27.06.2013 Views

มติทีประชุม

มติทีประชุม

มติทีประชุม

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ครังที ๘/๒๕๕๕<br />

วันพุธที ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕<br />

ณ ห้องประชุมคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

รายชื อกรรมการผู ้มาประชุม<br />

<br />

<br />

๑. รศ.ศักดิ ชัย ชูโชติ<br />

ประธานกรรมการ<br />

๒. รศ.ศรีสกุล วรจันทรา กรรมการ<br />

๓. รศ.ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา กรรมการ<br />

๔. ผศ.พีรชัย กุลชัย กรรมการ<br />

๕. ผศ.ดร.มณฑล แก่นมณี กรรมการ<br />

๖. รศ.ดร.กานต์ สุขสุแพทย์ กรรมการ<br />

๗. ผศ.ดร.อํามร อินทร์สังข์ กรรมการ<br />

๘. ผศ.ดร.ธํารงค์ เมฆโหรา กรรมการ<br />

๙. รศ.ดร.อารมย์ ศรีพิจิตต์ กรรมการ (ผู ้ทรงคุณวุฒิภายนอก)<br />

๑๐. รศ.ดร.อภิศักดิ โพธิ ปัน กรรมการ (ผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน)<br />

๑๑. ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ ศรุตโยภาส กรรมการ (ผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน)<br />

๑๒. ผศ.สุขุมาภรณ์ ขันธ์ศรี กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

รายชื อผู ้เข้าร่วมประชุม<br />

๑. นางสําเนา ภัทรรัตนนันท์ ผู ้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

๒. นางละเมียด สัมฤทธิสุทธิ ผู ้จดบันทึกการประชุม<br />

เริ มประชุมเวลา ๑๓.๐๕ น.<br />

ระเบียบวาระที ๑<br />

เรื องแจ้งเพื อรับทราบ<br />

๑.๑ การแต่งตังคณะกรรมผู ้ทรงคุณวุฒิประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

เนืองด้วยคณะกรรมการผู<br />

้ทรงคุณวุฒิประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ได้หมดวาระลงเมื อวันที<br />

๒๑ กันยายน ๒๕๕๕ คณะจึงได้แต่งตังคณะกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิ<br />

ชุดใหม่ ดังนี <br />

๑. รองศาสตราจารย์ ดร.อารมย์ ศรีพิจิตต์ เป็นผู ้ทรงคุณวุฒิภายนอก


๒. รองศาสตราจารย์ ดร.อภิศักดิ โพธิ ปัน เป็นผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน<br />

๓. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวัฒน์ ศรุตโยภาส เป็นผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

๑.๒ การทบทวนยุทธศาสตร์ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ด้วยคณะมีความประสงค์จะทบทวนยุทธศาสตร์ โดยเชิญศาสตราจารย์นายแพทย์วุฒิชัย ธนา<br />

พงศธร มาเป็นวิทยากร ระหว่างวันที<br />

๒๗-๒๘ กุมภาพันธ์ ถึง วันที<br />

๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ในการนี คณบดีได้ขอ<br />

เชิญคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะทุกท่าน อาจารย์ สาขาวิชาละอย่างน้อย ๑๐ ท่าน และ<br />

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการเข้าร่วมงานดังกล่าว โดยให้เสนอชือผู<br />

้เข้าร่วมทบทวนยุทธศาสตร์ภายในช่วง<br />

กลางเดือนตุลาคม ๒๕๕๕<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

<br />

<br />

<br />

๑.๓ การรับสมัครนักศึกษาระบบรับตรง ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖<br />

ตามทีคณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้เปิ ดรับสมัครนักศึกษาระบบรับตรง ประจําปี การศึกษา<br />

๒๕๕๖ ในระหว่างวันที ๒๙ สิงหาคม ถึง วันที ๕ ตุลาคม ๒๕๕๕ มีผู ้สมัครทั งสิ นจํานวน ๓,๐๑๕ คน<br />

ในสาขาต่างๆ ดังนี (ข้อมูล ณ วันที ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕ เวลา ๙.๒๒ น.)<br />

ลําดับที<br />

สาขาวิชา จํานวนผู ้สมัคร จํานวนผู ้ชําระเงิน<br />

๑. สัตวศาสตร์ ๘๖๕ ๔๕๖<br />

๒. วิทยาศาสตร์การประมง ๔๕๘ ๒๖๙<br />

๓. พัฒนาการเกษตร ๑๙๙ ๑๑๗<br />

๔. การจัดการทรัพยากรดินและสิงแวดล้อม ๔๕๙ ๒๔๓<br />

๕. นิเทศศาสตร์เกษตร ๔๔๔ ๒๕๔<br />

๖. เกษตรศาสตร์ ๔๘๗ ๒๖๗<br />

๗. วิทยาศาสตร์การประมงและทรัพยากรทางนํ า<br />

(ว.ชุมพร)<br />

๖๕ ๒๒<br />

๘. พืชสวน (ว.ชุมพร) ๑๑ ๖<br />

๙. สัตวศาสตร์ (ว.ชุมพร) ๒๗ ๑๐<br />

รวม ๓,๐๑๕ ๑,๖๔๔<br />

สําหรับการสอบจะใช้วิธีการสัมภาษณ์ในวันที ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ โดยมอบหมายให้รอง<br />

ศาสตราจารย์ ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา เตรียมความพร้อมเกียวกับการสอบรับตรง นอกจากนี ในวันสอบ<br />

2


สัมภาษณ์ได้มอบหมายให้ผู ้อํานวยการส่วนสนับสนุนวิชาการคณะ กํากับดูแลการต้อนรับผู ้ปกครอง และ<br />

นักศึกษาทีมาสอบสัมภาษณ์ด้วย<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

๑.๔ พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๓<br />

ด้วยสถาบันได้กําหนดจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๓ ในวันศุกร์ที ๕<br />

ตุลาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๕.๐๐ น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยมีบัณฑิตทีสําเร็จ<br />

การศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร จํานวน ๔,๘๖๖ คน<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

ระเบียบวาระที ๒<br />

รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ครังที ๗/๒๕๕๕ วันพฤหัสบดีที ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๕<br />

เลขานุการคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้เสนอรายงานการ<br />

ประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะครังที ๗/๒๕๕๕ วันพฤหัสบดีที<br />

๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๕<br />

เพือให้คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณารับรองรายงานการประชุม<br />

ทีประชุมพิจารณาแล้วมีมติ<br />

ดังนี <br />

มติที ประชุม รับรองรายงานการประชุม โดยมีข้อแก้ไข ดังนี <br />

หน้าที<br />

๕ รายชือกรรมการผู<br />

้มาประชุม แก้ไข ดังนี <br />

ลําดับที ๔ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์พีรชัย กุลชัย<br />

ลําดับที ๕ รองศาสตราจารย์ ดร.กานต์ สุขสุแพทย์<br />

ลําดับที ๖ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อํามร อินทร์สังข์<br />

ลําดับที ๗ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธํารงค์ เมฆโหรา<br />

ลําดับที ๘ รองศาสตราจารย์ ดร.อารมย์ ศรีพิจิตต์<br />

เพิมรายชือกรรมการไม่มาประชุม<br />

๑ ท่าน คือ<br />

ลําดับที ๙ รองศาสตราจารย์ ดร.อภิศักดิ โพธิ ปัน<br />

หน้าที<br />

๖ วาระที<br />

๑.๒ <strong>มติทีประชุม</strong><br />

เพิมข้อความ<br />

รับทราบ<br />

บรรทัดที<br />

๒ ข้อความเดิม นายชัยวัฒน์ แต่ไพสิฐพงษ์<br />

แก้ไขเป็ น นายชัยวัฒน์ แต้ไพสิฐพงษ์<br />

หน้าที<br />

๘ ข้อ ๒.๒.๑ ข้อความเดิม โครงการสอบภาษาอังกฤษและภาษาจีน<br />

แก้ไขเป็ น โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีน<br />

วาระที<br />

๔.๒ บรรทัดที<br />

๘ ข้อความเดิม เกษตรเจ้าคุณทาหาร<br />

แก้ไขเป็ น เกษตรเจ้าคุณทหาร<br />

3


หน้า ๑๑ แก้ไขหน่วยกิตรายวิชา ต่อไปนี <br />

ข้อความเดิม ข้อ ๓. จากวิชา ๐๔๐๒๑๑๐๔ Principles of crop Production ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๑๑๐๔ Principles of crop Production ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๔. จากวิชา ๐๔๐๓๒๑๑๐ Principles of Animal Husbandry ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๓๒๑๑๐ Principles of Animal Husbandry ๓ (๓-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๕. จากวิชา ๐๔๐๔๑๑๑๑ Introduction to Agricultural Economics (๓ ๓-๐)<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๔๑๑๑๑ Introduction to Agricultural Economics ๓ (๓-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๖. จากวิชา ๐๔๐๒๒๑๙๖ Field Work in Horticulture ๑<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๒๑๙๖ Field Work in Horticulture ๑ (๐-๑๐๐) เทียบไม่ได้<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๗. จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๐๕ Principles of Plant Propagation ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๐๕ Principles of Plant Propagation ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๘. จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๔๐ Principles of Ornamental Plants ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๔๐ Principles of Ornamental Plants ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๙. ๐๔๐๗๒๑๑๑ Introduction to Soil Science ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๗๒๑๑๑ Introduction to Soil Science ๓ (๒-๓)<br />

หน้า ๑๒ แก้ไขหน่วยกิตรายวิชา ต่อไปนี <br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๐. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๗ Orchidology ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๗ Orchidology ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๑. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๕ Landscaping Designs ๓<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๒๖๗๐ Garden Designs ๓ (๒-๓-๖)<br />

แก้ไขเป็ น ข้อ ๑๑.จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๔๕ Landscaping Designs ๓ (๒-๓)<br />

เป็ นวิชา ๐๔๐๒๖๗๐๓ Landscaping Designs ๓ (๒-๓-๖)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๒. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๕ Drawing and Perspective in Landscaping ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๕ Drawing and Perspective in Landscaping ๓ (๒-๓)<br />

4


ข้อความเดิม ข้อ ๑๓. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๙๘ Seminar ๑<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๙๘ Seminar ๑ (๑-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๔. จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๙๗ Horticulture Practice ๒<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๙๗ Horticulture Practice ๒ (๐-๒๐๐) เทียบไม่ได้<br />

หน้า ๑๒ แก้ไขหน่วยกิตรายวิชา ต่อไปนี <br />

ข้อความเดิมข้อ ๑๕.จากวิชา ๐๔๐๙๓๐๐๖ Principles and Methods of Agricultural Extension ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๐๙๓๐๐๖Principles and Methods of Agricultural Extension ๓(๓-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๖. จากวิชา ๐๔๒๒๔๑๗๒ Landscape Management ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๒๒๔๑๗๒ Landscape Management ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิมข้อ ๑๗.จากวิชา ๐๔๒๒๓๑๗๕ Drawing and Perspective in Horticulture Designs๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๒๒๓๑๗๕ Drawing and Perspective in Horticulture Designs ๓(๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๘. จากวิชา ๐๕๔๐๓๒๐๒ Experimental Design in Agriculture ๓ (๓-๖)<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๐๒๖๑๐๒ Experimental Design in Plant ๓ (๓-๖)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๙. จากวิชา ๐๔๐๓๖๑๑๑ Animal Nutrition Laboratory ๑<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๐๓๖๑๑๑ Animal Nutrition Laboratory ๑ (๐-๓-๒) เทียบได้รหัสเดิม<br />

หน้า ๑๓ บรรทัดที<br />

๑๐ ข้อความเดิม Economics of Asia Countries (เกรด C ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา Economics of Asian Countries (เกรด C ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

หน้าที<br />

๑๙ วาระที<br />

๔.๑๖ บรรทัดที<br />

๕ ข้อความเดิม จํานวน ๓ ท่าน<br />

แก้ไขเป็ น จํานวน ๙ ท่าน<br />

หน้าที<br />

๒๒ รายการที<br />

๒ ข้อความเดิม ปริญญาเอก (Biological Pesowees)<br />

แก้ไขเป็ น ปริญญาเอก (Biological Resources)<br />

หน้าที<br />

๒๓ รายการที<br />

๖ ข้อความเดิม กรรมการบริษัท P-event Agency Company united<br />

5


แก้ไขเป็ น P-event Agency Company Limited<br />

หน้าที<br />

๒๖ ข้อ ๓ ข้อความเดิม กล้องเตอริโอ<br />

แก้ไขเป็ น กล้องสเตอร์ริโอ<br />

หน้าที ๒๗ <strong>มติทีประชุม</strong><br />

วาระที<br />

๕.๓ บรรทัดที<br />

๓ ข้อความเดิม และส่วนการออกแบบห้อง Lab<br />

แก้ไขเป็ น และให้นายภาณุรัตน์ จันทร์ทับ เป็ นกรรมการและเลขานุการ<br />

บรรทัดที ๔ ตัดข้อความ และให้นายภาณุรัตน์ จันทร์ทับ เป็ นกรรมการและเลขานุการ<br />

ระเบียบวาระที ๓<br />

เรื องสืบเนื อง<br />

๓.๑ พิจารณาการจัดสรรเงินงบประมาณค่าวัสดุการศึกษาระดับปริญญาตรี ประจําปี งบประมาณ ๒๕๕๖<br />

สืบเนืองจาก<strong>มติทีประชุม</strong>คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ครังที<br />

๗/<br />

๒๕๕๕ วันพฤหัสบดีที<br />

๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ให้นําเรื องการจัดสรรเงินงบประมาณค่าวัสดุการศึกษาระดับปริญญา<br />

ตรี ประจําปี งบประมาณ ๒๕๕๖ เข้าทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะในคราวต่อไปนัน<br />

คณะได้<br />

จัดสรรเงินงบประมาณค่าวัสดุศึกษาระดับปริญญาตรี ประจําปี งบประมาณ ๒๕๕๖ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงนําเสนอ<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม อนุมัติ<br />

ระเบียบวาระที ๔<br />

เรื องเสนอให้ที ประชุมพิจารณา<br />

๔.๑ พิจารณา (ร่าง) ประกาศคณะเทคโนโลยีการเกษตร เรื อง นโยบายการบริหารงาน<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร ประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอ (ร่าง ) ประกาศ นโยบายการบริหารงานคณะเทคโนโลยีการเกษตร ต่อทีประชุม<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา เพือประกอบการจัดทํานโยบายบริหารงานคณะประจําปี<br />

งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

๔.๒ พิจารณาการรายงานผลการติดตามการบริหารความเสี ยงประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕<br />

(รอบ ๑๒ เดือน)<br />

ตามทีคณะได้ดําเนินการจัดทําการบริหารความเสี<br />

ยงประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ไปแล้วนัน คณะจึง<br />

ขอนําเสนอรายงานผลการติดตามการบริหารความเสี ยงประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕<br />

(รอบ ๑๒ เดือน) ให้ทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

6


๔.๓ พิจารณาการแต่งตังอาจารย์บัณฑิตประจํา และอาจารย์บัณฑิตพิเศษ สาขาวิชาเทคโนโลยี<br />

การผลิตพืช<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอเอกสารประกอบการพิจารณาการแต่งตังอาจารย์บัณฑิตประจําและอาจารย์<br />

บัณฑิตพิเศษ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ดังนี <br />

๑. รองศาสตราจารย์ ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา (อาจารย์บัณฑิตประจํา)<br />

๒. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ธานี ศรีวงศ์ชัย อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

(อาจารย์บัณฑิตพิเศษ)<br />

จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้บุคคลที มีรายชือต่อไปนี<br />

ทําหน้าที เป็นอาจารย์บัณฑิตประจํา และอาจารย์บัณฑิตพิเศษ<br />

ดังนี <br />

๑. รองศาสตราจารย์ ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา เป็นอาจารย์บัณฑิตประจํา ทําหน้าที เป็ นผู ้สอน<br />

ผู ้สอบ อาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์<br />

และเป็นที ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ในหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา<br />

เกษตรศาสตร์ สังกัดสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

๒. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ธานี ศรีวงศ์ชัย เป็นอาจารย์บัณฑิตพิเศษ ทําหน้าทีเป็นผู<br />

้สอบ และเป็นที <br />

ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมในหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร<br />

๔.๔ พิจารณารายชื อการประชุมวิชาการเพื อเสนอบทความวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอรายชือการประชุมวิชาการสําหรับเสนอบทความวิจัย<br />

เพือการสําเร็จการศึกษา<br />

ระดับบัณฑิตศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ดังนี <br />

๑. International Symposium of BioPesticides and Ecotoxicological Network<br />

(2 nd IS-BIOPEN)<br />

๒. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล (ครังที<br />

๓)<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ การประชุมวิชาการสําหรับเสนอบทความวิจัย เพือขอสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา<br />

ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร จํานวน ๒ รายการ ดังนี <br />

ที<br />

ชือเรือง<br />

๑. International Symposium of<br />

BioPesticides and<br />

Ecotoxicological Network<br />

(2 nd IS-BIOPEN)<br />

๒. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์<br />

ทางทะเล (ครังที<br />

๓)<br />

ระดับ<br />

ชาติ<br />

วารสาร การประชุม สําเร็จการศึกษา<br />

นานา<br />

ชาติ<br />

ระดับ<br />

ชาติ<br />

นานา<br />

ชาติ<br />

โท<br />

<br />

<br />

เอก<br />

Short Full<br />

ฐานข้อ<br />

มูล<br />

7<br />

ค่าดัชนี<br />

อ้างอิง


๔.๕ พิจารณาหลักเกณฑ์เบืองต้นในการพิจารณาเปลี ยนอาจารย์ที ปรึกษาระดับบัณฑิตศึกษา<br />

จากข้อคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๔๙.๕.๒ การเปลียนแปลงอาจารย์ที<br />

<br />

ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรืออาจารย์ที ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ให้นักศึกษายื นคําร้ องต่อหัวหน้าส่วนงาน<br />

วิชาการ และให้เป็ นอํานาจของหัวหน้าส่วนงานวิชาการในการพิจารณาอนุมัติ โดยได้รับความเห็นชอบจาก<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ<br />

เพือให้การดําเนินการระดับบัณฑิตศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย<br />

เหมาะสม จึงขอกําหนดหลักเกณฑ์เบื องต้นในการพิจารณาการเปลียนแปลงอาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก<br />

หรืออาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม<br />

จึงเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม ให้สาขาวิชาทีมีหลักสูตรบัณฑิตศึกษา<br />

แต่งตังอาจารย์ที ปรึกษากลาง<br />

๔.๖ พิจารณาหลักเกณฑ์เบืองต้ นในการพิจารณาแต่ งตังอาจารย์ที ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ระดับ<br />

บัณฑิตศึกษา<br />

จากข้องบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๑๕.๑ อาจารย์บัณฑิตประจํา ๑ คน<br />

ให้เป็ นทีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักของนักศึกษาปริญญาโท<br />

และเอกได้ไม่เกิน ๕ คน หากหลักสูตรใดมีอาจารย์<br />

บัณฑิตประจําทีมีศักยภาพพร้อมที<br />

จะดูแลนักศึกษาได้มากกว่า ๕ คน ให้อยู ่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจํา<br />

ส่วนงานวิชาการคณะ ในการให้ความเห็นชอบแต่ทังนี ต้องไม่เกิน ๑๐ คน<br />

เพือให้การดําเนินการแต่งตังอาจารย์ที<br />

ปรึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร เป็ นไป<br />

ด้วยความเรียบร้อย และสอดคล้องตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๑๕.๑ คณะ<br />

จึงนําเสนอขอกําหนดหลักเกณฑ์เบื องต้นในการพิจารณาอาจารย์บัณฑิตประจําที มีศักยภาพพร้ อมทีจะดูแล<br />

นักศึกษาได้มากกว่า ๕ คน ควรมีคุณสมบัติ ดังนี <br />

๑. มีประวัติทีดีในการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาโทหรือเอก<br />

๒. มีโครงการวิจัย และผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการอย่างต่อเนือง<br />

๓. มีนักศึกษาระดับปริญญาเอก<br />

จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการประจําคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม ให้รองศาสตราจารย์ ดร. จํารูญ เล้าสินวัฒนา จัดทําร่างประกาศคณะให้ชัดเจน และนําเสนอที<br />

ประชุมในครังต่อไป<br />

๔.๗ พิจารณาการขอเทียบโอนหน่วยกิต และเทียบรายวิชา (คณะวิทยาศาสตร์)<br />

ด้วยคณะวิทยาศาสตร์ได้ส่งผลการตรวจสอบการโอนหน่วยกิต และเทียบรายวิชา ซึงผ่านความเห็นชอบ<br />

จากทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะวิทยาศาสตร์<br />

ครังที<br />

๙/๒๕๕๕ เมือวันพุธที<br />

๑๒ กันยายน<br />

๒๕๕๕ จํานวน ๓ ราย ดังนี จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

8


๑. นางสาววิไลวรรณ พิมหงษา รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๒๒๔ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์<br />

๒. นางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์<br />

๓. นางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๔๔๙ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีการเกษตร จํานวน ๓ ราย เทียบโอนหน่วยกิต<br />

และเทียบรายวิชาได้ ดังนี <br />

๑. นางสาววิไลวรรณ พิมหงษา รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๒๒๔ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์ ขอ<br />

เทียบโอนหน่วยกิตและเทียบรายวิชา ๑ รายวิชา จํานวน ๑ หน่วยกิต ดังนี <br />

จากวิชา ๐๕๑๐๑๑๕๒ Practical Organic Chemistry ๑ ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๑๐๖๗๐๔ Practical Organic Chemistry ๑ ๑ หน่วยกิต<br />

๒. นางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์<br />

ขอเทียบโอนหน่วยกิตและเทียบรายวิชา ๒ รายวิชา จํานวน ๔ หน่วยกิต ดังนี <br />

จากวิชา ๐๕๑๐๑๐๑๘ Elementary Chemistry Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๑๐๖๗๐๒ Elementary Chemistry Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

จากวิชา ๐๕๐๑๐๑๕๕ Fundamental Mathematics ๓ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๐๑๖๗๕๐ Fundamental Mathematics ๓ หน่วยกิต<br />

๓. นางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๔๔๙ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์<br />

การประมง ขอเทียบโอนหน่วยกิตและเทียบรายวิชา ๒ รายวิชา จํานวน ๒ หน่วยกิต ดังนี <br />

จากวิชา ๐๕๑๐๐๑๙๔ Practices in General Chemistry ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๑๐๖๗๐๒ Elementary Chemistry Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

จากวิชา ๐๕๓๐๐๑๒๒ General Physics Laboratory ๑ ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๓๐๖๐๐๒ General Physics Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

๔.๘ พิจารณาการขอเทียบรหัสวิชาและรายวิชา (คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม)<br />

ด้วยคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ส่งผลการตรวจสอบการเทียบรหัสวิชาและรายวิชา ของนักศึกษา<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร ซึงผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะครุศาสตร์<br />

อุตสาหกรรม เมือวันที<br />

๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ จํานวน ๑ ราย คือนางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสนักศึกษา ๕๕๐๔๐๔๔๙<br />

หลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง ซึงสาขาวิชาศิลปศาสตร์ประยุกต์ได้พิจารณาแล้ว<br />

จึงนําเสนอที ประชุม<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

9


มติที ประชุม เห็นชอบ ให้นางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสนักศึกษา ๕๕๐๔๐๔๔๙ หลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง<br />

เทียบรหัสวิชาและรายวิชาได้ ดังนี <br />

วิชา ๙๐๓๐๓๐๑๓ Family Hygiene (เกรด B + ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

วิชา ๙๐๐๔๐๐๐๕ Thai Society and Culture (เกรด B + ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

๔.๙ พิจารณาการขอเทียบรายวิชาและรหัสวิชา (คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม)<br />

ด้วยคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมได้ส่งผลการขอเทียบรายวิชา และรหัสวิชา ของนางสาวชไมพร ไขโพธิ <br />

รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ ซึงทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม<br />

ครังที ๙/๒๕๕๕ เมือวันอังคารที<br />

๑๑ กันยายน ๒๕๕๕ ได้ให้ความเห็นชอบ ทังนี ได้ผ่านการพิจารณาจาก<br />

สาขาวิชาศิลปศาสตร์ประยุกต์แล้ว จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้นางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสนักศึกษา ๕๕๐๔๐๐๔๕ เทียบรายวิชา และรหัสวิชาได้ ดังนี <br />

จากวิชา ๐๓๐๑๐๐๖๖ English for Communicative Writing (เกรด C)<br />

เป็นวิชา ๙๐๒๐๑๐๑๘ English for Communicative Writing<br />

วิชา ๙๐๓๐๑๐๐๒ Art of Living (เกรด C+) เทียบได้รหัสเดิม<br />

๔.๑๐ พิจารณาการขอเทียบรหัสวิชาและรายวิชา<br />

ด้วยนางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์ มีความ<br />

ประสงค์ขอโอนหน่วยกิต ซึงผ่านความเห็นชอบจากหลักสูตรเกษตรศาสตร์แล้ว<br />

จึงนําเสนอทีประชุม<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

จากวิชา ๐๔๐๓๒๑๑๐ Principles of Animal Husbandry (เกรด C+) ๓ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๓๖๑๖๐ Principles of Animal Husbandry ๓(๓-๐-๖)<br />

จากวิชา ๐๔๐๑๑๑๐๑ Farm Practice (เกรด A) ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๑๖๑๐๐ Farm Practice ๑(๐-๓-๒)<br />

จากวิชา ๐๔๐๒๑๑๐๔ Principles of Crop Production (เกรด C) ๓ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๒๖๑๐๑ Principles of Crop Production ๓(๓-๐-๖)<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

๔.๑๑ พิจารณารายงานผลการประเมินความพึงพอใจ<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอรายงานผลการประเมินความพึงพอใจต่อการให้ บริการห้ องเรียนและ<br />

ห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ซึงนักศึกษาและอาจารย์มีความพึงพอใจในภาพรวมระดับ<br />

ปานกลาง (๔๕.๗%) และพึงพอใจน้อย (๒๕.๔%) และเมือรวมกันแล้วมีความพึงพอใจน้อยถึงปานกลาง<br />

10


๗๑.๑% ดังรายงานผลการประเมินความพึงพอใจการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการสาขาวิชา<br />

เทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

รายงานผลการประเมินความพึงพอใจ<br />

การใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของสาขาวิชา<br />

เทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร ประเมินจากผู ้ใช้บริการ ๑๘๐ คน โดยเป็นเพศหญิง ๖๔.๙% และ<br />

เป็นเพศชาย ๓๕.๑% ส่วนใหญ่เป็ นนักศึกษาคิดเป็ น ๙๖.๕% และเป็ นอาจารย์ ๓.๕% ซึงประกอบด้วยหลักสูตร<br />

เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืชสูงที สุด คิดเป็น ๕๒.๙% รองลงมาคือหลักสูตรพืชสวน พืชไร่ และปฐพีวิทยา คิดเป็ น<br />

๒๘.๗, ๑๒.๖ และ ๕.๗% ตามลําดับ (ตารางที<br />

๑)<br />

ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของสาขาวิชา<br />

เทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร ในด้านต่างๆ พบว่านักศึกษาและอาจารย์ในสาขาวิชาเทคโนโลยี<br />

การผลิตพืชมีความพึงพอใจในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการอยู ่ในระดับปานกลางคือเฉลีย<br />

๓.๐๘ โดย<br />

มีความพึงพอใจในห้องเรียนมากทีสุดเฉลีย<br />

๓.๒๘ รองลงมาคือ ทัศนียภาพและสิงแวดล้อมภายในและนอก<br />

อาคาร และห้องปฏิบัติการ โดยมีค่าความพึงพอใจเท่ากับ ๓.๒๒ และ ๓.๐๕ ตามลําดับ ส่วนการใช้บริการ<br />

ทางด้านอุปกรณ์และเครื องมือวิทยาศาสตร์ นักศึกษาและอาจารย์มีความพึงพอใจน้อยที สุด เท่ากับ ๒.๘๐<br />

(ตารางที<br />

๒)<br />

โดยนักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่ได้เสนอแนะให้ทางสาขาวิชาปรับปรุงแก้ ไขไว้หลายประเด็น<br />

อย่างเช่น ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการทรุดโทรม ไม่เพียงพอต่อจํานวนนักศึกษา และไม่สะอาด นักศึกษาและ<br />

อาจารย์ ๗๐ คน ได้แจ้งให้ทราบว่ามีเครืองมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ไม่เพียงต่อจํานวนนักศึกษา<br />

ทีมีอยู<br />

่ยัง<br />

เก่าและไม่ทันสมัย ขณะทีในด้านทัศนียภาพและสภาพแวดล้อมทังภายในและภายนอกอาคาร<br />

นักศึกษาและ<br />

อาจารย์ได้ให้ข้อเสนอแนะอยู ่หลายประเด็นทีควรปรับปรุงได้แก่<br />

ขาดแหล่งความรู ้ในการศึกษาเพิมเติม<br />

ควรมีม้า<br />

นังมากกว่านี<br />

ไม่สะอาด<br />

ทรุดโทรมและรกร้าง ไม่มีไฟทางเดิน รวมถึงแสงสว่างไม่เพียงพอ สีของตึกลอกหลุด นํ า<br />

ในสระเน่าเสีย เหม็น ควรได้รับการแก้ไข และควรมีการขยายและปรับปรุงทัศนียภาพให้ดีขึ น เป็นต้น<br />

(ตารางที<br />

๓)<br />

ตารางที<br />

๑. ร้อยละของเพศ สถานะ และหลักสูตรของผู ้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการห้องเรียน<br />

และห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (n=๑๘๐)<br />

11


เพศ ร้อยละ สถานะ ร้อยละ หลักสูตร ร้อยละ<br />

ชาย ๓๕.๑ อาจารย์ ๓.๕ พืชสวน ๒๘.๗%<br />

หญิง ๖๔.๙ นักศึกษา ๙๖.๕ พืชไร่ ๑๒.๖%<br />

รวม ๑๐๐.๐ รวม ๑๐๐.๐ เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช ๕๒.๙%<br />

ปฐพีวิทยา ๕.๗%<br />

รวม ๑๐๐.๐<br />

ตารางที ๒. ร้อยละของจํานวนผู ้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของ<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (n=๑๘๐)<br />

% ของจํานวนผู ้ตอบ ระดับความ<br />

รายการ<br />

ระดับความพึงพอใจ พึงพอใจเฉลีย<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ (๕)<br />

๑. ห้องเรียน ๒.๒ ๑๓.๙ ๔๔.๔ ๓๒.๒ ๗.๒ ๓.๒๘<br />

๒. ห้องปฏิบัติการ ๕.๐ ๑๘.๙ ๔๘.๓ ๒๒.๒ ๕.๖ ๓.๐๕<br />

๓. อุปกรณ์และเครืองมือวิทยาศาสตร์<br />

๘.๙ ๒๖.๑ ๔๕.๖ ๑๕.๐ ๔.๔ ๒.๘๐<br />

๔. ทัศนียภาพและสิงแวดล้อม<br />

ภายในและนอกอาคาร ๕.๖ ๑๑.๗ ๔๔.๔ ๓๒.๒ ๖.๑ ๓.๒๒<br />

ค่าเฉลีย<br />

๕.๔ ๑๗.๗ ๔๕.๗ ๒๕.๔ ๕.๘ ๓.๐๘<br />

๕ = มากทีสุด,<br />

๔ = มาก, ๓ = ปานกลาง, ๒ = น้อย, ๑ = น้อยทีสุด,<br />

(n=๑๘๐)<br />

ตารางที<br />

๓. ข้อเสนอแนะของใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

(n=๑๘๐)<br />

รายการ ข้อเสนอแนะ ความถี<br />

(คน)<br />

๑.ห้องเรียน<br />

๒. ห้องปฏิบัติการ<br />

๑.๑ ทรุดโทรม ควรมีการปรับปรุง ๒๒<br />

๑.๒ จํานวนน้อย ไม่เพียงพอ ๑๕<br />

๑.๓ ไม่สะอาด ๑๑<br />

๒.๑ ทรุดโทรม ควรมีการปรับปรุง ๓๐<br />

๒.๒ จํานวนน้อย ไม่เพียงพอ ๓๖<br />

๒.๓ ไม่สะอาด ๑๐<br />

๒.๔ อยากให้ติดตังเครืองปรับอากาศ<br />

๔<br />

๒.๕ ไม่เป็นระเบียบ<br />

๓. อุปกรณ์และเครืองมือวิทยาศาสตร์<br />

๓<br />

๓.๑ จํานวนน้อย ไม่เพียงพอ ๗๐<br />

๓.๒ เก่า ชํารุด และไม่ทันสมัย ๔๒<br />

12


๔. ทัศนียภาพและสิงแวดล้อม<br />

ทังภายในและภายนอกอาคาร<br />

๔.๑ ขาดแหล่งความรู ้ในการศึกษาเพิมเติม<br />

๓<br />

๔.๒ ควรมีม้านัง<br />

ต้นไม้ เพิม<br />

๑๔<br />

๔.๓ ไม่สะอาด ๑๙<br />

๔.๔ ทรุดโทรมและรกร้าง ๑๑<br />

๔.๕ ไม่มีไฟทางเดิน รวมถึงแสงสว่างไม่เพียงพอ ๕<br />

๔.๖ สีตึกลอกหลุด ๔<br />

๔.๗ ควรมีการขยายและปรับปรุงทัศนียภาพให้ดีขึ น ๒๒<br />

๔.๘ นํ าในสระเน่าเสีย เหม็น ควรได้รับการแก้ไข ๒<br />

ทังนี ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชได้รายงานผลการประชุมสาขาวิชาโดยสรุป ดังนี <br />

๑. การประชุมการจัดสรรงบประมาณในสาขาวิชาเอก ครังที ๑/๒๕๕๕ เมือวันที<br />

๒๔ กรกฎาคม<br />

๒๕๕๕ ทีประชุมมีมติ<br />

ให้จัดสรรงบประมาณในสาขาวิชาเอกเป็นแบบเดิม คือ<br />

ค่าวัสดุเงินรายได้ ๑,๖๗๖,๔๑๕.๐๐ บาท<br />

ค่าวัสดุเงินงบประมาณ ๑,๑๔๔,๔๕๑.๐๐ บาท<br />

รวมเป็นเงินค่าวัสดุ ๒,๘๒๐,๘๖๖.๐๐ บาท<br />

ซึงสาขาจะเร่งดําเนินการปรับแผนรายจ่ายเงินรายได้<br />

โดยจะลดเงินสนับสนุนรายวิชาลง และจะประชุม<br />

กรรมการหลักสูตร (ปริญญาตรี) เพือควบคุมงบประมาณเร็วๆ<br />

นี <br />

๒. การประชุมชี แจงหลักการทํางาน เมือวันที<br />

๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ โดยมีผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.<br />

ศรายุทธ ผลโพธิ ผู ้ควบคุมงาน และคนงานเข้าร่วมประชุม ซึงมีสาระสําคัญโดยสรุป<br />

ดังนี <br />

๒.๑ การชี แจงหลักการทํางาน<br />

๒.๒ ให้ผู ้ควบคุมงานจัดทําตารางรายงานผลการทํางานประจําสัปดาห์<br />

๒.๓ ให้สาขาวิชาจัดทําตารางรายงานของอาจารย์<br />

๒.๔ ให้สาขาวิชาทําเรืองปรับเปลียนลูกจ้างรายวัน<br />

ลูกจ้างรายเดือน เป็นพนักงานสถาบัน (ต้องรอ<br />

กรอบสถาบัน)<br />

๓. การประชุมสรุปผลการฝึกงานของสาขาวิชา เมือวันที<br />

๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ซึงทีประชุมคณะกรรมการ<br />

ฝึกงานมีมติให้ฝึกงาน ดังนี <br />

๓.๑ ให้ฝึกงานภายในเวลา ๑๐๐ ชัวโมงแรก<br />

๓.๒ ให้ฝึกงานทีคณะในเดือนตุลาคม<br />

๒๕๕๕ เป็นเวลา ๗ วัน<br />

๓.๓ ให้ฝึกงานทีวิทยาเขตชุมพรในภาคฤดูร้อน<br />

๒๕๕๕ เป็นเวลา ๗ วัน<br />

โดยขอให้เตรียมความพร้อมทีศูนย์วิจัยและถ่ายทอดวิทยาศาสตร์<br />

และเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระ<br />

จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อําเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ในครังหน้าด้วย<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้ดําเนินการ ดังนี <br />

13


๑. ให้สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ดําเนินการตาม<strong>มติทีประชุม</strong>สาขาวิชา<br />

๒. ให้นําผลการประเมินไปเป็นปัจจัยหนึ งในการพิจารณาจัดสรรเงินรายได้ประจําปีถัดไป<br />

๓. ให้สาขาวิชาอืนพิจารณาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตามความเหมาะสม<br />

ระเบียบวาระที ๕<br />

เรื องอื นๆ<br />

๕.๑ พิจารณารายชื อวิชาที กําหนดจํานวนรับนักศึกษา ในภาคการศึกษาที ๒/๒๕๕๕<br />

ด้วยหลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง และหลักสูตรพัฒนาการเกษตร ได้นําเสนอรายชื อวิชาที<br />

กําหนดจํานวนรับนักศึกษาในภาคการศึกษาที<br />

๒/๒๕๕๕ ดังนี <br />

หลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง<br />

๑. วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๖ FISHING GEAR รับ ๒๐ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๓<br />

๒. วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๖ FISHING GEAR รับ ๒๐ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๔<br />

๓. วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๕ SELECTED TOPICS IN AQUACULTURE รับ ๑๕ คน<br />

นักศึกษาชันปี ที<br />

๔<br />

- เหตุผลการกําหนดจํานวนนักศึกษาในวิชา Fishing gear และ Selected topics in<br />

aquaculture เนืองจากการเรียนการสอนในวิชาดังกล่าวจะมีการฝึ<br />

กลงมือปฏิบัติ และบางครังจะต้องใช้<br />

ห้องปฏิบัติการและเครืองมือของทางห้องปฏิบัติการญีปุ<br />

่ น (JIRCAS) ซึงสามารถรองรับนักศึกษาได้ในจํานวน<br />

สูงสุดที<br />

๑๕-๒๐ คน เท่านัน<br />

๔. วิชา ๐๔๐๘๖๔๐๘ CRUSTACEAN CULTURE รับ ๒๐ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๔<br />

- เหตุผลการกําหนดจํานวนนักศึกษา เนืองจากมีความพร้อมในการเรียนบทปฏิบัติการทีรับ<br />

นักศึกษาได้ ๒๐ คน เท่านัน<br />

๕. วิชา ๐๔๐๘๖๓๑๔ SCUBA DIVING FOR RESEARCH AND CONSERVATION<br />

รับ ๑๐ คน (ตามรายชือทีกําหนดเท่านัน)<br />

นักศึกษาชันปี ที<br />

๓<br />

- เหตุผลในการกําหนดจํานวนรับนักศึกษา (ตามเอกสารแนบท้าย)<br />

หลักสูตรพัฒนาการเกษตร<br />

๑. วิชา๐๔๐๙๖๐๒๒ HUMAN ECOLOGY รับ ๒๐ คน สําหรับนักศึกษาทีตกค้างชันปี<br />

ที<br />

๓<br />

- เหตุผลในการกําหนดจํานวนนักศึกษา เนืองจากวิชานี<br />

มีนักศึกษาตกค้างอยู ่จํานวนหนึงที<br />

ยังไม่ได้ลงทะเบียน และไม่สามารถลงทะเบียนวิชานี ได้ในเทอม ๑ จํานวน ๑๔ คน<br />

๒. วิชา ๐๔๐๙๖๐๒๑ ECOTOURISM รับ ๒๕ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๓ (เหตุผลในการกําหนด<br />

จํานวนรับนักศึกษา ตามเอกสารแนบท้าย)<br />

14


มติที ประชุม ๑. ให้กําหนดจํานวนนักศึกษาในวิชาดังต่อไปนี เนืองจากเห็นด้วยกับเหตุผลที<br />

แจ้งมา<br />

๑.๑ วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๖ FISHING GEAR<br />

๑.๒ วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๕ SELECTED TOPICS IN AQUACULTURE<br />

๑.๓ วิชา ๐๔๐๘๖๓๑๔ SCUBA DIVING FOR RESEARCH AND CONSERVATION<br />

๑.๔ วิชา ๐๔๐๙๖๐๒๑ ECOTOURISM<br />

๒. ไม่อนุมัติให้กําหนดจํานวนนักศึกษาในวิชาดังต่อไปนี <br />

๒.๑ วิชา ๐๔๐๘๖๔๐๘ CRUSTACEAN CULTURE<br />

๒.๒ วิชา ๐๔๐๙๖๐๒๑ HUMAN ECOLOGY<br />

ถ้าไม่สามารถรองรับจํานวนนักศึกษาได้ก็ไม่ให้จัดการเรียนการสอน<br />

๕.๒ พิจารณาการเชิญอาจารย์สอนพิเศษ สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร และการจัดการทรัพยากร<br />

ตาม<strong>มติทีประชุม</strong>คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

ครังที<br />

๗/๒๕๕๕ เมือวันพฤหัสบดีที<br />

๓๐<br />

สิงหาคม ๒๕๕๕ วาระที<br />

๔.๑๗ เรือง<br />

การเชิญอาจารย์สอนพิเศษ สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร และการจัดการ<br />

ทรัพยากร มีมติให้ ตรวจสอบรายละเอียดวิชา ๐๔๐๙๐๐๙๗ ก่อสร้างในฟาร์ม และวิชา ๐๔๐๙๐๐๗๗ เขียน<br />

แบบเครืองจักรกล<br />

ว่าเป็นวิชาเลือก หรือวิชาบังคับ และมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนจํานวนกีคน<br />

ประธานสาขาวิชาฯ ได้ตรวจสอบรายละเอียด ทัง ๒ วิชา แล้ว ดังนี <br />

วิชา ๐๔๐๙๐๐๙๗ เป็นวิชาบังคับเลือก มีนักศึกษาลงทะเบียน ๑๒ คน<br />

วิชา ๐๔๐๙๐๐๗๗ เป็นวิชาบังคับเลือก มีนักศึกษาลงทะเบียน ๘ คน<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

๕.๓ พิจารณาแบบประเมินผลโครงการนํานักศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีการเกษตรประจํา<br />

ปี การศึกษา ๒๕๕๕<br />

ด้วยคณะได้ดําเนินการนํานักศึกษาชันปี ๑ เดินทางไปศึกษาดูงานในหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ บริษัท เบทาโกร<br />

จํากัด บริษัทอาหารสยาม จํากัด และบริษัท CPF จํากัด ในการนี ผู ้ช่วยศาสตราจารย์<br />

พีรชัย กุลชัย ได้จัดทําแบบประเมินผลโครงการนํานักศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีการเกษตร ประจําปี การศึกษา<br />

๒๕๕๕ เป็นที เรียบร้อยแล้ว<br />

มติที ประชุม ให้ผู ้ช่วยศาสตราจารย์พีรชัย กุลชัย และสาขาวิชานําผลสรุปการประเมินและข้อเสนอแนะกลับไป<br />

ปรับปรุงแก้ไข เพือพิจารณาการดําเนินการทีเหมาะสม<br />

และให้นําเข้าที ประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ<br />

คณะในคราวต่อไป<br />

๕.๔ พิจารณาการรับนักศึกษาโควตาผู<br />

้มีความสามารถดีเด่นทางการกีฬาเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี<br />

ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖<br />

15


ด้วยสํานักทะเบียนและประมวลผล จะดําเนินการรับสมัครนักศึกษาโควตาผู ้มีความสามารถดีเด่นทางการ<br />

กีฬา เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖ ในการนี สํานักทะเบียนและประมวลผลได้แนบ ร่าง<br />

ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เรืองการรับผู<br />

้มีความสามารถดีเด่นทางการกีฬา<br />

เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ – ๕ ปี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖ มาเพือให้คณะ<br />

วิทยาลัย พิจารณาข้อมูล<br />

หากมีข้อความใดแก้ไข เพิมเติม<br />

ขอให้แก้ไขให้ชัดเจน ดังนี <br />

๑. สาขาวิชาทีเปิ<br />

ดรับ<br />

๒. จํานวนรับ (ควรระบุจํานวนรับ)<br />

๓. เงือนในการรับ<br />

๔. คุณสมบัติทัวไป<br />

สําหรับคุณสมบัติทางด้านกีฬา และชนิดของกีฬา ให้เป็นไปตามประกาศสถาบัน เรือง<br />

หลักเกณฑ์วิธีการรับ<br />

นักศึกษาตามทีแจ้งมาใน<br />

ร่างประกาศสถาบันเรือง<br />

การรับผู ้มีความสามารถดีเด่นทางด้านกีฬา เข้าศึกษาระดับ<br />

ปริญญาตรี หลักสูตร ๔-๕ ปี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖ ทังนี ผู ้สมัครจะต้องผ่านการทดสอบภาคปฏิบัติด้านกีฬา<br />

โดยส่วนกิจการนักศึกษาเป็นผู ้ทดสอบ จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ร่างประกาศสถาบันเรือง<br />

การรับผู ้มีความสามารถดีเด่นทางด้านกีฬา เข้าศึกษาระดับ<br />

ปริญญาตรี หลักสูตร ๔-๕ ปี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖<br />

เลิกประชุมเวลา ๑๖.๕๐ น.<br />

(นางละเมียด สัมฤทธิสุทธิ )<br />

ผู ้จดบันทึกรายงานการประชุม<br />

16

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!