19.04.2023 Views

ASA NEWSLETTER_01-02_66

  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ุ<br />

์<br />

งานสถาปนิก ’<strong>66</strong> จััดข้ ้ นภายใต้แนวคิด “ตำำาถาด : Time of Togetherness” โดยมีทีมาจำากรวมตัวกันของ 5 องค์กรวิชาชีพ<br />

ทางด้านสถาปัตยกรรม ประกอบด้วย สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมมัณฑนากรแห่งประเทศไทย<br />

สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย และ สภาสถาปนิก ซึ่่งนับเป็นครั ้งแรกทีมีการรวมตัวกันเพือ<br />

จััดงาน โดยในปีนี ้ มีแนวคิดในการจััดงานให้สะท้อนถ้งอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของสังคมไทย นันคือ “อาหาร” ทีบ่งบอก<br />

ถ้งการ พบปะสังสรรค์ การรับประทานอาหารร่วมกัน และอาหารไทยก็เป็นอาหารทีคนทัวโลกรู้จำักและชืนชอบ โดยเฉพาะ<br />

เมนู ส้มตำ และเมนู “ตำำาถาด” เปรียบเหมือนงานในปีนี ้ ทีมีการรวมสิงต่างๆ มาไว้ในทีเดียวกัน เพือร่วมผลักดันพัฒนา<br />

วิชาชีพให้ก้าวหน้าและประสบผลสำเร็จำตามเป้าหมาย<br />

ภายในงานจำะมีกิจำกรรม Human Library ทีเปิดโอกาสให้ผู้ฟัังได้เรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ทีเกิดข้ ้ นจร ิงจำากวิทยากรทีมีชือ<br />

เสียง เข้ามาร่วมพูดคุยแลกเปลียนความคิดเห็นกันอย่างใกล้ชิด, นิทรรศการ All Member พื ้ นทีแสดงผลงานของสมาชิก<br />

สถาปนิก โดยปีนี ้ พิเศษด้วยการรวบรวมผลงานของ 4 สมาคมวิชาชีพมาจััดแสดงร่วมกัน และ กิจำกรรม Forum ทีมีการ<br />

เชิญวิทยากรที มีชือเสียงระดับโลกทั ้งชาวไทยและชาวต่างชาติ มาบรรยายให้องค์ความรู้แก่สมาชิก ครอบคลุมเนื ้ อหาทั ้ง<br />

4 สาขาวิชาชีพ อีกทั ้งเป็นการสร้างความตระหนักรู้ถ้งบทบาทวิชาชีพสถาปนิกทีมีต่อสังคม ภายหลังจำากการเผชิญกับวิกฤต<br />

โควิดทีทำให้วิถีชีวิตของผู้คนเปลียนไป ซึ่่งงานสถาปนิกหรืองานออกแบบ มีความจำาเป็นต้องปรับตัวไปด้วย เพือให้งานมี<br />

การพัฒนาตอบรับกับความเปลียนแปลงในโลกยุคปัจำจำุบัน อีกทั ้งเสริมแนวทางใหม่ จำากการรวมตัวกันของ 5 องค์กรวิชาชีพ<br />

ทีจำะมีเนื ้ อหาในหลากหลายมิติ เพือให้เกิดการเชือมต่อและมองเป็นภาพรวมของวิชาชีพสถาปัตยกรรมได้ชัดเจำนมากข้ ้ น ทั ้ง<br />

ยังก่อประโยชน์ให้แก่วิชาชีพและสังคมต่อไป สุดท้ายนี ้ จำ้งขอเชิญชวนสมาชิกและผู้สนใจท ุกท่าน เยียมชมงานสถาปนิก’<strong>66</strong><br />

จััดข้ ้ นระหว่างวันที 25-30 เมษายน 25<strong>66</strong> ณ อาคารชาเลนเจำอร์ อิมแพ็ค เมืองทองธานี<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายกสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ประจำำปี พ.ศ. 2565-2567<br />

คณะกรรมการบริหารสมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2565-2567<br />

นายกสมาคม<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

อุปนายก<br />

นายนิเวศน์ วะสีนนท์<br />

นาย จำีรเวช หงสกุล<br />

นายไพทยา บัญชากิตติกุล<br />

นายชุตยาเวศ สินธุพันธ์<br />

ผศ.ดร.รัฐพงษ์ อังกสิทธิ<br />

นายรุ่งโรจำน์ อ่วมแก้ว<br />

เลขาธิการ<br />

นายพิพัฒน์ รุจำิราโสภณ<br />

เหรัญญิก<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจำิตร<br />

ปฏิคม<br />

นายเฉลิมพล สมบัติยานุชิต<br />

นายทะเบียน<br />

นายคมสัน สกุลอำนวยพงศา<br />

ประชาสัมพันธ์<br />

นางสาวกุลธิดา ทรงกิตติภักดี<br />

กรรมการกลาง<br />

ศ.ดร.ต้นข้าว ปาณินท์<br />

ดร.วสุ โปษยะนันทน์<br />

นายเฉลิมพงษ์ เนตรพฤษรัตน์<br />

นายอดุลย์ แก้วดี<br />

ผศ.ณธทัย จำันเสน<br />

นายธนพงศ์ วิชคำหาญ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ล้านนา<br />

นายปราการ ชุณหพงษ์<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิกอีสาน<br />

นายวีรพล จำงเจำริญใจำ<br />

ประธานกรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ<br />

ดร.กาญจำน์ เพียรเจำริญ<br />

ประธานกรรมธิการสถาปนิกบูรพา<br />

นายคมกฤต พานนสถิตย์<br />

คณะกรรมการกองทุนสมาคมสถาปนิกสยาม<br />

ในพระบรมราชูปถัมภ์ ปี 2564-25<strong>66</strong><br />

ประธานกรรมการกองทุน<br />

นายสิน พงษ์หาญยุทธ<br />

กรรมการกองทุน<br />

นายบุญญวัฒน์ ทิพทัส<br />

รศ.ยุพยง เหมะศิลปิน<br />

นายสมิตร โอบายะวาทย์<br />

นายวิญญู วานิชศิริโรจำน์<br />

นายชนะ สัมพลัง<br />

นายไมเคิลปริพล ตั ้งตรงจำิตร


โครงการ งานสถาปนิก’<strong>66</strong><br />

ตำำาถาด : Time of Togetherness<br />

ระหว่างวันอังคารที่ 25-30 เมษายน 25<strong>66</strong><br />

ณ ชาเลนเจอร์ฮอลล์ 1-3 ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี<br />

ความเป็ นมา<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ได้จััดงานเพือเผยแพร่วิชาชีพสถาปัตยกรรมมาตั ้งแต่ปีพุทธศักราช 2529 โดยใช้<br />

ชืองานว่า “สถาปนิก’29” และได้จััดเป็นประจำำท ุกปี ( ยกเว้นปีพุทธศักราช 2533 และ 2563 ) จำนถ้งปัจำจำุบัน ได้จััดไปแล้ว 34<br />

ครั ้ง โดยมีผู้เข้าชมปีละประมาณ 4000,000 คน สำหรับปีพุทธศักราช 25<strong>66</strong> นี ้ คณะกรรมการบริหารสมาคมฯ ปีพุทธศักราช<br />

2563-2565 มีมติเห็นชอบในการ จััดงานสถาปนิก’<strong>66</strong> ซึ่่งจััดเป็นครั ้งที 35 ในระหว่าง วันอังคารที 25 เมษายน – วันอาทิตย์<br />

ที 30 เมษายน 25<strong>66</strong> ณ อาคารชาเลนเจำอร์ ศูนย์แสดงสินค้าและการประชุม อิมแพ็ค เมืองทองธานี ถนนแจ้้งวัฒนะ ตำบลบ้าน<br />

ใหม่ อำเภอปากเกร็ด จัังหวัดนนทบุรี เพือให้เป็นไปตามวัตถุประสงค์ดังต่อไปนี ้<br />

วัตถ ุประสงค์ของการจัดงาน<br />

1. เพือเป็นเวทีเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ ผลงานทางวิชาชีพสถาปัตยกรรม และกิจำกรรมของสมาคมฯ<br />

2. เพือส่งเสริมให้เกิดเป็นสือกลางในการจััดแสดงนิทรรศการวัสดุก่อสร้างรวบรวมและให้ความรู้เกียวกับนวัตกรรม ผลิตภัณฑ์<br />

การก่อสร้างวัสดุเทคโนโลยี นวัตกรรมทีเกียวเนืองเกียวกับวงการสถาปัตยกรรม<br />

เพือการส่งเสริมวิชาชีพทางสถาปัตยกรรมแก่สมาชิกสมาคมและสังคมตลอดจำนให้บริการทางวิชาการแก่ประชาชนนิสิตนักศ้กษา<br />

แนวคิดหลักในการจัดงานงานสถาปนิก’<strong>66</strong> “ตำำาถาด : Time of Togetherness”<br />

เรากาลังหลุดพ้นจำากภายใต้เงาของโรคระบาด สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ ร่วมกับสมาคมมัณฑนากร แห่ง<br />

ประเทศไทย สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย และสภาสถาปนิก จััดงานสถาปนิก’ <strong>66</strong> ในเดือน<br />

เมษายน 25<strong>66</strong> เพื อเป็นเวทีที จำะนำำเหล่านักออกแบบมารวมตัวกันเพื อ พูดคุย ตั ้งคำถาม และช่วยกันหาคำตอบและแนวทางที<br />

มีประโยชน์ต่อการปฏิิบัติวิชาชีพทุกแขนงทั ้งในปัจำจำุบันและอนาคต ภายในงานจำะมีการจััดสัมมนา ห้องสมุดมนุษย์ การแสดงผล<br />

งานการออกแบบ และเทคโนโลยีการก่อสร้าง<br />

เพือฉลองการรวมตัวกันครั ้งแรกขององค์กรวิชาชีพทั ้ง 5 ในปีนี ้ ทางคณะผู้จำัดงานฯ จึึงเลือกหัวข้อในการจััดงานทีแสดงถ้งอัตลักษณ์<br />

ทางวัฒนธรรมและสังคมของคนไทย ซึ่่งคือ วัฒนธรรมด้านอาหาร เมือเราพบปะสังสรรค์กันคนไทยจำะรับประทานอาหารร่วมกัน<br />

แม้ว่า มรดกทางวัฒนธรรมและความชื นชอบทางด้านอาหารไทยจำะมีความหลากหลาย แต่อาหารไทยที คนไทนและผู้คนทัวโลก<br />

ชืนชอบมากทีสุดอย่างไม่ต้องสงสัย คือ ส้มตำ ในปีนี ้ จำ้งขอเชิญชวนทุกท่านมาร่วมสนุกกับงานภายใต้แนวคิด “ตำถาด : Time of<br />

Togetherness”<br />

นิทรรศการและกิจกรรมที่สำคััญ ประกอบด้วย<br />

1. ส่วนนิทรรศการหลัก ประกอบด้วย<br />

1.1 นิทรรศการ Time of Togetherness การรวมตัวกัน<br />

ของ 5 สมาคมวิชาชีพทางด้านสถาปัตยกรรม ทีก่อให้เกิดการพูด<br />

คุย ตั ้งคำถาม และช่วยกันหาคำตอบ เพือสิงทีเป็นประโยชน์ต่อ<br />

วงการวิชาชีพและสังคมโดยรวมทั ้งปัจำจำุบันและอนาคต เช่น เรือง<br />

Sustainable ทีทุกคนจำะต้องตะหนักและพูดถ้งกันทุกวัน โดยการ<br />

จััดแสดงผ่านสือตัวกราฟิิค Key visual หลักของงานและวัสดุปิด<br />

ผิวทีมีนวัตกรรมผ่านกระบวนการด้านความยิงยืน


้<br />

1.2 นิทรรศการ ALL MEMBER : Design Showcase นำำเสนอผลงานของสมาชิกสมาคม ประกอบด้วย สมาคมสถาปนิก<br />

สยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ สมาคมมัณฑนากร แห่งประเทศไทย สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย<br />

ทั ้งประเภทนิติบุคคลและบุคคลภายใต้กรอบธีมงานทีกำหนด และรวมถ้งนำำเสนอผลงานการทำงาน ของสถาปนิกทุกสาขาวิชาชีพ<br />

ทีมีความหลากหลายและเกียวเนืองกับสถาปัตยกรรมและการออกแบบ และส่วนทีอธิบายถ้งธีมหลักของการจััดงานอาษาในปีนี<br />

1.3 Human Library : Let’s talk and share HUMAN LIBRARY จำะต่างจำากงานสัมมนาหรือ lecture ทัวไปตรงทีว่า ผู้พูด<br />

จำะเป็นใครก็ได้ (ทีอาจำจำะไม่ใช่คนดัง) ที ผ่านเหตุการณ์ในชีวิต ที อาจำจำะยากลำบากหรือต้องใช้ความพยายามสูงในการฝ่่ าฟัันมา<br />

แล้วสุดท้ายสามารถผ่านช่วงเวลานั ้นมาได้ จำนตกผล้กและไม่มีอคติกับมัน จำนสามารถพูดหรือ discuss ถ้งสิงนั ้นกับผู้อืนได้อย่าง<br />

เป็นกลาง พร้อมทีจำะแชร์สิงนั ้นและตอบคำถามต่างๆ การพูดคุยนี ้ มักจำะเป็นกลุ่มย่อย หรือเป็นคู่สนทนา เพราะเรืองบางครั ้งจำะลง<br />

ล้กและประเด็นที discuss อาจำจำะส่วนตัว แนวความคิดจำะสอดคล้องกับ “Don’t judge a book by a cover” ผู้จำัด event มักจำะให้<br />

ผู้คนทีเป็นหนังสือมานังตามโต๊ะ แล้วให้ผู้คนทัวไปมาเดินเลือก ว่าจำะอ่านหนังสือ (คุยกับใคร) โดย TOPIC ต้องเป็นประเด็นทีผู้พูด<br />

อยากพูดหรือสบายใจำทีจำะแชร์<br />

1.4 นิทรรศการ สมาคมมัณฑนากร แห่งประเทศไทย : TIDA<br />

1.4.1 TIDA LOUGE ประกอบด้วย บริการให้ข้อมูล<br />

สมาคมมัณฑนากร / รับสมัครสมาชิก / SHOP ขายของที่ระลึก<br />

Night<br />

1.4.2 TIDA SOCIETY ประกอบด้วย Talk Club / TIDA<br />

1.4.3 TIDA SALONE การจำับคู่ Designer กับ Product<br />

ที่น่าสนใจำเพื่อนำมา Showcase<br />

1.4.4 TIDA EXHIBITION จััดแสดงผลงานจำากการ<br />

ประกวด TIDA Awards and TIDA Thesis Awards


1.5 นิทรรศการ สมาคมภูมิสถาปนิกประเทศไทย : TALA<br />

1.5.1 นิทรรศการและพื ้ นที สัมมนาวิชาการ “TALA<br />

CLASSROOM” เพือจััดแสดง และร่วมแสดงควาคิดเห็นเกียวกับ<br />

โครงการภูมิสถาปัตยกรรมทีดำเนินการร่วมกับภาคีวิชาชีพอืนๆ<br />

อาทิ โครงการเกษตรยังยืน โครงการลานกีฬากรุงเทพมหานคร<br />

รวมทั ้งใช้เป็นพื ้ นทีสำหรับกิจำกรรม Workshop ต่างๆทีจำะจััดข้ ้ น<br />

ภายในงาน<br />

1.5.2 พื ้ นทีจััดแสดงนิทรรศการ “TALA PARK NETWORK<br />

MAP” เพือจััดแสดงแผนทีความสัมพันธ์ของโครงสร้างพื ้ นที สี<br />

เขียวในเมืองกรุงเทพมหานคร ณ ปัจำจำุบัน และ/หรือ อนาคต<br />

1.5.3 กระดานจััดแสดงผลงาน “TALA ‘What If’ Sketch”<br />

เพือจััดแสดงผลงาน แนวความคิด และจิินตนาการ ของผู้<br />

ประกอบวิชาชีพ นักศ้กษา ทางด้านภูมิสถาปัตยกรรมทีมีต่อ<br />

พื ้ นทีสาธารณะภายในเมือง<br />

1.5.4 “TALA’s SALAD BAR” จุุดพักผ่อน และนัดพบพูดคุย<br />

อย่างไม่เป็นทางการ<br />

1.5.5 “TALA SHOP & SERVICES” พื ้ นทีจำาหน่ายหนังสือ<br />

และของทีระล้กสมาคมฯ หนังสือวิชาการจำากสถาบันการศ้กษา<br />

และประชาสัมพันธ์ข้อมูลต่างๆ ของทางสมาคม ฯ<br />

1.6 นิทรรศการ สมาคมสถาปนิกผังเมืองไทย : TUDA มีการแบ่งพื ้ นที่ออกเป็ น 4 Themes x 5 Zone ดังนี ้<br />

• Water Management • 1 Million Square Meters Projects<br />

• EEC and Future City • Ageing and Social Inequality<br />

1.6.1 โซึ่น TUDA ZEB (แซึ่บ) การจััดแสดงผลงาน<br />

วิทยานิพนธ์ และผลงานออกแบบและการศ้กษาวิจััยจำากสถาบัน<br />

การศ้กษา<br />

1.6.2 โซึ่น TUDA X Muang (เมือง) การจััดแสดงผล<br />

งานการประกวดแบบเมืองพัทยา และเมืองอืนๆ ที TUDA ร่วม<br />

เป็นเจ้้าภาพในการจััดกิจำกรรมการพัฒนาเมือง<br />

1.6.3 โซึ่น TUDA X Mhu (หมู่) or TUDA and Friends<br />

การจััดแสดงงานของหน่วยงาน บริษัททีมีผลงานโดดเด่น ด้าน<br />

การออกแบบและพัฒนาเมือง<br />

1.6.4 โซึ่น TUDA Khak (คัก) โชว์เคส โชว์คัก ผล<br />

งานการออกแบบเมือง ทีเป็นผลงานของสมาชิก TUDA<br />

1.6.5 โซึ่น TUDA Muan (ม่วน) พื ้ นทีให้สมาชิกได้พัก<br />

นังพูดคุย และจััดเสวนาเวทีย่อย (ถ้าไม่จำาเป็นต้องมีแล้วให้ไปใช้<br />

เวทีกลาง ให้เอาพื ้ นทีนีไปรวมกับ TUDA ZEB


2. นิทรรศการวิชาการ ประกอบด้วย<br />

2.1 นิทรรศการประกวดแบบเชิงแนวความคิด <strong>ASA</strong> Experimental<br />

Design Competition : Not Only Human<br />

การแสดงผลงานการประกวดแบบในระดับนานาชาติ ที่เปิดให้สมาชิกสมา<br />

คมฯ นิสิต-นักศึกษาและผู้สนใจำทั่วไปเข้าร่วมส่งผลงานแสดงแนวคิดในการ<br />

ออกแบบภายใต้กรอบธีมงานทีกำหนด<br />

3. นิทรรศการ สมาคม วิชาชีพ ประกอบด้วย<br />

3.1 นิทรรศการรางวัลอาคารอนุรักษ์ศิลปสถาปัตำยกรรม ประจำป ี 25<strong>66</strong> นำำเสนอผลงานทีได้รับรางวัลอนุรักษ์ศิลป<br />

สถาปัตยกรรม ประจำำป ี 25<strong>66</strong> ทีคัดเลือกโดยสมาคม สถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

3.2 นิทรรศการ <strong>ASA</strong> VERNADOC บ้านห้วยทรายเหนือ อ.ชะอา จ.เพชรบุรี นำเสนอผลงานการเก็บข้อมูลของอาคารที่<br />

ทรงคุณค่าด้วยวิธี VERNADOC คือการเก็บข้อมูลอาคารด้วยวิธีพื ้ นฐิ่น ด้วยการเขียนมือ ใช้ปากกา ดินสอ เขียนแบบ ทำการสำรวจำ<br />

และใช้เวลาศึกษาอยู่กับอาคารสถานทีจำริงจำนแล้วเสร็จำ<br />

3.3 นิทรรศการผลงานนักศึกษา<br />

นำเสนอผลงานการออกแบบผลงานของนิสิต-นักศึกษา คณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์และการออกแบบ จำากสถาบันการศึกษา<br />

ทั่วประเทศ ประกอบด้วย Thesis of the Year in Architecture<br />

Award 2<strong>02</strong>2 (TOYARCH2<strong>02</strong>2) การประกวดวิทยานิพนธ์ทาง<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์ดีเด่นแห่งปี 2<strong>02</strong>2 และ สภาคณบดีคณะ<br />

สถาปัตยกรรมศาสตร์แห่งประเทศไทย Council of Deans of<br />

Architecture of Thailand (CDAST)<br />

3.4 นิทรรศการงานประกวดแบบภาครัฐและองค์กรอื่นๆ<br />

นำเสนอผลงานออกแบบของหน่วยงานภาครัฐและองค์กรอื ่นๆ ที่<br />

เกี่ยวข้องทางด้านการออกแบบสถาปัตยกรรมและเมือง ประกอบ<br />

ด้วย โครงการ Creative city นาเกลือ พัทยา โครงการประกวด<br />

แบบลานกีฬากรุงเทพมหานคร และBlueScope Design Award<br />

2<strong>02</strong>2<br />

3.5 นิทรรศการรอยตำ่อไม้ในงานสถาปัตำยกรรมไทยพื ้ นถิ่น<br />

By Unesco และ ไร่แม่ฟ้าหลวง<br />

นิทรรศการรอยต่อไม้ในงานสถาปัตยกรรมไทยเป็นผลงานการ<br />

ศึกษา ค้นคว้าและรวบรวมรอยต่อไม้แบบจำารีตนิยมซึ่้ งพบใน<br />

งานสถาปัตยกรรมไม้ในประเทศไทยนำมาจำัดสร้างหุ่นจำำลอง<br />

รอยต่อมาตราส่วนจำริงเพื่อถอดรหัสภูมิปัญญาช่างไม้ในอดีต<br />

เพื่อการบันทึกมรดกทางวัฒนธรรมและเพื ่อการสื ่อสารคุณค่า<br />

ภูมิปัญญางานไม้ของชาติซึ่้งเป็นมรดกทางวัฒนธรรมทีจำับต้อง<br />

ไม่ได้นำไปสู่ความเข้าใจำและการอนุรักษ์สถาปัตยกรรมที ่มีคุณค่า<br />

ของชาติในลำดับต่อไป


3.6 นิทรรศการย่านเก่าเล่าเรื่อง โดยนักศ้กษาภาควิชาสถาปัตยกรรมและการวางแผน คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจำอมเกล้าเจ้้าคุณทหารลาดกระบัง ทีได้ลงมีการลงสำรวจำและเก็บข้อมูลในพื ้ นทีด้วยการวาดภาพย่านชุมชน<br />

เก่า โรงงานมักกะสัน และ การรถไฟั ซึ่่งถือเป็นพื ้ นทีทีมีคุณค่าและถือเป็นมรดกรถไฟั<br />

3.7 นิทรรศการ asa Platform Selected Materials 2<strong>02</strong>3 โครงการคัดเลือกวัสดุและผลิตภัณฑ์ใหม่ สำหรับสถาปัตยกรรม<br />

และการก่อสร้าง ที่น่าจำับตามองในปี 2<strong>02</strong>3 เพื่อแนะนำวัสดุและผลิตภัณฑ์ใหม่ที่น่าสนใจำในมิติต่าง ๆ แก่สมาชิสมาคม และ<br />

สาธารณชน วัสดุที่ดีคือจำุดเริ่มต้นของอาคารและการก่อสร้างที่ดี วัสดุและผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการคัดเลือกจำะส่งเสริมความเชื่อนั ้น<br />

โครงการ asa Platform Selected Materials 2<strong>02</strong>3 ของ <strong>ASA</strong> Platform จำะเป็นเวทีให้วัสดุและผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ยอดเยี่ยม ได้เผย<br />

แพร่สู่สถาปนิก นักออกแบบ ผู้ที่อยู่ในวงการอุตสาหกรรมการก่อสร้างและสาธารณะชนทั่วไป และเราใช้โอกาสนี ้ เพื ่อรอที จำะนำ<br />

เสนอวัสดุที่น่าตื่นเต้นที่สุดแห่งปี<br />

3.8 นิทรรศการ WOW : Wonder of Well Being อัศจรรย์เมืองน่าอยู่ นิทรรศการทีจััดแสดงถ้ง “Well-Being City” เมือง<br />

ทีน่าอยู่ ต่างจำากเมืองทีอยู่ได้ เพราะมีการวางแผนตั ้งแต่ระบบโครงสร้างพื ้ นฐาน สาธารณูปโภค และความร่วมมือจำากผู้อยู่อาศัย<br />

ในการหาแนวทางพัฒนาเมืองให้มีชีวิตชีวาและตอบสนองความเปลียนแปลงอย่างทันยุคทันสมัย การสร้างความเข้าใจว่่าเมืองทีน่า<br />

อยู่เป็นอย่างไร จึึงมีความจำาเป็นทีจำะนำำไปสู่การวางแผนพัฒนาเมืองแบบมีเป้าหมายและมีภาพเมืองทีดีร่วมกัน<br />

3.9 Jarit: Crafts of Contemporary Thai Architecture นิทรรศการทีนำำเสนอผลงานสถาปนิกจำากกลุ่มภาคีสมาชิกสถาปนิก<br />

ระหว่างประเทศ ARCASIA<br />

4.10 Architecture Guide to the UN17 Sustainable Development Goals Japan Version นิทรรศการทีนำำเสนอผลงาน<br />

จำากกลุ่มภาคีสถาปนิกระหว่างประเทศ โดยสมาคมสถาปนิกญีปุ ่ น JIA<br />

4. ส่วนงานพื ้ นที่กิจกรรมและบริการ<br />

4.1 ACT + <strong>ASA</strong> Shop + <strong>ASA</strong> Bookshop พื ้ นทีจำาหน่าย<br />

หนังสือและของทีระล้กสมาคมฯ หนังสือวิชาการจำากสถาบันการ<br />

ศ้กษา<br />

4.2 <strong>ASA</strong> Club - พื ้ นที Meeting Point และจุุดพักผ่อน<br />

ประจำาของชาวอาษา<br />

4.3 สถาปนิกอาสา – พื ้ นทีบริการให้คำปร้กษาเรือง<br />

แบบบ้าน จำากสถาปนิกอาสา<br />

4.4 <strong>ASA</strong> Night 2<strong>02</strong>3 – งานสังสรรค์พบปะตาม<br />

ประเพณีของเหล่าสมาชิกอาษาทุกรุ่น ทุกสมัย ทุกสถาบัน<br />

5. ส่วนงานสัมมนาวิชาการ<br />

5.1 <strong>ASA</strong> + ACT International Forum 2<strong>02</strong>3 งานสัมมนาวิชาการ โดยนักออกแบบและผู้เชี่ยวชาญด้านสถาปัตยกรรม<br />

จำากต่างประเทศ ภายใต้ธีมงาน ตำถาด : Time of Togetherness ในงาน <strong>ASA</strong> + ACT International Forum 2<strong>02</strong>3 จำะจำัดให้อยู่รูป<br />

แบบ Hybrid Forum ทีจำะสามารถเข้าร่วมฟัังสัมมนาแบบ On-site และแบบ Online ได้ในทุก ๆ พื ้ นที่ของประเทศ<br />

5.2 <strong>ASA</strong> + ACT Seminar 2<strong>02</strong>3 งานสัมมนาวิชาการ โดยนักออกแบบและผู้เชียวชาญด้านสถาปัตยกรรมในประเทศไทย<br />

ภายใต้ธีมงาน ตำถาด : Time of Togetherness โดยงานสัมมนา จำะเป็นรูปแบบ Hybrid Forum ทีจำะสามารถเข้าร่วมฟัังสัมมนา<br />

แบบ On-site และแบบ Online ได้ในทุก ๆ พื ้ นทีของประเทศเช่นกัน


asa zone


* ข้อมูลอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม<br />

ติดตามเพิ่มเติมได้ที่ www.asaexpo.org


07:00 - 08:00<br />

@D506-07-Thematic Pavilion:<br />

THAIKOON STEEL & THAI PREMIUM PIPE<br />

ACTIVITIES<br />

SCHEDULE 2<strong>02</strong>3<br />

Special Event<br />

<strong>ASA</strong> Club<br />

<strong>ASA</strong> Night<br />

<strong>ASA</strong> ACT Seminar<br />

(Jupiter)<br />

<strong>ASA</strong> ACT Forum<br />

(Phoenix 1-6)<br />

Human Library<br />

(Main Stage)<br />

Human Library<br />

(Themetic Pavilion)<br />

TIDA TALA TUDA<br />

08:00 - 09:00 09:00 - 10:00 10:00 - 11:00<br />

11:00 - 12:00 12:00 - 13:00 13:00 - 14:00<br />

Press Conference @HL<br />

แถลง่ขาวความ่รวมืมอสันบสุนน<br />

การใ้ชมาตรฐานอาคาร้ดานพัลงงาน<br />

ตาม พรบ.ควบุคมอาคาร @HL<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3: Thai Forum SS: 1<br />

(Jupiter 12-13)<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3: Thai Forum<br />

(Jupiter 12-13)<br />

TUE<br />

25<br />

SS1: ุคณพลิสทิธ แ่ซเ้ฮง “Connect the Dots”<br />

ความัสมัพน์ธเิชงุจดในีชิวตและการออกแบบ<br />

@ S104-05-Thematic Pavilion: TOAxVG<br />

ิพีธัรบเส็ดจ: ลงทะเีบยน / เตีรยมการ<br />

(โถงห้นาอาคารชาเลนเจอ์รฮอล์ล 2-3)<br />

ัร<br />

WED<br />

26<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3: Thai Forum SS: 4<br />

(Jupiter 12-13)<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3: Thai Forum<br />

(Jupiter 12-13)<br />

TALA : NCLA 2<strong>02</strong>3 Conference<br />

(Jupiter 6)<br />

TALA : NCLA<br />

THU<br />

27<br />

TALA : NCLA<br />

SS2: ุคณัธชพลและุ คณิวช<br />

“เืรอ+Ecology ิรมนำ”<br />

SS1: ุคณบิดนท์ร “POSITIVE THINKING<br />

IN ARCHITECTURE”<br />

แ่งงามของสถาัปตยกรรมและีชิวต<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3<br />

Opening Ceremony<br />

(Phoenix 1-6)<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3: Collabora<br />

(Sathira Dhamasathan<br />

(Phoenix 1-6)<br />

FRI<br />

28<br />

SS2 : คุณธริศร (ูบม)<br />

ัหว้ขอ “Content Creator<br />

The Good, the Bad and the Ugl<br />

of the (Content) Creator”<br />

<strong>ASA</strong> Forum2<strong>02</strong>3: Forum Follows Systems<br />

(Phoenix 1-6)<br />

<strong>ASA</strong> Forum2<strong>02</strong>3: Collabora<br />

(Phoenix 1-6)<br />

<strong>ASA</strong> Seminar: ู่คืมอัจดืซอัจด้จาง<br />

(Jupiter 5)<br />

<strong>ASA</strong> Sem<br />

SAT<br />

29<br />

TGBI สถาับนอาคารเีขยวไท<br />

(Jupiter 14)<br />

TUDA: ประุชมคณะกรรม<br />

<strong>ASA</strong> Seminar: ู่คืมอัจดืซอัจด้จาง<br />

(Jupiter 5)<br />

<strong>ASA</strong> Seminar : ัสญ<br />

(Jupiter<br />

SS2 : ุคณเีกยง+ุคณโจ<br />

<strong>ASA</strong>+Hackable City Forum @HL<br />

ิพีธเิปดการแ<br />

แบบจำลอง<br />

และมอบรางัว<br />

SUN<br />

30<br />

<strong>ASA</strong> Forum2<strong>02</strong>3 : Collaboration is Life<br />

(Phoenix 1-6)<br />

SS1 : Querkraft<br />

<strong>ASA</strong> Forum 2<strong>02</strong>3 : รวมิมตริพิพ<br />

(Phoenix 1-6)


@F515-16-Thematic<br />

Pavilion: EMPOWER STEEL<br />

Live Music<br />

Organized by<br />

In Partnership<br />

with<br />

Sponsor Logos<br />

14:00 - 15:00 15:00 - 16:00 16:00 - 17:00 17:00 - 18:00 18:00 - 19:00 19:00 - 20:00 20:00 - 21:00 21:00 - 22:00<br />

SS: 2<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3: Thai Forum SS: 3<br />

(Jupiter 12-13)<br />

SS2: คุณยศพล ุบญสม<br />

และุคณิปยา ิลมิปต<br />

ัหว้ขอ “Me and My City”<br />

SS3: ุคณุคณูภศัณฎ์ฐ<br />

(เห่วง เทพีลลา)<br />

และุคณกน์ตธร (่ฮองเ้ต)<br />

Live Music<br />

สมเ็ดจพระกินษฐาิธราชเ้จา กรมสมเ็ดจพระเทพ<br />

ตนราชุสดา ฯ เส็ดจพระราชดำเินนทรงเิปดงานสถาปนก'<strong>66</strong><br />

(โถงห้นาอาคารชาเลนเจอ์รฮอล์ล 2-3)<br />

ประชุมให่ญสาัมญประจำีป 25<strong>66</strong><br />

(Jupiter 4-7)<br />

ิพีธมอบรางัวล<br />

ประกวดลานีกฬา<br />

กทม. @HL<br />

ุคณอนน์ท<br />

“RETHINK REUSE<br />

REFORM RENOVATE”<br />

Live Music<br />

Live Music<br />

SS: 5 ACT Forum 2<strong>02</strong>3: Thai Forum SS: 6<br />

(Jupiter 12-13)<br />

TIDA : ประุชมให่ญิวสาัมญประจำีป 25<strong>66</strong><br />

(Jupiter 6-7)<br />

TIDA Night<br />

(Jupiter 8-10)<br />

2<strong>02</strong>3 Conference (Group 1)<br />

(Jupiter 14)<br />

2<strong>02</strong>3 Conference (Group 2)<br />

(Jupiter 15)<br />

TALA Member Party<br />

(Jupiter 4)<br />

์ญ<br />

SS3: ๋ปาเ็ตด ุยทธนาและ<br />

ุคณนานา ุบญ้ออม<br />

"๋ปาเ็ตดทอ์ลก ักบนานาสถาปนก"<br />

SS4: ผศ.ดร. ุสิพชชา<br />

และุคณปานิทพ์ย<br />

“การออกแบบ-ู้ผคน-ุชมชน”<br />

Live Music<br />

Live Music<br />

Live Music<br />

ิพีธมอบรางัวล :<br />

<strong>ASA</strong> Platform's<br />

20 New Materials @HL<br />

tion<br />

)<br />

ACT Forum 2<strong>02</strong>3 : (To be Confirm)<br />

(Phoenix 1-6)<br />

y<br />

SS3 : ุคณราิชตและ ุคณศาิวีน<br />

“ถอดรัหสัปตตาีน”<br />

SS4 : ุคณอมตะและ ุคณัฉตรพง์ษ<br />

"Film, Canvas, and Comics...Going<br />

Outside to Look for Architecture”<br />

<strong>ASA</strong> Night : 2<strong>02</strong>3<br />

(Grand Daimond)<br />

Live Music<br />

Live Music<br />

ิพีธมอบรางัวล :<br />

<strong>ASA</strong> Platform's<br />

20 New Materials @HL<br />

tion<br />

<strong>ASA</strong> Forum2<strong>02</strong>3: URA<br />

(Phoenix 1-6)<br />

inar: ัสญญา้จางออกแบบ<br />

(Jupiter 4-7)<br />

ย<br />

การบิรหารสมาคมสถาปนกัผงเืมองไทย<br />

(Jupiter 15)<br />

ญา้จางออกแบบ<br />

4-7)<br />

SS3:<br />

Wong Mun Summ<br />

(WOHA , Singapore)<br />

SS4 : ุคณวิรษฐา (ิกฟ ีล)<br />

“PASSION IS OVERRATED”<br />

SS4: ุคณูจน เซิคโน<br />

และุคณีจรเวช หงสุกล<br />

ัหว้ขอ “สองเีฮยตอบ้นอง”<br />

Live Music<br />

<strong>ASA</strong> CLUB เ๋กายก๊กวน ่มวนยกแ้กง (ดนตีร+เสวนาสไต์ลัวยเ๋กา)<br />

Live Music<br />

่ขงัขน<br />

BIM<br />

ล @HL<br />

งานประกาศผลรางัวลโครงการประกวด<br />

ออกแบบระัดบัชนัมธยมึศกษาตอนปลาย 25<strong>66</strong><br />

ัหว้ขอ "MIND THE GAP"@HL<br />

Ceremony Awards :<strong>ASA</strong> Experimential<br />

Design 2<strong>02</strong>3 @HL<br />

ิพีธมอบรางัวล<br />

Best Innovation Awards @HL<br />

ธัภณ์ฑ<br />

<strong>ASA</strong> Forum2<strong>02</strong>3 : Car-Free and green.an IKEA store as good neighbour<br />

(Phoenix 1-6)<br />

SS2 : Damian<br />

SS3 : ุคณอรรถพร และุคณนำัชย<br />

Thompson<br />

“Open Space ืพนีทเิปดใจ”<br />

(Australia)<br />

Live Music Live Music Live Music<br />

* ข้อมูลอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม<br />

ติดตามเพิ่มเติมได้ที่ www.asaexpo.org


์<br />

กรรมาธิการสถาปนิกล้านนา<br />

เมือวันที 24 ธันวาคม 2565 ผศ.ดร.วิทยา ดวงธิมา รองประธาน<br />

กรรมาธิการฝ่่ ายกิจำกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ คุณสัน<br />

ธยา คชสารมณี รองประธานกรรมาธิการฝ่่ ายกิจำกรรมพิเศษ<br />

,คุณ ประกิจำ คาภิไหล (กรรมาธิการกลาง) และผศ.พันธ์ศักดิ<br />

ภักดี (กรรมาธิการกลาง) ร่วมต้อนรับ และแลกเปลียนมุมมอง<br />

เพือหาความร่วมมือระหว่าง กรรมาธิการฯ กับ All Japan Society<br />

of Architects & Building Engineering, Japan<br />

เมือวันที 2 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> ผศ.ดร.วิทยา ดวงธิมา รอง<br />

ประธานฯฝ่่ ายกิจำกรรมเมืองและนโยบายสาธารณะ ให้การ<br />

ต้อนรับ นักศ้กษาจำากคณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ และการ<br />

ออกแบบสิงแวดล้อม จำาก ม.แม่โจ้้ เข้าเยียมชมอาคารทีทำ<br />

การฯสาขาล้านนาฯ<br />

เมือวันที 18 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> ได้จััดกิจำกรรมเสวนา Camping<br />

Talk หัวข้อ “New Generation Designer” ณ อาคารทีทำการ<br />

สมาคมสถาปนิกสยามฯ สาขาล้านนา<br />

กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

เมื อวันเสาร์ที 7 มกราคม 25<strong>66</strong> คณะทำงานกรรมาธิการ<br />

ภูมิภาคทักษิณ ศูนย์ตรัง สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรม<br />

ราชูปถัมภ์ ดำเนินการจััดกิจำกรรมโครงการประกวดแนวความ<br />

คิด SIKAO FOR ALL การวางผังแม่บทบนพื ้ นที สาธารณะของ<br />

เทศบาลตำบลสิเกา โดยให้นักศ้กษาทีได้รับรางวัลนำำเสนอผล<br />

งานประกวดออกแบบสถาปัตยกรรม ณ สานักงานเทศบาลตำบล<br />

สิเกา ตำบลบ่อหิน อำเภอสิเกา จัังหวัดตรัง<br />

เมือวันที 13 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> นายปราการ ชุณหพงษ์ ให้การ<br />

ต้อนรับ นศ.จำากมหาวิทยาลัยราชภัฎอุดร มาเยี ยมชม อาคาร<br />

สมาคมฯ<br />

วันอังคารที 24 มกราคม 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย ดร.กาญจน ์<br />

เพียรเจริิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ,คุณปรัชญา ชล<br />

เจร ิญ เลขานุการ กรรมาธิการ, คุณธาริน กาลสงค์ กรรมาธิการ<br />

ฝ่่ ายประชาสัมพันธ์, คุณปรีชา ตะเหย็บ และคุณสกล รักษ์ทอง<br />

ที ปร้กษา กรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ ร่วมพิธีเปิด “เปิดบ้าน<br />

เปิดเมือง เล่าเรืองมโนราห์” โครงการวิจััย การขับเคลือนทุนทาง<br />

วัฒนธรรมมโนราห์ เพื อหนุนเสริมระบบเศรษฐกิจำสร้างสรรค์<br />

จัังหวัดสงขลา ณ ศูนย์อาษาคลาวด์ กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ (บ้านสามห้อง<br />

ถนนนครนอก ย่านเมืองเก่าสงขลา) ถนนนครนอก อำเภอเมือง<br />

สงขลา จัังหวัดสงขลา


คุณหรินทร์ ปานแจ่่ม รองประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณ<br />

ฝ่่ ายวิชาชีพ เข้าร่วมโครงการอบรมสัมมนาเชิงปฏิิบัติการ<br />

พัฒนาบุคลากรเตรียมความพร้อมสู่การวิพากษ์หลักสูตรสาขา<br />

วิชาสถาปัตยกรรม คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัย<br />

เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย ในฐานะผู้ทรงคุณวุฒิ เพือร่วม<br />

แลกเปลียนแนวความคิดในการพัฒนาหลักสูตรและร่วม<br />

เ ป็ นว ิ ท ย า ก ร ก า ร บ ร ร ย า ย ใ นว ั นที 2 5 ม ก ร า ค ม 2 5 6 6<br />

เรื อง “การพัฒนาหลักสูตรในมุมมองของสภาวิชาชีพ” และวัน<br />

ที 26 มกราคม 25<strong>66</strong> เรือง “สถาปัตยกรรมกับหลักสูตรใน<br />

อนาคต”<br />

วันพฤหัสบดีที 23 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ จััด<br />

กิจำกรรมสถาปนิกน้อย “วาดเรืองลับเมืองเก่าสงขลา” งาน<br />

สถาปนิกทักษิณ’<strong>66</strong> รับฟัังบรรยายพิเศษจำาก ผศ.ณธทัย จััน<br />

เสน และคุณยิงยศ แก้วมี มีนักเรียน นักศ้กษาเข้าร่วมกิจำกรรม<br />

จำานวน 49 ท่าน<br />

วันพฤหัสบดีที 16 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิก<br />

ทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์ โดย<br />

ดร.กาญจน ์ เพียรเจร ิญ ประธานกรรมาธิการภูมิภาคทักษิณฯ,<br />

คุณอธิปัตย์ ยินดี กรรมาธิการฝ่่ ายการเงิน, คุณศิวกร สนิท<br />

วงศ์ รองประธานกรรมาธิการ ฝ่่ ายกิจำกรรมเมืองและนโยบาย<br />

สาธารณะ และคุณวันชนะ ทวิสุวรรณ ทีปร้กษากรรมาธิการภูมิ<br />

ภาคทักษิณฯ ร่วมพิธีเปิดงานบ้าน คอนโด และวัสดุตกแต่ง ครั ้ง<br />

ที 12 ณ เวทีกลาง ลานโปรโมชัน ชั ้น 1 ศูนย์การค้าเซึ่็นทรัล<br />

หาดใหญ่<br />

วัน 23 - 25 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> กรรมาธิการสถาปนิกทักษิณ<br />

สมาคมสถาปนิกสยาม จััดงานสถาปนิกทักษิณ’<strong>66</strong> ภายใต้<br />

แนวคิด “ลับ...แล” ณ เมืองเก่าสงขลา ภายในงานได้มีสัมมนา<br />

วิชาการ วิชาชีพและกิจำกรรมมากมาย อาทิ สัมมนาแหลง-เรือง-<br />

ลับ เสวนาเรือง-ลับ-ลับ กิจำกรรมแล – บ้าน – เมือง – ลับ<br />

กิจำกรรมล่อง-เล-ลับ งานอาษาทักษิณไนท์ อีกทั ้งนิทรรศการ<br />

ผลงานนิสิตนักศ้กษา สถาปนิก และการประกวดแนวความคิด<br />

การออกแบบสถาปัตยกรรม<br />

วันเสาร์ที 18 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong> ทีมทีปร้กษาคณะกรรมาธิการ<br />

ภูมิภาคทักษิณ สมาคมสถาปนิกสยาม ในพระบรมราชูปถัมภ์<br />

นำำโดยอาจำารย์สิทธิศักดิ ์ ตันมงคล, อาจำารย์มงคล ชนินทรสง<br />

ขลา, อาจำารย์จำามีกร มะลิซึ่้อน และอาจำารย์นฤดล เจ๊๊ะแฮ ทีมนัก<br />

วิจััยเมือง กลุ่มสถาปนิกแห่ง Songkhla Urban Lab เสวนา “เปิด<br />

แนวคิด กลยุทธ์ และแนวทางการขับเคลือนเมืองหาดใหญ่ สู่การ<br />

เป็นสมาชิกใหม่เครือข่ายเมืองแห่งการเรียนรู้UNSECO” จััดโดย<br />

สมาคมธุรกิจำอสังหารัมทรัพย์<br />

จัังหวัดสงขลา ในงานมหกรรม<br />

บ้าน คอนโด และวัสดุตกแต่ง<br />

ครั ้งที 12 ณ เซึ่็นทรัลเฟัสติวัล<br />

หาดใหญ่


ต่่ออายุพื ้ นที่และมาตำรการคุ้มครองสิ่งแวดล้อม<br />

พังงา กระบี่<br />

24 มี.ค. 25<strong>66</strong><br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อมออก “ประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ งแวดล้อม เรื อง ขยาย<br />

ระยะเวลาการใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติ<br />

และสิงแวดล้อม เรือง กำหนดเขตพื ้ นทีและมาตรการคุ้มครอง<br />

สิ งแวดล้อม ในท้องที อำเภอคุระบุรี อำเภอตะกัวป่ า อำเภอ<br />

ท้ายเหมือง อำเภอทับปุด อำเภอเมืองพังงา อำเภอตะกัวทุ่ง<br />

และอำเภอเกาะยาว พ.ศ. 2559 พ.ศ. 25<strong>66</strong>” และ “ประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อม เรือง ขยายระยะ<br />

เวลาการใช้บังคับประกาศกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ<br />

สิ งแวดล้อม เรื อง กำหนดเขตพื ้ นที และมาตรการคุ้มครองสิ ง<br />

แวดล้อม ในท้องทีอำเภออ่าวล้ก อำเภอเมืองกระบี อำเภอเหนือ<br />

คลอง อำเภอคลองท่อม และอำเภอเกาะลันตา จัังหวัดกระบี พ.ศ.<br />

2559 พ.ศ. 25<strong>66</strong>” เพือขยายระยะเวลาการใช้บังคับประกาศ<br />

กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิงแวดล้อมทีกำหนดเขตพื ้นที<br />

และมาตรการคุ้มครองสิ งแวดล้อมในพื ้ นที จัังหวัดพังงา และ<br />

จัังหวัดกระบี ซึ่่งเดิมจำะครบกำหนดในวันที 31 มีนาคม 25<strong>66</strong><br />

ให้ได้รับการขยายระยะเวลาการใช้บังคับต่อไปอีกสองปี คือจำนถ้ง<br />

วันที 31 มีนาคม 2568<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2<strong>02</strong>30327<br />

ยกเลิกข้อบัญญัติิ กทม. บริเวณห้ามก่อสร้างที่ล้า<br />

สมัย 11 ฉบับ<br />

22 มี.ค. 25<strong>66</strong><br />

กรุงเทพมหานครออก “ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื อง<br />

ยกเลิกเทศบัญญัติของเทศบาลนครกรุงเทพและข้อบัญญัติ<br />

กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 25<strong>66</strong>” เพือยกเลิก เทศบัญญัติของ<br />

เทศบาลนครกรุงเทพ และข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร ที ไม่<br />

เหมาะสมกับกาลปัจำจำุบัน ทีออกใช้บังคับมาตั ้งแต่ปี พ.ศ. 25<strong>02</strong><br />

ถ้ง พ.ศ. 2544 ซึ่่งฉบับหลักส่วนใหญ่ออกมาใช้บังคับตั ้งแต่ก่อน<br />

ที จำะมีผังเมืองรวมกรุงเทพมหานคร และปัจำจำุบันมีการควบคุม<br />

ทางด้านผังเมืองโดยผังเมืองรวมอยู่แล้ว<br />

ฉบับทียกเลิก รวมทั ้งสิ ้ น 11 ฉบับ ได้แก่<br />

(1) เทศบัญญัติของเทศบาลนครกรุงเทพ เรือง กำหนด<br />

บริเวณซึ่่งอาคารบางชนิดจำะปลูกสร้างข้ ้ นมิได้ (ฉบับที 2)<br />

พุทธศักราช 25<strong>02</strong><br />

(2) เทศบัญญัติของเทศบาลนครกรุงเทพ เรือง กำหนด<br />

บริเวณซึ่่งอาคารบางชนิดจำะปลูกสร้างข้ ้ นมิได้ (ฉบับที 5) พ.ศ.<br />

2505<br />

(3) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามใช้หรือเปลียนการใช้อาคารบางชนิดหรือบางประเภท พ.ศ.<br />

2525<br />

(4) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลียนการใช้อาคารบางชนิดหรือ<br />

บางประเภท ในท้องทีแขวงฉิมพลี แขวงบางระมาด แขวงบาง<br />

เชือกหนังและแขวงบางพรม เขตตลิงชัน กรุงเทพมหานคร พ.ศ.<br />

2525<br />

(5) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี ยนการใช้อาคารบางชนิด<br />

หรือบางประเภท ในท้องที แขวงฉิมพลี แขวงบางระมาด แขวง<br />

บางเชือกหนังและแขวงบางพรม เขตตลิงชัน กรุงเทพมหานคร<br />

(ฉบับที 2) พ.ศ. 2534<br />

(6) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลียนการใช้อาคารบางชนิดหรือ<br />

บางประเภท ในท้องทีแขวงบางไผ่ แขวงบางแคเหนือ และแขวง<br />

คลองขวาง เขตภาษีเจร ิญ กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2525<br />

(7) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลียนการใช้อาคารบางชนิดหรือ<br />

บางประเภท ในท้องทีแขวงบางไผ่ แขวงบางแคเหนือ และแขวง<br />

คลองขวาง เขตภาษีเจร ิญ กรุงเทพมหานคร (ฉบับที 2) พ.ศ.<br />

2534<br />

(8) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลียนการใช้อาคารบางชนิดหรือ<br />

บางประเภท ในท้องทีเขตมีนบุรี แขวงคลองสิบ แขวงคู้ฝ่ังเหนือ<br />

เขตหนองจำอก และแขวงคลองสามประเวศ แขวงลำปลาทิว แขวง<br />

ลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2525<br />

(9) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรือง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลียนการใช้อาคารบางชนิดหรือ<br />

บางประเภท ในท้องทีเขตมีนบุรี แขวงคลองสิบ แขวงคู้ฝ่ังเหนือ<br />

เขตหนองจำอก และแขวงคลองสามประเวศ แขวงลำปลาทิว แขวง<br />

ลาดกระบัง เขตลาดกระบัง กรุงเทพมหานคร (ฉบับที 2) พ.ศ.<br />

2544


(10) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื อง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลียนการใช้อาคารบางชนิดหรือ<br />

บางประเภท บริเวณโดยรอบศูนย์วัฒนธรรมแห่งประเทศไทย ใน<br />

ท้องทีแขวงห้วยขวาง เขตห้วยขวาง กรุงเทพมหานคร พ.ศ. 2532<br />

(11) ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร เรื ่อง กำหนดบริเวณ<br />

ห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง ใช้หรือเปลี ่ยนการใช้อาคารบางชนิดหรือ<br />

บางประเภท ในท้องที่บางส่วนในแขวงแสมดำ แขวงท่าข้าม เขต<br />

บางขุนเทียน และแขวงทุ่งครุ เขตทุ่งครุ กรุงเทพมหานคร พ.ศ.<br />

2544<br />

(1)-(3) เป็นเทศบัญญัติฯและข้อบัญญัติฯซึ่้ งเคยมี<br />

วัตถุประสงค์เพื่อรักษาสภาพแวดล้อมที่ดีของบริเวณที่อยู่อาศัย<br />

ในเขตปทุมวัน เขตบางรัก เขตสาทร เขตพญาไท และเขตดินแดง<br />

(4)-(7) เป็นข้อบัญญัติฯซึ่้งเคยมีวัตถุประสงค์เพื ่อ<br />

สงวนพื ้ นที่เกษตรกรรมที่อุดมสมบูรณ์ใกล้เมือง ในเขตตลิ่งชัน<br />

และเขตภาษีเจำริญ<br />

(8)-(9) เป็นข้อบัญญัติฯซึ่้งเคยมีวัตถุประสงค์<br />

เพื่อกำหนดพื ้ นที ่รับน ้าตามโครงการป้องกันน ้าท่วม<br />

กรุงเทพมหานคร ในเขตหนองจำอก และเขตลาดกระบัง<br />

(10) เป็นข้อบัญญัติฯซึ่้งเคยมีวัตถุประสงค์เพื ่อรักษา<br />

เป็นพิเศษเฉพาะแห่ง ในบริเวณโดยรอบศูนย์วัฒนธรรมแห่ง<br />

ประเทศไทย<br />

(11) เป็นข้อบัญญัติฯซึ่่งเคยมีวัตถุประสงค์เพื อรักษา<br />

คุณภาพสิงแวดล้อมหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ ในเขต<br />

บางขุนเทียน และเขตทุ่งครุ<br />

นอกจำากบริเวณห้ามก่อสร้างฯ ในกรุงเทพมหานครแล้ว ปัจำจำุบัน<br />

ยังคงมีกฎกระทรวงควบคุมอาคารเรืองบริเวณห้ามก่อสร้างฯ ใช้<br />

บังคับอยู่ในพื ้ นที อื นๆ อีกเป็นจำานวนมาก ซึ่่งมีหลายฉบับที มี<br />

ลักษณะเป็นการควบคุมทางด้านผังเมือง ออกมาใช้บังคับก่อน<br />

ที จำะมีผังเมืองรวมบังคับใช้ และคาดว่าในอนาคตก็คงจำะมีการ<br />

ยกเลิกบางฉบับเช่นเดียวกัน<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2<strong>02</strong>30323/<br />

ปรับปรุงแก้ไขพระราชบัญญัติสถาปนิก<br />

19 มี.ค. 25<strong>66</strong><br />

พระราชบัญญัติสถาปนิก (ฉบับที 2) พ.ศ. 25<strong>66</strong> ประกาศใน<br />

ราชกิจำจำานุเบกษา เมือวันที 19 มีนาคม 25<strong>66</strong> และให้ใช้บังคับ<br />

ตั ้งแต่วันที 20 มีนาคม 25<strong>66</strong> เป็นต้นไป เป็นการปรับปรุงแก้ไข<br />

พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 ให้รองรับการดำเนิน<br />

การตามความตกลงระหว่างประเทศด้านการค้าบริการสาขา<br />

สถาปัตยกรรมทีประเทศไทยเป็นภาคี และเพือให้สอดคล้องกับ<br />

สภาพการณ์ปัจำจำุบัน<br />

เหตุผลในการออกพระราชบัญญัติฉบับนี ้ โดยที ปัจำจำุบัน<br />

ประเทศไทยต้องปฏิิบัติให้เป็นไปตามความตกลงระหว่าง<br />

ประเทศด้านการค้าบริการสาขาสถาปัตยกรรม โดยกำหนดให้<br />

สถาปนิกต่างชาติซึ่่งได้ข้ ้ นทะเบียนไว้ตามความตกลงระหว่าง<br />

ประเทศดังกล่าวสามารถเข้ามาประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

ควบคุมในประเทศไทย และให้ผู้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

ควบคุมทีได้รับใบอนุญาตจำากสภาสถาปนิกสามารถข้ ้ นทะเบียน<br />

เพือไปประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมในประเทศภาคีความตกลง<br />

ระหว่างประเทศได้ แต่โดยกฎหมายว่าด้วยสถาปนิกทีใช้บังคับ<br />

อยู่ขณะนี ้ ยังไม่มีบทบัญญัติที รองรับการดำเนินการตามความ<br />

ตกลงระหว่างประเทศที ประเทศไทยเป็นภาคีดังกล่าว รวมทั ้ง<br />

ความตกลงระหว่างประเทศอืน ๆ ทีอาจม ีข้ ้ นในอนาคต สมควร<br />

แก้ไขเพิมเติมให้มีการรองรับกรณีดังกล่าว และแก้ไขเพิมเติม<br />

บทบัญญัติอื น เพื อให้สอดคล้องกับสภาพการณ์ปัจำจำุบัน ได้แก่<br />

แก้ไขเพิมเติมบทบัญญัติเกียวกับวัตถุประสงค์และอำนาจำหน้าที<br />

ของสภาสถาปนิก กำหนดหลักเกณฑ์เกี ยวกับการข้ ้ นทะเบียน<br />

คุณสมบัติ ลักษณะต้องห้าม และมาตรการทางจำรรยาบรรณ<br />

ของสถาปนิกต่างชาติและสถาปนิกข้ ้ นทะเบียน และกำหนดให้<br />

สมาชิกสภาสถาปนิกทุกคนต้องประพฤติตนตามจำรรยาบรรณ<br />

แห่งวิชาชีพสถาปัตยกรรมเพือความปลอดภัยของประชาชน<br />

และความเทียงตรงแห่งวิชาชีพ รวมทั ้งแก้ไขเพิมเติมอัตราค่า<br />

ธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติ<br />

เหตุผลหลักของการแก้ไขเพิมเติมคือเรื องการประกอบวิชาชีพ<br />

สถาปัตยกรรมตามความตกลงระหว่างประเทศ เนื องจำาก<br />

ประเทศไทยมีพันธะผูกพันกับนานาชาติตามความตกลงต่างๆ<br />

เช่น ข้อตกลงทัวไปว่าด้วยการค้าบริการ (GATS) ซึ่่งบริการ<br />

ด้านสถาปัตยกรรมเป็นหน้ งในสาขาบริการด้านธุรกิจำและ<br />

วิชาชีพ ในกลุ่มประเทศอาเซึ่ียน ก็ได้กำหนดให้มีการเปิดตลาด<br />

การค้าบริการเสรีเป็นตลาดเดียว โดยมีการลงนามในเอกสาร<br />

การยอมรับร่วมกันของอาเซึ่ียนด้านการบริการสถาปัตยกรรม<br />

(ASEAN Mutual Recognition Arrangement on Architectural


Services, MRA) เมือปี พ.ศ. 2550 ซึ่่งได้ถูกใช้เป็นมาตรฐาน<br />

ให้สถาปนิกในกลุ่มประเทศสมาชิกอาเซึ่ียนสามารถเคลือนย้าย<br />

เข้าไปทำงานในกลุ่มประเทศอาเซึ่ียนด้วยกันได้ในตลาดวิชาชีพ<br />

สถาปัตยกรรม ภายใต้หลักเกณฑ์และข้อกำหนดของประเทศ<br />

ท้องถิน และในอนาคตก็อาจม ีข้อตกลงในลักษณะเดียวกันนี ้ อีก<br />

อย่างไรก็ตาม พระราชบัญญัติสถาปนิก พ.ศ. 2543 ทีใช้บังคับ<br />

มากว่า 23 ปี ไม่มีบทบัญญัติทีรองรับการดำเนินการตามความ<br />

ตกลงระหว่างประเทศที ประเทศไทยเป็นภาคีดังกล่าว รวมทั ้ง<br />

ความตกลงระหว่างประเทศอืนๆ ทีอาจม ีข้ ้ นในอนาคต จึึงแก้ไข<br />

เพิมเติมให้มีการรองรับกรณีดังกล่าว เพือให้การประกอบวิชาชีพ<br />

ระหว่างประเทศตามความตกลงระหว่างประเทศเป็นไปอย่างมี<br />

หลักการ เพือให้กฎเกณฑ์ต่างๆ มีสภาพการบังคับทางกฎหมาย<br />

ทีสมบูรณ์และไม่ก่อให้เกิดปัญหาในทางปฏิิบัติ<br />

พระราชบัญญัติฯ (ฉบับที 2) พ.ศ. 25<strong>66</strong> ได้เพิมบทนิยาม<br />

“สถาปนิกข้ ้ นทะเบียน” ให้หมายถ้ง สถาปนิกไทยที ได้รับการ<br />

ข้ ้ นทะเบียนจำากสภาสถาปนิกให้ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

ในประเทศที สภาสถาปนิกประกาศกำหนด และบทนิยาม<br />

“สถาปนิกต่างชาติข้ ้ นทะเบียน” ให้หมายความถ้งสถาปนิก<br />

ต่างชาติที ได้รับการข้ ้ นทะเบียนจำากสภาสถาปนิกให้สามารถ<br />

ประกอบวิชาชีพสถาปัตยกรรมควบคุม ทั ้งนี ้ ตามความตกลง<br />

ระหว่างประเทศที ประเทศไทยเป็นภาคี นอกจำากได้กำหนด<br />

วัตถุประสงค์ อำนาจำและหน้าที ของสภาสถาปนิกเพิมเติม<br />

ปรับปรุงมาตรา 45 เพื อให้การประกอบวิชาชีพของสถาปนิก<br />

ต่างชาติข้ ้นทะเบียนในประเทศไทยอาจำทาได้โดยไม่ผิดกฎหมาย<br />

และกำหนดให้คณะกรรมการสภาสถาปนิกสามารถออกประกาศ<br />

เพือกำหนดคุณสมบัติและลักษณะต้องห้ามของผู้ที จำะข้ ้นทะเบียน<br />

หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงือนไขในเรืองทีเกียวข้อง โดยจำะต้องได้<br />

รับความเห็นชอบของสภานายกพิเศษ นอกจำากนี ้ ยังกำหนดให้<br />

สถาปนิกต่างชาติข้ ้ นทะเบียนต้องประพฤติตนตามจำรรยาบรรณ<br />

แห่งวิชาชีพสถาปัตยกรรมด้วย โดยให้นำำบทบัญญัติที เกียวข้อง<br />

กับจำรรยาบรรณฯ มาใช้บังคับโดยอนุโลม<br />

ในพระราชบัญญัติฯ (ฉบับที 2) พ.ศ. 25<strong>66</strong> นี ้ ยังได้แก้ไขเพิม<br />

เติมในเรืองอืนๆ ให้เหมาะสมด้วย เช่น เรืองทีมาและคุณสมบัติ<br />

ของกรรมการจำรรยาบรรณ โดยได้กำหนดลักษณะต้องห้ามของ<br />

กรรมการจำรรยาบรรณว่าจำะต้องไม่เป็นกรรมการสภาสถาปนิก<br />

ด้วย และกำหนดให้มีกระบวนการสรรหากรรมการจำรรยาบรรณ<br />

เพือนำำเสนอต่อทีประชุมใหญ่<br />

ประเด็นที น่าสนใจำประเด็นหน้งในพระราชบัญญัติฉบับนี ้ คือ<br />

การขยายการบังคับใช้จำรรยาบรรณแห่งวิชาชีพสถาปัตยกรรม<br />

มายังสมาชิกสภาสถาปนิก ไม่ใช่เพียงเฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาต<br />

ทีจำะต้องประพฤติตนตามจำรรยาบรรณแห่งวิชาชีพตามทีกำหนด<br />

ในข้อบังคับสภาสถาปนิก ทั ้งนี ้ เนืองจำากสมาชิก แม้ยังไม่ได้รับ<br />

ใบอนุญาตก็ยังสามารถประกอบวิชาชีพในงานทีไม่ใช่งานใน<br />

วิชาชีพควบคุมได้ หากไม่มีการควบคุมด้านจำรรยาบรรณ ก็อาจำ<br />

ทำให้เกิดความเสียหายต่อวิชาชีพและสาธารณะได้และข้อบังคับ<br />

จำรรยาบรรณมีการควบคุมความประพฤติบางข้อที อาจำไม่ได้<br />

เกียวข้องกับการประกอบวิชาชีพรวมอยู่ด้วย นอกจำากนั ้น ยังช่วย<br />

แก้ปัญหาที อาจม ีผู้ได้รับใบอนุญาตประพฤติผิดจำรรยาบรรณใน<br />

ขณะทีใบอนุญาตขาดอายุ ซึ่่งเป็นการอาศัยช่องโหว่ของกฎหมาย<br />

มีการแก้ไขปรับปรุงในเรืองทีเกียวกับกระบวนการจำรรยาบรรณ<br />

ให้เกิดความยุติธรรมและเหมาะสมยิงข้ ้นหลายประเด็น ตัวอย่าง<br />

เช่น<br />

– กำหนดระยะเวลาสิ ้ นสุดของสิทธิการกล่าวหาหรือ<br />

สิทธิการกล่าวโทษ (อายุความ) ไม่เกิน 3 ปีนับแต่วันที ผู้ได้<br />

รับความเสียหายหรือผู้กล่าวโทษรู้เรืองการประพฤติผิดจำรรยา<br />

บรรณและรู้ตัวผู้ประพฤติผิด (เดิม ไม่เกิน 1 ปีนับแต่วันทีรู้เรือง<br />

การประพฤติผิดจำรรยาบรรณและรู้ตัวผู้ประพฤติผิด) แต่ต้องไม่<br />

เกิน 5 ปีนับแต่วันทีมีการประพฤติผิดจำรรยาบรรณนั้น (เดิม ไม่มี<br />

กำหนด)<br />

– กำหนดบทบัญญัติเกียวกับความเป็นผู้มีส่วนได้เสีย<br />

เป็นการส่วนตัวของกรรมการจำรรยาบรรณและอนุกรรมการ<br />

– แก้ไขเพิ มเติมให้ผู้กล่าวหาหรือผู้กล่าวโทษ มีสิทธิ<br />

อุทธรณ์คาวินิจฉััยชี ้ ขาดของคณะกรรมการจำรรยาบรรณได้เช่น<br />

เดียวกับผู้ได้รับใบอนุญาต (เดิม เฉพาะผู้ได้รับใบอนุญาตมีสิทธิ<br />

อุทธรณ์คาวินิจฉััยชี ้ขาด ส่วนผู้กล่าวหาหรือผู้กล่าวโทษไม่มีสิทธิ<br />

อุทธรณ์คาวินิจฉััย หากไม่เห็นด้วยกับคาวินิจฉััยก็ต้องไปฟ้้องต่อ<br />

ศาลปกครองเลย)<br />

สำหรับอัตราค่าธรรมเนียมท้ายพระราชบัญญัติ นอกจำากได้เพิม<br />

เติมอัตราค่าธรรมเนียมเกี ยวกับการข้ ้ นทะเบียนเพื อประกอบ<br />

วิชาชีพระหว่างประเทศแล้ว ในอัตราค่าธรรมเนียมอื นๆ ได้<br />

ปรับเผื อสำหรับอนาคตไว้ เนื องจำาก การแก้ไขพระราชบัญญัติ<br />

ไม่สามารถกระทำได้บ่อย และอัตราท้ายพระราชบัญญัติเป็น<br />

เพียงอัตราขั ้นสูงสุดที จำะสามารถเก็บได้เท่านั ้น โดยจำะเก็บจร ิง<br />

เท่าใดให้เป็นไปตามที กำหนดในกฎกระทรวงอีกทีหน้ ง ซึ่่งสภา<br />

สถาปนิกเคยออกมาชี ้ แจำงว่า ยังไม่มีนโยบายทีจำะปรับเพิมอัตรา<br />

ค่าธรรมเนียมแต่อย่างใด<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2<strong>02</strong>30320-2/


ธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง<br />

17 มี.ค. 25<strong>66</strong><br />

คณะกรรมการนโยบายการผังเมืองแห่งชาติ ออก “ประกาศ<br />

คณะกรรมการนโยบายการผังเมืองแห่งชาติ เรือง ธรรมนูญว่า<br />

ด้วยการผังเมือง พ.ศ. 25<strong>66</strong>” เพือประกาศใช้ธรรมนูญว่าด้วย<br />

การผังเมือง<br />

เนืองด้วย พระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 บัญญัติให้<br />

คณะกรรมการนโยบายการผังเมืองแห่งชาติมีหน้าทีและอำนาจำ<br />

ในการจััดทำธรรมนูญว่าด้วยการผังเมืองเสนอคณะรัฐมนตรี<br />

พิจำารณาให้ความเห็นชอบ เพื อใช้เป็นหลักการพื ้ นฐานที ผู้ที<br />

เกี ยวข้องกับการผังเมือง พ้งปฏิิบัติ บัดนี ้ ธรรมนูญว่าด้วยการ<br />

ผังเมืองได้รับความเห็นชอบแล้ว คณะกรรมการนโยบายการ<br />

ผังเมืองแห่งชาติจึึงออกประกาศลงวันที 15 กุมภาพันธ์ 25<strong>66</strong><br />

ธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง พ.ศ. 25<strong>66</strong> ประกอบด้วย ส่วนที<br />

1 ส่วนนำำ กล่าวถ้ง บทบาทและความสาคัญของการผังเมืองใน<br />

ด้านต่างๆ ทีมาของธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง และการปฏิิบัติ<br />

ตามธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง ส่วนที 2 นิยามศัพท์ และส่วน<br />

ที 3 ธรรมนูญว่าด้วยการผังเมือง ในส่วนธรรมนูญว่าด้วยการ<br />

ผังเมือง ประกอบด้วยข้อกำหนด 26 ข้อ แยกเป็น หมวด 1 หลัก<br />

การเชิงนโยบาย หมวด 2 หลักการพื ้ นฐาน และ หมวด 3 หลัก<br />

การเชิงพื ้ นที<br />

ธรรมนูญที เป็นหลักการพื ้ นฐาน อย่างเช่น การวาง<br />

ผังเมืองต้องคาน้งถ้งความเสมอภาคเท่าเทียมในการเข้าถ้ง<br />

สาธารณประโยชน์ ต้องคาน้งถ้งการแก้ไขปัญหาความเดือดร้อน<br />

ของประชาชนทีเกิดจำากการใช้ประโยชน์ทีดิน การวางและปฏิิบัติ<br />

ตามผังเมืองต้องย้ดมันในหลักวิชาการทางผังเมือง เป็นต้น<br />

ธรรมนูญทีเป็นหลักการเชิงพื ้ นที อย่างเช่น การวางผังเมืองต้อง<br />

คุ้มครองพื ้ นทีเกษตรกรรมทีมีความสมบูรณ์ การวางผังเมือง<br />

และการพัฒนาพื ้ นที ต้องดำรงรักษาหรือบูรณะสถานที และ<br />

วัตถุที มีประโยชน์หรือคุณค่าในทางศิลปกรรม สถาปัตยกรรม<br />

ประวัติศาสตร์ หรือโบราณคดี โดยคาน้งถ้งอัตลักษณ์และวิถี<br />

ชุมชน เป็นต้น<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2<strong>02</strong>30320/<br />

ผังเมืองรวมนนทบุรี<br />

1 มี.ค. 25<strong>66</strong><br />

กระทรวงมหาดไทย ออก “ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื อง<br />

การให้ใช้บังคับผังเมืองรวมนนทบุรี พ.ศ. 25<strong>66</strong>” ใช้บังคับใน<br />

พื ้ นที จัังหวัดนนทบุรีทั ้งจัังหวัด ประกาศในราชกิจำจำานุเบกษา<br />

เมือวันที 1 มีนาคม 25<strong>66</strong> ให้ใช้บังคับตั ้งแต่วันประกาศในราช<br />

กิจำจำานุเบกษาเป็นต้นไป<br />

ผังเมืองรวมฉบับนี ้ เป็นการประกาศใช้บังคับผังเมืองรวมตามพ<br />

ระราชบัญญัติการผังเมือง พ.ศ. 2562 โดยออกเป็นประกาศ<br />

กระทรวงมหาดไทย หลังจำากทีนนทบุรีขาดการบังคับใช้ผังเมือง<br />

รวมมาเกือบสิบเอ็ดปี ตั ้งแต่ผังเมืองรวมฉบับที แล้วหมดอายุใช้<br />

บังคับไปเมือ 23 มีนาคม 2555<br />

ผังเมืองรวมนนทบุรีฉบับใหม่นี ้ ได้จำาแนกทีดินประเภททีอยู่<br />

อาศัยออกเป็น 8 ประเภทย่อย ได้แก่ที อยู่อาศัยหนาแน่นน้อย<br />

3 ประเภทย่อย (ย.1 ถ้ง ย.3) ทีอยู่อาศัยหนาแน่นปานกลาง<br />

3 ประเภทย่อย (ย.4 ถ้ง ย.6) และทีอยู่อาศัยหนาแน่นมาก<br />

อีก 2 ประเภทย่อย (ย.7 ถ้ง ย.8) ทีดินประเภทพาณิชยกรรม<br />

4 ประเภท (พ.1 ถ้ง พ.4) ทีดินประเภทอุตสาหกรรมและคลัง


สินค้า 3 ประเภทย่อย (อ.1 ถ้ง อ.3) ทีดินประเภทชนบทและ<br />

เกษตรกรรมและอนุรักษ์ชนบทและเกษตรกรรม 4 ประเภทย่อย<br />

(ก.1 ถ้ง ก.4) ฯลฯ<br />

ข้อกำหนดการใช้ประโยชน์ที ดิน มีการกำหนดอัตราส่วนพื ้ นที<br />

อาคารรวมต่อพื ้ นที ดิน (F.A.R.) อัตราส่วนของที ว่างต่อพื ้ นที<br />

อาคารรวม (O.S.R.) พื ้ นทีน ้าซึ่้มผ่านได้เพือปลูกต้นไม้ และข้อ<br />

ยกเว้นให้รับการใช้ประโยชน์ที ดินบางประเภททีอยู่ในบริเวณ<br />

โดยรอบสถานีรถไฟัฟั้าขนส่งมวลชน เช่นเดียวกับผังเมืองรวม<br />

กรุงเทพมหานคร นอกจำากนี ้ ยังกำหนดมาตรการในการใช้<br />

ประโยชน์ทีดินในลักษณะของ Bonus F.A.R. ไว้ 4 กรณีให้เลือก<br />

ดำเนินการกรณีใดกรณีหน้งด้วย ได้แก่ กรณีจััดให้มีพื ้นทีโล่งเพือ<br />

ประโยชน์สาธารณะหรือสวนสาธารณะ กรณีอาคารสาธารณะ<br />

ที ตั ้งอยู่ใกล้สถานีรถไฟัฟั้าขนส่งมวลชนได้จััดให้มีที จำอดรถยนต์<br />

สำหรับประชาชนเป็นการทัวไป กรณีได้ร่นแนวอาคารห่าง<br />

จำากเขตทางหลวงจััดให้เป็นที โล่งเพื อประโยชน์สาธารณะ และ<br />

กรณีอาคารสาธารณะหรืออาคารขนาดใหญ่ที ตั ้งอยู่ใกล้สถานี<br />

รถไฟัฟั้าขนส่งมวลชนได้จััดให้มีทีว่างโดยรอบอาคารเพิมข้ ้ น<br />

ดาวน์โหลด : https://asa.or.th/laws/news2<strong>02</strong>303<strong>02</strong>/<br />

หนังสือกฎหมายใช้บ่อย 25<strong>66</strong><br />

หนังสือ “กฎหมายใช้บ่อย<br />

25<strong>66</strong>” เปิดวางจำำหน่ายในงาน<br />

สถาปนิก’<strong>66</strong> ณ บูธ <strong>ASA</strong> SHOP<br />

ราคาพิเศษเฉพาะในงาน ระหว่าง<br />

วันที ่ 25-30 เมษายน 25<strong>66</strong><br />

นี ้ เท่านั ้น<br />

หนังสือกฎหมายใช้บ่อย เล่มละ 350 บาท (จำากราคาปกติ<br />

420 บาท)<br />

เอกสารกฎหมายใช้บ่อย ชุดละ 300 บาท (จำากราคาปกติ<br />

360 บาท)<br />

Set หนังสือ+เอกสาร set ละ 620 บาท (จำากราคาปกติ<br />

740 บาท)


Organized by<br />

Oganized by<br />

In Partnership with<br />

in Partnership with<br />

Sponsored by<br />

R<br />

C r y s t a l<br />

B o a r d

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!