31.07.2015 Views

4.2 Formation parameters 4.2.1 Matrix

4.2 Formation parameters 4.2.1 Matrix

4.2 Formation parameters 4.2.1 Matrix

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>4.2</strong> <strong>Formation</strong> <strong>parameters</strong>ในการแปลความหมายขอมูลที่ไดจากการหยั่งธรณีในหลุมเจาะสิ่งสําคัญที่ตองเกี่ยวของมีอยู 2 สวนคือ สวนประกอบของหิน (constitutes of rock) ซึ่งไดแก เนื้อหิน (matrix)หินดินดาน (shale) ของไหล (fluids) และ ธรรมชาติของชั้นหิน (nature of formation) ซึ่งไดแก ความพรุน (porosity)สัมประสิทธิ์ความซึมได (permeabilty) ความตานทานไฟฟา(resistivity)<strong>4.2</strong>.1 <strong>Matrix</strong>matrix หรือ เนื้อหิน ในที่นี้หมายถึงสวนประกอบของหินที่เปนของแข็ง ยกเวนสวนที่เปนหินดินดานหรือชั้นดินเหนียวเนื้อหินจะประกอบไปดวยแรหลักชนิดตางๆ (grains) และตัวเชื่อมประสาน (cements)


ชั้นหินที่เรียกวา clean formation หมายถึงชั้นหินที่ไมมีดินเหนียวหรือหินดินดานปะปนหรือแทรกสลับอยู สวนชั้นหินที่มีดินเหนียวหรือหินดินดานปะปนหรือแทรกสลับอยูจะเรียกวา shaly formation หรือ dirty formation<strong>4.2</strong>.2 Shaleshale หรือ หินดินดาน เปนหินตะกอนเนื้อละเอียดที่ประกอบดวยตะกอนขนาดดินเหนียว (clay) และ ขนาดทรายแปง (silt) เกิดการสะสมตัวเมื่อกระแสน้ําที่พัดพาเอาตะกอนเหลานี้มา มีความเร็วลดลง ชั้นหินดินดานเปนชั้นหินที่มีคาความพรุนสูงแตใหคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดต่ํา


ตะกอนขนาดดินเหนียว ซึ่งมักประกอบดวยแรดิน (clayminerals) เปนสวนประกอบสําคัญในหินตะกอน แรดินมีหลายชนิด ตัวอยางที่สําคัญของแรดิน ไดแกmontmorillonite, illite, chlorite, kaolinite แรดินมีขนาดเล็กมาก อัตราสวนของพื้นที่ผิวตอปริมาตรสูงมาก จึงมีความสามารถในการดึงน้ําใหเขามาอยูในโครงสรางของแรไดมาก น้ําสวนนี้ไมสามารถไหลออกมาได แตจะมีผลอยางมากกับการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ


<strong>4.2</strong>.3 Fluidชองวางที่เกิดขึ้นระหวางเม็ดตะกอนในชั้นหินจะถูกบรรจุดวยของไหล ซึ่งอาจเปน น้ํา อากาศ กาซ น้ํามัน ปริมาณของของไหลเหลานี้จะขึ้นกับปริมาณชองวางที่เกิดขึ้นในหินที่เรียกวาความพรุนของไหลที่อยูในชองวางเหลานี้ ยกเวนน้ําแลว มีสมบัติที่เหมือนกันอยางหนึ่งคือ เปนตัวนําไฟฟาที่ไมดี ในขณะที่น้ําซึ่งมักละลายเอาแรธาตุตางๆไว จะเปนตัวนําไฟฟาที่ดีดังนั้นความสามารถในการนําไฟฟาของชั้นหินใดๆ จึงขึ้นอยูกับปริมาณน้ําที่อยูในชองวางของชั้นหิน ปริมาณของน้ําเปนสัดสวนกับความพรุนของชั้นหิน ดังนั้นจึงอาจอธิบายไดถึงความสําคัญในการศึกษาคาความตานทานไฟฟาของชั้นหินวาสามารถใชในการบอกถึงปริมาณของน้ําที่อยูในชั้นหินได


สัดสวนของปริมาณน้ําที่อยูในชองวางเปรียบเทียบกับชองวางทั้งหมดในชั้นหิน เรียกคานี้วา คาการอิ่มตัวของน้ํา (watersaturation, S w ) ในทํานองเดียวกัน ถาพิจารณาปริมาณกาซหรือน้ํามันที่อยูในชองวางเปรียบเทียบกับชองวางทั้งหมดในชั้นหินเรียกคานี้วา คาการอิ่มตัวของไฮโดรคารบอน(hydrocarbon saturation, S h )ถากําหนดวา ในขณะเริ่มแรกชองวางทั้งหมดในชั้นหินมีน้ําบรรจุอยู ตอมาสารไฮโดรคารบอนเขามาแทนที่น้ํา พบวาสารไฮโดรคารบอนไมสามารถแทนที่น้ําทั้งหมดได ซึ่งเนื่องจากแรงยึดเหนี่ยวระหวางเม็ดตะกอนกับโมเลกุลของน้ําที่อยูรอบเม็ดตะกอนซึ่งมีคาสูง สวนของน้ําที่คงคางอยูในชองวางที่สารไฮโดรคารบอนไมสามารถแทนที่ไดนั้น เรียกสัดสวนของน้ําในสวนนี้เปรียบเทียบกับชองวางทั้งหมดในชั้นหินวาคาการอิ่มตัวของน้ําคงคาง (irreducible water saturation,S wi ) ซึ่งอาจมีคาประมาณ 0.05


ในชั้นหินที่ประกอบดวยเม็ดตะกอนขนาดใหญซึ่งมีพื้นที่ผิวนอย หรืออาจสูงถึง 0.4 ในชั้นหินที่ประกอบดวยเม็ดตะกอนขนาดเล็กซึ่งมีพื้นที่ผิวมาก น้ําคงคางนี้จะไมสามารถไหลออกจากชั้นหินไดปริมาณทั้งหมดของสารไฮโดรคารบอนในชั้นหินมีคาเทากับS h หรือ (1-S w ) ซึ่งเปนคาที่สําคัญที่ตองการหา ซึ่งเปนวัตถุประสงคสวนหนึ่งของการหยั่งธรณีในหลุมเจาะ คานี้อาจมีคาตั้งแต 0 จนกระทั่งถึง (1-S wi ) <strong>4.2</strong>.4 Porosity and permeabiltyความพรุน (porosity) เปนสวนของชองวางทั้งหมดในชั้นหินที่ไมถูกแทนที่ดวยของแข็งและอาจมีของเหลวบรรจุอยู ความพรุนในชั้นหินตะกอนขึ้นอยูกับปจจัยหลายประการ เชนรูปราง ขนาด การเรียงตัว การคัดขนาด ของเม็ดตะกอน


ในกรณีของชั้นหินที่ยังไมแข็งตัว ความพรุนขึ้นอยูกับการกระจายตัวของขนาดของเม็ดตะกอน ซึ่งอยูในชวงระหวาง0.35 ถึง 0.4 เมื่อเม็ดตะกอนมีขนาดใกลเคียงกัน หรือประมาณ 0.25 เมื่อมีเม็ดตะกอนขนาดเล็กอยูในชองวางระหวางเม็ดตะกอนขนาดใหญคาความพรุนอาจลดต่ําลงไดอีกถาเม็ดตะกอนเหลานี้ถูกเชื่อมประสานดวยสารเชื่อมประสาน ซึ่งอาจไดแก สารซิลิกาหรือคารบอเนต ทําใหตะกอนเหลานี้แข็งตัวกลายเปนหิน โดยที่คาความพรุนอาจใกลเคียงศูนยหากกําหนดใหเม็ดตะกอนเปนทรงกลม มีเสนผาศูนยกลางเทากับ d มีการเรียงตัวเปนทรงสี่เหลี่ยมลูกบาศก ความพรุนสามารถคํานวณไดดังนี้กําหนดให ลูกบาศกหนึ่งมีปริมาตรเทากับ (nd)3 หนวย แตละดานมีทรงกลมที่มีปริมาตรเทากับ n3 หนวย บรรจุอยูปริมาตรของทรงกลมเทากับ (4/3)π(d/2)3 ดังนั้นปริมาตรที่ถูกแทนที่ดวย n3 เทากับ (4/3)π(nd/2)3 ดังนั้น ความพรุน(φ) มีคาเทากับ( nd)φ =3− 4 / 3π( nd / 2)3( nd)3π= 1−= 0.47646


จากสมการแสดงใหเห็นวา ความพรุนที่มากที่สุดที่จะเปนไปไดเมื่อทรงกลมที่มีขนาดเทากับมาเรียงตัวกันเปนทรงลูกบาศกมีคาเทากับ 47.64% แตเนื่องจากการเรียงตัวของเม็ดตะกอนเปนรูปทรงลูกบาศกในธรรมชาตินั้นเปนวิธีการที่ไมมีความเสถียรภาพเมื่อเปรียบเทียบกับการเรียงตัวแบบรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน แตเมื่อเม็ดตะกอนเรียงตัวแบบรูปสี่เหลี่ยมขนมเปยกปูน ความพรุนจะมีคาลดลงเหลือประมาณ 25.95%


นอกจากกลไกการเรียงตัวของเม็ดตะกอนซึ่งมีผลตอคาความพรุนแลว การอัดตัวของเม็ดตะกอนอันเนื่องจากความกดดันในที่ลึกเปนอีกปจจัยหนึ่งที่จะไปลดคาความพรุน ซึ่งเปนไปตามสมการφ = φ/ α0e −depthเมื่อ α = คาคงที่การอัดตัวφ 0 = คาความพรุนที่ผิวดินความพรุนแบงออกไดเปนหลายชนิด ไดแก1. Total porosity, φ t , เปนชองวางทั้งหมดที่เกิดขึ้นระหวางของแข็ง สามารถคํานวณจากVt−Vφt=Vเมื่อ Vp = ปริมาตรของชองวางทั้งหมดVs = ปริมาตรของของแข็งVt = ปริมาตรของหินทั้งหมดtsV=Vpt


2. Interconnected porosity, φ connect , เปนความพรุนที่นับเฉพาะชองวางที่เชื่อมตอกัน ซึ่งมักมีคานอยกวาความพรุนรวม3. Potential porosity, φ pot , เปนสวนของ interconnectedporosity ซึ่งจะตองมีขนาดเสนผาศูนยกลางของชองตอเชื่อมกวางพอที่จะใหของไหลสามารถไหลได (มากกวา 50 µmสําหรับน้ํามันและ 5 µm สําหรับกาซ)4. Effective porosity, φ eff , เปนสวนของชองวางที่เกี่ยวของกับของไหลที่ไหลไดอยางอิสระ (free fluids) ไมนับชองวางสวนที่เปน non-connected porosity และชองวางที่ถูกแทนที่ดวยน้ําในชองวางหรือรอบๆ ของแรดิน


สัมประสิทธิ์ความซึมได (permeability, k) เปนการวัดความสามารถของชั้นหินที่ยอมใหของเหลวสามารถไหลผานไดภายใตความแตกตางของความดัน มีหนวยเปนmillidarcies (md) ซึ่งอาจมีคาสูงถึง 1000 md หรืออาจมีคาเพียง 1.0 md สําหรับชั้นหินที่ใหผลผลิตต่ํามากสัมประสิทธิ์ความซึมไดจะมีคาขึ้นอยูกับขนาดของเม็ดตะกอนถาเม็ดตะกอนมีขนาดใหญชองวางระหวางเม็ดตะกอนก็จะมีขนาดใหญดวย ทําใหของเหลวสามารถไหลผานไดสะดวกคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดก็จะมีคาสูง ในทางตรงขาม ถาเม็ดตะกอนมีขนาดเล็กก็จะมีชองวางระหวางเม็ดตะกอนเล็กดวยทําใหของเหลวไหลผานไดยาก คาสัมประสิทธิ์ความซึมไดก็จะมีคาต่ําดวย


กําหนดใหการไหลของของเหลวผานชองวางในชั้นหินเปนแบบlaminar อาศัยกฏของ Darcy สามารถนํามาใชในการคํานวณหาคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดจากสมการq Lk = µ∆pAเมื่อ q = อัตราการไหล, cm3/sµ = ความหนืด, centipoiseL = ระยะทางที่ของเหลวไหลผาน, cm∆P = ความแตกตางของความดัน, atmA = พื้นที่หนาตัดที่ของเหลวไหลผาน, cm 2 .ความสัมพันธระหวางคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดและความพรุนขึ้นอยูกับชนิดของหิน โดยทั่วไป log ของคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดมีความสัมพันธเชิงเสนกับคาความพรุนสําหรับหินแตละชนิด อยางไรก็ดีความสัมพันธที่แทจริงจะหาไดจากการวัดคาโดยตรงจากตัวอยาง จากการทดลองไดมีความพยายามที่จะหาความสัมพันธระหวางคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดและความพรุน


สมการของ Kozeny เปนสมการหนึ่งที่แสดงใหเห็นถึงความสัมพันธ ระหวางคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดกับคาความพรุนดังนี้2 3(constant) d φk =.(1 −φ)2ในบางกรณี สัมประสิทธิ์ความซึมไดในชั้นหินในแตละทิศทางมีคาไมเทากัน เนื่องจากการสะสมตัวของตะกอนที่มีการเรียงตัวของเม็ดตะกอนใหแกนยาวของเม็ดตะกอนวางตัวขนานกัน ทําใหคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดในทิศทางนี้มีคาสูงกวาในทิศทางอื่น หรือในกรณีที่ชั้นหินมีรอยแตก คาสัมประสิทธิ์ความซึมไดจะมีคาสูงในทิศทางการวางตัวของรอยแตก


ในชั้นหินซึ่งชองวางทั้งหมดบรรจุของเหลวเพียงชนิดเดียวของเหลวซึ่งไหลอยูในชั้นหินเปนไปตามกฎของ Darcy แตเมื่อมีของเหลวตั้งแต 2 ชนิดขึ้นไปอยูในชองวางของชั้นหินความสามารถในการเคลื่อนที่ของของเหลวทั้ง 2 ชนิดแตกตางกัน สัมประสิทธิ์ความซึมไดที่แทจริง (effectivepermeability) เปนคาสัมประสิทธิ์ความซึมไดของชั้นหินสําหรับของเหลวแตละชนิดในสภาพคาความอิ่มตัวของของเหลวนั้นถากําหนดใหชั้นหินอยูภายใตความกดดัน มีน้ําและน้ํามันอยูในชองวางของชั้นหิน คาสัมประสิทธิ์ความซึมไดที่แทจริงของน้ํามัน (k o ) และน้ํา (k w ) คํานวณไดจากสมการko=qoµoL∆pAและkw=qwµwL∆pA


อัตราการไหลรวม, q t (= q o +q w ), มักพบวามีคานอยกวาอัตราการไหลของน้ําหรืออัตราการไหลของน้ํามัน เมื่อน้ําหรือน้ํามันมีคาความอิ่มตัวเปน 100% จึงเห็นไดวาเมื่อมีของเหลวตั้งแต 2 ชนิดอยูในชั้นหิน จะเกิดการรบกวนความสามารถในการไหลของของเหลวซึ่งกันและกันสัมประสิทธิ์ความซึมไดสัมพัทธ (relative permeability, kr)เปนอัตราสวนระหวางสัมประสิทธิ์ความซึมไดที่แทจริงของของเหลวแตละชนิดกับสัมประสิทธิ์ความซึมไดสัมบูรณสัมประสิทธิ์ความซึมไดสัมพัทธของน้ํามัน (kro) และน้ํา(krw) คํานวณไดจากสมการkro=krkและkrw=kkw


<strong>4.2</strong>.5 Resisitivity and conductivityความตานทานไฟฟา (resistivity) ของวัตถุใดๆ เปนการวัดคาการตอตานการไหลของกระแสไฟฟาที่ไหลผานวัตถุนั้นๆ มีหนวยเปน ohm.mความนําไฟฟา (conductivity) ของวัตถุใดๆ เปนการวัดความสามารถในการยอมใหกระแสไฟฟาผานวัตถุนั้นๆ หรือความสามารถในการนําไฟฟา ซึ่งเปนสวนกลับกับความตานทานไฟฟา มีหนวยเปน mho/mความตานทานไฟฟาของชั้นหินนั้น เกิดขึ้นเนื่องจากแรสวนใหญที่ประกอบขึ้นเปนชั้นหินเปนพวกที่ไมนําไฟฟาหรือเปนฉนวนทําใหกระแสไฟฟาไหลผานไปไดยาก แตอยางไรก็ดีในชั้นหินนอกจากจะประกอบดวยแรแลว ยังมีชองวางระหวางเม็ดแรหรือเม็ดตะกอน ซึ่งชองวางเหลานี้อาจมีน้ํา(formation water) น้ํามัน หรือ กาซ บรรจุอยู


ในสวนที่มีน้ํามันหรือกาซบรรจุอยูนั้น เนื่องจากทั้งน้ํามันและกาซไมนําไฟฟาดวยเชนกัน ทําใหชั้นหินที่กักเก็บน้ํามันและกาซมีคาความตานทานไฟฟาสูงดวย สวนในกรณีที่มีน้ําบรรจุอยู เนื่องจากน้ํามักจะละลายเอาสารละลายตางๆไว ทําใหชั้นหินที่อิ่มตัวดวยน้ํามีคาความตานทานไฟฟาลดลงไดความตานทานไฟฟาของชั้นหินขึ้นอยูกับ1. ความตานทานไฟฟาของน้ําในชองวาง จะขึ้นอยูกับธรรมชาติและปริมาณของสารที่ละลายอยูในน้ํา2. ปริมาณของน้ําที่มีอยู3. ชนิดของหิน ธรรมชาติและปริมาณของแรดินและแรที่นําไฟฟา4. เนื้อหิน การกระจายตัวของชองวาง การกระจายตัวของแรดินและแรที่นําไฟฟา5. อุณหภูมิ


<strong>4.2</strong>.6 Relationship between resistivity andsalinityเนื่องจากความตานทานไฟฟา ขึ้นอยูกับความเขมขนและชนิดของสารละลายในน้ํา ความตานทานไฟฟาจะมีคาลดลงเมื่อความเขมขนของสารมีคาเพิ่มขึ้นความเค็ม (salinity) เปนการวัดคาความเขมขนของสารละลาย มีหนวยเปน ppm หรือ g/l<strong>4.2</strong>.7 Relationship between resistivity andtemperatureความตานทานไฟฟาของสารละลายลดลงเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้นสมการที่แสดงความสัมพันธระหวางใชคาความตานทานไฟฟาและอุณหภูมิRRwT 2wT 2= R= RwT 1wT 1⎡T⎢⎣T⎡T⎢⎣T1212++6.776.77⎤⎥⎦+ 21.5 ⎤⎥+ 21.5 ⎦in O Fin O C


เมื่อ R wT1 = คาความตานทานไฟฟาของสารละลายในชั้นหินที่อุณหภูมิ T 1R wT2 = คาความตานทานไฟฟาของสารละลายในชั้นหินที่อุณหภูมิ T 2<strong>4.2</strong>.8 Logging techniquesการหยั่งธรณีหลุมเจาะ เพื่อวัดคาสมบัติตางๆของชั้นหินในหลุมเจาะนั้น สามารถแบงออกไดเปน 2 ลักษณะคือ การวัดคาที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ (natural phenomena) และ การวัดคาที่ไดจากการเหนี่ยวนํา (induced phenomena)


การวัดคาที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ ทําไดโดยการหยอนเครื่องมือที่เหมาะสมลงไปในหลุมเจาะเพื่อวัดคาเหลานั้นคาที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติไดแก1. Natural gamma radioactivity2. Spontaneous potential3. <strong>Formation</strong> temperature4. Borehole diameter5. Inclination of boreholeการวัดคาที่ไดจากการเหนี่ยวนํา ตองอาศัยเครื่องมือที่จะสรางพลังงานขึ้นมาเหนี่ยวนําหรือกระตุนใหชั้นหินเกิดการตอบสนองและทําการวัดคาตอบสนองที่จากชั้นหิน คาที่ไดจากการเหนี่ยวนํา ไดแก1. Electrical measurement :- Resistivity or conductivity- Dielectric constant


2. Nuclear measurement :- Density- Photo-electric absorption coefficient- Hydrogen index- Macroscopic thermal neutron capture cross-section- Elemental composition- Proton spin relaxation time3. Acoustic measurement :- Velocity of compressional wave- Transit time from surface to downhole- Amplitude of wave-train


ความเร็วในการหยั่งธรณีหลุมเจาะของเครื่องมือแตละชนิดไมเทากันขึ้น แตโดยทั่วไปหากพิจารณาวา ทั้งคาที่วัดไดจากธรรมชาติหรือคาที่วัดไดจากการเหนี่ยวนํา จําเปนตองอาศัยชวงเวลาระยะหนึ่งในการเก็บสะสมขอมูลและคํานวณคาเรียกชวงเวลานี้วา ‘time constant’ คา time constant นี้พิจารณาจาก ความสามารถในการเก็บขอมูลของเครื่องมือและความละเอียดที่ตองการวัด โดยที่ความเร็วในการหยั่งธรณีหลุมเจาะประมาณ 1 ฟุต ตอ 1 interval time constantSurveyMaximum logging speed(ft/min)(m/min)SP 100 30Induction 100 30Laterolog 50 15Microlaterolog 35 10Neutron 30 9GR 20 6Density TDT 15 4.5Sonic 70 20

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!