09.01.2021 Views

นิตยสารอนุรักษ์ ฉบับ 41 ต.ค.63 I Anurak Magazine no.41

Anurak Magazine: National Trust for Ecology, Art & Culture, Traditional Thai Art, Thai History & Heritage, Indigenous Knowledge, Local Lifestyle and Amazing Thailand Travel. Copyright © Anurak Magazine, Spirit Art 2011 Co, Ltd. Bangkok, Thailand www.anurakmag.com

Anurak Magazine: National Trust for Ecology, Art & Culture, Traditional Thai Art, Thai History & Heritage, Indigenous Knowledge, Local Lifestyle and Amazing Thailand Travel.

Copyright © Anurak Magazine, Spirit Art 2011 Co, Ltd. Bangkok, Thailand
www.anurakmag.com

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

2 0 1 0 2 0




๒๔

๓๖

๖๒

สารบัญอนุรักษ์

ฉบับที่ ๔๑ ตุลาคม ๒๕๖๓

๐๖ โลกใบใหญ่ใส่ใจอนุรักษ์

เรื่องราวข่าวสารของการอนุรักษ์

๑๒ กาลครั้งหนึ่ง

จากห้วยฮ่องไคร้ สืบสานสู่

“เกษตรวิชญา”

๒๔ คงไว้ซึ่งคุณค่า

สมเด็จพระสยามเทวมหามกุฏ

วิทยมหาราช กับการถ่ายภาพ

ในยุคแรกของสยาม

๓๖ ร้อยเรื่องรักษ์

เหลือเพียงแห่งเดียว

ขบวนพยุหยาตราทางสถลมารค

ณ วัดประดู่ทรงธรรม อยุธยา

๔๔ วิถีอนุรักษ์

ดร.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์

คุณหมอหัวใจ...ธรรมชาติ

2 |


๗๒

๑๔

๔๔

๕๔ กินเที่ยวพัก

“ลีเล็ด” ความผูกพันระหว่างคน

ปาชายเลน สายนํ้า และความมั่นคง

ทางอาหาร

๖๒ อนุรักษ์ศิลปะ

“หัตถกรรมชั้นครู” หากปล่อยให้

สูญหาย หรือรอวันสิ้นสูญ...

ก็น่าอาดูรไม่ต่างกัน

๗๒ เรื่องเล่าจากปา

“Our Land”

Nature Conservation Effort

เส้นทางสู่แคว

๗๖ เรื่องเล่าวันวาน

“คุ้มวิชัยราชา”

อัญมณีเลอค่าล้านนาไทย

๘๐ โลกใสๆ ใบสวยๆ

กาพย์เห่ชม เครื่องคาวหวาน

ตํารับอาหารไทย ที่ไม่เคยจางหายไป

๘๔ สังคมข่าว

ข่าวความเคลื่อนไหวในแวดวงสังคม

๘๖ ปดท้ายเล่ม

สัญลักษณ์ประชาธิปไตยไทย

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


| อนุรักษ์ ทักทาย

สวัสดีชาวอนุรักษทุกทานคะ

นอมรําลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณของพระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดช

มหาราช บรมนาถบพิตร พระราชกรณียกิจลวนแลวแตมุงใหราษฎรมีความเปนอยูที่ดีขึ้น เชน พึ่งพาตนเอง

เศรษฐกิจพอเพียง ความเพียร สุจริต เห็นแกประโยชนสวนรวม การแพทยและสาธารณสุข ฯลฯ ซึ่งหลักการ

ทรงงานเหลานี้ พระองคทรงปฏิบัติใหราษฎรของทานประจักษ เปนแบบอยาง

เมื่อพวกเราพบปญหาครั้งลาสุดเรื่องเชื้อไวรัสโคโรนา สายพันธุ 19 หรือ เจาโควิด-19 ที่ติดเชื้อกระจาย

ไปกวา ๓๕ ลานคน จึงเปนบทพิสูจนวาเราคนไทยมีความสามัคคี ความเพียร พึ่งพาตนเองได ใหผานวิกฤตโลก

ไปดวยกัน

เรียนรูที่จะอยูกับคําวา New Normal วิถีชีวิตแบบใหมปรับเปลี่ยน ถึงแมวาเศรษฐกิจจะเขาขั้นลําบาก

จนเปนหวงทั้งผูประกอบการ และปากทองทุกคน แตทรัพยากรทางธรรมชาติฟนฟู สุขอนามัยดีขึ้น

การเวนระยะหางทางสังคมบางใชวาจะไมดี ทองเที่ยวกันในประเทศ แตละเมืองมีความงามในแบบ

ของตนกับธรรมชาติ สัตวปา ศิลปวัฒนธรรม เชน วัดพระศรีรัตนศาสดารามที่ยามนี้สงบ สงา เปนโอกาสดี

ที ่จะไดเขาไปสักการบูชาพระแกวมรกตคูบานคูเมือง เราจะผานอุปสรรคตางๆ ไปดวยกัน คิดดีทําดี

ทุกวัน สรางสรรคอนาคต

บรรณาธิการบริหาร

ทีมงานอนุรักษ

ประธานที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

สราวุธ วัชรพล

คณะที่ปรึกษากิตติมศักดิ์

ม.ร.ว.จักรรถ จิตรพงศ,

เฉลิม อยูวิทยา, ดาราณีย ตันชัยสวัสดิ์,

นิพนธ พรอมพันธุ,

ม.ร.ว.ดิศนัดดา ดิศกุล,

นพ.ปราเสริฐ ปราสาททองโอสถ,

ปญญชลี เพ็ญชาติ,

พล.ต.อ.เพรียวพันธ ดามาพงศ,

สุวัจน ลิปตพัลลภ, อนุทิน ชาญวีรกูล

บรรณาธิการอํานวยการ

อาภาภรณ โกศลกุล

บรรณาธิการบริหาร

อาภาวัลย สรรพโส

หัวหนากองบรรณาธิการ

ดลยา มะลิพันธ

นักเขียนรับเชิญประจําฉบับ

ส. พลายนอย, ม.ล.ภูมิใจ ชุมพล,

ผศ.ประเทือง ครองอภิรดี,

นภันต เสวิกุล, จิระนันท พิตรปรีชา,

ธีรภาพ โลหิตกุล, ไกรฤกษ นานา,

สันติ อรุณศิริ, ปรีชา เอี่ยมธรรม

บรรณาธิการศิลปกรรม

ธวัชชัย เลิศจตุรภัทร

ศิลปกรรม วิษณุ จันทรทอง

พิสูจนอักษร บัวรพันธุ จาตุรงคกุล

ควบคุมการผลิต

นัตฐา เลิศจตุรภัทร

บริษัท เวอรโก อารต กิลด จํากัด

แยกสีและเพลท

หางหุนสวนจํากัด เลย โปรเซส

พิมพที่

บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จํากัด

บรรณาธิการผูพิมพ/โฆษณา

กุลกันยา โกศลกุล

จัดจําหนายโดย

บริษัท เวิลด ออฟ ดิสทริบิวชั่น จํากัด

ธุรการ/โฆษณา

กิดาพรรณ โกศลกุล

โทร. ๐๘ ๐๔๕๑ ๕๕๕๕

Email: kidapan.anurakmag@gmail.com

เจาของ บริษัท สปริต อารท ๒๐๑๑ จํากัด

๓๒๔/๑ หมู ๘ รามอินทรา ๖๑

แขวงทาแรง เขตบางเขน

กรุงเทพฯ ๑๐๒๓๐

โทร. ๐ ๒๕๐๙ ๐๐๔๔

โทรสาร ๐ ๒๕๐๙ ๐๐๒๖

Email: info@anurakmag.com

www. anurakmag.com

รูปภาพและขอเขียนทั้งหมดในนิตยสารอนุรักษ สงวนสิทธิ์ตามกฎหมาย การนําไปตีพิมพ อางอิง

เผยแพรซํ้า ตองไดรับการยินยอมเปนลายลักษณอักษร www.facebook.com/AnurakMagazine

|


นอมรําลึกในพระมหากรุณาธิคุณเปนลนพน

๑๓ ตุลาคม วันคลายวันสวรรคต

พระบาทสมเด็จพระบรมชนกาธิเบศร

มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ขาพระพุทธเจา ทีมงานนิตยสารอนุรักษ

ภาพ : นภันต เสวิกุล


โลกใบใหญ่ใส่ใจอนุรักษ์ |

เรื่อง / ภาพ : ธาดา ราชกิจ

สอสัวกสรารอ

The Comedy Wildlife Photography Awards

(www.comedywildlifephoto.com)

ประกาศผล ๔๔ ภาพเหลาสัตวโลก

สรางรอยยิ้มที่เขารอบสุดทายในเวทีการ

แขงขัน e omed ildlife oograp

Award 22 เปนที่เรียบรอยแลว ซึ่งปนี้

มีภาพชวนอมยิ้มจากทั่วโลกมากมาย

สงเขามาแขงขันกัน ซึ่งเวทีในระดับสากล

ที ่มีเอกลักษณไมเหมือนใครนี ้จัดกันเปน

ปที่ ๓ แลว และในสถานการณ -19

นั้นก็กลับทําใหอีเวนทนี้ไดรับความสนใจ

ในวงกวางมากยิ่งขึ้นกวาปที่ผานๆ มา

อีกดวย

|

ชื่อนั้นบงบอกชัดเจนวานี่เปนการ

ประกวดภาพถายสัตวโลกในมุมมองที่

สรางอารมณขันและรอยยิ้ม แลวภาพสัตว

ตางๆ ที่เราเห็นจากเวทีนี้ก็จะไมใชภาพ

สัตวโลกแบบปกติที่เราคุนเคยทั่วไปดวย

ในภาวะที่เราตองรวมกันกักตัวอยูบานนี้

ทําใหผูคนหันมาสนใจภาพชวนอมยิ้ม

เขารอบสุดทายที่ถูกเผยแพรกันมากมาย

นอกจากจะทําใหมนุษยไดคลายเครียดแลว

ในขณะเดียวกันก็รับรูถึงการรณรงคเรื่อง

การอนุรักษสัตวโลก

ในอีกมุมมองที่

แตกตางไปพรอมกัน

ซึ่งความนารักตาม

ธรรมชาติเหลานี้

มีคุณคาประเมิน

ไมไดที่ทุกคนก็ควรจะ

ปกปองเสนหเหลานี้

ไวรวมกันดวย ซึ่ง

พันธมิตรที่สําคัญสําหรับการประกวด

ในเวทีนี้ก็คือ orn ree www.bornfree.

org.uk องคกรการกุศลระดับ

นานาชาติที่รวมชวยเหลือและ

อนุรักษสัตวโลกนั่นเอง แลวมา

คอยลุนกันในชวงปลายปนี้วา

ภาพสัตวโลกสรางรอยยิ้มรูปไหน

จะควารางวัลชนะเลิศไปครอง

ติดตามรายละเอียดเพิ่มเติมไดที่

www.comedwildlifepoo.com


สัาอน

ากรรชา

ใตภาพ nononononononononononon

onononononononononononono

WWF-International - Living Planet Report 2020 (livingplanet.panda.org) รันวนนวคดวีัน

ทามกลางภาวะ -19 ที่กําลังยํ่าแย

ไปทั่วโลกนี้ถึงแมวาจะทําใหธรรมชาติ

ไปจนถึงสัตวปาไดรับการฟนฟูขึ้นมาบาง

แตสถานการณโดยรวมก็ยังคงอยูใน

ขั้นวิกฤตอยูดี ผลลัพธนี้มาจากขอมูล

ของ iing lane epor 22

การสํารวจและวิจัยภายใตโครงการจัดทํารายงานสิ่งแวดลอมโลก

ที่เพิ่งถูกเผยแพรในชวงเดือนกันยายน ๒๐๒๐ ที่ผานมา ซึ่งพบวา

ยังมีเรื่องที่นาวิตกอีกมากมาย

รายงานยังชี้วาอีก ๕๐ ปขางหนา สัตวปาไปจนถึงสัตวนํ้าทั่วโลก

จะลดจํานวนลงไปกวา ๒ ใน ๓ จากที่มีอยูในปจจุบันนี้ อันเนื่อง

มาจากความเสื่อมสลายของระบบนิเวศและสิ่งแวดลอมที่กําลัง

รุนแรงขึ้นเรื่อยๆ ในสวนของพืชพันธุนั้นจํานวน ๑ ใน ๕ ของโลก

จะถูกคุกคามมากขึ้นและกําลังเขาสูภาวะใกลสูญพันธุเชนเดียวกับ

ภาวะที่เกิดขึ้นกับสัตวหลายชนิด ซึ่งนี่เปนเพียงขอมูลภาพรวม

ของผลวิจัยครั้งลาสุดนี้เทานั้น โดย iing lane epor 22

ถือเปนฉบับที่ ๑๓ ที ่จัดทําขึ้นโดยกองทุนสัตวปาโลกสากล

-nernaional และถือเปนหนึ่งในขอมูลดานสิ่งแวดลอม

ที ่สําคัญของโลกเลยทีเดียว สําหรับใครที่อยากทราบรายละเอียด

หรือติดตามขอมูลเพิ่มเติมก็สามารถเขาไปดาวนโหลดขอมูลกันไดที่

liingplane.panda.org

๖๘%

คตาลามามาตตาุตา

ลตต ค ๒๖ ตาาลลา

ลตลาตาลมล

Living Planet Report 2020 (livingplanet.panda.org)

Louis Vuitton

(www.louisvuitton.com)

ุตามมตาาลา

ลมลาลตาลา ตา

ามาตตลตมามลา

ลมา าามาาามลตุ

คลตลาาลตมตตลม

มา ม ค มาลล

ลมามามา

ตาามคคามคา

ุคมา

ุา ามา าา

าาคา è

ลาาาามต

คามลามมาา

ตล าาคา

มามลา คาลลา

คาลลาม

ลลาาม า

าาาต

คลา าา

ามมาตตม าคม

มม มาา

มาา ลา

มา ลลามล

มาาม

มตลม

ลามมาคค

าา ต คมาา

าาามาคลลคลุล

าตตา ลตลาลตา

าามุ ลาต

ลามาุ คาา

คลม

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


ดกอสอก

Twitter @GretaThunberg, Business Insider

(www.businessinsider.com), en24 (www.en24news.com), CarbonBrief

(www.carbonbrief.org), express (www.express.co.uk)

าลมา

าคม ๒๒ ามา าคมา

คตลาามา

ตล ลาตุ

าาลค

ลม

าคตล คมคา

า คาล ต

าาตาลาลมุ

ลาคามาคา

าาาลคลลุ

ล คาลามมามุตลต

มาาคลคา

าลาาาา ลาามาล

คาาาตา ลา

า าาคตา

ลาามา าุม า

าาลมตลามุม

าลลามาา

ลมามา

าลมาคคา

มลมาค าลมลค

าคลมลลค

าลาาล

าาาลลต

ค ค ๒ ล ค ๒๒ า

ตลม

|

ระาชนะุนวีน

อดีการรคอกทีัน

RETURNR (returnr.org)

นอกจากการรณรงคใหพก

ภาชนะของตัวเองไปใชบริการตาม

รานตางๆ แลว อีกไอเดียรักษโลก

ที่นาสนใจนี้ก็คือระบบการใชภาชนะ

แบบหมุนเวียนที ่สามารถชวยลด

การผลิตอยางไมจําเปนและลด

การเกิดขยะแบบใชครั้งเดียวทิ้ง

ไดอยางมีประสิทธิภาพอีกดวย โดย

โครงการที่วานี ้ก็คือ EN

ที่ถือกําเนิดขึ้นในออสเตรเลีย ไอเดีย

นั้นเริ่มจากการผลิตภาชนะตางๆ

ขึ้นมาจากสแตนเลสที่มา

พรอมาปดซิลิโคน

มีขอดีหลาย

อยางตั้งแต

ความทนทาน

ลางงาย ใชซํ้า

สะดวก ใสไดทั้งของรอน

และเย็น ใสไดทั้งอาหารแหง

ไปจนถึงของเหลว เก็บอาหารไดดี

และปลอดภัย นําเขาเครื่องลางจานได

มีอายุการใชงานยืนยาว ฯลฯ

นอกจากการทําภาชนะขายปลีก

แลวทาง EN ก็ยังทําระบบ

การบริโภคที่ดีตอวิถียั่งยืนเพื ่อ

รองรับอีกทางดวย โดยทางองคกร

จะสรางเครือขายระบบหมุนเวียน

ภาชนะนี้กับรานอาหารไปจนถึงคาเฟ

ที ่รวมเปนพันธมิตร สโลแกนของ

โครงการที่โดงดังและติดตาวา m

free o borrow นั้นเปนการการันตีวา

กรณีนี้ผูบริโภคจะไมเสียคาใชจาย

ใดๆ เลย แถมไมตองลงทะเบียนใดๆ

ใหยุงยากดวย ใชบริการงายๆ เพียง

แคจายคามัดจํา A หรือราว

๑๓๒ บาท เทียบอัตราการแลก

เปลี่ยน ณ เดือนกันยายน ๒๕๖๓

เทานั้น หลังจากนั้นผูบริโภคจะ

สามารถใชภาชนะที่ตองการจาก

ทางระบบ EN ไดฟรี สามารถ

นําภาชนะกลับบานได และนํากลับ

ไปคืนที ่รานอื่นๆ ในเครือขายได

เมื่อคืนแลวก็จะไดเงินมัดจําคืนมา

เต็มจํานวน โดยไมมีระยะเวลาเปน

ตัวกําหนด ภาชนะที่คืนก็จะกลับ

เขาสูระบบในการทําความสะอาด

แลวนําไปใหบริการใหม เรียกไดวา

เปนวงจรระบบการยืม-คืนภาชนะ

ที่มีประสิทธิภาพมากทีเดียว ติดตาม

รายละเอียดกันไดที่ reurnr.org


ัะนา

กัการรรครอสวดอนาสุทร

Museum of Underwater Art (www.moua.com.au), Oxak News (oxak.ru)

ลาลมมลมมคา

ตตลุมาาา

มาคม ๒๒ ามา ลตาลาุต

ตล าาล

ลาคลมต า

ล มค

าา าา ลคลา

ลมคาตล

มาล

ลมต

ล าาา

ม า

ม ต ามาลาลา

๒ ลมาาุล

ตมาต ต า มุ ตต

ตลตามต

มคา ลา าตตมาม

ลาลาาตต

ตมามลตค ตมาม

ลา ลาล าาม

ตลลตามุมาลล

ลาา าลล

ุมลมลตลมมคา มา

มาาาล ต าุ

ม า าลามตมุ ลคาาล

มลา ค ๒๒ ลตตามาลมตม

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


ัานสะอาด

ากกััน

าานาุ

challenergy (challenergy.com)

มาตาาุตุ

ุคาคาคามา

ลมลตลาา ลม

มาามาลม

มุมา ตาา

าามาา

าุคลต

มาตตลลา

ุาลาาม

าลลาามาลา

าาคลล าา

ลาาาาคคตมม

าลมลตาม

ามาตาาาุามา

ลมมลค คค

๓๔๔,๔๐๐ ตร.กม.

คมามคคลุม

ลาุล

Great Barrier Reef Marine Park Authority

(www.gbrmpa.gov.au)

เมื่อชวงกลางเดือนกันยายน ๒๐๒๐ ที่ผานมาเกิดปรากฏการณ

ธารนํ้าแข็งที่กรีนแลนด reenland บริเวณขั้วโลกเหนือละลาย

และแตกแยกตัวออกมาเปนกอนมหึมาที่วากันวามีขนาดใหญที่สุด

ในรอบ ๒๐ ปเลยก็วาได ซึ่งการละลายครั้งนี้นับเปนสัญญาณเตือน

อันใหญหลวงตอเรื่องสภาวะอากาศโลกที่มนุษยชาติตองตระหนัก

ในเรื่องนี้ใหมากขึ้นทีเดียว

กอนธารนํ้าแข็งที่ละลายนี้อยูบริเวณทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ

ของเกาะ สวนที่ละลายและและแยกตัวออกมานั้นมีพื้นที่กวา

๑๑๓ ตร.กม. ที่เทียบเทาขนาดของกรุงปารีสเลยก็วาได ปริมาณ

นํ้าแข็งที่ละลายในครั้งนี้ครั้งเดียวยังคิดเปนอัตราสวน ๒ ใน ๓

ของปริมาณนํ้าแข็งที่ละลายทั้งหมดในรอบ ๒๐ ป นี้เลยทีเดียว

ซึ่งมันมีผลทําใหนํ้าทะเลทั่วโลกสูงขึ้นราว ๑.๕ มม. อีกดวย

การละลายในครั้งนี้เกิดจากอุณหภูมิเฉลี่ยของบริเวณนี้ที่เพิ่มขึ้น

เรื่อยๆ ซึ่งนับตั้งแตป ค.ศ. ๑๙๘๐ จนถึงปจจุบันอุณหภูมิเพิ่มขึ้น

ถึง ๓ องศาเซลเซียสเลยทีเดียว มีสวนทําใหนํ้าทะเลอุณหภูมิสูงขึ้น

|

วการนากรีนนดะา

สัาอนครักนี

CNN (edition.cnn.com),

Forbes (www.forbes.com),

euronews (www.euronews.com),

METRO (metro.co.uk)

าตา

าตุ าา

ล มา

ลาลตา

คลม

ลาลลม มาลต

ามมาาลมา

ตมลาา

าุ าาคุมคาามา

ตาาาม

าล

ุ ุลาลาาุ

มาล คาาาา

าคต มมมต

าุาาลา

าตตลมาล าคต

าาตาาุมมา

าามมา

า มุา

ลมาาา ตลามม

าาลตามาา

คตาาตม

ต าลมตม

และนํ้าแข็งละลายไดเร็วขึ้น นอกจากจะเปนปญหากับสัตวนํ ้า

ตลอดจนสัตวขั้วโลกแลว อุณหภูมินํ้าที่เปลี่ยนแปลงนี้ก็เปนสาเหตุ

ใหเกิดพายุตางๆ ทั่วโลกมากขึ้นดวย ไปจนถึงมีสวนทําใหเกิด

ไฟปาอยางที่เปนกันอยูทั่วโลกตอนนี้ และภัยธรรมชาติที่จะตามมา

อีกมากมาย ซึ่งมนุษยควรตระหนักและรวมมือกันชวยเหลือ

โลกใบนี้ใหเร็วที่สุด

๑๒.๕ ซม.

คาลล ค ๒ คาาาุ

มาาาลมา ลาลลุมลา

CNN (edition.cnn.com)


านาคาทรีนราคา

สําหรับการจัดการแหล่งท่องเที่ยวไทย

Buengkan Day www.facebook.com/Buengkanday), T News (www.tnews.co.th)

แรงกระเพื่อมครั้งสําคัญสําหรับเรื่อง

การทองเที่ยวและการจัดการสิ่งแวดลอม

ของไทยที่เกิดขึ้นในปนี้นั้นก็คือการที่

รัฐบาลออกมาประกาศปดแหลงทองเที่ยว

ที ่เพิ่งเปดใหเขาชมใหมไดไมนานอยาง

ถํ ้านาคา ที่ตั ้งอยูในอุทยานแหงชาติ

ภูลังกา จ.บึงกา อันเนื่องมาจากความ

เสียหายรายแรงโดยมือมนุษยนั่นเอง

การขีดเขียน โรยแปงขัดถูกหาตัวเลข

ไปจนถึงการทิ้งขยะเกลื่อนกลาด ทําให

แหลงทองเที่ยวอันทรงคุณคานี้เละเทะ

ในพริบตาในระยะเวลาไมกี่เดือน

ไมเพียงแตหนวยงานทองถิ่น

เทานั้น เรื่องนี้กลายเปนประเด็นสําคัญถึง

ระดับประเทศ รัฐมนตรีวาการกระทรวง

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

ตองออกโรงตําหนิและออกคําสั่งปด

แหลงทองเที่ยว ตลอดจนเรงหาผูกระทําผิด

มาลงโทษโดยเร็ว นอกจากแผนการฟนฟู

ความเสียหายแลวหนวยงานทองถิ่นยังตอง

เรงทําแผนจัดการการแหลงทองเที่ยวใหมี

ประสิทธิภาพดวย ไมใหประวัติศาสตรซํ้ารอย

และจะกลับมาเปดไดเมื่อพรอมเทานั ้น

บทเรียนราคาแพงในคราวนี ้ตองทําให

ประเทศไทยหันมาใสใจในแหลงทองเที่ยว

ทุกแหลงอยางเปนจริงเปนจังกันมากขึ้น

ซึ่งถาหากมองในแงดีและรูจักใชประโยชน

จากการผิดพลาดในครั้งนี้ก็อาจถือเปน

จุดเปลี่ยนสําคัญของการยกระดับการ

จัดการการทองเที่ยวของไทยเลยทีเดียว

แลวก็ยังรวมถึงการสรางจิตสํานึกในสังคม

สําหรับพฤติกรรมการทองเที่ยวที่เหมาะสม

อีกดวย คงตองรอติดตามกันตอไป

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


กาลครั้งหนึ่ง |

เรื่อง / ภาพ : นภันต เสวิกุล

จากห้วยฮ่องไคร้

สืบสานสู่

เกษตรวิชญา

“ “

2 |


ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


เป็นที่ทราบกันดีว่าสิ่งสาคัญที่สุดประการหนึ่งในการพัฒนาชนบทตามแนวพระราชดาริ

ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ ๙ ก็คือ พระราชประสงค์ที่จะให้ประชาชนมีชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น

และเพราะประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศไม่ใช่ผู้ที่อยู่อาศัยในเมือง แต่เป็นเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ

ที่ประสบปัญหามากมายในการประกอบอาชีพ ดังนั้น จึงต้องพัฒนาชุมชนให้มีความเข้มแข็งเสียก่อน

เพื่อให้สามารถพึ่งตนเองและสอดคล้องไปพร้อมๆ กับการดูแลรักษา พัฒนาทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม

อย่างคุ้มค่าและยั่งยืน เพราะทรัพยากร น้ า-ดิน ล้วนเป็นต้นทุนของประเทศ ซึ่งการที่จะด าเนินการให้สาเร็จเช่นนั้นได้

จาเป็นต้องส่งเสริมความรู้ ใช้เทคนิคอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการที่ทันสมัย มีความเรียบง่ายและประหยัด

ตลอดรัชกาล ไดพระราชทานโครงการ

อันเนื่องมาจากพระราชดําริกวาสี่พัน

โครงการ ทุกโครงการลวนมีวัตถุประสงค

เพื่อแกไขปญหาตางๆ ที่เกิดขึ้น โดยคํานึง

ถึงสภาพภูมิสังคม ที่แตกตางกันไปในแตละ

ทองถิ่น ดังพระราชดํารัสที่พระราชทานวา

“...การพัฒนาจะต้องไปตามภูมิประเทศ

ทางภูมิศาสตร์และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์

ในสังคมวิทยา ภูมิประเทศตามสังคมวิทยา

คือ นิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คน

คิดอย่างอื่นไม่ได้ เราต้องแนะนา เราเข้าไป

ดูว่าเขาต้องการอะไรจริงๆ แล้วก็อธิบาย

ให้เขาเข้าใจหลักการของการพัฒนานี้

ก็จะเกิดประโยชน์อย่างยิ่ง...”

ดวยเหตุนี้จึงไดพระราชทาน

พระราชดําริใหจัดตั้ง ศูนยศึกษาการ

พัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ในทุก

ภูมิภาคของประเทศไทย รวม ๖ ศูนย

ทําหนาที่เสมือน พิพิธภัณธรรมชาติ

ที่มีชีวิต ที่รวบรวมสรรพวิชาในการศึกษา

คนควา ทดลอง วิจัย และวิธีการแกปญหา

ดานเกษตรกรรม ทั้งเรื่องนํ้า ดิน และปาไม

ซึ่งเกษตรกรหรือผูที่สนใจทั่วไป สามารถ

เขาไปศึกษาหาความรูและนําความรู

กลับไปประยุกตใชกับพื้นที่ของตนเอง

|


ทรงติดตามความคืบหน้าของศูนย์ฯ แทบจะทุกปี เมื่อแปรพระราชฐานไปประทับที่ภูพิงคราชนิเวศน์

ศูนย์ศึกษาการพัฒนาอันเนื่องมาจากพระราชดารินี้ “...เป็นการสาธิตการพัฒนาเบ็ดเสร็จ หมายถึงทุกสิ่งทุกอย่างทุกด้านของชีวิตประชาชนที่จะหาเลี้ยงชีพ

ในท้องที่จะทาอย่างไร และได้เห็นวิทยาการแผนใหม่จะสามารถที่จะหาดูวิธีการจะทามาหากินให้มีประสิทธิภาพ...”

“...ด้านหนึ่งก็เป็นจุดประสงค์ของศูนย์ศึกษาก็เป็นสถานที่สาหรับค้นคว้าวิจัยในท้องที่ เพราะว่าแต่ละท้องที่สภาพฝนฟ้าอากาศและประชาชนในท้องที่ต่างๆ กัน

ก็มีลักษณะแตกต่างกันมากเหมือนกัน...” พระราชดารัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว วันที่ ๑๑ กันยายน ๒๕๒๖

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


ในภาคเหนือระหวางแปรพระราชฐาน

มาประทับที่พระตําหนักภูพิงคราชนิเวศน

ไดเสด็จฯ ออกทรงงานตามพื้นที่โดยรอบ

ไดเสด็จฯ ผานพื้นที่ลุมนํ้าหวยองไคร

ในเขตอําเภอดอยสะเก็ด ทรงพบวาพื้นที่

ดังกลาวเปนปาเต็งรังเสื่อมโทรม มีความ

ลาดชันไมสูงมากนักและไมมีราษฎรอาศัย

อยูในเขตพื้นที่ จึงไดพระราชทาน

พระราชดําริที่จะใชพื้นที่ในลุมนํ้าดังกลาว

เปนที่ศึกษาการพัฒนารูปแบบตางๆ โดย

ใชระบบชลประทานเปนแกนนํา เนื่องจาก

หากว่าพื้นที่นี้ได้รับการปรับปรุง

ให้ดีขึ้นแล้วก็จะเป็นตัวอย่าง

ที่สามารถนาไปปรับใช้กับพื้นที่

แบบเดียวกันในแหล่งอื่นๆ

จะได้ช่วยยกระดับชีวิต

ความเป็นอยู่ของราษฎร

ในพื้นที่ลุ่มน้าชนิดนี้

ให้มีสภาพดีขึ้นไปพร้อมกัน

สภาพปาเต็งรังที่เสื่อมโทรมนี้มีอยูคอนขาง

มากในภาคเหนือ หากวาพื้นที่นี้ไดรับการ

ปรับปรุงใหดีขึ้นแลวก็จะเปนตัวอยางที่

สามารถนําไปปรับใชกับพื้นที่แบบเดียวกัน

ในแหลงอื่นๆ จะไดชวยยกระดับชีวิตความ

เปนอยูของราษฎรในพื้นที่ลุมนํ้าชนิดนี้

ใหมีสภาพดีขึ้นไปพรอมกัน

เมื่อวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๒๕ จึงทรง

พระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหจัดตั้ง ศูนยศึกษา

การพัฒนาหวยองไคร ขึ้นบริเวณปาขุน

แมกวง อําเภอดอยสะเก็ด จังหวัดเชียงใหม

|


(บน) ทดลองและส่งเสริมงานด้านปศุสัตว์และเกษตรอุตสาหกรรมหลากหลายชนิด

(ซ้าย) จากสภาพป่าเสื่อมโทรม แห้งแล้ง พลิกฟื้นกลับสู่ความชุ่มชื้น อ่างเก็บน้า

น้าที่เป็นต้นทางของงานเกษตรกรรมทุกชนิด

มีพื้นที่โครงการประมาณ ๘,๐๐๐ ไร

ทําหนาที่ศึกษาคนควาพัฒนารูปแบบที่

เหมาะสมของพื้นที่ เพื่อใหราษฎรเขามา

ศึกษาหาความรูและสามารถนําไปปฏิบัติ

ไดในที่ดินของตัวเองตอไป โดยทําการ

ศึกษาพัฒนาปาไม ๓ อยางเพื่อประโยชน

๔ อยาง คือไมใชสอย ไมผล ไมเชื้อเพลิง

ซึ่งจะอํานวยประโยชนในการอนุรักษดิน

และนํ้า ตลอดจนคงความชุมชื้นเอาไว

เปนประโยชนอยางที่ ๔ และจัดพื ้นที่

ตนนํ้าลําธารใหไดผลอยางสมบูรณ

เปนหลัก กําหนดหลักการใหตนทางคือ ปจจุบัน ศูนยศึกษาหวยองไคร

ดานที่มีความสูงเปนการศึกษาสภาพพื้นที่ สามารถดําเนินการอยางไดผล สามารถ

ปาไมตนนํ้าลําธาร และปลายทางที่อยูตํ่า เปนที่พึ่งเปนแหลงเรียนรูใหแกราษฎร

ลงมาเปนการศึกษาดานการประมงตาม เขาไปศึกษาหาวิธีแกปญหาดินและนํ้า

อางเก็บนํ้า ผสมกับการศึกษาดานการ ตลอดจนปญหาดานเกษตรกรรมอื่นๆ

เกษตรกรรม ปศุสัตวและโคนม และเกษตร รวมทั้งเขาไปรับการอบรมเพื่อการทํา

อุตสาหกรรม เพื่อใหเปนศูนยฯ ที่สมบูรณแบบ การเกษตรในรูปแบบใหมๆ

เกิดประโยชนตอราษฎรที่จะเขามาศึกษา

กิจกรรมตางๆ ภายในศูนยฯ แลวนําไปใช

ปฏิบัติอยางไดผลตอไป

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


มีการนาเทคโนโลยีทันสมัยมาใช้ได้อย่างสัมพันธ์กันในแปลงเกษตรทฤษฎีใหม่

เฉพาะอยางยิ่งการใชแกเพื่อการ

อนุรักษ เมื่อครั้งที่ผูเขียนเขาไปเยี่ยมชม

การดําเนินงานของศูนยฯ หวยองไครนั้น

เปนเวลาเดียวกับที่เกิดอุทกภัยขึ้นใน

จังหวัดในภาคเหนือหลายแหง รวมทั้งที่

เชียงใหมทางหลวงหลายสายถูกนํ้านและ

นํ้าปาเซาะตัดขาด พื้นที่ของศูนยฯ ก็ไดรับ

ผลกระทบรุนแรงเทาที่อื่นๆ แตแทนที่จะ

เกิดความเสียหายดังเชนพื้นที่โดยรอบ

กลับไดรับแตประโยชนจากนํ้าน

อางเก็บนํ้าขนาดใหญ ที่แหงขอดมาตลอด

ตั้งแตเกิดภัยแลง กลับมีนํ้าเปยมงใน

ชั่วเวลาขามคืน

ในหุบเขาเล็กๆ แหงหนึ่งที่บานโปงแยง

ในอําเภอแมริม จังหวัดเชียงใหม เชนกัน

มีโครงการชื่อ เกษตรวิชญา ไมคอยมี

ใครรูจักกันนัก นอกจากชาวบานและ

หมูบานใกลเคียงในหุบโปงแยง ไมคอยมี

ใครทราบอีกเชนกันวานี่คือโครงการ

ตามพระราชดําริของในหลวงรัชกาลที่ ๑๐

ที่ไดทรงดําเนินรอยตามเบื้องพระยุคลบาท

สมเด็จพระบรมชนกนาถ ตั้งแตครั้งยังดํ ารง

พระยศเปน สมเด็จพระบรมโอรสาธิราชฯ

สยามมกุฎราชกุมาร โดยไดพระราชทาน

|


“น้าป่าไหลหลาก” ที่ได้ยินรายงานข่าวซ ้าๆ ทางโทรทัศน์ แต่ภาพกลับแตกต่างกัน

โดยสิ้นเชิง แทนที่จะเป็นเกลียวน้าสีแดงเข้มที่พัดพาหน้าดินมาท่วมล้นฝั่งอย่างที่เห็นเป็นปกติ

แต่ทว่าตลอดเส้นทางน้าในบริเวณศูนย์ฯ ที่ปลูกแฝกเป็นรูปตัววีคว่า เพื่อดักตะกอนและ

ลดความรุนแรงของน้า ที่ปลูกเตรียมไว้ในทุกเส้นทางน้าไหล ได้ทาให้น้าที่หลากมา ใสแจ๋ว

และไม่สร้างความเสียหายใดๆ แม้แต่น้อย เห็นแล้วก็แสนเสียดาย “ศาสตร์พระราชา” ที่ทรง

พร่าสอนและแสดงไว้ให้เห็นทุกศูนย์ศึกษา (และอีกแทบทุกแห่งในโครงการอันเนื่องมาจาก

พระราชดาริ) แต่กลับไร้หน่วยราชการใดๆ มาถ่ายทอดนาไปใช้ในสถานที่จริง...และเชื ่อว่า

เราจะยังคงได้จับข่าวสารที่เตือนให้ระวัง “น้าท่วมเฉียบพลันและน้าป่าไหลหลาก” เช่นนี้ไปอีก

ชั่วกัปชั่วกัลป์

ที่ดินสวนพระองคในพื้นที่สวนบานกองแหะ

ตําบลโปงแยง อําเภอแมริม จังหวัด

เชียงใหม จํานวน ๑,๓๕๐ ไร ซึ่งเปนพื้นที่

ปาเสื่อมโทรมเพื่อดําเนินการในลักษณะ

คลินิกเกษตร เพื่อเผยแพรผลงานวิจัย

และเทคโนโลยีการเกษตรจากศูนยศึกษา

การพัฒนาหวยองไคร อันเนื่องมาจาก

พระราชดําริ มาดําเนินการในรูปแบบของ

ศูนยบริการและถายทอดเทคโนโลยีชุมชน

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


เกษตรวิชญา (ภาพทางอากาศ) มีลักษณะ

ภูมิประเทศของพื้นที่เป็นเนินเขาและภูเขาสูง

ลาดเทลงสู่หุบเขาเล็กๆ สภาพพื้นที่ส่วนใหญ่

มีความลาดชันระหว่าง ๒๐-๓๕% (Hilly)

ถึง ๓๕-๕๐% (Steep) พื้นที่มีความสูง

๑,๐๖๐-๑,๓๒๐ เมตรเหนือระดับน้าทะเล

ปานกลาง ลักษณะดินส่วนใหญ่เป็นดินลึก

ดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่า เสื่อมโทรม

จากการชะล้างพังทลาย สภาพป่าไม้เป็นป่า

ที่ไม่ผลัดใบประเภทป่าดิบเขา และมีไร่หมุนเวียน

ปะปนเนื่องจากมีการบุกรุกเข้าใช้ประโยชน์

ทาให้พื้นที่ป่าเดิมกลายเป็นป่าที่เสื่อมโทรม

ให้พบเห็นอยู่ทั่วไป

2 |


เปนศูนยกอบรมและวิจัยพัฒนาการ

เกษตรใหเหมาะสมกับพื้นที่

หลังจากดําเนินการโครงการไมนานนัก

ก็ไดเพาะชํากลาไมโตเร็วกวา ๕๐,๐๐๐ ตน

ไปแจกจายใหราษฎรนําไปปลูกขยายผล

ใชประโยชนในชุมชนและครัวเรือน โดย

ปลูกเปนไมใชสอยและไมโตเร็วจํานวน

๑๒๐ ไร เพื่อใหราษฎรมีพื้นที่ปาไวใช

ประโยชนเปนถานฟนหุงตมอาหาร และ

ดําเนินกิจกรรมสงเสริมราษฎรผลิต

และใชเชื้อเพลิงชีวมวล อีกทั้งจัดกอบรม

หลักสูตร การผลิตและใชเชื้อเพลิงอยาง

มีประสิทธิภาพ ทําใหราษฎรจํานวน

๒ หมูบาน ไดเรียนรูวิธีผลิตและนํา

เชื้อเพลิงจากวัสดุชีวมวลมาใชสอยในชีวิต

ประจําวันและพัฒนาเปนแหลงเรียนรู

ในทองถิ่น มีวัสดุเชื้อเพลิงทดแทนการใช

ไมฟน ทําใหสามารถลดปริมาณการใช

ไมฟนจากปาธรรมชาติ ราษฎรไดใช

ประโยชนจากพื ้นที่ปลูกไมฟน จํานวน

๑๒๐ ไร สงผลใหราษฎรเกิดความรัก

ความหวงแหนทรัพยากรปาไม และเรียนรู

การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ

สิ่งแวดลอมที่ยั่งยืน

ที่สุดแลวโครงการเกษตรวิชญา

โครงการตามแนวพระราชดําริของสมเด็จ

พระบรมโอรสาธิราช ฯ ก็ไดกลายเปนศูนย

เรียนรูพัฒนาดานการเกษตรตามแนวทาง

เศรษฐกิจพอเพียงประจําภาคเหนือ เปน

คลินิกเกษตรคหกรรมเกษตรและศูนย

กอบรมการทําเกษตรบนพื้นที่สูงอยาง

สมบูรณแบบ เพื่ออนุรักษทรัพยากรดินนํ้า

และปาไมใหคงความอุดมสมบูรณตาม

ธรรมชาติอยางยั่งยืน สามารถยกระดับ

ความเปนอยูของราษฎรในพื้นที่โครงการฯ

ใหอยูในระดับที่ดีขึ้น ราษฎรบริเวณรอบ

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 2


นอกจากนั้นแล้วโครงการฯ

ยังดาเนินกิจกรรมร่วมกับกลุ่มเกษตรกร

อย่างสม่าเสมอ เช่น จัดทาธนาคารอาหาร

ชุมชน ทาแนวกันไฟรั้วต้นไม้ ปลูกไม้

ใช้สอย ทาป่าเปียก สร้างฝายต้นน้า

แบบผสมผสานและอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง

โครงการไดมีงานทําและกอใหเกิดรายได

ใหแกครอบครัว เปนแหลงผลิตอาหารและ

พืชสมุนไพรใหเพียงพอกับความตองการ

ในการดํารงชีวิตประจําวัน บริเวณพื้นที่

โครงการฯ มีสภาพปาไมเพิ่มมากขึ้น

มีความอุดมสมบูรณของแหลงตนนํ้าลําธาร

เมื่อเสด็จขึ้นครองราชยและจัดให้

มีพระราชพิธีบรมราชาภิเษก ในวันที่

๔ พฤษภาคม ๒๕๖๒ พระบาทสมเด็จ

พระวชิรเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้พระราชทาน

พระปฐมบรมราชโองการไว้ว่า “เราจะ

สืบสาน รักษา และตอยอด และครอง

แผนดินโดยธรรม เพื่อประโยชนสุขแหง

อาณาราษฎรตลอดไป” นั้น พระองคได้

ทรงปฏิบัติแล้วอย่างเคร่งครัดและบริบูรณ

ยิ่งมาตั้งแต่ก่อนหน้านั้นนานแล้ว พระเดช

พระคุณเปนล้นพ้น

22 |


| Advertorial |

สายน้าแห่งวัฒนธรรมไทย

River Festival 2020

ยิ่งใหญตระการตา สําหรับงาน

angkok r a สายนํา

แหงวันธรรมทย ที่จัดขึ้นตอเนื่องเปน

ครั้งที่ ๖ แลว ภายใตแนวคิด ร่นเริง

แสงศิลป โดยมี บริษัท ทยเบเวอเรจ

จํากัด มหาชน พรอมดวยพันธมิตร

อีกหลายภาคสวนไดรวมกันจัดขึ้นบน

๑๐ พื้นที่หลักในกรุงเทพมหานคร ประกอบ

ไปดวย วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม

ราชวรมหาวิหาร วัดอรุณราชวราราม

ราชวรมหาวิหาร วัดประยุรวงศาวาสวรวิหาร

วัดกัลยาณมิตรวรมหาวิหาร วัดระฆังโฆสิ

ตารามวรมหาวิหาร ยอดพิมานริเวอรวอลค

ทามหาราช เอเชียทีค เดอะ ริเวอรรอนท

ทาลง และสุขสยาม ณ อคอนสยาม

นอกจากนั้นยังตอยอดความสําเร็จ

ของการจัดงานที่ จ.ลําพูน ซึ่งไดรับการ

ตอบรับเปนอยางดีเมื่อปที่ผานมา และ

ในปนี้ amun r a ครังที่

จะถูกเนรมิตรขึ้นอีกครั้งใหพี่นองชาวลําพูน

และนักทองเที่ยว ไดรวมงาน โคมแสนดวง

ที่เมืองลําพูน ที่ปฏิบัติสืบทอดมายาวนาน

เพื่อถวายเปนพุทธบูชาแดองคพระธาตุ

หริภุญชัย และถวายสักการะพระนางจามเทวี

ปฐมกษัตริยแหงเมืองลําพูน มารวมสัมผัส

มนตเสนหแหงวัฒนธรรมการทองเที่ยววิถีไทย

วิถีใหม new normal พรอมดื่มดํ่าไปกับ

อัตลักษณของวิถีความเปนไทยริมโคงนํ้า

ที่ยาวที่สุดของแมนํ้าเจาพระยา ไปกับ รื่นเริง

แสงศิลป ไดในงาน angkok ier

eial 22 สายนํ้าแหงวัฒนธรรมไทย

ครั้งที่ ๖ และ umpun ier eial

ครั้งที่ ๒ ตั้งแตวันที่ ๒๙-๓๑ ตุลาคม ๒๕๖๓ นี้

ตั้งแตเวลา ๑.๐๐-๒๒.๓๐ น. สอบถาม

หรือติดตามความเคลื่อนไหวไดที่ www.

rierfeialailand.com และ facebook/

rierfeialailand

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 2๓


รัชกาลที่

2 |


| คงไว้ซึ่งคุณค่า |

เรื่อง/ภาพ : ม.ล.ภูมิใจ ชุมพล

สมเด็จพระสยามเทวมหามกุวิทยมหาราช

กับการถายภาพในยุคแรกของสยาม

ระหว่างช่วงล็อกดาวน์หยุดอยู่กับบ้านเป็นเวลานาน ผู้เขียนมีเวลาว่างมากขึ้น จึงได้อกาสเปดกรุลาเลียงภาพ

และสิ่งพิมพ์บราที่สะสมอยู่ในคลังของตนเองออกมาเรียงลาดับเสียใหม่ เพื่อให้ง่ายต่อการค้นหา

อีกทั้งยังได้นาภาพบางภาพลงจากผนังห้องมาเช็ดุน ปัดหยากไย่ไปพร้อมๆ กัน

ภาพสําคัญภาพหนึ่งในคอลเลคชั่น ซึ่งยังไมเคยไดรับ

การทําความสะอาดเลยตั้งแตวันที ่เขากรอบไวเมื่อรอยกวาป

มาแลว คือพระบรมฉายาลักษณระบายสีของพระบาทสมเด็จ

พระปรเมนทรรามาธิบดีศรีสินทรมหามงกุฎ พระจอมเกลาเจาอยูหัว

พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช ซึ่งบรรจุอยูในกรอบไม

ปดทองที่เริ่มเปราะบางไปบางตามกาลเวลา มีจุดเชื้อราสีขาวเล็กๆ

ขึ้นอยูประปรายบนแผนกระจกสมัยวิคทอเรียนที่ปองภาพไว

สวนแผนไมที่ปดผนึกดานหลังของกรอบ ก็มีุนเกาะหนาจนกลาย

เปนสีเทา

ผูเขียนใชเวลาไตรตรองอยูนานพอสมควรกอนตัดสินใจเริ่ม

ภารกิจ ดวยเกรงเหลือเกินวาหากเกิดความผิดพลาดแมแตเพียง

เล็กนอยก็อาจสรางความเสียหายได เพราะทั้งภาพและกรอบ

รวมทั้งสายโซทองเหลืองที่ใชแขวน ลวนเปนของออริจินัลที่ทําขึ้น

พรอมๆ กันในคราวเดียว คือตั้งแตปลายรัชสมัยของพระบาท

สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ดังนั้นผูเขียนจึงไปรบกวนเพื่อนที่

มีความสามารถในงานมือและงานอนุรักษมาชวยกันถอดกรอบ

ภาพโบราณ ซึ่งสําหรับเราทั้งสองคนแลวเปรียบเสมือนเปนการ

เปดประตูเวลาขนาดยอมบานหนึ่งเลยทีเดียว

ตะปูจิวไรหัวแบบเกาเกือบ ๒๐ ตัว ที่ใชตรึงแผนไมดานหลัง

กรอบไวโดยรอบนั้น ยังแข็งแกรงและอยูในสภาพมั่นคง เราจึงใช

คีมปากแหลมคอยๆ คีบตะปูแตละตัวออกมาชาๆ และแยกเก็บไว

อยางปลอดภัยเพื่อนํากลับมาใชใหมตอนนําภาพกลับเขากรอบ

โดยตอกเขาในจุดเดิมและรูเดิม

ทันทีที่ตะปูทุกตัวถูกถอนออกมาจนหมด แผนไมโบราณก็ดีด

ตัวขึ้นจากกรอบรูปดวยแรงอัดที่สะสมมานานนับศตวรรษ

กระดาษทากาวที่ปดชองแคบๆ ระหวางแผนไมกับกรอบโดยรอบ

ก็คอยๆ ปริออกดวยแรงธรรมชาติ เผยใหเห็นกระดาษภาพถายที่

ยังคงสภาพสมบรูณทุกประการ ยกเวนแตคราบนํ้าตรงมุมดานลาง

ซึ่งผูเขียนคิดวาเกิดขึ้นเมื่อนานมาแลว และไดแหงสนิทโดยทิ้งรองรอย

สีนํ้าตาลจางๆ ไวใหเห็น โชคดีที่นํ้าซึมเขามาในกรอบแตเพียงนอย

ยังลามไมถึงตัวภาพถายจนกอใหเกิดความเสียหายแตอยางใด

เมื่อยกภาพขึ ้นจากกรอบ และพลิกดานหนากลับขึ้นมาชม

เราทั้งคูเปยมไปดวยความตื้นตัน เพราะนี่เปนครั้งแรกในชวงเวลา

รอยหาสิบกวาปที่จะมีใครไดเห็นภาพนี้โดยปราศจากกระจกครอบ

ทั ้งสีสันที่ยังสดสวยและรายละเอียดตางๆ ของภาพที่เดนชัดขึ้น

เมื่อไรสิ่งกําบัง โดยเฉพาะอยางยิ่งสายพระเนตรอันครุนคิดของ

สมเด็จพระวิทยมหาราช พระมหากษัตริยลําดับที่ ๔ แหงกรุง

รัตนโกสินทร ซึ่งทอดขามกาลเวลามาสูผูที่กําลังมองยอนกลับไปหา

อดีตในชั่วขณะเดียวกัน

ความรูสึก ความสงสัย และคําถามมากมายพรั ่งพรูอยูใน

ความคิดของผูเขียน พระบรมฉายาลักษณนี้ฉายขึ้นที่ไหน เมื่อไหร

อยางไร ใครเปนผูฉาย ใครเปนผูเลือกสรรฉลองพระองคอีกทั้ง

วัตถุตางๆ ที่นํามาตั้งประกอบกันในภาพ โดยทําขึ้นเพื ่อเจตนา

หรือจุดประสงคอันใด

การถายภาพเมื่อกวา ๑๕๐ ปมาแลวนั้น ไมใชเรื่องที่จะทํากัน

ไดงายๆ แบบในปจจุบัน เพราะอยาลืมวากลองถายรูปเพิ่งถูก

ประดิษฐขึ้นในชวงปพุทธศักราช ๒๓๖ หลังจากที่นายโจเซฟ

นิเซฟอร เนียปซ oep Nicepore Niepce ชาวรั่งเศส

ไดทุมเทเวลาคิดคนอยูนานนับสิบป และกวานวัตกรรมชิ้นใหมนี้

จะถูกนําออกใชอยางแพรหลายในทวีปยุโรปและอเมริกาก็ราวๆ

ปพุทธศักราช ๒๓๘๓ สืบเนื่องจากการคิดคนตอยอดของหุนสวน

ชื่อนายหลุยส าคส มองเด ดาแกร oui acue Monde

aguerre หลังจากที่นายเนียปซเสียชีวิตไปแลว

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 2


นายดาแกรเปนผูที่สามารถถายภาพบุคคลอยางคมชัด

ดวยเทคนิคดาแกรโรไทป dauerreope ไดเปนคนแรกในป

พุทธศักราช ๒๓๘๑ อีกทั ้งยังมี นายวิลเลียม ฟอกซ ทัลบอต

illiam o albo และนายจอหน เอรเชล on ercel

ชาวอังกฤษ ผูคิดทํากลองถายรูปตางแบบขึ้นไดในเวลาที่ไลเลี่ย

กันกับทางรั่งเศส เรียกกันวากลองแบบคาโลไทป calope

ที ่สามารถถายภาพลงบนกระดาษขี้ผึ้งเคลือบเคมี จนเปนภาพ

เนกาทีฟ ซึ่งจะนําไปอัดเปนภาพถายซํ้าๆ ไดอีกหลายภาพ

ไมเหมือนวิธีการของนายดาแกร ที่ถายภาพลงบนแผนโลหะ

ไดเพียงทีละภาพ ตอมาในปพุทธศักราช ๒๓๙๔ นายเฟรดเดอริค

สกอต อารเชอร rederick co Arcer คิดคนเทคนิค we plae

collodion proce ซึ ่งถูกนําออกใชงานอยางแพรหลายถึงราวๆ

ปพุทธศักราช ๒๔๑๓ เมื่อเทคนิค gelain dr plae แบบใหม

ไดเขามาเปนที่นิยม

ในสยาม พระยาไทรบุรีไดสงพระบรมฉายาลักษณของสมเด็จ

พระราชินีนาถวิคทอเรีย แหงสหราชอาณาจักร ที ่คาดกันวาฉาย

ในชวงเวลาที่เสด็จขึ้นครองราชยใหมๆ ราวปพุทธศักราช ๒๓๘๐

ขณะพระชนมเพียง ๒๑ พรรษา เขามาถวายพระบาทสมเด็จ

พระนั่งเกลาเจาอยูหัว ซึ่งยังไมเปนที่แนชัดวาฉายดวยระบบ

ดาแกรโรไทปแบบรั่งเศสหรือระบบคาโลไทปของอังกฤษ ชาววัง

ในสมัยนั้นเรียกวา พระรูปเจาวิลาต และมักจะไมคอยเชื่อกันวา

เปนภาพที่ชักดวยกลอง คนสวนใหญคิดวาเปนภาพที่วาดขึ้นโดย

ชางมือดี พระรูปเจาวิลาตนี้มีขนาดยาวประมาณ ๖๐ เซนติเมตร

กวางประมาณ ๒๕ เซนติเมตร โปรดเกลาฯ ใหนําเขากรอบ

ครอบกระจกและแขวนอยูบนเสาในทองพระโรงพระที่นั่ง

อมรินทรวินิจฉัยดานตะวันตก ในภายหลังรูปเจาวิลาตไดสูญหายไป

แตผูเขียนไดนําพระฉายาลักษณของสมเด็จพระราชินีนาถวิคทอเรีย

ที่เชื่อกันวาฉายเปนภาพแรกๆ หลังเสด็จขึ้นครองราชย จากคลังหลวง

ของสหราชอาณาจักรมาใหชมพอเปนสังเขป

สวนคําถามที่วาใครเปนคนแรกที่ถายรูปในสยามนั้น กูรูหลายคน

มีความคิดเห็นตางกัน บางคนใหเครดิตกับสังราชปาลากัวซ

ean apie allegoi ที่ไดขอใหบาทหลวงชาวรั่งเศสชื่อ

ลารโนดี ean apie arnaudie นํากลองถายภาพแบบ

ดาแกรโรไทป ติดตัวเขามาจากยุโรปเมื่อปพุทธศักราช ๒๓๘๘

แตผูรูบางคนกลับระบุวาอาจเปนนายแพทยแดน บีช บรัดเลย

an eac radle ชาวอเมริกัน ซึ่งเดินทางมาเผยแผศาสนา

และตั้งรกรากอยูในสยามตั้งแตเมื่อปพุทธศักราช ๒๓๘ และนาจะ

มีการสั่งกลองถายภาพเขามาดวยเชนกัน เพราะนอกจากคุณหมอ

บรัดเลยจะเปนแพทยที่นําการแพทยแผนสมัยใหมเขามาเปน

ประโยชนตอชาวสยาม เชน การปลูกปองกันไขทรพิษ ซึ่งทําไดผล

เปนที่ไววางพระราชหฤทัยของพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลาเจาอยูหัว

ถึงขั้นพระราชทานพระราชทรัพยใหสั่งซื้อเชื้อหนองโค

จากสหรัฐอเมริกา เพื่อนําเขามาปลูกใหกับประชากรในพระนคร

อีกทั้งโปรดใหแพทยหลวงศึกษาวิธีการปลูกเพื่อขยายปฏิบัติการ

เปนวงกวาง คุณหมอบรัดเลยยังสนใจนวัตกรรมนําสมัยอื่นๆ เชน

การพิมพ จนกระทั่งสามารถสรางโรงพิมพขนาดเล็กขึ้นที่ตรอก

กัปตันบุช เพื่อพิมพเอกสารภาษาไทยดวยแทนพิมพไมที่สั่งทําจาก

เมืองสิงคโปรเปนเจาแรก และตอมายังมีการนําแทนพิมพใหม ยี่หอ

โอติส ที่ทันสมัยที่สุดในสมัยนั้นเขามาใชงาน โดยหนึ่งในสิ่งพิมพ

รุนแรกๆ คือประกาศพระราชโองการหามสูบนในสยามจํานวน

๙,๐๐๐ ฉบับ

อันที่จริงแลวทั้งสองทฤษฎีที่กลาวถึงมาแลวขางตนนั้น มีความ

เปนไปไดพอๆ กัน เนื่องจากทางงอเมริกาเองก็เกิดความ

กระตือรือรนเรื่องการถายภาพ สืบเนื่องจากมีนักคิดคนชื่อ

นายแซมูแอล ฟนลีย amuel inle reeze More ไดมีโอกาส

พระบรมฉายาลักษณ์แรกของสมเด็จพระราชินีนาถวิคทอเรีย

ที่ฉายหลังจากเสด็จขึ้นครองราชย์

2 |


ภาพถ่ายเจ้านายในช่วงปลายรัชกาลที่ โดยหลวงอัคนีนฤมิตร

หรือ นายฟรานซิส จิตร

เดินทางไปทํางานที่กรุงปารีสในปพุทธศักราช ๒๓๖ เขาตื่นเตน

กับวิทยาการใหมลาสุดที่สามารถบันทึกภาพดวยกลอง จึงนํากลับ

ไปตอยอดที่อเมริกา จนวิชาการถายภาพที่อีกงหนึ่งของ

มหาสมุทรแอตแลนติกพัฒนารุดหนาไปอีกไกลดวยเทคนิคพิเศษ

ตางๆ ไมแพทางงยุโรป

อยางไรก็ดีถาจะเอาหลักฐานที ่จับตองได คงตองยอมวาาย

สังราชปาลากัวซ เปนพวกแรกที่ถายภาพในกรุงสยาม เพราะ

ทานไดมีจดหมายเขียนไปเลาเรื่องใหเพื ่อนบาทหลวงที่ศูนย

มิชชันนารีที่มาเกาสองฉบับ ในฉบับแรกเมื่อวันที่ ๒๒ สิงหาคม

พุทธศักราช ๒๓๘๘ เขียนวาบาทหลวงลารโนดีไดเดินทางมาถึง

กรุงเทพฯ ดวยความเรียบรอยดีพรอมกับกลองและอุปกรณ

ถายรูปที่ากใหบาทหลวงอัลบรันด ซื้อที่ปารีส และในจดหมาย

ฉบับตอมาลงวันที่ ๒๐ ตุลาคมปเดียวกัน สังราชปาลากัวซ

ยังเขียนเลาไปอีกวา ทานและคุณพอลารโนดีไดทดลองใชกลอง

ดาแกรกันอยูสามสี่วัน ก็สามารถถายรูปได และไดลองถายภาพ

พระบรมวงศานุวงศหลายพระองค รวมทั้งขาราชการผูใหญ

หลายคนจนเริ่มขาดแคลนนํ้ายาเคมีตางๆ จึงขอใหทางปารีสจัดหา

สงเขามาเพิ่มใหอีก พรอมทั้งแผนเงินขนาดใหญสามโหลและ

ขนาดเล็กอีกสามโหล รวมทั้งตําราการถายรูปดวยกลองดาแกรโรไทป

เลมใหมลาสุดอีกดวย

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 2


ปายกระดาษหลังพระรูป

การเดินทางมาถึงของเทคโนโลยีการถายภาพสรางความ

ฉงนสนเทหใหกับชาวพระนครมากพอควร สวนใหญยังมีความ

หวาดระแวงตามความเชื่อเรื่องผีสางของชาวเอเชียโบราณวา

หากถูกชักภาพแลว จะมีผลตอชีวิตของบุคคลที่โดนบันทึกภาพไว

ซึ่งตรงกันขามกับทางงยุโรปและอเมริกาที่ผูคนมีการศึกษา

แบบสมัยใหมและเขาใจดีถึงกฎวิทยาศาสตร

เปนความโชคดีของสยามก็วาไดที่พระมหากษัตริยทุกรัชกาล

ตั้งแตตนยุครัตนโกสินทร โดยเฉพาะอยางยิ่งพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกลาเจาอยูหัว และพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว

นั้น ทรงสนพระราชหฤทัยในศาสตรสมัยใหมเรื่อยมาตั้งแตกอน

เสด็จขึ้นครองราชย อาจเปนเพราะวาทรงรูจักชาวตางชาติหลาย

กลุมที่เดินทางเขามาถึงพระนครในชวงเวลานั้นและมักจะ

พระราชทานโอกาสใหเขาเาถวายความคิดเห็น แลกเปลี่ยน

ทัศนคติกันอยูเสมอ จึงมีสวนใหทั้งสองพระองคทรงรอบรูในความ

ลํ้าสมัยทางวิทยาการที่กําลังกาวกระโดดในทวีปยุโรปและอเมริกา

อยางตอเนื่อง ไมวาจะเปนดานวิทยาศาสตรการแพทย

วิศวกรรมศาสตร ดาราศาสตร ซึ่งพระบาทสมเด็จพระจอมเกลา

เจาอยูหัว ทรงพระปรีชาหาใครทัดเทียมไดยากยิ่ง เนื่องจาก

พระองคทรงรอบรูแมนยําในหลักโหราศาสตรโบราณของเอเชีย

อันลึกซึ้งเปนทุนอยูแลว

เมื่อเทคโนโลยีการถายรูปเดินทางเขามาถึงสยามอยาง

เต็มรูปแบบ องคพระประมุขทั้งสองพระองคจึงไมทรงลังเลที่จะ

สนับสนุนใหชางภาพสามารถทํางานกันไดอยางแพรหลาย

และทรงมีพระราชานุญาต ใหชางภาพชาวตางประเทศ เชน

นายจอหน ทอมสัน ดังจะกลาวถึงตอไปในบทความนี้ เขาไปฉาย

พระบรมฉายาลักษณของทั้งสองพระองค รวมทั้งพระมเหสี

เจานายทั้งายหนาและายในจนถึงในเขตพระบรมมหาราชวัง

อันจะมีสวนชวยใหความหวาดกลัวกลองถายรูปของคนทั้งปวง

คอยๆ จางหายไป เชนเดียวกันกับความหวาดระเเวงในเทคนิค

ทางการแพทยสมัยใหมที่ชาวตะวันตกนําติดตัวมาพรอมกับ

คณะบาทหลวงเผยแผศาสนาคริสต และกลุมพอคา รวมไปถึง

กลุมคนที่มีเจตนาจะเขามาหาชองทางลาอาณานิคมแถบเอเชีย

ตะวันออกเฉียงใตในเวลานั้น

ภาพถ่ายปลายรัชกาลที่

2 |


พระรูปเจ้านายในรัชกาลที่ ฉายโดยนายจิตร ปายสตูดิโอหลังภาพถ่ายของนายจิตร

ยอนกลับมาที่ภาพพระบรมฉายาลักษณระบายสีตนเหตุ

ของบทความนี้ มีขอความเปนภาษารั่งเศสเขียนดวยลายมือวา

omdec ra aramendr Maa Mongku 1 oi de iam

angkok, eudi 1 anier 1 อาจเปนลายพระราชหัตถ

บนบรรทัดสุดทายเปนการลงวันที่อยางชัดเจนคือ วันพฤหัสบดี

ที ่ ๑ มกราคม พุทธศักราช ๒๔๑๐ อันเปนชวงสองปสุดทาย

แหงรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ในเวลานั้น

การถายภาพเริ่มเปนที่รูจักแพรหลายในกลุมชาวพระนคร

กันพอสมควรแลว จึงมีความเปนไปไดวาอาจเปนมือการถายภาพ

ของชางภาพชาวไทยคนใดคนหนึ่งที่มีอยูในชวงเวลานั้นสามคน

ชางภาพทานเเรกที่อาจไดรับความไววางพระราชหฤทัย

เนื่องจากเปนพระราชวงศชั้นผูใหญที่ทรงมีความสามารถในการ

ใชกลองถายภาพเปนอยางดี คือพระเจาบรมวงศเธอกรมหมื่น

อลงกฎกิจปรีชา พระองคเจาชายนิลรัตน พระราชโอรสในพระบาท

สมเด็จพระพุทธเลิศหลานภาลัย และเจาจอมมารดาพิม ๑๒

สิงหาคม พุทธศักราช ๒๓๕๔ - ๙ ตุลาคม พุทธศักราช ๒๔๑๐

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 2


๓ |

ภาพถ่ายเจ้านายในสมัยรัชกาลที่ ฉายโดย หลวงอัคนีนฤมิตร

หรือนายฟรานซิส จิตร ระบายสีทับด้วยสีน้า

(แต่งภาพให้ชัดขึ้นด้วยระบบดิจิทัล)


พระบรมสาทิสลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว วาดบน

กระเบื้องเคลือบ ล้อมกรอบด้วยทองคาขาวฝังเพชร ขนาด เซนติเมตร

สร้างขึ้นในปลายรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

กลาวกันวากรมหมื่นอลงกฎกิจปรีชา ทรงเปนคนไทยรุนแรกๆ

ที่เรียนรูวิชาการถายรูป ตั้งแตสมัยที่เทคโนโลยีรูปถายกระจกเพิ่ง

เขามากรุงเทพฯ ใหมๆ มีการกลาวถึงการถายภาพของกรมหมื่น

อลงกฎกิจปรีชาทั้งในพระราชนิพนธรัชกาลที่ ๕ และในบันทึกการ

เดินทางเขามาทํางานในกรุงสยามของชางภาพชาวสกอตแลนด

ชื่อนายจอหน ทอมสัน ตั้งแตปลายรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกลาเจาอยูหัว

กรมหมื่นอลงกฎกิจปรีชายังทรงสนพระทัยในเครื่องจักรกล

สมัยใหมชนิดตางๆ จากตะวันตก และทรงทดลองใชอุปกรณ

นานาชนิดรุนลาสุดของรั่งอยูเสมอ จนกระทั่งพระองคสิ้นพระชนม

ในปลายรัชกาลที่ ๔

นายจิตร หรือ ฟรานซิสจิตร หลวงอัคนีนฤมิตร ตนตระกูล

จิตราคนี พุทธศักราช ๒๓๓-๒๔๓๔ เปนชางภาพลําดับที่สอง

ที่อยูในความคิดของผูเขียน วานาจะเปนผูถายพระบรม

ฉายาลักษณที่เรากําลังพิจารณากันในบทความนี้ เลากันวา

นายจิตรเปนบุตรของขาราชสํานักวังหนา และตัวเขาเองก็ไดไป

เปนมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระปนเกลาเจาอยูหัว ภายหลังเมื่อ

พระองคสวรรคตแลว จึงไดยายมารับราชการในวังหลวง นายจิตร

ไดชื่อวาเปนหนึ่งในศิษยวิชาถายภาพของบาทหลวงหลุยส ลารโนดี

ชาวรั่งเศส เขาเรียนรูจนมีมือเกงกาจ สามารถเปดรานรับจาง

ถายรูปบุคคลทั่วไปบนเรือนแพที่จอดอยูหนาวัดซางตาครูส

ยานกุฎีจีน สตูดิโอเรือนแพนี้นายจิตรไดออกแบบใหมีหลังคา

ปดเปดได เพื่อใชแสงสวางใหเปนประโยชนในยุคที ่ยังไมมี

แสงแฟลชเชนปจจุบัน นายจิตรจึงเรียกไดวาเปนชางภาพอาชีพ

คนแรกของเมืองไทย มีผลงานดีเดนมากมาย ที่แมกระทั่งชาว

ตางชาติยังขอยืมไปลงในหนังสือพิมพตะวันตกอยูเสมอ และถึง

แมวาเขาจะมุงงานธุรกิจสวนตัว นายจิตรก็ไมเคยขาดตกบกพรอง

ในงานหลวง เชน เขาไดรับโปรดเกลาฯ ใหตามเสด็จพระบาท

สมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ไปเก็บภาพปรากฏการณ

สุริยุปราคาที่ตําบลหวากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ เมื่อป

พุทธศักราช ๒๔๑๐ ในฐานะชางภาพหลวง นายจิตรยังไดฉาย

พระรูปเจานายสําคัญแทบทุกพระองค รวมทั้งเหตุการณสําคัญ

ในพระราชสํานักอยางตอเนื่องจนเขาถึงแกกรรมเมื่ออายุ ๖๑ ป

ในสมัยรัชกาลที่ ๕

นายจิตรไดถายทอดวิชาถายรูปใหกับลูกๆ หนึ่งในนั้นเปน

บุตรสาว ที่นับเปนชางภาพสตรีคนแรกของสยามที่มีผลงานเปนที่

นาสนใจมากที่สุด เชน ภาพถายเจานายายใน ในรัชสมัยของ

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว

ชางภาพอีกคนหนึ่งที่ควรจะกลาวถึงคือ นายโหมด อมาตยกุล

หรือพระยากสาปนกิจโกศล เพราะมีความเปนไปไดสูงมากวา

ทานอาจจะเปนผูฉายพระบรมฉายาลักษณของพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกลาเจาอยูหัวภาพนี้

นายโหมด เปนบุตรคนที่ ๖ ของพระยาอํามาตย ปอม และ

คุณหญิงเย็น ถวายตัวเปนมหาดเล็กในพระบาทสมเด็จพระนั่งเกลา

เจาอยูหัว รัชกาลที่ ๓ มีหนาที่กํากับราชการกรมชางสิบหมู

ชางทําเรือพระที่นั่งและเรือกระบวนตางๆ ทานเปนชาวสยามผูหนึ่ง

ที่มีความใรูในวิทยาการสมัยใหมอยูเสมอ ทานไดเรียนวิชาของ

รั่งทั้งจากมิชชันนารีชาวอเมริกันและจากทานสังราชปาเลอกัวซ

รวมทั้ง บาทหลวงหลุยส ลารโนดี อีกดวย นายโหมดมีพรสวรรค

ในการออกแบบเครื่องจักรกล ทานประดิษฐเครื่องมือกลึงเกลียว

และเครื่องแชทองแบบสมัยใหมขึ้นไดเอง จนเปนที ่ยอมรับของ

ชาวตางชาติในเวลานั้น งานภาพถายของนายโหมดยังไดถูกกลาว

ถึงในหนังสือฟลาเดลเฟย โฟโตกราฟเฟอร ฉบับเดือนกันยายน

พ.ศ. ๒๔๐๘ ในชวงปลายสมัยรัชกาลที่ ๔ อีกดวย ทานจึงเปน

ชางภาพชาวสยามคนแรกๆ ที่ไดรับความสนใจในระดับนานาชาติ

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


พระยากสาปนกิจโกศล โหมด อมาตยกุล เปนผูที่ศึกษาการใช

กลองถายรูปแบบใหมที่สมเด็จพระราชินีนาถวิคทอเรียสงเขามา

ถวายพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว จนสามารถถาย

พระบรมฉายาลักษณของพระองคประทับนั่งเคียงขางขาวของ

ลํ้าสมัยตางๆ ที่ทรงไดรับมา รวมทั ้งพระบรมฉายาลักษณคูกับ

สมเด็จพระเทพศิรินทรามาตยอีกรูปหนึ่ง ซึ่งโปรดเกลาฯ ใหชางไทย

ระบายสีใหสวยงามและพระราชทานใหกับคณะราชทูตอัญเชิญ

กลับไปพรอมกับพระราชสาสนเพื่อถวายองคพระประมุขแหง

สหราชอาณาจักรพระองคนั้น

การระบายสีทับบนภาพถายเปนเทคนิคพิเศษแปลกใหมที่ได

รับความนิยมเปนอยางมากในสมัยนั้น เพราะเสมือนเปนการเนรมิต

ภาพขาวดําที่จืดชืด ใหกลับมามีชีวิตชีวาสดใสนามอง พระบรม

ฉายาลักษณสวนใหญของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว

และเจานายในพระราชวงศสมัยนั้น มักจะไดรับการระบายสี

ดวยสีนํ้าโดยชางมือชาวไทย โดยวิธีแตมสีบางๆ ไปบนภาพถาย

หากแตพระบรมฉายาลักษณที่อยูในคลังของผูเขียนภาพนี้

แตกตางจากภาพอื่นๆ โดยสิ้นเชิง เพราะใชสีกวอชที่มีความเขมขน

กวาสีนํ้า ระบายดวยแปรงที่แมนยํา ตัดขอบเสนและแตมสีไไลต

อยางชัดเจน คลายๆ กับการวาดพอรเทรต ดวยเทคนิคสีนํ้ามัน

ของชาวตะวันตก

ทฤษฎีที่วาพระบรมฉายาลักษณของพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกลาเจาอยูหัวที่อยูในคลังภาพของผูเขียนไดรับการ

ระบายสีโดยชางชาวตะวันตกนั้น นาจะพิสูจนไดดวยปายกระดาษ

แผนเล็กๆ ที่ติดอยูดานหลังของกรอบภาพซึ่งมีขอความระบุวา

หาง ซี.อี. คลิฟฟอรด บนถนนพิคคาดิลลี กรุงลอนดอน ตั้งอยู

ใกลๆ กับราชสถาบันศิลปะของสหราชอาณาจักร หรือที่เรียกกัน

วา เดอะ รอยัล อะคาเดมี ออฟ อารตส และแกลเลอรีแสดง

ภาพเขียนชั้นนําอื่นๆ อีกหลายแหง

หาง ซี.อี. คลิฟฟอรด เปนบริษัทใหญที่จดทะเบียนไวกับกลุม

เครือขายผูจําหนายอุปกรณสรางงานศิลปะในรัชสมัยของสมเด็จ

พระราชินีนาถวิคทอเรีย หางนี้มีสต็อกครบครันตั้งแตสีชนิดตางๆ

แปรง ปูนปน กระดาษ ผาใบแคนวาส สมุดวาดภาพ ตลอดจนยังมี

บริการทํากรอบรูปตามสั่งในทุกรูปแบบ และเมื่อภาพถายเปนที่

นิยมกันมากขึ้น ทางรานยังมีศิลปนมือดีรับระบายสีภาพถาย

ขาวดําใหมีสีสันสวยงามอีกดวย ซึ่งอาจพอคาดเดาไดวาพระบรม

ฉายาลักษณของพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวองคนี้

และนาจะมีองคอื่นๆ ที่ฉายขึ้นในกรุงสยามในคราวเดียวกัน

ไดถูกสงมาระบายสี และเขากรอบอยางดีที่หางคลิฟฟอรด

กรุงลอนดอน กอนสงกลับไปยังราชสํานักสยามเพื่อเก็บไว

พระราชทานแกบุคคลตางๆ ตามพระราชอัธยาศัย

พระบรมสาทิสลักษณ์ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า

เจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ และสมเด็จพระเทพศิรินทรา

บรมราชินี วาดด้วยสีอีนาเมล บนกระเบื้อง

ล้อมด้วยกรอบทองคา

คาอาา

นอกจากการระบายสีภาพถ่ายแล้ว

ผู้เขียนยังเชื่อว่า มีการสร้างล็อกเก็ต

ที่มีพระบรมฉายาทิลักษณ์ลงยา

บนกระเบื้องเคลือบ ที ่ถอดแบบจาก

พระฉายาลักษณ์ชุดนี้อีกด้วย ดยขอนํา

ตัวอย่างล็อกเก็ตประจําพระองค์สมเด็จ

พระราชปตุลาบรมพงาภิมุขเจ้าา

ภาณุรังษีสว่างวง์ กรมพระยาภาณุ

พันธุวง์วรเดช พระราชอรสองค์เล็ก

ในรัชกาลที่ ๔ กับสมเด็จพระเทพิรินทรา

มาตย์ มาให้ผู้อ่านได้ชมกัน จะเห็น

ได้ว่าเปนล็อกเก็ตที่มีพระรูปของทั้งสอง

พระองค์ ในฉลองพระองค์ที่คล้ายคลง

กันกับภาพพระบรมฉายาลักษณ์ที่ส่งไป

สหราชอาณาจักร ส่วนอีกล็อกเก็ตหน่ง

เปนพระบรมฉายาลักษณ์ระบายสีของ

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ที่คล้ายคลงกันมากกับภาพใหญ่ ล็อกเก็ต

องค์นี้ตกทอดมาถงหม่อมเจ้าหญิง

บุญจิราธร ชุมพล จุาธุช ทั้งสอง

ล็อกเก็ตเปนสมบัติของผู้เขียนใน

ปจจุบัน

๓2 |


พระบรมสาทิสลักษณ์พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

ในฉลองพระองค์คล้ายกันกับภาพถ่าย (ขนาดมิเนเชอร์ ๖ เซนติเมตร)

วาดด้วยสีน้า ในช่วงต้นของรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

คาดว่าวาดขึ้นเป็นแบบเพื่อนาไปให้ช่างสร้างล็อกเก็ต

ถาจะใชขอความภาษารั่งเศส ที่เขียนอยูใตภาพดวยลายมือ

มีความเปนไปไดวาอาจเปนลายพระราชหัตถ omdec ra

aramendr Maa Mongku 1 oi de iam angkok, eudi

1 anier 1 เปนตัวระบุวันที่พระราชทานภาพนี้แกบุคคล

ซึ่งก็นาจะเปนชาวรั่งเศส ที่มาเขาเาทูลละอองธุลีพระบาทในชวง

ปพุทธศักราช ๒๔๑๐ คณะของเจาชายรั่งเศส ๓ พระองค คือ

เจาชายคองเด เจาชายจวงวีลร และดุกปองติเอฟรึ พรอมผูติดตาม

คือทานเคาตโบวัวร เดินทางมาเที่ยวกรุงสยามเมื่อเดือนมกราคม

ปพุทธศักราช ๒๔๑๐ และไดทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ให

เขาเาฯ เปนกรณีพิเศษ เพราะทรงมีพระราโชบายที่จะใหเจาชาย

ทั ้งสามพระองคไดทรงรับรูถึงความประพฤติชั่วรายของราชทูต

รั่งเศสในเวลานั้น เราก็คงจะพอคะเนไดวาภาพนี้นาจะฉาย

ในราวปพุทธศักราช ๒๔๐๘ เนื่องจากเงื่อนไขทางเวลาที่จะตองใช

ในการเดินทางโดยเรือสําเภาระหวางสยามกับสหราชอาณาจักร

ทั้งขาไปและขากลับ ผานทางเกาะสิงคโปรซึ่งทางราชสํานักไทย

มีเอเยนตคาขายชาวจีนชื่อ นาย an ock ing e or kongee

บวกกับเวลาที่ชางใชระบายสีภาพ ซึ่งนาจะทําขึ้นหลายใบ รวมๆ แลว

คงหนึ่งปครึ่งเปนอยางเร็วสุด

ในปพุทธศักราช ๒๔๐๘ นั้น ยังมีชางภาพชาวสกอต ชื่อ

นายจอหน ทอมสัน เดินทางเขามากรุงเทพฯ และไดรับพระบรม

ราชานุญาตใหฉายพระบรมฉายาลักษณในสามโอกาส ซึ่งถาจะ

ดูจากลักษณะของการวางภาพ และทาทางของบุคคลในภาพ

ผูเขียนกําลังวิเคราะหในบทความนี้แลว ก็จะพบวามีความละมาย

คลายคลึงกันกับภาพที่นายทอมสันถาย หากแตบันทึกการเดินทาง

มาสยามที่จดโดยนายทอมสันเอง ระบุอยางชัดเจนวา เขาไดฉาย

พระบรมฉายาลักษณแบบพอรเทรตของพระบาทสมเด็จ

พระจอมเกลาเจาอยูหัว ในฉลองพระองคแบบจอมพลประดับ

เครื่องราชอิสริยาภรณรั่งเศสอยางเปนทางการเพียงภาพเดียว

เทานั้น มิไดมีการฉายพระบรมฉายาลักษณทรงฉลองพระองคแบบ

ลําลองแตอยางใด สวนอีกสองภาพที่นายจอหน ทอมสัน ไดฉาย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยู หัว เปนภาพมุมกวาง ฉายขึ้น

ในวันเสด็จพระราชดําเนินไปถวายผาพระกฐิน ณ วัดพระเชตุพนฯ

และในวันเสด็จพระราชดําเนินไปถวายผาพระกฐินทางชลมารค

โดยเรือพระที่นั่งอนันตนาคราช

นอกเหนือไปนั้น พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวยัง

ทรงสนับสนุนให นายจอหน ทอมสัน เดินทางไปถายรูปนครวัด

ดวยทรงมีพระราชประสงคที่จะบันทึกใหชาวโลกรูวาดินแดน

แถบนั้น ยังคงเปนสวนหนึ่งของราชอาณาจักรสยาม และกําลัง

จะโดนกลืนเขาไปอยูในอาณานิคมของรั่งเศสในเวลาถัดมา

อยางไรก็ดีอาจกลาวไดวา ภาพถายของนายจอหน ทอมสัน

คงไดสรางแรงบันดาลใจใหกับชางภาพรวมสมัยชาวสยามบาง

ไมมากก็นอย เพราะจะเห็นไดจากการวางโครงสรางภาพ และการ

จัดทาทางของบุคคลและสิ่งประกอบในภาพถายของนายฟรานซิส

จิตร นั้น มีสวนคลายคลึงกันกับภาพถายของนายจอหน ทอมสัน

พรอมกันนี้ผูเขียนไดนําภาพถายเจานายตางๆ ในสมัยรัชกาลที่ ๔

มือของนายจิตร จากคลังภาพของผูเขียนเองมาใหผูอานชมเพื่อ

เปรียบเทียบ

การถายภาพเปนของแปลกใหมที่สุดอยางหนึ่งสําหรับสยาม

ในสมัยรัชกาลที่ ๔ และจะมีพัฒนาการเเพรหลายมากขึ้นเรื่อยๆ

ในรัชกาลตอๆ มา พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัวนั้น

ไมทรงลังเลแมแตนอยที่จะทรงใชภาพถายในการเจริญพระราช

ไมตรีตออารยประเทศ นับแตพระบรมฉายาลักษณชุดแรกที่

พระยากสาปนกิจโกศลฉายดวยกลองแบบใหมที่สมเด็จพระราชินีนาถ

วิคทอเรียสงมาถวาย และทรงสงพระบรมฉายาลักษณชุดลอง

กลองนั้นกลับไปถวายพรอมกับพระราชสาสนทรงขอบพระราช

หฤทัย

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓๓


ในเวลาตอมาก็โปรดเกลาฯ พระราชทานภาพถายจากสยามไปให

ประมุขและบุคคลสําคัญอื่นๆ นับเปนการประกาศใหสยามเปนที่รูจัก

ในตางประเทศดวยความรวดเร็ว ภาพถายเหลานี้สะทอนใหเห็นความ

ยิ่งใหญของราชอาณาจักรที่มีประวัติศาสตรและวัฒนธรรมอันสูงสง

ตอเนื ่องมายาวนาน ในขณะเดียวกันก็ยังบอกกลาวดวยวาสยามเปด

ตอนรับวิทยาการใหมๆ ที่จะสรางคุณประโยชนตอชาวประชา โดย

พระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ทรงใหความสําคัญตอ

วิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหม เพื่อชวยลบลางความเชื่องมงาย

ทั้งปวงที่มีมาแตโบราณใหหมดไป ผลักดันสังคมไทยใหเจริญรุดหนา

มีความรูมีเหตุผล พรอมเผชิญกับโลกยุคอุตสาหกรรมอยางมีสติแมใน

ชวงบั้นปลายของพระชนมชีพ ก็ยังทรงมีพระราชวิริยอุตสาหะคํานวณ

การเกิดสุริยุปราคาที่อําเภอหวากอ จังหวัดประจวบคีรีขันธ ไดอยาง

แมนยํา ทรงบันทึกเหตุการณทั้งหมดดวยภาพถาย ที่ไดกลายเปน

ขาวสําคัญในสื่อตะวันตก

ภาพสยามยุคแรก ที ่่ายขึ้นในรัชสมัยของพระบาทสมเด็จ

พระปรเมนทรรามาธิบดีรีสินทรมหามงกุพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว

พระสยามเทวมหามกุฏวิทยมหาราช ล้วนเปนส่วนหนึ่งของการ

จุดประกายกระแสนิยมสยามต่อชาวโลกที่จะสัมฤทธิลและมีบทบาท

สาคัต่อความมั่นคงของชาติในช่วงรัชกาลสืบต่อมา

ุการคาดน

รอราวควาระทั

ในช่วงที่ผู้เขียนเพิ่งสร้างบ้านที่กรุงเทพ เสร็จ

ใหม่ มีนิตยสารต่างประเทหลายเล่มมาถ่ายภาพ

ไปเผยแพร่ และหน่งในนั้นก็มีชุดภาพของบ้านสวย

อีกหลังที่กรุงปารีสลงควบคู่กับบ้านของผู้เขียนด้วย

พอได้มานั่งพินิจรายละเอียดก็เห็นว่าในบ้านหลังนั้น

มีพระบรมฉายาลักษณ์ระบายสีนี้ แขวนอยู่ในห้อง

ทํางานของเจ้าของบ้าน สร้างความตื ้นตันให้กับ

ผู้เขียนเปนอย่างมาก จงลองติดต่อกับทางนิตยสาร

เพื่อขอที่อยู่ เพียงเพื่อจะได้ทราบประวัติความเปนมา

ของพระบรมฉายาลักษณ์ ่งอันที่จริงเปนเรื่องยากยิ่ง

เพราะดยปกติแล้วทางนิตยสารจะหวงแหนข้อมูล

ของบ้านทุกหลังที่นําเสนอในแต่ละฉบับ

หากเหตุการณ์กลับเกินคาด ผู้เขียนได้รับ

อนุญาตจากทางเจ้าของบ้านให้ไปพบกันที่ปารีสในอีก

สองสามวันก่อนหน้าช่วงหยุดพักร้อนเดือนสิงหาคม

ของชาวรั่งเส ด้วยความดีใจผู้เขียนก็ตอบตกลง

ทันทีดยลืมไปว่าตัวเองยังอยู่กรุงเทพ และยังไม่ได้

เตรียมตัวที่จะเดินทางเลย ตัวเครื่องบินก็ยังไม่ได้ื้อ

ทั้งวี่าก็ยังไม่ได้ขอ แต่ชคดีจริง ที่ทางสถานทูต

รั่งเสในสมัยนั้น เมตตารับทําให้ภายในเวลาเพียง

ไม่กี่ชั่วมง มิหนําํ้าไลท์ไปปารีสคืนนั้นก็ยังมีที่นั่ง

ว่างพอดิบพอดี

การเดินทางแบบไม่คาดหมายจงเกิดข ้นได้ดั่ง

ความน และในช่วงบ่ายของวันรุ่งข้นผู้เขียนได้มาถง

บ้านแสนสวยบนง้ายของกรุงปารีส เจ้าของบ้าน

น่ารักและให้ความเปนกันเอง ทั้งยินดีต้อนรับและพา

เข้าไปชมภาพ หลังจากนั้นผู้เขียนจงเรียนท่านว่า ต้อง

ขอขอบพระคุณในไมตรีจิต เพราะภาพนี้เปนภาพของ

บรรพบุรุษที่เราไม่มีอยู่ในคลังภาพเลย ทันใดนั้น

ท่านถามว่า อยากได้มั้ย เพราะท่านยินดีจะขายให้

ในราคามิตรภาพที่เคยประมูลมา ่งแน่นอนว่าผู้เขียน

รีบตอบตกลงดยไม่ลังเล

าคผนวก

เมื่อประมาณปพุทธศักราช ๒๕๕๐ คุณมานิต ศรีวานิชภูมิ ชางภาพมีชื่อเสียง ผูเคยรับเครื่องราชอิสริยาภรณชั้นอัศวินจากประเทศฝรั่งเศส

ไดกรุณามาถายภาพพระบรมฉายาลักษณระบายสีนี้ สําหรับทําสําเนาเสมือนภาพจริง เพื่อนําไปมอบใหพิพิธภัณฑสถานแหงชาติ พระนครคีรี

จังหวัดเพชรบุรี ซึ่งในปจจุบันก็นาจะยังแขวนอยูในหองทรงพระสําราญของพระที่นั่งในพระราชวังบนยอดเขาแหงนั้น เพราะถาสังเกตใหดี

จะเห็นพระเกาอี้ไมแกะสลักที่มีลักษณะคลายกันกับพระเกาอี้ในภาพ จัดแสดงอยูในหองทรงพระสําราญนั้นดวย

ภาพพระบรมฉายาลักษณพระบาทสมเด็จพระจอมเกลาเจาอยูหัว ขนาดประมาณ ๑๖ x ๒๘ นิ้ว ฉายเมื่อประมาณปพุทธศักราช ๒๔๐๘

และภาพถายอื่นๆ ในยุคเดียวกันจากคลังเก็บภาพและสิ่งพิมพโบราณ หมอมหลวงภูมิใจ ชุมพล กรุงเทพมหานคร

พาา า า าต าตา า “ตาา” า าพพาภาพ

“พาตาพาา” พพใา าาา ใพาภ าา าา

ใพา า าาพพา ภาพ

๓ |



ร้อยเร่องรักษ์ |

เรื่อง : ผศ.ประเทือง ครองอภิรดี / ภาพ : วัชระชัย ไตรอรุณ

เหลือเพียงแห่งเดียว

ขบวนพยุหยาตรา ทางสถลมารค

ณ วัดประดู่ทรงธรรม อยุธยา

พา ตา พา พา

๓ |


ภาพริ้วขบวนพยุหยาตราอันอลังการ

เพื่อแห่ไปถวายผ้าพระกินบก

ในสมัยสมเด็จพระนาราย์มหาราช

ซึ่งเคยปรากในพระอุบสถวัดยม อยุธยา

แต่บัดนี้ ได้เลือนมลายหายสิ้นไม่เหลือรอย

เดชะบุญ ที่มีการคัดลอกลงไว้ในสมุดข่อย

และภาพขบวน แบบเดียวกันยังมีที่วัดประดู่ อีกแห่ง

แต่ก็ลบเลือนรางลงทุกทีแล้ว

ริ้วขบวนพยุหยาตราแบบที่ปรากฏอยูในวิหารของวัดประดู

ทรงธรรมนี้ แตกอนเคยมีอยูที่อุโบสถวัดยม ซึ่งตั้งอยูเหนือสถานี

รถไฟอยุธยา ซึ่งบัดนี้ไมเหลือแลว วัดยมเปนวัดที่สรางโดย

พระยายมราช พ.ศ. ๒๒๒๔ ในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช

ดังนั้น ขบวนพยุหยาตราพระกฐินบกที่วัดนี้ จึงเชื่อวาเปนการจัด

ขบวนพยุหยาตราในสมัยสมเด็จพระนารายณฯ แนนอน

ในสมัยรัชกาลที่ ๕ จิตรกรรมที่วัดยมก็ลบเลือนแทบจะ

หมดสิ้นแลว พระยาโบราณราชธานินทร พร เดชะคุปต สมัยที่

ยังเปนหลวงอนุรักษภูเบศร ผูรักษากรุงเกา ทานเห็นคุณคาและ

นึกเสียดายจึงใหชางเขียน ๒ ทาน คือ พันเที่ยงและนายแข คัดลอก

ภาพในอุโบสถวัดยมเทาที่เหลือใหเห็นเปนหยอมๆ ลงในสมุดขอย

ไทยขาว วาดลวดลายเทาขนาดและระบายสีเหมือนของเดิม

ทุกอยาง ใน พ.ศ. ๒๔๔๐ ตอมาในรัชกาลที่ ๖ พ.ศ. ๒๔๖๑

กรมพระยาดํารงราชานุภาพ ใหขุนประสิทธิจิตรกรรม อยู

ทรงพันธุ คัดลอกรูปภาพจากสมุดขอยเลมดังกลาว มาลง

สมุดขอยสําหรับเก็บไวในหอพระสมุดวชิรญาณ พระนคร ดวย

อีกฉบับหนึ่ง สรุปแลว เรามีภาพขบวนพยุหยาตราจากวัดยม

ในสมุดขอย ๒ ฉบับ

จิตรกรรมาผนังที่วัดประดูทรงธรรมนี้ เปนรูปแบบอยุธยา

ตอนปลายอยางแนชัด กลาวคือ เปนภาพเขียนสีไมกี่สีบนพื้นผนัง

สีขาว

พาตาาพาตา าภาพ

าใ าาพา

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


ภาพพาาพพ

พพา พา

าาพาา

า าพา

ภาพริ้วขบวนฯ ที่วัดยมนั้นมีบันทึกวาเปนริ้วขบวนฯ เพื่อถวาย

กฐินบก แตริ้วขบวนฯ ที่วัดประดูนี้ กลับนาจะหมายใหเปนขบวนทัพ

ของบรรดาเหลามัลละกษัตริยทั้งหลายที่ยกมาเพื่อแยงชิงพระมหา

อัฐิธาตุของพระพุทธเจา

เพราะผนังตรงขามพระประธานนั้น เขียนเปนภาพพระพุทธ

ประวัติตอนถวายพระเพลิงพระพุทธเจา มีพระเมรุมาศขนาดใหญ

เดนอยูตรงกลาง พระหีบโลงทองบนพระเมรุมาศนั้น

มีพระพุทธบาทโผลออกมาเดนชัด ตามตํานานวา เพื่อให

พพ พาพา า

ตภ าพ าตภ าา

๓ |

พระมหากัสสปเถระซึ่งเปนพระสาวกที่ตองเดินทางไกลมาจาก

เมืองอื ่น และมาถึงเปนรูปสุดทาย ไดทันถวายสักการะกอน

การถวายพระเพลิง บริเวณดานลางของพระเมรุมาศจะเปนการ

ละเลนและมหรสพสมโภช การออกพระเมรุตามประเพณีอยุธยา

เราจะเห็นมีโรงโขน โรงงิ้ว การละเลนกายกรรมตางๆ เชน หกสูง

ไตลวด นอนบนปลายดาบ ฯลฯ

ภาพริ้วขบวนฯ เขียนอยูบนผนังดานขางทั้งสอง เหนือระดับ

หนาตาง โดยมีเสนลวดบัวแบงภาพเปน ๔ แถบ สองแถวบนเปน

ภาพเทพพนมหันหนาไปทางดานพระประธาน พนมมือพรอม

ดอกไมทิพยเพื่อบูชาพระพุทธรูปประธานประจํ าวิหาร สองแถบลาง

จึงเปนริ้วขบวนของเหลามัลละกษัตริยทั้งหลาย

เหตุที่เขียนริ้วขบวนเปน ๒ แถบก็เพราะใหเปนขบวน ขาไป

คือมุงหนาสูภาพถวายพระเพลิงทางหนาพระวิหารแถบหนึ่ง และ

อีกแถบหนึ่งคือริ้วขบวน ขากลับ นัยวาเมื่อไดสวนแบงพระอัฐิ

แลวก็มุงหนากลับมาทางดานพระประธาน โดยระหวางกลางของ

ริ้วขบวนทั้งขาไปและขากลับนี้ จะแทรกดวยบานเรือนแสดงวิถีชีวิต

ชาวบานตางๆ ที่ริ้วขบวนเดินผาน

นอกจากนั้นผนังระหวางชองหนาตางทั้งหมด หนาตางเขียน

เปนทศชาติชาดก แตก็ลบเลือนไปมาก มีที่ยังเหลือพอใหเดารูวา

เปนเรื่องอะไรบางก็ไดแก เวสสันดร พระมหาชนก ภูริทัต

นารทพรหม มโหสถ เนมิราช ฯลฯ สวนผนังดานหลังพระประธาน

เขียนเปนภาพไตรภูมิ มีเขาพระสุเมรุ สวรรค และนรก ตาม

ขนบนิยมในสมัยอยุธยาตอนปลาย แตก็เลือนรางเต็มที


พภพา ต าา

าา พพพ า

ตามประวัติของวัดนี้มีการบูรณะหลายครั้ง ทั้งในสมัยอยุธยา

และรัตนโกสินทร ดังนั้น ภาพจิตรกรรมที่ปรากฏในปจจุบัน

ยอมมีทั้งของเดิมบาง เขียนซอมของเดิมบาง และเขียนเติมขึ้นใหม

ภายหลังบาง ปะปนกันอยู

ที่เห็นชัดๆ ก็คือ แถบลวดลาย ๔ แถบที่แบงภาพเทพพนม

และริ้วขบวนแหบนผนังดานขางทั้งสอง จะมีแนวกวางแคบตางกัน

ถาหากเปนภาพที่เขียนขึ้นในคราวเดียวกันทั้งหมดตั้งแตตน

ก็คงจะไมมีชางคนไหนคิดจะเขียนใหแนวเขยงกันอยางนี้ และ

ที่สําคัญคือลักษณะของริ้วขบวนก็มีตางกันอยู ๒ แบบ กลาวคือ

ริ้วขบวนทางดานขวามือของพระประธานดูจะเปนขบวนชาง

แหธรรมดาเสียเปนสวนใหญ ดูมิใชขบวนทัพ คือผูคนในขบวนจะ

ถือสิ่งของ ธงทิว เครื่องสูงเดินคุยกันไปสบายๆ มิใชแถวทหารถือ

อาวุธ สันนิษฐานวานาจะเปนรูปขบวนที่เขียนขึ้นแตเดิม แตอยางไร

ก็ตาม ยังมีแถวทหารถืออาวุธเพียบแบบขบวนพยุหยาตรา

วัดยมแทรกอยูบางจุด ซึ่งนาจะเปนการเขียนเติมขึ ้นภายหลัง

ในบริเวณที่ภาพเกาหลุดหายหมด

สวนริ้วขบวนดานซายมือของพระประธาน ดูเปนขบวน

พยุหยาตรา เต็มที่คลายภาพเขียนวัดยมในสมุดขอย คือมีทหาร

เหลาตางๆ ถืออาวุธพรอม บางเหลาแตงกายแบบไทย บางเหลา

แตงกายแบบเทศ แขกหรือรั ่ง นาจะเปนการเขียนขึ้นใหม

า “า” “า” ตาา

าตตา

าต าภาพาาา

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


ในการบูรณะสมัยรัชกาลที่ ๕ โดยการกํากับของ พระยาโบราณ

ราชธานินทร ผูเห็นคุณคาภาพขบวนฯ ที่วัดยมนั่นเอง

ความเป็นมาและความสาคัญของวัด

วัดประดูทรงธรรมนี้ แตเดิมชื่อ วัดประดูโรงทาน หรือ

วัดประดูโรงธรรม เปนวัดที่เกิดจาก ๒ วัดรวมกัน คือ วัดประดู

วัดหนึ่งและวัดโรงธรรมอีกวัดหนึ่ง ๒ วัดนี้อยูติดกัน โดยมีคลอง

ประดูคั่นอยู

วัดประดูตองมีมาตั้งแตตนๆ สมัยอยุธยาปลายแลว

อยางนอยๆ ก็ในแผนดินพระเจาทรงธรรม หรือพระอินทรราชา

พระราชโอรสของพระเอกาทศรถ กษัตริยองคที ่ ๒๒ แหง

กรุงศรีอยุธยา ในสมัยนั้นมีทหารญี่ปุนซึ่งเปนซามูไรเกาที่ไร

เจานายหรือเรียกวาโรนิน เขามาเปนกองทหารอาสารับราชการ

ในกรุงศรีอยุธยาดวย

ชื่อของวัดประดูและโรงธรรมปรากฏอยูคูกันในพระราช

พงศาวดาร กลาวถึงเหตุการณในรัชกาลสมเด็จพระเจาทรงธรรม

เมื่อ พ.ศ. ๒๑๖๓ ดังนี้

ครั้งนั ้นญี่ปุนเขามาคาขายหลายลํา ญี่ปุนโกรธวาเสนาบดี

มิไดเปนธรรม คบคิดกันเขาดวยพระพิมลธรรมจะาพระ

มหากษัตริยเสีย ญี่ปุนคุมกันได ๕๐๐ ยกเขามาในทองสนามหลวง

คอยจะคุมเอาพระเจาอยูหัวอันเสด็จฯ ออกมาฟงพระสงบอก

หนังสือ ณ พระที่นั่งจอมทอง ๓ หลัง ขณะนั้นพอพระสงวัดประดู

|


าาาาาาา

ตาา าาภาพาต

าาาพา

าพา

มหรสพครั้งบราที่แม้ปัจจุบัน

จะหาชมได้ยาก แต่ถือเป็นมรดก

วัฒนธรรมที่ทรงคุค่าอีกประเภท

หนึ่ง งานเครื่องผ้าในชุดแต่งกาย

ของหุ่นกระบอก ที่มีคนทาจานวน

ไม่มากนัก สะท้อนถึงวิถีชีวิตคน

ในปัจจุบันที่เปลี่ยนไป

โรงธรรมเขามา ๘ รูป พาพระองคเสด็จฯ ออกมาตอหนาญี่ปุน

นับเปนความดีความชอบอยางยิ่ง จึงนับแตนั้นมา

พระเจาทรงธรรม จึงโปรดเกลาฯ ใหวิเสทแตงกัปปยจังหันถวาย

พระสงวัดประดูโรงธรรมเปนนิตยภัตอัตรา

ถือเปนวัดในพระราชูปถัมภเลยก็วาได เพราะโปรดเกลาฯ

ใหถวายภัตตาหารเลี้ยงเปนประจํา ปจจุบันยังมีเจดียพระเจา

ทรงธรรมประดิษฐานอยูที่วัดนี้ดวย

หลังสมัยพระเจาทรงธรรมแลว มีหลักฐานการบูรณะ

ครั้งหนึ่งในสมัยสมเด็จพระนารายณมหาราช ตามบันทึกของหมอ

เอนเยลเบิรต แกมปเฟอร Engelber aempfer วา เจาพระยา

พระคลังหรือเจาพระยาโกษาธิบดี เหล็ก ไดบูรณะวัดหนึ่ง

ในบันทึกเรียกวา วัดพระยาพระคลัง ซึ ่งเคยเชื ่อกันวาคือ

วัดสมณโกฏฐาราม กับวัดกุฎีดาว แตจากการเทียบแผนที่ของ

หมอแกมปเฟอรแลว พบวาตํ าแหนงตรงกับวัดประดูและวัดโรงธรรม

ครั้นเมื่อคราวเสียกรุง วัดประดูและวัดโรงธรรมก็ถูกทิ้งราง

เชนเดียวกับวัดตางๆ ในอยุธยา ผูที่กลับมาบูรณะขึ้นใหมอีกครั้ง

คือ หลวงพอรอด เสือ ซึ่งเคยบวชเณรอยูวัดประดูฯ และเมื่อ

คราวกรุงแตกไดหนีไปอยูวัดระังที่ธนบุรี เดิมชื่อวัดบางหวา

ใหญ ตอเมื่อบานเมืองสงบแลว จึงพายเรือกลับมาบูรณะวัดประดู

และโรงธรรม โดยรวมเปนวัดเดียวกัน เรียกวา วัดประดู

โรงธรรม อันที่จริงทานบูรณะพื้นที่ที่เปนวัดโรงธรรม สวนที่เปน

วัดประดูจริงๆ ซึ่งอยูติดกันนั้น ยังคงทิ้งรางมาจนปจจุบันนี้

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


แมกระทั่งคลองประดูที่คั่นระหวางวัดทั้งสองนั้น บัดนี้ก็ตื้นเขิน

แทบจะไมเหลือรองรอยวาเคยเปนคลองแลว

วัดประดูโรงธรรมไดรับการบูรณะครั้งใหญในรัชกาลที่ ๕

โดยพระยาโบราณราชธานินทร และเปลี่ยนสรอยชื่อวัดประดู

จาก โรงธรรม มาเปน ทรงธรรม เสีย ชะรอยจะเห็นวา

เกี่ยวเนื่องกับพระเจาทรงธรรมอยูดวย ซึ่งก็สมเหตุดี จึงไดชื่อวา

วัดประดูทรงธรรม ตั้งแตบัดนั้นมาจนบัดนี้

มีการบูรณะครั้งลาสุดในรัชกาลที่ ๙ นี่เอง โดยกรมศิลปากร

แตพระทานบอกวาหลังคาก็เริ่มรั่วแลว ยามนตกตองเอาถัง

มารองนํ้านหยดอยูหลายจุด และนจากหลังคานี่เองที่เปนเหตุ

ใหภาพจิตรกรรมลบเลือนนาเปนหวงอยู

2 |

าาพา ภาพา

าาพา ภาพา ใภาพ

ตา าาตา

า า

าใาา

พระเจ้าอุทุมพรเคยจาพรรษาที่วัดนี้

ความสําคัญอีกประการหนึ่งของวัดประดูฯ ก็คือ เปนวัดที่

พระเจาอุทุมพร หรือขุนหลวงหาวัด ที่ทรงสละราชบัลลังกให

พระเจาเอกทัศหรือสมเด็จพระที่นั ่งสุริยาศนอมรินทร แลวก็ทรง

ออกผนวช เหตุการณตอนนี้ในจดหมายเหตุของตุรแปง rancoi

enri urpin ซึ่งเขียนบันทึกตามคําบอกเลาของบาทหลวงปแอร

บรีโกต ierre rigo อดีตประมุขแหงคณะมิสซังสยามใน

อยุธยา เมื่อคราวกรุงแตกมีผูชวยเหลือใหหนีกลับรั่งเศสได

วาพระเจาอุทุมพรทรงผนวชที่วัดอโยธยา แตมาจําพรรษาที่

วัดประดูโรงธรรม ตอมาทรงลาผนวชออกมาเพื่อชวยสูศึก

พระเจาอลองพญาจนพมาเลิกทัพกลับไป พระเจาอุทุมพรก็ทรง

ออกผนวชอีกครั้งที่วัดโพธิ์ทองหยาด จังหวัดอางทอง แลวกลับมา

จําพรรษาที่วัดประดูโรงธรรมอีกเชนเดิมจนกระทั่งเสียกรุง

พมาไดกวาดตอนผูคนพรอมเชิญพระเจาอุทุมพรไปประทับอยู

เมืองพมาจนกระทั่งสวรรคตที่นั่น

ตุรแปงขานพระนามพระเจาอุทุมพรวา เจาฟาประดู คงจะ

หมายถึง เจาฟาที่อยูวัดประดูนั่นเอง เพราะแทที่จริงแลวทรง

พระนามเดิมวา เจาฟาดอกเดื่อ และพระนามอุทุมพร ก็แปลวา

มะเดื่อ หาใชประดูไม เรื ่องนี้เคยเปนเหตุใหคนเขาใจผิดอยูนาน

วาวัดประดูตั้งชื่อตามพระนามเจาฟาประดู พระยาโบราณ

ราชธานินทร พร เดชะคุปต ผูสํารวจและทําแผนที ่อยุธยา

ระบุถึงวัดประดูโรงธรรมวา ที่ชื่อวัดประดูเนื่องจากที่มีตนประดู

ขึ้นอยูจํานวนมาก

สานักตักศิลาแห่งภาคกลาง

พระวัดประดูและโรงธรรม คงจะดังทางคาถาอาคมมาตั้งแต

สมัยอยุธยาแลว ที่ในพงศาวดารบันทึกวา พระสงวัดประดู

โรงธรรมเขามา ๘ รูป พาพระองค พระเจาทรงธรรม เสด็จฯ

ออกมาตอหนาญี่ปุน ก็แสดงวาใชคาถาอาคมบังตาญี่ปุน

ไดนั่นเอง


“า” าา าตาาตาา

าพา

พาา

เมื่อหลวงพอรอด เสือ กลับมาบูรณะวัด ทานไดรวบรวม

ตําราตางๆ ที่กระจัดพลัดพรายคราวกรุงแตกไวไดมากที่สุด

วัดประดูฯ จึงเปนดั่งตักศิลาแหงการศึกษาพระธรรม ทั้งทางดาน

แหงปริยัติธรรมและการปฏิบัติสมถกรรมฐาน ตลอดจนการเลน

ฤทธิ์ตางๆ และวิชาศิลปะ ๒๐ ประการ ตําราพิชัยสงคราม ตํารา

พระคาถาลงอักขระเลขยันต หลวงพอรอดยังเปนผูประสาทวิชา

แกเกจิอาจารยตางๆ เชน หลวงพอกลั่นวัดพระญาติ ฯลฯ

ที่วัดประดูฯ ยังมีราวาสผูเรืองเวทยสําคัญอยูทานหนึ่ง คือ

อาจารยจาบ สุวรรณ หรือชาวบานเรียก กงจาบ เปนผูชํานาญ

การสอนกรรมฐานแบบประมวล สมถะวิปสสนา ทานมีวิชาและ

อภิญญาตางๆ ครบ เชน ยนระยะทาง เนรมิต ลงยันต ลบผง

ทําปถมัง อิทธิเจ ไลผี ฯลฯ ครั้งหนึ่งทานเคยถอนคุณไสยรักษา

หลวงพอปานวัดบางนมโค พระอาจารยของฤษีลิงดํา ดวย

แมกระนั้นทานก็มิไดสรางเครื่องรางอะไรไวเปนชิ้นเปนอัน

นอกจากไดสรางลูกศิษยเปนเกจิอาจารยชื่อดังที่รูจักกันดีในวงการ

สืบๆ ตอกันมาจนปจจุบัน ลูกศิษยรุนที่เรียนกับทานโดยตรง ไดแก

หลวงพอเทียน วัดกษัตราธิราช หลวงพอแทน วัดธรรมเสน

และหลวงพอกี วัดหูชาง นนทบุรี ซึ่งตะกรุดของทั้ง ๓ ทานนี้

เปนที่ือาวาไมหลอมละลายในพิธีเททองหลอพระคราวหนึ่ง

ช่นชมจิตรกรรมพยุหยาตรานพระวิหารจนอิ่มจแลวก

หวพระประธาน รูปหลอของพอรอด เสอ และรูปของกงจาบ

กมีผูที่นับอทําตังวตรงตาพจิตรกรรมวายพระเพลิง

นั่นเอง จะขออะรกลองขอดู แววเสียงกระิบลอยมาวา

วัดประดูทรงธรรมมี ยันตจักรพรรดิตราธิราช ดีนักแล

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


วถีอนุรักษ์ |

เรื่อง : ยากร เจตนานุศาสน / ภาพ : กรินทร มงคลพันธ

|


ดร.รังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์

คุหมอหัวใจธรรมชาติ

บางนาทีที่เคลื่อนผ่าน ลกเราก็มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นเป็นล้านๆ อย่าง ตั้งแต่วิกตลกร้อน

สัตว์ปาถูกคุกคาม ธรรมชาติปรวนแปร ทรัพยากรน้าเหลือน้อย ปาถูกทาลาย สายน้าเปลี่ยนทาง

แมลงลดน้อยลงอย่างน่าอัศจรรย์ ทุกอย่างล้วนเชื่อมยงถึงกันหมด แต่มีน้อยคนทีุ่กคิดว่า

จะทาอย่างไรให้ธรรมชาติได้นู ให้ผืนปาอุดมสมบูร์ ให้นกได้มีบ้าน ให้สัตว์ปาดารงอยู่ใน

ระบบนิเวศยามที่นึกถึงเรื่องเหล่านี้ เรานึกถึงชื่อของ ดรรังสษฎ์ กาญจนะวิชย์

ที่วิถีและชีวิตล้วนเกี่ยวข้องกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ ผู้ชายที่ดารงตาแหน่งคุหมอรคหัวใจ

ทว่ามีความหลงใหลในธรรมชาติและทาทุกวิถีทางเพื่อการอนุรักษ์อย่างแท้จริง

ก่อนโควิด- จะเริ่มระบาดไปทั่วโลก เรานัดคุยกับหมอ

หม่อง-ดรรังสฤษฎ์ กาญจนะวณิชย์ เรื่องนิทรรศการบันทึก

ภาพนกของเขาซึ่งกาลังจัดที่แกลเลอรี โอเอซิส แต่ยังไม่ทันจะนัด

ถ่ายภาพในงานนิทรรศการ ก็มีพระราชบัญญัติฉุกเฉินให้เริ่มปด

สถานที่ต่างๆ รวมทั้งแกลเลอรีด้วย

ขณะที่เขียนต้นฉบับ แกลเลอรีก็ยังไม่เปดให้ชมงานนิทรรศการ

แต่เราก็ไม่เปลี่ยนแผนที่จะลงบทสัมภาษณ์บุคคลที่มีวิถีชีวิต

เกี่ยวพันกับการอนุรักษ์มากที่สุดคนหนึ่งของเมืองไทย แม้ไม่มี

นิทรรศการให้เข้าไปชม แต่ผลงานทั้งภาพถ่ายธรรมชาติ ภาพวาด

รูปนก การเป็นคนสอนเด็กๆ ให้รักธรรมชาติ เป็นคนบรรยาย

เกี่ยวกับธรรมชาติ และอีกหลายสิ่งหลายอย่าง ที่นอกเหนือ

จากการเป็นแพทย์ เป็นอาจารย์แพทย์ที่สอนเรื่องโรคหัวใจ

เรื่องราวเกี่ยวกับการอนุรักษ์ธรรมชาติ คือสิ่งสาคัญที่อยู่รายรอบ

ในวิถีและชีวิตของเขามาโดยตลอด

หลงใหลในภาพวาด

เมื่อเราหลงใหลอะไรบางอย่าง แน่นอนว่าความประทับใจ

แรก คือสิ่งที่ทาให้ความหลงใหลนั้นดาเนินต่อไป สาหรับคุณหมอ

ที่มีพื้นฐานการวาดรูปนกได้อย่างสวยงาม จนมีสมุดบันทึกนับสิบ

เล่มที่เต็มไปด้วยภาพวาดนกตัวใหม่ๆ ทุกครั้งที่ได้ออกไปเดินดู

แล้วสเก็ตช์ภาพเหล่านั้นอย่างช้าๆ จนกลายเป็นเรื่องราวใน

สมุดบันทึกนับสิบเล่ม ที่ถูกนามาถ่ายทอดเป็นภาพยนตร์เรื่อง

ดรเบิร์ดแมน บันทึกป่าของหมอหม่อง ที่นาไปฉายในแกลเลอรี

ควบคู่ไปกับนิทรรศการที่จัดขึ้น ทั้งหมดนั้นน่าจะเป็นสิ่งที่บอกเล่า

เรื่องราวในชีวิตที่ผูกพันกับธรรมชาติ ทั้งชีวิตในป่าและการดูนก

ของเขาไว้ได้มากที่สุด

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


“ผมดูนกมา ๓๐-๐ ปี ก็จะบันทึกเรื่องราวการเดินทาง

ของตัวเองมาตลอด ตอนแรกๆ เขียนบันทึกแบบธรรมดาทั่วไป

ว่าเจอนกอะไร จนวันหนึ่งผมไปห้องสมุดเจอหนังสือชื่อ el

iie tlit เขียนโดย ปีเตอร์ สก็อต เขาเป็นผู้ก่อตั้ง

กองทุนสัตว์ป่าโลก เป็นหนังสือเกี่ยวกับการเดินทางไป

ทั ่วโลก แต่มีเสน่ห์ตรงรูปประกอบที่เป็นภาพวาด มีทั้งภาพนก

ภาพธรรมชาติ ภาพใต้น้า ผมเลยเกิดแรงบันดาลใจ อยากบันทึก

ด้วยวิธีการแบบนี้บ้าง จึงเริ่มบันทึกเรื่องราวในป่าและเขียนภาพ

ตั้งแต่ปี ๒๕๒-๒๕๒

“ช่วงนั้นผมยังเป็นนักศึกษา แต่ก็ออกไปเที่ยวตามธรรมชาติ

ค่อนข้างบ่อย ก็จะพกสมุดบันทึก ปากกาสเก็ตช์ แล้วก็สีน้าไปด้วย

ตลอด เจอนกก็วาดเก็บไว้ ตอนแรกๆ ยังวาดได้ไม่ค่อยดี แต่รู้สึก

ว่าเราเข้าใจนกมากขึ ้น มองทุกอย่างได้อย่างละเอียดขึ้น ผมว่า

การวาดภาพนกทาให้ได้อะไรมากกว่าการวาด คือการที่เราได้หยุดดู

ได้พิจารณาอย่างจริงจัง หลายอย่างต้องพิจารณา ถ้าเจอนกที่

ไปเร็วเราก็บันทึกคร่าวๆ เท่าที่เห็น การฝกมองแบบนี้ทาให้ได้เห็น

อะไรหลายอย่างที่มองข้ามไป เพราะในชีวิตเรามีแต่ความเร่งรีบ

ทาให้มองทุกอย่างแบบผิวเผินไม่ได้มองลึกซึ้ง พอผมได้มอง

ได้ใช้เวลาอยู่กับมัน ก็รู้สึกว่ามันไม่ใช่แค่นกตัวหนึ่ง เรามีปิสัมพันธ์

มีความเชื่อมโยงกันมากขึ้น ยิ่งวาดยิ่งรู้จักก็ทาให้เราวาดได้ดีขึ้น

เรารู้สึกว่ารูปวาดไม่สามารถทดแทนรูปถ่ายได้ และรูปถ่ายก็ไม่ได้

ทดแทนรูปวาดได้ เวลาผมพลิกสมุดภาพกลับมาดู ผมจะรู้สึกได้

ถึงความทรงจาที่มันจะกลับมาหมดเลย เพราะเราลงแรง ลงสมาธิ

ไปเยอะในตอนวาด”

|


ตุลาคม ๒๕๖๓ |


|

ความสวยงามของปก

ขน ลีลา ท่าทาง การบิน

การหยุดนิ่ง การไซ้ขน

ลักษะเพาะของนกแต่ละตัว

มีความน่ามองไม่รู้เบื่อ

สาหรับคนที่หลงใหล

หมอหม่องก็ยอมรับว่า

เขาหลงใหลประทับใจ

และชอบที่จะเามอง


ตุลาคม ๒๕๖๓ |


หลงใหลในชีวิตนก

ความสวยงามของปีก ขน ลีลา ท่าทาง การบิน การหยุดนิ่ง

การไซ้ขน ลักษณะเฉพาะของนกแต่ละตัว มีความน่ามองไม่รู้เบื่อ

สาหรับคนที่หลงใหล หมอหม่องก็ยอมรับว่าเขาหลงใหล ประทับใจ

และชอบที่จะเฝามอง สังเกตนกทุกตัวที่ได้เจอ สาหรับคนที่

ไม่ได้มีทักษะวาดภาพมากมาย การออกไปเจอนกในธรรมชาติ

แล้ววาดออกมาให้เหมือนได้ไม่น่าจะง่ายนัก เราเลยอดสงสัยไม่ได้ว่า

แต่ละทริปที่ออกไปดูนก คุณหมอวาดได้ครั้งละกี่ภาพ

“ทริปหนึ่งแล้วแต่ความขยัน และความประทับใจ ถ้าได้เจอ

นกที่เราไม่ได้เจอบ่อย ผมก็จะวาด แต่ถ้าเจอตัวเดิมๆ แต่มี

พฤติกรรมแปลกๆ ผมก็จะบันทึกไว้เช่นกัน บันทึกคือทั้งความคิด

ความรู้สึกของเรา มีทั้งภาพที่วาด มีคาอธิบายรายละเอียด ถึงผม

เป็นหมอ เป็นคนในสายวิทย์ แต่ผมจะไม่ชอบวิทยาศาสตร์แบบ

แห้งๆ ผมจะบันทึกในมุมที่เราจะใส่สิ่งต่างๆ มีเรื่องของความรู้สึก

หรือความโศกเศร้าเสียใจเมื่อเจอเหตุการณ์น่าเศร้าจะมีมุม

แบบนั้นด้วย ไม่เชิงวิทยาศาสตร์แห้งๆ”

ดูเหมือนนี่คือสิ่งที่ตรงกับความเป็นจริง ซึ่งคนสายธรรมชาติ

ที ่รู้จักคุณหมอ ต่างรู้ดีว่าความหลงใหลและใส่ใจในธรรมชาติ

แทรกซึมอยู่ในชีวิต และถูกเผยออกมาให้เห็นถึงความเป็นคน

มีหัวใจที่ห่วงใยการอนุรักษ์ธรรมชาติอย่างแท้จริง

“การวาดนก นกเป็นแค่ตัวนาเราไปสู่ธรรมชาติ แต่ไม่ได้

จบที่ตัวนก ยังประกอบด้วยเรื่องราวรอบๆ ตัว นกเกาะต้นอะไร

กินอะไร มีปิสัมพันธ์กับสัตว์ตัวไหนอย่างไร มีความสัมพันธ์กับ

ต้นไม้อย่างไร เราจะเห็นความเชื่อมโยง แต่ก่อนผมจะวาดแต่นก

อย่างอื่นผมก็ไม่ใส่ใจ อย่างต้นไม้ผมจะวาดๆ ไป เพราะเราชอบ

แต่นก ซึ่งปรากการณ์นี้เขาเรียกว่าคนตาบอดพืช สมมติเราเห็น

สัตว์ เห็นสิงโต ม้าลาย ในทุ่งหญ้า เราก็จะเห็นแต่สิงโตกับม้าลาย

มองไม่เห็นพืชเลย มีครั้งหนึ่งผมวาดรูปนกกิ้งโครงกาลังกินแกลบ

อยู่ แล้วพี่สาวมาเห็นเข้าก็บอก โห...เธอวาดนกสวย แต่วาด

ต้นมะขามเทศได้น่าเกลียดมาก เราก็รู้สึกไม่ดีเหมือนโดนว่า

หลังจากนั้นผมก็พยายามไม่ให้ตัวเองตาบอดพืช จะพยายาม

สังเกตพืชมากขึ้น”

ย้อนกลับไปอีกนิด จุดเริ่มต้นของความรักในธรรมชาติของ

คุณหมอ ก็มาจากครอบครัว ที่มีทั้งคุณแม่และพี่สาว ซึ่งทุกคนล้วน

มีบทบาทเรื่องการอนุรักษ์ธรรมชาติ และคุณหมอหม่องเองก็ยอมรับ

ว่าคุณแม่คือบุคคลสาคัญที่มีส่วนปลูกฝังความรักธรรมชาติให้เขา

|


เท่านั้นที่มีความสาคัญ จริงๆ กิ้งกือ ตะขาบ หอยทาก หรือแม้แต่

จุลินทรีย์เล็กๆ ก็มีความสาคัญต่อระบบนิเวศมาก เพียงแต่มัน

ไม่ได้ขนฟูตาโตสวยงาม ไม่มีออร่าของดารา คนก็เลยไม่ได้คิด

อยากอนุรักษ์สิ่งเหล่านี้ แต่ถ้าเราทาให้คนเริ่มรู้สึกสนใจธรรมชาติ

พอผมทาชมรมนก ทานิทรรศการภาพวาดนก ตรงนี้ก็เป็นจุดเริ่ม

ผมก็หวังว่าจะเป็นจุดทาให้คนสนใจได้ง่ายขึ้น”

“ผมมีแม่ที่สนใจเรื่องธรรมชาติ รู้จักเรื่องราวของต้นไม้ต่างๆ

นานา แม่รู้จักชื่อต้นไม้แทบทุกชนิด และตอนผมเด็กๆ แม่มักจะ

เล่านิทานเกี ่ยวกับธรรมชาติได้สนุกและแม่ก็ทาให้ผมสนใจพืช

มากขึ้น ตอนหลังผมก็จะวาดพืชได้ดีขึ้น แม้นกจะเป็นดารา

ในสิ่งมีชีวิต เพราะมันหน้าตาดี จนเป็นตัวนาให้คนสนใจธรรมชาติ

ผมก็หวังว่างานของผมในเรื่องของสวยๆ งามๆ จะทาให้คนอยาก

เข้าไปดูนก แต่จริงๆ แล้ว ในระบบนิเวศไม่ได้มีแต่สัตว์หน้าตาดี

โลกคงไมสวยถาไมมีใครชวยกันดูแล

ช่วงสถานการณ์โควิด- ระบาดนั ้น ดูเหมือนจะมีสิ่งดีๆ

บางอย่างเกิดขึ้น นั่นก็คือ สถานที่ท่องเที่ยวธรรมชาติหลายแห่ง

ได้รับการพักฟื้นจากจานวนนักท่องเที่ยวที่หายไป จากความขาด

สมดุลมาต่อเนื่องยาวนาน

“ในฐานะนักอนุรักษ์ น่าห่วงหลายเรื่องนะ ถ้าศึกษางานวิจัย

ของนักวิทยาศาสตร์เขาก็เตือนเรื ่องขีดความสามารถของ

ดาวเคราะห์ดวงนี้ในการจัดการปัญหาทั้งหลาย ซึ่งปัญหาที่หนักหนา

ตอนนี้คือ โลกเราจะมีความสามารถในการฟื้นตัวเองขนาดไหน

ปัญหาที ่เกินขีดความสามารถในการจัดการนี้กาลังเข้าสู่วิกฤต

แล้วมีปัญหาหลักๆ อยู่สามอย่าง คือ โลกร้อนกับพลาสติก

แต่ปัญหาใหญ่ที่สุดคือการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

แต่มีคนจานวนน้อยที่ให้ความสาคัญ เพราะเขาไม่ได้มองว่าเรื่องนี้

กาลังกระทบต่อความอยู่รอดของมนุษยชาติ เขามองแค่สัตว์

เป็นตัวๆ สัตว์สวยๆ แต่สัตว์ที่มีความสาคัญคือสัตว์ตัวเล็กๆ ที่มี

คุณค่าต่อระบบนิเวศ สิ่งที่เราได้จากสัตว์เล็กๆ พวกนี้คือบริการ

ทางนิเวศ พวกเขาเปรียบเหมือนคนปดทองหลังพระ เพราะถ้าแมลง

หรือผึ้งสูญพันธุ์ จะสร้างความสูญเสียต่อระบบนิเวศเป็นอย่างมาก

“อย่างแมลงถ้าสังเกตหลายสิบปีก่อนตอนผมเด็กๆ เวลานั่งรถ

ไปต่างจังหวัดตอนกลางคืน กระจกหน้ารถจะเต็มไปด้วยแมลง

เดียวนี้กระจกใสสะอาด ประชากรแมลงลดลงไปมากจนน่าตกใจ

แต่มนุษย์อาจไม่รู้สึกอะไร แมลงเป็นตัวทาหน้าที่ค้าจุนระบบนิเวศ

ผสมเกสรต่างๆ ให้พืชสร้างผลผลิตที่สาคัญต่อการดารงอยู่ของ

สมดุลนิเวศ มนุษย์จะเดือดร้อนมากๆ ถ้าผึ้งหายไปจากระบบนิเวศ

เพราะพืชกว่าครึ่งหนึ่งที่เรากินอยู่ต้องพึ่งพาการผสมพันธุ์จากผึ้ง

นี่คือความสาคัญอันดับหนึ ่ง เรากาลังอยู่ในภาวการณ์สูญพันธ์

ที่ยิ่งใหญ่ เราเคยมีการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่ในประวัติศาสตร์ของโลก

ในเวลา ๓- พันล้านปี มีทั้งหมด ๕ ครั้งแล้ว แต่ทุกครั้งไม่เคย

เกิดขึ้นเร็วและรุนแรงแบบนี้ ทุกครั้งเป็นปรากการณ์ทางธรรมชาติ

แต่ครั้งนี้เป็นน้ามือมนุษย์ ทาให้เกิดการสูญพันธุ์อย่างมโหาร

และเป็นสิ่งที่จะกระทบเราทุกคนอย่างมาก แต่เหมือนเรายังไม่เห็น

ไม่เข้าใจ หรือเข้าใจแบบตื้นๆ มาก

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


“มีวิกฤตหลายอย่างของสัตว์ที่กาลังสูญพันธุ์ หลายคนคิดว่า

ไม่เกี่ยวกับเรา แต่มันเหมือนกับเครื่องจักรราคาแพง ถ้าเฟืองหลุด

ไปหนึ่งเฟือง เครื่องจักรอาจไม่พังวันนี้ แต่ข้างในมันมีผลกระทบ

ก็เหมือนร่างกายมนุษย์ ถ้าสูญเสียนิ้วก้อยอาจยังไม่เป็นอะไร

แต่ถ้าสูญเสียอวัยวะสาคัญก็รุนแรงมากขึ้น นี่คือสิ่งที่ผมคิด

ธาตุไนโตรเจนเข้าไปอยู่ในระบบนิเวศ อันนี้ก็เป็นเรื่องที่เกิน

ขอบเขตไปแล้ว ปุยเคมีที่ปนเปื้อนในมหาสมุทร มีผลกระทบรุนแรง

แต่ไม่มีใครเข้าใจ ไม่มีใครพูดถึง มีหลายประเด็นในธรรมชาติ

น่าห่วง มีปัญหาอีกเยอะที่เราขาดความใส่ใจ ธรรมชาติอาจ

ต้องการเวลาและการดูแลรักษาที่มากกว่านี้”

มรดกแหงความรักษ

ครอบครัวนักอนุรักษ์ครอบครัวกาญจนะวณิชย์เป็นตัวอย่าง

ที ่น่าชื่นชมและเชิดชู สาหรับคนที่มีหัวใจให้แก่ธรรมชาติอย่าง

ไม่สิ้นสุด เพราะคุณหมอบอกว่า แม้คุณแม่จะจากไปแล้ว แต่สิ่งที่

ทิ้งไว้ให้เขาเป็นมรดกนั้น ไม่ใช่เงินทองมากมาย หากสิ่งที่เขาได้รับ

เป็นมรดกจากคุณแม่ที่เป็นเสมือนผู้เปดประตูชีวิตให้ใกล้ชิด

ธรรมชาติ นั่นก็คือ พื้นที่ธรรมชาติสาหรับการอนุรักษ์นก

“ผมได้รับมรดกเป็นที่ดินที่เชียงราย ก่อนท่านเสียก็เคยคุยกัน

เรื่องนี้ ผมเคยไปดูหลายๆ แห่งในต่างประเทศ หรือในอังกฤษ

ก็มีที่อนุรักษ์นกซึ่งทาโดยเอกชน เขาทาพื้นที่ระดมทุนจากคน

ในสังคมที่จะอนุรักษ์พื้นที่สีเขียวในธรรมชาติเอาไว้ คนต่างประเทศ

เขาให้ความสาคัญเรื่องนี้มาก คือถ้ามีเงินก็จะทาสิ่งนี้มากกว่า

เอาไปให้วัดสร้างโบสถ์สร้างวิหาร เขาจะเก็บมรดกไว้ให้ลูกหลาน

ไม่ว่ามรดกทางวัฒนธรรมหรือต่างๆ แต่มรดกอีกอย่างที่คนเรา

ไม่ค่อยให้ความสาคัญ คือมรดกทางธรรมชาติ เป็นเรื่องที่ไม่ได้

ถูกส่งต่อให้รุ่นลูกหลานได้รับในธรรมชาติแบบที่เราเคยได้สัมผัส

บ่อยครั้งมันหมดสิ ้นในรุ่นของเรา ทีนี้พอผมได้คุยกับคุณแม่

ท่านก็เห็นด้วย พอคุณแม่เสียท่านก็เอาเงินให้ผมซื้อที่ดิน

“เป็นที่ดินประมาณ ๐ ไร่ สาหรับให้นกมาอยู่ เป็นทุ่งนาเลย

แล้วเรามาฟื้นให้กลายเป็นป่า เป็นที่ชุ่มน้า ก็หวังให้เป็นที่หลบภัย

ให้แก่นก ไม่มีการล่านกที่นี่ มีบ้าน มีที่อาศัย คือคนก็มองเหมือน

ที่รกร้างว่างเปล่า เหมือนเป็นพื้นที่น้าบ่อแฉะๆ แต่จริงๆ แล้วเป็น

พื้นที่ที่มีความหลากหลายทางชีวภาพสูงมาก ผมก็เลยอยากเก็บ

ที่ผืนนี้ไว้ และจะทาเป็นศูนย์เรียนรู้ให้คนทั่วไป แต่ด้วยความที่ผม

ก็เป็นหมอ อาจทาได้ไม่เต็มเม็ดเต็มหน่วย แต่ก็ทามาเป็นเวลา

เกือบสิบปีแล้ว ทาเท่าที่จะมีเวลา มีคนช่วยบ้าง เราก็มีการสารวจ

นก มีการดูแต่ละพื้นที่ มีการนับจานวนนก ติดขานก ทาบังไพร

คนสามารถเข้าไปเฝาดูนกเล่นน้า ก็มีคนอยากเข้าไปดู ผมมองว่า

นี่คือสิ่งที่ผมอยากจะฝากไว้ให้โลก ไม่ได้คิดจะทาบุญวิธีอื่น

อยากเก็บพื้นที่ไว้สาหรับนกและสัตว์อื่นๆ ที่อยู่ในนี้โดยเฉพาะ”

ในจานวนนกที่มาอาศัยและใช้ชีวิตอยู่ในผืนดินธรรมชาติของ

คุณหมอ “มีนกมาหลายชนิด อย่างนกพงปากยาว เป็นนกที่เรา

คิดว่าสูญพันธุ์ไปจากโลกตั้งแต่เมื่อ ๑๓ ปีที ่แล้ว ก็มาเจอในที่

ของผม มีนกเขนคอไฟ เป็นนกที่ไม่เคยพบในประเทศไทยมาก่อน

ก็มาพบในที่ผม และก็มีอีกหลายชนิด และยังพบนกชนิดใหม่อีก

ชนิด ที่ไม่เคยพบมาก่อนในประเทศไทย”

ชมรมรักษ์นกล้านนา คือชมรมสาหรับคนรักอยากจะเรียนรู้

และดูนกที่คุณหมอจัดตั้งขึ้นในเชียงใหม่ “เราจะมีกิจกรรมดูนก

ทุกเดือน เป็นเบิร์ดวอล์ก คือเดินดูนกในธรรมชาติ ไม่มีค่าใช้จ่าย

หรือถ้าไม่ดูนกก็ไปเดินป่า สอนเด็กๆ ให้รู้จักธรรมชาติหลังบ้าน

ให้มากขึ้นกว่าเดิม เพราะบางคนไปดูน้าตกก็ไปแค่ดูน้าตกแต่ไม่เจอ

อะไร แต่ถ้าไปแบบมีความรู้แบบที่เราจะสอนให้ดู ก็จะเห็นว่า

ระหว่างข้างทางมีอะไรให้ดูอีกเยอะ ต้องมีคนสอนดูป่า สอนให้ฝก

ให้สังเกต แล้วจากนั้นเขาจะเริ่มหาโน่นหานี่เจอ การเดินก็จะสนุก

ขึ้นอีก ได้ความรู้ ได้รู้จัก ได้รักธรรมชาติรอบตัว พอเขาได้สังเกต

ก็จะรู้ว่าในธรรมชาติมีอะไรที่สวยงาม และแต่ละสิ่งในธรรมชาติ

ก็จะมีหน้าที่ต่างกันไป นี่คือการปลูกฝังผู้คนรอบตัว เด็กๆ ซึ่งอนาคต

พวกเขาต้องมีหน้าที่ดูแลสิ่งเหล่านี้ต่อจากเรา”

เราทุกคนเกิดมาพร้อมหน้าที่ นอกจากหน้าที่ส่วนตัว หน้าที่

ในครอบครัว หน้าที่การงาน และหน้าที่อะไรก็ตามที่แตกต่างกัน

ไปในชีวิต แต่หน้าที่ที่เราหลงลืมกันไปว่าต้องทาอย่างเข้มงวด

ตั้งใจ และทาให้ดีพอ กับหน้าที่อื่น ก็คือ หน้าที่ในการดูแลโลก

ใบนี้ด้วยความรักษ อย่างทีู่้ชายคนนี้ที่นอกจากดูแลรักษาู้ปวย

ดูแลครอบครัว ดูแลคนที่รักแล้ว เขายังทาหน้าที่ดูแลธรรมชาติ

ได้อย่างไม่มีอะไรขาดตกบกพร่อง เท่าที่คนหนึ่งพึงสมควรจะ

ดูแลได้ เพื่อโลกในวันพรุ่งนี้ ที่น่าจะมีสิ่งที่ดีขึ้นกว่าเดิม

2 |



กินเที่ยวพักบบาวอนุรักษ์

เรื่อง / ภาพ : ธนิสร หลักชัย

|


ความผูกพันระหว่าง

คน. ปาชายเลน . สายน้า

และความมั่นคงทางอาหาร

การตกกุ้งในคลองพุนพิน วิีชีวิตที่พึ่งพิงธรรมชาติ

บอกเล่าความอุดมสมบูรณของทรัพยากรสัตวน้า

ได้เปนอย่างดี

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


ชื่อของตาบลลีเล็ด อาเภอพุนพิน จังหวัดสุราษฎร์ธานี ปรากเป็นที่รู้จัก

ในานะชุมชนท่องเที่ยวต้นแบบ ที่ประสบความสาเร็จจากความร่วมแรงร่วมใจ

ของคนในพื้นที่จนสามารถพลิกนสภาพปาชายเลนให้กลับคืน อันเป็น

ผลพวงจากการจัดการท่องเที ่ยวเชิงอนุรักษ์ที ่ชาวบ้านในชุมชนมีส่วนร่วม

หยิบชูวัตถุดิบซึ่งมีอยู่ในท้องถิ่นมาเป็นจุดขาย ให้นักท่องเที่ยวเข้ามา

แลกเปลี่ยนเรียนรู้ เก็บเกี่ยวความสุขจากธรรมชาติสอดประสานกับวิถีชีวิต

ดยไม่ต้องปรุงแต่ง

ตนโพธิ์หนาอุโบสถวัดบางใหญ

ริมคลองพุนพินกําลังแตกใบออนรับแดด

ยามเชา หุนเหล็กที่มีชาวบานนํามาถวาย

กลายเปนแลนดมารกใหคนเขามาถายภาพ

เขื่อนริมนํ้าซึ่งสรางเสร็จไดไมนานเพื ่อ

ปองกันการกัดเซาะตลิ่ง เปนมุมพักผอน

ของผูคนในละแวกนั้น ภายในบริเวณวัด

ยังใชสถานที่สําหรับทํากิจกรรมของกลุม

ทองเที่ยวโดยชุมชนลีเล็ด - eeed

ที่มีชาวบานหลายครัวเรือนเปนสมาชิก

พี่อํา-อําภวรรณ เทพพิพิธ เลาใหฟง

วา คลองพุนพินแยกมาจากแมนํ้าตาป

บริเวณใกลๆ กับสะพานจุลจอมเกลา ในตัว

อําเภอพุนพิน ไหลมาออกทะเลที่อาวบาน

ดอน เปนเสนทางสัญจรสายหลักทางเดียว

เพื่อเขาไปยังตัวอําเภอในสมัยกอน วิถีชีวิต

ของชาวบานจึงคุนชินและผูกพันกับสายนํ้า

เปนอยางดี แตเปนเรื่องยากลําบากสําหรับ

เด็กๆ ซึ่งจะเขาเรียนตอในระดับมัธยมศึกษา

เพราะตองนั่งเรือไปกลับวันละหลายชั่วโมง

สวนใหญไปพักอาศัยกับญาติ หากเปน

ผูชายพอแมมักพาไปากกับสมภารเจาวัด

เด็กผูชายในยุคกอนๆ ที่ประสบความ

สําเร็จในหนาที่การงาน มักจะมีพื้นฐานจาก

การเปนเด็กวัดมากอน

บนขวา ปาลมน้ามัน หนึ่งในพืชเรษฐกิจ

ที่ชาวบ้านนิยมปลูกพอ กับยางพารา

ล่างขวา เรือประมงพื้นบ้านแล่นเข้าออก

ในลาคลอง ภาพชินตาของที่นี่

|


ตุลาคม ๒๕๖๓ | 57


ธรรมชาติรอบตัวูกนามาใช้ประโยชนและสร้างรายได้หล่อเลี้ยงชีวิต เช่น เชือกที่ทาจากต้นคล้า ใช้สาหรับมัดสิ่งของ

ใบจากูกนามาเย็บเปนตับจากมุงหลังคา หมากตากแห้งึ่งราคาสูงกว่าหมากสด ล

คนที่สละสิทธิ์เรื ่องเรียนตอ จึงเลือก

ประกอบอาชีพทําสวนมะพราว สวนปาลม

ทําประมงอยู ภายในหมูบาน ผูหญิงซึ่งตอง

อยูเหยาเาเรือนตามสภาพสังคม ณ เวลานั้น

ตองเรียนรูงานบานงานเรือนรวมถึงงาน

มืออยางการสานตับจาก ปาบุญเถือง

คงสงค วัย ป บอกเทคนิควาตองเลือก

ทางจากที่อายุกําลังเหมาะ ไมออนหรือแก

เกินไป ชาวลีเล็ดใชตับจากมุงหลังคา กั้น

าบาน ทําคอกเปดคอกไก รวมทั้งทําสงขาย

แมอายุการใชงานจะอยูที่ประมาณไมเกิน

๒ ป แตดวยลักษณะภูมิประเทศที่มีตนจาก

ขึ้นอยูมากมายตามธรรมชาติ พรอมกฎเกณ

การใชประโยชนรวมกัน เชน ไมตัดตนจาก

จนเหลือแตโคน ทําใหการหาวัตถุดิบไม

ลําบากยากเย็นเทาใดนัก

ตนจากหนึ่งตนสามารถนํามาใช

ประโยชนไดเกือบทุกสวน ผลใชทําเปน

ขนมของหวาน ใบใชหอขนม ใบออนนํามา

ทําใบจากมวนยาสูบ ที่เปนอีกหนึ่งอาชีพ

ของชาวลีเล็ด รวมถึงงานมืออยางการ

นํากานจากมาสานเปนเสวียนหมอหรือ

เตียวหมอ งานหัตถกรรมอันเปนภูมิปญญา

ความคิดของคนรุนปูยาตาทวด ซึ่งนํามาใช

ประโยชนภายในครัวเรือน

ปาจําเนียร ศิวายพราหมณ ปราชญ

ชาวบานเลาถึงที่มาของเสวียนหมอวา การ

หุงหาอาหารของคนโบรํ่าโบราณจะใชฟน

เปนเชื้อเพลิงหลักทําใหเขมาควันสีดําไปจับ

อยูตามกนหมอ กนกระทะ ทําใหเปนคราบ

เปรอะเปอนเมื่อนําไปวางบนพื้น จึงนํา

กานจาก กานมะพราว มาสานเปนเสวียน

สําหรับรองหมอ แมปจจุบันจะเปลี่ยนมาใช

แกสเปนเชื้อเพลิง แตเสวียนหมอยังไดรับ

ความนิยม เพียงปรับเปลี่ยนมาใชเพื่อกัน

ความรอน ปาจําเนียรใชเวลาวางจากการเขา

สวนมะพราวมานั่งสานเสวียนหมออยูใตถุน

บานไมอายุกวารอยป ทั้งยังดัดแปลง

เปนผลิตภัณจักสานอยางอื่น เชน ตะกรา

กระจาด ฯลฯ วางจําหนายใหกับนักทองเที่ยว

ที่แวะเวียนเขามาศึกษาเรียนรูภูมิปญญา

ทองถิ่น

พื้นที่บริเวณชายงของตําบลลีเล็ด คือ

สวนหนึ่งของอาวบานดอน เปนปลายทาง

ของลําคลองหลายสายที่หอบเอาธาตุอาหาร

และความอุดมสมบูรณไปสะสม กลายเปน

สถานที่อนุบาลและเติบโตของกุง หอย ปู

ปลา และสัตวนานาชนิด โอบลอมดวย

|


เสวียนรองหม้อหรือเตียวหม้อ

สานจากก้านมะพร้าวและก้านจาก

ป้าจำเนียร ศิวายพราหมณ์

ปราชญ์ชาวบ้านผู้เชี่ยวชาญ

เรื่องการสานเสวียนหม้อ

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 59


กะปแม่กัาจะใช้ไม้ไ่เหลาเปนแ่นบาง

ขัดไว้ด้านบนเรียกว่า ขัดน้า ทิ้งไว้หลาย วัน

จะมีน้ารสชาติคล้ายน้าปลาและมีกลิ่นหอมเพาะตัว

หากทาจากเคยจะเรียกว่า น้าเคย

กุ้งหัวมัน วัตุดิบสาหรับทากะปตารับแม่กัา

ปาชายเลนผืนใหญ ซึ่งมีความหลากหลาย

ของพืชพรรณไมทั้ง โกงกาง ลําพู ตะบูน

แสม ปรงทะเล ฯลฯ แตการทําประมง

ดวยวิธีอวนรุนอวนลาก ทําใหเกิดวิกฤต

ตอสภาพแวดลอม สัตวนํ้าและปาชายเลน

ลดจํานวนลงไปอยางรวดเร็ว

ประเสริฐ ชัญจุกรณ กํานันตําบลลีเล็ด

เล็งเห็นวา ถาไมทําอะไรสักอยางจะเกิด

ความเสียหายไปมากกวานี้ เปนจังหวะ

เดียวกับโครงการจัดการทรัพยากรชายง

AM ของกรมประมง ไดเขามาสํารวจ

และเลือกพื้นที่ของตําบลลีเล็ด เพื่อสงเสริม

อาชีพแทนการประมงผิดกฎหมายทั ้งนํา

แนวคิดของการทองเที่ยวโดยชุมชนเขามาใช

โดยใหโครงการเพื่อชีวิตและธรรมชาติ

E มาเปนพี่เลี้ยง เริ่มตั้งแตเก็บขอมูล

กอบรมใหความรูและความเขาใจ เกี่ยวกับ

ลักษณะของการทองเที่ยวโดยชุมชน

พัฒนาโปรแกรมทองเที่ยวนํารอง เปดรับ

นักทองเที่ยวอยางเปนทางการในป ๒๕๔๘

โดยมีนักทองเที่ยวกลุมแรกเปนชาวตางชาติ

ตอจากนั้นบานลีเล็ดจึงคอยๆ เปนที่รูจัก

ของนักทองเที่ยวทั้งในและตางประเทศ

เรื่อยมา

นุชนารถ สิงหภูติ หรือคุณแอ ประธาน

กลุมทองเที่ยวโดยชุมชนลีเล็ด กลาวถึง

ผลพวงหลังเกิดการทองเที่ยวโดยชุมชน

ในระยะเวลา ๒ ป ตั้งแตป ๒๕๔๘-๒๕๕๐

พบวาพื้นที่ปาชายเลนในตําบลลีเล็ด

เพิ่มขึ้น ๒,๓๓ ไร เปนผลพวงจากการ

กําหนดพื้นที่ทําการประมงและการทองเที่ยว

โดยชุมชน ซึ่งนํานักทองเที ่ยวลองเรือ

ออกไปสัมผัสวิถีชีวิตประมงพื้นบานในอาว

บานดอน จนชาวบานเกิดความรูสึกหวงแหน

ธรรมชาติ ซึ่งเปรียบเหมือนซูเปอรมาเก็ต

ขนาดใหญในชุมชนของตัวเองแบบอัตโนมัติ

ยังมีภูมิปญญาประมงพื้นบานในการ

จับสัตวนํ้า เชน การทํากรํ่าหลอกลอใหปลา

และสัตวนํ้าเขามาอยูอาศัย การทําซอนปก

เพื่อจับกุงหัวมัน วัตถุดิบสําคัญสําหรับทํา

กะปสินคาขึ้นชื่อของตําบล เราอาจคุนชิน

กะปเนื้อละเอียดเนียน ที่ทําจากกุงเคย

ตัวเล็กๆ แตแมกัญญา สวนพลอย ใชกุง

หัวมันขนาด ๓-๔ เซนติเมตร ชนิดเดียว

กับที่ทํากุงแหงมาทํากะป โดยนํากุ งที่จับได

มาลางแลวนําไปตาก จากนั้นใสครกเติม

เกลือเม็ดลงไปเล็กนอย ตําพอแหลกแลวนํา

ไปตากแดด ๒-๓ ชั่วโมง เก็บมาตําอีกครั้ง

|


กุ้งหัวมันจะูกล้างและตาก

ก่อนนามาตากับเกลือเพื่อหมักเปนกะป

น้าพริกกะป จากกุ้งหัวมัน แกล้มักลวก และ ยาน้ากะทิสด

อาหารพื้นิ่นรสกลมกล่อม ที่ใช้วัตุดิบึ่งหาได้จากบริเวณโดยรอบชุมชน

หมักทิ้งไวประมาณครึ่งเดือนก็จะไดกะป

หอมอรอยหนาตาไมเหมือนใคร เปนสูตร

ที่บานแมกัญญาทํากินเองในครัวเรือน

จนกลายเปนสินคาชุมชนที่มีชื่อเสียง

และไดรับรางวัลชนะเลิศจากการประกวด

อาหารและผลิตภัณแปรรูป ประเภทกะป

ของจังหวัดสุราษฎรธานีในป ๒๕๕

เราไดมีโอกาสชิมรสชาติกะปแท

แมกัญญา ที่คุณแอปรุงใหชิมที่บานริมคลอง

ของเธอ ซึ่งเปดเปนโมสเตย แกลมผักตม

กะทิ ผักลวกและลูกจากออนรสาดนิดๆ

แตเขากันไดดีกับนํ้าพริกกะป คุณแอบอกวา

คนที่นี่หรือคนภาคใตสวนใหญ จะกินผักตม

กะทิกับนํ้าพริก แตถาเปนผักสดจะกิน

แกลมแกงสม หรืออาหารที่รสชาติออกไป

ทางเผ็ด ยํานํ้ากะทิสด วัตถุดิบมีกะทิ

คั้นสด กะป หอมแดง พริกขี้หนู กุงลวกสุก

ขาดไมไดคือมะมวงเบา เคลาใหเขากัน

โดยไมตองยกตั้งไฟ ซดเปนนํ้าซุปรส

กลมกลอม ตัดกับรสจัดจานของแกงสม

ปลากดหนอไมดองไดอยางลงตัว

คั่วมะพราวกุง หยิบเอามะพราว

วัตถุดิบที่มีมากในทองถิ่น มาคั่วกับ

เครื่องแกง ซึ่งตําจากพริก กระเทียม

หอมแดง ขมิ้น กะป กุง ปรุงรสดวยนํ้าตาล

นํ้าปลา คลุกขาวสวยรอนๆ เมนูงายๆ ที่สราง

ความประหลาดใจในรสชาติใหกับคนตางถิ่น

อยางเรา ลางปากดวยลูกจากลอยแกว

และมะมวงเบาลอยแกว เพลินพุง เพลินใจ

ในชุมชนที่สงบเงียบเรียบงาย

พบความูกพันระหว่างคน สายน้า

ปาชายเลน และความมั่นคงทางอาหาร

ที่นาการท่องเที่ยวเข้ามาใช้เปนเครื่องมือ

เพื ่อรักษาทรัพยากรของชุมชนไว้อย่าง

ยั่งยืน

กลุมทองเที่ยวโดยชุมชนลีเลด

คุณนุชนารถ สิงหภูติ

โทร. ๐๘ ๐๔๙๙ ๐๔๒

คุณอําภวรรณ เทพพิพิธ

โทร. ๐๘ ๘๘๙ ๐๐๓๔

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


อนุรักษ์ศิลปะ |

เรื่อง : ฬียากร เจตนานุศาสน์

“หัตถกรรมชั้นครู”

หากปล่อยให้สูญหาย

หรือรอวันสิ้นสูญ...ก็น่าอาดูรไม่ต่างกัน

งานศิลปหัตถกรรมที่จัดเป็นงานชั้นครูของไทย ไม่ใช่งานที่จะสามารถพบเห็นได้ง่ายนัก เพราะนับวันผลงาน

สุดล้ำค่าเหล่านี้จะพบได้ก็ต่อเมื่อมีการจัดแสดงผลงาน ซึ่งก็ไม่มีบ่อยครั้งนัก หรือแม้แต่ผลงานหัตถกรรม

บางอย่างก็แทบจะหาคนรู้จักได้ยากว่าถูกเก็บรักษาไว้ที่ใด อีกทั้งการถ่ายทอด ต่อยอดไปยังคนรุ่นใหม่

ก็ไม่แพร่หลายเท่าที่ควร ครั้นพอ ศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ ได้รวบรวมผลงานหัตถกรรมชั้นครู

ที่ใกล้จะสูญหายเหล่านี้มาจัดแสดงงานนิทรรศการ...จึงราวกับได้นำงานศิลปะที่ใกล้สูญหาย ให้เผยแพร่

สู่สายตาคนไทย ที่มีโอกาสได้ไปชมงานในครั้งนั้น ซึ่งอาจทำให้ผลงานที่รอวันสิ้นสูญเหล่านั้น

มีโอกาสได้กลับมาชีวิต และสืบสานคุณค่าของผลงานหัตถกรรมชั้นครูเหล่านี้ให้ทอดเวลาออกไปได้อีก...

62 |


เครื่องประดับมุก งานปูนปนสด หุนกระบอก หนังใหญ

ตุงหลวงโลหะ ตองลายปานซอย ผาพุมเรียง วาวเบอร์อามัส

บาตรโบราณ ฯลฯ นี่แคสวนหนึ่งจากอีกมากมายของงาน

หัตถกรรมชั้นครู ที่ใกลสูญหาย ที่กลาวถึง ซึ่งเปนที่ทราบกันดีวา

งานศิลปหัตถกรรมไทย คือผลงานที่ไดรับการยกยองใหเปนหนึ่ง

ในมรดกของชาติ ดวยเอกลักษณ์ที่สามารถบอกเลาถึงวิถีชีวิต

วัฒนธรรม ประเพณี ไดเปนอยางดี ที่สําคัญชิ้นงานเหลานี้ ยังลวน

ถูกสรางดวยทักษะ ความชํานาญของชางฝีมือที่มีมาตั้งแต

รุนบรรพชน ที่ใชทั้งความรูและภูมิปญญาขั้นสูงในการสรางสรรค์

งานศิลปหัตถกรรมหลากหลายแขนงจึงจัดวาเปนศิลปะชั้นสูง

มีความทรงคุณคา สะทอนใหเห็นถึงศาสตร์และศิลปในเชิงชาง

ที่สืบตอมาจากรุนสูรุน เปนดั ่งหนึ่งมรดกแหงภูมิปญญา ที่คน

รุนหลังควรจะไดรูจัก และรักษาไว

ดวยแนวโนมตอการใกลเลือนหายของงานศิลปหัตถกรรมไทย

นี้เอง ศูนย์สงเสริมศิลปาชีพระหวางประเทศ (ศ.ศ.ป.) จึงไดเกิด

แนวคิดในการจัดแสดงผลงานศิลปหัตถกรรมที่ใกลสูญหาย หรือ

เหลือผูทํานอยราย มีแนวโนมตอการใกลสูญหาย ในงาน

นิทรรศการ “หัตถกรรมชั้น ‘ครู’ ที่ใกลสูญหาย” ซึ่งจัดผานไป

เมื่อไมนานมานี้ โดยนําเอาผลงานเกาแกที่สะทอนคุณคาการ

ใชสอยที่มีมาแตโบราณ ตั้งแตครั้งกรุงสุโขทัย กรุงศรีอยุธยา จนถึง

กรุงรัตนโกสินทร์ โดยเปนเครื่องใชของชนชั้นสูง ชั้นเจานาย

กวา ๓๐๐ ชิ้น ที่นํามาจัดแสดงและเปดโอกาสใหคนทั่วไป

ไดเขาชม

ตู้พระธรรมประดับกระจกเกรียบ

สมบัติของวัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์

สมัยรัชกาลที่ ๑ อายุราว ๒๓๐ ปี

กลองแขก กลองชุด

ผลงานหัตถกรรม

ทางด้านการดนตรี

ที่นับวันจะเลือนหาย

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 6๓


ชุดเครื่องดินนํ้าต้นสลักลาย คนโทใส่นํ้าของชาวล้านนา

ที่นับวันจะสูญหายไป

งานศิลปหัตถกรรมไทย

คือผลงานที่ได้รับการยกย่อง

ให้เป็นหนึ่งในมรดกของชาติ

ด้วยเอกลักษณ์ที่สามารถ

บอกเล่าถึงวิถีชีวิต วัฒนธรรม

ประเพณี ได้เป็นอย่างดี

ชุดเครื่องชั้นสูงประดับมุก งานหัตถกรรมลํ้าค่า

ว่าวควายและว่าวเบอร์อามัส ตกแต่งลวดลายงดงาม

ผลงานหัตถกรรมหลายรอยชิ้นที่นํามาจัดแสดง สะทอนใหเห็น

ถึงคุณคาของความงดงามและฝีมือเชิงชางของไทยที่มีมาแต

ดั้งเดิม หลายรอยชิ้นที่เดินทางผานกาลเวลาจนมาถึงปจจุบัน

ผลงานหลายชิ้นมีอายุมากกวา ๒๕๐ ปี ที่คงไมอาจหาชมได

อีกแลว เชน ตูพระธรรมประดับกระจกเกรียบ เปนสมบัติของ

วัดมหาธาตุยุวราชรังสฤษฎิ์ สมัยรัชกาลที่ ๑ ที่อายุราว ๒๓๐ ปี

ผายกเมืองนครศรีธรรมราช จากชวงปลายกรุงศรีอยุธยา อายุกวา

๓๐๐ ปี กระเบื้องสังคโลกตั้งแตครั้งกรุงสุโขทัย อายุกวา ๗๐๐ ปี

กริชโบราณอายุกวา ๒๐๐ ปี นอกจากนี้ยังมีผลงานฝีมือ “ครู”

ที่สืบทอดจากรุนบรรพบุรุษ ที่ยังรักษาไวถึงปจจุบัน เชน

เครื่องครํ่าโบราณ ขันลงหิน บาตรโบราณ ๘ ตะเข็บ อังกะลุง ฯลฯ

6๔ |


ผ้าทอโบราณ อีกหนึ่งงานหัตถศิลปของครูช่างทอ มีผ้าหายาก

อย่าง ผ้าสมปักปูน ผ้ายกนคร ผ้าพุมเรียง ผ้าจวนตานี และซิ่นตีนจก

งานเครื่องรักลวดลายต่างๆ

ผลงานของ ครูธานินทร์ ชื่นใจ

นอกจากจะไดเดินชมผลงาน และซึมซับเรื่องราวของผลงาน

หัตถกรรมแตละชิ้น ที่จัดเปนหมวดหมู บางชิ้นยังมี “ครู”

บางทานมารวมใหความรูแกผูชมที่สนใจในความเปนมา…บางครั้ง

รอยตอแหงกาลเวลาก็ตองการผูชวยในการประสาน…ผลงาน

หลายชิ้นที่ทรงคุณคาอาจถูกเก็บอยูในลิ้นชัก หรือตูไวตลอดไป

หากไมมีใครเปนผูจัดงานนี้ขึ้นมา…แตแลว แมแตหนังใหญ ที่ทํา

จากหนังวัวและควาย ที่นํามาแกะสลักลวดลายเปนเรื่องราว

การที ่ไดมาเห็นงานหัตถกรรมบางอยาง ที่ใชจะพบเจอไดทั่วไป

งายๆ เชนนี้ หากใครที่สนใจในงานศิลปะที่มีอีกหลายแขนงนี้

กลับไป ก็นาจะไดรับแรงบันดาลใจ และความรูสึกที่เปียมลนไปดวย

ความรักในภูมิปญญาไทยที่ยังมีหลงเหลือใหคนรุนปจจุบันไดมี

โอกาสชมอยูบางในครั้งนี้

งานต้องลายปานซอย ผลงานหัตถกรรมของ ครูสมัคร สุขศรี งานหัตถกรรมการทํากลองแขก ผลงานของ ครูสนั่น บัวคลี่

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 6๕


ท่านผู้หญิงสิริกิติยา เจนเซน ให้เกียรติเป็นประธานเปิดงานนิทรรศการ

จัดโดยศูนย์ส่งเสริมศิลปาชีพระหว่างประเทศ (ศ.ศ.ป.)

ครูนิเวศ แววสมณะ ครูช่างศิลปหัตถกรรม ปี ๒๕๖๑

กับผลงานเครื่องผ้าในชุดหุ่นกระบอก

(ซ้ายบน) ครูสรพล ถีระวงษ์ ทายาทช่างศิลปหัตถกรรม ปี ๒๕๖๐

แสดงขั้นตอนการปักสะดึงกลึงไหม

(ซ้ายกลาง) ครูสมคิด คชาพงษ์ ครูช่างศิลปหัตถกรรม ๒๕๖๓

ประเภทงานแทงหยวก

(ซ้ายล่าง) ครูสุพัตรา ชูชม ครูช่างศิลปหัตถกรรม ปี ๒๕๖๒

กับผลงานผ้าทอในงานเครื่องผ้า

66 |


ในงานยังมีการจัดเสวนาในหัวขอ “งานชางไทยที่ใกล

สูญหาย…จะฟนฟู หรือรอสิ้นสูญ” ที่เชิญครูชางหัตถกรรม

หลายแขนงมารวมถายทอดถึงสิ่งที่ตนกําลังทําอยู ซึ่งก็มี ครูพิรุณ

ศรีเอี่ยมสะอาด ครูชางศิลปหัตถกรรม ๒๕๕๖ ในงานเครื่องผา

และครูนิเวศ แววสมณะ ครูชางศิลปหัตถกรรม ๒๕๖๑ งาน

เครื่องผาเชนกัน ที ่มาพูดถึงเรื่องราวของเครื่องผาแตงกายในชุด

ของการแสดงหุนกระบอกไทย มหรสพครั้งโบราณที่แมปจจุบันจะ

หาชมไดยาก แตถือเปนมรดกวัฒนธรรมที่ทรงคุณคาอีกประเภท

หนึ่ง งานเครื่องผาในชุดแตงกายของหุนกระบอก ที่มีคนทําจํานวน

ไมมากนัก สะทอนถึงวิถีชีวิตคนในปจจุบันที่เปลี่ยนไป ซึ่งหาก

ตราบใดที่ยังมีคนสนใจในการชมหุนกระบอก งานเครื่องผาที่ตอง

ใชฝีมือประณีตละเอียดเหลานี้ ก็จะยังคงอยูคูไปดวยเชนกัน

เชนเดียวกับ งานหนังใหญ อีกหนึ่งสาขาของงานศิลปะชั้นสูง

ที ่ใกลสูญหาย ครูวีระ มีเหมือน ครูศิลปของแผนดิน ปี ๒๕๕๒

ครูศิลปงานเครื่องหนัง และครูจฬรรณ์ ถาวรนุกูลพงศ์ ครูชาง

ศิลปหัตถกรรม ๒๕๕๘ งานเครื่องหนัง ซึ่งทั้งสองทานคือผูสืบทอด

การทํางานเครื่องหนัง ที่แทบไมเหลือใครทํา ดวยวัตถุดิบที่ตอง

ผานขั้นตอนการทําที่คอนขางยากของหนัง อีกทั้งลวดลาย แกะสลัก

ลงนํ้ายา และอื่นๆ แตทั้งสองทานก็ถือเปนผูที่มีความรูเรื่องราวของ

หนังใหญ ที่มีความเชี่ยวชาญชั้นสูง ทั้งการพากย์ การเชิด และ

การตอกตัวหนัง ซึ่งยากจะหาใครแทนที่ได และทั้งสองทานก็

บอกวา “จะยังคงรักษา และอนุรักษ์งานหนังใหญไวเพื่อใหคน

รุนหลังไดรูจัก และยังคงมุงมั่นทําตอไปจนกวาจะหมดลมหายใจ”

ชุดเครื่องทองเหลือง

บ้านปะอาว

มหรสพครั้งโบราณที่แม้ปจจุบัน

จะหาชมได้ยาก แต่ถือเป็น

มรดกวัฒนธรรมที่ทรงคุณค่า

อีกประเภทหนึ่ง งานเครื่องผ้า

ในชุดแต่งกายของหุ่นกระบอก

ที่มีคนทาจานวนไม่มากนัก สะท้อน

ถึงวิถีชีวิตคนในปจจุบันที่เปลี่ยนไป

ครูวีระ มีเหมือน ครูศิลปของแผ่นดิน ปี ๒๕๕๒ ครูศิลปงานเครื่องหนัง

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 6๗


ฆ้องแกะสลักลวดลายไทย

ที่ละเอียดงดงาม

ครูสมทรัพย์ ศรีสุวรรณ์ ครูศิลปของแผ่นดิน ปี ๒๕๖๓

สาธิตการปันเครื่องดินนํ้าต้นในงานนิทรรศการ

ผลงานเครื่องรักลวดลายต่างๆ

ที่นํามาแสดงในงานนิทรรศการ

6๘ |


สวนงานศิลปหัตถกรรมอีกแขนงคือ งานอังกะลุง ครูพีรศิษย์

บัวทั่ง ครูชางศิลปหัตถกรรม ๒๕๕๙ งานเครื่องไม เปนหนึ่ง

ในบุคคลสําคัญที่อนุรักษ์และสืบสานการทํา “อังกะลุง” มากวา

๔๐ ปี ซึ่งครูพีรศิษย์บอกวา “จะยังคงไมทิ้งงานทําอังกะลุง ที่ตนเอง

รัก และตั้งใจจะตอยอดสืบสานงานนี้ไวใหเปนมรดกแกรุนลูก

รุนหลาน ใหไดรูจักเครื่องดนตรีที่เปนภูมิปญญาของไทย ไมให

สูญหายไปจากแผนดินไทย”

ครูพีรศิษย์ บัวทั่ง กับงานหัตถกรรมเครื่องไม้

ในเครื่องดนตรีอังกะลุง

ตุลาคม ๒๕๖๓ | 6๙


บนเวทีเสวนา หัตกรรมชั้น ครู ที่ใกล้สูหาย

ครูจักรกริษ สุขสวัสดิ ครูช่างิลป

หัตกรรม ๒๕๕๕ กับลงานเครื่องรัก

ประธานงานขณะชมนิทรรการ ที่นาบรรยายโดย อเ่าทอง ทองเจือ

งานปูนปน

ปูนสด

ยิ่งได้ยินคาครู ได้เห็นึงความที่น่าจะ ยาก มาก

ในการสร้างสรรคงานหัตกรรม หลาย ชิ้นที่นามาจัดแสดงไว้

ในที่นี้ก็ยิ่งเห็นึงคุณค่า และคงรู้สึกเสียดายเปนอย่างยิ่ง หากเมื่อ

กาลเวลาเคลื ่อน่านไป โดยนาพาเอาลงานเหล่านี ้ให้จมหายไป

กับกาลเวลาโดยไม่มีใครสามารจะนู ช่วยเหลือ เพื่อไม่ให้

สูหายสิ้นไปด้วย เราก็ได้แต่หวังว่า บรรดาครูทั้งหลายที่ยัง

คงรักที่จะสืบสานงานิลปะเหล่านี้ จะยังมีคนดูแล จะยังคงมี

เรี่ยวแรง และมุ่งสืบสาน ่ายทอด ให้คนรุ่นหลังที่มีใจรักได้รู้ึง

คุณค่า และสืบสาน ต่อยอด โดยยึดเอางานครู เปนแรงบันดาลใจ

ึงทาไม่ได้อย่างครู แต่หากแค่เพียงยังคงมุ่งมั่นที่จะสืบสาน

ให้ดารงอยู่ และนาเอาองคความรู้มาต่อยอดพันาให้เกิดลงาน

ที่สามารปรับประยุกตใช้ได้เพื่อไม่ให้สูหายไปตามกาลเวลา

ก็น่าจะดีกว่าปล่อยให้ทั้งหมดเหล่านี้สูหายไป

|


| Advertorial |

พื้นที่เขาพระยาเดินธง ต.พัฒนานิคม

อ.พัฒนานิคม จ.ลพบุรี ปาตนนํ้าไมไกลจาก

เขื่อนปาสักชลสิทธิ์ ปจจุบัน สภาพปาไม

ที่นี่ เปนผืนปาอีกแหงหนึ่งของประเทศไทย

ที่อุดมสมบูรณ หลังจากที่ไดรับการอนุรักษ

และฟนฟูโดยกรมปาไม ชุมชน และภาค

เอกชน คือ บริษัท เจริญโภคภัณอาหาร

จํากัด มหาชน หรือ ซีพีเอฟ ในโครงการ

ซีพีเอฟ รักษนิเวศ ลุมนํ้าปาสัก เขาพระยา

เดินธง โดย ๕ ปแรกของโครงการ

ป ๒๕๕๙ - ๒๕๖๓ ชวยอนุรักษและฟนฟู

ปา ๕,๙๑ ไร ซึ่งผืนปาดังกลาวเปนสวนหนึ่ง

ของปาตนนํ้าที่มีปริมาณนํ้าไหลลงเขื่อนปา

สักชลสิทธิ์

ซีพีเอฟตอยอดสงเสริมชุมชนอยูรวม

กับปาอยางยั่งยืน โดยสนับสนุนการสราง

ความมั่นคงทางอาหารในชุมชน ทําโครงการ

ยุทธศาสตรสรางสุข ปลูกผักปลอดสาร

ใหชุมชนปลูกผักพื้นบานไวบริโภค และเก็บ

เมล็ดพันธุไวขยายพันธุในรูปแบบธนาคาร

เมล็ดพันธุ ทําใหชุมชนรอบพื้นที่เขาพระยา

เดินธง ๙ หมูบาน มีแหลงอาหารที่สะอาด

พออยออนุรักนา

หนุนชุมชนสร้างความมั่นคงทางอาหาร

ปลอดภัย พึ่งพาตนเองได ลดรายจาย

เพิ่มรายได ยกระดับคุณภาพชีวิตของ

ชุมชน

โครงการ ปลอยปลาลงเขื่อน เปนอีก

โครงการที่ซีพีเอฟสงเสริมชุมชนบาน

โคกสลุง หมูที่ ต.โคกสลุง อ.พัฒนานิคม

จ.ลพบุรี รวมตัวทําโครงการเพื่อเพิ่มปริมาณ

ปลาในแหลงนํ้้า ชวยแกปญหาปริมาณสัตว

นํ้าในอางเก็บนํ้าเขื่อนปาสักชลสิทธิ์ที่

ลดลง ไดรับการสนับสนุนจากเจาหนาที่

กรมประมงในพื้นที่ และสายธุรกิจเปดเนื้อ

ของซีพีเอฟใหคําแนะนําและใหความรู

ในการเลี้ยง อาทิ การอนุบาลสัตวนํ้า

วัยออนกอนปลอยลงสูแหลงนํ้าธรรมชาติ

เพื่อเพิ่มอัตราการรอดของปลา ทําใหชุมชน

มีแหลงอาหารที่อุดมสมบูรณ เกษตรกร

และชุมชนโดยรอบเขื่อนมีรายไดจากการ

ประกอบอาชีพจับปลา หรือนําปลาที ่เลี้ยง

ไปจําหนายใหพอคาแมคาเพื่อแปรรูปเปน

ผลิตภัณอื่นๆ เชน ปลาสม ปลารา ฯลฯ

สรางรายไดใหแกครัวเรือน

ซีพีเอฟ มุงมั่นสานตอความรวมมือกับ

ภาคีเครือขาย เดินหนาโครงการอนุรักษ

และฟนฟูปาตนนํ้าระยะที่สอง ป ๒๕๖๔-

๒๕๖๘ เพื่อเพิ่มพื้่นที่สีเขียวใหประเทศไทย

สอดรับกับเปาหมายการพัฒนาอยางยั่งยืน

ขององคการสหประชาชาติ uainable

eelopmen oal: ในประเด็น

ขจัดความยากจน ขจัดความหิวโหย การ

บริโภคและการผลิตที่ยั่งยืน การรับมือ

การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การใช

ประโยชนจากระบบนิเวศทางบก และ

ความรวมมือเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


เร่องเล่าจากปา |

เรื่อง : อาภาวัลย สรรพโส / ภาพ : จรินทร เพ็งพานิช

"

Our Land ”

Nature Conservaon Effort

เส้นทาง

สคว

ทุกวันนี้ซเชียลมีเดียมีอิทธิพลต่อทุกคน ความเร็วับไว และคอนเทนต์

ต้อง ชวนนึกภาพตามนิดนึง ถ่ายภาพสมัยนี้ สวยดีอย่างเดียว

คงไม่พอ ต้องาบด้วยลเตอร์ อินลูเอนเซอร์ ที่บางทีอาจจะตั้งตัวเองขึ้น

หรือคนสร้างแรงผลักดันในซเชียล ที่นาเสนอความแปลกใหม่ของคอนเทนต์

ที่จะมัดใจ เน้นกดไลค์ เป็นจทย์ในทุกธุรกิจ ความเร็ว อัพก่อน เกก่อน

เหมือนแซงแถวขึ้นรถไายามเช้าในเมืองหลวงที่แสนวุ ่นวาย ขึ้นไปแล้ว

คว้ามือถือมาส่องชีวิตคนอื่น ส่องความัน ส่องสิ่งที่เราอยากได้ แต่วันนึง

เมื่อเราอยากกด ตัวคุนึกถึงอะไร

2 |


้าย วีโจ้ วากีส พื้นที่อนุรักษสัตวปาเพื่อการึกษาในนามเอกชนแห่งแรกของประเทไทย

ขวา คริสเตียน อัลบานี ู้ก่อตั้ง องคกรพิทักษสัตวปา

อะไร่จาเปนสาคั กับคามเปนอยจริง

จับตองได มคามรสก สัมผัส สบายจ

คามเจริแบบยั่งยืน พอเพยง สโลไล

“ธรรมชาติ” ดจะเปนคาตอบ

เมื่อเราหมดแรง เมื่อเราเหนื่อยลา เดินเขาปา การใชธรรมชาติ

เยียวยา เรารูสึกถึงพลังของธรรมชาติ การอาบปา ore aing

ในญี่ปุน เรียกวา ชิรินโยกุ inrin-oku สัมผัสอากาศบริสุทธิ์

สัมผัสนํ้า สัมผัสตนไม ชวยทําใหจิตใจอบอุนเต็มเปยม

ประทับใจปนสงสัย เมื่อไดคุยกับผูชายที่ชื่อ วีโจ วากีส

หนุมเชื้อสายอินเดียที่เติบโตในประเทศไทย ทําไมคนรุนใหม

อยางเขา ที่มีหนาที่การงานมั่นคงในคอรเปอรเรทเวิลด เรียนมาดี

ทํางานตําแหนงใหญในบริษัทยักษใหญสาขาทั่วโลก เอาแบบภาษา

งายๆ แบบ แคนี้ภูมิใจแลว ลงตัวแลว แตเขากลับหันหลังเขาปา

สําหรับ วีโจ หลังทํางานหนักมาทั้งวีค ทุกเสารอาทิตยเขาเลือกออก

พักผอนตามอุทยานแหงชาติในประเทศไทย ชารจแบตเต็มพลัง

แตความรูสึกทุกวันจันทร มันชางมีอะไรหายไป เมื่อทบทวน คนหา

ตัวเอง จึงพบวาชีวิตนี้ มีมากกวาการทํางานในองคกรดีๆ กลับนึกถึง

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


สัตวปา นึกถึงความหมายของชีวิต นึกถึงความสุขที่ธรรมชาติ

มอบให จนลุกขึ้นมามอบสิ่งดีๆ กลับสูธรรมชาติ

ชางปา สัตวคูบานคูเมอง เปนพระเอกสําคัญของปา รางใหญ

อยูเปนโขลงแบบที่เราทานอยูกันเปนสังคม ชางปามีความสําคัญ

ตอระบบนิเวศในปา ชางมักเดินตามทางที่คุนเคย ปลอดภัย

ซํ้าไปมาเปนเวลานานนับป มีคนกลาววา เดินตามรอยชาง เราจะ

ปลอดภัย เราเดินไปเจออาหาร ที่อยูปลอดภัย และที่สําคัญ

แหลงนํ ้าสะอาด ระหวางทางที่ชางเดินไปในปารก ตนไมจะถูกงอ

ลงมา ถูกเหยียบบาง ทําใหเจาสัตวอื ่นในปาซึ่งตัวเล็กกวา ไดมี

โอกาสกินอาหาร ผล ใบ เมื่อกิ่งสูงโนมลงตํ ่า สวนดานพันธุไม

ก็ลงมาทับถมเปนดินดีตอไป เมล็ดไดงอกงามตอไป

พวกเราจึงตามไปสํารวจความตั้งใจของคุณ วีโจ วากีส ผูกอตัง

ur an เอาวแลนด aur onraon or พนที่อนุรักษ

สัตวปาเพ่อการศึกษานนามเอกชนแหงแรกของประเทศทย

ในอําเภอวังดง จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งหางจากเขตอนุรักษพันธุสัตวปา

สลักพระ แคถนนขึ้นสูเขื่อนศรีนครินทร ๒ เลนกั้น

ยอนดูเขตรักษาพันธุสัตวปาสลักพระเปนเขาสูงซับซอน

มีพื้นที่มากกวา ๘๕๐ กิโลเมตร ครอบคลุม ๔ อําเภอ คือ อําเภอ

บอพลอย อําเภอหนองปรือ อําเภอศรีสวัสดิ์ และอําเภอเมือง

กาญจนบุรี มีทั้งแองนํ้าขุดใหสัตว และมีทางลงสูหวยธรรมชาติ

เขตรักษาพันธุสัตวปาเปนพื้นที่เปดโลง สัตวปาจึงเดินออกมาใน

เขตของคนที่เขาไปจับจองที่อยู บางเปนคนพื้นที่ใชทํากิน อีกสวน

เปนโรงแรมเพื่อในผูคนมาสัมผัสธรรมชาติ และบางสวนถูกจับจอง

โดยนายทุนตางๆ

เมื่อคุณวีโจยายมาอยูที่นี่ รูชัดวาอยากอยูใกลธรรมชาติ

แตจะมาทําอะไรดีใหมีความหมาย เนื้อที่ ๒๖ ไรไมใชเล็ก จะพันา

ทางดหเกิดประโยชนสูงสุด แตการเกิดประโยชนนีมช

ประโยชนสําหรับตนเองอยางเดียวแน เม่อชชีวิตทุกวันที่นี่ จึงเหน

ความสมบูรณของธรรมชาติเพิ่มขึน ชางใชเสนทางนี้ผานลงไป

ดื่มนํ้าที่แมนํ้าแคว เมื่อเขาเดินลงมาประจํา ผานที่ทํานาทําไร

ทําเอาผลผลิตเสียหาย ก็โดนจุดประทัดไลบาง ชางเปนสัตวฉลาด

จึงคอยๆ ขยับหาชองทางปลอดภัย จนมาพบแนวพื้นที ่แถบ

ur and ที่ในอดีตมีการวางแผนพัฒนา แตเจอกับตมยํากุง

เรียลเอสเตทโปรเจกตเลยมีอันตองพับรอ พื้นที่จึงยังไมไดมีการ

พัฒนา เปนปาที่เคยถูกถาง มีลวดหนามแบงเขตหลงเหลืออยู

บางสวน ตนไมเริ ่มขึ้นรก และรอยเทาของชางประทับตามพน

เปนเสนทางสูแมนําแคว

สําหรับชาง ur and นับวาเปนพื้นที่ในน การไดลงไป

แชนํ้า ดื่มนํ้ากวา ๒๐๐ ลิตรตอวัน ที่ริมแมนํ้าแควใหญที่ใสสดชื่น

ไมใชเรื่องงายนัก จากสลักพระ ขามถนนใหญ ๒ เลน รถสวน

ไปมา เมื่อความเจริญเขาไปสูปา ธรรมชาติจึงถูกเปลี่ยนแปลง

มีนโยบายตัดถนนไปสูเขื่อนศรีนครินทร จาก ๒ เปน ๔ เลน

เพื่อใหปลอดภัยขับสะดวก ในวันขางหนา ชางหรือสัตวปาตางๆ

จะขามถนนยากขึ้น เสี่ยงขึ้น กับการเดินทางไปสูแหลงนํ้า

แลวชีวิตเราตองการอะไรอีก

อาหาร นํ้า ที่พัก อากาศบริสุทธิ์ ยารักษาโรค

ดูนาจะเพียงพอ

orror เสนทางที่ชางผานนี เปนชองทางที่คุณวีโจ

Wildlife Corridor

วีโจ วากีส

|


ติดตามคลิปได้ที่ หรือ

หเดกและผูมาเยอนดศึกษา เขาจวิีชีวิตสัตว เปนชองที่สอง

ความหวัง วาเราตองรักษาผนปาปพรอมการพันาประเทศ

แบบยั่งยน คุณวีโจ พบกับสิ่งที่ทําใหใจตนเองพองโตมีคุณคาแลว

และไดเปนคนเริ่มจุดประกายการอนุรักษพื้นที่สัตวปา พื้นที่

ที่พวกเขาจะไดอยูอยางปลอดภัย อยูรวมกับเราได เมื่อไปถึง

ur and เราจะขามผานความสบาย และความกลัวหลายอยาง

เราจะอยูรวมกับสัตวปาคํ่าคืนนี้ ไฟฟาที่ใชจะมาจากพลังงาน

แสงอาทิตย กับตะเกียง นํ้าที่ใชมาจากการรองนํ ้าน ลืม ain

ower ที่บานแลวเลนนํ้านจริงแทน ปลูกพืชผักโดยไมใช

สารเคมี สรางบานจากดินเหนียว ทุกสิ่งอยางเรายอนกลับไป

ใหเราใชแตเพียงพอ แบงปน คืนพื้นที่ใหกับธรรมชาติ และสัตวปา

สรางพื้นที่ใหสัตวปากับคนอยูรวมกันได

แลวก็มีคนเขาใจเริ่มปฏิบัติตามที่คุณวีโจไดลองศึกษา เด็กๆ

มาที่นี่จะไดอยูกับธรรมชาติแบบไมปรุงแตง ไดลองอยูในโลก

แหงความจริง จนเด็กๆ บอกวาอยางกับ เพราะปาที่เห็นเหมือน

ปาในหนัง ในสารคดี เขาเคยเห็นในเกม เคยอานหนังสือ แตไมเคย

สัมผัส อยางเชน คุณคริสเตียน อัลบานี ผูกอตั้ง uk runk

rganiaion องคกรพิทักษสัตวปา คุณพอคุณแมพามาที่นี่ครั้งแรก

สมัยอยูโรงเรียน ทําใหเขามาความรักความเขาใจปา และสัตวปา

จนลุกขึ้นมาจัดตั้งหนวยงานพิทักษสัตวปาอีกดวย ยามวางยังกลับมา

ชวยที่ ur and สงตอพลังในการอนุรักษสําหรับคนรุนตอไป

อย่างนี้แหละ อินลูเอนเอรตัวจริง

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


เร่องเล่าวันวาน |

เรื่อง / ภาพ : ธีรภาพ โลหิตกุล

คุ้มวิชัยราชา

อัญมณีเลอค่าล้านนาไทย

ข่าวการรื้อทาลายอาคารบอมเบย์เบอร์มา ที่เป็นเรือนไม้ ชั้น

อายุเก่าแก่ถึง ป ภายในสวนรุกขชาติเชตวัน อาเภอเมืองแพร่

ทาให้ผมหวนคิดถึงคืนวันที่ได้ไปร่วมกิจกรรมของสานักงาน ทททแพร่

ตามครงการ นั่งสามล้อ ผ่อเือนเก่า ชมเรือนเก่า เล่าขานตานานเมืองแป

เป็นการชมเมืองที่คลาสสิก และประทับอยู่ในความทรงจา ยากจะลืมเลือน

|


เพราะสามล้อไร้ทั้งเสียงและควัน ที่สาคัญ แพร่เป็นเมืองที่

เหมาะกับการนั่งสามล้อชมเมืองเป็นที ่สุด ทุกๆ ๕-๑๐ นาทีที่

สามล้อเคลื่อนไป จะมีเรือนไม้เก่าแก่ให้เราตื่นตาตื่นใจนับสิบหลัง

ซึ่ง ๑ ในเรือนไม้ที่ถือเป็นตานานเมืองแพร่ คือ “คุ้มวิชัยราชา” ทั้ง

รูปทรงสถาปัตยกรรมและเรื่องราวเล่าขานเกี่ยวกับคุ้มนี้ ทาให้

ใครๆ ต้องขอให้สารถีสามล้อจอดเพื่อลงไปสัมผัสความงามได้

เต็มตา

คุ้มวิชัยราชามีรูปแบบทางศิลปะสถาปัตยกรรมผสมผสาน

ระหว่างเรือนมะนิลา กับเรือนขนมปังขิงของฝรั่ง และเรือนพื้นบ้าน

ล้านนา โดดเด่นด้วยลายฉลุที่สวยงามอ่อนช้อย ที่จั่วบ้าน บังลม

ระเบียง ตลอดจนไม้ช่องลมเหนือบานประตูและหน้าต่าง ล้วนเป็น

ศิลปะอันวิจิตรตระการตาน่าชมยิ่งนัก

หนังสือ พจนานุกรมศัพท์ศิลปกรรมไทย โดย ศวิบูลย์ ลี้

สุวรรณ อธิบายความหมายของเรือนมนิลา ว่า เรือนทรงหลังคาจั่ว

สองด้าน มีหลังคาลาดลงทั้งสี่ด้าน อาจได้รับอิทธิพลจากเรือนใน

กรุงมะนิลา ประเทศฟลิปปนส์ บ้างเรียก เรือนทรงมะนิลา ในขณะ

ที่เว็บไซต์ eeeee เพิ่มเติมว่า เรือนมะนิลา เป็นเรือน

ที ่วิวัฒนาการมาจากเรือนปั้นหยา (เรือนไม้แบบยุโรปมุงหลังคา

ด้วยกระเบื้อง หลังคาทุกด้านจะชนกันแบบก้นพีระมิด ไม่มีหน้าจั่ว)

จึงกล่าวได้ว่า เรือนมนิลา คือเรือนปั้นหยาที่เปดหลังคา

บางส่วนให้มีหน้าจั่ว และมีครีบชายคาเป็นแบบขนมปังขิง มีฉลุ

เป็นหยาดน้าฝนลักษณะลายละเอียดอ่อนมาก ที่ยอดหน้าจั่วจะมี

เสากลึงข้างบนและเสี้ยมปลายแหลม เรือนแบบนี้แรกมีในสยามใน

สมัยรัชกาลที่ ๕

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


|


ส่วน “ขนมปังขิง” ศวิบูลย์ ลี้สุวรรณ อธิบายว่า คือลวดลาย

ฉลุไม้สาหรับตกแต่งอาคาร มีลักษณะคล้าย “ขนมปังขิง” (ie

e) นิยมใช้ตกแต่งจั่ว ตัวอาคาร พระที่นั่ง ตาหนัก ฯลฯ

ถือเป็นศิลปะตะวันตกที่ส่งอิทธิพลสูงมากในสมัยรัชกาลที่ ๕

ไล่เลี่ยกับการเข้ามาของเรือนมนิลา นับว่าคุ้มวิชัยราชาสร้างด้วย

ศิลปะยอดนิยมแห่งยุคสมัย โดยไม่ทิ้งเอกลักษณ์เรือนล้านนา

ไปโดยสิ้นเชิง

พระวิชัยราชา (เจ้าขัติ แสนศิริพันธุ์) เครือญาติเจ้าหลวง

เทพวงศ์ เจ้าผู้ครองนครแพร่องค์สุดท้าย สร้างคุ้มวิชัยราชา

เรือนไม้สักทรงมะนิลาหลังงามนี้เป็นที่พักอาศัยแทนหลังเก่า

ที่ทรุดโทรมไปตามกาลเวลา สันนิษฐานว่าบ้านหลังนี้คงสร้างขึ้น

ระหว่างปี พศ ๒๓-๒๓ ถึงแม้ว่าจะมีอายุเก่าแก่เกินร้อยปี

แต่ยังมีโครงสร้างที่มั่นคงแข็งแรง

เมื่อพระวิชัยราชาถึงแก่อสัญกรรมในปี ๒๖๕ คุ้มวิชัยราชา

ก็ตกเป็นของบุตรคือ เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ ประกอบอาชีพค้าไม้สัก

จนร่ารวยมหาศาล และเป็น สส คนแรกของจังหวัดแพร่ ในปี

๒๕ มีความสนิทสนมคุ้นเคยกับนายปรีดี พนมยงค์ พระยาพหล

พลพยุหเสนา และได้สร้างเกียรติประวัติเป็นหัวหน้าขบวนการ

เสรีไทย จังหวัดแพร่ เพื่อกู้ชาติระหว่างสงครามโลกครั้งที่ ๒

โดยใช้บ้านหลังนี้เป็นศูนย์กลางประสานงานกับเสรีไทยในเขตอื่นๆ

คุ้มวิชัยราชามีรูปแบบทางศิลปะ

ยิ่งได้ยินคาครู

สถาปัตยกรรมผสมผสาน

ได้เห็นถึงความที่น่าจะ

ระหว่างเรือนมนิลา

กับเรือนขนมปังขิงของรั่ง

ยาก

มากๆ ในการสร้างสรรค์งานหัตถกรรม

และเรือนพื้นบ้านล้านนา

หลายๆ

ดดเด่น

ชิ้นที่นามาจัดแสดงไว้ในที่นี้ก็ยิ่งเห็นถึง

ด้วยลายลุที่สวยงามอ่อนช้อย

คุค่า

ที่จั่วบ้าน

และคงรู้สึกเสียดายเป็นอย่างยิ่ง

บังลม ระเบียง ตลอดจนไม้ช่องลม

หากเมื่อกาลเวลาเคลื่อนผ่านไป

เหนือบานประตูและหน้าต่าง ล้วนเป็นศิลปะ

ดยนาพา

เอาผลงานเหล่านี้ให้จมหายไปกับกาลเวลา

อันวิจิตรตระการตาน่าชมยิ่งนัก

ดยไม่มีใครสามารถจะนู ช่วยเหลือ

ในหนังสือ ๑๐๐ ปี ชาติกาลรัฐบุรุษอาวุโส หน้า ๑๒ ระบุว่า

“นายปรีดีมีความประสงค์จะเล็ดลอดออกไปตั้งรัฐบาลพลัดถิ่นใน

อินเดีย ในเบื้องแรกนายปรีดีได้ขอให้เจ้าวงศ์ แสนศิริพันธุ์ ผู้แทน

ราษฎรจังหวัดแพร่ จัดส่งคนที่ไว้ใจได้ออกไปเมืองจีน” แสดงถึง

สายสัมพันธ์อันแนบแน่นของบุคคลทั้งสอง และด้วยวีรกรรมของ

ขบวนการกู้ชาติเสรีไทยนี่เอง ทาให้ประเทศไทยรอดพ้นจากการ

เป็นฝ่ายแพ้สงคราม

แต่ต่อมาเมื่อนายปรีดี พนมยงค์ ประสบชะตากรรมทาง

การเมืองจนต้องลี้ภัยไปประเทศจีน เจ้าวงศ์ และครอบครัวก็ถูก

รัฐบาลใช้มาตรการทางภาษียึดคุ้มวิชัยราชา จนกระทั่งเจ้าวงศ์

แสนศิริพันธุ์ ถึงแก่กรรมในปี ๒๕๑๓ คุ้มวิชัยราชาก็ถูกทอดทิ้ง

ปราศจากการดูแลเอาใจใส่นานเกือบ ๐ ปี จนกระทั่ง ปี ๒๕๓๕

นายวีระ สตาร์ อดีตล่าม ครู มัคคุเทศก์ ทายาท “นายห้างสตาร์”

ผู้บุกเบิกวงการอัญมณีคนสาคัญของไทย ได้มาพบคุ้มวิชัยราชา

โดยบังเอิญ ในสภาพทรุดโทรม จึงตัดสินใจซื้อและฟื้นฟูบูรณะ

คุ้มวิชัยราชา จนถือเป็น ๑ ในคุ้มโบราณ ตานานเมืองแพร่

ที่หากใครไปเยือนเมืองนี้ ยืนยันว่าไม่น่าพลาดชมด้วยประการ

ทั ้งปวง และจะประทับใจสุด หากคุณไปชมด้วยการใช้สามล้อ

เปนพาหนะนาทางไป

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


โลกใสๆ ใบสวยๆ

เรื่อง : ยากร เจตนานุศาสน / ภาพประกอบ : วิชาญ ชัยรัตน

|

กาพย์เห่ชม

เครื่องคาวหวาน ตารับอาหารไทย

มคยางาย


บทพระราชนิพนธ์ ดย สมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ล้นเกล้า

รัชกาลที่ ในชุดกาพย์เห่ชมเครื่องคาวหวาน ที่มีทั้งหมด ช่วง คือ

บทเห่ชมเครื่องคาว บทเห่ชมผลไม้ บทเห่ชมเครื่องหวาน บทเห่ครวญ

เข้ากับงานนักขัตกษ์ และบทเห่เจ้าเซ็น สันนิษานว่าทรงพระราชนิพนธ์

ขึ้นเพื่อชมสมเด็จพระศรีสุริเยนทราบรมราชินี ซึ่งมีพระหัตถ์ในการแต่ง

เครื่องเสวย เนื้อหาเป็นการพรรนาถึงอาหารคาวหวานนานาชนิด

สลับไปกับความรู้สึกที่มีต่อนางอันเป็นที่รักอย่างกลมกลืนแยบคาย

และถ่ายทอดออกมาได้อย่างมีรสชาติ เต็มไปด้วยความซาบซึ้งประทับใจ

ใครที่ได้อ่านและพอจะคุ้นเคยกับอาหารไทยสารับต่างๆ ในบทกาพย์เห่

ชิ้นนี้ ซึ่งแม้ว่ากาลจะผ่านมาเนิ่นนานแค่ไหน แต่ดูเหมือนสารับคาวหวาน

บางอย่างก็ไม่เคยจางหายไป

เห่มเคร่องคาวที่เราเคยคุ้น

ในบทชมเครื่องคาวที่เปนบทแรกของกาพยเหชุดนี้ นาจะเปน

บทที่คุนเคยกันมากที่สุด และทําใหอาหารที่ชื่อแกงมัสมั่นกลาย

เปนอาหารที่หลายคนจะเรียกวา มัสมั่นแกงแกวตา ตามไปดวย

โดยปริยาย

แกงไก่มัสมั่นเนื้อ นพคุณ พี่เอย

หอมยี่หร่ารสุน เียบร้อน

ชายใดบริโภคภุช์ พิศวาส หวังนา

แรงอยากยอหัตถ์ข้อน อกให้หวนแสวง

กาพยเห จะเริ่มตนดวย โคลงสี่สุภาพ ๑ บท แลวตามดวย

กาพยยานี ๑๑ ไมจํากัดจํานวน จากโคลงสี่สุภาพดานบน ก็จะตาม

มาดวยบทนี้ที่ถือเปนทอนติดปากที่ทําใหหลายคนรูจักแกงมัสมั่น

มัสมั่นแกงแก้วตา หอมยี่หร่ารสร้อนแรง

ชายใดได้กลืนแกง แรงอยากให้ใฝฝนหา

นี่คือที่มาของการเอยถึงชื่ออาหารรสชาติที่ซับซอนและเต็มไป

ดวยเครื่องปรุงและวิธีทําสุดพิถีพิถันอยาง แกงมัสมั่น ที่ปจจุบัน

เปนหนึ่งเมนูอาหารไทยที่มีชื่อเสียงเปนที่รูจักไปทั่วโลกอีกเมนูหนึ่ง

จากบทพระราชนิพนธที่เอยถึงแกงชนิดนี้ไดอยางซาบซึ้งในรสชาติ

ยิ่งนัก เรียกไดวานี่คืออาหารสํารับชาววังที่ตอมาก็แพรขยายมาสู

ครัวเรือนของชาวบาน ที่ปจจุบันมีการสรางสรรคตอยอดกัน

อีกมากในการใชวัตถุดิบ หากก็ยังดํารงไวซึ่งความเปนแกงมัสมั่น

จนอาจกลาวไดวา สํารับอาหารคาวตํารับนี้เปนสุดยอดของอาหาร

ตํารับชาววังที่ชาวบานไดรูจักกันแพรหลายมากขึ้นก็เพราะ

พระราชนิพนธกาพยเหเรือบทนี้ ที่ใครไดอานก็อดไมไดที่อยาก

จะชิม มัสมั่นแกงแกวตา ใหรูวาเมื่อไดกลืนแกงนี้แลวจะในหา

สักเพียงใด

ถาเชนนั้นลองมาอานกาพยเหเรือชมเครื่องคาวบทนี้กันใหจบ

ดูสักครั้งสิวา ยังมีอาหารสํารับใดอีก ที่เมื่อเราไดอานอยางลึกซึ้ง

ในพระราชนิพนธบทนี้แลว อยากจะหาอาหารสํารับใดมารับ

ประทานกันอีก และเพื่อไมใหซํ้าไปซํ้ามา นี่คือบทถัดมาตอจากบท

แกงมัสมั่น

ยาให่ใส่สารพัด วางจานจัดหลายเหลือตรา

รสดีด้วยน้าปลา ี่ปุนล้าย้ายวนใจ

ตับเหล็กลวกหล่อนต้ม เจือน้าส้มโรยพริกไทย

โอชาจะหาไหน

ไม่มีเทียบเปรียบมือนาง

หมูแนมแหลมเลิศรส พร้อมพริกสดใบทองหลาง

พิศห่อเห็นรางชาง ห่างห่อหวนปวนใจโหย

ก้อยกุ้งปรุงประทิ่น วางถึงลิ้นดิ้นแดโดย

รสทิพย์หยิบมาโปรย าจะเปรียบเทียบทันขวั

เทโพพื้นเนื้อท้อง เป็นมันย่องล่องลอยมัน

น่าดรสครามครัน ของสวรรค์เสวยรมย์

ความรักยักเปลี่ยนท่า ทาน้ายาอย่างแกงขม

กลอ่อมกล่อมเกลี้ยงกลม ชมไม่วายคล้ายคล้ายเห็น

ข้าวหุงปรุงอย่างเทศ รสพิเศษใส่ลูกเอ็น

ใครหุงปรุงไม่เป็น เช่นเชิงมิตรประดิษ์ทา

เหลือรู้หมูปาต้ม แกงคั่วส้มใส่ระกา

รอยแจ้งแห่งความขา ช้าทรวงเศร้าเจ้าตรากตรอม

ช้าช้าพล่าเนื้อสด ฟุ้งปรากรสหื่นหอม

คิดความยามถนอม สนิทเนื้อเจือเสาวคนธ์

ล่าเตียงคิดเตียงน้อง นอนเตียงทองทาเมืองบน

ลดหลั่นชั้นชอบกล ยลอยากนิทรคิดแนบนอน

เห็นหรุ่มรุมทรวงเศร้า รุ่มรุ่มเร้าคือไฟฟอน

เจ็บไกลในอาวรณ์ ร้อนรุมรุ่มกลุ้มกลางทรวง

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


อานมาถึงตรงนี้ แตบทกาพยเหชมเครื่องคาวยังไมจบ กอนจะ

ไปดูตอวาจะจบลงที่อาหารสํารับใด ถึงตอนนี้ขาพเจาเองก็นึก

อยากชิมอาหารตามรอยพระราชนิพนธนี้หลายสํารับเลยทีเดียว

อยางยําใหญใสสารพัด ก็เปนอีกหนึ่งสํารับที ่ปจจุบันหาคนทํา

ไดยาก ดวยเครื่องปรุงสารพัดตามที่พระราชนิพนธไว ถาหากเปน

คนรุ นใหมและนึกอยากชิมสํารับนี้ขึ้นมา คงตองลองคนควาหาวิธี

ทําดวยตนเอง เพราะยากจะมีรานอาหารใดทําขาย ดวยวัตถุดิบที่

มากมายและวิธีการที่คอนขางซับซอน

สวนสํารับอื่นๆ ที่นาจะนึกภาพออกยากสักนิด ก็นาจะเปน

ลาเตียง กับ หรุม เปนอาหารวางแบบโบราณ ที่สวนผสมและ

วิธีทําคอนขางใกลเคียงกัน คือการมีเครื่องผัดทําเปนไสและ

หอดวยไข ซึ่งลาเตียงจะเปนการโรยไขทอดใหเปนตารางแลว

นํามาหอ สวนหรุมจะหอดวยไขทอดแผนบางๆ นี่คือความแตกตาง

ที่ชางคิดในการทําเครื่องของวางในสมัยกอน หากปจจุบันความ

ชางประดิดประดอยของคนรุนใหมอาจนอยลงไปตามสภาพสังคม

และวิถีชีวิต การจะไดรับประทานอาหารที่พิถีพิถันเชนนี้ ถาใครมี

ใจรักก็อาจทําไดโดยหาเวลาคนควาหาวิธีทําเพิ่มสักนิด การ

แกะรอยคนตําราอาหารโบราณมาลองปรุงดวยตัวเองดูอาจเปนสิ่ง

ที่สนุก ไดประโยชน และการไดลิ้มลองอาหารโบราณที่เราทําเอง

ก็ถือเปนการรื้อฟนใหอาหารบางอยางกลับมามีชีวิตอีกครั้ง

รังนกนึ่งน่าด โอชารสกว่าทั้งปวง

นกพรากจากรังรวง เหมือนเรียมร้างห่างห้องหวน

ไตปลาเสแสร้งว่า ดุจวาจากระบิดกระบวน

ใบโศกบอกโศกครว ให้พี่เคร่าเจ้าดวงใจ

ผักโมชื่อเพราะพร้อง เป็นโมน้องาโมไหน

ผักหวาน่านทรวงใน ใคร่ครวรักผักหวานนาง

นี่คือทั้งหมดของกาพยเหชมเครื่องคาว ที่ไดทั้งความไพเราะ

ซาบซึ้ง และถอยคําของการพรรณนาในบทกาพยยานี อันเปนหนึ่ง

ในฉันทลักษณที่แสดงถึงความละเอียดออน และซุกซอนถอยคําให

เหลือนอย แตเขาใจไดมาก ในแบบของไทย และโดยเฉพาะ

เมื่อเปนบทพระราชนิพนธของรัชกาลที่ ๒ ที่ทรงแสดงความรูสึก

เปนความนัยสื่อผานสํารับอาหารที่พระองคไดเสวย ยังทําใหเห็น

ถึงความละเมียดละไม ในสํารับอาหารแตละอยางวาเต็มเปยม

ไปดวยความหมายมากเพียงใด

เห่มลม้ศาสตรและศิลปแห่งอาหาราววัง

ในสวนของผลไมนั้นแนนอนวาถาหากชาวบานรับประทาน

ก็จะไมมีการสลัก จัก ปอก หรือปลิ้นเมล็ดออก ดังเชนอาหารชาววัง

ที ่จะไดรับการจัดตกแตงอยางดี ใหมีทั้งความประณีตพรอมให

พระองคเสวยไดอยางงายๆ และงดงาม และในบทเหชมผลไมนี้

ก็เปนบทที่ทําใหไดเห็นถึงความเปนศาสตรและศิลปแหงอาหาร

ชาววังไดอยางชัดเจน เพราะมีการพรรณนาถึงศิลปะในการแกะ

ปอก หรือควานผลไมตางๆ หลายชนิดไดอยางวิจิตร งดงาม

แสดงใหเห็นถึงความออนชอยและมืออันละเอียดออนของกุลสตรี

ไทยในสมัยนั้น มาลองอานกันแบบลึกซึ้งดูอีกสักรอบ

ผลชิดแช่อิ่มโอ้ เอมใจ

หอมชื่นกลืนหวานใน อกชู้

รื่นรื่นรสรมย์ใด าดุจ นี้แม

หวานเลิศเหลือรู้รู้ แต่เนื้อ นงพาล

ผลชิดแช่อิ่มอบ หอมตรลบล้าเหลือหวาน

รสไหนไม่เปรียบปาน หวานเหลือแล้วแก้วกลอยใจ

ตาลเาะเหมาะใจจริง รสเย็นยิ่งยิ่งเย็นใจ

คิดความยามพิสมัย หมายเหมือนจริงยิ่งอยากเห็น

ผลจากเจ้าลอยแก้ว บอกความแล้วจากจาเป็น

จากช้าน้าตากระเด็น เป็นทุกข์ท่าหน้านวลแตง

2 |

หมากปรางนางปอกแล้ว ใส่โถแก้วแพร้วพรายแสง

ยามชื่นรื่นโรยแรง ปรางอิ่มอาบาบนาสา

หวนห่วงม่วงหมอนทอง อีกอกร่องรสโอชา

คิดความยามนิทรา อุราแนบแอบอกอร

ลิ้นจี่มีครุ่นครุ่น เรียกส้มุนใช้นามกร

หวานถวิลลิ้นลมงอน ชะอ้อนถ้อยร้อยกระบวน

พลับจีนจักด้วยมีด ทาประณีตน้าตากวน

คือโอษ์อ่อนยิ้มยวน ยลยิ่งพลับยับยับพรรณ

น้อยหน่านาเมล็ดออก ปล้อนเปลือกปอกเป็นอัศจรรย์

มือใครไหนจักทัน เทียบเทียมที่ฝมือนาง


ผลเกดพิเศษสด โอชารสล้าเลิศปาง

คานึงถึงเอวบาง สางเกศเส้นขนเม่นสอย

ทับทิมพริ้มตาตรู ใส่จานดูดุจเม็ดพลอย

สุกแสงแดงจักย้อย อย่างแหวนก้อยแก้วตาชาย

ทุเรียนเจียนตองปู เนื้อดีดูเหลือเรืองพราย

เหมือนศรีวีกาย สายสวาทพี่ที่คู่คิด

ลางสาดแสวงเนื้อหอม ผลงอมงอมรสหวานสนิท

กลืนพลางทางเพ่งพิศ คิดยามสารทยาตรามา

ผลเงาะไม่งามแงะ ล่อนเมล็ดและเหลือปา

หวนเห็นเช่นรจนา จาเจ้าเงาะเพราะเห็นงาม

สละสาแลงผล คิดลาต้นแน่นหนาหนาม

ท่าทิ่มปมปนกาม นามสละมละเมตตา

อานจบแลวยากจะกลาว เห็นทีเราตองไปเดินตลาดหาผลไม

หลากชนิดมาปอกควานหาเมล็ดใหเสร็จพลัน

เห่มเคร่องหวานสารพันนานานาม

มาถึงสวนสุดทายของกาพยเหชมเครื่องคาวหวาน คือบทเห

ชมเครื่องหวาน ที่จะทําใหเราเห็นภาพของขนมหวานในสมัยกอน

ที่ยังมีไมมากชนิดนักหากเทียบกับขนมหวานในสมัยนี้ กระนั้น

พื้นฐานของขนมในสมัยใหมบางอยางก็มีการดัดแปลงแตงเติม

และตอยอดขึ้นมาจากขนมโบราณหลายๆ อยางนั่นเอง และแมสิ่ง

ที่ลนเกลาฯ รัชกาลที่ ๒ ไดทรงพรรณนามาในบทเหชมเครื่องหวานนี้

จะไมไดมีเฉพาะแตขนมโบราณของไทยเทานั้น หากยังมีเครื่องหวาน

ที ่สะทอนใหเห็นถึงการผสมผสานวัฒนธรรมอาหารของไทยกับ

หลายเชื้อชาติ ตั้งแตสมัยสมเด็จพระนารายณ กรุงศรีอยุธยา

มาจนถึงตอนตนของกรุงรัตนโกสินทร และเชื่อวาหากใครไดอาน

พระราชนิพนธในสวนของเครื่องหวานนี้ ก็นาจะอยากเห็นหนาตา

ของขนมบางชนิด และอยากชิมขึ้นมาทันทีใหรูรส

สังขยาหน้าไข่คุ้น เคยมี

แกมกับข้าวเหนียวสี โศกย้อม

เป็นนัยนาวาที สมรแม่ มาแม

แถลงว่าโศกเสมอพ้อม เพียบแอ้ อกอร

สังขยาหน้าตั้งไข่ ข้าวเหนียวใส่สีโศกแสดง

เป็นนัยไม่เคลือบแคลง แจ้งว่าเจ้าเศร้าโศกเหลือ

่าหริ่มลิ้มหวานล้า แทรกใส่น้ากะทิเจือ

วิตกอกแห้งเครือ ได้เสพหริ่มพิมเสนโรย

ลาเจียกชื่อขนม นึกโมมหอมชวยโชย

ได้กลิ่นดิ้นแดโดย โหยไห้หาบุหงางาม

มัศกอดกอดอย่างไร น่าสงสัยใคร่ขอถาม

กอดเคล้นจะเห็นความ ขนมนามนี้ยังแคลง

ลุตตี่นี้น่าชม แผ่แผ่นกลมเพียงแผ่นแผง

โอชาหน้าไก่แกง แคลงของแขกแปลกกลิ่นอาย

ขนมจีบเจ้าจีบห่อ งามสมส่อประพิมพ์ประพาย

นึกน้องนุ่งจีบกราย ชายพกจีบกลีบแนบเนียน

รสรักยักลานา ประดิษ์ทาขนมเทียน

คานึงนิ้วนางเจียน เทียนหล่อเหลาเกลากลึงกลม

ทองหยิบทิพย์เทียมทัด สามหยิบชัดน่าเชยชม

หลงหยิบว่ายาดม ก้มหน้าเมินเขินขวยใจ

ขนมผิงผิงผ่าวร้อน เพียงไฟฟอนฟอกทรวงใน

ร้อนนักรักแรมไกล เมื่อไรเห็นจะเย็นทรวง

รังไรโรยด้วยแป้ง เหมือนนกแกล้งทารังรวง

โอ้อกนกทั้งปวง ยังยินดีด้วยมีรัง

ทองหยอดทอดสนิท ทองม้วนมิดคิดความหลัง

สองปสองปดบัง แต่ลาพังสองต่อสอง

งามจริงจ่ามงกุ ใส่ชื่อดุจมงกุทอง

เรียมร่าคานึงปอง สะอิ้งน้องนั้นเคยยล

บัวลอยเล่ห์บัวงาม คิดบัวกามแก้วกับตน

ปลั่งเปล่งเคร่งยุคล สถนนุชดุจประทุม

ช่อม่วงเหมาะมีรส หอมปรากกลโกสุม

คิดสีสไลคุม หุ้มห่อม่วงดวงพุดตาน

ฝอยทองเป็นยองใย เหมือนเส้นไหมไข่ของหวาน

คิดความยามเยาวมาลย์ เย็บชุนใช้ไหมทองจีน

สาหรับกาพยเห่ชุดนี้ ขอยกมาให้อ่านกันเพียง ช่วง อันเปน

บทที่ว่าด้วยอาหารคาวหวานและลไม้ ที่มีเครื่องคาวอีกหลาย

สารับและเครื่องหวานอีกหลายชนิด ที่อาจูกกลืนหายไปในโลก

สมัยใหม่นี้ เราก็เลยทาหน้าที่พาคุณู้อ่านให้ย้อนนึกึงเรื่องราว

และความรู้สึกของบทพระราชนิพนธ โดยล้นเกล้า รัชกาลที่ ๒

ชิ้นนี้ที่หยิบมาอ่านคราใดก็สัมัสได้ึงความเปยมล้นไปด้วย

ความรัก และอาหาร

ตุลาคม ๒๕๖๓ | ๓


สังคมข่าว

ทระกันัรวกันรรดีกานออุทวานระราชกุนวรัชกาที

คุณวิชชุดา ไตรธรรม ที่ปรึกษากรรมการผูจัดการใหญ

ทิพยประกันภัย ดร.ดนัย จันทรเจาฉาย กรรมการผูทรงคุณวุฒิ

ศูนยคุณธรรม องคกรมหาชน และมูลนิธิไทยใสสะอาด ประธาน

มูลนิธิธรรมดี นําคณะครูกวา ๔๐ คน รวมทํากิจกรรมปลูกปา ๓ อยาง

ประโยชน ๔ อยาง โดยรวมปลูกตนยางนา ตนพะยูง จํานวน

๑๙๙ ตน ประกอบดวยการปลูกไม ๓ ประเภท ไดแก ไมใชสอย

นาคารกรุทรววาุทารร

ดระกษุสารทีสอดรีรรระค

โตเร็ว ไมเศรษฐกิจ และไมกินได ซึ่งการปลูกพืชที่หลากหลาย

ดังกลาวจะใหประโยชน ๔ ประการ คือ ๑.มีไมไวใชทําสิ่งของตางๆ

ในครัวเรือนและเปนเชื้อเพลิง ๒.นําไปจําหนายเปนรายไดของ

ครัวเรือน ลดความเสี่ยงเรื่องราคาตกตํ่าและไมแนนอน ๓.นํามาเปน

อาหารและยาสมุนไพร ๔.ชวยอนุรักษดินและนํ้า สรางสมดุลระบบ

นิเวศ เพื่อนอมอุทิศถวายเปนพระราชกุศลแด พระบาทสมเด็จ

พระบรมชนกาธิเบศร มหาภูมิพลอดุลยเดชมหาราช บรมนาถบพิตร

ณ อางเก็บนํ้านฤบดินทรจินดา จังหวัดปราจีนบุรี

ชว์ศักยภาพครัวอก

ผลิตอาหารมั่นคง ปลอดภัย เพียงพอ

สร้างสมดุลลกอย่างยั่งยืน

บริษัท เจริญโภคภัณอาหาร จํากัด มหาชน หรือ ซีพีเอฟ

โชวนวัตกรรมอาหารเพื่อสุขภาพที่ดี จากกระบวนการผลิตที่ทันสมัย

ดวยความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม มุงมั่นยกระดับคุณภาพชีวิตและสงเสริม

โภชนาการของคนไทยอยางยั่งยืนในงาน ailand uainabili Epo 22

ระหวางวันที่ ๑-๔ ต.ค. ๒๕๖๓ ณ ศูนยการคาสามยานมิตรทาวน โดยมี คุณวุฒิชัย

สิทธิปรีดานันท รองกรรมการผูจัดการอาวุโส ดานความรับผิดชอบตอสังคมและ

การพัฒนาอยางยั่งยืนเปนผูแทนเขารวมงาน และไดรับเกียรติจาก ดร.สุเมธ ตันติเวชกุล

กรรมการและเลขาธิการ มูลนิธิชัยพัฒนา เปนประธานในพิธี พรอมกลาวปาฐกถาพิเศษ

ยํ้าถึงความสําคัญของแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาอยางยั่งยืน

|


เมืองไทยประกันชีวิต ลองความสาเร็จ

ในพิธีเทปูนยอดอาคาร

อาคารออศเกรดเอ ย่านสุขุมวิท

คุณสาระ ลํ่าซํา กรรมการผูจัดการและ

ประธานเจาหนาที่บริหาร บริษัท เมืองไทย

ประกันชีวิต จํากัด มหาชน พรอมดวย

คณะผูบริหารและพันธมิตร บริษัท ซีบีอารอี

ประเทศไทย จํากัด, บริษัท ฤทธา จํากัด,

บริษัท ปาลมเมอร แอนด เทอรเนอร

ประเทศไทย จํากัด และ บริษัท พีแลนด

สเคป จํากัด รวมฉลองความสําเร็จใน

พิธีเทปูนยอดอาคาร ower opping ff

eremon โครงการอาคารสํานักงานใหเชา

เกรดเอ บนถนนสุขุมวิท ใกล สถานี

อุดมสุข สะดวกตอการเชื่อมตอระบบขนสง

มวลชน ไมวาจะเปนรถไฟฟา รถยนต

รถโดยสาร ใกลจุดขึ้น-ลงทางดวน ซึ่ง

ออกแบบภายใตคอนเซปต uman enric

iing orkplace มุงออกแบบพื้นที่โดยเนน

ผูใชงานอาคารเปนศูนยกลาง โดยพิธีดังกลาว

จัดขึ้น ณ ower

ธนาคารกรุงเทพ รับมอบ รางวัลสูงสุด

ธนาคารแห่งป และ นักการเงินแห่งป ชาติศิริ สภพนิช

ธนาคารกรุงเทพ รับมอบ

๒ รางวัลสูงสุด Mone anking

Award 22 จากวารสารการเงิน

ธนาคาร ในฐานะ ธนาคารแหงป

๒๕๖๓ หรือ ank of e ear 22

และ นักการเงินแหงป ๒๕๖๒ หรือ

NANE E EA 219

ที่มอบใหกับ คุณชาติศิริ โสภณพนิช

กรรมการผูจัดการใหญ นับเปน

ครั้งที่ ๒ ของธนาคารกรุงเทพ ที่ได

รับพรอมกันทั้ง ๒ รางวัลในปเดียวกัน

โดยครั้งแรกในป ๒๕๔๔

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


|


ÊÑÞÅѡɳ»ÃЪҸԻäµÂä·Â

หลังการเปลี่ยนแปลงการปกครอง ๒๔

มิถุนายน ๒๔๕ ลวงมาได ๘ ป ใน พ.ศ. ๒๔๘๒

สมัยจอมพล ป. พิบูลสงคราม ขึ้นเปนนายก

รัฐมนตรี ไดริเริ่มสรางอนุสาวรียประชาธิปไตยขึ้น

จากนั้นรูปรัฐธรรมนูญวางอยูบนพานแวนฟา ๒ ชั้น

จึงกลายเปนตราสัญลักษณที่แพรไปทั่วประเทศ

ปรากฏอยูบนสิ่งพิมพ สถานที่ราชการ และแม

กระทั่งบนหนาบันศาลาวัด

กอนจะสรางมีการประกวดการออกแบบ

เปนที่ตื่นเตนในวงการสถาปนิกไทย เวลานั้นมี

สถาปนิกไทยรุนแรกๆ ที่จบจากมหาวิทยาลัยใน

ประเทศ จุาฯ หมาดๆ เพียงไมเกิน ๒๐ คน

กระจายตัวทํางานอยูในหนวยราชการตางๆ ซึ่ง

ยังไมปกกลาขาแข็งนัก แตก็ตองใหความรวมมือ

สงแบบประกวดดวย มิฉะนั้นจะเหมือนไมใหความ

รวมมือทานผูนํา

งานนี้ตัวเก็งนาจะไดแกบรรดาอาจารยสอน

วิชาสถาปตยฯ ทั ้งหลาย ทั้งที่เปนรั่งและที่จบ

จากเมืองนอก ทั้งสกุลชาง รั่งเศส อังกฤษ อิตาลี

และอเมริกา

แบบที่ชนะเลิศที่ ๑ คือของ ลูเซียง โคเป

ชาวเบลเยียม ที่เขามาสอนสถาปตยฯ จุาฯ ที่ ๒

คือแบบของ อาจารยนารถ โพธิประสาท คณบดี

สถาปตยฯ จุาฯ และรองลงไปก็คือ แบบของ

อาจารยศิววงศ กุญชร ณ อยุธยา หลังประกาศผล

ขาวคราวก็เงียบไป ผูชนะก็ไมไดรับการติดตอ

ใหทําแบบกอสรางใดๆ เปนที่กังขา

ในที่สุดแบบที่ชนะประกวดก็ไมไดสรางจริง

เพราะไมถูกใจทานผูนํา ลงทายก็ใหทีมขาราชการ

กระทรวงโยธาธิการคือ ม.ล.ปุม มาลากุล เปน

ผูออกแบบรวมกับ อาจารยศิลป พีระศรี เพื่อจะ

ไดสั่งการซอนรหัสตัวเลขตางๆ ได ตามที่ผูนํา

ตองการ ดังปรากฏโฉมใหเห็นมาจนปจจุบันนี้

รหัสตัวเลขตางๆ มักจะเกี่ยวกับเลข ๓, ๔, ๖,

๒๔, ๕ อาทิ พานรัฐธรรมนูญหนัก ๓ ตัน สูง

๓ เมตร หมายถึง เดือน ๓ ไทย คือ มิถุนายน และ

อํานาจ ๓ ไดแก อํานาจปกครอง นิติบัญญัติ และ

ตุลาการ มีปก ๔ ดาน หมายถึงผูรวมคณะราษฎร

คือ ทหาร ตํารวจ พอคา และพลเรือน ปกสูง

๒๔ เมตร วงกลมพื้นฐานรัศมี ๒๔ เมตร สื่อถึง

วันที่ ๒๔ พระขรรค ๖ เลมรอบปอมฐานคือ

หลัก ๖ ประการของคณะราษฎร ปนใหญ

๕ กระบอก ปกเปนเสารอยโซโดยรอบคือ

พ.ศ. ๒๔๕ ที่ฐานปกทั้ง ๔ มีภาพปนนูนสูง

แสดงเหตุการณการปฏิวัติ เปนตน

ส่วนแบบที่ชนะการประกวดจริง เปน

อย่างไร ไม่มีใครเคยเห็น เพราะไม่มีการส่งคืนให้

เจ้าของแบบเลย จะได้ไม่ต้องวิจารณเปรียบเทียบ

กันให้มากเรื่องนั่นเอง

ตุลาคม ๒๕๖๓ |


นสารอนุรักษ

ครงการสมาชิกอุปถัมภ์

ฉบับที่ ๓๔ เมษายน ๒๕๖๒

ฉบับที่ ๓๔ เมษายน ๒๕๖๒

ช่างภาพใต้น

มือรางวัลระดับลก

ที่ขอมุ่งมั่นทงานเพ่อการอนุรักษ์ทะเล

พระรอดพมพใหญ่

องค์เขยว

ฉบับที่ ๔ าม ๒๕๖๓

ฉบับที่ ๔ าม ๒๕๖๓

เสน่หา สวัสดี ลี่เจยง

ตอน สถานีวัดมังกร และสามยอด

ฉัันเา

าีเฉมเีย

มเนาเา บมานีนา

บมานนีัน

มนตร์เสน่ห์

ปานซอย

ลอง ป

พระมหาธาตุ

ภูเพยงแช่แห้ง

2 0 0 8 1 0

1 8 0 4 2 0

เยือนย่านเมืองเก่าสงขลา

วัดเขมาภิรตาราม

ชมความงามของพระอารามหลวง

อายุกว่า ป

ทศวรรษ

บนเส้นทางเดิน

แห่งศรัทธา

ฉบับ ๓๕ มิถุนายน ๒๕๖๒

ฉบับ ๓๖ สิงหาคม ๒๕๖๒ ฉบับ ๓ ตุลาคม ๒๕๖๒ ฉบับ ๓๘ ธันวาคม ๒๕๖๒ ฉบับ ๓๙ กุมภาพันธ ๒๕๖๒

ฉบับ ๔๐ สิงหาคม ๒๕๖๓

สมัครสมาชิกอุปถัมภ์ นิตยสารอนุรักษ์

เพื่อส่งมอบให้กับห้องสมุดโรงเรียน มหาวิทยาลัย สาบันการึกษา

หรือหน่วยงานต่าง สาหรับเปนแหล่งข้อมูลความรู้สาคัในเชิงอนุรักษ

ให้กับเยาวชนและบุคคลทั่วไป

ท่านที่สนใจสมัครเปนสมาชิกอุปัมภ ทางนิตยสารพร้อมจัดส่ง

อนุรักษ ให้กับหน่วยงานที่ท่านได้แจ้งไว้

อัราคาสาชกอุั

๑ ป บับ ๑๒ บาท รวมค่าจัดส่ง

ชื่อ นามสกุล

ที่อยู่

โทรัพท

สานที่ออกใบกากับภาษี ใบเสร็จรับเงิน

ระบุชื่อหน่วยงานและสานที่ในการจัดส่ง

ฉบับ ๔๑ ตุลาคม ๒๕๖๓

ดานสารอนุรักษดที

สัครสาชกนสารอนุรักษ

๑ ป ๖ ฉบับ ๑,๒๐๐ บาท/รวมคาจัดสง

ชื่อ - นามสกุล .............................................................................................................................

ที่อยูสําหรับจัดสงนิตยสาร .............................................................................................................

......................................................................................................................................................

โทรศัพทที ่ติดตอสะดวก ...............................................................................................................

E-mail .........................................................................................................................................

สถานที่ออกใบกํากับภาษี / ใบเสร็จรับเงิน หากแตกตาง

บริษัท ...........................................................................................................................................

ที่อยู ..............................................................................................................................................

สั่งื้อนิตยสารสมัครสมาชิก

ติดต่อายสมาชิกนิตยสารอนุรักษ์

โทร. ๐ ๒๕๐๙ ๐๐๔๔, ๐๘ ๐๔๕๑ ๕๕๕๕

ชําระคานิตยสาร โดยโอนเงินเขาบัญชี บริษัท สปริต อารท ๒๐๑๑ จํากัด

ธนาคาร กสิกรไทย สาขา สวนจตุจักร เลขบัญชี ๐๖๑ - ๒ - ๖๕๖๖๖-๕

ส่งใบสั่งื้อนิตยสารพร้อมสลิปยืนยันการชําระเงินมาที่

โทรสาร. ๐ ๒๕๐๙ ๐๐๒๖ อีเมล. info@anurakmag.com

www.anurakmag.com

ru หรอสแกน Code

.faeoo.onuraaaine

อ่านออนไลน์ร issuu.oanuraaaine

infoanuraa.o

ทร. ๒๕ ๔๔ ๔๕๑ ๕๕๕๕



Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!