14.03.2018 Views

หนังสือประวัติศาสตร์

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

H I S T O R Y<br />

O u t s i d e<br />

T h e<br />

B o<br />

x


ค ำน ำ<br />

วารสารเล่มนี้เป็ นส่วนหนึ ่งของวิชา ประวัติศาสตร์ (ส.๒๓๑๐๔)<br />

ได้จัดท าขึ้นเพื ่อให้นักเรียนได้น าความรู ้ในวิชาประวัติศาสตร์มาใช้ให้<br />

เกิดประโยชน์ ซึ ่งวารสารเล่มนี้มีเนื้อหาเกี ่ยวกับ เรื ่องราวประวัติศาสตร์<br />

ในอดีตจนถึงปัจจุบันในรูปแบบของ Info graphic และบทความ<br />

ต่างๆ<br />

ผู ้จัดท าหวังว่าวารสารเล่มนี้ จะเป็ นประโยชน์แก่ผู ้อ่านทุกท่าน<br />

หากมีข้อผิดพลาดประการใด คณะผู ้จัดท าขอน้อมไหว้และขออภัยมา<br />

ณ ที ่นี้ด้วย<br />

คณะผู ้จัดท า


บทบรรณาธิการ<br />

ประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่ มีทั ้งสงครามการปฏิวัติความขัดแย้ง<br />

การค้นพบของแต่ละชนชาติ ดั่งเช่น สงครามโลกครั ้งที่ 1 ที่มีความ<br />

ขัดแย้งและบุกรุกของแต่ละฝ่ ายเกิดขึ ้ น และน าไปสู่สงครามโลกครั ้งที่<br />

2 ที่เกิดจากความไม่พึ่งพอใจของสนธิสัญญาจากสงครามโลกครั ้งที่<br />

1 จนน าไปสู่ความสูญเสียครั ้งยิ่งใหญ่ นอกจากนี ้ ยังน าไปสู่สงคราม<br />

เย็น ที่มีผลมาจากความพ่ายแพ้ของเยอรมันและความพินาศของ<br />

ยุโรปจนน าไปสู่ช่องว่างแห่งอ านาจของยุโรป นอกจากนี ้ ยังมีสงคราม<br />

เกาหลีที่มาจากการได้รับอิทธิพลของระบอบปกครองที่ต่างกัน และ<br />

การค้นพบที่ส าคัญมาจากการเดินเรือ ทั ้งการพบเกาะต่างๆ<br />

แม้กระทั่งการค้า ซึ่งในการเดินทางจะขาดเข็มทิศไปมิได้ ที่มากจาก<br />

การคิดค้นของชาวจีน และในหนังสือ History Outside The box เล่ม<br />

นี ้ จะแสดงให้เห็นว่าสาเหตุของการเกิดสงครามต่างๆนั ้นมีที่มา<br />

อย่างไรผลกระทบและรวบรวมเหตุการณ์ที่ส าคัญต่างๆใสนสงคราม<br />

ผ่านทางTimelineรูปภาพและภาษาที่เข้าใจง่ายให้เห็นภาพและ<br />

ชัดเจนยิ่งขึ ้ น คณะผู้จัดท าหวังว่าหนังสือเล่มนี ้ จะตอบโจทย์ที่ต้องรู้ใน<br />

ประวัติศาสตร์อันยิ่งใหญ่<br />

บรรณาธิการ


5<br />

8<br />

16<br />

27<br />

32<br />

38<br />

40<br />

63<br />

76<br />

86<br />

92<br />

96


อารยธรรมลุ่มแม่น<br />

้าฮวงโหหรือแม่น ้าเหลือง<br />

นับเป็ นอู่อารยธรรมอันทรงคุณค่าแห่ง หนึ ่ง<br />

บนแผ่นดินใหญ่ มีหลักฐานการขุดพบซาก<br />

ฟอสซิลลักษณะคล้ายกับโครงกระดูกของชาว<br />

จีนปัจจุบันที่ระบุว่า มีมนุษย์วานรอายุ 5-6<br />

แสนปี ก่อนในยุคดึกด าบรรพ์อาศัยอยู่ เรียก<br />

‘มนุษย์วานรหลันเถียน’ หรือ มนุษย์วานรที่<br />

เป็ นบรรพบุรุษของชนชาติจีนที่อาศัยอยู่ใน<br />

อ าเภอหลันเถียนของมณฑลส่านซี มีการ<br />

ค้นพบเครื่องมือเครื่องใช้ที่ท าจากหินแบบ<br />

หยาบ ครองชีพโดยการล่าสัตว์ โดยมีการ<br />

ค้นพบแหล่งโบราณคดี 2 แหล่ง คือ


้<br />

Li<br />

“ลี่” ภาชนะส าหรับใช้หุงต้ม มีลักษณะ<br />

เป็ นเครื่องปั ้ นดินเผา เป็ นสามขา<br />

Gui<br />

“กุย” ภาชนะสีด าใช้ส าหรับหุงต้ม<br />

อ<br />

วัฒนธรรมหลุงชาน ประมาณ 2000-1700 ปี ก่อนคริสต์ศักราช ได้ชื่อมาจากเมืองที่ขุดพบใกล้ๆ มณฑลชานตุง<br />

เครื่องปั ้ นดินเผาเมืองหลุงชานผิดไปจากแบบหยางเชา คือ พบชนิดแตกเป็ นซีกๆ มีรอยทาน ้ามันและบอบ<br />

บางกว่าสันนิษฐานว่ามนุษย์สมัย หลุงชานอยู่ตามชนบทบ้าง อยู่รวมตามเชิงเขาใกล้แม่น ้าบ้าง บ้านเรือนก็ท า<br />

ด้วยดินเหนียวดังเช่นที่มีอยู่ในบริเวณจีนเหนือ เป็ นต้น นอกจากนั ้นยังขุดพบซากกระดูกสัตว์จ านวนมากที่ใช้<br />

ในพิธีการบูชา สันนิษฐานว่ามนุษย์ในสมัยดังกล่าวคงมีลัทธินับถือสัตว์ หรือนับถือสิ่งอื่นด้วย<br />

มนุษย์เริ่มมีการใช้แป้นหมุนส าหรับปั ้ น ที่มีประสิทธิภาพสูง และมีการเผาเครื่องปั ้ นครั ้ง<br />

ละจ านวนมากๆ ส่วนใหญ่เป็ นเครื่องปั ้ นดินเผาสีเทาและสีด าเป็ นหลัก เครื่องปั ้ นดินเผาสี<br />

อื่นมีจ านวนน้อยมาก ภายนอกขัดมันด าขลับเป็ นเงา เป็ นศิลปกรรมชั ้นสูง ด้วยเหตุนี<br />

วัฒนธรรมหลุงชานจึงมีชื่อเรียกอีกอย่างว่า วัฒนธรรมเครื่องปั ้ นเคลือบเงา<br />

Jonk<br />

“จอก” ภาชนะสีด า ลักษณะคล้าย<br />

ภาชนะใส่น ้าในสมัยก่อน พบที่เมือง<br />

อังจุยเชียน มณฑลกวางตุ้ง


เครื่องปั ้นดินเผำสมัยหยำงเชำ<br />

เครื่องปั ้ นดินเผามีวาดหน้าคนและปลา ขุด<br />

พบที่ปั ้ นพัว เมืองซีอาน<br />

เครื่องปั ้นดินเผำทรงแจกัน<br />

วาดลวดลายด้วยสีด าและสี<br />

น ้าตาล พบที่ลุ่มแม่น ้าเต า<br />

ใช้ชื่อตามสถานที่ค้นพบมณฑลเหอหนานภาคตะวันตก เลย<br />

มาทางตะวันออกถึงแมนจูเรียใต้ มนุษย์สมัยนั ้นนั ้น มี<br />

ความสามารถในการท าเครื่องปั ้ นดินเผา และมี<br />

เครื่องปั ้ นดินเผาหลายชนิดด้วยกัน มีสีแดง ด า ขาว ซึ ่งมี<br />

ความคล้ายกับเครื่องปั ้ นดินเผายุคใหม่ ที่ค้นพบในเตอรกี<br />

สถานและเอเชียตะวันตก มีการสลักรูปสัตว์ เช่น ม้าลงบน<br />

เครื่องปั ้ นดินเผา<br />

มีการค้นพบเครื่องมือที่ท าด้วยหินที่อธิบายได้ว่าเป็ น<br />

เครื่องมือเพาะปลูก อาจมีการทอผ้าเพรามีการค้นพบเครื่อง<br />

ทอผ้าในมณฑลเชอสีและหูหนาน และสันนิษฐานว่าอาจ<br />

ได้รับอิทธิพลวัฒนธรรมจากเอเชียตะวันตก จากภาคเหนือ<br />

และภาคตะวันตกของจีนอีกด้วย<br />

มีดหิน ขวำนหินแบบไม่มีด้ำมจับ<br />

ภำพจ ำลองบ้ำนพักอำศัย


้<br />

พัฒนำกำรของเข็มทิศ<br />

นี<br />

400 ปี ก่อนคริสตกาล<br />

ดแฮมสรุปไว้ว่า ยุโรปได้รับเข็มทิศมาจากชาวจีน<br />

จึงควรแขวนด้วยใยไหมเส้นเดี่ยวของผ้าไหมใหม่<br />

การกล่าวถึงเข็มทิศแม่เหล็กในงานเขียนของชาวยุโรป<br />

ครั ้งแรกมีขึ ้นในปี 1190 ในหนังสือ De Naturis<br />

Renum ของอเล็กซานเดอร์ เนคแคม ไม่มีการกล่าวถึง<br />

เข็มทิศในงานเขียนอาหรับจนกระทั่งราวปี 1232 เมื่อ<br />

กะลาสีเรืออธิบายว่าพวกเขาหาทิศทางจากการใช้ชิ้น<br />

เหล็กรูปปลาถูกับแม่เหล็ก ดังนั ้น ชาวยุโรปและชาว<br />

อาหรับดเหมือนจะรับเข็มทิศแม่เหล็กมาใช้เดินเรือ<br />

ในช่วงเวลาจากการเดินทางติดต่อทางเรือกับประเทศ<br />

จีน<br />

มีข้อความในยุคเดียวกันที่สนับสนุนทฤษฎีนี ้ ใน<br />

หนังสือที่มีชื่อเสียงชื่อ Dream Pools Essays จากปี<br />

1086 กล่าวว่า ชาวยุโรปถูปลายเข็มด้วยหินแร่<br />

แม่เหล็ก จากนั้นมันจะชี้ไปทางทิศใต้....อาจจะวางเข็ม<br />

ไว้บนนิ้วมือหรือบนขอบถ้วย ที่ซึ่งมันจะหมุนได้ง่าย<br />

แต่ฐานรองาจกตกลง มาได้<br />

แปะขี้ผึ้งไว้ตรงกลางเข้ากับเส้นไหม จากนั้นห้อยไว้<br />

ทิศที่ไม่มีลม มันจะชี้ไปทางทิศใต้เสมอ ข้อความนี<br />

เขียนขึ ้นหนึ ่งศตวรรษเดิมก่อนมีการกล่าวถึงเข็มทิศ<br />

แม่เหล็กในยุโรปครั ้งแรก


COMPASS PREVIEW<br />

No.2 Chinese Navy Compass<br />

เข็มทิศชำวเรือจีนในศตวรรษที่ 19 มี<br />

ฝำไม้ครอบปิ ดด้ำนบนเพื่อป้องกันเข็ม<br />

ทิศ จึงพกใส่กระเป๋ ำกัปตันเรือไว้<br />

ใช้ในทะเลได้ สิ่งนี้เป็ นสิ่งที่มีค่ำ<br />

ที่สุดของกัปตันเรือส ำเภำจีน<br />

ตำมธรรมเนียมแล้วทิศใต้เป็ นหลัก<br />

อย่ำงไรก็ตำม สำมำรถเห็นอิทธิพล<br />

ตะวันตกในช่วงเวลำที่เข็มทิศสร้ำงขึ้น<br />

ได้อย่ำงชัดเจน เพรำะตัวเลขไม่ได้เขียน<br />

ด้วยตัวอักษรจีน แต่ใช้ตัวเลขตะวันตก<br />

แทน (ชุดสมบัติของโรเบิร์ต เทมเพิล)


COMPASS PREVIEW<br />

No.3 First compass No.4 Simple Chinese Navy Compass<br />

้<br />

First compass<br />

Simple Chinese Navy Compass<br />

เข็มทิศในยุคแรกเริ่มของจีน ตำม<br />

ต ำนำนเล่ำกันมำว่ำน่ำจะ หมำยถึง รถจื่อหนำนเชอ ที่จักรพรรดิ<br />

หวงตี้ใช้หลักกลศำสตร์ประดิษฐ์ขึ้น<br />

ส่วนประกอบอันแรกสุดคือ “ ซือหนาน ” ประกอบด้วย “ช้อน”<br />

และ “แผ่นบอกทิศทาง” ตัวช้อนท าจากแม่เหล็กธรรมชาติ มีรูปร่าง<br />

คล้ายช้อนทานข้าวด้านยาวในปัจจุบัน ส่วนแผ่นบอกทิศทางเป็ น<br />

กระดานทองแดงรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัส เวลาใช้ก็ให้หมุนช้อน เมื่อ<br />

ช้อนหยุดนิ่ง ทิศทางที่ด้ามช้อนชี ้ไปคือ ทิศใต้<br />

ยังมีค าอธิบายอย่างเปิ ดเผยถึงการที่เข็มทิศแม่เหล็กน าทาง ที่เก่าแก่กว่าการกล่าวถึงเข็มทิศครั ้งแรกของชาวยุโรป<br />

ค าอธิบายมาจากหนังสือที่เขียนโดยจูอวี ้ หนังสือเล่มนี ้มีชื่อแปลกๆว่า P’ingchow Table Talk มีอายุตั ้งแต่ปี 1117 จูอวี<br />

เขียนว่า ตามกฎข้อบังคับของรัฐบาลเกี่ยวกับการเรือเดินทะเล เรือล าใหญ่สามารถบันทุกคนได้หลายร้ อยคนและล าเล็ก<br />

อาจบันทุกคนบนเรือได้มากกว่า 100 คน...ผู ้น าจะต้องมีความคุ ้นเคยกับองค์ประกอบต่างๆของชายฝั่ง ในเวลากลางคืน<br />

พวกเขาน าทางด้วยดวงดาว และในเวลากลางวันน าทางด้วยดวงอาทิตย์ ในสภาพอากาศมืดครึ้ม พวกเขาดูที่เข็มชี้ทิศ<br />

ใต้ พวกเขายังใช้สายเชือกยาว 100 ฟุตที่มีตะขอผูกติดอยู ่ที่ปลาย ซึ่งพวกเขาทิ้งลงไปเก็บตัวอย่างโคลนจากก้นทะเล<br />

จากลักษณะและกลิ่นของโคลน พวกเขาสามารถหาต าแหน่งของตนเองได้<br />

เข็มทิศชำวเรืออย่ำงง่ำย-ถ้วยน ้ำที่มีทุ ่นและเข็มที่ฝนให้เป็ น<br />

แม่เหล็กลอยอยู ่ชี้ไปทำงทิศเหนือและใต้ ทิศใต้คืออักษรตัวที่ 4<br />

นับจำกตัวบนสุดนับไปทำงทิศทวนเข็มนำฬิกำ แสดงว่ำเข็มทิศ<br />

อันนี้ไม่ได้หันไปในทิศที่ถูกต้องขณะถ่ำยภำพนี้


ความจริงแล้วเข็มทิศมีอยู่ในประเทศจีน<br />

ก่อนหน้านั ้นเป็ นเวลาหลายศตวรรษ แต่<br />

นีดแฮมสรุปไว้ว่ามีการน าเข็ม-ทิศมาใช้กับ<br />

การเดินเรือในทะเลก็ช่วงหลังๆ ช่วงเวลาที่<br />

น่าจะเป็ นไปได้คือปี 850 ถึง 1050 ก่อนที่<br />

เราจะพูดถึงประวัติเข็มทิศยุคก่อนน ามาใช้<br />

กับการเดินเรือเราควรจะพูดก่อนว่า การใช้<br />

เข็มทิศในการเดินเรือ บางส่วนขึ ้นอยู่กับ<br />

ขั ้นตอนในการผลิตเหล็กกล้า เหล็กอ่อนไม่<br />

สามารถรักษาความเป็ นแม่เหล็กไว้ได้นาน<br />

และมีความเป็ นแม่เหล็กน้อย ส าหรับการ<br />

เดินทางไกล เด โซสซูร์ พิจารณาแล้วว่า...<br />

อาจจะเป็ นไปได้<br />

สิ่งนี ้เป็ นเทคนิคพิเศษมากในการวางผังบ้าน<br />

และเมืองให้เข้ากับลมหายใจและกระแสพลัง<br />

ของโลก ซึ ่งตรวจหาได้บางส่วนจากการใช้<br />

เข็มทิศช่วย<br />

เราจะเอ่ยไว้ถึงเพียงคร่าวๆว่ามีการขุด<br />

ค้นพบสิ่งที่คาดว่าจะเป็ นเข็มทิศตั ้งแต่เมื่อ<br />

1000 ปี ก่อนคริสตกาลในซากเมืองโอลเมค<br />

(Olmec) ปี 1967 ที่เมืองซานโลเรนโซทาง<br />

ตอนใต้ของรัฐเวครูซ ประเทศเม็กซิโก ถ้า<br />

เป็ นเข็มทิศจริงมันจะเด่าแก่กว่าหลักฐานที่<br />

เก่าแก่ที่สุดของชาวจีนถึง 600 ปี<br />

รำยละเอียดจำกภำพหินแกะสลักสมัยรำชวงศ์ฮั่น เป็ นภำพนักเวทย์มนต์คำถำและหมอผีหลวงที่มีอำยุย้อนไปถึงปี 114<br />

คนนั่งก ำลังก้มมองดูเข็มทิศทัพพี<br />

ว่าชาวจีนมีเข็มเหล็กกล้าที่ดีใช้มาหลาย<br />

ศตวรรษก่อนหน้ายุโรป... บรูมเฮด บรรยาย<br />

ไว้จากหนังสือเกี่ยวกับการเดินเรือในปี 1597<br />

เข็มทิศแบบเก่าแก่และเรียบง่ายที่สุดคือ ชิ้น<br />

แร่แม่เหล็กธรรมชาติที่ใช้บอกทิศทาง<br />

อย่างไรก็ตาม ควรจะทราบไว้ว่า สิ่งส าคัญ<br />

มากกว่าการใช้เข็ทิศเพื่อการเดินเรือส าหรับ<br />

ชาวจีนส่วนใหญ่คือดูฮวงจุ้ย(geomancy)<br />

เข็มทิศโบรำณที่ใช้ในกำรหำทิศของฮวงจุ ้ย<br />

ต่อมำน ำมำใช้ประโยชน์ในกำรเดินเรือ


เครื่องมือที่มีหน้ำปัดและเข็มช้ที่เรำใช้กันอยู ่ทุกวันนี้ มีต้นก ำเนิดจำกประเทศจีนช่วงศตวรรษที่ 3 มันคือเข็มทิศ<br />

พยำกรณ์ ใช้ในกำรให้ค ำปรึกษำตอบค ำถำม โดยมำกจะเป็ นควำมเชื่อทำงไสยศำสตร์ แต่พื้นฐำนของกระบวนกำรนี้คือ<br />

ปรำกฎกำรณ์ที่เข็มถูกท ำให้เป็ นแม่เหล็กเรียงตัวในแนวทิศเหนือ-ทิศใต้


Tools with dials and pointers.<br />

นีดแฮมเชื่อว่ำอำจเป็ นกระเป๋ ำใส่เข็มทิศ<br />

ใบเดียวที่ยังคงลงเหลือมำจนถึงสมัยเรำ<br />

เข็มทิศอันนี้มีเส้นผ่ำนศูนย์กลำง 6.5 นิ้ว<br />

มีอำยุตั ้งแต่ศตวรรษที่ 18 เข้ำกับกระเป๋ ำ<br />

ได้พอดี กระเป๋ ำตกแต่งด้วยลำยปักรูป<br />

ปลำคู ่ หยินหยำง และสัญลักษณ์แถบ<br />

สำมเส้นจำกคัมภีร์-พยำกรณ์อี้จิง เพื่อ<br />

ควำมเป็ นสิริมงคล<br />

เครื่องมือที่มีหน้ำปัดและเข็มชี้<br />

ศตวรรษที่ 3<br />

เข็มทิศที่เก่าแก่ที่สุดของจีนไม่มีเข็มแต่มีตัวชี ้ รูปร่าง<br />

เหมือนช้อน ปลา หรือเต่า การริเริ่มน าเข็มมาใช้เป็ นการ<br />

พัฒนาให้สามารถอ่านค่าบนหน้าปัดรอบๆ เข็มชี ้ได้<br />

ละเอียดมาก<br />

นีดแฮมกล่าวว่าการพัฒนานี ้ ‘ อาจจะเกิดขึ ้นใน<br />

ศตวรรษที่ 7 หรือ 8 ที่เข็มเข้ามาแทนที่หิน แร่ แม่เหล็ก<br />

และชิ้นเหล็กรูปร่างอื่นๆ เพื่อให้อ่านค่าได้แม่นย าขึ ้น<br />

ยังมีการใช้เข็มเป็ นตัวชี ้ในเครื่องค านวณ การใช้<br />

เข็มในเครื่องมือส าหรับการค านวณสามารถตามรอยย้อน<br />

หลงได้ถึงปี 570 เป็ นอย่างน้อยในประเทศจีน ดูเหมือนจะ<br />

เป็ นลูกคิดแบบหนึ ่งที่ใช้พื ้นฐานการอ่านค่าแบบเข็มทิศ<br />

เทคนิคนี ้ซึ ่งดูเหมือนจะเป็ นเครื่องมือคล้ายลูกคิดอย่างง่าย<br />

เกิดขึ ้นจากกระดานหมอดูเก่าแก่เป็ นของคนชื่อ Chao Ta<br />

คือหมอดูผู้ที่มีชื่อเสียงในยุคสามก๊ก(ปี 221-265)<br />

ดังนั ้นเครื่องมือที่มีหน้าปัดและเข็มชี ้มีใช้ใน<br />

ประเทศจีนช่วงศตวรรษที่ 6 เป็ นอย่างน้อย และเป็ นไปได้<br />

ค่อนข้างมากว่าน่าจะเป็ นศตวรรษที่ 3 นีดแฮมสรุปไว้อย่าง<br />

ถูกต้องว่า เครื่องมือจีนเหล่านี ้ ‘เป็ นสิ่งโบราณที่สุดใน<br />

เครื่องมือที่อ่านค่าด้วยเข็มชี ้ทั ้งหมดและ.... ก้าวแรกบน<br />

ถนนสู่หน้าปัดและเครื่องวัดที่บอกค่าได้เองทั ้งหมด<br />

รำยละเอียดภำพแสดงถึงกำรเลือกสถำนที่สร้ำงเมือง<br />

ใหม่ หมอดูฮวงจุ ้ยศึกษำเข็มทิศยำกรณ์ที่ตั ้งอยู ่บน<br />

โต๊ะพับ


กำรเบี่ยงเบนของขั ้วแม่เหล็กที่<br />

สนำมแม่เหล็กโลก<br />

ศตวรรษที่ 9<br />

สนามแม่เหล็กโลกเบี่ยงเบนจาก<br />

ต าแหน่งที่คาดกันไว้เล็กน้อย และเข็ม<br />

ของเข็มทิศชี ้ไปยังขั ้วโลกเหนือของ<br />

แม่เหล็กเรียกว่ามุมเบี่ยงเบนระหว่าง<br />

ทิศเหนือหลัก(declination) มุมนี ้ไม่<br />

คงที่และเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่อง<br />

ชาวจีนค้นพบการเปลี่ยนแปลง<br />

ขั ้วแม่เหล็กนี ้ในศตวรรษที่ 8 หรือ 9<br />

เป็ นอย่างน้อย<br />

ค าอธิบายเก่าแก่ที่สุดเกี่ยวกับการ<br />

เบี่ยงเบนขั ้วแม่เหล็กที่แสดงให้เห็น<br />

ด้วยเข็มชี ้ที่แม่นย าและละเอียดชัดเจน<br />

มีอายุตั ้งแต่ปี 1030-1050<br />

โดยประมาณ และปรากฏอยู่ในบท<br />

กลอนเกี่ยวกับแม่เหล็กที่เขียนโดย<br />

หวังจี๋ ผู้ก่อตั ้งส านักหมอดูฮวงจุ้ยฝู<br />

เจี ้ยน(ฮกเกี ้ยน)<br />

อ ำนำจแม่เหล็กตกค้ำงและกำรเหนี่ยว<br />

น ำแม่เหล็ก<br />

ศตวรรษที่ 11<br />

เป็ นสิ่งส าคัญที่จะต้องเน้นย ้าว่า การใช้<br />

เข็มทิศและการรับรู้ว่ามันชี ้ไปทางทิศเหนือ<br />

หรือทิศใต้โดยประมาณเพียงอย่างเดียว อาจ<br />

ท าให้ชาวจีนตีความได้ว่าสิ่งที่เกิดขึ ้น<br />

ทั ้งหมดเป็ นแรงดึงดูดของจักรวาล แต่การ<br />

เหนี่ยวน าแม่เหล็กโดยการใช้สนามแม่เหล็ก<br />

โลกพิสูจน์ให้เห็นว่าสนามแม่เหล็กนี ้เป็ น<br />

แรงกระท า (actice force) สิ่งนี ้จึงเป็ นความ<br />

เข้าใจในวิทยาศาสตร์ที่ยิ่งใหญ่ที่สุดที่ชาว<br />

จีนค้นพบ<br />

เข็มทิศของหมอดูฮวงจุ้ยของจีนเก็บ<br />

รักษาความรู้อันเก่าแก่หลายศตวรรษ<br />

ด้วยการมีต าแหน่งเข็มทิศสองชุดที่<br />

แตกต่างกัน แสดงถึงการเบี่ยงเบน<br />

ขั ้วแม่เหล็กในสองช่วงเวลาที่แตกต่าง<br />

กันในอดีต วงกลมสองวงที่แสดง<br />

ต าแหน่งเข็มทิศโดยธรรมเนียมแล้วจะ<br />

เขียนรวมอยู่ในวงกลมหลายวงรอบรูที่<br />

เจาะฝังเข็มทิศ แสดงถึงการเบี่ยงเบน<br />

ขั ้วแม่เหล็กในช่วงเวลาสงช่วงที่<br />

แตกต่างกันในประวัติศาสตร์


สงครามครูเสดเป็ นเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที ่ส าคัญ ในยุคกลางเป็ น<br />

สงครามทางศาสนาระหว่างชาวคริสเตียนกับชาวมุสลิมซึ ่งเหตุการณ์นี้เกิดขึ้น ในช่วง<br />

ศตวรรษที ่ 11 ต่อเนื ่องมาจนถึงศตวรรษที ่ 13 และเมื ่อสงครามนี้สิ้นสุดลง ก็ได้ ส่งผล<br />

กระทบต่อยุโรป ทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม อย่างที ่ไม่เคยเกิด


สงครามครูเสดครั่งที่ 1<br />

ชาวคริ สต์เชื่อว่าจะเกิดวันอวสานของโลก<br />

ก าลังจะมาถึงในปี ค.ศ. 1000 ผู้คนจ านวนมาก<br />

จาริ กแสวงบุญไปยังกรุ งเยรู ซาเลมซึ ่ งเชื่อว่าเป็ น<br />

สัญลักษณ์ทางโลกของเมืองบนสวรรค์ของพระเยซู<br />

คริสต์ แต่การเคลื่อนตัวของพวกเติร์กขัดขวางการ<br />

เดินทางไปยังนครศักดิ ์ สิทธิ ์ เยรูซาเลม จักรวรรดิไบ<br />

เซนไทน์ต้องเผชิญหน้าก าอ านาจของมุสลิมที่เคลื่อน<br />

ตัวเข้ามาใกล้เมืองหลวง จึงขอความช่วยเหลือจาก<br />

ยุโรป พระสันตะปาปาเออร์บานที่ 2 จึงให้การ<br />

สนับสนุนทางทหารเพราะเชื่อว่าจะเป็ นการฟื ้ นฟู<br />

ความเป็ นเอกภาพของคริสต์ศาสนจักร<br />

วันที่ 20 ตุลาคม ค.ศ. 1907 กองทัพนักรบ<br />

ครูเสดพร้อมกับกองทัพไบเซนไทน์บุกเข้ายึดเมือง<br />

แอนติออชแต่ไม่ส าเร็จ จนเมื่อวันที่ 15 กรกฎาคม<br />

ค.ศ. 1908 กองทัพครูเสดเข้ายึดกรุงเยรูซาเลมและ<br />

ฆ่าชาวมุสลิมทิ้งทั ้ งหมด ซึ ่ งกว่าจะส าเร็ จตาม<br />

จุดมุ่งหมายก็ใช้เวลาร่วม 3 ปี ในการปลดปล่อยเยรู<br />

ซาเลมนครศักดิ ์ สิทธิ ์ ให้หลุดพ้นจากการยึดครองของ<br />

มุสลิม<br />

ความส าคัญของกรุงเยรูซาเลม ยุโรปในศตวรรษที่ 11 เต็มไปด้วยวิหารศักดิ ์ สิทธิ ์ แต่กรุงเยรูซาเลมมี<br />

ความส าคัญเป็ นพิเศษ เนื่องจากมีสุสานศักดิ ์ สิทธิ ์ ของพระเยซูคริสต์ การเดินทางจาริกแสวงบุญไปยังสถานที่<br />

ศักดิ ์ สิทธิ ์ ทางศาสนาของชาวคริ สเตียนถือว่าเป็ นการอุทิศตนเพื่อศาสนา ดังนั ้น การเคลื่อนตัวของพวก<br />

เซลจัค เติร์ก จึงถือเป็ นการขัดขวางการเดินทางไปยังนครศักดิ ์ สิทธิ ์ เยรูซาเลม ย่อมมีผลกระทบต่อชาวยุโรป<br />

ทั ้งหมด กลางศตวรรษที่ 11 เซลจัค เติร์ก โจมตีจักรวรรดิไบเซนไทน์ได้ส าเร็จ จักรวรรดิไบเซนไทน์จึงต้อง<br />

เผชิญหน้ากับอันตรายของอ านาจมุสลิม จักรพรรดิอเลกซีอุส จึงขอความช่วยเหลือจากตะวันตก สันตะปาปา<br />

เออร์ บานที่ 2จึ งให้การช่ ว ยเหลื อ ทางทหาร เพ ราะคิ ด ว่า เป็ นวิ ธี การฟื ้ น ฟู ค วา มเป็ น เอกภาพ<br />

ของคริสต์ศาสนจักร


์<br />

สมเด็จพระสันตะปาปาเออร์บันที่2 (UbanII)มีพระนามเดิมว่า<br />

โอโด ทรงด ารง ต าแหน่งพระสันตะปาปาตั ้งแต่วันที่ 12<br />

มีนาคม ค.ศ. 1088 ถึง 29 กรกฎาคม ค.ศ. 1099 พระองค์เป็ นที่<br />

รู้จักจากการประกาศสงครามครูเสด ครั ้งที่ 1<br />

สภำแห่งเคลอร์มองต์ วันที่ 18 พฤศจิกายน ค.ศ. 1095 สภาแห่งเคลอร์มองต์ได้เปิ ดประชุมตามค า<br />

เรียกร้องของสันตะปาปาเออร์บานที่ 2 ที่ทรงกระตุ้นให้ผู้ที่ยืนฟังพระด ารัสของพระองค์ใช้พลัง ท า<br />

สงครามศักดิ ์ สิทธิ ์ ซึ ่ งมีการตอบสนองต่อค าปราศรัยของสันตะปาปาเกิดขึ ้นทันที มีเสียงร้องตะโกน<br />

กึกก้อง “พระเจ้าจะกระท า” ไปทั่วบริเวณ โดยมีการตกลงกันว่า ผู้ที่จะเดินทางไปท าสงครามศักดิ ์ สิทธิ<br />

ให้แขวนไม้กางเขนไว้ที่คอ<br />

ในเดือนสิงหาคม ค.ศ. 1096 กองทัพครูเสดได้เคลื่อนก าลังซึ ่งประกอบด้วย 4 กองทัพ<br />

ได้แก่ กองทัพฮิวจ์แห่งฝรั่งเศส กองทัพโบฮีมอนด์จากอิตาลี กองทัพ ของเรย์มอนด์แห่งเซนต์กิลเลส<br />

และกองทัพของโรเบิร์ตแห่งนอร์มังดี


กำรยึดกรุงเยรูซำเลม ในช่วงเดือนกรกฎาคม ค.ศ. 1099 นักรบครูเสดเข้าโจมตีเมืองเยรูซาเลม โดย<br />

เริ่มจากการที่ทหารของกอดฟรีย์ปี นบันไดขึ ้นไปยึดส่วนหนึ ่งของก าแพงไว้ จากนั ้นแทนเครดกับเรย์<br />

มอนด์จึงน าทหารเดินทัพเข้าเมือง ชาวมุสลิมที่อยู่ในกรุงเยรูซาเลมถูกฆ่าทิ้งจนหมดสิ้น กว่าจะพบ<br />

ความส าเร็จตามจุดมุ่งหมาย นักรบครูเสดใช้เวลา 3 ปี เพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายในการปลดปล่อยเยรู<br />

ซาเลมนครศักดิ ์ สิทธิ ์ ให้หลุดพ้นจากการยึดครองของมุสลิม


สงครำมครูเสดครั ้งที่ 2<br />

เมืองเอเดสซา เป็ นรัฐที่จัดตั ้งขึ ้นโดยบอลค์<br />

วินน้องชายของกอดฟรีย์ เมื่อได้รับต าแหน่งกษัตริย์<br />

แห่งเยรูซาเรมแล้วจึงให้รัฐนี ้ อยู่ในความปกครอง<br />

ของบอลค์วินแห่ง เลอเบิร์กซึ ่งเป็ นญาติกัน แต่ด้วย<br />

การปกครองที่ไม่มั่นคงจึงสู ญเสี ยเมืองนี ้ ให้กับ<br />

มุสลิม ประสันตะปาปาจูเนียสที่ 3 จึงประกาศ<br />

โองการสงครามครูเสดอย่างเป็ นทางการในปี ค.ศ.<br />

1145<br />

โดยกล่า วว่าเป็ นสง ครามเพื่อพิ ทักษ์<br />

ครอบครัวและทรัพย์สินของครูเสด โดยสงครามครู<br />

เสดในครั ้งนี ้มีจักรพรรดิคอนราดที่ 3 แห่งเยอรมนี<br />

กษัตริย์องค์ส าคัญของยุโรปป็ นผู้น ากองทัพ เมื่อ<br />

คอนราดเดินทางถึงเยรู ซาเลมแล้ว ผู้น ากองทัพ<br />

ฝรั่งเศสกับผู้น ากองทัพเยอรมันจึงเปิ ดประชุมหารือ<br />

กับราชินีเมลิซินกับบอลค์วินที่ 3 ภายหลังการ<br />

อภิปรายที่ประชุมมีมติให้โจมตีดามัสกัสก่อน<br />

การโจมตีดามัสกัส ในขณะที่นักรบครู<br />

เสดเข้ายึดดามัสกัสนูเรดดินมุ ่งหน้าน าทัพ<br />

เข้ ามายังดามัสกัสเข้ ามาใกล้ หัวเมือง<br />

นักรบครูเสดตกอยู ่ท่ามกลางอันตราย<br />

ความล้มเหลวครั ้งใหญ่ของนักรบครูเสด<br />

เกิดจากการขัดแย้งเรื่องผลประโยชน์ของ<br />

บรรดาผู ้น าที่เข้าร่วมกองทัพ เมื่อสงคราม<br />

จบลงด้วยความพ่ายแพ้จึงสร้างความขม<br />

ขื่นให้นักรบครูเสดเป็นอย่างมาก ตรงกัน<br />

ข้ามกับมุสลิมที่มีก าลังใจเพิ่มขึ ้นมาเป็น<br />

ทวีคูณ


ซำลำดิน ( ค.ศ. 1138 – ค.ศ. 1193)<br />

• ขึ ้นปกครองอียิปต์โดยปฏิบัติตามค าสั่งของ นูเรดดิน<br />

• เป็ นผู้ท าให้สิ้นสุดยุคของกาหลิบฟาติมิกในอียิปต์ พอถึงปี ค.ศ.<br />

1193 ตลอดทั่วทั ้งราชอาณาจักรเยรูซาเลมตกอยู่ในเงื ้อมมือของ<br />

ซาลาดิน บริเวณส่วนใหญ่ของราชอาณาจักรของนักรบครูเสดที่<br />

ได้รับการจัดตั ้งมานาน 100 ปี พังทลายเพราะฝี มือของซาลาดิน<br />

ปี ค.ศ. 1187-1189 คือปี แห่งชัยชนะครั ้ งยิ่งใหญ่ของฝ่ ายมุสลิม<br />

โดยการน าของซาลาดิน<br />

รัฐของนักรบครูเสด ถึงปี ค.ศ. 1187 ในปี<br />

ค.ศ.1169ซาลาดินผู้ปกครองอียิปต์ ปฏิบัติ<br />

ตามค าสั่งของนูเรดดิน สั่งให้ผู้สวดมนต์ให้<br />

สุเหร่ าสวดมนต์ใน นามกาหลิบแห่งแบก<br />

แดงการท าเช่นนี ้ ท าให้สิ้นสุดยุคของกา<br />

หลิบฟาติมิกใน อียิปต์จนกระทั่งในเดือน<br />

กรกฎาคม ค.ศ.1187ซาลาดินปิ ดล้อมถนน<br />

สายใหญ่ ที่ตัดตรงไปเมืองติเบอไรอัสมี<br />

เจตนาล่อ ให้นักรบครูเสดออกมารบในที่<br />

แจ้ง นักรบครู เสดท าการต่อสู้มาอย่าง<br />

ต่อเนื่อง<br />

จนกระทั่งกองทัพซาลาดินบุกเข้าโจมตี<br />

เป็ นระลอกสุดท้าย สงครามก็ถึงจุดจบ<br />

อัศวินของนักรบครูเสดถูกฆ่าเกือบหมด<br />

กองทัพของซาลาดินบุกท าลายเมือง<br />

อื่นๆของศัตรูต่อไป จนช่วง ค.ศ. 1189<br />

ซาลาดินยึดจุดยุทธศาสตร์ทุกแห่งของเย<br />

รู ซาเลมจนเกือบหมดสิ้นยกเว้นเมือง<br />

เมลวัวร์และเมืองไทร์ดังนั ้นบริเวณส่วน<br />

ใหญ่ของราชอาณาจักรของนักรบ ครู<br />

เสดที่ได้รับการจัดตั ้งมานาน 100 ปี<br />

พังทลายเพราะฝี มือของซาลาดินปี ค.ศ.<br />

1187-1189 คือปี แห่งชัยชนะครั ้งยิ่งใหญ่<br />

ของฝ่ ายมุสลิมโดยการน าของซาลาดิน


สันตะปาปาเกรกอรีที่ 8 ผู้สืบทอด<br />

ต าแหน่งต่อจากสันตะปาปา เออร์บานที่ 3<br />

ทรงประกาศโองการ สงครามครู เสดและ<br />

เรี ยกร้ องให้ ปฏิ บัติ การทันที โดยก่อน<br />

สงคราม ครั ้งใหม่จะเริ่มต้นวิลเลียมที่ 2 แห่ง<br />

ซิ ซิ ลี เป็ นกษัตริ ย์องค์แรกที่ตอบ สนอง<br />

โองการของสันตะปาปา<br />

แต่ในเดือนพฤศจิกายน ค.ศ. 1189<br />

กษัตริย์ วิลเลียมที่ 2 สิ้นพระชนม์ แต่<br />

เ ฟ ร เ ด อ ริ ก ซึ ่ ง เ ค ย ปั ญ ห า ขั ด แ ย้ง กั บ<br />

สันตะปาปามาก่อนเลือกสร้างสันติกับศาสน<br />

จักรเดือนพฤษภาคม ค .ศ.1190กองทัพ<br />

เ ฟ ร เ ด อ ริ ก เ ดิ น ท า ง ม า ถึ ง ไ อ โ ค เ นี ย<br />

ภายหลังรบชนะ กองทัพของเซลจัคเติร์กจน<br />

เมื่อ วันที่10มิถุนายนปี นั ้ นเฟรเดอริ ก ก็<br />

สิ้นพระชนม์ลงจากการพยายาม ว่ายน ้ า<br />

ข้ามล าธาร<br />

จนกระทั่งปี ค.ศ. 1190 ฟิ ลิปที่ 2 แห่ง<br />

ฝรั่งเศสและริชาร์ดที่1หรือริชาร์ดใจสิงห์ ก็<br />

ร่วมกันเป็ น ผู้น าของสงครามครูเสดครั ้ งที่ 3<br />

แ ต่ ก า ร ท า ส ง ค ร า ม ใ น ค รั ้ ง นี ้ ไ ม่ บ ร ร ลุ<br />

เป้าหมายส าคัญเรื่องการยึด ครองเยรูซาเลม<br />

แต่ความส าเร็จสูงสุดของสงครามครูเสดครั ้ง<br />

ที่ 3 คือการที่ริชาร์ดใจสิงห์ยึดไซปรัส ได้<br />

ในช่วงศตวรรษต่อมาซึ ่ งอาจ เป็ นฐานทัพ<br />

ของการท าสงคราม ครุเสดในอนาคต


สงครำมครูเสดครั ้งที่ 4<br />

ในสงครามครั ้ งนี ้ เห็นเพียงเรื่องความวิบัติที่ไม่มีลดลงของต้นเหตุการณ์ท าสงครามครูเสด รอยแยกแตก<br />

ระหว่างศาสนจักรตะวันออกกับศาสนจักรตะวันตก มีช่องว่างมากขึ ้น ประชากรชาวกรีกต่อต้านการรวมตัวของ<br />

ของศาสนจักรทั ้งสองแห่งอย่างรุนแรง จักรวรรดิไบเซนไทน์ซึ ่งคงทนต่อการบุกรุกจากตะวันออกมานานหลาย<br />

ศตวรรษจึงถึงจุดอ่อนแอจนยากจะแก้ไข


ค.ศ. 1218 กองเรือของฟรีเซียมออกเดินทาง<br />

เพื่อบุกโจมตีอียิปต์ภายใต้การน าของจอห์น<br />

แห่งเบรนเนเพื่อใช้ต่อรองเอากรุ งเยรู ซาเลม<br />

กลับคืนกองทัพครู เสดสามารถเข้ายึดหอคอย<br />

ยุทธศาสตร์ที่ดาไมเอตา<br />

สงครามครูเสดครั้งที ่ 5 เป็ นสงคราม ครั ้ งสุดท้ายที่<br />

สันตะปาปามีบทบาท ส าคัญ เป็ นความพยายามครั ้ งยิ่งใหญ่<br />

ที่จะท าลายโลกมุสลิมซึ ่ งก าลังแตกแยกกัน แต่ก็ล้มเหลว<br />

เพราะบรรดาผู้น ามี ความเห็นแตกต่างกับการตัดสินใจที่โง่<br />

เขลาของเปลากีอุส การพิชิตอียิปต์อาจ ส าเร็จหากเฟรเด<br />

อริกที่ 2 น ากองทัพมา สมทบตามสัญญา<br />

พระเจ้าเฟรเดอริกที่ 2 ขึ ้นเป็ นจักรพรรดิโรมันอันศักดิ ์ สิทธิ ์ พระองค์ทรง ครอบครอง ผืนดินอันกว้าง<br />

ใหญ่ของยุโรป ดินแดนจากทะเลบอลติกทางเหนือไป จนถึงทะเลเมดิเตอเรเนียนทางใต้ ดินแดน<br />

เยอรมนีทั ้งหมด และดินแดนส่วนใหญ่ ของคาบสมุทรอิตาลี ยกเว้นรัฐของสันตะปาปา ซึ ่งมีศูนย์กลาง<br />

รอบๆกรุงโรม


ควำมล้มเหลวของสงครำมครูเสดครั ้งที่ 5 ท ำให้เฟรเดอริกที่ 2 ต้องรับ ผิดชอบหนัก<br />

ตอนปลำย ค.ศ. 1227 กองเรือของกองทัพครูเสดครั ้งที่ 6 เริ่มเดินทำงอกจำกอิตำลี แต่เฟรเด<br />

อริกขอยืดเวลำออกไป แต่กำรรีรอของ เฟรเดอริกนี้ท ำให้สันตะปำปำเกรกอรีที่ 9 หมดควำม<br />

อดทน จึงทรงประกำศ ตัดเฟรเดอริกออกจำกศำสนำ<br />

ดังนั ้นในฤดูร้อนของปี ค.ศ. 1228 เฟรเดอริก จึงออกเดินทำงไปยังไซปรัส ที่ครีเฟรเด<br />

อริกได้รับกำรต่อต้ำนมำกขึ้น ข่ำว กำรถูกตัดขำดจำกศำสนำแพร่มำถึงที่นั่นก่อนแล้ว คนที่เคย<br />

สนับสนุน พระองค์มำก่อน บัดนี้ปฏิเสธที่จะให้ควำมร่วมมือ เฟรเดอริกจึงต้องอำศัย กลุ ่ม<br />

อัศวินติวตันนิก ซึ่งในขณะนั ้นองค์กรอัศวินติวตันนิกอยู ่ภำยใต้กำร ควบคุมของเออร์แมนน์<br />

ซำลซำ<br />

นอกจำกองค์กนนี้แล้วเฟรเดอริกมีกองทัพ ครูเสดชำวเยอรมันมีก ำลังไม่มำกนัก<br />

ดังนั ้น จักรพรรดิเฟรเดอริกจึงต้อง พยำยำมท ำทุกอย่ำงทำงกำรทูตอย่ำงเดียวเท่ำนั ้น กำรท ำ<br />

ควำมตกลงทำง กำรทูตกับอัลคำมิลแห่งอียิปต์จึงเกิดขึ้นในปี ค.ศ. 1229 เป็ นกำรต่อสู ้โดย วิธี<br />

เจรจำ ท ำควำมตกลงกันว่ำเยรูซำเลมกับเบธเลเฮม ถูกยกให้เป็ นของ รำชอำณำจักรแห่งเยรู<br />

ซำเลม ยกเว้นเฉพำะบริเวณวิหำร บริเวณโดมบน เทือกเขำและสุเหร่ำอัคซำ คงเป็ นของชำว<br />

มุสลิมต่อไป ควำมตกลงของ สนธิสัญญำนี้มีอำยุ 10 ปี


พระเจ้ำหลุยส์ที่ 9 (Louis IX, )<br />

25 เมษายน ค.ศ. 1214 - 25 สิงหาคม<br />

ค.ศ. 1270) หรือ นักบุญหลุยส์ทรงเป็ น<br />

พระมหากษัตริย์ฝรั่งเศสแห่งราชวงศ์กา<br />

แประหว่างวันที่8 พฤศจิกายน ค.ศ. 1226<br />

จนเสด็จ สวรรคต เมื่อวันที่ 25 สิงหาคม<br />

ค.ศ. 1270<br />

นอกจากเป็ นพระมหากษัตริ ย์แห่ง<br />

ฝรั่งเศสพระองค์ก็ยังทรงใช้พระนามว่า<br />

“หลุยส์ที่ 2 เคานต์แห่งอาร์ตัว” ระหว่างปี<br />

ค.ศ. 1226 จนถึงปี ค.ศ. 1237 ในรัชสมัย<br />

ของพระองค์ ได้ทรงท างานร่ วมกับ<br />

รัฐสภาแห่งปารีสในการพยายามปรับปรุง<br />

เพื่อเพิ่มความมีประสิ ทธิภาพทางด้าน<br />

กฎหมาย<br />

พ ร ะ เ จ้า ห ลุ ย ส์ ที่ 9 แ ห่ ง ฝ รั่ ง เ ศ ส<br />

ทรงประกาศความตั ้งใจที่จะน า กองทัพครูเสด<br />

ครั ้ งใหม่ จนเมื่อ ทุกอย่างพร้อม ในเดือน<br />

สิงหาคม ค.ศ. 1248 พระเจ้าหลุยส์น ากอง ทัพ<br />

ออกจากฝรั่งเศสและเดินทางถึงไซปรัสใน<br />

เดือนกันยายน แต่ก็ พ่ายแพ้ และในการท า<br />

สงคราม ครั ้งใหม่กองทัพของพระเจ้าหลุยส์ขึ ้น<br />

บกที่แอฟริกาไม่นานนัก ก็ เกิดโรคระบาดพระ<br />

เจ้าหลุยส์สิ้น พระชนม์ ท าให้สงครามครูเสด<br />

ในครั ้งนี ้จบลง


สงครำมดอกกุหลำบในช่วงแรก<br />

ใน ค.ศ. 1455 ริ ชาร์ ด (Richard)<br />

ดยุค แห่งยอร์กได้น ากองก าลังบุกรุกลอนดอน<br />

และปะทะกับกองทัพของ พระเจ้า เฮนรี ที่<br />

6(Henry Vl) ส่งผลให้มีบุคคลส าคัญของฝ่ าย<br />

แลงแคสเตอร์หลายคนเสียชีวิต จากนั ้นได้มีการ<br />

สงบศึกของสองฝ่ าย<br />

ใ น ค . ศ . 1458 โ ท มัส เ บ อ ร์ เ ชี ย ร์<br />

พยายามไกล่เกลี่ยความขัดแย้ง แต่ก็ล้มเหลว จน<br />

เมื่อปี ค .ศ. 1460การรบที่ ยุทธภูมิเวคฟีลด์<br />

กองทัพฝ่ ายแลงแคสเตอร์ได้รับชัยชนะ แต่ในการ<br />

ต่อสู้ครั ้ งนี ้ ส่ งผลให้ดยุคแห่ ง ยอร์ กเสี ยชีวิต<br />

เอดเวิร์ดเอิร์ลแห่งมาร์ช(Edward, Earl of<br />

March) จึงขึ ้นครองราชบัลลังก์ และมีชัยชนะ<br />

เหนือฝ่ ายแลงแคสเตอร์จากการรบที่เฮียร์เบด<br />

ฟอร์ด<br />

ราชวงศ์ทิวดอร์ ที่เป็นราชวงศ์ใหม่ที่เกิด<br />

จากการรวมราชวงศ์แลงแคสเตอร์ และ<br />

ราชวงศ์ยอร์คโดยการเสกสมรสระหว่าง<br />

เฮนรี ทิวดอรกับพระนางเอลิซาเบธ<br />

แห่งยอร์ก


กำรขึ้นสู ่บัลลังก์ของตระกูลยอร์ก<br />

ค.ศ. 1461เอ็ดเวิร์ด เอิร์ลแห่งมาร์ช ราชาภิเษก<br />

ขึ ้นเป็ นกษัตริย์ ทรงพระนามว่าพระเจ้าเอ็ดเวิร์ด ที่ 4 จน<br />

ใน ค.ศ. 1471การรบที่เมืองทิวค์สเบอรี เอ็ดเวิร์ด เจ้าชาย<br />

แห่งเวลส์รัชทายาทของ พระเจ้าเฮนรีที่ 6ของฝ่ ายแลงแค<br />

สเตอร์ได้เสียชีวิต ในสนามรบ พระเจ้าเฮนรีที่ 6 ถูกปลง<br />

พระชนม์ ราชบัลลังก์อังกฤษจึงตกเป็ นของพระเจ้า เอ็ด<br />

เวิร์ดที่ 4 ฝ่ ายตระกูลยอร์กอย่างเด็ดขาด<br />

ช่วงยุติศึกระหว่ างตระกูลแลงแคสเตอร์ กับ<br />

ตระกูลยอร์ก<br />

ตั ้ งแต่ค.ศ.1471เป็ นช่วงแห่งการยุติศึก ที่<br />

ยาวนานจนกระทั่งพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 4สวรรคต ใน<br />

ค.ศ. 1483 แอนโทนี วู้ดวิลน้องชายของ เอลิซาเบธ<br />

ขึ ้นครองราชย์เป็ นพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5ท าให้ ขุนนาง<br />

ส่วนใหญ่ไม่พอใจ วิลเลียมแฮสติงส์ ได้ส่งข่าวไปให้<br />

เจ้าชายริ ชาร์ ดดยุคแห่ ง กลอสเตอร์ ยกทัพมาตี<br />

ลอนดอนโดยได้รับการ สนับสนุน<br />

จากยุคแห่งบักกิ้งแฮม ต่อมาทั ้ง 2 คน ได้<br />

ช่วยกันก าจัดพระเจ้าเอ็ดเวิร์ดที่ 5 ปลายปี 1483ดยุ<br />

คแห่งบักกิ้งแฮมเกิดความขัดแย้ง กับพระเจ้าริชาร์ดที่<br />

3 และก่อกบฏขึ ้ นที่เมือง เบรคอนในเวลส์โดยมี<br />

เป้าหมายที่จะ สนับสนุนเฮนรีทิวดอร์ แห่งตระกูลแลง<br />

แคสเตอร์ ขึ ้นสู่อ านาจแทนพระเจ้าริชาร์ดที่ 3แต่ก็ถูก<br />

ปราบ ปราม ได้ และ ดยุคแห่งบักกิ้งแฮมก็ถูกสังหาร


กำรขึ้นสู ่อ ำนำจของเฮนรี ทิวดอร์<br />

เฮนรี ทิวดอร์ได้ยกกองทหารผสมระหว่างพวกอังกฤษที่ลี ้ภัยในฝรั่งเศสและ ทหาร รับจ้างชาว<br />

ฝรั่งเศสเดินทางเข้าสู่เวลส์ในปี ค.ศ. 1485ฝ่ ายแลงแคสเตอร์เปิ ดฉาก การรบกับกองทัพของพระเจ้าริชาร์ด<br />

ที่ 3 ที่ยุทธภูมิบอสเวิร์ธและได้รับชัยชนะ ส่งผลให้เฮนรี ทิวดอร์ขึ ้นครองราชย์เป็ นพระเจ้าเฮนรีที่ 7 และ<br />

ได้อภิเษกกับ เอลิซาเบธแห่งยอร์ก เพื่อความสมานฉันท์และรวมตระกูลแลงแคสเตอร์ กับตระกูลยอร์ก<br />

เป็ นหนึ ่งเดียว และเป็ นการเริ่มต้นสถาปนาราชวงศ์ทิวดอร์


Korean<br />

War<br />

1950-1953<br />

COMMUNISM<br />

FREE WORLD


ส ง ค ร า ม เ ก า ห ลี<br />

ค . ศ . 1 9 5 0 - 1 9 5 3<br />

สงครำมเริ่มต้น<br />

ในวันที่ 25 มิถุนายน ค.ศ.1950 กองทัพเกาหลีเหนือยกพลมายัง<br />

ดินแดนเกาหลีใต้ และเมื่อประธานาธิบดีแฮรี่ เอส.ทรูแมน (Harry S.<br />

Truman,1884-1972) ได้รับรายงานจากรัฐมนตรีต่างประเทศ<br />

สหรัฐฯ นายดีน อาชีสัน (Dean Acheson,1893-1971) จึงได้<br />

ทราบข่าวการโจมตีของเกาหลีเหนือ แต่ประธานาธิบดีทรูแมนมี<br />

ความเห็นว่ายังไม่ต้องตอบโต้เพราะอาจเป็ นการโจมตีตามแนวพรมแดน<br />

ที่เกิดขึ ้นอยู่เสมอก็ได้<br />

เมื่อปรากฏแน่ชัดว่าเป็ นการโจมตีด้วยกองทัพขนาดใหญ่ จึงได้แจ้ง<br />

ประธานาธิบดีทรูแมนอีกครั ้ง และท าให้เกิดการประชุมสภาความมั่นคง<br />

สหประชาชาติเป็ นกรณีพิเศษ มีมติเป็ นเอกฉันท์ ที่ต้องปฏิบัติการตอบโต้<br />

เกาหลีเหนือในทันที จึงเกิดกองทัพสหประชาชาติขึ ้นและได้เดินทางไป<br />

รบกับกองทัพของค่ายคอมมิวนิสต์ในเกาหลี<br />

Harry S. Truman<br />

กรุงโซลแตก<br />

Douglas MacArthur<br />

Walton Walker<br />

นายพลดักลาส แมคอาเธอร์ (Douglas MacArthur,1880-<br />

1964)ผู้บัญชาการสูงสุดของกองทัพฝ่ ายพันธมิตรที่ยึดครองญี่ปุ ่ นอยู่ ได้รับ<br />

ค าสั่งจากประธานาธิบดีทรูแมน ให้ท าการอพยพชาวอเมริกันออกจากเกาหลี<br />

และป้องกันสนามบินในเกาหลีใต้ไว้เพื่อปฏิบัติการตลอดเวลา<br />

นับตั ้งแต่วันที่เกาหลีเหนือเริ่มบุกเกาหลีใต้ นายพลแมคอาเธอร์ยังไม่<br />

สามารถหาวิธีขับไล่กองทัพของเกาหลีเหนือให้ออกไปจากเกาหลีใต้ได้ จนวันที่<br />

28 มิถุนายน ค.ศ.1950 กรุงโซลตกอยู่ภายใต้การยึดครองของทหารเกาหลีเหนือ<br />

ประธานาธิบดีทรูแมนไม่ต้องการให้สงครามขยายตัวออกไป จึงปฏิเสธข้อเสนอ<br />

ของเจียงไคเชคในการที่จะส่งกองทหารจีนจากไต้หวันเข้าร่วมรบ ทรูแมนจึง<br />

ตัดสินใจส่งกองพลที่ 8 ไปช่วยกองทัพเกาหลีใต้ โดยอยู่ภายใต้การบังคับบัญชา<br />

ของนายพลวอลตัน วอล์คเกอร์ (Walton Walker,1889-1950)<br />

ในวันที่ 8 กรกฎาคม ค.ศ.1950 แมคอาเธอร์ได้รับแต่งตั ้งให้เป็ นผู้<br />

บัญชาการทหารสูงสุดของกองทัพสหประชาชาติเพิ่มขึ ้นอีกต าแหน่ง ซึ ่งขึ ้นตรง<br />

ต่อประธานาธิบดีสหรัฐฯ เพียงผู้เดียว


แมคอำเธอร์ต้องกำรก ำลังพล<br />

ในวันที่แมคอาเธอร์ได้รับต าแหน่ง ได้ขอก าลัง<br />

พลเพิ่มขึ ้น เพื่อท าการบุกโดยวิธียกพลขึ ้นบนหลังแนว<br />

ทหารเกาหลีเหนือ แต่ค าขอได้ถูกปฏิเสธจากประธาน<br />

คณะเสนาธิการผสมของสหรัฐฯ ด้วยเหตุผลว่า การ<br />

ป้องกันเยอรมนีและยุโรปตะวันตกส าคัญกว่าการช่วย<br />

เกาหลีใต้ ท าให้แมคอาเธอร์ตัดสินใจน ากองทหารเกาหลี<br />

ใต้มารวมกับกองทหารสหรัฐฯ แล้วชักชวนให้<br />

นายกรัฐมนตรีของญี่ปุ ่ น นายโยชิดะ(Shigeru<br />

Yoshida,1878-1967) จัดตั ้ง “กองก าลังส ารอง<br />

ต ารวจแห่งชาติ” เพื่อปฏิบัติหน้าที่ในญี่ปุ ่ นแทนทหาร<br />

อเมริกัน ท าให้แมคอาเธอร์สามารถดึงทหารอเมริกันไป<br />

รบในเกาหลีได้มากขึ ้น<br />

MacArthur ,and Yoshida<br />

ถอยกลับปูซำน<br />

ขณะที่กองทัพเกาหลีเหนือได้รุกคืบหน้าลงมาทาง<br />

ใต้เป็ นแนวกว้าง ได้ท าให้นายพลวอล์คเกอร์ผู้บัญชาการ<br />

ทหารสูงสุดในสมรภูมิในอยู่ในสถานการณ์ที่สิ้นหวัง จึงได้<br />

รอคอยความหวังจากกองพลทหารราบที่ 25 ของพลตรี<br />

วิลเลียม ดีน (William F. Dean,1899-1981)<br />

กับกองพลทหารม้าที่ 1 ของพลตรีโฮบาร์ต อาร์เกย์<br />

(Hobart R. Gay,1894-1983) ที่จะสามารถ<br />

ต้านทานข้าศึกตรงบริเวณเมืองเตจอนได้ แต่สถานการณ์<br />

ของเมืองเตจอนในขณะนั ้นอยู่ในสภาพที่ไม่สามารถ<br />

ต้านทานข้าศึกได้ พลตรีดีนจึงพาทหารถอยออกจากเมืองเต<br />

จอนทันที หลังจากนั ้นกองทัพเกาหลีเหนือก็เข้ายึดเมืองเต<br />

จอนได้ส าเร็จ พลตรีดีนถูกจับตัวไว้ที่ค่ายเชลยศึกในฐานะ<br />

แขกของรัฐบาล<br />

ปลายเดือนกรกฎาคม ค.ศ.1950 นายพล<br />

วอล์คเกอร์ตั ้งเจตนาว่าจะต้องยึดแนวป้องกันปูซานไว้<br />

ให้ได้ ถ้าหากปูซานถูกตีแตกก็จะเป็ นอันว่า<br />

สหประชาชาติเป็ นฝ่ ายแพ้สงคราม เพราะเป็ นทางหนี<br />

ออกจากเกาหลีใต้เพียงแห่งเดียว ในช่วงเวลาดังกล่าว<br />

ปูซานต้องการก าลังทหารมาเสริมแนวป้องกันสุดท้าย<br />

ในเกาหลีใต้โดยเร็วที่สุด กองทหารสหรัฐฯ จากแหล่ง<br />

ต่างๆ จึงเดินทางมาที่ปูซาน ท าให้ตอนปลายเดือน<br />

สิงหาคมกองทหารสหประชาชาติมีความเข้มแข็ง<br />

มากกว่าเดิมและพร้อมที่จะตีกลับขึ ้นไปทางเหนือ<br />

William F. Dean<br />

Hobart R. Gay


กำรยกพลขึ้นบกที่อินซอน<br />

แผนการบุกอินซอนของนายพลแมคอาเธอร์ได้รับอนุมัติ<br />

จากเพนตากอน ในวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ.1950 การยกพลขึ ้นบกที่<br />

อินซอนได้เริ่มขึ ้นท่ามกลางพายุไต้ฝุ ่ น วันที่ 5 กันยายน กองเรือรบ<br />

เริ่มออกเดินจากญี่ปุ ่ น วันที่ 15 กันยายน ทหารนาวิกโยธินที่มากับ<br />

กองเรือรบขึ ้นบกที่ชายหาดแคบๆของเกาะวอลดี-โม ไม่นานเกาะ<br />

ได้รับการเคลียร์พื ้นที่จนเรียบร้อยและปลอดภัยจากข้าศึก และการ<br />

ยกพลขึ ้นบกระลอก 2 ในตอนบ่าย เกิดขึ ้น 2 ครั ้งที่ริมฝั่งทะเลของ<br />

เมืองอินซอน<br />

หลังจากนั ้นเกิดการสู้รับระหว่างทหารสหประชาชาติกับ<br />

ทหารเกาหลีเหนือ วันที่ 16 กันยายน กองทหารเกาหลีเหนือถูกขับ<br />

ออกจากเมืองอินซอนไปจนหมด เป้าหมายต่อไปคือการยึดกรุง<br />

โซลซึ ่งตอนนั ้นเป็ นป้อมปราการของทางทหารเกาหลีเหนือ<br />

กองทัพสหประชาชาติใช้เวลาเกือบ 2 สัปดาห์ในการยึดเมืองโซล<br />

คืน ในวันที่ 28 กันยายน เกาหลีเหนือถอนตัวออกไป<br />

พร้อมกับเชลยศึก วันที่ 29 กันยายน นายพลแมคอาเธอร์เดินทางมา<br />

ลงที่สนามบินกิมโป และในวันนั ้นได้มีการประชุมสมัชชาแห่งชาติ<br />

ของเกาหลีใต้เพื่อคืนกรุงโซลให้กับรัฐบาลเกาหลีใต้ตามเดิม<br />

บุกข้ำมเส้นขนำนที่ 38<br />

ประธานาธิบดีทรูแมน เพนตากอน และประเทศพันธมิตรในยุโรปของสหรัฐฯ มีความข้องใจว่าแมคอาเธอร์จะ<br />

บุกขึ ้นไปทางเหนือไปไกลแค่ไหน ทรูแมนจึงเชิญแมคอาเธอร์มาพูดคุยกันที่เกาะเวก แต่การพูดคุยก็ล้มเหลวเพราะต่างก็<br />

ไม่ยอมรับฟังความคิดเห็นกัน หลังจากการเจรจาที่เกาะเวกผ่านไป 5 วัน กองทัพที่ 8 เดินทางมุ่งเข้าสู้เปี ยงยางเมืองหลวง<br />

ของเกาหลีเหนือทันที การยกพลขึ ้นบกที่วอนซานก็ด าเนินไปด้วยดี<br />

หลังจากนั ้นกองทัพของแมคอาเธอร์เข้ายึดเมืองเปี ยงยางไว้ได้แล้วประกาศว่า “การท าสงครามเกาหลีสิ้นสุดลง<br />

แล้ว” แต่แมคอาเธอร์กับนายพลวอล์คเกอร์ มีความวิตกกังวลในเรื่องที่จีนซุ่มจัดก าลังพลจ านวนมากไว้ในแมนจูเรีย กอง<br />

ก าลังของจีนดังกล่าวสามารถข้ามแม่น ้ายาลูเข้ามายังเกาหลีได้ ในเวลาต่อมาสงครามเริ่มขยายตัวออกไป ในสัปดาห์แรก<br />

ของเดือนพฤศจิกายน ปรากฏว่ามีทหารจีนคอมมิวนิสต์จ านวน 2 กองพลอยู่ในเกาหลี เป็ นการแสดงว่าจีนคอมมิวนิสต์เข้า<br />

ร่วมท าสงครามเกาหลีแล้ว


มุ ่งสู ่แม่น ้ำยำลู<br />

กองทัพสหรัฐฯ ในแนวหน้าบางหน่วยบุกขึ ้นไปถึง<br />

แม่น ้ายาลู นับว่าเป็ นการเคลื่อนทัพที่รวดเร็วเกินไปและทิ้ง<br />

ช่วงห่างจากแนวส่งก าลังบ ารุงมาก กองทัพจีนคอมมิวนิสต์จึง<br />

เริ่มโอบล้อมกองทัพสหรัฐฯ ส่วนนี ้ไว้ แต่ทหารสหรัฐฯส่วน<br />

ใหญ่สามารถตีฝ่ าวงล้อมออกมาได้<br />

สถานการณ์ของสงครามเกาหลีเริ่มรุนรุนแรงขึ ้น<br />

วันที่ 25 พฤศจิกายน ค.ศ.1950 กองทัพที่ 8 ค่อยๆรุกคืบหน้า<br />

ไปอย่างช้าๆ ค าสั่งของแมคอาเธอร์ขัดแย้งกับนายพลวอล์ค<br />

เกอร์ เมื่อ นายพลหลินเปี ยวผู้บัญชาการรบของกองทัพจีนสั่ง<br />

เพิ่มก าลังกองทัพจีนเพื่อสู้กับกองทัพที่ 8 และเหล่านาวิก-<br />

โยธิน ในที่สุดแมคอาเธอร์จึงจ าใจอนุมัติให้กองทัพที่ 8 และ<br />

หน่วยนาวิกโยธินถอยทัพกลับ พอถึงตอนปลายเดือน<br />

Chinese Soldiers crossing the Yalu River<br />

พฤศจิกายนกองทัพสหประชาชาติต้องถอยร่นมาทางใต้เรื่อยๆ<br />

เพราะถูกกองทัพจีนรุกไล่หนัก<br />

วันที่ 5 ธันวาคม ค.ศ.1950 เมืองเปี ยงยางตกอยู่ในความยึดครองของเกาหลีเหนือตามเดิม หลังจากนั ้นแมคอา<br />

เธอร์ต้องการให้กองทัพสหประชาชาติถอยมาตั ้งหลักตรงบริเวณเส้นขนานที่ 38 ซึ ่งประธานาธิบดีทรูแมนเห็นด้วย แต่<br />

ไม่ยอมส่งทหารจากสหรัฐฯมาเพิ่ม สถานการณ์เลวร้ายลงไปอีกเมื่อกองทัพสหประชาชาติไม่สามารถต่อสู้ก าลังของ<br />

กองทัพจีนที่รุกไล่เข้ามาได้ จึงต้องถอยมาตั ้งหลักใหม่ ขณะเดียวกันเพนตากอนมีนโยบายตัดสินใจว่าจะไม่โจมตีจีน ซึ ่ง<br />

ขัดแย้งกับข้อเสนอของแมคอาเธอร์ทั ้งสิ้น<br />

Walker’s wrecked jeep<br />

วันที่ 23 ธันวาคม ค.ศ.1950 นายพลวอล์คเกอร์ได้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุรถคว ่าบนถนนน ้าแข็ง ผู้ด ารง<br />

ต าแหน่งแทนคือนายพลแมทธิว บี. ริดจ์เวย์ (Matthew B. Ridgway,1895-1993) นายพลผู้นี ้มี<br />

ความเชื่อมั่นและซื่อสัตย์ต่อเพนตากอนมากกว่านายพลแมคอาเธอร์ อย่างไรก็ตามแมคอาเธอร์มีความเชื่อมั่นใน<br />

ความสามารถของนายพลริดจ์เวย์ในด้านการรบ นายพลริดจ์เวย์ได้รับอนุมัติให้ถอยทัพออกจากกรุ่งโซลมาตั ้งแนว<br />

ป้องกันที่แม่น ้าฮัน วันที่ 14 มีนาคม ค.ศ.1951 ก็สามารถยึดกรุงโซลกลับคืนมาได้


ปลดแมคอำเธอร์<br />

Truman sacks MacArthur<br />

ในที่สุดประธานาธิบดีทรูแมนและเพนตากอนมีความเห็นตรงกันว่า สมควรปลดนายพลแมคอาเธอร์ออก<br />

จากต าแหน่งผู้บัญชาการรบสูงสุด มีสาเหตุ 2 ประการ คือ ค าวิจารณ์ของแมคอาเธอร์ต่อนโยบายสงครามเกาหลีของ<br />

ประธานาธิบดีทรูแมนนั ้นล้มเหลวจึงไม่ชนะสงคราม อีกประการหนึ ่งคือการฝ่ าฝื นค าสั่งและกลัวว่าแมคอาเธอร์จะ<br />

บุกขึ ้นเหนือโดยพลการ เมื่อนายพลแมคอาเธอร์พ้นจากต าแหน่งไปแล้ว ในวันที่ 11 เมษายน ค.ศ.1951 นายพลริดจ์<br />

เวย์ได้รับการแต่งตั ้งให้ด ารงต าแหน่งแทน ชีวิตทางทหารของนายพลแมคอาเธอร์จึงสิ้นสุดลงหลังจากที่ได้<br />

ปฏิบัติงานรับใช้ชาติด้วยสามารถที่ยอดเยี่ยม<br />

Time to End The Korean War<br />

ฝ่ ายคอมมิวนิสต์ท าการรุกใหญ่ถึง 2 ครั ้ง ครั ้งแรกในตอนปลายเดือนเมษายนและครั ้งที่สองตอน<br />

ปลายเดือนพฤษภาคม ค.ศ.1951 กองทัพสหประชาชาติถูกรุกไล่ให้ถอยร่นลงมาทางใต้แต่ยังคงรักษากรุง<br />

โซลไว้ได้ พอถึงเดือนกรกฎาคมกองทัพสหประชาชาติสามารถยึดพื ้นที่ที่สูญเสียไปเมื่อครั ้งก่อนกลับคืน<br />

มาได้หมด และมีการเริ่มต้นเจรจาสงบศึกที่เมืองเกซองระหว่างเกาหลีเหนือและจีนฝ่ ายหนึ ่งกับผู้แทนของ<br />

สหประชาชาติอีกฝ่ ายหนึ ่ง<br />

ต่อมาการเจรจาสงบศึกย้ายไปอยู่ที่ปันมุนจอม การเจรจาสงบศึกด าเนินต่อเนื่องไปเป็ นเวลานาน<br />

ถึง 2 ปี ระหว่างช่วงเวลา 2 ปี การรบตามบริเวณแนวหน้ายังคงด าเนินไปเรื่อยๆแต่ไม่รุนแรงมาก อย่างไรก็<br />

ตามชาวอเมริกันเริ่มเบื่อหน่ายสงครามเกาหลี เพราะตั ้งแต่นายพลแมคอาเธอร์ถูกปลดออกจากต าแหน่ง<br />

แล้ว การรบยังมองไม่เห็นช่องทางที่ฝ่ ายสหประชาชาติจะชนะโดยเด็ดขาด การเจรจาสงบศึกครั ้งสุดท้าย<br />

ในวันที่ 27 กรกฎาคม ค.ศ.1953 สงครามเกาหลียุติอย่างเป็ นทางการภายในวันนั ้น


คริสตศตวรรษที่ 15<br />

Prince Henry the Navigatorได้จัดตั ้ง<br />

โรงเรียนราชนาวีขึ ้นที่แหลมซาเกรส<br />

ชายฝั่งทางใต้ของประเทศเพื่อเป็ น<br />

ศูนย์กลางของการเรียนรู้วิทยาการ<br />

ใหม่ๆของการเดินเรือ และเป็ นแหล่ง<br />

รวบรวมข้อมูลเส้นทางการเดินเรือ<br />

ค.ศ. 1434<br />

Gil Eanes ได้แล่นเรือรอบอ่าว<br />

CaboBojador เขาได้เดินทางไป<br />

ตามชายฝั่งของแอฟริกา ซึ ่งเป็ น<br />

จุดเริ่มต้นของการส ารวจของ<br />

โปรตุเกส<br />

ค.ศ.1488<br />

Bartolomeu Dias สามารถ<br />

เดินเรือเลียบชายฝั่งทวีปแอฟริกา<br />

จนผ่านแหลมกู๊ดโฮปได้ส าเร็จ<br />

ค.ศ.1427<br />

Prince Henry ค้นพบเกาะ Azores<br />

ค.ศ. 1460<br />

ชาวโปรตุเกสตั ้งที่มั่นทางการค้าขาย<br />

ตามแนวฝั่งตะวันตกของแอฟริกา


ค.ศ.1498<br />

Vasco da Gama นักเดินเรือชาวโปรตุเกส<br />

สามารถแล่นเรือในทะเลแห่งความมืด เขาเดินเรือ<br />

ตามเส้นทางของ ไดแอสจนถึงเอเชีย และขึ ้นฝั่ง<br />

ที่เมืองกาลิกัต ประเทศอินเดีย สามารถซื ้อ<br />

เครื่องเทศ เช่น กานพลู อบเชย ขิง พริกไทย สี<br />

ย้อมผ้า ผ้า ฯลฯ ได้โดยตรง ท าให้นครเวนิสไม่<br />

สามารถผูกขาดสินค้าเครื่องเทศและสินค้าจาก<br />

ตะวันออกได้อีกต่อไป<br />

ค.ศ.1503<br />

โปรตุเกสยึดโกชินเป็ นอาณา<br />

นิคมแห่งแรกของชาติ<br />

ตะวันตกในอินเดีย<br />

ค.ศ. 1519<br />

Ferdinand Magellan ได้เดินทางไป<br />

ทางทิศตะวันตกของมหาสมุทร<br />

แอตแลนติกผ่านช่องแคบที่ภายหลังตั ้ง<br />

ชื่อว่า แมกเจลลัน ทางตอนใต้ของทวีป<br />

อเมริกาใต้ ข้ามมหาสมุทรแปซิฟิ ก<br />

มายังทวีปเอเชีย นับเป็ นเรือ ล าแรกที่<br />

แล่นรอบโลกได้ส าเร็จ<br />

ค.ศ.1500<br />

Pedro Alvares Cabral ได้เดินทางไป<br />

ตามเส้นทางของกามาเพื่อจะไปอินเดีย<br />

แต่พลัดจากเส้นทางจนไปถึงชายฝั่ง<br />

บราซิลและอ้างสิทธิในการครอบครอง<br />

บราซิลแก่กษัตริย์แห่งโปรตุเกส ซึ ่งท า<br />

ให้บราซิลพูดภาษาโปรตุเกส<br />

ค.ศ.1510<br />

Afonso de Albuquerque ได้ยึดเมืองกัวซึ ่งเป็ นศูนย์<br />

บัญชาการของสันนิบาตมุสลิมและใช้เป็ นเมืองหลวงของ<br />

จักรวรรดิโปรตุเกสในตะวันออก นอกจากนี ้ยังสามารถ<br />

ขยายอ านาจและแผ่อิทธิพลจนถึงเอเชียตะวันออกเฉียงใต้<br />

และเข้ายึดครองมะละกาซึ ่งเป็ นชุมทางของเรือสินค้าจาก<br />

อินเดีย อาหรับ อียิปต์ และทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ท าให้<br />

อินดีส-ตะวันออกทั ้งหมดตกอยู่ใต้อิทธิพลของโปรตุเกส<br />

สร้างความมั่งคั่งให้มหาศาลจากการผูกขาดสินค้าพวก<br />

เครื่องเทศ และภาษาโปรตุเกสยังกลายเป็ นภาษากลางที่ใช้<br />

สื่อสารทั ้งในการค้า รวมถึงในราชส านัก


สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย(Alexandrina<br />

Victoria; 24 May 1819 – 22 January 1901) ขึ ้น<br />

ครองราชเป็ นพระราชินีนาถแห่งประเทศอังกฤษ ณ<br />

วันที่ 20 มิถุนายน ค.ศ.1837<br />

ให้ผ่าศพของตนเพื่อจะได้รู้ความจริง ผลปรากฏ<br />

ออกมาว่าเลดีฟลอร่าไม่ได้ตั ้งครรภ์แต่เป็ นเนื ้อร้ายใน<br />

ท้อง เลดี ฟลอร่าเป็ นหญิงสาวเก่าแก่ซึ ่งเป็ นพรรค<br />

การเมืองทอรี่ ด้วยเหตุเช่นนี ้แล้วจึงท าให้สมเด็จพระ<br />

ราชินีนาถวิกตอเรีย มีคะแนนชื่อเสียงตกต ่าลง<br />

Sir James Clark, Bt<br />

1840 Queen Victoria by Sir David Wilkie<br />

หน้าร้อน ค.ศ.1839 เกิดเหตุการณ์ที่ท าให้<br />

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย เสื่อมเสียชื่อเสียงลง<br />

โดยเหตุการณ์ที่เกิดคือการเสียชีวิตของสตรีสาวผู้ดี<br />

นาม เลดี ฟลอร่า เฮสติ้ง (Lady Flora Elizabeth<br />

Rawdon-Hastings;11 February 1806 – 5 July 1839)<br />

มีต าแหน่งเป็ นนางห้องพระบรรทม โดยสิ่งที่เกิดขึ ้น<br />

คือ เลดีฟลอร่าเกิดท้องโตขึ ้น(ลักษณะคล้ายคนมี<br />

ครรภ์) จึงเกิดการนินทากันในพระราชส านัก<br />

ปัญหำคู ่ครอง<br />

ค.ศ.1839 คนในพระราชวังเกิดปัญหา<br />

ถกเถียงกันเรื่องที่ว่าใครจะเป็ นคู่ครองของสมเด็จ<br />

พระราชินีนาถวิกตอเรีย ผู้ที่คู่ควรทางฝ่ ายมารดา<br />

ได้แก่ เจ้าชายอัลแบตหรืออัลเบิตโอรสองค์ที่ 2 ขอ<br />

งดยู๊กแอ้นซ์ หรือ เออเนส เจ้าผู้ครองนครซักส์-โค<br />

บวก-โกธา(Prince Albert of Saxe-Coburg and<br />

Gotha ,Francis Albert Augustus Charles Emmanuel;<br />

26 August 1819 – 14 December 1861)<br />

พอข่าวลือไปถึงหูของสมเด็จพระราชินีนาถ<br />

วิกตอเรีย สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียก็เชื่อ<br />

ในทันทีว่าตั ้งครรภ์ จึงสั่งให้แพทย์หลวงประจ าราช<br />

ส านัก เซอร์เจมส์คล้าก ตรวจเลดีฟลอร่า เซอร์เจมส์<br />

คล้าก(Sir James Clark, 1st Baronet, ;14 December<br />

1788 – 29 June 1870)เพียงแต่มองดูก็เขียนรายงาน<br />

ยืนยันว่าตั ้งครรภ์ เมื่อเลดีฟลอร่าอ่านรายงานแล้วก็ถึง<br />

แก่อับอายจนเสียชีวิต และ ได้เขียนหนังสือทิ้งไว้ว่า


Albert Portrait by Winterhalter, 1859<br />

ได้มีการส่งจดหมายถึงกันและกันระหว่าง<br />

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรีย และ เจ้าชายอัลเบต<br />

แห่งซักส์-โคบวก-โกธา และแล้ว สมเด็จพระราชินี<br />

นาถวิกตอเรีย ได้ทรงกระท าพิธีอภิเสกสมรสกับ<br />

เจ้าชายอัลเบตแห่งซักส์-โคบวก-โกธา ณ วิหาร<br />

หลวงในพระราชวังเซ็นต์เจมส์(St James's Palace)ใน<br />

วันที่ 10 กุมภาพันธ์ ค.ศ.1840<br />

สมเด็จพระราชินีนาถวิกตอเรียให้ประสูติ<br />

พระราชธิดาองค์แรก วันที่ 21 พฤศจิกายน ค.ศ.1840<br />

ได้รับพระราชมานนามว่า วิกตอเรีย และมีพระยศ<br />

เป็ น ปรินเซลรอยัล(Victoria Adelaide Mary Louisa;<br />

21 November 1840 – 5 August 1901) และ ในปี<br />

ต่อมาใน วันที่ 9 พฤศจิกายน ค.ศ.1841 ก็ได้ให้<br />

ประสูติพระราชโอรสพระองค์แรก พระราชประทาน<br />

ประนามว่า อัลเบิด เอ๊ดเวิด(Edward VII (Albert<br />

Edward; 9 November 1841 – 6 May 1910)) ตรัส<br />

เรียกเล่นๆว่า เบอตี ้ ด ารงพระยศเป็ น ปรินส์ออฟ<br />

เกรตบริเตนแอนด์ ไอร์แลนด์ ดยู๊กออฟคอนวอลล์<br />

เกรตสจ็วดออฟสก๊อตแลนด์ เอิลออฟแคริค บารอน<br />

เร็นฟริว ลอร์ดออฟดีไอลส์ เอิลออฟดับบลิน และ ดยู๊<br />

กออฟซักโซนี ปรินส์ออฟเวลส์ เอิลออฟเชสเตอร์<br />

ฯลฯ และทรงใช้พระนามว่า ลอร์ดเร็นฟริว เมื่อเสด็จ<br />

ประพาสแคนาดาและสหรัฐอเมริกาใน ค.ศ. 1861<br />

เป็ นต้น<br />

Marriage of Victoria and Albert<br />

painted by George Hayter<br />

Edward VII Portrait by Sir Luke Fildes, 1901


เมื่อวันที่12 พฤษภาคม ค.ศ. 1842 พระ<br />

ราชินีนาถโปรดให้มีบอลล์ หรืองานเต้นร าที่ใหญ่โต<br />

และหรูหราที่สุดที่กษัตริย์แห่งราชวงศ์ฮันโนเวอร์<br />

ทรงจัดให้มัขึ ้นที่ พระราชวังบั คกิงฮัม(Buckingham<br />

Palace) งานนี ้พระราชทานนามว่า Plantagenet Ball<br />

The Plantagenet Ball at Buckingham Palace<br />

สู ่อันตรำย<br />

หลังจากที่พระราชินีทรงอภิเษกสมรสกับ<br />

เจ้าชายได้ไม่นานนัก ก็ได้ถูกลอบยิงถึง 4 ครั ้ง ครั ้ง<br />

แรกโดยเด็กหนุ่มสติไม่สมประกอบคนหนึ ่งชื่อ<br />

เอ๊ดเวิดอ๊อกสฟอร์ด (Edward Oxford ;19 April 1822<br />

– 23 April 1900)<br />

ครั ้งที่ 3 ในวันที่3 กรกฎาคม ค.ศ. 1842<br />

ขณธที่พระราชินีประทับรถม้าพระที่นั่งคู่กับพระ<br />

เจ้าเลโอโปลด์ที่ 1 แห่งเบลเยี่ยมพระเจ้าน้าซึ ่งเสด็จมา<br />

ประทับอยู่เป็ นแขกเมืองก็มีเด็กขาพิการสติไม่<br />

สมประกอบชื่อจอนวิ-ลเลี่ยม บีน(John William<br />

Bean) พยายามจะปลงพระชนม์ด้วยปื น<br />

ครั ้งที่ 4 ขณะที่ประทับรถม้าพระที่นั่งกับ<br />

พระสวามี บริเวณเดียงกับครั ้งแรก ผู้ร้ายมีนามว่า<br />

จอนฟ-รานซิส(John Francis) ถูกตัดสินประหาร<br />

ชีวิต แต่ด้วยพระมหากรุณาธิคุณของพระราชินี<br />

ฟรานซิสไม่ถูกแขวนคอเพียงถูกส่งตัวไปกักไว้ที่<br />

ประเทศออสเตรเลย นอกจากนี ้ ครั ้งหนึ ่งมีคนบ้าชื่อ<br />

โจนส์แอบดอดเข้าไปอยู่ในพระราชวังบั คกิงฮัม เพื่อ<br />

จะจุดไฟเผาพระราชวังแต่ถูกจับได้<br />

John Francis<br />

Edward Oxford's attempt to assassinate Victoria,<br />

1840<br />

ค.ศ. 1843 เจ้าชายอัลเบิตทรงสังเกตุเห็นว่า<br />

พระราชวังมีการท างานที่ไม่เป็ นระเบียบอย่างมาก จึง<br />

ทรงรับอาสาพระราชินีเป็ นผู้ดูแลราชส านักไม่ให้<br />

หมดเปลืองโดยไม่จ าเป็ น ให้เลิกท าอะไรที่<br />

ประหลาดๆ และ ให้ผู้คนอยู่ในระเบียบ รับผิดชอบ<br />

ในหน้าที่แต่ละหน้าที่ของตน<br />

ครั ้งที่ 2 เป็ นวันหลังจากงานเต้นร าแฟนซี<br />

ในวันที่ 29 พฤษภาคม ค.ศ. 1842 มีคนร้ายเป็ นช่าง<br />

ไม้ชื่อจอนบาร์เล็ตต์(John Barrett)


วันที่ 28 มิถุนายน ค.ศ. 1843 พระญาติสนิทของพระ<br />

ราชินีนาถเจ้าหญิงออกัสต้า(Princess Augusta of<br />

Cambridge (19 July 1822 – 5 December 1916))<br />

พระธิดาองค์ใหญ่ของดยู๊กออฟเคมบริจ จะทรงเสก<br />

สมรสกับเจ้าชายเฟรเดอริก แกรนด์ดยู๊กแห่งเม๊<br />

กเล็นบวก-สเตรลิตซ์(Frederick William (17 October<br />

1819 – 30 May 1904)) พระราชินีโปรดเกล้าฯให้<br />

กระท าพิธี ณ พระราชวังบั คกิงฮัม<br />

พระราชินีทรงอภิเสกสมรสกับเจ้าชายมา<br />

ตั ้งแต่เดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 1840 มีพระราชธิดาปี<br />

แรก พระราชโอรสรัชทายาทปี่ 2 เจ้าฟ้าหญิงอลิส<br />

(Princess Alice of the United Kingdom ,Alice Maud<br />

Mary; 25 April 1843 – 14 December 1878)ในปี<br />

1843 และในปี ค.ศ.1844 ก็ทรงมีพระราชโอรสอีก<br />

พระองค์หนึ ่ง พระราชทานนามว่าอัลเฟรด((Alfred<br />

Ernest Albert; 6 August 1844 – 30 July 1900))<br />

Victoria's family in 1846 by Franz Xaver<br />

Winterhalter.<br />

Left to right: Prince Alfred and the Prince of Wales;<br />

the Queen and Prince Albert; Princesses Alice,<br />

Helena and Victoria<br />

พระราชกรณียกิจที่ส าคัญในปี 1844-1845<br />

คือการรับรองพระเจ้าแผ่นดินต่างประเทศเป็ นทาง<br />

ราชการ คือจักรพรรดิแห่งประเทศรัสเซีย พระเจ้า<br />

กรุงฝรั่งเศส และพระเจ้าแผ่นดินเมืองซักโซนี่การ<br />

รับแขกเมืองครั ้งนี ้กระท าให้มิตรภาพระหว่าง<br />

ประเทศเหล่านั ้นและประเทศอังกฤษแน่นแฟ้นขึ ้น<br />

ครั ้นถึงวันที่ 6 มิถุนายน ค.ศ. 1845 พระ<br />

ราชินีก็โปรดเกล้าฯให้มีงานเต้นร าหรืองานบอลล์<br />

ใหญ่ขึ ้นอีกวาระหนึ ่ง ณ พระราชวังบั คกิงฮัมงาน<br />

เต้นร าครั ้งนี ้พระราชทานนามว่า Powder Ball พระ<br />

ราชประสงค์ในการที่ทรงจัดงานเต้นร าอันมโห าร<br />

ครั ้งนี ้ ก็เพื่ออุดหนุนร้านค้าและสินค้าต่างประเทศ


เหตุกำรณ์ต่อมำ<br />

พระราชโอรสธิดาเพิ่มจ านวนจาก 4<br />

พระองค์ เป็ น 9 พระองค์ พระองค์ที่ 5 เป็ นหญิง<br />

พระราชทานนามว่า เฮลีนาวิกตอเรีย(Princess<br />

Helena of the United Kingdom ,Helena Augusta<br />

Victoria; 25 May 1846 – 9 June 1923) พระองค์ที่ 6<br />

เป็ นหญิง พระราชทานนามว่าหลุยส (Princess<br />

Louise, Duchess of Argyll, Louise Caroline Alberta;<br />

18 March 1848 – 3 December 1939) ประสูติพระ<br />

ราชโอรส พระราชทานนามว่าอาเธ่อร์(Prince<br />

Arthur, Duke of Connaught and Strathearn, Arthur<br />

William Patrick Albert; 1 May 1850 – 16 January<br />

1942) ประสูติพระราชโอรสอีกพระองค์หนึ ่งพระ<br />

ราชททานนามว่าเลโอโปลด์(Prince Leopold, Duke<br />

of Albany, Leopold George Duncan Albert; 7 April<br />

1853 – 28 March 1884) ค.ศ. 1857 จึงประสูติพระ<br />

ราชธิดาพระองค์สุดท้ายคือเจ้าฟ้าหญิงเบียทริส<br />

(Princess Beatrice of the United Kingdom, Beatrice<br />

Mary Victoria Feodore; later Princess Henry of<br />

Battenberg; 14 April 1857 – 26 October 1944)<br />

โปรดตั ้งแต่ขนบธรรมเนียม ประเพณี เครื่องแต่งกาย<br />

การเต้นร าจนกระทั่งเครื่องดนตรี<br />

ในปี 1844 พระราชินีได้ทรงเช่าบ้านบัล<br />

มอรัล ซึ ่งเป็ นบ้านเล็กๆอยู่ใกล้เบรมาร์ อยู่ในที่เปลี่ยว<br />

ของดีนเชียร์ในสก๊อตแลนด์ 4 ปี ภายหลังได้ทรงซื ้อ<br />

บ้านนั ้นและที่ดินใกล้บริเวณ โปรดให้รื ้อบ้านเก่า<br />

ออกเสียโปรดให้เจ้าชายทรงจัดการคิดแบบสร้าง<br />

ต าหนักขึ ้นใหม่ และให้ตบแต่งข้างในแต่จะทรง<br />

เห็นสมควร เจ้าชายเลยทรงจัดการให้สร้างต าหนัก<br />

ใหม่เป็ นแบบปราสาทสก๊อตโบราณ(Balmoral<br />

Castle) มีป้อมสูงร้อยฟุตสามารถเห็นวิวภูเขารอบ<br />

ข้าง และเห็นแม่น ้าดีด์ สร้างเสร็จใน ค.ศ. 1855<br />

Balmoral Castle<br />

เซอร์รอเบิตพีล(<br />

Sir Robert Peel, 2nd<br />

Baronet, 5 February 1788 – 2 July 1850) ได้แนะน า<br />

ให้พระราชินีทรงซื ้อที่ดินแห่งหนึ ่งที่ isle of Wight<br />

จึงโปรดเกล้าฯให้สร้างพระราชวังขึ ้นใน ค.ศ. 1846<br />

พระราชทานนามว่า Osborne ณ ที่นี่พระราชินีมัก<br />

เสด็จมาประทับในฤดูใบไม้ผลิและฤดูร้อน<br />

พระราชินีโปรดสก๊อตแลนด์มาก เพราะ<br />

เจ้าชายเป็ นผู้ที่โปรดความงามตามธรรมชาติ พระ<br />

ราชินีโปรดทั ้งภูมิประเทศและพลเมืองของเขา


หลังจากที่ได้เสด็จไปเปิ ด อัลเบิตด๊อก(albert dock)<br />

ที่เมืองลิเวอพูลแล้วเจ้าชายทรงมีความคิดที่จะจัดให้มี<br />

การแสดงสรรพสินค้าและศิลป์ ขึ ้นในกรุงลอนดอน<br />

เรียกว่า The Great Exhibition ซึ ่งจะก่อสร้างอาคาร<br />

ชั่วคราวขึ ้นที่ไฮดป๊ าร์ก พระราชินีได้เสด็จพระราช<br />

ด าเนินไปทรงกระท าพิธีเปิ ด The Great Exhibition<br />

ซึ ่งเจ้าชายทรงจัดให้มีขึ ้นที่คริสตัลแพเลส(Crystal<br />

Palace)ณ ไฮดป๊ าร์ก<br />

หลังการนั ้นไม่นานก็เกิดสงครามไครเมีย<br />

(The Crimean War)ขึ ้น ระหว่างรัสเซียข้างหนึ ่ง กับ<br />

ตุรกีและสัมพันธมิตรของตุรกีคืออังกฤษ ฝรั่งเศส<br />

และชาติเนียร์อีกข้างหนึ ่ง ผู้ที่ทราบพงศวดารตอนนี ้<br />

คงจะจ าได้ว่าฝ่ ายรัสเซียแพ้ เซบัสโตโพลที่มั่นของ<br />

รัสเซียถูกตีแตก ลงนามในสัญญาสงบศึกกันที่กรุง<br />

ปารีสใน ค.ศ. 1856 แต่ฝ่ ายชนะไม่ได้ประโยชน์<br />

อะไรนักจากชัยชนะครั ้งนั ้น<br />

The Crystal Palace in Hyde Park, London, in 1851.<br />

เมื่อในวันที่ 1 พฤษษภาคม ค.ศ. 1851 งาน<br />

นี ้เป็ นผลส าเร็จอย่างดีมากต้องเปิ ดอยู่จนเดือนตุลาคม<br />

จึงย้ายสิ่งก่อสร้างชั่วคราวนั ้นไปที่ Sydenham เงิน<br />

ก าไรที่ได้ใช้ในการซื ้อที่ดินที่เซาวท์เคนชิงตัน<br />

ส าหรับสร้างพิพิธภัณฑ์ถาวร(พิพิธภัณฑ์วิกตอเรีย<br />

และอัลเบิตในปัจจุบัน) ต่อไปก็ขยายให้มีโรงเรียน<br />

ส่งเสริมศิลปะ<br />

Crimean War<br />

The Great Exhibition 1851


ตอนหนึ ่งทั ้งฝ่ ายอังกฤษและฝ่ ายปรัสเซียมีความเห็น<br />

ว่าความสัมพันธ์ระหว่างประเทศทั ้ง 2 ไม่สู้จะแน่น<br />

แฟ้นนัก วิธีแก้คือ จัดให้เจ้านายในราชวงศ์ทั ้ง 2 เป็ น<br />

ทองแผ่นเดียวกัน คือให้พระเจ้าหลานเธอของ<br />

กษัตริย์ปรัสเซีย ทรงกระท าพิธีเสกสมรสกับพระธิดา<br />

พระองค์ใหญ่ของพระราชินีนาถอังกฤษ<br />

ตอนนั ้นเจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรีย ปรินเซสรอยัล<br />

มีพระชันษายังไม่ถึงสิบห้าปี แต่เมื่อเจ้าชายฟรีดริช<br />

วิลเฮล์ม โอรสเจ้าฟ้าวิลเลี่ยมพระราชอนุชารองจาก<br />

พระเจ้าเฟรเดอริกวิลเลี่ยมที่ 4 กษัตริย์รัสเซียใน<br />

ขณะนั ้น ซึ ่งเป็ นชายหนุ่มพระชันษา 24 เสด็จมา<br />

ประทับเป็ นแขกของพระราชินีนาถวิกตอเรียอยู่ที่<br />

ปราสาทบัลมอรัลสก๊อตแลนด์ไม่นาน ก็มีประกาศ<br />

หมั ้นขึ ้นระหว่างเจ้านายทั ้ง 2 พระองค์ พอปรินเซ<br />

สรอยัลมีพระชันษาได้ 17 ปี ทาง ปรัสเซียก็<br />

ตระเตรียมการจะให้ปรินเซสรอยัลเสด็จข้ามไปทรง<br />

กระท าพิธีเสกสมรสกับเจ้าชายซึ ่งเป็ นพระเจ้าหลาน<br />

เธอของกษัตริย์ของ ณ กรุงเบอร์ลิน<br />

พระราชินีนาถวิกตอเรีย ได้ทรงทราบข่าวว่า<br />

เขาเตรียมการเช่นนั ้น ก็กริ้วยิ่งนักมีลายพระหัตถ์ถึง<br />

เสนาบดีว่าการต่างประเทศของพระองค์ให้น าความ<br />

ไปบอกราชทูตปรัชเซียประจ าราชส านักอังกฤษโดย<br />

ด่วนว่า ปรินเซสรอยัลจะไม่เสด็จข้ามไปทรงกระท า<br />

พิธีเสกสมรสที่เบอร์ลินเป็ นอันขาด ควรที่เจ้าชายเฟร<br />

เดอริกวิลเลี่ยมจะต้องเสด็จมาลอนดอนต่างหาก<br />

เจ้าชายเฟรเดอริกวิลเลี่ยมแห่งปรัสเซีย เสด็จ<br />

ข้ามมาอังกฤษเพื่อประกอบพิธีมงคลสมรสกับปริน<br />

เซ-สรอยัล ณ วิหารหลวง พระราชวังเซ็นต์เจมส์ ใน<br />

วันที่ 25 มกราคม ค.ศ. 1858<br />

Victoria's wedding, by John Phillip<br />

เมื่อเสร็จพระราชพิธีแล้ว ก็มีงานใหญ่ฉลอง<br />

บังเอิญเวลานั ้นเป็ นเวลาที่คณะราชทูตไทย มีราชทูต<br />

3 คน และหม่อมราโชทัยล่ามหลวง อัญเชิญพระราช<br />

สาส์นและเครื่องราชบรรณาการจากพระบามสมเด็จ<br />

พระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและพระบาทสมเด็จพระปิ่ น<br />

เกล้าเจ้าอยู่หัว ไปเจริญทางพระราชไมตรีตอบแทน<br />

พระราชินีนาถวิกตอเรีย ยังอยู่ในลอนดอน จึงได้รับ<br />

พระราชทานเชิญมาในงานนี ้ด้วย มีการแต่งกลอน<br />

เป็ น นิราศลอนดอน ของหม่อมราโชทัย เล่าเรื่องพระ<br />

ราชพิธีมงคลสมรสระหว่างเจ้าชายเฟรเดอริกวิลเลี่ยม<br />

แห่งรัสเซีย และปรินเซสรอยัลแห่งประเทศอังกฤษ<br />

อันเจ้าฟ้าหญิงวิกตอเรียปรินเซสรอยัลนี ้<br />

เมื่อทรงเสกสมรสกับเจ้าชายเฟรเดอริกวิลเลียม ซึ ่ง<br />

ภายหลังทรงเลื่อนพระยศเป็ นเจ้าฟ้าพระยุพราช<br />

แห่งปรัสเซีย เมื่อพระบิดาขึ ้นครองราชย์ต่อจากพระ<br />

เชษฐาและเสด็จไปประทับเมืองรัสเซียหรือปรูชา<br />

ตามที่หม่อมราโชทัยเล่าในนิราศลอนดอนแล้ว ต่อมา<br />

ปรินเซสรอยัลก็ได้ด ารงพระยศเป็ นไกเซอรินคือเอม<br />

เพรสหรือจักรพรรดิราชินีนาถแห่งประเทศเยอรมัน<br />

พระสวามีทรงราชย์เป็ นพระเจ้าจักรพรรดิหรือไก<br />

เซอร์เฟรเดอริกที่ 3 ต่อจากพระราชบิดาพระเจ้าวิ<br />

ลเลี่ยม 1 ราชวงศ์ อังกฤษกับราชวงศ์เยอรมันจึงเกี่ยว<br />

ดองกันสนิทสนมด้วยประการฉะนี ้


ในปี 1860 เมื่อเจ้าฟ้าหญิงอลิส พระราช<br />

ธิดาพระองค์ที่ 2 ทรงมีพระชนมายุได้ 17 ปี ก็ได้ทรง<br />

พบกับชายหนุ่มผู้หนึ ่งมีนามว่าหลุยส์(Louis IV<br />

(Friedrich Wilhelm Ludwig Karl) (12 September<br />

1837 – 13 March 1892))ในราชส านัก ชายหนุ่มผู้นี ้<br />

เป็ นเจ้าราชบุตรของแกรนดยู๊กผู้ครองนครเฮสส์<br />

John Bowring in 1826<br />

เมื่อ ค.ศ.1855 พระราชินีนาถวิกตอเรียได้ส่ง<br />

พระราชสาส์นและเครื่องราชบรรณาการที่มีค่ายิ่งให้<br />

ราชทูตอังกฤษเซอร์จอนบาวริง(Sir John Bowring,<br />

พระยาสยามมานุกูลกิจ สยามมิตรมหายศ,17 October<br />

1792 – 23 November 1872)อัญเชิญมาถวาย<br />

พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทั ้ง 2 พระองค์ที่<br />

กรุงเทพฯ เป็ นการเจริญทางพระราชไมตรี อีกราว 2<br />

ปี ต่อมา พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวและ<br />

พระบาทสมเด็จพระปิ่ นเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ<br />

ให้ราชทูตไทยอัญเชิญพระราชสาส์นและเครื่องราช<br />

บรรณาการไปถวายพระราชินีนาถแห่งกรุงอังกฤษ<br />

เป็ นการตอบแทนพระราชไมตรี ซึ ่งในระหว่างที่<br />

เดินทางได้มีการกล่าวในพงศาวดารว่า วันที่ 14<br />

พฤศจิกายน ค.ศ. 1857 ข่าวราชส านักของอังกฤษ<br />

ประกาศว่า การรับทูตของไทยต้องเลื่อนไป เนื่องด้วย<br />

การสิ้นพระชนม์ของดัชเชสเดอเนมูร์ส์<br />

ในปี 1856-58 อังกฤษรบกับจีน และต้องส่ง<br />

ทหารไปปราบกบฏที่อินเดียเนืองๆ จนถึงปี 1858 จึง<br />

โอนการปกครองประเทศอินเดียจากบริษัทอินเดีย<br />

ตะวันออกมาเป็ นของรัฐบาล พระราชินีนาถจึงด ารง<br />

พระยศเป็ นพระราชินีนาถแห่งประเทศอินเดียด้วย<br />

เมื่อเจ้าชายหลุยส์แห่งเฮสส์ได้<br />

ทอดพระเนตรเห็นกุหลาบแรกแย้มของพระราชวัง<br />

วินด์เซอร์เป็ นครั ้งแรก ก็พอพระทัยนักยิ่งได้ทรงรู้จัก<br />

มักคุ้น ก็ยิ่งต้องพระอัธยาศัย จึงพยายามเลียบเคียงหา<br />

โอกาสคุยกับเจ้าหญิงตามล าพัง<br />

เจ้าชายอัลเบิตทอดพระเนตรเห็นท่าทีของ<br />

เจ้าชายหนุ่มก็เข้าพระทัยทันที ทรงเห็นว่าเจ้าชาย<br />

หลุยส์ผู้นี ้ มีตระกูลสูงพอสมควรกับพระราชธิดา<br />

พระองค์ที่ 2 จึงโปรดให้สืบประวัติส่วนพระองค์ของ<br />

เจ้าชาย ได้ความเป็ นที่พอพระทัย แล้วก็ลองรับสั่ง<br />

เลียบเคียงถามเจ้าชายหลุยส์ถึงเจ้าฟ้าหญิงอลิสอยู่<br />

เสมอ วันหนึ ่งเจ้าชายอัลเบิตเดินสวนทางกับเจ้าชาย<br />

หลุยส์ เจ้าชายอัลเบิตได้ให้ก าลังใจแก่เจ้าชายหลุยส์<br />

ในคืนนั ้นเองเจ้าชายหลุยส์และเจ้าฟ้าหญิงอลิสก็ได้<br />

ท าการหมั ้นกัน<br />

Princess Alice in 1861


Alice with Louis and two of their children –<br />

Princess Victoria and Princess Elizabeth in 1866–67<br />

อันเจ้าชายหลุยส์แห่งเฮสส์ซึ ่งต่อมาไม่นาน<br />

ก็ได้ทรงเสกสมรสกับเจ้าฟ้าหญิงอลิสนี ้ ภายหลังได้<br />

ด ารงพระยศเป็ นแกรนด์ดยู๊กหลุยส์ที่ 4 ผู้ครองนคร<br />

เฮสส์<br />

แกรนด์ดยู๊กหลุยส์กับแกรนด์ดัชเชสอสิสมี<br />

พระโอรสธิดา 6 องค์ องค์หนึ ่งสิ้นพระชนม์ตั ้งแต่<br />

ทรงพระเยาว์ ที่เหลือ 5 องค์เป็ นองค์ชายองค์เดียว<br />

ทรงนามว่าเออเนสหลุยส์ ซึ ่งภายหลังเป็ นแกรนด์<br />

ดยู๊กผู้ครองนครเฮสส์ต่อจากพระบิดา อีก 4 องค์เป็ น<br />

หญิงทั ้งสิ้นคือ<br />

Photograph by Alexander Bassano, c. 1878<br />

1. เจ้าหญิงวิกตอเรียอลิส( Princess Victoria<br />

of Hesse and by Rhine, later Victoria Mountbatten,<br />

Marchioness of Milford Haven (Victoria Alberta<br />

Elisabeth Mathilde Marie; 5 April 1863 – 24<br />

September 1950)) ทรงเสกสมรสกับเจ้าชายหลุยส์<br />

แห่งบัตเตินแบร์ก(Admiral of the Fleet Louis<br />

Alexander Mountbatten, 1st Marquess of Milford<br />

Haven, formerly Prince Louis Alexander of<br />

Battenberg, 24 May 1854 – 11 September 1921)<br />

เจ้าชายหลุยส์กับเจ้าหญิงวิกตอเรียอลิสมีโอรสธิดา<br />

ด้วยกันอย่างละคู่โอรสองค์โตนามจอช(Captain<br />

George Louis Victor Henry Serge Mountbatten, 2nd<br />

Marquess of Milford Haven, 6 December 1892 – 8<br />

April 1938) อีกองค์หนึ ่งนามหลุยส์เมาวนแบตเทิ่น<br />

(Admiral of the Fleet Louis Francis Albert Victor<br />

Nicholas Mountbatten, 1st Earl Mountbatten of<br />

Burma, Prince Louis of Battenberg; 25 June 1900 –<br />

27 August 1979) ธิดาทั ้ง 2 องค์ องค์หนึ ่งนามหลุยส์<br />

(Louise Alexandra Marie Irene Mountbatten,<br />

Princess Louise of Battenberg; 13 July 1889 – 7<br />

March 1965) ทรงอภิเสกสมรสกับพระเจ้ากุสตา<br />

ฟอดอฟที่ 6 แห่งสวีเดน(Gustaf VI Adolf ,Oscar<br />

Fredrik Wilhelm Olaf Gustaf Adolf; 11 November<br />

1882 – 15 September 1973) ทรงเป็ นพระราชินีแห่ง<br />

ประเทศสวีเดน อีกองค์หนึ ่งทรงนามว่า อลิส<br />

(Princess Alice of Battenberg ,Victoria Alice<br />

Elizabeth Julia Marie; 25 February 1885 – 5<br />

December 1969) ทรงเสกสมรสกับเจ้าชายแอนดรู<br />

แห่งกรีส(Prince Andrew of Greece and Denmark; 2<br />

February 1882– 3 December 1944) มีธิดา 4 องค์<br />

โอรสหนึ ่งองค์คือเจ้าชายฟิ ลิปดยู๊กออฟเอดินเบรอะ<br />

(Prince Philip, Duke of Edinburgh,born Prince<br />

Philip of Greece and Denmark, 10 June 1921-<br />

Present) พระราชสวามีของพระราชินีนาถเอลิซะเบธ<br />

ที่ 2 แห่งประเทศอังกฤษ(Elizabeth II ,Elizabeth<br />

Alexandra Mary;21 April 1926-Present)


14 August 1862 – 20 April 1929) พระราชโอรสไก<br />

เซอร์เฟรเดอริกที่ 3<br />

Grand Duchess Elizabeth Feodorovna of Russia<br />

2. เจ้าหญิงเอลิซะเบธ( Princess Elisabeth of<br />

Hesse and by Rhine, Grand Duchess Elizabeth<br />

Feodorovna of Russia, Elizabeth Feodorovna<br />

Romanova; 1 November 1864 – 18 July 1918) ทรง<br />

เสกสมรสกับแกรนด์ดยู๊กเชอกิอุสแห่งรัสเซีย(Grand<br />

Duke Sergei Alexandrovich of Russia; May 11,<br />

1857 – February 17, 1905) ถูกปลงพระชนม์เมื่อเกิด<br />

กบฏนองเลือดของบอลเชวิก(bolshevik revolution)<br />

ในเดือนกันยายน ค.ศ.1918<br />

Princess Irene of Hesse and by Rhine during her<br />

youth<br />

4. ทรงนามว่าอเล็กซานดรา( Alexandra<br />

Feodorovna; 6 June 1872 – 17 July 1918) ภายหลัง<br />

เติมเฟโอโดโรวนาท้ายพระนาม แต่เรียกกันว่าอลิกส์<br />

ทรงอภิเสกสมรสกับพระเจ้าซาร์นิโคลัสที่ 2 แห่ง<br />

รัสเซีย(Nicholas II or Nikolai II, Nikolay<br />

Alexandrovich Romanov; 18 May 1868 – 17 July<br />

1918))<br />

Bolshevik forces marching on the Red Square<br />

3. ทรงนามไอรีน( Princess Irene of Hesse<br />

and by Rhine ,Irene Luise Marie Anne, Princess of<br />

Hesse and by Rhine, 11 July 1866 – 11 November<br />

1953) ทรงเสกสมรสกับเจ้าฟ้าชายเฮนรี่แห่งปรัสเซีย<br />

(Prince Henry of Prussia ,Albert Wilhelm Heinrich,<br />

Alexandra Feodorovna, 1908


The Russian Imperial Family, 1913.<br />

พระเจ้าซาร์กับซารีน่าอลิกส์มีพระราชธิดา<br />

4 พระองค์ก่อนจึงมีพระราชโอรสเป็ นทายาท ทรง<br />

พระนามว่า แกรนด์ดยู๊กอเล็กซิส(Alexei<br />

Nikolaevich; 12 August 1904 – 17 July 1918) ด ารง<br />

พระยศเป็ นซาระวิชคือพระยุพราช ซาระวิชเป็ นเด็กที่<br />

อ่อนแอมาก เพราะพระโรคและความอ่อนแอของ<br />

พระราชโอรส ซารีน่าผู้ที่รักและเป็ นห่วงพระโอรส<br />

ยิ่งนัก เลยตกอยู่ใต้อ านาจของรัสปุติน(Grigori<br />

Yefimovich Rasputin 21 January 1869 – 30<br />

December 1916) ชาวนาซึ ่งเรียกตนเองว่า ผู้วิเศษ<br />

รักษาซาระวิชด้วยการสะกดดวงจิตร<br />

Rasputin in 1916<br />

ขณะที่เกิดสงครามโลกใหม่ๆ<br />

ภายในประเทศก าลังเกิดการระส ่าระสาย แต่พระเจ้า<br />

ซาร์ก็มิได้ทรงแก้ไข ซารีน่าใฝ่ พระทัยอยู่เพียงแต่การ<br />

รักษาพระราชโอรสด้วยการให้รัสปุตินสะกดดวง<br />

จิตร เมื่อเกิดกบฏบอลเชวิกขึ ้นใน ค.ศ. 1918 พระเจ้า<br />

ซาร์จึงถูกพวกกบฏจับพระองค์ได้และน าพระองค์ไป<br />

ขังไว้พร้อมด้วยซารีน่า ซาระวิชและพระราชธิดาทั ้ง<br />

4 จนกระทั ้งคือที่ 16 กรกฎาคม จึงมีผู้มาปลุกบรรทม<br />

ให้ลุกขึ ้นเสด็จลงไปในห้องเก็บของใต้ดิน แล้วก็ถูก<br />

พวกกบฏยิงทะลุพระเศียรสิ้นพระชนม์ต่อพระพักตร์<br />

พระมเหษี และพระราชโอรสธิดาทั ้ง 5 ครั ้นแล้วองค์<br />

อื่นๆ ก็ถูกปลงพระชนม์ที่ละองค์ ที่ละองค์ ต่อไป<br />

พวกกบฏก็น าศพทั ้ง 7 ไปกองไว้กับพื ้นดินตรงที่<br />

เปลี่ยว ไม่ไกลจากเมือง Ekaterinburg ใช้น ้ามัน<br />

เบนซินราดแล้วจุดไฟเผาไหม้เป็ นจุณไป หลังจากที่<br />

ได้ปลงพระชนม์พระเจ้าซาร์ พระมเหสีและพระราช<br />

โอรสธิดาของท่านใน ค.ศ. 1918 แล้วราชอาณาจักร<br />

รัสเซียก็เลยกลายเป็ นโซเวี-ยตรัสเซีย ประเทศบอลเช<br />

วิกหรือคอมมูนิสต์<br />

ในระหว่างเวลา 20 ปี ที่เจ้าชายอัลเบิตอยู่ใน<br />

ราชส านักในฐานะเป็ นพระสวามีของพระราชินีนาถ<br />

เหตุการณ์ในประเทศอังกฤษก็เปลี่ยนแปลงไปต่างๆ<br />

รัฐบาลเปลี่ยนใหม่หลายครั ้งอัครมหาเสนาบดีต่อจาก<br />

ลอร์ดเมลบ้อร์น(William Lamb, 2nd Viscount<br />

Melbourne; 15 March 1779 – 24 November 1848)<br />

คือเซอร์รอเบิตฟิ ล ต่อมาก็ลอร์ดจอนรัสเซิลล์(John<br />

Russell, 1st Earl Russell, 18 August 1792 – 28 May<br />

1878) ลอร์ดดาบี ้(Edward George Geoffrey Smith-<br />

Stanley, 14th Earl of Derby; 29 March 1799 – 23<br />

October 1869) ลอร์ดอะเบอดีน(George Hamilton-<br />

Gordon, 4th Earl of Aberdeen; 28 January 1784 –<br />

14 December 1860) แล้วก็ลอร์ดปาเมอสตัน(Henry<br />

John Temple, 3rd Viscount Palmerston; 20 October<br />

1784 – 18 October 1865)


จำกกันทั ้งรัก<br />

เมื่อ ค.ศ. 1857 พระราชินีมีพระราชเสาวนีย์<br />

ให้ทางราชการประกาศตั ้งเจ้าชายเป็ น ปรินส์คอน<br />

สอต ซึ ่งก็มิได้กระท าให้เจ้าชายทรงยินดียินร้ายอะไร<br />

นัก คงประทับพระขนองโกงท างานหนักเกินพระ<br />

ก าลังอยู่เรื่อยๆ<br />

พอถึงปลายเดือนพฤศจิกายน ซึ ่งเริ่มต้น<br />

หนาวจัด ฝนตกพร าๆตลอดวันตลอดคืน แต่เจ้าชายก็<br />

เสด็จร าฝนไปที่แซนด์เฮิสเพื่อทอดพระเนตรตึกที่เขา<br />

สร้างใหม่ส าหรับนักเรียนนายร้อยตาม<br />

หมายก าหนดการ<br />

เป็ นผู้เขียน ถ้าส่งค าสั่งนั ้นไปถึงอเมริกา ก็จะต้องเกิด<br />

สงครามเป็ นแน่แท้ พระราชินีทรงขอให้เจ้าชายออก<br />

ความเห็น เจ้าชายทรงสดับข้อความโดยตลอดก็มี<br />

ความเห็นทันทีว่า ถ้าเขียนค าสั่งใหม่ โดยเปลี่ยนค า<br />

บางค าประโยคบางประโยคเท่านั ้น ถึงแม้จะใช้<br />

ใจความเก่า แต่ก็จะเลี่ยงสงครามได้ อังกฤษไม่ต้อง<br />

เข้าไปวุ่นวายรบกับรัฐบาลของลินคอล์นที่อเมริกา<br />

ในคืนนั ้นเองเจ้าชายก็ฝื นเขียนจดหมายจนเสร็จท าให้<br />

อาการประชวรหนักกว่าเดิม<br />

หลังจากวันที่เสด็จไปแซนด์เฮิสเพียง 3 วัน<br />

เนื่องด้วยพระยุพราชซึ ่งเสด็จไปทรงศึกษาอยู่ ณ ที่<br />

นั ้นตั ้งแต่ปี ก่อน ทรงท าเหตุวุ่นวายขึ ้น<br />

เมื่อเจ้าชายเสร็จพระธุระที่เคมบริจเรียบร้อย<br />

แล้วก็เสด็จกลับวินด์เซอร์ แต่เคราะห์ร้ายโดนฝน<br />

กว่าจะถึงที่ประทับก็รู้สึกครั ้นพระองค์เหมือนจะ<br />

ประชวรไข้หวัดผสมกับพระโรคเดิมคือรูมาติซั่ม<br />

อ่อนเพลีบและบรรทมนอนไม่หลับ<br />

ระหว่างที่เจ้าชายทรงพักผ่อนอยู่เงียบๆ<br />

สงครามภายในได้ระเบิดขึ ้นในอเมริการะหว่างรัฐ<br />

ทางเหนือและทางใต้(The Trent Affair) ดูคล้ายๆกับ<br />

ว่าอังกฤษซึ ่งไม่ได้ใคร่ถูกกับรัฐทางเหนือนัก ก าลัง<br />

จะถูกทางใต้ดึงไปเข้าสงครามช่วยทางใต้รบกับทาง<br />

เหนือด้วย เสนาบดีว่าการต่างประเทศคือลอร์ด<br />

จอนรัสเซิลล์ ได้ส่งค าสั่งที่จะมีไปถึงราชทูตอังกฤษที่<br />

อเมริกามาถวายทอดพระเนตร ขอความทรง<br />

เห็นชอบด้วยก่อน พระราชินีทอดพระเนตรค าสั่งก็<br />

ทรงทราบทันทีว่าลอร์ปาเมอสตัน อัครมหาเสนาบดี<br />

Photograph by J. J. E. Mayall, 1860<br />

พระอาการประชวรของเจ้าชายออกจะเป็ น<br />

ที่ห่วงใยและวิตกของคนทั่วไป โดยเฉพาะรัฐบาล<br />

คณะเสนาบดีก็ประชุมกันตกลงมอบให้ลอร์ดปา<br />

เมอสตันมีจดหมายทูลพระราชินีขอให้มีการประชุม<br />

แพทย์ แต่หมอคล้ากทูลแนะพระราชินีว่า ไม่จ าเป็ น<br />

พระราชินีก็ทรงเห็นว่า ไม่จ าเป็ น ตามหมอ


แต่เจ้าฟ้าหญิงอลิสทรงเห็นว่ามีความจ าเป็ น<br />

อย่างยิ่ง จึงวิงวอนพระราชมารดาขอให้มีการประชุม<br />

แพทย์ การประชุมแพทย์จัดขึ ้นในวันที่ 12 ธันวาคม<br />

ณ พระราชวังวินด์เซอร์ นายแพทย์เซอร์เฮนรี่<br />

ฮอลแลนด์(Sir Henry Holland, 1st Baronet; 27<br />

October 1788 – 27 October 1873)และนายแพทย์<br />

ทอมัสวัตสัน(Sir Thomas Watson, 1st Baronet; 1792<br />

– 11 December 1882) ได้รับเลือกเข้ามาช่วยหมอ<br />

ตรวจพระอาการเจ้าชาย<br />

Sir Thomas Watson<br />

Sir Henry Holland<br />

ด้วยความที่หมอคล้ากมีความมั่นใจใน<br />

ตัวเองสูง คิดว่าพระอาการของเจ้าชายเป็ นเพียงแค่<br />

ไข้หวัด ท าให้ไม่ได้ท าการรักษาตั ้งแต่เริ่มแรก<br />

แพทย์ทั ้งสองเมื่อได้ตรวจพระอาการของ<br />

เจ้าชายโดยตลอดแล้ว นายแพทย์ทั ้งสองต่างมี<br />

ความเห็นพ้องกันว่าอาการหนักเกินกว่าเขาคิดไว้และ<br />

ตามรายงานแพทย์หลวงประจ าวันให้เขาได้อ่านทุก<br />

วันมาก<br />

พระโรคของเจ้าชายที่รายงานของหมอ<br />

คล้ากเรียกเพียง ไข้พระนาภีเสีย นั ้น แพทย์ทั ้ง 2<br />

แน่ใจว่าเป็ นถึง ไข้ไทฟอย นายแพทย์ทั ้งสองรู้ตัวว่า<br />

เขามาช้าเกินไปมากไม่มีหนทางจะเยียวยาเลย<br />

ดูบรรทมนิ่ง สงบ ทลงคิดว่าบางทีความร้ายแรงของ<br />

โลกอาจจะผ่านพ้นไปแล้ว แต่แล้วตอนบ่ายพระ<br />

อาการก็กลับหนักขึ ้นมาอีก<br />

พระราชินีทรงมีพระราชเสาวนีย์ให้พระ<br />

ยุพราชซึ ่งประทับอยู่ที่ Cambridge รีบเสด็จกลับมา<br />

วินด์เซอร์โดยด่วน เมื่อพระยุพราชเสด็จมาถึง พระ<br />

ราชินีก็รับสั่งให้หาพระราชโอรสพระราชธิดาทุก<br />

พระองค์ ให้เข้ามาเฝ้าทูลลาพระบิดาเป็ นครั ้งสุดท้าย<br />

แต่แล้วในตอนกลางคืนวันเดียวกันนั ้นเอง<br />

เวลาราว 4 ทุ่มครึ ่ ง พระราชินีก็ทอดพระเนตรเห็น<br />

ทันทีว่ามีการเปลี่ยนแปลงขึ ้นในอาการของเจ้าชาย<br />

จึงรีบเสด็จเข้ามาพบพระชานุอยู่ติดกับพระแท่น พระ<br />

เนตรจ้องพระราชสวามีจนแทบลืมกระพริบ ขณะที่<br />

เจ้าชายหายพระทัยแรงขึ ้นแล้วก็ค่อยๆเบาลง จนใน<br />

ที่สุดหยุดนิ่งประพัฒน์กลายเป็ นหน้ากาก พระราชินี<br />

ก็ส่งพระสุรเสียงร้องกรี ดออกมาอย่างอดไม่ไหว พระ<br />

สุรเสียงของพระราชินีดังหวีดแหลมก้องจนท าให้เกิด<br />

เสียงสะท้อนไปทั่วทั ้งปราสาทหินโบราณที่ใหญ่<br />

มหึมา<br />

ครั ้นแล้วพระราชินีก็ทรงทราบและเข้าผัด<br />

ไทยความจริงที่แสนจะร้ายกาจ ที่แสนจะเชือดเฉือน<br />

พระราชหฤทัย ให้เจ็บปวดร้าวยิ่งไปกว่าถูกคมหอก<br />

คมดาบว่าเจ้าชายสิ้นพระชนม์เสียแล้ว เวลา 4 ทุ่ม 45<br />

นาทีวันที่ 14 ธันวาคม ค.ศ. 1861 รวมพระชนมายุได้<br />

เพียง 42<br />

ในตอนเช้าวันที่ 14 ธันวาคมพระราชินีทรง<br />

มีความรู้สึกว่า พระราชสวามีทรงค่อยยังชั่วขึ ้น เพราะ


มืดมน<br />

หลังจากวันที่เจ้าชายสิ้นพระชนม์ พระ<br />

ราชินีแต่งพระองค์ด ามืดไปทางพระองค์จนสิ้น<br />

รัชกาล ทรงพระมาลาแม่หม้าย มีผ้าด าหรือขาวคุม<br />

พระเศียร เลิกทรงกี าทุกชนิด เลิกกระท าพระองค์<br />

อย่างเดิม ทรงพระสรวล ไม่ทรงยอมพบใครนอกจาก<br />

พระราชโอรสธิดา พระญาติสนิทบางพระองค์<br />

เลขานุการของเจ้าชาย นางพระก านัลและข้าราช<br />

ส านัก หรืออย่างดีก็เสนาบดีที่มีธุระส าคัญต้องเข้าเฝ้า<br />

นอกจากนั ้นแล้วไม่เสด็จออกให้ใครได้เห็นเลย งาน<br />

แม้ว่าจะเป็ นราชพิธีก็ดี รัฐพิธีก็ดี ไม่เสด็จเกือบทั ้งสิ้น<br />

ให้พระยุพราชทรงกระท าหน้าที่แทนพระองค์<br />

Victoria photographed by J. J. E. Mayall, 1860<br />

โคกเป็ นพวงรอบพระองค์ ซ ้าพระราชินียังทรงถือ<br />

พระรูปเจ้าชายไว้ให้เห็นอีกด้วย<br />

พระราชินีได้มีพระราชเสาวนีย์มิให้มีการ<br />

เปลี่ยนแปลงห้องส่วนพระองค์ของเจ้าชายเลย เคยอยู่<br />

อย่างไรก็ให้เก็บไว้อย่างนั ้นตลอดเวลาที่พระราชินี<br />

ทรงมีพระชนม์อยู่<br />

เมื่อพระราชินีจะทรงลงพระปรมาภิไธยใน<br />

หนังสือราชการที่ส าคัญก็มักหันไปท ารูปปั ้ นครึ ่ งองค์<br />

ของเจ้าชายซึ ่งตั ้งอยู่ใกล้พระองค์ว่า ทรงเห็นด้วยไหม<br />

ยอดรัก ก่อนแล้วจึงจะยอมลงพระปรมาภิไธย<br />

ทั ้งทั ้งที่พระราชินีทรงเศร้าโศกแล้วหลบคน<br />

ไม่เสด็จไปไหนหรือเกี่ยวข้องกับความเป็ นไปนอก<br />

พระราชวัง แต่ก็ไม่ได้ละทิ้งหน้าที่ของพระองค์เลย<br />

ตรงกันข้าม กับทรงท างานหนักไปกว่าเดิมทีเพราะ<br />

ต้องท าพระองค์เดียวไม่มีเจ้าชายคอยช่วยถวาย<br />

ค าแนะน าอีกแล้ว แต่กระนั ้นพระราชินีก็ทรงกระท า<br />

ราชการงานเมืองไม่บกพร่อง ทรงทราบเรื่องราวและ<br />

การเป็ นไปทั ้งภายในและภายนอกประเทศอย่าง<br />

กว้างขวางและถี่ถ้วน เพราะทรงฟังรายงานและฟัง<br />

ความเห็นของเสนาบดีหรือคนอื่นๆอยู่เสมอ<br />

เจ้าฟ้าหญิงอลิส พระราชธิดาองค์ที่ 2 ที่ทรง<br />

หมั ้นไว้กับเจ้าชายหลุยส์ออฟเฮสส์ ครั ้นถึงก าหนดที่<br />

จะต้องทรงเสกสมรส ในหน้าร้อน 6 เดือนเศษ<br />

หลังจากที่พระบิดาสิ้นพระชนม์นั ้นเองคือในวันที่ 1<br />

กรกฎาคม ค.ศ. 1861<br />

ภายหลังพระราชพิธี พระราชินีทรงยอม<br />

ประทับถ่ายภาพร่วมกับคู่สมรสด้วย ทุกพระองค์ทรง<br />

สีด าอย่างทุกข์หนัก มีพระราชินีพระราชโอรสธิดาที่<br />

เจริญพระชันษาแล้ว เจ้าบ่าวเจ้าสาวและรูปปั ้ นหิน<br />

อ่อนครึ ่ งพระองค์ของเจ้าชายอัลเบิต มีดอกกุหลาบ


จอนเบรำวน์<br />

John Brown (8 December 1826 – 27<br />

March 1883) เป็ นมหาดเล็กรับใช้กลางแจ้ง<br />

โดยเฉพาะตอนทรงม้าเสด็จประพาส John Brown<br />

เป็ นคนที่พูดคุยกับราชินีแบบเป็ นมิตรไมตรีไม่ใช้ค า<br />

ราชาศัพท์จึงท าให้คนในราชส านักส่วนมากไม่ชอบ<br />

เขา John Brown มักจะยุ่งเรื่องของราชินีและน าไป<br />

บอกต่อคนอื่นๆ<br />

Victoria and John Brown at Balmoral, 1863.<br />

Photograph by G. W. Wilson.<br />

ครั ้งหนึ ่ง John Brown เคยช่วยพระราชินีไว้<br />

ให้พ้นจากการถูกลอบปลงพระชนม์ในกรุงลอนดอน<br />

ขณะที่พระราชินีประทับรถพระที่นั่งแลนดอเปิ ด<br />

ประทุน ก็มีเด็กหนุ่มชาวไอริชผู้หนึ ่ง นามว่าอาเธอร์<br />

โอคอนเน่อร์(Arthur O'Connor; 4 July 1763 – 25<br />

April 1852) ปลอมตัวเป็ นคนสวนแอบอยู่ในบริเวณ<br />

พระราชวัง พอรถพระที่นั่งแล่นจะเข้าจอดหน้าพระที่<br />

นั่งพระราชินีก็ทอดพระเนตรเห็นเด็กหนุ่มผู้นั ้นยืนอยู่<br />

ใกล้ประตูรถพระที่นั่ง ดวงตามีแววประหลาดไม่น่า<br />

ไว้ใจก าลังจ้องพระองค์เขม้ง ทันใดนั ้นเขาก็ยกมือขึ ้น<br />

พระราชินีทรงเห็นไม่ได้การก็รีบหมอบลงกับเบาะรถ<br />

และเสียงว่า ช่วยด้วย<br />

เจ้าฟ้าชายอาเธ่อร์พระราชโอรสองค์ที่ 3 ซึ ่ง<br />

โดยเสด็จมาในรถพระที่นั่ง ทอดพระเนตรเห็นดังนั ้น<br />

ก็กระโดดลงมาจากรถจะตองเข้าแย่งปื น แต่ไม่ทัน<br />

John Brown ผู้ยืนมาหลังรถพระที่นั่งจึงเห็นคนร้าย<br />

ก่อนผู้อื่น กว่าเจ้าฟ้าจะโดดลงไปถึงพื ้น John Brown<br />

ได้โจนลงไปชนคนร้ายล้มลงโดยแรง จนปื นกระเด็น<br />

ไปจากมือ ครั ้นแล้วทั ้งเจ้าฟ้าแล้ว John Brown ก็<br />

ช่วยกันจับโอคอนเน่อร์กดลงกับพื ้น<br />

การที่ชาวไอริชเกิดเหี ้ยมหาญลอบจะปลง<br />

พระชนม์พระราชินีครั ้งนี ้ก็เพราะเวลานั ้นเมือง<br />

ไอซ์แลนด์กับอังกฤษก าลังมีเรื่องบาดหมางกัน<br />

ในทางการเมือง<br />

John Brown ได้ชื่อเสียงในความกล้าหาญ<br />

ของนี ้มากถึงแก่ได้รับพระราชทานเหรียญทองเป็ น<br />

เกียรติยศ ตั ้งแต่นั ้น John Brown ก็ยิ่งได้รับความไว้<br />

วางพระราชหฤทัย พระราชินีโปรดปราน John<br />

Brown มากถึงแก่เมื่อJohn Brown ตายลงในค.ศ.<br />

1883 ก็ได้ทรงเขียนประกาศข่าวราชส านักด้วย<br />

พระองค์เองเรื่องการตายของJohn Brown ในหนังสือ<br />

พระราชนิพนธ์ชื่อ More leaves from the journal of<br />

our life in highlands


พระยุพรำช<br />

ปรินส์ออฟเวลส์หรือพระยุพราช ทรงเสก<br />

สมรสกับเจ้าฟ้าหญิงอเล็กซานดรา(Alexandra of<br />

Denmark , Alexandra Caroline Marie Charlotte<br />

Louise Julia; 1 December 1844 – 20 November<br />

1925) พระราชธิดาพระองค์ใหญ่ของพระเจ้ากรุง<br />

เดนมาร์กเมื่อวันที่ 10 มีนาคม ค.ศ.1863 ที่วิหารเซนต์<br />

จอช พระราชวังวินด์เซอร์<br />

พระยุพราชมีพระโอรสธิดากับ<br />

เจ้าฟ้าหญิงอ-เล็กซานาดรา 6 พระองค์ คือ<br />

1. เจ้าชายอัลเบิต วิกเตอร์ ดยู๊กออฟแคล<br />

เรนซ์ (Prince Albert Victor, Duke of Clarence and<br />

Avondale, Albert Victor Christian Edward; 8<br />

January 1864 – 14 January 1892)<br />

Photograph by W. & D. Downey, 1891<br />

Edward and Alexandra on their wedding day, 1863<br />

ความงามอย่างหยดย้อยของเจ้าฟ้าหญิงอเล็ก<br />

ซานดราเป็ นที่เลื่องลือ ชื่นชมและเลื่อมใสไปทั่ว<br />

ราชอาณาจักร จนกระทั่งลอร์ดเทนนิซันกวีหลวง<br />

(Alfred Tennyson, 1st Baron Tennyson; 6 August<br />

1809 – 6 October 1892) อดทนไม่ได้ ต้องเขียน<br />

กลอนยอพระเกียรติถวาย ชื่อว่า Welcome to<br />

Alexandra<br />

2. เจ้าชายจอช ดยู๊กออฟยอร์ก(George V,<br />

George Frederick Ernest Albert; 3 June 1865 – 20<br />

January 1936)<br />

State portrait by Sir Luke Fildes, 1911<br />

The Landing of HRH The Princess Alexandra at<br />

Gravesend, 7 March 1863, by Henry Nelson O'Neil


3. เจ้าหญิงหลุยส วิกตอเรีย(Louise,<br />

Princess Royal and Duchess of Fife, Louise Victoria<br />

Alexandra Dagmar; 20 February 1867 – 4 January<br />

1931)<br />

Maud following her coronation, wearing the<br />

Queen's Crown, and holding a sceptre and orb<br />

Princess Royal, Duchess of Fife<br />

4. เจ้าหญิงวิกตอเรีย อเล็กซานดรา แมรี<br />

(Princess Victoria of the United Kingdom, Victoria<br />

Alexandra Olga Mary; 6 July 1868 – 3 December<br />

1935)<br />

และองค์สุดท้าย เจ้าชายอเล็กซานเด้อจอน<br />

(Prince Alexander John of Wales) ประสูติเมื่อ1871<br />

และสิ้นพระชนม์ในวันรุ่งขึ ้น<br />

อีกหลายปี ภายหลังได้มีวัน อเล็กซานดรา<br />

ขึ ้นในประเทศอังกฤษ โดยมีผู้อาสาสมัครช่วยกัน<br />

ออกเที่ยวขายดอกกุหลาบไปตามถนน เก็บเงิน<br />

รายได้บ ารุงโรงพยาบาล<br />

เจ้าฟ้าหญิงพระองค์นี ้ ภายหลังได้เป็ นพระ<br />

ราชินีแห่งประเทศอังกฤษ ทรงมีพระชนม์อยู่จน<br />

ค.ศ. 1925<br />

Princess Victoria<br />

5. เจ้าหญิงม้อต(Maud of Wales, Maud<br />

Charlotte Mary Victoria; 26 November 1869 – 20<br />

November 1938)<br />

พระยุพราชทรงได้รับการศึกษาอบรมเตรียม<br />

ที่จะเป็ นกษัตริย์ตั ้งแต่ททรงเยาว์ ในปี 1859 ได้เสด็จ<br />

ประพาสอิตาลีและสเปน โดยใช้พระนามว่า ลอร์ด<br />

เร็นฟริว ต่อจากนั ้นก็เข้าประจ ากรมทหารที่<br />

ไอร์แลนด์ ในปี 1861 ก็ได้เสด็จประพาสตะวันออก<br />

ใกล้ คือ ยะรู-ซาเลมและเมืองต่างๆที่มีความส าคัญ<br />

ทางศาสนาคริส-เตียน เสด็จเลยไปถึงตะวันออกไกล<br />

มีดีนสแตนลีแห่งเวสมินสเตอร์(Arthur Penrhyn<br />

Stanley; 13 December 1815 – 18 July 1881)ตาม<br />

เสด็จ


ในปี 1863 ทรงเริ่มกระท าหน้าที่ โดยเสด็จเข้าสภา<br />

เฮาส์ออฟลอร์ดส์ในฐานะเป็ นดยู๊กออฟคอนวอลล์<br />

ในปี 1868-69 พระยุพราชและพระชายาได้เสด็จ<br />

ประพาสไอร์แลนด์ ประเทศต่าง ๆในยุโรป เสด็จเลย<br />

ไปถึงประเทศไอยคุปต์ หรือ อียิปต์<br />

ในปี 1871 พระยุพราชประชวรหนักด้วย<br />

พระโรคไทฟอยด์ แพทย์ที่มีชื่อเสียงทั่วพระราช<br />

อาณาจักได้มาช่วยกันถวายการรักษา พระอาการจึง<br />

ค่อยๆ กระเตื ้องขึ ้นทีละเล็กทีละน้อย<br />

ในวันที่ 2 มกราคม พระราชินีก็เสด็จ<br />

กลับไปยังพระราชวงัวินด์เซอร์ ฝ่ ายพระยุพราชก็มี<br />

พระอาการค่อยๆดีขึ ้นจนหายาสนิท<br />

ในวันที่ 27 กุมภาพันธ์ พระราชินีกับพระ<br />

ยุพราชก็เสด็จพระราชด าเนินโดยกระบวนแห่พยุหยา<br />

ตราจากพระราชวังบั คกิงฮัมไปวัดเซ็นต์พอลเพื่อทรง<br />

กระท าพิธี Thankgiving<br />

พระยุพราชเสด็จลงเรือพระที่นั่งจากอังกฤษ<br />

เมื่อวันที่ 11 ตุลาคม ค.ศ. 1875 เมื่อเสด็จถึงบอมเบย์<br />

ลอร์ดนอธบรุ๊คไวสรอยมารับเสด็จที่เมืองบอมเบย์<br />

พระยุพราชได้ทรงรู้จักกับเจ้านายชาวอินเดียหลาย<br />

องค์ ซึ ่งทรงคุ้นเคยด้วยยิ่งขึ ้นเมื่อทรงรับเชิญไปเป็ น<br />

แขกของเจ้านายเหล่านั ้นที่ราชส านักเมืองต่างๆ<br />

ระหว่างเวลา 17 สัปดาห์ที่ประทับอยู่ในประเทศ<br />

อินเดีย<br />

Edward (front centre) in India, 1876<br />

เวลาล่วงไป พระราชโอรสและพระราชธิดา<br />

ของพระราชินีนาถวิกตอเรียททั ้งเก้าพระองค์ทรงเสก<br />

สมรสหมดทุกพระองค์ พระราชินีททรงมีโอรสเขย 5<br />

พระองค์ พระราชสุนิสา 4 พระองค์ ในปี 1859 พระ<br />

ราชนัดดาองค์แรกประสูติต่อจากนั ้นก็เพิ่มจ านวนขึ ้น<br />

ทุกที ครั ้นถึงปี 1882 ก็ทรงมีพระราชปนัดดาเป็ น<br />

องค์แรก<br />

ในปี 1865 พระเจ้าเลโอโปลดี่ 1แห่ง<br />

ประเทศเบลเยี่ยม พระเจ้าน้า ก็สิ้นพระชนม์ลง เป็ น<br />

เหตุให้พระราชินีทรงเศร้าโศกหนักขึ ้น<br />

การเสด็จประพาสของพระยุพราชครั ้งนั ้น<br />

เป็ นผลส าเร็จและส าคัญยิ่งนักในทางการเมือง<br />

จนกระทั่งเป็ นเหตุการณ์ให้พระราชินีนาถวิกตอเรีย<br />

ได้เฉลิมพระยศเป็ นจักรพรรดิราชินีนาถ หรือเอม<br />

เพรสแห่งอินเดียในปี 1876


ในปี 1865 พระเจ้าเลโอโปลดี่ 1แห่งประเทศเบลเยี่ยม<br />

พระเจ้าน้า ก็สิ้นพระชนม์ลง เป็ นเหตุให้พระราชินี<br />

ทรงเศร้าโศกหนักขึ ้น<br />

ในปี 1878 เจ้าฟ้าหญิงอลิส พระราชธิดา<br />

พระองค์ที่สองซึ ่งทรงเสกสมรมกับเจ้าชายหลุยส์แห่ง<br />

เฮสส์ในปี 1862 ก็ประชวรโรคคอตีบ ติดธิดา<br />

พระองค์เล็กซึ ่งสิ้นพระชนม์ก่อน เจ้าฟ้าหญิงอลิส<br />

สิ้นพระชนม์เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม ตรงกับวัน<br />

สิ้นพระชนม์ของเจ้าชายอัลเบิต<br />

นิสา พระราชนัดดา พระเจ้าแผ่นดินหรือผู้แทน<br />

พระองค์พระเจ้าแผ่นดินประเทศที่มีไมตรีกับเมือง<br />

อังกฤษ แล้วพระราชินีก็เสด็จไปทรงกระท าพิธีที่<br />

โบสถ์เวสมันสเตอร์<br />

Queen Victoria's Golden Jubilee Service,<br />

Westminster Abbey, 21 June 1887 (1887–1890) by<br />

William Ewart Lockhart<br />

Alice in the 1870s<br />

ในปี 1881 ลอร์ดเบคอนสฟี ลด์ อัคร<br />

เสนาบดีคนโปลดก็ตายลง ในปี 1884 เจ้าฟ้าชายเลโอ<br />

โปลด์ดยุ๊กออฟอัลบนี พระราชโอรสพระองค์ที่ 4 ก็<br />

สิ้นพระชนม์อีกองค์หนึ ่ง ภายหลังที่ได้เสกสมรสกับ<br />

เจ้าหญิงเฮเลนแห่งวัลเด็กไม่นานนัก มีธิดาองค์หนึ ่ง<br />

ททรงนามว่าอลิสแมรี่ พระโอรสทรงนามชาลส์<br />

เอ๊ดเวิด<br />

ใน ค.ศ.1888 พระราชินีทรงเสด็จข้ามไปประเทศ<br />

เยอรมันเพื่อเยี่ยมประชวรพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 3 พระ<br />

ราชโอรสเขยพระองค์ใหญ่ ซึ ่งเสด็จขึ ้นเสวยราชย์<br />

เป็ นกษัตริย์เยอรมันต่อจากพระราชบิดาพระเจ้า<br />

วิลเฮล์มหรือวิลเลียมที่ 1 เพราะเวลานั ้นพระเจ้าเฟรเด<br />

อริกประชวรหนัก เป็ นมะเร็งที่พระศอ ต้องผ่าตัด<br />

หลายครั ้ง และแอมเปรสคือปรินเซสรอยัลพระราช<br />

ธิดาองค์ใหญ่ของพระราชินีทรงกระท าพระองค์เป็ น<br />

ศัตรูต่อเจ้าชายบิสมาร์ก อรรคมหาเสนาบดีเหล็ก ของ<br />

เยอรมัน<br />

ใน ค.ศ. 1887 พระราชินีทรงครองราชย์<br />

ครบ 50 ปี ครั ้นถึงเดือนมิถุนายนก็โปรดเกล้าฯให้มี<br />

งานฉลองใหญ่ เรียกว่า สุวรรณาภิเษก หรือ โกลเด็น<br />

จูบิลี พระราชินีเสด็จพระราชด าเนินโดยกระบวนแห่<br />

พยุหยาตราพร้อมด้วยคนส าคัญของประเทศ พระราช<br />

โอรสธิดาของพระองค์ พระราชโอรสเขย พระราชสุ


การที่เอมเปรสทรงกระท าพระองค์เป็ นศัตรู<br />

ต่อ บิสมาร์กและไม่ลงรอยกับพระราชโอรสกับรัช<br />

ทายาท คือ เจ้าฟ้าชายวิลเฮล์มตอนที่พระเจ้าเฟรเด<br />

อริกก าลังประชวรหนักจวนสิ้นพระชนม์เช่นนั ้น<br />

พระราชินีนาถวิกตอเรียทรงเห็นว่า ไม่เป็ นการ<br />

กระท าที่ฉลาดเลยจึงเสด็จจากอังกฤษข้ามไปเยี่ยม<br />

ประชวรพระเจ้าแผ่นดินเยอรมันและเพื่อทรงหา<br />

โอกาสเจรจากับบิสมาร์กและพระราชนัดดา เพื่อให้<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างทั ้งสองกับ เอมเฟรสจะได้ค่อย<br />

ดีขึ ้น<br />

เมื่อพระเจ้าเฟรเดอริกที่ 3 สิ้นพระชนม์ลง<br />

ในวันที่ 15 มิถุนายนปี 1888 นั่นเอง เจ้าฟ้าชาย<br />

วิลเฮล์มรัชทายาทก็เสวยราชสมบัติเป็ นไกเซอร์แทน<br />

ทรงพระนามว่า ไกเซอร์วิลเฮล์มที่ 2<br />

อันไกเซอร์พระองค์เดียวกันนี ้ ก็ได้เข้าร่วม<br />

ให้เกิดสงครามโลกครั ้งที่ 1 ขึ ้น คือเยอรมัน ฯลฯ ฝ่ าย<br />

หนึ ่งอังกฤษ ฝรั่งเศส รัสเซีย ฯลฯ คือสัมพันธมิตรอีก<br />

ฝ่ ายหนึ ่ง ตอนนั ้นพระยุพราชซึ ่งเสด็จขึ ้นครองราชย์<br />

ต่อจากพระราชมารดาเป็ นพระเจ้าเอ๊ดเวิดที่ 7<br />

สิ้นพระชนม์แล้ว พระราชโอรสของพระองค์พระเจ้า<br />

ยอจที่ 5 เสวยราชสมบัติเมืองอังกฤษแทน ไกเซอร์<br />

และพระเจ้ายอชที่ 5 เยอรมันเป็ นฝ่ ายแพ้ไกเซอร์จึง<br />

ต้องทรงสละราชสมบัติ เสด็จไปประทับอยู่ที่เมือ<br />

งดอร์นประเทศฮอลันดา ประทับอยู่ที่ปราสาทเมือ<br />

งดอร์นจนสิ้นพระชนม์ เมื่อวันที่ 4 มิถุนายน ค.ศ.<br />

1946 พระศพของอยู่ ณ เมืองนั ้นจนกระทั่งทุกวันนี ้<br />

นับได้ว่าทรงเป็ นพระเจ้าจักรพรรดิองค์สุดท้ายที่มี<br />

อ านาจของประเทศเยอรมัน ผู้มีอ านาจในเยอรมัน<br />

ภายหลังสงครามโลกครั ้งที่ 1 คือฮิตเลอร์ผู้เผด็จการ<br />

ผู้เป็ นต้นเหตุให้เกิดสงครามโลกครั ้งที่ 2 ขึ ้น


Victoria and Abdul<br />

เมื่อ John Brown มหาดเล็กชาวเขาถึงแก่<br />

กรรมไปแล้ว ไม่นานต่อมาพระราชินีก็ทรงมีมหาต<br />

เล็กคนใหม่ มหาดเล็กคนใหม่นี ้เป็ นชาวอินเดีย แต่ง<br />

กายโพกศรีษะแบบชาวอินเดียเต็มยศ ที่เรียกกันใน<br />

ราชส านักว่า The Munshi<br />

พัชรำภิเษก<br />

เมื่อพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า<br />

เจ้าอยู่หัวเสด็จพระราชด าเนินถึงประเทศอังกฤษ<br />

ในพ. ศ. 2440 พระราชินีนาถวิกตอเรียกทรงต้อนรับ<br />

อย่างมโห ารสมพระเกียรติยศ เชิญเสด็จให้ประทับ<br />

แรมอยู่ ณ พระราชวังบั คกิ้งฮัม<br />

Victoria and the Munshi Abdul Karim<br />

ครั ้นพระราชินีทรงนึกสนุก ใคร่จะทรงทราบภาษา<br />

ใหม่อีกภาษาหนึ ่งคือภาษาฮินดี ดนตรีและการวาด<br />

รูปทรงละเลยมานาน ตั ้งแต่เป็ นหม้ายพระราชสวามี<br />

ก็ทรงฟื ้ นฟูขึ ้นมาใหม่<br />

ในปี เดียวกับปี ที่พระราชินีนาถวิกตอเรียทรงต้อนรับ<br />

พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวของเรา<br />

นั ้นเองเป็ นปี ที่พระราชินีนาถทรงครองราชสมบัติ<br />

ครบ 60 ปี จึงโปรดเกล้าฯให้มีงานฉลองใหญ่<br />

พระราชทานนามพระราชพิธีว่า ดายมั่นจูบิลี หรือ<br />

พัชราภิเษก<br />

Victoria in her official Diamond Jubilee<br />

photograph by W. & D. Downey


สู ่สวรรคำลัย<br />

พอถึงปลายปี 1900 พระราชินีทรงรู้สึก<br />

พระองค์ว่าพระก าลังถอยลงทุกที แต่กระนั ้นก็ยัง<br />

เสด็จพระราชด าเนินไปออสบ้อร์นเพราะเป็ นฤดูที่เคย<br />

เสด็จ เพื่อฉลองเทศกาลคริสต์มาสร่วมกับพระประยูร<br />

ญาติ ถึงตอนนี ้พระราชินีเสมอไม่ค่อยได้บรรทมไม่<br />

ค่อยหลับแล้ว จนกระทั่งวันที่ 14 มกราคม 1901 ทั ้งๆ<br />

ที่พระราชินีทรงรู้สึกอ่อนเพลียเต็มทน แต่กระนั ้นก็<br />

อุตส่าห์แข็งพระทัยเสด็จออกรับลอร์ดรอเบิตส์ ผู้<br />

กลับจากสงครามที่แอฟริกาใต้พร้อมด้วยชัยชนะ<br />

พระราชินีทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ลอร์ดรอ-<br />

เบิร์ตเฝ้าถึงชั่วโมงเต็มๆ เมื่อลอร์ดรอเบิร์ตถวาย<br />

บังคมลากลับแล้ว พระราชินีทรงเหน็ดเหนื่อยถึงแก่<br />

ประชวรพระวาโย 3 วันต่อจากวันประกาศของราช<br />

ส านัก คือในวันที่ 22 มกราคม พระราชินีก็เสด็จ<br />

สวรรคาลัยท่ามกลางพระราชโอรส พระราชธิดา<br />

พระราชโอรสเขย พระราชสุนิสา พระราชนัดดาฯ<br />

แม้ไกเซอร์วิลเฮล์มก็ได้เสด็จข้ามจากเบอร์ลินมา<br />

ประทับอยู่กับสมเด็จพระอัยยิกาในวาระสุดท้าย<br />

ค.ศ. 1840 เป็ นเครื่องหมายให้ระลึกถึงเจ้าชายพระ<br />

ราชสวามี<br />

เขาเชิญพระศพพระราชินีนารถลงเรือพระที่<br />

นั่งจากไอล์ออฟไว้ตกลับไปเมืองหลวง มีเรือรบแล่น<br />

ขนาบสองข้าง เรือรบของราชนาวีอังกฤษซึ ่งยิงสลูต<br />

ถวายความเคารพพระศพกึกก้องไปทั่วน่านน ้า<br />

ในกรุงลอนดอน ประชาชนนับล้านแต่งด า<br />

ยืนเฝ้าสองข้างขณะที่หีบพระศพ หุ้มด้วยธงอังกฤษ<br />

ตั ้งบนรถปื นใหญ่มีทหารเรือลากผ่านช้าๆไปตาม<br />

ถนน ด้วยความเศร้าและเสียดาย พระศพออกจาก<br />

ลอนดอนตรงไปวินด์เซอร์ แล้วก็เลยไปที่ฟร้อกมอร์<br />

เขาเชิญพระศพพระราชินีนาถมาฝังไว้เคียง<br />

คู่พระศพพระราชสวามี ณ สุสานหลวง หรือ<br />

Mausoleum ที่ฟร้อกมอร์ พระศพทั ้งคู่ยังฝังอยู่<br />

ด้วยกันที่เดิมนั ้นจนกระทั่งทุกวันนี ้ ใครที่ไปเยี่ยม<br />

พระศพมาอดที่จะคิดไม่ได้ว่า บัดนี ้พระราชินีนาถ<br />

วิกตอเรียคงจะทรงมีความสุขแล้ว<br />

Queen Victoria aged 80, 1899<br />

เมื่อเสด็จสวรรคาลัยแล้ว เขาก็แต่งพระองค์<br />

ราชินีนาถด้วยเครื่องทรงของแม่หม้าย แต่ที่พระเศียร<br />

ให้ทรงเวลของเจ้าสาวซึ ่งทรงเมื่ออภิเษกสมรสใน<br />

Poster proclaiming a day of mourning<br />

in Toronto on the day of Victoria's funeral


ค.ศ.<br />

ค.ศ.<br />

สงครามโลกครั ้งที่ 1 เรียกอีกอย่างหนึ ่งว่า มหาสงคราม<br />

คือ สงครามแห่งความขัดแย้งระดับโลกที่เกิดขึ ้นระหว่าง<br />

ค.ศ.1914 ถึงค.ศ.1918 ระหว่างฝ่ ายพันธมิตรกับฝ่ าย<br />

มหาอ านาจกลาง<br />

จุดเริ่มต้นของสงคราม<br />

ความไม่มั่นคงทางการเมืองของยุโรปในส่วนของ<br />

คาบสมุทรบอลข่าน<br />

ชาตินิยมการแข่งขันประเทศต่างๆ<br />

การขาดจินตนาการของนักการเมือง บุคคลในราชวงศ์<br />

และเหล่านายพลเกี่ยวกับการท าสงครามขนาดใหญ่


กำรก่อตัวของสงครำม<br />

ฝ่ ำยมหำอ ำนำจไตรภำคี<br />

ฝ่ ำยมหำอ ำนำจกลำง<br />

ไม่ฝักใฝ่ ฝ่ ำยใด<br />

1<br />

3<br />

2<br />

ฝรั ่งเศส อังกฤษ รัสเซีย และประเทศอาณานิคม จักรวรรดิ<br />

ญี ่ปุ ่ น อิตาลี และสหรัฐอเมริกา<br />

จักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี จักรวรรดิเยอรมนีและ<br />

ดินแดนอาณานิคม จักรวรรดิออตโตมาน และ<br />

บัลแกเรีย<br />

เนเธอร์แลนด์ สเปน และประเทศตามคาบสมุทร<br />

สแกนดิเนเวีย<br />

Schlieffen Plan<br />

• เคาท์ อัลเฟรด วอน ชไรฟ์ เฟน<br />

(Count Alfred von Schlieffen)<br />

(28 February 1833 – 4 January<br />

1913) นายพลด้านยุทธการ<br />

ทหารผู้วางแผนนี ้<br />

• แผนชไรฟ์ เฟน เป็ นกลยุทธ์ที่ซับซ้อนที่ใช่ใน<br />

การยกทัพโหมบุกผ่านเบลเยี่ยม เข้าสู่ฝรั่งเศส<br />

และโจมตีรัสเซียพร้อมๆกัน โดยไม่ทันตั ้งตัว<br />

• แผนนี ้เพื่อให้เยอรมนีเปิ ดศึกได้สองด้าน<br />

เนื่องจากรัสเซียเคลื่อนพลช้า


้<br />

กำรลอบปลงพระชนม์ที่ซำรำเยโว<br />

อาร์ชดยุกฟรันซ์ แฟร์ดินันด์ (Franz Ferdinand,18ธันวาคม<br />

ค.ศ.1863- 28 มิถุนายน ค.ศ.1914) และดัชเชส โซฟี<br />

(Sophie Chotek 1 มีนาคม ค.ศ.1869- 28 มิถุนายน<br />

ค.ศ.1914) พระชายาทรงถูกลอบปลงพระชนม์ที่เมืองซาราเยโว<br />

ซึ ่งขณะนั ้นยังเป็ นส่วนหนึ ่งของจักรวรรดิออสเตรีย-ฮังการี ทั ้ง<br />

สองพระองค์ถูกลอบปลงพระชนม์โดยกาฟรีโล พรินซิป หนึ ่ง<br />

ในสมาชิกกลุ่มแบล็คแฮนด์ ซึ ่งการลอบปลงพระชนม์ครั ้งนี<br />

น าไปสู่สงครามโลกครั ้งที่ 1<br />

Franz Ferdinand<br />

เปิ ดฉากสงคราม<br />

‣ กองทัพเยอรมนีรวมตัวกันอยู ่นอกเบล<br />

เยี่ยมเพื่อเตรียมตัวบุก<br />

กองทัพเยอรมนีบุกฝรั่งเศสลักเซมเบิร์กและ<br />

เบลเยียมเมื่อต้นเดือนสิงหาคมเป็ นการละเมิด<br />

สนธิสัญญากรุงลอนดอนซึ ่งประกันความเป็ นกลาง<br />

ของเบลเยี่ยม อังกฤษจึงเข้าสู่สงครามวันที่ 4<br />

สิงหาคม<br />

ส่งทหารมาถึงฝรั่งเศสและเข้าร่วมยุทธการ<br />

เมืองมองส์แต่ต้องถอยกลับเพราะการรุกคืบอย่างมี<br />

ประสิทธิภาพของกองทัพเยอรมันที่ประสบชัยชนะ<br />

ในการบุกเข้าสู่กรุงปารีสตามที่ ไชฟ์ เฟนวางแผนไว้<br />

เยอรมันวางแผนจะโจมตี ในวันที่ 16<br />

สิงหาคม ภายใต้การน าของนายพล อเล็กซาน<br />

เดอร์ วอน คลุก (Alexander von<br />

Kluck,20 May 1846 – 19<br />

October 1934)


กำรก่อตัวของสงครำมน ำไปสู ่ควำมขัดแย้งรูปแบบใหม่<br />

• ต้ นปี ค.ศ. 1915 ท ำให้ เห็ น<br />

สงครำมอย่ำงแท้จริง กำรเคลื่อน<br />

ทัพอย่ำงรวดเร็วที่มำจำกพลเรือน<br />

มำกเท่ำกับอังกฤษระดมกองทัพ<br />

อำสำสมัคกองทัพของคิทเชนเนอร์<br />

เอำผู ้ หญิงมำผลิตอำวุธและส่ ง<br />

ผู ้ชำยไปออกรบ<br />

• แกลลิโปลี ค.ศ.1915 วินสตัน<br />

เชอร์ชิลล์(Winston Leonard<br />

Spencer-Churchill) เลือกโจมตี<br />

แกลลิโปลี เพรำะหวังจะสกัดกั ้น<br />

พันธมิตรของเยอรมนีจำก<br />

สงครำมแต่ปฏิบัติกำรทำงเรือ<br />

ของฝ่ ำย<br />

• สัมพันธมิตรล้มเหลว เรือรบถูก<br />

จมไปหลำยล ำ ท ำให้เกิดกำรบุก<br />

รุกทำงบกตำมมำ แต่ผิดพลำด<br />

กองทหำรอังกฤษ ฝรั่งเศสและ<br />

กองก ำลังอันซัค ติดอยู ่ที่ชำยหำด<br />

ยุทธการที่มาร์นและการล่าถอยของเยอรมนี<br />

การรุกอย่างรวดเร็วของเยอรมันท าให้ทหารเหนื่อยล้า กองทัพมีปัญหา<br />

และวันที่ 5 กันยายน กองทัพฝรั่งเศสและอังกฤษ โจมตีกองทัพเยอรมันทางด้าน<br />

แม่น ้ามาร์น ยุทธการนี ้เป็ นที่รู้จักกันในชื่อ ยุทธการที่ 1


์<br />

แวร์เดิง สนามรบที่นองเลือดที่สุดของสงคราม สู้รบกันตั ้งแต่วันที่ 21<br />

กุมภาพันธ์ถึง 18 ธันวาคม 1916 เป็ นยุทธการที่มีขนาดใหญ่และยืดเยื ้อที่สุดครั ้ง<br />

หนึ ่งในสงครามโลกครั ้งที่หนึ ่ง<br />

บนแนวรบด้านตะวันตกระหว่างกองทัพเยอรมันและฝรั่งเศส นายพล<br />

อีริค วอน ฟอลเคนไฮน์ เลือกโจตีแวร์เดิงเพราะมีนโยบานลดจ านวนข้าศึก เขา<br />

เพียงแค่ท าให้ฝรั่งเศสอ่อนก าลังลงแค่นั ้น<br />

นายพล โจเซฟ จอฟฟรี (12 มกราคม 1852 – 3 มกราคม<br />

1931) ผู้บัญชาการทหารฝรั่งเศสมั่นใจว่าป้อม ดูโอมองท์<br />

(Douaumont)โวซ์(Vaux)เทียโอมองท(Thiaumont) สามารถ<br />

ต้านการโจมตีได้ ถึงขนาดให้รื ้อที่ก าบังออกและย้ายปื นออกก่อนการรบ<br />

สมรภูมิศักดิ ์สิทธิ<br />

21 กุมภาพันธ์ ปี 1916 เยอรมนีถล่มแนวรบของฝรั่งเศส<br />

ด้วยการใช้ปื นใหญ่ยิงหนึ ่งล้านลูก ท าให้ป้อมดูโอมองท์แตก<br />

นายพล จอฟฟรี ถูกย้ายทันที และให้นายพล ฟิ ลิปป์ เปเทน เป็ น<br />

ผู้บัญชาการแทน<br />

จุดนี ้ ท าให้ แวร์เดิงกลายเป็ นสัญลักษณ์ความมุ่งมั่นที่<br />

ฝรั่งเศสต้องยืนหยัดและมีชัยชนะให้ได้ และการโจมตีไปมา<br />

ของทั ้งสองฝ่ ายรุนแรงเพิ่มมากขึ ้น ใช้ทั ้งปื นใหญ่ เครื่องบิน<br />

การปาคบเพลิง และก๊าซพิษ มากไปกว่านั ้น ยังไม่มีฝ่ ายใดชนะ<br />

การรบกลายเป็ นการท าลายทหารทั ้งสองฝ่ าย<br />

• สมรภูมิศักดิ ์สิทธิ ์


้<br />

Battle of the Somme<br />

เมื่อกองทัพของเครือจักรภพอังกฤษและฝรั่งเศสปะทะกับกองทัพจักรวรรดิเยอรมันที่บริเวณ<br />

แม่น ้าซอมโดยในระยะเวลาเพียง 5 เดือนของยุทธการนี<br />

เป็ นผลเปลี่ยนแปลงมาจากการถูกโจมตีที่ แวร์เดิง<br />

เพราะกองก าลังทหารฝรั่งเศสถูกดึงก าลังออกมาจากซอมบ์<br />

มาช่วยที่แวร์เดิง ซึ ่งถูกบัญชาการโดย เซอร์ เฮนรี รอว์ลิน<br />

สัน ผลที่ได้รับคือความหายนะส่วนหนึ ่งมาจากแผนการรบ<br />

ที่แตกต่างกัน<br />

รอล์ลินสัชอบการรบแบบ กัดแล้วยึด คือถล่มยิงปื น<br />

ใหญ่และทหารเข้าบุกรุกยึดพื ้นที่ แต่ลอร์ด เฮก (ผู้บัญชาการ<br />

กองก าลังเฉพาะกิจของอังกฤษ) เขาเห็นต่างเขาเชื่อว่าน่าจะ<br />

ใช้ทหารราบน าก่อนแล้วตามด้วยกองก าลังยานเกราะที่<br />

เคลื่อนตัวไปอย่างรวดเร็วท าให้เกิดความสับสนในการรบ<br />

ของทหาร


สงครำมทะเล<br />

เมื่อสงครามเริ่มต้น จักรวรรดิเยอรมันมี<br />

เรือลาดตระเวนกระจัดกระจายอยู่ทั่วโลก ซึ ่งเรือ<br />

บางล าในจ านวนนี ้ได้ถูกใช้โจมตีการเดินเรือ<br />

พาณิชย์ฝ่ ายสัมพันธมิตร<br />

ต่อมาฝ่ ายราชนาวีอังกฤษได้พยายามตาม<br />

ล่าเรือรบเหล่านี ้อย่างเป็ นระบบ แต่ก็ยังอับอาย<br />

จากความไร้ความสามารถในการคุ้มครองการ<br />

เดินเรือฝ่ ายสัมพันธมิตร เช่น เรือลาดตระเวนเบา<br />

เยอรมนี เอสเอ็มเอส เอมเดน เป็ นส่วนหนึ ่งของ<br />

กองเรือเอเชียตะวันออก ประจ าการอยู่ในเมือง<br />

ท่าชิงเตา ได้ยึดหรือท าลายเรือพ่อค้า 15 ล า<br />

ตลอดจนเรือลาดตระเวนเบารัสเซียและเรือ<br />

พิฆาตฝรั่งเศสอย่างละล าด้วย<br />

อังกฤษปิ ดล้อมทำงทะเลต่อเยอรมนี<br />

หลังสงครามปะทุไม่นาน อังกฤษก็ได้ท าการ<br />

ปิ ดล้อมทางทะเลต่อเยอรมนี ซึ ่งเป็ นยุทธศาสตร์เห็น<br />

ผลแล้วว่ามีประสิทธิภาพ โดยการปิ ดล้อมได้ตัด<br />

เสบียงของทั ้งทหารและพลเรือนที่ส าคัญของเยอรมนี<br />

และพฤติกรรมดังกล่าวจะเป็ นการละเมิดกฎหมาย<br />

นานาชาติซึ ่งได้รับการยอมรับและประมวลขึ ้นผ่าน<br />

ความตกลงระหว่างประเทศหลายครั ้ง<br />

ในช่วงสองศตวรรษที่ผ่านมาก็ตาม กองทัพเรือ<br />

อังกฤษยังได้วางทุ่นระเบิดในเขตน่านน ้าสากลเพื่อ<br />

ป้องกันมิให้เรือล าใดออกสู่เขตมหาสมุทร ซึ ่งเป็ น<br />

อันตรายแม้แต่กับเรือของประเทศที่เป็ นกลาง


ค.ศ. 1916 ยุทธนาวีจัตแลนด์ทวีความรุนแรงขึ ้นเป็ นยุทธนาวีครั ้ง<br />

ใหญ่ที่สุดในสงคราม และครั ้งใหญ่ที่สุดครั ้งหนึ ่งในประวัติศาสตร์ ซึ ่งเป็ น<br />

การปะทะกันเต็มอัตราศึกของกองทัพเรือทั ้งสองฝ่ าย ซึ ่งกินเวลาสองวัน คือ<br />

31 พฤษภาคมและ 1 มิถุนายน ค.ศ. 1916 ในทะเลเหนือนอก<br />

คาบสมุทรจัตแลนด์<br />

กองเรือทะเลหลวงของกองทัพเรือเยอรมัน ภายใต้บังคับบัญชาของ<br />

พลเรือโทไรนาร์ด เชร์ ประจัญกับกองเรือหลวงของราชนาวีอังกฤษภายใต้<br />

การน าของพลเรือเอก เซอร์จอห์น เจลลิโค ผลของยุทธนาวีนี ้ไม่มีฝ่ ายใดแพ้<br />

หรือชนะ เมื่อฝ่ ายเยอรมันสามารถหลบหนีจากกองเรืออังกฤษที่มีก าลัง<br />

เหนือกว่า และสร้างความเสียหายแก่กองเรืออังกฤษมากกว่าที่ตนได้รับ<br />

ในทางยุทธศาสตร์แล้ว ฝ่ ายอังกฤษแสดงสิทธิ ์ ในการควบคุมทะเล<br />

และกองเรือผิวน ้าส่วนใหญ่ของเยอรมนีถูกกักอยู่แต่ในท่ากระทั่งสงครามยุติ


กำรปฏิวัติรัสเซีย<br />

สาเหตุการปฏิวัติรัสเซีย<br />

1. ชนกลุ่มน้อยต้องการสิทธิในการ<br />

การเมืองการปกครอง<br />

ความไม่พอใจกับการชี ้น าสู่สงครามของรัฐบาล<br />

รัสเซียเพิ่มมากขึ ้น ความส าเร็จถูกบ่นทอนโดยความไม่<br />

เต็มใจของนายพลคนอื่นที่ส่งก าลังของตนเข้าไป<br />

สนับสนุนให้ได้รับชัยชนะ<br />

กองทัพสัมพันธมิตรและรัสเซียฟื ้ นฟูชั่วคราว<br />

เฉพาะเมื่อโรมาเนียเข้าสู่สงครามเมื่อวันที่ 27 ส.ค.<br />

กองทัพเยอรมันเข้าช่วยเหลือกองทัพออสเตรีย-ฮังการี<br />

พร้อมรบในทรานซิลเวเนียและบูคาเรสต์เสียให้แก่ฝ่ าย<br />

มหาอ านาจกลางเมื่อวันที่ 6 ธันวาคม<br />

ขณะเดียวกัน ความไม่สงบเกิดขึ ้นในรัสเซีย<br />

ระหว่างที่ซาร์ยังคงประทับอยู่ที่แนวหน้า การปกครอง<br />

อย่างขาดพระปรีชาสามารถของจักรพรรดินีอเล็กซานด<br />

ราน าไปสู่การประท้วง และการฆาตกรรมคนสนิทของ<br />

พระนาง รัสปูติน เมื่อปลายปี ค.ศ. 1916<br />

2. รัสเซียยังคงเข้าร่วมสงครามโลกครั ้งที่<br />

1 ท าให้เศรษฐกิจตกต ่า ประชาชนเบื่อ<br />

หน่ายสงคราม<br />

3. เกิดความขัดแย้งของรัฐบาลชั่วคราวกับ<br />

ทหาร ท าให้รัฐบาลชั่วคราวอ่อนแอ เป็นเหตุ<br />

ให้พวกบอลเชวิคท าการท าการปฏิวัติใน<br />

เดือน ต.ค. ค.ศ.1917 โดยมีเลนินที่เดินทาง<br />

มาจากฟิ นแลนด์เข้ามาเพื่อเป็ นผู้น าการ<br />

ปฏิวัติ โดยมอบหน้าทางการทหารให้กับ<br />

ทรอสกี ้ ซึ ่งผลก็คือฝ่ ายบอลเชวิคเป็นฝ่ าย<br />

ได้รับชัยชนะ


้<br />

วันสงบศึก<br />

กำรรุกของเยอรมนีที่ล้มเหลวและควำมคืบหน้ำในควำมส ำเร็จของฝ่ ำยสัมพันธมิตรผ่ำนเขตดินเฮ<br />

นเบิร์ก ท ำให้กองทัพเยอรมนีเสียขวัญ แม้แนวเขตเยอรมันจะไม่ถูกล่วงล ้ำ แต่วันที่ 3 ตุลำคม เจ้ำชำย<br />

แม็กซ์ วอน บำเดน มีรำชสำส์นถึงประธำนำธิบดี วูดโลว์ วิลสัน ขอให้สหรัฐอเมริกำเป็ นผู ้แทนมนกำร<br />

สงบศึก<br />

ในวันที่ 6 พฤศจิกำยน เยอรมนีลงนำมในสัญญำสงบศึกบนตู ้รถไฟที่กอมปิ แองน์ ซึ่งมีผลบังคับใช้<br />

เวลำ 11.00 นำฬิกำ วันที่ 11 พฤศจิกำยน ปี 1918 เยอรมันตกลงถอนทหำรออกจำกเขตที่ยึดครอง<br />

ทั ้งหมด จำกนั ้นในวันที่ 1 ธันวำคม ฝ่ ำยสัมพันธมิตรเข้ำยึดครองไรน์แลนด์ทำงตะวันตกของเยอรมันท ำ<br />

ให้สำมำรถควบคุมจุดยุทธศำสตร์ของประเทศได้ทั ้งหมด สงครำมยุติแล้ว<br />

สนธิสัญญาแวร์ซายส์<br />

เมื่อวันที่ 28 มิถุนายน ปี 1919 ผู้น าของกองก าลังฝ่ ายสัมพันธมิตรรวมตัวกันเพื่อ<br />

ก าหนดข้อสัญญาในการตกลงสันติภาพ เยอรมนีผู้แพ้สงครามไม่ได้รับอนุญาตในการ<br />

โต้แย้งข้อสัญญาและถูกบังคับให้ยอมรับเงื่อนไขทุกข้อที่เสนอมา ภายใต้สนธิสัญญานี<br />

เยอรมันต้องรับผิดชอบในฐานะผู้ริเริ่มการกระท าสงครามและถูกบังคับให้ชดใช้ค่าเสียหาย<br />

เป็ นเงินกว่า 6,000 ล้านปอนด์


HISTORY<br />

‣ สมรภูมิแกลลิโปลี<br />

7 พฤษภาคม<br />

เรือด าน ้าของเยอรมนีจม<br />

10-13 มีนาคม<br />

ยุทธการที่เนิฟ ชาเปลล์<br />

ฝ่ านสัมพันธมิตรชนะได้<br />

ยึดครองพื ้นที่<br />

22 เมษายน-27<br />

พฤษภาคม<br />

เริ่มยุทธการที่ 2 ที่อิปร์ส<br />

เยอรมนีใช้ก๊าซพิษ<br />

1915<br />

OF THE<br />

WORLD WAR I<br />

1914<br />

28 มิถุนำยน<br />

อาร์คยุค เฟอร์ดินันท์ ถูกลอบปลงพระชนม์<br />

ที่กรุงเซราเยโว<br />

3 สิงหำคม<br />

ทหารเยอรมนียึดลักเซมเบิร์ก<br />

4 สิงหำคม<br />

อังกฤษประกาศสงครามกับเยอรมัน<br />

5-6 สิงหำคม<br />

ประชนในเมือง Herve ในเบลเยี่ยม ถูก<br />

ทหารเยอรมนีสังหารเพื่อแก้แค้น<br />

5-10 กันยำยน<br />

ยุทธการลุ่มแม่น ้ามาร์น<br />

กันยายน-ตุลาคม<br />

สงครามสนามเพลาะเริ่มขึ ้น<br />

ธันวาคม<br />

พักรบช่วงคริสมาสอย่างไม่เป็ นทางการ<br />

‣ สภาพเมืองที่แม่น ้ามาร์นหลังสงครามสงบ


‣ Chateau Wood ระหว่าง<br />

ยุทธการที ่ 3 ที ่อิปร์ส<br />

กรกฎาคม<br />

อังกฤษโจมตีกองทัพเยอรมัน<br />

ที่ปาสส์ซองดาลล์<br />

31 กรกฎาคม-18<br />

สิงหาคม<br />

อังกฤษเริ่มโจมตีเป็นระลอก<br />

ท่ามกลางสภาพอากาศ<br />

แปรปรวน<br />

20 ถึง 25 กันยายน<br />

ยุทธการที่ถนนเมแนง<br />

ประสบผลส าเร็จบ้าง<br />

31 กรกฎาคม 5<br />

พฤศจิกายน<br />

เริ่มยุทธการที่ 3 ที่อิปส์ที่<br />

ปาร์คซองดาลล์<br />

1917<br />

HISTORY<br />

OF THE<br />

WORLD WAR I<br />

1916 21 กุมภาพันธ์<br />

เยอรมนีส่งกองทหารปืนใหญ่ระดมยิงที่แวร์เดิง<br />

22-29 กุมภาพันธ์<br />

เยอรมนียึดป้อมดูโอมองท์<br />

24 มิถุนายน<br />

ฝ่ายสัมพันธมิตรเริ่มยิงปืนใหญ่ใส่แนวรบของ<br />

เยอรมนี ในยุทธการซอมม์<br />

1 กรกฎาคมอังกฤษและฝรั่งเศสเริ่มการโจมตี<br />

แนวสนามเพลาะของเยอรมัน<br />

12 กรกฎาคม - 27 สิงหาคม ฝ่าย<br />

สัมพันธมิตรเข้าโจมตีและเยอรมนีโจมตีกลับ<br />

15 - 22 กันยายน ยุทธการที่เฟอร์ ครูเซลล์<br />

เล็ต การโจมตีของฝ่ายสัมพันธมิตรไม่ได้<br />

เกิดผลประโยชน์อันใด<br />

25 กันยายน - 19 พฤศจิกายน ยุทธการที่<br />

อองเคร ฝ่ายสัมพันธมิตรล้มเหลวไม่สามารถ<br />

ฝ่าแนวรบของเยอรมนีได้<br />

‣ Battle of the Ancre


HISTORY<br />

OF THE<br />

WORLD WAR I<br />

1918 3 ตุลาคม<br />

เยอรมนี ขอให้ประธานาธิบดีวูดโรว์<br />

วิลสัน แห่งสหรัฐอเมริกาเป็นผู ้แทน<br />

เจรจาในการขอสงบศึก<br />

6 พฤศจิกายน<br />

เยอรมันนีลงนามในสัญญาสงบศึก<br />

11 พฤศจิกายน 10.58 น.<br />

พลทหาร Private George<br />

Price ของแคนาดาเป็นหนึ่งใน<br />

เหยื่อคนสุดท้ายของสงคราม<br />

11 พฤศจิกายน 11.00 น.<br />

สัญญาสงบศึกมีผลบังคับใช้<br />

28 มิถุนายน<br />

สนธิสัญญาแวร์<br />

ซายยุติสงคราม<br />

1919


ค.ศ.1939-ค.ศ.1945<br />

สงครามโลกครั ้งที่สอง เป็ นความขัดแย้งในวงกว้าง<br />

ครอบคลุมทุกทวีปและประเทศส่วนใหญ่ในโลก เริ่มต้นในปี<br />

ค.ศ. 1939และด าเนินไปจนกระทั่งสิ้นสุดในปี ค.ศ. 1945 ได้ชื่อ<br />

ว่าเป็ นสงครามที่มีขนาดใหญ่และท าให้เกิดความสูญเสียครั ้ง<br />

ใหญ่ที่สุดในประวัติศาสตร์โลก<br />

ฝ่ ายอักษะ มีแกนน าหลัก คือ เยอรมนี อิตาลี และ ญี่ปุ ่ น มี<br />

วัตถุประสงค์หลักว่าเพื่อต่อต้านขบวนการคอมมิวนิสต์ สากล<br />

ฝ่ ายพันธมิตร มีแกนน าหลัก คือ สหราชอาณาจักร<br />

สหภาพโซเวียต และ สหรัฐอเมริกา จีน และ ฝรั่งเศส<br />

ประเทศที่มีส่วนร่วม<br />

ในสงครำม<br />

• สีฟ้า ฝ่ ายอักษะ<br />

• สีเขียว ฝ่ ายสัมพันธมิตร


‣ สาเหตุการเกิด<br />

• ความไม่เป็ นธรรมของสนธิสัญญาแวร์ซายส์และสัญญาสันติภาพฉบับอื่นๆ ซึ ่งเยอรมันและชาติผู้<br />

แพ้สงคราม ถูกบังคับให้ลงนามในสัญญาที่ตนเสียเปรียบ<br />

• ความล้มเหลวขององค์การสันนิบาตชาติ การท าหน้าที่รักษาสันติภาพไม่ประสบผลส าเร็จ<br />

• ความขัดแย้งในอุดมการณ์ทางการเมือง แนวความคิดของผู้น าประเทศที่นิยมลัทธิทางทหาร คือ ฮิต<br />

เลอร์ ผู้น าลัทธินาซีของเยอรมนี และเบนนิโต มุสโสลินี ผู้น าลัทธิฟาสซีสม์ ของอิตาลี ทั ้งสอง<br />

ต่อต้านแนวความคิดเสรีนิยม และระบบการเมืองแบบรัฐสภาของชาติยุโรป แต่ให้ความส าคัญกับ<br />

พลังของลัทธิชาตินิยม ความเข้มแข็งทางทหาร และอ านาจผู้น ามากกว่า<br />

สมรภูมิตะวันตก<br />

สมรภูมิรบในสงครำม<br />

• สมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันตก ได้แก่ ในฝรั่งเศส ออสเตรีย-ฮังการี<br />

• สมรภูมิในทวีปยุโรปตะวันออก ได้แก่ ในโปแลนด์ กรีซ (บางส่วน) ยูโกสลาเวีย โรมาเนีย และ<br />

สหภาพโซเวียต<br />

• สมรภูมิริมขอบของทะเลเมดิเตอร์เรเนียน ได้แก่ ในไซปรัส กรีซ (บางส่วน) ลิเบีย และอียิปต์<br />

สมรภูมิทำงตะวันออก<br />

• สมรภูมิในจีน<br />

• สมรภูมิในแปซิฟิ คและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


สงครามฤดูหนาว<br />

จอมพลมำนเนอร์ไฮม์ (Mannheim,4 ส.ค.<br />

1944 – 11 มี.ค. 1946)<br />

สงครามฤดูหนาว หรือสงครามโซเวียต (Winter war) เป็ น<br />

สงครามระหว่างสหภาพโซเวียตกับประเทศฟิ นแลนด์ เกิดในช่วงต้น ๆ<br />

ของสงครามโลกครั ้งที่สอง เมื่อฟิ นแลนด์ปฏิเสธไม่ยอมยกดินแดน<br />

บางส่วนและไม่ยอมให้โซเวียตสร้างฐานทัพเรือในดินแดนของตน<br />

การโจมตีเริ่มขึ ้นเมื่อวันที่ 30 พฤศจิกายน ค.ศ. 1939 เมื่อทหารใน<br />

กองทัพบุกเข้าจู่โจมตามแนวรบหลายจุดบริเวณพรมแดนระหว่าง<br />

สหภาพโซเวียตกับฟิ นแลนด์ กองทัพฟิ นแลนด์บัญชาการโดย จอมพล<br />

มานเนอร์ไฮม์ (4 สิงหาคม 1944 – 11 มีนาคม 1946) สามารถต่อต้านการ<br />

โจมตีได้ดี แม้ว่าจะมีก าลังพลน้อยกว่าฝ่ ายโซเวียตมาก<br />

ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ ทหารรัสเซียเข้าไปในฟิ นแลนด์ได้ส าเร็จ<br />

หลังใช้ปื นใหญ่ระดมโจมตีแนวป้องกันตามคอคอดคาเรเลียซึ ่งอยู่ทางทิศ<br />

ใต้ของฟิ นแลนด์รวมทั ้งการโจมตีทางอากาศตามเมืองส าคัญต่างๆ<br />

สงครามสิ้นสุดลงในวันที่ 12 มีนาคม ค.ศ. 1940 เมื่อมีการลง<br />

นามในสัญญาสันติภาพมอสโก โดยฟิ นแลนด์ยอมยกดินแดนบางส่วน<br />

ให้โซเวียตและยอมให้โซเวียตก่อสร้างฐานทัพเรือบนคาบสมุทรฮัง<br />

โก การรุกรานฟิ นแลนด์ในครั ้งนี ้ท าให้สหภาพโซเวียตถูกขับออกจาก<br />

สันนิบาตชาติ เพราะละเมิดสนธิสัญญาที่จะไม่รุกรานฟิ นแลนด์


ยุทธการที่ฝรั่งเศส<br />

ยุทธกำรที่ฝรั่งเศส ในสงครำมโลกครั ้งที่สอง เป็ นกำรบุกครอง<br />

ฝรั่งเศสและเนเธอร์แลนด์ เบลเยี่ยม ลักแซมเบิร์ก ของเยอรมัน<br />

สงครำมเริ่มวันที่ 10 พฤษภำคม ค.ศ. 1940 โดยเอำชนะก ำลังฝรั่งเศส<br />

เป็ นหลัก ยุทธกำรมีสองปฎิบัติกำร คือ ปฏิบัติกำรแรก ฟัลล์ เกลบ์<br />

หน่วยยำนเกรำะของเยอรมนีผลักดันผ่ำอำร์เดนเนสเพื่อตัดและล้อม<br />

หน่วยสัมพันธมิตรที่รุกเข้ำสู ่ประเทศเบลเยียม เมื่อก ำลังอังกฤษและ<br />

ฝรั่งเศสที่ติดกันถูกผลักลงทะเลโดยปฏิบัติกำรของเยอรมนีที่<br />

คล่องตัวสูงและจัดระเบียบอย่ำงดี รัฐบำลอังกฤษตัดสินใจอพยพ<br />

ก ำลังรบนอกประเทศอังกฤษ ตลอดจนหลำยกองพลของฝรั่งเศสที่<br />

ดันเคิร์กในปฏิบัติกำรไดนำโม<br />

หลังก ำลังรบนอกประเทศอังกฤษถอนออกไป เยอรมนีเริ่ม<br />

ปฏิบัติกำรที่สอง ฟัลล์ รอท (กรณีแดง) เริ่มเมื่อวันที่ 5 มิถุนำยน ค.ศ.<br />

1940 ท ำให้เกิดสมัยกำรหลบหนีที่โกลำหลของรัฐบำลฝรั่งเศสและยุติ<br />

กำรต้ำนทำนทำงทหำรของฝรั่งเศสที่มีกำรจัดระเบียบอย่ำงชะงัด<br />

สุดท้ำยผู ้บังคับบัญชำของเยอรมนีประชุมกับข้ำรำชกำรฝรั่งเศสใน<br />

วันที่ 18 มิถุนำยน มีเป้ำหมำยให้รัฐบำลใหม่ของฝรั่งเศสสงบศึกกับ<br />

เยอรมนี ผู ้น ำรัฐบำลใหม่คนหนึ่ง คือ จอมพล ฟิ ลิป เปแตง (24<br />

เมษำยน 1856 – 23 กรกฎำคม 1951)<br />

วันที่ 22 มิถุนำยน มีกำรลงนำมกำรสงบศึกระหว่ำงฝรั่งเศส<br />

กับเยอรมนี ซึ่งส่งผลให้มีกำรแบ่งประเทศฝรั่งเศส ซึ่งเยอรมนีจะยึด<br />

ครองภำคเหนือและตะวันตก ส่วนอิตำลีควบคุมเขตยึดครองอิตำลี<br />

ขนำดเล็กทำงตะวันออกเฉียงใต้ และเขตที่ไม่มีกำรยึดครองปกครอง<br />

โดยัฐบำลวิชีที่เพิ่งตั ้งโดยมีจอมพลเปแตงเป็ นผู ้น ำ แม้ฝรั่งเศสจะพ่ำย<br />

แพ้สงครำมครั ้งนี้ แต่นำยพลชำลส์ เดอ โกล (22 พฤศจิกำยน<br />

ค.ศ.1890– 9 พฤศจิกำยน ค.ศ.1970)แห่งกองทัพฝรั่งเศสได้<br />

หลบหนีไปอยู ่กรุงลอนดอน ได้ตั ้งแนวร่วมปลดปล่อยฝรั่งเศส เพื่อ<br />

ต่อต้ำนนำซีและรัฐบำลวิชีฝรั่งเศส ประเทศฝรั่งเศสอยู ่ภำยใต้กำรยึด<br />

ครองของฝ่ ำยอักษะเรื่อยมำกระทั่งกำรปลดปล่อยหลังกำรยกพลขึ้น<br />

บกของฝ่ ำยสัมพันธมิตรใน ค.ศ. 1944


ยุทธกำรบำร์บำรอสซำ (Operation Barbarossa)<br />

22 มิถุนำยน 1941 เยอรมนีรวมไปถึงกลุ ่ม<br />

ประเทศฝ่ ำยอักษะในทวีปยุโรปได้ยกพลเข้ำโจมตี<br />

สหภำพโซเวียตในปฏิบัติกำรบำบำรอสซำ ซึ่งเป็ น<br />

กำรกระท ำที่เหนือควำมคำดหมำย มีเป้ำหมำยหลัก<br />

คือกำรเชื่อมต่อแนวทะเลระหว่ำงทะเลบอลติกและ<br />

ทะเลขำว เป็ นกำรท ำลำยล้ำงระบอบคอมมิวนิสต์และ<br />

อ ำนำจทำงกำรทหำรของสหภำพโซเวียต รวมถึง<br />

เพื่อที่จะได้ครอบครองแหล่งทรัพยำกร<br />

Battle of Okinawa<br />

• เป็ นการรบครั ้งใหญ่ที่สุดในช่วงสุดท้ายของสงครามโลกครั ้งที่ 2 ตั ้งแต่ 1 เมษายนถึง 22 มิถุนายน<br />

1945 โดยฝ่ ายสัมพันธมิตรวางแผนที่จะใช้เกาะโอกินาว่า เป็ นฐานปฏิบัติการในการบุกแผ่นดินใหญ่<br />

ของญี่ปุ ่ น<br />

• พลเรือนชาวโอกินาว่าที่เป็ นผู้บริสุทธิ ์ ต้องโดนลูกหลงจากการโจมตีของทางฝั่งสัมพันธมิตร<br />

รวมถึงการบังคับให้ฆ่าตัวตายจากกองทัพจักรวรรดิญี่ปุ ่ นเอง โดยไม่ได้รับการเหลียวแลจากรัฐบาล<br />

เลยแม้แต่น้อย<br />

• เหตุการณ์ฆ่าตัวตายหมู่เกิดขึ ้นหลังจากที่ทหารอเมริกันเริ่มจับชาวโอกินาว่าไปเป็ นเชลย ซึ ่งทาง<br />

กองทัพญี่ปุ ่ นได้ประกาศถึงความเลวร้ายที่จะเกิดขึ ้น หากพวกเขาตกไปเป็ นเชลย จะต้องถูกทรมาน<br />

อย่างแสนสาหัส


ระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ<br />

การทิ้งระเบิดนิวเคลียร์ที่ฮิโระชิมะและนะงะซะกิ เป็ นการโจมตีจักรวรรดิ<br />

ญี่ปุ ่ นด้วยอาวุธนิวเคลียร์ของสหรัฐอเมริกา เมื่อปลายสงครามโลกครั ้งที่สอง โดย<br />

ค าสั่งของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา แฮร์รี เอส. ทรูแมน เมื่อวันที่ 6 สิงหาคม<br />

และวันที่ 9 สิงหาคม ค.ศ.1945 หลังจากการโจมตีทิ้งระเบิดเพลิงตามเมืองต่าง ๆ<br />

67 เมืองของญี่ปุ ่ นอย่างหนักหน่วงเป็ นเวลาติดต่อกันถึง 6 เดือน สหรัฐอเมริกาจึง<br />

ได้ทิ้ง "ระเบิดปรมาณู"ใส่เมืองฮิโระชิมะในวันจันทร์ที่ 6 สิงหาคมค.ศ.1945 ลูกที่<br />

สองใส่เมืองนะงะซะกิโดยให้จุดระเบิดที่ระดับสูงเหนือเมืองเล็กน้อย นับเป็ น<br />

ระเบิดนิวเคลียร์เพียง 2 ลูกเท่านั ้นที่น ามาใช้ในประวัติศาสตร์<br />

การท าสงครามการระเบิดท าให้มีผู้เสียชีวิตที่ฮิโระชิมะ และที่นะงะซะกิเป็ น<br />

จ านวนมากและมีผู้เสียชีวิตด้วยการบาดเจ็บหรือจากการรับกัมมันตรังสีที่ถูก<br />

ปลดปล่อยออกมาจากการระเบิดอีกนับหมื่นคน หลังการทิ้งระเบิดลูกที่สองเป็ น<br />

เวลา 6 วัน ญี่ปุ ่ นประกาศตกลงยอมแพ้สงครามต่อฝ่ ายพันธมิตรเมื่อวันที่ 15<br />

สิงหาคมค.ศ.1945และลงนามในตราสารประกาศยอมแพ้สงครามมหาสมุทร<br />

แปซิฟิ กที่นับเป็ นการยุติสงครามโลกครั ้งที่สอง อย่างเป็ นทางการในวันที่ 2<br />

กันยายน ค.ศ.1945<br />

‣ แผนที ่แสดงต าแหน่งเมืองฮิโระชิมะและนะงะ<br />

ซะกิ ประเทศญี ่ปุ ่ นที ่ถูกทิ้งระเบิดปรมาณู<br />

‣ ผู ้เสียชีวิตจากสารกัมมันตรังสี


การปะทะกันทางภาคพื้นทะเล ญี ่ปุ ่ นได้ใช้กลยุทธ์ “กามิกาเซ่” ครั้งใหญ่ถึง 7 ครั้ง<br />

โดยใช้เครื ่องบินมากกว่า 1,500 ล า ส่งผลให้กองทัพเรือสหรัฐสูญเสียมากที ่สุด<br />

มากกว่าการสู ้รบอื ่นๆ ในสงคราม<br />

การยุติลงของสงครามโลกครั้งที ่ 2<br />

ใน ค.ศ. 1943 สัมพันธมิตรได้ประชุมโดยมีวัตถุประสงค์คือ กองก าลังของสัมพันธมิตรจะบุก<br />

เข้าไปถึงใจกลางของเยอรมนีและท าลายกองทัพเยอรมนีลงให้ได้ โดยมีนายพลไอเซนเฮาว์<br />

(Eisenhower) เป็ นผู้บัญชาการของสัมพันธมิตรในยุโรปตะวันตก การปฏิบัติการโอเวอร์ลอร์ด<br />

(Operation Overlord) นับเป็ นการบุกฝรั่งเศสครั ้งส าคัญที่สุดในประวัติศาสตร์ ฝ่ ายสัมพันธมิตร<br />

ประกอบด้วยทหารสหรัฐอเมริกา อังกฤษ แคนาดา และฝรั่งเศส จ านวน 155,000 คน บุกขึ ้นฝั่งนอร์มัง<br />

ดี ทางเหนือของฝรั่งเศส ในวันที่ 6 มิถุนายน 1944 เรียกว่าวัน D – Day (Decision Day)<br />

• สัมพันธมิตรยกพลขึ ้นบกที่ ชายฝั่งแคว้นนอร์มังดี วัน D-DAY<br />

• สงครามโลกในยุโรปสิ้นสุดลงเมื่อกองทัพสัมพันธมิตรบุกเข้าเบอร์ลินในเดือนมิถุนายน<br />

ค.ศ.1944<br />

• เมื่อสหรัฐอเมริกาทิ้งระเบิดปรมาณูที่เมืองฮิโรชิมาและเมืองนางาซากิ ในวันที่ 6และ 9 สิงหาคม<br />

ค.ศ.1945


TIME LINE<br />

Sep 1 เยอรมันบุกโปแลนด์<br />

Sep 3 อังกฤษ กับ ฝรั่งเศส ประกาศสงครามกับเยอรมัน<br />

Sep 17 รัสเซียบุกรุกโปแลนด์<br />

Sep 27 ทหารในกรุงวอร์ซอประกาศยอมแพ้<br />

Oct 6 ทหารโปแลนด์ ประกาศยอมแพ้<br />

Nov 30 รัสเซียบุกรุก ฟิ นแลนด์<br />

1939<br />

Mar 12 สงครามรัสเซียฟิ นแลนด์สิ้นสุด<br />

Apr 8 เยอรมันบุกเดนมาร์ก พร้อม นอร์เวย์<br />

May 10 บุกรุกเยอรมนีฝรั่งเศส, ฮอลแลนด์, เบลเยียม,<br />

ลักเซมเบิร์ก<br />

วินสตันเป็ นนายกรัฐมนตรีของสหราชอาณาจักร<br />

Jun 9 Norway ประกาศยอมแพ้<br />

Jun 10 อิตาลีประกาศสงครามกับฝรั่งเศสและอังกฤษ<br />

Jun 14 ทหารเยอรมันเดินขบวนในกรุงปารีส<br />

Jun 22 ฝรั่งเศสประกาศยอมแพ้<br />

Jul 10 "Battle of Britain สงครามกลางเวหา"<br />

เริ่มต้น<br />

Sep 27 ญี่ปุ ่ นประกาศเข้าร่วมกับฝ่ ายอักษะ<br />

Oct 23 สเปนปฏิเสธข้อเสนอของฮิตเลอร์เข้าร่วมสงคราม<br />

และยังคงเป็ นกลาง<br />

Oct 28 อิตาลีบุกกรีซบ จากแอลเบเนีย แต่ไม่ค่อยประสบ<br />

ความส าเร็จ<br />

Nov 20 ฮังการีและโรมาเนีย จ ายอมเข้าร่วมในฝ่ ายอังษะ<br />

Dec 9 กองทัพอังกฤษในอียิปต์โจมตีสวนกลับกองทัพอิตา<br />

เลียนประสบความส าเร็จ<br />

1940


TIME LINE<br />

Mar 3 Rommel โจมตีกองทัพอังกฤษในแอฟริกาเหนือ<br />

Apr 6 Germany บุกรุกยูโกสลาเวียและกรีซ<br />

Apr 13 ทหารญี่ปุ ่ นและรัสเซียลงนามสนธิสัญญาไม่รุกราน<br />

Jun 22 กองทัพ Germany บุกรุกรัสเซีย ค าสั่งฮิตเลอร์"<br />

โหดร้ายสูงสุด"ต่อพลเรือน<br />

Oct 2 กองทัพเยอรมันโจมตี Moscow ใน<br />

ยุทธการณ์ Typhoon<br />

Oct 16 รัฐบาลรัสเซียเดินทางออกจากกรุง Moscow, เยอรมัน<br />

ครอบครอง Odessa<br />

Oct 17 นายพล Tojo เป็ นนายกรัฐมนตรีญี่ปุ ่ น<br />

Oct 26 เยอรมันครอบครอง Kharkov<br />

Nov 15 สภาพที่ ้เลวร้าย ของ อากาศช่วยชะลอ การบุกของ<br />

เยอรมันไว้ได้<br />

Dec 7 กองทัพเรือ The Japanese ถล่มกองเรือสหรัฐ ที่อ่าว<br />

Pearl Harbour พร้อมกับ ยกพลบุกไทย และ<br />

ฟิลิปิ นส์ สหรัฐประกาศสงครามกับญี่ปุ ่ น<br />

Dec 11 เยอรมนีและอิตาลีประกาศสงครามกับสหรัฐอเมริกา<br />

Dec 19 ฮิตเลอร์แต่งตั ้งตัวเองเป้นผู้บัชญาการสูงสุด<br />

1941<br />

Jan 26 ทหารสหรัฐเริ่มเข้ามาในเกาะอังกฤษ<br />

Feb 15 สิงคโปร์ประกาศยอมแพ้แก่ญี่ปุ ่ น<br />

Mar 20 เริ่มมีการการทดลอง ก๊าซพิษ ใน Nazi death camps.<br />

Jun 4 "The battle of Midway" ท าให้เรือบรรทุกเครื่องบินของ<br />

ญี่ปุ ่ นจมถึง 4 ล า<br />

1942


TIME LINE<br />

Sep 3 พันธมิตรบุกแผ่นดินใหญ่ของอิตาลี<br />

Sep 8 อิตาลี ประกาศยอมแพ้ กองก าลังเยอรมันในภาคเหนือ<br />

และภาคกลางอิตาลีครอบครองเข้าครอบครอง<br />

Sep 25 รัสเซียปลดปล่อย Smolensk<br />

Oct Allied เรือด าน ้าป้องกันฐานก่อตั ้งขึ ้นใน Azores, กลาง<br />

ของมหาสมุทรแอตแลนติก<br />

Nov 6 รัสเซียปลดปล่อย Kiev<br />

1943<br />

Jun 19 "Battle of the Philippine sea“<br />

Sep 8 จรวด V2 ของเยอรมัน ยิงใส่เกาะอังกฤษ<br />

Sep 17 พันธมิตรเข้าสู่ฮอลแลนด์<br />

Oct 5 กองทัพอังกฤษเข้าสู่กรีซ<br />

Dec 16 โจมตีเยอรมันใน Ardennes เริ่มต้น(Battle of the<br />

Bulge)<br />

1944<br />

Mar 16 The battle of Iwo Jima สิ้นสุด<br />

Apr 6 กองทัพเรือยกพลสู่ Okinawa,ญี่ปุ ่ นสั่งทุกกองก าลัง<br />

ในการใช้กลยุทธ์การฆ่าตัวตายกามิกาเซ่<br />

Apr 7 เรือประจัญบานยามาโต้ ถูกจมลงแถบ Okinawa<br />

Jun 21 Battle of Okinawa สิ้นสุด<br />

Jul 16 สหรัฐอเมริกาทดสอบระเบิดปรมาณูใน New<br />

Mexico<br />

Aug 6 ฮิโรชิมาถูกท าลายด้วยระเบิดปรมาณู<br />

Aug 8 Russia ประกศสงครามกับ Japan<br />

Aug 9 นางาซากิถูกท าลายด้วยระเบิดปรมาณู<br />

Aug 14 ญี่ปุ ่ น ประกาศยอมแพ้ สิ้นสุดสงครามโลกครั ้งที่ 2<br />

1945


สงครามเย็น นักสังคมนิยมชาวเยอรมันได้อธิบายการแข่งขันกัน<br />

ด้านอาวุธและสมรรถนะทางทหารระหว่างเยอรมนีกับประเทศเพื่อนบ้านว่า<br />

เป็ นเสมือน “สงครามเย็น” ในค.ศ.1945 ซึ ่งก็มีความหมายกว้างกว่าการแข่งขัน<br />

กันด้านอาวุธและสมรรถนะทางทหารเพราะเป็ นสภาวะที่นักประวัติศาสตร์<br />

เห็นว่า “ เป็ นการปะทะขั ้นพื ้นฐานด้านอุดมการณ์และผลประโยชน์”<br />

ที่ส าคัญคือความแตกต่างทางอุดมการณ์การเมืองระหว่างสหภาพ-<br />

โซเวียตกับสหรัฐอเมริกาซึ ่งเป็ นประเทศอภิมหาอ านาจในช่วงหลังค.ศ.1945<br />

ทั ้งสองฝ่ ายต่างผลัดกันแพ้และชนะแต่ในท้ายที่สุดลัทธิคอมมิวนิสต์จะมีชัย<br />

ชนะ ความขัดแย้งและความแตกต่างด้านอุดมการณ์ทางการเมืองจึงเป็ น<br />

พื ้นฐานของสงครามเย็นที่ท าให้ความสัมพันธ์ระหว่างสองกลุ่มลัทธิตึงเครียด<br />

สงครามเย็นยังเป็ นผลสืบเนื่องจากสงครามโลกครั ้งที่2ความพ่ายแพ้ของเยอรมนี<br />

และความพินาศหายนะของยุโรปในช่วงระหว่างสงครามท าให้เกิด ช่องว่างแห่ง<br />

อ านาจ ขึ ้นในยุโรป ระหว่างค.ศ.1945-1949 ยุโรปถูกแบ่งเป็ นสองส่วนและใน<br />

ค.ศ.1949 เป็ นที่ประจักษ์ชัดว่ายุโรปถูกแบ่งเป็ นเขตคอมมิวนิสต์และเขตที่ไม่ใช่<br />

คอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออกสหภาพโซเวียตสถาปนาระบอบคอมมิวนิสต์ที่ถูก<br />

ควบคุมจากมอสโกเพื่อให้ยุโรปตะวันออกเป็ นเขตกันชนซึ ่งท าให้สงครามเย็นมี<br />

ลักษณะเป็ นสงครามขยายอาณาเขตทางการเมืองด้วย<br />

การเผชิญหน้าค.ศ.1945-1950 ประเทศมหาอ านาจพันธมิตรซึ ่งประกอบด้วยสหรัฐอเมริกา อังกฤษและ<br />

สหภาพโซเวียตได้จัดการประชุมหลายครั ้งเพื่อหาทางที่จะเอาชนะฝ่ ายอักษะและแสวงหาแนวทางที่<br />

ธ ารงไว้ซึ ่งสันติภาพอันถาวร


กำรประชุมที่ยัลต้ำ<br />

กำรประชุมที่ยัลต้ำ (Argonaut Conference) ผู้น าสหภาพ<br />

โซเวียตมีจุดมุ่งหมายจะท าความตกลงเพื่อเผด็จศึกฝ่ ายอักษะโดยเร็ว<br />

ที่สุด ผลการประชุมที่ส าคัญครั ้งนี ้ คือ ความตกลงเกี่ยวกับสถาปนา<br />

องค์การสหประชาชาติโดยประเทศที่ได้รับการปลดปล่อยแล้วจะ<br />

ได้รับการส่งเสริมให้มีการปกครองในระบอบประชาธิปไตยตาม<br />

หลักการในกฏบัตรแอตแลนติก (Atlantic Charter)<br />

นับได้ว่าเป็ นชัยชนะและความส าเร็จทางการทูตของ<br />

สหภาพโซเวียตเพราะสหรัฐอเมริกาและอังกฤษต่างยอมรับรับอย่าง<br />

เป็ นทางการว่าสหภาพโซเวียตจะเป็ นประเทศที่เข้าไปปลดปล่อย<br />

ยุโรปตะวันออกจากการยึดครองของเยอรมนี<br />

กำรประชุมที่พอทสดัม (Potsdam Conference)<br />

เป็ นการหารือเกี่ยวกับการสร้าสันติภาพในยุโรป ผลการประชุมส าคัญมี 2<br />

เรื่องใหญ่คือความตกลงทั่วไปเกี่ยวกับเยอรมนีและประเทศบริวารและการ<br />

เจรจาสันติภาพกับญี่ปุ ่ น<br />

กำรประชุมที่พอทสดัม<br />

กำรประชุมสภำรัฐมนตรีต่ำงประเทศ (Foreign Ministerial<br />

Conference) ผู้แทนสหภาพโซเวียตพยายามเดินกลวิธีต่างๆเพื่อให้<br />

ได้ประโยชน์มากที่สุดและเห็นความจ าเป็ นที่จะต้องช่วยยุโรปให้<br />

รอดพ้นจากภัยคุกคามคอมมิวนิสต์ทุกวิธีทางที่จะท าได้ มักจบลง<br />

ด้วยการกล่าวหาซึ ่งกันและกันซึ ่งสะท้อนภาพความขัดแย้งของ<br />

ประเทศพันธมิตรตะวันตกกับสหภาพโซเวียตที่มีส่วนเพาะเชื ้อ<br />

ของสงครามเย็นให้เติบโตขึ ้น<br />

กำรเจรจำก ำจัดอำวุธทำงยุทธศำสตร์


ควำมขัดแย้งและกำรปรองดอง<br />

สหภาพโซเวียตฟื ้ นตัวจากสงครามโลกครั ้งที่ 2 อย่างรวดเร็ว เพราะพื ้นที่กว้างใหญ่<br />

มีทรัพยากรธรรมชาติมาก สามารถผลิตอาวุธนิวเคลียร์ได้ส าเร็จ สหภาพโซเวียตต้องการเป็ นผู้น าใน<br />

การปฏิวัติโลกเพื่อสถาปนาระบบสังคมนิยม หลัง สงครามโลกครั ้งที่ 2 เกิดการเผชิญหน้าของสอง<br />

อภิมหาอ านาจในภูมิภาคต่างๆ เริ่มต้นจากปัญหาความมั่นคงในยุโรป สหภาพโซเวียตขยายอิทธิพล<br />

เข้าไปในยุโรปในระหว่างสงครามโลกครั ้งที่ 2 จนกลุ่มประเทศยุโรปตะวันออกกลายเป็ นกลุ่ม<br />

ประเทศคอมมิวนิสต์<br />

วิกฤตกำรณ์เบอร์ลิน<br />

วิกฤตกำรคำบสมุทรเกำหลี<br />

วิกฤตกำรณ์คิวบำ<br />

สหรัฐอเมริกาด าเนินนโยบายสกัดกั ้นลัทธิคอมมิวนิสต์ด้วยการประกาศหลักการทรู แมน ในเดือน มีนาคม ค.ศ.1947<br />

ซึ ่งมีสาระส าคัญว่าสหรัฐอเมริกาจะได้ความช่วยเหลือแก่ประเทศต่างๆ เพื่อธ ารงไว้ซึ ่งเอกราชและอธิปไตยให้พ้นจากการ<br />

คุกคามของลัทธิคอมมิวนิสต์ ทั ้งภายนอกและภายในประเทศ รัฐสภาอนุมัติเงินและให้ความช่วยเหลือตุรกีและกรีกให้รอดพ้น<br />

จากเงื ้อมมือ ลัทธิคอมมิวนิสต์ ในปี เดียวกันสหภาพโซเวียตได้ตั ้งส านักงานข่าวคอมมิวนิสต์ (Cominform) ขึ ้นที่กรุงเบลเกรด<br />

ท าหน้าที่เผยแพร่ลัทธิคอมมิวนิสต์และเป็ นเครื่องมือของสหภาพโซเวียต เพื่อป้องกันมิให้โลกเสรีเข้าแทรกแซงในกลุ่ม<br />

ประเทศยุโรปตะวันออก เป็ นการตอบโต้หลักการทรูแมน การประกาศหลักการทรูแมนของสหรัฐอเมริกาถือว่าเป็ นการเริ่มต้น<br />

อย่างแท้จริง ของสงครามเย็นระหว่างสองอภิมหาอ านาจ


กำรผ่อนคลำยควำมตึงเครียด<br />

เป็ นการเปลี่ยนแปลงของความสัมพันธ์ทางการทูตระหว่างประเทศอภิมหาอ านาจในยุค<br />

สงครามเย็น คือ สหรัฐอเมริกา และ สหภาพโซวียต โดยทั ้งสองประเทศพยายามลดความตึงเครียด<br />

และความเป็ นปฏิปักษ์ต่อกันด้วยการหันมาปรับเปลี่ยนนโยบายการต่างประเทศที่มุ่งแข่งขันกันขยาย<br />

อ านาจและแผ่อิทธิพลตลอดจนสะสมอาวุธนิวเคลียร์ มาเป็ นการสร้างความสัมพันธ์ฉันมิตรต่อกัน<br />

และร่วมมือกันในด้านเศรษฐกิจ สังคม การค้าและวัฒนธรรม บรรยากาศอันตึงเครียดของสงคราม<br />

เย็น ในทวีปยุโรปและดินแดนส่วนอื่น ๆ ของโลกจึงผ่อนคลายลง<br />

เลโอนิด เบรจนิฟ แห่งสหภำพโซเวียต (ซ้ำย) และริชำร์ด นิกสัน แห่งสหรัฐอเมริกำ (ขวำ) ระหว่ำงกำรเยือน<br />

สหรัฐอเมริกำของเบรจเนฟในปี 2516 นับเป็ นหนึ่งในเหตุกำรณ์ส ำคัญในช่วงกำรผ่อนคลำยควำมตึงเครียด


กำรสิ้นสุดสงครำมเย็น<br />

กำรสิ้นสุดของสงครำมเย็น<br />

สิ้นสุดของทศวรรษ 1980 เป็ นการสิ้นสุดของยุคสมัย<br />

แห่ง “สงครามเย็น” ซึ ่งด าเนินมาเป็ นเวลาเกือบครึ ่ งศตวรรษภายหลัง<br />

สงครามโลกครั ้งที่ 2<br />

เหตุการณ์ส าคัญที่ท าให้การขัดแย้งทางอุดมการณ์และ<br />

การแข่งขันกันเป็ นผู้น าของโลกระหว่างสหรัฐอเมริกา และสหภาพโซ<br />

เวียตสิ้นสุดลงสืบเนื่องมาจากการล่มสลายของระบบ การปกครอง<br />

คอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก และความเปลี่ยนแปลงในสหภาพโซ<br />

เวียตอันเป็ นผลมาจากนโยบาย ปฏิรูปเศรษฐกิจและการเมืองซึ ่งนายมิ<br />

คาอิล กอร์บาชอฟ เห็นว่าเป็ นความ จ าเป็ นที่หลีกเลี่ยงไม่ได้การ<br />

ปรับเปลี่ยนนโยบายดังกล่าวท าให้เกิด ความไม่พอใจในกลุ่มผู้น า<br />

คอมมิวนิสต์หัวเก่าและน าไปสู่การปฏิวัติที่ล้มเหลวการหมดอ านาจ<br />

ของพรรคคอมมิวนิสต์ ประเทศบริวารของสหภาพโซเวียต ในยุโรป<br />

ตะวันออก ต่างแยกตัวเป็ นอิสระและท้ายที่สุดรัฐต่างๆ ในสหภาพ -<br />

โซเวียต ต่างแยกตัวเป็ นประเทศอิสระปกครองตนเอง<br />

กำรร่วมมือทำงเศรษฐกิจ<br />

มีผลท าให้สหภาพโซเวียต ล่มสลายลงในปี ค.ศ. 1991<br />

จากการล่มสลายของระบบคอมมิวนิสต์ในยุโรปตะวันออก<br />

ส่งผลให้มีการ สลายตัวของ “กลุ่มโซเวียต” และ“องค์การ<br />

สนธิสัญญาวอร์ซอ” รวมทั ้งองค์การโคมีคอน ซึ ่งเป็ น<br />

องค์การร่วมมือทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ สังคมนิยม<br />

ปรากฏการณ์นี ้จึงท าให้การเผชิญหน้าระหว่างประเทศ<br />

มหาอ านาจตะวันออก–ตะวันตกได้สลายตัวลงด้วยเหตุการณ์<br />

ที่เป็ นนับว่าเป็ นสัญลักษณ์ของการสิ้นสุดของ “สงครามเย็น”<br />

คือ การท าลายก าแพงเบอร์ลิน ในปี ค.ศ. 1989 และการรวม<br />

ประเทศ เยอรมนีทั ้งสองเข้าเป็ นประเทศเดียวกัน ในปี<br />

ค.ศ. 1990<br />

กำรท ำลำยก ำแพงเบอร์ลิน


ยาสึโกะ นาอิโตะ<br />

ยาสึโกะ นะอิโตะ เกิดวันที่ 4<br />

ตุลาคม ค.ศ. 1933 เป็ นผู้หญิงญี่ปุ ่ นที่<br />

แ ต่ ง ง า น กับ ส า มี ช า ว กัม พู ช า ซึ ่ ง มี<br />

ต าแหน่งเป็ นทูต<br />

ยาสึโกะมีลูกสองคนกับเขาและ<br />

เขามีลูกติดมาด้วยสองคนเช่นกัน<br />

ยาสึ โกะอยู่ในแวดวงนักการทูตอัน<br />

หรูหราสะดวกสบายจนกระทั่งเขมรแดง<br />

ยึ ด ก รุ ง พ น ม เ ป ญ แ ล้ ว เ ก ณ ฑ์ ค น มี<br />

การศึกษาออกจากเมืองไปท านาและเอา<br />

ไปฆ่าตามสถานที่ต่างๆ เช่น ทุ่งสังหาร<br />

ยาสึโกะต้องเร่ร่อนไปตามเมือง<br />

ต่างๆตามค าสั่งเขมรแดง ท างานอดๆ<br />

อยากๆ อยู่ถึง 4 ปี สามีและลูกของเธอ<br />

เสียชีวิต ส่วนเธอรอดชีวิตได้กลับญี่ปุ ่ น<br />

ต ล อ ด 4ปี ที่ ท ร ม า น ย า สึ โ ก ะ ไ ม่ มี<br />

ประจ าเดือนจนกลับญี่ปุ ่ นกินอาหารปกติ<br />

ประจ าเดื อนถึ งกลับมา แต่แล้วยา<br />

สึกโกะก็เสียชีวิตเพราะมะเร็งผลจากจาก<br />

ทรมานอย่างหนักช่วงเขมรแดงครอง<br />

เมือง


ถ้าพูดถึงสงครามพวกเราก็จะสนใจ<br />

เกี่ยวกับ ผลของการรบกันว่าฝ่ ายไหนเป็ น<br />

ฝ่ ายชนะ และฝ่ ายไหนเป็ นฝ่ ายที่แพ้ แต่กลับ<br />

ลืมไปว่าการที่มีการท าสงครามกันเกิดขึ ้น<br />

ชีวิตผู้คนที่อยู่ในเขตการท าสงครามนั ้นจะมี<br />

การใช้ชีวิตอย่างไร ในครั ้ งนี ้ ผมจะพาทุก<br />

ท่านมาท าความรู้จักกับ “ยาสึโกะ นะอิโตะ”<br />

ผู้หญิงที่ต้องทุกข์ทนทรมานในสงคราม<br />

เวียดนามถึง 4 ปี ซึ ่งเป็ นเหมือนนรกบนดิน<br />

ส าหรับเธอ<br />

15 เมษายน ค.ศ. 1975<br />

เมื่อเกิดเหตุการณ์อย่างนี ้ขึ ้นท าให้พวกทหารซึ ่งในเรื่องเขาจะถูก เรียกว่า “อีกา” มาสั่งให้ประชาชนที่อยู่ใน<br />

พนมเปญอพยพออกไปและเดินทางไปที่เปปนู ซึ ่งก็รวมถึงครอบครัวของยาสึโกะด้วย ท าให้การผจญกับ<br />

นรก 4 ปี ในเวียดนามของเธอจึงเริ่มต้นขึ ้น<br />

23 เมษายน ค.ศ. 1975<br />

เมื่อพวกเธอเดินทางมาถึงเปปนูก็ได้พักผ่อนแต่วันรุ่งขึ ้นก็มีค าสั่งให้อพยพไปอีก เพราะ จะมีการโจมตี<br />

ทางอากาศของอเมริกา ท าให้ผู้คนต่างอพยพตามกันไป


้<br />

9 พฤษภาคม ค.ศ. 1975<br />

เราก็เดินทางมาถึงที่วัด บริเวณภูเขาอุดรและก็<br />

เข้าไปลึกอีกที่มีชื่อว่า “พิสะได หมายเลข 2”<br />

ซึ ่ งที่นี่นั ้นเป็ นที่ที่ยาสึโกะนั ้นสูญเสียลูกชาย<br />

คนโตที่ ก า ลังป่ ว ยอยู่ไป ท า ใ ห้เ ธ อแ ละ<br />

ครอบครัวเสียใจเป็ นอย่างมาก<br />

4 มิถุนายน ค.ศ. 1975<br />

สามีและโทนี่ซึ ่งเป็ นลูกไปน าไม้กระดานและไม้<br />

ไผ่มาสร้างบ้าน และโทนี่นั ้ นก็เป็ นคนที่รับ<br />

หน้าที่ท างานแทนพ่อกับแม่ของเขา<br />

23 เมษายน ค.ศ. 1975<br />

ภาพอันโหดร้ายที่เธอได้เห็น คือ หญิงคนหนึ ่งนอนอยู่ริม<br />

ถนน ศีรษะของเด็กแรกเกิดก าลังโผล่ออกมาจากผ้าถุง<br />

ของเธอ แล้วในระหว่างการเดินทางลูกชายคนโตของเธอ<br />

มีอาการปวดท้องอย่างเห็นได้ชัด และในช่วงสงครามนี<br />

เอง “เงิน” เป็ นสิ่งที่ไม่จ าเป็ นที่สุด การที่เราจะซื ้อข้าว<br />

หรือวัตถุดิบต่างๆก็ต้องเอาพวกเสื ้อผ้า นาฬิกา หรือไม่ก็<br />

รองเท้าไปแรกมา<br />

25 พฤษภาคม ค.ศ. 1975<br />

พวกของยาสึโกะก็ต้องอพยพจากภูเขาอุดรไป จนไป<br />

ถึงหมู่บ้านโทระกัป ซึ ่งที่นี่มีน ้าที่อุดมสมบูรณ์ พวกเรา<br />

ได้อาศัยอยู่ที่นี่<br />

23 กรกฎาคม ค.ศ. 1975<br />

แต่ความสุขมักจะอยู่กับเราได้ไม่นาน เมื่อโทนี่นั ้นตก<br />

ลงมาจากต้นตาลตอนที่ก าลังท างานออยู่ และก็ต้องมา<br />

ตามโทโมริที่เป็ นพี่ชายไป เหตุการณ์แบบนี ้มันเกิดขึ ้น<br />

บ่อยเกินไปแล้ว มันท าให้จิตใจของยาสึ โกะนั ้ น<br />

อ่อนแอลงเรื่อยๆ ได้แต่ขอภาวนาว่าอย่าให้มีใครต้อง<br />

มาตายจากเธอไปอีก


2 สิงหาคม ค.ศ. 1975<br />

แต่แล้วโชคชะตาก็เล่นตลกกับยาสึโกะอีกครั ้ ง<br />

เพราะว่าครั ้งนี ้สิ่งที่เกิดกับเธอก็คือ การจากไปของ<br />

ตีนี่<br />

2 ธันวาคม ค.ศ. 1975<br />

อาการก็ไม่ดีขึ ้ นเลยถึงหมอจะรักษาอย่างไร<br />

อาการก็ไม่ดีขึ ้นเลย และจากนั ้นไม่นานสามีก็ทิ้ง<br />

เธอปอีกคน ตอนนี ้ ยาสึโกะรู้สึกเหมือนทรมาน<br />

ที่สุดในชีวิต เธอร้องไห้ออกมาราวกับว่าอดกลั ้น<br />

มานาน<br />

1 ตุลาคม ค.ศ. 1975<br />

ตอนนี ้นั ้นเหลือเพียงแค่สามีและยาสึโกะเท่านั ้น และเราก็<br />

ได้เดินทางกันอีกครั ้ ง เมื่อมาถึงศรีโสภณสามีของเธอก็<br />

เกิดอาการท้องเสี ยขึ ้ นและกินอะไรไม่ค่อยได้ ท าให้<br />

ร่างกายของเขาค่อยซูบผอมไปทีละน้อย<br />

3 เมษายน ค.ศ. 1976<br />

เมื่อเวลาผ่านไปยาสึโกะก็เดินทางต่อมาเรื่อยๆ มาจนถึง<br />

หมู่บ้านเมาและได้ใช้ชีวิตอยู่ที่นี่เป็ นเวลานานแต่ว่าพวก<br />

ทหารก็เข้ามา ท าให้เธอตัดสินใจหนีออกจากหมู่บ้านนั ้น<br />

ไปกับครูเรียง การหนีนั ้นเป็ นไปได้ยากล าบากแต่ว่าสวรรค์<br />

ก็ยังไม่ทิ้งพวกเขา เพราะพวกเขาได้เจอกับทหารของ<br />

กองทัพอิสระ<br />

16 มิถุนายน ค.ศ. 1979<br />

ยาสึโกะได้กลับประเทศญี่ปุ ่ น


้<br />

อเมริกาเป็ นประเทศที่เกิด<br />

ใหม่ ประชาชนรุ่นแรกๆนั ้นส่วน<br />

ใหญ่เป็ นพวกชาวอังกฤษที่อพยพ<br />

หลบหนีจากความขัดแย้งและการ<br />

กดขี่ไปยังโลกใหม่ อเมริกาเป็ น<br />

ประเทศที่เกิดขึ ้ นในยุคทุนนิยมที่<br />

ก าลังเฟื่ องฟู ไม่เคยผ่านสังคมศักดิ<br />

นามาก่อนและเป็ นประเทศที่ไม่มี<br />

อาณานิคม ดังนั ้นการพัฒนาด้าน<br />

ต่างๆจึงไม่มีการหยุดชะงัก ท าให้<br />

เ ศ ร ษ ฐ กิ จ ทุ น นิ ย ม จึ ง ส า ม า ร ถ<br />

เจริญรุ่งเรืองขึ ้นเหนือประเทศอื่นๆ<br />

ภาพ : อเมริกา-จอร์เจียลงนามข้อตกลงกระชับสัมพันธ์กลาโหม หวังสกัด<br />

อิทธิพลรัสเซีย<br />

สงครามโล กครั ้ งที่สอง<br />

อเมริกาในฐานะของผู้ชนะสงคราม<br />

ในขณะเดี ยวกันมหาอ านาจใน<br />

ยุโรปก็อ่อนล้าลงจากภัยสงคราม<br />

อ เ ม ริ ก า ก็ ยิ่ ง เ ข้า ไ ป แ ท ร ก แ ซ ง<br />

ประเทศต่างๆมากขึ ้นและเหตุการณ์<br />

สงครามในตะวันออกกลางทั ้งหมด<br />

เป็ นเหตุหนึ ่งที่ท าให้เห็นถึงบทบาท<br />

ข อ ง อ เ ม ริ ก า ใ น โ ล ก ส มัย ใ ห ม่<br />

หมายถึงประสิ ทธิภาพของระบบ<br />

เทคโนโลยีทางด้านการทหาร<br />

การทหาร ถือเป็ นเครื่ องมือส าคัญ ที่<br />

ส าแดงถึงความมีอิทธิพลของอเมริกาต่อ<br />

ประเทศอื่นๆ แม้จะมีการมองกันหลาย<br />

แง่หลายมุมทั ้งเชิงลบและเชิงบวก<br />

โดยจะสามารถคาดการณ์ความ<br />

เ ป็ น ไ ป ข อ ง อ เ ม ริ ก า ใ น อ น า ค ต<br />

(เปรียบเทียบกับจีน) ได้ดังนี<br />

1. ในด้านการเมืองนั ้ น<br />

อเมริ กาน่ าจะยังคงมี บทบาท<br />

ส าคัญในการควบคุมการเมือง<br />

ของโล กอยู่ เนื่ องจาก สภาพ<br />

การเมืองภายในประเทศที่นิ่งอยู่<br />

ตัว หากเปรียบเทียบกับจีน ซึ ่งถือ<br />

ว่ า เ ป็ น คู่ แ ข่ ง ที่ ขึ ้ น ม า ท้า ท า ย<br />

อิ ท ธิ พ ล ด้ า น นี ้ ข อ ง อ เ ม ริ ก า<br />

การเมืองของจีน ยังไม่ถือได้ว่า<br />

มั่นคง อเมริ กามีประสบการณ์<br />

ด้านนี ้มายาวนาน


โดยการสะสมข้อมูลมาอย่าง<br />

ต่ อ เ นื่ อ ง ใ น ร ะ ย ะ ย า ว จ น<br />

ก ล า ย เ ป็ น ฐ า น ข้อ มู ล ส า คัญ<br />

น ามาใช้ในการเมืองระหว่าง<br />

ประเทศ ตลอดถึงการสามารถ<br />

น ามาใช้ในกรณีเกี่ยวข้องกับงาน<br />

ด้านความมั่นคงเป็ นอย่างดี<br />

ภาพ : มหาอ านาจทางเศรษฐกิจ การเมือง และการทหารของ<br />

สหรัฐ<br />

ภาพ : ด้านเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาอาจจะไม่ขยายขอบเขต<br />

แต่ไม่ได้หมายความว่าจะมีแนวโน้มที่จะตก<br />

2. ในด้านความมั่นคง อเมริกานั ้น<br />

มีบทบาทส าคัญต่อความมั่นคงในระดับ<br />

โลก ในเรื่ องการทหาร และการจัดตั ้ ง<br />

องค์กร ทั ้งในส่วนภายในของอเมริกาเอง<br />

แ ล ะ อ ง ค์ ก ร ภ า คี น า น า ช า ติ ต า ม ข้อ<br />

สนธิสัญญาความร่วมมือต่างๆ ซึ ่ งจะช่วย<br />

เสริมให้การด าเนินการในประเด็นความ<br />

มั่น ค ง เ ป็ น ไ ป อ ย่างมี ร ะ บ บ แ ล ะ เ กิ ด<br />

ประสิทธิภาพสูงสุด ขณะที่ฝ่ ายจีนนั ้น ยัง<br />

ไม่มีหน่วยงานทั ้งในและต่างประเทศที่<br />

ท างานด้านความมั่นคงโดยเฉพาะ หรื อ<br />

งานด้านข้อมูลเชิงลึกโดยตรง<br />

ภาพ : ด้านการทหาร ความสัมพันธ์ด้าน<br />

การทหารของทั ้งสองประเทศ<br />

3. ในด้านเทคโนโลยี ทั ้ ง 2<br />

ป ร ะ เ ท ศ มุ่ ง แ ข่ ง ขั น กั น พั ฒ น า<br />

เทคโนโลยีด้านต่างๆ อย่างเข้มข้น<br />

ในช่วง 10 ปี ที่ผ่านมา จีนได้พัฒนา<br />

เ ท ค โ น โ ล ยี รุ ด ห น้ า ไ ป ม า ก ทั ้ ง<br />

เทคโนโลยีด้านการทหาร การบินและ<br />

อวกาศ รวมทั ้งเทคโนโลยีด้านอื่นๆ เพื่อ<br />

ก้าวให้ทันประเทศตะวันตกซึ ่งมีอเมริกา<br />

เป็ นแกนน า<br />

แม้ว่าเทคโนโลยีของจีนสามารถพัฒนา<br />

ให้ตามทันอเมริ กาได้ แต่ต้องใช้ระยะ<br />

เวลานาน อเมริ กาก็พัฒนา ต่อยอด<br />

เทคโนโลยีมากขึ ้นไปอีก<br />

ภาพ : ประเทศ<br />

อเมริกามีขนาด<br />

เศรษฐกิจใหญ่<br />

ที่สุด


ภาพ : สัญลักษณ์ของ CIA<br />

4. ในด้านเศรษฐกิจ โลกของตะวันออก<br />

โดยเฉพาะ จีนกับอินเดีย ซึ ่ งมีขนาดเศรษฐกิจโต<br />

มากกว่าประเทศอื่นๆ จะกลายเป็ นผู้ทรงอิทธิพล<br />

ทางด้านเศรษฐกิจในอนาคต ทั ้ง 2 ประเทศเอเชีย มี<br />

อัตราการขยายตัวของเศรษฐกิจ โดยเฉพาะในภาค<br />

การลงทุนสูงมากที่สุดในโลก ขณะที่เศรษฐกิจของ<br />

อเมริกา ในช่วงราว 4-5 ปี ที่ผ่านมาอยู่ในสภาพย ่าแย่<br />

มองกันว่า บทบาทของอเมริกาทางด้านนี ้จะลดลง<br />

5 . ใ น ด้า นวัฒ นธรรม ก า ร เผ ยแ พ ร่<br />

วัฒนธรรมอเมริกันผ่านสื่อประเภทต่างๆ ความ<br />

จริ งวัฒนธรรมเอเชีย โดยเฉพาะของจีนเองมี<br />

แนวโน้มการเผยแพร่ที่ไม่ธรรมดาเช่นกัน เพียงแต่<br />

ยังมีจ านวนสื่อและระบบการตลาดที่เป็ นรองฝ่ าย<br />

อเมริกัน ต่อไปคาดว่าจะสามารถพัฒนาได้มากขึ ้น<br />

ประเด็นวัฒนธรรมมี ความส าคัญ เนื่องจากเป็ น<br />

สิ่งที่แสดงถึง “อิทธิพลครอบง า” ความคิดและ<br />

จารีตของชาติอื่นๆ เป็ นเครื่องมือโฆษณาชวนเชื่อ<br />

ที่มีประสิทธิภาพสูงสุด


ประโยชน์ที ่คาดว่าจะได้รับจากการจัดท า<br />

1.ผู้จัดท ำมีควำมเข้ำใจในเนื้อหำควำมรู ้ทำงประวัติศำสตร์ของตนเองได้เป็ นอย่ำงดี และ<br />

สำมำรถอธิบำยเรื่องรำวของคนในกลุ ่มได้<br />

2.ผู้จัดท ำได้ฝึ กทักษะที่จ ำเป็ นทั้งในด้ำนกำรคิดวิเครำะห์ ตีควำม กำรใช้ภำษำ เป็ นต้น<br />

3.ผู้จัดท ำสำมำรถบูนณำกำรควำมรู ้ที่ได้รับจำกกำรท ำนิตยสำรไปใช้ในกำรศึกษำต่อได้<br />

อย่ำงเหมำะสม<br />

4.ท ำให้เข้ำใจทัศนคติของผู้อื่น กำรศึกษำประวัติศำสตร์ช่วยให้เรำเข้ำใจควำมคิด ควำมรู ้สึก<br />

ของคนในสังคมต่ำงๆในเวลำต่ำงกัน<br />

5.ท ำให้ได้บทเรียนจำกประวัติศำสตร์ เหตุกำรณ์หหรือพฤติกรรมของมนุษย์ในอดีตต่ำงมี<br />

ทั้งแง่บอกและแง่ลบ ซึ่งเรำสำมำรถพิจำรณำได้ว่ำพฤติกรรมใดที่น ำควำมเสียหำยมำสู ๋สังคม<br />

ตั้งแต่อดีตจนถึงปัจจุบัน ซึ่งเป็ นบทเรียนที่ท ำให้เรำตระหนักและจดจ ำไว้เป็ นบทเรียน<br />

ส่วนเหตุกำรณ์หรือพฤติกรรมในทำงที่ดี เรำก็น ำมำเป็ นแบบอย่ำงในกำรประพฤติปฏิบัติ<br />

ได้อย่ำงเหมำะสม<br />

6.ผู้จัดท ำเห็นควำมส ำคัญของประวัติศำสตร์ ซึ่งประวัติศำสตร์เป็ นรำกฐำนของสำขำอื่นๆ<br />

เช่น สังคมศำสตร์ เศรษฐศำสตร์ ภำษำศำสตร์ เพรำะประวัติศำสตร์เป็ นกำรศึกษำเรื่องรำวใน<br />

อดีต<br />

ซึ่งเรำสำมำรถน ำไปพัฒนำต่อยอดได้ในอนำคต<br />

7.ผู้จัดท ำมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนร่วมงำน รู ้จักใช้เหตุผลในกำรตัดสินปัญหำเพื่อแก้ไขงำน<br />

8.ผู้จัดท ำมีควำมรับผิดชอบมำกขึ้นต่องำนของตนเองและงำนกลุ ่ม


บรรณานุกรม<br />

• สงครามโลกครั้งที่ 1 : เขียน ปรีชำ ศรีวำลัย (พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ. 2542<br />

โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์,กรุงเทพฯ<br />

• ประวัติศาสตร์ว่าด้วยเรื่องความสัมพันธ์ระหว่างประเทศในสมัยสงครามโลก<br />

ครั้งที่ 1 ครั้งที่ 2 : เขียน ดร.สุตมัย ศรีสุข (พิมพ์ครั้งที่ 8) พ.ศ. 2520<br />

ธนำคำรกรุงเทพจ ำกัด,กรุงเทพฯ<br />

• สงครามโลกครั้งที่ 1 : เขียน Dr.Nicholas Saunders (พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ.2549<br />

ส ำนักพิมพ์ปำเจรจำ, กรุงเทพฯ<br />

• ประวัติศาสตร์จีน : เขียน Zhoujiarong แปล อ.วิไล ลิ่มถำวรำนันท์/อ.ศรีวิกำญจนนท์/<br />

อ.เอกสัณห์ ชินอัครพงศ์ (พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ.2547 โรงพิมพ์โอเดียนสโตร์,กรุงเทพฯ<br />

• ประวัติศาสตร์อารยธรรมจีน เขียน เพ็ชรี สุมิตร (พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ.2518 โรงพิมพ์<br />

มหำวิทยำลัยธรรมศำสตร์ ท่ำพระจันทร์,กรุงเทพฯ<br />

• The Genius of china ต้นก าเนิด 100 สิ่งแรกบนโลก เขียน ดร.พงศำล มีคุณสมบัติ<br />

(พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ.2554 ส ำนักพิมพ์มติชน,กรุงเทพฯ<br />

• ยุโรปในสงครามเย็น 1945-1991 เขียน สัญชัย สุวังบุตร (พิมพ์ครั้งที่ 1)<br />

พ.ศ.2542 กรุงเทพฯ.<br />

• ประวัติศาสตร์ยุโรป เขียน ธนู แก้วโอภำส พ.ศ. 2549 (พิมพ์ครั้งที่ 2) ส ำนักพิมพ์<br />

สุขภำพใจ กรุงเทพฯ<br />

• 4 ปี นรกในเขมรปี 2518-2522 เขียน ผุสดี นำวำวิจิต (พิมพ์ครั้งที่ 12) พ.ศ.2553<br />

ส ำนักพิมพ์ผีเสื้อ กรุงเทพฯ<br />

• ท าไมคนถึงเกลียดอเมริกา เขียน ไซอุดดิน ซำดำร์ และเมอร์ริล ไวน เดวีนส์ แปล<br />

กรรณิกำร์ พรมเสำร์ (พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ. 2558 ส ำนักพิมพ์โกมลคีมทอง กรุงเทพฯ<br />

• พระราชินีนาถวิคตอเรีย เขียน วิภำวดี รังสิต (พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ. 2542 โรงพิมพ์โอ<br />

เดียนสโตร์ กรุงเทพฯ<br />

• ศตวรรษแห่งสงครามเหต ุการณ์ส าคัญในศตวรรษที่ 20 เขียน ธนู แก้วโอภำส<br />

(พิมพ์ครั้งที่ 1) พ.ศ.2542 ส ำนักพิมพ์สุขภำพใจ กรุงเทพฯ


บรรณาธิการ<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

นาย ตะวัน วิจันทร์ตา เลขที 9 ม.5/1<br />

นาย นราวิชญ์ แสงศิริวุฒิ เลขที 12 ม.5/1<br />

นาย ยสินทร ลัคขณศิลป์ เลขที 17 ม. 5/1<br />

นาย ศุภกร เล้าอรุณ เลขที 20 ม.5/1<br />

นางสาว จุฑามาศ รัศมีจันทร์ฉาย เลขที 22 ม.5/1<br />

นางสาว ธนัชพร สาตนุรักษ์ เลขที 27 ม.5/1<br />

นางสาว อัญธิกา นาคนารี เลขที 37 ม.5/1<br />

นางสาว พิฐชญาณ์ ชัยศิริพาณิช เลขที 40 ม.5/1

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!