17.06.2015 Views

Manual MIS_Excel_SwiffChart_SPSS_GIS.pdf - สำนักงาน บริหาร ...

Manual MIS_Excel_SwiffChart_SPSS_GIS.pdf - สำนักงาน บริหาร ...

Manual MIS_Excel_SwiffChart_SPSS_GIS.pdf - สำนักงาน บริหาร ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

คูมือการใชโปรแกรม<br />

สําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล<br />

โดย<br />

สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข<br />

ตุลาคม 2551


คูมือการใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล<br />

คณะทํางาน<br />

นายแพทยอนุพงศ ชิตวรากร<br />

นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์<br />

นางสาวอมรรัตน เงาวะบุญพัฒน<br />

นางสาวจินตนา ธรรมสุวรรณ<br />

นางสาวกฤษติกา แกวประภา<br />

นายตระกูล อรุณมหาศน<br />

นายสมหมาย ขําสวาง<br />

ผูเรียบเรียงเนื้อหา นางสาวอมรรัตน เงาวะบุญพัฒน<br />

นางสาวจินตนา ธรรมสุวรรณ<br />

นายตระกูล อรุณมหาศน<br />

จัดพิมพโดย<br />

สนับสนุนโดย<br />

สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข<br />

www.thaiprddc.org<br />

กองทุนโลก<br />

พิมพครั้งที่ 1 ตุลาคม 2551<br />

จํานวน 110 เลม<br />

พิมพที่ หางหุนสวนจํากัด เทพเพ็ญวานิสย


คํานํา<br />

สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก (PR-DDC) เปนองคกรที่ไดรับการสนับสนุนจากกองทุนโลก<br />

[Global Fund to fight AIDS, Tuberculosis and Malaria: GFATM] ในการดําเนินการปองกันและควบคุม<br />

โรคเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ตลอดจนเปนศูนยกลางในการกระจายงบประมาณใหกับหนวยงานผูรับทุน<br />

รอง (SR) สําหรับการดําเนินงานโครงการ รวมถึงการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงาน<br />

ตางๆ ดังกลาว<br />

ระบบการบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ และระบบการติดตามและประเมินผล เปนสวนหนึ่งของ<br />

การดําเนินโครงการฯ ที่สําคัญยิ่ง ซึ่งมีผลตอการแสดงศักยภาพในการบริหารจัดการโครงการใหสอดคลอง<br />

กับเปาหมายและตัวชี้วัดที่กองทุนโลกกําหนด สามารถตรวจสอบ และวิเคราะหเพื่อวางแผนการดําเนินงาน<br />

ตอไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยที่ผานมาการบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ ของหนวยงานตาง ๆ ยังไม<br />

เปนระบบและเปนแบบแยกสวน กลาวคือ ทุกหนวยงานตางทํางานเพื่อใหครบภารกิจของหนวยงานตนเอง<br />

เทานั้น จึงควรที่จะมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ และการพัฒนาระบบการติดตามและ<br />

ประเมินผล ที่มีความชัดเจนและเปนรูปธรรม ทั้งในสวนขององคกรผูรับทุนรองที่มีหนาที่ในการดําเนินงาน<br />

ตามเปาหมายของโครงการใหสําเร็จลุลวง และองคกรที่มีบทบาทในการกํากับดูแลและมีอํานาจหนาที่ใน<br />

การปฏิบัติภารกิจใหสําเร็จตามวัตถุประสงคของการดําเนินงานโครงการดานเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ที่<br />

ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลก อีกทั้งเพื่อเปนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เปนสวน<br />

หนึ่งของการดําเนินงานโครงการ<br />

โปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล ที่สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

นํามาใชในการบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ และติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานผูรับทุน<br />

รองของโครงการดานเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ที่สําคัญไดแก 1) โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

2) โปรแกรม Portable Swiff Chart Pro 3) โปรแกรม <strong>SPSS</strong> และ 4) โปรแกรม <strong>GIS</strong> (Geographic<br />

Information System) ซึ่งโปรแกรมเหลานี้ สามารถนําไปใชประโยชนในการบริหารจัดการขอมูล และการ<br />

นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่นาสนใจ ทั้งนี้คณะผูจัดทํา หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือการใชโปรแกรมสําหรับการ<br />

บริหารจัดการและการนําเสนอขอมูลฉบับนี้จะมีประโยชน สามารถทําใหการทํางานสะดวก รวดเร็วและ<br />

มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

ตุลาคม 2551<br />

คณะผูจัดทํา


สารบัญ<br />

เรื่อง หนา<br />

โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

สวนที่ 1 แนะนําการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน 1<br />

1. ขั้นตอนการเขาใชงาน โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> 1<br />

2. สวนประกอบของโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> 1<br />

3. เทคนิคการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน 5<br />

สวนที่ 2 การจัดทําฐานขอมูล และการจัดทํารายงาน โดยใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> 13<br />

1. ความหมายของฐานขอมูล (Database) 13<br />

2. การบริหารจัดการฐานขอมูล และการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม <strong>Excel</strong> 14<br />

สวนที่ 3 การสรางแผนภูมิ 27<br />

1. แผนภูมิ (Chart) 27<br />

2. สวนประกอบของแผนภูมิ 28<br />

3. การสรางแผนภูมิ 28<br />

4. การแกไขและปรับแตงแผนภูมิ 32<br />

โปรแกรม Portable Swiff Chart Pro<br />

1. การติดตั้งโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro 37<br />

2. การใชงานโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro 37<br />

โปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

บทที่ 1 ความหมายของคําวาสถิติ 55<br />

บทที่ 2 การเตรียมเครื่องมือกอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล 57<br />

บทที่ 3 โปรแกรม <strong>SPSS</strong> for window 63<br />

บทที่ 4 การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล (Analyze) 66<br />

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูล การจัดการขอมูล (Transform) 77<br />

บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ 82<br />

โปรแกรม <strong>GIS</strong><br />

1. การเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> 94<br />

2. สวนประกอบหลักของระบบ <strong>GIS</strong> 96


โปรแกรม<br />

Microsoft <strong>Excel</strong>


Microsoft <strong>Excel</strong> <br />

โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เปนโปรแกรมหนึ่งที่จัดอยูในชุด Microsoft Office โปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> มี<br />

ชื่อเสียงในดานการคํานวณเกี่ยวกับตัวเลข และการทําบัญชีตางๆ การทํางานของโปรแกรม ใชตารางตามแนวนอน<br />

(rows) และแนวตั้ง (columns) เปนหลัก ซึ่งเราเรียกโปรแกรมในลักษณะนี้วาเปน Spread Sheet บางคนใช<br />

โปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> สําหรับการพิมพตาราง การพิมพรายการสิ่งของตางๆ ที่มีการรวมเงิน หรือตัวเลข หรือมีการ<br />

คํานวณอยางงาย บางคนใชโปรแกรมนี้ เพื่อวิเคราะหแบบสอบถาม หาคาเฉลี่ย และคาสถิติตางๆ หรือใชโปรแกรม<br />

ในการทําแผนภูมิรูปแบบตางๆ เปนตน<br />

สวนที่ 1 แนะนําการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน<br />

1. ขั้นตอนการเขาใชงาน โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

การเขาใชงาน Microsoft <strong>Excel</strong> โดยปกติ มีขั้นตอน ดังนี้<br />

1) เลือก Start (ดานซายลาง)<br />

2) เลือก Program และ Microsoft Office<br />

3) เลือกเมนูโปรแกรม Microsoft Office <strong>Excel</strong> 2003<br />

2. สวนประกอบของโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

พื้นที่ใชงานและสวนประกอบในหนาตางโปรแกรม<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 1


2.1 จําแนกสวนตางๆ ในหนาตางโปรแกรม<br />

1. แท็บ ชื่อโปรแกรมและปุมควบคุมโปรแกรม (Title Bar and Control Program Button)<br />

แท็บ ชื่อโปรแกรม (Title Bar) ประกอบดวย<br />

1) ชื่อโปรแกรม คือชื่อแฟมขอมูลที่กําลังทํางานอยูในขณะนั้น<br />

2) ปุมควบคุมโปรแกรม (Control Program Button) คือปุมยอหนาตาง/ปุมขยายหนาตาง/คืนสู<br />

หนาตางปกติ ปุมเรียกหนาตางซอนหลายๆ หนาตาง และปุมปดหรือออกจากโปรแกรม ตามลําดับ<br />

2. แท็บ เมนูโปรแกรม (Menu Program)<br />

แท็บ เมนูโปรแกรม (Menu Program) ประกอบดวย<br />

1) ชื่อรายการเลือกหลัก หรือเมนูหลัก คือ แฟม (File) แกไข (Edit) มุมมอง (View) แทรก (Insert)<br />

รูปแบบ (Format) เครื่องมือ (Tools) ขอมูล (Data) หนาตาง (Window) วิธีใช (Help)<br />

2) ปุมควบคุมแฟมขอมูล (Control Filename Button)<br />

3. แท็บ เครื่องมือ (Tool Bar)<br />

แท็บ เครื่องมือ (Tool Bar) ประกอบดวย<br />

1) แท็บ เครื่องมือมาตรฐาน (Standard)<br />

2) แท็บ เครื่องมือจัดรูปแบบ (Formatting)<br />

2 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4. แท็บ สูตร (Formula Bar)<br />

แท็บ สูตร (Formula Bar) ประกอบดวย<br />

1) แท็บ แสดงสถานะการทํางานของเซลล หรือ ตําแหนงของเซลล<br />

2) แท็บ สูตร จะแสดงสถานะการใชงาน ดังแสดงในภาพ<br />

5. แท็บ แผนงานและแท็บ เลื่อนหนา<br />

แท็บ แผนงานและแท็บเลื่อนหนา ประกอบดวย<br />

1) แท็บ แผนงาน ประกอบดวย แผนงาน (Sheet) โดยปกติ จะมี 3 แผนงาน คือ Sheet1, Sheet2, Sheet3<br />

แตผูใชสามารถแกไข โดยเพิ่ม ลบ เปลี่ยนชื่อ คัดลอก หรือยายแผนงานได<br />

2) แท็บ เลื่อนหนาเอกสาร คือ แท็บเลื่อนหนากระดาษ แนวนอน (เลื่อนไปทางซาย – ขวาทีละแผนงาน<br />

หรือเลื่อนไปทางซายสุด หรือทางขวาสุด)<br />

6. เซลล เซลลพอยเตอร และแท็บ แสดงสถานะการทํางานของเซลล<br />

1) เซลล (Cell) คือ จุดตัดระหวาง แถว (Row) และคอลัมน (Column) โดยแถว ไดแก 1 , 2 , 3 , 4 , 5,....สวน<br />

คอลัมน ไดแก A , B , C , D,…..<br />

2) เซลลพอยเตอร หรือตําแหนงเซลลทํางาน (Cell Pointer) คือ ตําแหนงการทํางานของเซลลในขณะนั้น เชน<br />

ในภาพ Cell Pointer อยูที่ B3 หมายถึง เซลลทํางานอยูที่ตําแหนงคอลัมน B แถวที ่ 3<br />

3) แท็บ แสดงสถานะของเซลล (Cell Reference) อยูที่ตําแหนงแท็บสูตร จะแสดงชื่อเซลลไว (ดังภาพ คือ<br />

B3) เมื่อมีการเลื่อนตําแหนงเซลล แท็บแสดงสถานะจะเปลี่ยนไปดวย นอกจากนั้นในการเลือกหลายๆ<br />

เซลล หรือการคลุมทึบเลือกเซลล จะบอกถึงขอบเขตการเลือก ดังภาพ 3R x 3Cหมายถึง เลือก 3 แถว x 3<br />

คอลัมน ครอบคลุมพื้นที่ B1: D3<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 3


2.2 สวนประกอบของสมุดงาน (Workbook) ที่ควรรูจักมีดังนี้<br />

1) ชื่อไฟลของสมุดงาน (Title Bar) หรือชื่อของสมุดงาน ซึ่งก็คือชื่อไฟลนั่นเอง<br />

2) เซลล (Cell) เปนชองสี่เหลี่ยม ซึ่งเปนตารางหนวยยอยที่เล็กที่สุด ดังแสดงในภาพที่ 1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 1 แสดงชื่อไฟลของสมุดงานและเซลล<br />

3) ชีท (Sheet) คือ ตารางสี่เหลี่ยม ซึ่งประกอบขึ้นมาจากเซลล (ในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> รุนภาษาไทยเรียก<br />

ชีทวา "แผนงาน")<br />

- ปายชื่อของชีท (Sheet) คือ แท็บที่ใชในการเปลี่ยนชีทเปนชีทอื่น ๆ ในที่นี้ชื่อ Sheet 1, Sheet 2<br />

4) ปุมเปลี่ยนชีท (Scrolling button) คือปุมที่ใช คลิกเพื่อเคลื่อนที่ไปยังชีทถัดไป ปุมเหลานี้จะถูกใชใน<br />

กรณีที่ปายชื่อของชีทมีมากจนไมสามารถแสดงผลไดทั้งหมด ดังแสดงในภาพที่ 2<br />

2<br />

1<br />

ภาพที่ 2 แสดงปายชื่อของชีท และปุมเปลี่ยนชีท<br />

4 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3. เทคนิคการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน<br />

3.1 การแปลงฐานขอมูลจาก MS. Word เปน MS. <strong>Excel</strong><br />

จากฐานขอมูลรายชื่อแกนนําพนักงาน ที่อยูของสถานประกอบกิจการ เบอรโทรศัพท จํานวนพนักงานของ<br />

สถานประกอบกิจการ และจํานวนพนักงานที่ไดรับการอบรมดานโรคเอดส ที่ไดจัดเก็บในรูปแบบของ MS. Word<br />

สามารถ คัดลอก หรือ Copy ตารางดังกลาวไปยัง MS. <strong>Excel</strong> ตามขั้นตอนดังนื้<br />

เปดโปรแกรม Microsoft Word<br />

1) เลือกเปดไฟล MS. Word ชื่อ DB Test.doc<br />

2) เลือกเมนู แกไข (Edit)<br />

3) เลือกทั้งหมด (Select all) ดังแสดงในภาพที่ 3<br />

4) เลือกคัดลอก (Copy) ดังแสดงในภาพที่ 4<br />

2<br />

1<br />

4<br />

3<br />

ภาพที่ 3 แสดงการเลือกขอมูลทั้งหมด: Select all ภาพที่ 4 แสดงการคัดลอกขอมูลในโปรแกรม Word: Copy<br />

เปดโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

1) หลังจากทําการคัดลอกขอมูลในโปรแกรม Word เรียบรอยแลว ใหทําการเปดโปรแกรม <strong>Excel</strong><br />

2) เลือกเซลล A1 (คอลัมน A แถวที่ 1) คลิกขวา<br />

3) เลือกวาง (Paste) ดังแสดงในภาพที่ 5 (หรือเลือกเมนูแกไข และคัดลอก)<br />

4) จัดคอลัมนใหเรียบรอยโดยใหคลิกซายดึงที่ขอบดานขวาบนสุดของคอลัมน ดังแสดงในภาพที่ 6<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 5 แสดงการวางขอมูลลงในโปรแกรม <strong>Excel</strong>: Paste<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 5


้<br />

้<br />

1<br />

ภาพที่ 6 แสดงการจัดคอลัมน ในโปรแกรม <strong>Excel</strong><br />

3.2 การเปลี่ยนชื่อชีท (Sheet หรือแผนงาน) ที่ดานลางของชีทแตละชีทจะมีปายชื่อกํากับอยู เพื่อใหเรา<br />

สามารถแยกออกวาเปนชีทใด ชื่อของชีทจะมีคําวา Sheet นําหนา เปน Sheet1, Sheet 2 และ Sheet 3<br />

เรียงไปเรื่อยๆ หากเห็นวาชื่อของชีทไมสอดคลองกับงานที่ทําในชีทนั้น สามารถเปลี่ยนเปนชื่ออื่นได ตาม<br />

ขั้นตอนดังนี้<br />

1) ดับเบิ้ลคลิกปายชื่อของชีทที่ตองการเปลี่ยนชื่อ หรือคลิกขวาที่ชีทนั้น แลวเลือกเมนูเปลี่ยนชื่อ<br />

(Rename)<br />

2) กรอกชื่อใหม ซึ่งจะเปนภาษาไทยหรืออังกฤษก็ได<br />

3) กดปุม เพื่อจบขั้นตอนการเปลี่ยนชื่อชีท<br />

3.3 การสรางชีทใหม ชีทที่โปรแกรม <strong>Excel</strong> ใหมาตั้งแตตน มีจํานวน 3 ชีทเทานั้น ซึ่งสามารถเพิ่มชีทเขา<br />

ไปในสมุดงานนี้ไดอีก ตามขั้นตอนดังนี<br />

1) คลิกขวาปายชื่อของชีทเกาที่ตองการใหมีชีทใหมแทรกอยูกอนหนา<br />

2) เลือกแทรก (Insert) -> เลือก worksheet (แผนงาน) เพื่อแทรกชีทใหม<br />

3) จะไดชีทใหมวางๆ พรอมทํางาน<br />

3.4 การสลับไปใชชีทอื่นๆ การทํางานเราไดกรอกขอมูลและทําการคํานวณอยูในชีทเพียงชีทเดียว แตที่<br />

จริงแลวยังมีชีทอื่นๆ ที่สามารถเลือกใชไดอีก ตามขั้นตอนดังนี<br />

1) คลิกที่ปายชื่อของชีทอื่น<br />

2) จะไดชีทใหมวางๆ ซึ่งสามารถทํางานอื่นๆ ไดโดยจะไมกระทบกระเทือนกับผลงานในชีทเกา<br />

3) หากตองการกลับไปยังชีทเดิม ใหคลิกที่ปายชื่อของชีทนั้น จะกลับมายังชีทเกาทันที<br />

3.5 การสลับตําแหนงชีท ตําแหนงของชีทสามารถเปลี่ยนแปลงลําดับการเรียงได ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลิกปายชื่อของชีทที่ตองการสลับตําแหนง<br />

2) คลิกเมาสคางไวแลวลากชีทไปยังตําแหนงใหม<br />

3) ชีทจะถูกยายไปตําแหนงใหมทันที<br />

3.6 การลบชีทที่ไมตองการ ชีทที่ไมตองการสามารถลบออกได ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลิกปายชื่อของชีทที่ตองการลบ<br />

2) คลิกขวา เลือกลบ (Delete)<br />

3) ชีทที่เลือกไวจะถูกลบไปทันทีอยาถาวร (การลบชีทจึงควรระมัดระวัง)<br />

6 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3.7 การตรึงแนวบางสวนของชีท (Freeze Panes) การตรึงแนวจะชวยในการดูขอมูลที่มีอยูหลาย<br />

คอลัมนหรือหลายแถวซึ่งไมสามารถดูไดทั้งหมดในหนาจอเดียวกัน โดยสามารถใชการตึงแนวของคอลัมนหรือแถว<br />

ที่ตองการเอาไวใหอยูคงที่โดยสามารถเลื่อนดูขอมูลสวนของคอลัมนหรือแถวอื่นๆ ได ทั้งนี้สามารถตรึงแนวดานบน<br />

แนวดานซาย หรือทั้งสองแนวบนแผนงานที่ใชงานอยู การตรึงแนวนี้จะไมมีผลตอการพิมพ เปนการจัดการนําเสนอ<br />

ขอมูลที ่หนาจอเทานั้น วิธีการตรึงแนวตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลิกหัวแถวหรือคอลัมนที่ตองการตรึงแนว โดยคลิกหลังจากแถวหรือคอลัมนที่ตองการตรึง 1 แถวหรือ<br />

1 คอลัมน ตัวอยางเชน<br />

- หากตองการตรึงแนวในแถวที่ 1 เพื่อใหหัวขอคงอยูตลอดเมื่อใชงาน ใหคลิกที่แถวที่สอง<br />

- หากตองการตรึงแนวในคอลัมนที่ 1 เพื่อใหลําดับที่คงอยูตลอด ใหคลิกที่คอลัมนที่สอง<br />

- หากตองการตรึงแถวที่ 1 และคอลัมนที่ 1 เพื่อใหทั้งหัวขอและลําดับที่คงอยู ใหคลิกที่เซลล B2<br />

2) เลือกเมนูหนาตาง (Window) -> เลือกตรึงแนว (Freeze Panes) ในที่นี้ตองการใหหัวขอที่อยูแถวที่ 1<br />

คงที่ จึงจําเปนตองตรึงแนวแถวที่ 1 ดังแสดงในภาพที่ 7<br />

3) หากตองการยกเลิกการตรึงแนว ใหเลือกเมนูหนาตาง (Window) -> ยกเลิกตรึงแนว (Unfreeze<br />

Panes)<br />

2<br />

1<br />

ภาพที่ 7 แสดงการตรึงแนว: Freeze Panes<br />

3.8 การเรียงลําดับขอมูล (Sort) การเรียงลําดับขอมูลสามารถเรียงลําดับในตัวแปรเดียว หรือหลายๆ ตัว<br />

แปร (คอลัมนเดียวหรือหลายๆ คอลัมน)<br />

โดยการเรียงลําดับขอมูลมีอยู 2 สวนคือ เรียงลําดับจากนอยไปหามาก เรียงลําดับจากมากไปหา<br />

นอย ดังแสดงในภาพที่ 8<br />

ภาพที่ 8 แสดงคําสั่งเรียงลําดับ (Sort) โดยใชคําสั่งที่เมนูบาร<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 7


วิธีการเรียงลําดับ ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลุมทึบพื้นที่ทั้งหมดที่ตองการเรียงลําดับ<br />

2) เลือกคําสั่งเรียงลําดับ<br />

2.1) เลือกคําสั่ง เรียงลําดับจากนอยไปหามาก และ เรียงลําดับจากมากไปหานอย ที่เมนู<br />

บาร ซึ่งในกรณีนี้จะเปนการจัดเรียงลําดับตามตัวอักษร หรือตัวเลขใหโดยอัตโนมัติ<br />

2.2) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกเรียงลําดับ (Sort) จะปรากฏหนาตางการเรียงลําดับ (Sort)<br />

ประกอบดวยสวนที่สําคัญ ดังนี้<br />

- ตัวเลือกการเรียงลําดับมาให 3 คอลัมนหรือ 3 ตัวแปร ซึ่งสามารถกําหนดไดวาจะเริ่มเรียงลําดับ<br />

จากตัวแปรใดเปนตัวแปรแรก และตามดวยตัวแปรใดอีก 2 ตัวแปร เชน เรียงลําดับตาม (Sort by)<br />

“จังหวัด” แลวตามดวย (Then by) “อําเภอ” แลวตามดวย (Then by) “ตําบล”<br />

- กําหนดการเรียงลําดับจากนอยไปหามาก(Ascending) หรือจากมากไปหานอย (Descending)<br />

ในแตละตัวแปร<br />

- กําหนดไดวาใหมีแถวนําหรือหัวแถวดานบน (Header row / No header row) หรือไม<br />

3) จากนั้นเลือก ตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 9<br />

2<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 9 แสดงคําสั่งเรียงลําดับ: Sort<br />

3.9 การเพิ่ม-ลดจุดทศนิยมขอมูลที่เปนตัวเลข<br />

1) เลือกคอลัมนที่ตองการทําการเพิ่มหรือลดจุดทศนิยมโดยการคลิกที่หัวคอลัมน<br />

2) คลิกขวาที่หัวคอลัมนที่เลือกไว เลือกจัดรูปแบบเซลล (Format Cells) ดังแสดงในภาพที่ 10<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 10 แสดงการเลือกคําสั่งการจัดรูปแบบเซลล: Format Cells<br />

8 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) เมื่อเลือกจัดรูปแบบเซลลแลว โปรแกรม <strong>Excel</strong> จะปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบเซลล<br />

ใหเลือกที่ แท็บตัวเลข (Number) จากนั้นเลือกประเภท (Category) เปนตัวเลข ดานขวามือจะมีคําวา<br />

ตําแหนงทศนิยม (Decimal places) ใหทําการกําหนดคาทศนิยมไดเลย จากนั้นเลือกตกลง (OK) ดังแสดง<br />

ในภาพที่ 11<br />

3.1<br />

ภาพที่ 11 แสดงการจัดรูปแบบเซลล<br />

3.2<br />

3.3<br />

3.4<br />

ภาพที่ 11 แสดงหนาตางการจัดรูปแบบเซลล: การกําหนดจุดทศนิยมใหกับขอมูลตัวเลข<br />

3.10 การเติมสีพื้นในสวนของขอความที่ตองการ<br />

1) เลือกพื้นที่ทั้งหมดที่ตองการเติมสี ในที่นี้คือ ตําบล อําเภอ จังหวัด (ครอบคลุมพื้นที่ A1:C1)<br />

2) เลือกคําสั่งเติมสี (Fill Colour) ที่เมนูบาร เลือกสีพื้นตามตองการ ในที่นี้เลือกสีเทา ดังแสดง<br />

ในภาพที่ 12<br />

หรือคลิกขวาที่พื้นที่ที่ทําแถบสี A1:C1 จะปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบเซลลและเลือกที่แท็บลวด<br />

ลาย (Patterns) เลือกสีพื้นและรูปแบบลวดลายของพื้นตามตองการ<br />

3) แสดงผลจากการเติมสีพื้นที่หัวเรื่อง ดังแสดงในภาพที่ 13<br />

1 2<br />

ภาพที่ 12 แสดงการเติมสี: Fill Color<br />

3<br />

ภาพที่ 13 แสดงผลจากการเติมสีที่หัวเรื่อง<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 9


3.11 การคัดวางรูปแบบในสวนของขอความที่ตองการ<br />

1) เลือกพื้นที่ทั้งหมดที่ตองการคัดวางรูปแบบ ในที่นี้คือ ตําบล อําเภอ จังหวัด (ครอบคลุม A1:C1)<br />

2) เลือกคําสั่งตัวคัดวางรูปแบบ (Format Painter) ที่เมนูบาร ดังแสดงในภาพที่ 14<br />

3) เลือกพื้นที่ที่ตองการใหมีรูปแบบเหมือนตนแบบ (A1:C1) ในที่นี้คือ พื้นที่ A7:C13 ดังภาพที่ 15<br />

4) พื้นที่ที่ถูกเลือก A7: C13 จะมีรูปแบบเหมือนกับรูปแบบที่ทําการคัดวางมา ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

2<br />

1<br />

ภาพที่ 14 แสดงการเลือกคําสั่งตัวคัดวางรูปแบบ: Format Painter<br />

3 4<br />

ภาพที่ 15 แสดงพื้นที่ที่ตองการคัดวางรูปแบบ ภาพที่ 16 แสดงผลจากการคัดวางรูปแบบ<br />

3.12 การตั้งคาหนากระดาษในการบันทึกขอมูล<br />

กําหนดคากระดาษใหเปนกระดาษ A4 เพื่อความสะดวกและเปนระเบียบในการ Print งานออกมา<br />

ตรวจสอบ หรือจัดทํารายงาน<br />

1) เลือกที่เมนู แฟม (File) -> เลือกตั้งคาหนากระดาษ (Page Setup) ดังแสดงในภาพที่ 17<br />

2) จะปรากฏหนาตาง การตั้งคาหนากระดาษ (Page Setup) ซึ่งจะมีทั้งหมด 4 แท็บ: หนา (Page)<br />

ระยะขอบ (Margins) หัวกระดาษ/ทายกระดาษ (Header/Footer) และแผนงาน (Sheet)<br />

1<br />

ภาพที่ 17 แสดงการเลือกตั้งคาหนากระดาษ: Page Setup<br />

10 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


2.1) แท็บที่ 1 หนา (Page) ดังแสดงในภาพที่ 18<br />

ภาพที่ 18 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แท็บหนา (Page)<br />

- การวางแนว (Orientation) แนวตั้ง (Portrait) - แนวนอน (Landscape)<br />

- มาตราสวน (Scaling) ปรับเปน: 100% จากขนาดปกติ (Adjust to: 100% normal size ) แตถา<br />

ตองการปรับมาตราสวนใหญเล็กลงจากเดิมอาจจะปรับเปน 80% หรือ 90% ขึ้นกับขอมูลที่ตองการ Print<br />

- ขนาดกระดาษ คาปกติ เปนกระดาษขนาด A4 210 x 297 mm ...แต ผูใชสามารถปรับเปลี่ยน<br />

ขนาดกระดาษ อื่นๆ ได เลือกในชอง ขนาดกระดาษ จะปรากฏหนาตางรายการเลือก ขนาดกระดาษอื่นๆ<br />

ดังแสดงในภาพที่ 19<br />

ภาพที่ 19 แสดงกระดาษขนาดตาง ๆ<br />

2.2) แท็บที่ 2 ระยะขอบ (Margins)<br />

การกําหนดระยะขอบ ทั้ง 4 ดานคือ ดานบน (Top) ดานลาง (Bottom) ดานซาย (Left) และดานขวา<br />

(Right) ดังแสดงในภาพที่ 20<br />

ภาพที่ 20 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แท็บระยะขอบ (Margins)<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 11


2.3) แท็บที่ 3 หัวกระดาษ / ทายกระดาษ (Header / Footer)<br />

ผูใชงานสามารถเลือก หัวกระดาษกําหนดเอง (Custom Header) หรือทายกระดาษกําหนดเอง<br />

(Custom Footer) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง หัวกระดาษ (Header) หรือทายกระดาษ (Footer) ซึ่ง<br />

ผูใชสามารถเลือก ไอคอนตางๆ โดยความหมายของไอคอน<br />

คือ ขอความ หมายเลขหนา จํานวนหนาทั้งหมด วันที่ เวลา ชื่อโฟลเดอร ชื่อไฟล และรูปภาพ ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 21<br />

ภาพที่ 21 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แท็บหัวกระดาษ/ทายกระดาษ (Header / Footer)<br />

2.4) แท็บที่ 4 แผนงาน (Sheet)<br />

การจัดการในแผนงานกอนที่จะพิมพ ประกอบดวย 4 สวน ดังนี้<br />

- พื้นที่การพิมพ (Print area) คือการกําหนดพื้นที่ที่จะ Print โดยการเลือกที่ลูกศรชี้ขึ้นสีแดง<br />

จะขึ้นพื้นที่การพิมพ ใหเลือกพื้นที่ที่จะพิมพ และเลือก<br />

ลูกศรชี้ลงสีแดง<br />

- ชื่อเรื่องที่พิมพ (Print titles) คือการเลือกพื้นที่ แถวที่จะพิมพซ้ําดานบน (Rows to repeat at top)<br />

หรือเลือกพื้นที่ คอลัมนที่จะพิมพซ้ําดานซาย (Columns to repeat at left)<br />

- พิมพ (Print) คือการเลือกสวนที่จะพิมพ เชน เสนตาราง (Gridlines) หัวแถวและหัวคอลัมน (Row<br />

and Column heading) ขาวดํา (Black and white) ขอคิดเห็น (Comments) คุณภาพแบบราง<br />

(Draft quality) เปนตน<br />

- ลําดับของหนา (Page order) คือการเลือกลําดับหนาที่จะพิมพจาก 1) เลื่อนลงแลวซายไปขวา<br />

(Down, then over) 2) ซายไปขวาแลวลง (Over, then down)<br />

ดังแสดงในภาพที่ 22<br />

12 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 22 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แผนงาน (Sheet)<br />

สวนที่ 2 การจัดทําฐานขอมูล และการจัดทํารายงาน โดยใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

1. ความหมายของฐานขอมูล (Database)<br />

การเก็บขอมูลที่ใชในชีวิตประจําวัน เรามักจะบันทึกไวในกระดาษ ซึ่งมีขอดีตรงสะดวก จดไดงาย แตมี<br />

ขอเสียคือ เมื่อขอมูลมีมากขึ้น จะคนหาขอมูลไดยากมาก และยังไมสามารถตอบคําถามไดรวดเร็วนัก เชน ในกรณี<br />

ที่เรามีสมุดรายชื่อแกนนําชุมชน แตมีคําถามวาตองการหาชื่อแกนนําชุมชนที่เปนผูหญิง ที่มีนามสกุลนําหนาดวย ก<br />

เราจะตองเปดไลดูชื่อแกนนําชุมชนทีละชื่อ ทําใหเสียเวลามาก<br />

การนําขอมูลมาจัดเก็บในคอมพิวเตอร ชวยเพิ่มความรวดเร็วในการคนหาเปนอยางมาก การคนหาที่ตอง<br />

ใชเวลานับชั่วโมง จะเหลือเพียงไมถึงนาทีเทานั้น ยิ่งขอมูลมากขึ้นยิ่งเห็นความแตกตางไดอยางชัดเจน<br />

แตการใสขอมูลลงคอมพิวเตอรก็ไมใชวาจะทําไดงายๆ เนื่องจากถาเรานําขอมูลใสไวไมเปนระบบระเบียบ<br />

อาจจะนําไปใชงานยากกวาจดไวในกระดาษเสียอีก ดังนั้นจึงตองมีการออกแบบระบบการจัดเก็บขอมูล ซึ่งก็คือ<br />

ฐานขอมูล (Database) นั่นเอง<br />

ฐานขอมูล (Database) คือ การนําขอมูลจํานวนมากๆ มาเก็บไวดวยกัน โดยมีรูปแบบการจัดขอมูลที่<br />

เปนระบบเพื่อใหสะดวกในการนําไปใชงานในภายหลัง เชน จํานวนพนักงานที่ไดรับการอบรม รายนามแกนนํา<br />

ชุมชน และขอมูลบัญชี เปนตน<br />

โปรแกรม <strong>Excel</strong> สามารถชวยใหสรางฐานขอมูลได โดยมีคุณสมบัติในการจัดเก็บขอมูล และตรวจสอบ<br />

ความถูกตอง ความสอดคลองและความซ้ําซอนของขอมูล และยังสามารถจัดเรียงขอมูล และกรองขอมูลเฉพาะ<br />

สวนที่เราสนใจไดงาย<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 13


2. การบริหารจัดการฐานขอมูล และการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม <strong>Excel</strong><br />

ฐานขอมูลในโปรแกรม <strong>Excel</strong> เรียกกันงายๆ แลวก็คือตาราง (Table) นั่นเอง ตารางมีทั้งแถว<br />

(Row) และคอลัมน (Column) โดยที่แตละแถวของขอมูล เราเรียกวาระเบียน (Record) ซึ่งประกอบดวย<br />

ขอมูลชุดที่ 1, ขอมูลชุดที่ 2, ขอมูลชุดที่ 3, … ซึ่งจะบันทึกในแตละแถว ในขณะที่แตละคอลัมนของขอมูล<br />

จะใสขอมูลประเภทเดียวกัน<br />

ในตอนเริ่มแรกที่สรางฐานขอมูล เราจะบันทึกชื่อตัวแปรหรือชื่อฟลดลงในแถวเดียวกัน สวนใหญ<br />

บันทึกในแถวที่ 1 ของแผนงานนั้น สวนขอมูลชุดที่ 1, ขอมูลชุดที่ 2, ขอมูลชุดที่ 3 …จะถูกบันทึกในแถวที่ 2<br />

และแถวที่ 3, และแถวที่ 4 … ตามลําดับ เมื่อกรอกขอมูลเรียบรอยแลว ก็จะบันทึกลงในแฟมขอมูลเก็บไว<br />

ในแผนงาน เพื่อใหสามารถนํามากรอกเพิ่มในภายหลัง และเมื่อตองการคนหาขอมูลใด ก็สามารถทําได<br />

งาย โดยใชเครื่องมือคนหาขอมูล ซึ่งผูเขียนจะกลาวถึงในหัวขอตอ ๆ ไป<br />

การบริหารจัดการฐานขอมูล และการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม <strong>Excel</strong> มีวิธีการตางๆ ดังตอไปนี้<br />

2.1 การแยกขอความที่ติดกันใหเปนคอลัมน (Text to Columns)<br />

การแยกขอความที่ติดกัน เชน ที่อยู ใหเปนคอลัมนของ ตําบล อําเภอ จังหวัด เพื่อจัดทําฐานขอมูล<br />

ตัวอยาง ที่อยู => 175 ม. 5 ถ.เชียงใหม-ฮอด ต.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม 50230<br />

ใหเปน ต.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม<br />

1) คัดลอก (Copy) คอลัมน ที่อยู มาวาง (Paste) ที่คอลัมน A (เซลล A1 หรือหัวคอลัมน A)<br />

2) หลังจากนั้นเลือกคอลัมน A ที่มีขอมูล “ที่อยู” ที่จัดเก็บในรูปของขอความ<br />

ขั้นตอนการแยก ที่อยู ที่เปนขอความติดกัน ใหเปนคอลัมน ตําบล อําเภอ จังหวัด ดังนี้<br />

3) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกขอความเปนคอลัมน (Text to Columns) ดังแสดงในภาพที่ 23<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 23 แสดงการแยกขอความที่ติดกันใหเปนคอลัมน: Text to Columns<br />

4) จะปรากฏหนาตางตัวชวยสรางการเปลี่ยนขอความเปนคอลัมน ขั้นที่ 1 จาก 3 (Covert Text to<br />

Columns Wizard – Step 1 of 3) ดังภาพที่ 24<br />

14 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4<br />

ภาพที่ 24 แสดงตัวชวยสรางการเปลี่ยนขอความเปนคอลัมน: เลือกการใชตัวคั่น (Delimited)<br />

โดยการเลือกชนิดขอมูลดั้งเดิม เลือกชนิดแฟมที่เหมาะสม (Choose the file type) มี 2 ประเภทคือ<br />

- มีการใชตัวคั่น (Delimited) อักขระ เชน เครื่องหมายจุลภาค (Comma: ,) หรืออัฒภาค (Semi-<br />

Colon: ;) หรือแท็บ (Tab) หรือชองวาง (Space) หรือตัวคั่นอื่นๆ เชนระบุเปนทวิภาค (Colon :)<br />

แยกแตละเขตขอมูล<br />

- ความกวางคงที่ (Fixed width) เขตขอมูลถูกจัดใหอยูในรูปแบบคอลัมน โดยมีชองวางเปนตัวแบง<br />

ระหวางเขตขอมูล<br />

ในที่นี้เลือก มีการใชตัวคั่น (Delimited)<br />

5) หลังจากเลือกมีการใชตัวคั่น (Delimited) -> เลือกตัวคั่น ชองวาง (Space) และแท็บ (Tab) เพื่อแยก<br />

ขอความตางๆ โดยใชชองวางและแท็บเปนตัวแบง ซึ่งจะเห็นตัวอยางจากชองแสดงตัวอยางขอมูล จากนั้นเลือก<br />

ถัดไป (Next) และเลือกเสร็จสิ้น (Finish) ดังแสดงในภาพที่ 25<br />

5<br />

6<br />

ภาพที่ 25 แสดงการเลือกตัวคั่น: Delimited<br />

6) หลังจากนั้น ที่อยู ที่เปนขอความ จะถูกแยกเปนบานเลขที่ หมูที่ ถนน ตําบล อําเภอ จังหวัด และ<br />

รหัสไปรษณีย แตปญหาคือ ตําบล อําเภอ จังหวัด จะไมไดเรียงเปนคอลัมนที่สวยงาม เนื่องจากการพิมพที่อยู<br />

อาจจะมีรูปแบบที่หลากหลาย เชน ไมมีหมูที่ ไมมีชื่อถนน หรือการเวนวรรคที่แตกตางกัน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 15


หมายเหตุ การทําฐานขอมูล การเวนวรรค ควรเวนแค 1 วรรค และคํายอ เชน ตําบล -> ต. อําเภอ -> อ.<br />

และจังหวัด -> จ. จะอยูติดกับชื่อของตําบล อําเภอ และจังหวัด<br />

7) คัดลอก (Copy) ตําบล อําเภอ จังหวัด ใหอยูที่คอลัมนที่เรียงกันเพื่อการจัดทําฐานขอมูล<br />

จากนั้นพิมพชื่อตัวแปร ตําบล อําเภอ จังหวัดที่แถว (Row) ที่1 ดังแสดงในภาพที่ 26<br />

7<br />

ภาพที่ 26 แสดงการจัดเรียงขอมูลใหม<br />

2.2 การรวมขอความจากหลายๆ คอลัมน ใหเปนขอความเดียวกัน โดยใชฟงกชั่น CONCATENATE<br />

การรวมขอความจากหลายๆ คอลัมน เชน คอลัมนของ ตําบล อําเภอ จังหวัด ใหเปนขอความ<br />

เดียวกันในคอลัมน “ที่อยู” เพื่อจัดทําฐานขอมูล มีขั้นตอนดังนี้<br />

1) เลือกตําแหนงหรือเซลลที่ตองการใหผลจากการรวมหลายๆ ขอความไปแสดง<br />

2) เลือกคําสั่ง การรวมขอความจากหลายๆ คอลัมน ใหเปนขอความเดียวกัน<br />

โดยเลือกเมนูแทรก (Insert) -> เลือกฟงกชั่น (Function) ดังแสดงในภาพที่ 27<br />

2<br />

ภาพที่ 27 แสดงการเลือกเมนูฟงกชั่นเพื่อการรวมขอความ<br />

3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง แทรกฟงกชั่น (Insert Function) เพื่อเลือกฟงกชั่นในการรวม<br />

ขอความใหเลือกประเภทเปน “ขอความ” (Text) แลวเลือกฟงกชั่นเปน “CONCATENATE” (รวมหลายๆ<br />

สายอัขระขอความใหเปนหนึ่งสายอัขระขอความ) และเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 28<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 28 แสดงการเลือกฟงกชั่นที่รวมหลายๆ ขอความใหเปนหนึ่งขอความ: CONCATENATE<br />

16 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4) จะปรากฏหนาของอารกิวเมนตของฟงกชั่น (Function Arguments): CONCATENATE ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 29<br />

4<br />

ภาพที่ 29 แสดงหนาตางอารกิวเมนตของฟงกชั่น CONCATENATE<br />

5) ใหเลือกที่สัญลักษณ (ในภาพที่ 29) แลวจะปรากฏหนาตางดังแสดในภาพที่ 30 ใหเลือกเซลล A2<br />

จากนั้นเลือกที่สัญลักษณ<br />

ภาพที่ 30 แสดงการเลือกอารกิวเมนตของฟงกชั่น CONCATENATE<br />

6) แสดงการใชฟงกชั่น CONCATENATE เพื่อรวมหลายๆ ขอความใหเปนขอความเดียวกัน ในที่นี้คือรวม<br />

เซลล A2 ซึ่งเก็บคําวา “ต.หางดง” ไวที่ Text 1, เซลล B2 ซึ่งเก็บคําวา “อ.หางดง” ไวที่ Text 3 และเซลล C2 ซึ่งเก็บ<br />

คําวา “จ.เชียงใหม” ไวที่ Text 5 เขาไวเปน ต.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม โดยมีการเวนวรรคระหวางเซลล โดย<br />

การเติม “ “ ไวที่ตําแหนง Text 2 และ Text 4 ตามลําดับ และเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 31<br />

5<br />

6<br />

ภาพที่ 31 แสดงการใชฟงกชั่น CONCATENATE เพื่อรวมหลายๆ ขอความใหเปนขอความเดียวกัน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 17


7) เมื่อรวมขอความโดยใชฟงกชั่น CONCATENATE ดังแสดงในเซลล E2 แลว ถาตองการให<br />

เซลลอื่นๆ รวมกันเปนขอความเดียวกันทุกแถว ทําไดโดยการคัดลอก (Copy) สูตรดังกลาวใหกับแถวอื่นๆ<br />

หรือลาก (Drag) สูตรที่รวมขอความแลวใหกับแถวอื่นๆ ดังแสดงในภาพที่ 32<br />

7<br />

ภาพที่ 32 แสดงการคัดลอกสูตร การรวมขอความโดยฟงกชั่น CONCATENATE ใหกับแถวอื่นๆ<br />

2.3 การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดยใชตัวกรอง (Filter)<br />

การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดยใชตัวกรองนั้น ทําใหการตรวจสอบความถูกตอง ความ<br />

สอดคลอง และความซ้ําซอนของขอมูลทําไดงาย โดยไมจําเปนตองตรวจสอบทีละเร็คคอรด เนื่องจากตัว<br />

กรองจะจัดกลุมขอมูลที่เหมือนกัน ไมวาจะเปนขอมูลตัวเลขหรือขอมูลขอความเขาไวดวยกัน ทําให<br />

สามารถแยกแยะขอมูลที่ผิดและขอมูลที่ถูกตองได และสามารถกรองขอมูลเพียงคอลัมนเดียวหรือกรอง<br />

ขอมูลหลายๆ คอลัมนก็ได ขึ้นกับความตองการของผูใช โดยมีขั้นตอนดังนี้<br />

1) เลือกตัวแปรหรือคอลัมน ที่ตองการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล หรืออาจจะตรวจสอบ<br />

ความถูกตองทุกคอลัมนก็ได โดยการเลือกที่คอลัมน A หรือ B หรือ C …. ในที่นี้เลือกตรวจสอบคอลัมน<br />

“อําเภอ”<br />

2) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกตัวกรอง (Filter) -> เลือกตัวกรองอัตโนมัติ (Auto Filter) ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 33<br />

ภาพที่ 33 แสดงการเลือกตัวกรองขอมูลแบบอัตโนมัติ: Auto Filter<br />

18 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) หลังจากเลือกตัวกรองอัตโนมัติแลว จากนั้นจะเห็นลูกศร หรือ List ของขอมูลที่ตัวแปร “อําเภอ” ซึ่งใน<br />

ตัวแปรอําเภอนั้น จะมี List ดังนี้คือ อ.เมือง อ.สันทราย อ.สารภี และอ.หางดง ซึ่งผูใชสามารถเลือกอําเภอใดก็ได<br />

เชน ถาเลือก อ.เมือง จะแสดงเปนลูกศรชี้ลงสีน้ําเงิน และบรรทัดที ่มีการกรองขอมูลจะมีเลขที่ระบุแถวเปนสีน้ําเงิน<br />

ดังแสดงในภาพที่ 34<br />

หรือถาตองการเลือก อ.เมือง เพื่อตรวจสอบความถูกตองของตําบลใน อ.เมืองนั้น อาจจะเลือกกรองขอมูล<br />

ที่ตัวแปร “อําเภอ” และ ”ตําบล” เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบขอมูล ดังแสดงในภาพที่ 35<br />

ภาพที่ 34 แสดงผลของการเลือกตัวกรองอัตโนมัติที่สราง: ตัวแปร “อําเภอ”<br />

ภาพที่ 35 แสดงผลของการเลือกตัวกรองอัตโนมัติ ตัวแปร “อําเภอ”และ “ตําบล”<br />

4) ถาไมตองการกรองขอมูล หรือยกเลิกการกรองขอมูล ใหเลือกทั้งหมด (All) ที่ Listing ลูกศรสีน้ําเงินจะ<br />

หายไปและแถวที่กรองที่ระบุเปนตัวเลขสีน้ําเงินจะหายเปน จะกลายเปนสีดําแทน<br />

อยาลืม!!! ถาตองการกรองตัวแปรใหมที่ไมเกี่ยวของกับตัวแปรเดิม ตองยกเลิกการกรองขอมูลเดิมกอน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 19


2.4 การวิเคราะหขอมูลอยางงายหรือการสรางรายงานสรุปอยางรวดเร็วดวย Pivot Table<br />

เมื่อถึงเวลาที่ตองจัดทํารายงาน เราสามารถนําขอมูลที่จัดเตรียมไวมาจัดทํารายงานไดอยาง<br />

รวดเร็ว โดยใชระบบจัดทํารายงานอัตโนมัติ หรือที่เรียกวา Pivot Table ของโปรแกรม <strong>Excel</strong> ซึ่งนอกจาก<br />

จะจัดทํารายงานสรุปขอมูลไดอยางรวดเร็วแลว ยังสามารถแกไขรายงานไดงายและรวดเร็วอีกดวย เสมือน<br />

การหาขอมูลโดยใชตารางความถี่ (Frequency) หรือตารางไขว (Crosstab)<br />

การสรางรายงาน Pivot Table<br />

กอนจะสรางรายงานดวย Pivot Table จะตองเลือกขอมูลที่จะนํามาใชสรางรายงานกอน จาก<br />

ฐานขอมูลใน <strong>Excel</strong> ที่ไดสรางไวแลว จากนั้นจึงสรางรายงาน Pivot Table ซึ่งจะนําขอมูลมาคํานวณและ<br />

สรุปผลใหโดยอัตโนมัติ ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) ทําแถบสีครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด หรือเลือกขอมูลทั้งหมด ทุกแถว (Row) รวมถึงตัวแปรในแถวที่<br />

1 และทุกคอลัมน (Column) ที่ตองการสรางรายงานดวย Pivot Table หรือตองการวิเคราะหขอมูล<br />

2) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกรายงาน Pivot Table และ Pivot Chart (Pivot Table and<br />

Pivot Chart Report) ดังแสดงในภาพที่ 36<br />

ภาพที่ 36 แสดงการเลือกรายงาน Pivot Table และ Pivot Chart<br />

3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง ตัวชวยสราง Pivot Table และ Pivot Chart - ขั้นที่ 1 จาก 3<br />

(Pivot Table and Pivot Chart Wizard - Step 1 of 3) และพบคําถามวา 1) คุณตองการวิเคราะหขอมูล<br />

จากที่ใด (Where is the data that you want to analyze?) ในที่นี้ใหเลือก รายงานหรือฐานขอมูล<br />

Microsoft Office <strong>Excel</strong> และคําถาม 2) คุณตองการสรางรายงานอะไร (What kind of report do you<br />

want to create?) ใหเลือก Pivot Table จากนั้นเลือกถัดไป (Next) ดังแสดงในภาพที่ 37<br />

ภาพที่ 37 แสดงหนาตางตัวชวยสราง Pivot Table และ Pivot Chart<br />

20 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4) จะปรากฏหนาตางตัวชวยสราง Pivot Table ขั้นที่ 2 จะพบคําถามวา ขอมูลที่คุณตองการใชอยูที่ไหน<br />

(Where is the data that you want to use?) เนื่องจากเราไดเลือกขอมูลทั้งหมดที่ตองการสราง Pivot Table ไว ใน<br />

ที่นี้จึงแสดงพื้นที่ครอบคลุม (Range) $A$1: $M$154 และเลือกถัดไป (Next) ซึ่งถามีการเพิ่มขอมูลขึ้น หรือเพิ่มตัว<br />

แปรขึ้นสามารถพิมพแกไขเพื่อกําหนดขอบเขตพื้นที่ใหมไดตามตองการ<br />

5) ตัวชวยสราง Pivot Table ขั้นที่ 3 จะพบคําถามวา คุณตองการให Pivot Table Report อยูที่ไหน (What<br />

do you want to put the Pivot Table report?) ใหเลือกแผนงานใหม (New workshet) จากนั้นเลือกเสร็จสิ้น (Finish)<br />

จะไดหนาจอรายงาน Pivot Table เพื่อวิเคราะหขอมูลอยางงาย ซึ่งประกอบดวย 3 สวนคือ<br />

1. ตารางเพื่อสราง Pivot Table แบองออกเปน 3 บริเวณ คือ 1) บริเวณปลอยเขตขอมูลแถวที่นี่ (Drop<br />

Row Fields Here) เปนการจําแนกขอมูลตามแถว 2) บริเวณปลอยเขตขอมูลคอลัมนที่นี่ (Drop<br />

Column Fields Here) เปนการจําแนกขอมูลตามคอลัมน 3) บริเวณปลอยรายการขอมูลที่นี่ (Drop<br />

Data Items Here ) (เนื้อที่วางตรงกลาง) การระบุขอมูลหรือตัวแปรที่ตองการวิเคราะหขอมูล<br />

2. รายการเขตขอมูลของ Pivot Table (Pivot Table Field List) จะแสดงตัวแปรตางๆ เพื่อใหเลือกทํา<br />

รายงาน Pivot Table<br />

3. เมนูบารของ Pivot Table ดังแสดงในรูปภาพที่38<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 38 แสดงหนาจอสําหรับการรายงานขอมูลโดยใช Pivot Table<br />

6) ในขั้นตอนนี้ จะตองเลือกวาจะใหขอมูลใดจําแนกตามแถว และขอมูลใดจําแนกตามคอลัมนของตาราง<br />

และขอมูลใดใชเปนตัวประมวลผลเมื่อขอมูลในแถวและคอลัมนเปลี ่ยนไป เชน ผลรวม (Sum) จํานวนนับ (Count)<br />

คาเฉลี่ย (Average) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (StdDev) คาสูงสุด (Max) คาต่ําสุด (Min) เปนตน โดยการลาก ตัว<br />

แปรจากรายการเขตขอมูล ไปใสในรายงาน Pivot Table ในตําแหนงที่ตองการ ดังแสดงตัวอยางตอไปนี้<br />

จากฐานขอมูลพนักงานในสถานประกอบกิจการที่สรางขึ้นแลวนั้น สามารถประมวลผลเพื่อคํานวณหา<br />

จํานวนของพนักงานแกนนํา จําแนกตาม เพศ และที่อยูของสถานประกอบกิจการ => อําเภอ ตําบล<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 21


- ขั้นตอนแรก ทําการจําแนกขอมูลตามแถว ในที่นี้เลือกตัวแปร “เพศ” จากรายการเขตขอมูลของ<br />

Pivot Table โดยคลิกเมาสคางลาก (drag) เพื่อนําขอมูลไปวางยัง “ปลอยเขตขอมูลแถวที่นี่” (ดานซายสุด)<br />

หากตองการสรางหลายๆ แถว ใหลากขอมูลไปปลอยตําแหนงเดิมเพิ่ม คือตัวแปร “อําเภอ” และ “ตําบล”<br />

โดยปลอยที่แถบสีเทาใกลๆ ตัวแปรเพศ และตัวแปรอําเภอ ที่ปลอยแลวตามลําดับ<br />

- ขั้นตอนถัดไป การจําแนกขอมูลตามคอลัมน โดยนําตัวแปรจากรายการเขตขอมูลของ Pivot<br />

Table โดยคลิกเมาสคางลาก (drag) เพื่อนําขอมูลไปวางยัง “ปลอยเขตขอมูลคอลัมนที่นี่” (ดานบนสุด) ใน<br />

ที่นี้ไมตองแสดง<br />

- ขั้นตอนสุดทาย การประมวลผลขอมูลซึ่งแสดงในรายงาน Pivot Table โดยนําตัวแปรในที่นี้คือ<br />

“พนักงานแกนนํา” จากรายการเขตขอมูลของ Pivot Table โดยคลิกเมาสคางลาก (drag) เพื่อนําขอมูลไปวาง<br />

ยัง “ปลอยรายการขอมูลที่นี่” (ชองวางใหญตรงกลาง) จะไดรายงานสรุปผลขอมูล Pivot Table ทันที ดังแสดง<br />

ในภาพที่ 39<br />

- ในกรณีที่ลากขอมูลตัวแปรผิด หรือตองการสลับตําแหนงของตัวแปร หรือสลับการจําแนกขอมูล<br />

ตามแถวเปนการจําแนกขอมูลตามคอลัมนใหลากตัวแปรนั้นๆ กลับไปวางคืนที่รายการเขตขอมูลของ Pivot<br />

Table แลวจึงคอยลากรายการของขอมูลมาวางใหม<br />

- ในกรณีที่รายการเขตขอมูลของ Pivot Table ถูกซอน ใหเลือกยกเลิกการซอนรายการเขตขอมูล<br />

(Unhide Field List) หรือเลือกซอนรายการเขตขอมูล (Hide Field List) ไดตามความ<br />

ตองการ<br />

ภาพที่ 39 แสดงรายงานสรุปผลของขอมูลโดยใช Pivot Table<br />

การแกไขรายงาน Pivot Table<br />

การแกไขรายงาน Pivot Table ในกรณีที่ฐานขอมูลที่จัดทํามีการปรับปรุงขอมูล เพิ่มขอมูล หรือลบ<br />

ขอมูล เชน การเพิ่มจํานวนพนักงานแกนนําในสถานประกอบกิจการในฐานขอมูลเดิมและตองจัดทํา<br />

รายงาน Pivot Table ในไตรมาสถัดไป ผูใชสามารถแกไขตัวรายงาน Pivot Table เดิมได ตามขั้นตอนดังนี้<br />

22 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1) คลิกขวาที่หัวสีเทาของรายงาน Pivot Table จะปรากฏเมนู Drop down List ของรายงาน Pivot Table<br />

จากนั้นเลือกตัวชวยสราง Pivot Table (Pivot Table Wizard) ดังแสดงในภาพที่ 40<br />

2) จะปรากฏตัวชวยสราง Pivot Table ขั้นที่ 3 (Pivot Table and Pivot Chart Wizard – Step 3 of 3) ให<br />

เลือกยอนกลับ (Back) จะปรากฏตัวชวงสราง Pivot Table ขั้นที่ 2 ซึ่งจะแสดงพื้นที่ครอบคลุม (Range) จากเดิม<br />

$A$1: $M$154 แตถาเพิ่มขอมูลอีก 30 ชุดขอมูล (30 แถว) พื้นที่ครอบคลุมจะเปลี่ยนใหมเปน $A$1: $M$184 ซึ่ง<br />

สามารถพิมพแกไขไดเลย และเลือกถัดไป (Next) จะปรากฏหนาตางเดิม และเลือกเสร็จสิ้น (Finish)<br />

3) หลังจากแกไขพื้นที่ครอบคลุม (Range) ในการสรางรายงาน Pivot Table เสร็จแลว จะกลับมาที่หนาจอ<br />

รายงาน Pivot Table ที่สรางไวแลวเหมือนเดิม ขอควรระวัง หลังจากแกไขปรับปรุงขอมูลหรือตัวแปรแลว ตองทํา<br />

การฟนฟูขอมูล (Refresh Data) ที่เมนูบารหรือเมนู Drop Down List เพื่อปรับปรุงขอมูลใน<br />

รายงาน Pivot Table<br />

1<br />

ภาพที่ 40 แสดงเมนู Drop Down list ของรายงาน Pivot Table<br />

2.5 การทําเมนู Listing สําหรับการบันทึกขอมูลในการจัดทําฐานขอมูล<br />

การทําเมนู Listing เพื่อใหเลือกรายการขอมูล (List) ที่ไดจัดทําขึ้น ทําใหสะดวกงายและปองกันความ<br />

ผิดพลาด สําหรับการบันทึกขอมูลในการจัดทําฐานขอมูล เชน การทํารายการ (List) กิจกรรมหลักของมูลนิธิพะเยา<br />

เพื่อการพัฒนา ตามขั้นตอนดังนี้<br />

เริ่มจากจัดทํารายการ (List) กิจกรรมหลักของมูลนิธิพะเยาเพื ่อการพัฒนา ในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> ในแผน<br />

งาน (Sheet) ชื่อ “Activity” ตัวอยางเชน<br />

1.1 การรณรงคประชาสัมพันธ<br />

1.2 การใหความรูกับเยาวชน<br />

1.3 การใหความรูกับผูใหญ<br />

2.1.1 การพัฒนาศักยภาพ CTW: เอดส เพศศึกษา และการสื่อสาร<br />

2.1.2 การพัฒนาศักยภาพ CTW: สุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ<br />

2.2 การรณรงคระดับตําบล<br />

2.3.1 การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเอดสตําบล: ประชุม<br />

2.3.2 การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเอดสตําบล: ศึกษา ดูงาน<br />

3.1 เวทีความรวมมือระดับอําเภอ<br />

4.1 การประชุมคณะกรรมการปองกันเอดสฯ จังหวัด<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 23


4.2 การนิเทศ ติดตาม<br />

5.1 สรุปบทเรียนศูนยบริการที่เปนมิตรระดับภาครวมกัน<br />

5.2 สรุปบทเรียนการทํางานขององคกรชุมชนระดับภาค<br />

1) เลือกขอบเขตพื้นที่ที่จัดทํารายการกิจกรรมทั้งหมด หรือทําแถบสีในกิจกรรมที่ List ไว<br />

2) กด Ctrl คางไว แลวกด F3 (Ctrl + F3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง กําหนดชื่อ (Define<br />

Name)<br />

- ดานบนสุด ใสชื่อในสมุดงาน (Name in workbook) วา “กิจกรรมที่เขารวม”<br />

- ดานลางสุด อางอิงไปยัง (Refers to) จะกําหนดขอบเขตของรายการขอมูลที่ตองการแสดง ใน<br />

เมนู Listing เนื่องจากมีการกําหนดขอบเขตพื้นที่ไวแลวขางตน คือ =Activity!$A$2:$A$21<br />

(อางอิง ชื่อsheet และพื้นที่ครอบคลุม) และเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 41<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 41 แสดงการสรางเมนู Listing เลือก Ctrl+F3<br />

3) หลังจากนั้น เปด Sheet ใหม ชื่อ “Form” ใสตัวแปรเพื่อบันทึกขอมูลกลุมเปาหมายที่เขารวม<br />

กิจกรรมของโครงการฯ ประกอบดวย No. ชื่อ-สกุล เพศ อายุ ที่อยู (หมูที่ ตําบล อําเภอ จังหวัด) กิจกรรมที่<br />

เขารวม เรื่องที่จัดกิจกรรม วัน-เดือน-ปที่เขารวมกิจกรรม ดังแสดงในภาพที่ 42<br />

ภาพที่ 42 แสดงการสรางตัวแปรเพื่อจัดทําฐานขอมูล<br />

3<br />

24 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


สําหรับ กิจกรรมที่เขารวม เนื่องจากมีคอนขางมาก อาจจะบันทึกขอมูลผิดพลาดได จึงจําเปนตองมี เมนู<br />

Listing เพื่อความสะดวกและปองกันความผิดพลาด<br />

4) วิธีการทําเมนู listing ใหเลือกเซลลที่ตองการทํา เชน เซลล I2 และเลือกเมนูขอมูล (Data) เลือกการ<br />

ตรวจสอบความถูกตอง (Validation) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล (Data<br />

Validation) เลือกแท็บ การตั้งคา (Settings) ตรงเกณฑตรวจสอบความถูกตอง (Validation criteria) สวนของ<br />

อนุญาต (Allow) ใหเลือก รายการ (List) สวนแหลงขอมูล (Source) พิมพ = กิจกรรมที่เขารวม (อยาลืม เทากับ<br />

และพิมพชื่อที่ตั้งไวในหนาตางการกําหนดชื่อ ใหถูกตอง) จากนั้นเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 43<br />

4<br />

ภาพที่ 43 แสดงหนาตางการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล: Data Validation<br />

5) จากนั้นจะเห็นลูกศรเลื่อนลงตรงเซลล I2 ลองเลือกดูที่ลูกศร จะเห็นวามีเมนู Listing ซึ่งสามารถคัดลอก<br />

(Copy) ไปยังเซลลอื่นๆ ที่ตองการไดเลย เชน เซลล I3 เซลล I4 .. ดังแสดงในภาพที่ 44<br />

ภาพที่ 44 แสดงผลการสรางเมนู Listing หรือเมนู Drop Down List<br />

2.6 การคํานวณดวยสูตร (Formula) และการคํานวณดวยฟงกชั่น (Function)<br />

โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> มีความสามารถเดนในดานการคํานวณ ซึ่งมีลักษณะการคํานวณ 2 รูปแบบ<br />

ใหญๆ ไดแก การคํานวณดวยสูตร (Formula) และการคํานวณดวยฟงกชั่นสําเร็จรูป (Function) สําหรับการ<br />

คํานวณดวยฟงกชั่น จะไมขอกลาวรายละเอียดในที่นี้<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 25


การคํานวณดวยสูตร (Formula)<br />

- ใหเลือกเซลลที่ตองการวางผลลัพธจากการคํานวณดวยสูตร<br />

- สรางสูตรการคํานวณ โดยสูตรจะมีรูปแบบดังนี้ = คาที่1 เครื่องหมายในการคํานวณ คาที่ 2 ...<br />

(อยาลืม เครื่องหมายเทากับ เนื่องจากการคํานวณคาตางๆ ไมวาจะเปนดวยสูตร หรือการคํานวณดวย<br />

ฟงกชั่นสําเร็จรูป จะตองมีเครื่องหมายเทากับ บงบอกการคํานวณเสมอ)<br />

เครื่องหมายการคํานวณ<br />

ตัวอยางสูตรการคํานวณ<br />

=500*2% หมายถึง เอา 2 หารดวย 100 แลวนําผลลัพธไปคูณกับ 500<br />

=5+(5*8) หมายถึง เอา 5 คูณ 8 แลวนําผลลัพธไปบวกกับ 5<br />

=(5+5)*8 หมายถึง เอา 5 บวกกับ 5 แลวนําผลลัพธไปคูณกับ 8<br />

=A2/100 หมายถึง เอาคาในเซลล A2 หารดวย 100<br />

=A2+A3+A4+A5 หมายถึง เอาคาในเซลล A2 บวกดวยคาในเซลล A3 บวกดวยคาในเซลล A4<br />

บวกดวยคาในเซลล A5<br />

การคํานวณดวยสูตร (Formula) ในโปรแกรม <strong>Excel</strong> จะมี 2 รูปแบบ คือ<br />

1) สูตรแบบใชคาคงที่ จะไมมีการเปลี่ยนแปลงผลลัพธใหอัตโนมัติ เมื่อคาใดคาหนึ่งเปลี่ยนแปลง การ<br />

เปลี่ยนผลลัพธจะตองไปแกไขที่สูตรดวยตนเอง<br />

2) สูตรแบบใชตําแหนงเซลล จะมีการเปลี่ยนแปลงผลลัพธใหโดยอัตโนมัติ เมื่อคาใดคาหนึ่งเปลี่ยนแปลง<br />

ซึ่งเปนวิธีที่นิยมใชมากที่สุด และสะดวกที่สุด<br />

ตัวอยางโจทยการคํานวณ<br />

ภาพที่ 45 แสดงตัวอยางตารางขอมูลการคํานวณดวยสูตร (Formula)<br />

26 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


• ตองการหาผลลัพธของคาน้ําในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ โดยใชสูตรแบบคาคงที่<br />

o คลิกเลือกในเซลล D2 (เพราะเปนตําแหนงเซลลที่ตองการใสผลลัพธ)<br />

o พิมพสูตร =700 + 800 แลวกดปุม <br />

• ตองการหาผลลัพธของคาไฟฟาในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ โดยใชสูตรแบบตําแหนงเซลล<br />

o คลิกเลือกในเซลล D3 (เพราะเปนตําแหนงเซลลที่ตองการใสผลลัพธ)<br />

o พิมพสูตร =B3+C3 แลวกดปุม หรือเลือก B3+C3 คือเอาคาในเซลล B3 บวกดวยคา<br />

ในเซลล C3<br />

สวนที่ 3 การสรางแผนภูมิ<br />

1. แผนภูมิ (Chart)<br />

แผนภูมิ (Chart) เปนการนําขอมูลมาแสดงผลในลักษณะของภาพที่สามารถมองเห็นความแตกตางของ<br />

รูปทรงได ทําใหเขาใจ และจดจําขอมูลไดดีขึ้นและชวยในการตัดสินใจไดงายขึ้น<br />

การสรางแผนภูมิในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> ผูใชสามารถเลือกชนิดของแผนภูมิได สําหรับรูปแบบการสราง<br />

และขั้นตอนตางๆ ในการสรางแผนภูมิจะมีเครื่องมือชวย (Wizard)<br />

ชนิดของแผนภูมิ (Chart) ที่นิยมใชแบงออกเปน 4 ชนิดคือ<br />

1) แผนภูมิสดมภ (กราฟแทงแนวตั้ง: Column)<br />

2) แผนภูมิแทง (กราฟแทงแนวนอน: Bar)<br />

3) แผนภูมิเสน (กราฟเสน: Line)<br />

4) แผนภูมิวงกลม (กราฟวงกลม: Pie)<br />

ดังแสดงในภาพที่ 46<br />

ภาพที่ 46 แสดงชนิดของแผนภูมิ (Chart)<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 27


2. สวนประกอบของแผนภูมิ<br />

ชื่อแกน Y<br />

แกน Y<br />

ชื่อของแผนภูมิ<br />

ชุดแทงขอมูล<br />

พื้นที่แผนภูมิ<br />

คาของขอมูล<br />

แกน X<br />

ชื่อแกน X<br />

ภาพที่ 47 สวนประกอบของแผนภูมิ<br />

3. การสรางแผนภูมิ โดยมีขั้นตอนดังนี้<br />

ภาพที่ 48 ตัวอยางตารางขอมูลเพื่อสรางแผนภูมิ<br />

1) การเลือกพื้นที่ครอบคลุมที่จะสรางแผนภูมิ โดยการคลุมทึบพื้นที่ที่มีขอมูลที่เราตองการ<br />

(ตัวอยางในตาราง คลุมทึบขอมูลอําเภอและจํานวนพนักงานที่ไดรับการอบรมในจังหวัด<br />

ฉะเชิงเทรา) ดังแสดงในภาพที่ 49<br />

2) เลือกไอคอน ตัวชวยสรางแผนภูมิ (Chart Wizard)<br />

ภาพที่ 49 แสดงการเลือกพื้นที่ครอบคลุมที่จะสรางแผนภูมิ<br />

28 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) ขั้นตอนการสรางแผนภูมิ<br />

ขั้นตอนที่ 1: เลือกชนิดแผนภูมิ (Chart Type)<br />

เลือกชนิดของแผนภูมิ (Chart Type) และชนิดยอยของแผนภูมิ (Chart sub-type) ในกรณีนี้ใหเลือก ชนิด<br />

แผนภูมิ -> คอลัมน (Column) และชนิดยอยของแผนภูมิ -> แผนภูมิคอลัมนแบบเปนกลุม (Clustered Column)<br />

ใชเปรียบเทียบคาในแตละประเภท จากนั้นเลือกถัดไป (Next) ดังแสดงในภาพที่ 50<br />

ภาพที่ 50 แสดงการเลือกชนิดของแผนภูมิ<br />

ขั้นตอนที่ 2: แหลงขอมูลของแผนภูมิ (Chart Source Data)<br />

ในขั้นตอนนี้ กําหนดชวงขอมูล (Data Range) หรือการแกไข เพิ่มชุดขอมูล และการแสดงชุดขอมูลใน<br />

รูปแบบคอลัมน (Series in Columns) จากนั้นคลิกปุมถัดไป (Next) ดังแสดงในภาพที่ 51<br />

ภาพที่ 51 แสดงการกําหนดชวงขอมูล และแสดงชุดขอมูลในรูปแบบคอลัมน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 29


ขั้นตอนที่ 3: ตัวเลือกแผนภูมิ (Chart Option)<br />

ในตัวเลือกแผนภูมิจะปรากฎแท็บตางๆ 6 แท็บ คือ ชื่อเรื่อง (Title) แกน (Axes) เสนตาราง<br />

(Gridlines) คําอธิบายแผนภูมิ (Legend) ปายชื่อขอมูล (Data Labels) และตารางขอมูล (Data Table)<br />

ซึ่งชวยในการใหรายละเอียด และตกแตงแผนภูมิที่สรางขึ้นใหชัดเจนและสวยงาม<br />

1) ชื่อเรื่อง (Titles) มีรายละเอียดดังนี้คือ ชื่อแผนภูมิ (Chart Title) แกนประเภท: X (Category (X)<br />

axis) แกนคา: Y (Value (Y) axis) ในที่นี้ 1) ชื่อแผนภูมิ: ขอมูลพนักงานบริษัทโตโยตาที่ไดรับการอบรม<br />

ความรูเรื่องโรคเอดส จ.ฉะเชิงเทรา ป 2551 2) แกนประเภท (X): อําเภอ และ 3) แกนคา (Y): จํานวน<br />

พนักงาน (คน)) แตในกรณีที่แผนภูมิมีแกนคา (Y) 2 แกน ตองกําหนดแกนคา (Y) ที่สองดวย ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 52<br />

ภาพที่ 52 แสดงตัวเลือกแผนภูมิ: แท็บชื่อเรื่อง<br />

2) แกน (Axes) คือ การกําหนดคาขอมูลแกน X โดยมีตัวเลือก 3 ประเภท คือ อัตโนมัติ<br />

(Automatic), ประเภท (Category) และมาตราสวนเวลา (Time-scale) ดังแสดงในภาพที่ 53<br />

ภาพที่ 53 แสดงการกําหนดคาขอมูลแกน X<br />

30 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) เสนตาราง (Gridlines) คือ การกําหนดเสนตารางของแกน X และ แกน Y วาใหมีเสนตารางหลัก (Major<br />

Gridlines) หรือเสนตารางรอง (Minor Gridlines) หรือไม ดังแสดงในภาพที่ 54<br />

ภาพที่ 54 แสดงการกําหนดคาเสนตารางแกน X และแกน Y<br />

4) คําอธิบายในแผนภูมิ (Legend) คือ การกําหนดคําอธิบายแผนภูมิวาใหแสดงหรือไม และเลือกรูปแบบ<br />

การจัดวาง (Placement) ดานลาง (Bottom) มุม (Corner) ดานบน (Top) ดานขวา (Right) ดานซาย (Left) ดัง<br />

แสดในภาพที่ 55<br />

ภาพที่ 55 แสดงการกําหนดคําอธิบายในแผนภูมิ<br />

5) ปายชื่อขอมูล (Data Label) คือการกําหนดใหแสดงปายชื่อหรือคาของขอมูลบนแทงแผนภูมิหรือไม<br />

โดยปายชื่อประกอบดวย 3 ชนิด คือ ชื่อชุดขอมูล (Series Name) ชื่อประเภท (Category Name) และคาขอมูล<br />

(Value) ดังแสดงในภาพที่ 56<br />

ภาพที่ 56 การกําหนดปายชื่อหรือคาของขอมูลบนแทงแผนภูมิ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 31


6) ตารางขอมูล (Data Table) คือการกําหนดใหแสดงตารางขอมูลประกอบแผนภูมิหรือไม ซึ่งถา<br />

แสดงตารางขอมูล จะปรากฏอยูดานลางของแผนภูมิ ดังแสดงในภาพที่ 57<br />

ภาพที่ 57 การกําหนดการแสดงตารางขอมูลประกอบแผนภูมิ<br />

ขั้นตอนที่ 4: ตําแหนงแผนภูมิ (Chart Location) คือการจัดวางแผนภูมิ โดยสรางเปนแผนงานใหม<br />

(As new sheet) หรือวางแผนภูมิลงในแผนงานเดิม (As object in) ขึ้นอยูกับความตองการของผูใช จากนั้น<br />

เลือกเสร็จสิ้น (Finish) ดังแสดงในภาพที่ 58<br />

4. การแกไขและปรับแตงแผนภูมิ<br />

แผนภูมิหรือกราฟที่ไดสรางขึ้น มีลักษณะดังนี้<br />

ภาพที่ 58 การกําหนดตําแหนงของแผนภูมิ<br />

....<br />

ภาพที่ 59 แผนภูมิแบบคอลัมนที่จัดทําแลวเสร็จ<br />

32 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


หากผูใชตองการ ปรับแตงแผนภูมิ ใหสวยงามและเหมาะสม จะมีเครื่องมือชวยในการปรับแตงโดยการ<br />

คลิกขวาที่แผนภูมิ จะปรากฏคําสั่งตางๆ ดังแสดงในภาพที่ 60<br />

ภาพที่ 60 แสดงคําสั่งตาง ๆ สําหรับแกไขและปรับแตงแผนภูมิ<br />

ตัวอยาง การเปลี่ยนชนิดแผนภูมิ จากแผนภูมิคอลัมน เปนแผนภูมิวงกลม โดยการเลือกชนิดแผนภูมิ (Chart<br />

Type) จากเมนูขางตน ในกรณีนี้ใหเลือก ชนิดแผนภูมิ -> วงกลม (Pie) และชนิดยอยของแผนภูมิ -> แผนภูมิ<br />

วงกลม (Pie) จากนั้นเลือกถัดไป (Next) จะไดแผนภูมิวงกลมดังแสดงในภาพที่ 61<br />

การแกไขและปรับแตงแผนภูมิ<br />

ภาพที่ 61 การเปลี่ยนชนิดแผนภูมิจากแผนภูมิคอลัมน เปนแผนภูมิวงกลม<br />

1) การจัดรูปแบบชุดขอมูล (Format Data Series): การแกไขแทงชุดขอมูล (แผนภูมิคอลัมน) สังเกตวา<br />

จะมีสี่เหลี่ยมดําเล็กๆ อยูกลางแทงชุดของขอมูล ใหดับเบิลคลิกที่ชุดขอมูลหรือแทงชุดขอมูล จะปรากฏหนาตาง<br />

จัดรูปแบบชุดขอมูล (Format Data Series) หรือคลิกขวาแลวเลือกการจัดรูปแบบชุดขอมูล (Format Data Series)<br />

และเลือกในแท็บลวดลาย (Patterns) ซึ่งผูใชสามารถเลือกสี ลวดลายหรือเติมลักษณะพิเศษตางๆ ของเสนขอบ<br />

และพื้นที่ รวมทั้งใสภาพตามที่ตองการได ดังแสดงในภาพที่ 62<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 33


ภาพที่ 62 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบชุดขอมูลในแท็บลวดลาย: Patterns<br />

2) การจัดรูปแบบพื้นที่ลงจุด (Format Plot Area): การเติมสี ลวดลาย และภาพในพื้นที่<br />

แผนภูมิ ใหดับเบิลคลิกเสนขอบบนพื้นที่แผนภูมิ จะปรากฏหนาตางจัดรูปแบบพื้นที่ลงจุด (Format Plot<br />

Area) จากนั้นเลือกแท็บลวดลาย (Patterns) เพื่อเติมสี ลวดลาย เติมลักษณะพิเศษ หรือรูปภาพของเสน<br />

ขอบและพื้นที่ (Format Data Series) ดังแสดงในภาพที่ 63<br />

ภาพที่ 63 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบพื้นที่ลงจุดในแท็บลวดลาย: Patterns<br />

3) การจัดรูปแบบแกน (Format Axis): การเปลี่ยนแบบตัวอักษร (Font, Font Style) สีตัวอักษร<br />

(Color) ปรับขนาดตัวอักษร (Size) และจัดตําแหนงของตัวอักษร (Alignment)<br />

3.1 การเปลี่ยนแบบตัวอักษร สีและขนาดของตัวอักษร (Font)<br />

วิธีการเปลี่ยนตัวอักษร ใหผูใชดับเบิลคลิกตัวอักษรที่แสดงแกน X (Category X axis) หรือแกน Y<br />

(Value Y axis) จะปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบแกน (Format Axis) จากนั้นใหเขาไปแกไขที่แท็บแบบ<br />

อักษร (Font) ซึ่งรายการที่สามารถปรับเปลี่ยนแกไขได คือ แบบอักษร (Font) ลักษณะแบบอักษร (Font<br />

Style) ขนาด (Size) สี (Color) พื้นหลังตัวอักษร (Background) ลักษณะพิเศษอื่นๆ (Effects) เปนตน<br />

ดังแสดงในภาพที่ 64<br />

34 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 64 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบแกนในแท็บแบบอักษร: Font<br />

3.2 การจัดตําแหนง (Alignment)<br />

วิธีการจัดตําแหนงตัวอักษร ใหผูใชดับเบิลคลิกตัวอักษรที่แสดงแกนหรือชื่อแกน X หรือแกน Y จะปรากฏ<br />

หนาตางการจัดรูปแบบชื่อแกน (Format Axis Title) จากนั้นเขาไปที่แท็บการจัดตําแหนง (Format Axis Title)<br />

สําหรับในสวนการจัดตําแหนงขอความ (Text Alignment) สามารถจัดในแนวนอน (Horizontal) และแนวตั้ง<br />

(Vertical) และในสวนของการวางแนว (Orientation) โดยกําหนดคาองศา หรือ คลิกเมาสลาก จุดสีแดงไปยังองศา<br />

ที่ตองการจัดวางตําแหนงตัวอักษร ดังแสดงในภาพที่ 65<br />

ภาพที่ 65 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบแกนในแท็บการจัดตําแหนง: Alignment<br />

4) การจัดรูปแบบเสนตาราง (Format Gridlines): การเปลี่ยนเสนตาราง (Gridlines) และมาตราสวน<br />

(Scale) การลบหรือแกไขเสนตารางซึ่งเปนเสนบอกขอบเขตคาของขอมูล โดยมาตราสวนจะกําหนดคาที่มากที่สุด<br />

(Maximum) และคาที่นอยที่สุด (Minimum) ในแกน Y<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 35


4.1 การเปลี่ยนลวดลายของเสนตาราง (Gridlines: Pattern)<br />

การเปลี่ยนลวดลายของเสนตาราง ใหผูใชดับเบิลคลิกที่เสนตาราง (เแนวนอน) จะปรากฏหนาตาง<br />

การจัดรูปแบบเสนตาราง (Format Gridlines) จากนั้นใหเขาไปแกไขที่แท็บลวดลาย (Patterns) ซึ่งผูใช<br />

สามารถเลือกใชเสนตารางหรือไมก็ได โดยอาจจะใชเสนตารางแบบอัตโนมัติ (Automatic) หรือกําหนดเอง<br />

(Custom) โดยสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะของเสนตาราง (Style) สี (Color) หรือน้ําหนักเสน (Weight) ได<br />

ดังแสดงในภาพที่ 66<br />

ภาพที่ 66 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบเสนตารางในแท็บลวดลาย: Pattern<br />

4.2 การเปลี่ยนมาตราสวนของเสนตาราง (Gridlines: Scale)<br />

การเปลี่ยนมาตราสวนของเสนตาราง (Gridlines: Scale) หรือการเปลี่ยนมาตราสวนของแกน Y<br />

(Axis: Scale) ใหผูใชดับเบิลคลิกที่เสนตาราง (เแนวนอน) ปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบเสนตาราง<br />

(Format Gridlines) จากนั้นใหเขาไปแกไขที่แท็บมาตราสวน (Scales) โดยมาตราสวนแกนคา (แกน Y) จะ<br />

กําหนดคานอยที่สุด (Minimum) คามากที่สุด (Maximum) หนวยหลัก (Major unit) และหนวยรอง (Minor<br />

unit) ดังแสดงในภาพที่ 67<br />

ภาพที่ 67 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบเสนตารางในแท็บมาตราสวน: Scale<br />

36 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


โปรแกรม<br />

Portable Swiff Chart Pro


โปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

โปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

Swiff Chart 3 Pro เปนโปรแกรมที่ชวยในการนําเสนอขอมูล โดยสรางกราฟชนิดตางๆ ออกมาเปนรูป<br />

ภาพเคลื่อนไหว หรือ Flash Movie ซึ่งรูปภาพเคลื่อนไหวดังกลาว สามารถนําไปใชไดใน Microsoft PowerPoint<br />

โดย Install โปรแกรม SwiffPointPlayer<br />

การติดตั้งโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

การติดตั้งโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro ไมจําเปนตองทําการติดตั้งเหมือนโปรแกรมทั่วไปซึ่งจะมี<br />

ขั้นตอนที่ยุงยาก กลาวคือ โปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro นั้นใชงานไดเลยโดยคัดลอกตัวโปรแกรมไปวางที่<br />

Desktop ก็สามารถเลือกที่ไอคอน ใชงานไดเลย<br />

แตในกรณีที่บางเครื่องไมสามารถใชงานจากที่ไอคอน ใหทําการ Install Program<br />

SwiffPointPlayer โดยเลือกที่ไอคอนเพื่อทําการ Install program ดังกลาว ซึ่งโปรแกรมนี้มีประโยชนในการนํา รูป<br />

ภาพเคลื่อนไหวจากโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro ไปใชในโปรแกรม Microsoft PowerPoint โดยแสดง<br />

เปน Flash Movie<br />

การใชงานโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

การเริ่มตนใชงานโปรแกรม Portable.Swiff.Chart.3.Pro ควรจะรูจักเมนูในการเริ่มตนใชงานใหดีกอน<br />

เพื่อใหสามารถใชงานโปรแกรมไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถดูไดดัง ภาพที่ 1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 1 แสดงหนาหลักของโปรแกรม Portable.Swiff.Chart.3.Pro<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 37


ขั้นที่ 1 (Start) จะแสดงหนาหลักของโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro จะมีไอคอน<br />

หลักๆ อยู 2 ไอคอน ดังนี้คือ<br />

1) Open an Existing Project จะเปนเมนูสําหรับเปดกราฟที่เคยสรางไวแลวมาใชงาน ซึ่งใน Swiff<br />

Chart Pro เอง มีตัวอยางกราฟที่ไดสรางไวแลว สามารถนํามาปรับปรุงเพื่อใชงานได โดยเลือกที่<br />

Open an Existing Project ซึ่งจะแสดงหนาตางให Browse Folder และ File จากนั้นเลือก File ที่<br />

ตองการเปด หรืออาจจะเลือกตัวอยางกราฟ (Template) จาก Open a Sample ดังแสดงในภาพที่ 2<br />

1<br />

ภาพที่ 2 แสดงเมนูสําหรับเปดกราฟที่เคยสรางไวแลว: Open an Existing Project<br />

2) New Chart Wizard เปนเมนูสําหรับการสรางกราฟขึ้นมาใหม โดยใชขอมูล (Data) ที่มีอยู<br />

ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้คือ<br />

ขั้นตอนที่ 1 Start<br />

ใหเลือกที่เมนู New Chart Wizard จะเปนตัวชวยในการสรางกราฟ โดยจะสามารถเลือก<br />

รูปแบบของกราฟ และกําหนดรายละเอียดตางๆ ใหกับกราฟไดสะดวกมาก เมื่อทําการเลือกที่ New Chart<br />

Wizard ก็จะปรากฏหนาตาง ใหเลือกชนิดของกราฟ หรือ Chart type และ Chart sub-type ดังนี้คือ<br />

38 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 3 แสดงตัวเลือกชนิดของกราฟ (Chart type)<br />

1. Chart type เลือกชนิดของกราฟ<br />

2. Chart sub type เมื่อเลือกชนิดของกราฟแลว หลังจากนั้นเลือกรูปแบบของกราฟ<br />

3. หลังจากเลือกชนิดและรูปแบบของกราฟเรียบรอยแลวใหทําการ Click Next เพื่อไปสูขั้นตอนตอไป<br />

ดังแสดงในภาพที่ 3<br />

ชนิดของกราฟ (Chart type)<br />

1) Chart type: Column กราฟแทงแนวตั้ง<br />

1<br />

2 3<br />

ภาพที่ 4 แสดงรูปแบบของกราฟแทงแนวตั้ง Chart type: Column<br />

รูปแบบของกราฟแทงแนวตั้งและแนวนอน มี 3 รูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 4 และ 5<br />

รูปแบบที่ 1: Clustered Column / Bar: Compares values across categories คือการ<br />

เปรียบเทียบกราฟแทงในแตละแทง เชน กราฟแสดงจํานวนนักเรียน/นักศึกษาที่ไดรับการอบรมดาน<br />

เพศศึกษา ในไตรมาส 9-20 โดยที่แกน X แทนไตรมาสที่ 9-20 สวนแกน Y แทนจํานวนนักเรียน/นักศึกษาที่<br />

ไดรับการอบรมในแตละไตรมาส<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 39


รูปแบบที่ 2: Stacked Column / Bar: Compares the contribution of each value to a<br />

total across categories เชน กราฟแสดงจํานวนนักเรียน/นักศึกษาที่ไดรับการอบรมดาน<br />

เพศศึกษา จําแนกตามเพศชายและหญิง ในไตรมาส 9-20 โดยที่แกน X แทนไตรมาสที่ 9-20 สวน<br />

แกน Y ขอมูลชุดที่ 1 (Stack1) แทนจํานวนนักเรียน/นักศึกษาชายที่ไดรับการอบรมในแตละ<br />

ไตรมาส และขอมูลชุดที่ 2 (Stack2) แทนจํานวนนักเรียน/นักศึกษาหญิงฯ<br />

รูปแบบที่ 3: 100% Stacked Column / Bar: Compares the percentage each value<br />

contributes to a total across categories คือการเปรียบเทียบกราฟแทง แบบ 2 ทางทั้งแกน X<br />

และแกน Y ในกราฟแทงเดียวกัน โดยที่กราฟในแตละแทงตองรวมกันเปน 100% จากตัวอยางใน<br />

รูปที่ 2 แกน Y แทนสัดสวนของนักเรียน/นักศึกษาชาย (ขอมูลชุดที่ 1) และนักเรียน/นักศึกษาหญิง<br />

(ขอมูลชุดที่ 2) ในแตละไตรมาส โดยสัดสวนดังกลาวตองรวมกันเปน 100%<br />

2) Chart type: Bar กราฟแทงแนวนอน<br />

1 2 3<br />

ภาพที่ 5 แสดงรูปแบบของกราฟแทงแนวนอน Chart type: Bar<br />

3) Chart type: Line กราฟเสน<br />

1 2 3<br />

ภาพที่ 6 แสดงรูปแบบของกราฟเสน Chart type: Line<br />

40 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


รูปแบบของกราฟเสน มี 3 รูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 6 และ 7 ดังนี้คือ<br />

รูปแบบที่ 1: Line / Area with makers displayed at each data value: Displays trend over<br />

time or categories คือกราฟเสนแตละเสนจะแสดงคาแนวโนมหรือคาของขอมูลตามชวงของเวลา เชน<br />

กราฟแสดง Cohort TB Treatment in Prison in Quarter 9-19 จําแนกตาม 1) Success Rate (การรักษา<br />

สําเร็จ: ชุดขอมูลที่ 1) 2) Default Rate (การขาดยา: ชุดขอมูลที่ 2) 3) Died (การเสียชีวิต: ชุดขอมูลที่ 3)<br />

4) Transfer out (การโอนออก: ชุดขอมูลที่ 4) และ 5) Failure (การรักษาลมเหลว: ชุดขอมูลที่ 5) โดยที่<br />

แกน X แทนไตรมาสที่ 9-20 สวนแกน Y แทนอัตรารอยละของกราฟ 5 เสน จากชุดขอมูล 5 ชุดขางตน<br />

รูปแบบที่ 2: Stacked Line / Area with makers displayed at each data value: Displays the<br />

trend of the contribution of each value over time or categories จากตัวอยางในรูปที่ 1 ขางตน กราฟ<br />

เสนที่ 1 แทนอัตรารอยละของการรักษาสําเร็จ, กราฟเสนที่ 2 แทนอัตรารอยละของการรักษาสําเร็จ +<br />

กราฟเสนที่ 1, กราฟเสนที่ 3 แทนอัตรารอยละของการเสียชีวิต + กราฟเสนที่ 2, กราฟเสนที่ 4 แทนอัตรา<br />

การโอนออก + กราฟเสนที่ 3 และ กราฟเสนที่ 5 แทนอัตราการรักษาลมเหลว + กราฟเสนที่ 4 ตามลําดับ<br />

คลายๆ อัตรารอยละสะสมตั้งแตกราฟเสนที่ 1 จนถึงกราฟเสนที่ 5<br />

รูปแบบที่ 3: 100% Stacked Line / Area with makers displayed at each data value:<br />

Displays the trend of the percentage each value contributes overtime or categories จากตัวอยาง<br />

ขางตน ผลรวมของกราฟทั้ง 5 เสนจะรวมกันเทากับ 100% (กราฟเสนที่ 5 จะเปน 100%)<br />

4) Chart type: Area กราฟพื้นที่<br />

1 2 3<br />

ภาพที่ 7 แสดงรูปแบบของกราฟพื้นที่ Chart type: Area<br />

5) Chart type: Pie กราฟวงกลม<br />

รูปที่ 1: Pie. Displays the contribution of each value to a total คือกราฟวงกลมโดยที่คาของ<br />

ขอมูลแตละคาคือสวนหนึ่งกราฟวงกลมในแตละชิ้น โดยสัดสวนรวมกันของทุกชิ้นตองเทากับ 100%<br />

รูปที่ 2: Explored Pie: Displays the contribution of each value to a total while<br />

emphasizing individual values<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 41


1<br />

2<br />

ภาพที่ 8 แสดงรูปแบบของกราฟวงกลม Chart type: Pie<br />

6) Chart type: Combination กราฟผสมระหวางกราฟแทงและกราฟเสน/กราฟพื้นที่<br />

1 2<br />

ภาพที่ 9 แสดงรูปแบบของกราฟแทงและกราฟเสน/กราฟพื้นที่ Chart type: Combination<br />

รูปแบบที่ 1: Classic combination chart. Column series and Line / Area series<br />

plotted on the same axis คือ กราฟแทง (ขอมูลชุดที่ 1) และกราฟเสนหรือกราฟพื้นที่ (ขอมูลชุด<br />

ที่ 2) โดยพล็อตอยูในแกน Y แกนเดียวกัน<br />

รูปแบบที่ 2: Classic combination chart. Columns are plotted on primary axis,<br />

Lines are plotted on secondary axis คือ กราฟแทง (ขอมูลชุดที่ 1) และกราฟเสนหรือกราฟ<br />

พื้นที่ (ขอมูลชุดที่ 2) โดยขอมูลชุดที่ 1 พล็อตอยูในแกน Y ที่เปนแกนหลัก (Primary axis) และ<br />

ขอมูลชุดที่ 2 พล็อตอยูในแกน Y ที่เปนแกนรอง (Secondary axis)<br />

ขั้นตอนที่ 2 Data<br />

หลังจากเลือกชนิดของกราฟ (Chart Type) เรียบรอยแลว จะปรากฏหนาตาง Chart Source<br />

Data เพื่อเลือกวิธีนําเขาขอมูลเพื่อการสรางกราฟ ดังแสดงในภาพที่ 10<br />

42 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

ภาพที่ 10 แสดงการเลือกแหลงนําเขาของขอมูลเพื่อการสรางกราฟ: Data<br />

การนําเขาขอมูลเพื่อการสรางกราฟ มี 2 ลักษณะคือ<br />

1. Enter Data manually เพื่อคัดลอกและวางขอมูลจาก MS. <strong>Excel</strong> หรือการคียขอมูลที่ตองการสราง<br />

กราฟในตารางที่เปนรูปแบบคลาย MS. <strong>Excel</strong> ในโปรแกรมนี้ ดังแสดงในภาพที่ 11<br />

2. Import Data From File เลือกไฟลขอมูลที่ตองการนํามาสรางกราฟ เชนไฟล <strong>Excel</strong> (.xls) หรือไฟล<br />

Text (.txt) หรือไฟล CSV<br />

หลังจาก Enter Data หรือ Import Data จากไฟลขอมูลเรียบรอยแลว จากนั้นใหเลือก Next<br />

ภาพที่ 11 แสดงการคียขอมูลที่ตองการสรางกราฟ: Enter Data manually<br />

1<br />

หลังจากคียขอมูลที่ตองการสรางกราฟเรียบรอยแลว ใหเลือก Finish ดังแสดงในภาพที่ 11 ซึ่งจะ<br />

ปรากฏหนาตาง Swiff Chart Pro (Chart1) แสดงกราฟเสนที่สรางเสร็จเรียบรอยแลว แตยังไมมีการ<br />

ปรับแตงรูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 12 กลาวคือ ในหนาตางนี้สามารถแกไขหรือปรับแตงกราฟเพิ่มเติม<br />

ดังนี้<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 43


1<br />

2<br />

ภาพที่ 12 แสดงกราฟเสนที่สรางเสร็จแลว แตยังไมมีการปรับแตงรูปแบบ<br />

1) Edit Sheet: (Tab ดานซายบน) ขอมูลที่นํามาสรางกราฟ สามารถเปลี่ยนแปลง แกไข เพิ่มเติมได ซึ่ง<br />

สามารถแกไขขอมูลในตารางไดเลย โดยเลือกในชองที่ตองการแกไข แลวทําการแกไขขอมูล กราฟจะ<br />

เปลี่ยนตามขอมูลที่แกไขใหอัตโนมัติ หรือเลือกที่ Tab: Edit Sheet<br />

2) เมนู Draw: (Tab ดานขวาลาง) เปนตัวสรางเสน เพิ่มขอความ รูปภาพ สัญลักษณตางๆ ในกราฟได<br />

ขั้นตอนที่ 3 Chart Styles<br />

การเลือกรูปแบบหรือสไตลของกราฟเพิ่มเติมจาก Template ที่โปรแกรม Swiff Chart Pro สราง<br />

ขึ้นที่มีอยูดานซายมือ โดยถาตองการเปลี่ยนแปลงสไตลของกราฟเปนแบบที่ตองการใหเลือกรูปแบบที่ดาน<br />

ซายมือ กราฟดานขวามือจะเปลี่ยนเปนสไตลที่เลือกใหอัตโนมัติ ในที่นี้เลือก Style: Techno ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 13<br />

ภาพที่ 13 แสดงการเลือกรูปแบบหรือสไตล: Chart Styles<br />

44 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ขั้นตอนที่ 4 Series Setting<br />

การเลือกรูปแบบหรือสีของกราฟเสนรวมถึงจุด หรือกราฟแทงตามชุดของขอมูล (Series Setting) เพิ่มเติม<br />

จาก Template ที่โปรแกรม Swiff Chart Pro สรางขึ้นที่มีอยูดานซายลาง โดยถาตองการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหรือสี<br />

ของกราฟดังกลาวเปนแบบที่ตองการใหเลือกที่ดานซายมือ กราฟดานขวามือจะเปลี่ยนเปนรูปแบบหรือสีที่เลือกให<br />

อัตโนมัติ ดังแสดงในภาพที่ 14<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 14 แสดงการเลือกรูปแบบหรือสีของกราฟเสนรวมถึงจุด หรือกราฟแทงตามชุดขอมูล: Series Settings<br />

นอกจากนี้ Series Setting ยังมี Option ใหเลือก 2 Options ดังนี้คือ<br />

1) Data Series Options: คือคําสั่งเพื่อเปลี่ยนแปลงรูปแบบของชุดขอมูล (Data Series) ทั้งกราฟแทงและ<br />

กราฟเสนรวมถึงจุด โดยเมื่อเลือกคําสั่งยอยๆ ภายใต Tab: Data Series Options จะขึ้นเมนูยอยตางๆ ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 15 ดังนี้คือ<br />

- Patterns / Markers การจัดรูปแบบของกราฟ เชน สีพื้นและเสนขอบของกราฟแทง (Fill & Border)<br />

หรือสีและลักษณะของกราฟเสนและจุด (Line & Markers) รวมถึง Effect ตางๆ<br />

- Axis การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแกนหลัก (Primary axis) หรือแกนรอง (Secondary axis)<br />

- Data Labels การแสดงปายชื่อขอมูลหรือคาของขอมูลที่กราฟแทงในแตละกราฟ หรือกราฟเสนในแต<br />

ละจุด โดย Label ที่แสดงประกอบดวย 1) Value คาของขอมูล 2) Category name ชื่อประเภท เชน<br />

Q9 .. Q19 และ 3) Series name ชื่อชุดของขอมูล เชน Success Rate (ชุดขอมูลที่ 1 ), Default Rate<br />

(ชุดขอมูลที่ 2), Died (ชุดขอมูลที่ 3), Transfer out (ชุดขอมูลที่ 4) และ Failure (ชุดขอมูลที่ 5) โดย<br />

การเลือกเพื่อแสดงคา Label สามารถแสดงที่กราฟแทงใด หรือกราฟเสนใดก็ได แสดงคาเพียงบางชุด<br />

ของขอมูลหรือจะแสดงทุกชุดของขอมูลก็ได<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 45


- Series Order การเลือกสลับตําแหนงของชุดขอมูลทั้งกราฟแทงและกราฟเสน โดยเลือกชุด<br />

ของขอมูลที่ตองการและเลือก move up หรือ move down เชน ตองการสลับเสนกราฟใหม<br />

เปน Default Rate (ชุดขอมูลที่ 2) กอน Success Rate (ชุดขอมูลที่ 1)<br />

- Options การปรับแตงคุณสมบัติอื่นๆ ของกราฟ เชน ขนาดของแทงกราฟ การจัดรูปแบบ<br />

กราฟในลักษณะเรียงซอนกัน (Stack) เปนตน<br />

ภาพที่ 15 แสดงเมนูยอยตางๆ ภายใต Tab: Data Series Options<br />

2) Data Labels Options: คือคําสั่งเพื่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ Data Label หรือปายชื่อขอมูล โดย<br />

เมื่อเลือกคําสั่งยอยๆ ภายใต Tab: Data Labels Options จะขึ้นเมนูยอยตางๆ ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

- Data Label รายละเอียดดังขางตน<br />

- Font การปรับแตงรูปแบบตัวอักษร ขนาด สี และสไตล<br />

- Number การเลือกประเภทของ Data Label เชน Number, Percentage, Date<br />

- Border and Shading การปรับแตงลักษณะสีพื้นและเสนขอบของ Data Label<br />

- Alignment การจัดตําแหนงของ Data Label<br />

46 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ขั้นตอนที่ 5 Chart Options<br />

การปรับแตงคุณสมบัติของกราฟ โดยการกําหนดคาเอง ไดแก การปรับแตงชนิดของกราฟ (Change<br />

Chart Type) การกําหนดภาพเคลื่อนไหว (Animation) การปรับขนาดของกราฟ (Resize Chart) เปนตน ซึ่งใน<br />

Chart Options มี 2 Options ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 16 แสดงการปรับแตงคุณสมบัติของกราฟ โดยการกําหนดคาเอง: Chart Options<br />

1) General Options: คือคําสั่งเพื่อเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทั่วไปของกราฟ ประกอบดวยเมนูยอย ดังนี้<br />

- Change Chart Type การเปลี่ยนแปลงชนิดของกราฟ เชน จากกราฟแทง (Bar) เปนกราฟเสน (Line)<br />

หรือกราฟพื้นที่ (Area)<br />

- Animation การกําหนดภาพเคลื่อนไหว เพื่อแสดงผลของกราฟออกมาเปน Flash Movie ซึ่งคลายกับ<br />

การปรับแตงในโปรแกรม MS. PowerPoint เมื่อเลือก Animation… จะขึ้นหนาตาง Animation<br />

Settings ดังแสดงในภาพที่ 17<br />

i. Enable Animation คือการกําหนดวาจะใหมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวหรือไม ถาไมเลือกจะเปน<br />

ภาพนิ่ง แตถาเลือกจะแสดงภาพเคลื่อนไหวแบบ Flash Movie สามารถเลือกที่จะใหเริ่มแสดงผลใน<br />

กี่วินาที (Start) และจบในกี่วินาที (End) และเปนการเคลื่อนไหวแบบใด (Type) ที่ Chart Elements<br />

ใด เชน คําอธิบายกราฟ (Legend) แกน X แกน Y ปายชื่อขอมูล (Data Label) เปนตน<br />

ii. Animation is Looping คือการกําหนดวาจะมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวซ้ําหลายๆ ครั้งหรือไม<br />

(Loop) ถาไมเลือกจะทําการแสดงภาพเคลื่อนไหวเพียงครั้งเดียว แตถาเลือกจะแสดง<br />

ภาพเคลื่อนไหวซ้ําหลายๆ ครั้ง สามารถตั้งเวลาใหชาหรือเร็วได ขึ้นอยูกับ Duration before Ending<br />

คือความถี่ของการแสดงภาพเคลื่อนไหวซ้ํา (ถาระบุ10 sec จะแสดงภาพเคลื่อนไหวซ้ําทุก 10<br />

วินาที) และ Frame Rate คือจํานวน frame ตอวินาที ซึ่งการกําหนดคา Animation นี้จะมีผลตอการ<br />

นําเสนอในโปรแกรม MS. PowerPoint ดวย<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 47


- Resize Chart การกําหนดความกวาง และความสูงของกราฟ หนวยเปน pixel ซึ่งนิยม เลือก<br />

Width: 900 Height: 450 (จะขึ้นโดยอัตโนมัติ)<br />

ภาพที่ 17 แสดงคุณสมบัติของการกําหนดภาพเคลื่อนไหว: Animation Settings<br />

2) Layout Options: คือการปรับแตงโครงรางของกราฟ ประกอบดวยเมนูยอย ดังนี้<br />

- Edit Legend การแกไขคําอธิบายกราฟ<br />

- Edit Chart Title การแกไขชื่อหัวเรื่องของกราฟ<br />

- Edit Axes การแกไขแกน X (Horizontal axis) และ แกน Y (Vertical axis)<br />

- Edit Gridlines การแกไขเสน Gridlines ทั้งแกน X และ แกน Y<br />

- Chart Background…. การแกไขภาพพื้นหลังทั้งหมด<br />

- Plot Background…. การแกไขพื้นหลังเฉพาะในสวนที่แสดงกราฟ (Plot)<br />

ดังแสดงรายละเอียดดังนี้<br />

2.1) เลือก Edit Legend จะปรากฏ Legend Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไขคําอธิบาย<br />

กราฟ ดังแสดงในภาพที่ 18<br />

- Show Legend การเลือกวาจะแสดงคําอธิบายกราฟหรือไม ในที่นี ้ใหเลือก Show Legend<br />

- Edit Legend Border and Shading การแกไขสีพื้นหลัง (Fill) รวมถึงสีและลักษณะของเสนขอบ<br />

(Line) ในคําอธิบายกราฟ<br />

- Edit Legend Font and Text Color การแกไข Font สไตล สี และขนาดของตัวอักษร<br />

- Edit Legend Placement การแกไขตําแหนง (Position) เชน บน ลาง ซาย ขวา และการจัดวาง<br />

(Alignment) ของกรอบแสดงคําอธิบายกราฟ<br />

แตถาตองการยอนกลับไปยังเมนู Layout Options ใหเลือกที่ Options ดานบน<br />

48 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 18 แสดงเมนูเพื่อแกไขคําอธิบายกราฟ: Legend Options<br />

2.2) เลือก Edit Chart Title จะปรากฏ Title Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไขหัวเรื่องของกราฟ<br />

ดังแสดงในภาพที่ 19<br />

- เลือก Add Chart Title การใสชื่อหัวเรื่องของกราฟ ซึ่งจะแสดงหนาตาง Chart Options: Tab<br />

Titles มีรายละเอียดดังนี้คือ 1) Chart title: ชื่อหัวเรื่องใหญของกราฟ 2) Chart subtitle: ชื่อหัวเรื่องรอง<br />

ของกราฟ 3) Category (X) axis: ชื่อของแกน X และ 4) Value (Y) axis: ชื่อของแกน Y แตถาแกน Y มี 2<br />

แกน จะตองระบุชื่อของทั้งแกนหลัก (Primary value axis) และแกนรอง (Secondary value axis)<br />

สวนเมนูยอยอื่นๆ จะคลายๆ กับ Legend Options ขางตน<br />

ภาพที่ 19 แสดงเมนูเพื่อแกไขหัวเรื่องของกราฟ: Title Options<br />

2.3) เลือก Edit Axes จะปรากฏ Axes Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไขแกน X (Horizontal axis)<br />

และแกน Y (Vertical axis) ดังแสดงในภาพที่ 20<br />

- Enable or Disable Axes การเลือกเพื่อแสดงหรือไมแสดงแกน X (Category X axis) และ/หรือ<br />

แกน Y (Value Y axis)<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 49


- Edit Horizontal Axis และ Edit Vertical Axis การแกไขเพื่อจัดรูปแบบของแกน X (Edit<br />

Horizontal Axis) และการแกไขแกน Y (Edit Vertical Axis) ในกรณีที่แกน Y มี 2 แกน คือแกน<br />

หลักและแกนรอง จําเปนจะตองแกไขแกนรอง คือ Edit Secondary Vertical Axis ดวย<br />

ภาพที่ 20 แสดงเมนูยอยเพื่อแกไขแกน X และ Y: Axes Options<br />

1<br />

1 2 6 3 4<br />

5<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

ภาพที่ 21 แสดงเมนูยอยเพื่อแกไขแกน Y: Vertical Axis<br />

หลังจากเลือก Edit Vertical Axis จะปรากฏ Vertical Axis Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการ<br />

แกไขแกน Y ดังแสดงในภาพที่ 21<br />

I. Change Axis Colors หรือ Tab Patterns คือ การกําหนดสีและลักษณะเสนของแกน<br />

II. Edit Axis Scale หรือ Tab Scale คือ การกําหนดสเกลหรือมาตราสวนของแกน Y ไดแก<br />

Minimum value (คาต่ําสุดของแกน), Maximum value (คาสูงสุดของแกน), Major unit (หนวย<br />

หลักของแกน) และ Minor unit (หนวยรองของแกน)<br />

III. Change Axis Labels Font and Color หรือ Tab Font คือ การกําหนด Font สไตล สี และ<br />

ขนาดของตัวอักษร<br />

IV. Edit Axis Labels Alignment หรือ Tab Alignment คือ การกําหนดการจัดวางตําแหนงของ<br />

สเกลของแกน<br />

V. Edit Axis Labels Borders and Shading หรือ Tab Borders and Shading คือ การแกไขสี<br />

และเสนขอบ ที่แสดงสเกลของแกน<br />

50 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


VI. Edit Axis Labels Number Format หรือ Number คือ การเลือกประเภทของตัวเลขหรือคาของขอมูล ที่<br />

แสดงสเกลของแกน เชน Number, Percentage, Date<br />

2.4) เลือก Edit Gridlines จะปรากฏ Gridlines Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไข Gridline ทั้ง<br />

แกน X และแกน Y ดังแสดงในภาพที่ 22<br />

ภาพที่ 22 แสดงเมนูยอยเพื่อแกไข Gridlines: Gridlines Options<br />

การแกไข Gridlines ทั้งแกน X (Horizontal Gridlines) และแกน Y (Vertical Gridlines) เปนการ<br />

เลือกวาจะแสดงเสน Gridline หลัก (Major) และ Gridline รอง (Minor) ของแกน X และ/หรือแกน Y<br />

หรือไม รวมถึงการแกไขเสน Gridlines ของแกน X และ/หรือแกน Y<br />

2.5) เลือก Chart Background การแกไขภาพพื้นหลัง จะปรากฏหนาตาง Format Chart Background<br />

เพื่อเติมสีในกรอบ (Fill) รวมถึงสีและลักษณะของเสนขอบ (Line) ของภาพพื้นหลัง<br />

2.6) เลือก Plot Background การแกไขภาพพื้นหลังเฉพาะในสวนที่แสดงกราฟ จะปรากฏหนาตาง<br />

Format Plot Background เพื่อเติมสีในกรอบ (Fill) รวมถึงสีและลักษณะของเสนขอบ (Line) ของภาพ พื้นหลัง ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 23<br />

ภาพที่ 23 แสดงเมนูยอย การแกไขภาพพื้นหลัง: Chart Background<br />

และการแกไขภาพพื้นหลังเฉพาะสวนที่แสดงกราฟ: Plot Background<br />

หมายเหตุ ผูใชงานสามารถแกไขสวนตางๆ ของกราฟ (Chart Elements) โดยสามารถเลือก Object<br />

สวนที่เราตองการจะแกไข เพื่อให Object นั้น Active และขึ้นเมนูยอยเพื่อแกไขสวนตางๆ โดยไมตองเขา<br />

ไปที่เมนูคําสั่งดานซายมือ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 51


การบันทึกกราฟในรูปแบบของ Swiff Chart Pro<br />

คลายกับการบันทึกไฟลงานทั่วไป โดยทําการบันทึกกราฟที่ไดทําเรียบรอย ใน File และ Folder ที่<br />

ตองการสําหรับแกไขปรับปรุงตอไป ซึ่งไฟลดังกลาวบันทึกในรูปแบบของ Swiff Chart Porject<br />

(นามสกุล .sfc) ดังแสดงในภาพที่ 24<br />

ภาพที่ 24 การบันทึกกราฟในรูปแบบของ Swiff Chart Project (*.sfc)<br />

ขั้นตอนที่ 6 Export<br />

การสงออก (Export) ไฟลกราฟดังกลาว ไปใชงานเพื่อการนําเสนอกราฟแบบภาพเคลื่อนไหวใน<br />

โปรแกรม MS. PowerPoint ตองทําการ Export ไฟลกราฟออกไปในรูปแบบ Flash Movie ดังตอไปนี้<br />

2<br />

1<br />

3<br />

4<br />

กําหนดรายละเอียดของกราฟที่<br />

จะสงออกเปน Flash Movie<br />

ภาพที่ 25 แสดงการสงออก (Export) ไฟลกราฟไปใชงานในรูปแบบของ Flash Movie<br />

52 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


การ Export ไฟลกราฟออกไปในรูปแบบ Flash Movie มีขั้นตอนดังนี้คือ<br />

1. Preview กราฟทุกครั้งกอน Export เปน Flash Movie<br />

2. เลือกที่เมนู Export ที่ Tab ดานบน จะปรากฎหนาตาง Flash and Export<br />

3. เลือก Export as a Flash Movie ดานซายลาง จะปรากฏหนาตาง Save as Flash Movie<br />

4. ในหนาตาง Save as Flash Movie เพื่อใหกําหนดขนาดและรายละเอียดของกราฟ Flash Movie<br />

โดยกําหนดความกวาง (Width) 900 pixel และความสูง (Height) 450 pixel จากนั้นเลือก Save<br />

เพื่อบันทึกกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว (Macromedia Flash) ดังแสดงในภาพที่ 25<br />

การบันทึกกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว (Macromedia Flash)<br />

คลายกับการบันทึกไฟลงานทั่วไป โดยทําการบันทึกกราฟที่ไดทําเรียบรอย ใน File และ Folder ที่<br />

ตองการสงออกในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว ซึ่งไฟลดังกลาวบันทึกในรูปแบบของ Macromedia Flash<br />

(นามสกุล .swf) ดังแสดงในภาพที่ 26<br />

ภาพที่ 26 การบันทึกกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว Macromedia Flash (*.swf)<br />

การแทรกไฟลกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว (Flash Movie) ในโปรแกรม MS. PowerPoint<br />

หลังจากบันทึกไฟลกราฟในรูปแบบภาพเคลื่อนไหว จะไดไฟลกราฟ นามสกุล.swf ซึ่งสามารถ<br />

นําไปแสดงในโปรแกรม Microsoft PowerPoint ดังนี้คือ<br />

1) เปดโปรแกรม Microsoft PowerPoint และเปด Slide วาง<br />

2) เลือกเมนู Insert และเลือกคําสั่ง Flash Movie ซึ่งคําสั่งนี้จะปรากฏภายหลังการ Install<br />

Program Portable Swiff Chart 3 Pro ดังแสดงในภาพที่ 27<br />

ภาพที่ 27 การแทรกไฟลกราฟในรูปแบบ Flash Movie ในโปรแกรม MS. PowerPoint<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 53


3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง File Open เพื่อเลือกเปด Folder และ File ที่เก็บกราฟใน<br />

รูปแบบภาพเคลื่อนไหว File of Type: Macromedia Flash Movies จากนั้นเลือก Insert<br />

ดังแสดงในภาพที่ 28<br />

Insert<br />

ภาพที่ 28 แสดงการเปดไฟลกราฟที่ตองการนําเสนอในรูปแบบ Flash Movie ใน MS. PowerPoint<br />

4) ปรากฎ Slide ใน Microsoft PowerPoint ซึ่งจะไมเห็นเปนรูปกราฟ โดยรูปกราฟที่แสดงเปน<br />

ภาพเคลื่อนไหว (Flash Movie) จะแสดงเมื่อเลือกนําเสนอสไลด หรือ Slide Show เทานั้น<br />

ภาพที่ 29 แสดงการนําเสนอกราฟในรูปแบบ Flash Movie ในโปรแกรม Microsoft PowerPoint<br />

54 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


โปรแกรม <strong>SPSS</strong>


โปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

บทที่ 1<br />

ความหมายของคําวาสถิติ<br />

1. สถิติ (Statistical)<br />

สถิติ หมายถึง วิธีการที่วาดวยการเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการ<br />

ตีความหมายขอมูล สถิติเปนทั้งวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร เรียกวาสถิติศาสตร<br />

2. ประเภทของสถิติ แบงเปน 2 ประเภท คือ<br />

2.1 สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) เปนสถิติที่ใชอธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ตองการศึกษากลุม<br />

ใดกลุมหนึ่ง ไมสามารถอางอิงไปยังกลุมอื่นๆ ได เชน คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คามัธยฐาน คาฐานนิยม คา<br />

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาพิสัย เปนตน<br />

2.2 สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เปนสถิติที่ใชอธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ตองการศึกษากลุม<br />

ใดกลุมหนึ่งหรือหลายกลุม แลวสามารถอางอิงไปยังกลุมประชากรตางๆ ได โดยกลุมที่นํามาศึกษาตองเปนตัว<br />

แทนที่ดีของประชากร ซึ่งไดมาจากการสุมตัวอยาง สวนตัวแทนที่ดีของประชากร เรียกวากลุมตัวอยาง<br />

สถิติเชิงอนุมาน สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ<br />

1) สถิติแบบใชพารามิเตอร คือสถิติที่ตองเปนไปตามขอตกลงเบื้องตน 3 ประการดังนี้คือ<br />

a. ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดตองเปนขอมูลที่อยูในระดับชวง (Interval Scale)<br />

b. ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากกลุมตัวอยาง ตองมีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)<br />

c. กลุมประชากรแตละกลุมที่ศึกษาตองมีความแปรปรวนเทากัน<br />

สถิติประเภทนี้ไดแก t-test, F-test, ANOVA, Regression<br />

2) สถิติแบบไมใชพารามิเตอร คือ สถิติที่ไมอยูในขอตกลงเบื้องตนทั้ง 3 ประการ สถิติประเภทนี้ไดแก Chi-<br />

Square, Goodness of fit test, การวิเคราะหความสัมพันธ, การทดสอบความเปนอิสระและความ<br />

คลายคลึง<br />

หมายเหตุ สถิติแบบใชพารามิเตอรจะมีอํานาจในการทดสอบ (Power of Test) หรือความนาจะเปนในการ<br />

ตัดสินใจที่ถูกตอง สูงกวาสถิติแบบไมใชพารามิเตอร<br />

3. ระดับของการวัด (Scale of Measurement)<br />

การวัดเปนการกําหนดคาของขอมูลเปนตัวเลขใหกับสิ่งที่ตองการศึกษา โดยการวัดแบงออกเปน 4 ระดับคือ<br />

3.1 สเกลนามบัญญัติ (Nominal Scale) เปนระดับที่ใชจําแนกความแตกตางของสิ่งที่ตองการวัดออกเปน<br />

กลุม เชน เพศ แบงออกเปนเพศชายและเพศหญิง โดยใหคา 1 แทนดวยเพศชาย และคา 2 แทนดวยเพศหญิง<br />

ทัศนคติ แบงออกเปน เห็นดวย และไมเห็นดวย โดยใหคา 1 แทนเห็นดวย และคา 2 แทนไมเห็นดวย โดยตัวเลขใน<br />

ระดับนามบัญญัติไมสามารถนํามา บวก ลบ คูณ หาร ได<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 55


3.2 สเกลมาตรวัดอันดับ (Ordinal Scale) เปนระดับที่ใชสําหรับจัดอันดับหรือตําแหนงของสิ่งที่<br />

ตองการวัด เชน ระดับของความคิดเห็น แบงออกเปน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย เฉยๆ ไมเห็น<br />

ดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง โดยใหคา 1 แทนดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง คา 2 แทนดวย ไมเห็นดวย คา 3<br />

แทนดวย เฉยๆ คา 4 แทนดวย เห็นดวย และคา 5 แทนดวย เห็นดวยอยางยิ่ง โดยตัวเลขในระดับมาตรวัด<br />

อันดับ สามารถนํามาบวก ลบ หรือหาคาเฉลี่ยได แตไมสามารถนํามาคูณ หรือหารได<br />

3.3 สเกลอันตรภาค (Interval Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขโดยมีชวงหางระหวาง<br />

ตัวเลขเทาๆ กัน แตไมมีศูนยแท มีแตคาศูนยที่สมมติขึ้น เชน การสอบได 0 คะแนน ไมไดหมายความวาเขา<br />

ไมมีความรู แตเขาไมสามารถทําขอสอบวิชานั้นได หรืออุณหภูมิ 0 องศา ไมไดหมายความวาไมมีความ<br />

รอน แตมีความรอนเพียง 0 องศาเทานั้น<br />

3.4 สเกลอัตราสวน (Ratio Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขใหกับสิ่งที่ตองการวัด<br />

โดยมีศูนยแท เชน น้ําหนัก ความสูง อายุ โดยสามารถนําตัวเลขในระดับอัตราสวนนี้มา บวก ลบ คูณ หาร<br />

หรือหาอัตราสวน หรือคาเฉลี่ยได<br />

4. ประชากรและกลุมตัวอยาง (Scale of Measurement)<br />

ประชากร คือ สิ่งทั้งหมดที่เปนคุณลักษณะของสิ่งที่เราตองการศึกษา<br />

กลุมตัวอยาง คือ สวนหนึ่งของทั้งหมดที่เปนคุณลักษณะของสิ่งที่เราตองการศึกษา<br />

5. โปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

โปรแกรม <strong>SPSS</strong> (Statistical Package for Social Science) เปนโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติที่<br />

สามารถวิเคราะหขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยแสดงคาสถิติตางๆ พรอมทั้งสามารถแสดงกราฟและ<br />

ตาราง ขอดีของโปรแกรม <strong>SPSS</strong> เนื่องมาจากใชงานไดงาย และสามารถหามาใชไดงาย นอกจากนี้<br />

โปรแกรมยังมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา อันจะเห็นไดจากรุนของโปรแกรมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว<br />

จนปจจุบัน <strong>SPSS</strong> for Windows พัฒนามาถึงรุนที่ 13 แลว<br />

56<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


บทที่ 2<br />

การเตรียมเครื่องมือกอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล<br />

1. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล<br />

ตัวอยางแบบสอบถาม พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข<br />

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป<br />

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงใน หรือเติมขอความลงในชองวางตรงตามความเปนจริง<br />

1. เพศ<br />

ชาย หญิง<br />

2. อายุ…………ป<br />

3. สถานภาพสมรส<br />

1. โสด 2. สมรส 3. หมาย / หยา / แยกกันอยู<br />

4. ระดับการศึกษาสูงสุด<br />

1. ต่ํากวาปริญญาตรี<br />

2. ปริญญาตรี<br />

3. สูงกวาปริญญาตรี<br />

4. อื่น ๆ โปรดระบุ…………………………………<br />

5. รายได…………………..บาทตอเดือน<br />

6. ทานมีโรคประจําตัวหรือไม<br />

1. ไมมี<br />

2. มีโรคประจําตัว โปรดระบุ…………………………………<br />

7. ปจจุบันทานออกกําลังกายเพื่อสุขภาพดวยวิธีใด (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)<br />

1. เดิน 2. วิ่งเหยาะ ๆ 3. เตนแอโรบิค<br />

4. ไทเกก 5. ถีบจักรยานอยูกับที่ 6. อื่น ๆ ………………………<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 57


สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองที่ตรงตามความคิดเห็นของทานมากที่สุด<br />

ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ใช ไมใช<br />

1. ประโยชนของการออกกําลังกายเปนประจําทําใหมีการลาปวยนอยลง<br />

2. การออกกําลังกายประกอบดวย 3 ชวงคือชวงอบอุนรางกาย ชวงฝกจริงชวงผอนคลาย<br />

3. ระยะเวลาการออกกําลังกายใหมีสุขภาพดี คือครั้งละ 15 – 30 นาที สัปดาหละ3 วัน<br />

4. ควรออกกําลังกายหลังรับประทานอาหารทันที<br />

5. บุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงไมจําเปนตองออกกําลังกาย<br />

6. ควรออกกําลังกายหักโหมใหเหนื่อยมาก ๆ เมื่อเริ่มออกกําลังกายครั้งแรก<br />

7. การออกกําลังกายทําใหระบบไหลเวียนเลือด กลามเนื้อ และระบบอื่น ๆ แข็งแรงขึ้น<br />

8. ผูที่มีโรคประจําตัวควรออกกําลังกายมากกวาคนที่มีสุขภาพแข็งแรง<br />

9. การออกกําลังกายชวยผอนคลายความตึงเครียด ทําใหนอนหลับไดดีขึ้น<br />

10. การออกกําลังกายเปนการหด ยืดกลามเนื้อ และขอตอ<br />

11. การออกกําลังกายทําใหเกิดการใชออกซิเจนและเผาผลาญอาหารในรางกายเพิ่มขึ้น<br />

12. เลือกวิธีออกกําลังกายที่เหมาะสมกับเพศและวัย<br />

สวนที่ 3 ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองที่ตรงกับความรูสึก / ความคิดเห็นของทานมากที่สุด<br />

ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

1. การออกกําลังกายทําใหเสียคาใชจายโดยไมจําเปน<br />

2. ผูสูงอายุไมควรออกกําลังกายเพราะทําใหสุขภาพทรุดโทรม<br />

3. ผูที่มีสุขภาพแข็งแรงดีไมจําเปนตองออกกําลังกาย<br />

4. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหสดชื่น และคลายเครียด<br />

5. การออกกําลังกายเปนประจําชวยชะลอความเสื่อมของ<br />

รางกายได<br />

6. การออกกําลังกายทําใหเหนื่อยลาและนอนไมหลับ<br />

7. การออกกําลังกายเปนเรื่องยุงยากเพราะมีขั้นตอนมาก<br />

8. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหรูปรางกระชับไดสัดสวน<br />

มีความคลองตัว<br />

9. ผูที่มีโรคประจําตัวตองปรึกษาแพทยกอนออกกําลังกาย<br />

10. การออกกําลังกายทําใหลดโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคความ<br />

ดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ<br />

เห็นดวย<br />

อยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไม<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็นดวย<br />

อยางยิ่ง<br />

58<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


2. การสรางรหัสสําหรับขอมูล<br />

2.1 ตัวแปร<br />

ตัวแปร คือ ชื่อที่ใชเรียกแทนขอคําถามในเครื่องมือที่เก็บขอมูล มักจะตั้งชื่อตัวแปรเปนภาษาอังกฤษ และมี<br />

ความยาวไมเกิน 8 ตัวอักขระ เพื่อใหโปรแกรม <strong>SPSS</strong> สามารถเขาใจได<br />

2.2 ชนิดของตัวแปร<br />

ชนิดของตัวแปร แบงออกเปน 2 ชนิดคือ<br />

1. ตัวแปรเชิงปริมาณ คือ ตัวแปรที่มีคาเปนตัวเลข ที่ระบุไดวามีคามากหรือนอย เชน รายได อายุ<br />

น้ําหนัก สวนสูง ขนาดของตัวแปร รายไดมี 6 หลัก อายุมี 2 หลัก น้ําหนักมี 3 หลัก สวนสูงมี 3 หลัก เปนตน<br />

2. ตัวแปรเชิงคุณภาพหรือตัวแปรเชิงกลุม คือ ตัวแปรที่เปนขอความ หรือตัวแปรที่ตองใชตัวเลขแทนคา<br />

รหัสของขอมูล ซึ่งขนาดของตัวแปร ควรจะเทากับจํานวนทางเลือกของคําตอบ เชน เพศ จําแนกเปน 2 กลุม คือเพศ<br />

ชายและเพศหญิง ระดับความคิดเห็นมี 5 ระดับ ขนาดของตัวแปรกําหนดเปน 1 หลัก แตถาระดับความคิดเห็นมี<br />

10 ระดับ ขนาดของตัวแปรควรกําหนดเปน 2 หลัก เปนตน<br />

2.3 กําหนดรหัสโดยแบงตามชนิดของคําถาม<br />

การกําหนดรหัสของขอมูลจะตองคํานึงถึงชนิดของคําถาม โดยที่ชนิดของคําถามแบงออกเปน<br />

1. คําถามปลายปด แบงออกเปน<br />

• คําถามที่มีคําตอบใหเลือกเพียง 2 คําตอบ เชน เพศ มี 1: เพศชายและ 2: เพศหญิง<br />

• คําถามที่มีคําตอบใหเลือกหลายคําตอบ เชน สถานภาพสมรส มี 1: โสด 2: สมรสอยูดวยกัน 3: สมรส<br />

แยกกันอยู และ 4: หยา/หมาย<br />

• คําถามที่สามารถเลือกคําตอบไดหลายคําตอบ หรือตอบไดมากกวา 1 ขอ เชน วิธีในการออกกําลังกาย ณ<br />

ปจจุบัน ซึ่งสามารถตอบไดหลายวิธี ไดแก เดิน วิ่งเหยาะๆ เตนแอโรบิค ไทเก็ก ถีบจักยานอยูกับที่ หรือ<br />

วิธีการอื่นๆ โดยถาเลือกตอบ จะแสดงคา 1 แตถาไมเลือกตอบ จะแสดงคา 0<br />

• คําถามที่คําตอบใหใสลําดับที่ เชน วิธีในการออกําลังกายที่ปฏิบัติบอยที่สุด 3 อันดับแรก โดยจะใสคา 1<br />

หนาวิธีการที่ปฏิบัติบอยที่สุด และจะใสคา 2 และ 3 หนาวิธีที่ปฏิบัติในลําดับถัดมา<br />

• คําถามที่ใหแสดงระดับมากนอย เชน ระดับความคิดเห็น แบงออกเปน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็น<br />

ดวย เฉยๆ ไมเห็นดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง โดยใหคา 1 แทนดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง คา 2 แทนดวย<br />

ไมเห็นดวย คา 3 แทนดวย เฉยๆ คา 4 แทนดวย เห็นดวย และคา 5 แทนดวย เห็นดวยอยางยิ่ง<br />

2. คําถามปลายเปด เชน ขอดีของการออกําลังกาย หรือขอเสียของการออกกําลังกาย ตลอดจนขอเสนอแนะในการ<br />

ออกกําลังกายนั้น ซึ่งเปนคําถามปลายเปดใหตอบ โปรแกรม <strong>SPSS</strong> จะสามารถพิมพขอความไดยาวไมเกิน 255<br />

อักขระ และถาพิมพเปนขอความจะไมสามารถนํามาประมวลผลได จึงจําเปนตองสรุปขอคําตอบนั้น เปนรหัส<br />

ตัวเลขแทนขอความ<br />

3. คําถามที่ไมไดรับคําตอบ (Missing data) จะแทนคาดวย 9, 99, 999 … ขึ้นอยูกับขนาดของตัวแปรวาใชกี่หลัก<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 59


3. การจัดทําคูมือลงรหัส<br />

คูมือลงรหัส คือ การกําหนดรหัสของขอมูลแทนคําตอบในขอคําถาม เพื่อเตรียมนําเขาขอมูลกอน<br />

การประมวลผลขอมูล โดยคูมือลงรหัสประกอบดวย 1) เลขที่แบบสอบถาม 2) เลขที่ขอคําถาม 3) ชื่อตัว<br />

แปร 4) รายการขอมูลหรือขอคําถามในแตละขอ 5) ขนาดของตัวแปร และ 6) คาที่เปนไปไดพรอม<br />

คําอธิบายความหมาย และ 7) การระบุคา Missing<br />

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป<br />

คําถาม<br />

ขนาดของ คาที่เปนไปไดและ คา<br />

ชื่อตัวแปร รายการขอมูล<br />

ที่<br />

ตัวแปร ความหมาย Missing<br />

1 SEX เพศ 1 1: ชาย 2: หญิง 9<br />

2 AGE อายุ 2 ระบุตามจริง 99<br />

3 STATUS สถานภาพสมรส 1 1: โสด 2: สมรส 3: หยา/ 9<br />

หมาย/แยกกันอยู<br />

4 EDU ระดับการศึกษาสูงสุด 1 1: ต่ํากวาป.ตรี 2: ป.ตรี 9<br />

3: สูงกวาป.ตรี 4: อื่นๆ<br />

5 SALARY รายได 6 ระบุตามจริง 999999<br />

6 DISEASE ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 1 1: ไมมี 2: มี 9<br />

7 ปจจุบันทานออกกําลังกายเพื่อสุขภาพดวยวิธีใด<br />

7.1 EXE1 - เดิน 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.2 EXE2 - วิ่งเหยาะๆ 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.3 EXE3 - เตนแอโรบิก 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.4 EXE4 - ไทเกก 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.5 EXE5 - ถีบจักรยานอยูกับที่ 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.6 EXE6 - วิธีอื่นๆ 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

60<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

ที่<br />

ชื่อ<br />

ตัวแปร<br />

รายการขอมูล<br />

ขนาด<br />

ตัวแปร<br />

คาที่เปนไปได<br />

และ<br />

ความหมาย<br />

คา<br />

Missing<br />

คําตอบที่<br />

ถูกตอง<br />

1 KNOW1 1. ประโยชนของการออกกําลังกายเปนประจําทําใหมีการลา<br />

ปวยนอยลง<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

2 KNOW2 2. การออกกําลังกายประกอบดวย 3 ชวง คือ ชวงอบอุน<br />

รางกาย ชวงฝกจริง ชวงผอนคลาย<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

3 KNOW3 3. ระยะเวลาการออกกําลังกายใหมีสุขภาพดี คือครั้งละ 15<br />

– 30 นาที สัปดาหละ 3 วัน<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

4 KNOW4 4. ควรออกกําลังกายหลังรับประทานอาหารทันที 1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

5 KNOW5 5. บุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงไมจําเปนตองออกกําลังกาย 1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

6 KNOW6 6. ควรออกกําลังกายหักโหมใหเหนื่อยมาก ๆ เมื่อเริ่มออก<br />

กําลังกายครั้งแรก<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

7 KNOW7 7. การออกกําลังกายทําใหระบบไหลเวียนเลือด กลามเนื้อ<br />

และระบบอื่น ๆ แข็งแรงขึ้น<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

8 KNOW8 8. ผูที่มีโรคประจําตัวควรออกกําลังกายมากกวาคนที่มี 1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

สุขภาพแข็งแรง<br />

9 KNOW9 9. การออกกําลังกายชวยผอนคลายความตึงเครียด ทําให<br />

นอนหลับไดดีขึ้น<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

10 KNOW10 10. การออกกําลังกายเปนการหดยืดกลามเนื้อและขอตอ 1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

11 KNOW11 11. การออกกําลังกายทําใหเกิดการใชออกซิเจนและ<br />

เผาผลาญอาหารในรางกายเพิ่มขึ้นจากปกติ<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

12 KNOW12 12. เลือกวิธีออกกําลังกายที่เหมาะสมกับเพศและวัย 1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

หมายเหตุ ถาคําตอบที่ถูกตองเปน ใช ถาตอบวา “ใช” จะได 1 คะแนน แตถาตอบวา “ไมใช” จะได 0 คะแนน<br />

KNOW1 - KNOW3, KNOW7, KNOW9-KNOW12<br />

ถาคําตอบที่ถูกตองเปน ไมใช ถาตอบวา “ไมใช” จะได 1 คะแนน แตถาตอบวา “ใช” จะได 0 คะแนน<br />

KNOW4 – KNOW6 และ KNOW8<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 61


สวนที่ 3 ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

ที่ ชื่อตัวแปร รายการขอมูล<br />

ขนาดของ คา ทัศนคติที่<br />

ตัวแปร Missing ถูกตอง<br />

1 THINK1 1. การออกกําลังกายทําใหเสียคาใชจายโดยไมจําเปน 1 9 ทางลบ<br />

2 THINK 2 2. ผูสูงอายุไมควรออกกําลังกายเพราะทําใหสุขภาพทรุดโทรม 1 9 ทางลบ<br />

3 THINK 3 3. ผูที่มีสุขภาพแข็งแรงดีไมจําเปนตองออกกําลังกาย 1 9 ทางลบ<br />

4 THINK 4 4. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหสดชื่น และคลายเครียด 1 9 ทางบวก<br />

5 THINK 5 5. การออกกําลังกายเปนประจําชวยชะลอความเสื่อมของรางกาย 1 9 ทางบวก<br />

6 THINK 6 6. การออกกําลังกายทําใหเหนื่อยลาและนอนไมหลับ 1 9 ทางลบ<br />

7 THINK 7 7. การออกกําลังกายเปนเรื่องยุงยากเพราะมีขั้นตอนมาก 1 9 ทางลบ<br />

8 THINK 8 8. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหรูปรางกระชับไดสัดสวนมีความคลองตัว 1 9 ทางบวก<br />

9 THINK 9 9. ผูที่มีโรคประจําตัวตองปรึกษาแพทยกอนออกกําลังกาย 1 9 ทางบวก<br />

10 THINK 10 10. การออกกําลังกายทําใหลดโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคความดันโลหิตสูง 1 9 ทางบวก<br />

หมายเหตุ ถาทัศนคติเปนทางบวก เห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 5, เห็นดวย ไดคะแนน 4,<br />

ไมแนใจ ไดคะแนน 3, ไมเห็นดวย ไดคะแนน 2, ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 1<br />

ถาทัศนคติเปนทางลบ เห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 1, เห็นดวย ไดคะแนน 2,<br />

ไมแนใจ ไดคะแนน 3, ไมเห็นดวย ไดคะแนน 4, ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 5<br />

4. การปอนคาของขอมูลในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong><br />

ภาพที่ 1 แสดงการปอนคาของขอมูลตามคูมือลงรหัสในโปรแกรม MS.<strong>Excel</strong><br />

แถวที่ 1 ใชในการกําหนดตัวแปรตามคูมือลงรหัส เรียงลําดับตามคอลัมภ<br />

แถวที่ 2 ใชในการกําหนดคาของขอมูล ในแบบสอบถามหมายเลขที่ 1 หรือ ID=1 (Case ที่ 1)<br />

แถวที่ 2 แถวที่ 3....ใชในการกําหนดคาของขอมูลในแบบสอบถามเลขที่ 2, 3....ตามลําดับ<br />

62<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


บทที่3<br />

โปรแกรม <strong>SPSS</strong> for window<br />

1. การนําเขาขอมูลที่ปอนในโปรแกรม MS.<strong>Excel</strong> สูโปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

1.1 เปดโปรแกรม <strong>SPSS</strong> โดยเริ่มจาก Start -> All Programs –> <strong>SPSS</strong> for windows -> <strong>SPSS</strong> 11.5 for<br />

window หลังจากเปดโปรแกรม <strong>SPSS</strong> แลวจะแสดงหนาตางดังแสดงในภาพที่ 1 จากนั้นปดหนาตางดังกลาว<br />

ภาพที่ 1 แสดงหนาตางการเขาสูโปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

1.2 เปด File ตางๆ ที่สรางไวแลว เชน File ขอมูล (Open -> Data), File คําสั่งที่ใชในการ Run <strong>SPSS</strong><br />

(Open -> Syntax), File ผลลัพธจากการวิเคราะหขอมูล (Open -> Output) ดังแสดงในภาพที่ 2<br />

ภาพที่ 2 แสดงหนาตางการเปด File ขอมูล (Open -> Data)<br />

1.3 เปดไฟลขอมูล โดยการ Browse เพื่อหาชื่อไฟลที่ปอนคาของขอมูลแลว (File name) และเลือกรูปแบบ<br />

ของไฟลขอมูลที่ตองการนําเขาสูโปรแกรม <strong>SPSS</strong> (File of type) ซึ่งมีไดหลายรูปแบบ เชน <strong>SPSS</strong> for window<br />

(*.sav), <strong>SPSS</strong> for PC (*.sys), <strong>Excel</strong> (*.xls), SAS, dBase, Text (*.txt), Data (*.dat) ในที่นี้เลือก 1) Filename:<br />

<strong>SPSS</strong> data 2) File of Type: <strong>Excel</strong> (*.xls) และ 3) เลือก Open ตามลําดับ จากนั้นจะขึ้นหนาตาง Open <strong>Excel</strong><br />

Data Source ใหเลือก 4) Read variable names from the first row of data คือ ใชชื่อของตัวแปรตามแถวที่ 1<br />

ของไฟลขอมูลใน MS.<strong>Excel</strong> 5) กําหนดขอมูลใน worksheet (Set auto) และ 6) เลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 3<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 63


ภาพที่ 3 แสดงหนาตางการเปด File ขอมูล (Open -> Data)<br />

2. หนาตาง <strong>SPSS</strong> data Editor<br />

ในหนาตาง <strong>SPSS</strong> data Editor ประกอบดวย 2 Sheet คือ 1) Data View จะแสดงคาของขอมูล<br />

และ 2) Variable View จะแสดงตัวแปร และคุณสมบัติของตัวแปร<br />

2.1 หลังจากเปดไฟลขอมูลดังกลาวแลว จะแสดงคาของขอมูลทั้งหมดใน Sheet Data View โดย<br />

ใน Sheet Data View นี้จะแสดงตารางลักษณะคลายๆ กับใน MS. <strong>Excel</strong> คือ แถวจะแทนดวยจํานวน<br />

แบบสอบถาม หรือจํานวนขอมูล สวนคอลัมภ จะแทนดวยตัวแปรตางๆ เชน ID, SEX, AGE, STATUS,<br />

EDU ฯลฯ เปนตน ดังแสดงในภาพที่ 4.1<br />

2.2 ใน Sheet Variable View จะเก็บตัวแปรและคุณลักษณะของตัวแปร ดังแสดงในภาพที่ 4.2<br />

1) Name: ชื่อ (ชื่อของตัวแปรมีความยาวไมเกิน 8 อักขระ)<br />

2) Type: ชนิดของตัวแปร ดังแสดงในภาพที่ 4.3<br />

- Numeric: แทนคาของขอมูลที่เปนตัวเลข กําหนดขนาดความกวางของตัวเลข (Width) และ<br />

ทศนิยม (Decimal Places)<br />

- Comma: แทนขอมูลที่มีเครื่องหมายคอมมาคั่น เชน ปอน 1234 จะแสดงเปน 1,234.00<br />

- Dot: แทนขอมูลที่มีเครื่องหมายจุดทศนิยมคั่น โดยจะแสดงเปน 1.234.00<br />

- Scientific notation: แทนขอมูลดวยสัญลักษณทางคณิตศาสตร โดยแสดงเปน1.2+E03<br />

- Date: แสดงคาของขอมูลเปนวันที่ ซึ่งมีรูปแบบหลากหลาย ดังแสดงในภาพที่ 4.4<br />

- Dollar: แสดงคาของขอมูลเปนจํานวนเงินดอลลาร มีเครื่องหมาย $ นําหนา<br />

- Customer currency: แสดงคาของขอมูลที่นิยามคุณลักษณะเอง<br />

- String: แสดงคาของขอมูลแบบตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งขอมูลนี้ไมสามารถนํามาคํานวณได<br />

3) Width และ Decimals: ขนาดความกวางของคาขอมูล (รวมคาทศนิยม) และทศนิยม<br />

4) Label: อธิบายความหมายของตัวแปร<br />

64<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


5) Values: ใชอธิบายคาของตัวแปร มันนิยมใชกับตัวแปรระดับ Nominal Scale และ Ordinal Scale เชน<br />

ตัวแปรเพศ Add Value Label ดังนี้คือ Value: พิมพ 1, Value Label: แทนดวยชาย จากนั้นเลือก Add ถัดมา<br />

Value: พิมพ 2, Value Label: แทนหญิง จากนั้นเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 4.5<br />

6) Missing: คาที่ไมระบุ หรือคาที่ไมไดรับคําตอบ หรือคาที่ไมถูกตอง แทนดวยตัวเลข 9, 99, 999 ...<br />

ขึ้นกับขนาดของตัวแปรวาใชกี่หลัก เลือก Discrete Missing Value แตถาไมกําหนดคา Missing Vale ใหเลือก No<br />

Missing Value ดังแสดงในภาพที่ 4.6<br />

ภาพที่ 4.1 แสดงขอมูลทั้งหมดที่ Import เขามา ใน Sheet Data View<br />

ภาพที่ 4.2 แสดงตัวแปรทั้งหมดที่ Import เขามา ใน Sheet Variable View<br />

ภาพที่ 4.3 แสดงชนิดของตัวแปร ภาพที่ 4.4 แสดงรูปแบบของคาขอมูลที่เปน Date<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 65


ภาพที่ 4.5 แสดงการกําหนดคา Value Labels ภาพที่ 4.6 แสดงการกําหนด Missing Values<br />

7) Column ใชในการกําหนดขนาดของคอลัมภ หรือขนาดของคาของขอมูล<br />

8) Align คือการกําหนดใหคาของขอมูล ชิดซาย ชิดขวา หรือตรงกลาง<br />

9) Measure คือ มาตรวัดหรือสเกลในการวัด มี Nominal Scale, Ordinal Scale, Scale<br />

3. การบันทึกแฟมขอมูล (SAVE)<br />

การบันทึกขอมูลลงแฟมขอมูลเลือก เมนู File -> เลือก Save Data as -> Browse เพื่อเลือก<br />

Folder ที่ตองการบันทึกแฟมขอมูล โดยใสชื่อ File name: Data <strong>SPSS</strong> และ Save as type: <strong>SPSS</strong> (*.sav)<br />

จากนั้นเลือก SAVE ดังแสดงในภาพที่ 5<br />

หมายเหตุ Save file Data (ขอมูล) นามสกุล *.sav, การ Save file Syntax (คําสั่ง) นามสกุล *.sps สวน<br />

การ Save file Output นามสกุล *.spo<br />

ภาพที่ 5 แสดงการบันทึกขอมูลลงแฟมขอมูล<br />

4. การเปดแฟมขอมูล (OPEN)<br />

การเปดแฟมขอมูลเลือก เมนู File -> เลือก Open -> Browse เพื่อเลือก Folder ที่ตองการเปด<br />

แฟมขอมูล ในที่นี้เลือกชื่อ File name: Data <strong>SPSS</strong> และ เลือก File of type: <strong>SPSS</strong> (*.sav) จากนั้นเลือก<br />

OPEN ดังแสดงในภาพที่ 3 (ขางตน)<br />

66<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


บทที่4<br />

การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล (Analyze)<br />

การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล โดยใชโปรแกรม <strong>SPSS</strong> มีหลายคําสั่งขึ้นอยูกับสถิติที่ตองการวิเคราะห<br />

การวิเคราะหเบื้องตนที่ตองใชในที่นี้คือ คําสั่ง Reports, Descriptive Statistics, Compare Means, Correlate<br />

และ Multiple Response ดังแสดงรายละเอียดดังนี้<br />

ภาพที่ 6 แสดงคําสั่งในการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล: Analyze<br />

1. การใชคําสั่ง Report<br />

1.1 คําสั่ง OLAP Cubes (Online Analytical Processing) เปนคําสั่งในการสรุปลักษณะของ ตัวแปรเชิง<br />

ปริมาณจําแนกตามลักษณะของตัวแปรเชิงกลุม ในที่นี้สรุปอายุเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง (ตัวแปรเชิงปริมาณ)<br />

จําแนกตามเพศ (ตัวแปรเชิงกลุม) ในภาพรวม<br />

เลือกเมนู Analysis -> Report -> OLAP Cubes จากนั้นจะแสดงหนาตาง OLAP Cubes ซึ่งดานซาย<br />

ประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Summary Variables(s) จะใสตัว<br />

แปรเชิงปริมาณที่ตองการหาคาสถิติตางๆ เชน ผลรวม คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในที่นี้คือ อายุ<br />

(age) 2) Grouping Variable(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนก ในที่นี้คือ เพศ (sex) 3) เลือก<br />

Statistics ซึ่งจะแสดงหนาตาง OLAP Cubes: Statistics เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก Sum,<br />

Number of cases, Mean, Standard Deviation จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม 4) Title ใส<br />

หัวตาราง และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 7.1<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 67


1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

ภาพที่ 7.1 แสดงคําสั่งในการสรุปขอมูล OLAP Cubes<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง OLAP Cubes ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงอายุภาพรวม Sum = 3734 ป จากจํานวนกลุมตัวอยาง N = 115 คน อายุเฉลี่ย<br />

(Mean) = 32.47 ป และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Std.Deviation) = 7.205 ป โดยเมื่อคลิกที่ตาราง<br />

OLAP Cubes จะพบวาตัวแปรเพศ มีตัวกรองใหเลือกเพศ สามารถจําแนกตามเพศชาย และเพศหญิง ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 7.2<br />

ภาพที่ 7.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง OLAP Cubes<br />

68<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1.2 คําสั่ง Summarize Cases เปนคําสั่งในการสรุปลักษณะของตัวแปรเชิงปริมาณจําแนกตามลักษณะของ<br />

ตัวแปรเชิงกลุม ในที่นี้สรุปอายุเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง (ตัวแปรเชิงปริมาณ) จําแนกตามเพศ (ตัวแปรเชิงกลุม)<br />

โดยจําแนกเปนเพศชาย เพศหญิง และภาพรวม<br />

เลือกเมนู Analysis -> Report -> Case Summaries จากนั้นจะแสดงหนาตาง Summarize Cases ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Variables(s) จะใสตัวแปร<br />

เชิงปริมาณที่ตองการหาคาสถิติตางๆ เชน ผลรวม คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในที่นี้คือ อายุ (age) 2)<br />

Grouping Variable(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนก ในที่นี้คือ เพศ (sex) 3) เลือก Statistics ซึ่งจะ<br />

แสดงหนาตาง Summary Report: Statistics เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก Mean, Standard<br />

Deviation, Minimum, Maximum จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 8.1<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 8.1 แสดงคําสั่งในการสรุปขอมูล Summarize Cases<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Summarize Cases ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงอายุเฉลี่ย (Mean) จําแนกตามเพศชาย เพศหญิง และภาพรวม สวนเบี่ยนเบนมาตรฐาน (Std.<br />

Deviation) คาสูงสุด และคาต่ําสุด ดังแสดงในภาพที่ 8.2<br />

ภาพที่ 8.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Case Summaries<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 69


2. การใชคําสั่ง Descriptive Statistics<br />

2.1 คําสั่ง Descriptive เปนคําสั่งในการอธิบายตัวแปรเชิงปริมาณ ตามสถิติที่ตองการวิเคราะห เชน<br />

Mean, Std. Deviation ในที่นี้หาคาเฉลี่ยของตัวแปรอายุ (age) และรายได (salary)<br />

เลือกเมนู Analysis -> Descriptive Statistics -> Descriptives จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Descriptive ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Variables(s) จะใสตัวแปรเชิงปริมาณที่ตองการหาคาสถิติตางๆ ในที่นี้คือ อายุ (age) และรายได (salary)<br />

2) เลือก Options ซึ่งจะแสดงหนาตาง Descriptives: Options เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก<br />

Mean, Standard Deviation, Minimum และMaximum จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม<br />

และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 9.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 9.1 แสดงคําสั่งในการอธิบายขอมูล Descriptive ตามสถิติที่ตองการวิเคราะห<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Descriptive ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงอายุเฉลี่ย (Mean) รายไดเฉลี่ย (Salary) สวนเบี่ยนเบนมาตรฐาน (Std. Deviation)<br />

คาสูงสุด และคาต่ําสุด ดังแสดงในภาพที่ 9.2<br />

ภาพที่ 9.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Descriptive<br />

70<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


2.2 คําสั่ง Frequencies เปนคําสั่งในการอธิบายทั้งตัวแปรเชิงปริมาณ และตัวแปรเชิงกลุม โดยการสราง<br />

ตารางแจกแจงความถี่และคารอยละแบบทางเดียว<br />

สําหรับตัวแปรเชิงกลุม ในที่นี้คือ เพศ (sex), สถานภาพสมรส (status) และการศึกษาสูงสุด (edu) สวนตัว<br />

แปรเชิงปริมาณ ในที่นี้คือ อายุ (age) และรายได (salary)<br />

เลือกเมนู Analysis -> Descriptive Statistics -> Frequencies จากนั้นจะแสดงหนาตาง Frequency ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร คือ Variables(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่<br />

ตองการหาคาความถี่ (Frequency) คารอยละ(Percent) คารอยละที่ตัดคา Missing data (Valid Percent)<br />

คารอยละของความถี่สะสม (Cumulative Percent) ในที่นี้เลือก เพศ (sex) สถานภาพสมรส (status) และ<br />

ระดับการศึกษาสูงสุด (edu) นอกจากนี้ คําสั่ง Frequencies ยังสามารถใชในการสราง Chart ได โดยเลือก<br />

Charts ซึ่งจะแสดงหนาตาง Frequencies: Charts โดยสามารถเลือกชนิดของ Chart หรือ Chart Type<br />

ดังนี้คือ Bar Charts, Pie Charts หรือ Histograms และคาที่แสดง Chart หรือ Chart Value สามารถเลือก<br />

ตาม คาความถี่ (Frequencies) หรือตามคารอยละ (Percentages) จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสู<br />

หนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 10.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 10.1 แสดงคําสั่ง Frequencies ในการสรางตารางแจกแจงความถี่และคารอยละทางเดียว<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 71


- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Frequencies ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงตัวแปรเพศ (sex) สถานภาพสมรส (status) และระดับการศึกษา (edu) โดยคาสถิติ<br />

จะแสดงคาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percent), Valid Percent, รอยละของความ ถี่สะสม<br />

(Cumulative Percent) ดังแสดงในภาพที่ 10.2<br />

ภาพที่ 10.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Frequencies<br />

2.3 คําสั่ง Crosstabs เปนคําสั่งในการอธิบายตัวแปรทั้งเชิงปริมาณ และตัวแปรเชิงกลุม โดยการสราง<br />

ตารางแจกแจงความถี่และคารอยละตั้งแต 2 ทางขึ้นไป<br />

เลือกเมนู Analysis -> Descriptive Statistics ->Crosstabs จากนั้นจะแสดงหนาตาง Crosstabs ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Row(s) จะใสตัวแปรเชิง<br />

ปริมาณหรือตัวแปรเชิงกลุม ที่ตองการแจกแจงความถี่และคารอยละตามแถว ในที่นี้คือ เพศ (sex) 2)<br />

Column(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุม ที่ตองการจําแนก ความถี่และคารอยละตามคอลัมภ ในที่นี้คือ การมีโรค<br />

ประจําตัว (disease) จากนั้น 3) เลือก Cells ซึ่งจะแสดงหนาตาง Crosstabs: Cell Display ใชในการ<br />

แสดงคารอยละจําแนกตามแถวหรือคอลัมภ โดยสวนใหญจะจําแนกคารอยละตามคอลัมภ ในที่นี้เลือก<br />

Counts: Observed และ Percentage: Column จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และ<br />

เลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 11.1<br />

2<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 11.1 แสดงคําสั่ง Crosstabs ในการสรางตารางแจกแจงความถี่และคารอยละ 2 ทางขึ้นไป<br />

72<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Crosstabs ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong> Viewer โดย<br />

จะแสดงคาความถี่และคารอยละของเพศ (sex) ชาย-หญิง ตามแถว และคาความถี่และคารอยละของการมีโรค<br />

ประจําตัว (Disease) ไมมีโรค-มีโรค ตามคอลัมภ ดังแสดงในภาพที่ 11.2<br />

ภาพที่ 11.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Crosstabs<br />

3. การใชคําสั่ง Multiple Response<br />

3.1 Multiple Response: Define Sets เปนคําสั่งที่ใชในการสราง Set ของตัวแปรที่มีหลายคําตอบ (ขอ<br />

คําถามที่ตอบไดมากกวา 1 ขอ) หลังจากสราง Set ของตัวแปรแลว สามารถทําการวิเคราะหขอมูลตัวแปรชนิด<br />

นี้ โดยการหาคาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage) และการสรางตารางไขว (Crosstab)<br />

เลือกเมนู Multiple Response -> Define sets จากนั้นจะแสดงหนาตาง Define Multiple Response<br />

Sets ซึ่งหนาตางยอยตางๆ ประกอบดวย 1) Set Definition คือตัวแปรตางๆ 2) Variables in Set โดย<br />

จะนําตัวแปรของขอคําถามที่มีหลายคําตอบ จาก Set Definition นําไปใสใน Variables in Set ในที่นี้คือ ขอ<br />

คําถามที่ระบุถึงวิธีการออกกําลังกายในปจจุบัน ซึ่งสามารถระบุไดหลายวิธี ดังแสดงในตัวแปร EXE1 ….<br />

EXE6 3) Variable are Code as ใชในการกําหนดคาของขอมูลที่ตองการแสดง ในกรณีที่ 1) ขอคําถามมี<br />

คําตอบใหเลือก 2 คําตอบ ถาคําตอบ “ใช” แสดงคา 1 แตถาคําตอบ “ไมใช” แสดงคา 0 ใหเลือกคําสั่ง<br />

Dichotomies Counted Value ระบุคา =1 สวนกรณีที่ 2) ขอคําถามปลายปดหรือปลายเปดที่มีคําตอบได<br />

หลายคําตอบ เชน 15 คําตอบ ใหเลือกคําสั่ง Categories โดยระบุ Range จาก 1 ถึง 15 4) ตั้งชื่อตัวแปรที่<br />

Define sets ขึ้นมา Name: EXE สวน Label: วิธีออกกําลังกาย จากนั้น 5) เลือก Add เพื่อเพิ่ม ตัวแปรที่<br />

Define Set 6) แสดง Multi Response Sets คือ $EXE จากนั้นเลือก Close ดังแสดงในภาพที่ 12<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 73


1<br />

2<br />

5<br />

3<br />

4<br />

6<br />

ภาพที่ 12 แสดงคําสั่ง Multiple Response: Define Sets ในการสราง Set<br />

ของตัวแปรที่มีหลายคําตอบ<br />

74<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3.2 Multiple Response: Frequencies เปนคําสั่งที่ใชในการหาคาความถี่และคารอยละของ ตัวแปรที่<br />

มีหลายคําตอบ หรือขอคําถามที่มีไดหลายคําตอบ<br />

เลือกเมนู Multiple Response -> Frequencies จากนั้นจะแสดงหนาตาง Multiple Response<br />

Frequencies ซึ่งหนาตางดานซาย คือ Multi Response Sets จะแสดงตัวแปรที่ทําการ Define Sets ในที่นี้คือ<br />

วิธีออกกําลังกาย ($exe) นํามาวางที่หนาตางดานขวา Table(s) for จากนั้นเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 13.1<br />

หมายเหตุ สวน Missing Values คือการเลือกวาใหแสดงคา Missing หรือไม โดย 1) Exclude cases<br />

listwise within dichotomies จะไมรวมคา Missing สําหรับการ Define Set ชนิด Dichotomies 2) Exclude<br />

cases listwise within categories จะไมรวมคา Missing สําหรับการ Define Set ชนิด Categories<br />

ภาพที่ 13.1 แสดงคําสั่ง Multiple Response: Frequencies ในการหาคาความถี่และคารอยละ<br />

ของตัวแปรที่มีหลายคําตอบ<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Multiple Response: Frequencies ดังแสดงในหนาตาง<br />

Output-<strong>SPSS</strong> Viewer โดยจะแสดงคาจํานวน Valid cases: 114 ราย Missing case: 1 รายแสดงคาความถี่และ<br />

คารอยละของวิธีการออกกําลังกายโดยการเดิน (EXE1) จํานวนความถี่ (Count) 96 ราย คารอยละเทียบกับจํานวน<br />

ผูตอบทั้งหมด (Responses) รอยละ 40.9 (96/235*100) คารอยละเทียบกับจํานวนตัวอยางทั้งหมด (Cases) รอย<br />

ละ 84.2 (96/114*100) ดังแสดงในภาพที่ 13.2<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 75


ภาพที่ 13.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะห คําสั่ง Multiple Response: Frequencies<br />

4. การใชคําสั่ง Compare Means<br />

คําสั่ง Means เปนคําสั่งที่ใชในการหาคาเฉลี่ยของตัวแปรเชิงปริมาณ จําแนกตามตัวแปรเชิงกลุม เชน<br />

คาเฉลี่ยของอายุจําแนกตามเพศ<br />

เลือกเมนู Compare Means -> Means จากนั้นจะแสดงหนาตาง Means ซึ่งดานซายประกอบดวยตัว<br />

แปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Dependent List จะใสตัวแปรเชิงปริมาณที่<br />

ตองการหาคาสถิติตางๆ เชน ผลรวม คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในที่นี้คือ อายุ (age) 2)<br />

Independent List จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนก ในที่นี้คือ เพศ (sex) 3) เลือก Options หรือ<br />

Statistics ซึ่งจะแสดงหนาตาง Means: Options เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก Number<br />

of cases, Mean, Standard Deviation, Minimum, Maximum จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสู<br />

หนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 14.1<br />

76<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2 3<br />

ภาพที่ 14.1 แสดงคําสั่ง Means ในการหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Means ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong> Viewer โดยจะ<br />

แสดงอายุเฉลี่ย (Mean) จําแนกตามเพศชาย เพศหญิง และภาพรวม สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Std. Deviation) คา<br />

ต่ําสุด (Minimum) และคาสูงสุด (Maximum) ดังแสดงในภาพที่ 14.2<br />

ภาพที่ 14.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะห คําสั่ง Means<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 77


บทที่ 5<br />

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูล การจัดการขอมูล (Transform)<br />

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูลโดยใชโปรแกรม <strong>SPSS</strong> มีหลายคําสั่ง โดยคําสั่งที่ใชเปนสวนใหญคือ 1)<br />

Recode เพื่อการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูลทั้งในตัวแปรเดิมและในตัวแปรใหม และ 2) Compute เพื่อการคํานวณ<br />

คาของขอมูลในตัวแปรใหม ดังแสดงในภาพที่ 15<br />

ภาพที่ 15 แสดงคําสั่งในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูล (Transform)<br />

1. การใชคําสั่ง Recode<br />

คําสั่ง Recode เปนคําสั่งที่ใชในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล โดยแบงเปน 2 ลักษณะคือ<br />

1) Recode into same variables และ 2) Recode into different variables<br />

1.1 คําสั่ง Recode into same variables เปนคําสั่งที่ใชในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล โดยทําในตัว<br />

แปรเดิม เชน ขอคําถามเกี่ยวกับการมีโรคประจําตัว (Disease) คําตอบ: “ไมมี” แทนดวย 1 และคําตอบ:<br />

“มี” แทนดวย 2 ใหเปลี่ยนแปลงเปน คําตอบ: “ไมมี” แทนดวย 2 และคําตอบ: “มี” แทนดวย 1 (อยาลืม!!<br />

เปลี่ยน Value ของตัวแปร Disease ใน Variables View ใหสอดคลองกับคาของขอมูลที่เปลี่ยนแปลง)<br />

เลือกเมนู Transform –> Recode -> เลือก Into Same Variables จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Recode into Same Variables ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร<br />

ดังนี้คือ 1) Numeric Variables เพื่อใสตัวแปรที่ตองการ Recode ในที่นี้เลือก ตัวแปร ทานมีโรคประจําตัว<br />

หรือไม (Disease)<br />

2) เลือก Old and New Values เพื่อระบุคาเดิมที่ตองการเปลี่ยนแปลงใน Old Value และคาใหม<br />

ที่ตองการเปลี่ยนไปใน New Value ในที่นี้คือ Old Value: Value = 1 เปลี่ยนเปน New Value: Value = 2<br />

เลือก Add จะได 1->2 ใน Box ของ Old -> New และ Old Value = 2 เปลี่ยนเปน New Value = 1 เลือก<br />

Add จะได 2->1 ใน Box ของ Old -> New ตามลําดับ จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม<br />

และเลือก OK<br />

3) ในกรณีที่มีเงื่อนไขในการ Recode ใหเลือกคําสั ่ง If จากนั้นจะแสดงหนาตาง Recode into<br />

Same Variables: If cases ซึ่งมี 2 เงื่อนไขใหเลือกคือ 1) Include all cases ถาตองการเลือก case<br />

ทั้งหมด และ 2) Include if case satisfied condition ถาตองการเลือกเงื่อนไข ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

78<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

3<br />

2<br />

ภาพที่ 16 แสดงคําสั่ง Recode into Same Variables ในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล<br />

ในตัวแปรเดิม<br />

1.2 คําสั่ง Recode into different variables เปนคําสั่งที่ใชในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล โดยการสรางตัวแปร<br />

ใหมเพื่อเก็บคาของตัวแปรที่เปลี่ยนไป โดยที่ตัวแปรเดิมยังคงคาเดิมอยู สวนใหญจะนิยม Recode โดยใสคาในตัว<br />

แปรใหมมากกวา Recode ในตัวแปรเดิม เชน สถานภาพสมรส (status) โสด แทนดวย 1 ใหคงคาเดิมคือ โสด = 1<br />

สวนสมรส แทนดวย 2 และหยา/หมาย แทนดวย 3 ใหเปลี่ยนเปน สมรสและหยา/หมาย = 2<br />

เลือกเมนู Transform –> Recode -> เลือก Into Different Variables จากนั้นจะแสดงหนาตาง Recode<br />

into Different Variables ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Numeric Variables -> Output เพื่อใสตัวแปรที่ตองการ Recode ในที่นี้เลือก ตัวแปร Status สวนดานขวา<br />

Output Variable Name: ใหพิมพชื่อตัวแปรใหมที่เก็บคาของตัวแปรที่เปลี่ยนไป คือ Status_n และเลือก Change<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 79


เพื่อเปลี่ยนชื่อตัวแปรจาก Status -> Status_n 2) เลือก Old and New Values เพื่อระบุคาเดิมที่ตองการ<br />

เปลี่ยนแปลงใน Old Value และคาใหมที่ตองการเปลี่ยนไปใน New Value ในที่นี้คือ Old Value: Value =<br />

1 (โสด) เปลี่ยนเปน New Value: Value = 1 (โสด) เลือก Add จะได 1 -> 1 ใน Box ของ Old -> New<br />

และ Old Value: Range = 2 (สมรส) through 3 (หยา/หมาย) เปลี่ยนเปน New Value: Value = 2<br />

(สมรส/หยา/หมาย) เลือก Add จะได 2 thru 3 = 2 ใน Box ของ Old -> New จากนั้นเลือก Continue<br />

จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 17<br />

ภาพที่ 17 แสดงคําสั่ง Recode into Different Variables ในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล<br />

ในตัวแปรใหม<br />

ตัวอยางการใชคําสั่ง Recode into Different Variables<br />

สําหรับใหคาคะแนนขอคําถามความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย (Know) 12 ขอ<br />

- คําถาม ขอ 1-3, ขอ 7, ขอ 9-12 เปนคําถามที่ ถูกตอง คือ ถาตอบวา “ใช” หรือ 1 จะได 1<br />

คะแนน แตถาตอบวา “ไมใช” หรือ 0 จะได 0 คะแนน ดังแสดงในภาพที่ 18<br />

- คําถาม ขอ 4-6, ขอ 8 เปนคําถามที่ ไมถูกตอง คือ ถาตอบวา “ใช” หรือ 1 จะได 0 คะแนน แตถา<br />

ตอบวา “ไมใช” หรือ 0จะได 1 คะแนน ดังแสดงในภาพที่ 19<br />

80<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 18 แสดงคําสั่งในการ Recode into different variables ในขอคําถามที่ถูกตอง<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 19 แสดงคําสั่งในการ Recode into Different Variables ในขอคําถามที่ไมถูกตอง<br />

2. การใชคําสั่ง Compute<br />

คําสั่ง Compute เปนคําสั่งในการคํานวณคาตัวแปรชนิดตัวเลขทั้งระดับ Nominal Scale, Ordinal Scale,<br />

Interval Scale และ Ratio Scale โดยที่กําหนดคาที่ตองการคํานวณไวในตัวแปรใหม เชน การคํานวณคาภาพรวม<br />

ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย (Know) ทั้ง 12 ขอ (Know1-Know12) ใสในตัวแปรใหมชื่อ KnowTot<br />

เลือกเมนู Transform –> Compute จากนั้นจะแสดงหนาตาง Compute Variable ซึ่งดานซายประกอบดวย<br />

Box: Target Variable เพื่อใหใสชื่อตัวแปรใหมที่คํานวณแลว ดานลางจะแสดงตัวแปรตางๆ ที่ตองการคํานวณคา<br />

สวนดานขวามี Box: Numeric Expression ที่เปนคําสั่งกําหนดคาให Target Variable ซึ่งประกอบดวยชื่อตัวแปร<br />

คาคงที่ เครื่องหมายคํานวณ และฟงกชั่นตางๆ โดยสามารถพิมพหรือเลือกฟงกชั่น และเครื่องหมายในการคํานวณ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 81


ดังแสดงในภาพที่ 20 ดังนี้คือ 1) Target Variable พิมพชื่อตัวแปรใหมคือ KnowTot และ 2) Box:<br />

Numeric Expression ทําการคํานวณโดยรวมตัวแปร Know1_n - Know12_ n เขาดวยกัน ดังนี้<br />

know1_n+know2_n+know3_n+knnow4_n+know5_n+know6_n+know7_n+know8_n+<br />

know9_n+know10_n+know11_n+know12_n จากนั้นเลือก OK<br />

1<br />

ภาพที่ 20 แสดงคําสั่งในการ Compute คํานวณคาภาพรวมความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

บทที่ 6<br />

การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ<br />

1. ความหมายของการประมาณคาและการทดสอบสมมติฐาน<br />

การประมาณคา คือ การประมาณคาพารามิเตอรซึ่งเปนลักษณะของประชากรโดยใชขอมูล<br />

ตัวอยางหรือทําการประมาณคาพารามิเตอรดวยคาสถิติ เชน การประมาณคาเฉลี่ยของประชากร ดวย<br />

คาเฉลี่ยของตัวอยาง การประมาณความแปรปรวนของประชากร ดวยความแปรปรวนของตัวอยาง<br />

การทดสอบสมมติฐาน มีจุดมุงหมายที่จะอธิบาย / สรุปลักษณะของประชากร (คาพารามิเตอร)<br />

ดวยขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากกลุมตัวอยาง (คาสถิติ) โดยใชสถิติเชิงสรุปอางอิง<br />

เงื่อนไขของการทดสอบสมมติฐานทางสถิติโดยใชขอมูลตัวอยาง คือประชากรหรือตัวแปรที่<br />

ตองการทดสอบจะตองมีการแจกแจงปกติ หรือใกลเคียงการแจกแจงแบบปกติ<br />

2. ขั้นตอนการทดสอบสมติฐานทางสถิติ<br />

1. การตั้งสมมติฐานทางสถิติเพื่อการทดสอบเปนการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับคาพารามิเตอรของ<br />

ประชากร โดยตองมีทั้งสมมติฐานหลัก หรือสมมติฐานทางการวิจัย (H 0 ) และสมมติฐานรอง หรือสมมติฐาน<br />

ทางสถิติ หรือสมมติฐานที่นักวิจัยตั้งไว (H 1 )<br />

2. การกําหนดสถิติทดสอบ<br />

2.1 การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ คาเฉลี่ยของประชากร (µ) โดยใชคาเฉลี่ยของตัวอยาง (Χ) ดัง<br />

แสดงใน ภาพที่ 21 ในกรณีที่<br />

82<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ทดสอบคาเฉลี่ยของประชากรเดียว โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช One-Sample T Test<br />

- ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะ<br />

เลือกใช Independent-Samples T Test<br />

- ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong><br />

จะเลือกใช Paired-Sample T Test<br />

- การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร หรือการวิเคราะหความแปรปรวน<br />

แบบทางเดียว โดยใชสถิติทดสอบ F-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช One-way ANOVA<br />

- การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของประชากรเปนรายคูหรือการเปรียบเทียบเชิงซอน ในกรณีที่ทราบวามีความ<br />

แตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร โดยสวนใหญจะใช LSD (Least-Significant Different)<br />

โดยเลือกใช One-way ANOVA: Post Hoc Multiple Comparisons<br />

ภาพที่ 21 แสดงคําสั่งในการการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับคาเฉลี่ยประชากร<br />

2.2 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว ในการทดสอบความเปนอิสระกันของ 2 ตัวแปร<br />

โดยเลือกใชสถิติทดสอบ Chi-Square ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใชคําสั่ง Crosstabs และเลือกสถิติทดสอบ<br />

แบบ Chi-Square เชน การหาความสัมพันธระหวางการมีโรคประจํา ตัวและสถานภาพสมรส<br />

2.3 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว หรือการทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ<br />

(Correlation Coefficient) วาตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธมากนอยเพียงใด ใน <strong>SPSS</strong> การคํานวณหา<br />

คาสัมประสิทธสหสัมพันธจะเลือกใชคําสั่ง Correlate และมี 2 คําสั่งใหเลือกคือ<br />

- Bivariate เปนการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่แสดงความสัมพันธ<br />

ในรูปเชิงเสนโดยไมคํานึงถึงตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวของเลย จึงทําใหความสัมพันธที่ไดไมใชความสัมพันธที่<br />

แทจริง ระหวางตัวแปร 2 ตัว อาจจะมีมีตัวแปรอื่นๆ แอบแฝงอยู<br />

- Partial เปนการหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่ไดควบคุมหรือกําจัดอิทธิพลของตัว<br />

แปรอื่นๆ โดยจะเหลือเพียงตัวแปร 2 ตัวที่ตองการหาความสัมพันธเทานั้น<br />

3 การคํานวณหาคาสถิติทดสอบ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 83


4 การกําหนดขอบเขตความผิดพลาดหรือระดับนัยสําคัญ คือ คาที่ชวยในการตัดสินใจ หรือคาความ<br />

นาจะเปนของการปฏิเสธสมมติฐานหลัก(H 0 ) ซึ่งเรียกคานี้วาระดับนัยสําคัญของการทดสอบ และจะ<br />

แทนดวยสัญลักษณ อานวา แอลฟา (alpha) โดยปกติเรามักจะเลือกระดับนัยสําคัญที่ = 0.05<br />

และ 0.01 โดยเราปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H 0 ) เมื่อผลลัพธของการทดสอบมีคาความนาจะเปน<br />

(Significance level: Sig.) เทากับหรือนอยกวาระดับนัยสําคัญ ที่ตั้งไว<br />

5 การสรางเขตปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H 0 ) เปนการหาคาวิกฤติ (Critical Value) ซึ่งเปนคาที่แบงเขตที่<br />

จะปฏิเสธหรือยอมรับ H 0<br />

ในการวิเคราะหสมมติฐานโดยใชโปรแกรม <strong>SPSS</strong> for window จะไดคา P-value คือคาที่ใชตรวจสอบ<br />

ถึงการปฏิเสธหรือยอมรับสมมติฐานหลัก โดยจะทําการเปรียบเทียบกับระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว<br />

- ถาคา P-value หรือคา Significance level (Sig.) มีคามากวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว จะยอมรับ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 )<br />

- แตถาคา P-value หรือคา Significance level (Sig.) มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว จะปฏิเสธ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 ) และยอมรับสมมติฐานรองหรือสมมติฐานที่นักวิจัยตั้งไว (H 1 )<br />

สรุปวา คา P-value คือคาความนาจะเปนหรือคาที่ใชสําหรับหาขอเท็จจริงสําหรับการทดสอบ<br />

สมมติฐานนั้นๆ สวนระดับนัยสําคัญคือ การกําหนดขอบเขตของการปฏิเสธสมมติฐาน<br />

6. สรุปผลของการทดสอบ โดยจะเปรียบเทียบระหวาง คาสถิติทดสอบกับคาวิกฤติ<br />

3. สถิติในการทดสอบสมมติฐาน<br />

3.1 ทดสอบคาเฉลี่ยของประชากรเดียว โดยใชสถิติทดสอบ t-Test สําหรับ <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช การ<br />

วิเคราะหขอมูลแบบ One-Sample T Test เชน การทดสอบรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเทากับ 15,000 บาท<br />

ตอเดือนหรือไม H 0 : µ = 15,000 แล H 1 : µ ≠ 15,000<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก One-Sample T Test จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

One-Sample T Test ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 1) box: Test Variable(s): ให<br />

เลือกชื่อของตัวแปรที่ตองการทดสอบ ในที่นี้คือ รายได (Salary) 2) Test Value ใหใสคาคงที่ที่ตองการทดสอบ<br />

ในที่นี่คือ 15,000 แลวเลือก Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95% จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 22.1<br />

1<br />

2 3<br />

ภาพที่ 22.1 แสดงคําสั่งในการทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยของประชากรเดียว: One-Sample T Test<br />

84<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ผลลัพธในการทดสอบคาเฉลี่ยของประชากรเดียว<br />

รายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง คือ 17,106 บาท สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 7,131 บาท ผลการทดสอบ<br />

สมมติฐาน พบวา คาสถิติทดสอบ t-Test = 3.166 คา Sig. = 0.002* ซึ่งนอยกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปได<br />

วา ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H 0 ) และยอมรับสมมติฐานรอง (H 1 ) นั่นคือรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางไมเทากับ 15,000<br />

บาทตอเดือนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (มากกวา 15,000 บาทตอเดือน) ดังแสดงในภาพที่ 22.2<br />

One-Sample Statistics<br />

One-Sample Test<br />

N Mean Std. Deviation Std. Error Mean<br />

รายได 115 17105.57 7131.090 664.978<br />

Test Value = 15000<br />

t df Sig. (2-tailed) Mean Difference<br />

95% Confidence Interval<br />

of the Difference<br />

Lower<br />

Upper<br />

รายได 3.166 114 .002* 2105.57 788.25 3422.88<br />

ภาพที่ 22.2 แสดงผลลัพธการทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยของประชากรเดียว: One-Sample T Test<br />

3.2 ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะ<br />

เลือกใช Independent-Samples T Test เชน การทดสอบรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเพศชายและหญิงวามี<br />

ความแตกตางกันหรือไม (กลุม 1: เพศชาย และกลุม 2: เพศหญิง)<br />

H 0 : µ 1 = µ 2 , H 1 : µ 1 ≠ µ 2<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก Independent-Samples T Test จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Independent-Samples T Test ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Test Variable(s): ใหเลือกชื่อของตัวแปรที่ตองการทดสอบ ในที่นี้คือ รายได (salary) 2) Grouping Variable ใหใสชื่อ<br />

ตัวแปรที่ตองการจําแนก ในที่นี่คือ เพศ (sex) โดยการ Define Groups จําแนกเปน Group1: 1 (เพศชาย) และ Group 2:<br />

(เพศหญิง) แลวเลือก 3) Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95% จากนั้นเลือก Continue จะกลับมา<br />

สูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 23.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 23.1 คําสั่งในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร: Independent-SamplesT Test<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 85


่<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร<br />

รายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเพศชาย 12,257 บาท สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3,477 บาท และรายไดเฉลี่ย<br />

ของเพศหญิง 17,420 บาท สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7,202 บาท ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา 1) คาสถิติทดสอบ<br />

ความแปรปรวนของกลุมตัวอยาง (Levene’s Test for Equality of Variance) F-Test = 1.911 คา Sig. = 0.170<br />

ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ สมมติฐานหลัก (H 0 ) คือความแปรปรวนของกลุม<br />

ตัวอยางไมมีความแตกตางกัน ใช Equal variances assumed 2) คาสถิติทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ย<br />

ของ 2 กลุมประชากร (t-Test for Equality of Means) t-Test = -1.877, df = 113, Sig = 0.063 ซึ่งมากกวาระดับ<br />

นัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปวา ยอมรับสมมติฐานหลัก (H 0 ) นั่นคือรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเพศชายและเพศ<br />

หญิงไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงในภาพที่ 23.2<br />

Group Statistics<br />

รายได<br />

รายได<br />

เพศ N Mean Std. Deviation<br />

Std. Error<br />

Mean<br />

ชาย 7 12257.14 3476.999 1314.182<br />

หญิง 108 17419.81 7201.652 692.979<br />

Independent Samples Test<br />

Levene's Test for Equality of<br />

Variances<br />

Sig. (2-<br />

F Sig. t df tailed)<br />

Equal variances<br />

assumed<br />

Equal variances<br />

not assumed<br />

1.911 0.170<br />

t-test for Equality of Means<br />

Mean<br />

Difference<br />

Std. Error<br />

Difference<br />

95% Confidence Interval<br />

of the Difference<br />

Lower Upper<br />

-1.877 113 .063 -5162.67 2751.014 -10612.926 287.583<br />

-3.475 9.758 .006 -5162.67 1485.697 -8484.162 -1841.182<br />

ภาพที่ 23.2 ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร:<br />

Independent-Sample T Test<br />

3.3 ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน<br />

<strong>SPSS</strong> จะเลือกใช Paired-Samples T Test เชน การทดสอบคะแนนเฉลี่ยกอนการอบรมและหลังการอบรม<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก Paired-Samples T Test จากนั้นจะแสดงหนาตาง Paired-<br />

Samples T Test ซึ่งดานซายบนประกอบดวยตัวแปรตางๆ ดานซายลาง box: Current Selections จะแสดงตัวแปรที่เลือกเพื่อ<br />

ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยแบบจับคู ในที่นี้คือ Variable1:คะแนนกอนการอบรม (Pretest) Variable2: คะแนนหลังการ<br />

อบรม (Posttest) สวนดานขวามี box: Paired Variables ซึ่งจะนําตัวแปรจาก Current Selections Variable1 และ Variable2 ที<br />

เลือกมาใส เปน Pretest - Posttest แลวเลือก Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95% จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 24.1<br />

86<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

ภาพที่ 24.1 คําสั่งในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู:<br />

Paired-Sample T Test<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู<br />

คะแนนเฉลี่ยกอนการอบรม 32.47 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.205 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยหลัง<br />

การอบรม 34.10 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.456 คะแนน คาสัมประสิทธสหสัมพันธ (r) = -0.121, Sig. =<br />

0.197 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ สมมติฐานหลัก (H 0 ) คือ คาเฉลี่ยกอนการอบรม<br />

และหลังการอบรมไมมีความสัมพันธกัน<br />

คาสถิติทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู Paired Differences<br />

Sample t-Test = -1.597, df = 114, Sig = 0.113 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 ) นั่นคือ คาเฉลี่ยกอนการอบรมและหลังการอบรมไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงในภาพที่ 24.2<br />

Paired Samples Statistics<br />

Mean N Std. Deviation<br />

Std. Error<br />

Mean<br />

Pair 1 คะแนนกอนการอบรม 32.47 115 7.205 .672<br />

คะแนนหลังการอบรม 34.10 115 7.456 .695<br />

3<br />

Paired Samples Correlations<br />

Pair 1<br />

คะแนนกอนการอบรม &<br />

คะแนนหลังการอบรม<br />

N Correlation Sig.<br />

115 -.121 .197<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 87


Pair 1 คะแนนกอนการอบรม -<br />

คะแนนหลังการอบรม<br />

Mean<br />

Paired Samples Test<br />

Paired Differences<br />

95% Confidence<br />

Std.<br />

Deviation<br />

Std. Error<br />

Mean<br />

Interval of the<br />

Difference<br />

Lower Upper<br />

t<br />

df<br />

Sig.<br />

(2-tailed)<br />

-1.63 10.978 1.024 -3.66 .39 -1.597 114 .113<br />

ภาพที่ 24.2 ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู:<br />

Paired-Sample T Test<br />

3.4 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร หรือการวิเคราะหความ<br />

แปรปรวนแบบทางเดียว โดยใชสถิติทดสอบ F-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช One-Way ANOVA เชน การ<br />

ทดสอบอายุเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา (กลุม1: ต่ํากวา ป.ตรี กลุม2: ป.ตรี กลุม3: สูง<br />

กวา ป.ตรี) วามีความแตกตางกันหรือไม<br />

H 0 : µ 1 = µ 2 = µ 3 , H 1 : µ 1 ≠ µ 2 ≠ µ 3<br />

และการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของประชากรเปนรายคู หรือการเปรียบเทียบเชิงซอน ในกรณีที่ทราบวามี<br />

ความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร โดยสวนใหญจะใช LSD (Least-Significant Different)<br />

โดยเลือกใช One-way ANOVA: Post Hoc Multiple Comparisons<br />

H 0 : µ 1 = µ 2 = µ 3 , H 1 : µ i ≠ µ j อยางนอย 1 คู i ≠ j<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก One-Way ANOVA จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

One-Way ANOVA ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Dependent List: จะใสชื่อของตัวแปรเชิงปริมาณที่ตองการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ย ในที่นี้คือ<br />

รายได (Salary) 2) Factor: จะใสชื่อของตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนกตามกลุม ในที่นี้คือ สถานภาพสมรส<br />

(Status) จากนั้น 3) เลือก Post Hoc ซึ่งจะแสดงหนาตาง One-Way ANOVA: Post Hoc Multiple<br />

Comparisons เลือก Equal Variances Assumed: LSD และเลือก Significance level = 0.05 จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม 4) เลือก Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95%<br />

จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 25.1<br />

88<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

3 4<br />

ภาพที่ 25.1 คําสั่งในการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร: F-Test (ANOVA) และการ<br />

ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู: LSD<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร และความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู<br />

จากตาราง ANOVA จะไดคาของ Sum of Squares และ Mean Square ใน Between Groups, Within<br />

Groups คาสถิติทดสอบ F-Test = 8.173 และ Sig.


(I) ระดับการศึกษา<br />

สูงสุด<br />

Multiple Comparisons Dependent Variable: อายุ => LSD<br />

(J) ระดับ Mean Difference Std. Error Sig. 95% Confidence Interval<br />

การศึกษาสูงสุด (I-J)<br />

Lower Bound Upper Bound<br />

ต่ํากวาป.ตรี ป.ตรี -.43 1.667 .798 -3.73 2.88<br />

สูงกวาป.ตรี -7.92(*) 2.296 .001 -12.47 -3.38<br />

ป.ตรี ต่ํากวาป.ตรี .43 1.667 .798 -2.88 3.73<br />

สูงกวาป.ตรี -7.50(*) 1.913 .000 -11.29 -3.71<br />

สูงกวาป.ตรี ต่ํากวาป.ตรี 7.92(*) 2.296 .001 3.38 12.47<br />

ป.ตรี 7.50(*) 1.913 .000 3.71 11.29<br />

ภาพที่ 25.2 ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร:<br />

F-Test (ANOVA) และการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู: LSD<br />

3.5 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว ในการทดสอบความเปนอิสระกันของ 2<br />

ตัวแปร โดยเลือกใชสถิติทดสอบ Chi-Square ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใชคําสั่ง Crosstabs และเลือกสถิติทดสอบ<br />

แบบ Chi-Square เชน การหาความสัมพันธระหวางการมีโรคประจําตัวและสถานภาพสมรส<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Descriptive Statistics -> เลือก Crosstabs จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Crosstabs ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 3 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Rows: จะ<br />

ใสชื่อของตัวแปรที่ตองการจําแนกตามแถว ในที่นี้คือ สถานภาพสมรส (status) 2) Columns: จะใสชื่อของตัว<br />

แปรที่ตองการจําแนกตามคอลัมภ ในที่นี้คือ ทานมีโรคประจําตัวหรือไม (disease) 3) Layer: แบงการจําแนก<br />

ขอมูลเปน layer ตางๆ ใสตัวแปรที่ตองจําแนกขั้นที่ 3 (layer 1 of 1) ขั้นที่ 4 (layer 2 of 2) ตามลําดับ จากนั้น<br />

3) เลือก Statistics ซึ่งจะแสดงหนาตาง Crosstabs: Statistics เลือก Chi-square (สถิติทดสอบ) จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 26.1<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 26.1 คําสั่งในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว: Chi-Square<br />

90<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว<br />

จากตาราง Crosstabs เพื่อแสดงคาความถี่และคารอยละระหวางสถานภาพสมรส (ตามแถว) และการมี<br />

โรคประจําตัว(ตามคอลัมภ)เมื่อทดสอบความความสัมพันธระหวางการมีโรคประจําตัวและสถานภาพสมรส พบวา<br />

Pearson Chi-Square = 0.225 และ Sig. = 0.894 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 ) นั่นคือ การมีโรคประจําตัวและสถานภาพสมรสไมมีความสัมพันธกัน ดังแสดงในภาพที่ 26.2<br />

สถานภาพสมรส * ทานมีโรคประจําตัวหรือไม Crosstabulation<br />

ทานมีโรคประจําตัวหรือไม<br />

ไมมี มี<br />

สถานภาพสมรส โสด Count 71 12 83<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 72.4% 70.6% 72.2%<br />

สมรส Count 26 5 31<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 26.5% 29.4% 27.0%<br />

หยา/หมาย Count 1 0 1<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 1.0% .0% .9%<br />

Total Count 98 17 115<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 100.0% 100.0% 100.0%<br />

Chi-Square Tests<br />

Value df Asymp. Sig. (2-sided)<br />

Pearson Chi-Square .225(a) 2 .894<br />

Likelihood Ratio .370 2 .831<br />

Linear-by-Linear Association .005 1 .946<br />

N of Valid Cases 115<br />

a. 3 cells (50.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .15.<br />

ภาพที่ 26.2 ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว: Chi-Square<br />

Total<br />

3.6 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว หรือการทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ<br />

(Correlation Coefficient) วาตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธมากนอยเพียงใด ใน <strong>SPSS</strong> การคํานวณหา<br />

คาสัมประสิทธสหสัมพันธจะเลือกใชคําสั่ง Correlate และมี 2 คําสั่งใหเลือกคือ<br />

- Bivariate ซึ่งเปนการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่แสดงความสัมพันธใน<br />

รูปเชิงเสน โดยไมคํานึงถึงตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวของเลย เชน การหาความสัมพันธระหวางรายไดและอายุ<br />

โดยไมคํานึงถึงตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวของเลย อาทิ เพศ สถานภาพสมรส และระดับการศึกษาสูงสุด จึงทํา<br />

ใหความสัมพันธที่ไดไมใชความสัมพันธที่แทจริง ระหวางตัวแปร 2 ตัวแปรดังกลาว อาจจะมีตัวแปรอื่นๆ<br />

แอบแฝงอยู<br />

หมายเหตุ การประมาณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของประชากร (ρ) โดยใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวอยาง<br />

(r) คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธมีคาสูงสุดเปน 1 และคาต่ําสุดเปน -1 โดยที่<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 91


1) ถาคา r มีคาเขาใกล 1 หมายถึงตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว มีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันและ<br />

มีความสัมพันธกันมาก<br />

2) ถาคา r มีคาเขาใกล -1 หมายถึงตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว มีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขาม<br />

และสัมพันธกันมาก<br />

3) ถาคา r มีคาเขาใกล 0 หรือเทากับ 0 แสดงวามีความสัมพันธกันนอยหรือไมมีความสัมพันธกัน<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Correlate -> เลือก Bivariate จากนั้นจะแสดงหนาตาง Bivariate<br />

Correlations ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 1) box Variables: ใหใสตัวแปรเชิง<br />

ปริมาณที่ตองการหาความสัมพันธ ในที่นี้เลือก อายุ (age) และรายได (salary) 2) box Correlation<br />

Coefficients ใหเลือก Pearson Correlation และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 27.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 27.1 คําสั่งในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว แบบ Bivariate Correlations<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว แบบ Bivariate Correlations<br />

จากตาราง Correlations จะไดคา Pearson Correlation ระหวางอายุและรายไดคือ 0.713 และ<br />

คา Sig. =


- Partial (สัมประสิทธสหสัมพันธเชิงสวน) ซึ่งเปนการหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่ไดควบคุม<br />

หรือกําจัดอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ ออกแลวจะเหลือเพียงแค 2 ตัวแปรที่ตองการหาความสัมพันธเทานั้น<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Correlate -> เลือก Partial จากนั้นจะแสดงหนาตาง Partial Correlations ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box 1) Variables: ใหใสตัวแปรเชิงปริมาณที่ตองการหา<br />

ความสัมพันธ ในที่นี้เลือก อายุ (age) และรายได (salary) 2) Controlling for: ใหใสตัวแปรที่ตองการควบคุม<br />

เพื่อใหไดคาของความสัมพันธระหวางตัวแปรอายุและตัวแปรรายไดอยางแทจริง ในที่นี้เลือก Controlling เพศ<br />

(sex), สถานภาพสมรส (status) และระดับการศึกษาสูงสุด (edu) และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 28.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 28.1 แสดงคําสั่งในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว:<br />

แบบ Partial Correlation<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว<br />

จากตาราง Correlations จะไดคา Partial Correlation ระหวางอายุและรายได โดยควบคุมอิทธิพลของตัว<br />

แปร เพศ สถานภาพสมรส และระดับการศึกษาสูงสุด คือ 0.6499 และคา Sig. =


โปรแกรม<br />

Geographic Information System<br />

(<strong>GIS</strong>)


<strong>GIS</strong> Program<br />

1.การเขาใชงานโปรแกรม <strong>GIS</strong> ไดที่แอดเดรส http://www.thaiprddc.org/ เมื่อใสแอดเดรส เรียบรอย<br />

แลวจะปรากฏหนาเว็บไซดของสํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก ดังภาพที่ 1<br />

ภาพที่ 1 แสดงหนาหลักเว็บไซดของสํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

2. เมื่อเขาสูหนาหลักเว็บไซดของสํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลกเรียบรอยแลว จะมีเมนู ห ลั ก<br />

สําหรับขอมูลตางๆ ของเว็บไซด ใหเลือกไปที่เมนู <strong>GIS</strong> ก็จะเขาสูหนาสําหรับใสชื่อและรหัสผาน กอนเขาสู<br />

ระบบ <strong>GIS</strong> ดังภาพที่ 2<br />

1<br />

ภาพที่ 2 แสดงหนาสําหรับใสชื่อและรหัสผานกอนเขาสูระบบ <strong>GIS</strong><br />

3.การเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> ตองมีการสมัครสมาชิกเพื่อรับ Username กับ Password โดยการเลือก<br />

สมัครสมาชิกที่คําวา กรุณาสมัครสมาชิกกอนเขาระบบ คลิก ดังภาพที่ 2 และเมื่อทําการคลิกเพื่อสมัคร<br />

สมาชิก จะปรากฏหนาการกรอกขอมูลสําหรับสมัครสมาชิก ดังภาพที่ 3<br />

SAVE<br />

ภาพที่ 3 แสดงหนาสําหรับกรอกขอมูลสมัครสมาชิก<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล 94


4. เมื่อสมัครสมาชิกเรียบรอยแลว จะสามารถเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> ได แตในกรณีที่ไมเคยใชระบบ<br />

<strong>GIS</strong> มากอนจําเปนตองทําการติดตั้งโปรแกรม SVG View สําหรับดูขอมูลจากแผนที่ โดยสามารถดาวนโหลด<br />

โปรแกรมไดจากหนาสําหรับเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> ดังภาพที่ 2 โดยจะอยูดานลางการสมัครสมาชิก ทําการคลิก<br />

เพื่อดาวนโหลดโปรแกรมมาติดตั้งเพื่อใหสามารถใชระบบ <strong>GIS</strong> ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจะแสดงขั้นตอน<br />

การดาวนโหลด ดังภาพที่ 4<br />

1<br />

ภาพที่ 4 แสดงขั้นตอนการดาวนโหลดโปรแกรม SVG View<br />

5. เมื่อดาวนโหลดและติดตั้งโปรแกรม SVG View เรียบรอยแลว จะปรากฏหนาหลักเพื่อใชงานระบบ<br />

<strong>GIS</strong> ดังภาพที่ 5<br />

2<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 5 แสดงหนาหลักของระบบ <strong>GIS</strong><br />

95<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก


สวนประกอบหลักของระบบ <strong>GIS</strong><br />

1. สวนแสดงแผนที่<br />

2. สวนเมนูสําหรับเลือกรายงานแสดงผลขอมูลแผนที่<br />

• จําแนกตาม 3 โรค ไดแก โรคเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ดังแสดงในภาพที่ 6<br />

• จําแนกตามการรายงานขอมูล พื้นที่ดําเนินงาน (Mapping Area) ดังแสดงในภาพที่ 7<br />

- โรคเอดส จําแนกตาม Sub-Recipients (SR)<br />

- วัณโรค จําแนกตาม 4 TB Program (Prison, Border, Urban, TB-HIV) ใน TB Round<br />

1และจําแนกตาม PR-DDC & PR-WVFT ใน TB Round 6<br />

- มาลาเรีย จําแนกตาม Malaria Round 2 และ Malaria Round 7 และพื้นที่การแพร<br />

ระบาดของมาลาเรียระดับ A1 & A2<br />

• จําแนกตามการรายงานขอมูลพื้นที่ดําเนินงานที่ทับซอน(Overlapping Area) ดังแสดงในภาพที่ 8<br />

- โรคเอดส จําแนกตาม Area Prevention (Community setting, School setting และ<br />

Workplace setting) และ Care & Treatment (Hospital based Care และ Community<br />

based Care)<br />

- วัณโรค จําแนกตามพื้นที่ทับซอนของ 4 TB Program ใน TB Round 1 และพื้นที่ ทับ<br />

ซอนของ PR-DDC & PR-WVFT ใน TB Round 6<br />

- มาลาเรีย จําแนกตามพื้นที่ทับซอนของ Malaria Round 2 และ Malaria Round 7<br />

3. สวนแสดงขอมูลสรุป ของจังหวัด อําเภอ และตําบลที่ดําเนินงาน จํานวนพื้นที่ที่ดําเนินงาน และ<br />

รายชื่อของหนวยงานผูรับทุนรอง (SR) หนวยงานผูรับทุนยอย (SSR) และผูประสานงานในแตละพื้นที่ โดย<br />

สามารถดูรายละเอียดของอําเภอที่ดําเนินงานโดยการ คลิกที่จังหวัดที่ตองการ และสามารถดูรายละเอียด<br />

ของตําบลที่ดําเนินงานโดยการ คลิกที่อําเภอที่ตองการ ตามลําดับ<br />

1<br />

ภาพที่ 6 แสดงเมนูสําหรับเลือกรายงานของ 3 โรค<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล 96


2<br />

ภาพที่ 7 แสดงเมนูสําหรับการจําแนกรายงาน ขอมูลพื้นที่ดําเนินงาน<br />

3<br />

ภาพที่ 8 แสดงเมนูสําหรับการจําแนกรายงาน พื้นที่ดําเนินงานที่ทับซอน<br />

97<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!