29.05.2013 Views

Thailand-go-green-Solar-Energy-Combinding

Thailand-go-green-Solar-Energy-Combinding

Thailand-go-green-Solar-Energy-Combinding

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

“Greenergy Excellence”<br />

โรงผลิตไฟฟ้า<br />

พลังงานแสงอาทิตย์<br />

1


“Greenergy Excellence”<br />

ภาพรวมการใช้ไฟฟ้า และการ<br />

สนับสนุนพลังงานทดแทน<br />

ประเภท ของโรงผลิตไฟฟ้าจาก<br />

แสงอาทิตย์<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์<br />

และการท างาน<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจากความร้อน<br />

แสงอาทิตย์ และการท างาน<br />

ศักยภาพการผลิตไฟฟ้าจาก<br />

แสงอาทิตย์ในประเทศไทย<br />

โรงผลิตไฟฟ้าแสงอาทิตย์ บางจาก<br />

2


“Greenergy Excellence”<br />

สถานการณ์การใช้ไฟฟ้าของประเทศไทย<br />

ปัจจุบัน ประเทศไทย ใช้พลังงานไฟฟ้า ประมาณ 140,000 ล้านหน่วย ต่อปี ซึ่งส่วนใหญ่<br />

ผลิตไฟฟ้าภายในประเทศ โดยใช้ ก๊าซธรรมชาติเป็นเชื้อเพลิงในการผลิตไฟฟ้าหลัก<br />

โดยมี<br />

สัดส่วนประมาณ 70% ของการใช้ไฟฟ้าภายในประเทศ ซึ่งก๊าซธรรมชาติ<br />

ถือได้ว่าเป็น<br />

เชื้อเพลิงที่ใช้แล้วหมดไป<br />

และต้องน าเข้าจากต่างประเทศอีกด้วย<br />

3


“Greenergy Excellence”<br />

แผนอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน<br />

4


“Greenergy Excellence”<br />

แผนอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน<br />

ดังนั้น<br />

กระทรวงพลังงาน จึงได้วางแผนเพื่อให้มีการใช้พลังงานจากพลังงานหมุนเวียน<br />

มากขึ้น<br />

เพื่อลดการพึ่งพาพลังงานจากฟอสซิล<br />

ซึ่งต้องพึ่งพาการน<br />

าเข้าจากต่างประเทศ เป็น<br />

เชื้อเพลิงที่ใช้แล้วหมดไป<br />

อีกทั้งที่มาของปัญหาภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน<br />

5


“Greenergy Excellence”<br />

แผนอนุรักษ์พลังงาน กระทรวงพลังงาน<br />

โดยในแผนพลังงานทดแทน หนึ่งในพลังงานทดแทนที่มีศักยภาพของประเทศ<br />

ไทย คือ พลังงานแสงอาทิตย์ เพื่อมาทดแทนการผลิตไฟฟ้าจากการผลิตไฟฟ้าแบบ<br />

ดั้งเดิมของประเทศ<br />

6


การสนับสนุนจากภาครัฐในการผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

รัฐบาลให้การสนับสนุนการใช้<br />

แสงอาทิตย์ในการผลิตไฟฟ้า ดังนี้<br />

ให้ส่วนเพิ่มราคารับซื้อไฟฟ้าที่<br />

ผลิตจากพลังงานแสงอาทิตย์ จาก<br />

ราคาค่าไฟฟ้า (ADDER) เท่ากับ 8<br />

บ า ท ต่ อ กิ โ ล วั ต ต์ ชั่<br />

ว โ ม ง เ ป็ น<br />

ระยะเวลา 10 ปี<br />

ได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้เป็น<br />

ระยะเวลา 8 ปี พร้อมทั้งได้รับการ<br />

ยกเว้นภาษีการน าเข้าเครื่องจักร<br />

จาก คณะกรรมการส่งเสริมการ<br />

ลงทุน (BOI, <strong>Thailand</strong> Board of<br />

Investment)<br />

7


ขนาดของโรงผลิตไฟฟ้ามีหน่วยเป็น “เมกกะวัตต์”<br />

40 วัตต์<br />

200 วัตต์<br />

1,000 วัตต์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

1 เมกกะวัตต์ (MW) เท่ากับ หลอดไฟฟ้า 25,000 หลอด<br />

( 1 เมกกะวัตต์ เท่ากับ 1 ล้านวัตต์)<br />

1 หน่วยไฟฟ้า เท่ากับ 1 กิโลวัตต์ชั่วโมง<br />

1 กิโลวัตต์ชั่วโมง<br />

คือ การน าขนาดของอุปกรณ์ไฟฟ้า<br />

(วัตต์) คูณ กับชั่วโมงการท<br />

างานของอุปกรณ์นั้นๆ<br />

(1 กิโลวัตต์ เท่ากับ 1,000 วัตต์)<br />

8


ปัจจุบันได้มีการพัฒนาเทคโนโลยีเพื่อผลิตไฟฟ้าจาก<br />

พลังงานแสงอาทิตย์ทั้งการใช้กระบวนการความร้อน<br />

(Thermal Process) โดยการใช้อุปกรณ์รวมแสง<br />

และการใช้เซลล์แสงอาทิตย์ (<strong>Solar</strong> Cell)<br />

“Greenergy Excellence”<br />

9


โรงไฟฟ้า<br />

แสงอาทิตย์<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจาก<br />

เซลล์แสงอาทิตย์<br />

โรงไฟฟ้าความ<br />

ร้อนแสงอาทิตย์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

ประเภทของโรงผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า<br />

จากสารกึ่งตัวน<br />

า<br />

ประเภทซิลิคอน<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า<br />

จากสารประกอบที่<br />

ไม่ใช่ซิลิคอน<br />

<strong>Solar</strong> Tower<br />

Combined Cycle<br />

Crystalline<br />

Amorphous<br />

(Thin Film)<br />

Parabolic<br />

Trough<br />

Parabolic<br />

าหรือน้ Dish<br />

Mono<br />

crystalline<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจากพลังงานแสงอาทิตย์สามารถแบ่ง<br />

ประเภทได้เป็น 2 ประเภทหลักๆ คือ<br />

Poly<br />

crystalline<br />

• โรงผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ประเภทนี้การ<br />

ผลิตไฟฟ้า ใช้เซลล์แสงอาทิตย์เป็นอุปกรณ์หลักใน<br />

การผลิตไฟฟ้า<br />

• โรงผลิตไฟฟ้าความร้อนแสงอาทิตย์ ประเภทนี้การ<br />

ผลิตไฟฟ้า Parabolicใช้การรวบรวมความร้อนจากแสงอาทิตย์<br />

มาบนตัวกลาง เช่น น้<br />

ามัน แล้วน าน้าหรือ<br />

น้ามันที่ร้อน<br />

ไปหมุนกังหันของเครื่องก<br />

าเนิดไฟฟ้า ใน<br />

การผลิตไฟฟ้า<br />

10


โรงไฟฟ้า<br />

แสงอาทิตย์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

ประเภทของโรงผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจาก<br />

เซลล์แสงอาทิตย์<br />

โรงไฟฟ้าความ<br />

ร้อนแสงอาทิตย์<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า<br />

จากสารกึ่งตัวน<br />

า<br />

ประเภทซิลิคอน<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า<br />

จากสารประกอบที่<br />

ไม่ใช่ซิลิคอน<br />

Parabolic<br />

<strong>Solar</strong> Tower<br />

Combined Cycle<br />

Crystalline<br />

Amorphous<br />

(Thin Film)<br />

Parabolic<br />

Trough<br />

Parabolic<br />

Dish<br />

Mono<br />

crystalline<br />

Poly<br />

crystalline<br />

11


1. เซลล์แสงอาทิตย์ (<strong>Solar</strong> Cell) เป็นสิ่งประดิษฐ์ทางอิเล็กทรอนิกส์<br />

ที่สร้างจากสารกึ่งตัวน<br />

า (Semiconductor) เมื่อได้รับแสงจากดวง<br />

อาทิตย์หรือแสงจากหลอดไฟเซลล์แสงอาทิตย์จะเปลี่ยนพลังงานแสง<br />

เป็นพลังงานไฟฟ้ากระแสตรง (Direct Current : DC) ตัวอย่างเช่น<br />

เครื่องคิดเลข<br />

นาฬิกา สัญญาณจราจร สถานีถ่ายทอดวิทยุ ประภาคาร<br />

โคมไฟถนน เรือมอเตอร์ เครื่องบิน<br />

ระบบสูบน้าเพื่อการชลประทาน<br />

และดาวเทียม เป็นต้น<br />

“Greenergy Excellence”<br />

12


ในการใช้งานระบบไฟฟ้าแสงอาทิตย์มี 2 รูปแบบ คือ<br />

ระบบผลิตไฟฟ้าเพื่อใช้เอง<br />

(Stand-Alone) คือ จะมีการเก็บไฟฟ้า<br />

กระแสตรงที่ผลิตได้จากแสงอาทิตย์ในเวลากลางวัน<br />

เพื่อไปใช้ในเวลากลางคืน<br />

โดยการน าไปเพิ่มประจุของชุดแบตเตอรี่<br />

หลังจากนั้นจึงจะน<br />

าไฟฟ้าไปใช้งาน<br />

ตามความต้องการ โดยอาจน าไฟฟ้าที่เก็บไว้ไปใช้ในลักษณะกระแสตรง<br />

เหมือนเดิม หรืออาจจะแปลงให้เป็นไฟฟ้าสลับ (AC) โดยติดอุปกรณ์เพิ่มก่อน<br />

น าไปใช้งานก็ได้ ระบบนี้จะพบมากในบริเวณ<br />

ตะรุเตา ภูกระดึง และห้วยขาแข้ง<br />

หรือในพื้นที่ที่ระบบสายส่งไฟฟ้าหลักไปไม่ถึง<br />

ระบบผลิตไฟฟ้าเพื่อจ<br />

าหน่าย (Utility Grid) โดยจะน าไฟฟ้ากระแส<br />

ตรงที่ผลิตได้จากเซลล์แสงอาทิตย์มาแปลงให้เป็นกระแสสลับ<br />

และจ าหน่ายเข้าสู่<br />

ระบบสายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้าทันที ซึ่งระบบนี้จะไม่มีการเก็บไฟฟ้าในแบตเตอรี่<br />

แต่อย่างใด<br />

“Greenergy Excellence”<br />

13


เซลล์แสงอาทิตย์ที่ใช้งานในประเทศไทย<br />

ส่วนใหญ่<br />

เป็นการน าเข้าจากต่างประเทศ ซึ่งอาจเป็นการน<br />

าเข้า<br />

เฉพาะแผ่นเซลล์แสงอาทิตย์แล้วน ามาประกอบเป็นแผง<br />

และเซลล์แสงอาทิตย์ส าเร็จรูป<br />

“Greenergy Excellence”<br />

14


โรงไฟฟ้า<br />

แสงอาทิตย์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

ประเภทของโรงผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจาก<br />

เซลล์แสงอาทิตย์<br />

โรงไฟฟ้าความ<br />

ร้อนแสงอาทิตย์<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า<br />

จากสารกึ่งตัวน<br />

า<br />

ประเภทซิลิคอน<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า<br />

จากสารประกอบที่<br />

ไม่ใช่ซิลิคอน<br />

Parabolic<br />

<strong>Solar</strong> Tower<br />

• Combined เซลล์แสงอาทิตย์ที Cycle<br />

Crystalline<br />

Amorphous<br />

(Thin Film)<br />

Parabolic<br />

Trough<br />

Parabolic<br />

Dish<br />

Mono<br />

crystalline<br />

Poly<br />

crystalline<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์สามารถแบ่งประเภทได้<br />

เป็น 2 ประเภทหลักๆ ตามชนิดของสารหลักที่ใช้ในเซลล์<br />

แสงอาทิตย์ ในการผลิตไฟฟ้าคือ<br />

• เซลล์แสงอาทิตย์ที่ท<br />

าจากสารกึ่งตัวน<br />

าประเภทซิลิคอน<br />

่ท าจากสารประกอบที่ไม่ใช่ซิลิคอน<br />

15


เซลล์แสงอาทิตย์ที่ท<br />

าจากสารกึ่งตัวน<br />

าประเภทซิลิคอน<br />

กลุ่มที่ท<br />

าจากสารกึ่งตัวน<br />

าประเภทซิลิคอน<br />

แบ่งออกเป็น<br />

กลุ่มที่เป็นรูปผลึก<br />

(Crystal, Crystalline)<br />

แบ่งออกเป็น<br />

o ชนิดผลึกเดี่ยวซิลิคอน<br />

(Single Crystalline Silicon)<br />

o ชนิดผลึกรวมซิลิคอน<br />

(Poly Crystalline Silicon)<br />

กลุ่มที่ไม่เป็นรูปผลึก<br />

(Amorphous)<br />

o ชนิดฟิล์มบางอะมอร์ฟัสซิลิคอน<br />

(Amorphous Silicon, Thin Film)<br />

Ref: http://www2.egat.co.th/re/solarcell/solarcell_technology.htm<br />

“Greenergy Excellence”<br />

Single<br />

Crystalline<br />

Poly<br />

Crystalline<br />

Amorphous<br />

16


“Greenergy Excellence”<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ที่ท<br />

าจากสารประกอบอื่นๆ<br />

กลุ่มที่ท<br />

าจากสารประกอบที่ไม่ใช่ซิลิคอน<br />

• มีประสิทธิภาพสูงถึง 25% ขึ้นไป<br />

• มีราคาสูงมาก<br />

• ใช้งานส าหรับดาวเทียมและระบบรวม<br />

แสงเป็นส่วนใหญ่<br />

• เช่น Gallium Arsenide (GaAs)<br />

การพัฒนาขบวนการผลิตสมัยใหม่จากสารประกอบประเภทอื่นๆ<br />

จะท าให้มีราคาถูกลง<br />

และน ามาใช้มากขึ้นในอนาคต<br />

• เช่น Cadmium telluride (CdTe), Copper-Indium Selenide (CIGS), Light-absorbing<br />

dyes (DSSC), Organic/polymer solar cells เป็นต้น<br />

Ref: http://www2.egat.co.th/re/solarcell/solarcell_technology.htm<br />

17


“Greenergy Excellence”<br />

ส่วนประกอบของแผงเซลล์แสงอาทิตย์<br />

ใ น แ ต่ ล ะ เ ซ ล ล์ แ บ่ ง เ ป็ น ชั้<br />

น ๆ<br />

ประกอบด้วย N-Type Silicon, P-Type<br />

Silicon และ PN-Junction<br />

แรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ผลิตขึ้นจากเซลล์แสงอาทิตย์เพียงเซลล์เดียว<br />

จะมีค่าต่ามาก<br />

การ<br />

น ามาใช้งานจะต้องน าเซลล์หลาย ๆ เซลล์ มาต่อกันแบบอนุกรมเพื่อเพิ่มค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้า<br />

ให้สูงขึ้น<br />

เซลล์ที่น<br />

ามาต่อกันในจ านวนและขนาดที่เหมาะสมเรียกว่า<br />

แผงเซลล์แสงอาทิตย์<br />

(<strong>Solar</strong> Module หรือ <strong>Solar</strong> Panel)<br />

18


“Greenergy Excellence”<br />

การท างานของแผงเซลล์แสงอาทิตย์<br />

การท างาน<br />

เมื่อเซลล์แสงอาทิตย์ได้รับแสงอาทิตย์<br />

อนุภาคโฟตอนในแสงอาทิตย์ ท าให้เกิด<br />

การเคลื่อนไหวของ<br />

“อิเล็กตรอน” ขึ้นที่<br />

ชั้น<br />

N-type Silicon<br />

การเคลื่อนไหวของ<br />

“โฮล” (อะตอม<br />

สูญเสียอิเล็กตรอน) ขึ้นที่ชั้น<br />

P-type<br />

Silicon<br />

เมื่อพลังงานสูงพอทั้งอิเล็กตรอนและ<br />

โฮลจะวิ่งเข้าหาเพื่อจับคู่กัน<br />

โดยไม่ผ่าน<br />

ทาง Junction แต่ผ่านทางวงจรไฟฟ้าที่ต่อ<br />

กับขั้วไฟฟ้าของเซลล์แสงอาทิตย์<br />

การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนดังกล่าว<br />

ท าให้<br />

ไฟฟ้ากระแสตรงขึ้น<br />

19


แสงอาทิตย์<br />

กระบวนการท างานของโรงผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์<br />

แผงเซลล์แสงอาทิตย์ อินเวอร์เตอร์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

ไฟฟ้ากระแสตรง ไฟฟ้ากระแสสลับ ไฟฟ้ากระแสสลับ<br />

หม้อแปลงไฟฟ้า สายส่งไฟฟ้า<br />

• เมื่อแสงอาทิตย์<br />

ตกกระทบบนแผงเซลล์แสงอาทิตย์ (<strong>Solar</strong> Panel) จะท าให้เกิดการผลิตไฟฟ้าออกจากแผงเซลล์<br />

แสงอาทิตย์ โดยไฟฟ้าที่ออกมาเป็นไฟฟ้ากระแสตรงแรงดันไฟฟ้าต่า<br />

• ไฟฟ้ากระแสตรงดังกล่าว ถูกส่งผ่านอุปกรณ์ อินเวอร์เตอร์ (Inverter) จะเกิดการแปลงกระแสไฟฟ้าจาก ไฟฟ้า<br />

กระแสตรงแรงดันไฟฟ้าต่า<br />

เป็น ไฟฟ้ากระแสสลับแรงดันไฟฟ้าต่า<br />

• ไฟฟ้ากระแสสลับดังกล่าว ถูกส่งผ่านหม้อแปลงไฟฟ้า เพื่อเพิ่มแรงดันไฟฟ้า<br />

เป็นแรงดันไฟฟ้าสูง เพื่อให้สามารถ<br />

ส่งผ่านสายส่งไฟฟ้าของการไฟฟ้าไปยังผู้ใช้ไฟฟ้าต่อไป<br />

20


“Greenergy Excellence”<br />

ตัวอย่างโรงไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์<br />

<strong>Solar</strong>park Finsterwalde I,II,III , 80.7 MW, Germany<br />

21


“Greenergy Excellence”<br />

ตัวอย่างโรงไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์<br />

Parque Fotovoltaico Olmedilla de Alarcón,<br />

60MW, Spain<br />

22


โรงไฟฟ้า<br />

แสงอาทิตย์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

ประเภทของโรงผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจากความร้อนแสงอาทิตย์สามารถแบ่งประเภทได้เป็น 3<br />

Mono<br />

crystalline<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า<br />

Crystalline<br />

Poly<br />

จากสารกึ่งตัวน<br />

่อผลิตไฟฟ้า า ดังนี้<br />

crystalline<br />

โรงผลิตไฟฟ้าจาก ประเภทซิลิคอน Amorphous<br />

• Parabolic Trough & Parabolic Dish : ระบบรางพาราโบลิค และระบบจานพาราโบลิค<br />

เซลล์แสงอาทิตย์ เซลล์แสงอาทิตย์ ที่ท<br />

า (Thin Film)<br />

• <strong>Solar</strong> Tower : ระบบหอคอย<br />

จากสารประกอบที่<br />

• Combined Cycle : ระบบความร้อนร่วม<br />

ไม่ใช่ซิลิคอน<br />

ประเภทหลักๆ ตามกระบวนการผลิตความร้อน (รวบรวมความร้อน) ให้กับ<br />

ตัวกลาง ก่อนน าไปหมุนกังหันเพื<br />

โรงไฟฟ้าความ<br />

ร้อนแสงอาทิตย์<br />

Parabolic<br />

<strong>Solar</strong> Tower<br />

Combined Cycle<br />

Parabolic<br />

Trough<br />

Parabolic<br />

Dish<br />

23


2. การผลิตไฟฟ้าโดยใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์<br />

(Thermal Process) การท างานจะมีลักษณะคล้ายแว่น<br />

ขยาย คือจะรวมแสงอาทิตย์ไปรวมที่จุดเดียวกัน<br />

เพื่อให้เกิดความร้อนสูง<br />

(~200 ˚ C) ใช้ในการผลิต<br />

กระแสไฟฟ้า ระบบความร้อนรวมศูนย์มี 3 ระบบ คือ<br />

“Greenergy Excellence”<br />

24


2.1.1.ระบบรางพาราโบลา (Parabolic Trough) เป็นตัวรับรังสีดวงอาทิตย์<br />

(<strong>Solar</strong> Collector) ซึ่งท<br />

างานโดยใช้หลักการรวมรังสีดวงอาทิตย์ด้วยการสะท้อน<br />

จากผิวโค้งรูปพาราโบลาที่เป็นรางยาว<br />

โดยตัวรับรังสีประกอบด้วยตัวสะท้อน<br />

รังสี (Reflector) และท่อรับรังสี (Receiver) ซึ่งท่อรับรังสีจะเป็นท่อโลหะ<br />

อยู่ภายในท่อแก้ว<br />

โดยช่องว่างระหว่างท่อเป็นสุญญากาศเพื่อลดการสูญเสีย<br />

ความร้อน ภายในจะมีของเหลวประเภทน้ามันจุดเดือดสูงไหลในท่อโลหะ<br />

เพื่อพาความร้อนไปถ่ายเทให้กับหม้อไอน้า<br />

(Boiler) ส าหรับผลิตไอน้า<br />

เพื่อขับเคลื่อนเครื่องยนต์กังหันไอน้า<br />

ซึ่งท<br />

างานด้วยวัฏจักร Rankine<br />

โดยงานเพลาที่ได้จากเครื่องยนต์ดังกล่าวจะน<br />

าไปใช้ขับเคลื่อนเครื่องก<br />

าเนิด<br />

ไฟฟ้า ส าหรับในช่วงที่ไม่มีแสงอาทิตย์<br />

จะใช้พลังงานจากก๊าซช่วยในการก าเนิด<br />

ไอน้า<br />

“Greenergy Excellence”<br />

25


2.1.2.ระบบจานพาราโบลา (Parabolic Dish) ร่วมกับเครื่องยนต์สเตอร์ลิง<br />

ระบบผลิตไฟฟ้าแบบนี้จะใช้หลักการแปลงพลังงานจากรังสีดวงอาทิตย์ให้เป็น<br />

ความร้อน แล้วแปลงพลังงานความร้อนให้เป็นพลังงานกลเพื่อน<br />

าไปผลิตไฟฟ้า<br />

โดยระบบจะประกอบด้วยจานรวมแสงแบบพาราโบลาและเครื่องยนต์สเตอร์ลิง<br />

(Stirling Engine) กับเครื่องก<br />

าเนิดไฟฟ้า โดยตัวรวมแสงแบบจานพาราโบลา<br />

อาจมีผิวสะท้อนป็นผิวต่อเนื่องหรือประกอบด้วยแผ่นสะท้อนแสงหลายชิ้น<br />

ซึ่งประกอบกันเป็นผิวโครงพาราโบลา<br />

และมีเครื่องยนต์สเตอร์ลิงกับเครื่องก<br />

าเนิด<br />

ไฟฟ้าวางอยู่ที่จุดโฟกัสของจานพาราโบลาและจานดังกล่าวต้องมีระบบขับเคลื่อน<br />

แบบ 2 แกน ตามดวงอาทิตย์ตลอดทั้งวัน<br />

โดยทั่วไประบบจานพาราโบลาร่วมกับ<br />

เครื่องยนต์สเตอร์ลิง<br />

1 ชุด จะมีก าลังการผลิต25-40 kW แต่ละชุดสามารถท างาน<br />

โดยอิสระ ถ้าต้องการก าลังไฟฟ้ามากก็ติดตั้งจ<br />

านวนหลายชุดคล้ายกับระบบผลิต<br />

ไฟฟ้าด้วยโซลาร์เซลล์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

26


2.2. ระบบหอคอย (<strong>Solar</strong> Tower) จะประกอบไปด้วยหอคอย<br />

(Tower) และระบบกระจกสะท้อนแสงแผ่นราบ (Heliostat)<br />

โดยกระจกแต่ละแผ่นจะสะท้อนแสงอาทิตย์<br />

ไปรวมกันที่หอคอย<br />

ซึ่งมีตัวรับรังสีดวงอาทิตย์ที่มีของไหล<br />

ไหลผ่าน เพื่อพาพลังงานความร้อนที่ได้ไปใช้ขับเคลื่อน<br />

เครื่องยนต์ส<br />

าหรับผลิตไฟฟ้า ของไหลที่ใช้มีทั้งเกลือหลอม<br />

ละลาย (Molten Salt) น้าและอากาศ<br />

“Greenergy Excellence”<br />

27


2.3. ระบบความร้อนร่วม (Combined Cycle) เป็นการใช้หลักการ<br />

ท างานของการผลิตไฟฟ้าโดยใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์ หรือ<br />

ใช้ระบบการผลิตไฟฟ้า โดยใช้ความร้อนจากดวงอาทิตย์แบบใด<br />

แบบหนึ่งที่เน้นการสะท้อนแสงอาทิตย์ไปรวมยังจุดรวม<br />

เพื่อให้ความร้อนแก่ตัวกลางที่ประกอบอยู่<br />

โดยมีการเพิ่มเติม<br />

การใช้ความร้อนจากแหล่งพลังงานอื่นๆ<br />

ในการให้ความร้อน<br />

กับตัวกลางควบคู่ไปพร้อมๆ<br />

ในเวลาเดียวกันด้วย<br />

“Greenergy Excellence”<br />

28


กระบวนการท างานของโรงไฟฟ้าความร้อนแสงอาทิตย์<br />

ระบบการท างานของโรงไฟฟ้า<br />

ค ว า ม ร้ อ น แ ส ง อ า ทิ ต ย์ มี<br />

กระบวนการดังนี้<br />

แสงอาทิตย์ สะท้อนกระจกยังจุด<br />

รวบรวมแสงของแต่ละชนิด เช่น ท่อ<br />

น้า<br />

ยอดหอคอย เป็นต้น<br />

แสงอาทิตย์ สร้างให้เกิดความร้อน<br />

กับตัวกลาง และตัวกลางดังกล่าวที่<br />

สะสมความร้อนไว้ เคลื่อนที่ไปหมุน<br />

กังหันของเครื่องก<br />

าเนิดไฟฟ้า ในการ<br />

ผลิตไฟฟ้า<br />

“Greenergy Excellence”<br />

29


ประเภทของโรงผลิตไฟฟ้าจากความร้อนแสงอาทิตย์<br />

“Greenergy Excellence”<br />

• ระบบรางพาราโบลิค<br />

ใช้การรวมแสงที่ท่อบรรจุตัวกลางน<br />

า<br />

ความร้อน (น้า<br />

หรือน้ามัน)<br />

ที่จุดโฟกัส<br />

ของกระจกโค้งรูปพาราโบลา<br />

• ระบบจานพาราโบลิค<br />

ใช้การรวมแสงเครื่องจักรความร้อน<br />

(Stirling Engine) ที่จุดโฟกัสของกระจก<br />

โค้งทรงพาราโบลา<br />

• ระบบหอคอย<br />

ใ ช้ ก า ร ร ว ม แ ส ง ที่<br />

แ ห ล่ ง ตั ว ก ล า ง<br />

(น้า<br />

หรือน้ามัน)<br />

ที่ยอดหอคอย<br />

ผ่านทาง<br />

กระจกราบจ านวนมาก รอบหอคอย<br />

• ระบบความร้อนร่วม<br />

ค ว า ม ร้ อ น ที่<br />

ร ว บ ร ว ม ที่<br />

ตั ว ก ล า ง<br />

นอกเหนือจากการสะท้อนจากกระจก<br />

แล้ว ยังสามารถใช้ความร้อนจากแหล่ง<br />

พลังงานอื่นๆ<br />

ในการให้ความร้อนกับ<br />

ตัวกลางร่วมด้วย<br />

30


“Greenergy Excellence”<br />

ตัวอย่างโรงไฟฟ้าจากความร้อนแสงอาทิตย์<br />

<strong>Solar</strong> Tower<br />

Mojave Desert,<br />

California ,USA<br />

31


ศักยภาพพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย<br />

“Greenergy Excellence”<br />

การกระจายของความเข้มรังสีดวงอาทิตย์ได้รับ<br />

อิทธิพลส าคัญจากฤดูกาล และสภาพภูมิอากาศต่างๆ โดย<br />

ได้รับรังสีดวงอาทิตย์สูงสุดระหว่างเดือนเมษายน และ<br />

พฤษภาคม<br />

รังสีดวงอาทิตย์ เฉลี่ยทั้งปี<br />

5 กิโลวัตต์ชั่วโมง/ตาราง<br />

เมตร-วัน (kWh/m 2 /day) แสดงว่าประเทศไทยมีศักยภาพ<br />

พลังงานแสงอาทิตย์ค่อนข้างสูง<br />

สามารถเข้าไปหาข้อมูลพลังงานแสงอาทิตย์เพิ่มเติมได้<br />

http://www2.egat.co.th/re/egat_pv/sun_thailand.htm<br />

โดยกดที่จังหวัดที่ต้องการ<br />

หรือ<br />

http://www2.egat.co.th/re/egat_pv/su<br />

้นที่ที่ต้องการ<br />

n_thailand.htm<br />

http://eosweb.larc.nasa.<strong>go</strong>v/sse/RETScreen/<br />

โดยการกรอกพิกัดของพื<br />

32


ความเหมาะสมของโรงผลิตไฟฟ้าพลังงานแสงอาทิตย์ในประเทศไทย<br />

ผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์<br />

• ประสิทธิภาพการผลิต ไฟฟ้าระหว่าง 6-16%<br />

• สามารถรับรังสีดวงอาทิตย์ได้ทั้งรังสีตรง<br />

และ<br />

รังสีกระจาย<br />

“Greenergy Excellence”<br />

ผลิตไฟฟ้าจากความร้อนแสงอาทิตย์<br />

• ประสิทธิภาพการผลิตไฟฟ้าระหว่าง 13-15%<br />

• สามารถผลิตไฟฟ้าได้จากรังสีตรงเท่านั้น<br />

เช่น แสงอาทิตย์ในเขตทะเลทราย<br />

ประเทศไทย แสงอาทิตย์ส่วนใหญ่เป็นรังสีกระจาย เนื่องจากมีสภาพอากาศมีเมฆมาก<br />

ดังนั้น<br />

ระบบผลิตไฟฟ้าจากความร้อนแสงอาทิตย์จึงไม่เหมาะกับประเทศไทย แต่ระบบผลิต<br />

ไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์จะเหมาะสมกว่า<br />

33


การพัฒนาธุรกิจใหม่ของบริษัท: <strong>Solar</strong> Power Plant<br />

“Greenergy Excellence”<br />

<strong>Solar</strong> Power Plant<br />

“Greenergy Excellence”<br />

34


“Greenergy Excellence”<br />

SUNNY BANGCHAK<br />

ที่ตั้ง<br />

อ.บางปะอิน จ.อยุธยา<br />

ติดกับคลังน้้ามันบางปะอิน<br />

ก้าลังการผลิต 38 เมกกะวัตต์<br />

เทคโนโลยี : เซลล์แสงอาทิตย์ชนิดผลึก<br />

รวมซิลิคอน (Poly Crystalline Silicon)<br />

35


SUNNY BANGCHAK สร้างความยั่งยืนให้กับประเทศ<br />

และบริษัท<br />

“Greenergy Excellence”<br />

ผลิตไฟฟ้าได้มากกว่า 65<br />

ล้านหน่วยไฟฟ้าต่อปี<br />

สร้างรายได้ปีละมากกว่า<br />

750 ล้านบาท<br />

ลดการน้าเข้าถ่านหินผลิต<br />

ไฟฟ้า 40,000 ตันต่อปี<br />

ลดการปล่อยก๊าซเรือน<br />

กระจกได้ถึง 35,000 ตันต่อปี<br />

เทียบเท่ากับการปลูกป่าถึง<br />

26,000 ไร่<br />

36


“Greenergy Excellence”<br />

37

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!