฝั่่ ายต่าง<br />

ประเทศ, คุณช่อฟ้า บุตรี รองประธานกรรมาธิการฝั่่ ายภูมิภาค,<br />

คุณอธิปัตย์ ยินดี กรรมาธิการฝั่่ ายการเงิน, คุณลลิดา เรืองศิริ<br />

เดช และคุณตรีชาติ ชูเวทย์ กรรมาธิการกลาง หัวหน้าศูนย์ตรัง<br />

เดินทางเข้าร่วมงานสถาปนิกบูรพา <strong>65</strong> ณ ศูนย์การค้าเซึ่็นทรัล<br />

เฟสติวัล พัทยาบีช และเข้าร่วมกิจำกรรม <strong>ASA</strong> NIGHT BURAPA<br />

PATAYA PARADISE ณ โรงแรมฮิิลตัน จัังหวัดชลบุรี<br />

เมือวันอังคารที 30 สิงหาคม 25<strong>65</strong> คณะทำงานกรรมาธิการ<br />

ภูมิภาคทักษิณ ศูนย์ภูเก็ต สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ประจำำป ี 25<strong>65</strong> - 2567 นำำโดย คุณศิวพงศ์ ทอง<br />

เจืือ คณะทำงาน ฝั่่ ายกิจำกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ,<br />

คุณศิลป์ ชัย ปังประเสริฐกุล คณะทำงาน ฝั่่ ายทะเบียน, นาย<br />

สุวัฒนพงศ์ อุ่นทานนท์ คณะทำงาน ฝั่่ ายปฏิิคม และคุณรัก<br />

เกียรติ ดีดพิณ ทีปร้กษาคณะทำงานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ<br />

ศูนย์ภูเก็ต เข้าร่วมโครงการประชุมรับฟังความคิดเห็นต่อผล<br />

การสำรวจรัังวัดแปลงทีดินและคัดเลือกพื ้ นทีเป้าหมายดำเนิน<br />

โครงการจััดรูปที ดินเพือพัฒนาพื ้ นที ของจัังหวัดภูเก็ต จััดโดย<br />

สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจัังหวัดภูเก็ต<br />

เมือวันพุธที 31 สิงหาคม 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ นำำโดย ดร.กาญ<br />

จน ์ เพียรเจริิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ, คุณปรัชญา<br />

ชลเจร ิญ เลขานุการ กรรมาธิการ, ดร.จำเร สุวรรณชาติ และ<br />

คุณชายแดน เสถียร ทีปร้กษากรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ ร่วม<br />

กับ สานักงานสภานโยบายการอุดมศ้กษา วิทยาศาสตร์วิจััยและ<br />

นวัตกรรมแห่งชาติ (สอวช.) ในการนาข้อมูลมาเป็นแนวทางใน<br />

การจััดทาข้อเสนอการใช้ศักยภาพการอุดมศ้กษา วิทยาศาสตร์<br />

วิจััยและนวัตกรรมพัฒนาย่านวัฒนธรรมสร้าง เวลา 14.00 -<br />

18.00 น. ณ ห้องมรดกโลก และประชุมเตรียมงาน SPECIAL<br />

TRIP THE WALL 2022 ในวันอาทิตย์ที 4 กันยายน 25<strong>65</strong> ณ<br />

มัสยิดอุสาสนอิสลาม (บ้านบน) และย่านเมืองเก่าสงขลา อำเภอ<br />

เมืองสงขลา จัังหวัดสงขลา


คณะกรรมาธิการ-อนุกรรมการฝั่่ ายวิชาการด้านสถาบัน<br />

สถาปนิกสยาม มองเห็นประโยชน์ของการถ่ายทอดความรู้้จาก<br />

รุ่นสู่รุ่นสืบเนืองมาจำากปีที แล้ว ในปีนี ้ จำ้งมีความประสงค์ที จำะ<br />

จััดกิจำกรรม ISA Behind the Scene Series บอกกล่าวเล่าเบื ้ อง<br />

หลัง อย่างต่อเนือง เพือเป็นการพบปะแลกเปลียนประสบการณ์<br />

ระหว่างสถาปนิกรุ่นพีและรุ่นน้องภายใต้หัวข้อ “ความเป็นไปได้<br />

ใหม่ของวัสดุ (Materials Matter)”<br />

ซึ่่งจำะเป็นกิจำกรรมการเสวนาระหว่างสถาปนิกหลากหลายรุ่นที<br />

จำะมาเล่าเบื ้องหลังในการทำงานกับวัสดุแต่ละประเภทแบบเจำาะ<br />

ล้ก รวมถ้งยังเป็นพื ้นทีแลกเปลียนข้อมูลข่าวสารใหม่ๆ ระหว่างผู้ประกอบการวัสดุและสถาปนิกอีกด้วย โดยจำะจััดข้ ้นทั้งสิ ้น 4 กิจำกรรม<br />

ที โรงภาพยนตร์คิดส์ซึ่ีนีม่า พารากอน ซึ่ีนีเพล็กซึ่์ ชั ้น 6 อาคารศูนย์การค้าสยามพารากอน ตั ้งแต่เวลา 14:00-19:00 น. ได้แก่<br />

วันเสาร์ที 24 กันยายน พ.ศ. 25<strong>65</strong> การเสวนาหัวข้อ “Brick”<br />

เมือวัสดุท้องถินทีคุ้นชินในอดีต ถูกนำำมาใช้ในรูปแบบใหม่ทีต่างไปจำากเดิมและพัฒนาให้เหมาะสมกับการใช้งานในปัจำจำุบัน พรหม<br />

มนัส อมาตยกุล, จููน เซึ่คิโน และ เผดิมเกียรติ สุขกันต์ จำะมาเล่าเบื ้ องหลังการต่อยอดวัสดุท้องถินอย่างอิฐทีนิยมใช้กันมาช้านาน<br />

ว่าจำะพัฒนาไปในทิศทางใดในงานสถาปัตยกรรม ร่วมกับเบื ้ องหลังในการทำงานกับผู้ผลิต คุณสุวิดา วิชชุเกรียงไกร กรรมการผู้<br />

จััดการ บริษัท ศูนย์อิฐ บปก. จำำกััด และ คุณชาญเวช มุนินทร์นิมิตต์ ผู้จำัดการฝั่่ ายผลิต บริษัท อุตสาหกรรมดินเผา บปก. จำำกััด<br />

วันเสาร์ที 29 ตุลาคม พ.ศ. 25<strong>65</strong> การเสวนาหัวข้อ “Rammed Earth”<br />

วัสดุธรรมชาติจำากพื ้ นดินเมือนำำมาใช้ในการสร้างพื ้ นที รังสรรค์ให้สถาปัตยกรรมทีเกิดข้ ้ นเสมือนการกลับคืนสู่ธรรมชาติ แต่กว่า<br />

จำะกลายมาเป็นสถาปัตยกรรมทีเกิดจำากองค์ประกอบดินอัดเหล่านั ้นมีแนวความคิดและทีมาที ไปอย่างไร สมชาย จำงแสง, จีีรเวช<br />

หงสกุล และ พูนเกษม โภคาประกรณ์ จำะนำำประสบการณ์ของพวกเขากับการใช้วัสดุชนิดนี ้ มาเล่าให้ฟัง ร่วมกับผู้บุกเบิกวัสดุดิน<br />

อัดในเมืองไทย คุณปัจำจำ์ บุญกาญจน ์วนิชา ผู้ก่อตั ้ง บริษัท ลาแตร์ จำำกััด<br />

วันเสาร์ที 12 พฤศจิิกายน พ.ศ. 25<strong>65</strong> การเสวนาหัวข้อ “Concrete”<br />

ในอดีตเราเห็นการประยุกต์ใช้วัสดุคอนกรีตกับอาคารสถาปัตยกรรมไทยและการพัฒนาวัสดุให้ใช้งานได้ในสภาพอากาศร้อนชื ้ น<br />

เมือคอนกรีตกลายเป็นวัสดุสูตรสำเร็จำทีถูกใช้อย่างแพร่หลาย ความท้าทายและการเปลียนแปลงการใช้งานของวัสดุนี ้ ในยุคปัจำจำุบัน<br />

กาลังจำะเป็นไปอย่างไร ชาตรี ลดาลลิตสกุล, วรา จิิตรประทักษ์, พัชระ วงศ์บุญสิน และ อรณิชา ดุริยะประพันธ์ จำะมาแบ่งปัน<br />

และเล่าถ้งผลงานของพวกเขาผ่านการใช้วัสดุนี ้ ให้ฟัง<br />

วันเสาร์ที 26 พฤศจิิกายน พ.ศ. 25<strong>65</strong> การเสวนาหัวข้อ “Metal”<br />

การใช้วัสดุโลหะในปัจำจำุบันมีความแพร่หลายมากข้ ้ น สร้างความหลากหลายในการเลือกใช้ และการนำำไปใช้ที แตกต่างไปจำากที<br />

เคยเป็น จำารุวัลลภ์ ธวัชเกียรติศักดิ ์, ม.ล.วรุตม์ วรวรรณ, เจำอร์รี หง (Jenchieh Hung) และ กุลธิดา ทรงกิตติภักดี รวมตัวกัน<br />

มาเล่าความเป็นไปได้ใหม่และการฉีกข้อจำำกััดเดิมๆ ของการใช้วัสดุโลหะทีสร้างพัฒนาการและก่อให้เกิดนวัตกรรมใหม่ในวงการ<br />

สถาปัตยกรรม ร่วมกับผู้เชียวชาญด้านวัสดุโลหะโดยเฉพาะอะลูมิเนียม คุณชญานี พินิจำโสภณพรรณ รองกรรมการผู้จำัดการ AB&W<br />

INNOVATION CO.,LTD.<br />

ทั ้งนี ้ สมาชิกสมาคมฯ ทีสนใจำสามารถสอบถามรายละเอียดเพิมเติมและลงทะเบียนล่วงหน้า ได้ที สถาบันสถาปนิกสยาม โทรศัพท์<br />

0-2319-<strong>65</strong>55 ต่อ 202, 206 / โทรสาร ต่อ 204, 0-2319-6419 หรือดาวน์โหลด ใบตอบรับลงทะเบียนได้ที www.<br />

asa.or.th<br />

จำำกััดจำานวนคนเข้างาน โดยการเสวนานี ้ ให้เป็นไปตามมาตรการป้องกันการแพร่ระบาดของไวรัสโคโรนา (COVID-19)


้<br />

ISA โครงการพัฒนาวิิชาชีพ ครั งที 11/<strong>65</strong><br />

UNIVERSAL DESIGN<br />

วันศุกร์ที 26 สิงหาคม 25<strong>65</strong> ทีผ่านมา ISAสถาบันสถาปนิกสยาม<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ได้จััด สัมมนา ISA โครงการพัฒนา<br />

วิชาชีพ ครั ้งที 11/<strong>65</strong> ที TOTO Technical Center Bangkok<br />

อาคาร G Tower ชั ้น 12 ทั ้งแบบ onsite และonline ในหัวข้อ<br />

“โอกาสและแนวทางแก้ปัญหา เพื อการพัฒนาพื ้ นที สาธารณะ<br />

เพือรองรับทุกคน ได้อย่างเท่าเทียม ด้วย UNIVERSAL DESIGN”<br />

โดยวิทยากร ท่านแรก ศาสตราจำารย์ ไตรรัตน์ จำารุทัศน์<br />

ได้เล่าให้ฟังถ้ง สถานการณ์ภาพรวมปัจำจำุบันของ Universal Design<br />

ทีมีในประเทศ ทีพบว่าดีข้ ้นมาก แต่ก็ยังไม่ครอบคลุมและยัง<br />

มีความไม่เข้าใจำอยู่หลายอย่าง รวมถ้งได้มีกฏิหมายหลายฉบับที<br />

บังคับใช้แล้ว เกียวกับอาคารสาธารณะหลายประเภท ทีอาจำารย์<br />

สรุปทำเป็นกราฟฟิคได้ดีมาก ดูแล้วเข้าใจง่่ายมาก แต่ก็ยังมีผู้ไม่รู้<br />

หรือเข้าใจำในรายละเอียดทีถูกต้อง รวมถ้งแสดงตัวอย่างของการ<br />

ใช้ออกแบบงานทีถูกต้องทั ้งในบ้านเราและในต่างประเทศ<br />

วิทยากรท่านที 2 คุณกฤษนะ ละไล ประธานมูลนิธิ<br />

อารยสถาปัตย์เพือคนทั ้งมวล เล่าเรื องพร้อมภาพประกอบ<br />

ประสบการณ์ตรงจำากการเป็น user ทีต้องเป็นผู้ใช้งานโดยตรง<br />

ทีประสบปัญหาจำากการทีมีการออกแบบ Universal Design ใน<br />

พื ้ นที สาธารณะต่างๆ ที ทั ้งมีไม่ครบ มีครบแต่ใช้งานไม่สะดวก<br />

บางที มีเกินความจำาเป็นยิ งทำให้ไม่สะดวกไปใหญ่ ซึ่่งบางเรื อง<br />

เหมือนเส้นเผาบังภูเขา เช่น ถังขยะ ที อยู่ในห้องน้ ำำคนพิการที<br />

เป็นแบบเหยียบ หรือ อุปกรณ์อยู่ก่างกันมากต้อง move เยอะ<br />

หรือการติดตั ้งทีไม่ได้มาตรฐาน เป็นต้น<br />

วิทยาการท่านที 3 คุณสุกฤต อนันตชัยยง สถาปนิก<br />

และกรรมการ/ผู้จำัดการแผนกออกแบบ : Thai Obayashi Design<br />

Company Ltd. ได้มาเล่าอาคาร O-NES Tower เป็นอาคาร<br />

สานักงาน ที ได้ออกแบบโดยคาน้งถ้งทุกคน ให้สามารถเข้าใช้<br />

อาคาร ตั้งแต่แยกทางเข้าของรถและคนเดินไม่ให้ตัดกัน แยกทาง<br />

ลาดเข้าอาคารได้ทั ้งระดับบนดิน และลอยฟ้าเชือม จำากBTS จััด<br />

เตรียมให้มีห้องน้ ำำสำหรับคนพิการ ทุกชั ้นของอาคาร โดยมีถ้ง 2<br />

ห้องต่อชั ้นและอุปกรณ?ในห้องน ้ายังได้มาตรฐาน เป็นตัวอย่าง<br />

ให้ได้เรียนรู้อีกอาคารทีเกียวกับ Universal Design<br />

ต่อด้วยช่วง Q&A ที มีคำถาม น่าสนใจำมากมายที<br />

ถามวิทยากรทุกท่าน แต่คำถามที น่าสนใจำมาก คือ คำถามที<br />

อ.ไตรรัตน์ ถามคุณ สุกฤต ว่าการออกแบบห้องน้ ำำคนพิการไว้<br />

ครบทุกชั ้น ใช้งบประมาณเยอะมั ้ย คุณสุกฤตให้ข้อคิดว่า ถ้า<br />

เทียบกับงบประมาณทีต้องทำเรื องเกี ยว LEED แล้วงบทำ UD<br />

และห้องน้ ำำคนพิการ น้อยมาก<br />

ช่วงสุดท้ายของการสัมมนา เป็นกิจำกรรมทีทางทีมงาน<br />

ของ TOTO พาผู้ร่วมสัมมนาเดินชม สุขภัณฑ์์ ทีเกียวกับห้องน้ ำำ<br />

และใช้งาน UD รวมถ้ง ลองเทียบสัดส่วนกับห้องน้ ำำ UD ที ทีนี<br />

เป็นแบบสามารถปรับเปลียนให้เข้ากับสรีระของทุกคนได้ น่า<br />

สนใจำมาก เผือใครจำะแวะมาชมวันหลังก็สามารถเข้าเยียมชมได้<br />

กิจำกรรมวันนี ้ มีผู้สนใจำมาก ดีงามและเป็นประโยชน์กับ<br />

วิชาชีพและสังคมมาก ต้องขอบคุณผู้ใหญ่ใจด ี และทีมงานทุก<br />

ท่านจำาก บริษัท โตโต้ (ประเทศไทย) จำำกััด ทีเป็นผู้สนับสนุน<br />

และร่วมจััดกิจำกรรมที มีประโยชน์กับISAสถาบันสถาปนิกสยาม<br />

ที วันนี ้ ก็เป็นทั ้งเจ้้าของสถานที ต้อนรับได้ดีมากจำนทำให้งาน<br />

สัมมนาออกมาดีมาก และขอขอบคุณทีมงานเจ้้าหน้าทีสมาคม<br />

สถาปนิกสยามทุกท่าน ทีช่วยกันสนับสนุน ทำให้กิจำกรรมดีๆนี<br />

สำเร็จำไปได้ด้วยดีครับ<br />

ไว้กิจำกรรมหน้ามาพบกันใหม่ สามารถติดตามกิจำกรรม<br />

ดีๆ ของทาง ISAสถาบันสถาปนิกสยาม ได้ทางเพจำของสถาบัน<br />

และเพจำของสมาคมสถาปนิกสยามครับ


ISA Material Info Visit “ รักษ์โลกที TCM Factory”<br />

วันเสาร์ที 21 สิงหาคม <strong>65</strong> ทีผ่านมา ISA โครงการพัฒนาวิชาชีพ<br />

ครั ้งที 10/<strong>65</strong> ได้พาสมาชิกสมาคมและผู้สนใจำ เข้าร่วมกิจำกรรม<br />

ISA Material Info Visit “ รักษ์โลกที TCM Factory “ ทีโรงงาน<br />

ปทุมธานี ปัจำจำุบันธุรกิจำในเครือของ TCM ประกอบด้วย TCM<br />

Flooring , TCM Living และ TCM Automotive เป็นโรงงานผู้ผลิต<br />

พรมรายใหญ่ทีสุดในประเทศไทย และจััดจำาหน่ายไปทัวโลก ภาย<br />

ใต้ แบรนด์ “ Royal Thai “ และ “ Carpet Inter “<br />

กิจำกรรมเริมต้น จำากเดินทางออกจำากสมาคมด้วยรถตู้<br />

เวลา 9:00 น. ไปถ้งโรงงาน 10:00 น. ได้รับการต้อนรับจำากผู้<br />

บริการและเจ้้าหน้าทีของจำากทาง TCM ทีวันนี ้ เปิดโรงงานต้อนรับ<br />

เป็นพิเศษ เนืองจำากบางฝั่่ ายเป็นวันหยุดวันนี ้ แต่ก็ยินดีต้องรับ<br />

มาก<br />

ช่วงเช้า ได้เข้าฟังทีมาทีไปของบริษัท ทำให้รู้ว่า TCM,<br />

Tai Ping, Carpet Inter, Royal Thai (และอืน ๆ) เกียวข้องกัน<br />

อย่างไร และมีความมุ่งมันจำะพัฒนาธุรกิจำอย่างต่อเนือง มีความ<br />

รับผิดชอบต่อสังคม เพืออนาคตทีมันคงและยังยืน รักษ์โลก จำน<br />

ผลิตภัณฑ์์ได้รับการรับรอง โดยองค์กรมาตรฐานสากลมากมาย<br />

และภาพรวมของผลิตภัณฑ์์ของทาง TCM ทีแบ่งออกเป็น 3 หมวด<br />

ใหญ่ ครอบคลุมธุรกิจำ เกียวกับผลิตภัณฑ์์ปูพื ้ นหลายประเภท<br />

ได้แก่ พรมทอมือ , พรมAxminster , พรมแผ่น Carpet tile ,<br />

พรมอัด พร้อมรถยนต์ ซึ่่งใช้ในโรงแรม 5 ดาว เรือสำราญ คา<br />

สิโน ห้องประชุมสัมมนา สนามบิน และงานโครงการใหญ่ ๆ ทัว<br />

โลก และช่วงถามตอบ ในสิงทีทางสมาชิกสงสัยเพิมเติม ก่อนที<br />

จำะพักทานอาหาร ทีทาง TCM เตรียมไว้ให้หลายเมนู อร่อยมาก<br />

ทุกเมนู<br />

ในช่วงบ่าย ทางเจ้้าหน้าที TCM ได้พาเข้าชม<br />

lineผลิตเริมจำาก แผนกปันเส้นใย เส้นไหม แผนกย้อมเส้นใย<br />

แผนกออกแบบ ทาตัวอย่าง และผสมสีทีมี AI เข้าไปช่วยวิเคราะห์<br />

และผสมสีให้อย่างแม่นยำ กระบวนการทอพรมชนิดต่าง ๆ ตั้งแต่<br />

พรม Axminster ซึ่่งทีนียังเป็นผู้ผลิตพรม Axminster ทีใหญ่ทีสุด<br />

ในโลก มีเครื องทอมากกว่า 60 เครื อง เยี ยมชมการทอพรม<br />

Carpet tile กระบวนการตรวจำสอบ defect ทีต้องใช้ช่างผู้ชานาญ<br />

ในการตรวจำสอบ แก้ไข ที ละเอียดมาก ต่อด้วยแผนกพรมทอ<br />

มือ ที ใช้คนทอพรมผืนใหญ่ ลวดลายวิจิิตร สวยงามมาก และ<br />

แฯกสุดท้ายเยียมชม แผนกพรมอัดและพรมรถยนต์ ได้ทดลอง<br />

เดินบนพรมชนิดต่างๆ ทีทาง TCM เตรียมไว้ให้ทดสอบ ทำให้<br />

เข้าใจผ ิวสัมผัสของพรมแต่ละชนิดได้ข้ ้ นมาก<br />

นอกจำากเยียมชมแผนกต่างๆ แล้ว ยังได้เยียมชม โรง<br />

บาบัดน้ ำำเสีย ทีบาบัดน้ ำำเสียทั ้งหมดจำากโรงงาน ซึ่่งเป็นนโยบาย<br />

สาคัญของโรงงาน TCM ทีต้องการให้ กระบวนการผลิตภายใต้<br />

หลักการลดการใช้ นำำมาใช้ซึ่ ้า และแปรสภาพ ลดของเสียและ<br />

อนุรักษ์ทรัพยากร<br />

การเยี ยมชมทั ้งหมดในวันนี ้ ได้เห็นภาพรวมของ การ<br />

ผลิตเส้นใยและเส้นไหม การออกแบบ การทาตัวอย่าง การควบ<br />

เกลียวและคงรูปด้วยความร้อน การย้อมสี การตบแต่งและการ<br />

ตรวจำสอบ ก่อนจััดเก็บ จััดส่ง ไปจำนถ้งการติดตั ้งทีเป็นระบบ เป็น<br />

ประโยชน์มาก<br />

ต้องขอขอบคุณผู้บริหารและเจ้้าหน้าทีทุกท่านจำากทาง<br />

TCM เป็นอย่างสูง ทีมาให้การต้อนรับอย่างอบอุ่น ดูแลอย่างเป็น<br />

อันเองมาก และพาเยี ยมชมให้ความรู้อย่างเต็มทีมาก และขอ<br />

ขอบคุณเจ้้าหน้าทีสมาคมสถาปนิกสยาม และทีมงาน ISAสถาบั<br />

นสถาปนิกสยามทุกท่านทีช่วยทำให้เกิดกิจำกรรมดีๆ มีประโยชน์<br />

ในการพัฒนาวิชาชีพเต็มที ไว้พบกันใหม่ในกิจำกรรมต่อไปๆครับ


ส ม า ค ม ฯ เ ซ็็ นต ์ M O U ร ่วิ ม โ ค ร ง ก า ร<br />

Life begins with GHB<br />

เมือวันที 24 สิงหาคม 25<strong>65</strong> สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ นำำโดยคุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมฯ ร่วมลงนาม<br />

บันท้กข้อตกลง (MOU) ความร่วมมือโครงการ Life Begins with<br />

GHB ระหว่างธนาคารอาคารสงเคราะห์ นำำโดยคุณวิทยา แสน<br />

ภักดี รองกรรมการผู้จำัดการ กลุ่มงานการตลาด เพือสนับสนุน<br />

ให้สมาชิกสมาคมฯที เป็นกลุ่มผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

สามารถเข้าถ้งผลิตภัณฑ์์ทางการเงินของธนาคาร และได้มีทีอยู่<br />

อาศัยเป็นของตนเองและครอบครัว รวมถ้งได้รับสิทธิพิเศษต่าง<br />

ๆ ในด้านผลิตภัณฑ์์และการบริการของธนาคารทั ้งด้านสินเชือ<br />

และเงินฝั่าก<br />

สำหรับโครงการ Life Begins with GHB ทีผ่านมา มี<br />

สมาคมองค์กรวิชาชีพร่วมโครงการแล้วถ้ง 17 แห่ง มีจำานวน<br />

สมาชิกกว่า 800,000 ราย มียอดสินเชือปล่อยใหม่ในโครงการ<br />

ดังกล่าวสูงถ้ง 20,253 ล้านบาท ทั ้งนี ้ พิธีลงนามความร่วมมือ<br />

ดังกล่าว ได้มีคณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยามฯ และ<br />

คณะผู้บริหารธนาคารร่วมในพิธีฯ ซึ่่งจััดข้ ้ น ณ สมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (สานักงานใหญ่)<br />

** ทั ้งนี ้ ผู้ที เป็นสมาชิกสมาคมฯจำะได้รับสิทธิพิเศษในการเข้าถ้ง<br />

สินเชือโครงการ Life Begins with GHB โดยอัตโนมัติ หากผู้ที<br />

สนใจำเข้าถ้งสินเชือโครงการฯ สามารถสมัครสมาชิกสมาคมฯ<br />

ได้ที สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โทร 02-<br />

319-<strong>65</strong>55 ต่อ 113 (ฝั่่ ายทะเบียน) หรือ line ID : @asaline<br />

นายกสมาคมฯ ร่วิมเปิ ดิงาน 9th Thai Green<br />

Building Expo 2022<br />

เมือวันที 14 สิงหาคม 25<strong>65</strong> คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคม<br />

สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ในฐานะประธานมูลนิธิ<br />

อาคารเขียว เข้าร่วมงาน 9th Thai Green Building Expo 2022<br />

และได้กล่าวเปิดงาน โดยมีคุณก่อพงศ์ ไทยน้อย ประธานจััดงาน<br />

พร้อมด้วย คุณนินนาท ไชยธีรภิญโญ ประธานสถาบันอาคาร<br />

เขียวไทย กล่าวปฐกถา TREES : Road Map จััดข้ ้ น ณ ศูนย์<br />

นิทรรศการและการประชุมไบเทคบางนา<br />

ภายในงานภาคเช้าได้มีการสัมมนาทางวิชาการหัวข้อ<br />

“Green-Building Next-Post COVID-19” การเปลียนแปลงที<br />

เกิดข้ ้ นในอนาคตทีส่งผลต่อรูปแบบและแนวความคิดเกียวกับ<br />

Green Building, Well Being Building และ Smart City ส่วนภาค<br />

บ่ายหัวข้อสัมมนาเกียวกับการ “Update เกณฑ์์อาคารเขียวไทย”<br />

อีกทั ้งมีนิทรรศการแสดงสินค้าเกี ยวกับนวัตกรรมการประหยัด<br />

พลังงานของอาคาร ทั ้งนี ้ ผู้สนใจำสามารถติดตามรับฟังสัมมนา<br />

ย้อนหลังได้ทีเพจำ Thai Green Building Institute


นายกสมาคมฯ ร่วิมงานเสวินาวิิชาการและวิิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

เมือวันที 14 กันยายน 25<strong>65</strong> กรรมาธิการสถาปนิกล้านนาสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับ คณะ<br />

ศิลปกรรมและสถาปัตยกรรมศาสตร์ สาขาสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา และสมาคมศิษย์เก่า<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา จััดกิจำกรรมงานสัมมนาทางวิชาการ ภายใต้ชือ “เสวนาวิชาการ<br />

และวิชาชีพสถาปัตยกรรม” ณ ห้องประชุมทองกราว อาคารเรียนรวม ชั ้น 2<br />

ได้รับเกียรติจำาก คุณประภากร วทานยกุล นายกสภาสถาปนิก คุณชนะ สัมพลัง นายกสมาคมสถาปนิกสยามฯ ร่วมเป็น<br />

วิทยากรบรรยายในช่วงเช้าหัวข้อ “การปฏิิบัติวิชาชีพของสถาปนิกในยุค The Age of Disruption” และท่าน อ.จุุลทัศน์ กิติบุตร<br />

ศิลปินแห่งชาติ สาขาทัศนศิลป์ (สถาปัตยกรรมร่วมสมัย) รศ.ดร.พงศ์ศักดิ ์ วัฒนสินธุ์ กรรมการสภาวิชาการผู้ทรงคุณวุฒิ มทร.<br />

ล้านนา ร่วมเป็นวิทยากรบรรยายในช่วงบ่าย หัวข้อ “Innovation Mindset : บทบาทของสถาปนิกกับการออกแบบสถาปัตยกรรม”


่<br />

ค้นพบโซลูชันด้านภาพและเสียง<br />

ระดับมืออาชีพที ่จะพลิกโฉมทุก<br />

อุตสาหกรรมสู่ยุคดิจิทัล<br />

เทคโนโลยีใหม่ๆที ่ไม่เคยมีมาก่อนได้ถือกําเนิดขึ ้นมากมายในโลกยุคนี ้ ซึ่งคาดการณ์ว่าภายในปี 2025<br />

ทุกอย่างจะใช้เทคโนโลยีการสื ่อสารระยะไกล ไม่ว่าจะเป็นการทํางาน, การแพทย์ทางไกล, การเรียน<br />

ออนไลน์เสมือนจริง, พาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์ และอื ่นๆอีกมากมาย ซึ ่งสิ่งเหล่านี<br />

้ต้องพึ ่งพา AI ที<br />

ควบคุมและแสดงผลอย่างรวดเร็วด้วยเทคโนโลยีด้านภาพและเสียงระดับมืออาชีพ หรือที ่เรียกว่า<br />

Professional AudioVisual (Pro-AV)<br />

ค้นพบโซลูชันล่าสุดของนวัตกรรมด้านภาพและเสียงระดับมืออาชีพที ่จะพลิกโฉมทุกอุตสาหกรรม<br />

เรียนรู้ว่าสิ ่งเหล่านี ้จะนําพาธุรกิจของคุณไปต่อได้อย่างไรในอนาคต กับโลกยุค post-pandemic<br />

เข้าถึงข้อมูลเชิงลึก แนวโน้มและการพัฒนาจากผู้เชี ่ยวชาญด้านเทคโนโลยีและผู้นําในอุตสาหกรรม<br />

2 – 4 พฤศจิกายน 25<strong>65</strong><br />

ไบเทค บางนา ฮอลล์ 98<br />

www.infocomm-sea.com<br />

ดูข้อมูลงานเพิ ่มเติม<br />

ดูโปรแกรมสัมมนา<br />

ผู้จัดงาน: ผู้จัดการงาน: สนับสนุนโดย:<br />

สอบถามข้อมูลเพิ ่มเติม ติดต่อ: บริษัท เอ็กซ์โป อินเตอร์ จํากัด<br />

คุณ สุรเชษฐ์ เครือแสง โทร: <strong>08</strong>16106104 อีเมล: pr.infocommasia@expointer.net


MEMBER CORNER<br />

สมาชิกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทีผู้่านการอนุมัติจำากที่ประชุมกรรมการบริหาร<br />

ประจำำาเดิือนกรกฎาคม 25<strong>65</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทัวไป<br />

• นักศึกษา<br />

จำานวน 49 คน<br />

จำานวน 12 คน<br />

จำานวน 18 คน<br />

จำานวน 11 คน<br />

ประจำำาเดืือนสิงหาคม 25<strong>65</strong><br />

สมาชิกประเภท สามัญ ราย 5 ปี<br />

สมาชิกประเภท ภาคี รายปี<br />

สมาชิกประเภท สมทบ รายปี<br />

• บุคคลทัวไป<br />

• นักศึกษา<br />

จำานวน 34คน<br />

จำานวน 4 คน<br />

จำานวน 21 คน<br />

จำานวน - คน<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ข้ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จำานวน 4 บริษัท<br />

จำานวน - บริษัท<br />

สมาชิกประเภท นิติบุคคล<br />

• ต่ออายุสมาชิก<br />

• ข้ ้ นทะเบียนใหม่<br />

จำานวน 2 บริษัท<br />

จำานวน 5 บริษัท

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!