30.07.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

วิทยานิพนธ<br />

เรื่อง<br />

การบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นโดยวิธีการหมักทําปุยรวมกับการฟนฟูดวยพืช<br />

Treatment of Lubricant Contaminated Soils by Composting and Phytoremediation<br />

โดย<br />

นางสาวณัฐพร ลิมปนิธิวัฒน<br />

เสนอ<br />

บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

เพื่อความสมบูรณแหงปริญญาวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต<br />

(วิศวกรรมสิ่งแวดลอม)<br />

พ.ศ. 2548<br />

ISBN 974-9844-42-4


กิตติกรรมประกาศ<br />

ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยวิไล<br />

เจียมไชยศรี ประธานกรรมการที่<br />

ปรึกษา อาจารยสุชาติ เหลืองประเสริฐ กรรมการที่ปรึกษาวิชาเอก<br />

และรองศาสตราจารยเพ็ญจิตร<br />

ศรีนพคุณ กรรมการที่ปรึกษาวิชารอง<br />

ที่ชวยเหลือในการวางแผนงานวิจัย<br />

ตลอดจนการให<br />

คําปรึกษาแนะนํา และขอกราบขอบพระคุณ ผูชวยศาสตราจารยสุธาริน<br />

ปฐมวาณิชย ผูแทนบัณฑิต<br />

วิทยาลัย ที่กรุณาใหคําแนะนําและแกไขในการทําวิทยานิพนธใหสําเร็จลุลวงไปไดดวยดี<br />

ขอขอบคุณภาควิชาสัตวบาล คณะเกษตรที่ชวยเหลือเรื่องมูลสุกรเพื่อใชในการวิจัย<br />

และ<br />

ขอขอบคุณผูจัดการและพี่ๆ<br />

ของศูนยฮอนดา สาขาดาวคะนอง ที่ชวยเหลือเรื่องน้ํามันหลอลื่นจน<br />

ทําใหงานวิจัยสําเร็จดวยดี<br />

ขอขอบคุณเพื่อนๆ<br />

และพี่ๆ<br />

ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมที่ชวยลงแรงในการผสมกอง<br />

หมัก ใหกําลังใจ ชวยเหลือ และใหคําแนะนําจนทําใหวิทยานิพนธสําเร็จดวยดี<br />

สุดทายนี้ขาพเจาขอกราบขอบพระคุณบิดา<br />

มารดา และญาติๆ ที่ไดใหการสนับสนุน<br />

ชวยเหลือ และเปนกําลังใจในการทําวิทยานิพนธจนสําเร็จได<br />

ณัฐพร ลิมปนิธิวัฒน<br />

ตุลาคม 2548


สารบัญ<br />

สารบัญ<br />

หนา<br />

(1)<br />

สารบัญตาราง (2)<br />

สารบัญภาพ (6)<br />

คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ (10)<br />

คํานํา 1<br />

วัตถุประสงค 2<br />

ขอบเขตการศึกษา 3<br />

การตรวจเอกสาร 5<br />

น้ํามันหลอลื่น<br />

5<br />

คุณสมบัติของดิน 12<br />

ลักษณะของมูลสุกร 19<br />

ไบโอรีมิดิเอชั่น<br />

22<br />

การหมักทําปุย<br />

30<br />

แนวคิดในการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันโดยวิธีการยอยสลายทางชีวภาพ<br />

39<br />

ไฟโตรีมิดิเอชั่น<br />

43<br />

อุปกรณและวิธีการ 48<br />

อุปกรณ 48<br />

วิธีการ 51<br />

ผลการทดลองและวิจารณ 62<br />

ผลการทดลองการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นดวยกระบวนการหมักปุย<br />

62<br />

ผลการทดลองการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นดวยวิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

93<br />

สรุปผลการทดลอง 97<br />

ขอเสนอแนะ 99<br />

เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

100<br />

ภาคผนวก 113<br />

ภาคผนวก ก การคํานวณลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมัก 114<br />

ภาคผนวก ข วิธีการวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ 119<br />

(1)


สารบัญ (ตอ)<br />

หนา<br />

ภาคผนวก ค การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมัก<br />

134<br />

ภาคผนวก ง การทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ด 150<br />

ภาคผนวก จ การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) 156<br />

(2)


สารบัญตาราง<br />

่ ตารางที<br />

หนา<br />

1 ผลการวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของน้ํามันหลอลื่นใชแลว<br />

9<br />

2 สวนประกอบทางเคมีของมูลและปสสาวะของสุกรของประเทศไทย (รอยละของ<br />

น้ําหนัก)<br />

20<br />

3 รอยละของธาตุอาหารพืชในมูลสัตวบางชนิด 21<br />

4 คาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน (C:N Ratio) ของวัสดุ 21<br />

5 อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

(หนวยองศาเซลเซียส) 34<br />

6 ความถี่ของการเก็บตัวอยางเพื่อการวิเคราะห<br />

58<br />

7 วิธีการวิเคราะหพารามิเตอร 59<br />

8 ระยะเวลาในการศึกษาวิจัย 61<br />

9 ลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมักรวมและดินปนเปอนน้ํามัน<br />

63<br />

10 ลักษณะทางเคมีของดินหมักที่อายุหมักตางๆ<br />

65<br />

11 ลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุผสมในถังหมัก ณ วันแรกของการทดลอง 65<br />

12 ปริมาณเมโซฟลิคแอโรบิกแบคทีเรีย (Mesophilic Aerobic Bacteria) และ<br />

เทอรโมฟลิคแอโรบิกแบคทีเรีย (Thermophilic Aerobic Bacteria) 66<br />

่ ตารางผนวกที<br />

ค1 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในระหวางกระบวนการหมักของถังหมักที่ไมมีการเติม<br />

ดินหมัก และมีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก 135<br />

ค2 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดางของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และ<br />

ถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก 139<br />

ค3 การเปลี่ยนแปลงคาความชื้นและปริมาณของแข็งรวมของถังหมักที่ไมมีการเติมดิน<br />

หมักและหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก 140<br />

ค4 การเปลี่ยนแปลงปริมาณของแข็งระเหยรวมและปริมาณคารบอนของถังหมักที่ไมมี<br />

การเติมดินหมัก และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของ<br />

กระบวนการหมัก 141<br />

ค5 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถัง<br />

หมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก 142<br />

(3)


สารบัญตาราง (ตอ)<br />

่ ตารางผนวกที<br />

หนา<br />

ค6 การเปลี่ยนแปลงอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก<br />

ค7 การเปลี่ยนแปลงปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

143<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก 144<br />

ค8 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนเตรทไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก 145<br />

ค9 การเปลี่ยนแปลงสัดสวนแอมโมเนียมตอไนเตรทไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการ<br />

เติมดินหมัก และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของ<br />

กระบวนการหมัก<br />

ค10 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ํามันหลอลื่นของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และ<br />

146<br />

ถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่อายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก<br />

ค11 การเปลี่ยนแปลงปริมาณอลูมินัมที่ใชได<br />

(Extractable Al) ทองแดง (Cu)<br />

147<br />

สังกะสี (Zn) และตะกั่ว<br />

(Pb) 148<br />

ค12 การเปลี่ยนแปลงความสูงของหญานวลนอยที่ปลูกในดินสีดา<br />

(Csitt), ดินรวน<br />

ปนทรายผสมวัสดุหมัก (Csand) และดินปนเปอนที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

56 วัน<br />

ซึ่งสิ้นสุดกระบวนการหมักแลว<br />

(SA56) 149<br />

ค13 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ํามันดวยวิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

149<br />

ง1 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

151<br />

ง2 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 7 วัน 152<br />

ง3 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 14 วัน 153<br />

ง4 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 28 วัน 154<br />

ง5 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 56 วัน 155<br />

(4)


สารบัญตาราง (ตอ)<br />

่ ตารางผนวกที<br />

หนา<br />

จ1 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของถังหมักชุดควบคุม (CWO) 162<br />

จ2 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของถังหมักที่เติมดินหมักอายุ<br />

7 วัน (SA07) 163<br />

จ3 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของที่เติมดินหมักอายุ<br />

14 วัน (SA14) 164<br />

จ4 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั ่ว<br />

ของที่เติมดินหมักอายุ<br />

28 วัน (SA28) 165<br />

จ5 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของที่เติมดินหมักอายุ<br />

56 วัน (SA56) 166<br />

(5)


สารบัญภาพ<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

1 กระบวนการผลิตน้ํามันหลอลื่นสําเร็จรูป<br />

6<br />

2 การเคลื่อนตัวของน้ํามันในดินที่มีลักษณะพรุนจากแหลงกําเนิดที่มีการรั่วไหล<br />

18<br />

3 รูปแบบของน้ํามันที่ซึมลงในดินที่มีชองวางในดิน<br />

(Soil Permeability) แตกตางกัน 18<br />

4 การหมักมูลฝอยแบบวินโรว แบบ ก. แบบกองทึบ ข. ทําใหมีชองวางตรงกลาง<br />

กองไมตองพลิกกลับ ค. การกองกรณีมีมูลฝอยนอย 32<br />

5 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับการเจริญเติบโตของจุลินทรียในการทําหมักทําปุย<br />

34<br />

6 การบําบัดดินโดยวิธีการสกัดโดยพืช (Phytoextraction) 45<br />

7 การบําบัดดินโดยวิธีการยอยสลายโดยพืช (Phytodegradation) 46<br />

8 การบําบัดดินโดยวิธีการทําใหเสถียรโดยพืช (Phytostabilization) 46<br />

9 ลักษณะถังหมัก 49<br />

10 ภาพแปลนของกองหมัก 50<br />

11 แผนภาพการดําเนินงานโดยรวม 54<br />

12 ขั้นตอนการวิเคราะหการงอกของเมล็ด<br />

(Seed Germination Test) 56<br />

13 พื้นที่การปลูกหญานวลนอย<br />

57<br />

14 ตําแหนงการเก็บตัวอยางจากถังหมัก 58<br />

15 การเปลี ่ยนแปลงอุณหภูมิในชวงระหวางกระบวนการหมัก 68<br />

16 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดาง<br />

(pH) ของกระบวนการหมัก 69<br />

17 ความชื้นภายในถังหมักในชวงระหวางกระบวนการหมัก<br />

70<br />

18 การเปลี่ยนแปลงปริมาณของแข็งระเหยของกระบวนการหมัก<br />

71<br />

19 การเปลี่ยนแปลงปริมาณคารบอนของกระบวนการหมัก<br />

72<br />

20 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจนรวมของกระบวนการหมัก<br />

73<br />

21 การเปลี่ยนแปลงอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนของกระบวนการหมัก<br />

74<br />

22 การเปลี่ยนแปลงปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนของกระบวนการหมัก<br />

75<br />

23 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนเตรทไนโตรเจนของกระบวนการหมัก<br />

76<br />

24 สัดสวนของแอมโมเนียมตอไนเตรทของกระบวนการหมัก 77<br />

25 ปริมาณทองแดง ณ วันแรก, วันที 28 และวันสุดทายของกระบวนการหมัก 79<br />

26 ปริมาณสังกะสี ณ วันแรก, วันที 28 และวันสุดทายของกระบวนการหมัก 79<br />

(6)


สารบัญภาพ (ตอ)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ภาพที<br />

หนา<br />

27 ปริมาณตะกั่ว<br />

ณ วันแรก, วันที 28 และวันสุดทายของกระบวนการหมัก 80<br />

28 รอยละของน้ํามันหลอลื่นที่เหลือในระหวางกระบวนการหมัก<br />

82<br />

29 อัตราการยอยสลายน้ํามันหลอลื่นในชวงระหวางระหวางกระบวนการหมัก<br />

82<br />

30 ประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบเมื่อมี<br />

การหมักครบ 56 วัน 83<br />

31 องคประกอบของน้ํามันหลอลื่นและดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

85<br />

32 องคประกอบของดินปนเป อนน้ํามันหลอลื่นและดินปนเปอนที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

86<br />

33 องคประกอบของดินปนเปอนที่ไมผสมดินหมักในชวงวันแรกและวันที<br />

56 ของ<br />

กระบวนการหมัก 87<br />

34 องคประกอบของดินปนเปอนที่ผสมดินหมักอายุ<br />

14 วันในวันแรกและวันที 56<br />

ของกระบวนการหมัก 88<br />

35 องคประกอบของดินปนเปอนที่ผสมดินหมักอายุ<br />

56 วันในวันแรกและวันที 56<br />

ของกระบวนการหมัก 89<br />

36 การงอกของเมล็ดผักบุงในน้ําชะตัวอยาง<br />

90<br />

37 การงอกของเมล็ดมะเขือเทศในน้ําชะตัวอยาง<br />

91<br />

38 การงอกของเมล็ดผักบุงในตัวอยาง<br />

91<br />

. 39 การงอกของเมล็ดมะเขือเทศในตัวอยาง 92<br />

40 การเปลี่ยนแปลงความสูงของพืชที่ปลูกในดินสีดา<br />

ดินรวนปนทรายผสมวัสดุหมัก<br />

และดินปนเปอนน้ํามันที่มีเชื้อเรง<br />

94<br />

41 การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักแหงของพืชที่ปลูกในดินสีดา<br />

ดินรวน<br />

ปนทรายผสมวัสดุหมัก และดินปนเปอนน้ํามันที่มีเชื้อเรง<br />

95<br />

42 ปริมาณน้ํามันหลอลื่นของดินหมักชุด<br />

SA56 เมื่อเริ่มตน<br />

และสิ้นสุดการทดลอง<br />

96<br />

(7)


คําอธิบายสัญลักษณและคํายอ<br />

ก. = กรัม<br />

กก. = กิโลกรัม<br />

0<br />

ซ = องศาเซลเซียส<br />

มก. = มิลลิกรัม<br />

มก./กก. = มิลลิกรัมตอกิโลกรัม<br />

ลบ.ม. = ลูกบาศกเมตร<br />

A = คาเฉลี่ย<br />

SD = สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

C:N Ratio = อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน<br />

CFU = โคโลนี ฟอรมมิ่ง<br />

ยูนิค (Colony Forming Unit)<br />

Csitt = ดินสีดา<br />

Csand = ดินรวนปนทรายผสมวัสดุหมัก<br />

CWO = ไมมีการเติมดินหมัก (Compost without Seeding)<br />

LS = ดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

(Lubricant Contaminated Soil)<br />

+<br />

NH4 = แอมโมเนียม (Ammonium)<br />

-<br />

NO3 = ไนเตรต (Nitrate)<br />

pH = ความเปนกรดดาง<br />

SA = อายุดินหมัก (Seeding Age)<br />

SA07 = มีการเติมดินหมักอายุ 7 วัน<br />

SA14 = มีการเติมดินหมักอายุ 14 วัน<br />

SA28 = มีการเติมดินหมักอายุ 28 วัน<br />

SA56 = มีการเติมดินหมักอายุ 56 วัน<br />

SA56(S) = ดินหมักชุด SA56 เมื่อเริ่มตนการทดลอง<br />

SA56(WOP) = ดินหมักชุด SA56 เมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

และไมมีการปลูกพืช<br />

SA56(WP) = ดินหมักชุด SA56 เมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

และมีการปลูกพืช<br />

VSS = ของแข็งระเหย<br />

wt. = น้ําหนัก<br />

(weight)<br />

(8)


การบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นโดยวิธีการหมักทําปุยรวมกับการฟนฟูดวยพืช<br />

Treatment of Lubricant Contaminated Soils by Composting and<br />

Phytoremediation<br />

คํานํา<br />

ในปจจุบันประเทศไทยมีการสั่งนําเขาน้ํามันหลอลื่นมาใชในปริมาณมาก<br />

เนื่องจากธุรกิจ<br />

ภาคอุตสาหกรรมมีการขยายตัวอยางรวดเร็ว ความตองการน้ํามันหลอลื่นเพื่อใชกับเครื่องจักรกล<br />

และเครื่องยนตทุกชนิดที่มีการเคลื่อนไหวจึงมีปริมาณสูงตามไปดวย<br />

จากการประเมินการใช<br />

น้ํามันหลอลื่นทั้งประเทศในป<br />

พ.ศ. 2541 ของสถาบันปโตรเลียมแหงประเทศไทย พบวาในป<br />

ดังกลาวมีการใชน้ํามันหลอลื่นประมาณ<br />

405 ลานลิตร โดยแบงเปน กลุมยานยนตประมาณ<br />

292<br />

ลานลิตร กลุมอุตสาหกรรมประมาณ<br />

101 ลานลิตร และอีกประมาณ 12 ลานลิตรเปนกลุม<br />

เกษตรกรรม กลุมผูประกอบอาชีพประมง<br />

รวมถึงกลุมราชการและรัฐวิสาหกิจ<br />

น้ํามันหลอลื่นเมื่อ<br />

ใชงานโดยทั่วไปจะถูกเผาไหม<br />

และสูญหายไปในขั้นตอนใชงานประมาณรอยละ<br />

30 เหลือเปน<br />

น้ํามันหลอลื่นใชแลวรอยละ<br />

70 ดังนั้น<br />

ถามีการใช 405 ลานลิตร จะเหลือเปนน้ํามันหลอลื่นที่เหลือ<br />

จากการใชแลวประมาณ 284 ลานลิตร ในจํานวนนี้คาดวามีการเททิ้งปนเปอนในดินและแหลงน้ํา<br />

ประมาณ 135 ลานลิตร และอีกประมาณ 72 ลานลิตรมีระบบการซื้อขาย<br />

(เขาไปกระบวนการกลั่น<br />

หรือกรองนํากลับมาเปนน้ํามันหลอลื่นใหมประมาณ<br />

22 ลานลิตร ใชเปนเชื้อเพลิง<br />

50 ลานลิตร) อีก<br />

ประมาณ 72 ลานลิตร นําไปใชเปนเชื้อเพลิงโดยไมผานระบบซื้อขาย<br />

ปญหาอันตรายที่เกิดจากการใชน้ํามันหลอลื่นที่พบสวนมาก<br />

มักเกิดจากวิธีการใชที่ไม<br />

ถูกตอง การใชน้ํามันหลอลื่นคุณภาพไมดีพอ<br />

เชน การใชน้ํามันหลอลื่นเปนเชื้อเพลิงใหความรอน<br />

ในอุตสาหกรรมเซรามิค ทําใหเกิดมลสารเปนพิษภัยและเขาสูบรรยากาศ<br />

เนื่องจากในการเผาไหม<br />

ปลอยโลหะหนัก และสารปนเปอนอื่น<br />

ๆ ที่มีอยูในน้ํามันหลอลื่นออกมา<br />

และปญหาอีกสวนหนึ่งที่<br />

มักพบมาก คือ การจัดการที่ไมถูกตอง<br />

ทําใหเกิดการปนเปอนหรือถูกปลอยถายลงสูแหลงน้ําหรือ<br />

พื้นดิน<br />

กอใหเกิดผลกระทบหรือความเสียหายตอทรัพยากรสิ่งแวดลอม<br />

กรณีที่ปลอยลงสูพื้นดิน<br />

น้ํามันหลอลื่นที่ถูกใชงานแลวนี้จะซึมผานชองวางในดิน<br />

ทําใหชองวางในดินเต็มไปดวยน้ํามัน<br />

ความหนืดของน้ํามันหลอลื่นจะทําใหดินเสียคุณคาในการเพาะปลูก<br />

นอกจากนี้อาจทําใหมีโลหะ<br />

1


หนัก เชน โครเมียม และสารกอมะเร็งตางๆ ปนเปอนอยูในดิน<br />

หรือเมื่อน้ํามันหลอลื่นไหลลงไป<br />

ถึงชั้นน้ําใตดิน<br />

จะทําใหน้ําใตดินมีกลิ่นเหม็น<br />

ไมเหมาะแกการนํามาอุปโภคและบริโภค<br />

การนําเทคโนโลยีชีวภาพมาใชในการบําบัดสารเคมีอันตราย เปนแนวทางใหมที่เกิดจาก<br />

การผสมผสานความรูทางชีวภาพ<br />

จุลชีวภาพ พฤกษศาสตร นิเวศวิทยา ปฐพีวิทยา พิษวิทยา และ<br />

วิศวกรรมเขาดวยกัน วิธีทางชีวภาพมีขอดี คือ ราคาถูก เปนขบวนการทางธรรมชาติ มีผลกระทบ<br />

ตอสิ่งแวดลอมนอย<br />

สามารถใชบําบัดไดทั้งในพื้นที่<br />

(In Situ Remediation) และนอกพื้นที่<br />

(Ex Situ<br />

Remediation) การใชจุลินทรียหรือการบําบัดทางชีวภาพ (Bioremediation) เปนกรรมวิธีหนึ่งที่<br />

ไดรับความนิยม เนื่องจากการเจริญเติบโตของจุลินทรียอาจทําใหสารเคมีอันตรายถูกยอยสลายให<br />

เปลี่ยนเปนสารที่มีอันตรายนอยลง<br />

โดยผานกระบวนการทางชีวเคมีที่มีเอนไซมเปนตัวเรงปฏิกิริยา<br />

ผลิตภัณฑสุดทายของกระบวนการยอยสลายที่สมบูรณ<br />

ไดแก มวลชีวภาพของจุลินทรีย คารบอน-<br />

ไดออกไซด และน้ํา<br />

การหมักทําปุยมีหลักการคลายคลึงกับไบโอรีมิดิเอชัน<br />

(Bioremediation) คือ การยอยสลาย<br />

ของสารอินทรียโดยอาศัยกระบวนการทางชีวเคมีของจุลินทรีย เปนการเปลี่ยนสภาพสารอินทรียที่<br />

ไมคงตัวเปนสารที่คอนขางคงตัว<br />

โดยอาจมีการเติมวัสดุรวมในการหมัก เชน มูลสุกร ซึ่งเปน<br />

สารอินทรียที่มีแรธาตุและมีเชื้อจุลินทรียในปริมาณสูง<br />

ดังนั้นการนําดินที่ปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

มาบําบัดดวยกระบวนการหมักทําปุยจึงมีความเปนไปได<br />

เนื่องจาก<br />

น้ํามันหลอลื่นเปนสารประกอบ<br />

ไฮโดรคารบอนซึ่งถือวาเปนสารอินทรียประเภทหนึ่ง<br />

โดยในการวิจัยครั้งนี้ทดสอบการใชวัสดุซึ่ง<br />

ไดจากการหมักดินปนเปอนน้ํามันโดยใชมูลสุกร<br />

และขุยมะพราวเปนวัสดุรวมในการหมัก<br />

เนื่องจากมีจุลินทรียที่มีการปรับตัวใหสามารถยอยสลายน้ํามันไดแลว<br />

เพื่อใหประสิทธิภาพในการ<br />

หมักใหดีขึ้น<br />

ขอมูลที่ไดจากการวิจัยครั้งนี้<br />

เพื่อใชเปนแนวทางในการพัฒนาระบบบําบัดดินที่ปนเปอน<br />

น้ํามันหลอลื่นหรือสารเคมีที่มีสมบัติใกลเคียงกัน<br />

โดยใชกระบวนการหมักทําปุย<br />

วัตถุประสงค<br />

1. ศึกษาประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นดวยกระบวนการหมักซึ่งมี<br />

การเติมวัสดุที่มีเชื้อเรงที่ไดจากการหมัก<br />

(ดินหมัก) ที่อายุการหมักตางๆ<br />

กัน<br />

2


2. ศึกษาผลการเปลี่ยนแปลงของคารบอน<br />

ไนโตรเจน องคประกอบน้ํามัน<br />

และโลหะ<br />

ดวยกระบวนการหมักที่มีการเติมดินหมักที่อายุตางกัน<br />

3. ศึกษาประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันโดยวิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

ขอบเขตการศึกษา<br />

1. การวิจัยครั้งนี้ทําในระดับหองปฏิบัติการ<br />

(Lab Scale)<br />

2. ดินปนเปอนน้ํามันที่ใชเปนดินปนเปอนจากการสังเคราะหขึ้น<br />

โดยใชดินรวนปนทราย<br />

ผสมกับน้ํามันหลอลื่นที่ผานการใชงานแลวของเบนซิน<br />

4 จังหวะ ฮอนดา (HONDA)<br />

3. วัสดุรวมในการหมัก<br />

3.1 มูลสุกรที่ใชในการทดลองนํามาจากภาควิชาสัตวบาล<br />

คณะเกษตร มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร เพื่อการหมักทําปุยเพื่อทําเปนวัสดุที่มีเชื้อเรง<br />

หมักปุย<br />

3.2 ขุยมะพราวใชเปนวัสดุชวยลดความหนาแนน (Bulking Agent) ในการหมักทําปุย<br />

3.3 วัสดุที่มีเชื้อเรง<br />

(ดินหมัก) ที่ไดจากการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นโดยวิธีการ<br />

3.4 พืชที่ใชในการฟนฟู<br />

คือ หญานวลนอย<br />

4. ตัวแปรที่เกี่ยวของในการวิจัย<br />

4.1 ตัวแปรอิสระ คือ ระยะเวลาของดินหมัก<br />

3


ทําการปลูกพืช<br />

การหมัก<br />

4.2 ตัวแปรตาม<br />

4.2.1 อุณหภูมิในกองหมัก<br />

4.2.2 คาความเปนกรดเปนดาง (pH)<br />

4.2.3 คารอยละโดยน้ําหนักของน้ํามันและไขมันในกองหมัก<br />

และในดินตัวอยางที่<br />

4.2.4 อัตราการยอยสลายน้ํามันหลอลื่นที่ปนเปอนในดิน<br />

4.3 ตัวแปรควบคุม<br />

4.3.1 ระดับความชื้นภายในกองหมักตลอดการหมัก<br />

4.3.2 อัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน (C:N Ratio) ของวัสดุรวมเมื่อเริ่มตน<br />

4.3.3 วัสดุรวมในการหมัก<br />

4.3.4 ปริมาณการเติมอากาศในกองหมัก<br />

4.3.5 สัดสวนในการเติมเชื้อเรง<br />

4.3.6 พื้นที่การปลูกพืช<br />

4


การตรวจเอกสาร<br />

น้ํามันหลอลื่น<br />

น้ํามันหลอลื่น<br />

(Lubricating Oil) คือ สารหลอลื่นที่มีลักษณะเปนของเหลว<br />

ใชในการ<br />

หลอลื่นเพื่อลดแรงเสียดทานจากการเคลื่อนที่<br />

ชิ้นสวนโลหะของเครื่องยนตที่มีลักษณะปด<br />

เชน<br />

หองเครื่องยนต<br />

หองเกียร เปนตน (พนม, 2545) เมื่อนําไปใชกับเครื่องยนตจะเรียกอีกชื่อหนึ่งวา<br />

“น้ํามันเครื่อง”<br />

สวนประกอบที่สําคัญของน้ํามันหลอลื่นมี<br />

2 สวน ไดแก น้ํามันหลอลื่นพื้นฐาน<br />

(Base Oil) และสารเติมแตงคุณภาพ (Additives) ทําใหไดน้ํามันหลอลื่นที่มีคุณลักษณะเหมาะสมกับ<br />

การใชงาน (ธิดา, 2539)<br />

น้ํามันหลอลื่น<br />

เปนผลิตภัณฑที่สํานักงานมาตรฐานผลิตภัณฑอุตสาหกรรม<br />

(สมอ.)<br />

กําหนดมาตรฐานไว ตามลักษณะการใชงาน ดังตอไปนี้<br />

(พนัส, 2547)<br />

1. น้ํามันเครื่อง<br />

มอก. 356-2529 สําหรับใชหลอลื่นเครื่องยนตดีเซลและเบนซิน<br />

ไม<br />

ครอบคลุมน้ํามันเครื่องที่ใชกับเครื่องยนตเบนซินสองจังหวะ<br />

ตอมาไดเพิ่มเติมมาตรฐาน<br />

น้ํามันเครื่อง<br />

มอก.356-2541 ใหครบถวน<br />

2. น้ํามันเกียร<br />

มอก.976-2533 สําหรับหลอลื่นชุดฟนเฟองในยานยนตหรืออุตสาหกรรม<br />

3. น้ํามันไฮดรอลิกอุตสาหกรรม<br />

มอก.977-2533 สําหรับงานอุตสาหกรรมและ<br />

เครื่องจักรกลหนัก<br />

1. การผลิตน้ํามันหลอลื่น<br />

น้ํามันหลอลื่น<br />

(Lube Oil) เปนผลิตภัณฑตอเนื่องจากอุตสาหกรรมผลิตน้ํามันปโตรเลียม<br />

จากหอกลั่น<br />

ซึ่งแยกน้ํามันเบา<br />

เชน Gasoline ไปแลว น้ํามันหนัก<br />

(Heavy oil) จะถูกนํามาเปน<br />

วัตถุดิบในการผลิตน้ํามันหลอลื่นโดยผานการกลั่นแยกดวยหอกลั่น<br />

สกัดดวยตัวทําละลาย ฟอกสี<br />

และแยกไขออกมาเปนน้ํามันหลอลื่นพื้นฐาน<br />

(Base Oil) เมื่อนําไปผสมกับสารเพิ่มคุณภาพ<br />

5


(Additives) เชน Mg, Ca, Mo เปนตน จึงไดน้ํามันหลอลื่นสําเร็จรูปออกมาจําหนายตอไป<br />

กระบวนการผลิตน้ํามันหลอลื่นสําเร็จรูปเปนไปดังภาพที่<br />

1 (พนัส, 2547)<br />

หอกลั่น<br />

บรรยากาศ<br />

หอกลั่น<br />

สูญญากาศ<br />

Heavy Oil<br />

หนวยแยกแอสฟลทออก<br />

หอสกัดดวย<br />

ตัวทําละลาย<br />

ยางมะตอย<br />

กระบว การผลิตน้ํามันหลอลื่น<br />

น้ํามันหลอลื่นสําเร็จรูป<br />

ภาพที่<br />

1 กระบวนการผลิตน้ํามันหลอลื่นสําเร็จรูป<br />

ที่มา:<br />

พนัส (2547)<br />

2. สวนประกอบของน้ํามัน<br />

Phenol<br />

โพรเพน<br />

หนวยไฮโดรไฟนิ่ง<br />

(เติมไฮโดรเจน)<br />

Extract<br />

2.1 น้ํามันหลอลื่นพื้นฐาน<br />

แบงเปน 3 ประเภท<br />

แยก<br />

ไขออก<br />

ไข (wax)<br />

Base Oil<br />

Additives<br />

หนวยผสม<br />

น้ํามันหลอลื่น<br />

สําเร็จรูป<br />

2.1.1 น้ํามันหลอลื่นพื้นฐานจากพืชหรือสัตว<br />

(Vegetable or Animal Base Oil)<br />

สมัยกอนนิยมใชในงานหลายอยาง ปจจุบันมีการใชนอยมาก มีความคงตัวทางเคมีต่ํา<br />

เสื่อมสภาพ<br />

ไดงายในขณะใชงาน สวนใหญมักใชเพิ่มคุณภาพใหน้ํามันหลอลื่นที่ผลิตจากน้ํามันปโตรเลียมเพื่อ<br />

เพิ่มความลื่น<br />

และความสามารถในการผสมกับน้ําได<br />

(ประเสริฐ และคณะ, 2521)<br />

6


2.1.2 น้ํามันหลอลื่นพื้นฐานจากปโตรเลียมหรือน้ํามันแร<br />

(Mineral Base Oil) นิยมใช<br />

มากที่สุด<br />

เนื่องจากมีคุณภาพดี<br />

และราคาถูก เปนผลผลิตที่ไดจากการกลั่นน้ํามันดิบในหอกลั่น<br />

บรรยากาศ จากการเอาสวนที่อยูกนหอกลั่นบรรยากาศมากลั่นภายใตสูญญากาศ<br />

แยกเอา<br />

น้ํามันหลอลื่นชนิดใสและชนิดขนออกมา<br />

(ประเสริฐ และคณะ, 2521)<br />

2.1.3 น้ํามันหลอลื่นพื้นฐานจากน้ํามันสังเคราะห<br />

(Synthetic Base Oil) เปนน้ํามันที่<br />

สังเคราะหขึ้นดวยกระบวนการทางเคมี<br />

วัสดุที่นํามาสังเคราะหมักนํามาจากน้ํามันปโตรเลียม<br />

สวน<br />

ใหญใชในงานพิเศษเฉพาะที่ตองการคุณสมบัติพิเศษ<br />

ตัวอยางของน้ํามันสังเคราะหที่นิยมใชกันมาก<br />

มีดังนี้คือ<br />

(ประเสริฐ และคณะ, 2521)<br />

ก. โพลีแอลฟาโอลินิน (Polyalphaolefin; PAO) เปนสารที่มีคาดัชนีความ<br />

หนืดสูง การระเหยต่ํา<br />

ตานทานตอปฏิกิริยาออกซิเดชั่นดี<br />

ปจจุบันเริ่มนิยมใชกันมาก<br />

ข. เอสเทอร (Ester) ไดเอสเทอร (Diester) และคอมเพล็กเอสเทอร<br />

(Complex Ester) มีคาดัชนีความหนืดสูงมาก มีความอยูตัวดี<br />

ใชเปนน้ํามันพื้นฐานในงานที่ตอง<br />

ทํางานกับสภาวะที่มีการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิมาก<br />

ๆ<br />

ค. โพลีไกลคอน (Polyglycol) เปนสารที่มีจุดเดือดสูงและจุดไหลเทต่ํา<br />

นิยม<br />

ใชในงานที่มีอุณหภูมิสูง<br />

สูงๆ<br />

ง. ซิลิโคน (Silicone) ใชเปนน้ํามันหลอลื่นพื้นฐานในงานที่ตองใชอุณหภูมิ<br />

จ. ฮาโลจีเนตเต็ดไฮโดรคารบอน (Halogenated Hydrocarbon) เชน คลอโร-<br />

ฟลูออโรคารบอน (Chlorofluorocarbon) มีความอยูตัวทางเคมีและความอยูตัวเชิงความรอนดีมาก<br />

สารประกอบที่มีอยูในน้ํามันหลอลื่นพื้นฐาน<br />

ไดแก โลหะหนัก สารตัวทําละลาย<br />

คลอริเนเตท (Chlorinated Solvent) สารอินทรียประเภทไฮโดรคารบอน (ธิดา, 2539)<br />

7


2.2 สารเติมแตงคุณภาพ (Additives)<br />

เครื่องจักรกลและเครื่องยนตในปจจุบันไดรับการออกแบบใหมีขนาดเล็กลง<br />

ทํางาน<br />

เร็วขึ้นและภาระน้ําหนักก็สูงขึ้น<br />

น้ํามันหลอลื่นพื้นฐานลวนๆ<br />

มักจะยังมีคุณภาพไมดีพอที่จะทํา<br />

หนาที่ตางๆ<br />

ใหครบถวน โดยมีอายุการใชงานที่ยืนนานตามสมควร<br />

จึงตองมีการเติมสารเคมีเพิ่ม<br />

คุณภาพในปริมาณที่ดีพอ<br />

เพื่อเพิ่มคุณสมบัติทั้งทางดานเคมีและกายภาพ<br />

สารเคมีที่นิยมใชกันมาก<br />

ไดแก (จันทรเพ็ญ, 2540)<br />

- สารชะลอการรวมตัวกับออกซิเจน<br />

- สารปองกันการเกิดสนิม<br />

- สารยับยั้งการกัดกรอน<br />

- สารชะลางทําความสะอาด<br />

- สารกระจายเขมาตะกอน<br />

- สารตานทานการสึกหรอ<br />

- สารรับแรงกดสูง<br />

- สารตานทานการเกิดฟอง<br />

- สารเพิ่มดัชนีความหนืด<br />

- สารลดจุดไหลเท<br />

- สารเพิ่มคุณสมบัติเกาะติด<br />

- สารเพิ่มความดัน<br />

- สารลดแรงเสียดทาน<br />

- สารทําใหน้ํามันผสมกับน้ําได<br />

3. สมบัติของน้ํามันหลอลื่นที่ใชแลว<br />

ในน้ํามันหลอลื่นอาจมีสารอินทรียเปนองคประกอบจํานวน<br />

100 หรือ 1,000 ชนิด โดยมี<br />

สารอินทรียที่สําคัญ<br />

คือ สารประกอบโพลีนิวเคลียรอะโรมาติก (Polynuclear Aromatic Compound :<br />

PNAs) สารเติมแตงคุณภาพมีองคประกอบเปนสารอนินทรีย เชน กํามะถัน ไนโตรเจน น้ํามัน<br />

หลอลื่นเมื่อใชงานแลวสมบัติในน้ํามันหลอลื่นพื้นฐานจะเปลี่ยนไป<br />

เนื่องจาก<br />

ปฏิกิริยาออกซิเดชั่น<br />

ทําใหเกิดความเปนกรดกัดกรอนเนื้อโลหะในเครื่องจักรกล<br />

และเกิดตะกอนยางเหนียวเกาะติดตาม<br />

8


ทางเดินของน้ํามันหลอลื่นในเครื่องจักรกล<br />

นอกจากนี้ยังมีสารปนเปอนอื่น<br />

ๆ ไดแก สิ่งสกปรก<br />

ฝุน<br />

และสนิม สวนสารเติมแตงคุณภาพในน้ํามันจะถูกใชหมดไป<br />

หรือเสื่อมสภาพไป<br />

ทําให<br />

ประสิทธิภาพในการทํางานหลอลื่นไมเพียงพอ<br />

ทําใหเกิดเศษโลหะ น้ํามันเชื้อเพลิงที่เผาไหมไม<br />

หมดเขามาปะปน (จันทรเพ็ญ, 2540)<br />

จากการสํารวจไดมีการเก็บตัวอยางจากกลุมสถานีบริการ<br />

ศูนยบริการ อูซอมรถยนต<br />

คารแคร กลุมเรือประมงจากภาคตางๆ<br />

ของประเทศ ยกเวนกลุมอุตสาหกรรมและกลุมราชการหรือ<br />

รัฐวิสาหกิจ ผลการวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพและทางเคมีของน้ํามันหลอลื่นใชแลวปรากฏ<br />

ตามรายการผลการวิเคราะหดังตารางที่<br />

1 (พนัส, 2547)<br />

ตารางที่<br />

1 ผลการวิเคราะหคุณสมบัติทางกายภาพและเคมีของน้ํามันหลอลื่นใชแลว<br />

คุณสมบัติ<br />

คุณสมบัติความลื่นไหล<br />

Vis@50 0 C 62.93 cst. (อยูในเกณฑมาตรฐาน)<br />

จุดวาบไฟ (Flash Point) 228<br />

0<br />

C<br />

0<br />

(สูงกวามาตรฐานเล็กนอย (200 C))<br />

สารที่ไมละลายในตัวทําละลาย<br />

(Insoluble<br />

Compound)<br />

มีสารที่ไมละลายเล็กนอย<br />

ไดแก<br />

- Pentane 0.12<br />

- Toluene 0.1<br />

น้ํา<br />

(Water Content) 0.35 (มีนอยมาก)<br />

เถา (Ash) - (ไมพบ)<br />

คาความรอน (Heating Value)<br />

โลหะตางๆ (Wear Metal)<br />

10,596 kcal/kg (มีความรอนสูง)<br />

- Al 16.5 ppm<br />

- Ca ++<br />

1,804 ppm<br />

- Cu 24 ppm<br />

- Fe 69 ppm<br />

- Mg ++<br />

419.5 ppm<br />

- P ++<br />

852 ppm<br />

- Pb 17.5 ppm<br />

- Zn ++<br />

ผลการวิเคราะห<br />

952 ppm<br />

ที่มา:<br />

พนัส (2547)<br />

9


4. ปจจัยที่มีผลตอการแพรกระจายของน้ํามัน<br />

4.1 ประเภทของการรั่วไหล<br />

(Type of Spill) ดูจากลักษณะการรั่วไหลวาเกิดการรั่วไหล<br />

ทันทีและในระยะเวลาสั้น<br />

หรือรั่วไหลอยางตอเนื่อง<br />

ซึ่งหากเกิดในกรณีหลังโอกาสที่พื้นที่แพร<br />

กระจายจะมากกวากรณีแรก (ชรัตน, 2533)<br />

4.2 ประเภทของน้ํามัน<br />

(Type of Oil) น้ํามันดิบและผลิตภัณฑน้ํามันเมื่อรั่วไหลในปริมาณ<br />

ที่เทากัน<br />

ขนาดพื้นที่ที่แพรกระจายจะไมเทากัน<br />

เพราะมีคุณสมบัติที่แตกตางกัน<br />

โดยเฉพาะดาน<br />

ความหนืด (Kinematic Viscosity) น้ํามันที่มีความหนืดสูงกวาจะมีแรงตอตานการไหลสูงกวาน้ํามัน<br />

ที่มีความหนืดต่ํากวา<br />

(ชรัตน, 2533)<br />

4.3 สถานที่<br />

(Location) ลักษณะของพื้นที่มีอิทธิพลที่สําคัญตอการแพรกระจายของน้ํามัน<br />

เปนอยางมาก โดยพื้นที่ที่มีความลาดชันจะมีผลทําใหน้ํามันแพรกระจายไดรวดเร็วกวาพื้นที่ที่เปนที่<br />

ราบ หรือน้ํามันที่รั่วไหลลงสูแมน้ําจะมีพื้นที่แพรกระจายตามรูปแบบของลําน้ํา<br />

ตางจากน้ํามันที่<br />

รั่วไหลในทะเลรูปแบบการแพรกระจายจะไมแนนอนขึ<br />

้นกับปจจัยดานสภาพแวดลอม (ชรัตน,<br />

2533)<br />

4.4 ระยะเวลาที่เกิด<br />

(Time of Occurrence) ระยะเวลาที่เกิดการรั่วไหลจะเปนดัชนี<br />

ชวยทํา<br />

ใหการคาดการณเปนไปอยางถูกตองและแมนยํามากยิ่งขึ้น<br />

หากตัดปจจัยดานอื่นออกหมดอาจกลาว<br />

ไดวาพื้นที่แพรกระจายของน้ํามันจะแปรผันตามระยะเวลาที่เกิดการรั่วไหลนั่นเอง<br />

(ชรัตน, 2533)<br />

4.5 สภาพแวดลอม (Environmental Condition) เงื่อนไขสภาพอากาศ<br />

ลักษณะอุทกวิทยา<br />

สมุทรศาสตร เปนขอมูลในลักษณะที่เคลื่อนไหวตลอดเวลา<br />

มีอิทธิพลอยางมากตอทิศทางและการ<br />

เคลื่อนตัวของมวลน้ํามันในน้ํา<br />

และกรณีที่น้ํามันรั่วไหลลงสูพื้นดินก็จําเปนจะตองทราบถึงลักษณะ<br />

และคุณสมบัติทางกายภาพของดินดวย ทั้งนี้เพื่อที่จะสามารถคาดการณการแทรกซึมของน้ํามันลงสู<br />

ดินวาจะมีทิศทางการแพรกระจาย (ชรัตน, 2533)<br />

10


5. ผลกระทบของน้ํามันตอสุขภาพและสิ่งแวดลอม<br />

5.1 การสัมผัสน้ํามันหลอลื่นใชแลวเปนประจํา<br />

ผิวหนังจะแหง แตก ระคายเคือง เปนผื่น<br />

แดง เนื่องจากน้ํามันจะไปลางไขมันออกจากผิวหนัง<br />

ทําใหเกิดการติดเชื้อและแพไดงาย<br />

หากสูด<br />

ดมรับไอละอองของน้ํามันหลอลื่นในขณะที่มีการใชงานของเครื่องยนตจะเกิดอาการวิงเวียน<br />

คลื่นไส<br />

ออนเพลีย งวงนอน ระคายเคืองตอหลอดลมและปอด<br />

5.2 สารปนเปอนตาง<br />

ๆ ที่มีในน้ํามันหลอลื่นที<br />

่ใชแลว จัดวาเปนสารกอมะเร็ง ทําใหเกิด<br />

ความผิดปกติของยีน ทําใหเจ็บปวยเรื้อรังหรือเฉียบพลัน<br />

5.3 น้ํามันหลอลื่นใชแลวที่เปรอะเปอนผิวหนัง<br />

เสื้อผา<br />

อาหาร น้ํา<br />

เขาสูรางกายจะทําให<br />

เกิดอาการคลื่นไส<br />

ปวดทองและทองเสีย เนื่องจากสารเติมแตงคุณภาพในน้ํามันหลอลื่น<br />

5.4 การทิ้งน้ํามันหลอลื่นใชแลวลงสูทอระบายน้ําหรือแหลงที่จะทําใหเกิดอันตรายตอ<br />

สิ่งมีชีวิตและนิเวศวิทยาในแหลงน้ํา<br />

เนื่องจากน้ํามันหลอลื่นใชแลวจะลอยตัว<br />

และรวมตัว<br />

กลายเปนแผนฟลมที่ผิวน้ํา<br />

บดบังแสงอาทิตยที่สองผานลงสูแหลงน้ํา<br />

ทําใหออกซิเจนจากอากาศ<br />

ไมสามารถละลายลงสูน้ําได<br />

ความเขมทึบของน้ํามันหลอลื่นทําใหน้ําดูดซับความรอนจาก<br />

แสงอาทิตย ทําใหน้ํามีอุณหภูมิสูงขึ้นสงผลกระทบตอการดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตในน้ํา<br />

เชน สงผล<br />

กระทบตอการเปลี่ยนแปลงการแพรพันธุของสัตวน้ํา<br />

กระบวนการสังเคราะหดวยแสงของพืช<br />

หยุดชะงัก ทําลายแหลงอาหาร แหลงวางไขของสัตวน้ํา<br />

คราบน้ํามันที่ตกคางอยูเปนการทําลาย<br />

ทัศนียภาพและความสวยงามของสถานที่ทองเที่ยวดวย<br />

(พนม, 2545)<br />

5.5 หากนําน้ํามันหลอลื่นใชแลวไปทําประโยชน<br />

ทําน้ํามันราดถนน<br />

(Road Oil) ดับฝุน<br />

หรือเททิ้งลงสูพื้นดิน<br />

เปนอันตรายตอสภาวะแวดลอม เนื่องจากการไหลซึมและลงสูน้ําใตดินและ<br />

แหลงน้ําตาง<br />

ๆ ทําใหดินมีสภาพไมเหมาะสมตอการเพาะปลูก น้ําไมสามารถนํามาใชประโยชนใน<br />

การอุปโภคหรือบริโภคได<br />

5.6 การนําน้ํามันหลอลื่นใชแลวไปกําจัดโดยวิธีฝงกลบโดยไมถูกวิธีหรือไมปลอดภัย<br />

อาจ<br />

ทําใหเกิดการชะลางผานลงสูน้ําใตดิน<br />

11


5.7 การเผาไหมน้ํามันหลอลื่นที่ใชแลวอยางไมมีการควบคุม<br />

เพื่อจุดประสงคในการนํา<br />

น้ํามันหลอลื่นที่ใชแลวไปเปนเชื้อเพลิงหรือเพื่อนําน้ํามันหลอลื่นที่ใชแลวนั้นไปกําจัดโดยใชความ<br />

รอนในเตาเผา อาจมีผลทําใหเกิดการกระจายสารอันตรายที่เกิดจากการเผาไหมสูสิ่งแวดลอม<br />

ซึ่ง<br />

ทําใหสิ่งมีชีวิตในบริเวณนั้นสัมผัสสารที่มีอันตราย<br />

(จันทรเพ็ญ, 2540)<br />

5.8 การทิ้งภาชนะบรรจุน้ํามันหลอลื<br />

่นใชแลวโดยกระจัดกระจาย ภาชนะชํารุดทําใหเกิด<br />

การรั่วไหล<br />

และหกหลนของน้ํามันหลอลื่นใชแลวลงดินโดยจะซึมผานชองวางในดิน<br />

ทําใหดิน<br />

เต็มไปดวยความหนืดของน้ํามันหลอลื่น<br />

สงผลใหดินในบริเวณนั้นสูญเสียคุณคาทางการเพาะปลูก<br />

และการซึมลงสูใตดิน<br />

ทําใหน้ํามีกลิ่นเหม็นไมเหมาะสมตอการอุปโภคบริโภค<br />

คุณสมบัติของดิน<br />

ดินเปนทรัพยากรธรรมชาติ เกิดขึ้นจากผลของการแปรสภาพหรือผุพังของหินและแร<br />

กับ<br />

อินทรียวัตถุผสมคลุกเคลากัน เกิดขึ้นเปนชั้นบาง<br />

ๆ หอหุมผิวโลก<br />

(ศุภมาศ, 2535) ในทางวิศวกรรม<br />

ดิน คือ วัสดุอะไรก็ตามที่ตกตะกอนและทับถมกันไมแนน<br />

เชน กรวด (Gravel) ทราย (Sand)<br />

ตะกอนทราย (Silt) และดินเหนียว (Clay) หรือสวนผสมของสิ่งเหลานั้น<br />

ซึ่งอาจเปนพวกที่มีความ<br />

เชื่อมแนน<br />

(Cohesion) หรือไมมีความเชื่อมแนน<br />

(Cohesionless) ก็ได (มณเฑียร, 2539)<br />

1. องคประกอบของดิน<br />

1.1 แรธาตุ (Mineral) นับวาเปนองคประกอบที่สําคัญและมีปริมาณมากที่สุดถึงรอยละ<br />

45<br />

ประกอบดวยหิน (Rock) และแรธาตุ (Mineral) ปะปนกัน ในดินแตละที่จะมีความแตกตางกันทั้ง<br />

ชนิดและปริมาณ องคประกอบเหลานี้มีผลตอความหยาบ<br />

ความละเอียดของเนื้อดิน<br />

การระบาย<br />

อากาศ พืชในดิน เปนตน (กฤตินี, 2539)<br />

1.2 อินทรียสาร (Organic Matter) เกิดจากซากหรือผลผลิตของสิ่งมีชีวิต<br />

มีประมาณ<br />

รอยละ 5 ซึ่งสารอินทรียนี้จะชวยใหสภาพของดินเหมาะสมตอการเจริญของจุลินทรียในดิน<br />

โดยเฉพาะพวกที่ตองการสารอินทรียในการดํารงชีพ<br />

(Heterotrophic Bacteria) (กฤตินี, 2539)<br />

12


1.3 น้ําในดิน<br />

(Soil Water) น้ําจะอยูตามชองวางภายในดิน<br />

(Soil Pore) เปนสวนที่มี<br />

บทบาทสําคัญตอพืชในการชวยละลายแรธาตุในดิน น้ําในดินมีอยูประมาณรอยละ<br />

25 โดยจะอยูใน<br />

3 รูปแบบ คือ แอ็ดฮีชั่น<br />

วอเตอร (Adhesion Water) หมายถึง น้ําที่ถูกดูดซับโดยอนุภาคของดินเปน<br />

แผนบางๆ หุมอยูรอบอนุภาคของดินมีการเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงนอยมากไมเปนประโยชนตอพืช<br />

โคฮีชั่น<br />

วอเตอร (Cohesion Water) หมายถึง น้ําที่ถูกยึดโดยแรงยึดเหนี่ยวระหวางโมเลกุลของน้ําที่<br />

ลอมรอบอนุภาคดินอีกทีหนึ่ง<br />

ซึ่งอยูในชองวางของอนุภาคดิน<br />

น้ําประเภทนี้มีการเคลื่อนไหว<br />

เปลี่ยนแปลงไดงาย<br />

ดังนั้นพืชสามารถนําไปใชได<br />

และแกรวิเตชั่น<br />

วอเตอร (Gravitation Water)<br />

หมายถึง น้ําที่จะเคลื่อนตัวตามชองวางขนาดใหญของดินซึ่งมีผลกระทบตอการระบายอากาศของ<br />

ดิน น้ําประเภทนี้ไมเปนประโยชนตอพืช<br />

(กฤตินี, 2539)<br />

1.4 อากาศ (Air) ดินโดยทั่วไปจะมีอากาศแทรกอยูประมาณรอยละ<br />

25 ซึ่งจะประกอบดวย<br />

กาซหลายชนิดจะแทรกอยูตามชองวางในดิน<br />

ถาในดินมีน้ํามากอากาศในดินจะมีนอย<br />

เนื่องจากน้ํา<br />

เขาไปแทนที่อากาศในชองวางของดิน<br />

อากาศถูกไลออกไป ซึ่งจะสงผลตอสิ่งมีชีวิตในดิน<br />

กาซที่มี<br />

ความสําคัญตอจุลินทรีย ไดแก กาซออกซิเจน และกาซคารบอนไดออกไซด กิจกรรมของจุลินทรีย<br />

ในที่มีออกซิเจนปริมาณไมเทากันจะแตกตางกัน<br />

ดังนั้นปริมาณอากาศในดินแตละตําแหนงจะเปน<br />

ตัวกําหนดชนิดและปริมาณของจุลินทรียในดิน (กฤตินี, 2539 และ พงษสิทธิ์,<br />

2546)<br />

1.5 สิ่งมีชีวิตในดิน<br />

มีตั้งแตขนาดใหญที่มองเห็นไดดวยตาเปลาไปจนถึงขนาดเล็กมาก<br />

คือ<br />

พวกจุลินทรีย สิ่งมีชีวิตเหลานี้มีการดํารงชีวิตอยูในลักษณะที่เกี่ยวของสัมพันธกับสิ่งมีชีวิตอื่น<br />

(Symbiosis) และมีบทบาทสําคัญในการแปรสภาพกอใหเกิดปฏิกิริยาทางชีวเคมีในดิน สิ่งมีชีวิตใน<br />

ดินถาเปรียบเทียบเปนปริมาณทั้งหมดของดินจะมีเพียงรอยละ<br />

1 แตนับวามีความสําคัญตอความ<br />

อุดมสมบูรณของดินเปนอยางยิ่ง<br />

(กฤตินี, 2539 และ พงษสิทธิ์,<br />

2546)<br />

2. สมบัติของดิน<br />

2.1 สมบัติดานฟสิกส<br />

เนื้อดิน<br />

(Soil Texture) หมายถึง สัดสวนสัมพัทธของอนุภาคในกลุมขนาดทราย<br />

ซิลท<br />

และดินเหนียว ซึ่งเนื้อดินจะเปนประเภทใดยอมขึ้นอยูกับสมบัติเดนของกลุมขนาดหลักในดินชนิด<br />

นั้น<br />

ในสภาพดินธรรมชาติที่ประกอบดวยอนุภาคขนาดตางๆ<br />

นั้น<br />

หากอนุภาคในกลุมขนาดใดมีอยู<br />

13


เปนจํานวนมากถือเปนกลุมขนาดหลักของดิน<br />

ดินประเภทนั้นยอมมีสมบัติโนมไปทางลักษณะเดน<br />

ออกมาแซมใหเห็นได โดยเนื้อดินสามารถแบงออกเปน<br />

3 กลุมหลัก<br />

ดังนี้<br />

(ศุภมาศ, 2539)<br />

2.1.1 ดินเนื้อหยาบหรือดินทราย<br />

(Sandy Soils) ลักษณะเดน คือ จับดูจะสากมือ เมื่อ<br />

ชื้นจะไมเหนียวติดมือ<br />

อุมน้ําไดนอย<br />

แตระบายอากาศไดดี เปนตน<br />

2.1.2 ดินรวน (Loamy Soils) หมายถึง ดินที่แสดงสมบัติเดนของอนุภาคใหญกลุม<br />

ทราย ซิลท และดินเหนียว ไมมีความแตกตางกันอยางเห็นไดชัด หรือแตกตางกันเพียงเล็กนอย<br />

2.1.3 ดินเนื้อละเอียด<br />

หรือดินเหนียว (Clayey Soils) ซึ่งมีลักษณะเดนคือ<br />

จะแข็งเมื่อ<br />

แหง ปนเปนเสนไดยาวเมื่อชื้น<br />

เหนียวเหนอะหนะเมื่อเปยก<br />

อุมน้ําไดมาก<br />

แตระบายอากาศไดไม<br />

ดี ไถพรวนลําบาก เปนตน<br />

เนื้อดินบอกถึงปริมาณคอลลอยดอนินทรียอยางหยาบได<br />

ทั้งนี้เพราะอนุภาคดิน<br />

เหนียวมีขนาดเล็กมากอยูในสภาพคอลลอยด<br />

จึงมีพื้นที่ผิวตอหนวยน้ําหนักปริมาณมาก<br />

ดินที่มีเนื้อ<br />

ละเอียดขึ้นจะมีพื้นที่ผิวสูงขึ้น<br />

หากอนุภาคในดินเกาะยึดกันเองเปนเสถียร (Stable Aggregate) จะมี<br />

ความพรุนสูงมาก ในทางตรงกันขามหากไมเกาะยึดกัน ลักษณะเชนนี้จะแนนทึบมาก<br />

น้ําและ<br />

อากาศไหลเทไดยากมาก ดินเนื้อละเอียดจะมีชองขนาดเล็กมากกวา<br />

มีความสามารถที่อุมน้ําเปน<br />

ประโยชน (Available Water Capacity : AWC) ตอพืชมากกวา<br />

เนื้อดินกับการดูดซับและดูดซึม<br />

ในดินตัวดูดซับคืออนุภาคดินเหนียวและอนุภาค<br />

อินทรียวัตถุ ดินที่มีอนุภาคดินเหนียวมาก<br />

จะดูดซึมน้ําไดมาก<br />

ปริมาณอินทรียวัตถุในดินที่สูงก็จะ<br />

อุมน้ําไวไดมาก<br />

ดินที่มีเนื้อละเอียดจะมีอินทรียวัตถุสูงกวาดินเนื้อหยาบ<br />

ในดินเนื้อหยาบจะมีอัตรา<br />

การสลายตัวของอินทรียวัตถุสูงกวา เพราะมีการกระจายอากาศที่ดีกวา<br />

ทําใหปริมาณอินทรียวัตถุ<br />

ในดินนอยกวาดินเนื้อละเอียด<br />

2.2 สมบัติดานเคมี<br />

2.2.1 ความเปนกรดเปนดางของดิน (Soil pH) ดินเปนสิ่งที่มีทั้งประจุบวกและลบ<br />

แต<br />

มีคาประจุลบมากกวา ธาตุอาหารพืชสวนใหญมีประจุเปนบวก จึงถูกดินดูดซับเอาไว ธาตุอาหารที่<br />

14


ถูกดินดูดซับเอาไวยอมมีโอกาสใหพืชดึงดูดเอาไปใชได ดินบริเวณที่เปนดินตะกอนน้ําทะเล<br />

(Marine Deposits) จะเปนดินที่มีความเขมขนของเกลือสูง<br />

มีสารประกอบไพไรท (Pyrite : FeS2) ความเปนกรดเปนดางจะมีคาแปรผันอยูระหวาง<br />

2.5 - 6.0 (สนิท, 2532) สําหรับดินบริเวณที่หางฝง<br />

ทะเล สวนใหญเกิดจากตะกอนแมน้ํา<br />

ความเปนกรดเปนดางจะอยูในชวง<br />

7 - 8.5 สภาพดินเปนกลาง<br />

ปริมาณเกลือในดินปานกลางถึงสูง (เอิบ, 2533)<br />

2.2.2 สภาพออกซิเดชั่นรีดักชั่นของดิน<br />

(Soil Oxidation Reduction) สถานะ<br />

ออกซิเดชั่น<br />

(Oxidation State) เปนผลมาจากการระบายน้ําและอากาศของดิน<br />

ซึ่งสภาพอากาศในดิน<br />

เปนตัวกําหนดชนิดจุลินทรียในดินที่จะเปนตัวกลางยอยสลายสารอินทรีย<br />

และการเปลี่ยนรูป<br />

ไนโตรเจนในดิน หากดินมีการระบายอากาศที่ดี<br />

การสลายตัวของคารบอนอินทรียยอมจะไดกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด แตหากดินขาดออกซิเจน การสลายตัวจะไมสมบูรณ ทําใหไดกรดอินทรีย<br />

แทน สวนการเปลี่ยนรูปของไนโตรเจน<br />

ไนโตรเจนอินทรียจะเปลี่ยนรูปเปนแอมโมเนียกอน<br />

หาก<br />

ดินมีการถายเทอากาศดีก็จะเกิดกระบวนการไนตริฟเคชั่น<br />

(Nitrification) โดยจุลินทรียในดิน ซึ่งก็<br />

คือการออกซิไดซแอมโมเนียเปนไนเตรท แตถาดินเกิดขาดออกซิเจน จุลินทรียจะใชไนเตรทใน<br />

กระบวนการหายใจอันเปนกระบวนการรีดิวซไนเตรทนั่นเอง<br />

(ศุภมาศ, 2539)<br />

2.3 สมบัติดานชีวภาพ<br />

ดินเปนอีกสวนหนึ่งที่สิ่งมีชีวิตขนาดเล็กมากใชเปนที่อยูอาศัย<br />

สิ่งมีชีวิตเหลานี้สงผล<br />

กระทบตอมนุษยทั้งทางดานการอํานวยประโยชนและการเกิดโทษ<br />

สิ่งมีชีวิตตาง<br />

ๆ ในดิน ไดแก<br />

2.3.1 แบคทีเรีย (Bacteria) มีขนาดเล็กมาก มีปริมาณมากที่สุดในดิน<br />

แตถา<br />

สภาพแวดลอมไมเหมาะสมจํานวนของแบคทีเรียอาจลดลงไดอยางมาก แบคทีเรียซึ่งแบงตัวแบบ<br />

เปนสองเทา (Binary Fission) สามารถแบงตัวไดในเวลาอันรวดเร็ว จึงสามารถเปลี่ยนแปลง<br />

สารอาหารของมัน เชน ซากพืช ซากสัตวใหเห็นไดภายในเวลาเพียงไมกี่ชั่วโมง<br />

โดยทั่วไปแลว<br />

จํานวนประชากรของมันจะถูกควบคุมโดยแหลงพลังงาน จึงเปนเหตุผลอธิบายไดวา ทําไมเมื่อเติม<br />

ซากอินทรียลงไปในดิน มวลของแบคทีเรียจึงเพิ ่มขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

2.3.2 แอคติโนไมซีต (Actinomycetes) แอคติโนไมซีตมีขนาดใหญกวาแบคทีเรียมาก<br />

แตมีจํานวนนอยกวาแบคทีเรีย ขนาดเซลลเดี่ยวๆ<br />

ของมันจะไลเลี่ยกับขนาดของแบคทีเรีย<br />

แตมี<br />

15


ความยาวคลายเสนดายและมีกิ่งกาน<br />

น้ําหนักทั้งหมดของแอคติโนไมซีตใกลเคียงกับแบคทีเรีย<br />

โดยชอบอาศัยอยูในสภาพที่มีความชื้นต่ํา<br />

และพบมากในระยะทาย ๆ ของการยอยสลายสารอินทรีย<br />

ในดิน ทั้งนี้เพราะมันมีความสามารถยอยสลายสารประกอบอินทรียที่ยอยสลายไดยาก<br />

2.3.3 เชื้อรา<br />

(Fungi) โดยทั่วไปเชื้อราจะเจริญเติบโตอยางรวดเร็วหลังระยะการยอย<br />

สลายอินทรียสาร จนสามารถสังเกตเห็นเสนใยไดบนผิวดิน ปริมาณเชื้อราจะมีนอยกวาแบคทีเรีย<br />

และแอคติโนไมซีตมาก แตมวลรวมของเชื้อราจะมีมากกวา<br />

เพราะเชื้อรามีกระจุกใยรา<br />

(Mycelium)<br />

จํานวนมาก สามารถเติบโตแขงขันกับแบคทีเรียไดในสารประกอบประเภทคารโบไฮเดรตที่ไม<br />

ซับซอน เชื้อราหลายชนิดสามารถยอยสลายเซลลูโลสไดโดยไมยาก<br />

เชื้อรามีความตองการ<br />

ไนโตรเจนในการเจริญเติบโตในปริมาณที่นอยกวาแบคทีเรียมาก<br />

2.3.4 สัตวขนาดเล็กในดิน มีอยูเปนจํานวนมาก<br />

มีบทบาทในการยอยสลาย<br />

อินทรียวัตถุเหลือใช หรือซากพืช ซากสัตวในดิน ไดแก สัตวเซลลเดียว (Protozoa) ไสเดือนฝอย<br />

(Nematode) และไสเดือน สัตวเหลานี้ชวยยอยสลายอินทรียสาร<br />

แตสัตวเซลลเดียวและไสเดือนฝอย<br />

หลายชนิดสามารถทําลายพืชที่ปลูกได<br />

3. ประเภทของจุลินทรียในดิน<br />

จุลินทรียในดินแบงตามลักษณะการเจริญเติบโตได ดังนี้<br />

3.1 จุลินทรียที่ใชออกซิเจน<br />

(Aerobic Bacteria) และจุลินทรียที่ไมใชออกซิเจน<br />

(Anaerobic<br />

Bacteria) จุลินทรียประเภทที่ใชออกซิเจนจะใชออกซิเจนในการหายใจ<br />

ดังนั้น<br />

ในดินที่มีการ<br />

ถายเทอากาศดี ไดรับอินทรียวัสดุเหลือใช (Organic Waste) ไมมากเกินไป การยอยสลาย<br />

สารอินทรียจะดําเนินไปดวยจุลินทรียประเภทนี้<br />

แตในสภาพอับอากาศ เชน การระบายอากาศไมดี<br />

จนขาดออกซิเจน จะมีจุลินทรียประเภทที่ไมใชออกซิเจนเจริญเติบโตได<br />

จุลินทรียเหลานี้สามารถ<br />

ยอยสลายซากสารอินทรียไดโดยใชสารอื่นในกระบวนการหายใจ<br />

อาทิเชน ใชไนเตรท ซัลเฟต<br />

เปนตัวรับอิเลคตรอนแทนออกซิเจน ในสภาพดินไรจะมีจุลินทรียประเภทใชออกซิเจนอยูมากที่สุด<br />

และมีบทบาทสําคัญในการยอยสลายซากอินทรียสารใด ๆ ที่ใสลงในดิน<br />

16


3.2 จุลินทรียที่สรางอาหารเองไมได<br />

(Heterotrophic Bacteria) และจุลินทรียที่สรางอาหาร<br />

เองได (Autotrophic Bacteria) จุลินทรียประเภทสรางอาหารเองไมไดจะไดแหลงคารบอน และ<br />

พลังงานจากการยอยลายซากอินทรีย สวนประเภทสรางอาหารเองไดจะไดรับพลังงานจากการ<br />

ออกซิไดซอนินทรียสาร และแหลงพลังงานสวนใหญจะไดมาจากคารบอนไดออกไซด ในการ<br />

ยอยสลายซากพืช ซากสัตว หรือขยะอินทรียจะเปนกิจกรรมของจุลินทรียประเภทสรางอาหารเอง<br />

ไมได สวนประเภทสรางอาหารเองไดจะเปนตัวการสําคัญในการเปลี่ยนรูป<br />

(Transformation) ของ<br />

อนินทรียสารในดิน<br />

3.3 จุลินทรียชนิดไซโครฟลิค (Psychrophilic Bacteria) จุลินทรียชนิดเมโซฟลิก<br />

(Mesophillic Bacteria) และจุลินทรียชนิดเทอรโมฟลิก (Thermophillic Bacteria) จุลินทรียประเภท<br />

ไซโครฟลิคจะเจริญเติบโตไดในชวงที่อุณหภูมิต่ํากวา<br />

20 องศาเซลเซียส ( 0 ซ) จุลินทรียประเภท<br />

เมโซฟลิกจะเจริญเติบโตไดในชวงอุณหภูมิระหวาง 20 - 45 0 ซ และประเภทเทอรโมฟลิกจะ<br />

เจริญเติบโตไดดีในชวงอุณหภูมิมากกวา 50 0 ซ ปรกติจุลินทรียประเภทเมโซฟลิกมีอยูมากที่สุดใน<br />

ดิน เมื่อมีการยอยสลายของกองอินทรียสาร<br />

เชน กองปุยหมัก<br />

อุณหภูมิอาจสูงขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

จนถึงขีดที่จุลินทรียประเภทเทอรโมฟลิกมีปริมาณอยูมากที่สุด<br />

4. การเคลื่อนตัวของน้ํามันในดิน<br />

(Motion of Oil Spill in Subsoil)<br />

น้ํามันเมื่อหกหรือรั่วไหลลงบนพื้นดิน<br />

บางสวนจะซึม (Percolation) ลงตามชองวางของ<br />

ดิน (Permeable Soil) ลงตามแนวดิ่งดวยแรงโนมถวงของโลก<br />

(Gravity Force) และบางสวนจะซึม<br />

ออกดานขางของชั้นดิน<br />

ตามชองวางหรือรอยแยก (Fissure) ของเนื้อดิน<br />

มักจะเกิดขั้นตอนนี้กับ<br />

เนื้อดินที่มีหินคลุกอยูมากหรือชั้นหิน<br />

แตในบางครั้งรอยแยกของเนื้อดินกลับทําหนาที่เปนตัว<br />

กีดกัน (Fissure Wall) การซึมดานขางไดเหมือนกัน (ชรัตน, 2533) ดังภาพที่<br />

2<br />

ในขบวนการการไหลซึมของน้ํามันลงสูดิน<br />

จะมีเนื้อดินบางสวนที่ยอมใหน้ํามันซึมผานได<br />

ในชวงแรกเทานั้น<br />

เมื่อเวลาผานไปจะไมยอมใหน้ํามันซึมผาน<br />

เนื่องจากดินอิ่มตัวดวยน้ํามันเร็ว<br />

กวาดินสวนอื่น<br />

เชนนี้เรียกวา<br />

Residual Saturation ซึ่งการหาคานี้จะพิจารณาในดานความสามารถ<br />

ในการตานของเนื้อดิน<br />

17


Oil in multiple<br />

Phase flow<br />

Capillary zone<br />

Water table<br />

Oil<br />

ภาพที่<br />

2 การเคลื่อนตัวของน้ํามันในดินที่มีลักษณะพรุนจากแหลงกําเนิดที่มีการรั่วไหล<br />

ที่มา:<br />

Bossert and Bartha (1984)<br />

ขนาดและรูปแบบของน้ํามันเมื่อซึมลงในดิน<br />

ขึ้นกับลักษณะทางกายภาพของดิน<br />

เชน<br />

เนื้อดิน<br />

ความหนาแนนของดิน ความพรุนของดิน เปนตน รวมถึงชนิดและปริมาณของน้ํามันที่<br />

ซึมลงดิน โดยดินที่มีชองวางในดินสูง<br />

น้ํามันที่ซึมผานลงในดินจะมีรูปแบบคลายทรงกระบอก<br />

สวนดินที่มีชองวางในดินนอยจะมีรูปแบบการซึมคลายรูปทรงกรวย<br />

ดังภาพที่<br />

3<br />

Highly permeable<br />

homogenous soil<br />

Anaerobic zone<br />

Land surface<br />

Less permeable<br />

homogenous soil<br />

Oil in water phase<br />

Land surface<br />

Aerobic zone<br />

Ground surface<br />

Pancake formation<br />

Water flow<br />

Stratified soil with<br />

varying permeability<br />

ภาพที่<br />

3 รูปแบบของน้ํามันที่ซึมลงในดินที่มีชองวางในดิน<br />

(Soil Permeability) แตกตางกัน<br />

ที่มา:<br />

ชรัตน (2533)<br />

อัตราการแทรกซึมของน้ํามัน<br />

(Rate of Penetration) ในดินจะสูงหรือต่ําขึ้นกับคุณสมบัติ<br />

ของน้ํามันและคุณสมบัติทางกายภาพของดินนั้น<br />

ๆ คือ ดินที่มีกรวดหรือทรายหยาบมาก<br />

น้ํามัน<br />

18


สามารถแทรกซึมผานไดในอัตราสูงกวาดินที่มีอนุภาคดินเหนียวสูง<br />

นอกจากนี้<br />

อัตราการแทรกซึม<br />

รวมทั้งขบวนการแทรกซึมของน้ํามันจะสิ้นสุดเมื่อ<br />

1. ชั้นดินเต็มไปดวยน้ํามัน<br />

ไมสามารถระบายออกสูชั้นดินบริเวณใกลเคียงได<br />

2. น้ํามันแทรกซึมถึงชั้นน้ําใตดิน<br />

3. เกิดการอิ่มตัวดวยน้ํามัน<br />

(Residual Saturation) ในอนุภาคดิน<br />

ลักษณะของมูลสุกร<br />

สุกรเปนสัตวเลี้ยงงาย<br />

โตเร็ว และใหผลผลิตที่คุมคากับตนทุน<br />

อาหารของสุกรตองมี<br />

โภชนาหารครบทั้ง<br />

5 หมู<br />

ไดแก คารโบไฮเดรต โปรตีน ไขมัน วิตามินและเกลือแร ภายในกระเพาะ<br />

อาหารและลําไสของสุกรจะมีจุลินทรียที่ยอยอาหารอยู<br />

เศษอาหารที่ระบบยอยอาหารยอยไดไม<br />

หมดจะถูกจุลินทรียในระบบทางเดินอาหารยอยสลายและขับถายออกมา หากกากอาหารเปน<br />

ของแข็งจะถูกขับถายออกมาทางทวารหนัก เรียกวา มูล สวนที่เปนของเหลว<br />

ขับถายออกมาทาง<br />

อวัยวะเพศ เรียกวา ปสสาวะ ซึ่งในมูลและปสสาวะเหลานั้นยังคงมีสารอาหารที่สัตวและผูยอย<br />

สลายอื่นๆ<br />

ยังคงใชประโยชนไดไมนอย สังเกตไดจากแมลงวันที่อาศัยมูลสุกรเปนแหลงอาหารจะมี<br />

การเจริญเติบโตและขยายพันธุไดอยางรวดเร็ว<br />

และเมื่อนําไปเลี้ยงปลาก็สามารถทําใหปลา<br />

เจริญเติบโตไดดีเชนกัน (อรรถชัย, 2543) ในมูลสุกรจะประกอบดวยกากอาหารที่ยอยไมได<br />

เชน<br />

สวนที ่เปนของแข็ง พวกเยื่อใย<br />

หรือพวกที่ยอยไดแตดูดซึมไมได<br />

สิ่งที่ปลอยออกมาจากรางกายสัตว<br />

โดยเฉพาะจากระบบทางเดินอาหาร เชน เยื่อบุผนังลําไส<br />

เยื่อเมือก<br />

น้ํายอย<br />

แรธาตุ แบคทีเรีย และ<br />

ผลผลิตของแบคทีเรีย จะมีอัตราสวนของมูลและปสสาวะของสุกรประมาณ 2 ตอ 3 (บัณฑิต, 2536)<br />

การศึกษาของสถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย (2522) ไดมีการ<br />

รายงานการประมาณวา สุกร 1 ตัว จะมีสิ่งขับถายเทากับสิ่งขับถายจากคน<br />

3 ถึง 5 คนตอวัน ปริมาณ<br />

สิ่งขับถายนี้จะมีมากนอยเพียงใด<br />

มักขึ้นอยูกับองคประกอบของอาหารและปริมาณที่สุกรกิน<br />

ซึ่ง<br />

จากการวิเคราะหน้ําเสียจากฟารมสุกรที่สถาบันวิจัยและฝกอบรมการเกษตรแมเหียะเชียงใหม<br />

พบวา<br />

ในมูลสุกรมีของแข็งทั้งหมด<br />

(Total Solids: TS) ประมาณรอยละ 33 และสารอินทรียซึ่งประเมินได<br />

จากคาซีโอดี (Chemical Oxygen Demand) ประมาณรอยละ 23 มูลสุกรทั้งหมดจะประกอบดวยน้ํา<br />

ประมาณรอยละ 65-85 อินทรียวัตถุรอยละ 10-20 และอนินทรียวัตถุรอยละ 5-15 สวนประกอบ<br />

19


ของมูลและปสสาวะจะประกอบดวยธาตุไนโตรเจนมากที่สุดและโพแทสเซียมนอยมาก<br />

ดังตารางที่<br />

2 (บัณฑิต, 2536)<br />

Hobson (1991) รายงานวาสิ่งขับถายจากการเลี้ยงสุกรประกอบดวยโปรตีนรอยละ<br />

7.4<br />

ไขมันรอยละ 13.7 เถารอยละ 14.0 เฮมิเซลลูโลสรอยละ 21.6 เซลลูโลสและลิกนินรอยละ 23.6<br />

บุษบา (2536) ไดกลาววา มูลสุกรมีสารอินทรียที่ยอยสลายทางชีวภาพไดมากกวาในน้ําทิ้งจาก<br />

บานเรือน และกลาวเพิ่มเติมอีกวาอัตราสวนของ<br />

BOD ตอ N ตอ P ของมูลสุกรประมาณ 62.5 ตอ 1<br />

ตอ 0.73 ซึ่งสามารถบําบัดดวยกระบวนการยอยสลายสารอินทรียในสภาวะไรออกซิเจน<br />

องคประกอบบางประการของมูลสุกรยังคงแปรปรวนพอสมควร อาหารที่ใชเลี้ยงและ<br />

สัดสวนของสัตวที่มีอายุตางๆ<br />

กัน อาจมีสวนทําใหเกิดความแปรปรวนของมูลสุกร (อรรถชัย, 2543)<br />

ในประเทศจีนเปนประเทศที่มีการเลี้ยงสุกรมากที่สุดในโลก<br />

โดย Wen (1984) ไดรายงานสมบัติบาง<br />

ประการของมูลสุกรซึ่งคิดเปนรอยละของน้ําหนักสด<br />

พบวา มีปริมาณคารบอนทั้งหมดมากที่สุด<br />

และปริมาณฟอสฟอรัสต่ําสุด<br />

นอกจากนี ้ในประเทศไทย ไดมีการรายงานองคประกอบของธาตุ<br />

อาหารในมูลสัตวบางชนิด ดังตารางที่<br />

3<br />

ตารางที่<br />

2 สวนประกอบทางเคมีของมูลและปสสาวะของสุกรของประเทศไทย (รอยละของ<br />

น้ําหนัก)<br />

N P K Ca Mn Cu Zn Source<br />

มูล 0.54* 0.59* พบนอยมาก* 0.82* 0.13* NA* NA* บัณฑิต, 2536<br />

2.16 5.24 1.61 NA NA NA NA นลินี, 2536<br />

NA NA NA NA NA 22-636 128-981 ชีวิทย, 2521<br />

ปสสาวะ 1.16* 0.08* พบนอยมาก* 0.01 0.01 NA* NA* บัณฑิต, 2536<br />

รวมทั้งหมด<br />

1.70* 0.67* พบนอยมาก* 0.83* 0.14* NA* NA* บัณฑิต, 2536<br />

ที<br />

่มา: บัณฑิต (2536)<br />

นลินี (2536)<br />

ชีวิทย (2521)<br />

20


ตารางที่<br />

3 รอยละของธาตุอาหารพืชในมูลสัตวบางชนิด<br />

มูลสุกร N P2O5 K2O โค - กระบือ 0.80 - 1.15 0.50 - 0.92 0.50 - 3.73<br />

เปด 0.80 - 3.68 2.70 - 6.90 0.50 - 1.91<br />

ไก 1.20 - 4.95 1.20 - 9.36 0.50 - 4.25<br />

หาน 0.69 2.14 2.13<br />

นกนางแอน 10.47 3.45 0.87<br />

นกกระพา 4.15 3.67 2.33<br />

คางคาว 0.10 - 2.90 0.60 - 36.80 0.40 - 22.00<br />

ที่มา:<br />

นลินี (2536)<br />

มูลสุกรนอกจากจะใชเพื่อเปนอาหารใหกับสัตวแลวยังใชเปนวัสดุรวมในการหมักไดดวย<br />

ซึ่งปจจัยหลักที่ใชในการหมัก<br />

คือ คาอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน (C:N Ratio) ทั้งนี้เพราะ<br />

คาอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน เปนปจจัยที่มีความสําคัญในการควบคุมการทํางานของ<br />

ระบบการหมักทําปุย<br />

ถามีไนโตรเจน (N) มากเกินจะถูกเปลี่ยนเปนแอมโมเนียกระจายสูบรรยากาศ<br />

และอาจเปนพิษตอกระบวนการทํางานของจุลินทรียดวย ซึ่งคาอัตราสวนของคารบอนตอ<br />

ไนโตรเจนของวัสดุหมักตางๆ แสดงดังตารางที่<br />

4<br />

ตารางที่<br />

4 คาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน (C:N Ratio) ของวัสดุ<br />

วัสดุ ไนโตรเจนโดยน้ําหนักแหง<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน<br />

(Material) (Nitrogen (% of dry weight)) (C:N Ratio)<br />

มูลโค (Cow manure) 1.70 18.00<br />

มูลสัตวปก (Poultry manure) 6.30 15.00<br />

มูลแกะ (Sheep manure) 3.80 -<br />

มูลสุกร (Pig manure) 3.80 -<br />

มูลมา (Horse manure) 2.30 25.00<br />

21


ตารางที่<br />

4 (ตอ)<br />

วัสดุ ไนโตรเจนโดยน้ําหนักแหง<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน<br />

(Material) (Nitrogen (% of dry weight)) (C:N Ratio)<br />

ตะกอนสด (Raw sewage sludge) 4.00 - 7.00 11.00<br />

ตะกอนจากการยอย (Digestion<br />

sewage sludge)<br />

2.00 - 4.00 -<br />

ตะกอนจากระบบแอ็คติเวเต็ดสลัดจ<br />

(Activated sludge)<br />

5.00 6.00<br />

เศษหญา (Grass clippings)<br />

ของเสียประเภทพืชที่ไมมีฝก<br />

3.00 - 6.00 12.00 - 15.00<br />

(Nonlegume vegetable wastes) 2.50 - 4.00 11.00 - 12.00<br />

เศษหญา (Mixed grasses) 2.40 19.00<br />

มันฝรั่ง<br />

(Potato tops) 1.50 25.00<br />

ฟางขาวสาลี (Straw wheat) 0.30 - 0.50 128.00 - 150.00<br />

ฟางขาวโอต (Straw oats) 1.10 48.00<br />

ขี้เลื่อย<br />

(Sawdust) 0.10 200.00<br />

ที่มา:<br />

Golueke (1982)<br />

1. การยอยสลายทางชีวภาพ (Bioremediation)<br />

ไบโอรีมิดิเอชั่น<br />

ไบโอรีมิดิเอชั่น<br />

เปนกระบวนการบําบัดทางชีวภาพโดยการใชจุลินทรีย หรือเรียกวา<br />

จุลินทรียบําบัด โดยการเจริญของจุลินทรียจะทําใหสารเคมีอันตรายถูกยอยสลายใหเปลี่ยนเปน<br />

สารเคมีที่มีอันตรายลดลง<br />

(เอกวัล, 2546) จุลินทรียจะใชสารปนเปอนดังกลาวเปนอาหารหรือ<br />

พลังงานและเปลี่ยนสารพิษเปนกาซคารบอนไดออกไซดและน้ํา<br />

การที่จะใชจุลินทรียจากแหลงอื่น<br />

(Exogenous Microbes) ที่ไมพบในแหลงปนเปอน<br />

อาจทําไดเชนกัน แตตองทําการปรับสภาพ<br />

บริเวณที่ปนเปอนเพื่อใหแนใจวาจุลินทรียดังกลาวสามารถดํารงชีวิตและบําบัดสารพิษที่ปนเปอน<br />

ได (EPA, 1996)<br />

22


ไบโอรีมิดิเอชั่น<br />

เปนการยอยสลายโดยเรงธรรมชาติ โดยการเติมปุยไนโตรเจนและ<br />

ฟอสฟอรัส เปนอาหารที่เชื้อจุลินทรียตองการ<br />

หรือการเพิ่มปริมาณของจุลินทรียทองถิ่น<br />

วิธีนี้จะ<br />

สามารถกําจัดคราบน้ํามันไดรวดเร็วขึ้น<br />

Kostecki and Calabrese (1991) เสนอวิธีการเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพในการยอยสลายสารไฮโดรคารบอนโดยวิธีไบโอรีมิดิเอชั่นเปน<br />

2 แบบ คือ<br />

1.1 Microbiological Approach คือ การพัฒนาเชื้อทําได<br />

2 ทาง คือ การเพิ่มปริมาณเชื้อ<br />

โดยการเก็บเชื้อจากบริเวณที่มีการปนเปอนน้ํามันมาทําการคัดแยกเชื้อที่มีความสามารถในการยอย<br />

สลายมาเพิ่มปริมาณ<br />

แลวเติมกลับลงไปในบริเวณที่มีน้ํามันปนเปอน<br />

และอีกทางหนึ่งคือ<br />

การพัฒนา<br />

ประสิทธิภาพของเชื้อ<br />

โดยการเก็บจากบริเวณที่มีการปนเปอนของน้ํามันมาคัดแยกแลวนําไปทําการ<br />

ปรับปรุงสายพันธุ<br />

ใหยอยสลายคราบน้ํามันไดดีขึ้นหรือเจริญไดเร็วขึ้น<br />

แลวคอยไปทําการยอยสลาย<br />

คราบน้ํามัน<br />

1.2 Microbial Ecology Approach คือ การปรับปรุงสภาพแวดลอมในพื้นที่ปนเปอนทั้ง<br />

ทางดานฟสิกส เชน อุณหภูมิ หรือทางดานเคมี ไดแก ความเปนกรดดาง การเติมสารอาหารที่จําเปน<br />

ในการเจริญเติบโตของจุลินทรีย ซึ่งชวยใหจุลินทรียในดินเจริญและยอยสลายคราบน้ํามันไดดีขึ้น<br />

(กฤตินี, 2539)<br />

2. ปจจัยที่มีผลตอการยอยสลายทางชีวภาพ<br />

2.1 ความชื้นของดิน<br />

(Soil Moisture) มีผลตออัตราการยอยสลาย แลวยังสงผลถึงการ<br />

สงผานสารอาหาร และผลิตผลที่ไดจากการยอยสลาย<br />

และปริมาณออกซิเจนในดินอีกดวย ปกติ<br />

ความชื้นในดินที่เหมาะสมในการทํางานของจุลินทรียจะประมาณรอยละ<br />

30 - 80 ความชื้นควรคิด<br />

เฉพาะน้ําในดินที่จุลินทรียนําไปใชประโยชนไดหรือน้ําซับ<br />

(Caplilary Water) ซึ่งคิดเปนรอยละ<br />

50<br />

ของน้ําทั้งหมดในดิน<br />

(Baker and Diane, 1994 ) Stegmann et al. (1991) พบวาความชื้นที่รอยละ<br />

60<br />

ของน้ําซับเหมาะสมสําหรับยอยสลายการปนเปอนของน้ํามันดีเซลในดิน<br />

โดยใชเทคนิคการบําบัด<br />

แบบการหมัก (Composting) นอกจากนี้<br />

Debbie and Bartha (1979) ศึกษาปจจัยของสภาพแวดลอม<br />

ที่มีผลตอการยอยน้ํามันในดินในชุดการทดลองที่จําลองขึ้นพบวา<br />

การยอยสลายที่ดีเกิดขึ้นในสภาพ<br />

ที่มีความชื้นในดินประมาณรอยละ<br />

30 - 90 ความเปนกรดเปนดาง 7.5 - 7.8 อัตราสวนคารบอนตอ<br />

ไนโตรเจน เทากับ 60 ตอ1 อัตราสวนคารบอนตอฟอสฟอรัส เทากับ 800 ตอ 1 และอุณหภูมิไมต่ํา<br />

กวา 20 0 ซ หากมีความชื้นมากเกินไปจะไปลดปริมาณออกซิเจนในดิน<br />

กรณีนี้อาจแกไขไดโดยเพิ่ม<br />

23


พื้นที่ผิวของดินที่สัมผัสอากาศ<br />

เชน การพรวนดินบอย ๆ สําหรับดินที่มีความชื้นนอยเกินไป<br />

สามารถแกไขไดโดยการฉีดพนน้ําลงไป<br />

หรือใชระบบชลประทานแตตองระวังอยาใหมากเกินไป<br />

เพราะน้ําจะชะคราบน้ํามันซึมลงไปในดิน<br />

(กฤตินี, 2539)<br />

2.2 ความเปนกรดดางของดิน (Soil pH) จะพบอยูในชวง<br />

2.5 – 11 โดยสวนใหญดินจะมี<br />

สภาพเปนกรด ซึ่งในขบวนการยอยสลายสารไฮโดรคารบอน<br />

Dibble and Bartha (1979) พบวาที่<br />

ความเปนกรดเปนดาง 7 – 9 เปนชวงที่เหมาะสมที่สุด<br />

การปรับสภาพดินใหเปนกลาง สวนใหญ คือ<br />

การเติมปูนขาวโดย Fu and Alexander (1992) ทําการตรวจสอบการยอยสลายสไตลีน (Styrene) ใน<br />

น้ําทะเลสาบ<br />

และตัวอยางดิน พบวาการยอยสลายเกิดรวดเร็วที่ความเปนกรดเปนดาง<br />

7.23 และจะ<br />

ชาลงอยางมากที่ความเปนกรดเปนดาง<br />

4.78 สวน Verstrate et al. (1976) พบวาการปรับสภาพดินที่<br />

เปนกรด (pH 4.5) เขาใกลสภาพที่เปนกลาง<br />

(pH 7.4) จะทําใหอัตราการยอยสลายแกสโซลีน<br />

(Gasoline) ในดินสูงขึ้นเปน<br />

2 เทา นอกจากนี้ชวงที่ความเปนกรดเปนดางเปนกลางยังทําใหธาตุ<br />

อาหารไนโตรเจน และฟอสฟอรัสเปลี่ยนไปอยูในรูปที่นําไปใชได<br />

และยังชวยลดการละลายของ<br />

โลหะหนักที่เปนพิษ<br />

เพราะละลายไดดีที่ความเปนกรดเปนดางต่ํา<br />

(Baker and Diane, 1994)<br />

2.3 อนินทรียสาร (Inorganic Nutrient) ธาตุอาหารหลักที่จําเปนสําหรับขบวนการยอย<br />

สลาย คือ ไนโตรเจน และฟอสฟอรัส ซึ่งมีปริมาณจํากัดในดิน<br />

สําหรับไนโตรเจน พบวาแบคทีเรีย<br />

จะเปลี่ยนใหอยูในรูปของแอมโมเนียกอนเสมอ<br />

และการเติมไนโตรเจนสามารถชวยเพิ่มปริมาณ<br />

จุลินทรียไดจริง (Baker and Diane, 1994) การเกิดปฏิกิริยาดีไนตริฟเคชั่น<br />

(Denitrification) ในดิน<br />

เปยก ก็เปนปจจัยที่ทําใหไนโตรเจนในดินลดลงอยางรวดเร็ว<br />

(Fitzpatrick, 1986) สวนฟอสฟอรัส<br />

ในดินจะมีอยูอยางจํากัดเนื่องจากละลายไดยาก<br />

ฟอสฟอรัสสวนใหญที่อยูในรูปสารอนินทรีย<br />

คือ<br />

- 2-<br />

H2PO4 และ HPO4 สวนในรูปสารอินทรียจะอยูในรูปฮิวมัส<br />

ฟอสฟอรัสในดินสวนใหญจะละลาย<br />

น้ําไดดีที่ความเปนกรดเปนดาง<br />

5.5 – 7.0<br />

การเพิ่มสารอาหารในดิน<br />

เพิ่มประสิทธิภาพการยอยสลายของจุลินทรียไดโดยการเติม<br />

ปุยยูเรีย<br />

ฟอสฟอรัส หรือเกลือของไนโตรเจนและฟอสฟอรัส (Jamison et al., 1975; Jobson et al.,<br />

1974) Song et al. (1990) รายงานวาการเติมปุย<br />

NH4NO3 และ K2HPO4 ชวยเพิ่มอัตราการยอยสลาย<br />

ไฮโดรคารบอนทั้งในดินทราย<br />

ดินรวน และดินรวนปนทราย มีการทําการทดลองเติมปุยที่<br />

ประกอบดวยไนโตรเจนและฟอสฟอรัสในอัตราสวนตางๆ ลงในดินชนิดตางๆ พบวาอัตราสวน<br />

คารบอนตอไนโตรเจนตอฟอสฟอรัส ประมาณ 25 ตอ 1 ตอ 0.5 เปนคาที่เหมาะสมในการยอยสลาย<br />

24


ปโตรเลียมไฮโดรคารบอนในดิน (Baker and Diane, 1994) Westlake et al. (1978) ศึกษาการยอย<br />

สลายของน้ํามันในดินบริเวณตะวันตกเฉียงเหนือของประเทศแคนาดา<br />

โดยการเติมปุยไนโตรเจน<br />

และฟอสฟอรัสพบวา จะมีการเพิ่มจํานวนของแบคทีเรีย<br />

แตไมพบการเพิ่มจํานวนของเชื้อรา<br />

อยางไรก็ตามถามีการเติมธาตุอาหารมากเกินไปอาจทําใหการยอยสลายลดลงได เพราะจากการ<br />

ทดลองพบวา ถามีธาตุอาหารในดินมากเกินไปจุลินทรียจะไมยอยสลายคราบน้ํามันที่มี<br />

สวนประกอบพวกอะโรมาติกซึ่งยอยไดยากกวา<br />

(Fedorak and Westlake, 1981) Vestrate et al.<br />

(1976) รายงานวาการเติมไนโตรเจนและฟอสฟอรัส ชวยใหการยอยสลายฟนอลที ่ปนเปอนในดิน<br />

เพิ่มขึ้น<br />

Raymond et al. (1976 a) พบวาดินที่มีการบํารุงหรือใสปุยจะเกิดการยอยสลายน้ํามันดีกวา<br />

ดินที่ไมไดรับการบํารุง<br />

2.4 ตัวรับอิเล็คตรอน (Electron Acceptors) กระบวนการยอยสลายสามารถเกิดไดทั้งใน<br />

สภาวะที่มีและไมมีออกซิเจน<br />

แตสภาวะที่มีออกซิเจนจะยอยสลายไดเร็วและสมบูรณกวา<br />

ซึ่ง<br />

ปริมาณออกซิเจนในดินจะขึ้นอยูกับความพรุนของดิน<br />

และน้ําในดินซึ่งจะไปอยูตามรูพรุนของดิน<br />

ทําใหออกซิเจนนอยลง ในดินจะมีออกซิเจนอยางนอยที่สุดรอยละ<br />

10 ของชองวางในดินซึ่งเพียงพอ<br />

ตอจุลินทรียที่ตองการอากาศจะเจริญได<br />

แตเพื่อใหกระบวนการการยอยสลายเร็วขึ้นอาจมีการเติม<br />

อากาศในดิน วิธีการเติมอากาศขึ้นกับขนาดพื้นที่<br />

ปริมาณของไฮโดรคารบอนที่ปนเปอน<br />

และความ<br />

ลึกที่ปนเปอนในดิน<br />

สัดสวน 0.90 – 1.36 กิโลกรัมของออกซิเจนตอการยอยสลายปโตรเลียม<br />

ไฮโดรคารบอน (Petroleum Hydrocarbon) จํานวน 0.45 กิโลกรัม เพื่อใหแนใจวามีออกซิเจน<br />

เพียงพอ (Wilson et al., 1986) หรือมีการเติมอากาศในชองวางระหวางเม็ดดิน (Pore Space) อยาง<br />

นอยรอยละ 10 (Paul and Clark, 1989 ; Foth, 1984) กรณีที่มีการปนเปอนไมลึกนัก<br />

(6 – 12 นิ้ว)<br />

นิยมใชฟางโปรยลงไปแลวทําการไถพรวน ซึ่งจะชวยปรับโครงสรางของดินดวย<br />

(Baker and<br />

Diane, 1994) สําหรับดินที่ปนเปอนลึก<br />

อาจทําโดยการขุดฝงทอเติมอากาศ แตวิธีที่งายและประหยัด<br />

กวา คือ การเติมไฮโดรเจนเปอรออกไซด (Hydrogen Peroxide: H2O2) เพื่อชวยการทํางานของ<br />

จุลินทรียใหยอยไฮโดรเจนเปอรออกไซด เปนออกซิเจน และน้ํา<br />

Freeman and Sferra (1991)<br />

เปรียบเทียบระหวางการฝงทอเติมอากาศกับการเติมไฮโดรเจนเปอรออกไซด พบวาการเจริญของ<br />

เชื้อไมแตกตางกันในการเติมอากาศทั้ง<br />

2 แบบ อยางไรก็ตามการเติมไฮโดรเจนเปอรออกไซดตอง<br />

ใหมีความเขมขนที่เหมาะสม<br />

โดยทั่วไปอยูระหวาง<br />

50 – 200 ppm เพราะถามากเกินไปอาจไปยับยั้ง<br />

การเจริญของเชื้อได<br />

25


2.5 อุณหภูมิ (Soil Temperature) อุณหภูมิมีผลตอขบวนการยอยสลายสารไฮโดรคารบอน<br />

ทั้งทางตรงและทางออม<br />

ทางตรง คือ เมื่อเพิ่มอุณหภูมิสูงขึ้น<br />

10 0 ซ จากคาอุณหภูมิที่เหมาะสมของ<br />

จุลินทรียแตละชนิด จะทําใหจุลินทรียมีเมตาบอลิซึม (Metabolism) สูงขึ้นเปน<br />

2 เทา (Baker and<br />

Diane, 1994) สวนในทางออม คือ ที่อุณหภูมิสูงโครงสรางของดินจะเปลี่ยนไปเนื่องจากน้ําระเหย<br />

ไปบางสวน Atlas (1975) ไดศึกษาผลของอุณหภูมิในการยอยสลายน้ํามันดิบในน้ําพบวาที่<br />

20 0 ซ<br />

ไฮโดรคารบอนอิ่มตัวมีอัตราการยอยสลายสูงกวาที่อุณหภูมิอื่นๆ<br />

อยางเห็นไดชัด Debbie and<br />

Bartha (1979) ไดทดลองยอยสลายน้ํามันในกากตะกอนจุลินทรีย<br />

(Sludge) โดยวิธีกองดิน<br />

(Biofarming) พบวาที่อุณหภูมิ<br />

5 0 ซ แทบจะไมเกิดการยอยสลาย ที่อุณหภูมิ<br />

20 0 ซ การยอยสลาย<br />

เพิ่มขึ้นไดนอย<br />

แตที่<br />

28 0 ซ และ 37 0 ซ การยอยสลายสูงขึ้นอยางเห็นไดชัด<br />

Song et al. (1990)<br />

เปรียบเทียบการยอยสลายทางชีวภาพของ Gasoline, Jet Fuel, Heating Oil, Diesel Oil และ Bunker<br />

Oil ที่อุณหภูมิ<br />

17 0 ซ 27 0 ซ และ 37 0 ซ พบวาการยอยสลายจะดีที่สุด<br />

คือ 27 0 ซ วิธีการควบคุม<br />

อุณหภูมิใหมีสภาวะที่เหมาะสม<br />

ไดแก การใชปุยหรือฟางคลุมดิน<br />

(Mulches) และการใชพลาสติก<br />

คลุมดิน ซึ่งพบวาการใชปุยหรือฟางคลุมดินสามารถควบคุมการแปรปรวนของอุณหภูมิในดินไดดี<br />

พอควร (Sims et al., 1986) การใชพลาสติกคลุมดินสามารถลดและควบคุมการระเหยของ<br />

สารประกอบอินทรียระเหย (Volatile Organic Compound) ไปสูอากาศ<br />

แตตองเลือกชนิดของ<br />

พลาสติกที่เหมาะสม<br />

2.6 ชนิดและปริมาณของสารไฮโดรคารบอนที่ปนเปอน<br />

เนื่องจากสารไฮโดรคารบอนที่<br />

ปนเปอนในดินมีหลายรูป<br />

ในบางรูปจุลินทรียยอยสลายไมได หรือยอยไดยาก เชน พวกอะโรมาติก<br />

ไฮโดรคารบอน ที่สําคัญคือสารไฮโดรคารบอนไมละลายน้ําซึ่งจุลินทรียจะเขาไปยอยสลายไดยาก<br />

ดังนั้นจึงมีการเติมสารเคมีบางชนิดลงไปเพื่อชวยใหไฮโดรคารบอนเปลี่ยนรูปไปใหงายแกการยอย<br />

สลายจึงเปนสิ่งจําเปน<br />

เชน สารลดแรงตึงผิว (Surfactants) Ritman and Johnson (1989) รายงานวา<br />

การเติมสารลดแรงตึงผิวชวยเพิ่มอัตราการยอยสลายน้ํามันหลอลื่น<br />

(Lubricating Oil) Ying et al.<br />

(1990) ศึกษาผลการเติมสารลดแรงตึงผิวกับการยอยสลายปโตรเลียมไฮโดรคารบอน (Petroleum<br />

Hydrocarbon) พบวาการปนเปอนลดลงอยางมาก<br />

(รอยละ 94) เมื่อเติมสารลดแรงตึงผิวรวมกับ<br />

อาหาร ภายในระยะเวลา 16 สัปดาห Eillis et al. (1990) พบวาการใชสารลดแรงตึงผิว ใหผลดีตอ<br />

การยอยสลายพอ ๆ กับการเติมธาตุอาหารและการเพิ่มปริมาณจุลินทรีย<br />

Cooper (1986) ไดสังเกต<br />

การยอยสลายทางชีวภาพของสารที่ไมละลายน้ํา<br />

เชน ปโตรเลียมไฮโดรคารบอนแสดงใหเห็นวา<br />

ขั้นตอนแรกในการยอยสลาย<br />

จุลินทรียจะสรางสารอิมัลซิฟายดอิ่ง<br />

(Emulsifying Agents) ซึ่งมี<br />

26


ความสัมพันธกับการเพิ่มความสามารถในการละลาย<br />

สงผลใหจุลินทรียสามารถนําไปยอยสลาย<br />

ตอไปได<br />

2.7 ความเขมขนของสารปนเปอนในดิน<br />

ยิ่งมีความเขมขนมากก็จะตองใชเวลาในการยอย<br />

สลายมากขึ้น<br />

หรืออาจมีการสลายนอยมากจนถึงไมยอยสลาย ถามีความเขมขนของสารปนเปอน<br />

มากเกินกวาความสามารถที่จุลินทรียจะยอยสลายได<br />

กฤตินี (2539) ไดทําการทดลองการยอยสลาย<br />

น้ํามันดิบที่ปนเปอนในดินโดยวิธีธรรมชาติ<br />

พบวาภายในระยะเวลา 84 วัน ตัวอยางดินที่เติม<br />

น้ํามันดิบที่ความเขมขนรอยละ<br />

2 มีการลดลงของนอรมัลอัลเคน (Normal Alkane) รอยละ 80 ใน<br />

ดินชายฝงแมน้ํา<br />

และรอยละ 69 ในดินปาชายเลน ในขณะที่ความเขมขนอัตราสวนน้ํามันรอยละ<br />

4<br />

และรอยละ 8 ในดินทั้งสองชนิด<br />

(ดินชายฝงแมน้ํา<br />

และดินปาชายเลน) มีการลดลงของนอรมัล<br />

อัลเคนใกลเคียงกันที่รอยละ<br />

13 และรอยละ 8 ตามลําดับ การลดลงของนอรมัลอัลเคนจะต่ําลง<br />

เมื่อ<br />

ความเขมขนของน้ํามันดิบในดินสูงขึ้น<br />

ในขณะที่ไฮโดรคารบอนอิ่มตัวที่มีโครงสรางซับซอนมี<br />

แนวโนมสูงขึ้น<br />

และที่ความเขมขนของน้ํามันเทากันรอยละของการลดลงของนอรมัลอัลเคนในดิน<br />

ชายฝงแมน้ําจะสูงกวาดินปาชายเลน<br />

2.8 ระยะเวลาการสัมผัสของสารปนเปอนและจุลินทรียในดิน<br />

ตองมีระยะเวลาที่เหมาะสม<br />

เพราะในชวงแรกจุลินทรียตองใชเวลาในการปรับตัวที่เรียกวา<br />

Metabolic Adaptation ในระยะ Lag<br />

Phase ของกราฟการเจริญเติบโต (Growth Curve) โดยการปรับตัวนี้จะทําใหการผลิตเอนไซมใน<br />

การยอยสลายสารปนเปอนในดินดําเนินไปไดดี<br />

ดังนั้นระยะเวลาการสัมผัสของสารปนเปอนและ<br />

จุลินทรียในดินจึงเปนปจจัยหนึ่งที่สําคัญสําหรับการออกแบบระบบการยอยสลายทางชีวภาพ<br />

Raymond et al. (1976 a) พบวาจุลินทรียในดินที่สามารถยอยสลายสารประกอบไฮโดรคารบอนได<br />

จะเพิ่มปริมาณมากขึ้นภายหลังจากที่มีการปนเปอนของสารประกอบไฮโดรคารบอน<br />

โดยปริมาณ<br />

จุลินทรียในดินที่เพิ่มขึ้นนี้จะคงที่เปนระยะเวลาอยางนอย<br />

1 ป Pinholt et al. (1979) ไดศึกษาการ<br />

เปลี่ยนแปลงของจุลินทรียในดินขณะที่เกิดการยอยสลายน้ํามัน<br />

พบวามีเชื้อราที่สามารถยอยสลาย<br />

น้ํามันไดเพิ่มจํานวนขึ้นรอยละ<br />

60 – 82 ขณะที่แบคทีเรียจะเพิ่มขึ้นจากรอยละ<br />

3 เปนรอยละ 50<br />

หลังจากที่มีน้ํามันปนเปอนลงไป<br />

Sparrow et al. (1978) พบวาแบคทีเรียในดิน Taiga Soil จะเพิ่ม<br />

ปริมาณขึ้นเมื่อมีการปนเปอนของน้ํามันดิบ<br />

27


3. ประเภทของไบโอรีมิดิเอชั่น<br />

การเลือกประเภทของระบบการทํางาน ขึ้นกับชนิดของสารปนเปอน<br />

บริเวณที่มีการ<br />

ปนเปอน<br />

สถานที่เกิดการปนเปอน<br />

เปนตน การดําเนินงานแบงออกเปน 2 แบบ คือ การบําบัดใน<br />

สถานที่พบสิ่งปนเปอนนั้น<br />

(In Situ) และ คือ การขุดดินหรือการสูบน้ําที่ปนเปอนแลวนําไปบําบัด<br />

นอกสถานที่<br />

(Ex Situ)<br />

3.1 ไบโอรีมิดิเอชันที่มีการบําบัดในพื้นที่<br />

(In Situ Bioremediation) เปนวิธีบําบัดที่ไมตอง<br />

ขุดดินที่ปนเปอนขึ้นมาบําบัด<br />

แตจะเติมอากาศและอาหารไปยังจุลินทรียที่อยูในดิน<br />

เพื่อทําใหเกิด<br />

การยอยสลายสารปนเปอน<br />

มีคาใชจายนอย บําบัดไดในปริมาณมาก ใชเวลาในการบําบัดนานกวา<br />

การบําบัดนอกสถานที่<br />

วิธีนี้ตองใชเวลาในการบําบัดเปนป<br />

โดยผลที่เกิดจะขึ้นอยูกับการยอยสลาย<br />

ทางชีวภาพเหมาะสมกับสิ่งปนเปอนมากนอยเพียงใด<br />

การบําบัดในพื้นที่<br />

(In situ) แบงออกเปน 2<br />

วิธี ดังนี้<br />

3.1.1 ไบโอเวนติ้ง<br />

(Bioventing) คือ การใชเครื่องเติมอากาศสูบหรืออัดอากาศจาก<br />

บรรยากาศเขาสูดินเหนือระดับน้ําใตดิน<br />

ผาน Injection Well ที่ติดตั้งบนพื้นดินที่ปนเปอน<br />

อากาศ<br />

จะผานดิน ออกซิเจนจะถูกใชโดยจุลินทรีย นอกจากนี้สารอาหารจะถูกสูบเขาสูบริเวณที่ปนเปอน<br />

ดวย เพื่อเพิ่มอัตราการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

(พงษสิทธิ์,<br />

2546)<br />

3.1.2 การปอนไฮโดรเจนเปอรออกไซด (Injection of Hydrogen Peroxide) คือ การ<br />

ปอนออกซิเจนเพื่อกระตุนจุลินทรีย<br />

โดยการหมุนเวียนสารไฮโดรเจนเปอรออกไซดผานดินที่<br />

ปนเปอนเพื่อเรงกระบวนการยอยสลายทางชีวภาพ<br />

โดยสวนใหญจะใชวิธีนี้กับน้ําใตดินที่มีการ<br />

ปนเปอน<br />

โดยอุปกรณจะประกอบไปดวย ทอและหัวจายน้ํา<br />

(Sprinkler) เพื่อปอนสารไฮโดรเจน<br />

เปอรออกไซดไปสูดินในกรณีที่อยูตื้น<br />

สวนกรณีที่อยูลึกจะใช<br />

Injection Well แทน (พงษสิทธิ์,<br />

2546)<br />

3.2 ไบโอรีมิดิเอชันแบบบําบัดนอกพื้นที่<br />

(Ex Situ Bioremediation) การบําบัดโดยวิธีนี้<br />

งาย และรวดเร็วกวา แตเสียคาใชจายสูงกวา เนื่องจากจะตองขุดดินขึ้นมาเพื่อนํามาบําบัด<br />

การ<br />

บําบัดนี้แบงออกเปน<br />

5 วิธี ดังนี้<br />

28


3.2.1 ซอยไบโอพาย (Soil Biopiles) บําบัดโดยดินปนเปอนจะถูกกองไวสูงประมาณ<br />

2 – 3 เมตร เหนือเครื่องเติมอากาศ<br />

การเติมอากาศจะใชวิธีการสูบอากาศผานกองดินโดยใชปมแบบ<br />

สูญญากาศ ควบคุมระดับความชื้นและสารอาหารใหระบบมีประสิทธิภาพดีสุด<br />

สารปนเปอนที่<br />

ระเหยไดจะถูกกําจัดไดงาย (พงษสิทธิ์,<br />

2546)<br />

3.2.2 ไบโอสติมูเลชัน (Biostimulation) เหมาะกับการบําบัดขั้นตนของสารที่<br />

ปนเปอนในน้ําใตดินและในดิน<br />

น้ําใตดินที่ถูกปนเปอนจะนําเขาสูถังปฏิกิริยาที่อยูบนดินเพื่อทําการ<br />

เพิ่มธาตุอาหาร<br />

พรอมกับการเติมอากาศเพื่อเพิ่มปริมาณเชื้อจุลินทรีย<br />

นอกจากนี้อาจมีการเติมหัว<br />

เชื้อจุลินทรียพวกที่สามารถยอยสลายสารไฮโดรคารบอนไดดี<br />

จากนั้นน้ําใตดินดังกลาวจะถูกนํา<br />

กลับไปฉีดพนลงบนดินบริเวณที่ปนเปอน<br />

แลวปลอยใหน้ําคอยๆ<br />

ซึมลงดิน อาจมีการเติมสารลด<br />

แรงตึงผิวลงไปเพื่อชวยใหการกระจายเปนไปไดดีขึ้น<br />

บางครั้งน้ําใตดินที่ออกจากถังปฏิกิริยาจะตอง<br />

มีการกําจัดสารมลพิษที่จุลินทรียยอยไมได<br />

เชน โลหะหนักตาง ๆ นอกจากนี้ยังตองขุดบอขาง<br />

ๆ<br />

บริเวณที่ทําการบําบัด<br />

เพื่อนําตัวอยางมาตรวจสอบปริมาณสารมลพิษที่ปนเปอนวาลดลง<br />

หรือมีการ<br />

แพรกระจายสูบริเวณอื่นหรือไม<br />

(Zitrides, 1990)<br />

3.3.3 ไบโอสเลอรี่<br />

(Bioslurry) สวนใหญใชกับกากตะกอนจุลินทรีย (Sludge) และดิน<br />

ที่มีการปนเปอนสูง<br />

ปรับปรุงมาจากระบบตะกอนเรง (Activated Sludge) หากนํามาบําบัดดิน ตอง<br />

นําดินมาผสมกับน้ําใหอยูในรูปสเลอรี่<br />

(Slurry) การทํางานขึ้นกับชนิดของดินและความเขมขนของ<br />

สารปนเปอน<br />

โดยทั่วไปอยูในชวงรอยละ<br />

10 – 20 ของน้ําหนักดินซึ่งจะนํามาทําการเจือจางดวยน้ํา<br />

เมื่อผสมดินกับน้ําแลวจะนําเขาสูถังปฏิกิริยา<br />

โดยการเติมอากาศอาจใชวิธีการกวนหรือฉีดพนอากาศ<br />

ลงไปชวย ทําใหสารปนเปอนหลุดออกจากดิน<br />

และชวยใหสัมผัสกับจุลินทรียเพิ่มขึ้นดวย<br />

วิธีนี้การ<br />

ยอยสลายสูงกวาไบโอสติมูเลชันเมื่อบําบัดสารชนิดเดียวกัน<br />

หลังผานการบําบัดแลวน้ําจะถูกแยก<br />

ออกจากสวนที่เปนของแข็ง<br />

เพื่อนําไปบําบัดตอไป<br />

หรือปลอยทิ้งในกรณีที่ไมเปนอันตรายตอ<br />

สิ่งแวดลอม<br />

(Zitrides, 1990)<br />

3.3.4 การหมักทําปุย<br />

(Composting) เปนวิธีการบําบัดของเสียจากเกษตรกรรมและ<br />

ของเสียชุมชนโดยการหมักทําปุย<br />

ซึ่งมีตั้งแตระบบอยางงาย<br />

คือ ลักษณะกองดิน(Windrows) จนถึง<br />

ระบบที่ตองใชความรูดานวิศวกรรมขั้นสูงหรือระบบที่มีการปอนของเสียอยางตอเนื่อง<br />

(Atlas and<br />

Bartha, 1987) และในปจจุบันไดประยุกตวิธีการทําปุยหมักมาใชในการบําบัดสารปนเปอนในดิน<br />

เชน Heavy Oil Petroleum Waste, Poly Aromatic Hydrocarbon (PAHs), Explosive และอื่น<br />

ๆ<br />

29


(EPA, 1996; Backer and Herson, 1994) Wong et al.(2002) ศึกษาการบําบัดดินที่ปนเปอนสาร<br />

โพลีอะโรมาติกไฮโดรคารบอนดวยวิธีการหมักรวมกับมูลสุกรที่อัตราสวน<br />

3 ตอ 1 พบวาวิธีการ<br />

ดังกลาวสามารถบําบัดสารฟแนลทราซีน (Phenanthracene) ไดมากกวารอยละ 90 ภายในระยะเวลา<br />

หมัก 21 วัน<br />

3.3.5 ไบโอฟารมมิ่ง<br />

(Biofarming) สวนใหญจะใชกับดินที่ปนเปอนในปริมาณต่ําๆ<br />

คือ รอยละ 2-10 ของน้ําหนักดิน<br />

พัฒนามาจากการทําปุยหมัก<br />

เสียคาใชจายนอย ใชพื้นที่มาก<br />

โดย<br />

พื้นที่นั้นควรไกลจากแหลงน้ําธรรมชาติและมีระดับน้ําใตดินลึก<br />

วิธีการ คือ พรวนผิวดินสวนบน<br />

และทําคันดินรอบๆ พื้นที่<br />

และนําดินที่ปนเปอนมาแผลงในพื้นที่ที่เตรียมไวใหสูงประมาณ<br />

20-30<br />

ซม. มีการเติมสารอาหาร สารลดแรงตึงผิว ปรับความเปนกรดเปนดางของดิน ทําการพรวนและ<br />

พลิกกลับกองดินเปนระยะ บริเวณใตกองดินจะตองมีการปูวัสดุที่กันซึมได<br />

เพื่อปองกันการ<br />

ปนเปอนสูดิน<br />

มีการสรางโรงเรือนขึ้นมาคลุมกองดิน<br />

เพื่อปองกันปญหาฝนตกและการควบคุม<br />

ความชื้น<br />

(สมรัตน, 2534)<br />

การหมักทําปุย<br />

สมาคมวิศวกรสิ่งแวดลอมแหงประเทศไทย<br />

(2540) ไดนิยามคําวา การหมักทําปุย<br />

(Composting) คือ กระบวนการทางชีววิทยาซึ่งสารอินทรียในมูลฝอยจะถูกแปรสภาพใหเสถียรหรือ<br />

คงตัวและใชทําปุยได<br />

นอกจากนี้กรมควบคุมมลพิษ<br />

(2544) ยังใหนิยามของการหมักปุยวา<br />

เปน<br />

กระบวนการแปรสภาพของอินทรียวัตถุโดยอาศัยจุลินทรียที่มีอยูในธรรมชาติชวยในการยอยสลาย<br />

ผลสุดทายเปนแรธาตุทีมีลักษณะคงรูป สีคอนขางดํา มีความชื้นเล็กนอย<br />

ไมมีกลิ่นเหม็น<br />

และมี<br />

คุณคาที่สามารถจะใชในการปรับปรุงคุณภาพดินเพื่อใชประโยชนในการเพาะปลูกได<br />

1. กระบวนการหมักทําปุย<br />

1.1 การหมักทําปุยแบบใชออกซิเจน<br />

(Aerobic Decomposition) จุลินทรียจะทํางานโดยใช<br />

ออกซิเจน ผลผลิตจากการยอยสลายจะไดกาซคารบอนไดออกไซดและน้ํา<br />

พรอมทั้งไดธาตุอาหาร<br />

สําหรับพืช ไดแก ไนเตรท ไนไตรท ซัลเฟต และฟอสเฟต ผลผลิตเหลานี้มีความเสถียรสูงและไม<br />

กอใหเกิดกลิ่นเหม็นรุนแรง<br />

จะตองควบคุมใหมีปริมาณออกซิเจนเพียงพอ อุณหภูมิและความชื้น<br />

พอเหมาะ กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นไดอยางรวดเร็ว<br />

เมื่อปฏิกิริยาการยอยสลายเกิดไดดีจะกอใหเกิด<br />

30


ความรอนขึ้นดังสมการที่<br />

(1) อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจนถึง<br />

55 – 60 0 ซ สงผลใหจุลินทรียที่กอใหเกิดโรคถูก<br />

ทําลายไป นอกจากนี้ยังทําใหปฏิกิริยาเกิดขึ้นตอเนื่องไดอยางรวดเร็วยิ่งขึ้น<br />

เนื่องจากมีการทํางาน<br />

ของจุลินทรียชนิดเทอรโมฟลิค (Thermophilic Bacteria)<br />

สารอินทรีย + ออกซิเจน + สารอาหาร ⎯⎯⎯→ จุลินทรีย<br />

เซลลใหม + สารอินทรียที่คงตัว<br />

+ CO2 +<br />

2-<br />

H2O + NH3 + SO4 + ความรอน (1)<br />

1.2 การหมักทําปุยแบบไมใชออกซิเจน<br />

(Anaerobic Digestion) ใหผลผลิตเปนกาซ<br />

คารบอนไดออกไซด มีเทน แอมโมเนีย และไฮโดรเจนซัลไฟด ซึ่งกาซไฮโดรเจนซัลไฟดนี้จะสง<br />

กลิ่นเหม็นรุนแรง<br />

ของแข็งที่ไดจากการหมักชนิดนี้จะไดสารอาหารสําหรับพืชนอยกวาการหมัก<br />

แบบใชออกซิเจน และระยะเวลาในการหมักนานตั้งแต<br />

2 เดือน ถึง 1 ป ผลผลิตที่มีคุณคาจะเปน<br />

กาซชีวภาพที่สามารถใชเปนเชื้อเพลิงได<br />

กาซที่เกิดจากการหมักแบบเทกองกลางแจงจะไมสามารถ<br />

นําไปใชประโยชนได ทั้งยังทําใหเกิดกลิ่นกระจายไปทั่ว<br />

(มัลลิกา, 2544)<br />

2. รูปแบบของการหมักทําปุย<br />

วิธีการทําปุยหมักสามารถแบงไดเปน<br />

2 วิธีใหญๆ คือ วิธีกองบนพื้นหรือในหลุมบอเพื่อให<br />

มูลฝอยใชเวลาในการยอยสลายเองตามธรรมชาติ และการใชเครื่องจักรกลในขบวนการหมัก<br />

ซึ่งจะ<br />

ชวยใหระยะเวลาในการยอยสลายสารอินทรียวัตถุสั้นลงกวาตามธรรมชาติ<br />

เทคโนโลยีที่นิยมใชใน<br />

การหมักมูลฝอยเปนปุย<br />

2 วิธีใหญๆ สามารถแบงเปนวิธียอยๆ ไดดังนี้<br />

(อดิศักดิ์<br />

และคณะ, 2541)<br />

2.1 ระบบวินโรว (Windrow System) เปนการนํามูลฝอยมากองบนพื้นราบใหไดความสูง<br />

พอสมควรที่จะใหการระบายอากาศไดดี<br />

เพื่อใหการยอยสลายเกิดไดดี<br />

อาจชวยการยอยสลาย<br />

สารอินทรียวัตถุโดยพลิกกลับกองเพื่อใหอากาศเขาไดทั่วถึง<br />

เปนการเรงปฏิกิริยาและปองกันสภาวะ<br />

ยอยสลายแบบไมใชออกซิเจนดวย ภาพที่<br />

4 แสดงการหมักแบบวินโรดชนิดตางๆ<br />

2.2 การหมักแบบสเตติก (Static Composting System) เปนวิธีการหมักที่คลายแบบแรก<br />

แตฐานการหมักจะทําในลักษณะใหการระบายอากาศในกองไดทั่วถึง<br />

เชน การใชไมไผเจาะชอง<br />

ระบายอากาศเรียงเปนฐานหรืออาจใชเครื่องอัดอากาศไปตามทอระบายอากาศในกองหมักได<br />

(Aerated Static Pile)<br />

31


ก.<br />

ข.<br />

ค.<br />

1.8-2.7 m.<br />

1-1.8 m.<br />

30 0<br />

2.4-3.6 m.<br />

0.6-0.9 m.<br />

3.6-6.1 m.<br />

ตามความเหมาะสม<br />

ภาพที่<br />

4 การหมักมูลฝอยแบบวินโรว แบบ ก. แบบกองทึบ ข. ทําใหมีชองวางตรงกลางกองไม<br />

ตองพลิกกลับ ค. การกองกรณีมีมูลฝอยนอย<br />

ที่มา:<br />

ปรีดา (2531)<br />

2.3 ราวทริป แพตดิ่ง<br />

เฟอรเมนเตเตอร (Round Trip Paddling Fermentator) มูลฝอยจะถูก<br />

ปลอยจากเครื่องโปรยมูลฝอยสูชั้นหมักในลักษณะแบบเคลื่อนกลับไปกลับมา<br />

มูลฝอยเหลานี้จะยอย<br />

สลายในชั้นหมัก<br />

โดยรับอากาศตลอดเวลาประมาณ 8 วัน แลวนําออกพักที่ลานตากเพื่อใหเกิดการ<br />

ยอยสลายโดยสมบูรณ<br />

1.2-1.8 m.<br />

ตามความเหมาะสม<br />

32


2.4 การหมักแบบไดนามิก (Dynamic Composting System) มูลฝอยที่ยอยสลายไดจะ<br />

เคลื่อนตัวชาๆ<br />

ในถังหมัก (Drum) ที่หมุนตลอดเวลา<br />

ประมาณ 1 ถึง 2 วัน จุลินทรียกอโรคจะตาย<br />

มูลฝอยที่ยอยแลวจะถูกนําออกลานตาก<br />

เพื่อใหยอยสลายโดยสมบูรณตอไป<br />

2.5 การหมักแบบอินเวสเซล (Invessel Composting System) วิธีการหมักนี้คลายกับวิธี<br />

วินโรว (Windrow) และ สเตติก (Static Composting) แตเปนการหมักในภาชนะปดที่มูลฝอยภายใน<br />

มีการเคลื่อนที่ตลอดเวลาจนกระทั่งสิ้นสุดการหมัก<br />

วิธีนี้ดีกวา<br />

2 แบบแรก เพราะสามารถควบคุม<br />

กลิ่นได<br />

ใชสถานที่นอย<br />

ไมอุจาดตา ควบคุมการหมักงายและใชแรงงานนอย<br />

2.6 การหมักแบบทันแนลรีแอกเตอร (Tunnel Reactor Composting System) เปนการหมัก<br />

มูลฝอยในทอหมักโดยเครื่องจักรตาง<br />

ๆ อยูนอกทอหมัก<br />

ทําใหงายตอการซอมแซม การระบาย<br />

อากาศเขาและออกควบคุมได ซึ่งทําใหการหมักมูลฝอยไดผลดี<br />

3. จุลินทรียที่เกี่ยวของในการหมักทําปุย<br />

การหมักทําปุยแบบใชอากาศเปนกระบวนการซึ่งจุลินทรียหลายชนิดมีบทบาทเกี่ยวของ<br />

รวมกัน แตละชนิดของจุลินทรียจะเหมาะสมกับสภาพแวดลอมของแตละชวงเวลาและแตละเชื้อจะ<br />

มีกิจกรรมการยอยสลายในรูปแบบเฉพาะของตัวเอง (ภาวนา, 2528) จากการศึกษาของ Lardinois<br />

et al. (1993) พบวาจุลินทรียในกองหมักมูลฝอยสามารถแบงออกไดเปน 3 จําพวก คือ แบคทีเรียที่<br />

ชอบอุณหภูมิต่ํา<br />

(Psychrophilic Bacteria) แบคทีเรียที่ชอบอุณหภูมิปานกลาง<br />

(Mesophilic<br />

Bacteria) และแบคทีเรียที่ชอบอุณหภูมิสูง<br />

(Thermophilic Bacteria) อุณหภูมิที่เหมาะสมตอการ<br />

เจริญเติบโตของแตละจําพวก ดังแสดงในตารางที่<br />

5<br />

สําหรับความสัมพันธระหวางระดับอุณหภูมิกับการเจริญเติบโตของจุลินทรียในการหมัก<br />

ทําปุย<br />

มีรูปแบบดังภาพที่<br />

5 (Polprasert, 1996)<br />

Chino et al. (1983) รายงานวาในระยะเวลาเรงของการหมักตะกอนน้ําทิ้งเปนปุย<br />

วัสดุหมัก<br />

จะถูกยอยสลายดวยเชื้อราชนิดเมโซฟลิค<br />

(Mesophilic Fungi) และแบคทีเรียที่ใชออกซิเจน<br />

(Aerobic Bacteria) มากกวาพวกแอคติโนมัยซีสชนิดเทอรโมฟลิค (Thermophilic Actinomyces)<br />

และพบวาการออกซิไดซสารอินทรียของจุลินทรียทําใหเกิดความรอนสูงในกองหมัก<br />

33


ตารางที่<br />

5 อุณหภูมิที่เหมาะสมสําหรับการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

(หนวยองศาเซลเซียส)<br />

ประเภทจุลินทรีย พิสัย อุณหภูมิที่เหมาะสม<br />

แบคทีเรียที ่ชอบอุณหภูมิต่ํา<br />

0 ถึง 30 15<br />

แบคทีเรียที ่ชอบอุณหภูมิปานกลาง 20 ถึง 40 32<br />

แบคทีเรียที่ชอบอุณหภูมิสูง 40 ถึง 70 55<br />

ที่มา:<br />

Lardinois et al. (1993)<br />

ภาพที่<br />

5 ความสัมพันธระหวางอุณหภูมิกับการเจริญเติบโตของจุลินทรียในการทําหมักทําปุย<br />

ที่มา:<br />

Polprasert (1996)<br />

สุมิตรา (2532) ไดกลาวถึงจุลินทรียที่เกี่ยวของกับการยอยสลายเซลลูโลสในกองปุยหมักวา<br />

แบงไดเปน 3 พวกใหญ ๆ ดังนี้<br />

3.1 จุลินทรียพวกที่ตองการออกซิเจนและชอบอุณหภูมิปานกลาง<br />

(Aerobic Mesophilic<br />

Microorganisms) มีทั้งแบคทีเรีย<br />

รา แอคติโนไมซีส ซึ่งในแตละกลุมประกอบไปดวยจุลินทรียใน<br />

สกุล (Genus) ตอไปนี้<br />

34


3.1.1 เชื้อรา<br />

ไดแก Aspegillus spp., Chaetomium spp., Curvularia spp., Phoma spp.,<br />

Fuasium spp. เปนตน<br />

3.1.2 แบคทีเรีย ไดแก Cytophage spp., Bacillus spp., Vibrio spp., Pseudomonas<br />

spp., Cellulomonas spp., Sporcyotophage spp. เปนตน<br />

3.1.3 แอคติโนมัยซีส ไดแก Streptomyces spp., Micromonospora spp., Nocardia<br />

spp. จุลินทรียเหลานี<br />

้เจริญไดในชวงอุณหภูมิ 25 – 35 0 ซ<br />

3.2 จุลินทรียพวกที่ไมตองการออกซิเจนและชอบอุณหภูมิปานกลาง<br />

(Anaerobic<br />

Mesophilic Microorganisms) จุลินทรียที่สําคัญในกลุมนี้<br />

ไดแก แบคทีเรีย Genus Clostridium สวน<br />

เชื้อราและ<br />

แอคติโนไมซีสมีความสําคัญนอยมาก เพราะไมสามารถเจริญอยูในสภาพที่ขาด<br />

ออกซิเจนได<br />

3.3 จุลินทรียพวกที่เจริญไดดีในชวงอุณหภูมิ<br />

45 – 65 0 ซ (Thermophilic Microorganisms)<br />

จุลินทรียกลุมนี้มีบทบาทในการยอยสลายที่อุณหภูมิสูง<br />

จุลินทรียที่สําคัญ<br />

ไดแก Clostridium<br />

thermocellum และ Clostridium thermocellulaseum<br />

สําหรับจุลินทรียพวกแฟคคัลเททีฟนั้นสามารถหายใจและทํากิจกรรมการยอยสลายไดทั้ง<br />

ในสภาพที่มีออกซิเจนและไรออกซิเจน<br />

ตราบใดที่ยังคงมีตัวรับอิเล็คตรอน<br />

(Electron Acceptors) อยู<br />

ในกองหมัก (ไพบูลย และคณะ, 2542)<br />

4. ปจจัยสําคัญที่เกี่ยวของกับกระบวนการหมัก<br />

การเกิดปฏิกิริยาของจุลินทรียในการยอยสลายอินทรียวัตถุจะตองมีสภาพแวดลอมที่<br />

เหมาะสมตอกิจกรรมของจุลินทรีย ดังนี้<br />

4.1 ขนาดของวัสดุที่ใชหมัก<br />

JICA (1982) แนะนําวาขนาดของมูลฝอยที่เหมาะสมตอการ<br />

หมัก คือ 0.5 – 1.5 นิ้ว<br />

พัชรี (2529) ไดรายงานขนาดที่เหมาะสมของวัสดุหมักวา<br />

ควรมีขนาด 2.5 –<br />

7.5 ซม. (1 – 3 นิ้ว)<br />

ธงชัย (2535) ไดแนะนําวาหากขนาดของวัสดุหมักมีขนาดใหญเกินไป ภายใน<br />

35


กองจะมีชองวางอยูมาก<br />

กองหมักจะแหงไดงาย ความรอนที่เกิดขึ้นในกองหมักจะกระจัดกระจาย<br />

หายไปอยางรวดเร็ว ทําใหกองหมักไมรอนเทาที่ควร<br />

ดังนั้นควรบดหรือสับใหมีขนาดเล็กลง<br />

ใหสั้น<br />

กวา 5.08 ซม. (2 นิ้ว)<br />

จะทําใหจุลินทรียเจริญเติบโตในชิ้นสวนวัสดุหมักไดทั่วถึง<br />

การแพรกระจาย<br />

ของจุลินทรียก็เปนไปไดอยางรวดเร็ว<br />

4.2 อัตราสวนระหวางคารบอนตอไนโตรเจน (C:N Ratio) Polprasert (1996) กลาววาคา<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนเปนคาที่มีความสําคัญมากที่สุดในชวงของความสมดุลของธาตุ<br />

อาหารในกองหมัก เนื่องจากเปนสิ่งจําเปนตอการเจริญเติบโตของจุลินทรียและเปนตัวกําหนดอัตรา<br />

การยอยสลายในขบวนการหมัก อดิศักดิ์<br />

และคณะ (2541) กําหนดใหอัตราสวนระหวางคารบอน<br />

ตอไนโตรเจนที่เหมาะสมอยูในชวงระหวาง<br />

25 – 35 ตอ 1 และ Gotass (1976) ไดรายงานคาสัดสวน<br />

ระหวางคารบอนตอไนโตนเจนที่เหมาะสมวาควรมีคา<br />

30 ตอ 1 ซึ่งถามีคาสูงกวานี้จุลินทรียจะใช<br />

คารบอนเปนแหลงอาหารอยางรวดเร็วและจําเปนตองใชไนโตรเจนในเวลาเดียวกันดวย ถาหาก<br />

ไนโตรเจนมีนอย จุลินทรียจะเจริญเติบโตไดไมดีและใชเวลาหมักนาน แตถามีไนโตรเจนมาก<br />

เกินไปจะเกิดกลิ่นจากกระบวนการหมักได<br />

เนื่องจากไนโตรเจนจะถูกเปลี่ยนเปนแอมโมเนีย<br />

คาอัตราสวนระหวางคารบอนตอไนโตรเจนจะมีผลตอระยะเวลาการหมัก โดย<br />

Polprasert (1996) กลาวถึงความสัมพันธระหวางระยะเวลาในการยอยสลายมูลฝอยโดยการใช<br />

ออกซิเจนกับคาอัตราสวนระหวางคารบอนตอไนโตรเจน ดังนี้<br />

12 วัน<br />

อัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 20 จะใชระยะเวลาการหมักประมาณ<br />

อัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 20 – 50 จะใชระยะเวลาการหมัก<br />

ประมาณ 14 วัน<br />

21 วัน<br />

อัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 78 จะใชระยะเวลาการหมักประมาณ<br />

Leemaharoungruang (1988) พบวา คาอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจนใน<br />

การศึกษาการหมักมูลฝอยเทศบาลรวมกับสารตัวเรงประเภทจุลินทรีย โดยการเติมอากาศที่<br />

36


เหมาะสม มีคาระหวาง 22 – 30 จะยอยสลายไดมากที่สุด<br />

จากรายงานผลการศึกษา Wangsuphachart<br />

(1979) ในการหมักผักตบชวารวมกับตะกอนอุจจาระ โดยเปนการหมักแบบเปดแบบวินโรด (Open<br />

Windrow) คาอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 30 จะมีอัตราการหมักดีที่สุด<br />

4.3 ความชื้น<br />

(Moisture Content) เปนปจจัยที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

เนื่องจากเปนตัวกลางในการสงผานอาหารและกาซออกซิเจนจากวัสดุหมักและอากาศไปยัง<br />

จุลินทรีย ทั้งยังเปนตัวกลางในการสงผานเอนไซมเขาไปยอยสลายวัสดุหมักดวย<br />

(Tengerdy, 1985)<br />

และความชื้นยังเปนตัวกําหนดปริมาณกาซออกซิเจนในวัสดุหมัก<br />

ถาความชื้นมากปริมาณกาซจะ<br />

ลดลง ทําใหเกิดสภาพไรอากาศได ในทางตรงกันขามถาปริมาณความชื้นต่ําเกินไป<br />

ทําใหมีน้ําไม<br />

เพียงพอจะทําใหไปยับยั้งกิจกรรมของจุลินทรียได<br />

(Gotass, 1976) อดิศักดิ์<br />

และคณะ (2541) กลาว<br />

วาคาความชื้นที่เหมาะสมจะมีคาอยูในชวงรอยละ<br />

40 – 60 JICA (1982) และ Tchobanoglous et al.<br />

(1993) พบวาคาความชื้นที่เหมาะสมตอการหมักมูลฝอยควรอยู<br />

ระหวางรอยละ 50 – 60 ซึ่งใกลเคียง<br />

กับ Polprasert (1996) ที่พบวาคาความชื้นที่เหมาะสมตอกิจกรรมจุลินทรียมากที่สุดอยูในชวง<br />

รอยละ 50 – 70 (เฉลี่ยรอยละ<br />

60) สวน Nishio and Kusano (1980) รายงานวาถาความชื้นต่ํากวา<br />

รอยละ 60 – 70 จะมีผลให lag time ยาวนานขึ้น<br />

4.4 อุณหภูมิ (Temperature) เปนปจจัยที่มีความสําคัญตอกิจกรรมทางชีวภาพของจุลินทรีย<br />

และเปนดัชนีที่ดีในการหมัก<br />

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิกับชวงเวลา<br />

จะเปนตัวชี้นําถึงปฏิกิริยา<br />

ของจุลินทรีย (Gray et al., 1971) Lardinois et al. (1993) กลาววา อุณหภูมิเปนปจจัยสําคัญในการ<br />

เกิดปฏิกิริยาเคมีและชีวเคมี ในกระบวนการเมตาบอลิซึมและอัตราการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมตอกิจกรรมของจุลินทรียอยูระหวาง<br />

50 – 60 0 ซ อุณหภูมิไมควรสูงเกิน 70 0 ซ<br />

และไมควรเกิดตอเนื่องเปนเวลานาน<br />

เพราะจะทําใหจุลินทรียถูกทําลาย พัชรี (2529) แนะนําวา<br />

อุณหภูมิที่เหมาะสมในการหมัก<br />

คือ 55 0 ซ โดยใน 2 – 3 วันแรกควรควบคุมอุณหภูมิใหอยูในชวง<br />

50 – 55 0 ซ หลังจากนั้นใหอยูในชวง<br />

55 – 60 0 ซ<br />

4.5 การเติมอากาศ (Aeration) กระบวนการยอยสลายสารอินทรียคารบอนโดยกิจกรรม<br />

ของจุลินทรียในสภาพที่ตองการอากาศจัดเปนปฏิกิริยาประเภทปฏิกิริยาออกซิเดชั่นทางชีววิทยา<br />

(Biological Oxidation) ปจจัยสําคัญ คือ กาซออกซิเจนซึ่งใชในการรับอิเล็คตรอนที่สงถายมาจาก<br />

ระบบหวงโซการหายใจ (Respiration Chain) ในเซลลของจุลินทรีย ดังนั้น<br />

การระบายอากาศจึง<br />

จําเปนตอการเพิ่มออกซิเจนใหเพียงพอตอกระบวนการยอยสลายสารประกอบอินทรีย<br />

ปริมาณ<br />

37


อากาศที่ตองการในการหมักมูลฝอยแบบใชออกซิเจนนั้น<br />

จะขึ้นอยูกับลักษณะทางกายภาพและเคมี<br />

ของมูลฝอยหรือวัสดุที่นํามาหมัก<br />

ปริมาณออกซิเจนจะตองไมต่ํากวารอยละ<br />

18 (Bertoldi et al.,<br />

1982) Lindratsirikul (1988) ไดศึกษาการหมักผักตบชวาโดยใชสารเรงประเภทจุลินทรียและมีการ<br />

เติมอากาศใหแกกองหมัก พบวาอัตราการเติมอากาศ 0.3 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมงตอกิโลกรัมของ<br />

ของแข็งระเหย จะใหอัตราการสลายตัวของวัสดุหมักเกิดไดสูงสุด Leemaharoungruang (1988)<br />

พบวาอัตราการเติมอากาศที่<br />

0.2 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมงตอกิโลกรัมของของแข็งระเหย<br />

จะเปน<br />

ภาวะที่เหมาะสมตอการยอยสลายของวัสดุหมักไดดีที่สุด<br />

และ องอาจ (2542) ไดศึกษาพบวา การ<br />

เติมอากาศใหแกกองหมักในอัตรา 0.4 ลูกบาศกเมตรตอชั่วโมงตอกิโลกรัมของของแข็งระเหยตอ<br />

วัน มีความเหมาะสมตอการทําปุยหมัก<br />

เนื่องจากจะทําใหการสูญเสียปริมาณไนโตรเจนในอัตราต่ํา<br />

4.6 ระดับความเปนกรดเปนดาง โดยทั่วไปคาที่เหมาะสมจะมีคาระหวาง<br />

6.0 – 7.5<br />

สําหรับแบคทีเรีย และคาระหวาง 5.5 – 8.0 สําหรับเชื้อรา<br />

ในการยอยสลายคาความเปนกรดเปน<br />

ดางจะอยูที่<br />

5.0 – 5.5 และ 8.0- 9.0 ในระยะเมโซฟลิค (Mesophilic) และเทอรโมฟลิค<br />

(Thermophilic) ตามลําดับ (Rabbini et al., 1983)<br />

4.7 หัวเชื้อแบคทีเรีย<br />

Jobson et al. (1973) ไดทดลองเปรียบเทียบการยอยสลายน้ํามันดิบ<br />

ในดิน 5 ชุด คือ 1) ดินชุดควบคุม (ดินที่ไมปนเปอนน้ํามัน)<br />

2) ดินและน้ํามัน<br />

3) ดินผสมน้ํามัน<br />

และหัวเชื้อแบคทีเรีย<br />

4) ดินผสมน้ํามัน<br />

และปุย<br />

และ 5) ดินผสมน้ํามัน<br />

หัวเชื้อแบคทีเรีย<br />

และปุย<br />

จากการทดลองพบวา ตัวอยางที่<br />

4) และ 5) ใหผลใกลเคียงกัน คือ มีการเพิ่มจํานวนจุลินทรีย<br />

และ<br />

อัตราการยอยสลายไฮโดรคารบอนอิ่มตัวเร็วกวาตัวอยางอื่นๆ<br />

Westlake et al. (1978) ไดทําการ<br />

ทดลองเชนเดียวกับ Jobson et al. (1973) แตเปลี่ยนไปทําในภาคสนาม<br />

โดยทําการทดลองเปน<br />

ระยะเวลา 3 ป พบวา ตัวอยางที่เติมปุยและหัวเชื้อแบคทีเรียใหผลใกลเคียงกัน<br />

และดีกวาตัวอยางอื่น<br />

Vecchioli et al. (1990) ศึกษาผลการเติมหัวเชื้อผสมเพื่อการเรงอัตราการยอยสลายอะโรมาติก<br />

ไฮโดรคารบอนที่ปนเปอนในดิน<br />

โดยใชสัดสวนของน้ํามันดิบเทากับรอยละ<br />

10 โดยน้ําหนัก<br />

การ<br />

ทดลองนี้ทําในขวดรูปชมพู<br />

ควบคุมความชื้นไวที่รอยละ<br />

50 จากผลการทดลองพบวา หลังจาก 1<br />

เดือน ตัวอยางที่เติมปุยแตไมมีการเติมหัวเชื้อ<br />

ปริมาณไฮโดรคารบอนลดลงไปรอยละ 43 แต<br />

ตัวอยางที่มีการเติมหัวเชื้อปริมาณไฮโดรคารบอนลดลงรอยละ<br />

65 Morgan et al. (1991) ไดทดลอง<br />

เกี่ยวกับผลของธาตุอาหารตอการยอยสลายน้ํามันดิบ<br />

และน้ํามันหลอลื่นที่ปนเปอนในดิน<br />

พบวาดิน<br />

ที่เติมธาตุอาหารมีอัตราการยอยสลายดีกวาที่ไมเติม<br />

แตที่ความเขมขนของธาตุอาหารสูง<br />

ๆ อัตราการ<br />

ยอยสลายของธาตุอาหารจะลดลง และ Prado-Jartar and Orrea (1993) ทดลองหาสภาวะที่<br />

38


เหมาะสมในการบําบัดน้ํามันในกากตะกอนจุลินทรีย<br />

(Sludge) โดยวิธีกองดิน (Landfarming) พบวา<br />

กองดินที่มีการทํางานรวมกับการเติมอากาศ<br />

การพนน้ํารักษาความชื้น<br />

และการเติมปุย<br />

จะมีผลทําให<br />

จุลินทรียเพิ่มจํานวนและยอยสลายน้ํามันไดเร็วขึ้น<br />

แนวคิดในการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันโดยวิธีการยอยสลายทางชีวภาพ<br />

Atlas (1991) รายงานวา ไฮโดรคารบอนที่เปนองคประกอบในน้ํามันดิบสวนใหญ<br />

ไดแก<br />

อะลิฟาติคไฮโดรคารบอน อะโรมาติกไฮโดรคารบอนถูกยอยสลายไดดวยจุลินทรียที่มีอยูใน<br />

ธรรมชาติ เมื่ออยูในภาวะที่มีออกซิเจนในปริมาณที่เพียงพอ<br />

จากขอมูลงานวิจัยที่ศึกษาเกี่ยวกับการ<br />

เจริญและประสิทธิภาพในการยอยสลายไฮโดรคารบอนของจุลินทรียที่คัดแยกไดแสดงใหเห็นวา<br />

จุลินทรียที่คัดแยกมาจากบริเวณที่มีการปนเปอนน้ํามันสวนใหญจะมีความสามารถในการเจริญได<br />

ในไฮโดรคารบอน (Buckley et al., 1976) และพบวาปริมาณน้ํามันที่ปนเปอนอยูในดินจะลดลง<br />

ประมาณรอยละ 49 – 90 ดวยการยอยสลายทางชีวภาพ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับชนิดของดินและน้ํามัน<br />

นอกจากนั้นยังพบวาจุลินทรียที่ใชไฮโดรคารบอนเปนแหลงคารบอนและแหลงพลังงานสําหรับการ<br />

เจริญ สามารถเพิ่มจํานวนไดในดินที่มีการปนเปอนน้ํามันดวย<br />

(Raymond, 1976 b)<br />

พงษสิทธิ์<br />

(2546) ไดศึกษาการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นผานกระบวนการหมักทํา<br />

ปุยโดยใชมูลสุกรเปนวัสดุรวมในการหมัก<br />

ซึ่งมีรอยละของการปนเปอนเทากับ<br />

3.5 และ 7.0 โดย<br />

น้ําหนักแหง<br />

ที่รอยละการปนเปอนเทากับ<br />

3.5 นั้น<br />

มีการศึกษาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนที่<br />

แตกตางกัน คือ 20 ตอ 1, 30 ตอ 1 และ 40 ตอ 1 พบวาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 30<br />

ตอ 1 สามารถบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นไดสูงสุด<br />

เทากับ รอยละ 60.23 รองลงมา คือ<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 20 ตอ 1 และ 40 ตอ 1 สามารถบําบัดดินปนเปอน<br />

น้ํามันหลอลื่นไดเทากับ<br />

รอยละ 52.09 และ รอยละ 25.02 ตามลําดับ และที่รอยละของการ<br />

ปนเปอน<br />

เทากับ 7.0 โดยน้ําหนักแหง<br />

มีประสิทธิภาพในการบําบัด เทากับ รอยละ 41.53 ที่<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 30 ตอ 1 นอกจากนี้ยังศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพในการ<br />

บําบัดโดยการเติมเชื้อเรงที่ไดจากวัสดุที่ผานการหมักของกองหมักที่อัตราสวนคารบอนตอ<br />

ไนโตรเจน เทากับ 30 ตอ 1 เพื่อบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่ความเขมขนรอยละ<br />

7.0 โดย<br />

น้ําหนักแหง<br />

ซึ่งมีสัดสวนการเติมเชื้อเรงเทากับ<br />

รอยละ 20 รอยละ 10 และ รอยละ 0 พบวา ที่<br />

สัดสวนการเติมเชื้อเรง<br />

รอยละ 20 และ รอยละ 10 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพในการบําบัดจากกอง<br />

หมักที่ไมไดเติมเชื้อเรงอีกเทากับ<br />

รอยละ 19.47 และ รอยละ 10.33 ตามลําดับ<br />

39


Namkoong et al. (2002) ไดศึกษาการยอยสลายดินที่ปนเปอนน้ํามันดีเซลรวมกับการหมัก<br />

ซึ่งศึกษาถึงการเพิ่มประสิทธิภาพของการยอยสลายน้ํามันดีเซลในชวงระหวางการหมัก<br />

โดยมีการ<br />

เติมสารอินทรียเปนวัสดุรวม มีอัตราสวนของดินปนเปอนน้ํามันกับสารอินทรียที่เปนวัสดุรวม<br />

ตางกัน ดังนี้<br />

1 ตอ 0.1, 1 ตอ 0.3, 1 ตอ 0.5 และ 1 ตอ 1 โดยน้ําหนักเปยก<br />

พบวาที่อัตราสวน<br />

1 ตอ<br />

0.5 มีอัตราการยอยสลายดีสุด<br />

Huesemann et al. (1993) ศึกษาในหองปฏิบัติการเปนเวลา 16 สัปดาห โดยทําการประเมิน<br />

ความสามารถในการบําบัดกากตะกอนปนเปอนน้ํามันจากสวนของระบบแยกน้ํามันแบบเอพีไอ<br />

(API oil separator) โดยเนนไปที่การบําบัดสารประกอบ<br />

Polynuclear aromatic compound (PNA)<br />

ใหเปนไปตามรายละเอียดของกฎขอบังคับของ Best Demonstrated Available Technology<br />

(BDAT)โดยทําการบําบัดในถังหมักที่แตกตางกัน<br />

3 แบบ คือ 1) Bio aerated slurry reactor 2)<br />

Biotic oxygen-sparged reactor 3) Nitrogen-sparged reactor (control) โดยเติมสารอาหาร NH4NO3 KH2PO4 และ K2HPO4 ผลการทดลองที่ได<br />

คือ ใน 4 สัปดาหแรกในถังหมักที่<br />

1 และ 2 สามารถยอย<br />

สลายแนฟทาลีน (Naphthalene) แอนทราซีน (Anthracene) และเบนโซไพรีน(Benzo(a)pyrene)<br />

ไดอยางสมบูรณและไมพบไชซีน (Chrysene) ภายใน 4 สัปดาหในถังหมักที่<br />

1 และใน 16 สัปดาห<br />

ในถังหมักที่<br />

2 ไพรีน (Pyrene) จะยอยสลายไดเพียงรอยละ 30 ในถังหมักที่<br />

1 และไมมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงความเขมขนอยางมีนัยสําคัญในถังหมักที่<br />

2 สวนถังหมักที่<br />

3 ไมมีการเปลี่ยนแปลง<br />

ความเขมขนอยางมีนัยสําคัญของแนฟทาลีน แอนทราซีน และ เบนโซไพรีน ยังคงคงที่ในชวง<br />

ระยะเวลา 2 – 4 สัปดาหแรก และตอมาในระยะสุดทายของการทดลองจะมีการเปลี่ยนแปลงใน<br />

ระดับที่ต่ํากวา<br />

5 มก./กก. ซึ่งการสูญเสียของสารประกอบเหลานี้ยังไมมีความชัดเจน<br />

ทั้งนี้อาจจะ<br />

เนื่องมาจากการหลุดลอด<br />

(Stripping) การดูดซับที่คืนสภาพไมได<br />

(Irreversible sorption) หรือเกิด<br />

จากขบวนการยอยสลายแบบใชออกซิเจนหรือการไมใชออกซิเจน<br />

Towprayoon and Kuntrangwattana (1997) ศึกษาไบโอรีมิดิเอชั่นเพื่อบําบัดน้ําเสียและดิน<br />

ที่ไดรับการปนเปอนจากน้ํามันหลอลื<br />

่น พบวาน้ําเสียที่ปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

สามารถเกิดการ<br />

บําบัดไดดวยตัวเอง (Self- Remediation) ไดในระยะเวลา 60 วัน โดยนอรมัลอัลเคน และ<br />

Unresolved Complex Mixture (UCM) ลดลงรอยละ 50 และรอยละ 40 ตามลําดับ การเติม<br />

ไนโตรเจนและหัวเชื้อลงไปมีผลใหเกิดการเรงการยอยสลาย<br />

นอรมัลอัลเคนเปนสวนใหญประมาณ<br />

รอยละ 70 และสามารถลดระยะเวลาการยอยสลายโดยใชระยะเวลาในการยอยสลายสั้นลงกวาเดิม<br />

คือ ลดลงมากกวารอยละ 50 ของระยะเวลาเดิมที่ใช<br />

40


กฤตินี (2539) ศึกษาการยอยสลายทางชีวภาพของน้ํามันดิบปนเปอนในดินโดยวิธี<br />

ไบโอรีมิดิเอชั่นแบบกองดิน<br />

โดยศึกษาถึงความเขมขนของน้ํามันที่รอยละ<br />

2 4 และ 8 ตอน้ําหนัก<br />

ดินแหง ศึกษาความเหมาะสมของธาตุอาหารที่เติม<br />

4 ชนิด คือ (NH4) 2SO4 (NH4) 2SO4 รวมกับ<br />

NaH2PO4 NaH2PO4 และปุยอินทรีย<br />

และศึกษาผลของการเติมหัวเชื้อ<br />

3 แบบ คือ หัวเชื้อบริสุทธิ์<br />

หัวเชื้อผสม<br />

และหัวเชื้อบริสุทธิ์รวมกับหัวเชื้อผสมในอัตราสวนที่เทากัน<br />

พบวาความเขมขนของ<br />

น้ํามันที่เหมาะสม<br />

คือ รอยละ 2 และการเติม (NH4) 2SO4 ในดินชายฝงแมน้ํา<br />

และการเติม (NH4) 2SO4 ในดินปาชายเลนจะชวยใหการเจริญเติบโตของจุลินทรียไดดี สวนการศึกษาผลของการเติมหัวเชื้อ<br />

3 แบบ พบวารอยละของการลดลงของนอรมัลอัลเคนจะใกลเคียงกันมาก<br />

การเติมเชื้อจุลินทรีย<br />

(Seeding) เปนการเพิ่มจํานวนจุลินทรียที่ยอยสลายน้ํามันใหมากขึ้น<br />

เปนการชวยเรงกระบวนการที่มีอยูในธรรมชาติใหเร็วขึ้นไดอีกวิธีหนึ่ง<br />

โดยเชื้อที่เติมควรจะเปน<br />

จุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการยอยสลายองคประกอบที่มีอยูในน้ํามันไดเกือบทั้งหมด<br />

มีลักษณะ<br />

ทางพันธุกรรมคงที่<br />

(Genetic Stability) การเจริญเติบโตไดเร็ว สามารถคงอยูในระบบและทนตอ<br />

ภาวะแวดลอมไดดี มีระบบเอนไซมที่มีประสิทธิภาพ<br />

สามารถที่จะแขงขันกับจุลินทรียทองถิ่นไดดี<br />

ไมเปนเชื้อกอโรค<br />

(Nonpathogenicity) รวมทั้งไมผลิตสารที่เปนพิษดวย<br />

โดยการเติมเชื้อสวนใหญ<br />

ในธรรมชาติจะใชเชื้อจุลินทรียผสม<br />

เนื่องจากเชื้อเหลานี้จะมีประสิทธิภาพในการยอยสลาย<br />

ไฮโดรคารบอนในสิ่งแวดลอมไดอยางสมบูรณ<br />

(Leathy and Colwell, 1990) ความสามารถของ<br />

เอนไซมของประชากรจุลินทรียที่เติมลงไปในการยอยสลายไฮโดรคารบอนปนเปอน<br />

การควบคุม<br />

ปจจัยภายนอกที่มีผลตอการยอยสลาย<br />

ปริมาณของออกซิเจน รวมถึงปริมาณสารอาหารที่มีอยู<br />

ซึ่ง<br />

ลวนแตมีสวนชวยเพิ่มอัตราการยอยสลายไฮโดรคารบอนที่ปนเปอนในสิ่งแวดลอมทั้งสิ้น<br />

(Korda<br />

et al., 1997) Vecchioil et al. (1990) ไดทําการศึกษาและพบวาผลของการเติมหัวเชื้อผสมเพื่อการ<br />

เรงอัตราการยอยสลายอะโรมาติกไฮโดรคารบอนที่ปนเปอนในดิน<br />

โดยใชอัตราสวนน้ํามันตอดิน<br />

เทากับ รอยละ 10 โดยน้ําหนัก<br />

โดยควบคุมความชื้นไวที่รอยละ<br />

50 จากผลการทดลองพบวา<br />

หลังจาก 1 เดือน ตัวอยางที่เติมปุยแตไมมีการเติมหัวเชื้อ<br />

ปริมาณไฮโดรคารบอนลดลงไปรอยละ<br />

43 แตตัวอยางที่มีการเติมหัวเชื้อปริมาณไฮโดรคารบอนลดลงรอยละ<br />

65<br />

Debbie and Bartha (1979) ไดทําการทดลองเพื่อศึกษาหาสภาวะที่เหมาะสมในการยอย<br />

สลายน้ํามันแบบกองดิน<br />

(Biofarming) โดยทําการศึกษาผลของความชื้น<br />

ความเปนกรดเปนดาง<br />

อุณหภูมิ ปริมาณอินทรียสาร ความถี่ในการเติมน้ํามันและ<br />

Micronutrients ตอการยอยสลายน้ ํามัน<br />

พบวา ความชื้นที่เหมาะสมอยูในชวงรอยละ<br />

30 – 90 ชวงความเปนกรดเปนดาง 7.5 – 7.8 คา<br />

41


อัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน และ อัตราสวนของคารบอนตอฟอสฟอรัส เทากับ 60 ตอ 1<br />

และ 800 ตอ 1 ตามลําดับ และควรบมที่อุณหภูมิ<br />

20 0 ซ ขึ้นไป<br />

สวนปริมาณอินทรียสารและ<br />

Micronutrients มีผลนอยมาก สําหรับการยอยสลายไฮโดรคารบอนอิ่มตัวจะสูงสุดที่อัตราสวนของ<br />

น้ํามันต่ําสุด<br />

(รอยละ 1 โดยน้ําหนัก)<br />

แตเมื่อเติมน้ํามันในอัตราที่สูงขึ้น<br />

การยอยสลายอะโรมาติก<br />

ไฮโดรคารบอน และแอสฟลติก (Asphatic) ดีขึ้น<br />

ซึ่งสัดสวนน้ํามันในดินประมาณรอยละ<br />

5 อัตรา<br />

การยอยสลายไฮโดรคารบอนทั้ง<br />

3 ชนิด ใหผลใกลเคียงกัน<br />

Towprayoon and Kandjanapa (1998) ศึกษาการยอยสลายแบบการบําบัดดวยตัวเอง (Selfremediation)<br />

และไบโอรีมิดิเอชั่นของดินปาชายเลนที่ปนเปอนน้ํามันดิบ<br />

โดยทําเปนระบบกองดิน<br />

(Biofarming) ศึกษาความเปลี่ยนแปลงที่ความเขมขนของน้ํามันและไนโตรเจนที่ระดับตางๆ<br />

กัน<br />

และการทดลองใชจุลินทรียภายในบริเวณที่ทําการศึกษาที่มีความบริสุทธิ์มาบําบัด<br />

พบวาเมื่อเพิ่ม<br />

ปริมาณไนโตรเจนจะมีผลใหการยอยสลายเพิ่มขึ้นรอยละ<br />

30 และรอยละ 35 ในดินชายฝง<br />

(Alluvial<br />

Soil) และ ดินบริเวณปาโกงกาง (Mangrove Soil) ตามลําดับ และพบวาที่ระดับการปนเปอนเทาๆ<br />

กัน ดินชายฝงมีการลดลงของไฮโดรคารบอนมากกวาในดินบริเวณปาโกงกาง<br />

จันทนา (2543) ศึกษาการยอยสลายกากตะกอนปนเปอนน้ํามันเก็บมาจากหนวยแยก<br />

ตะกอนโดยการเติมออกซิเจน (Dissolved Air Flotation) ในระบบบําบัดน้ําเสียของโรงกลั่น<br />

น้ํามันดิบรวมกับกากตะกอนชีวภาพโดยวิธีใหอากาศ<br />

พบวาโครงสรางไฮโดรคารบอนของตะกอน<br />

ปนเปอนน้ํามันมีความสมบูรณมากกวากากตะกอนชีวภาพ<br />

การเจริญของเชื้อจุลินทรียยอยน้ํามัน<br />

และการลดลงของไฮโดรคารบอนทั้งหมดเกิดขึ้นไดดีที่สุดที่ความเขมขนน้ํามันรอยละ<br />

5 และเมื่อ<br />

ปรับคาอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจน โดยเติม (NH4) 2SO4 ลงไป พบวาที่อัตราสวนของ<br />

คารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 10 ตอ 1 เกิดการยอยสลายเพิ่มขึ้น<br />

โดยไนโตรเจนที่เพิ่มขึ้นจะ<br />

กระตุนการเจริญเติบโตของจุลินทรียยอยน้ํามันใหมีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น<br />

และบอกถึงแนวโนม<br />

ของการนําไปเปนปุยวามีขอจํากัด<br />

คือ ปริมาณอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจนที่เหมาะสมตอ<br />

การยอยสลายไมสอดคลองกับคาอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจนของปุยหมัก<br />

ดังนั้นหากตอง<br />

ทําเปนปุยหมักควรจะเลือกใชอัตราสวนของคารบอนตอไนโตรเจนที่สูงขึ้น<br />

Brown et al. (1983)<br />

ศึกษาผลของธาตุอาหาร อัตราการใสของตะกอน และการยอยสลายโดยธรรมชาติของตะกอน<br />

ปนเปอนน้ํามัน<br />

พบวาการยอยโดยธรรมชาติของตะกอนปนเปอนน้ํามันจะสูงสุดเมื่ออัตราสวนของ<br />

คารบอนตอไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม (C:NPK) เทากับ 124 ตอ 1 และคา<br />

42


คารบอนไดออกไซดจากการยอยสลายกากตะกอนน้ํามันจะเพิ่มขึ้นเมื่อเพิ่มอัตราของตะกอน<br />

แต<br />

อาจจะถูกยอยนอยลง ถาเพิ่มอัตราของตะกอนมากเกินไป<br />

Omar et al. (1990) ศึกษาการยอยตะกอนปนเปอนน้ํามัน<br />

(Oily Sludge) จากบอแยก<br />

ตะกอน (Flotation unit) โดยใชจุลินทรียที่อยูในรูปอิสระ<br />

(Free Microorganisms) และตรึงเซลล<br />

(Immobilized Microorganisms) ที่ความเขมขนของไฮโดรคารบอนรอยละ<br />

1, 3.3, 5 และ 8 พบวา<br />

ในตะกอนปนเปอนน้ํามันที่มีปริมาณสารไฮโดรคารบอนปนเปอนอยูรอยละ<br />

3.3 จุลินทรียในรูป<br />

อิสระตองใชเวลา 7 – 8 สัปดาห ในการยอยสลายสารไฮโดรคารบอนใหไดรอยละ 30 ในขณะที่<br />

จุลินทรียในรูปตรึงเซลลใชเวลาเพียง 3 – 4 สัปดาห<br />

ไฟโตรีมิดิเอชั่น<br />

ไฟโตรีมิดิเอชั่น<br />

(Phytoremediation ) เปนการใชระบบรากพืชสําหรับการบําบัดดินภายใน<br />

พื้นที่ที่มีการปนเปอน<br />

กลไกการบําบัดประกอบดวย 2 สวน คือ ประการแรกเปนการเพิ่ม<br />

ประสิทธิภาพของการยอยสลายทางชีวภาพ (Bioremediation) ภายในพื้นที่<br />

ตลอดจนการเพิ่มอัตรา<br />

การออกซิเดชั่นและการกระตุนแบคทีเรียที่ใชสารอาหารประเภทคารบอนเปนแหลงอาหาร<br />

และ<br />

ประการที่สองเปนการดูดซับสารปนเปอนโดยรากพืช<br />

ซึ่งเรียกกระบวนการนี้วา<br />

การสกัดโดยพืช<br />

(Phytoextraction) ขอบเขตการบําบัดในแนวดิ่งถูกจํากัดดวยความลึกของระบบรากพืช<br />

บริเวณ<br />

รอบๆ รากพืชที่ใชในการบําบัด<br />

เรียกวา ไรโซสเฟยร (Rhizosphere) ภายในบริเวณนี้กิจกรรมการ<br />

ทํางานของแบคทีเรียจะถูกกระตุนโดยสารอาหารประเภทคารบอนที่สะสมอยูบริเวณรากพืช<br />

(Wong<br />

et al., 1997)<br />

Boulding and Ginn (2004) กลาววา ไฟโตรีมิดิเอชั่น<br />

เปนการนําพืชมาใชเพื่อการเปลี่ยนรูป<br />

การยอยสลาย หรือการสกัดสารปนเปนในบริเวณใตผิวดิน<br />

ในปจจุบันมีอยูหลายเทคนิคที่มักกลาว<br />

วาเปนการบําบัดโดยระบบไฟโตรีมิดิเอชั่น<br />

แตกลไกการทํางานเพื่อจะใหบรรลุผลสําเร็จสําหรับ<br />

การกําจัดสารปนเปอนหรือการลดความเสี่ยง<br />

อาจจะแตกตางกันออกไป โดยทั่วไปแลว<br />

ไฟโตรี<br />

มิดิเอชั่นหมายถึง<br />

การใชเทคนิคเพื่อการบําบัดทางสิ่งแวดลอมโดยใชพืชเปนพื้นฐานสําหรับการ<br />

บําบัด<br />

43


การนําระบบไฟโตรีมิดิเอชั่นมาใชนั้น<br />

สามารถถูกแบงประเภทโดยขึ้นอยูกับลักษณะของ<br />

สารปนเปอน<br />

เชน การสกัด (Extraction) การยอยสลาย (Degradation) หรือขึ้นอยูกับกลไกที่<br />

เกี่ยวของ<br />

เชน การระเหย (Volatilization) การเปลี่ยนรูป<br />

(Transformation) หรือ การกลายเปนไอ<br />

(Transpiration) สารปนเปอนซึ่งถูกนํามาพิจารณาเพื่อการบําบัดแบบไฟโตรีมิดิเอชั่น<br />

ไดแก<br />

โพลีไซคลิก อะโรมาติก ไฮโดรคารบอน (Polycyclic Aromatic Hydrocarbon; PHAs)<br />

สารประกอบอินทรีย ตัวทําละลายคลอริเนตเต็ด (Chlorinated Solvent) โลหะหนัก สาร<br />

กัมมันตภาพรังสี ยาฆาแมลง ฟนอล โพลีคลอริเนตเต็ดไบฟนิล (Polychlorinated biphenyls; PCBs)<br />

กลไกของระบบไฟโตรีมิดิเอชั่นจะประกอบดวย<br />

การสกัดโดยพืช (Phytoextraction) การกรองโดย<br />

ราก (Rhizofiltration) การทําใหเสถียรโดยพืช (Phytostabilization) การยอยสลายโดยราก<br />

(Rhizodegradation) การยอยสลายโดยพืช (Phytodegradation) และการระเหยโดยพืช<br />

(Phytovolatilization)<br />

การสกัดโดยพืช (Phytoextraction) ซึ่ง<br />

U.S. EPA (2000) กลาววา การสกัดโดยพืช หรือที่<br />

เรียกอีกอยางวา การสะสมโดยพืช (Phytoaccumulation) คือ การดูดซับและยายตําแหนงของสาร<br />

ปนเปอนในดินโดยรากพืชไปสูสวนอื่นๆ<br />

ของพืชที่โผลพนดินขึ้นมา<br />

ดังภาพที่<br />

6 พืชที่ใชในการ<br />

บําบัด เรียกวา ไฮเปอรแอคคูมูเลเตอร (Hyperaccumulators) นอกจากนี้<br />

Boulding and Ginn (2004)<br />

ยังกลาววา พืชจะสะสมสารปนเปอนในรากและใบของพืชนั้น<br />

สารปนเปอนที่สะสมในพืชนั้นจะ<br />

ถูกกําจัดออกในชวงการเก็บเกี่ยวพืชบางสวนที่โผลพนดินขึ้นมา<br />

ขอดีของวิธีนี้<br />

คือ มีการ<br />

สิ้นเปลืองวัสดุนอยกวาเมื่อเปรียบเทียบกับวิธีสกัดแบบอื่น<br />

หรือ การใชวัสดุตัวกลาง เทคนิคนี้<br />

สวนมากมักนําไปกับดินที่ปนเปอนโลหะหนัก<br />

การกรองโดยราก (Rhizofiltration) คือ การดูดซับหรือการตกตะกอนบนรากพืช หรือการ<br />

ดูดซึมสารปนเปอนที่อยูในรูปสารละลายเขาไปในรากพืช<br />

การกรองโดยรากคลายกับการสกัดโดย<br />

พืช แตแตกตางกันที่การกรองโดยรากนั้น<br />

พืชดูดซึมสารปนเปอนที่ปนเปอนในน้ําใตดินเปนหลัก<br />

มากกวาในดิน (วิชนันท, 2545) การกรองโดยรากจะเกิดขึ้นเมื่อสารปนเปอนในน้ํารอบๆ<br />

บริเวณ<br />

รากถูกดูดซับเขาไปในรากหรือตกตะกอนบนรากพืช เนื่องจากกระบวนการไบโอติก<br />

(Biotic) หรือ<br />

อไบโอติก (Abiotic) ซึ่งจากการดูดซับนั้นสารปนเปอนอาจจะอยูตามสวนตางๆ<br />

ของพืช การกรอง<br />

โดยพืชเปนการบําบัดแบบการจํากัดขอบเขตของสารปนเปอนโดยสารปนเปอนนั้นจะถูกตรึงหรือ<br />

สะสมบนรากหรือภายในตนพืช โดยตามธรรมชาติหากมีการตัดหรือการกําจัดตนพืช สาร<br />

ปนเปอนที่สะสมอยูในตนพืชนั้นก็จะถูกกําจัดไปดวย<br />

สารปนเปอนที่มักใชวิธีนี้ในการกําจัด<br />

เชน<br />

44


โลหะหนัก (สังกะสี นิกเกิล ทองแดง แคดเมียม และตะกั่ว)<br />

และสารกัมมันตภาพรังสี (ซีเซียม<br />

สตรอนเทียม และยูเรเนียม)<br />

ภาพที่<br />

6 การบําบัดดินโดยวิธีการสกัดโดยพืช (Phytoextraction)<br />

ที่มา:<br />

Cunningham et al. (1995)<br />

การยอยสลายโดยพืช (Phytodegradation) เปนการทําลายสารปนเปอนโดยการนําไปใช<br />

ของพืชรวมถึงกระบวนการเผาผลาญภายในตนพืช ดังภาพที่<br />

7 นอกจากนี้เอนไซมที่ผลิตโดยพืช<br />

อาจจะทําลายสารปนเปอนที่เปนเปาหมาย<br />

กลไกหลักของวิธีนี้<br />

คือ การดูดซับโดยพืช และการเผา<br />

ผลาญ (Metabolism) การยอยสลายโดยพืชจะเหมาะสมอยางมากสําหรับดินที่มีพื้นที่การปนเปอน<br />

มากและการปนเปอนไมลึกมาก<br />

สารประกอบที่นิยมใชวิธีการนี้บําบัด<br />

เชน ตัวทําละลาย<br />

คลอริเนตเต็ด ยาฆาวัชพืช ยาฆาแมลง และฟนอล<br />

การทําใหเสถียรโดยพืช (Phytostabilization) ถูกนํามาใชในการบําบัดดิน ตะกอน และ<br />

สลัดจ โดยสารปนเปอนที่อยูในดินนั้นจะเกิดการดูดซับบนราก<br />

หรือการตกตะกอนของสาร<br />

ปนเปอนภายในบริเวณรากของพืช<br />

ดังภาพที่<br />

8 ปฏิกิริยาทางเคมีและจุลชีววิทยาที่เกิดบริเวณราก<br />

เปนสิ่งที่สําคัญสําหรับการทําใหเสถียรโดยพืชเพื่อบําบัดโลหะหนัก<br />

(สารหนู แคดเมียม โครเมียม<br />

ทองแดง ปรอท ตะกั่ว<br />

และสังกะสี) ขอเสียของการบําบัดแบบนี้<br />

คือ สารปนเปอนที่ยังคง<br />

45


หลงเหลืออยูภายในบริเวณนั้นไมสามารถจะกําจัดไดโดยตรง<br />

วิธีนี้อาจจะตองการระยะเวลานาน<br />

สําหรับการตรวจติดตามและการดูแลบํารุงรักษา เพื่อปองกันสารปนเปอนที่อาจจะปลดปลอย<br />

ออกมาซึ่งเปนสิ่งที่ไมตองการใหเกิดขึ้นกับสิ่งแวดลอมในอนาคต<br />

ภาพที่<br />

7 การบําบัดดินโดยวิธีการยอยสลายโดยพืช (Phytodegradation)<br />

ที่มา:<br />

Cunningham et al. (1995)<br />

ภาพที่<br />

8 การบําบัดดินโดยวิธีการทําใหเสถียรโดยพืช (Phytostabilization)<br />

ที่มา:<br />

Cunningham et al. (1995)<br />

46


การยอยสลายโดยราก (Rhizodegradation) เปนการเปลี่ยนรูปที่แทจริงของสารปนเปอน<br />

เพื่อทําลายผลิตภัณฑอันเนื่องมาจากกิจกรรมของจุลินทรียภายในบริเวณราก<br />

บอยครั้งที่ใชศัพทวา<br />

การยอยสลายบริเวณราก (Root-zone biodegradation) ที่ซึ่งรากจะผลิตบางสิ่งออกมา<br />

สิ่งที่ผลิต<br />

ออกมานี้<br />

ไดแก น้ําตาล<br />

กรดอะมิโน กรดอินทรีย กรดไขมัน เอนไซม และสารประกอบอื่นๆ<br />

ขอดีของการยอยสลายโดยราก คือ สารปนเปอนจะถูกยอยหรือเปลี่ยนรูปภายในพื้นที่ที่ปนเปอน<br />

นอกจากนี้กระบวนการเปลี<br />

่ยนรูปสารอินทรียเปนสารอนินทรีย (Mineralization) จะทําใหสาร<br />

ปนเปอนเปลี่ยนรูปเปนคารบอนไดออกไซดและน้ํา<br />

ซึ่งเปนผลิตภัณฑสุดทาย<br />

อยางไรก็ตามการ<br />

ติดตั้งบริเวณรากใหแผขยายออกไปอาจจะตองอาศัยเวลา<br />

และบริเวณรากอาจจะถูกจํากัดเนื่องจาก<br />

ความชื้นของดิน<br />

สวนขอเสีย คือ สิ่งที่รากปลดปลอยออกมานั้นอาจจะไปสงเสริมการเจริญเติบโต<br />

ของประชากรจุลชีพซึ่งไมมีความสามารถในการยอยสลายสารประกอบที่เปนเปาหมาย<br />

นอกจากนี้<br />

จุลชีพเหลานี้อาจจะไปแยงสารอาหารของพืชดวย<br />

สารประกอบที่มีการปนเป<br />

อนแผเปนบริเวณ<br />

กวางนิยมใชวิธีนี้ในการกําจัด<br />

ซึ่งสารประกอบนั้น<br />

ไดแก ปโตรเลียมไฮโดรคารบอน (Petroleum<br />

Hydrocarbon) โพลีไซคลิกอะโรมาติกไฮโดรคารบอน, เบนซีน, โทลูอีน, เอทธิลเบนซีน, ไซลีน<br />

และตัวทําละลายคลอริเนตเต็ด<br />

47


1. อุปกรณที่ใชกระบวนการหมัก<br />

ประกอบดวย<br />

อุปกรณและวิธีการ<br />

อุปกรณ<br />

1.1 มูลสุกร ซึ่งนํามาจากภาควิชาสัตวบาล<br />

คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

1.2 ขุยมะพราว<br />

1.3 เครื่องเติมอากาศ<br />

ขนาด 63 วัตต<br />

1.4 ทอ PVC ขนาดเสนผานศูนยกลาง 1 นิ้ว<br />

เจาะรูขนาด 0.5 ซม. ทุก 2.5 ซม. เจาะ 4 ดาน<br />

1.5 เครื่องวัดความเร็วลม<br />

ในหนวยเมตรตอวินาที<br />

1.6 วาลวปรับปริมาณลม (Ball valve)<br />

1.7 ถังหมักขนาด 200 ลิตร จํานวน 5 ใบ โดยมีการตอทอเติมอากาศดานลางถัง ซึ่งมี<br />

รายละเอียดแสดงดังภาพที่<br />

9 และ 10<br />

2. อุปกรณที่ใชสําหรับทดลองการงอกของเมล็ด<br />

(Germination Test)<br />

2.1 เมล็ดมะเขือเทศ, เมล็ดผักบุงจีน<br />

2.2 ผาขาวบางเพื่อกรองน้ําชะวัสดุหมักในการนําไปเพาะเมล็ด<br />

2.3 ถวยพลาสติกสําหรับเพาะเมล็ด<br />

2.4 กระดาษฟรอยด<br />

3. อุปกรณที่ใชในหองปฏิบัติการ<br />

ประกอบดวย<br />

3.1 ชุดสกัดซอกฮเลต (Soxhlet)<br />

3.2 ชุดกลั่นเฮกเซน<br />

3.3 เอกซแทรคชั่นทิมเบิล<br />

(Extraction Thimble)<br />

3.4 เครื่องกลั่นสําหรับวิเคราะหไนโตรเจน<br />

(TKN)<br />

48


Heat Insulator and cover<br />

Measuring flow rate pipe<br />

0.80 m<br />

0.80 m<br />

PVC Piping 1”<br />

Ball valve<br />

0.80 m<br />

0.80 m<br />

Compost Bin 200 L<br />

0.10 m<br />

0.20 m<br />

0.025 m<br />

0.025 m<br />

0.20 m<br />

PVC Piping 1”<br />

Pore size 5 mm<br />

(see detail 3)<br />

∅ 5 mm<br />

0.025 m 0.025 m<br />

49<br />

ภาพที่<br />

9 ลักษณะถังหมัก


ภาพที่<br />

10 ภาพแปลนของกองหมัก<br />

3.5 pH meter รุน<br />

215 ยี่หอ<br />

Denver Instrument<br />

3.6 ตูอบ<br />

(Hot Air Oven) 70 – 100 0 C<br />

3.7 เตาเผาแบบอุณหภูมิสูง (Muffle Furnace) ที่ปรับอุณหภูมิไดที่<br />

550 – 650 0 C<br />

3.8 เครื่องชั่งละเอียด<br />

ทศนิยม 4 ตําแหนง (Analytical Balance)<br />

3.9 ถาดอลูมิเนียม<br />

3.10 ครกพรอมลูกบด<br />

3.11 ตูดูดความชื้น<br />

3.12 ถวยกระเบื้องทนไฟ<br />

3.13 ตูดูดควัน<br />

3.14 ชุดเครื่องมือในการยอย<br />

3.15 อุปกรณและเครื่องแกวอื่นๆ<br />

4. สารเคมีที่ใชในหองปฏิบัติการ<br />

4.1 K 2SO 4<br />

4.2 HgO<br />

4.3 H 2SO 4 conc.<br />

0.80 m<br />

3.20 m<br />

Compost Bin 200 L<br />

50


4.4 Phenolphthaline indicator<br />

4.5 NaOH<br />

4.6 Boric acid 4%<br />

4.7 สารละลายมาตรฐาน Sulfuric acid 0.05 นอรมัล<br />

4.8 Methyl purple indicator<br />

4.9 กรดเกลือเขมขน (conc. HCl)<br />

4.10 n-hexane ซึ่งมีจุดเดือดที่<br />

49 0 ซ<br />

4.11 MgSO4.H2O ซึ่งเตรียมใชโดยนํามาแผเปนแผนบาง<br />

ๆ แลวอบใหแหงที่<br />

105 0 ซ<br />

วิธีการ<br />

โดยปกติในกระบวนการหมักปุยแบบเติมอากาศ<br />

มีกลุมจุลินทรียหลายชนิดทําหนาที่ยอย<br />

สลายสารอินทรียและใหความรอนออกมาโดยอาศัยออกซิเจน จากการทดลองของพงษสิทธิ์<br />

(2546)<br />

โดยศึกษาการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่รอยละการปนเปอนเทากับ<br />

3.5 ดวยกระบวนการ<br />

หมักนั้น<br />

พบวาการยอยสลายน้ํามันปนเปอนในดิน<br />

มีอัตราการยอยสลายสูงสุด เมื่อกองหมักมี<br />

อุณหภูมิสูงสุด และเมื่อใชดินที่ผานการบําบัดแลวมาเปนหัวเชื้อเพื่อบําบัดดินที่ปนเปอนน้ํามันที่มี<br />

ความเขมขนมากขึ้น<br />

(รอยละ 7.0) พบวาสามารถเพิ่มอัตราการยอยสลายไดมากกวาดินที่ไมเติมหัว<br />

เชื้อ<br />

ดังนั้นในการทดลองนี้จึงมีสมมติฐานวา<br />

ถาใชจุลินทรียที่มีประสิทธิภาพในการยอยสลาย<br />

น้ํามันปนเปอนเปนจุลินทรียหัวเชื้อ<br />

ซึ่งอาจอยูในชวงระยะเวลาที่ความรอนในกองหมักสูง<br />

สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการยอยสลายน้ํามันปนเปอนได<br />

ดังนั้นในการทดลองศึกษาการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นโดยวิธีการหมักทําปุย<br />

รวมกับการฟนฟู<br />

ไดนําดินหมักในแตละชวงของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในกระบวนการหมักมา<br />

เปนเชื้อเรงในการศึกษา<br />

โดยอายุของดินหมัก เทากับ 7, 14, 28 และ 56 วัน แลวนํามาผสมกับดิน<br />

ปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่มีรอยละการปนเปอน<br />

เทากับ 3.05 โดยน้ําหนัก<br />

และผสมกับวัสดุหมักรวม<br />

สวนการฟนฟูนั้นศึกษาโดยการนําพืชมาบําบัดดินที่ผานกระบวนการหมักแลวตอ<br />

ในการทดลอง<br />

การบําบัดทางชีวภาพนี้จะแบงออกเปน<br />

4 ขั้นตอน<br />

ดังตอไปนี้<br />

(ดังภาพที่<br />

11)<br />

51


1. การเตรียมตัวอยางเพื่อการทดลอง<br />

1.1 การวิเคราะหดินและวัสดุรวม<br />

วัสดุรวมที่ใชในการทดลอง<br />

ไดแก มูลสุกร ซึ่งนํามาจากภาควิชาสัตวบาล<br />

คณะเกษตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน และขุยมะพราว ทําการวิเคราะหทางกายภาพและเคมี<br />

โดยวิเคราะหดัชนี (Parameter) ตางๆ ไดแก ความหนาแนน ความชื้น<br />

คาความเปนกรดเปนดาง<br />

รอยละของของแข็งระเหย ปริมาณคารบอน ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด<br />

แอมโมเนียม และไนเตรท<br />

1.2 การสังเคราะหดินปนเปอน<br />

การสังเคราะหดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

ทําโดยผสมดินรวนปนทรายกับ<br />

น้ํามันหลอลื่นเบนซิน<br />

4 จังหวะ HONDA ที่ผานการใชงานแลวเปนสัดสวนรอยละ<br />

3.05 (โดย<br />

น้ําหนักแหง)<br />

แลวคลุกเคลาใหเขากัน ทิ้งไวเปนเวลาอยางนอย<br />

14 วัน กอนนํามาทําการทดลอง<br />

เพื่อใหดินดูดซับน้ํามันกอน<br />

1.3 การเตรียมวัสดุรวม<br />

โดยนํามูลสุกรและขุยมะพราวที่วิเคราะหหาคาปริมาณคารบอนและไนโตรเจนทั้งหมด<br />

แลวมาผสมกันใหไดคาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ 30 ตอ 1 โดยแสดงวิธีการคํานวณ<br />

ในภาคผนวก ก<br />

2. การเตรียมวัสดุหมักที่มีเชื้อเรง<br />

(ดินหมัก)<br />

ในกระบวนการหมักจะใชมูลสุกรและขุยมะพราวเปนวัสดุหมักรวมกับดินปนเปอน<br />

น้ํามันหลอลื่น<br />

โดยมูลสุกรจะทําหนาที่เพิ่มปริมาณไนโตรเจนและเชื้อใหกับกระบวนการหมัก<br />

สวนขุยมะพราวจะทําหนาที่เปนตัวชวยเพิ่มความพรุนภายในกองหมัก<br />

(Bulking Agent) ซึ่ง<br />

อัตราสวนที่เหมาะสมสําหรับการผสมของดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นตอวัสดุหมักรวม<br />

เทากับ 3 ตอ<br />

1 (พงษสิทธิ์,<br />

2546) เมื่อทําการผสมดินปนเป<br />

อนน้ํามันหลอลื่นกับวัสดุหมักรวมแลวจะทําการ<br />

วิเคราะหดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่มีการผสมวัสดุหมักรวมแลว<br />

ตามดัชนี ดังนี้<br />

ความหนาแนน<br />

52


ความชื้น<br />

คาความเปนกรดเปนดาง รอยละของของแข็งระเหย ปริมาณคารบอน ปริมาณ<br />

ไนโตรเจนทั้งหมด<br />

แอมโมเนียมไนโตรเจน ไนเตรท อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน ปริมาณ<br />

น้ํามันปนเปอน<br />

องคประกอบของน้ํามันที่ปนเปอนในดิน<br />

และโลหะหนัก หลังจากนั้นจะนําดิน<br />

ปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่มีการผสมวัสดุหมักรวมแลวมาหมักแบบเติมอากาศ<br />

(Force Aeration)<br />

อัตราการไหลของอากาศ เทากับ 0.4 ลบ.ม.ตอกิโลกรัมของแข็งระเหยตอวัน โดยควบคุม ความชื้น<br />

ประมาณรอยละ 40 - 60 (พงษสิทธิ์,<br />

2546) จะทําการเก็บดินหมัก ปริมาณรอยละ 10 โดยน้ําหนัก<br />

แหง เปนระยะๆ ที่เวลา<br />

7, 14, 28 และ 56 วัน เพื่อใชเปนเชื้อเรงในการศึกษาประสิทธิภาพของการ<br />

หมักในขั้นตอนตอไป<br />

3. การศึกษาประสิทธิภาพของการหมักดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นโดยใชเชื้อเรง<br />

(ดินหมัก)<br />

การศึกษาการเพิ่มประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันโดยกระบวนการหมักซึ่งใช<br />

เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ<br />

ซึ่งเชื้อเรงที่ใชในการศึกษานี้<br />

คือ วัสดุหมัก (ดินปนเปอนน้ํามันที่ผสมมูล<br />

สุกรและขุยมะพราว) ที่อยูในหรือผานกระบวนการหมักแลว<br />

โดยระยะเวลาของการนําเชื้อเรงมาใช<br />

ในการศึกษา คือ 7, 14, 28 และ 56 วันของระยะเวลาการหมัก ขั้นตอนในการศึกษาประสิทธิภาพ<br />

มี<br />

ดังตอไปนี้<br />

3.1 นําดินปนเป อนน้ํามันหลอลื่นที่ผานการใชงานแลวที่มีรอยละของการปนเปอนเทากับ<br />

3.05 มาทําการหมักปุยโดยผสมกับวัสดุหมักรวม<br />

(มูลสุกร และขุยมะพราว) ในสัดสวน 3 ตอ 1 โดย<br />

มีจํานวน 5 ถัง คือ ชุดควบคุมของการทดลอง (ถังหมักที่<br />

1, CWO) และชุดทดสอบซึ่งมีการเติมดิน<br />

หมักที่มีระยะเวลาการหมักแตกตางกัน<br />

(ถังที่<br />

2 – 5) โดยผสมดินหมักในอัตราสวนรอยละ 10 โดย<br />

น้ําหนักแหง<br />

ซึ่งถังหมักที่เติมดินหมักที่ระยะเวลาตางๆ<br />

กัน ดังนี้<br />

3.1.1 ถังหมักที่<br />

2 เติมดินหมักซึ่งมีอายุ<br />

7 วัน (SA07)<br />

3.1.2 ถังหมักที่<br />

3 เติมดินหมักซึ่งมีอายุ<br />

14 วัน (SA14)<br />

3.1.3 ถังหมักที่<br />

4 เติมดินหมักซึ่งมีอายุ<br />

28 วัน (SA28)<br />

3.1.4 ถังหมักที่<br />

5 เติมดินหมักซึ่งมีอายุ<br />

56 วัน (SA56)<br />

3.2 วิเคราะหดินปนเปอนที่ผสมวัสดุหมักรวมและดินหมัก<br />

เริ่มตนโดยหาคาความชื้น<br />

คา<br />

ความเปนกรดเปนดาง รอยละของของแข็งระเหย ปริมาณคารบอน ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด<br />

53


ปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจน ไนเตรทไนโตรเจน อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน รอยละของ<br />

น้ํามันปนเปอนในดิน<br />

องคประกอบของน้ํามันที่ปนเปอนในดิน<br />

และโลหะหนัก<br />

3.3 ทําการหมักโดยใชวิธีเติมอากาศ (Force Aeration) ขนาดของถังหมัก เทากับ 200 ลิตร<br />

ควบคุมความชื้นประมาณรอยละ<br />

40 - 60 อัตราการไหลของอากาศ เทากับ 0.4 ลบ.ม.ตอกิโลกรัม<br />

ของแข็งระเหยตอวัน (พงษสิทธิ์,<br />

2546) หมักจนปริมาณน้ํามันปนเปอนหรืออัตราสวนคารบอนตอ<br />

ไนโตรเจนเริ่มคงที่<br />

โดยตลอดระยะเวลาการหมักจะมีการวัดอุณหภูมิทุกวัน<br />

3.4 วิเคราะหหาความชื้น<br />

3 ครั้งตอสัปดาห<br />

ความเปนกรดเปนดาง รอยละของของแข็ง<br />

ระเหย ปริมาณคารบอน ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด<br />

ปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจน ไนเตรท<br />

ไนโตรเจน อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน รอยละของน้ํามันปนเปอนในดิน<br />

สัปดาหละ 1 ครั้ง<br />

องคประกอบของน้ํามันที่ปนเปอนในดิน<br />

และ โลหะหนัก เมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

ดินปนเปอนน้ํามัน<br />

ที่สัดสวนรอยละ<br />

3.05<br />

ภาพที่<br />

11 แผนภาพการดําเนินงานโดยรวม<br />

วิเคราะหองคประกอบ<br />

ทางกายภาพและเคมี<br />

ผสมดินปนเปอนน้ํามันตอวัสดุหมัก<br />

รวม เทากับ 3 ตอ 1 โดยน้ําหนักแหง<br />

54<br />

มูลสุกร + ขุยมะพราว<br />

ผสมกันใหไดอัตราสวนคารบอนตอ<br />

ไนโตรเจน เทากับ 30 ตอ 1<br />

วัสดุหมักรวม<br />

วิเคราะหองคประกอบ<br />

ทางกายภาพและเคมี


หมักแบบเติมอากาศ<br />

เก็บดินหมักที่ระยะเวลา<br />

7 14 28 และ 56 วัน<br />

ภาพที่<br />

11 (ตอ) แผนภาพการดําเนินงานโดยรวม<br />

4. การทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ด<br />

ดินหมัก ดินปนเปอนน้ํามัน<br />

+ วัสดุหมักรวม<br />

รอยละ 10 โดยน้ําหนักแหง<br />

กองหมักผสมวัสดุรวมที่มีเชื้อเรง<br />

หมักแบบเติมอากาศ<br />

เปรียบเทียบประสิทธิภาพสูงสุด<br />

รอยละ 90 โดยน้ําหนักแหง<br />

การทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ดโดยศึกษาจากการงอกของเมล็ดมะเขือเทศ<br />

ใชวิธี Florida’ s On-line Composition Center (2002) ดังแสดงในภาพที่<br />

12 มีวิธีการในการทดสอบ<br />

ดังนี้<br />

4.1 คัดเลือกเมล็ดที่เสียออกโดยแชน้ําทิ้งไว<br />

1 คืน คัดเมล็ดที่ลอยน้ําทิ้งไป<br />

55<br />

3 สวนโดยน้ําหนักแหง<br />

1 สวน โดยน้ําหนักแหง<br />

วิเคราะหองคประกอบ<br />

ทางกายภาพและเคมี<br />

วิเคราะหองคประกอบ<br />

ทางกายภาพและเคมี


4.2 นําดินทั้งกอนเริ่มการหมักและระหวางการหมักมาทดสอบการงอกของเมล็ด<br />

โดยแบง<br />

ออกเปน 3 หนวยการทดลอง คือ<br />

4.2.1 การทดสอบการงอกในน้ําชะดินหมัก<br />

โดยการนําตัวอยางที่ไดผสมกับน้ํากลั่นใน<br />

อัตราสวนตัวอยางตอน้ํากลั่น<br />

เทากับ 1 ตอ 2 วางทิ้งไวเปนเวลา<br />

2 ชั่วโมง<br />

แลวนําน้ําที่ผานการสกัด<br />

ไปใชในการแชเมล็ดที่ผานการคัดเลือกแลว<br />

4.2.2 การทดสอบการงอกในดินหมัก โดยการนําเมล็ดที่ผานการคัดเลือกแลวไปปลูก<br />

ลงในดินหมักโดยตรง<br />

4.2.3 หนวยควบคุม คือ การแชเมล็ดที่ผานการคัดเลือกแลวลงในน้ํากลั่น<br />

4.3 ตั้งทิ้งไว<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

และบันทึกการงอกของราก<br />

วัสดุหมักตอน้ํากลั่น<br />

เทากับ 1 ตอ 2 สกัดใชเฉพาะน้ํา<br />

ภาพที่<br />

12 ขั้นตอนการวิเคราะหการงอกของเมล็ด<br />

(Seed Germination Test)<br />

5. การศึกษาโดยการใชพืชบําบัด<br />

การทดลองการงอกของเมล็ด<br />

การทดสอบดวยน้ําชะดินหมัก<br />

การทดสอบดินหมัก หนวยควบคุม<br />

สังเกตการงอกของเมล็ดที่<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

การศึกษาโดยใชพืชบําบัด เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพในเบื้องตนในการนําพืชไปบําบัดดิน<br />

ปนเปอนน้ํามันหลอลื่นตอภายหลังจากการสิ้นสุดกระบวนการหมักแลว<br />

ซึ่งพืชที่จะนํามาทําการ<br />

56


ทดลอง คือ หญานวลนอย เนื่องจาก<br />

เปนพืชในตระกูลหญาเชนเดียวกับที่มีการนํามาใชในการ<br />

ทดลองการฟนฟูดวยพืช<br />

(Haung et al., 2005) โดยทําการทดลองเปนระยะเวลา 4 สัปดาห และดินที่<br />

จะนํามาใชในการทดลอง คือ ดินปนเปอนที่มาจากถังหมักที่มีประสิทธิภาพในการบําบัดดวย<br />

กระบวนการหมักดีที่สุด<br />

โดยในการทดลองจะนําหญานวลนอยมาปลูกลงในกระถาง พื้นที่เทากับ<br />

4 ตารางนิ้ว<br />

(2 นิ้ว<br />

x 2 นิ้ว)<br />

(เสนผานศูนยกลางดานลางของกระถาง เทากับ 4 นิ้ว<br />

เสนผานศูนยกลาง<br />

ดานบน เทากับ 5 นิ้ว)<br />

บนดินหมักแลวที่มาจากถังหมักที่มีประสิทธิภาพในการบําบัดดีที่สุด<br />

หนัก 1<br />

กิโลกรัม (ความลึก เทากับ 3 นิ้ว)<br />

ดังภาพที่<br />

13 ทําการเปรียบเทียบกับกระถางที่ไมมีการปลูกพืช<br />

โดย<br />

ชุดควบคุม คือ ดินสีดา และ ดินรวนปนทรายที่ไมมีการปนเปอนผสมวัสดุหมักรวมเชนเดียวกับที่ใช<br />

ในการทดลอง และศึกษาประสิทธิภาพโดยการวิเคราะหปริมาณน้ํามันที่พืชดูดซับไว<br />

และวัดความ<br />

สูงและการแผขยายของพืช<br />

ภาพที่<br />

13 พื้นที่การปลูกหญานวลนอย<br />

6. การวิเคราะหพารามิเตอร<br />

6.1 การเก็บตัวอยางจากถังหมัก<br />

2 นิ้ว<br />

5 นิ้ว<br />

2 นิ้ว<br />

4 นิ้ว<br />

พื้นที่ปลูกหญานวลนอย<br />

แบงพื้นที่ในแตละกองหมักเปน<br />

4 สวนเทาๆ กัน ดังภาพที่<br />

14 และเก็บตัวอยางจาก<br />

บริเวณกึ่งกลางของแตละพื้นที่<br />

ที่ความลึกกึ่งกลางถัง<br />

ปริมาณ 50 กรัมตอพื้นที่<br />

จะไดตัวอยาง<br />

ทั้งหมด<br />

200 กรัม นํามารวมกันเปนตัวแทนเพื่อนําไปทําการวิเคราะหในหองปฏิบัติการ<br />

57


½ ของความสูงของถังหมัก ถังหมัก<br />

ภาพที่<br />

14 ตําแหนงการเก็บตัวอยางจากถังหมัก<br />

6.2 ความถี่ของการวิเคราะหพารามิเตอร<br />

การเก็บตัวอยางและพารามิเตอรที่ทําการวิเคราะห<br />

เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะ<br />

ทางกายภาพและทางเคมีในระหวางการหมัก ดังตารางที่<br />

6<br />

ตารางที่<br />

6 ความถี่ของการเก็บตัวอยางเพื่อการวิเคราะห<br />

่<br />

ดัชนี (Parameter) ความถี<br />

อุณหภูมิ ( 0 ่<br />

ซ) ทุกวัน<br />

ความเปนกรดเปนดาง (pH) 1 ครั้งตอสัปดาห<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (รอยละ) 1 ครั้งตอสัปดาห<br />

ปริมาณคารบอน (รอยละ) 1 ครั ้งตอสัปดาห<br />

ปริมาณไนโตรเจน (รอยละ) 1 ครั้งตอสัปดาห<br />

ปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจน (มก./ก.) 1 ครั้งตอสัปดาห<br />

ปริมาณไนเตรท (มก./ก.) 1 ครั้งตอสัปดาห<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน 1 ครั้งตอสัปดาห<br />

ปริมาณน้ํามันหลอลื่นที่ปนเปอนในดิน<br />

(รอยละ) 1 ครั้งตอสัปดาห<br />

ความชื ้น (รอยละ) 3 ครั้งตอสัปดาห<br />

ปริมาณเชื้อ (CFU/กรัม) วันที 1, 21, 35 และ 56*<br />

ความหนาแนน (กก./ล.) เริ่มตนการทดลอง<br />

58


ตารางที่<br />

6 (ตอ)<br />

่<br />

ดัชนี (Parameter) ความถี<br />

องคประกอบของน้ํามันปนเป<br />

อน เริ่มตนและสิ<br />

้นสุดการทดลอง<br />

โลหะหนัก เริ่มตนและสิ<br />

้นสุดการทดลอง<br />

หมายเหตุ * วันที่<br />

1, 21, 35 และ 56 วันของการทดลองของถังชุดควบคุม<br />

6.3 วิธีการวิเคราะหพารามิเตอรในหองปฏิบัติการ<br />

วิธีการวิเคราะหพารามิเตอรเพื่อหาคุณสมบัติทางดานกายภาพและเคมีของตัวอยาง<br />

ดัง<br />

แสดงในตารางที่<br />

7<br />

ตารางที่<br />

7 วิธีการวิเคราะหพารามิเตอร<br />

ดัชนี (Parameter) วิธีการวิเคราะห<br />

อุณหภูมิ ( O ซ) เทอรโมมิเตอร (Thermometer)<br />

ความเปนกรดเปนดาง pH meter<br />

ปริมาณของแข็งระเหยได (รอยละ) เผาที่อุณหภูมิ<br />

600 - 650 0 ่<br />

C นาน 2 ชั่วโมง<br />

ปริมาณคารบอน (รอยละ) คํานวณจากสูตร (ปริมาณของแข็งระเหยหารดวย 1.8)<br />

ปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด (รอยละ) เจลดาหล (Kjeldahl Method)<br />

ปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจน (มก./ก.) การสรางสี (Colorimetric Method)<br />

ปริมาณไนเตรท (มก./ก.) การสรางสี (Colorimetric Method)<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน คํานวณจากปริมาณคารบอนและไนโตรเจน<br />

ทั้งหมด<br />

ปริมาณน้ํามันที่ปนเป<br />

อนในดิน (รอยละ) ซอกเลตต (Soxhlet)<br />

ความชื้น<br />

(รอยละ) อบที อุณหภูมิ 75 - 100 0 ซ นาน 3 - 4 วัน<br />

ความหนาแนน (กก./ล) ชั่งน้ําหนักและวัดปริมาตร<br />

59


ตารางที่<br />

7 (ตอ)<br />

ดัชนี (Parameter) วิธีการวิเคราะห<br />

ปริมาณเชื้อ* (CFU/กรัม) Standard Plate Count<br />

องคประกอบน้ํามันที่ปนเปอนในดิน**<br />

Fourier Transform Infrared (FT-IR)<br />

โลหะหนัก (ไมโครกรัม/กรัม) การดูดซับ (Atomic Absorption)<br />

* สงวิเคราะหที่คณะวิทยาศาสตร<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร<br />

** สงวิเคราะหที่ศูนยเครื่องมือวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี<br />

จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

7. สถานที่ทําการศึกษา<br />

ทําการทดลองและวิเคราะหตัวอยาง ณ ภาควิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอม<br />

คณะ<br />

วิศวกรรมศาสตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร วิทยาเขตบางเขน<br />

8. ระยะเวลาในการศึกษา<br />

การศึกษาวิจัยครั้งนี้<br />

เริ่มตั้งแตเดือนกุมภาพันธ<br />

2547 ถึงเดือนมีนาคม 2548 รวมระยะเวลา<br />

การวิจัยทั้งสิ้น<br />

14 เดือน ดังตารางที่<br />

8<br />

60


ตารางที่<br />

8 ระยะเวลาในการศึกษาวิจัย<br />

ขั้นตอน<br />

1. รวบรวมเอกสาร<br />

2. จัดทําโครงรางวิทยานิพนธ<br />

3. เสนอโครงรางวิทยานิพนธ<br />

4. จัดหาและเตรียมอุปกรณ<br />

5. วิเคราะหเบื้องตน<br />

6. ดําเนินการวิจัย<br />

7. สรุปผลการทดลอง<br />

8. จัดทํารูปเลมวิทยานิพนธ<br />

เดือน<br />

ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค.<br />

61


ผลการทดลองและวิจารณ<br />

จากผลการทดลองของพงษสิทธิ์<br />

(2546) พบวาการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่มีการ<br />

เติมเชื้อเรงที่สัดสวนรอยละ<br />

10 สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบําบัดไดรอยละ<br />

10.33 ดังนั้นใน<br />

การศึกษาวิจัยนี้น้ํามันหลอลื่นจึงไดทําการทดสอบผลของการแปรผันอายุตางๆ<br />

ของดินที่ทําการ<br />

บําบัดแลว (ผานกระบวนการหมักแลว) มาใชเปนวัสดุที่มีเชื้อเรง<br />

(ซึ่งตอไปจะเรียกวา<br />

ดินหมัก) เปน<br />

สวนผสมของการหมักปุยสําหรับการเพิ่มประสิทธิภาพการบําบัดดินที่ปนเปอนน้ํามันหลอลื่นดวย<br />

กระบวนการหมักปุย<br />

โดยการทดลองจะแบงเปน 2 สวนการทดลอง คือ การทดลองในสวนแรก<br />

ไดแก การบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นโดยการหมักปุย<br />

และการทดลองในสวนที่สองเปนการ<br />

บําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่ผานการหมักปุยแลวโดยการใชพืชดูดซับ<br />

ซึ่งพืชที่ใชในการ<br />

ทดลอง คือ หญานวลนอย การทดลองในสวนแรกเปนการทดลองเปรียบเทียบประสิทธิภาพการ<br />

บําบัดดินปนเปอนน้ํามันโดยการหมักปุยแบบไมมีการเติมดินหมัก<br />

และการหมักแบบมีการเติมดิน<br />

หมักที่มีอายุของการหมักปุยตางๆ<br />

กัน คือ 7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก ซึ่งการหมัก<br />

ปุยทุกถังไดมีการเติมวัสดุหมักรวม<br />

คือ มูลสุกรและขุยมะพราว เพื่อปรับคาอัตราสวนคารบอนตอ<br />

ไนโตรเจนใหเทากับ 30 ตอ 1 (พงษสิทธิ์,<br />

2546) จากการทดลอง พบวา การบําบัดดวยกระบวนการ<br />

หมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

56 วัน มีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นรอยละ<br />

43.59 เปน 66.78 เนื่องจาก<br />

ดินที่<br />

อยูในกระบวนการหมักมีเชื้อที่คุนเคยกับการยอยสลายน้ํามันหลอลื่น<br />

จึงสามารถเจริญเติบโตได<br />

อยางรวดเร็วในสภาพที่มีน้ํามันหลอลื่น<br />

และเมื่อทําการบําบัดตอดวยวิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

พบวา<br />

วิธีการฟนฟูดวยพืชสามารถบําบัดไดรอยละ<br />

17 และเมื่อคิดเปนรอยละของการบําบัดทั้งหมด<br />

เทากับ 72.43 โดยรายละเอียดของผลการทดลองมีดังนี้<br />

ผลการทดลองการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นดวยกระบวนการหมักปุย<br />

1. ลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมักรวม<br />

ผลการวิเคราะหทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมัก แสดงดังตารางที่<br />

9 ซึ่งจากผลการ<br />

วิเคราะหพบวา ขุยมะพราวมีความหนาแนนต่ํา<br />

คือ 0.14 กิโลกรัมตอลิตร ซึ่งสามารถใชเปนตัวชวย<br />

ลดความหนาแนน (Bulking Agent) ของกองหมักไดดี นอกจากนี้พบวาขุยมะพราวมีปริมาณ<br />

คารบอนคอนขางสูง คือ รอยละ 50.68 และมีปริมาณไนโตรเจนต่ํา<br />

คือ รอยละ 0.35 โดยน้ําหนัก<br />

แหง ซึ่งทําใหสัดสวนคารบอนตอไนโตรเจนสูง<br />

(144.8) เหมาะสมในการใชเปนวัสดุเพิ่มสัดสวน<br />

62


คารบอนตอไนโตรเจนของกระบวนการหมักปุย<br />

สวนมูลสุกรนั้นจะมีปริมาณคารบอนต่ํากวา<br />

คือ<br />

รอยละ 43.03 โดยน้ําหนักแหง<br />

แตมีปริมาณไนโตรเจนสูงกวา คือ รอยละ 2.35 โดยน้ําหนักแหง<br />

ซึ่งเหมาะสมสําหรับการเปนแหลงไนโตรเจนสําหรับกระบวนการทางชีวภาพ<br />

สําหรับดินปนเปอน<br />

น้ํามันหลอลื่นนั้นมีปริมาณคารบอนและไนโตรเจนคอนขางต่ํา<br />

คือ รอยละ 2.11 และ 0.12 โดย<br />

น้ําหนักแหงตามลําดับซึ่งไมเหมาะสมกับการหมักปุย<br />

(อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน เทากับ<br />

17.58) ดังนั้นจึงเติมแหลงคารบอนและไนโตรเจน<br />

เพื่อชวยกระบวนการยอยสลายดีขึ้นโดยการ<br />

เติมขุยมะพราวและมูลสุกร ที่มีคาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนอยูในเกณฑที่เหมาะสม<br />

คือ 30<br />

ตอ 1 (พงษสิทธิ์,<br />

2546) นอกจากนี้<br />

เมื่อทําการสังเคราะหดินปนเปอนน้ํามันแลว<br />

พบวาดินปนเปอน<br />

น้ํามันหลอลื่นมีความเขมขน<br />

เทากับรอยละ 3.05<br />

ตารางที่<br />

9 ลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมักรวมและดินปนเปอนน้ํามัน<br />

ลักษณะทางกายภาพและเคมี มูลสุกร ขุยมะพราว ดินปนเป อนน้ํามัน<br />

ความหนาแนน (kg/L) 0.351 0.14 1.375<br />

ความเปนกรดเปนดาง 7.18 - 6.19<br />

ความชื้น (%) 72.38 14.03 3.57<br />

ปริมาณของแข็งทั ้งหมด (%) 27.62 85.97 96.43<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (%) 77.45 91.22 3.80<br />

ปริมาณคารบอน (%) 43.03 50.68 2.11<br />

ปริมาณไนโตรเจน (%) 2.35 0.35 0.12<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน 18.31 144.80 17.58<br />

ทองแดง (ppm) NA NA 12.41<br />

สังกะสี (ppm) NA NA 84.27<br />

ตะกั่ว<br />

(ppm) NA NA 4.90<br />

ปริมาณน้ํามัน<br />

(%) NA NA 3.05<br />

หมายเหตุ: NA = ไมไดทําการวิเคราะห<br />

63


2. ผลของการเติมดินหมักอายุตางๆ ตอประสิทธิภาพการบําบัด<br />

ในการทดลองนี้ไดทําการหมักดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่มีความเขมขนรอยละ<br />

3.05 โดยน้ําหนักแหง<br />

ซึ่งมีถังหมักปุยจํานวน<br />

5 ใบ คือ ถังหมักใบที่<br />

1 เปนการหมักดินปนเปอน<br />

น้ํามันหลอลื่นกับวัสดุหมักรวม<br />

(มูลสุกรผสมขุยมะพราวที่มีคา<br />

C:N = 30:1) ถังหมักใบที่<br />

2 – 5 มี<br />

วัสดุหมักเชนเดียวกับถังหมักใบที่<br />

1 แตมีการเติมดินหมักที่มีอายุหมัก<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของ<br />

กระบวนการหมักของถังหมักใบที่<br />

1 ตามลําดับที่อัตราสวนรอยละ<br />

10 โดยน้ําหนักแหง<br />

ลักษณะ<br />

ทางกายภาพและเคมีของดินหมักที่อายุหมักตางๆ<br />

แสดงดังตารางที่<br />

10 และลักษณะทางกายภาพ<br />

และเคมีของวัสดุผสมในถังหมักทั้ง<br />

5 ใบในชวงเริ่มตนการทดลองแสดงดังตารางที่<br />

11 ซึ่งลักษณะ<br />

ทางเคมีของวัสดุผสมในถังหมักแตละใบมีคาเริ่มตนที่แตกตางกันเล็กนอย<br />

เนื่องจากมีการเติมดิน<br />

หมักที่อายุตางๆ<br />

กัน ซึ่งมีลักษณะทางเคมีแตกตางกัน<br />

(ตารางที่<br />

10) นอกจากนี้การวิเคราะหปริมาณ<br />

ของเทอรโมฟลิคแบคทีเรียและเมโซฟลิคแบคทีเรียในดินหมัก ซึ่งทําการเก็บตัวอยาง<br />

ณ วันแรก,<br />

วันที่<br />

21, 35 และ 56 ของกระบวนการหมักของตัวอยางชุดควบคุมที่ใชเปนเชื้อเรง<br />

(ตารางที่<br />

12)<br />

พบวาปริมาณแบคทีเรียชนิดเทอรโมฟลิคแบคทีเรียในวันแรกของกระบวนการหมัก มีปริมาณมาก<br />

ถึง 1.8 x 10 13 CFU/g แตเมื่อทําการหมักตอไป<br />

พบวามีแนวโนมลดลงจนสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

ปริมาณเทอรโมฟลิคแบคทีเรียมีคาลดลงเหลือ 1.4 x 10 5 CFU/g สวนแบคทีเรียชนิดเมโซฟลิค<br />

แบคทีเรีย พบวาในวันแรกของกระบวนการหมักมีปริมาณ 5.0 x 10 10 CFU/g ซึ่งมีจํานวนนอยกวา<br />

เทอรโมฟลิคแบคทีเรีย แตเมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมักพบวาปริมาณของเมโซฟลิคแบคทีเรียมี<br />

จํานวนมากกวาเทอรโมฟลิคแบคทีเรีย คือ มีจํานวนเทากับ 7.2 x 10 8 CFU/g และเมื่อพิจารณาถึง<br />

การเปลี่ยนแปลงของเมโซฟลิคแบคทีเรีย<br />

พบวา มีจํานวนเพิ่มขึ้นจนวันที่<br />

35 ของกระบวนการหมัก<br />

มีปริมาณแบคทีเรียมากที่สุด<br />

คือ 1.8 x 10 12 CFU/g แตเมื่อสิ้นสุดการหมักจะมีจํานวนแบคทีเรีย<br />

ลดลงเหลือ 1.4 x 10 5 CFU/g เนื่องจาก<br />

เกิดการตายของแบคทีเรีย ซึ่งอาจเกิดเนื่องจากสารอาหาร<br />

ซึ่งแบคทีเรียใชในการเจริญเติบโตเริ่มมีปริมาณลดลงอาจทําใหไมเพียงพอตอการเจริญเติบโต<br />

(วงศพันธ, 2538) การนําดินหมักที่มีชนิดและจํานวนของเชื้อแตกตางกันไปใชเปนวัสดุที่มีเชื้อเรง<br />

ในถังหมักที่<br />

2 – 5 มีการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและเคมีตลอดระยะเวลาการหมัก<br />

มีดังตอไปนี้<br />

64


ตารางที่<br />

10 ลักษณะทางเคมีของดินหมักที่อายุหมักตางๆ<br />

ลักษณะทางกายภาพและเคมี<br />

อายุดินหมัก (วัน)<br />

7 14 28 56<br />

pH 8.31 7.88 7.32 7.57<br />

ความชื้น<br />

(%) 47.05 46.71 46.57 50.89<br />

ปริมาณของแข็งทั้งหมด<br />

(%) 52.95 53.29 53.43 49.11<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (%) 18.38 17.50 16.48 15.34<br />

ปริมาณคารบอน (%) 10.21 9.72 9.16 8.52<br />

ปริมาณไนโตรเจน (%) 0.32 0.31 0.30 0.29<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน 31.91 31.35 30.53 29.38<br />

ปริมาณแอมโมเนียม มก./กก. 18.33 14.25 5.18 1.18<br />

ปริมาณไนเตรท มก./กก. 5.98 8.71 15.26 28.65<br />

ปริมาณน้ํามัน<br />

(%) 2.39 1.97 1.54 1.53<br />

ตารางที่<br />

11 ลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุผสมในถังหมัก ณ วันแรกของการทดลอง<br />

ลักษณะทางเคมี CWO SA07 SA14 SA28 SA56 A SD<br />

pH 7.91 7.71 7.49 7.31 7.56 7.60 0.23<br />

ความชื้น<br />

(%) 47.94 51.63 51.82 54.15 50.00 51.11 2.31<br />

ปริมาณของแข็งทั้งหมด<br />

(%) 52.06 48.37 48.18 45.85 50.00 48.89 2.31<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (%) 18.76 21.45 22.73 21.69 22.37 21.40 1.56<br />

ปริมาณคารบอน (%) 10.42 11.92 12.63 12.05 12.43 11.89 0.87<br />

ปริมาณไนโตรเจน (%) 0.32 0.39 0.39 0.40 0.38 0.38 0.03<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน 32.57 30.56 32.38 30.13 32.71 31.67 1.23<br />

ปริมาณแอมโมเนียม มก./กก. 3.49 3.91 5.30 3.82 6.21 4.55 1.16<br />

ปริมาณไนเตรท มก./กก. 6.37 4.04 3.09 4.64 5.00 4.63 1.21<br />

ปริมาณน้ํามัน<br />

(%) 2.73 2.53 3.03 3.04 3.01 2.87 0.23<br />

หมายเหตุ : CWO ไมมีการเติมวัสดุดินหมัก (ชุดควบคุม)<br />

SA07 มีการเติมดินหมักอายุ 7 วันของกระบวนการหมัก<br />

SA14 มีการเติมดินหมักอายุ 14 วันของกระบวนการหมัก<br />

65


SA28 มีการเติมดินหมักอายุ 28 วันของกระบวนการหมัก<br />

SA56 มีการเติมดินหมักอายุ 56 วันของกระบวนการหมัก<br />

SA Seeding Age<br />

A คาเฉลี่ย<br />

SD สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

ตารางที่<br />

12 ปริมาณเมโซฟลิคแอโรบิกแบคทีเรีย (Mesophilic Aerobic Bacteria) และ<br />

เทอรโมฟลิคแอโรบิกแบคทีเรีย (Thermophilic Aerobic Bacteria)<br />

่<br />

ตัวอยาง Mesophilic Aerobic Bacteria Thermophilic Aerobic Bacteria<br />

CFU/g CFU/g<br />

ชุดควบคุมวันที 1 5.0 x 10 10<br />

1.8 x 10 13<br />

่ ชุดควบคุมวันที 21 1.3 x 10 9<br />

2.3 x 10 7<br />

่ ชุดควบคุมวันที 35 1.8 x 10 12<br />

3.3 x 10 9<br />

่ ชุดควบคุมวันที 56 7.2 x 10 8<br />

1.4 x 10 5<br />

หมายเหตุ : CFU = Colony Forming Unit<br />

2.1 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในถังหมัก<br />

(Temperature)<br />

อุณหภูมิของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ มีการตรวจวัดทุกวันตลอดระยะเวลาการหมัก โดยนํา<br />

คามาเปรียบเทียบกับอุณหภูมิบรรยากาศ ดังแสดงในภาพที่<br />

15<br />

จากการทดลองพบวา การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิภายในถังหมักที่ไมมีการเติมดิน<br />

หมัก (ชุดควบคุม) คอยๆ เพิ่มขึ้นโดยเฉลี่ยวันละ<br />

2 – 5 องศาเซลเซียสในชวงสัปดาหแรกของการ<br />

หมัก และสูงสุดในวันที ่ 11 ของการหมัก (58 0 ซ) หลังจากนั้นจะคอยๆ<br />

ลดลงจนใกลเคียงอุณหภูมิ<br />

บรรยากาศ เมื่อพิจารณาปริมาณแบคทีเรียรวมกับการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ<br />

พบวามีความสอดคลอง<br />

กัน คือ ในชวงเริ่มแรกของการหมัก<br />

อุณหภูมิจะมีการเปลี่ยนแปลงจะอยูในชวงเทอรโมฟลิค<br />

ประมาณ 1 – 2 สัปดาห ซึ่งเปนชวงที่มีปริมาณเทอรโมฟลิคแบคทีเรียจํานวนมาก<br />

แตเมื่อทําการ<br />

66


หมักไปเรื่อยๆ<br />

จนสิ้นสุดการทดลอง<br />

อุณหภูมิจะลดลงจนอยูในชวงเมโซฟลิค<br />

ซึ่งในชวงนี้จะพบวา<br />

ปริมาณเทอรโมฟลิคแบคทีเรียมีจํานวนนอยกวาเมโซฟลิคแบคทีเรีย<br />

สําหรับถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุตางๆ<br />

(7 – 56 วัน) นั้น<br />

พบวามีแนวโนมการ<br />

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิคลายคลึงกับถังหมักชุดควบคุม<br />

แตระยะเวลาที่อุณหภูมิสูงสุดปรากฏจะมีชวง<br />

สั้นกวา<br />

กลาวคือ มีระยะเวลาเพียง 6 – 7 วัน อยางไรก็ตามอุณหภูมิสูงสุดไมแตกตางกันอยางมี<br />

นัยสําคัญ คือ มีอุณหภูมิสูงสุดอยูในชวง<br />

57 – 58 0 ซ ภายหลังจากสัปดาหแรกแลว อุณหภูมิของถัง<br />

หมักทุกถังคอยๆ ลดลงจนมีอุณหภูมิใกลเคียงอุณหภูมิบรรยากาศซึ่งใชระยะเวลาประมาณ<br />

1 เดือน<br />

เชนเดียวกับชุดควบคุม การที่ถังหมักชุดควบคุมซึ่งไมมีการเติมดินหมักนั้น<br />

อุณหภูมิเพิ่มขึ้นจน<br />

สูงสุดชากวาถังหมักใบอื่นๆ<br />

อาจเนื่องจาก<br />

จุลินทรียตองใชเวลาในการปรับตัวเพื่อใหเขากับสภาวะ<br />

แวดลอมที่มีน้<br />

ํามันหลอลื่นอยู<br />

แตสําหรับถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีเชื้อเรงที่มีอายุตางๆ<br />

นั้นมี<br />

จุลินทรียที่คุนเคยกับสภาวะแวดลอมที่มีน้ํามันหลอลื่นแลว<br />

จึงทําใหมีการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

ไดรวดเร็วกวา จึงมีอุณหภูมิเพิ่มไดรวดเร็วกวา<br />

ซึ่งสอดคลองกับการทดลองของพงษสิทธิ์<br />

(2546)<br />

ที่ศึกษาการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นดวยกระบวนการหมัก<br />

รายงานวาที่ความเขมขนของ<br />

น้ํามันหลอลื่นซึ่งปนเปอนในดิน<br />

เทากับ รอยละ 7.0 โดยน้ําหนักแหง<br />

กองหมักที่ไมมีการเติมดิน<br />

หมัก อุณหภูมิมีการเพิ่มขึ้นชากวากองหมักที่มีการเติมดินหมัก<br />

ที่รอยละ<br />

10 และ 20 ประมาณ<br />

1 สัปดาห กลาวโดยสรุปวา การเติมดินหมักชวยลดเวลาการเพิ่มของอุณหภูมิสูงสุดหรือลดเวลา<br />

การปรับตัวของจุลินทรีย (Lag phase) และดินหมักที่อายุตางๆ<br />

กันไมมีผลตอลักษณะการ<br />

เปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในกองหมัก<br />

67


Temperature ( 0 C)<br />

80.0<br />

77.5<br />

75.0<br />

72.5<br />

70.0<br />

67.5<br />

65.0<br />

62.5<br />

60.0<br />

57.5<br />

55.0<br />

52.5<br />

50.0<br />

47.5<br />

45.0<br />

42.5<br />

40.0<br />

37.5<br />

35.0<br />

32.5<br />

30.0<br />

27.5<br />

25.0<br />

22.5<br />

20.0<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA14<br />

Start of SA28<br />

Atmosphere CWO<br />

SA07 SA14<br />

SA28 SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

15 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในชวงระหวางกระบวนการหมัก<br />

2.2 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดาง<br />

(pH)<br />

Start of SA56<br />

ความเปนกรดเปนดาง แสดงถึงความสมบูรณของกระบวนการยอยสลาย<br />

สารอินทรีย หากสารอินทรียถูกยอยสลายสมบูรณภายใตสภาวะที่มีอากาศจะไดผลิตภัณฑ<br />

คือ<br />

คารบอนไดออกไซด (CO2) และน้ํา<br />

(H2O) ซึ่งในการทดลองนี้ไดทําการเก็บตัวอยางวิเคราะหทุก<br />

สัปดาห เปนระยะเวลา 8 สัปดาห โดยการเปลี่ยนแปลงของความเปนกรดเปนดางนั้น<br />

แสดงดัง<br />

ภาพที่<br />

16<br />

จากผลการทดลองวัดคาความเปนกรดเปนดางของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบโดยมีคาเริ่มตนที่<br />

แตกตางกัน คือ 7.91, 7.71, 7.49, 7.31 และ 7.56 (SD = 0.23) ตามลําดับ ซึ่งคาความเปนกรดเปน<br />

ดางที่แตกตางกัน<br />

เนื่องจากมูลสุกรและดินหมัก<br />

ที่นํามาใชในการผสมของถังหมักแตละใบมีคา<br />

ความเปนกรดเปนดางแตกตางกัน และเมื่อวิเคราะหถึงการเปลี่ยนแปลงความเปนกรดเปนดางของ<br />

ถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ พบวา มีคาเพิ่มขึ้นประมาณ<br />

0.4 - 1 หนวยภายหลังเริ่มกระบวนการหมักประมาณ<br />

1 สัปดาห การเพิ่มขึ้นของคาความเปนกรดเปนดางนั้นเปนผลมาจากการยอยสลายโปรตีน<br />

ทําให<br />

ปริมาณแอมโมเนียมเพิ่มสูงขึ้น(ภาพที่<br />

20) นอกจากนี้<br />

เมธี (2542) ยังไดอธิบายวาการเพิ่มขึ้นของ<br />

68


คาความเปนกรดเปนดาง เกิดเนื่องจากอินทรียวัตถุที่ถูกยอยสลายมีความสามารถในการจับประจุ<br />

บวกเพิ่มขึ้น<br />

และมีสารประกอบบางชนิดที่มีฤทธิ์เปนดาง<br />

เชน แอมโมเนีย เกิดขึ้นระหวางการยอย<br />

สลาย ทําใหดูดซับเอาไฮโดรเจนอิออนไวไดมากขึ้น<br />

จึงมีผลทําใหคาความเปนกรดเปนดางสูงขึ้น<br />

และเมื่อทําการหมักตอไป<br />

พบวา คาความเปนกรดเปนดางมีแนวโนมลดลง 0.36 – 0.91 หนวย ใน<br />

สัปดาหที ่ 2 หลังจากนั้นความเปนกรดเปนดางคอนขางคงที่<br />

(อยูในชวง<br />

6.8 – 7.5) จนสิ้นสุด<br />

กระบวนการหมัก เนื่องจากการยอยสลายโปรตีนเริ่มลดลง<br />

สงผลใหปริมาณแอมโมเนียมลดลง ดัง<br />

ภาพที่<br />

20 ทําใหคาความเปนกรดเปนดางลดลงดวย การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดางนี้<br />

สอดคลองกับ Rabbini et. al. (1983) ซึ่งกลาววาการยอยสลายในชวงเทอรโมฟลิคนั้น<br />

คาความเปน<br />

กรดเปนดางจะอยูในชวง<br />

8.0 – 9.0 และเปนไปในแนวทางเดียวกับ Leemaharoungruang (1982) ที่<br />

กลาววา คาความเปนกรดเปนดางขณะที่ทําการหมักจะมีการเปลี่ยนแปลงในชวงแรกของการหมัก<br />

โดยคาความเปนกรดเปนดางจะสูงขึ้นและลดลงเมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

pH<br />

10.0<br />

9.5<br />

9.0<br />

8.5<br />

8.0<br />

7.5<br />

7.0<br />

6.5<br />

6.0<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA28<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

16 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดาง<br />

(pH) ของกระบวนการหมัก<br />

2.3 การเปลี่ยนแปลงความชื้น<br />

(Moisture Content)<br />

Start of SA56<br />

ความชื้นเปนปจจัยที่จําเปนตอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

เนื่องจากเปนตัวกลาง<br />

ในการสงผานอาหารและกาซออกซิเจนจากวัสดุหมักและอากาศไปยังจุลินทรีย อีกทั้งยังเปน<br />

69


ตัวกลางในการสงผานเอนไซมเขาไปยอยสลายวัสดุหมักดวย (Tengerdy, 1985) ซึ่งถาความชื้นมี<br />

มากเกินไปจะทําใหปริมาณอากาศภายในกองหมักลดลง และเกิดสภาพไรออกซิเจนได แตถา<br />

ความชื้นต่ําเกินไป<br />

จะทําใหปริมาณน้ําไมเพียงพอตอการยอยสลายทําใหเกิดการยับยั้งการ<br />

เจริญเติบโตของจุลินทรีย โดยอดิศักดิ์<br />

และคณะ (2541) กลาววาความชื้นที่เหมาะสําหรับการหมัก<br />

ควรอยูในชวงรอยละ<br />

40 – 60<br />

จากการตรวจวิเคราะหความชื้นของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ โดยทําการเก็บตัวอยาง ณ จุด<br />

กึ่งกลางถังของระดับความสูงถังหมักตลอดกระบวนการหมักเปนระยะเวลา<br />

56 วัน พบวาคาเฉลี่ย<br />

ความชื้นในแตละสัปดาหของถังหมักแตละใบอยูในชวงความชื้นที่เหมาะสม<br />

โดยถังหมักที่ไมมี<br />

การเติมดินหมักและมีการเติมดินหมักที่อายุตางๆ<br />

(7 - 56 วัน) นั้น<br />

มีคาความชื้นอยูในชวงรอยละ<br />

46.46 – 50.89, 46.72 – 52.31, 46.37 – 57.15, 47.59 – 56.24 และ 42.94 – 52.50 ตามลําดับ ดัง<br />

ภาพที่<br />

17<br />

Moisture Content (%)<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

คาต่ําสุด<br />

คาสูงสุด<br />

CWO SA07 SA14 SA28 SA56<br />

Experiment<br />

ภาพที่<br />

17 ความชื้นภายในถังหมักในชวงระหวางกระบวนการหมัก<br />

2.4 การเปลี่ยนแปลงปริมาณคารบอน<br />

(Carbon Content)<br />

คารบอนเปนธาตุมีความจําเปนตอการเจริญเติบโตของแบคทีเรีย โดยแบคทีเรียจะ<br />

ยอยสลายอินทรียคารบอนที่มีโมเลกุลขนาดใหญ<br />

จนกระทั่งไดโมเลกุลขนาดเล็ก<br />

แลวจึงนําเขาไป<br />

ในเซลล เพื่อใชเปนแหลงพลังงานและสรางสวนประกอบเซลล<br />

ซึ่งในกระบวนการเผาผลาญ<br />

70


ภายในเซลลของจุลินทรียจะมีการปลดลอยพลังงานในรูปความรอนออกมาทําใหอุณหภูมิของ<br />

สภาพแวดลอมสูงขึ้น<br />

(กองอนุรักษดินและน้ํา,<br />

2539)<br />

ปริมาณคารบอนสามารถตรวจวัดโดยใชดัชนีของแข็งระเหย (Volatile Solids)<br />

(Polprasert, 1996) (ภาพที่<br />

18) ซึ่งจากการคํานวณปริมาณคารบอนของดินหมักในการทดลอง<br />

(ภาพที่<br />

19) พบวามีแนวโนมลดลงอยางรวดเร็วในชวงประมาณสัปดาหแรกของกระบวนการหมัก<br />

เนื่องจากในชวงสัปดาหแรกมีแหลงคารบอนมากเพียงพอสําหรับจุลินทรียชนิดใชความรอน<br />

จึงทํา<br />

ใหเกิดการยอยสลายคารบอนในอัตราที่สูงกวาในชวงอื่นของกระบวนการหมัก<br />

หลังจากนั้นอัตรา<br />

การยอยสลายอินทรียคารบอนลดต่ําลงและคอนขางคงที่ในสัปดาหที่<br />

7 – 8 ของการหมัก เมื่อ<br />

สิ้นสุดกระบวนการหมักถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมักมีปริมาณคารบอน<br />

เทากับ รอยละ 8.52 และ<br />

ถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

7,14, 28 และ 56 วัน มีปริมาณคารบอน เทากับ รอยละ 9.33, 8.51,<br />

9.02 และ 8.34 แนวโนมการลดลงของปริมาณคารบอนจะมีความสัมพันธกับปริมาณน้ํามัน<br />

หลอลื่นที่ปนเปอนในดิน<br />

ซึ่งจะกลาวถึงในหัวขอ<br />

3.1 การลดลงของปริมาณคารบอนในกองหมัก<br />

เกิดจากการที่จุลินทรียยอยสลายคารบอนใหกลายเปนคารบอนไดออกไซด<br />

น้ํา<br />

และสารอื่นๆ<br />

ซึ่ง<br />

การที่ปริมาณคารบอนลดลงอยางรวดเร็ว<br />

อาจเนื่องจากจุลินทรียมีความคุนเคยกับสภาพแวดลอม<br />

แลว ทําใหระยะเวลาที่ใชในการยอยสลายเร็วขึ้น<br />

Volatile solids content (%)<br />

23.0<br />

22.0<br />

21.0<br />

20.0<br />

19.0<br />

18.0<br />

17.0<br />

16.0<br />

15.0<br />

14.0<br />

Start of SA14<br />

Start of SA28<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

Start of SA56<br />

ภาพที่<br />

18 การเปลี่ยนแปลงปริมาณของแข็งระเหยของกระบวนการหมัก<br />

CWO<br />

SA07<br />

SA14<br />

SA28<br />

SA56<br />

71


Carbon content (%)<br />

15.0<br />

14.5<br />

14.0<br />

13.5<br />

13.0<br />

12.5<br />

12.0<br />

11.5<br />

11.0<br />

10.5<br />

10.0<br />

9.5<br />

9.0<br />

8.5<br />

8.0<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA28<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

Start of SA56<br />

ภาพที่<br />

19 การเปลี่ยนแปลงปริมาณคารบอนของกระบวนการหมัก<br />

2.5 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจนรวม<br />

(Total Nitrogen)<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

สารประกอบไนโตรเจนในรูปตางๆ จะถูกยอยสลายโดยจุลินทรีย เพื่อนําไปใชใน<br />

การสรางโปรตีนที่เปนสวนประกอบของเซลลจุลินทรีย<br />

ในการทดลองนี้ไดทําการวิเคราะหปริมาณ<br />

ไนโตรเจนทุกสัปดาห เปนระยะเวลา 8 สัปดาห ของกระบวนการหมัก โดยการเปลี่ยนแปลง<br />

ปริมาณไนโตรเจนไดแสดงดังภาพที่<br />

20<br />

จากผลการทดลองพบวา ปริมาณไนโตรเจนมีแนวโนมลดลงในชวงระหวางการ<br />

หมัก แตมีแนวโนมการลดลงไมมากนัก โดยถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

14 วัน มีการลดลง<br />

ของปริมาณไนโตรเจนมากที่สุด<br />

คือ รอยละ 25.64 โดยน้ําหนักแหง<br />

รองลงมา คือ ถังหมักที่มีการ<br />

เติมดินหมักอายุ 28 วัน, 56 วัน, 7 วัน และ ไมมีการเติมดินหมัก ซึ่งมีคาลดลงรอยละ<br />

20.00, 13.16,<br />

12.82 และ 9.38 โดยน้ําหนักแหง<br />

ตามลําดับ กรลดลงของไนโตรเจนนี้<br />

อาจแสดงใหเห็นวา<br />

จุลินทรียมีการใชไนโตรเจนไป ในชวงที่มีไนโตรเจนลดลงอยางรวดเร็วอาจเนื่องมาจากจุลินทรีย<br />

ยอยจนอยูในรูปโมเลกุลเล็ก<br />

จึงสามารถนําไปใชไดงาย<br />

72


Total Nitrogen (%)<br />

0.450<br />

0.425<br />

0.400<br />

0.375<br />

0.350<br />

0.325<br />

0.300<br />

0.275<br />

0.250<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA28 Start of SA56<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

20 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจนรวมของกระบวนการหมัก<br />

2.6 การเปลี่ยนแปลงอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน<br />

(C : N Ratio)<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนเปนคาที่มีความสําคัญมากในชวงของความสมดุล<br />

ของธาตุอาหารในกระบวนการหมัก เนื่องจากเปนสิ่งจําเปนตอการเจริญเติบโตของจุลินทรีย<br />

และ<br />

เปนตัวกําหนดอัตราการยอยสลายในกระบวนการหมัก ซึ่งคาอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนที่<br />

เหมาะสมในระยะเริ่มตนของกระบวนการหมักดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

คือ 30 ตอ 1 (พงษสิทธิ์,<br />

2546)<br />

การเปลี่ยนแปลงอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนตลอดระยะเวลาการหมัก<br />

มี<br />

แนวโนมลดลงและคอนขางคงที่เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมักดังแสดงในภาพที่<br />

21 อัตราสวนของ<br />

คารบอนตอไนโตรเจนในชวงเริ่มตนของกระบวนการหมักมีคาใกลเคียงกัน<br />

(ชวง 30.13 – 32.71)<br />

ซึ่งเปนอัตราสวนที่ควบคุมในชวงเริ่มตนของกระบวนการหมักในการทดลอง<br />

(30 ตอ 1)<br />

ในชวงสัปดาหแรกของกระบวนการหมัก อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนมีการ<br />

ลดลงอยางรวดเร็ว ซึ่งเปนชวงที่มีการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิ<br />

(ภาพที่<br />

15) และเริ่มคอนขางคงที่ในชวง<br />

ทายของกระบวนการหมัก เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

อัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนของถัง<br />

73


หมักควบคุม และถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วัน ลดลงเหลือ 29.38, 27.43,<br />

29.34, 28.17 และ 25.27 คิดเปนรอยละ 9.79, 10.24, 9.39, 6.51 และ 22.75 ตามลําดับ จะเห็นไดวา<br />

ถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

56 วันมีการลดลงของอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนสูงสุด ซึ่ง<br />

อาจกลาวเปนนัยไดวาจุลินทรียมีประสิทธิภาพดีที่สุดในการยอยสลายสารประกอบตางๆ<br />

C : N Ratio<br />

37.0<br />

36.0<br />

35.0<br />

34.0<br />

33.0<br />

32.0<br />

31.0<br />

30.0<br />

29.0<br />

28.0<br />

27.0<br />

26.0<br />

25.0<br />

24.0<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA28<br />

Start of SA56<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

21 การเปลี่ยนแปลงอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนของกระบวนการหมัก<br />

+<br />

2.7 การเปลี่ยนแปลงปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจน<br />

(NH4 -N)<br />

การเปลี่ยนแปลงของแอมโมเนียมไนโตรเจนจะมีคาสูงขึ้นหลังจากทําการหมักได<br />

ระยะเวลาหนึ่ง<br />

เนื่องจากการยอยสลายโปรตีนของแบคทีเรียในเซลล<br />

ใหเปนสารประกอบของ<br />

กรดอะมิโน กรดอะมิโนจะถูกยอยสลายตอไดกรดไขมัน และแอมโมเนีย (NH3) เปนผลิตภัณฑ<br />

(Liao, 1995) และเมื่อแอมโมเนียรวมตัวกับน้ําจะไดเปนแอมโมเนียมเกิดขึ้นในระบบ<br />

ปริมาณการเปลี่ยนแปลงแอมโมเนียมไนโตรเจนของถังหมักควบคุม<br />

(ถังหมักใบที่<br />

1) และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วัน (ถังหมักใบที่<br />

2, 3, 4 และ 5) ได<br />

แสดงดังภาพที่<br />

22 ปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนที่เริ่มตนของถังหมักแตละใบมีคาแตกตางกัน<br />

74


โดยถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

56 วัน มีคาสูงสุด คือ 6.21 มก./กก. โดยน้ําหนักแหง<br />

และถัง<br />

หมักที่มีปริมาณแอมโมเนียมเริ่มตนต่ําสุด<br />

คือ ถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

ซึ่งมีปริมาณ<br />

แอมโมเนียม เทากับ 3.49 มก./กก. โดยน้ําหนักแหง<br />

การที่ปริมาณแอมโมเนียมเริ่มตนมีคาแตกตาง<br />

กัน อาจเนื่องมาจากมูลสุกรและดินหมักที่นํามาใชในการทดลองแตละครั้งมีคุณสมบัติแตกตางกัน<br />

Ammonium-Nitrogen (mg/kg)<br />

28<br />

24<br />

20<br />

16<br />

12<br />

8<br />

4<br />

0<br />

Start of CWO<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of SA28<br />

Start of SA56<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

22 การเปลี่ยนแปลงปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนของกระบวนการหมัก<br />

ลักษณะการเปลี่ยนแปลงของแอมโมเนียมไนโตรเจนในถังหมักแตละใบ<br />

มี<br />

แนวโนมเปนไปในแนวทางเดียวกัน คือ มีคาเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็วในชวง<br />

1 – 2 สัปดาหแรกของ<br />

กระบวนการหมัก แสดงใหเห็นวามีกระบวนการแอมโมนิฟเคชันเกิดขึ้นในชวงนี้<br />

โดยถังหมัก<br />

ควบคุมมีปริมาณแอมโมเนียม 18.33 มก./กก.โดยน้ําหนักแหง<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วัน มีปริมาณแอมโมเนียม เทากับ 17.22, 19.03, 16.88 และ 17.02 มก./กก.โดย<br />

น้ําหนักแหง<br />

และหลังจาก 2 สัปดาหเปนตนไป ปริมาณแอมโมเนียมมีแนวโนมลดลง เกิดเนื่องจาก<br />

เกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่น<br />

โดยแอมโมเนียมจะเปลี่ยนรูปเปนไนไตรท<br />

และไนเตรท (ภาพที่<br />

23) ซึ่ง<br />

จะกลาวตอไป จากนั้นปริมาณแอมโมเนียมคอนขางคงที่เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

เมื่อพิจารณาถึงการเปลี่ยนแปลงของปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนกับการ<br />

เปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดาง<br />

(ภาพที่<br />

16) พบวา ในชวงที่มีปริมาณแอมโมเนียมเพิ่มขึ้น<br />

75


คาความเปนกรดเปนดางก็เพิ่มขึ้นดวย<br />

สอดคลองกับที่กลาวมาแลววาการยอยสลายโปรตีน<br />

ทําให<br />

ปริมาณแอมโมเนียมเพิ่มสูงขึ้น<br />

สงผลใหคาความเปนกรดเปนดางเพิ่มสูงขึ้นดวย<br />

-<br />

2.8 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนเตรทไนโตรเจน<br />

(NO3 -N)<br />

เมื่อเกิดปฏิกิริยาแอมโมนิฟเคชั่น<br />

(Ammonification) เกิดขึ้น<br />

จะใหผลิตภัณฑ คือ<br />

แอมโมเนีย ซึ่งสงเสริมการเกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่น<br />

(Nitrification) โดยแอมโมเนียมไนโตรเจนจะ<br />

เปลี่ยนรูปเปนไนไตรทไนโตรเจน<br />

และ ไนเตรทไนโตรเจน ตามลําดับ โดยจุลินทรียชนิด<br />

ไนตริฟายอิงแบคทีเรีย (nitrifying bacteria) ภายใตสภาวะที่มีอากาศ<br />

ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของ<br />

ไนเตรทไนโตรเจนในการศึกษาครั้งนี้<br />

ไดแสดงดังภาพที่<br />

23<br />

Nitrate-Nitrogen (mg/kg)<br />

35<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

Start of CWO<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of SA28<br />

Start of SA56<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

23 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนเตรทไนโตรเจนของกระบวนการหมัก<br />

จากผลการทดลอง พบวา ในชวง 1 – 2 สัปดาหแรกของกระบวนการหมัก มี<br />

ปริมาณไนเตรทไนโตรเจนคอนขางคงที่<br />

เนื่องจากโดยปกติแลวอัตราการเจริญเติบโตของ<br />

ไนตริฟายอิงแบคทีเรียจะเจริญเติบโตชากวากลุมจุลินทรียชนิดเฮเทอโรโทป<br />

(Heterotroph) แต<br />

ภายหลังจากนั้นพบวาปริมาณไนเตรทไนโตรเจนมีแนวโนมเพิ่มขึ้น<br />

โดยเพิ่มขึ้นในสัปดาหที่<br />

2-4<br />

+<br />

ซึ่งเปนชวงที่มีสารอาหารเริ่มตนอยูมาก<br />

(NH4 -N) แสดงถึงมีปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่นเกิดขึ้นหรือเริ่ม<br />

76


มีจุลินทรียดังกลาวเกิดขึ้นนั่นเอง<br />

หลังจากนั้นในชวงสัปดาหที่<br />

4-6 ไนเตรทเพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

และเริ่มลดลงในสัปดาหที่<br />

6-8<br />

+ -<br />

2.9 สัดสวนของแอมโมเนียมตอไนเตรท (NH4 : NO3 Ratio)<br />

สัดสวนของแอมโมเนียมตอไนเตรท แสดงดังภาพที่<br />

24 พบวาในชวงสัปดาหแรก<br />

ของกระบวนการหมักมีสัดสวนของแอมโมเนียมตอไนเตรทเพิ่มขึ้น<br />

หลังจากนั้นคาสัดสวน<br />

ดังกลาวมีแนวโนมลดลงอยางรวดเร็วในสัปดาหที่<br />

3 และคอยๆ ลดลงอยางตอเนื่องในสัปดาหที่<br />

4 – 8 ของกระบวนการหมัก นอกจากนี้จะเห็นไดวาถังหมักที่<br />

2, 3 (SA07, SA14) มีคาสัดสวน<br />

แอมโมเนียมตอไนเตรตคอนขางสูง อาจเนื่องจากถังดังกลาวมีการเติมดินหมักที่เปนชวงที่มีการ<br />

เจริญเติบโตของเชื ้อที่ยอยสลายโปรตีนไดมากกวาถังอื่นๆ<br />

สัดสวนของแอมโมเนียมตอไนเตรทเมื่อ<br />

สิ้นสุดกระบวนการหมักของถังหมักใบที่<br />

5 มีคาสูงสุด คือ 0.07 และถังหมักอีก 4 ใบที่เหลือมีคา<br />

เทากัน คือ 0.04 ซึ่งการลดลงของสัดสวนแอมโมเนียมตอไนเตรทนี้<br />

บงบอกถึงปฏิกิริยา<br />

ไนตริฟเคชั่น<br />

คือ มีการเปลี่ยนแปลงจากแอมโมเนียมเปลี่ยนรูปเปนไนเตรท<br />

โดยอาศัยแบคทีเรีย<br />

ชนิดไนตริฟายดอิงแบคทีเรีย จากการทดลองจะเห็นวาเมื ่อสัปดาหที่<br />

4 ของกระบวนการหมักจะมี<br />

สัดสวนแอมโมเนียมตอไนเตรทคอนขางต่ํา<br />

แสดงวามีการเกิดปฏิกิริยาไนตริฟเคชั่นไดคอนขางดี<br />

+ -<br />

NH4 : NO3 Ratio<br />

9.0<br />

8.0<br />

7.0<br />

6.0<br />

5.0<br />

4.0<br />

3.0<br />

2.0<br />

1.0<br />

0.0<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA28<br />

Start of SA56<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

24 สัดสวนของแอมโมเนียมตอไนเตรทของกระบวนการหมัก<br />

77


2.10 การเปลี่ยนแปลงของโลหะ<br />

จากการทดลองโดยวิเคราะหปริมาณโลหะในตัวอยางดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

และตัวอยางดินปนเปอนผสมวัสดุหมักของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ ซึ่งทําการเก็บตัวอยาง<br />

ณ วันแรกของ<br />

การหมัก วันที่<br />

28 และวันสุดทายของกระบวนการหมัก (วันที่<br />

56) โดยทําการวิเคราะหปริมาณ<br />

อลูมินัมที่ใชได<br />

(Extractable Al) ทองแดง (Cu) สังกะสี (Zn) และ ตะกั่ว<br />

(Pb) ดังภาพที่<br />

25 – 27<br />

ตามลําดับ<br />

จากผลการวิเคราะหหาปริมาณอลูมินัมที่ใชได<br />

(Extractable Al) ของตัวอยางดิน<br />

ปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

พบวามีปริมาณ 0.116 ไมโครกรัม/กรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

สวนตัวอยางดิน<br />

ปนเปอนน้ํามันผสมวัสดุหมัก<br />

ณ วันแรกของกระบวนการหมัก พบวา ถังหมักทั้ง<br />

5 ใบมีปริมาณ<br />

อลูมินัมที่ใชไดนอยกวา<br />

0.1 ไมโครกรัม/กรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

เนื่องจากอาจถูกเจือจางลงดวย<br />

ปริมาณของขุยมะพราวและมูลสุกรที่เติมเขามา<br />

หรือการดูดซับของอลูมินัมในสารอินทรีย และเมื่อ<br />

วิเคราะหตัวอยางดินปนเปอนน้ํามันผสมวัสดุหมัก<br />

ซึ่งผานกระบวนการหมักได<br />

28 และ 56 วันของ<br />

ถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ พบวา ปริมาณอลูมินัมที่ใชไดยังคงนอยกวา<br />

0.1 ไมโครกรัมตอกรัม โดยน้ําหนัก<br />

แหง ซึ่งจากการทดลองนี้ไมสามารถบอกถึงการเปลี่ยนแปลงของปริมาณอลูมินัมที่ใชได<br />

เนื่องจาก<br />

ขอจํากัดของวิธีการวิเคราะหปริมาณอลูมินัมที่ใชไดโดยการเทียบสี<br />

ไมสามารถบอกถึงปริมาณ<br />

อลูมินัมที่ใชไดที่มีคานอยกวา<br />

0.1 ไมโครกรัมตอกรัมได<br />

จากการวิเคราะหหาปริมาณทองแดง (Cu) และ สังกะสี (Zn) ของตัวอยางดิน<br />

ปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

พบวามีคาเทากับ 12.41 และ 84.27 ไมโครกรัม/กรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

ตามลําดับ (ตารางที่<br />

9) และเมื่อวิเคราะหปริมาณทองแดงและสังกะสีของตัวอยางจากถังหมักที่ไมมี<br />

การเติมดินหมัก และมีการเติมดินหมักอายุ 7, 14, 28 และ 56 วัน ณ วันแรกของกระบวนการหมักมี<br />

ปริมาณทองแดง เทากับ 143.70, 128.38, 168.00, 110.49 และ 113.32 ไมโครกรัม/กรัม โดยน้ําหนัก<br />

แหง ตามลําดับ (ภาพที่<br />

25) และมีปริมาณสังกะสี เทากับ 153.61, 130.53, 172.00, 117.83 และ<br />

173.16 ไมโครกรัม/กรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

ตามลําดับ (ภาพที่<br />

26) ซึ่งปริมาณทองแดงและสังกะสีที่<br />

เพิ่มขึ้นเมื่อเปรียบเทียบกับตัวอยางดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

อาจเนื่องมาจาก<br />

ปริมาณทองแดง<br />

และสังกะสีที่มีอยูในวัสดุหมักรวมโดยเฉพาะมูลสุกรซึ่งพบวามีปริมาณธาตุทั้งสองชนิดคอนขางสูง<br />

(ตารางที่<br />

2) สงผลใหปริมาณทองแดงและสังกะสีมีคาเพิ่มขึ้น<br />

และเมื่อทําการหมักไปได<br />

28 และ<br />

56 วัน พบวา ปริมาณทองแดงและสังกะสีของตัวอยางจากถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ มีคาเพิ่มขึ้นตาม<br />

78


กระบวนการหมัก และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

(วันที่<br />

56) ถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

14<br />

วัน มีปริมาณทองแดงและสังกะสีสูงสุด เทากับ 219 และ 192.5 ไมโครกรัม/กรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

ตามลําดับ สวนถังหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

28 วัน มีปริมาณทองแดงและสังกะสีต่ําสุด<br />

คือ<br />

155.37 และ 164.5 ไมโครกรัม/กรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

ตามลําดับ ซึ่งปริมาณทองแดงและสังกะสีที่<br />

เพิ่มขึ้น<br />

เนื่องมาจากการที่ปริมาณของแข็งระเหยของกองหมักมีการลดลง<br />

(ภาพที่<br />

18) ดังแสดงการ<br />

คํานวณมวลสมดุลในภาคผนวก จ ซึ่งพบวา<br />

โดยทั่วไปคาจากการคํานวณและคาจากการวิเคราะหมี<br />

ความแตกตางกัน อาจเนื่องมาจากการเก็บตัวอยางและการวิเคราะหตัวอยาง<br />

Copper Content (ug/g dry weight)<br />

250<br />

200<br />

150<br />

100<br />

50<br />

0<br />

Start day 28 End<br />

LS CWO SA07 SA14 SA28 SA56<br />

Composting Bin<br />

ภาพที่<br />

25 ปริมาณทองแดง ณ วันแรก, วันที่<br />

28 และวันสุดทายของกระบวนการหมัก<br />

Zinc Content (ug/g dry weight)<br />

250<br />

200<br />

150<br />

100<br />

50<br />

0<br />

Start day 28 End<br />

LS CWO SA07 SA14 SA28 SA56<br />

Composting Bin<br />

ภาพที่<br />

26 ปริมาณสังกะสี ณ วันแรก, วันที่<br />

28 และวันสุดทายของกระบวนการหมัก<br />

79


กรณีของตะกั่ว<br />

พบวา ปริมาณตะกั่ว<br />

(Pb) ของตัวอยางดินปนเปอนน้ํามัน<br />

มีคา<br />

เทากับ 4.9 ไมโครกรัม/กรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

(ตารางที่<br />

9) และตัวอยางดินปนเปอนที่ไมมีการเติมดิน<br />

หมัก และตัวอยางดินปนเปอนที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วัน ณ วันแรกของ<br />

กระบวนการหมัก มีปริมาณเทากับ 4.6, 4.7, 5.3, 4.9 และ 5.5 ไมโครกรัม/กรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

ตามลําดับ ซึ่งมีคาไมแตกตางกับตัวอยางดินปนเปอนน้ํามัน<br />

และเมื่อทําการหมักจนสิ้นสุด<br />

กระบวนการหมัก พบวา มีการเปลี่ยนแปลงนอยมาก<br />

อาจเนื่องจากปริมาณตะกั่วสวนใหญพบใน<br />

ดินปนเปอนน้ํามัน<br />

และเมื่อผานกระบวนการหมักดินปนเปอนนี้มีการยอยสลายนอย<br />

จึงทําให<br />

ปริมาณตะกั่วที่พบมีการเปลี่ยนแปลงนอย<br />

โดยแสดงดังภาพที่<br />

27 จากการคํานวณมวลสมดุลใน<br />

ภาคผนวก จ ซึ่งพบวา<br />

โดยทั่วไปคาจากการคํานวณและคาจากการวิเคราะหมีความแตกตางกัน<br />

อาจเนื่องมาจากการเก็บตัวอยางและการวิเคราะหตัวอยาง<br />

Lead Content (ug/g dry weight)<br />

6<br />

5<br />

4<br />

3<br />

2<br />

1<br />

0<br />

Start day 28 End<br />

LS CWO SA07 SA14 SA28 SA56<br />

Composting Bin<br />

่ ่ ภาพที 27 ปริมาณตะกั่ว<br />

ณ วันแรก, วันที 28 และวันสุดทายของกระบวนการหมัก<br />

หมายเหตุ : LS ดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

SA อายุดินหมัก<br />

CWO ไมมีการเติมดินหมัก<br />

SA07 มีการเติมดินหมักอายุ 7 วัน<br />

SA14 มีการเติมดินหมักอายุ 14 วัน<br />

SA28 มีการเติมดินหมักอายุ 28 วัน<br />

SA56 มีการเติมดินหมักอายุ 56 วัน<br />

80


3. ประสิทธิภาพในการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

3.1 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ํามันหลอลื่น<br />

ผลการทดลองการวิเคราะหปริมาณน้ํามันหลอลื่นที่ปนเปอนในดิน<br />

โดยทําการเก็บ<br />

ตัวอยาง ณ วันแรก วันที่<br />

7, 14, 21, 28, 35, 42, 49 และ 56 ของกระบวนการหมักโดยปริมาณ<br />

น้ํามันหลอลื่นที่เหลือไดแสดงดังภาพที่<br />

28 และอัตราการยอยสลายน้ํามันปนเปอนในดิน<br />

แสดงดัง<br />

ภาพที่<br />

29<br />

จากผลการทดลอง แนวโนมการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

มีแนวโนมการ<br />

ลดลงทั้ง<br />

5 ถังหมัก โดยถังหมักที ่เติมดินหมักอายุ 56 วัน (SA56) มีการลดลงมากที่สุดที่ระยะเวลา<br />

การหมัก 56 วัน คือ รอยละ 66.78 โดยน้ําหนักแหง<br />

รองลงมา คือ ถังหมักใบที่มีการเติมดินหมัก<br />

อายุ 28, 14 และ 7 วัน และถังหมักควบคุม ซึ่งมีการลดลงรอยละ<br />

52.63, 47.52, 44.27 และ 43.59<br />

โดยน้ําหนักแหง<br />

ตามลําดับ โดยมีอัตราการยอยสลายสูงในชวง 2 – 3 สัปดาหแรกของกระบวนการ<br />

หมัก โดยถังหมัก SA56 มีอัตราการยอยสลายสูงที่สุด<br />

คือ รอยละ 27.34 ในวันที่<br />

14 ของการหมัก<br />

รองลงมา คือ ถังหมัก SA14 สูงสุดในวันที่<br />

7 มีคารอยละ 21.86 และถัง SA28, CWO และ SA07<br />

คือรอยละ 17.73, 17.57 และ 16.84 ตามลําดับ เชนเดียวกับการทดลองของพงษสิทธิ์<br />

(2546) ซึ่งมี<br />

อัตราการยอยสลายเพิ่มมากขึ้นในชวง<br />

2 – 3 สัปดาหแรกของกระบวนการหมัก โดยมีอัตราการยอย<br />

สลายสูงสุด เทากับ รอยละ 31 และเมื่อหลังจาก<br />

2 – 3 สัปดาหแรกของกระบวนการหมัก อัตราการ<br />

ยอยสลายเริ่มลดลง<br />

และเริ่มคงที่เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

อัตราการยอยสลายนี้สอดคลองกับ<br />

อุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นในชวงสัปดาหแรกของกระบวนการหมัก<br />

และเริ่มลดลงจนคอนขางคงที่เมื่อ<br />

สิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

การเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมินี้<br />

แสดงถึงการทํางานของจุลินทรียในชวง<br />

ที่อุณหภูมิเพิ่มมากขึ้น<br />

และคงตัวในชวงเทอรโมฟลิคประมาณ 2 สัปดาหแรกของกระบวนการหมัก<br />

พบวามีอัตราการยอยสลายน้ํามันหลอลื่นที่ปนเปอนในดินคอนขางสูง<br />

และเมื ่ออุณหภูมิเริ่มลดลง<br />

จนเริ่มเขาสูสภาวะคงที่<br />

พบวาอัตราการยอยสลายน้ํามันปนเปอนในดินเริ่มลดลงและคงที่ในชวง<br />

สุดทายของกระบวนการหมัก โดยยกเวนถังหมัก SA56 ที่ยังมีการยอยสลายของน้ํามันอีกเพียง<br />

เล็กนอย แมวาอุณหภูมิจะคอนขางคงที่แลวก็ตาม<br />

และเมื่อพิจารณาถึงปริมาณคารบอนของ<br />

กระบวนการหมัก ก็มีแนวโนมการลดลงเชนเดียวกัน เนื่องจากจุลินทรียสามารถใชคารบอนซึ่ง<br />

เปนสวนประกอบของน้ํามันหลอลื่น<br />

เปนแหลงอาหารและพลังงานใหกับจุลินทรีย (Gotass, 1976)<br />

81


% Oil Remain (C/C 0)<br />

110<br />

100<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

CWO SA07<br />

SA14 SA28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

28 รอยละของน้ํามันหลอลื่นที่เหลือในระหวางกระบวนการหมัก<br />

Degradation rate of Oil per Week<br />

40<br />

35<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

Start of SA28<br />

Start of SA14<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA56<br />

CWO SA07<br />

SA14 Sa28<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

29 อัตราการยอยสลายน้ํามันหลอลื่นในชวงระหวางระหวางกระบวนการหมัก<br />

เมื่อพิจารณาถึงประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

ซึ่งแสดงดังภาพ<br />

ที่<br />

30 พบวา ถังหมักที่มีการเติมวัสดุหมักที่มีเชื้อเรงที่มีอายุของการผานกระบวนการหมักมากที่สุด<br />

(SA56) มีประสิทธิภาพการบําบัดดีที่สุด<br />

รองลงมา คือ ถังหมักที่มีการเติมวัสดุหมักที่มีเชื้อเรงที่มี<br />

อายุของการผานกระบวนการหมักนอยลงมา อาจเนื่องจากจุลินทรียที่เติมเขาไปในถังหมักใบที่<br />

5 มี<br />

ความคุนเคยกับสภาวะแวดลอมมากกวาถังหมักใบอื่น<br />

และทําใหระยะเวลาที่ใชในการปรับตัวของ<br />

จุลินทรียสั้นลง<br />

จึงสงผลใหอัตราการยอยสลาย และประสิทธิภาพในการบําบัดเพิ่มสูงขึ้น<br />

82


Efficiency (%)<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

CWO SA07 SA14 SA28 SA56<br />

Compost Bin<br />

ภาพที่<br />

30 ประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบเมื่อมีการหมัก<br />

ครบ 56 วัน<br />

3.2 การเปลี่ยนแปลงองคประกอบของน้ํามันหลอลื่น<br />

จากการวิเคราะหองคประกอบดวยวิธี Fourier Transform Infrared Spectrometer ซึ่ง<br />

เปนการวิเคราะหเพื่อศึกษาองคประกอบของตัวอยาง<br />

โดยในการทดลองนี้ไดทําการเปรียบเทียบ<br />

องคประกอบของตัวอยางจํานวน 8 ตัวอยาง คือ น้ํามันหลอลื่นและดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

(ภาพ<br />

ที่<br />

31) ดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นและดินปนเปอนชุดควบคุม<br />

(ภาพที่<br />

32) ดินปนเปอนผสมวัสดุ<br />

หมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

(CWO) ในชวงเริ่มตนและสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

(ภาพที่<br />

33) ดิน<br />

ปนเปอนผสมดินหมักอายุ<br />

14 วัน (SA14) ในชวงเริ่มตนและสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

(ภาพที่<br />

34)<br />

ดินปนเปอนผสมดินหมักอายุ<br />

56 วัน (SA56) ในชวงเริ่มตนและสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

(ภาพที่<br />

35)<br />

เมื่อทําการศึกษาองคประกอบของน้ํามันหลอลื่นและดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

แสดงดังภาพที่<br />

30 ซึ่งจากการเปรียบเทียบลักษณะพีค<br />

(Peak) ที่เกิดขึ้น<br />

พบวามีความคลายคลึงกัน<br />

มาก โดยพีคที่เกิดขึ้นของน้ํามันหลอลื่นและดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นเกิดที่ความยาวคลื่นเดียวกัน<br />

แทบทุกจุด และเมื่อพิจารณาถึงหมูฟงกชัน<br />

พบวา มีหมูฟงกชันที่ปรากฏเหมือนกันทั้งน้ํามัน<br />

หลอลื่นและดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

คือ Aliphatic Hydrocarbon และ Alkyl group ซึ่งสรุปได<br />

วาดินปนเปอนน้ํามันไมมีองคประกอบอื่นๆ<br />

ที่มาจากดินเองเจือปน<br />

และเมื่อเปรียบเทียบ<br />

องคประกอบของดินปนเปอนน้ํามันและวัสดุผสมชุดควบคุม<br />

(ภาพที่<br />

32) พบวามีความแตกตางกัน<br />

83


ของพีค กลาวคือ หมูฟงกชันที่ปรากฏในตัวอยางดินปนเปอนชุดควบคุมมีเพิ่มมากขึ้น<br />

เชน<br />

Hydroxy Compound และ Hydroxy or Amino Compound แสดงวาสารประกอบดังกลาวมาจาก<br />

วัสดุหมัก (มูลสุกรและขุยมะพราว) ที่นํามาเปนสวนผสมในการทดลอง<br />

เมื่อพิจารณาถึงองคประกอบของตัวอยางในถังหมัก<br />

CWO, SA14 และ SA56 ในชวง<br />

กอนกระบวนการหมักและสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

แสดงดังภาพที่<br />

33 – 35 ตามลําดับ พบวา ไมมี<br />

ความแตกตางอยางมีนัยสําคัญของพีคที่เกิดขึ้นของตัวอยางกอนหมักและหลังหมักโดยมีการเกิดขึ้น<br />

ที่ความยาวคลื่นใกลเคียงกันแทบทุกจุด<br />

และหมูฟงกชันที่ทําการวิเคราะหไดนั้น<br />

พบวา สวนใหญ<br />

เปนหมูฟงกชันที่เหมือนกัน<br />

คือ Alkyl group (Hydroxy or possibly Amino substituent) Hydroxy<br />

Compound และ Hydroxy or Amino Compound ดังนั้นจึงอาจสรุปไดวา<br />

กระบวนการหมักไมมี<br />

ผลทําใหองคประกอบของตัวอยางหรือน้ํามันหลอลื่นเปลี่ยนแปลง<br />

หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง<br />

คือ<br />

จุลินทรียที ่ยอยสลายน้ํามันหลอลื่นไมไดทําใหโครงสรางของน้ํามันหลอลื่นเปลี่ยนแปลง<br />

84


% T<br />

90<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

Lubricant<br />

Lubricant contaminated soil (LS)<br />

Lubricant LS<br />

400 800 1200 1600 2000 2400 2800 3200 3600 4000<br />

cm -1<br />

ภาพที่<br />

31 องคประกอบของน้ํามันหลอลื่น<br />

(Lubricant) และดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น(LS)<br />

85<br />

85


% T<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

Lubricant Contaminated soil (LS)<br />

CWO<br />

LS CWO (start)<br />

400 800 1200 1600 2000 cm 2400 2800 3200 3600 4000<br />

-1<br />

ภาพที่<br />

32 องคประกอบของดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่น<br />

(LS) และดินปนเปอนชุดควบคุม<br />

(CWO)<br />

86<br />

86


% T<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

400 800 1200 1600 2000 2400 2800 3200 3600 4000<br />

cm -1<br />

ภาพที่<br />

33 องคประกอบของดินปนเปอนชุดควบคุมในชวงวันแรกและวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมัก<br />

Start<br />

Finish<br />

Start Finish<br />

87<br />

87


%T<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

400 800 1200 1600 2000 2400 2800 3200 3600 4000<br />

cm -1<br />

ภาพที่<br />

34 องคประกอบของดินปนเปอนที่ผสมดินหมักอายุ<br />

14 วันในวันแรกและวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมัก<br />

Finish<br />

Start<br />

Start Finish<br />

88<br />

88


%T<br />

80<br />

70<br />

60<br />

50<br />

40<br />

30<br />

20<br />

10<br />

0<br />

400 800 1200 1600 2000 2400 2800 3200 3600 4000<br />

cm -1<br />

ภาพที่<br />

35 องคประกอบของดินปนเปอนที่ผสมดินหมักอายุ<br />

56 วันในวันแรกและวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมัก<br />

Start<br />

Finish<br />

Start Finish<br />

89<br />

89


4. การทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ด (Seed Germination Test)<br />

การทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ดนั้น<br />

ไดทําการทดสอบในที่มืด<br />

ซึ่งการ<br />

ทดสอบกอนนําเมล็ดมาทดลอง จะมีการนําเมล็ดมาแชน้ําเปนเวลา<br />

1 คืน แลวจึงทําการคัดเมล็ดที่<br />

ลอยทิ้ง<br />

และนําเมล็ดที่ไมลอยมาทําการทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ด<br />

(ดังแสดงใน<br />

วิธีการทดลองขอที่<br />

4) โดยคาปกติของรอยละการงอกของเมล็ดควรมีคาอยางนอยรอยละ 80 จึงถือ<br />

วาปุยหรือดินนั้นสามารถนําไปใชในการเพาะปลูกได<br />

(CCQC, 2001) ซึ่งในการทดลองนี้ไดใชเมล็ด<br />

ผักบุงและมะเขือเทศ<br />

เพื่อการทดสอบการงอกของเมล็ด<br />

โดยไดทําการทดสอบกับตัวอยางจากถัง<br />

หมักทั้ง<br />

5 ใบ ในวันแรก, 7, 14, 21, 28, 35, 42, 49 และ 56 วันของกระบวนการหมัก แบงการ<br />

ทดลองออกเปน 2 รูปแบบ ไดแก การงอกของเมล็ดในน้ําชะดินหมักที่อัตราสวนน้ําตอดินหมัก<br />

เทากับ 2 ตอ 1 (ภาพที่<br />

36, 37) และการงอกของเมล็ดบนตัวอยาง (ภาพที่<br />

38, 39) โดยช ุดควบคุม<br />

การงอกของเมล็ด คือ การทดสอบการงอกของเมล็ดบนสําลีที่มีน้ํากลั่น<br />

Seed Germination (%)<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

Start of SA14<br />

Start of CWO Start of SA28<br />

Start of SA07<br />

Control น้ําชะ<br />

CWO น้ําชะ<br />

SA07<br />

น้ําชะ<br />

SA14 น้ําชะ<br />

SA28 น้ําชะ<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

36 การงอกของเมล็ดผักบุงในน้ําชะดินหมัก<br />

Start of SA56<br />

Standard line<br />

90


Seed Germination (%)<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

Control น้ําชะ<br />

CWO น้ําชะ<br />

SA07<br />

น้ําชะ<br />

SA14 น้ําชะ<br />

SA28 น้ําชะ<br />

SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

37 การงอกของเมล็ดมะเขือเทศในน้ําชะดินหมัก<br />

Seed Germination (%)<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

Start of CWO<br />

Start of SA07<br />

Start of CWO<br />

Start of SA14<br />

Start of SA14<br />

Start of SA28<br />

Start of SA28<br />

Start of SA07<br />

Control CWO SA07<br />

SA14 SA28 SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

38 การงอกของเมล็ดผักบุงในดินหมัก<br />

Start of SA56<br />

Start of SA56<br />

Standard line<br />

Standard line<br />

91


Seed Germination (%)<br />

120<br />

100<br />

80<br />

60<br />

40<br />

20<br />

0<br />

Start of CWO<br />

Start of SA14<br />

Start of SA28<br />

Start of SA07<br />

Control CWO SA07<br />

SA14 SA28 SA56<br />

0 7 14 21 28 35 42 49 56 63 70 77 84 91 98 105 112<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

39 การงอกของเมล็ดมะเขือเทศในตัวอยาง<br />

Start of SA56<br />

Standard line<br />

จากผลการทดสอบการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศในน้ําชะดินหมักและในดินหมัก<br />

พบวา มีแนวโนมการงอกของเมล็ดเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการหมัก<br />

โดยในชวง 2 สัปดาหแรกมี<br />

แนวโนมการงอกของเมล็ดยังไมมากนัก แตเมื่อหลังสัปดาหที่<br />

2 แลวแนวโนมการงอกของเมล็ด<br />

เพิ่มขึ้นอยางรวดเร็ว<br />

อาจเนื่องจากภายหลังชวง<br />

2 สัปดาหแรกปริมาณแอมโมเนียมตอไนเตรทมีการ<br />

เพิ่มขึ้น<br />

ทําใหการงอกของเมล็ดยังไมมากนักหรือยังมีปริมาณของน้ํามันหลอลื่นสูง<br />

แตเมื่อหลัง<br />

สัปดาหที่<br />

2 แลวปริมาณแอมโมเนียมซึ่งเปนพิษตอการงอกของเมล็ดมีการลดลง<br />

และสัดสวนของ<br />

แอมโมเนียมตอไนเตรทมีคาลดลงนอยกวา 3.0 ซึ่งถือวาไมเปนพิษตอพืช<br />

(ภาพที่<br />

24, California<br />

Compost Quality Control, 2001) ดังนั้นการงอกของเมล็ดจึงมีการเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ<br />

โดยรอยละการงอก<br />

ในน้ําชะตัวอยางของผักบุง<br />

เทากับ 80 เมื่อผานกระบวนการหมักไป<br />

3 สัปดาห สําหรับถังหมัก<br />

SA28 และ SA56, 4 สัปดาห สําหรับถังหมัก CWO และ SA14 และ 6 สัปดาหสําหรับถังหมัก<br />

SA07 สวนเมล็ดมะเขือเทศนั้น<br />

เทากับ รอยละ 80 เมื่อผานกระบวนการหมักไป<br />

2 สัปดาห สําหรับ<br />

ถังหมัก SA56, 3 สัปดาห สําหรับถังหมัก SA14 และ SA28 และ 4 สัปดาห สําหรับถังหมัก CWO<br />

และ SA07 เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

รอยละการงอกของเมล็ดผักบุง<br />

พบวา ถังหมัก CWO มี<br />

รอยละการงอก เทากับ 93.33 และถังหมัก SA07, SA14, SA28 และ SA56 เทากับ 100 สวนรอยละ<br />

การงอกของเมล็ดมะเขือเทศของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ เทากับ 100<br />

92


เมื่อพิจารณาถึงการงอกของเมล็ดผักบุงในดินหมักของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ พบวา ในชวง<br />

เริ่มตนมีรอยละการงอกของเมล็ดคอนขางต่ํา<br />

แตเมื่อทําการหมักไปเรื่อยๆ<br />

พบวารอยละการงอกของ<br />

เมล็ดเพิ่มขึ้น<br />

ซึ่งถังหมัก<br />

SA28และ SA56 มีรอยละการงอกของเมล็ด เทากับ 80 ในสัปดาหที่<br />

3<br />

ของกระบวนการหมัก ถังหมัก SA07 และ SA14 ในสัปดาหที่<br />

4 และถังหมัก CWO ในสัปดาหที่<br />

5<br />

เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

พบวา ถังหมัก CWO มีรอยละการงอกของเมล็ด เทากับ 93.33 ถัง<br />

หมัก SA07, SA14, SA28 และ SA56 มีรอยละการงอกของเมล็ดเทากับ 100 สวนการงอกของเมล็ด<br />

มะเขือเทศของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ พบวา เมื่อเริ่มตนกระบวนการหมักมีรอยละการงอกของเมล็ดของ<br />

ถัง CWO, SA07, SA14, SA28 และ SA56 เทากับ 13.33, 20.00, 26.67, 26.67 และ 33.33 ตามลําดับ<br />

เมื่อสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

ถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ มีรอยละการงอกของเมล็ด เทากับ 100<br />

จากการทดลองสรุปไดวา การทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ด มีแนวโนมลดลง<br />

ตามระยะเวลาของกระบวนการหมัก และการลดลงของน้ํามันหลอลื่นเนื่องจากกระบวนการหมัก<br />

เชนเดียวกับการทดลองของพงษสิทธิ์<br />

(2546) เมื่อเปรียบเทียบการงอกของเมล็ดผักบุงและ<br />

มะเขือเทศของถังหมักแตละใบดวยน้ําชะดินหมัก<br />

พบวา มีรอยละการงอกของเมล็ดแตกตางกันนอย<br />

มาก อาจเนื่องมาจากชวงเวลาในการเตรียมน้ําชะนอย<br />

(2 ชั่วโมง)<br />

ทําใหการชะสารหรือแรธาตุตางๆ<br />

ซึ่งอาจมีความเปนพิษตอเมล็ดออกมาไดไมมาก<br />

นอกจากนี้น้ํามันหลอลื่นเปนสารไมละลายน้ํา<br />

จึง<br />

อาจไมชะมากับน้ําชะดินหมัก<br />

แตหากเปรียบเทียบการงอกของเมล็ดในดินหมัก พบวา มีความ<br />

แตกตางกันพอสมควร ทั้งนี้เนื่องจากเมล็ดมีโอกาสสัมผัสน้ํามันหลอลื่นไดมากกวาวิธีการทดสอบ<br />

ดวยน้ําชะดินหมัก<br />

ผลการทดลองการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นดวยวิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

ในการทดลองนี้เปนการศึกษาถึงการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันดวยการฟนฟูดวยพืช<br />

ซึ่งเปน<br />

การบําบัดตอจากกระบวนการหมัก โดยตัวอยางที่นํามาทําการศึกษานี้ไดเลือกตัวอยางผสมดินหมัก<br />

ที่มีประสิทธิภาพในการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันดวยกระบวนการหมักสูงสุด<br />

ในที่นี้คือ<br />

ดิน<br />

ปนเปอนน้ํามันที่ผสมวัสดุหมักและดินหมักที่มีอายุ<br />

56 วัน ซึ่งสิ้นสุดกระบวนการหมักแลว<br />

และพืช<br />

ที่นํามาใชในการฟนฟูนี้<br />

คือ หญานวลนอย มีพื้นที่การปลูก<br />

เทากับ 2 x 2 ตารางนิ้ว<br />

ตอตัวอยาง 1<br />

กิโลกรัม ซึ่งในการทดลองนี้มีชุดควบคุม<br />

2 ชนิด คือ ดินสีดา และ ดินรวนปนทรายที่ถูกใชในการ<br />

ทําดินปนเปอนสังเคราะหผสมวัสดุหมัก<br />

นอกจากนี้ในการศึกษานี้ยังทําการเปรียบเทียบตัวอยางที่มี<br />

93


การปลูกพืชและไมปลูกพืช โดยการทดลองทั้งหมดในสวนนี้ไดทําการทดลองซ้ํา<br />

3 ชุด ซึ่งผลการ<br />

ทดลองมีดังนี้<br />

1. การเปลี่ยนแปลงความสูง<br />

และน้ําหนักแหงของพืช<br />

จากการทดลองซึ่งทําการปลูกพืชโดยใชดินสีดา<br />

ดินรวนปนทรายผสมวัสดุหมัก (มูลสุกร<br />

และขุยมะพราว โดยผสมให C:N เทากับ 30:1) และดินหมักชุด SA56 ซึ่งสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

แลว (56 วัน) โดยทําการปลูกเปนระยะเวลา 4 สัปดาห ทําการตรวจวัดความสูงและการแผทุก 7 วัน<br />

และวิเคราะหน้ําหนักแหงเมื่อเริ่มตนและสิ้นสุดการทดลอง<br />

โดยผลการตรวจวัดความสูง แสดงดัง<br />

ภาพที่<br />

40 พบวา ดินปนเปอนน้ํามันที่ผสมวัสดุหมักและดินหมักที่มีอายุ<br />

56 วัน ซึ่งสิ้นสุด<br />

กระบวนการหมักแลว มีการเพิ่มขึ้นของความสูงเฉลี่ยมากที่สุด<br />

คือ 28.46 ซม. (SD = 2.67)<br />

รองลงมาคือ ดินรวนปนทราย และดินสีดา โดยมีการเพิ่มขึ้นของความสูงเฉลี่ย<br />

เทากับ 26.56 (SD<br />

= 3.14) และ 22.40 ซม. (SD = 1.99) ตามลําดับ และเมื่อพิจารณาถึงน้ําหนักแหงของพืชที่เพิ่มขึ้น<br />

เมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

ดังภาพที่<br />

41 พบวา ดินสีดามีน้ําหนักเพิ่มขึ้นมากที่สุด<br />

เทากับ 0.6301 กรัม<br />

รองลงมาคือ ดินปนเปอนน้ํามันที่ผสมวัสดุหมักและเชื้อเรง<br />

และ ดินรวนปนทราย ตามลําดับ โดยมี<br />

การเปลี่ยนแปลงของน้ําหนักแหง<br />

เทากับ 0.4912 และ 0.0307 กรัม ตามลําดับ ซึ่งการเปลี่ยนแปลง<br />

ของน้ําหนักแหงที่แตกตางกัน<br />

เนื่องมาจากความสมบูรณของดินที่แตกตางกัน<br />

กลาวโดยสรุปไดวา<br />

ดินหมัก SA56 ไมมีผลตอการเจริญเติบโตของหญานวลนอย<br />

Plant Height (cm.)<br />

30<br />

25<br />

20<br />

15<br />

10<br />

5<br />

0<br />

Csitt Csand SA56<br />

0 7 14 21 28<br />

Day of Experiment<br />

ภาพที่<br />

40 การเปลี่ยนแปลงความสูงของพืชที่ปลูกในดินสีดา<br />

ดินรวนปนทรายผสมวัสดุหมัก และ<br />

ดินปนเปอนน้ํามันที่มีเชื้อเรง<br />

94


หมายเหตุ: Csitt ดินสีดา<br />

Csand ดินรวนปนทรายผสมวัสดุหมัก<br />

SA56 ดินหมักชุด SA56 ที่สิ้นสุดกระบวนการหมักแลว<br />

Plant Dry Weight (g)<br />

3.0<br />

2.5<br />

2.0<br />

1.5<br />

1.0<br />

0.5<br />

0.0<br />

Start Finish<br />

Csitt Csand SA56<br />

Experiment<br />

ภาพที่<br />

41 การเปลี่ยนแปลงการเปลี่ยนแปลงน้ําหนักแหงของพืชที่ปลูกในดินสีดา<br />

ดินรวนปนทราย<br />

ผสมวัสดุหมัก และดินปนเปอนน้ํามันที่มีเชื้อเรง<br />

หมายเหตุ: Csitt ดินสีดา<br />

Csand ดินรวนปนทรายผสมวัสดุหมัก<br />

SA56 ดินหมักชุด SA56 ที่สิ้นสุดกระบวนการหมักแลว<br />

2. การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ํามันหลอลื่น<br />

จากการวิเคราะหปริมาณน้ํามันหลอลื่น<br />

เพื่อศึกษาถึงประสิทธิภาพในการบําบัดตอดวย<br />

วิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

ซึ่งทําการเปรียบเทียบระหวางมีการปลูกพืชและไมปลูกพืชของตัวอยางดิน<br />

หมักชุด SA56 วัน ที่สิ้นสุดกระบวนการหมักแลว<br />

พบวา ตัวอยางที่มีการปลูกพืชมีการลดลงของ<br />

น้ํามันมากกวาตัวอยางที่ไมมีการปลูกพืช<br />

ดังภาพที่<br />

42 โดยดินหมักมีปริมาณน้ํามันเริ่มตน<br />

10 มก./ก.<br />

และเมื่อทําการปลูกพืชแลวมีปริมาณน้ํามัน<br />

เทากับ 8.3 มก./ก. (ลดลง 1.7 มก./ก.) แตดินหมักที่ไมมี<br />

การปลูกพืช มีปริมาณน้ํามัน<br />

เทากับ 9.8 มก./ก. (ลดลง 0.2 มก./ก.) นอกจากนี้เมื่อวิเคราะหปริมาณ<br />

น้ํามันในพืช<br />

พบวา โดยปริมาณน้ํามันในพืชเริ่มตน<br />

คือ 0.215 มก./ก. แตเมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

พบวาปริมาณนั้นในพืช<br />

มีคาเทากับ 0.23 มก./ก. (ปริมาณน้ํามันในพืชเพิ่มขึ้น<br />

เทากับ 0.015 มก./ก.)<br />

95


จึงอาจกลาวไดวา พืชมีการดูดซับน้ํามันไวบาง<br />

อยางไรก็ตามเมื่อคํานวณมวลสมดุลในระบบ<br />

(Mass<br />

balance) (ดังแสดงในภาคผนวก ค) พบวามีการยอยสลายน้ํามันในดินเปนกระบวนการหลักของการ<br />

กําจัดน้ํามัน<br />

โดยการทดลองที่มีการปลูกพืชจะมีการยอยสลาย<br />

เทากับ 1446.16 มก. สวนการทดลอง<br />

ที่ไมมีการปลูกพืชจะมีการยอยสลาย<br />

เทากับ 712.8 มก. ซึ่งอาจแสดงใหเห็นวาการปลูกพืชนั้นชวย<br />

เพิ่มอัตราการเกิดออกซิเดชั่น<br />

และการกระตุนแบคทีเรียที่ใชสารอาหารประเภทคารบอนเปนแหลง<br />

อาหาร (Wong et al., 1997)<br />

Oil Content in soil (mg/g)<br />

12.0<br />

10.0<br />

8.0<br />

6.0<br />

4.0<br />

2.0<br />

0.0<br />

SA56(S) SA56(WOP) SA56(WP)<br />

Experiment<br />

่ ภาพที 42 ปริมาณน้ํามันหลอลื่นของดินหมักชุด<br />

SA56 เมื่อเริ่มตน<br />

และสิ้นสุดการทดลอง<br />

หมายเหตุ: SA56(S) ดินหมักชุด SA56 เมื่อเริ่มตนการทดลอง<br />

SA56(WOP) ดินหมักชุด SA56 เมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

และไมมีการปลูกพืช<br />

SA56(WP) ดินหมักชุด SA56 เมื่อสิ้นสุดการทดลอง<br />

และมีการปลูกพืช<br />

96


สรุปผลการทดลอง<br />

จากการศึกษาวิจัยการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นผานกระบวนการหมักรวมกับการ<br />

ฟนฟูดวยพืช<br />

ซึ่งไดทําการศึกษาการเติมดินหมักที่มีการหมักอายุตางๆ<br />

กัน ตอประสิทธิภาพการ<br />

บําบัด และการนําพืชไปบําบัดตอเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการบําบัด<br />

สามารถสรุปผลการทดลอง<br />

ไดดังนี้<br />

1. การเติมดินหมักที่มีจุลินทรียตางชนิดกันเพื่อเปนเชื้อเรงในสัดสวนรอยละ<br />

10 โดย<br />

น้ําหนักแหง<br />

สามารถเพิ่มประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่ความเขมขนรอยละ<br />

3.05 โดยน้ําหนักแหง<br />

(30,500 มก./กก.) กระบวนการหมักที่มีการเติมดินหมักอายุ<br />

7, 14, 28 และ<br />

56 วัน ซึ่งเปนจุลินทรียตางชนิดกัน<br />

มีประสิทธิภาพในการบําบัด เทากับ รอยละ 44.27, 47.52, 52.63<br />

และ 66.78 ตามลําดับ ซึ่งมีประสิทธิภาพเพิ่มขึ้นกวากระบวนการหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

เทากับ รอยละ 0.68, 3.93, 9.04 และ 23.19 ตามลําดับ<br />

2. กระบวนการหมักที่ไมมีการเติมดินหมักและกระบวนการหมักที่มีการเติมดินหมักที่<br />

อายุตางๆ กัน ไมมีนัยสําคัญเกี่ยวกับคาอุณหภูมิสูงสุด<br />

แตมีผลตอระยะเวลาการเพิ่มขึ้นของ<br />

อุณหภูมิ ซึ่งถังหมักที่มีการเติมดินหมักจะมีการเพิ่มขึ้นของอุณหภูมิเร็วกวาถังหมักที่ไมมีการเติม<br />

ดินหมัก<br />

3. การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดางและแอมโมเนียมไนโตรเจนเปนไปใน<br />

แนวทางเดียวกัน คือ เมื่อปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนเพิ่มขึ้น<br />

คาความเปนกรดเปนดางก็เพิ่มขึ้น<br />

ดวย เนื่องจากการยอยสลายโปรตีน<br />

ทําใหปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนเพิ่มขึ้น<br />

เกิดการดูดซับ<br />

ไฮโดรเจนอิออนไวไดมาก สงผลใหคาความเปนกรดเปนดางสูงขึ้น<br />

4. กระบวนการหมักที่มีมูลสุกรและขุยมะพราวเปนวัสดุหมัก<br />

มีผลตอการเพิ่มปริมาณ<br />

ทองแดงและสังกะสี เนื่องจากทองแดงและสังกะสีซึ่งมีมากในวัสดุหมัก<br />

และเมื่อทําการหมักไป<br />

ปริมาณทองแดงและสังกะสีมีคาเพิ่มขึ้น<br />

เพราะปริมาณของแข็งระเหยของกองหมักลดลง แตไม<br />

สงผลตอการเปลี่ยนแปลงของปริมาณตะกั่วอยางมีนัยสําคัญ<br />

เนื่องจากตะกั่วสวนใหญอยูในดิน<br />

ปนเปอน<br />

ซึ่งอาจมีการยอยสลายนอย<br />

จึงทําใหปริมาณตะกั่วมีการเปลี่ยนแปลงนอย<br />

97


5. กระบวนการหมักดินปนเปอนน้ํามันไมสงผลตอการเปลี่ยนแปลงองคประกอบหรือ<br />

โครงสรางของน้ํามันหลอลื่น<br />

คือ เมื่อเริ่มตนกระบวนการหมักและสิ้นสุดกระบวนการหมัก<br />

ไมมี<br />

การเปลี่ยนแปลงของหมูฟงกชันอยางมีนัยสําคัญ<br />

6. กระบวนการหมักดินปนเปอนน้ํามันชวยลดความเปนพิษตอการงอกของเมล็ดผักบุง<br />

และมะเขือเทศ โดยมีการงอกของเมล็ดเพิ่มขึ้นตามระยะเวลาการหมัก<br />

และเมื่อสิ้นสุดกระบวนการ<br />

หมักตัวอยางจากถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ มีรอยละการงอกของเมล็ดมากกวา 80 ดังนั้นอายุดินหมักตางๆ<br />

ที่<br />

ใชเปนเชื้อเรง<br />

ไมมีนัยสําคัญตอการลดลงของความเปนพิษตอกระบวนการหมักเมื่อมีการหมัก<br />

56<br />

วัน<br />

7. การใชพืชบําบัดสามารถชวยลดปริมาณน้ํามันซึ่งปนเปอนในดินได<br />

โดยการปลูกพืช<br />

ชวยเพิ่มอัตราการออกซิเดชั่น<br />

และกระตุนแบคทีเรียที่ใชสารอาหารประเภทคารบอนเปนแหลง<br />

อาหาร<br />

98


1. แนวทางการนําผลการทดลองไปใชประโยชน<br />

ขอเสนอแนะ<br />

การใชกระบวนการหมักโดยมีการเติมดินหมักเพื่อเปนเชื้อเรง<br />

และการใชพืชดูดซับตอจาก<br />

กระบวนการหมัก สิ่งที่ตองคํานึงถึงซึ่งไดจากการวิจัยครั้งนี้<br />

มีดังนี้<br />

1.1 การควบคุมอุณหภูมิภายในถังหมัก มีการหุมฉนวนโดยการใชโฟมและมีการนําฟาง<br />

ขาวมาคลุมดานบนของกองหมัก เพื่อปองกันการสูญเสียความรอนภายในถังหมักเมื่ออุณหภูมิเพิ่ม<br />

สูงขึ้น<br />

นอกจากนี้ยังมีการเติมอากาศผานทางทอซึ่งมีการตอแบบแขนงภายใตกองหมักเพื่อชวย<br />

ปองกันการสูญเสียความรอนอีกทางหนึ่งและเพื่อใหมีการเติมอากาศอยางทั่วถึงภายในถังหมัก<br />

โดย<br />

ควบคุมอัตราการเติมอากาศ เทากับ 0.4 ลบ.ม./กก.ของแข็งระเหย/วัน และอัตราสวนคารบอนตอ<br />

ไนโตรเจนของวัสดุหมัก เทากับ 30 ตอ 1<br />

1.2 การบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุของการหมักนาน<br />

56<br />

วัน โดยมีสัดสวนการเติมรอยละ 10 โดยน้ําหนักแหง<br />

มีประสิทธิภาพในการบําบัดน้ํามันหลอลื่น<br />

เพิ่มขึ้น<br />

ซึ่งการเติมดินหมักควรกระจายดินหมักใหทั่วๆ<br />

และคลุกเคลาใหเขากัน เพื่อใหจุลินทรียที่<br />

มีความคุนเคยกับสภาวะแวดลอมแลวมีการกระจายทั่วทั้งกองหมัก<br />

1.3 การเติมน้ําเพื่อชวยควบคุมระดับความชื้นของกองหมักใหอยูในชวงรอยละ<br />

40 – 60<br />

ควรมีการเติมอยางพอเหมาะ หากทําการเติมน้ํามากเกินอาจทําใหเกิดกระบวนการหมักแบบไมมี<br />

อากาศ เนื่องจากน้ํานั<br />

้นอาจไปกั้นขวางการเติมอากาศภายในกองหมัก<br />

1.4 การบําบัดโดยการใชพืชบําบัด ซึ่งใชหญานวลนอยในการทดลอง<br />

ตองทําการปลูก<br />

ในที่มีแสงแดดจัดและสองถึงโดยทั่ว<br />

เนื่องจากหญาชนิดนี้ชอบที่มีแดดจัดจึงจะเจริญเติบโตไดดี<br />

2. การศึกษาวิจัยในอนาคต<br />

2.1 การศึกษาถึงประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันหลอลื่นโดยใชกระบวนการ<br />

หมัก ควรศึกษาชนิดของเชื้อจุลินทรียที่สงผลตอประสิทธิภาพการบําบัด<br />

และทําการคัดแยกเชื้อนั้น<br />

เพื่อใชเปนเชื้อเรงในกระบวนการหมัก<br />

99


2.2 ศึกษาประสิทธิภาพการบําบัดโดยใชดินจากพื้นที่ที่มีการปนเปอนจริง<br />

และทําการ<br />

บําบัด ณ พื้นที่ที่มีการปนเปอน<br />

2.3 ศึกษาถึงการประสิทธิภาพการบําบัดดินปนเปอนน้ํามันโดยการใชพืชบําบัดเพียง<br />

อยางเดียว โดยทําการทดลองใชพืชหลายๆ ชนิด และเพิ่มระยะเวลาการบําบัดพรอมกับเพิ่มพื้นที่ใน<br />

การปลูก<br />

100


เอกสารและสิ่งอางอิง<br />

กองอนุรักษดินและน้ํา.<br />

2539. คูมือเจาหนาที่รัฐเรื่องการปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ.<br />

กรมพัฒนา<br />

ที่ดิน,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

กรมควบคุมมลพิษ. 2544. คูมือการทําปุยหมักจากขยะมูลฝอย.<br />

กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี<br />

และสิ่งแวดลอม,<br />

กรุงเทพฯ. 12 น.<br />

กรรณิการ สิริสิงห. 2544. เคมีของน้ํา<br />

น้ําโสโครกและการวิเคราะห.<br />

พิมพครั้งที่<br />

3. ม.ป.ท.<br />

กฤตินี กาญจนาภา. 2539. ไบโอรีมิดิเอชันของดินปนเปอนน้ํามันดิบ.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท,<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี.<br />

จันทนา ไขถาวร. 2543. การบําบัดกากตะกอนปนเปอนน้ํามันรวมกับกากตะกอนชีวภาพโดยวิธีใช<br />

อากาศ. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

จันทรเพ็ญ ขําแกว. 2540. สภาพและปญหาน้ํามันหลอลื่นที่ใชแลวในประเทศไทยและการประเมิน<br />

เทคโนโลยีที่เหมาะสมเพื่อการบําบัด.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี<br />

พระจอมเกลาธนบุรี.<br />

ชรัตน รุงเรืองศิลป.<br />

2533. น้ํามัน.<br />

กองวิเคราะหผลกระทบสิ่งแวดลอม<br />

สํานักงานคณะกรรมการ<br />

สิ่งแวดลอมแหงชาติ,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

ชีวิทย ธารชลานุกิจ. 2521. คุณคาอาหารของมูลสุกร. คณะประมง มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

ธงชัย มาลา. 2535. ปุยชีวภาพเพื่อการเกษตร.<br />

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

ธิดา วิเชียรเพชร. 2539. ปญหามลพิษจากการใชน้ํามันหลอลื่นและผลิตภัณฑที่ใชแลว.<br />

ขาวสาร<br />

อันตราย 7(3): 27-31.<br />

101


นลินี วองมงคลฤทธิ์.<br />

2536. ปุยอินทรีย.<br />

คณะเกษตรศาสตร บางพระ (พระนครศรีอยุธยา หันตรา)<br />

สถาบันเทคโนโลยีราชมงคล.<br />

บัณฑิต ธานินทรธราธร. 2536. กาซชีวภาพ. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

บุษบา ธรรมประเสริฐ. 2536. การบําบัดของเสียจากสุกรโดยใชระบบหมักแบบ Upflow Anaerobic<br />

Sludge Blanket. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

ประเสริฐ เทียนนิมิตร, ขวัญชัย สินทิพยสมบูรณ และ ปานเพชร ชินินทร. 2521. เชื้อเพลิงและ<br />

สารหลอลื่น.<br />

ซีเอ็ดยูเคชั่น,<br />

กรุงเทพฯ. น. 226-315.<br />

ปรีดา แยมเจริญวงศ. 2531. การจัดการขยะมูลฝอย. คณะสาธารณสุขศาสตร มหาวิทยาลัย<br />

ขอนแกน, ขอนแกน.<br />

พงษสิทธิ์<br />

บุญรักษา. 2546. การบําบัดดินที่ปนเปอนน้ํามันหลอลื่นผานกระบวนการหมักทําปุยโดย<br />

ใชมูลสุกรเปนวัสดุรวมในการหมัก. วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

พนม ภูประสงค.<br />

2545. การจัดการน้ํามันหลอลื่นใชแลวจากสถานีจําหนายน้ํามันและบริการ<br />

เปลี่ยนถายน้ํามันเครื่องในเขตกรุงเทพมหานคร.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัย<br />

เกริก.<br />

พนัส งามกนกวรรณ. 2547. ปญหาน้ํามันหลอลื่นใชแลว.<br />

Available Source: http://www.diw.go.th/<br />

editwebsite/html/versionthai/news/envoil_1.asp, 30 พฤษภาคม 2547.<br />

พัชรี หอวิจิตร. 2529. การจัดการมูลฝอย. มหาวิทยาลัยขอนแกน, ขอนแกน.<br />

102


ไพบูลย ประพฤติธรรม, สิทธิชัย ตันธนะสฤษดิ์<br />

และอรอนงค ผิวนิล. 2542. การพัฒนาเทคโนโลยี<br />

กลองคอนกรีตเปดและปดฝาทําปุยหมักดวยวัสดุเสริมและการใชดินเปนตัวรับอิเล็คตรอน<br />

ชวยการยอยสลาย. ใน เทคโนโลยีการกําจัดขยะแบบประหยัดและการบําบัดดวยพืช.<br />

โครงการศึกษาวิจัยและพัฒนาสิ่งแวดลอมแหลมผักเบี้ยอันเนื่องมาจากพระราชดําริ,<br />

เพชรบุรี.<br />

ภาวนา ลิกขนานนท. 2528. ปุยชีวภาพ.<br />

กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ.<br />

มณเฑียร กังศศิเทียม. 2539. กลศาสตรของดินดานวิศวกรรม. พิมพครั้งที่<br />

7. สมาคมศิษยเกา<br />

วิศวกรรมชลประทานในพระบรมราชูปถัมภ, กรุงเทพฯ.<br />

มัลลิกา ปญญาคะโป. 2544. การจัดการของเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม. ภาควิชาวิทยาศาสตร<br />

สิ่งแวดลอม<br />

คณะวิทยาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, นครปฐม.<br />

เมธี มณีวรรณ. 2542. มาตรฐานปุยอินทรีย(ปุยหมัก).<br />

วารสารพัฒนาที่ดิน<br />

36(374): 12 - 22.<br />

วงศพันธ ลิมปเสนีย. 2538. การควบคุมดูแลระบบบําบัดน้ําเสีย.<br />

โรงพิมพจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย,<br />

กรุงเทพฯ<br />

วิชนันท ธรรมบํารุง. 2545. การดูดดึงสารหนูที่ปนเปอนในดินโดยใชเผือกและบอน.<br />

วิทยานิพนธ<br />

ปริญญาโท, จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.<br />

ศุภมาศ พนิชศักดิ์พัฒนา.<br />

2535. ปฐพีวิทยาเบื้องตน.<br />

พิมพครั้งที่<br />

7. ภาควิชาปฐพีวิทยา<br />

มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

. 2539. ภาวะมลพิษของดินจากการใชสารเคมี. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีแหงประเทศไทย. 2522. รายงานการวิจัยการผลิตกาซ<br />

ชีวภาพจากมูลสัตวโดยถังหมักแบบบรรจุตัวกลาง. 68 น.<br />

103


สนิท อักษรแกว. 2532. ปาชายเลน นิเวศนวิทยาและการจัดการ. หจก. คอมพิวเตอร แอดเวอรไท<br />

ซิงค, กรุงเทพฯ.<br />

สมรัตน ยินดีพิธ. 2534. ขั้นตอนสุดทายของการกําจัดคราบน้ํามัน.<br />

วารสารความรูคือประทีป<br />

1(34):<br />

7 - 14.<br />

สมาคมวิศวกรสิ่งแวดลอมแหงประทศไทย.<br />

2540. ศัพทบัญญัติและนิยามขยะ.<br />

เรือนแกวการพิมพ, กรุงเทพฯ.<br />

สุมิตรา ภูวโรดม.<br />

2532. ปุยชีวภาพเพื่อการเกษตร.<br />

สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร<br />

ลาดกระบัง, กรุงเทพฯ<br />

องอาจ เอี่ยมสําอางค.<br />

2542. การใชระบบอัดอากาศในการทําปุยหมักจากเศษพืชผักรวมกับตะกอน<br />

น้ําทิ้งชุมชน.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

อรรถชัย รักษาศิลป. 2543. การศึกษาองคประกอบบางประการของมูลสุกรและการจัดการเพื่อขจัด<br />

ปญหาสิ่งแวดลอมที่นาจะเหมาะสม.<br />

วิทยานิพนธปริญญาโท, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร.<br />

อดิศักดิ์<br />

ทองไขมุกต, สุณี ปยะพันธุพงศ,<br />

นภวัศ บัวสรวง และอิมซาน หะยีบากา. 2541. การ<br />

จัดการมูลฝอยและสิ่งแวดลอม.<br />

ศูนยวิจัยและฝกอบรมดานสิ่งแวดลอม<br />

กรมสงเสริม<br />

คุณภาพสิ่งแวดลอม<br />

กระทรวงวิทยาศาสตร เทคโนโลยี และสิ่งแวดลอม,<br />

กรุงเทพฯ.<br />

เอกวัล ลือพรอมชัย. 2546. เทคโนโลยีชีวภาพกับการบําบัดสารเคมีอันตราย. วารสารสิ่งแวดลอม<br />

7(28): 8-11.<br />

เอิบ เชียวรื่นรมณ.<br />

2533. ดินของประเทศไทย ลักษณะการแตกกระจายและการใช. มหาวิทยาลัย<br />

เกษตรศาสตร, กรุงเทพฯ.<br />

Atlas, R.M. 1975. Effect of Temperature and Crude Oil Composition on Petroleum<br />

Biodegradation. Applied Microbiology 30(3): 396-403.<br />

104


Atlas, R.M. 1991. Microbial Hydrocarbon Degradation – Bioremediation of Oil Spills. J. Chem.<br />

Technol. Biotechnol. 52: 149 – 156.<br />

Atlas, R.M. and R. Bartha. 1987. Microbial Ecology: Fundamentals and Applications. 2 nd ed.<br />

The Benjamin/Cummings Publishing Company, California.<br />

Backer, K.H. and D.S. Herson. 1994. Bioremediation. McGraw-Hill, Inc., New York.<br />

Baker, H.K. and S.H. Diane. 1994. Bioremediation Environmental Microbiology Associates.<br />

MaGraw-Hill, New York. pp. 10-259.<br />

Bertoldi, M., G. Vallini, A. Pera. and F. Zocconi. 1982. Comparison of Three Windrow Compost<br />

System. Biocycle 23(2): 45-50.<br />

Black, C.A. 1965. Method of Soil Analysis. Academic press, Inc.<br />

Bossert, I. and Bartha, R. 1984. The Fate of Petroleum in Soil Ecosystems, pp.435-473. In<br />

Atlas R.M. Petroleum Microbiology. Macmillan Publishing Company.<br />

Boulding, J.R. and J.S. Ginn. 2004. Soil, Vadose Zone, and Ground-Water Contamination.<br />

2 nd ed. Lewis Publishers, Washington, C.C., U.S.A.<br />

Brown, K.W., K.C. Donnelly and L.E. Deuel. 1983. Effects of Mineral Nutrients, Sludge<br />

Application Rate and Application Frequency on Biodegradation of Two Oily Sludge.<br />

Microbial Ecology 9: 363 – 373.<br />

Buckley, E.N., R.B. Jonas and F.K. Pfaender. 1976. Characterization of Microbial Isolates from<br />

an Estuarine Ecosystem : Relationship of Hydrocarbon Utilization to Ambient<br />

Hydrocarbon Concentrations. Appl. Environ. Microbiol. 32: 232 – 237.<br />

105


C-A-B Internationnal. 1993. Tropical Soil Biology and Fertility a Handbook of Method. 2 nd ed.<br />

University of Oxford. Oxford, UK.<br />

California Compost Quality Council. 2001. Compost Maturity Index. CCQC, California. 25 p.<br />

Chino, M., S. Kanazawa, M. Araragi and B. Kanke. 1983. Biochemical Study on Composting of<br />

Municipal Sewage Sludge Mixed with Rice Hull. Soil Sci. and Plant Nutri. 29(2): 159 –<br />

173.<br />

Cooper, D.G. 1986. Biosurfactants. Microbiology Science 3: 145-149.<br />

Cunningham, S.D., W.R. Berti and J.W. Huang. 1995. Phytoremediation of Contaminated Soils.<br />

Tibtech 15: 393 – 397.<br />

Debbie, J.T. and R. Bartha. 1979. Effect of Environmental Parameters on the Biodegradation of<br />

Oil Sludge. Applied and Environmental Microbiology 31: 729-739.<br />

Eillis, B., M.T. Balba and P. Thelie. 1990. Bioremediation of Oil Contaminate Land.<br />

Environmental Technology 11: 443-455.<br />

EPA. 1996. A Citizen’ s Guide to Bioremediation. Available Source: http://www.epa.gov/<br />

swertiol/download/citizens/bioremediation.pdf. August 1, 2002.<br />

Fedorak, P.M. and D.W.S. Westlake. 1981. Degradation of Aromatics and Saturatedes in Crude<br />

Oil by Enrichment. Water Air and Soil Pollution 16: 367 – 375.<br />

Fitzpatrick, E.A. 1986. An Introduction to Soil Science. John Wiley and Sons, Inc., New York.<br />

Florida’s On-line Composting Center. 2002. Compost Maturity Test. Available Source:<br />

http://www.compostinfo.com/tutorial/MaturityTests.html. October 8, 2002.<br />

106


Foth, H.D. 1984. Fundamentals of Soil Science. 7 th ed. John Wiley and Sons, Inc., New York.<br />

Freeman, M.H. and P.R. Sferra. 1991. Innovation Hazardous Waste Treatment Technology<br />

Series Vol.3. Technomic Publishing, Inc.,Ohio.<br />

Fu, M.H. and M. Alexander. 1992. Biodegradation of Styrene in Samples of Natural<br />

Environments. Environ. Sci. Technol. 26: 1540 – 1544.<br />

Golueke, C.G. 1982. Selection and Adaptation of a Compost System: Composting Theory<br />

and Practice for City, Industry and Farm. JG Press Inc., Emmaus. 258 p.<br />

Gotass, H.B. 1976. Composting. Dept. of Engineering Univ. of California, Barkeley. 205 p.<br />

Gray, K.R., K. Sherman and A.J. Biddlestone. 1971. A Review of Composting Part. Process<br />

Biochem 6: 32 – 36.<br />

Hobson, P.N. 1991. The Treatment of Agricultural Waste, pp. 93 – 138. In A. Wheatley, ed.<br />

Anaerobic Digestion: A Waste Treatment Technology. Appl. Sci. Publ., London<br />

Huang, X.D., Y.E. Alawi, J. Gurska, B.R. Glick and B.M. Greenburg. A Multi-Process<br />

Phytoremediation System for Decontamination of Persistent Total Petroleum<br />

Hydrocarbons (TPHs) from Soils. Microchem. Jour. 81: 139-147.<br />

Huesemann, M.H., K.O. Moore and R.N. Johnson. 1993. The Fate of BDAT Poly Nuclear<br />

Aromatic Compounds during Biotreatment of Refinery API Oil Separator Sludge.<br />

Environ. Progress 12(1): 30 – 38.<br />

Jamison, V.M., R.L. Raymond and J.O. Hudson. 1975. Biodegradation of High-octane-gasoline<br />

in Ground Water. Dev. Ind. Microbiol. 16: 305 – 312.<br />

107


JICA. 1982. The Bangkok Solid Waste Management Study in Thailand Draft Final Report.<br />

Bangkok, Thailand. 436 p.<br />

Jobson, A., F.D. Cook and D.W.S. Westlake. 1973. Effect of Amendment on the Microbial<br />

Utilization of Oil Applied to Soil. Appl. Microbiol. 27(1): 166 – 171.<br />

. 1974. Biodegradability and Crude Oil Composition. Canadian Journal of Microbiol.<br />

20: 915 – 928.<br />

Korda, A., P. Santas and A. Tenente. 1997. Petroleum Hydrocarbon Bioremediation : Sampling<br />

and Analytical Techniques, in Situ Treatment and Commercial Microorganisms<br />

Currently Used. Appl. Microbiol. Biotechnol. 48: 677 – 686.<br />

Kostecki, P.T. and E.J. Calabresa. 1991. Hydrocarbon Contaminate Soils and Groundwater.<br />

National Academy of Sciences, Washington D.C.. pp. 115 – 174.<br />

Lardinois, I., A. Klundert, D. Van. 1993. Organic Waste. Amsterdam and Consultants, Gouda.<br />

132 p.<br />

Leathy, J.G. and R.P. Colwell. 1990. Microbial Degradation of Hydrocarbons in the Environment.<br />

Microbiol. Rev. 54: 305 – 315.<br />

Leemaharoungruang, S. 1988. Composting of Municipal Sslid Waste by Force Air Aeration.<br />

M.S. thesis. Asian Institute of Technology, Bangkok.<br />

Lindrasirikul, R. 1988. Composting of Hyacinth by Aerobic Process. M.S. thesis. Asian<br />

Institute of Technology, Bangkok.<br />

108


Morgan, P., S.C. Weaver and R.J. Watkinson. 1991. The Effects of Inorganic Nutrients on<br />

Bioremediation of Oil-Contaminated Soil. International Simposium Environment<br />

Biotechnology 1: 311 – 314.<br />

Namkoong, W., E.Y. Hwang, J.S. Park. 2002. Bioremediation of Diesel-Contaminated Soil with<br />

Composting. Environmental Pollution 119: 23 – 31.<br />

Nishio, M. and S. Kusano. 1980. Fluctuation Patterns of Microbial Numbers in Soil Applied with<br />

Compost. Soil Sci. and Plant Nutri. 26: 581 – 593.<br />

Omar, S.H., U. Budecker and H.J. Rehm. 1990. Degradation of Oily Sludge from a Flotation Unit<br />

by Free and Immobilized Microorganisms. Appl. Microbiol. And Biotechnol. 34: 259 –<br />

263.<br />

Paul, E.A. and F.E. Clark. 1989. Soil Microbiology and Biochemistry. Academic Press, Inc.,<br />

U.S.A.<br />

Pinholt, Y., S. Struwe and A. Kjoller. 1979. Microbial Changes during Oil Decomposition in Soil.<br />

Holartic Ecol. 2: 195 – 200.<br />

Polprasert, C. 1996. Organic Waste Recycling. 2 nd ed. John Wiley and Sons, Inc., New York,<br />

U.S.A.<br />

Prado-Jartar, M. and M. Orrea. 1993. Oil Sludge Landfarming Biodegradation Experiment<br />

Conducted at a Tropical Site in Eastern Venezuela. Waste Management and Research<br />

11: 97 – 106.<br />

Rabbini, K.R., R. Jindal, H. Kubata and L. Obeng. 1983. Environmental Sanitation Reviews<br />

Report. No. 10/11: 107<br />

109


Raymond, R.L., J.O. Hubson and V.W. Jamison. 1976 a. Oil Degradation in Soil. Appl. Environ.<br />

Microbiol. 31: 522 – 535.<br />

. 1976 b. Beneficial Stimulation of Bacterial Activity in Ground Waters Containing<br />

Petroleum Products, pp. 319 – 327. In Water. American Institute of Chemical Engineers,<br />

New York.<br />

Ritman, B.E. and N.M. Johnson. 1989. Rapid Biological Clean-up of Soil Contaminated with<br />

Lubricating Oil. Water Sci. and Technol. 21: 209 – 219.<br />

Sims, R., D. Sorensen, J. McLean, R. Dupont, J. Jurinak and K. Wagner. 1986. Contaminated<br />

Surface Soils In-Place Treatment Techniques. Noyes Publications, Park Ridge, N.J.<br />

Song, H.G., X. Wang and R. Bartha. 1990. Bioremediation Potential of Terrestrial Fuel Spills.<br />

Appl. Environ. Microbiol. 56: 652 – 656.<br />

Sparrow, I.B., C.V. Devenport and R.C. Gorbon. 1978. Response of Microorganisms to Hot<br />

Crude Oil Spills on a Subarctic Taiga Soil. Arctic 31: 324 – 338.<br />

Stegmann, R., S. Lotter and J. Heerenklage. 1991. Biological Treatment of Oil Contaminated Soil<br />

in Bioreactors. In R.E. Hinchee and R.F. Olfenbuttel, eds. On-Site Bioreclamation :<br />

Processes for Xenobiotic and Hydrocarbon Treatment. Butterworth-Heinemann,<br />

Stoneham, Mass.<br />

Tchobanoglous, H. Theisen and S. Vigill. 1993. Wastewater Engineering : Treatment,<br />

Disposal and Reuse. 3 rd ed. McGraw-Hill, Inc., Singapore. 978 p.<br />

Tengerdy, R.P. 1985. Solid Substrate Fermentation. Trends in Biotech. 3(4): 96 - 99.<br />

110


Towprayoon, S. and S. Kuntrangwattana. 1997. The Approach of Bioremediation to Treat<br />

Contaminatted Wastewater and Soil. In Processing of the 2 nd Asia-Pacific Marine<br />

Biotechnology Conference Phuket, Thailand.<br />

Towprayoon, S. and K. Kandjanapa. 1998. Bioremediation of Crude Oil Contaminated on<br />

Alluvial and Mangrove Soil. In Pacific Basin Consortium for Hazardous Waste<br />

Research and Management, Hawaii.<br />

U.S. Environmental Protection Agency. 2000. Introduction to Phytoremediation. Cincinnati,<br />

OH.<br />

Vecchioil, G.L., M.T. Del Panno and M.T. Painceira. 1990. Use of Autochthonous Soil Bacteria<br />

to Enhance Degradation in Soil. Environ. Pollution. 67: 249 – 258.<br />

Verstrate, W., R. Vanloocke, R. DeBorger and A. Verlinde. 1976. Modeling of the Breakdown<br />

and the Mobilization of Hydrocarbons in Unsaturated Soil Layers. In J.M. Sharpley and<br />

A.M. Kaplan, eds. Appl. Sci., London.<br />

Wangsuphachart, S. 1979. Utilization of Water Hyacinth and Night Soil in Composting.<br />

M.S.thesis, Asian Institute of Technology, Bangkok.<br />

Wen, Q.X. 1984. Utilization of Organic Materials in Rice Production in China, pp. 45 – 56. In<br />

Organic Matter and Rice. International Rice Research Institute, Los Banos.<br />

Westlake, D.W.S., A. Jobson and F.D. Cook. 1978. In Situ Degradation of Oil in Soil of the<br />

Boreal Region of the Northwest Territories. Canadian Journal of Microbiol. 24: 254 –<br />

260.<br />

Wilson, J.T., L.E. Leach, M. Henson and J.N. Jones. 1986. In Situ Biorestoration as a Ground-<br />

Water Reclamation Technique. Ground Water Mon. Rev. 1: 56 – 64.<br />

111


Wong, J.H.C, C.H. Lim and G.L. Nolm. 1997. Design of Remediation Systems. Lewis<br />

Publishers, Washington, D.C., U.S.A.. p.250.<br />

Wong, J.W.C., C.K. Wan and M. Fang. 2002. Pig Manure as a Co-Composting Material for<br />

Biodegradation of PAH-Contaminated Soil. Environ. Technol. 33: 15 – 26.<br />

Ying, A. J. Duffy, G. Shepherd and D. Wright. 1990. Bioremediation of Heavy Petroleum Oil in<br />

Soil at a Railroad Maintenance Yard. In P.T. Kostecki and E.J. Calabrese, eds.<br />

Petroleum Contaminated Soils 3. Lewis Publishers, Chelsea, England.<br />

Zitrides, T.G. 1990 Bioremediation Come of Age. Pollution Engineering 22: 57 – 62.<br />

112


ภาคผนวก


ภาคผนวก ก<br />

การคํานวณลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมัก<br />

114


ภาคผนวก ก<br />

การคํานวณลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมัก<br />

1. การคํานวณหาปริมาณวัสดุหมักกรณีควบคุมอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจน<br />

ควบคุมอัตราสวนคารบอนตอนโตรเจน (C : N Ratio) ของวัสดุหมัก เทากับ 30 : 1<br />

โดยวัสดุหมัก คือ มูลสุกร และ ขุยมะพราว ซึ่งมีคาความชื้น<br />

ปริมาณของแข็ง ปริมาณของแข็ง<br />

ระเหย ปริมาณคารบอน ปริมาณไนโตรเจน ดังตารางที่<br />

10<br />

กําหนดให สัดสวนมูลสุกร : ขุยมะพราว เทากับ 1 : X กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

C<br />

จาก 1<br />

N1<br />

+ C2<br />

30<br />

= จะได<br />

+ N2<br />

1<br />

1C1<br />

+ X C2<br />

1N1<br />

+ XN 2<br />

=<br />

30<br />

1<br />

1(43.05) + X (50.86)<br />

1(2.35) + X(0.35)<br />

=<br />

30<br />

1<br />

X = 0.68 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

∴ สัดสวนของมูลสุกร : ขุยมะพราว เทากับ 1 : 0.68 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

คิดเปนน้ําหนักเปยก<br />

=<br />

1<br />

0.2762<br />

0.68<br />

: กิโลกรัม<br />

0.8597<br />

= 3.62 : 0.79 กิโลกรัม<br />

∴ สัดสวนของมูลสุกร : ขุยมะพราว เทากับ 3.62 : 0.79 กิโลกรัมโดยน้ําหนักเปยก<br />

ความชื้นของวัสดุหมักเมื่อผสมมูลสุกรและขุยมะพราวแลว<br />

จะได<br />

น้ําหนักรวม<br />

(น้ําหนักแหง)<br />

= 1 + 0.68 = 1.68 กิโลกรัม<br />

น้ําหนักน้ํารวม<br />

= (3.62 – 1) + (0.79 – 0.68)<br />

= 2.73 กิโลกรัม<br />

115


ความชื้นของวัสดุหมัก<br />

(รอยละ) =<br />

2.73<br />

2.73+<br />

1.68<br />

x 100<br />

= 61.90<br />

2. การคํานวณปริมาณดินปนปอนน้ํามันและวัสดุหมัก<br />

้<br />

กําหนดใหสัดสวนดินปนเปอนน้ํามัน<br />

: วัสดุหมัก = 3 : 1 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

เมื่อคิดเปนน้ําหนักเปยก<br />

จะได<br />

ดินปนเปอนน้ํามัน<br />

: วัสดุหมัก =<br />

3 1<br />

:<br />

0.9643 0.3810<br />

กิโลกรัม<br />

= 3.11 : 2.62 กิโลกรัม<br />

= 1 : 0.84 กิโลกรัม<br />

จะตองใชมูลสุกร และขุยมะพราว เมื่อคิดเปนน้ําหนักเปยก<br />

ดังนี<br />

มูลสุกร =<br />

3.62<br />

3.62 + 0.79<br />

x 0.84<br />

= 0.69 กิโลกรัม<br />

ขุยมะพราว =<br />

0.79<br />

3.62 + 0.79<br />

x 0.84<br />

= 0.15 กิโลกรัม<br />

∴ ใช ดินปนปอนน้ํามัน<br />

1 กิโลกรัม โดยน้ําหนักเปยก<br />

มูลสุกร 0.69 กิโลกรัม โดยน้ําหนักเปยก<br />

ขุยมะพราว 0.15 กิโลกรัม โดยน้ําหนักเปยก<br />

3. การคํานวณความหนาแนนของวัสดุหมัก<br />

สัดสวนมูลสุกร : ขุยมะพราว = 1 : 0.68 กิโลกรัมโดยน้ําหนักแหง<br />

คิดเปนปริมาตรได =<br />

1 0.68<br />

:<br />

0.351 0.140<br />

ลิตร<br />

= 2.85 : 4.86 ลิตร<br />

116


เมื่อใชมูลสุกร<br />

1 ลิตร จะใชขุยมะพราว = 0.351 x 0.68 = 0.239 กิโลกรัม<br />

∴ ความหนาแนนของวัสดุหมัก =<br />

0.351 + 0.239<br />

1 + 1.71<br />

กิโลกรัม / ลิตร<br />

= 0.218 กิโลกรัม / ลิตร<br />

เมื่อผสมดินปนเปอนน้ํามัน<br />

: วัสดุหมัก = 3 : 1 กิโลกรัม โดยน้ําหนักแหง<br />

∴ คิดเปนปริมาตร =<br />

3 1<br />

ลิตร<br />

1.375<br />

: 0.218<br />

= 2.182 : 4.587 ลิตร<br />

= 1 : 1.102 ลิตร<br />

้<br />

เมื่อถังหมักขนาด<br />

200 ลิตร จะใชดินปนเปอนน้ํามัน<br />

มูลสุกร และขุยมะพราว ดังนี<br />

ดินปนเปอนน้ํามัน<br />

=<br />

1<br />

1 + 2.102<br />

x 200 ลิตร<br />

= 64.47 ลิตร = 88.65 กิโลกรัม<br />

วัสดุหมัก =<br />

2.102<br />

1 + 2.102<br />

x 200 ลิตร<br />

= 135.53 ลิตร = 29.55 กิโลกรัม<br />

มูลสุกร =<br />

1<br />

1 + 1.71<br />

x 135.53<br />

= 50.01 ลิตร = 17.55 กิโลกรัม<br />

ขุยมะพราว =<br />

1.71<br />

1 + 1.71<br />

x 135.53<br />

= 85.52 ลิตร = 11.97 กิโลกรัม<br />

4. การคํานวณความเร็วลมที่ตองเติมเขาสูถังหมัก<br />

เมื่อถังหมักขนาด<br />

200 ลิตร จะใช<br />

ดินปนเปอนน้ํามัน<br />

= 88.65 กิโลกรัม<br />

มูลสุกร = 17.55 กิโลกรัม<br />

ขุยมะพราว = 11.97 กิโลกรัม<br />

117


จะไดปริมาณของแข็งระเหยเมื่อผสมดินปนเปอนน้ํามันและวัสดุหมักแลวเปน<br />

= (88.65 x 0.038) + (17.55 x 0.77454) + (11.97 x 0.9122) กิโลกรัม<br />

= 27.88 กิโลกรัมของแข็งระเหย<br />

ควบคุมปริมาณอากาศ 0.4 ลบ.ม. / กก.ของแข็งระเหย / วัน<br />

∴ อัตราการไหลของอากาศ =<br />

ลบ.ม.<br />

0.4<br />

กก. ของแข็งระเหย<br />

-วัน<br />

= 11.152 ลบ.ม. / วัน<br />

x 27.88 กก.<br />

จาก v = Q / A<br />

โดย v = ความเร็วลม (เมตร / วินาที)<br />

Q = อัตราการไหล (ลบ.ม. / วัน)<br />

A = พื้นที่หนาตัด<br />

(ตร.ม.)<br />

เมื่อใชทอเติมอากาศขนาด<br />

1 นิ้ว<br />

( 2.54 ซม.) จะมีพื้นที่หนาตัด<br />

เทากับ 5.069 x 10 -4 ตร.ม.<br />

จะได v =<br />

11.152<br />

เมตร / วัน<br />

5.069 x 10<br />

- 4<br />

= 22000.39 เมตร / วัน<br />

= 0.25 เมตร / วินาที<br />

∴ ความเร็วลมที่เติมเขาสูถังหมัก<br />

เทากับ 0.25 เมตร / วินาที<br />

118


ภาคผนวก ข<br />

วิธีการวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ


1. การวิเคราะหความหนาแนน<br />

ภาคผนวก ข<br />

วิธีวิเคราะหทางหองปฏิบัติการ<br />

ความหนาแนนสามารถหาไดโดยการนําดินบรรจุในภาชนะที่ทราบน้ําหนักและปริมาตร<br />

และเติมตัวอยางดินบรรจุในภาชนะนั้น<br />

กระแทกเบาๆ 3 ครั้ง<br />

ชั่งน้ําหนักภาชนะที่มีตัวอยางดิน<br />

ทําซ้ําหลายๆ<br />

ครั้ง<br />

เพื่อหาคาเฉลี่ย<br />

ความหนาแนน =<br />

2. การวิเคราะหความชื้น<br />

น้ําหนักดิน<br />

ปริมาตรดิน<br />

ปริมาณความชื้น<br />

หมายถึง ปริมาณน้ําที่มีอยูในดิน<br />

ปริมาณของแข็งรวม หมายถึง ปริมาณดินแหง<br />

วิธีการวิเคราะหมีขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

นําดินที่ทําการสุมตัวอยางแลวประมาณ<br />

0.5 ลิตร ใสถาด<br />

อลูมิเนียมที่ทราบน้ําหนักแนนอน<br />

แลวนําไปอบในตูอบที่อุณหภูมิประมาณ<br />

75 – 100 0 C เปนเวลา<br />

3 - 4 วัน จนกระทั่งตัวอยางดินแหงสนิท<br />

คือ น้ําหนักตัวอยางดินคงที่<br />

การคํานวณ W =<br />

(W1-<br />

W2) x 100<br />

W1<br />

เมื่อ<br />

W = เปอรเซ็นตของความชื้น<br />

W1 = น้ําหนักของดินกอนอบ<br />

W2 = น้ําหนักของดินหลังจากอบจนแหง<br />

TS = 100 - W<br />

เมื่อ<br />

TS = เปอรเซ็นตของปริมาณของแข็งรวม<br />

120


3. การวิเคราะห pH โดย pH Meter (Blank, 1965)<br />

ใชอัตราสวนดินตอน้ํา<br />

เทากับ 1 ตอ 2.5 โดยน้ําหนัก<br />

เชน ใชดิน 10 กรัม ตอการเติมน้ํากลั่น<br />

25 มล. ใชแทงแกวคนใหดินและน้ําเขากัน<br />

ทิ้งไวประมาณ<br />

30 นาที ในขณะที่วางทิ้งไวใหมีการคน<br />

เปนครั้งคราว<br />

กอนวัด pH ตองปรับ pH Meter ดวย Buffer Solution pH 4 และ 7 กอนแลวจึง<br />

ดําเนินการวัด pH ของดินตัวอยาง<br />

4. การวิเคราะหอุณหภูมิ<br />

อุณหภูมิสามารถหาไดโดยทําการวัดโดยใช Thermometer วัดที่ระดับความลึกของกอง<br />

หมักเทากับ 10, 25 และ 50 ซม. โดยทําการสุม<br />

อยางนอย 3 ตําแหนง อานคาในแตละความลึกใน<br />

เวลา 5 นาที แลวหาคาเฉลี่ย<br />

5. การวิเคราะหปริมาณของแข็งระเหยได (Blank, 1965)<br />

ปริมาณของแข็งที่ระเหยได<br />

หมายถึง สวนของดินที่สามารถเผาไหมได<br />

วิธีการวิเคราะหมีขั้นตอน<br />

ดังนี้<br />

นําตัวอยางดินที่อบแหงสนิทแลวมาบดใหมีขนาดประมาณ<br />

1.0 มม. นําไปอบในตูอบ<br />

75 0 C นานประมาณ 2 ชั่วโมง<br />

แลวปลอยทิ้งไวใหเย็นใน<br />

Dessicator<br />

จากนั้นสุมตัวอยางดินดังกลาว<br />

(ประมาณ 3 - 6 กรัม) ใสในถวยกระเบื้องที่ทราบน้ําหนักแนนอน<br />

นําไปชั่งน้ําหนักรวมอีกครั้งกอนที่จะนําไปเผาใน<br />

Muffle Furnace ที่อุณหภูมิ<br />

600 – 650 0 C (เปน<br />

เวลาประมาณ 2 ชั่วโมง)<br />

แลวนํามาไวใน Dessicator ประมาณ 1 – 2 ชั่วโมง<br />

นําถวยกระเบื้องมาชั่ง<br />

น้ําหนักอีกครั้ง<br />

การคํานวณ VS =<br />

(W1-<br />

W2) x 100<br />

W1<br />

เมื่อ<br />

VS = เปอรเซ็นตของปริมาณของแข็งที่ระเหยได<br />

W1 = น้ําหนักดินแหงกอนการเผา<br />

W2 = น้ําหนักดินแหงที่เหลือหลังการเผา<br />

121


6. การวิเคราะหปริมาณคารบอน (Blank, 1965)<br />

คาประมาณของเปอรเซ็นตคารบอน คํานวณไดจาก<br />

C =<br />

Volatile Solids (%)<br />

1.8<br />

เมื่อ<br />

C = เปอรเซ็นตของปริมาณคารบอน<br />

7. การวิเคราะหปริมาณไนโตรเจนทั้งหมด<br />

(Blank, 1965)<br />

Total Kjeldahl Nitrogen (TKN) หมายถึง ปริมาณไนโตรเจนในตัวอยางดินซึ่งสวนใหญ<br />

จะอยูในรูปของ<br />

Organic Nitrogen หรือ Ammonia Nitrogen<br />

สารเคมีที่ใช<br />

1. K 2SO 4<br />

2. HgO<br />

3. H 2SO 4 conc.<br />

4. Phenolphthaline indicator<br />

5. NaOH<br />

6. Boric acid 4%<br />

7. สารละลายมาตรฐาน Sulfuric acid 0.05 นอรมัล<br />

8. Methyl purple indicator<br />

การเตรียมสารละลายสําหรับการวิเคราะห<br />

1. สารละลายสําหรับการยอย (Digestion Reagent) : ชั่ง<br />

K2SO4 134 กรัม ละลายในน้ํา<br />

กลั่น<br />

650 มล. เติม conc. H2SO4 200 มล. เมื่อละลาย<br />

K2SO4 จนหมด เติม 6N H2SO4 ซึ่งมี<br />

HgO<br />

ละลายอยู<br />

2 กรัม ตั้งทิ้งไวใหเย็น<br />

และปรับปริมาตรเปน 1000 มล.<br />

2. NaOH - Na2S203 : ชั่ง<br />

NaOH 500 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

เมื่อละลายหมด<br />

เติม<br />

Na2O2O3 25 กรัม ตั้งทิ้งไวใหเย็น<br />

และปรับปริมาตรเปน 1000 มล.<br />

122


3. Boric acid 4% : ชั่ง<br />

Boric acid 40 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

และปรับปริมาตรเปน 1000<br />

มล.<br />

4. Phenolpthaline Indicator : ชั่ง<br />

Phenolpthaline 0.5 กรัม ละลายใน 95% Ethyl Alcohol<br />

50 มล. และปรับปริมาตรดวยน้ํากลั่นจนครบ<br />

100 มล.<br />

5. Mix Indicator : ละลาย Methyl red ใน 95% Ethyl Alcohol 100 มล. และละลาย<br />

Methyl blue ใน 95% Ethyl Alcohol 50 มล. และนํามาผสมกัน<br />

วิธีการวิเคราะห<br />

1. นําดินที่ผานการตากแหงและสุมตัวอยางดินประมาณ<br />

0.5 – 1 กรัม นํามาวิเคราะห<br />

2. ยอยตัวอยาง โดยเติมสารละลายสําหรับการยอย 50 มล. และทําการยอยจนได<br />

สารละลายสีฟางขาว และยอยตออีก 20 นาที แลวตั้งทิ้งไวใหเย็น<br />

3. การกลั่นตัวอยาง<br />

โดยเติมน้ํากลั่นประมาณ<br />

250 มล. หยด Phenolphthaline indicator 2-<br />

3 หยด และเติม NaOH และ Na2S2O3 50 มล. ไดสารละลายสีชมพู<br />

4. เตรียม Boric acid 4% ปริมาตร 50 มล. เปนตัวรองรับ NH3 กลั่นจนไดปริมาตร<br />

ประมาณ 200 มล. นํามาไตเตรทหาปริมาณ NH3 5. การไตเตรท นําสารละลายที่กลั่นไดมาไตเตรทดวยสารละลายมาตรฐาน<br />

Sulfuric acid<br />

(H2SO4) 0.05 นอรมัล โดยใช Mix indicator เปน indicator 3 หยดจนกระทั่งถึงจุด<br />

End Point โดยสี<br />

ของสารละลายที่ไดจะเปลี่ยนจากสีเขียวเปนสีมวง<br />

หรือสีแดงอมชมพู<br />

6. Blank ให Blankโดยใชน้ํากลั่น<br />

และผานขั้นตอนทุกอยางเชนเดียวกับตัวอยางโดยไม<br />

ตองใสตัวอยาง<br />

การคํานวณ Nt =<br />

(A − B) x n x 14 x 100<br />

C<br />

เมื่อ<br />

Nt = เปอรเซ็นตของปริมาณไนโตรเจน<br />

A = ปริมาตรของสารละลายมาตรฐาน Sulfuric acid ที่ใช<br />

ไตเตรทตัวอยางดิน (มล.)<br />

B = ปริมาตรของสารละลายมาตรฐาน Sulfuric acid ที่ใช<br />

ไตเตรท Blank (มล.)<br />

C = น้ําหนักของตัวอยางดิน<br />

(มก.)<br />

123


n = Normality ของสารละลายมาตรฐาน Sulfuric acid<br />

+<br />

8. การวิเคราะหปริมาณแอมโมเนียม (Ammonium; NH4 ; C-A-B International, 1993)<br />

สารเคมีที่ใช<br />

1. Ammonium Sulfate<br />

2. KCl<br />

3. NaOH<br />

4. Sodium Hypochlorite Solution 5%<br />

5. Sodium Nitroprusside<br />

6. Sodium Salicylate<br />

7. Sodium Tartate<br />

8. Sodium Citrate<br />

การเตรียมสารละลายสําหรับการวิเคราะห<br />

1. สารละลายสําหรับการสกัด : ชั่ง<br />

KCl 150 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

และปรับปริมาตร<br />

เปน 1000 มล.<br />

2. N1 Reagent : ชั่ง<br />

Sodium Salicylate 34 กรัม Sodium Citrate 25 กรัม และ Sodium<br />

Tartate 25 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

750 มล. เติม Sodium Nitroprusside 0.12 กรัม ละลายจนหมด<br />

และปรับปริมาตรเปน 1000 มล.<br />

3. N2 Reagent : ชั่ง<br />

NaOH 30 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

750 มล. ตั้งทิ้งไวใหเย็น<br />

และเติม<br />

Sodium Hypochlorite Solution 5% 10 มล. และปรับปริมาตรเปน 1000 มล.<br />

124


วิธีการวิเคราะห<br />

1. การเตรียมสารละลายมาตรฐาน (Stock Standard Solution)<br />

1.1 นํา Ammonium sulfate 7 กรัม มาอบที่<br />

105 0 C เปนเวลา 2 ชั่วโมง<br />

และทิ้งไวใหเย็น<br />

ในตูดูดความชื้น<br />

(Dessicator)<br />

1.2 นํา Ammonium sulfate ที่อบแลวมา<br />

4.714 กรัมละลายในน้ํากลั่น<br />

1,000 มล. จะได<br />

+<br />

สารละลาย 1,000 ไมโครกรัม/มล. NH4 - N<br />

+<br />

1.3 ดูดสารละลาย 1,000 ไมโครกรัม/มก. NH4 - N 50 มล. มาละลายในน้ํากลั่น<br />

500<br />

+<br />

มล. จะไดสารละลาย 100 ไมโครกรัม/มล. NH4 - N<br />

+<br />

1.4 ดูดสารละลาย 100 ไมโครกรัม/มล. NH4 - N มา 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 มล.<br />

+<br />

ละลายในน้ํากลั่น<br />

100 มล. ไดสารละลาย 0, 5, 10, 15, 20 และ 25 ไมโครกรัม/มล. NH4 - N<br />

2. การเตรียมตัวอยางสําหรับการวิเคราะห<br />

2.1 นําดินตัวอยางมา 10 กรัม ใสในขวดชมพูขนาด<br />

250 มล. เติมสารละลาย 2 N KCl<br />

จํานวน 100 มล.<br />

2.2 นําไปเขยาดวยความเร็วรอบ 120 rpm เปนเวลา 30 นาที<br />

2.3 นําไป Centrifuge แลวกรองผานกระดาษกรอง No. 42 นําสวนที่ใสไปใชในการ<br />

วิเคราะห<br />

3. วิธีการวิเคราะหหาแอมโมเนียม<br />

3.1 ดูดสารละลายมาตรฐาน, ตัวอยาง และน้ํากลั่น<br />

(Blank) อยางละ 1 มล. ใสลงใน<br />

หลอดทดลองอยางละ 1 หลอด<br />

3.2 เติมสารละลาย N1 Reagent จํานวน 5 มล. เขยาทันที และตั้งทิ้งไว<br />

15 นาที<br />

3.3 เติมสารละลาย N2 Reagent จํานวน 5 มล. เขยาทันที และตั้งทิ้งไว<br />

1 ชั่วโมง<br />

3.4 นําไปวัดคา absorbance ที่<br />

655 nm.<br />

125


การคํานวณ<br />

Plot กราฟระหวางคา absorbance ที่ไดไป<br />

และความเขมขนของสารละลายมาตรฐาน เพื่อ<br />

ใชหาคาความเขมขนของตัวอยาง และ Blank นํามาคํานวณโดยสูตร<br />

+<br />

NH4- N =<br />

CV<br />

W<br />

เมื่อ<br />

+<br />

NH4 - N = ปริมาณแอมโมเนียม ; ไมโครกรัม / กรัม<br />

C = ความเขมขนของตัวอยางลบดวยความเขมขนของน้ํา<br />

กลั่น<br />

(Blank); ไมโครกรัม / มล.<br />

V = ปริมาตรของตัวอยาง ; มล.<br />

W = น้ําหนักตัวอยาง<br />

; กรัม<br />

-<br />

9. การวิเคราะหปริมาณไนเตรท (NO3 ; C-A-B International, 1993)<br />

สารเคมีที่ใช<br />

1. K 2SO 4<br />

2. KNO 3<br />

3. NaOH<br />

4. Salicylic acid<br />

5. conc. H 2SO 4<br />

การเตรียมสารละลายสําหรับการวิเคราะห<br />

1. สารละลายสําหรับการสกัด : ชั่ง<br />

K2SO4 87 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

และปรับปริมาตร<br />

จนครบ 1000 มล.<br />

2. NaOH 4 M : ชั่ง<br />

NaOH 160 กรัมละลายในน้ํากลั่น<br />

ตั้งทิ้งไวใหเย็น<br />

และปรับปริมาตร<br />

เปน 1000 มล.<br />

3. Salicylic acid 5% : ชั่ง<br />

Salicylic acid 5 กรัม ละลายใน conc.H2SO4 95 มล. ใชได<br />

ภายใน 1 วัน ถาเก็บในที่มืดหรือเย็นเก็บได<br />

7 วัน<br />

126


วิธีการวิเคราะห<br />

1. การเตรียมสารละลายมาตรฐาน (Stock Standard Solution)<br />

1.1 นํา Potassium nitrate 10 กรัม มาอบที่<br />

105 0 C เปนเวลา 2 ชั่วโมง<br />

และทิ้งไวใหเย็น<br />

ใน dessicator<br />

1.2 ชั่ง<br />

Potassium nitrate ที่อบแลวมา<br />

7.223 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

1,000 มล. จะได<br />

-<br />

สารละลาย 1,000 ไมโครกรัม / มล. NO3 - N<br />

-<br />

1.3 ดูดสารละลาย 1,000 ไมโครกรัม / มล. NO3 - N 25 มล. มาละลายในน้ํากลั่น<br />

500<br />

-<br />

มล. ไดสารละลาย 50 ไมโครกรัม / มล. NO3 - N<br />

-<br />

1.4 ดูดสารละลาย 50 ไมโครกรัม / มล. NO3 - N มา 0, 2, 4, 6, 8 และ 10 มล. ละลาย<br />

-<br />

ในน้ํากลั่น<br />

50 มล. ไดสารละลาย 0, 2, 4, 6, 8 และ 10 ไมโครกรัม / มล. NO3 - N<br />

2. การเตรียมตัวอยางเพื่อการวิเคราะห<br />

2.1 นําดินตัวอยาง 10 กรัม ใสในขวดชมพูขนาด<br />

250 มล.<br />

2.2 เติมสารละลาย 0.5 N K2SO4 จํานวน 20 มล. และเขยาดวยความเร็วรอบ 120 rpm<br />

เปนเวลา 30 นาที<br />

2.3 นําไป Centrifuge แลวกรองผานกระดาษกรอง No. 42 เพื่อนําสวนที่ใสไปใชใน<br />

การวิเคราะห<br />

3. การวิเคราะหหาไนเตรท<br />

3.1 ดูดสารละลายมาตรฐาน ตัวอยาง และน้ํากลั่น<br />

อยางละ 0.5 มล. ใสในหลอด<br />

ทดลองอยางละ 1 หลอด<br />

3.2 เติมสารละลาย Salicylic acid จํานวน 1 มล. เขยาทันทีและตั้งทิ้งไว<br />

30 นาที<br />

3.3 เติมสารละลาย NaOH จํานวน 10 มล. เขยาทันทีและตั้งทิ้งไว<br />

1 ชั่วโมง<br />

3.4 นําไปวัดคา absorbance ที่<br />

410 nm.<br />

127


การคํานวณ<br />

Plot กราฟระหวางคา absorbance ที่ไดไป<br />

และความเขมขนของสารละลายมาตรฐาน เพื่อ<br />

ใชหาคาความเขมขนของตัวอยาง และ Blank นํามาคํานวณโดยสูตร<br />

-<br />

NO3- N =<br />

CV<br />

W<br />

เมื่อ<br />

-<br />

NO3 - N = ปริมาณไนเตรท ; ไมโครกรัม / กรัม<br />

C = ความเขมขนของตัวอยางลบดวยความเขมขนของน้ํา<br />

กลั่น<br />

(Blank); ไมโครกรัม / มล.<br />

V = ปริมาตรของตัวอยาง ; มล.<br />

W = น้ําหนักตัวอยาง<br />

; กรัม<br />

10. การวิเคราะหปริมาณน้ํามันในดิน<br />

(กรรณิการ, 2544)<br />

การทําใหดินที่เปนกรดแลวแหงโดยการใหความรอน<br />

จะทําใหผลที่ไดต่ํา<br />

และเนื่องจาก<br />

MgSO4.H2O มีความสามารถที่จะรวมกับน้ําแลวกลายเปน<br />

MgSO4.7H2O จึงใชในการทําใหดินแหง<br />

หลังจากนั้นใหสกัดน้ํามันโดยใชตัวทําละลายอินทรีย<br />

เครื่องมือ<br />

1. บีกเกอรขนาด 150 มิลลิลิตร<br />

2. ครกพรอมดวยลูกบด (Mortar with pestle) ทําดวย porcelain<br />

3. เครื่องสําหรับสกัด,<br />

Soxhlet พรอมดวยขวดสําหรับสกัดขนาด 125 มิลลิลิตร<br />

4. หลอดสําหรับสกัดทําดวยกระดาษกรอง (Extraction thimbles)<br />

5. เม็ดแกว (glass beads)<br />

6. Electric heating mantle<br />

7. เครื่องดูดสูญญากาศ<br />

(Vacuum pump)<br />

8. กรวยแกว (Glass funnel)<br />

9. สําลีที่ปราศจากกรีสและน้ํามัน<br />

: ใหสกัดดวยตัวทําละลายกอน<br />

10. อางไอน้ําที่ควนคุมอุณหภูมิไดที่<br />

85 0 C<br />

128


11. อางน้ําแข็ง<br />

12. เดสิคเคเตอร<br />

สารเคมีที่ใช<br />

1. กรดเกลือเขมขน (HCl)<br />

2. n-hexane : จุดเดือด 49 0 C<br />

3. MgSO4.H2O ซึ่งเตรียมใชโดยน้ํามาแผเปนแผนบาง<br />

ๆ แลวอบใหแหงที่<br />

150 0 C<br />

วิธีการวิเคราะห<br />

เมื่อนําตัวอยางมาถึงหองปฏิบัติการ<br />

ถายังไมไดทําใหเปนกรดมากอน ใหเติม conc. HCl 1<br />

มล. ตอตัวอยาง 80 กรัม<br />

1. ชั่งดินที่เปยก<br />

20±0.5 กรัม ซึ่งทราบปริมาณ<br />

dry solids ใสลงในบีกเกอรขนาด 150 มล.<br />

ทําให pH ลดลงถึง 2.0 (ปกติใช 0.3 มล. conc. HCl) เติม 25 กรัม MgSO4.H2O คนใหเขากัน และให<br />

แผไปตามดานขางของบีกเกอรใหทั่ว<br />

ตั้งทิ้งไว<br />

15-30 นาที เพื่อใหแข็ง<br />

แลวจึงถายของแข็งนี้ลงใน<br />

ครกกระเบื้องบดใหแตกเปนผง<br />

เทลงใน thimble เช็ดขางครกและบีกเกอรใหสะอาดดวยกระดาษ<br />

กรองซึ่งชุบตัวทําละลาย<br />

แลวใสรวมลงใน thimble ใสเม็ดแกวลงไปใหเต็ม เติมตัวทําละลาย 100<br />

มล. แลวสกัดในเครื่องมือสกัด<br />

Soxhlet ดวยอัตรา 20 รอบตอชั่วโมงเปนเวลา<br />

4 ชั่วโมง<br />

2. ถาในขวดสกัดมีความขุน<br />

หรือมีสารหอยแขวนปนอยู<br />

ใหกําจัดโดยกรองผานสําลีลงใน<br />

ขวดที่ทราบน้ําหนัก<br />

กลั่นตัวทําละลายจากขวดสกัดในน้ํารอนที่<br />

85 0 C ทําใหแหงโดยใชไอน้ํารอน<br />

และเปาอากาศลงไป ประมาณ 15 นาที<br />

3. ทําใหเย็นในเดสิคเคเตอร 30 นาที แลวนําไปชั่งน้ําหนัก<br />

การคํานวณ<br />

Oil and Grease as% dry solids =<br />

gain<br />

in weight of flask(g) x 100<br />

weight of wet solids (g) x % dry solids<br />

129


11. การวิเคราะหปริมาณ Exchangeable Aluminum<br />

สารเคมีที่ใช<br />

1. KCl<br />

2. Sodium Acetate (NaOAc)<br />

3. 1,10 Phenathroline<br />

4. Hydroxylamine Hypochloride<br />

5. 8-Hydroxyquinoline<br />

6. Acetic acid<br />

7. Butyl Acetate<br />

8. HNO 3<br />

การเตรียมสารละลายเพื่อการวิเคราะห<br />

1. สารละลายสําหรับการสกัด : ชั่ง<br />

KCl 75 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

และปรับปริมาตร<br />

เปน 1000 มล.<br />

2. Sodium Acetate : ชั่ง<br />

1,10 Phenathroline 2 กรัม ละลายในน้ํากลั่น<br />

800 มล. และนําไป<br />

อุนเพื่อใหละลาย<br />

เติม NaOAc 82 กรัม ตั้งทิ้งใหเย็น<br />

และปรับปริมาตรเปน 1000 มล.<br />

3. Hydroxylamine Hypochloride : ชั่ง<br />

Hydroxylamine Hypochloride 200 กรัม ละลาย<br />

ในน้ํากลั่น<br />

และปรับปริมาตรเปน 1000 มล.<br />

4. 8-Hydroxyquinoline : ชั่ง<br />

8-Hydroxyquinoline 10 กรัม ละลายใน acetic acid 25 มล.<br />

และปรับปริมาตรดวยน้ํากลั่นจนครบ<br />

1000 มล.<br />

5. Mix Reagent : ผสมสารละลายขอ 4 : ขอ 3 เทากับ 4 : 1 โดยปริมาตร<br />

วิธีการวิเคราะห<br />

1. การเตรียม Standard Curve<br />

1.1 ดูดสารละลายอลูมินัมมาตรฐานที่มีความเขมขน<br />

1000 มก./ลิตร 10 มล.และปรับ<br />

ปริมาตรเปน 100 มล. จะไดสารละลายที่มีความเขมขน<br />

100 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร<br />

130


1.2 ดูดสารละลายที่มีความเขมขน<br />

100 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร มา 0, 0.2, 0.4, 0.8 และ 1<br />

มล. จะไดสารละลายที่มีความเขมขน<br />

0, 0.2, 0.4 0.6, 0.8 และ 1 ไมโครกรัม/มิลลิลิตร<br />

1.3 นําไปทําการสรางสีเชนเดียวกับตัวอยาง<br />

2. การสกัดตัวอยาง<br />

2.1 ชั่งตัวอยางที่ตากแหงแลวอยางนอย<br />

5 กรัม เติม KCl 25 มล. และนําไปเขยาที่<br />

170<br />

rpm. เปนเวลา 30 นาที<br />

2.2 นําไปเหวี่ยง<br />

(Centrifuge) ที่อยางนอย<br />

1000 rpm<br />

2.3 กรองน้ําใสดวยกระดาษกรองเบอร<br />

42<br />

2.4 หยด HNO3 ประมาณ 3 หยดในน้ําใสที่กรองแลว<br />

3. การสรางสี<br />

3.1 เติมน้ํากลั่นเพื่อปรับปริมาตรน้ําตัวอยางใหเปน<br />

25 มล. หากน้ําใสที่กรองไดไมถึง<br />

25 มล.<br />

3.2 เติม Mix reagent 5 มล. กอนแลวเติม Sodium Acetate 5 มล. และเติมน้ําตัวอยาง<br />

และตั้งทิ้งไว<br />

15 นาที<br />

3.3 เติม Butyl Acetate 5 มล. และเขยาทันทีประมาณ 15 วินาที ตั้งทิ้งไว<br />

15 นาทีแตไม<br />

เกิน 24 ชั่วโมง<br />

3.4 นําไปวัดสีที่<br />

395 nm.<br />

การคํานวณ<br />

Plot กราฟระหวางคา absorbance ที่ไดไป<br />

และความเขมขนของสารละลายมาตรฐาน เพื่อ<br />

ใชหาคาความเขมขนของตัวอยาง และ Blank นํามาคํานวณโดยสูตร<br />

Al =<br />

CV<br />

W<br />

เมื่อ<br />

Al = ปริมาณอลูมินัม ; ไมโครกรัม / กรัม<br />

C = ความเขมขนของตัวอยางลบดวยความเขมขนของน้ํา<br />

กลั่น<br />

(Blank); ไมโครกรัม / มล.<br />

V = ปริมาตรของตัวอยาง ; มล.<br />

131


W = น้ําหนักตัวอยาง<br />

; กรัม<br />

12. การทดสอบการงอกของเมล็ด (Seed Germination Test ; Florida’s On-line Compost Center,<br />

2002)<br />

การวิเคราะห<br />

1. การเตรียมน้ําชะวัสดุหมัก<br />

1.1 เตรียมตัวอยางจํานวน 20 กรัม (net wt.)<br />

1.2 เติมน้ํากลั่น<br />

40 มล. ผสมใหเขากัน<br />

1.3 วางทิ้งไว<br />

2 ชั่วโมง<br />

และกรองผานผาขาวจะไดน้ําชะวัสดุหมัก<br />

2. การเตรียมภาชนะในการทดสอบดวยวัสดุหมัก<br />

2.1 เตรียม Petidish โดยวางสําลีลงบนฝาลาง<br />

2.2 วางเมล็ดที่ผานการทดสอบความสมบูรณจํานวน<br />

5 เมล็ด<br />

3. การทดสอบการงอกของเมล็ดดวยน้ําชะวัสดุหมัก<br />

3.1 หยดน้ําชะวัสดุหมัก<br />

5 มล. ลงใน Petidish ที่เตรียมไว<br />

3.2 ปดฝาแลว seal ดวย ผาเทปและฟรอยด<br />

3.3 เก็บในที่มืดที่อุณหภูมิหอง<br />

ทิ้งไว<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

3.4 สังเกตการงอกของเมล็ดและวัดความยาวของรากที่<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

4. การทดสอบดวยวัสดุหมัก<br />

4.1 ชั่งวัสดุหมัก<br />

5 กรัม ใสใน Petidish แลวเติมน้ํากลั่น<br />

5 มล.<br />

4.2 วางเมล็ดจํานวน 5 เมล็ดบนดินหมัก<br />

132


4.3 ปดฝาแลว seal ดวย ผาเทปและฟรอยด<br />

4.4 เก็บในที่มืดที่อุณหภูมิหอง<br />

ทิ้งไว<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

4.5 สังเกตการงอกของเมล็ดที่<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

5. การทดสอบดวยน้ํากลั่น<br />

5.1 หยดน้ํากลั่น<br />

5 มล. ลงใน Petidish ที่เตรียมไว<br />

5.2 ปดฝาแลว seal ดวย ผาเทปและฟรอยด<br />

5.3 เก็บในที่มืดที่อุณหภูมิหอง<br />

ทิ้งไว<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

5.4 สังเกตการงอกของเมล็ดที่<br />

24, 48 และ 72 ชั่วโมง<br />

การคํานวณ<br />

การคํานวณรอยละการงอกของเมล็ด<br />

รอยละการงอกของเมล็ด =<br />

จํานวนเมล็ดที่งอก<br />

x 100<br />

จํานวนเมล็ดทั้งหมดที่ใชทดสอบ<br />

133


ภาคผนวก ค<br />

การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพและเคมีของวัสดุหมัก


ตารางผนวกที่<br />

ค1 การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิในระหวางกระบวนการหมักของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และมีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วัน<br />

ของกระบวนการหมัก<br />

่ วันที<br />

Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 Without Seeding Seeding age 7 day Seeding age 14 day Seeding age 28 day<br />

Seeding age 56 day<br />

C)<br />

0 37 32 36.5 31 37 30 36 31 37.5 28<br />

1 42 32 39 30 44 30 39 31 49 29<br />

2 45 31 42 30 47 31 45 30 53 28<br />

3 47 32 48 31 49 29 49 30 55 28<br />

4 49 31 52 31 55 30 53 30 57 26<br />

5 52 40 55 30 58.5 30 57 30 58 24<br />

6 53 31 58 29 56 29 56 31 56.5 25<br />

7 55 31 56 30 54.5 30 53 3 54 26<br />

8 56 30 5 30 51 30 52 30 51 27<br />

9 57 30 53.5 31 50.5 29 50.5 29 48 29<br />

10 58 31 51 29 50 30 49 29 47 30<br />

11 54 31 49 30 48 31 49.5 29 47.5 29.5<br />

12 52 30 49.5 30 49 30 47.5 29 47 30<br />

13 50 29 48 29 47 31 47 30 46 31<br />

135<br />

135


ตารางผนวกที่<br />

ค1 (ตอ)<br />

่ วันที<br />

Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 Without Seeding Seeding age 7 day Seeding age 14 day Seeding age 28 day<br />

Seeding age 56 day<br />

C)<br />

14 49 30 46 30 45 31 46 30 45 30<br />

15 47 30 44 30 40 31 44 30 44.5 30.5<br />

16 45 31 41.5 29 39 30 40 29 42 30<br />

17 44 29 40 30 37 30 39 27 41 31<br />

18 41 30 39 31 37 30 38 27 40 30.5<br />

19 39 30 39 30 36.5 30 35 26 39 29.5<br />

20 37 29 38.5 31 35.5 31 35 25 38.5 30<br />

21 38 30 37 31 35 30 33.5 25 37 30<br />

22 36 30 37 31 34 30 33.5 26 36 30.5<br />

23 35 29 36 30 33 29 31 29 35 30<br />

24 34 30 35.5 30 34 29 31 28 34 30<br />

25 32 31 34.5 30 34 29 30 28 35 29.5<br />

26 31 30 34 30 33 29 30 29 35.5 29.5<br />

27 30 31 32 31 32 30 29 29 35 30<br />

136<br />

136


ตารางผนวกที่<br />

ค1 (ตอ)<br />

่ วันที<br />

Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 Without Seeding Seeding age 7 day Seeding age 14 day Seeding age 28 day<br />

Seeding age 56 day<br />

C)<br />

28 30 31 31 30 31 30 29 28 36 30<br />

29 30 31 31 30 31 30 29.5 29 35 30.5<br />

30 30 30 30.5 29 31 29 28.5 28 34 31<br />

31 29 30 30 29 31 27 28 28 34 31<br />

32 29 30 30 29 29 27 28 26 34.5 30.5<br />

33 27 30 30 29 29 26 28.5 24 34 30.5<br />

34 28 31 29.5 30 29 25 29 25 33 30<br />

35 27 30 29.5 30 28 25 29 26 33 30.5<br />

36 26 30 29 30 29 26 28.5 27 32 30<br />

37 27 29 29.5 29 27 29 29 29 32.5 29.5<br />

38 26 29 28 27 27.5 28 29 30 32 30<br />

39 26 29 28 27 28 28 28.5 29.5 31.5 30<br />

40 26 29 28.5 26 28 29 29.5 30 31 30.5<br />

41 26.5 30 27.5 25 29 29 29 31 31 31<br />

137<br />

137


ตารางผนวกที่<br />

ค1 (ตอ)<br />

่ วันที<br />

Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 C) Tem.arg.( 0 C) Tem.atm.( 0 Without Seeding Seeding age 7 day Seeding age 14 day Seeding age 28 day<br />

Seeding age 56 day<br />

C)<br />

42 27 30 28 25 29 28 29 30 31 31<br />

43 26 30 28 26 28.5 29 29.5 30.5 31.5 30.5<br />

44 26.5 29 29 29 27 28 28.5 30 31 30.5<br />

45 26 27 29 28 28 28 28 31 30.5 32<br />

46 26 27 28.5 28 27 26 29 30.5 30.5 32<br />

47 26 26 28 29 28 24 29 29.5 30 31<br />

48 26 25 28 29 27.5 25 28.5 30 30.5 31.5<br />

49 27 25 28.5 28 27 26 29 30 30 31<br />

50 27 26 28 29 27 27 29.5 30.5 30 30<br />

51 27 29 28 28 27 29 28.5 30 29.5 30.5<br />

52 26 28 27 28 28 30 29 30 29.5 30<br />

53 26.5 28 27.5 26 27 29.5 29 29.5 30 30<br />

54 26.5 29 28 24 27.5 30 29 29.5 29 30.5<br />

55 26.5 29 28 25 27 31 29 30 29 30<br />

138<br />

138


ตารางผนวกที่<br />

ค2 การเปลี่ยนแปลงคาความเปนกรดเปนดางของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการ<br />

หมัก<br />

Date<br />

ความเปนกรดเปนดาง (pH)<br />

Without Seeding age Seeding age Seeding age Seeding age<br />

Seeding 7 day 14 day 28 day 56 day<br />

0 7.91 7.71 7.49 7.31 7.56<br />

7 8.31 8.41 8.42 8.26 8.26<br />

14 7.88 7.89 8.06 7.77 7.35<br />

21 7.58 7.54 7.59 7.73 7.23<br />

28 7.32 7.31 7.52 7.68 6.98<br />

35 7.35 7.35 7.42 7.49 6.75<br />

42 7.42 7.30 7.31 7.35 6.73<br />

49 7.38 7.29 7.51 7.21 6.75<br />

56 7.57 7.31 7.46 7.23 6.75<br />

139


ตารางผนวกที่<br />

ค3 การเปลี่ยนแปลงคาความชื้นและปริมาณของแข็งรวมของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28<br />

และ 56 วันของกระบวนการหมัก<br />

Date Without Seeding Seeding age 7 day Seeding age 14 day Seeding age 28 day Seeding age 56 day<br />

Moisture (%) TS (%) Moisture (%) TS (%) Moisture (%) TS (%) Moisture (%) TS (%) Moisture (%) TS (%)<br />

0 47.94 52.06 51.63 48.37 51.82 48.18 54.15 45.85 50.00 50.00<br />

7 47.05 52.95 50.27 49.73 52.54 47.46 52.97 47.03 50.92 49.08<br />

14 46.71 53.29 52.31 47.69 46.37 53.63 56.24 43.76 52.50 47.50<br />

21 49.46 50.54 46.91 53.09 57.15 42.85 54.03 45.97 49.73 50.27<br />

28 46.57 53.43 48.59 51.41 49.32 50.68 50.49 49.51 51.28 48.72<br />

35 46.46 53.54 48.54 51.46 47.06 52.94 49.22 50.78 46.75 53.25<br />

42 47.88 52.12 47.36 52.64 48.87 51.13 47.59 52.41 42.94 57.06<br />

49 49.27 50.73 46.72 53.28 48.52 51.48 49.67 50.33 43.36 56.64<br />

56 50.89 49.11 47.82 52.18 46.53 53.47 48.54 51.46 44.95 55.05<br />

หมายเหตุ: TS คือ ปริมาณของแข็งรวม<br />

140<br />

140


ตารางผนวกที่<br />

ค4 การเปลี่ยนแปลงปริมาณของแข็งระเหยรวมและปริมาณคารบอนของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก<br />

Date Without Seeding Seeding age 7 day Seeding age 14 day Seeding age 28 day Seeding age 56 day<br />

TVS (%) Carbon (%) TVS (%) Carbon (%) TVS (%) Carbon (%) TVS (%) Carbon (%) TVS (%) Carbon (%)<br />

0 18.76 10.42 21.45 11.92 22.73 12.63 21.69 12.05 22.37 12.43<br />

7 18.38 10.21 20.05 11.14 20.43 11.35 19.15 10.64 18.85 10.47<br />

14 17.50 9.72 19.12 10.62 17.91 9.95 18.18 10.10 18.04 10.02<br />

21 17.37 9.65 18.85 10.47 17.82 9.90 18.04 10.02 17.47 9.71<br />

28 16.48 9.16 18.22 10.12 17.15 9.53 17.41 9.67 16.91 9.39<br />

35 16.05 8.92 17.75 9.86 17.05 9.47 16.83 9.35 15.54 8.63<br />

42 15.47 8.59 17.53 9.74 16.27 9.04 16.78 9.32 15.10 8.39<br />

49 15.39 8.55 17.35 9.64 16.05 8.92 16.25 9.03 15.04 8.36<br />

56 15.34 8.52 16.79 9.33 15.31 8.51 16.24 9.02 15.01 8.34<br />

หมายเหตุ : TVS คือ ปริมาณของแข็งระเหยรวม<br />

141<br />

141


ตารางผนวกที่<br />

ค5 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนโตรเจนรวมของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และ<br />

ถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการหมัก<br />

Date<br />

Total Nitrogen (%)<br />

Without Seeding age Seeding age Seeding age Seeding age<br />

Seeding 7 day 14 day 28 day 56 day<br />

0 0.32 0.39 0.39 0.40 0.38<br />

7 0.32 0.38 0.36 0.36 0.36<br />

14 0.31 0.37 0.32 0.35 0.35<br />

21 0.31 0.37 0.32 0.35 0.34<br />

28 0.30 0.36 0.31 0.34 0.34<br />

35 0.30 0.35 0.31 0.33 0.33<br />

42 0.29 0.35 0.30 0.33 0.33<br />

49 0.29 0.35 0.30 0.32 0.33<br />

56 0.29 0.34 0.29 0.32 0.33<br />

142


ตารางผนวกที่<br />

ค6 การเปลี่ยนแปลงอัตราสวนคารบอนตอไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการเติมดิน<br />

หมัก และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของ<br />

กระบวนการหมัก<br />

Date<br />

C : N Ratio<br />

Without Seeding age Seeding age Seeding age Seeding age<br />

Seeding 7 day 14 day 28 day 56 day<br />

0 32.57 30.56 32.38 30.13 32.71<br />

7 31.91 29.31 31.53 29.56 29.08<br />

14 31.36 28.71 31.09 28.86 28.63<br />

21 31.13 28.30 30.94 28.63 28.56<br />

28 30.52 28.12 30.73 28.44 27.62<br />

35 29.72 28.17 30.56 28.33 26.15<br />

42 29.64 27.83 30.13 28.24 25.42<br />

49 29.48 27.54 29.72 28.22 25.32<br />

56 29.38 27.43 29.34 28.17 25.27<br />

143


ตารางผนวกที่<br />

ค7 การเปลี่ยนแปลงปริมาณแอมโมเนียมไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการเติมดิน<br />

หมัก และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของ<br />

กระบวนการหมัก<br />

Date<br />

Ammonium - Nitrogen (mg/kg)<br />

Without Seeding age Seeding age Seeding age Seeding age<br />

Seeding 7 day 14 day 28 day 56 day<br />

0 3.486 3.911 5.301 3.819 6.208<br />

7 18.331 17.216 19.032 9.140 17.021<br />

14 14.254 15.695 16.701 16.876 13.775<br />

21 10.092 9.541 11.833 12.582 9.267<br />

28 5.187 4.803 6.018 8.014 6.179<br />

35 2.270 2.589 4.037 3.127 2.377<br />

42 1.471 1.285 2.638 1.113 1.517<br />

49 1.212 1.091 1.147 1.022 1.411<br />

56 1.183 0.989 1.143 0.973 1.397<br />

144


ตารางผนวกที่<br />

ค8 การเปลี่ยนแปลงปริมาณไนเตรทไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของกระบวนการ<br />

หมัก<br />

Date<br />

Nitrate - Nitrogen (mg/kg)<br />

Without Seeding age Seeding age Seeding age Seeding age<br />

Seeding 7 day 14 day 28 day 56 day<br />

0 6.371 4.040 3.086 4.641 4.997<br />

7 5.982 4.070 3.087 4.098 4.757<br />

14 8.710 5.231 6.027 7.313 7.289<br />

21 10.933 9.074 7.102 7.415 8.047<br />

28 15.264 12.393 14.520 14.164 9.796<br />

35 20.444 19.615 18.171 17.340 16.268<br />

42 23.822 22.499 26.189 18.355 20.282<br />

49 27.521 25.061 27.359 24.314 20.293<br />

56 28.650 27.976 27.914 27.176 20.264<br />

145


ตารางผนวกที่<br />

ค9 การเปลี่ยนแปลงสัดสวนแอมโมเนียมตอไนเตรทไนโตรเจนของถังหมักที่ไมมี<br />

การเติมดินหมัก และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วัน<br />

ของกระบวนการหมัก<br />

Date<br />

Ammonium / Nitrate<br />

Without Seeding age Seeding age Seeding age Seeding age<br />

Seeding 7 day 14 day 28 day 56 day<br />

0 0.55 0.97 1.72 0.82 1.24<br />

7 3.07 4.22 6.17 2.23 3.58<br />

14 1.64 3.00 2.77 2.31 1.89<br />

21 0.92 1.05 1.67 1.70 1.15<br />

28 0.34 0.39 0.39 0.57 0.63<br />

35 0.11 0.13 0.22 0.12 0.15<br />

42 0.06 0.06 0.10 0.06 0.07<br />

49 0.04 0.04 0.04 0.04 0.07<br />

56 0.04 0.04 0.04 0.04 0.07<br />

146


ตารางผนวกที่<br />

ค10 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ํามันหลอลื่นของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

และถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่อายุ<br />

7, 14, 28 และ 56 วันของ<br />

กระบวนการหมัก<br />

Date Without Seeding Seeding age 7 day Seeding age 14 day Seeding age 28 day Seeding age 56 day<br />

% Oil Degradable % Oil Degradable % Oil Degradable % Oil Degradable % Oil Degradable<br />

Rate / week Rate / week Rate / week Rate / week Rate / week<br />

0 2.73 0.0000 2.53 0.0000 3.03 0.0000 3.04 0.0000 3.01 0.0000<br />

7 2.39 0.1245 2.24 0.1146 2.66 0.1221 2.45 0.1941 2.56 0.1495<br />

14 1.97 0.1757 1.96 0.1250 2.15 0.1917 2.03 0.1714 1.96 0.2734<br />

21 1.72 0.1269 1.63 0.1684 1.68 0.2186 1.67 0.1773 1.70 0.1327<br />

28 1.54 0.1047 1.52 0.0675 1.62 0.0357 1.54 0.0778 1.47 0.1353<br />

35 1.53 0.0065 1.41 0.0724 1.63 0.0000 1.47 0.0455 1.27 0.1361<br />

42 1.54 0.0000 1.40 0.0071 1.59 0.0245 1.45 0.0136 1.16 0.0866<br />

49 1.54 0.0000 1.41 0.0000 1.60 0.0000 1.44 0.0069 1.07 0.0776<br />

56 1.53 0.0065 1.41 0.0000 1.59 0.0063 1.44 0.0000 1.00 0.0654<br />

147<br />

147


ตารางผนวกที่<br />

ค11 การเปลี่ยนแปลงปริมาณอลูมินัมที่ใชได<br />

(Extractable Al) ทองแดง (Cu)<br />

สังกะสี (Zn) และตะกั่ว<br />

(Pb)<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

่<br />

ตัวอยาง<br />

อลูมินัมที่ใชได<br />

ทองแดง สังกะสี ตะกั่ว<br />

(µg/g dry weight) (µg/g dry weight) (µg/g dry weight) (µg/g dry weight)<br />

ดินปนเป อนน้ํามัน<br />

CWO<br />

0.116 12.41 84.27 4.90<br />

เริ่มตน<br />

< 0.1 143.70 153.61 4.60<br />

วันที 28 < 0.1 162.25 174.49 4.70<br />

วันที 56<br />

SA07<br />

< 0.1 165.28 192.29 4.70<br />

เริ่มตน<br />

< 0.1 128.38 130.53 4.70<br />

วันที 28 < 0.1 156.61 155.74 4.60<br />

วันที 56<br />

SA14<br />

< 0.1 166.77 181.25 4.70<br />

เริ่มตน<br />

< 0.1 168.00 172.00 5.30<br />

วันที 28 < 0.1 198.20 190.51 4.60<br />

วันที 56<br />

SA28<br />

< 0.1 219.00 203.66 4.70<br />

เริ่มตน<br />

< 0.1 110.49 117.83 4.90<br />

วันที 28 < 0.1 148.14 153.01 4.90<br />

วันที 56<br />

SA56<br />

< 0.1 155.37 169.48 4.90<br />

เริ่มตน<br />

< 0.1 113.32 173.16 5.50<br />

วันที 28 < 0.1 134.45 190.91 5.00<br />

วันที 56 < 0.1 165.98 192.58 4.70<br />

148


ตารางผนวกที่<br />

ค12 การเปลี่ยนแปลงความสูงของหญานวลนอยที่ปลูกในดินสีดา<br />

(Csitt), ดินรวน<br />

ปนทรายผสมวัสดุหมัก (Csand) และดินปนเปอนที่มีการเติมดินหมักที่มีอายุ<br />

56 วัน ซึ่งสิ้นสุดกระบวนการหมักแลว<br />

(SA56)<br />

Date<br />

Height of Plant (cm)<br />

Csitt Csand SA56<br />

0 4.48 4.21 5.62<br />

7 7.40 6.72 7.86<br />

14 12.33 12.55 14.85<br />

21 18.27 19.61 21.21<br />

28 22.40 26.56 28.46<br />

ตารางผนวกที่<br />

ค13 การเปลี่ยนแปลงปริมาณน้ํามันดวยวิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

Sample<br />

Oil Content (%)<br />

เริ่มตนการทดลอง<br />

- ดิน SA56 1.00<br />

- หญานวลนอย<br />

สิ ้นสุดการทดลอง<br />

0.0215<br />

- ดิน SA56 ที่ไมปลูกพืช<br />

0.98<br />

- ดิน SA56 ที่ปลูกพืช<br />

0.83<br />

- หญานวลนอย 0.0230<br />

149


ภาคผนวก ง<br />

การทดสอบความเปนพิษตอการงอกของเมล็ด


ตารางผนวกที่<br />

ง1 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่ไมมีการเติมดินหมัก<br />

Date<br />

Seed Germination (%)<br />

ผักบุง<br />

มะเขือเทศ<br />

Control Compost Tea Compost Control Compost Tea Compost<br />

1 93.33 40.00 20.00 93.33 33.33 13.33<br />

7 93.33 53.33 26.67 93.33 46.67 26.67<br />

14 93.33 60.00 40.00 93.33 60.00 33.33<br />

21 93.33 66.67 60.00 93.33 73.33 60.00<br />

28 93.33 80.00 73.33 93.33 80.00 80.00<br />

35 93.33 93.33 80.00 93.33 86.67 86.67<br />

42 93.33 93.33 86.67 100.00 93.33 86.67<br />

49 93.33 93.33 93.33 100.00 93.33 93.33<br />

56 93.33 93.33 93.33 100.00 100.00 100.00<br />

151


ตารางผนวกที่<br />

ง2 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 7 วัน<br />

Date<br />

Seed Germination (%)<br />

ผักบุง<br />

มะเขือเทศ<br />

Control Compost Tea Compost Control Compost Tea Compost<br />

1 93.33 53.33 13.33 93.33 40.00 20.00<br />

7 93.33 53.33 20.00 93.33 60.00 20.00<br />

14 93.33 60.00 33.33 93.33 66.67 33.33<br />

21 93.33 60.00 53.33 93.33 80.00 46.67<br />

28 93.33 73.33 80.00 93.33 86.67 60.00<br />

35 93.33 80.00 86.67 100.00 86.67 80.00<br />

42 93.33 93.33 93.33 100.00 100.00 93.33<br />

49 93.33 100.00 93.33 100.00 100.00 93.33<br />

56 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00<br />

152


ตารางผนวกที่<br />

ง3 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 14 วัน<br />

Date<br />

Seed Germination (%)<br />

ผักบุง<br />

มะเขือเทศ<br />

Control Compost Tea Compost Control Compost Tea Compost<br />

1 93.33 53.33 26.67 93.33 73.33 26.67<br />

7 93.33 60.00 33.33 93.33 73.33 46.67<br />

14 93.33 66.67 46.67 93.33 66.67 53.33<br />

21 93.33 66.67 66.67 93.33 80.00 66.67<br />

28 93.33 80.00 80.00 100.00 80.00 80.00<br />

35 93.33 86.67 80.00 100.00 86.67 86.67<br />

42 93.33 100.00 86.67 100.00 93.33 93.33<br />

49 100.00 100.00 93.33 100.00 100.00 93.33<br />

56 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00<br />

153


ตารางผนวกที่<br />

ง4 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 28 วัน<br />

Date<br />

Seed Germination (%)<br />

ผักบุง<br />

มะเขือเทศ<br />

Control Compost Tea Compost Control Compost Tea Compost<br />

1 93.33 53.33 26.67 93.33 66.67 26.67<br />

7 93.33 60.00 40.00 93.33 66.67 40.00<br />

14 93.33 73.33 53.33 100.00 73.33 73.33<br />

21 93.33 80.00 80.00 100.00 80.00 86.67<br />

28 93.33 80.00 80.00 100.00 86.67 86.67<br />

35 100.00 86.67 86.67 100.00 86.67 93.33<br />

42 100.00 93.33 93.33 100.00 93.33 93.33<br />

49 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00<br />

56 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00<br />

154


ตารางผนวกที่<br />

ง5 รอยละการงอกของเมล็ดผักบุงและมะเขือเทศของถังหมักที่มีการเติมดินหมักที่มี<br />

อายุ 56 วัน<br />

Date<br />

Seed Germination (%)<br />

ผักบุง<br />

มะเขือเทศ<br />

Control Compost Tea Compost Control Compost Tea Compost<br />

1 93.33 60.00 33.33 100.00 73.33 33.33<br />

7 100.00 66.67 40.00 100.00 73.33 40.00<br />

14 100.00 73.33 60.00 100.00 80.00 53.33<br />

21 100.00 80.00 80.00 100.00 80.00 80.00<br />

28 100.00 80.00 80.00 100.00 86.67 86.67<br />

35 100.00 93.33 86.67 100.00 93.33 100.00<br />

42 100.00 93.33 93.33 100.00 100.00 100.00<br />

49 100.00 100.00 93.33 100.00 100.00 100.00<br />

56 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00 100.00<br />

155


ภาคผนวก จ<br />

การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance)


1. ตัวอยางการคํานวณมวลของแข็งรวมของวันที่<br />

28 และ 56 ของกระบวนการหมักของถังหมักชุด<br />

ควบคุม (CWO)<br />

1.1 การคํานวณปริมาณของแข็งคงตัว (Fixed Solid)<br />

ปริมาณของแข็งรวม (TS) = ปริมาณของแข็งระเหยรวม (TVS) +<br />

ปริมาณของแข็งคงตัว (Fixed Solid; FS)<br />

โดยปริมาณของแข็งคงตัวจะไมมีการเปลี่ยนแปลงตามระยะเวลาการหมัก<br />

ซึ่ง<br />

ปริมาณของแข็งระเหยรวมเริ่มตน<br />

เทากับ 18.76 % ดังปริมาณของแข็งคงตัว จะเทากับ<br />

%FS = %TS - %TVS<br />

= 100 - 18.76<br />

= 81.24<br />

∴ ปริมาณของแข็งคงตัว เทากับ 81.24 %<br />

1.2 การคํานวณปริมาณของแข็งรวมของวันที่<br />

28 (TS28) และ 56 (TS56) ของการหมัก<br />

น้ําหนักของแข็งรวมเริ่มตน<br />

(TS0) เทากับ 118.17 กก.<br />

ปริมาณของแข็งระเหยรวมเริ่มตน<br />

= TVS0 ปริมาณของแข็งระเหยรวมวันที่<br />

28 = TVS28 ปริมาณของแข็งระเหยรวมวันที่<br />

56 = TVS56 % TS 28 = (%TVS 0 – %TVS 28) + %FS<br />

= (18.76 – 16.48) + 81.24<br />

= 83.52<br />

เมื<br />

่อคิดเปนมวลของแข็งรวม (TS 28) = TS 0 * %TS 28<br />

= 118.17 กก. * 0.8352<br />

= 98.70 กก.<br />

157


% TS 56 = (%TVS 28 – %TVS 56) + %FS<br />

= (16.48 – 15.34) + 81.24<br />

= 82.38<br />

เมื่อคิดเปนมวลของแข็งรวม<br />

(TS56) = TS28 * %TS56 = 98.7 กก. * 0.8238<br />

= 81.31 กก.<br />

2. ตัวอยางการคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของทองแดงของถังหมักชุดควบคุม (CWO)<br />

2.1 การคํานวณมวลทองแดงเริ่มตน<br />

ความเขมขนของทองแดงในดินปนเปอนน้ํามัน<br />

เทากับ 12.41 มก./กก.<br />

ความเขมขนของทองแดงในวัสดุผสมเริ่มตน<br />

เทากับ 143.70 มก./กก.<br />

ความเขมขนของทองแดงในวัสดุหมักเริ่มตน<br />

= 143.70 – 12.41<br />

= 131.29 มก./กก.<br />

∴ เมื่อคิดเปนมวลทองแดงเริ่มตนทั้งหมด<br />

= 143.70 มก./กก. * 118.17 กก.<br />

= 16,981 มก.<br />

= 16.98 ก.<br />

2.2 การคํานวณความเขมขนของทองแดงวันที่<br />

28 ของกระบวนการหมัก<br />

ความเขมขนของทองแดงวันที ่ 28 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการคํานวณ<br />

= มวลทองแดงเริ่มตน<br />

มวลของแข็งรวมวันที่<br />

28<br />

= 16.98 ก./ 98.70 กก.<br />

= 0.172 ก./ กก.<br />

= 172.04 มก./ กก.<br />

158


ความเขมขนของทองแดงวันที่<br />

28 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการวิเคราะห<br />

เทากับ 162.25 มก./กก. ซึ่งมีคาความผิดพลาด<br />

เทากับ รอยละ 5.69<br />

2.3 การคํานวณความเขมขนของทองแดงวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมัก<br />

ความเขมขนของทองแดงวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการคํานวณ<br />

= มวลทองแดงเริ่มตน<br />

มวลของแข็งรวมวันที่<br />

56<br />

= 16.98 ก./ 81.31 กก.<br />

= 0.208 ก./ กก.<br />

= 208.83 มก./ กก.<br />

ความเขมขนของทองแดงวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการวิเคราะห<br />

เทากับ 165.28 มก./กก. ซึ่งมีคาความผิดพลาด<br />

เทากับ รอยละ 20.85<br />

3. ตัวอยางการคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของสังกะสีของถังหมักชุดควบคุม (CWO)<br />

3.1 การคํานวณมวลสังกะสีเริ่มตน<br />

ความเขมขนของสังกะสีในดินปนเปอนน้ํามัน<br />

เทากับ 84.27 มก./กก.<br />

ความเขมขนของสังกะสีในวัสดุผสมเริ่มตน<br />

เทากับ 153.61 มก./กก.<br />

ความเขมขนของสังกะสีในวัสดุหมักเริ่มตน<br />

= 153.61 – 84.27<br />

= 69.34 มก./กก.<br />

∴ เมื<br />

่อคิดเปนมวลสังกะสีเริ<br />

่มตนทั<br />

้งหมด = 153.61 มก./กก. * 118.17 กก.<br />

= 18,152 มก.<br />

= 18.15 ก.<br />

159


3.2 การคํานวณความเขมขนของสังกะสีวันที่<br />

28 ของกระบวนการหมัก<br />

ความเขมขนของสังกะสีวันที่<br />

28 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการคํานวณ<br />

= มวลสังกะสีเริ่มตน<br />

มวลของแข็งรวมวันที่<br />

28<br />

= 18.15 ก./ 98.70 กก.<br />

= 0.184 ก./ กก.<br />

= 183.89 มก./ กก.<br />

ความเขมขนของสังกะสีวันที่<br />

28 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการวิเคราะห<br />

เทากับ 174.49 มก./กก. ซึ่งมีคาความผิดพลาด<br />

เทากับ รอยละ 5.11<br />

3.3 การคํานวณความเขมขนของสังกะสีวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมัก<br />

ความเขมขนของสังกะสีวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการคํานวณ<br />

= มวลสังกะสีเริ่มตน<br />

มวลของแข็งรวมวันที่<br />

56<br />

= 18.15 ก./ 81.31 กก.<br />

= 0.223 ก./ กก.<br />

= 223.22 มก./ กก.<br />

ความเขมขนของสังกะสีวันที่<br />

56 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการวิเคราะห<br />

เทากับ 192.29 มก./กก. ซึ่งมีคาความผิดพลาด<br />

เทากับ รอยละ 13.86<br />

4. ตัวอยางการคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของตะกั่วของถังหมักชุดควบคุม<br />

(CWO)<br />

4.1 การคํานวณมวลตะกั่วเริ่มตน<br />

ความเขมขนของตะกั่วในดินปนเปอนน้ํามัน<br />

เทากับ 4.90 มก./กก.<br />

ความเขมขนของตะกั่วในวัสดุผสมเริ่มตน<br />

เทากับ 4.60 มก./กก.<br />

ความเขมขนของตะกั่วในวัสดุหมักเริ่มตน<br />

= 4.60 – 4.90<br />

= (-) 0.30 มก./กก.<br />

160


∴ เมื่อคิดเปนมวลตะกั่วเริ่มตนทั้งหมด<br />

= 4.60 มก./กก. * 118.17 กก.<br />

= 543.58 มก.<br />

= 0.54 ก.<br />

4.2 การคํานวณความเขมขนของตะกั่ววันที่<br />

28 ของกระบวนการหมัก<br />

ความเขมขนของตะกั่ววันที่<br />

28 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการคํานวณ<br />

= มวลตะกั่วเริ่มตน<br />

มวลของแข็งรวมวันที่<br />

28<br />

= 543.58 มก./ 98.70 กก.<br />

= 5.51 มก./ กก.<br />

ความเขมขนของตะกั่ววันที่<br />

28 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการวิเคราะห<br />

เทากับ 4.70 มก./กก. ซึ่งมีคาความผิดพลาด<br />

เทากับ รอยละ 14.70<br />

4.3 การคํานวณความเขมขนของตะกั่ววันที่<br />

56 ของกระบวนการหมัก<br />

ความเขมขนของตะกั่ววันที่<br />

56 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการคํานวณ<br />

= มวลตะกั่วเริ่มตน<br />

มวลของแข็งรวมวันที่<br />

56<br />

= 543.58 มก./ 81.31 กก.<br />

= 6.69 มก./ กก.<br />

ความเขมขนของตะกั่ววันที่<br />

56 ของกระบวนการหมักทั้งหมด<br />

จากการวิเคราะห เทากับ<br />

4.70 มก./กก. ซึ่งมีคาความผิดพลาด<br />

เทากับ รอยละ 29.75<br />

การคํานวณมวลสมดุลของถังหมักทั้ง<br />

5 ใบ คือ CWO, SA07, SA14, SA28 และ SA56<br />

แสดงดังตารางผนวกที่<br />

จ1 – จ5<br />

161


ตารางผนวกที่<br />

จ1 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของถังหมักชุดควบคุม (CWO)<br />

รายละเอียด เริ<br />

่มตน วันที<br />

่ 28 วันที<br />

่ 56<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (รอยละ) 18.76 16.48 15.34<br />

ปริมาณของแข็งคงตัว (รอยละ) 81.24 81.24 81.24<br />

มวลของแข็งรวม (กก.) 118.17 98.70 81.31<br />

โลหะ: ทองแดง<br />

- มวลของทองแดง (ก.) 16.98 - -<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการคํานวณ (มก./กก.) 143.70 172.05 208.85<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการวิเคราะห (มก./กก.) 143.70 162.25 165.28<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 5.70 20.86<br />

โลหะ: สังกะสี<br />

- มวลของสังกะสี (ก.) 18.15 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 153.61 183.92 223.26<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 153.61 174.49 192.29<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 5.13 13.87<br />

โลหะ: ตะกั<br />

่ว<br />

- มวลของสังกะสี (มก.) 543.58 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 4.60 5.51 6.69<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 4.60 4.70 4.70<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 14.66 29.70<br />

162


ตารางผนวกที่<br />

จ2 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของถังหมักที่เติมดินหมักอายุ<br />

7 วัน (SA07)<br />

รายละเอียด เริ<br />

่มตน วันที<br />

่ 28 วันที<br />

่ 56<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (รอยละ) 21.45 18.22 16.79<br />

ปริมาณของแข็งคงตัว (รอยละ) 78.55 78.55 78.55<br />

มวลของแข็งรวม (กก.) 118.17 96.64 77.29<br />

โลหะ: ทองแดง<br />

- มวลของทองแดง (ก.) 15.17 - -<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการคํานวณ (มก./กก.) 128.38 156.98 196.28<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการวิเคราะห (มก./กก.) 128.38 156.61 166.77<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 0.24 15.03<br />

โลหะ: สังกะสี<br />

- มวลของสังกะสี (ก.) 15.42 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 130.53 159.61 199.56<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 130.53 155.74 181.25<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 2.43 9.18<br />

โลหะ: ตะกั<br />

่ว<br />

- มวลของสังกะสี (มก.) 555.40 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 4.70 5.75 7.19<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 4.70 4.60 4.70<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 19.96 34.59<br />

163


ตารางผนวกที่<br />

จ3 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของถังหมักที่เติมดินหมักอายุ<br />

14 วัน (SA14)<br />

รายละเอียด เริ<br />

่มตน วันที<br />

่ 28 วันที<br />

่ 56<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (รอยละ) 22.73 17.15 15.31<br />

ปริมาณของแข็งคงตัว (รอยละ) 77.27 77.27 77.27<br />

มวลของแข็งรวม (กก.) 118.17 97.90 77.45<br />

โลหะ: ทองแดง<br />

- มวลของทองแดง (ก.) 19.85 - -<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการคํานวณ (มก./กก.) 168.00 202.78 256.32<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการวิเคราะห (มก./กก.) 168.00 198.20 219.00<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 2.26 14.56<br />

โลหะ: สังกะสี<br />

- มวลของสังกะสี (ก.) 20.33 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 172.00 207.60 262.42<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 172.00 190.51 203.66<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 8.23 22.39<br />

โลหะ: ตะกั<br />

่ว<br />

- มวลของสังกะสี (มก.) 626.30 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 5.30 6.40 8.09<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 5.30 4.60 4.70<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 28.09 41.88<br />

164


ตารางผนวกที่<br />

จ4 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของถังหมักที่เติมดินหมักอายุ<br />

28 วัน (SA28)<br />

รายละเอียด เริ<br />

่มตน วันที<br />

่ 28 วันที<br />

่ 56<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (รอยละ) 21.69 17.41 16.24<br />

ปริมาณของแข็งคงตัว (รอยละ) 78.31 78.31 78.31<br />

มวลของแข็งรวม (กก.) 118.17 97.60 77.57<br />

โลหะ: ทองแดง<br />

- มวลของทองแดง (ก.) 13.06 - -<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการคํานวณ (มก./กก.) 110.49 133.78 168.32<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการวิเคราะห (มก./กก.) 110.49 148.14 155.37<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 -10.73 7.69<br />

โลหะ: สังกะสี<br />

- มวลของสังกะสี (ก.) 13.92 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 117.83 142.67 179.50<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 117.83 153.01 169.48<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 -7.25 5.58<br />

โลหะ: ตะกั<br />

่ว<br />

- มวลของสังกะสี (มก.) 579.03 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 4.90 5.93 7.46<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 4.90 4.90 4.90<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 17.41 34.36<br />

165


ตารางผนวกที่<br />

จ5 การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของปริมาณทองแดง สังกะสี และตะกั่ว<br />

ของถังหมักที่เติมดินหมักอายุ<br />

56 วัน (SA56)<br />

รายละเอียด เริ<br />

่มตน วันที<br />

่ 28 วันที<br />

่ 56<br />

ปริมาณของแข็งระเหย (รอยละ) 22.37 16.91 15.01<br />

ปริมาณของแข็งคงตัว (รอยละ) 77.63 77.63 77.63<br />

มวลของแข็งรวม (กก.) 118.17 98.19 78.09<br />

โลหะ: ทองแดง<br />

- มวลของทองแดง (ก.) 13.39 - -<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการคํานวณ (มก./กก.) 113.32 136.38 171.49<br />

- ความเขมขนของทองแดงจากการวิเคราะห (มก./กก.) 113,32 134.45 165.98<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 1.42 3.21<br />

โลหะ: สังกะสี<br />

- มวลของสังกะสี (ก.) 20.46 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 173.16 208.40 262.04<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 173.16 190.91 192.58<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 8.39 26.51<br />

โลหะ: ตะกั<br />

่ว<br />

- มวลของสังกะสี (มก.) 649.94 - -<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการคํานวณ (มก./กก.) 5.50 6.62 8.32<br />

- ความเขมขนของสังกะสีจากการวิเคราะห (มก./กก.) 5.50 5.00 4.70<br />

- คาความผิดพลาด (รอยละ) 0.00 24.46 43.53<br />

166


5. การคํานวณมวลสมดุล (Mass Balance) ของการบําบัดน้ํามันหลอลื่นโดยวิธีการฟนฟูดวยพืช<br />

ชุดการทดลอง (ดินที่มีการปลูกพืช)<br />

5.1 น้ํามันที่พืชดูดซับไว<br />

167<br />

= (ปริมาณน้ํามันสิ้นสุด<br />

* นน.พืชสิ้นสุด)<br />

- (ปริมาณน้ํามันเริ่มตน<br />

* นน.พืชเริ่มตน)<br />

= (0.23 mg/g * 2.3316 g) - (0.215 mg/g * 1.8404 g)<br />

= 0.536 mg - 0.396 mg<br />

= 0.14 mg oil<br />

5.2 น้ํามันที่หายไปในดิน<br />

= (ปริมาณน้ํามันเริ่มตน<br />

* นน.ดินเริ่มตน)<br />

– (ปริมาณน้ํามันสิ้นสุด<br />

* นน.ดินสิ้นสุด)<br />

= (10 mg/g * 1000 g * 0.5505) - (8.3 mg/g * 1000 g * 0.4890)<br />

= 5505 mg - 4058.7 mg<br />

= 1446.3 mg oil<br />

5.3 การยอยสลาย (Biodegradation)<br />

= น้ํามันที่หายไปในดิน<br />

- น้ํามันที่พืชดูดซับไว<br />

= 1446.3 mg - 0.14 mg<br />

= 1446.16 mg<br />

ชุดควบคุม (ไมมีการปลูกพืช)<br />

การยอยสลาย (Biodegradation)<br />

= (ปริมาณน้ํามันเริ่มตน<br />

* นน.ดินเริ่มตน)<br />

– (ปริมาณน้ํามันสิ้นสุด<br />

* นน.ดินสิ้นสุด)<br />

= (10 mg/g * 1000 g * 0.5505) - (9.8 mg/g * 1000 g * 0.4890)<br />

= 5505 mg - 4792.2 mg = 712.8 mg

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!