26.08.2020 Views

60sCNT_RRC_4.0

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

RD71

/ 2 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สารจาก....อธิบดีกรมการข้าว

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เดิมเป็น สถานีทดลองข้าวชัยนาท

เป็นเครือข่ายของศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ในสังกัดสถาบันวิจัยข้าว

กรมวิชาการเกษตร ปัจจุบันมีความก้าวหน้าและมีการพัฒนา

อย่างต่อเนื่อง ท าให้เป็นหน่วยงานส าคัญในการขับเคลื่อนภารกิจ

ของกรมการข้าวในด้านการวิจัยและพัฒนาข้าว การถ่ายทอด

องค์ความรู้และเทคโนโลยีต่างๆ ด้านข้าว อีกทั้งยังสร้างชื่อเสียง

ให้กับกรมการข้าวในด้านการวิจัยปรับปรุงพันธุ์ข้าว ที่ก่อให้เกิด

ประโยชน์แก่พี่น้องชาวนาและประเทศชาติ

ส าหรับในปี พ.ศ. 2560 นี้ เป็นโอกาสส าคัญของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทที่จะครบรอบ

60 ปี ผมมีความเชื่อมั่นว่าก้าวต่อไปของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทจะเป็นช่วงที่ศูนย์ฯ มีบทบาท

ในงานวิจัยและพัฒนาข้าวที่โดดเด่น เป็นที่ยอมรับจากสังคม ในโอกาสนี ้ผมขออาราธนา

คุณพระศรีรัตนตรัยและสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายโปรดดลบันดาลให้ข้าราชการและเจ้าหน้าที่

ของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทจงประสบแต่ความสุข ความเจริญ ทั้งในหน้าที่การงานและครอบครัว

ขอให้มีพลานามัยสมบูรณ์ ผมขอเป็นก าลังใจให้ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทมีความมุ่งมั่น

เพื่อขับเคลื่อนภารกิจให้ประสบความส าเร็จมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นก าลังส าคัญให้กับพี่น้องชาวนา

และประเทศชาติสืบไป

นายอนันต์ สุวรรณรัตน์

อธิบดีกรมการข้าว

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 3 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สารจาก… รองอธีบดีกรมการข้าว

ในโ อ ก า ส ที่

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ครบรอบ 60 ปี ผมขอ

แสดงความย ิน ดี

กั บ ผู้ อ า น ว ย ก า ร

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

คณะข้าราชการ และ

เ จ้ า ห น้ า ที่ ที่ ไ ด้ ท า

หน้าที่วิจัยและพัฒนางานด้านข้าวของประเทศไทย

จนมีผลงานอันก่อให้เกิดประโยชน์ต่อประเทศชาติ

เป็นอย่างยิ่ง ผมเชื่อมั่นว่าศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทจะเป็น

องค์กรที่อยู่คู่กับกรมการข้าวตลอดไป การท างาน

ในภายภาคหน้าไม่ว่าจะเกิดปัญหาหรือความขาดแคลน

ใดๆ ผมขอเป็นก าลังใจให้หน่วยงานได้ผ่านพ้นอุปสรรค

ทั้งปวง ท าหน้าที่วิจัยและพัฒนาข้าวได้อย่าง

มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น และขออ านวยพรให้ศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาทจงประสบผลส าเร็จในภารกิจ มีความเจริญก้าวหน้า

เพื่อพัฒนาชาวนาและประเทศชาติสืบไป

ในโอกาสครบรอบ

60 ปี ของศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาท ในปี พ.ศ. 2560 นี้

ผมมีความรู้สึกยินดีเป็น

อ ย่ า ง ยิ่ ง ที่ มี โ อ ก า ส

ร่วมงานกับหน่วยงาน

ซึ่งมีการพัฒนางานวิจัย

ที่ได้รับความเชื่อมั่นจาก

ทุกภาคส่วนมาอย่างต่อเนื่อง ผมขอส่งความ

ปรารถนาดีมายัง ข้าราชการ และเจ้าหน้าที่ของ

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท รวมถึงขออวยพรให้ท่าน

ทั้งหลาย และครอบครัว จงประสบแต่ความสุข

ความเจริญ มีสุขภาพกาย สุขภาพจิตที่เข้มแข็ง

มีแรง และก าลังใจที่ดี เพื่อเป็นพลังในการคิด ปฏิบัติ

งานวิจัย และพัฒนางานด้านข้าว ให้เกษตรกรไทยได้

มีความเจริญยิ่งๆ ขึ้นไป

นายกฤษณพงศ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล

รองอธิบดีกรมการข้าว

นายสุวัฒน์ เจียระคงมั่น

รองอธิบดีกรมการข้าว

/ 4 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

บทน า

เป็นความตั้งใจของพวกเราสมาชิกศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ที่จะจัดกิจกรรมเพื่อการฉลอง “ครบรอบ 60 ปี แห่งการก่อตั้งศูนย์ฯ”

ในปีพุทธศักราช 2560 ซึ่งในยุคก่อตั้งนั้น สังกัด กองบ ารุงพันธุ์

กรมการข้าว (ในยุคแรก) กระทรวงเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

รู้จักกันในชื่อ “สถานีทดลองข้าวชัยนาท” หรือผู้คนในละแวก

ต าบลเขาท่าพระ เรียกกันติดปากว่า “เกษตร” แม้จะเป็น

หน่วยงานที่มีบุคลากรไม่มากนัก แต่ก็มีผลงานวิจัยเป็นที่ประจักษ์

และเป็นที ่รู ้จักกันอย่างกว้างขวางของชาวนาในจังหวัดชัยนาท

หลายจังหวัดในภาคกลาง ไปจนถึงทั่วประเทศ 60 ปีที่ผ่านมากับความภาคภูมิใจในผลงาน

ความรู้สึกผูกพันของผู้ที่ได้มาอยู่ ความรู้สึกถึงสถานที่ท างานที่อบอุ่น มีความรัก มีความสามัคคี

และมีความเป็นพี่เป็นน้องที่มอบสิ่งดีๆ ให้แก่กันและกัน จึงท าให้คนท างานที่นี่สามารถรังสรรค์

ผลงานวิจัยที่เป็นประโยชน์เพื่อออกสู่พี่น้องชาวนาได้ตลอดมา

เอกสารฉบับนี้ จัดท าขึ้นเพื่อเป็นที่ระลึกในงานครบรอบ 60 ปี แห่งก่อตั้ง ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

โดยทางศูนย์ฯ ได้รวบรวมประวัติความเป็นมาตั้งแต่อดีต โดยพี่ๆ ช่วยกันถ่ายทอดเรื่องราว

ในสมัยที่เคยท างานและใช้ชีวิตอยู่ที่จังหวัดชัยนาท รวมทั้งผลงานวิจัย เหตุการณ์ส าคัญ และ

กิจกรรมในช่วงเวลาต่างๆ น ามาเรียบเรียงเป็นประวัติศาสตร์ของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทถึงคุณค่า

ที่มีต่อการพัฒนางานวิจัยด้านข้าวของไทยตั้งแต่เริ่มก่อตั้งศูนย์ฯ เป็นต้นมา

นางนริศรา จ ารูญวงษ์

ผู้อ านวยการศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 5 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

3 4 3สารจาก… อธิบดีกรมการข้าว

/9/ ส่วนที่ 1

สารบัญ

สารจาก…

รองอธิบดีกรมการข้าว

ข้อมูลภาพรวม 60 ปี

10 ประวัติ …ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

12 รายนามผู้บริหาร …สถานีทดลอง/ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

13 ที่ตั้ง วิสัยทัศน์ …ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

C ontent

5

บทน า

14 พันธกิจ หน้าที่ความรับผิดชอบ ผังโครงสร้าง

…ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

15 อัตราก าลัง ท าเนียบเจ้าหน้าที่ …ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

18 แผนผังและพื้นที่ …ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

21 สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เสด็จพระราชด าเนินเยี่ยมศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

21

/ 6 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

/27/ ส่วนที่ 2

เรื่องเล่าในวันวาน

28 ผู้เฒ่าเล่าเรื่อง ....สารนิติ สงวนสัจ

31 ผู้เฒ่าเล่าเรื่อง (เพิ่มเติม) ....ทัศนีย์ สงวนสัจ

32 ความทรงจ าที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ....เล็ก จันทรเกษม

35 ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ณ วันนั้น ....สากร สุวรรณเทน

36 ครั้งหนึ่งที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ....อนันต์ ตั้งจิตรตรง

39 ความรู้สึกดีๆ ที่มีต่อศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ....สมศักดิ์ ทองดีแท้

/43/ ส่วนที่ 3

การด าเนินงานวิจัย

44 ชัยนาท 1เก๋า...แต่ไม่เก่า .....ชวนชม ดีรัศมี

46 พันธุ์ข้าว

46 ชัยนาท 1

48 ชัยนาท 2

49 กข29 ( ชัยนาท 80)

50 พิษณุโลก 2

51 กข41

52 กข47

/67/ ส่วนที่ 4

53 กข49

54 กข61

55 กข71

56 ขาวเจ๊กชัยนาท

57 หอมใบเตย

58 สถานการณ์การระบาดของแมลงศัตรูข้าวในจังหวัดชัยนาท

ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ....ชัยรัตน์ จันทร์หนู

61 สถานการณ์การระบาดของโรคข้าวในจังหวัดชัยนาท

ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา ....ดวงกมล บุญช่วย

64 นวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตข้าว ....ปรารถนา สุขศิริ

เหตุการณ์ส าคัญ และกิจกรรมภายในศูนย์ฯ

68 น้ าท่วมสถานีทดลองข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2523

69 มหาอุทกภัยที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2554

70 การแข่งขันกีฬาภายในสถานีทดลองข้าวชัยนาท ในอดีต

71 การแข่งขันกีฬาภายในศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2558

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 7 /


/ 8 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ส่วนที่ 1

ข้อมูลภาพรวม 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 9 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ประวัติ ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

เริ่มท าการก่อสร้างในปี พ.ศ. 2500 เปิดท าการเป็น

“สถานีขยายพันธุ์ข้าวชัยนาท” สังกัด กองบ ารุงพันธุ์

กรมการข้าว ในปี พ.ศ. 2501 ต่อมาในปีพ.ศ. 2504

เปลี่ยนชื่อเป็น “สถานีทดลองข้าวชัยนาท”

ปี พ.ศ. 2515 กรมการข้าวได้ยุบเลิกรวมเข้ากับ

กรมกสิกรรมเป็นกรมวิชาการเกษตร ท าให้สถานีทดลองข้าว

ชัยนาท จึงไปสังกัดอยู่กับ กองการข้าว กรมวิชาการเกษตร

ปี พ.ศ. 2525 มีการปรับเปลี่ยนกองการข้าว

เป็นสถาบันวิจัยข้าว ท าให้ สถานีทดลองข้าวชัยนาท

ต้องปฏิบัติงานภายใต้การก ากับดูแลของ ศูนย์วิจัยข้าว

พิษณุโลก

ปี พ.ศ. 2545 สถานีทดลองข้าวชัยนาท เปลี่ยนไป สังกัด

ส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 ชัยนาท กรม

วิชาการเกษตร และได้เปลี่ยนชื่ออีกครั้งใน ปี พ.ศ. 2546

เป็น “ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัยการผลิต

ชัยนาท”

ภายถ่ายทางอากาศสถานีทดลองข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2525

/ 10 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 11 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ปี พ.ศ. 2549 มีประกาศจัดตั้ง กรมการข้าว อีกครั้ง

ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัยการผลิต

ชัยนาท จึงยกฐานะเป็น ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท สังกัด

ส านักวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว

ปี พ.ศ. 2558 ส านักวิจัยและพัฒนาข้าว ปรับเป็น

กองวิจัยและพัฒนาข้าว ท าให้ ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

อยู่ภายใต้สังกัด กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว

มาจนถึงปัจจุบัน

รายนามผู้บริหาร

สถานีทดลองข้าว/ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

1 นายสัณฑ์ จันหนู หัวหน้าสถานี 1 ต.ค. 2503 – 11 ก.พ. 2507

2 นายมณี เชื้อวิโรจน์ หัวหน้าสถานี 8 มี.ค. 2507 – 18 มี.ค. 2514

3 นายสารนิติ สงวนสัจ หัวหน้าสถานี 18 มี.ค. 2514 – พ.ศ. 2527

ผู้อํานวยการสถานี พ.ศ. 2527 – 30 ก.ย. 2536

4 นายเล็ก จันทร์เกษม ผู้อํานวยการสถานี 1 ต.ค. 2536 – 11 ธ.ค. 2542

5 นายสากร สุวรรณเทน ผู้อํานวยการสถานี 5 ก.พ. 2543 – 28 ก.พ. 2545

6 นายอนันต์ ตั้งจิตรตรง ผู้อํานวยการสถานี 1 มี.ค. 2545 – 24 ก.ย. 2549

ผู้อํานวยการศูนย์ 25 ก.ย. 2549 – 30 ก.ย. 2549

7 นายสมศักดิ์ ทองดีแท้ ผู้อํานวยการศูนย์ 9 พ.ย. 2549 – 30 ก.ย. 2555

8 นายกฤษณพงศ์ ศรีพงษ์พันธุ์กุล ผู้อํานวยการศูนย์ 29 ต.ค. 2555 – 30 ม.ค. 2556

9 นางนริศรา จํารูญวงษ์ ผู้อํานวยการศูนย์ 22 เม.ย. 2503 – ปัจจุบัน

/ 12 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ที่ตั้ง

เลขที่ 166 หมู่ที่ 2 ถนนพหลโยธิน ต าบลเขาท่าพระ อ าเภอเมือง จังหวัดชัยนาท

เส้นรุ้งที่ 15 องศา 15 ลิปดาเหนือ และเส้นเเวงที่ 100 องศา 5 ลิปดาตะวันออก

ห่างจากตัวจังหวัดชัยนาท 2 กิโลเมตร และห่างจากกรุงเทพมหานคร 196 กิโลเมตร

พื้นที่เป็นที่ราบลุ่ม สูงกว่าระดับน้ าทะเลปานกลาง 15.5 เมตร

วิสัยทัศน์ (Vision)

“มุ่งวิจัยและพัฒนาข้าวขาวพันธุ์ดี

ผลิตเมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ

พร้อมถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านข้าว

เพื่อก้าวสู่ AEC”

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 13 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พันธกิจ (Mission)

1. เป็นแหล่งวิจัยและพัฒนาพันธุ์ข้าวขาวคุณภาพดี ผลผลิตสูง

2. เป็นต้นแบบของแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวส าหรับนาชลประทาน

3. เป็นแหล่งถ่ายทอดความรู้วิชาการด้านข้าวทุกสาขาวิชา

4. ให้ความร่วมมือด้านวิชาการและงานบริการด้านข้าวทุกมิติ

หน้าที่ความรับผิดชอบ

งานวิจัยและพัฒนาข้าว โครงการวิจัยต่างๆ และการถ่ายทอดเทคโนโลยี

งานผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ชั้นพันธุ์คัด และพันธุ์หลัก

พื้นที่รับผิดชอบ ด้านวิชาการ 3 จังหวัด ได้แก่ ชัยนาท อุทัยธานี และ นครสวรรค์

ด้านการเป็นตัวแทนกรมการข้าว จังหวัดชัยนาท

ผังโครงสร้าง ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ฝ่ายบริหารทั่วไป กลุ่มวิชาการ กลุ่มผลิตเมล็ดพันธุ์

งานธุรการ

งานการเงินและบัญชี

งานพัสดุ

งานปรับปรุงพันธุ์ข้าว

งานอารักขาข้าว

งานเทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ข้าว

งานเทคโนโลยีการผลิตข้าว

พันธุ์คัด

พันธุ์หลัก

/ 14 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

อัตราก าลัง ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ข้าราชการ 11 คน

ลูกจ้างประจ า 13 คน

พนักงานราชการ 48 คน

ท าเนียบเจ้าหน้าที่ ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ข้าราชการ

1. นางนริศรา จํารูญวงษ์ ผู้อํานวยการศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

2. นายมุ่งมาตร วังกะ นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ

3. นางปรารถนา สุขศิริ นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ

4. นางสาวชวนชม ดีรัศมี นักวิชาการเกษตรชํานาญการพิเศษ

5. นายอนรรฆพล บุญช่วย นักวิชาการเกษตรชํานาญการ

6. นางดวงกมล บุญช่วย นักวิชาการเกษตรชํานาญการ

7. นายชัยรัตน์ จันทร์หนู นักวิชาการเกษตรชํานาญการ

8 นางสาวดวงพร วิธูรจิตต์ นักวิชาการเกษตรชํานาญการ

9. นายเสน่ห์ คชรัตน์ เจ้าพนักงานการเกษตรชํานาญงาน

10. นางสาวมธุรส เกิดเล็ก เจ้าพนักงานธุรการปฏิบัติงาน

11. นางสาววิมลลักษณ์ พุ่มพิกุล นักจัดการงานทั่วไปปฏิบัติการ

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 15 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ลูกจ้างประจ า

1 นายสันติ์ ยาเจี้ยม พนักงานขับรถงานเกษตรและก่อสร้าง ช2

2 นายประสิทธิ์ ยาเจี้ยม พนักงานขับรถงานเกษตรและก่อสร้าง ช2

3 นายอุบล ศรีน้อย พนักงานขับรถยนต์ ส2

4 นายอานุภาพ ท้าวทอง ช่างซ่อมบํารุง ช3

5 นายเกษม แก้วเกตุ ช่างซ่อมบํารุง ช3

6 นายกัมพล เอี่ยมปลัด พนักงานประจําห้องทดลอง ส2

7 นายสํารวย ยมธรรม พนักงานรักษาความปลอดภัย บ2

8 นางสุรภา กรองสอาด พนักงานการเงินและบัญชี ส3

9 นางจิราพรรณ์ ช้างน้อย พนักงานธุรการ ส3

10 นายสนอง คชรัตน์ พนักงานขับรถยนต์ ส2

11 นายธนวัตน์ ลดโต พนักงานการเกษตร ส2

12 นางอํานวย รอดเกษม พนักงานพัสดุ ส3

13 นายโสพิต บุญธรรม พนักงานการเกษตร ส2

พนักงานราชการ

1 นางมะลิ บุญมี เจ้าพนักงานธุรการ

2 นายมานะศักดิ์ เทศธรรม ช่างซ่อมบํารุง ชั้น 2

3 นางนลพรรณ คงสมโอษฐ์ นักวิชาการเกษตร

4 นางวัชรีย์ อยู่สิงห์ เจ้าพนักงานการเกษตร

5 นายนรินทร์ คันทจักร์ เจ้าหน้าที่การเกษตร

6 นายณัฐวุฒิ เปี่ยมท่า ช่างเครื่องกล

7 นายนิรัญ อินสุภา เจ้าหน้าที่การเกษตร

8 นางสาววาสนา กําจาย พนักงานประจําห้องทดลอง

/ 16 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พนักงานราชการ (คนงานทดลองการเกษตร)

1 นายสุชิน ฉ่ําช้าง 21 นางประนอม ธรรมสอน

2 นางจิตรลดา วังกะ 22 นางสํารี บุญธรรม

3 นางสาวสุนิตรา แสงเย็น 23 นางสาวสําเนาว์ นุ่มบุรี

4 นางมนทิรา เทศธรรม 24 นายอรุณ นิลโชติ

5 นางสาวจันทร์ทิพย์ วรรณพันธ์ 25 นายสุขเกษม เสือคุ้ม

6 นางชนัญชิดา วงษ์ชาติ 26 นายณรงค์ชัย วงษ์ชาติ

7 นางเฉลียว คชรัตน์ 27 นายอนุกูล เบญจวชิระ

8 นายพยับ มาสม 28 นางสาวภูมรีย์ สุขชื่น

9 นางสาวเฉลิมศรี วรรณพันธ์ 29 นางชวนชม คชรัตน์

10 นายสมพร ตี๋ชื่น 30 นางสมบูรณ์ อยู่เย็น

11 นายสิงห์สุมทร อุ่มอยู่ 31 นางสาวสีนวน หรั่งอินทร์

12 นายธงชัย อ่ําบุญ 32 นางสาวกนกวรรณ พวงเงิน

13 นายจรัญ นามี 33 นางมาลัย ขุนบรรเทา

14 นางวรรณพร ฉ่ําช้าง 34 นางประเทืองทิพย์ คําพฤกษ์

15 นางสาววาสนา ปั้นริด 35 นางสมจิตร์ หรั่งนาค

16 นางบุญเรือน หอมสมบัติ 36 นางสํารวม แย้มแจ่ม

17 นางสาวดวงพร อ่ําบุญ 37 นางสนิท อ่ําบุญ

18 นางสอิ้ง นิลโชติ 38 นางสกุณี อุพัยสอน

19 นางพัชรี อุ่มอยู่ 39 นางเล็ก แสงมา

20 นางไซลั้ง มั่นจันทร์ 40 นางสาวสาคร พุ่มโพธิ์

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 17 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

แผนผังและพื้นที่ ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

พื้นที่

พื้นที่ทั้งหมดของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท มี 371 ไร่ แบ่งการใช้ได้ดังนี้

พื้นที่บริเวณอาคารสิ่งปลูกสร้าง ประมาณ 95 ไร่ (25%)

พื้นที่ท าการทดลองต่าง ๆ ประมาณ 80 ไร่ (22%)

พื้นที่ในการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าว ประมาณ 140 ไร่ (38%)

พื้นที่ถนน คลองส่งน้ า คลองระบายน้ า และคันกั้นเขตต่าง ๆ ประมาณ 56 ไร่ (15%)

แหล่งน้ าที่ใช้

น้ าชลประทาน จากคลองส่งน้ าธรรมามูล - เขาท่าพระ

โครงการส่งน้ า และบ ารุงรักษามโนรมย์

ลักษณะดิน

เป็นดินเหนียวชุดสระบุรี นครปฐม และนครปฐมไฮเฟส

บางส่วนเป็นดินร่วน มีปริมาณอินทรียวัตถุ 0.87-2.39%

ธาตุฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ 2.3 -138.5 ส่วนในล้านส่วน

และโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ 50-185 ส่วนในล้านส่วน

ความเป็นกรดด่าง 4.9-6.39

สภาพพื้นที่

ส่วนใหญ่เป็นที่ราบลุ่ม

พื้นที่รับผิดชอบ

จ.ชัยนาท จ.นครสวรรค์ และจ.อุทัยธานี

/ 18 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ศู น ย์ วิ จั ย ข้ า ว ชั ย น า ท

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 19 /



สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

เสด็จพระราชด าเนินเยี่ยมศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

/ 22 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี ทรงลงพระนามภิไธยในสมุดทรงเยี่ยม

ในวโรกาสเสด็จพระราชดําเนินทรงเยี่ยมศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 23 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

/ 24 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 25 /


/ 26 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ส่วนที่ 2

เรื่องเล่าวันวาน ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 27 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผู้เฒ่าเล่าเรื่อง

เมื่อกลางเดือนมกราคม 2560 ท่านผู้อ านวยการ

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท (คุณนริศรา จ ารูญวงษ์) ได้ไปเยี่ยมผม

ที่บ้านพัก แล้วบอกว่าทางศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทจะจัดงาน

ครบรอบ 60 ปี ในช่วงเดือนมีนาคม ในฐานะที่ผมเคย

ปฏิบัติงานที่นั่นมาก่อน ก็อยากจะขอให้ช่วยเล่าเรื่อง

เกี่ยวกับงานและความเป็นอยู่ในสมัยนั้นให้คนรุ่นหลัง

ได้ทราบบ้าง ผมได้รับปากว่าจะพยายามเล่าเรื่องเก่าๆ

ที่เกิดขึ้นเท่าที่จ าได้เพราะเหตุการณ์ต่างๆ ผ่านมานาน

มากแล้ว ผมได้มาปฏิบัติงานที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท

อยู่ 2 ช่วงเวลา ครั้งแรกเมื่อ พ.ศ.2508-2512 และครั้งที่ 2

เมื่อ พ.ศ.2514 จนเกษียณอายุ เมื่อ พ.ศ.2536

ปี พ.ศ.2508 สถานีทดลองข้าวต่างๆ ยังสังกัดอยู่กับ

กองบ ารุงพันธุ์ กรมการข้าว ผมได้รับทุนให้ไปฝึกอบรม

การปลูกและขยายพันธุ์ข้าวที่ประเทศญี่ปุน และกลับมา

เมื่อกลางปี 2508 เมื่อไปรายงานตัวที่กรมการข้าว

ท่าน ดร.สละ ทศานนท์ อธิบดีกรมการข้าว ได้เรียกตัว

ไปพบและสั่งให้เตรียมตัวย้ายงานจากสถานีทดลองข้าว

โคกส าโรงไปปฏิบัติงานที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท

ซึ่งก็ไม่แปลกอะไร เพราะในฐานะคนโสด ผู้บังคับบัญชา

จะสั่งให้ย้ายไปไหนก็ไปได้ทั้งนั้น

สถานีทดลองข้าวชัยนาทสมัยนั้นเริ่มงานปรับปรุง

และพัฒนางาน ตามแผนงานโครงการเจ้าพระยาใหญ่

ซึ่งมีส านักงานปลัดกระทรวงเกษตรฯ เป็นผู้ท าโครงการ

มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการจัดการใช้น้ าชลประทาน

จากเขื่อนเจ้าพระยาให้มีประสิทธิภาพสูงสุด สถานี

ทดลองข้าวชัยนาทซึ่งอยู่ใกล้เขื่อนเจ้าพระยา จึงจัดเป็น

สถานีต้นน้ า มีสถานีทดลองข้าวสุพรรณบุรี เป็นสถานี

ปลายน้ า งานทดลองต่างๆ ในสถานีฯ มีไม่มากนัก

/ 28 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

สารนิติ สงวนสัจ

สถานีทดลองข้าวชัยนาท (ปี พ.ศ. 2508 – 2536)

มีข้าราชการปฏิบัติงานเพียง 4-5 คน มีคุณมณี เชื้อวิโรจน์

เป็นหัวหน้าสถานีฯ งานส่วนใหญ่เป็นงานปลูกข้าวพันธุ์หลัก

และพันธุ์ขยาย มีผมและคุณประโยชน์เจริญธรรม นักเกษตร

เป็นผู้รับผิดชอบ ส่วนงานทดลองมีงานศึกษาพันธุ์ข้าว

พื้นเมืองที่เก็บรวงจากข้าวที่ชนะการประกวดพันธุ์ข้าว

ประจ าปีของจังหวัดต่างๆ ในเขตรับผิดชอบของสถานีฯ

มีงานคัดพันธุ์และเปรียบเทียบผลผลิตของข้าวพันธุ์

พื้นเมืองพันธุ์ดีที่นิยมปลูกเปรียบเทียบกับพันธุ์ข้าว

ส่งเสริมของทางราชการ มีคุณวิชาญ วอทอง และ

คุณทัศนีย์ กอประดิษฐสกุล เป็นผู้รับผิดชอบ

นอกจากนั้นก็มีงานศึกษาพันธุ์ข้าวต่างประเท

ศที่คุณมณี เชื้อวิโรจน์ น ามาจาก IRRI เพื่อปลูก

ศึกษาลักษณะและผสมพันธุ์อีกจ านวนหนึ่ง

งานปรับปรุงสถานีฯ ส่วนใหญ่เน้นไปทางปรับ

สภาพพื้นที่นาดอนและพื้นที่ที่ซื้อเพิ่มจากชาวนา

ข้างเคียง ท าถนนเส้นหลักรอบพื้นที่ของสถานีฯ วางผัง

แปลงนาให้ได้มาตรฐานส าหรับท างานทดลอง วางแนว

คูส่งน้ า - ระบายน้ า และปรับระดับพื้นนาให้เหมาะสม


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ส าหรับการใช้เครื่องจักรกล (สมัยนั้นยังไถนาด้วยควาย

ซึ่งในสถานีฯ มี 15-25 ตัว) เพื่อรองรับงานที่เพิ่มขึ้นจาก

แผนโคลัมโบ (Colombo Plan) ที่รัฐบาลไทยกับรัฐบาล

ออสเตรเลียตกลงท างานวิจัยด้านการเกษตรร่วมกัน

โดยรัฐบาลออสเตรเลียได้ส่งผู้เชี่ยวชาญมาปฏิบัติงาน

ประจ า 4 คน มีบ้านพักและห้องปฏิบัติงานบางส่วน

ตั้งอยู่ในสถานีฯ ซึ่งสถานีฯจะต้องประสานงานและ

อ านวยความสะดวกในด้านต่างๆ ให้กับผู้เชี่ยวชาญ

เหล่านั้นด้วย โดยสถานีฯได้จัดให้นักวิชาการท างานวิจัย

ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญทั้งหลาย ซึ่งส่งผลดีต่อนักวิชาการของ

สถานีฯในเวลาต่อมา ซึ่งในช่วงเวลานั้น สถานีฯมีโอกาส

ได้ต้อนรับผู้หลักผู้ใหญ่ของประเทศหลายครั้ง อาทิ

ท่านจอมพล ถนอม กิตติขจร อดีตนายกรัฐมนตรี

พลเอก จิตติ นาวีเสถียร อดีตรัฐมนตรีว่าการกระทรวง

เกษตรฯ และท่าน ม.ร.ว.จักรทอง ทองใหญ่ อดีต

ปลัดกระทรวงเกษตรฯ เป็นต้น และเดือนมิถุนายน 2512

ผมก็ได้รับค าสั่งให้ย้ายไปด ารงต าแหน่งหัวหน้าสถานี

ทดลองข้าวสกลนคร จ.สกลนคร

ต่อมาประมาณกลางปี 2514 ผมได้รับค าสั่งให้ย้าย

จากสถานีทดลองข้าวสกลนครไปรับต าแหน่งหัวหน้า

สถานีทดลองข้าวชัยนาท แทนคุณมณี เชื้อวิโรจน์ ซึ่งย้าย

ไปท าหน้าที่ผู้อ านวยการส านักงานเกษตรภาคกลาง

ที่ตั้งขึ้นใหม่ สังกัดส านักงานปลัดกระทรวงเกษตร

นักวิชาการของสถานีฯ ที่เคยท างานร่วมกับผู้เชี่ยวชาญ

ต่างได้รับทุนการศึกษาจากรัฐบาลออสเตรเลียไปเรียนต่อ

ระดับปริญญาโทหลายคน มีคุณวิชาญ วอทอง

คุณทัศนีย์ สงวนสัจ คุณประโยชน์ เจริญธรรม

คุณวาสนา วรมิศร์ และคุณอ านาจ ชินเชษฐ์ ซึ่งบุคคล

เหล่านี้ได้กลับมาท างานเป็นก าลังหลักของสถานีฯ และ

สถาบันวิจัยข้าวในเวลาต่อมา

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 29 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เมื่อกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีการปรับโครงสร้าง

ของกระทรวง ทบวง กรม ใหม่ ในปี พ.ศ. 2515 และ

ปรับปรุงในครั้งต่อๆ มา เกิดเป็นกรมวิชาการเกษตร มา

ท าหน้าที่ควบคุมดูแลงานวิจัยพืชที่มีความส าคัญทาง

เศรษฐกิจของชาติ สถาบันวิจัยข้าวเป็นหน่วยงานหนึ่งที่

สังกัดกรมวิชาการเกษตร ท าให้สถานีทดลองข้าวหลายแห่ง

ได้รับการพัฒนาให้เป็นศูนย์วิจัยข้าวประจ าภาค

สถานีทดลองข้าวชัยนาท กลายเป็นเครือข่ายของ

ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก มีงานที่ต้องท าการทดลอง

และวิจัยร่วมกับหน่วยงานสาขาต่างๆ ของกรมฯมากขึ้น

เช่น กองเกษตรเคมี กองกีฏและสัตววิทยา กองวิจัยโรคพืช

กองปฐพีวิทยา และสถาบันวิจัยพืชไร่ (ท างานวิจัย

เกี่ยวกับพืชน้ ามัน มีถั่วเขียว ถั่วเหลือง และละหุ่ง

ในช่วงฤดูแล้ง) มีข้าราชการมาอยู่ประจ าและชั่วคราว

หลายคน ในช่วงเวลานั้นข้าราชการของสถานีฯ มีเพิ่มขึ้น

ตามปริมาณงาน นักวิชาการหลายท่านของสถานีฯ ได้ไป

ฝึกอบรมเพิ่มพูนประสบการณ์ที่สถาบันวิจัยข้าว

นานาชาติ (IRRI) อาทิ คุณวาสนา วรมิศร์ คุณทัศนีย์ สงวนสัจ

คุณอรพิน วัฒเนสก์ และฯลฯ แล้วกลับมาสร้างผลงานให้

สถานีฯ และสถาบันวิจัยข้าวต่อไป

สิ่งหนึ่งที่น าความภาคภูมิใจมาสู่บุคลากรของสถานีฯ

คือความส าเร็จของกลุ่มปรับปรุงพันธุ์ข้าวที่ได้ช่วยกัน

ท างานจนได้พันธุ์ข้าวเจ้า ชัยนาท 1 ออกมาเป็นพันธุ์รับรอง

ของทางราชการในปี พ.ศ.2536 และได้รับความนิยม

จากชาวนาอย่างกว้างขวาง ไม่เฉพาะพื้นที่นาในภาคกลาง

แต่ยังขยายไปยังภาคอื่นๆ ด้วย โดยปีต่อๆ มาก็ได้ทราบว่า

มีพันธุ์ข้าวรับรองชื่อว่า ชัยนาท 2 และข้าวพันธุ์อื่นๆ

ที่ไม่ได้ใช้ชื่อ ชัยนาท แต่ก็มีงานพันธุกรรมหรือพันธุ์ของข้าว

ที่ได้รับการปรับปรุงพันธุ์จากสถานีทดลองข้าวชัยนาท

อีกหลายๆ พันธุ์ จึงนับได้ว่าข้าราชการของสถานีทดลองข้าว

ชัยนาท ได้สร้างคุณประโยชน์ให้กับชาวนาและประเทศไทย

ได้ระดับหนึ่ง อนึ่ง เป็นที่น่ายินดีว่า ศิษย์เก่าจากสถานี

ทดลองข้าวชัยนาท ได้ออกไปท าหน้าที่บริหารงานส าคัญๆ

ของกรมฯ และมีความเจริญรุ่งเรืองในชีวิตราชการหลายท่าน

เช่น คุณประโยชน์ เจริญธรรม ได้เป็นผู้อ านวยการ

ศูนย์วิจัยข้าวปราจีนบุรี และผู้อ านวยการกองการ

เจ้าหน้าที่ กรมวิชาการเกษตร คุณวาสนา วรมิศร์

ได้เป็นผู้ช านาญการพิเศษด้านการปรับปรุงพันธุ์ข้าว

ของสถาบันวิจัยข้าว ดร. อ านาจ ชินเชษฐ์ ได้เป็น

ผู้อ านวยการสถาบันวิจัยพืชไร่ คุณอรพิน วัฒเนสก์

ได้เป็นผู้เชี่ยวชาญด้านข้าว ของกรมการข้าว และ

คุณสถาพร กาญจนพันธ์ ได้เป็น ผู้อ านวยการศูนย์วิจัยข้าว

เชียงใหม่ กรมการข้าว เป็นต้น

เนื่องจากสถานีทดลองข้าวชัยนาท ได้ปรับเปลี่ยน

สถานะขึ้นเป็นศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ภายหลังจากที่ผมได้

เกษียณอายุราชการแล้วหลายปี ผมคุ้นเคยกับการ

เรียกชื่อ สถานีจนเคยชิน ต้องขออภัยต่อ ผู้อ านวยการ

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ตลอดจนข้าราชการของศูนย์ฯ

ทุกท่าน และขอจบเรื่องเล่าเพียงเท่านี้นะครับ …

สารนิติ สงวนสัจ

2 กุมภาพันธ์ 2560

Chai Nat 1

/ 30 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ผู้เฒ่าเล่าเรื่อง(เพิ่มเติม)

ทัศนีย์ สงวนสัจ

ขอเพิ่มเติมข้อมูลหลังจากที่ได้คุยกัน

เมื่อเย็นวันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2560 คือ พวกที่ไปฝึกอบรม

ด้านการปรับปรุงพันธุ์ (GEU) ที่ IRRI ทุกคนจะได้รับแจก

คู่มือเกี่ยวกับพันธุกรรมข้าวทั้งพันธุ์แท้และพันธุ์ผสม

ที่ปลูกอยู่ที่นั่น เพื่อให้ผู้ฝึกอบรมได้มีโอกาสเลือกพันธุ์พ่อ-แม่

ตามวัตถุประสงค์ของแต่ละคน เมื่อผสมจนได้เมล็ด F 1 แล้ว

เขาอนุญาตให้น ากลับไปปลูกในประเทศของตนเองได้

โดยข้าว F 1 ที่น ามาปลูกที่ชัยนาท บางคู่ผสมได้น าไปผสมกับ

ข้าวคุณภาพดีของไทยแบบผสม 3 ทาง (Three-way cross)

และบางคู่น าไปท า double cross หรือ back cross

ส าหรับคู่ผสมที่เป็นพันธุ์พ่อของพันธุ์ชัยนาท 1 ได้น า F 1

ที่ได้มาผสมกับสายพันธุ์ที่มาจากพันธุ์ข้าวชื่อ เหลืองใหญ่ 34

(Leaung Yai 34) ซึ่งเป็นพันธุ์ส่งเสริมของทางราชการ

แล้วปลูกเป็น F 1 ในฤดูต่อไป ข้าว F 1 --> F 2 คัดเลือก

จากลักษณะรูปแบบทรงต้น ลักษณะรวงที่มีเมล็ดยาวเรียว

ไม่มีท้องไข่หรือมีน้อย โดยคัดเป็นกอ ผูกปูายชื่อคู่ผสม

แยกกันไว้ ซึ่งแต่ละกอนับเป็นหนึ่งสายพันธุ์เพื่อจะน าไป

ปลูกเป็น F 3 --> F 4 --> F 5 หรือ F 6 แบบสืบประวัติ

(pedigree) ต่อไป ตามล าดับ ตั้งแต่ F 3 เป็นต้นไปมีการ

น าไปทดสอบความต้านทานต่อโรคและเมล็ดศัตรูข้าว

ที่ส าคัญบางชนิด เช่น โรคไหม้ โรคขอบใบแห้ง และ

เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล (ทดสอบในโรงเรือน) พร้อมทั้ง

ตรวจสอบคุณภาพเมล็ดหลังจากเก็บเกี่ยว เมื่อได้สายพันธุ์

ที่ไม่กระจายตัวและมีคุณสมบัติด้านเมล็ดตามความต้องการแล้ว

จึงน าไปปลูกศึกษาพันธุ์ --> ทดสอบผลผลิตภายในสถานีฯ

(2-3 ฤดู) --> ทดสอบผลผลิตระหว่างสถานี (2-3 ฤดู)

แล้วจึงน าไปทดสอบผลผลิตในนาราษฎร์ (2-3ฤดู) -->

พันธุ์ดัก --> เสนอคณะกรรมการของกรมฯ พิจารณาเป็น

พันธุ์รับรองต่อไป (ตั้งแต่ขั้นตอนทดสอบผลผลิต

ภายในสถานีฯ จนถึง ทดสอบผลผลิตนาราษฎร์ จะต้องผ่าน

การพิจารณาของนักวิชาการฝุายเมล็ดพันธุ์ ทั้งด้านเคมี

และฟิสิกส์) …

ทัศนีย์ สงวนสัจ

7 กุมภาพันธ์ 2560

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 31 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ความทรงจ าที่ช่วงผมปฏิบัติงานที่ศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาท ในช่วงปี พ.ศ. 2536-2542 ซึ่งมีสถานะเป็น

สถานีทดลองข้าวชัยนาท ภายใต้การก ากับดูแลของ

ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ผมได้รับค าสั่งให้ไปปฏิบัติงานที่

สถานีทดลองข้าวชัยนาท ในฐานะผู้อ านวยการสถานี

ซึ่งเป็นผู้อ านวยการคนที่ 4 ต่อจาก

คนที่ 1 นายสัณฑ์ จันหนู หัวหน้าสถานี

(1 ต.ค. 2503 - 11 ก.พ. 2507)

คนที่ 2 นายมณี เชื้อวิโรจน์ หัวหน้าสถานี

(8 มี.ค. 2508 - 18 มี.ค. 2514)

คนที่ 3 นายสารนิติ สงวนสัจ หัวหน้าสถานี

(18 มี.ค. 2514 - พ.ศ.2527) และผู้อ านวยการสถานี

(พ.ศ. 2507 - 30 ก.ย. 2536)

ความทรงจ า

งานหลักของสถานีทดลองข้าวชัยนาท

1. งานปรับปรุงพันธุ์ข้าวและงานทดลองทาง

เขตกรรม โดยงานทดลองต่างๆ อยู่ในความดูแลของ

พี่ทัศนีย์ สงวนสัจ พี่วาสนา วรมิศร์ คุณอรพิน วัฒเนสก์

คุณสถาพร กาญจนพันธ์ คุณเคนสงค์ หาตรงจิตต์ และ

คุณสมพงษ์ เฉยพันธ์ ใน ปี พ.ศ. 2537 ได้ผู้ร่วมงานอีก

2 ท่าน ได้แก่ คุณรัฐพล โพธิ์ฤทธิ์ และคุณมุ่งมาตร วังกะ

สถานีทดลองข้าวชัยนาท เดิมเป็นสถานีหลักในการ

ผสมพันธุ์และคัดพันธุ์ต้านทานโรคและแมลงศัตรูข้าว

จนกระทั่งในปี พ.ศ. 2536 ได้รับรองพันธุ์ข้าวชัยนาท1

และปี พ.ศ. 2547 รับรองพันธุ์ชัยนาท 2 และ ปี พ.ศ. 2550

รับรองพันธุ์กข29 (ชัยนาท 80)

2. งานขยายพันธุ์ มีคุณบุปผา บัวลอย และ

คุณเสน่ห์ คชรัตน์ เป็นผู้ดูแล เนื่องจากสถานีทดลองข้าว

/ 32 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ชัยนาท มีพื้นที่เพียง 357 ไร่ ในแต่ละปีจะผลิตเมล็ดพันธุ์หลัก

ได้ประมาณ 60 ตัน และเมล็ดพันธุ์คัดได้ประมาณ 6 ตัน

จนกระทั่งใน ปี พ.ศ. 2539 ท่านอธิบดี อนันต์ ดาโลดม

ได้น างบประมาณของโครงการ คชก. มาใช้ ท าให้

สถาบันวิจัยข้าวต้องเพิ่มการผลิตเมล็ดพันธุ์หลักและ

เมล็ดพันธุ์คัดมากขึ้น สถานีทดลองข้าวชัยนาทจึงรับ

เปูาหมายการผลิตเมล็ดพันธุ์หลัก 300 ตันเมล็ดพันธุ์คัด

30 ตัน/ปี ซึ่งท าการผลิตระหว่าง ปี พ.ศ. 2539-2541

เป็นระยะเวลา 3 ปี ซึ่งก็ได้ตามเปูาหมายและผ่าน

มาตรฐานทุกปี การผลิตเมล็ดพันธุ์หลักต้องขอขอบคุณ

ศูนย์วิจัยพืชไร่ชัยนาทและส านักงานสหกรณ์จังหวัดที่ได้

เอื้อเฟื้อพื้นที่ในการท านา และอีกบางส่วนที่ผลิต

ในแปลงนาเกษตรกร

ที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

เล็ก จันทรเกษม

สถานีทดลองข้าวชัยนาท (ปี พ.ศ. 2536 – 2542)


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

3.งานธุรการและการเงิน มีคุณสมปอง เล็กค า (จินดา

ภรณ์ วงศ์สุภาวิต) เ ป็ น ผู้ ค ว บ คุ ม ดู แ ล

ซึ่งมี คุณอุไรวรรณ เครืองมังกร คุณประทิน รัตนวราหะ

คุณเสมอ พงษ์สุวรรณ และคุณจิราพรรณ์ ช้างน้อย

เป็นผู้ร่วมงานตลอดระยะเวลาที่ผมอยู่ที่นี่โดยไม่มีปัญหา

อะไรทั้งสิ้น

1 ตุลาคม 2536 วันที่ผมได้เดินทางมารับต าแหน่ง

ผู้อ านวยการสถานีทดลองข้าวชัยนาท ได้รับการต้อนรับ

จากข้าราชการและคนงานเป็นอย่างดี การปฏิบัติงานผม

ไม่ได้เปลี่ยนแปลงอะไรมากนัก เพราะพี่สารนิติ สงวนสัจ

ได้วางรูปแบบและระบบการท างานไว้ดีมากแล้ว ทั้งใน

แปลงนางานทดลอง งานขยายพันธุ์และงานธุรการ/

การเงิน ผมได้จัดท าเสาธงขึ้นใหม่ให้ใหญ่และสูงขึ้น

เพื่อให้เหมาะสมกับสถานที่ ได้ย้ายศาลพระภูมิซึ่งอยู่

ด้านหน้าของส านักงานไปไว้ด้านข้างทางทิศตะวันออก

ของตัวอาคาร จัดท าโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่ บนที่ดอน

ด้านเหนือของสถานี พื้นที่ประมาณ 13 ไร่ และได้ขุดสระ

เก็บกักน้ า 2-3 ไร่ ลึกประมาณ 5-7 เมตร เพื่อกักเก็บน้ า

ไว้ใช้ในฤดูนาปรัง (ความจริงสถานีทดลองข้าวชัยนาทอยู่

ในเขตชลประทาน แต่บางปีน้ าไม่พอใช้ในฤดูนาปรัง)

การท านาในปัจจุบันนี้จะใช้เครื่องจักรเป็นส่วนใหญ่

ผมจึงได้ปรึกษากับน้องๆ จัดท าอาคารส าหรับเก็บ

เครื่องมือการเกษตรแบบเก่าเพื่อเก็บเครื่องมือการท านา

อาทิเช่น ไถ คราด อีขลุบ เกวียน เลื่อน ระหัดวิดน้ า ครก

ครกกระเดื่อง เครื่องสีข้าวฯลฯ

และในวันที่ 20 กุมภาพันธ์ 2539 ได้จัดงานข้าวญี่ปุน

ทางเลือกใหม่ของชาวนาไทย เป็นงานแสดงเทคโนโลยี

การปลูกข้าวญี่ปุนเฉลิมพระเกียรติ ในวโรกาสทรง

ครองราชย์สมบัติครบ 50 ปี ขณะที่ผมปฏิบัติงานที่สถานี

ทดลองข้าวชัยนาท มีนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีมาเยี่ยมชม

และติดตามงานของสถานี โดยเฉพาะการระบาดของ

เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล ระหว่าง ปี พ.ศ. 2539-2541

รวม 3 ท่านได้แก่

1. วันที่ 20 สิงหาคม 2540 นายชูชีพ หาญสวัสดิ์

รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

2. วันที่ 20 ธันวาคม 2540 นายเนวิน ชิดชอบ

รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

3. วันที่ 11 กันยายน 2541 นายชวน หลีกภัย

นายกรัฐมนตรี

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 33 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ความประทับใจที่ผมปฏิบัติงานที่สถานีทดลองข้าว

ชัยนาท มีมากเพราะข้าราชการและคนงาน

ให้ความเคารพต่อผม มีความสามัคคีกลมเกลียว ร่วมแรง

ร่วมใจ ในการปฏิบัติงานให้ลุล่วงไปด้วยดี โดยมีการจัด

งานปีใหม่ขึ้นทุกปี ท าบุญเลี้ยงพระ แข่งกีฬาสี

แลกเปลี่ยนของขวัญ และแจกของขวัญแก่คนงานทุกคน

หลังจากเสร็จงานกินเลี้ยงสังสรรค์กันอย่างสนุกสนาน

งานสงกรานต์ก็สนุกกันไปอีกแบบหนึ่ง ตอนที่ผมย้ายมา

อยู่สถานีทดลองข้าวชัยนาท ผมมาคนเดียวไม่ได้พา

ครอบครัวมาด้วย บางโอกาส (บ่อยครั้ง) ได้ชวนน้องๆ

ออกไปหาอาหารทาน และเย็นฟังเพลงตามร้านอาหาร

ที่มีชื่อตามประสาคนไกลบ้าน คนโสดก็สบายตัวคนมี

ครอบครัวก็ตัวใครตัวมัน ตื่นเช้ามาผมต้องคอยหลบหน้า

หลบตาแม่บ้านของน้องๆ ส่วนการจัดสวัสดิการพวกพี่ๆ

ได้วางระบบไว้ดีมาก

ผมมีความภูมิใจอย่างมากที่ได้มาปฏิบัติงานที่สถานี

ทดลองข้าวชัยนาท ที่มีค าขวัญจังหวัด คือ หลวงปูุศุขลือชา

เขื่อนเจ้าพระยาลือชื่อ นามระบือสวนนก ส้มโอดก

ขาวแตงกวา ได้มาอยู่เมืองเกษตรกรรม ภายใต้บารมี

ของหลวงปูุสุข วัดปากคลองมะขามเฒ่า หลวงพ่อ

ธรรมจักร วัดธรรมามูลวรวิหาร เป็นที่ตั้งของเขื่อน

เจ้าพระยา มีสวนนกขนาดใหญ่ ได้ลิ้มรสของส้มโอ

ขาวแตงกวาที่มีรสชาติเป็นเลิศ ผมปฏิบัติงานจนถึง

วันที่ 11 ธันวาคม 2542 วันที่ผมเดินทางมาปฏิบัติงานที่

ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก ข้าราชการและคนงานได้ตามมา

ส่งผมมากมาย ผมซึ้งน้ าใจของชาวชัยนาททุกคน ท้ายสุดนี้

ผมขออารธนาคุณพระศรีรัตนตรัย ตลอดจนบารมีของ

หลวงปูุศุข หลวงพ่อธรรมจักร ขอให้ชาวศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาททุกท่าน จงประสบแต่ความสุขความเจริญ

สุขภาพแข็งแรง ปราศจากโรคภัยไข้เจ็บทั้งปวง และ

ขอให้ข้าราชการทุกท่านก้าวหน้าในหน้าที่ราชการ

ใครอยากเป็น ผอ. ขอให้ได้เป็น ผอ. ผมจะคอยติดตาม

ความก้าวหน้าของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทตลอดไปครับ

(ตอนนี้ 73 ปี แล้วครับ) …

เล็ก จันทรเกษม

3 กุมภาพันธ์ 2560

/ 34 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท นับว่าเป็นศูนย์ที่มีสถานที่ตั้ง

ในท าเลที่ดีมาก อาจจะถือได้ว่าเป็นจุดศูนย์กลางของ

เมืองชัยนาทเลยทีเดียว อยู่ห่างจากเขื่อนเจ้าพระยา

ไม่มากนัก ท าให้มีน้ าท านาได้ปีละ 2 ครั้ง ส่งผลให้

นักวิจัยสามารถมีเวลาท างานวิจัยปรับปรุงพันธุ์ข้าว

ได้ต่อเนื่อง จนสามารถได้ข้าวพันธุ์ ชัยนาท 1 ที่ประกาศ

เป็นพันธุ์รับรอง ให้เกษตรกรชาวนาทั่วไปได้น าไปปลูก

ซึ่งต่อมาเป็นที่นิยมของชาวนาโดยทั่วไปเป็นอย่างมาก

นอกจากนั้น ประชาชนชาวชัยนาทส่วนใหญ่ยังเป็นคน

ที่มีนิสัยดี สุภาพเรียบร้อย จะเห็นได้จากข้าราชการที่มา

ประจ าอยู่ที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทหลายๆ ท่าน ได้ตัดสินใจ

สร้างบ้านเรือนอยู่ที่ชัยนาท

ระยะเวลา 3 ปี (พ.ศ. 2542-2544) เป็นช่วงที่ผม

ได้มีโอกาสร่วมปฏิบัติงานที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

กับทีมงานที่เข้มแข็ง ทั้งข้าราชการ และพนักงาน

โดยในปี พ.ศ. 2542 ได้ร่วมงานกับส านักวิจัยและ

พัฒนาการเกษตรเขตที่ 5 จังหวัดชัยนาท และศูนย์วิจัย

พืชไร่ชัยนาท จัดงานนิทรรศการ วันวิชาการเกษตร

ของกรมวิชาการเกษตร ปี พ.ศ.2543-2544 ได้ร่วมกับ

จังหวัดชัยนาท จัดงานวันเกษตรกรและแม่โพสพ

จังหวัดชัยนาท โดยหน่วยงานราชการหลายๆ หน่วย

ได้ให้ความร่วมมือในการจัดงานทั้งสามครั้งเป็นอย่างดี

ท าให้การด าเนินการประสบความส าเร็จเป็นอย่างมาก

ในที่นี้ต้องขอขอบคุณทีมงานข้าราชการ และพนักงาน

ที่ได้ให้ความร่วมมือช่วยกันในทุกๆ ครั้ง

โอกาสส าคัญในวันครบรวม 60 ปี ของศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาท ผมขออาราธนาคุณพระศรีรัตนตรัย สิ่งศักดิ์สิทธิ์

ทั้งหลายในสากลโลก รวมถึงหลวงปูุศุข จงดลบันดาลให้

ข้าราชการและพนักงานของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท พร้อม

กับชาวเมืองชัยนาท ประสบแต่ความสุข ความเจริญและ

มีความเจริญก้าวหน้าในชีวิตราชการ ยิ่งๆ ขึ้นตลอดไป

พร้อมกับขออวยพรให้เกษตรกรชาวนาที่มาติดต่อ

ราชการกับศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ได้รับข้อมูล และความรู้

จากผลงานวิจัยที่นักวิจัยของศูนย์ได้ด าเนินการ และ

น าไปใช้สร้างประโยชน์ให้กับอาชีพของตนเองให้ได้ดี

ยิ่งๆ ขึ้นไป ขอขอบคุณ …

สากร สุวรรณเทน

1 กุมภาพันธ์ 2560

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ณ วันนั้น

สากร สุวรรณเทน

สถานีทดลองข้าวชัยนาท (ปี พ.ศ. 2543 – 2545)

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 35 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ก่อนที่จะกล่าวถึงความทรงจ า ความภูมิใจ และ

ประทับใจ ในครั้งที่ผมได้มีโอกาสเป็นผู้บริหารสถานี

ทดลองข้าวชัยนาท ขอย้อนอดีต เมื่อครั้งรับราชการอยู่ที่

จังหวัดสกลนคร ริมฝั่งหนองหาร เทือกเขาภูพาน ต านาน

เมืองหนองหารหลวง ณ. สถานีทดลองข้าวสกลนคร ก่อน

ครั้งนั้นได้มีโอกาสร่วมกับคณะจ้าหน้าที่สถานีฯ เดินทางมา

ศึกษาดูงาน สวัสดิการร้านค้าของสถานีทดลองข้าวชัยนาท

ได้รับการต้อนรับจากท่านหัวหน้า สารนิติ สงวนสัจ

พร้อมคณะเจ้าหน้าที่อย่างดียิ่ง พาชมร้านค้าอธิบายถึง

วัตถุประสงค์ ผลการด าเนินการ และข้อจ ากัดในสิ่งที่ไม่ควร

น ามาบริการสมาชิก ซึ่งก็คือของมึนเมา โดยให้เหตุผลว่า

“พลเหล้าเข้าปาก ความทุกข์ยากไม่มี หนี้สินรุงรัง

การงานถดถอย” นั่นคือความประทับใจครั้งแรก ซึ่งตอน

ที่ผมย้ายมาชัยนาทร้านค้าดังกล่าวก็ยังด าเนินการอยู่

และได้เดินทางมารายงานตัวปฏิบัติหน้าที่ ในวันที่

1 มีนาคม พ.ศ.2545 ได้รับการต้อนรับด้วยดีจากข้าราชการ

บุคลากรของสถานีฯ และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องในจังหวัด

เช่น ส านักวิจัยและพัฒนาการเกษตร เขตที่ 5 ศูนย์วิจัยพืชไร่

ชัยนาท และส านักงานเกษตรจังหวัดชัยนาท เป็นต้น

ครั้งหนึ่ง

ที่ ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

อนันต์ ตั้งจิตรตรง

สถานีทดลองข้าวชัยนาท (ปี พ.ศ. 2545 – 2549)

ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัยการผลิตชัยนาท (ปี พ.ศ. 2549)

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท (ปี พ.ศ. 2549)

จากสถานีทดลองข้าวสกลนคร เมื่อปี พ.ศ. 2532

ผมย้ายไปปฏิบัติหน้าที่ ณ ริมฝั่งแม่น้ าโขง อ าเภอโพนพิสัย

จังหวัดหนองคาย ต านานเมืองบั้งไฟพญานาค ที่สถานี

ทดลองข้าวและธัญพืชเมืองหนาวโพนพิสัย

จนได้รับค าสั่งจาก กรมวิชาการเกษตร ที่ 3800/2544

ลงวันที่ 23 ธันวาคม พ.ศ. 2544 ให้ข้าราชการ จ านวน

5 ราย ย้ายไปปฏิบัติราชการ และผมเป็นหนึ่งในจ านวนนั้น

โดยให้ไปด ารงต าแหน่งผู้อ านวยการสถานีทดลองข้าวชัยนาท

จังหวัดชัยนาท รับทราบค าสั่ง วันที่ 9 มกราคม พ.ศ. 2545

เมื่อทุกอย่างเข้าที่ ผมได้ถือโอกาสไปกราบนมัสการหลวง

พ่อธรรมจักร และปูุศุข เพื่อขอพร ในขณะเดียวกันนั้น

ก็ได้ไปเยี่ยมคาราวะ ท่าน ผอ. สารนิติ สวงนสัจ และ

คุณทัศนี สงวนสัจ ซึ่งท่านเป็นผู้บริหารสถานีทดลองข้าว

ชัยนาท มายาวนาน และยังเคยเป็นผู้บังคับบัญชาผมมาก่อน

ครั้งเมื่อท่านไปเป็นหัวหน้าสถานีทดลองข้าวสกลนคร

การที่สถานีทดลองข้าวชัยนาท มีความก้าวหน้าและ

มีผลงานออกสู่เกษตรกรและเป็นที่ยอมรับ ท่านเป็น

ส่วนส าคัญในการบุกเบิกและสร้างไว้ โดยเฉพาะอย่างยิ่ง

/ 36 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พันธุ์ข้าวชัยนาท 1 ขอหยุดตรงนี้ไว้สักครู่ เพราะ

ในปี พ.ศ. 2546 มีค าสั่งให้เปลี่ยนชื่อ สถานีทดลองข้าว

ชัยนาท เป็นศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัยการผลิต

ชัยนาท สังกัดสถาบันวิจัยข้าว กรมวิชาการเกษตร

ภายใต้การควบคุมดูแลของส านักวิจัยและพัฒนา

การเกษตร เขตที่ 5 จังหวัดชัยนาท แต่ภารกิจโดยรวม

ยังคงเหมือนเดิม ต่อไปนี้จึงของดใช้ชื่อ สถานีทดลองข้าว

ไปพลางๆ ก่อน ขอย้อนกลับไปกล่าวถึง พันธุ์ข้าวชัยนาท 1

อีกครั้ง เพราะเป็นพันธุ์ข้าวที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจ

ให้กับประเทศชาติเป็นอย่างมาก ผมมาอยู่ที่นี่ในภายหลัง

ก็ยังคงภาคภูมิใจต่อผลงานนี้อยู่ ในช่วงที่ผมมาเป็น

ผู้บริหาร ปี พ.ศ. 2547 ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและ

ปัจจัยการผลิตชัยนาท ได้เสนอพันธุ์ข้าวพันธุ์ใหม่ผ่าน

คณะกรรมการพิจารณาพันธุ์ โดยใช้ชื่อว่าพันธุ์ชัยนาท 2

ซึ่งเป็นพันธุ์ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสงอายุเบา ในครั้งนั้น

ต้องขอขอบคุณคณะปรับปรุงพันธุ์ ได้แก่ คุณสถาพร

กาญจนพันธุ์ คุณมุ่งมาตร วังกะ คุณชวนชม ดีรัศมี

พร้อมคณะปรับปรุงพันธุ์ของศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก และ

ศูนย์บริการวิชาการด้านพืชและปัจจัยการผลิตลพบุรี

ไว้ ณ ที่นี้ด้วย ส่วนผลงานด้านวิทยาการเมล็ดพันธุ์ การผลิต

เมล็ดพันธุ์คัดและพันธุ์หลัก ศูนย์ฯนับเป็นสถานที่ผลิต

เมล็ดพันธุ์ที่มีคุณภาพ ที่ผ่านมาตรฐาน และได้ปริมาณ

ตามการจัดสรรโควต้าให้ด าเนินการผลิต ได้รับการยอมรับ

จากหน่วยงานที่เกี่ยวข้องและเกษตรกรโดยทั่วไป ซึ่งต้อง

ขอขอบใจเจ้าหน้าหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ได้แก่ คุณบุบผา

บัวลอย คุณสมพงษ์ เฉยพันธ์ และคุณเสน่ห์ คชรัตน์

ที่ร่วมกันปฏิบัติงานได้เป็นอย่างดี นอกจากนี้ผลงานวิจัย

ด้านอื่นๆ ได้แก่ งานปรับปรุงการผลิต งานวิทยาการ

หลังการเก็บเกี่ยว และงานอารักขาข้าว ซึ่งผลงานเหล่านี้

ล้วนเป็นประโยชน์ออกสู่เกษตรกรโดยตรง รวมถึง

การมีส่วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมเพิ่มเติมความรู้ให้กับ

เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชัยนาท และจังหวัดอุทัยธานี

อย่างสม่ าเสมออีกด้วย

งานที่ส าคัญยิ่ง ที่ถือเป็นภารกิจซึ่งศูนย์ฯจะต้อง

ด าเนินงานอย่างเต็มก าลัง ก็คือการที่ได้มีโอกาส

ปฏิบัติงานสนองงานโครงการพระราชด าริ ตามค าสั่งของ

มูลนิธิชัยพัฒนา ปี พ.ศ.2545 ผ่านกรมวิชาการเกษตร

ศูนย์ฯชัยนาท เป็นหน่วยงานรับผิดชอบ “โครงการ

พัฒนาการปรับปรุงบ ารุงดินส าหรับการท านา” บ้านเด่นใหญ่

ต าบลเด่นใหญ่ อ าเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ศูนย์ฯได้

จัดตั้งคณะท างานประกอบด้วย คุณสถาพร กาญจนพันธุ์

คุณสมพงษ์ เฉยพันธ์ คุณเสน่ห์ คชรัตน์ คุณมุ่งมาตร วังกะ

และนักวิชาการจาก สวพ.5 อีก 1 ท่าน ด าเนินการก าหนด

แผนงานการศึกษาและสาธิตการปรับปรุงบ ารุงดิน

ส าหรับการท านาและปลูกพืชไร่หลังนา การสาธิตการใช้

ปุ๋ยอินทรีย์และปุ๋ยชีวภาพในการปรับปรุงดิน การศึกษา

ข้าวพันธุ์พื้นเมืองที่นิยมปลูกในท้องถิ่น และการเพาะเห็ด

เศรษฐกิจจากวัสดุฟางข้าว โดยเฉพาะกิจกรรมการเพาะเห็ด

จากวัสดุฟางข้าว ทางศูนย์ฯได้เชิญ คุณสมพงษ์ อังโขรัม

อดีตผู้ช านาญด้านการเพาะเห็ดเศรษฐกิจโครงการ

อันเนื่องมาจากพระราชด าริ มาเป็นผู้ด าเนินการฝึกอบรม

ซึ่งประสบความส าเร็จอย่างดีเยี่ยม มีเกษตรกร และ

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 37 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สถานศึกษาสนใจเข้ารับการฝึกอบรมจ านวนมาก ทั้งใน

จังหวัดชัยนาท และจังหวัดต่างๆ เกษตรกรน าไป

ด าเนินการต่อยอดสร้างเป็นอาชีพได้ ตลอดจนโรงเรียน

บ้านเด่นใหญ่ อ าเภอหันคา จังหวัดชัยนาท ที่ได้น า

นักเรียนเข้ารับการฝึกอบรม แล้วน าไปด าเนินการเป็น

กิจกรรมของโรงเรียน จนส่งโครงการเข้าประกวด และ

ได้รับรางวัลชนะเลิศระดับชาติในเวลาต่อมา

งานด้านอ านวยการ ด้านการเงินต้องขอขอบใจ คุณ

จินดาภรณ์ วงษ์สุภาวิต ที่ปฏิบัติงานไม่มีข้อบกพร่อง ขอ

ขอบใจเจ้าหน้าที่ธุรการ เจ้าหน้าที่พัสดุ ที่ร่วมมือร่วม

ใจกันปฏิบัติหน้าที่ และในปี พ.ศ.2548 ลูกจ้างชั่วคราว

รายวันได้รับการปรับฐานะเป็นพนักงานราชการ ท าให้มี

ขวัญก าลังใจมากขึ้น ในช่วงที่ผมบริหารงานนั้น ต้อง

ขอขอบพระคุณ ผอ. สารนิติ สงวนสัจ ที่ได้ให้ข้อแนะน า

บางอย่างบางประการท าให้งานด าเนินไปได้ด้วยดี และ

ก่อนที่ผมจะเกษียณอายุราชการ ปกติล าน้ าเจ้าพระยา

สายธาราไหลล่อง แต่ครั้งนี้กาลเวลากับไหลทวนหวน

กลับ ปลายปีงบประมาณ พ.ศ.2549 มีประกาศจัดตั้ง

“กรมการข้าว” อีกครั้ง ท าให้“ “ศูนย์บริการวิชาการ

ด้านพืชและปัจจัยการผลิตชัยนาท” ปรับเปลี่ยนชื่อและ

สถานะเป็น “ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท” สังกัดส านักวิจัยและ

พัฒนาข้าว กรมการข้าว (สาธุขอให้อายุมั่นขวัญยืน)

ในโอกาสที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ที่จัดตั้งมาตั้งแต่

ปี พ.ศ.2500 มีอายุครบ 60 ปี ขออาราธนาความศักดิ์สิทธิ์

ของหลวงพ่อธรรมจักร และหลวงปูุศุขวัดปากคลอง

มะขามเฒ่า จงอ านวยพรให้เจ้าหน้าที่ของศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาท ตลอดถึงครอบครัว จงประสบแต่ความสุข

ความเจริญ ไม่เจ็บไม่ไข้ จิตแจ่มใส ร่างกายแข็งแรง

ทั่วทุกคน ยังคงสร้างผลงานที่เป็นประโยชน์แก่ชาวนา

และประเทศชาติอย่างต่อเนื่องตลอดไป …

อนันต์ ตั้งจิตตรง

9 กุมภาพันธ์ 2560

Chai Nat 2

/ 38 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ความรู้สึกดีๆ ที่มีต่อ

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

สมศักดิ์ ทองดีแท้

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท (ปี พ.ศ. 2549 – 2555)

ผมได้ย้ายมาด ารงต าแหน่งผู้อ านวยการศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาท เมื่อวันที่ 9 พฤศจิกายน 2549 และเกษียณอายุ

ราชการ เมื่อวันที่ 30 กันยายน 2555 เป็นเวลาเกือบ 6 ปี

วันแรกที่เดินทางมาถึง ผมและคณะ ประกอบด้วย

ข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ จากศูนย์วิจัยข้าว

ปทุมธานี ประมาณ 50 คน ที่ได้ตามมาส่ง ได้รับการต้อนรับ

อย่างอบอุ่นจากข้าราชการ ลูกจ้าง และพนักงานราชการ

ของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท มีการจัดเตรียมอาหารกลางวัน

ไว้ต้อนรับ และร่วมรับประทานอาหารด้วยกันอย่างมีความสุข

ซึ่งเป็นภาพที่ประทับใจอย่างยิ่ง หลังจากนั้นเจ้าหน้าที่ของ

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทได้น าพวงมาลัยดอกไม้สด ธูป และ

เทียน มาให้ผมไปไหว้สักการะสิ่งศักดิ์สิทธิ์ภายในศูนย์ฯ

4 แห่ง คือ ศาลพระภูมิ ศาลเจ้าที่ (ศาลตา-ยาย)

ศาลพระพรหม และพระพุทธรูปในห้องท างานของ ผอ.

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

ในช่วงเวลาที่ผมท างานที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

มีสิ่งที่ผมรู้สึกประทับใจอยู่หลายๆ อย่าง ดังนี้

1. สมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมารี

ทรงมีพระมหากรุณาธิคุณเสด็จเยี่ยมศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

เมื่อวันที่ 30 ธันวาคม 2551 นับว่าเป็นสิริมงคลอย่างยิ่ง

แก่ข้าราชการ ลูกจ้าง พนักงานราชการของศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาท และพสกนิกรจังหวัดชัยนาทด้วย โดยทางศูนย์ฯ

ได้จัดเต็นท์แสดงนิทรรศการ และถวายรายงานประวัติ

ความเป็นมาของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท สถานที่ตั้ง แผนผัง

ขนาดพื้นที่และอัตราก าลัง พร้อมทั้งถวายรายงาน

ผลงานวิจัยที่ประสบความส าเร็จ ได้แก่ พันธุ์ข้าวชัยนาท 1

ชัยนาท 80 (กข29) และความก้าวหน้าการปรับปรุงพันธุ์

ข้าวพื้นเมือง คือ พันธุ์ขาวเจ๊ก ต่อจากนั้นได้กล่าวถวาย

รายงานเรื่อง การจัดการศัตรูข้าวแบบผสมผสาน แมลง

ศัตรูข้าวที่ส าคัญ เช่น เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล ฯลฯ แมลง

ศัตรูธรรมชาติ (ตัวห้ าและ ตัวเบียน) การทดสอบ

ปฏิกิริยาความต้านทานของพันธุ์ข้าวต่อโรคไหม้และ

โรคขอบใบแห้ง การผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวพันธุ์คัดและ

พันธุ์หลัก และแนวทางปฏิบัติตามหลักการเกษตรดี

ที่เหมาะสมในการผลิตข้าว (GAP) จากนั้นทรงปลูกต้นมะตูม

จ านวน 1 ต้น เพื่อเป็นสิริมงคล แก่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

และทรงเกี่ยวข้าวพันธุ์ชัยนาท 1 ในแปลงนาผลิตเมล็ดพันธุ์

และพระราชทานรวงข้าวที่ทรงเกี่ยวแก่อธิบดีกรมการข้าว

ผู้ว่าราชการจังหวัดชัยนาท เลขาธิการมูลนิธิชัยพัฒนา

ผู้บังคับการต ารวจภูธรจังหวัดชัยนาท ผู้อ านวยการ

ส านักวิจัยและพัฒนาข้าว ผู้อ านวยการศูนย์วิจัยข้าว

ชัยนาท ฯลฯ

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 39 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

2. รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์

(ท่านศาสตราจารย์ ดร.ธีระ สูตะบุตร อดีตอธิการบดี

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์) และคณะได้เดินทางมาเยี่ยม

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท และเป็นประธานเปิดงาน “วันรณรงค์

การปูองกันก าจัดข้าววัชพืชและการใช้เทคโนโลยี

การผลิตข้าวที่เหมาะสม” เมื่อวันที่ 14 มิถุนายน 2550

พบปะเกษตรกรชาวนา พร้อมทั้งมอบนโยบายและ

ให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับงานวิจัยและพัฒนาข้าว ซึ่งสร้างขวัญ

และก าลังใจแก่ชาวศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทเป็นอย่างยิ่ง

3. ความรักและความสามัคคีของบุคลากรภายใน

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เป็นสิ่งที่ผมมีความรู้สึกประทับใจมาก

ถึงแม้ว่าจะเป็นศูนย์วิจัยฯ ขนาดเล็ก มีข้าราชการ 13 คน

ลูกจ้างประจ า 30 คน พนักงานราชการ 50 คน และ

ลูกจ้างเหมาจ่าย 17 คน รวมทั้งสิ้น 110 คน ส าหรับ

ข้าราชการนั้น ประกอบไปด้วย นักวิชาการด้านปรับปรุงพันธุ์

2 คน กีฏวิทยา 2 คน โรคพืช 2 คน ปฐพีวิทยา 1 คน

เทคโนโลยีเมล็ดพันธุ์ 1 คน และส่งเสริมการเกษตร 1 คน

ซึ่งทุกคนส าเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททั้งสิ้น

(ภายในประเทศ 7 คน สหรัฐอเมริกา 1 คน และ

ออสเตรเลีย 1 คน) นับว่ามีองค์ประกอบครบทุกสาขาวิชา

นอกจากนี้ ยังมีเจ้าพนักงานการเกษตร 3 คน และ

เจ้าพนักงานการเงิน 1 คน ท าให้ผมบริหารงานได้

โดยง่าย สะดวก และมีประสิทธิภาพเป็นอย่างยิ่ง

4. สถานการณ์เพลี้ยกระโดดสีน้ าตาลระบาดหนัก

ปี พ.ศ. 2552-2554 เกิดความเสียหายอย่างรุนแรง

ในนาเกษตรกรเขตชลประทานภาคกลางโดยเฉพาะ

จังหวัดชัยนาท นครสวรรค์ และอุทัยธานี ซึ่งอยู่ในเขต

รับผิดชอบของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ทางศูนย์ฯ ได้จัดท า

โครงการรณรงค์เพื่อปราบเพลี้ยกระโดดสีน้ าตาล

โดยร่วมมือกับเจ้าหน้าที่ส่งเสริมการเกษตร และ

เกษตรกรในพื้นที่การระบาด ช่วยกันปูองกันก าจัด

จนท าให้ประชากรของเพลี้ยกระโดดสีน้ าตาลลดลง

และแก้ปัญหาความเสียหายในแปลงนาเกษตรกร ท าให้

สถานการณ์ดังกล่าวกลับเข้าสู่สภาวะปกติ

/ 40 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นอกจากนี้ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ยังได้ร่วมมือกับ

สถาบันวิจัยข้าวนานาชาติ (IRRI) และธนาคารพัฒนา

แห่งเอเซีย (ADB) จัดท าโครงการนิเวศน์วิศวกรรม

(Ecological Engineering) ในนาข้าวเป็นแห่งแรก

ของประเทศไทย ด าเนินการในปี พ.ศ. 2552-2554

โดยปลูกพืชที่มีดอกสีเหลืองหรือสีขาว มีเกสร และ

น้ าหวาน (nectar) ปริมาณมากบนคันนารอบๆ แปลงนาข้าว

ส าหรับพืชที่ปลูก ได้แก่ บวบ ฟักทอง และดอกกระดุม

เพื่อล่อแมลงที่มีประโยชน์ (แมลงศัตรูธรรมชาติ)

อันประกอบด้วย ตัวห้ าและตัวเบียน ได้ใช้เป็นแหล่งที่อยู่

อาศัย แหล่งอาหาร และขยายพันธุ์เพิ่มประชากร

คอยเฝูาท าลายแมลงศัตรูข้าวในแปลงนา ส่งผลให้

ประชากรของแมลงศัตรูข้าวลดลง ลดความเสียหาย และ

ลดการใช้สารเคมีก าจัดแมลงท าให้ปลอดภัยต่อระบบ

นิเวศน์ในนาข้าว

5. สถานการณ์น้ าท่วมใหญ่ ในปี พ.ศ. 2554 เป็น

เหตุการณ์ส าคัญที่ชาวศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทยังจดจ าและ

ยากที่จะลืม สืบเนื่องจากแม่น้ าเจ้าพระยามีระดับสูงขึ้น

ผิดปกติ แรงดันของน้ าท าให้คันคลองชลประทานพัง

หลายแห่ง จ าได้ว่าปลายเดือนกันยายน 2554 น้ าไหลเข้า

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทอย่างรวงเร็วท่วมแปลงผลิต

เมล็ดพันธุ์ข้าว และแปลงทดลองข้าว ระดับน้ าลึก

ประมาณ 200-250 เซนติเมตร ถนนภายในศูนย์ฯ จมมิด

อยู่ใต้น้ า นอกจากนี้ อาคารปฏิบัติการ อาคารส านักงาน

อาคารเก็บเมล็ดพันธุ์ บ้านพักราชการ และบ้านพักคนงาน

ถูกน้ าท่วม ระดับน้ าลึกประมาณ 60-170 เซนติเมตร

ท าให้ครุภัณฑ์ เครื่องมือ และอุปกรณ์ เสียหายบางส่วน

การเดินทางภายในศูนย์ฯ ในขณะนั้น ต้องอาศัยเรือพาย

การติดต่อสื่อสารภายในและภายนอกศูนย์ต้องใช้

โทรศัพท์มือถือเท่านั้น บรรยากาศของศูนย์ฯ ที่มีน้ าท่วม

ทั่วพื้นที่เป็นบริเวณกว้าง เวิ้งว้างเหมือนทะเล ยาวนาน

กว่า 2 เดือน ต่อมาราวปลายเดือนพฤศจิกายน 2554

ระดับน้ าจึงเริ่มลด เมื่อน้ าเริ่มแห้งพวกเราทุกคนจึงช่วยกัน

ท าความสะอาดโรงเรือนปฏิบัติการ อาคารส านักงาน

บ้านพัก และถนนบริเวณภายในศูนย์ฯ จนกลับเข้าสู่

สภาวะปกติ

ความจริงยังมีความรู้สึกดีๆ ต่อศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

อีกมากมาย ซึ่งผมไม่สามารถเล่ามาได้ทั้งหมดเพราะพื้นที่

มีจ ากัด ในโอกาสที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทครบรอบ 60 ปี

แห่งการก่อตั้ง ผมจึงขออวยพรให้ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

มีความเจริญรุ่งเรืองยิ่งขึ้นไป ประสบความส าเร็จ และมี

ผลงานในการค้นคว้าวิจัยด้านข้าวที่สร้างประโยชน์ให้กับ

เกษตรกรและประเทศชาติตลอดไป …

สมศักดิ์ ทองดีแท้

7 กุมภาพันธ์ 2560

RD29

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 41 /


/ 42 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ส่วนที่ 3

การด าเนินงานวิจัย ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 43 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ชัยนาท 1

เมื่อ 35 ปีที่แล้ว ทีมงานนักปรับปรุงพันธุ์ข้าว

ของสถานีทดลองข้าวชัยนาท ได้ผสมพันธุ์ข้าวเพื่อที่จะมา

แก้ไขสถานการณ์การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล

ในสมัยนั้น หลังจากคัดเลือก และทดสอบความต้านทาน

ต่อเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล นานนับ 10 ปี จึงได้ข้าวที่มี

ลักษณะตามที่ความต้องการ มา 1 สายพันธุ์ คือ

CNTBR82075-43-2-1 ต่อมาได้น้าข้าวสายพันธุ์นี้

ไปปลูกขยายในหลายพื้นที่ ซึ่งชาวนาในหลายจังหวัด

ให้การตอบรับเป็นอย่างดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งในเขตพื้นที่

นาชลประทาน ทางทีมงานจึงได้รวบรวมข้อมูลเพื่อเสนอ

เป็นพันธุ์รับรอง

เ ก๋ า ...แ ต่ ไ ม่ เ ก่ า

....ชวนชม ดีรัศมี

/ 44 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

แต่ในที่สุดก็ไม่เป็นที่ยอมรับของคณะกรรมการ

รับรองพันธุ์ ด้วยเหตุผลที่ว่าสายพันธุ์นี้เป็นข้าวแข็ง

ไม่มีความนุ่มเหมือนข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปลูกแล้วจะ

ให้ใครกินและจะขายให้ใคร? คณะกรรมการจึงให้กลับมา

แก้ไขครั้งแล้วครั้งเล่า จนทีมงานนักวิจัยและปรับปรุงพันธุ์

เริ่มจะถอดใจ แต่ด้วยความมั่นใจว่าสายพันธุ์นี้จะต้อง

เป็นที่ยอมรับของเกษตรกรและเป็นที่ต้องการของตลาด

เพราะเมล็ดยาว เรียว ใส ไม่มีท้องไข่ และต้านทานต่อ

เพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ทีมงานจึงฮึดสู้อีกครั้ง โดยครั้งนี้

ได้การน้าข้อมูลการยอมรับจากทางเกษตรกรและ

ผู้ประกอบการค้าข้าวประกอบไปด้วย คณะกรรมการ

จึงมีมติให้สายพันธุ์ CNTBR82075-43-2-1 เป็นพันธุ์ข้าว

ที่ได้รับการรับรอง ในปี พ.ศ. 2536 โดยให้ชื่อว่า

“พันธุ์ชัยนาท 1”


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ถึงแม้ว่าในปัจจุบันชัยนาท 1 จะอ่อนแอต่อโรคและ

แมลงศัตรูข้าวลงไปบ้าง แต่ทีมงานนักวิจัยรุ่นใหม่ก็มี

ความตั้งใจอย่างแรงกล้าที่จะท้าให้ ชัยนาท 1 กลับมา

ผงาดและได้รับความนิยมอีกครั้ง โดยในปัจจุบันด้วยการที่

เทคโนโลยีสมัยใหม่ถูกน้าเข้ามาใช้ในการปรับปรุงพันธุ์ข้าว

ให้มีความต้านทานได้อย่างหลากหลายมากขึ้น

เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลที่นับวันยิ่งทวีความรุนแรงในการ

เข้าท้าลาย โรคขอบใบแห้งที่ยังไม่มีข้าวนาชลประทาน

พันธุ์ไหนต้านทาน รวมถึงความเสียหายจากการเกิด

อุทกภัย การปรับปรุงพันธุ์จึงเป็นการสร้างชัยนาท 1

สายพันธุ์ใหม่ ที่ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล

โรคขอบใบแห้ง และทนต่อน้้าท่วมฉับพลัน ซึ่งมีความ

เป็นไปได้ที่จะกลับมาไฉไลกว่าเดิม และหวังว่าจะ

สามารถครองใจชาวนาได้อีกครั้ง โปรดเตรียมพบกับ

ชัยนาท 1 โฉมใหม่เร็วๆ นี้. …

แม้เวลาจะล่วงเลยมาเป็นระยะเวลาที่ยาวนานกว่า

24 ปี มาแล้ว พันธุ์ข้าวชัยนาท 1 ก็ยังเป็นที่นิยมของ

เกษตรกรไม่เสื่อมคลาย ไม่เฉพาะในเขตภาคเหนือ

ตอนล่างและภาคกลางเท่านั้น จากข้อมูลการผลิต

เมล็ดพันธุ์ของกองเมล็ดพันธุ์ข้าว ท้าให้ทราบว่า

ตอนนี้พันธุ์ข้าวชัยนาท 1 มีการน้าไปปลูกจนแทบทุกภาค

ของประเทศไทย และท้ารายได้ให้กับประเทศได้

อย่างมหาศาล

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 45 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พันธุ์ข้าว

ชัยนาท 1

ต้นแบบข้าวขาวของไทยในปัจจุบัน ปรับปรุงพันธุ์มา

เพื่อแก้ปัญหาของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลที่ระบาด

อย่างหนัก ได้รับการรับรองพันธุ์ เมื่อปี พ.ศ. 2536

ถือเป็นที่ผู้ประกอบการโรงสีข้าว โรงงานท้าแป้ง

ขนมจีน รวมถึงพ่อค้า-แม่ค้าข้าวราดแกงต้องการมากที่สุด

โดยยกให้เป็นข้าวอันดับ 1 ด้วยคุณภาพเมล็ดที่เรียว ยาว ใส

สามารถน้าไปท้าเป็นข้าวนึ่งเพื่อการส่งออกได้เป็นอย่างดี

รวมถึงการที่เป็นข้าวร่วนหุงขึ้นหม้อ และรับประทาน

เข้ากับอาหารที่ได้ดี ท้าให้กลายเป็นขวัญใจแม่ครัว-พ่อค้า

มาจนถึงปัจจุบัน

ชื่อพันธุ์ : ชัยนาท 1 (Chai Nat 1)

ชื่อสายพันธุ์ : CNTBR82075-43-2-1

คู่ผสม : IR13146-158-1/IR15314-43-2-3-3//BKN6995-16-1-1-2

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 115-120 วัน

ผลผลิต : 740 กิโลกรัมต่อไร่

/ 46 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 47 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ชัยนาท 2

ข้าวล้าดับที่ 2 ของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท เป็นข้าวลักษณะเฉพาะที่ปรับปรุงพันธุ์

ภายใต้โครงการพัฒนาพันธุ์ข้าวหอม และได้รับการรับรองพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2547

ลักษณะพิเศษ คือ คุณภาพข้าวสุก ร่วน แต่มีกลิ่นหอม จึงเป็นอีกหนึ่งทางเลือก

ส้าหรับผู้บริโภคที่ชื่นชอบข้าวขาวประเภทข้าวเสาไห้ (เจ๊กเชยสระบุรี)

ชื่อพันธุ์ : ชัยนาท 2 (Chai Nat 2)

ชื่อสายพันธุ์ : CNT87040-281-1-4

คู่ผสม : หอมพม่า (GS.No.3780 )/IR11418-19-2-3

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 103 – 105 วัน

ผลผลิต : 657 กิโลกรัมต่อไร่

/ 48 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กข29

(ชัยนาท 80)

ข้าวล้าดับที่ 3 ของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท และเป็นข้าวพันธุ์รับรองพันธุ์แรก ของ

กรมการข้าวยุคใหม่ ชื่อเรียกทั้งหมดมีอยู่ 3 ชื่อ ได้แก่ ชัยนาท 3 ชัยนาท 80 และ กข29

ได้รับการรับรองพันธุ์ใน ปี พ.ศ. 2550

ลักษณะของพันธุ์เหมือนกับข้าวขาวโดยทั่วไป แต่อายุสั้นกว่า และสามารถปลูกได้

ทั้งปี ลักษณะเด่น คือ เมื่อถึงเวลาให้ผลผลิตจะออกดอกพร้อมกันทั้งแปลง

ชื่อพันธุ์ : กข29 (RD29), ชัยนาท 80 (Chai Nat 80), ชัยนาท 3 (Chai Nat 3)

ชื่อสายพันธุ์ : CNT89098-281-2-1-2-1

คู่ผสม : สุพรรณบุรี 60/ IR29692-99-3-2-1//IR11418-19-2-3

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 99 วันในฤดูนาปรัง และ 103 วัน ในฤดูนาปี

ผลผลิต : 876 กิโลกรัมต่อไร่

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 49 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

พิษณุโลก 2

ข้าวขาวต้านทานเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลที่ยังมีการปลูกมาจนถึงปัจจุบัน เกิดจาก

ความร่วมมือของกลุ่มศูนย์วิจัยข้าวภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ ศูนย์วิจัยข้าวพิษณุโลก

ชัยนาท และลพบุรี ได้รับการรับรองพันธุ์ เมือ ปี พ.ศ 2543

ลักษณะเด่น คือ เป็นข้าวขาว ผลผลิตสูง ที่สามารถปลูกได้ทั้งปี และมีความ

ต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล

ชื่อพันธุ์ : พิษณุโลก 2 (Phitsanulok 2)

ชื่อสายพันธุ์ : PSL91014-16-1-5-1

คู่ผสม : CNTLR81122-PSL-37-2-1/SPRLR81041-195-2-1//IR56

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 119-121 วัน

ผลผลิต : 807 กิโลกรัมต่อไร่

/ 50 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กข41

ข้าวผลผลิตสูง ที่ปรับปรุงพันธุ์มาเพื่อแก้ปัญหาการระบาดครั้งรุนแรงของ

เพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ได้รับการรับรองพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2552

ลักษณะเด่น คือ ค่อนข้างต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ถือเป็นข้าวพันธุ์ใหม่

พันธุ์แรกที่ถูกน้ามาใช้แก้ปัญหาการระบาดอย่างหนักของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล ในพื้นที่

เขตนาชลประทานภาคเหนือตอนล่างและภาคกลาง ระหว่างปี พ.ศ. 2552-2554

ชื่อพันธุ์ : กข41 (RD41)

ชื่อสายพันธุ์ : CNT96028-21-1-PSL-1-1

คู่ผสม : CNT85059-27-1-3-2/สุพรรณบุรี 60//RP217-635-8

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 105 วัน

ผลผลิต : 876 กิโลกรัมต่อไร่

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 51 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กข47

ข้าวขาวอีกหนึ่งพันธุ์ ที่น้ามาใช้แก้ปัญหาการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล

ระหว่างปี พ.ศ. 2552-2554 ได้รับการับรองพันธุ์ ใน ปี พ.ศ. 2553

ลักษณะเด่นคือ ค่อนข้างต้านทานต่อเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลได้ดีกว่า กข41

ชื่อพันธุ์ : กข47 (RD47)

ชื่อสายพันธุ์ : CNT96024-61-1-PSL-1-2

คู่ผสม : สุพรรณบุรี 1/IR64//CNT86074-25-9-1

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 104-107 วัน (หว่านน้าตม) และ 112 วัน(ปักด้า)

ผลผลิต : 793 กิโลกรัมต่อไร่

/ 52 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กข49

ข้าวขาว ผลผลิตสูง ที่ถูกน้ามาใช้ปัญหาเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล อีกหนึ่งพันธุ์

ได้รับการับรองพันธุ์ ใน ปี พ.ศ. 2556

ลักษณะเด่น คือ มีผลผลิตสูง เมล็ดยาว และค่อนข้างต้านทานต่อเพลี้ยกระโดด

สีน้าตาลชีวชนิดใหม่ เป็นอีกหนึ่งทางเลือกส้าหรับเกษตรกร ภายหลังสามารถแก้ปัญหา

การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลมาได้ระยะหนึ่งแล้ว

ชื่อพันธุ์ : กข49 (RD49)

ชื่อสายพันธุ์ : PSL05102-19-1-5-4

คู่ผสม : PSL00508-3-1-1-4 /IR66738-118-1-2 //IR68544-29-2-1-3-1-2

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 102-107 วัน (หว่านน้าตม)

ผลผลิต : 733 กิโลกรัมต่อไร่ (ศักยภาพการให้ผลผลิตสูงถึง 939 กิโลกรัมต่อไร่ )

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 53 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กข61

ข้าวอายุสั้น ผลผลิตสูง และคุณภาพเมล็ดดี ที่คัดเลือกพันธุ์ต่อมาจาก กข47

ได้รับการรับรองพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2558

ข้าวพันธุ์นี้ สามารถน้ามาใช้แก้ปัญหาการปลูกข้าวในพื้นที่ที่ประสบปัญหาน้าท่วม

ซ้าซากหรือระบบชลประทานไม่สมบูรณ์ได้ เพราะสามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้เร็วขึ้น

ชื่อพันธุ์ : กข61 (RD61)

ชื่อสายพันธุ์ : CNT96024-61-1-PSL-1-2-20-2

คู่ผสม : สุพรรณบุรี 1/IR64//CNT86074-25-9-1

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 87 วัน ในฤดูนาปี และ 96 วัน ในฤดูนาปรัง

ผลผลิต : 684 กิโลกรัมต่อไร่

/ 54 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

กข71

ข้าวอายุสั้น ผลผลิตสูง และคุณภาพเมล็ดดี อีกหนึ ่งพันธุ์ ซึ่งก้าลังจะได้รับ

การรับรองพันธุ์ ในปี พ.ศ. 2560

ข้าวพันธุ์นี้ สามารถเก็บเกี่ยวผลผลิตได้เร็ว และน้ามาใช้แก้ปัญหาการปลูกข้าว

ในพื้นที่ที่มีปัญหาน้าหลากและน้าท่วมซ้าซากได้

ชื่อพันธุ์ : กข71 (RD71)

ชื่อสายพันธุ์ : PSL06004-CNT-7-2-2-1

คู่ผสม : PSL00041-97-3-2-7/*2IR66738-118-1-2 //LHPR303-PSL-30

ชนิด : ข้าวเจ้าไม่ไวต่อช่วงแสง

อายุเก็บเกี่ยว : 95 วัน (หว่านน้าตม)

ผลผลิต : 818 กิโลกรัมต่อไร่ (ศักยภาพการให้ผลผลิตสูงถึง 1,069 กิโลกรัมต่อไร่ )

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 55 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ขาวเจ๊กชัยนาท

ข้าวพันธุ์พื้นเมืองของจังหวัดชัยนาท เก็บรวบรวมพันธุ์ จากแปลงเกษตรกร ต.ไพรนกยูง

อ.หันคา ตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2547 คัดเลือก และด้าเนินการตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์ จนได้รับ

การขึ้นทะเบียนพันธุ์ กับส้านักคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร เลขที่ 908/2549

ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2559

ลักษณะพันธุ์ เป็นข้าวเมล็ดใหญ่ เมื่อหุงสุกอ่อนนุ่ม ขึ้นหม้อ และมีกลิ่นหอม ปริมาณอมิโลส

อยู่ในระดับต่้า แต่ไม่อ่อนเท่าขาวดอกมะลิ 105

ชื่อพันธุ์ : ขาวเจ๊ก (Khao Jek)

ชื่อสายพันธุ์ : CNTC04001

คู่ผสม : -

ชนิด : ข้าวเจ้าไวต่อช่วงแสง

วันเก็บเกี่ยว : 18 พฤศจิกายน

ผลผลิต : 528 กิโลกรัมต่อไร่

/ 56 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

หอมใบเตย

ข้าวขาวพื้นเมือง ของจังหวัดนครสวรรค์ ที่เกษตรกรรู้จักกันในชื่อ C85

เก็บรวบรวมพันธุ์ เมื่อปี พ.ศ. 2548 คัดเลือก และด้าเนินการตามขั้นตอนการปรับปรุงพันธุ์

จนได้รับการขึ้นทะเบียนพันธุ์ กับส้านักคุ้มครองพันธุ์พืช กรมวิชาการเกษตร

เลขที่ 911/2549 ณ วันที่ 17 พฤษภาคม 2559

ลักษณะพันธุ์ เป็นข้าวเมล็ดใหญ่ เมื่อหุงสุกอ่อนนุ่ม ขึ้นหม้อ และมีกลิ่นหอมเฉพาะ

ปริมาณอมิโลสอยู่ในระดับต่้า แต่ไม่อ่อนเท่าขาวดอกมะลิ 105

ชื่อพันธุ์ : หอมใบเตย (Hawm Bai Teuy)

ชื่อสายพันธุ์ : CNTC05001

คู่ผสม : -

ชนิด : ข้าวเจ้าไวต่อช่วงแสง

วันเก็บเกี่ยว : 18 พฤศจิกายน

ผลผลิต : 46 กิโลกรัมต่อไร่

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 57 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

สถานการณ์การระบาดของ

แมลงศัตรูข้าว

ในจังหวัดชัยนาท ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา

... ชัยรัตน์ จันทร์หนู

สถานการณ์การระบาดของแมลงศัตรูข้าวในจังหวัดชัยนาท ปี พ.ศ. 2551-2560 พบว่า แมลงศัตรูข้าวที่สร้าง

ความเสียหายให้กับต้นข้าวและผลผลิตมากที่สุด คือ เพลี้ยกระโดดสีน้าตาล เริ่มพบการระบาดช่วงปลาย ปี พ.ศ. 2552

และระบาดรุนแรงในฤดูนาปรัง ปี 2553 ซึ่งสาเหตุหลักในการระบาดเกิดจากเกษตรกรนิยมปลูกข้าวพันธุ์อ่อนแอ คือ

ปทุมธานี 1 เนื่องจากให้ผลผลิตดี ตลาดต้องการ และโรงสีให้ราคาสูง ร่วมกับสาเหตุอื่นๆ เช่น การใช้อัตราเมล็ดพันธุ์ข้าว

ต่อไร่สูง การใช้สารฆ่าแมลงที่ทางราชการไม่แนะน้า (อะบาเม็กติน และไซเปอร์เมทริน) การขาดความรู้ในการใช้

สารเคมี การใช้ปุ๋ยเคมีไม่ถูกอัตรา ไม่ถูกระยะเวลา และการปลูกข้าวอย่างต่อเนื่องโดยไม่มีการพักนา เป็นต้น

ในปี พ.ศ. 2552 กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้จึงจัดตั้งศูนย์อ้านวยการควบคุมและก้าจัดเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาล

ซึ่งมีคณะท้างานจากกรมการข้าว กรมวิชาการเกษตร และกรมส่งเสริมการเกษตร โดยได้ท้าการจัดงานรณรงค์การแก้ไข

ปัญหาการระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลในพื้นที่ระบาด 14 จังหวัด ได้แก่ พิษณุโลก อุทัยธานี ก้าแพงเพชร

นครสวรรค์ พิจิตร เพชรบูรณ์ สุพรรณบุรี สิงห์บุรี ชัยนาท ลพบุรี อ่างทอง นนทบุรี ปทุมธานี และนครนายก

ซึ่งศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทรับผิดชอบการจัดงานในพื้นที่จังหวัดชัยนาท มีการจัดนิทรรศการ การบรรยาย และถ่ายทอด

องค์ความรู้ในการป้องกันก้าจัดเพลี้ยกระโดดสีน้าตาลอย่างถูกวิธีให้แก่เกษตรกร

/ 58 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ต่อมาในปี พ.ศ. 2554 แม้ว่าในเขตจังหวัดลุ่มน้้า

เจ้าพระยาจะเกิดอุทกภัยครั้งใหญ่ขึ้น แต่จากข้อมูลการส้ารวจ

ในปี พ.ศ. 2555 กลับพบว่ายังมีการของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล

ในจังหวัดชัยนาทอยู่ ซึ่งเกิดจากในช่วงเวลาดังกล่าวพื้นที่

บางส่วนของจังหวัดยังสามารถท้าการปลูกข้าวได้ ดังนั้น

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทจึงแก้ปัญหาโดยการประดิษฐ์

เครื่องดูดแมลงเพื่อใช้ดักจับตัวเต็มวัยของเพลี้ยกระโดด

สีน้าตาลที่บินมาเล่นแสงไฟในช่วงเวลา 18.00-22.00 น.

ซึ่งการด้าเนินการท้าให้เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลระบาดลดลง

และสามารถดักจับแมลงศัตรูข้าวอีกหลายชนิดได้ เช่น

เพลี้ยกระโดดหลังขาว เพลี้ยจักจั่นสีเขียว เพลี้ยจักจั่นปี

กลายหยัก ผีเสื้อหนอนกอข้าว ผีเสื้อหนอนห่อใบข้าว และ

แมลงหล่า เป็นต้น

ในปี พ.ศ. 2553 Dr. K.L. Heong นักวิจัยจาก

สถาบันวิจัยข้าวระหว่างประเทศ (International Rice

Research Institute) ได้จัดท้าโครงการวิจัย “Reducing

vulnerability of crops to pre harvest losses

caused by planthopper pest outbreaks” เพื่อให้

นักวิจัยในประเทศที่มีปัญหาการระบาดของเพลี้ยกระโดด

สีน้้าตาล และแมลงศัตรูข้าวชนิดต่างๆ ได้เรียนรู้วิธีการ

พัฒนาระบบการจัดการระบบนิเวศน์ การอนุรักษ์ระบบ

นิเวศน์ในนาข้าว และวิธีการป้องกันการระบาดของแมลง

ศัตรูข้าว ตลอดจนการวางแผนด้าเนินงานวิจัยระหว่าง

ประเทศร่วมกันในระยะยาว นับเป็นความร่วมมือการ

ท้างานระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียใต้ ได้แก่ ไทย

เวียดนาม จีน และฟิลิปปินส์ ซึ่งในประเทศไทยได้เริ่มต้น

โครงการที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทเป็นแห่งแรก และ 2 ปี ต่อมา

ได้ขยายงานวิจัยไปยังศูนย์วิจัยข้าวปทุมธานี ศูนย์วิจัยข้าว

พิษณุโลก และศูนย์วิจัยข้าวเชียงราย ซึ่งพบว่าแปลง

นิเวศน์ที่มีการปลูกพืชรอบแปลงนา มีจ้านวนศัตรู

ธรรมชาติมากกว่าแปลงที่ไม่ได้ปลูก ท้าให้ช่วยลดการ

ใช้สารเคมีป้องกันก้าจัดแมลงลงได้

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 59 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

จากนั้นใน ปี พ.ศ. 2556 ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาทได้

ร่วมท้างานวิจัยกับส้านักวิจัยและพัฒนาข้าว ศูนย์วิจัยข้าว

ปราจีนบุรี และศูนย์วิจัยข้าวสุพรรณบุรี ภายใต้ชื่อ

โครงการหมู่บ้านน้าร่องการใช้กลยุทธ์การหลีกเลี่ยง

การระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้าตาล (Escape Strategy)

ในเขตพื้นที่นาชลประทานภาคกลาง ซึ่งจากข้อมูลกับดัก

แสงไฟที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท พบว่า ช่วงที่เพลี้ยกระโดด

สีน้าตาลมีปริมาณมากที่สุด ได้แก่ ช่วงเดือนกุมภาพันธ์-มีนาคม

และเดือนสิงหาคม-กันยายน ดังนั้น ในฤดูนาปีควรวางแผน

การปลูกข้าวช่วงเดือนพฤษภาคม-มิถุนายน และฤดูนาปรัง

ช่วงเดือนพฤศจิกายน-ธันวาคม เนื่องจากช่วงเวลาดังกล่าว

เพลี้ยกระโดดสีน้าตาลมีปริมาณน้อย

ส้าหรับการปรับปรุงพันธุ์ข้าวต้านทานเพลี้ยกระโดดสี

น้้าตาลของกลุ่มศูนย์ภาคเหนือตอนล่างนั้น ได้ปรับปรุง

พันธุ์ข้าวที่ต้านทานออกมาหลายพันธุ์ ได้แก่ กข29 กข41

กข47 กข49 และ กข61 ซึ่งทั้งหมดมีส่วนช่วยให้การ

ระบาดของเพลี้ยกระโดดสีน้้าตาลลดลง เพราะไม่พบ

การระบาดในพื้นที่จังหวัดชัยนาท หลังจาก ปี พ.ศ. 2556

เป็นต้นมา

อย่างไรก็ตามในช่วงระยะเวลา 2-3 ปีทีผ่านมา

ในพื้นที่จังหวัดชัยนาท กลับพบแมลงศัตรูข้าวชนิดอื่นๆ

ได้แก่ แมลงบั่ว และแมลงหล่า ที่เริ่มเข้ามาระบาดมากขึ้น

โดยพบว่า แมลงบั่วระบาดมากในเดือนมกราคม-

กุมภาพันธ์ของทุกปี และพบแมลงหล่าในพื้นที่อ้าเภอเมือง

ชัยนาท ซึ่งจากการระบาดของแมลงศัตรูข้าวทั้ง 2 ชนิดนี้

นักวิจัยด้านอารักขาข้าวจะต้องท้าการวิจัย ศึกษาปัจจัย

การระบาด วิธีการป้องกันก้าจัดที่มีประสิทธิภาพและ

ได้ผลดี รวมถึงจัดท้าระบบการเตือนภัยเพื่อเฝ้าระวัง

การระบาด ซึ่งต้องมีการด้าเนินการร่วมกันหลายๆ วิธี

จึงจะสามารถจัดการกับแมลงศัตรูข้าวดังกล่าวได้ …

/ 60 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


สถานการณ์การระบาดของ

โรคข้าว

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ในจังหวัดชัยนาท

ในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา

... ดวงกมล บุญช่วย

จังหวัดชัยนาทมีแม่น้าส้าคัญๆ หลายสายไหลผ่าน มีระบบชลประทานที่เหมาะส้าหรับการเพาะปลูกครอบคลุม

ในหลายพื้นที่ เกษตรกรส่วนใหญ่สามารถปลูกข้าวได้ทั้งนาปีและนาปรัง โดยสามารถท้านาได้อย่างต่อเนื่องตลอดทั้งปี

(2-3 ครั้งต่อปี) แต่อย่างไรก็ตามในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา การปลูกข้าวในพื้นที่ดังกล่าวได้มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้น

ภายหลังจากประเทศไทยประสบกับปัญหาภัยแล้งอย่างหนัก ทางรัฐบาลจึงมีนโยบายให้งดการจ่ายน้าภาคเกษตรในช่วง

ฤดูนาปรัง ส่งผลให้เกษตรกรในหลายพื้นที่ไม่สามารถปลูกข้าวในช่วงเวลาดังกล่าวได้ แต่ก็ไม่ใช่ทั้งหมดที่ต้องหยุดท้านา

เพราะยังมีเกษตรกรบางรายที่สามารถปลูกข้าวได้ โดยอาศัยน้าจากบ่อบาดาล หรือสระน้าเท่าที่หามาได้มาใช้ ท้าให้การ

งดจ่ายน้้าจากทางรัฐบาลหรือหน่วยงานราชการไม่สามารถหยุดการท้านาของเกษตรกรในพื้นที่ดังกล่าวลงได้

ส้าหรับการท้านาแบบต่อเนื่องนั้น ในปัจจุบันสร้างความเสียหายอย่างมากต่อพื้นที่ปลูกข้าวเพราะส่งผลกระทบโดยตรง

ต่อความอุดมสมบูรณ์ในดิน โดยดินที่ไม่ได้รับการปรับปรุงบ้ารุงจะเกิดการเสื่อมสภาพ จนท้าให้โรคข้าวบางอย่าง

ได้แก่ โรคใบจุดสีน้าตาล และโรคใบขีดสีน้าตาล สามารถเข้าท้าลายได้โดยง่าย และจากการที่เกษตรกรท้านาแบบไม่มี

การหยุดพักนั้น เชื้อสาเหตุของโรคข้าวและแมลงพาหะจะได้รับอาหารอย่างต่อเนื่องจนสามารถด้ารงชีวิตอยู่ได้โดยไม่มี

การตัดวงจรชีวิต รวมถึงการที่เกษตรกรส่วนใหญ่มีความรู้ความเข้าใจในเรื่องโรคข้าวที่ค่อนข้างน้อย มีการป้องกันก้าจัด

ที่ไม่ถูกวิธี มีการใช้สารป้องกันก้าจัดไม่ตรงกับชนิดของโรค หรือใช้ในอัตราที่ไม่เหมาะสม ทั้งหมดนี้จึงเป็นสาเหตุ

ให้เชื้อสาเหตุโรคข้าวบางชนิดเกิดการปรับตัวต้านทานต่อประสิทธิภาพของสารนั้นๆ ได้ และส่งผลให้การระบาด

ของโรคมีความรุนแรงเพิ่มขึ้นตามไปด้วย

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 61 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

นอกจากนี้สภาพภูมิอากาศที่เปลี่ยนแปลงไปก็เป็น

อีกหนึ่งปัจจัยที่ส่งผลให้เกิดการระบาดของโรคข้าว

ที่รุนแรงเพิ่มขึ้น อุณหภูมิ ปริมาณน้้าฝน และความชื้น

มีผลต่อการเจริญเติบโต และการแพร่พันธุ์ของโรคและ

แมลงพาหะเป็นอย่างมาก ประกอบกับพันธุ์ข้าวที่เกษตรกร

นิยมปลูกในพื้นที่บางพันธุ์มีความอ่อนแอต่อโรคข้าว

ที่ส้าคัญบางชนิด และการปฏิบัติของเกษตรกรในบางกิจกรรม

เช่น การหว่านข้าวแน่น การใช้ปุ๋ยไนโตรเจนในอัตราที่สูง

และการพ่นฮอร์โมนหรือน้าหมักชีวภาพเมื่อพบการระบาด

ของโรคและแมลงพาหะ เป็นต้น ทั้งหมดนี้ล้วนแต่

ช่วยส่งเสริมให้เกิดการแพร่ระบาดของโรคข้าวที่รุนแรง

และสร้างความเสียหายต่อผลผลิตข้าวในพื้นที่เป็นอย่างมาก

ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา (พ.ศ.2550-2559) กลุ่มงาน

อารักขาข้าว ของศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ได้ลงพื้นที่ส้ารวจ

แปลงนาเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดชัยนาท นครสวรรค์ และ

อุทัยธานี พบว่าโรคข้าวที่มีการระบาดมาเป็นอันดับแรก

คือ โรคขอบใบแห้ง ซึ่งมีการเข้าท้าลายข้าวพันธุ์อ่อนแอที่

เกษตรกรนิยมปลูก ได้แก่ ชัยนาท 1 กข41 กข47 กข49

กข61 และขาวดอกมะลิ 105 ได้อย่างรุนแรง มีการระบาด

เป็นพื้นที่กว้างขวางอย่างต่อเนื่องในช่วงฤดูนาปีของทุกปี

ส่วนโรคข้าวอันดับรองลงมาที่พบ ได้แก่ โรคไหม้ ซึ่งเริ่มมี

การระบาดรุนแรงเป็นพื้นที่กว้าง เมื่อปลาย ปี พ.ศ. 2557

จนถึงปัจจุบัน เกิดมากในช่วงปลายฤดูฝนช่วงเดือนตุลาคม

ถึงเดือนกุมภาพันธ์ ซึ่งมีสภาพแวดล้อมเหมาะสม

มีความชื้นสัมพัทธ์ในอากาศมาก การเกิดน้้าค้างยาวนาน

และหมอกจัดในช่วงเช้า โดยมักเข้าท้าลายพันธุ์ข้าว

อ่อนแอที่เกษตรกรนิยมปลูกในพื้นที่ ได้แก่ ปทุมธานี 1

กข41 และขาวดอกมะลิ 105 ส่วนโรคที่มีแนวโน้ม

การระบาดในพื้นที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ โรคใบขีดสีน้้าตาล

โรคใบจุดสีน้้าตาล และโรคเมล็ดด่าง ซึ่งโรคต่างๆ ดังกล่าวนี้

หากมีการระบาดรุนแรงก็จะท้าให้ผลผลิตข้าวลดลงด้วย

เช่นเดียวกัน

/ 62 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ส้าหรับจังหวัดชัยนาทถือได้ว่าเป็นแหล่งผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวแหล่งใหญ่ของประเทศ หากพบการเข้าท้าลายของเชื้อรา

สาเหตุโรคในเมล็ดพันธุ์ข้าว ก็จะส่งผลต่อคุณภาพของเมล็ดพันธุ์ทันที เพราะจะท้าให้ต้นกล้าที่ได้ไม่สมบูรณ์แข็งแรง

ทั้งนี้สังเกตได้จากสถานประกอบการเพาะกล้าข้าวและปักด้าโดยใช้เครื่องปักด้าในปัจจุบัน ที่มักพบปัญหาโรคกล้าเน่า

ในกระบะเพาะกล้า กลุ่มงานอารักขาข้าว จึงได้ลงพื้นที่ส้ารวจและตรวจตัวอย่างที่ผิดปกติ พร้อมทั้งวินิจฉัย และพบว่า

ส่วนใหญ่เกิดจากการเข้าท้าลายของเชื้อราที่ติดมากับเมล็ดพันธุ์กลุ่มที่ท้าให้เกิดโรคเมล็ดด่างนั่นเอง

การด้าเนินงานของกลุ่มอารักขาข้าว ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ในระยะเวลาที่ผ่านมา เป็นการลงส้ารวจพื้นที่ และให้

ค้าแนะน้ากับเกษตรกรถึงปัญหาการระบาดของศัตรูข้าวอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้เกษตรกรมีความรู้ ความเข้าใจ และ

สามารถน้าเอาหลักปฏิบัติต่างๆ ไปใช้จนถึงแนะน้าผู้อื่นได้อย่างถูกต้อง ซึ่งการด้าเนินการทั้งหมดนี้ หากเป็นไปตาม

วัตถุประสงค์ที่ได้ตั้งไว้ ก็จะท้าให้เกษตรกรสามารถจัดการกับการระบาดของโรคข้าวได้อย่างถูกต้องเหมาะสม รวมถึง

สามารถลดความเสียหายในกระบวนการผลิตข้าวเพื่อการบริโภคและจ้าหน่ายในพื้นที่ลงได้ต่อไป …

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 63 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

เพื่อการลดต้นทุนและเพิ่มผลผลิตข้าว

นวัตกรรมและเทคโนโลยี

... ปรารถนา สุขศิริ

จากนโยบายการลดต้นทุนการผลิตข้าวของภาครัฐที่ผ่านมา ได้แนะน้าให้ใช้มาตรการ 3 ต้องท้า 3 ต้องลด

และ 2 ต้องปฏิบัติ ได้แก่ ลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าว โดยต้องใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี ลดใช้ปุ๋ยเคมี โดยใช้ร่วมกับ

ปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ และลดการใช้สารเคมี โดยใช้สารชีวภัณฑ์และสารชีวภาพต่างๆ ทดแทน ควบคู่กับการวิเคราะห์

ธาตุอาหารในดิน การจัดการน้า การเก็บเกี่ยวที่เหมาะสม และการบันทึกข้อมูลต้นทุนการผลิต มาใช้ในการแก้ไขปัญหา

ต้นทุนการผลิตที่สูง และการระบาดของโรคแมลงศัตรูข้าวในพื้นที่นาเขตชลประทานภาคกลาง ซึ่งอาจยังไม่เห็นผล

อย่างเป็นรูปธรรมมากนักเพราะชาวนาส่วนใหญ่ยังไม่สามารถปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของตนเองได้ เนื่องจากขั้นตอน

การลดต้นทุนมีวิธีการปฏิบัติที่ยุ่งยากและต้องใช้ระยะเวลาในการเตรียมการค่อนข้างมาก

/ 64 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

ในปัจจุบันกรมการข้าวได้น้านวัตกรรมเครื่องโรย

เมล็ดพันธุ์ข้าวงอก ซึ่งได้ขอใช้ลิขสิทธิ์เครื่องโรยเมล็ดพันธุ์ข้าว

รุ่นดัดแปลงส้าหรับนาน้้าตม จากบริษัท วิทยุการบิน

แห่งประเทศไทย จ้ากัด มาส่งเสริมให้ชาวนาปรับใช้

ในโครงการส่งเสริมการท้านาเชิงอุตสาหกรรมครบวงจร

ในพื้นที่ขนาดใหญ่ หรือพื้นที่นาแปลงใหญ่ในเขตพื้นที่

ภาคกลาง ซึ่งจากการด้าเนินงานพบว่าสามารถลดต้นทุน

ค่าเมล็ดพันธุ์ลงได้ไม่น้อยกว่า 500 บาทต่อไร่ และจาก

การลดอัตราการใช้เมล็ดพันธุ์ข้าวที่จากเดิมใช้ในปริมาณ

25-30 กิโลกรัมต่อไร่ เหลือเพียง 6-10 กิโลกรัมต่อไร่

ท้าให้ช่วยลดต้นทุนการผลิตจากเดิม 4,500 – 5,000 บาท

ต่อไร่ เหลือประมาณ 3,000 บาทต่อไร่ และยังท้าให้ผลผลิต

ที่ได้เพิ่มขึ้นอีกกว่าร้อยละ 20 จากผลผลิตที่เคยได้

การใช้เครื่องโรยเมล็ดพันธุ์ข้าวงอกนั้นขั้นตอน

ไม่ยุ่งยากนัก ในการเตรียมเมล็ดพันธุ์ข้าวปฏิบัติ

เช่นเดียวกับการท้านาหว่านน้าตมทั่วไป โดยน้าเมล็ดพันธุ์ข้าว

มาแช่น้้าไว้เป็นเวลา 12 ชั่วโมง จากนั้นน้าขึ้นแล้วบ่มในที่ร่ม

ต่ออีก 24 ชั่วโมง ทั้งนี้เพื่อกระตุ้นให้เมล็ดพันธุ์ข้าวงอก

ในลักษณะเป็นตุ่มตา ต่อมาจึงน้าเมล็ดพันธุ์ที่ได้เทลงใน

กระบอกของเครื่องโรยเมล็ดพันธุ์ข้าวงอก เมื่อติดตั้งเครื่อง

กับรถไถนา แล้วเมล็ดข้าวงอกจะถูกโรยลงในนาตามรูท่อ

ที่ได้เจาะไว้ โดยเมล็ดข้าว ที่โรยลงไปแล้วนั้น จะอยู่รวมกัน

เป็นกลุ่มๆ ระยะห่างเท่าๆ กัน และเรียงแถวอย่างเป็นระเบียบ

ซึ่งเมื่อข้าวงอกเป็นต้น ก็จะเป็นกอในลักษณะเช่นเดียวกับ

การปักด้า ท้าให้ต้นข้าวสามารถแตกกอได้เป็นอย่างดี และ

ช่วยลดการระบาดของโรคและแมลงได้อีกด้วย

ซึ่งประสิทธิภาพของเครื่องโรยเมล็ดพันธุ์ข้าวงอกนั้น

สามารถโรยเมล็ดพันธุ์ได้ถึง 50 ไร่ ภายใน 1 วัน ท้าให้

นอกจากจะช่วยลดต้นทุน และเพิ่มผลผลิตแล้ว ยังนับได้ว่า

เป็นนวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เหมาะสมที่สุดส้าหรับการ

ช่วยเหลือชาวนาในการผลิตข้าวในยุคไทยแลนด์ 4.0

นี้ด้วย …

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 65 /


/ 66 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ส่วนที่ 4

เหตุการณ์ส าคัญ และกิจกรรมภายใน

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 67 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

น้้าท่วมสถานีทดลองข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2523

/ 68 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

มหาอุทกภัยที่ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2554

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 69 /


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การแข่งขันกีฬาภายในสถานีทดลองข้าวชัยนาท ในอดีต

/ 70 / 60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

การแข่งขันกีฬาภายในศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท ปี พ.ศ. 2558

60 ปี ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท / 71 /


คณะผู้จ้ดท า

ที่ปรึกษา

นริศรา จ้ารูญวงษ์

ผู้อ้านวยการศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

จัดท าเอกสาร

อนรรฆพล บุญช่วย

นักวิชาการเกษตรช้านาญการ

ดวงกมล บุญช่วย

นักวิชาการเกษตรช้านาญการ

จิราพรรณ์ ช้างน้อย

พนักงานธุรการ ส3

ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

เลขที่ 166 หมู่ที่ 2 ต้าบลเขาท่าพระ อ้าเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท

โทรศัพท์/โทรสาร: 0-5641-1733

เว็บไซต์: http://cnt-rrc.ricethailand.go.th/

จัดพิมพ์: กุมภาพันธ์ 2560


ศูนย์วิจัยข้าวชัยนาท

Chai Nat Rice Research Center

กองวิจัยและพัฒนาข้าว กรมการข้าว กระทรวงเกษตรและสหกรณ์

166 ห มู่ ที่ 2 ถ น น พ ห ล โ ย ธิ น ต า บ ล เ ข า ท่ า พ ร ะ อ า เ ภ อ เ มื อ ง จั ง ห วั ด ชั ย น า ท 17000

โ ท ร ศั พ ท์ / โ ท ร ส า ร : 0 - 5641- 1733 เ ว็ บ ไ ซ ต์ : h t t p : / / c n t - r r c . r i c e t h a i l a n d . g o . t h

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!