30.06.2013 Views

โดยวิธีการออกแบบการทดลอง - AS Nida

โดยวิธีการออกแบบการทดลอง - AS Nida

โดยวิธีการออกแบบการทดลอง - AS Nida

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

236<br />

Applied Statistics<br />

ขั้นตอนของวิธีการสตีพเพสเดสเซนท<br />

1. การกําหนดพารามิเตอรที่สําคัญของวิธีการสตีพเพสเดสเซนท<br />

- พื้นที่ผิวของผิวตอบสนอง<br />

(Response Surface)หรือระยะหางของจุดรอบจุด<br />

กึ่งกลางจากจุดกึ่งกลางของแฟคทอเรียล<br />

เพื่อจะหาจุดพิกัดของแตละระดับปจจัยของ<br />

วิธีการแฟคทอเรียล ซึ่งมีจํานวนเทากับ<br />

2 k ่<br />

่<br />

่<br />

-<br />

โดยที k คือจํานวนปจจัยในสมการ<br />

ขนาดในการเคลื่อนที<br />

(Step) ไปตามเสนทางสตีพเพสเดสเซนทจากจุดกึ่งกลางใหม<br />

โดยขนาดในการเคลื่อนที<br />

(Step) คือสัดสวนจากสัมประสิทธิ์ของสมการเชิงถดถอย<br />

เชิงเสน (β) ในสมการ ซึ่งวิธีการ<br />

2 k แฟคทอเรียล จะถูกนํามาใชในการหา<br />

สัมประสิทธิ์ดังกลาว<br />

2. กําหนดจุดเริ่มตนหรือคาที่ดีที่สุดในปจจุบัน<br />

ซึ่งใชเปนจุดกึ่งกลางสําหรับวิธีแฟคทอเรียล<br />

3. ทําการหาคาผลตอบสนอง (y) ในแตละพิกัดของแฟคทอเรียลรอบจุดกึ่งกลาง<br />

และจุด<br />

โดยรอบ จากสมการจุดมุงหมายที่ไดกําหนดไวขางตน<br />

4. พื้นผิว<br />

(Hyper - Plane) จะถูกสรางขึ้นจากผลของ<br />

2 k แฟคทอเรียลรอบจุดกึ่งกลาง<br />

ซึ่งเปน<br />

ผลลัพธที่เหมาะสมที่สุดในปจจุบัน<br />

ผานวิธีการกําลังสองนอยที่สุด<br />

(Least Squares) โดย<br />

พื้นผิวจะถูกกําหนดโดยรูปแบบระนาบ<br />

หรือสมการกําลังนึ่ง<br />

(First order Model)<br />

5. กรณีสมการที่หาไดในขางตนไมมีความเหมาะสม<br />

เนื่องจากมีสิ่งรบกวนระบบ<br />

ใหทําการ<br />

ทดลองใหม โดยสุมคาที่รบกวนใหม<br />

จากนั้นทําการสรางสมการกําลังหนึ่งและพิจารณาคา<br />

สัมประสิทธิ์ของสมการถดถอย<br />

6. กรณีกําลังหนึ่งที่สรางขึ้นมีความเหมาะสม<br />

ใหทําการเคลื่อนจุดกึ่งกลาง(<br />

1 , , ่<br />

X K X k )ไปยัง<br />

T T T<br />

จุดกึ่งกลางใหม<br />

( x1 , x2,..., x k ) ตามเสนทางของสตีพเพสเดสเซนท โดยมีขนาดในการ<br />

เคลื่อนที<br />

(Step Length) เปนระยะที่กําหนดขึ้นดวยพารามิเตอร<br />

T T T<br />

ซึ่งจุดกึ่งกลางใหม<br />

( x1 , x2,..., x k ) จะหาไดจาก<br />

⎡ ⎡ ˆ<br />

T β<br />

⎤⎤<br />

i<br />

xi = ⎢xi −a⎢<br />

⎥⎥<br />

⎢ ⎢ ˆ2 ˆ2<br />

β1... β ⎥⎥<br />

⎣ ⎣ + + k ⎦⎦<br />

7. ทําการหาผลตอบสนองจากวิธีการแฟคทอเรียลรอบจุดกึ่งกลางไมซ้ําเหมือนขอ<br />

5<br />

8. ทําการหยุดเมื่อผลตอบสนองของจุดกึ่งกลางใหมที่ไดมีคาลดลงจากจุดกึ่งกลางเดิม<br />

3. ผลการทดลอง<br />

ผลของการทดลองประกอบดวย 3 สวนดวยกัน คือ สวนแรกการวิเคราะหโดยใช OVAT<br />

(One Variable at a Time) OVAT ซึ่งเปนการทดสอบปจจัยเพียงหนึ่งปจจัย<br />

และมีระดับ (Level)<br />

ของปจจัย a ระดับ เพื่อทําการเปรียบเทียบความแตกตางของปจจัยที่กําลังสนใจ<br />

โดยกําหนดใหปจจัย<br />

อื่นๆ<br />

คงที่<br />

สวนที่สองคือ<br />

การวิเคราะหโดยใชการออกแบบการทดลองทางสถิติโดยวิธีการออกแบบ

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!