27.06.2013 Views

มติทีประชุม

มติทีประชุม

มติทีประชุม

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

รายงานการประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ครังที ๘/๒๕๕๕<br />

วันพุธที ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕<br />

ณ ห้องประชุมคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

รายชื อกรรมการผู ้มาประชุม<br />

<br />

<br />

๑. รศ.ศักดิ ชัย ชูโชติ<br />

ประธานกรรมการ<br />

๒. รศ.ศรีสกุล วรจันทรา กรรมการ<br />

๓. รศ.ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา กรรมการ<br />

๔. ผศ.พีรชัย กุลชัย กรรมการ<br />

๕. ผศ.ดร.มณฑล แก่นมณี กรรมการ<br />

๖. รศ.ดร.กานต์ สุขสุแพทย์ กรรมการ<br />

๗. ผศ.ดร.อํามร อินทร์สังข์ กรรมการ<br />

๘. ผศ.ดร.ธํารงค์ เมฆโหรา กรรมการ<br />

๙. รศ.ดร.อารมย์ ศรีพิจิตต์ กรรมการ (ผู ้ทรงคุณวุฒิภายนอก)<br />

๑๐. รศ.ดร.อภิศักดิ โพธิ ปัน กรรมการ (ผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน)<br />

๑๑. ผศ.ดร.ธีรวัฒน์ ศรุตโยภาส กรรมการ (ผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน)<br />

๑๒. ผศ.สุขุมาภรณ์ ขันธ์ศรี กรรมการและเลขานุการคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

รายชื อผู ้เข้าร่วมประชุม<br />

๑. นางสําเนา ภัทรรัตนนันท์ ผู ้ช่วยเลขานุการคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

๒. นางละเมียด สัมฤทธิสุทธิ ผู ้จดบันทึกการประชุม<br />

เริ มประชุมเวลา ๑๓.๐๕ น.<br />

ระเบียบวาระที ๑<br />

เรื องแจ้งเพื อรับทราบ<br />

๑.๑ การแต่งตังคณะกรรมผู ้ทรงคุณวุฒิประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

เนืองด้วยคณะกรรมการผู<br />

้ทรงคุณวุฒิประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ได้หมดวาระลงเมื อวันที<br />

๒๑ กันยายน ๒๕๕๕ คณะจึงได้แต่งตังคณะกรรมการผู ้ทรงคุณวุฒิ<br />

ชุดใหม่ ดังนี <br />

๑. รองศาสตราจารย์ ดร.อารมย์ ศรีพิจิตต์ เป็นผู ้ทรงคุณวุฒิภายนอก


๒. รองศาสตราจารย์ ดร.อภิศักดิ โพธิ ปัน เป็นผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน<br />

๓. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธีรวัฒน์ ศรุตโยภาส เป็นผู ้ทรงคุณวุฒิภายใน<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

๑.๒ การทบทวนยุทธศาสตร์ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ด้วยคณะมีความประสงค์จะทบทวนยุทธศาสตร์ โดยเชิญศาสตราจารย์นายแพทย์วุฒิชัย ธนา<br />

พงศธร มาเป็นวิทยากร ระหว่างวันที<br />

๒๗-๒๘ กุมภาพันธ์ ถึง วันที<br />

๑ มีนาคม ๒๕๕๖ ในการนี คณบดีได้ขอ<br />

เชิญคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะทุกท่าน อาจารย์ สาขาวิชาละอย่างน้อย ๑๐ ท่าน และ<br />

บุคลากรสายสนับสนุนวิชาการเข้าร่วมงานดังกล่าว โดยให้เสนอชือผู<br />

้เข้าร่วมทบทวนยุทธศาสตร์ภายในช่วง<br />

กลางเดือนตุลาคม ๒๕๕๕<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

<br />

<br />

<br />

๑.๓ การรับสมัครนักศึกษาระบบรับตรง ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖<br />

ตามทีคณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้เปิ ดรับสมัครนักศึกษาระบบรับตรง ประจําปี การศึกษา<br />

๒๕๕๖ ในระหว่างวันที ๒๙ สิงหาคม ถึง วันที ๕ ตุลาคม ๒๕๕๕ มีผู ้สมัครทั งสิ นจํานวน ๓,๐๑๕ คน<br />

ในสาขาต่างๆ ดังนี (ข้อมูล ณ วันที ๓ ตุลาคม ๒๕๕๕ เวลา ๙.๒๒ น.)<br />

ลําดับที<br />

สาขาวิชา จํานวนผู ้สมัคร จํานวนผู ้ชําระเงิน<br />

๑. สัตวศาสตร์ ๘๖๕ ๔๕๖<br />

๒. วิทยาศาสตร์การประมง ๔๕๘ ๒๖๙<br />

๓. พัฒนาการเกษตร ๑๙๙ ๑๑๗<br />

๔. การจัดการทรัพยากรดินและสิงแวดล้อม ๔๕๙ ๒๔๓<br />

๕. นิเทศศาสตร์เกษตร ๔๔๔ ๒๕๔<br />

๖. เกษตรศาสตร์ ๔๘๗ ๒๖๗<br />

๗. วิทยาศาสตร์การประมงและทรัพยากรทางนํ า<br />

(ว.ชุมพร)<br />

๖๕ ๒๒<br />

๘. พืชสวน (ว.ชุมพร) ๑๑ ๖<br />

๙. สัตวศาสตร์ (ว.ชุมพร) ๒๗ ๑๐<br />

รวม ๓,๐๑๕ ๑,๖๔๔<br />

สําหรับการสอบจะใช้วิธีการสัมภาษณ์ในวันที ๓๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ โดยมอบหมายให้รอง<br />

ศาสตราจารย์ ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา เตรียมความพร้อมเกียวกับการสอบรับตรง นอกจากนี ในวันสอบ<br />

2


สัมภาษณ์ได้มอบหมายให้ผู ้อํานวยการส่วนสนับสนุนวิชาการคณะ กํากับดูแลการต้อนรับผู ้ปกครอง และ<br />

นักศึกษาทีมาสอบสัมภาษณ์ด้วย<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

๑.๔ พิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๓<br />

ด้วยสถาบันได้กําหนดจัดพิธีพระราชทานปริญญาบัตร ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๓ ในวันศุกร์ที ๕<br />

ตุลาคม ๒๕๕๕ เวลา ๑๕.๐๐ น. ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา โดยมีบัณฑิตทีสําเร็จ<br />

การศึกษาเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตร จํานวน ๔,๘๖๖ คน<br />

มติที ประชุม รับทราบ<br />

ระเบียบวาระที ๒<br />

รับรองรายงานการประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ครังที ๗/๒๕๕๕ วันพฤหัสบดีที ๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๕<br />

เลขานุการคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร ได้เสนอรายงานการ<br />

ประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะครังที ๗/๒๕๕๕ วันพฤหัสบดีที<br />

๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๕<br />

เพือให้คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณารับรองรายงานการประชุม<br />

ทีประชุมพิจารณาแล้วมีมติ<br />

ดังนี <br />

มติที ประชุม รับรองรายงานการประชุม โดยมีข้อแก้ไข ดังนี <br />

หน้าที<br />

๕ รายชือกรรมการผู<br />

้มาประชุม แก้ไข ดังนี <br />

ลําดับที ๔ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์พีรชัย กุลชัย<br />

ลําดับที ๕ รองศาสตราจารย์ ดร.กานต์ สุขสุแพทย์<br />

ลําดับที ๖ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.อํามร อินทร์สังข์<br />

ลําดับที ๗ ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ธํารงค์ เมฆโหรา<br />

ลําดับที ๘ รองศาสตราจารย์ ดร.อารมย์ ศรีพิจิตต์<br />

เพิมรายชือกรรมการไม่มาประชุม<br />

๑ ท่าน คือ<br />

ลําดับที ๙ รองศาสตราจารย์ ดร.อภิศักดิ โพธิ ปัน<br />

หน้าที<br />

๖ วาระที<br />

๑.๒ <strong>มติทีประชุม</strong><br />

เพิมข้อความ<br />

รับทราบ<br />

บรรทัดที<br />

๒ ข้อความเดิม นายชัยวัฒน์ แต่ไพสิฐพงษ์<br />

แก้ไขเป็ น นายชัยวัฒน์ แต้ไพสิฐพงษ์<br />

หน้าที<br />

๘ ข้อ ๒.๒.๑ ข้อความเดิม โครงการสอบภาษาอังกฤษและภาษาจีน<br />

แก้ไขเป็ น โครงการสอนภาษาอังกฤษและภาษาจีน<br />

วาระที<br />

๔.๒ บรรทัดที<br />

๘ ข้อความเดิม เกษตรเจ้าคุณทาหาร<br />

แก้ไขเป็ น เกษตรเจ้าคุณทหาร<br />

3


หน้า ๑๑ แก้ไขหน่วยกิตรายวิชา ต่อไปนี <br />

ข้อความเดิม ข้อ ๓. จากวิชา ๐๔๐๒๑๑๐๔ Principles of crop Production ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๑๑๐๔ Principles of crop Production ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๔. จากวิชา ๐๔๐๓๒๑๑๐ Principles of Animal Husbandry ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๓๒๑๑๐ Principles of Animal Husbandry ๓ (๓-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๕. จากวิชา ๐๔๐๔๑๑๑๑ Introduction to Agricultural Economics (๓ ๓-๐)<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๔๑๑๑๑ Introduction to Agricultural Economics ๓ (๓-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๖. จากวิชา ๐๔๐๒๒๑๙๖ Field Work in Horticulture ๑<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๒๑๙๖ Field Work in Horticulture ๑ (๐-๑๐๐) เทียบไม่ได้<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๗. จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๐๕ Principles of Plant Propagation ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๐๕ Principles of Plant Propagation ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๘. จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๔๐ Principles of Ornamental Plants ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๔๐ Principles of Ornamental Plants ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๙. ๐๔๐๗๒๑๑๑ Introduction to Soil Science ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๗๒๑๑๑ Introduction to Soil Science ๓ (๒-๓)<br />

หน้า ๑๒ แก้ไขหน่วยกิตรายวิชา ต่อไปนี <br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๐. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๗ Orchidology ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๗ Orchidology ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๑. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๕ Landscaping Designs ๓<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๒๖๗๐ Garden Designs ๓ (๒-๓-๖)<br />

แก้ไขเป็ น ข้อ ๑๑.จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๔๕ Landscaping Designs ๓ (๒-๓)<br />

เป็ นวิชา ๐๔๐๒๖๗๐๓ Landscaping Designs ๓ (๒-๓-๖)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๒. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๕ Drawing and Perspective in Landscaping ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๕๕ Drawing and Perspective in Landscaping ๓ (๒-๓)<br />

4


ข้อความเดิม ข้อ ๑๓. จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๙๘ Seminar ๑<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๔๑๙๘ Seminar ๑ (๑-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๔. จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๙๗ Horticulture Practice ๒<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา ๐๔๐๒๓๑๙๗ Horticulture Practice ๒ (๐-๒๐๐) เทียบไม่ได้<br />

หน้า ๑๒ แก้ไขหน่วยกิตรายวิชา ต่อไปนี <br />

ข้อความเดิมข้อ ๑๕.จากวิชา ๐๔๐๙๓๐๐๖ Principles and Methods of Agricultural Extension ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๐๙๓๐๐๖Principles and Methods of Agricultural Extension ๓(๓-๐)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๖. จากวิชา ๐๔๒๒๔๑๗๒ Landscape Management ๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๒๒๔๑๗๒ Landscape Management ๓ (๒-๓)<br />

ข้อความเดิมข้อ ๑๗.จากวิชา ๐๔๒๒๓๑๗๕ Drawing and Perspective in Horticulture Designs๓<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๒๒๓๑๗๕ Drawing and Perspective in Horticulture Designs ๓(๒-๓)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๘. จากวิชา ๐๕๔๐๓๒๐๒ Experimental Design in Agriculture ๓ (๓-๖)<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๐๒๖๑๐๒ Experimental Design in Plant ๓ (๓-๖)<br />

ข้อความเดิม ข้อ ๑๙. จากวิชา ๐๔๐๓๖๑๑๑ Animal Nutrition Laboratory ๑<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา๐๔๐๓๖๑๑๑ Animal Nutrition Laboratory ๑ (๐-๓-๒) เทียบได้รหัสเดิม<br />

หน้า ๑๓ บรรทัดที<br />

๑๐ ข้อความเดิม Economics of Asia Countries (เกรด C ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

แก้ไขเป็ น จากวิชา Economics of Asian Countries (เกรด C ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

หน้าที<br />

๑๙ วาระที<br />

๔.๑๖ บรรทัดที<br />

๕ ข้อความเดิม จํานวน ๓ ท่าน<br />

แก้ไขเป็ น จํานวน ๙ ท่าน<br />

หน้าที<br />

๒๒ รายการที<br />

๒ ข้อความเดิม ปริญญาเอก (Biological Pesowees)<br />

แก้ไขเป็ น ปริญญาเอก (Biological Resources)<br />

หน้าที<br />

๒๓ รายการที<br />

๖ ข้อความเดิม กรรมการบริษัท P-event Agency Company united<br />

5


แก้ไขเป็ น P-event Agency Company Limited<br />

หน้าที<br />

๒๖ ข้อ ๓ ข้อความเดิม กล้องเตอริโอ<br />

แก้ไขเป็ น กล้องสเตอร์ริโอ<br />

หน้าที ๒๗ <strong>มติทีประชุม</strong><br />

วาระที<br />

๕.๓ บรรทัดที<br />

๓ ข้อความเดิม และส่วนการออกแบบห้อง Lab<br />

แก้ไขเป็ น และให้นายภาณุรัตน์ จันทร์ทับ เป็ นกรรมการและเลขานุการ<br />

บรรทัดที ๔ ตัดข้อความ และให้นายภาณุรัตน์ จันทร์ทับ เป็ นกรรมการและเลขานุการ<br />

ระเบียบวาระที ๓<br />

เรื องสืบเนื อง<br />

๓.๑ พิจารณาการจัดสรรเงินงบประมาณค่าวัสดุการศึกษาระดับปริญญาตรี ประจําปี งบประมาณ ๒๕๕๖<br />

สืบเนืองจาก<strong>มติทีประชุม</strong>คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

ครังที<br />

๗/<br />

๒๕๕๕ วันพฤหัสบดีที<br />

๓๐ สิงหาคม ๒๕๕๕ ให้นําเรื องการจัดสรรเงินงบประมาณค่าวัสดุการศึกษาระดับปริญญา<br />

ตรี ประจําปี งบประมาณ ๒๕๕๖ เข้าทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะในคราวต่อไปนัน<br />

คณะได้<br />

จัดสรรเงินงบประมาณค่าวัสดุศึกษาระดับปริญญาตรี ประจําปี งบประมาณ ๒๕๕๖ เสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงนําเสนอ<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม อนุมัติ<br />

ระเบียบวาระที ๔<br />

เรื องเสนอให้ที ประชุมพิจารณา<br />

๔.๑ พิจารณา (ร่าง) ประกาศคณะเทคโนโลยีการเกษตร เรื อง นโยบายการบริหารงาน<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร ประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอ (ร่าง ) ประกาศ นโยบายการบริหารงานคณะเทคโนโลยีการเกษตร ต่อทีประชุม<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา เพือประกอบการจัดทํานโยบายบริหารงานคณะประจําปี<br />

งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๖<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

๔.๒ พิจารณาการรายงานผลการติดตามการบริหารความเสี ยงประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕<br />

(รอบ ๑๒ เดือน)<br />

ตามทีคณะได้ดําเนินการจัดทําการบริหารความเสี<br />

ยงประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕ ไปแล้วนัน คณะจึง<br />

ขอนําเสนอรายงานผลการติดตามการบริหารความเสี ยงประจําปี งบประมาณ พ.ศ.๒๕๕๕<br />

(รอบ ๑๒ เดือน) ให้ทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

6


๔.๓ พิจารณาการแต่งตังอาจารย์บัณฑิตประจํา และอาจารย์บัณฑิตพิเศษ สาขาวิชาเทคโนโลยี<br />

การผลิตพืช<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอเอกสารประกอบการพิจารณาการแต่งตังอาจารย์บัณฑิตประจําและอาจารย์<br />

บัณฑิตพิเศษ สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ดังนี <br />

๑. รองศาสตราจารย์ ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา (อาจารย์บัณฑิตประจํา)<br />

๒. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ธานี ศรีวงศ์ชัย อาจารย์ประจํามหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์<br />

(อาจารย์บัณฑิตพิเศษ)<br />

จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้บุคคลที มีรายชือต่อไปนี<br />

ทําหน้าที เป็นอาจารย์บัณฑิตประจํา และอาจารย์บัณฑิตพิเศษ<br />

ดังนี <br />

๑. รองศาสตราจารย์ ดร.จํารูญ เล้าสินวัฒนา เป็นอาจารย์บัณฑิตประจํา ทําหน้าที เป็ นผู ้สอน<br />

ผู ้สอบ อาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์<br />

และเป็นที ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ในหลักสูตรดุษฎีบัณฑิตสาขาวิชา<br />

เกษตรศาสตร์ สังกัดสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

๒. ผู ้ช่วยศาสตราจารย์ธานี ศรีวงศ์ชัย เป็นอาจารย์บัณฑิตพิเศษ ทําหน้าทีเป็นผู<br />

้สอบ และเป็นที <br />

ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วมในหลักสูตรเทคโนโลยีชีวภาพทางการเกษตร<br />

๔.๔ พิจารณารายชื อการประชุมวิชาการเพื อเสนอบทความวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอรายชือการประชุมวิชาการสําหรับเสนอบทความวิจัย<br />

เพือการสําเร็จการศึกษา<br />

ระดับบัณฑิตศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร ดังนี <br />

๑. International Symposium of BioPesticides and Ecotoxicological Network<br />

(2 nd IS-BIOPEN)<br />

๒. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์ทางทะเล (ครังที<br />

๓)<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ การประชุมวิชาการสําหรับเสนอบทความวิจัย เพือขอสําเร็จการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา<br />

ของคณะเทคโนโลยีการเกษตร จํานวน ๒ รายการ ดังนี <br />

ที<br />

ชือเรือง<br />

๑. International Symposium of<br />

BioPesticides and<br />

Ecotoxicological Network<br />

(2 nd IS-BIOPEN)<br />

๒. การประชุมวิชาการวิทยาศาสตร์<br />

ทางทะเล (ครังที<br />

๓)<br />

ระดับ<br />

ชาติ<br />

วารสาร การประชุม สําเร็จการศึกษา<br />

นานา<br />

ชาติ<br />

ระดับ<br />

ชาติ<br />

นานา<br />

ชาติ<br />

โท<br />

<br />

<br />

เอก<br />

Short Full<br />

ฐานข้อ<br />

มูล<br />

7<br />

ค่าดัชนี<br />

อ้างอิง


๔.๕ พิจารณาหลักเกณฑ์เบืองต้นในการพิจารณาเปลี ยนอาจารย์ที ปรึกษาระดับบัณฑิตศึกษา<br />

จากข้อคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๔๙.๕.๒ การเปลียนแปลงอาจารย์ที<br />

<br />

ปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก หรืออาจารย์ที ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม ให้นักศึกษายื นคําร้ องต่อหัวหน้าส่วนงาน<br />

วิชาการ และให้เป็ นอํานาจของหัวหน้าส่วนงานวิชาการในการพิจารณาอนุมัติ โดยได้รับความเห็นชอบจาก<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ<br />

เพือให้การดําเนินการระดับบัณฑิตศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร<br />

เป็ นไปด้วยความเรียบร้อย<br />

เหมาะสม จึงขอกําหนดหลักเกณฑ์เบื องต้นในการพิจารณาการเปลียนแปลงอาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลัก<br />

หรืออาจารย์ทีปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม<br />

จึงเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม ให้สาขาวิชาทีมีหลักสูตรบัณฑิตศึกษา<br />

แต่งตังอาจารย์ที ปรึกษากลาง<br />

๔.๖ พิจารณาหลักเกณฑ์เบืองต้ นในการพิจารณาแต่ งตังอาจารย์ที ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ระดับ<br />

บัณฑิตศึกษา<br />

จากข้องบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๑๕.๑ อาจารย์บัณฑิตประจํา ๑ คน<br />

ให้เป็ นทีปรึกษาวิทยานิพนธ์หลักของนักศึกษาปริญญาโท<br />

และเอกได้ไม่เกิน ๕ คน หากหลักสูตรใดมีอาจารย์<br />

บัณฑิตประจําทีมีศักยภาพพร้อมที<br />

จะดูแลนักศึกษาได้มากกว่า ๕ คน ให้อยู ่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการประจํา<br />

ส่วนงานวิชาการคณะ ในการให้ความเห็นชอบแต่ทังนี ต้องไม่เกิน ๑๐ คน<br />

เพือให้การดําเนินการแต่งตังอาจารย์ที<br />

ปรึกษาระดับบัณฑิตศึกษาของคณะเทคโนโลยีการเกษตร เป็ นไป<br />

ด้วยความเรียบร้อย และสอดคล้องตามข้อบังคับว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.๒๕๕๓ ข้อ ๑๕.๑ คณะ<br />

จึงนําเสนอขอกําหนดหลักเกณฑ์เบื องต้นในการพิจารณาอาจารย์บัณฑิตประจําที มีศักยภาพพร้ อมทีจะดูแล<br />

นักศึกษาได้มากกว่า ๕ คน ควรมีคุณสมบัติ ดังนี <br />

๑. มีประวัติทีดีในการผลิตบัณฑิตระดับปริญญาโทหรือเอก<br />

๒. มีโครงการวิจัย และผลงานวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการอย่างต่อเนือง<br />

๓. มีนักศึกษาระดับปริญญาเอก<br />

จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการประจําคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม ให้รองศาสตราจารย์ ดร. จํารูญ เล้าสินวัฒนา จัดทําร่างประกาศคณะให้ชัดเจน และนําเสนอที<br />

ประชุมในครังต่อไป<br />

๔.๗ พิจารณาการขอเทียบโอนหน่วยกิต และเทียบรายวิชา (คณะวิทยาศาสตร์)<br />

ด้วยคณะวิทยาศาสตร์ได้ส่งผลการตรวจสอบการโอนหน่วยกิต และเทียบรายวิชา ซึงผ่านความเห็นชอบ<br />

จากทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะวิทยาศาสตร์<br />

ครังที<br />

๙/๒๕๕๕ เมือวันพุธที<br />

๑๒ กันยายน<br />

๒๕๕๕ จํานวน ๓ ราย ดังนี จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

8


๑. นางสาววิไลวรรณ พิมหงษา รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๒๒๔ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์<br />

๒. นางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์<br />

๓. นางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๔๔๙ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้นักศึกษาระดับปริญญาตรี คณะเทคโนโลยีการเกษตร จํานวน ๓ ราย เทียบโอนหน่วยกิต<br />

และเทียบรายวิชาได้ ดังนี <br />

๑. นางสาววิไลวรรณ พิมหงษา รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๒๒๔ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์ ขอ<br />

เทียบโอนหน่วยกิตและเทียบรายวิชา ๑ รายวิชา จํานวน ๑ หน่วยกิต ดังนี <br />

จากวิชา ๐๕๑๐๑๑๕๒ Practical Organic Chemistry ๑ ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๑๐๖๗๐๔ Practical Organic Chemistry ๑ ๑ หน่วยกิต<br />

๒. นางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์<br />

ขอเทียบโอนหน่วยกิตและเทียบรายวิชา ๒ รายวิชา จํานวน ๔ หน่วยกิต ดังนี <br />

จากวิชา ๐๕๑๐๑๐๑๘ Elementary Chemistry Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๑๐๖๗๐๒ Elementary Chemistry Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

จากวิชา ๐๕๐๑๐๑๕๕ Fundamental Mathematics ๓ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๐๑๖๗๕๐ Fundamental Mathematics ๓ หน่วยกิต<br />

๓. นางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๔๔๙ นักศึกษาหลักสูตรวิทยาศาสตร์<br />

การประมง ขอเทียบโอนหน่วยกิตและเทียบรายวิชา ๒ รายวิชา จํานวน ๒ หน่วยกิต ดังนี <br />

จากวิชา ๐๕๑๐๐๑๙๔ Practices in General Chemistry ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๑๐๖๗๐๒ Elementary Chemistry Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

จากวิชา ๐๕๓๐๐๑๒๒ General Physics Laboratory ๑ ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๕๓๐๖๐๐๒ General Physics Laboratory ๑ หน่วยกิต<br />

๔.๘ พิจารณาการขอเทียบรหัสวิชาและรายวิชา (คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม)<br />

ด้วยคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม ได้ส่งผลการตรวจสอบการเทียบรหัสวิชาและรายวิชา ของนักศึกษา<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร ซึงผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะครุศาสตร์<br />

อุตสาหกรรม เมือวันที<br />

๓๑ สิงหาคม ๒๕๕๕ จํานวน ๑ ราย คือนางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสนักศึกษา ๕๕๐๔๐๔๔๙<br />

หลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง ซึงสาขาวิชาศิลปศาสตร์ประยุกต์ได้พิจารณาแล้ว<br />

จึงนําเสนอที ประชุม<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

9


มติที ประชุม เห็นชอบ ให้นางสาวเกวลี ยิ มเจริญ รหัสนักศึกษา ๕๕๐๔๐๔๔๙ หลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง<br />

เทียบรหัสวิชาและรายวิชาได้ ดังนี <br />

วิชา ๙๐๓๐๓๐๑๓ Family Hygiene (เกรด B + ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

วิชา ๙๐๐๔๐๐๐๕ Thai Society and Culture (เกรด B + ) เทียบได้รหัสเดิม<br />

๔.๙ พิจารณาการขอเทียบรายวิชาและรหัสวิชา (คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม)<br />

ด้วยคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรมได้ส่งผลการขอเทียบรายวิชา และรหัสวิชา ของนางสาวชไมพร ไขโพธิ <br />

รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ ซึงทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม<br />

ครังที ๙/๒๕๕๕ เมือวันอังคารที<br />

๑๑ กันยายน ๒๕๕๕ ได้ให้ความเห็นชอบ ทังนี ได้ผ่านการพิจารณาจาก<br />

สาขาวิชาศิลปศาสตร์ประยุกต์แล้ว จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้นางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสนักศึกษา ๕๕๐๔๐๐๔๕ เทียบรายวิชา และรหัสวิชาได้ ดังนี <br />

จากวิชา ๐๓๐๑๐๐๖๖ English for Communicative Writing (เกรด C)<br />

เป็นวิชา ๙๐๒๐๑๐๑๘ English for Communicative Writing<br />

วิชา ๙๐๓๐๑๐๐๒ Art of Living (เกรด C+) เทียบได้รหัสเดิม<br />

๔.๑๐ พิจารณาการขอเทียบรหัสวิชาและรายวิชา<br />

ด้วยนางสาวชไมพร ไขโพธิ รหัสประจําตัว ๕๕๐๔๐๐๔๕ นักศึกษาหลักสูตรเกษตรศาสตร์ มีความ<br />

ประสงค์ขอโอนหน่วยกิต ซึงผ่านความเห็นชอบจากหลักสูตรเกษตรศาสตร์แล้ว<br />

จึงนําเสนอทีประชุม<br />

คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะพิจารณา<br />

จากวิชา ๐๔๐๓๒๑๑๐ Principles of Animal Husbandry (เกรด C+) ๓ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๓๖๑๖๐ Principles of Animal Husbandry ๓(๓-๐-๖)<br />

จากวิชา ๐๔๐๑๑๑๐๑ Farm Practice (เกรด A) ๑ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๑๖๑๐๐ Farm Practice ๑(๐-๓-๒)<br />

จากวิชา ๐๔๐๒๑๑๐๔ Principles of Crop Production (เกรด C) ๓ หน่วยกิต<br />

เป็นวิชา ๐๔๐๒๖๑๐๑ Principles of Crop Production ๓(๓-๐-๖)<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

๔.๑๑ พิจารณารายงานผลการประเมินความพึงพอใจ<br />

ด้วยคณะขอนําเสนอรายงานผลการประเมินความพึงพอใจต่อการให้ บริการห้ องเรียนและ<br />

ห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ซึงนักศึกษาและอาจารย์มีความพึงพอใจในภาพรวมระดับ<br />

ปานกลาง (๔๕.๗%) และพึงพอใจน้อย (๒๕.๔%) และเมือรวมกันแล้วมีความพึงพอใจน้อยถึงปานกลาง<br />

10


๗๑.๑% ดังรายงานผลการประเมินความพึงพอใจการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการสาขาวิชา<br />

เทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

รายงานผลการประเมินความพึงพอใจ<br />

การใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการ ของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

คณะเทคโนโลยีการเกษตร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง<br />

ความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของสาขาวิชา<br />

เทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร ประเมินจากผู ้ใช้บริการ ๑๘๐ คน โดยเป็นเพศหญิง ๖๔.๙% และ<br />

เป็นเพศชาย ๓๕.๑% ส่วนใหญ่เป็ นนักศึกษาคิดเป็ น ๙๖.๕% และเป็ นอาจารย์ ๓.๕% ซึงประกอบด้วยหลักสูตร<br />

เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืชสูงที สุด คิดเป็น ๕๒.๙% รองลงมาคือหลักสูตรพืชสวน พืชไร่ และปฐพีวิทยา คิดเป็ น<br />

๒๘.๗, ๑๒.๖ และ ๕.๗% ตามลําดับ (ตารางที<br />

๑)<br />

ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาและอาจารย์ ในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของสาขาวิชา<br />

เทคโนโลยีการผลิตพืช คณะเทคโนโลยีการเกษตร ในด้านต่างๆ พบว่านักศึกษาและอาจารย์ในสาขาวิชาเทคโนโลยี<br />

การผลิตพืชมีความพึงพอใจในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการอยู ่ในระดับปานกลางคือเฉลีย<br />

๓.๐๘ โดย<br />

มีความพึงพอใจในห้องเรียนมากทีสุดเฉลีย<br />

๓.๒๘ รองลงมาคือ ทัศนียภาพและสิงแวดล้อมภายในและนอก<br />

อาคาร และห้องปฏิบัติการ โดยมีค่าความพึงพอใจเท่ากับ ๓.๒๒ และ ๓.๐๕ ตามลําดับ ส่วนการใช้บริการ<br />

ทางด้านอุปกรณ์และเครื องมือวิทยาศาสตร์ นักศึกษาและอาจารย์มีความพึงพอใจน้อยที สุด เท่ากับ ๒.๘๐<br />

(ตารางที<br />

๒)<br />

โดยนักศึกษาและอาจารย์ส่วนใหญ่ได้เสนอแนะให้ทางสาขาวิชาปรับปรุงแก้ ไขไว้หลายประเด็น<br />

อย่างเช่น ห้องเรียนและห้องปฏิบัติการทรุดโทรม ไม่เพียงพอต่อจํานวนนักศึกษา และไม่สะอาด นักศึกษาและ<br />

อาจารย์ ๗๐ คน ได้แจ้งให้ทราบว่ามีเครืองมือและอุปกรณ์วิทยาศาสตร์ไม่เพียงต่อจํานวนนักศึกษา<br />

ทีมีอยู<br />

่ยัง<br />

เก่าและไม่ทันสมัย ขณะทีในด้านทัศนียภาพและสภาพแวดล้อมทังภายในและภายนอกอาคาร<br />

นักศึกษาและ<br />

อาจารย์ได้ให้ข้อเสนอแนะอยู ่หลายประเด็นทีควรปรับปรุงได้แก่<br />

ขาดแหล่งความรู ้ในการศึกษาเพิมเติม<br />

ควรมีม้า<br />

นังมากกว่านี<br />

ไม่สะอาด<br />

ทรุดโทรมและรกร้าง ไม่มีไฟทางเดิน รวมถึงแสงสว่างไม่เพียงพอ สีของตึกลอกหลุด นํ า<br />

ในสระเน่าเสีย เหม็น ควรได้รับการแก้ไข และควรมีการขยายและปรับปรุงทัศนียภาพให้ดีขึ น เป็นต้น<br />

(ตารางที<br />

๓)<br />

ตารางที<br />

๑. ร้อยละของเพศ สถานะ และหลักสูตรของผู ้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการห้องเรียน<br />

และห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (n=๑๘๐)<br />

11


เพศ ร้อยละ สถานะ ร้อยละ หลักสูตร ร้อยละ<br />

ชาย ๓๕.๑ อาจารย์ ๓.๕ พืชสวน ๒๘.๗%<br />

หญิง ๖๔.๙ นักศึกษา ๙๖.๕ พืชไร่ ๑๒.๖%<br />

รวม ๑๐๐.๐ รวม ๑๐๐.๐ เทคโนโลยีการจัดการศัตรูพืช ๕๒.๙%<br />

ปฐพีวิทยา ๕.๗%<br />

รวม ๑๐๐.๐<br />

ตารางที ๒. ร้อยละของจํานวนผู ้ตอบแบบสอบถามความพึงพอใจในการใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของ<br />

สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช (n=๑๘๐)<br />

% ของจํานวนผู ้ตอบ ระดับความ<br />

รายการ<br />

ระดับความพึงพอใจ พึงพอใจเฉลีย<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ (๕)<br />

๑. ห้องเรียน ๒.๒ ๑๓.๙ ๔๔.๔ ๓๒.๒ ๗.๒ ๓.๒๘<br />

๒. ห้องปฏิบัติการ ๕.๐ ๑๘.๙ ๔๘.๓ ๒๒.๒ ๕.๖ ๓.๐๕<br />

๓. อุปกรณ์และเครืองมือวิทยาศาสตร์<br />

๘.๙ ๒๖.๑ ๔๕.๖ ๑๕.๐ ๔.๔ ๒.๘๐<br />

๔. ทัศนียภาพและสิงแวดล้อม<br />

ภายในและนอกอาคาร ๕.๖ ๑๑.๗ ๔๔.๔ ๓๒.๒ ๖.๑ ๓.๒๒<br />

ค่าเฉลีย<br />

๕.๔ ๑๗.๗ ๔๕.๗ ๒๕.๔ ๕.๘ ๓.๐๘<br />

๕ = มากทีสุด,<br />

๔ = มาก, ๓ = ปานกลาง, ๒ = น้อย, ๑ = น้อยทีสุด,<br />

(n=๑๘๐)<br />

ตารางที<br />

๓. ข้อเสนอแนะของใช้บริการห้องเรียนและห้องปฏิบัติการของสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช<br />

(n=๑๘๐)<br />

รายการ ข้อเสนอแนะ ความถี<br />

(คน)<br />

๑.ห้องเรียน<br />

๒. ห้องปฏิบัติการ<br />

๑.๑ ทรุดโทรม ควรมีการปรับปรุง ๒๒<br />

๑.๒ จํานวนน้อย ไม่เพียงพอ ๑๕<br />

๑.๓ ไม่สะอาด ๑๑<br />

๒.๑ ทรุดโทรม ควรมีการปรับปรุง ๓๐<br />

๒.๒ จํานวนน้อย ไม่เพียงพอ ๓๖<br />

๒.๓ ไม่สะอาด ๑๐<br />

๒.๔ อยากให้ติดตังเครืองปรับอากาศ<br />

๔<br />

๒.๕ ไม่เป็นระเบียบ<br />

๓. อุปกรณ์และเครืองมือวิทยาศาสตร์<br />

๓<br />

๓.๑ จํานวนน้อย ไม่เพียงพอ ๗๐<br />

๓.๒ เก่า ชํารุด และไม่ทันสมัย ๔๒<br />

12


๔. ทัศนียภาพและสิงแวดล้อม<br />

ทังภายในและภายนอกอาคาร<br />

๔.๑ ขาดแหล่งความรู ้ในการศึกษาเพิมเติม<br />

๓<br />

๔.๒ ควรมีม้านัง<br />

ต้นไม้ เพิม<br />

๑๔<br />

๔.๓ ไม่สะอาด ๑๙<br />

๔.๔ ทรุดโทรมและรกร้าง ๑๑<br />

๔.๕ ไม่มีไฟทางเดิน รวมถึงแสงสว่างไม่เพียงพอ ๕<br />

๔.๖ สีตึกลอกหลุด ๔<br />

๔.๗ ควรมีการขยายและปรับปรุงทัศนียภาพให้ดีขึ น ๒๒<br />

๔.๘ นํ าในสระเน่าเสีย เหม็น ควรได้รับการแก้ไข ๒<br />

ทังนี ประธานสาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืชได้รายงานผลการประชุมสาขาวิชาโดยสรุป ดังนี <br />

๑. การประชุมการจัดสรรงบประมาณในสาขาวิชาเอก ครังที ๑/๒๕๕๕ เมือวันที<br />

๒๔ กรกฎาคม<br />

๒๕๕๕ ทีประชุมมีมติ<br />

ให้จัดสรรงบประมาณในสาขาวิชาเอกเป็นแบบเดิม คือ<br />

ค่าวัสดุเงินรายได้ ๑,๖๗๖,๔๑๕.๐๐ บาท<br />

ค่าวัสดุเงินงบประมาณ ๑,๑๔๔,๔๕๑.๐๐ บาท<br />

รวมเป็นเงินค่าวัสดุ ๒,๘๒๐,๘๖๖.๐๐ บาท<br />

ซึงสาขาจะเร่งดําเนินการปรับแผนรายจ่ายเงินรายได้<br />

โดยจะลดเงินสนับสนุนรายวิชาลง และจะประชุม<br />

กรรมการหลักสูตร (ปริญญาตรี) เพือควบคุมงบประมาณเร็วๆ<br />

นี <br />

๒. การประชุมชี แจงหลักการทํางาน เมือวันที<br />

๒๖ กันยายน ๒๕๕๕ โดยมีผู ้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.<br />

ศรายุทธ ผลโพธิ ผู ้ควบคุมงาน และคนงานเข้าร่วมประชุม ซึงมีสาระสําคัญโดยสรุป<br />

ดังนี <br />

๒.๑ การชี แจงหลักการทํางาน<br />

๒.๒ ให้ผู ้ควบคุมงานจัดทําตารางรายงานผลการทํางานประจําสัปดาห์<br />

๒.๓ ให้สาขาวิชาจัดทําตารางรายงานของอาจารย์<br />

๒.๔ ให้สาขาวิชาทําเรืองปรับเปลียนลูกจ้างรายวัน<br />

ลูกจ้างรายเดือน เป็นพนักงานสถาบัน (ต้องรอ<br />

กรอบสถาบัน)<br />

๓. การประชุมสรุปผลการฝึกงานของสาขาวิชา เมือวันที<br />

๑ ตุลาคม ๒๕๕๕ ซึงทีประชุมคณะกรรมการ<br />

ฝึกงานมีมติให้ฝึกงาน ดังนี <br />

๓.๑ ให้ฝึกงานภายในเวลา ๑๐๐ ชัวโมงแรก<br />

๓.๒ ให้ฝึกงานทีคณะในเดือนตุลาคม<br />

๒๕๕๕ เป็นเวลา ๗ วัน<br />

๓.๓ ให้ฝึกงานทีวิทยาเขตชุมพรในภาคฤดูร้อน<br />

๒๕๕๕ เป็นเวลา ๗ วัน<br />

โดยขอให้เตรียมความพร้อมทีศูนย์วิจัยและถ่ายทอดวิทยาศาสตร์<br />

และเทคโนโลยีสถาบันเทคโนโลยีพระ<br />

จอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง อําเภอด่านช้าง จังหวัดสุพรรณบุรี ในครังหน้าด้วย<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ให้ดําเนินการ ดังนี <br />

13


๑. ให้สาขาวิชาเทคโนโลยีการผลิตพืช ดําเนินการตาม<strong>มติทีประชุม</strong>สาขาวิชา<br />

๒. ให้นําผลการประเมินไปเป็นปัจจัยหนึ งในการพิจารณาจัดสรรเงินรายได้ประจําปีถัดไป<br />

๓. ให้สาขาวิชาอืนพิจารณาเป็นแนวทางในการปฏิบัติตามความเหมาะสม<br />

ระเบียบวาระที ๕<br />

เรื องอื นๆ<br />

๕.๑ พิจารณารายชื อวิชาที กําหนดจํานวนรับนักศึกษา ในภาคการศึกษาที ๒/๒๕๕๕<br />

ด้วยหลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง และหลักสูตรพัฒนาการเกษตร ได้นําเสนอรายชื อวิชาที<br />

กําหนดจํานวนรับนักศึกษาในภาคการศึกษาที<br />

๒/๒๕๕๕ ดังนี <br />

หลักสูตรวิทยาศาสตร์การประมง<br />

๑. วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๖ FISHING GEAR รับ ๒๐ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๓<br />

๒. วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๖ FISHING GEAR รับ ๒๐ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๔<br />

๓. วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๕ SELECTED TOPICS IN AQUACULTURE รับ ๑๕ คน<br />

นักศึกษาชันปี ที<br />

๔<br />

- เหตุผลการกําหนดจํานวนนักศึกษาในวิชา Fishing gear และ Selected topics in<br />

aquaculture เนืองจากการเรียนการสอนในวิชาดังกล่าวจะมีการฝึ<br />

กลงมือปฏิบัติ และบางครังจะต้องใช้<br />

ห้องปฏิบัติการและเครืองมือของทางห้องปฏิบัติการญีปุ<br />

่ น (JIRCAS) ซึงสามารถรองรับนักศึกษาได้ในจํานวน<br />

สูงสุดที<br />

๑๕-๒๐ คน เท่านัน<br />

๔. วิชา ๐๔๐๘๖๔๐๘ CRUSTACEAN CULTURE รับ ๒๐ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๔<br />

- เหตุผลการกําหนดจํานวนนักศึกษา เนืองจากมีความพร้อมในการเรียนบทปฏิบัติการทีรับ<br />

นักศึกษาได้ ๒๐ คน เท่านัน<br />

๕. วิชา ๐๔๐๘๖๓๑๔ SCUBA DIVING FOR RESEARCH AND CONSERVATION<br />

รับ ๑๐ คน (ตามรายชือทีกําหนดเท่านัน)<br />

นักศึกษาชันปี ที<br />

๓<br />

- เหตุผลในการกําหนดจํานวนรับนักศึกษา (ตามเอกสารแนบท้าย)<br />

หลักสูตรพัฒนาการเกษตร<br />

๑. วิชา๐๔๐๙๖๐๒๒ HUMAN ECOLOGY รับ ๒๐ คน สําหรับนักศึกษาทีตกค้างชันปี<br />

ที<br />

๓<br />

- เหตุผลในการกําหนดจํานวนนักศึกษา เนืองจากวิชานี<br />

มีนักศึกษาตกค้างอยู ่จํานวนหนึงที<br />

ยังไม่ได้ลงทะเบียน และไม่สามารถลงทะเบียนวิชานี ได้ในเทอม ๑ จํานวน ๑๔ คน<br />

๒. วิชา ๐๔๐๙๖๐๒๑ ECOTOURISM รับ ๒๕ คน นักศึกษาชันปี ที<br />

๓ (เหตุผลในการกําหนด<br />

จํานวนรับนักศึกษา ตามเอกสารแนบท้าย)<br />

14


มติที ประชุม ๑. ให้กําหนดจํานวนนักศึกษาในวิชาดังต่อไปนี เนืองจากเห็นด้วยกับเหตุผลที<br />

แจ้งมา<br />

๑.๑ วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๖ FISHING GEAR<br />

๑.๒ วิชา ๐๔๐๘๖๔๑๕ SELECTED TOPICS IN AQUACULTURE<br />

๑.๓ วิชา ๐๔๐๘๖๓๑๔ SCUBA DIVING FOR RESEARCH AND CONSERVATION<br />

๑.๔ วิชา ๐๔๐๙๖๐๒๑ ECOTOURISM<br />

๒. ไม่อนุมัติให้กําหนดจํานวนนักศึกษาในวิชาดังต่อไปนี <br />

๒.๑ วิชา ๐๔๐๘๖๔๐๘ CRUSTACEAN CULTURE<br />

๒.๒ วิชา ๐๔๐๙๖๐๒๑ HUMAN ECOLOGY<br />

ถ้าไม่สามารถรองรับจํานวนนักศึกษาได้ก็ไม่ให้จัดการเรียนการสอน<br />

๕.๒ พิจารณาการเชิญอาจารย์สอนพิเศษ สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร และการจัดการทรัพยากร<br />

ตาม<strong>มติทีประชุม</strong>คณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

ครังที<br />

๗/๒๕๕๕ เมือวันพฤหัสบดีที<br />

๓๐<br />

สิงหาคม ๒๕๕๕ วาระที<br />

๔.๑๗ เรือง<br />

การเชิญอาจารย์สอนพิเศษ สาขาวิชาพัฒนาการเกษตร และการจัดการ<br />

ทรัพยากร มีมติให้ ตรวจสอบรายละเอียดวิชา ๐๔๐๙๐๐๙๗ ก่อสร้างในฟาร์ม และวิชา ๐๔๐๙๐๐๗๗ เขียน<br />

แบบเครืองจักรกล<br />

ว่าเป็นวิชาเลือก หรือวิชาบังคับ และมีนักศึกษาลงทะเบียนเรียนจํานวนกีคน<br />

ประธานสาขาวิชาฯ ได้ตรวจสอบรายละเอียด ทัง ๒ วิชา แล้ว ดังนี <br />

วิชา ๐๔๐๙๐๐๙๗ เป็นวิชาบังคับเลือก มีนักศึกษาลงทะเบียน ๑๒ คน<br />

วิชา ๐๔๐๙๐๐๗๗ เป็นวิชาบังคับเลือก มีนักศึกษาลงทะเบียน ๘ คน<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ<br />

๕.๓ พิจารณาแบบประเมินผลโครงการนํานักศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีการเกษตรประจํา<br />

ปี การศึกษา ๒๕๕๕<br />

ด้วยคณะได้ดําเนินการนํานักศึกษาชันปี ๑ เดินทางไปศึกษาดูงานในหน่วยงานต่างๆ ได้แก่ บริษัท เบทาโกร<br />

จํากัด บริษัทอาหารสยาม จํากัด และบริษัท CPF จํากัด ในการนี ผู ้ช่วยศาสตราจารย์<br />

พีรชัย กุลชัย ได้จัดทําแบบประเมินผลโครงการนํานักศึกษาดูงานด้านเทคโนโลยีการเกษตร ประจําปี การศึกษา<br />

๒๕๕๕ เป็นที เรียบร้อยแล้ว<br />

มติที ประชุม ให้ผู ้ช่วยศาสตราจารย์พีรชัย กุลชัย และสาขาวิชานําผลสรุปการประเมินและข้อเสนอแนะกลับไป<br />

ปรับปรุงแก้ไข เพือพิจารณาการดําเนินการทีเหมาะสม<br />

และให้นําเข้าที ประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการ<br />

คณะในคราวต่อไป<br />

๕.๔ พิจารณาการรับนักศึกษาโควตาผู<br />

้มีความสามารถดีเด่นทางการกีฬาเข้าศึกษาระดับปริญญาตรี<br />

ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖<br />

15


ด้วยสํานักทะเบียนและประมวลผล จะดําเนินการรับสมัครนักศึกษาโควตาผู ้มีความสามารถดีเด่นทางการ<br />

กีฬา เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖ ในการนี สํานักทะเบียนและประมวลผลได้แนบ ร่าง<br />

ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง เรืองการรับผู<br />

้มีความสามารถดีเด่นทางการกีฬา<br />

เข้าศึกษาระดับปริญญาตรี หลักสูตร ๔ – ๕ ปี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖ มาเพือให้คณะ<br />

วิทยาลัย พิจารณาข้อมูล<br />

หากมีข้อความใดแก้ไข เพิมเติม<br />

ขอให้แก้ไขให้ชัดเจน ดังนี <br />

๑. สาขาวิชาทีเปิ<br />

ดรับ<br />

๒. จํานวนรับ (ควรระบุจํานวนรับ)<br />

๓. เงือนในการรับ<br />

๔. คุณสมบัติทัวไป<br />

สําหรับคุณสมบัติทางด้านกีฬา และชนิดของกีฬา ให้เป็นไปตามประกาศสถาบัน เรือง<br />

หลักเกณฑ์วิธีการรับ<br />

นักศึกษาตามทีแจ้งมาใน<br />

ร่างประกาศสถาบันเรือง<br />

การรับผู ้มีความสามารถดีเด่นทางด้านกีฬา เข้าศึกษาระดับ<br />

ปริญญาตรี หลักสูตร ๔-๕ ปี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖ ทังนี ผู ้สมัครจะต้องผ่านการทดสอบภาคปฏิบัติด้านกีฬา<br />

โดยส่วนกิจการนักศึกษาเป็นผู ้ทดสอบ จึงนําเสนอทีประชุมคณะกรรมการประจําส่วนงานวิชาการคณะ<br />

มติที ประชุม เห็นชอบ ร่างประกาศสถาบันเรือง<br />

การรับผู ้มีความสามารถดีเด่นทางด้านกีฬา เข้าศึกษาระดับ<br />

ปริญญาตรี หลักสูตร ๔-๕ ปี ประจําปี การศึกษา ๒๕๕๖<br />

เลิกประชุมเวลา ๑๖.๕๐ น.<br />

(นางละเมียด สัมฤทธิสุทธิ )<br />

ผู ้จดบันทึกรายงานการประชุม<br />

16

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!