17.06.2015 Views

Manual MIS_Excel_SwiffChart_SPSS_GIS.pdf - สำนักงาน บริหาร ...

Manual MIS_Excel_SwiffChart_SPSS_GIS.pdf - สำนักงาน บริหาร ...

Manual MIS_Excel_SwiffChart_SPSS_GIS.pdf - สำนักงาน บริหาร ...

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

คูมือการใชโปรแกรม<br />

สําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล<br />

โดย<br />

สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข<br />

ตุลาคม 2551


คูมือการใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล<br />

คณะทํางาน<br />

นายแพทยอนุพงศ ชิตวรากร<br />

นางสาวพิมใจ ศาทสิทธิ์<br />

นางสาวอมรรัตน เงาวะบุญพัฒน<br />

นางสาวจินตนา ธรรมสุวรรณ<br />

นางสาวกฤษติกา แกวประภา<br />

นายตระกูล อรุณมหาศน<br />

นายสมหมาย ขําสวาง<br />

ผูเรียบเรียงเนื้อหา นางสาวอมรรัตน เงาวะบุญพัฒน<br />

นางสาวจินตนา ธรรมสุวรรณ<br />

นายตระกูล อรุณมหาศน<br />

จัดพิมพโดย<br />

สนับสนุนโดย<br />

สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข<br />

www.thaiprddc.org<br />

กองทุนโลก<br />

พิมพครั้งที่ 1 ตุลาคม 2551<br />

จํานวน 110 เลม<br />

พิมพที่ หางหุนสวนจํากัด เทพเพ็ญวานิสย


คํานํา<br />

สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก (PR-DDC) เปนองคกรที่ไดรับการสนับสนุนจากกองทุนโลก<br />

[Global Fund to fight AIDS, Tuberculosis and Malaria: GFATM] ในการดําเนินการปองกันและควบคุม<br />

โรคเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ตลอดจนเปนศูนยกลางในการกระจายงบประมาณใหกับหนวยงานผูรับทุน<br />

รอง (SR) สําหรับการดําเนินงานโครงการ รวมถึงการติดตามและประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงาน<br />

ตางๆ ดังกลาว<br />

ระบบการบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ และระบบการติดตามและประเมินผล เปนสวนหนึ่งของ<br />

การดําเนินโครงการฯ ที่สําคัญยิ่ง ซึ่งมีผลตอการแสดงศักยภาพในการบริหารจัดการโครงการใหสอดคลอง<br />

กับเปาหมายและตัวชี้วัดที่กองทุนโลกกําหนด สามารถตรวจสอบ และวิเคราะหเพื่อวางแผนการดําเนินงาน<br />

ตอไปไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยที่ผานมาการบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ ของหนวยงานตาง ๆ ยังไม<br />

เปนระบบและเปนแบบแยกสวน กลาวคือ ทุกหนวยงานตางทํางานเพื่อใหครบภารกิจของหนวยงานตนเอง<br />

เทานั้น จึงควรที่จะมีการพัฒนาระบบบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ และการพัฒนาระบบการติดตามและ<br />

ประเมินผล ที่มีความชัดเจนและเปนรูปธรรม ทั้งในสวนขององคกรผูรับทุนรองที่มีหนาที่ในการดําเนินงาน<br />

ตามเปาหมายของโครงการใหสําเร็จลุลวง และองคกรที่มีบทบาทในการกํากับดูแลและมีอํานาจหนาที่ใน<br />

การปฏิบัติภารกิจใหสําเร็จตามวัตถุประสงคของการดําเนินงานโครงการดานเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ที่<br />

ไดรับการสนับสนุนงบประมาณจากกองทุนโลก อีกทั้งเพื่อเปนการพัฒนาศักยภาพของบุคลากรที่เปนสวน<br />

หนึ่งของการดําเนินงานโครงการ<br />

โปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล ที่สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

นํามาใชในการบริหารจัดการขอมูลขอสนเทศ และติดตาม ประเมินผลการดําเนินงานของหนวยงานผูรับทุน<br />

รองของโครงการดานเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ที่สําคัญไดแก 1) โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

2) โปรแกรม Portable Swiff Chart Pro 3) โปรแกรม <strong>SPSS</strong> และ 4) โปรแกรม <strong>GIS</strong> (Geographic<br />

Information System) ซึ่งโปรแกรมเหลานี้ สามารถนําไปใชประโยชนในการบริหารจัดการขอมูล และการ<br />

นําเสนอขอมูลในรูปแบบที่นาสนใจ ทั้งนี้คณะผูจัดทํา หวังเปนอยางยิ่งวาคูมือการใชโปรแกรมสําหรับการ<br />

บริหารจัดการและการนําเสนอขอมูลฉบับนี้จะมีประโยชน สามารถทําใหการทํางานสะดวก รวดเร็วและ<br />

มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น<br />

ตุลาคม 2551<br />

คณะผูจัดทํา


สารบัญ<br />

เรื่อง หนา<br />

โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

สวนที่ 1 แนะนําการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน 1<br />

1. ขั้นตอนการเขาใชงาน โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> 1<br />

2. สวนประกอบของโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> 1<br />

3. เทคนิคการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน 5<br />

สวนที่ 2 การจัดทําฐานขอมูล และการจัดทํารายงาน โดยใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> 13<br />

1. ความหมายของฐานขอมูล (Database) 13<br />

2. การบริหารจัดการฐานขอมูล และการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม <strong>Excel</strong> 14<br />

สวนที่ 3 การสรางแผนภูมิ 27<br />

1. แผนภูมิ (Chart) 27<br />

2. สวนประกอบของแผนภูมิ 28<br />

3. การสรางแผนภูมิ 28<br />

4. การแกไขและปรับแตงแผนภูมิ 32<br />

โปรแกรม Portable Swiff Chart Pro<br />

1. การติดตั้งโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro 37<br />

2. การใชงานโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro 37<br />

โปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

บทที่ 1 ความหมายของคําวาสถิติ 55<br />

บทที่ 2 การเตรียมเครื่องมือกอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล 57<br />

บทที่ 3 โปรแกรม <strong>SPSS</strong> for window 63<br />

บทที่ 4 การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล (Analyze) 66<br />

บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูล การจัดการขอมูล (Transform) 77<br />

บทที่ 6 การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ 82<br />

โปรแกรม <strong>GIS</strong><br />

1. การเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> 94<br />

2. สวนประกอบหลักของระบบ <strong>GIS</strong> 96


โปรแกรม<br />

Microsoft <strong>Excel</strong>


Microsoft <strong>Excel</strong> <br />

โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เปนโปรแกรมหนึ่งที่จัดอยูในชุด Microsoft Office โปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> มี<br />

ชื่อเสียงในดานการคํานวณเกี่ยวกับตัวเลข และการทําบัญชีตางๆ การทํางานของโปรแกรม ใชตารางตามแนวนอน<br />

(rows) และแนวตั้ง (columns) เปนหลัก ซึ่งเราเรียกโปรแกรมในลักษณะนี้วาเปน Spread Sheet บางคนใช<br />

โปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> สําหรับการพิมพตาราง การพิมพรายการสิ่งของตางๆ ที่มีการรวมเงิน หรือตัวเลข หรือมีการ<br />

คํานวณอยางงาย บางคนใชโปรแกรมนี้ เพื่อวิเคราะหแบบสอบถาม หาคาเฉลี่ย และคาสถิติตางๆ หรือใชโปรแกรม<br />

ในการทําแผนภูมิรูปแบบตางๆ เปนตน<br />

สวนที่ 1 แนะนําการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน<br />

1. ขั้นตอนการเขาใชงาน โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

การเขาใชงาน Microsoft <strong>Excel</strong> โดยปกติ มีขั้นตอน ดังนี้<br />

1) เลือก Start (ดานซายลาง)<br />

2) เลือก Program และ Microsoft Office<br />

3) เลือกเมนูโปรแกรม Microsoft Office <strong>Excel</strong> 2003<br />

2. สวนประกอบของโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

พื้นที่ใชงานและสวนประกอบในหนาตางโปรแกรม<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 1


2.1 จําแนกสวนตางๆ ในหนาตางโปรแกรม<br />

1. แท็บ ชื่อโปรแกรมและปุมควบคุมโปรแกรม (Title Bar and Control Program Button)<br />

แท็บ ชื่อโปรแกรม (Title Bar) ประกอบดวย<br />

1) ชื่อโปรแกรม คือชื่อแฟมขอมูลที่กําลังทํางานอยูในขณะนั้น<br />

2) ปุมควบคุมโปรแกรม (Control Program Button) คือปุมยอหนาตาง/ปุมขยายหนาตาง/คืนสู<br />

หนาตางปกติ ปุมเรียกหนาตางซอนหลายๆ หนาตาง และปุมปดหรือออกจากโปรแกรม ตามลําดับ<br />

2. แท็บ เมนูโปรแกรม (Menu Program)<br />

แท็บ เมนูโปรแกรม (Menu Program) ประกอบดวย<br />

1) ชื่อรายการเลือกหลัก หรือเมนูหลัก คือ แฟม (File) แกไข (Edit) มุมมอง (View) แทรก (Insert)<br />

รูปแบบ (Format) เครื่องมือ (Tools) ขอมูล (Data) หนาตาง (Window) วิธีใช (Help)<br />

2) ปุมควบคุมแฟมขอมูล (Control Filename Button)<br />

3. แท็บ เครื่องมือ (Tool Bar)<br />

แท็บ เครื่องมือ (Tool Bar) ประกอบดวย<br />

1) แท็บ เครื่องมือมาตรฐาน (Standard)<br />

2) แท็บ เครื่องมือจัดรูปแบบ (Formatting)<br />

2 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4. แท็บ สูตร (Formula Bar)<br />

แท็บ สูตร (Formula Bar) ประกอบดวย<br />

1) แท็บ แสดงสถานะการทํางานของเซลล หรือ ตําแหนงของเซลล<br />

2) แท็บ สูตร จะแสดงสถานะการใชงาน ดังแสดงในภาพ<br />

5. แท็บ แผนงานและแท็บ เลื่อนหนา<br />

แท็บ แผนงานและแท็บเลื่อนหนา ประกอบดวย<br />

1) แท็บ แผนงาน ประกอบดวย แผนงาน (Sheet) โดยปกติ จะมี 3 แผนงาน คือ Sheet1, Sheet2, Sheet3<br />

แตผูใชสามารถแกไข โดยเพิ่ม ลบ เปลี่ยนชื่อ คัดลอก หรือยายแผนงานได<br />

2) แท็บ เลื่อนหนาเอกสาร คือ แท็บเลื่อนหนากระดาษ แนวนอน (เลื่อนไปทางซาย – ขวาทีละแผนงาน<br />

หรือเลื่อนไปทางซายสุด หรือทางขวาสุด)<br />

6. เซลล เซลลพอยเตอร และแท็บ แสดงสถานะการทํางานของเซลล<br />

1) เซลล (Cell) คือ จุดตัดระหวาง แถว (Row) และคอลัมน (Column) โดยแถว ไดแก 1 , 2 , 3 , 4 , 5,....สวน<br />

คอลัมน ไดแก A , B , C , D,…..<br />

2) เซลลพอยเตอร หรือตําแหนงเซลลทํางาน (Cell Pointer) คือ ตําแหนงการทํางานของเซลลในขณะนั้น เชน<br />

ในภาพ Cell Pointer อยูที่ B3 หมายถึง เซลลทํางานอยูที่ตําแหนงคอลัมน B แถวที ่ 3<br />

3) แท็บ แสดงสถานะของเซลล (Cell Reference) อยูที่ตําแหนงแท็บสูตร จะแสดงชื่อเซลลไว (ดังภาพ คือ<br />

B3) เมื่อมีการเลื่อนตําแหนงเซลล แท็บแสดงสถานะจะเปลี่ยนไปดวย นอกจากนั้นในการเลือกหลายๆ<br />

เซลล หรือการคลุมทึบเลือกเซลล จะบอกถึงขอบเขตการเลือก ดังภาพ 3R x 3Cหมายถึง เลือก 3 แถว x 3<br />

คอลัมน ครอบคลุมพื้นที่ B1: D3<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 3


2.2 สวนประกอบของสมุดงาน (Workbook) ที่ควรรูจักมีดังนี้<br />

1) ชื่อไฟลของสมุดงาน (Title Bar) หรือชื่อของสมุดงาน ซึ่งก็คือชื่อไฟลนั่นเอง<br />

2) เซลล (Cell) เปนชองสี่เหลี่ยม ซึ่งเปนตารางหนวยยอยที่เล็กที่สุด ดังแสดงในภาพที่ 1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 1 แสดงชื่อไฟลของสมุดงานและเซลล<br />

3) ชีท (Sheet) คือ ตารางสี่เหลี่ยม ซึ่งประกอบขึ้นมาจากเซลล (ในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> รุนภาษาไทยเรียก<br />

ชีทวา "แผนงาน")<br />

- ปายชื่อของชีท (Sheet) คือ แท็บที่ใชในการเปลี่ยนชีทเปนชีทอื่น ๆ ในที่นี้ชื่อ Sheet 1, Sheet 2<br />

4) ปุมเปลี่ยนชีท (Scrolling button) คือปุมที่ใช คลิกเพื่อเคลื่อนที่ไปยังชีทถัดไป ปุมเหลานี้จะถูกใชใน<br />

กรณีที่ปายชื่อของชีทมีมากจนไมสามารถแสดงผลไดทั้งหมด ดังแสดงในภาพที่ 2<br />

2<br />

1<br />

ภาพที่ 2 แสดงปายชื่อของชีท และปุมเปลี่ยนชีท<br />

4 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3. เทคนิคการใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> เบื้องตน<br />

3.1 การแปลงฐานขอมูลจาก MS. Word เปน MS. <strong>Excel</strong><br />

จากฐานขอมูลรายชื่อแกนนําพนักงาน ที่อยูของสถานประกอบกิจการ เบอรโทรศัพท จํานวนพนักงานของ<br />

สถานประกอบกิจการ และจํานวนพนักงานที่ไดรับการอบรมดานโรคเอดส ที่ไดจัดเก็บในรูปแบบของ MS. Word<br />

สามารถ คัดลอก หรือ Copy ตารางดังกลาวไปยัง MS. <strong>Excel</strong> ตามขั้นตอนดังนื้<br />

เปดโปรแกรม Microsoft Word<br />

1) เลือกเปดไฟล MS. Word ชื่อ DB Test.doc<br />

2) เลือกเมนู แกไข (Edit)<br />

3) เลือกทั้งหมด (Select all) ดังแสดงในภาพที่ 3<br />

4) เลือกคัดลอก (Copy) ดังแสดงในภาพที่ 4<br />

2<br />

1<br />

4<br />

3<br />

ภาพที่ 3 แสดงการเลือกขอมูลทั้งหมด: Select all ภาพที่ 4 แสดงการคัดลอกขอมูลในโปรแกรม Word: Copy<br />

เปดโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

1) หลังจากทําการคัดลอกขอมูลในโปรแกรม Word เรียบรอยแลว ใหทําการเปดโปรแกรม <strong>Excel</strong><br />

2) เลือกเซลล A1 (คอลัมน A แถวที่ 1) คลิกขวา<br />

3) เลือกวาง (Paste) ดังแสดงในภาพที่ 5 (หรือเลือกเมนูแกไข และคัดลอก)<br />

4) จัดคอลัมนใหเรียบรอยโดยใหคลิกซายดึงที่ขอบดานขวาบนสุดของคอลัมน ดังแสดงในภาพที่ 6<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 5 แสดงการวางขอมูลลงในโปรแกรม <strong>Excel</strong>: Paste<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 5


้<br />

้<br />

1<br />

ภาพที่ 6 แสดงการจัดคอลัมน ในโปรแกรม <strong>Excel</strong><br />

3.2 การเปลี่ยนชื่อชีท (Sheet หรือแผนงาน) ที่ดานลางของชีทแตละชีทจะมีปายชื่อกํากับอยู เพื่อใหเรา<br />

สามารถแยกออกวาเปนชีทใด ชื่อของชีทจะมีคําวา Sheet นําหนา เปน Sheet1, Sheet 2 และ Sheet 3<br />

เรียงไปเรื่อยๆ หากเห็นวาชื่อของชีทไมสอดคลองกับงานที่ทําในชีทนั้น สามารถเปลี่ยนเปนชื่ออื่นได ตาม<br />

ขั้นตอนดังนี้<br />

1) ดับเบิ้ลคลิกปายชื่อของชีทที่ตองการเปลี่ยนชื่อ หรือคลิกขวาที่ชีทนั้น แลวเลือกเมนูเปลี่ยนชื่อ<br />

(Rename)<br />

2) กรอกชื่อใหม ซึ่งจะเปนภาษาไทยหรืออังกฤษก็ได<br />

3) กดปุม เพื่อจบขั้นตอนการเปลี่ยนชื่อชีท<br />

3.3 การสรางชีทใหม ชีทที่โปรแกรม <strong>Excel</strong> ใหมาตั้งแตตน มีจํานวน 3 ชีทเทานั้น ซึ่งสามารถเพิ่มชีทเขา<br />

ไปในสมุดงานนี้ไดอีก ตามขั้นตอนดังนี<br />

1) คลิกขวาปายชื่อของชีทเกาที่ตองการใหมีชีทใหมแทรกอยูกอนหนา<br />

2) เลือกแทรก (Insert) -> เลือก worksheet (แผนงาน) เพื่อแทรกชีทใหม<br />

3) จะไดชีทใหมวางๆ พรอมทํางาน<br />

3.4 การสลับไปใชชีทอื่นๆ การทํางานเราไดกรอกขอมูลและทําการคํานวณอยูในชีทเพียงชีทเดียว แตที่<br />

จริงแลวยังมีชีทอื่นๆ ที่สามารถเลือกใชไดอีก ตามขั้นตอนดังนี<br />

1) คลิกที่ปายชื่อของชีทอื่น<br />

2) จะไดชีทใหมวางๆ ซึ่งสามารถทํางานอื่นๆ ไดโดยจะไมกระทบกระเทือนกับผลงานในชีทเกา<br />

3) หากตองการกลับไปยังชีทเดิม ใหคลิกที่ปายชื่อของชีทนั้น จะกลับมายังชีทเกาทันที<br />

3.5 การสลับตําแหนงชีท ตําแหนงของชีทสามารถเปลี่ยนแปลงลําดับการเรียงได ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลิกปายชื่อของชีทที่ตองการสลับตําแหนง<br />

2) คลิกเมาสคางไวแลวลากชีทไปยังตําแหนงใหม<br />

3) ชีทจะถูกยายไปตําแหนงใหมทันที<br />

3.6 การลบชีทที่ไมตองการ ชีทที่ไมตองการสามารถลบออกได ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลิกปายชื่อของชีทที่ตองการลบ<br />

2) คลิกขวา เลือกลบ (Delete)<br />

3) ชีทที่เลือกไวจะถูกลบไปทันทีอยาถาวร (การลบชีทจึงควรระมัดระวัง)<br />

6 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3.7 การตรึงแนวบางสวนของชีท (Freeze Panes) การตรึงแนวจะชวยในการดูขอมูลที่มีอยูหลาย<br />

คอลัมนหรือหลายแถวซึ่งไมสามารถดูไดทั้งหมดในหนาจอเดียวกัน โดยสามารถใชการตึงแนวของคอลัมนหรือแถว<br />

ที่ตองการเอาไวใหอยูคงที่โดยสามารถเลื่อนดูขอมูลสวนของคอลัมนหรือแถวอื่นๆ ได ทั้งนี้สามารถตรึงแนวดานบน<br />

แนวดานซาย หรือทั้งสองแนวบนแผนงานที่ใชงานอยู การตรึงแนวนี้จะไมมีผลตอการพิมพ เปนการจัดการนําเสนอ<br />

ขอมูลที ่หนาจอเทานั้น วิธีการตรึงแนวตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลิกหัวแถวหรือคอลัมนที่ตองการตรึงแนว โดยคลิกหลังจากแถวหรือคอลัมนที่ตองการตรึง 1 แถวหรือ<br />

1 คอลัมน ตัวอยางเชน<br />

- หากตองการตรึงแนวในแถวที่ 1 เพื่อใหหัวขอคงอยูตลอดเมื่อใชงาน ใหคลิกที่แถวที่สอง<br />

- หากตองการตรึงแนวในคอลัมนที่ 1 เพื่อใหลําดับที่คงอยูตลอด ใหคลิกที่คอลัมนที่สอง<br />

- หากตองการตรึงแถวที่ 1 และคอลัมนที่ 1 เพื่อใหทั้งหัวขอและลําดับที่คงอยู ใหคลิกที่เซลล B2<br />

2) เลือกเมนูหนาตาง (Window) -> เลือกตรึงแนว (Freeze Panes) ในที่นี้ตองการใหหัวขอที่อยูแถวที่ 1<br />

คงที่ จึงจําเปนตองตรึงแนวแถวที่ 1 ดังแสดงในภาพที่ 7<br />

3) หากตองการยกเลิกการตรึงแนว ใหเลือกเมนูหนาตาง (Window) -> ยกเลิกตรึงแนว (Unfreeze<br />

Panes)<br />

2<br />

1<br />

ภาพที่ 7 แสดงการตรึงแนว: Freeze Panes<br />

3.8 การเรียงลําดับขอมูล (Sort) การเรียงลําดับขอมูลสามารถเรียงลําดับในตัวแปรเดียว หรือหลายๆ ตัว<br />

แปร (คอลัมนเดียวหรือหลายๆ คอลัมน)<br />

โดยการเรียงลําดับขอมูลมีอยู 2 สวนคือ เรียงลําดับจากนอยไปหามาก เรียงลําดับจากมากไปหา<br />

นอย ดังแสดงในภาพที่ 8<br />

ภาพที่ 8 แสดงคําสั่งเรียงลําดับ (Sort) โดยใชคําสั่งที่เมนูบาร<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 7


วิธีการเรียงลําดับ ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) คลุมทึบพื้นที่ทั้งหมดที่ตองการเรียงลําดับ<br />

2) เลือกคําสั่งเรียงลําดับ<br />

2.1) เลือกคําสั่ง เรียงลําดับจากนอยไปหามาก และ เรียงลําดับจากมากไปหานอย ที่เมนู<br />

บาร ซึ่งในกรณีนี้จะเปนการจัดเรียงลําดับตามตัวอักษร หรือตัวเลขใหโดยอัตโนมัติ<br />

2.2) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกเรียงลําดับ (Sort) จะปรากฏหนาตางการเรียงลําดับ (Sort)<br />

ประกอบดวยสวนที่สําคัญ ดังนี้<br />

- ตัวเลือกการเรียงลําดับมาให 3 คอลัมนหรือ 3 ตัวแปร ซึ่งสามารถกําหนดไดวาจะเริ่มเรียงลําดับ<br />

จากตัวแปรใดเปนตัวแปรแรก และตามดวยตัวแปรใดอีก 2 ตัวแปร เชน เรียงลําดับตาม (Sort by)<br />

“จังหวัด” แลวตามดวย (Then by) “อําเภอ” แลวตามดวย (Then by) “ตําบล”<br />

- กําหนดการเรียงลําดับจากนอยไปหามาก(Ascending) หรือจากมากไปหานอย (Descending)<br />

ในแตละตัวแปร<br />

- กําหนดไดวาใหมีแถวนําหรือหัวแถวดานบน (Header row / No header row) หรือไม<br />

3) จากนั้นเลือก ตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 9<br />

2<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 9 แสดงคําสั่งเรียงลําดับ: Sort<br />

3.9 การเพิ่ม-ลดจุดทศนิยมขอมูลที่เปนตัวเลข<br />

1) เลือกคอลัมนที่ตองการทําการเพิ่มหรือลดจุดทศนิยมโดยการคลิกที่หัวคอลัมน<br />

2) คลิกขวาที่หัวคอลัมนที่เลือกไว เลือกจัดรูปแบบเซลล (Format Cells) ดังแสดงในภาพที่ 10<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 10 แสดงการเลือกคําสั่งการจัดรูปแบบเซลล: Format Cells<br />

8 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) เมื่อเลือกจัดรูปแบบเซลลแลว โปรแกรม <strong>Excel</strong> จะปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบเซลล<br />

ใหเลือกที่ แท็บตัวเลข (Number) จากนั้นเลือกประเภท (Category) เปนตัวเลข ดานขวามือจะมีคําวา<br />

ตําแหนงทศนิยม (Decimal places) ใหทําการกําหนดคาทศนิยมไดเลย จากนั้นเลือกตกลง (OK) ดังแสดง<br />

ในภาพที่ 11<br />

3.1<br />

ภาพที่ 11 แสดงการจัดรูปแบบเซลล<br />

3.2<br />

3.3<br />

3.4<br />

ภาพที่ 11 แสดงหนาตางการจัดรูปแบบเซลล: การกําหนดจุดทศนิยมใหกับขอมูลตัวเลข<br />

3.10 การเติมสีพื้นในสวนของขอความที่ตองการ<br />

1) เลือกพื้นที่ทั้งหมดที่ตองการเติมสี ในที่นี้คือ ตําบล อําเภอ จังหวัด (ครอบคลุมพื้นที่ A1:C1)<br />

2) เลือกคําสั่งเติมสี (Fill Colour) ที่เมนูบาร เลือกสีพื้นตามตองการ ในที่นี้เลือกสีเทา ดังแสดง<br />

ในภาพที่ 12<br />

หรือคลิกขวาที่พื้นที่ที่ทําแถบสี A1:C1 จะปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบเซลลและเลือกที่แท็บลวด<br />

ลาย (Patterns) เลือกสีพื้นและรูปแบบลวดลายของพื้นตามตองการ<br />

3) แสดงผลจากการเติมสีพื้นที่หัวเรื่อง ดังแสดงในภาพที่ 13<br />

1 2<br />

ภาพที่ 12 แสดงการเติมสี: Fill Color<br />

3<br />

ภาพที่ 13 แสดงผลจากการเติมสีที่หัวเรื่อง<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 9


3.11 การคัดวางรูปแบบในสวนของขอความที่ตองการ<br />

1) เลือกพื้นที่ทั้งหมดที่ตองการคัดวางรูปแบบ ในที่นี้คือ ตําบล อําเภอ จังหวัด (ครอบคลุม A1:C1)<br />

2) เลือกคําสั่งตัวคัดวางรูปแบบ (Format Painter) ที่เมนูบาร ดังแสดงในภาพที่ 14<br />

3) เลือกพื้นที่ที่ตองการใหมีรูปแบบเหมือนตนแบบ (A1:C1) ในที่นี้คือ พื้นที่ A7:C13 ดังภาพที่ 15<br />

4) พื้นที่ที่ถูกเลือก A7: C13 จะมีรูปแบบเหมือนกับรูปแบบที่ทําการคัดวางมา ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

2<br />

1<br />

ภาพที่ 14 แสดงการเลือกคําสั่งตัวคัดวางรูปแบบ: Format Painter<br />

3 4<br />

ภาพที่ 15 แสดงพื้นที่ที่ตองการคัดวางรูปแบบ ภาพที่ 16 แสดงผลจากการคัดวางรูปแบบ<br />

3.12 การตั้งคาหนากระดาษในการบันทึกขอมูล<br />

กําหนดคากระดาษใหเปนกระดาษ A4 เพื่อความสะดวกและเปนระเบียบในการ Print งานออกมา<br />

ตรวจสอบ หรือจัดทํารายงาน<br />

1) เลือกที่เมนู แฟม (File) -> เลือกตั้งคาหนากระดาษ (Page Setup) ดังแสดงในภาพที่ 17<br />

2) จะปรากฏหนาตาง การตั้งคาหนากระดาษ (Page Setup) ซึ่งจะมีทั้งหมด 4 แท็บ: หนา (Page)<br />

ระยะขอบ (Margins) หัวกระดาษ/ทายกระดาษ (Header/Footer) และแผนงาน (Sheet)<br />

1<br />

ภาพที่ 17 แสดงการเลือกตั้งคาหนากระดาษ: Page Setup<br />

10 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


2.1) แท็บที่ 1 หนา (Page) ดังแสดงในภาพที่ 18<br />

ภาพที่ 18 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แท็บหนา (Page)<br />

- การวางแนว (Orientation) แนวตั้ง (Portrait) - แนวนอน (Landscape)<br />

- มาตราสวน (Scaling) ปรับเปน: 100% จากขนาดปกติ (Adjust to: 100% normal size ) แตถา<br />

ตองการปรับมาตราสวนใหญเล็กลงจากเดิมอาจจะปรับเปน 80% หรือ 90% ขึ้นกับขอมูลที่ตองการ Print<br />

- ขนาดกระดาษ คาปกติ เปนกระดาษขนาด A4 210 x 297 mm ...แต ผูใชสามารถปรับเปลี่ยน<br />

ขนาดกระดาษ อื่นๆ ได เลือกในชอง ขนาดกระดาษ จะปรากฏหนาตางรายการเลือก ขนาดกระดาษอื่นๆ<br />

ดังแสดงในภาพที่ 19<br />

ภาพที่ 19 แสดงกระดาษขนาดตาง ๆ<br />

2.2) แท็บที่ 2 ระยะขอบ (Margins)<br />

การกําหนดระยะขอบ ทั้ง 4 ดานคือ ดานบน (Top) ดานลาง (Bottom) ดานซาย (Left) และดานขวา<br />

(Right) ดังแสดงในภาพที่ 20<br />

ภาพที่ 20 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แท็บระยะขอบ (Margins)<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 11


2.3) แท็บที่ 3 หัวกระดาษ / ทายกระดาษ (Header / Footer)<br />

ผูใชงานสามารถเลือก หัวกระดาษกําหนดเอง (Custom Header) หรือทายกระดาษกําหนดเอง<br />

(Custom Footer) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง หัวกระดาษ (Header) หรือทายกระดาษ (Footer) ซึ่ง<br />

ผูใชสามารถเลือก ไอคอนตางๆ โดยความหมายของไอคอน<br />

คือ ขอความ หมายเลขหนา จํานวนหนาทั้งหมด วันที่ เวลา ชื่อโฟลเดอร ชื่อไฟล และรูปภาพ ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 21<br />

ภาพที่ 21 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แท็บหัวกระดาษ/ทายกระดาษ (Header / Footer)<br />

2.4) แท็บที่ 4 แผนงาน (Sheet)<br />

การจัดการในแผนงานกอนที่จะพิมพ ประกอบดวย 4 สวน ดังนี้<br />

- พื้นที่การพิมพ (Print area) คือการกําหนดพื้นที่ที่จะ Print โดยการเลือกที่ลูกศรชี้ขึ้นสีแดง<br />

จะขึ้นพื้นที่การพิมพ ใหเลือกพื้นที่ที่จะพิมพ และเลือก<br />

ลูกศรชี้ลงสีแดง<br />

- ชื่อเรื่องที่พิมพ (Print titles) คือการเลือกพื้นที่ แถวที่จะพิมพซ้ําดานบน (Rows to repeat at top)<br />

หรือเลือกพื้นที่ คอลัมนที่จะพิมพซ้ําดานซาย (Columns to repeat at left)<br />

- พิมพ (Print) คือการเลือกสวนที่จะพิมพ เชน เสนตาราง (Gridlines) หัวแถวและหัวคอลัมน (Row<br />

and Column heading) ขาวดํา (Black and white) ขอคิดเห็น (Comments) คุณภาพแบบราง<br />

(Draft quality) เปนตน<br />

- ลําดับของหนา (Page order) คือการเลือกลําดับหนาที่จะพิมพจาก 1) เลื่อนลงแลวซายไปขวา<br />

(Down, then over) 2) ซายไปขวาแลวลง (Over, then down)<br />

ดังแสดงในภาพที่ 22<br />

12 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 22 แสดงคําสั่งการตั้งคาหนากระดาษ: แผนงาน (Sheet)<br />

สวนที่ 2 การจัดทําฐานขอมูล และการจัดทํารายงาน โดยใชโปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong><br />

1. ความหมายของฐานขอมูล (Database)<br />

การเก็บขอมูลที่ใชในชีวิตประจําวัน เรามักจะบันทึกไวในกระดาษ ซึ่งมีขอดีตรงสะดวก จดไดงาย แตมี<br />

ขอเสียคือ เมื่อขอมูลมีมากขึ้น จะคนหาขอมูลไดยากมาก และยังไมสามารถตอบคําถามไดรวดเร็วนัก เชน ในกรณี<br />

ที่เรามีสมุดรายชื่อแกนนําชุมชน แตมีคําถามวาตองการหาชื่อแกนนําชุมชนที่เปนผูหญิง ที่มีนามสกุลนําหนาดวย ก<br />

เราจะตองเปดไลดูชื่อแกนนําชุมชนทีละชื่อ ทําใหเสียเวลามาก<br />

การนําขอมูลมาจัดเก็บในคอมพิวเตอร ชวยเพิ่มความรวดเร็วในการคนหาเปนอยางมาก การคนหาที่ตอง<br />

ใชเวลานับชั่วโมง จะเหลือเพียงไมถึงนาทีเทานั้น ยิ่งขอมูลมากขึ้นยิ่งเห็นความแตกตางไดอยางชัดเจน<br />

แตการใสขอมูลลงคอมพิวเตอรก็ไมใชวาจะทําไดงายๆ เนื่องจากถาเรานําขอมูลใสไวไมเปนระบบระเบียบ<br />

อาจจะนําไปใชงานยากกวาจดไวในกระดาษเสียอีก ดังนั้นจึงตองมีการออกแบบระบบการจัดเก็บขอมูล ซึ่งก็คือ<br />

ฐานขอมูล (Database) นั่นเอง<br />

ฐานขอมูล (Database) คือ การนําขอมูลจํานวนมากๆ มาเก็บไวดวยกัน โดยมีรูปแบบการจัดขอมูลที่<br />

เปนระบบเพื่อใหสะดวกในการนําไปใชงานในภายหลัง เชน จํานวนพนักงานที่ไดรับการอบรม รายนามแกนนํา<br />

ชุมชน และขอมูลบัญชี เปนตน<br />

โปรแกรม <strong>Excel</strong> สามารถชวยใหสรางฐานขอมูลได โดยมีคุณสมบัติในการจัดเก็บขอมูล และตรวจสอบ<br />

ความถูกตอง ความสอดคลองและความซ้ําซอนของขอมูล และยังสามารถจัดเรียงขอมูล และกรองขอมูลเฉพาะ<br />

สวนที่เราสนใจไดงาย<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 13


2. การบริหารจัดการฐานขอมูล และการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม <strong>Excel</strong><br />

ฐานขอมูลในโปรแกรม <strong>Excel</strong> เรียกกันงายๆ แลวก็คือตาราง (Table) นั่นเอง ตารางมีทั้งแถว<br />

(Row) และคอลัมน (Column) โดยที่แตละแถวของขอมูล เราเรียกวาระเบียน (Record) ซึ่งประกอบดวย<br />

ขอมูลชุดที่ 1, ขอมูลชุดที่ 2, ขอมูลชุดที่ 3, … ซึ่งจะบันทึกในแตละแถว ในขณะที่แตละคอลัมนของขอมูล<br />

จะใสขอมูลประเภทเดียวกัน<br />

ในตอนเริ่มแรกที่สรางฐานขอมูล เราจะบันทึกชื่อตัวแปรหรือชื่อฟลดลงในแถวเดียวกัน สวนใหญ<br />

บันทึกในแถวที่ 1 ของแผนงานนั้น สวนขอมูลชุดที่ 1, ขอมูลชุดที่ 2, ขอมูลชุดที่ 3 …จะถูกบันทึกในแถวที่ 2<br />

และแถวที่ 3, และแถวที่ 4 … ตามลําดับ เมื่อกรอกขอมูลเรียบรอยแลว ก็จะบันทึกลงในแฟมขอมูลเก็บไว<br />

ในแผนงาน เพื่อใหสามารถนํามากรอกเพิ่มในภายหลัง และเมื่อตองการคนหาขอมูลใด ก็สามารถทําได<br />

งาย โดยใชเครื่องมือคนหาขอมูล ซึ่งผูเขียนจะกลาวถึงในหัวขอตอ ๆ ไป<br />

การบริหารจัดการฐานขอมูล และการวิเคราะหขอมูลดวยโปรแกรม <strong>Excel</strong> มีวิธีการตางๆ ดังตอไปนี้<br />

2.1 การแยกขอความที่ติดกันใหเปนคอลัมน (Text to Columns)<br />

การแยกขอความที่ติดกัน เชน ที่อยู ใหเปนคอลัมนของ ตําบล อําเภอ จังหวัด เพื่อจัดทําฐานขอมูล<br />

ตัวอยาง ที่อยู => 175 ม. 5 ถ.เชียงใหม-ฮอด ต.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม 50230<br />

ใหเปน ต.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม<br />

1) คัดลอก (Copy) คอลัมน ที่อยู มาวาง (Paste) ที่คอลัมน A (เซลล A1 หรือหัวคอลัมน A)<br />

2) หลังจากนั้นเลือกคอลัมน A ที่มีขอมูล “ที่อยู” ที่จัดเก็บในรูปของขอความ<br />

ขั้นตอนการแยก ที่อยู ที่เปนขอความติดกัน ใหเปนคอลัมน ตําบล อําเภอ จังหวัด ดังนี้<br />

3) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกขอความเปนคอลัมน (Text to Columns) ดังแสดงในภาพที่ 23<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 23 แสดงการแยกขอความที่ติดกันใหเปนคอลัมน: Text to Columns<br />

4) จะปรากฏหนาตางตัวชวยสรางการเปลี่ยนขอความเปนคอลัมน ขั้นที่ 1 จาก 3 (Covert Text to<br />

Columns Wizard – Step 1 of 3) ดังภาพที่ 24<br />

14 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4<br />

ภาพที่ 24 แสดงตัวชวยสรางการเปลี่ยนขอความเปนคอลัมน: เลือกการใชตัวคั่น (Delimited)<br />

โดยการเลือกชนิดขอมูลดั้งเดิม เลือกชนิดแฟมที่เหมาะสม (Choose the file type) มี 2 ประเภทคือ<br />

- มีการใชตัวคั่น (Delimited) อักขระ เชน เครื่องหมายจุลภาค (Comma: ,) หรืออัฒภาค (Semi-<br />

Colon: ;) หรือแท็บ (Tab) หรือชองวาง (Space) หรือตัวคั่นอื่นๆ เชนระบุเปนทวิภาค (Colon :)<br />

แยกแตละเขตขอมูล<br />

- ความกวางคงที่ (Fixed width) เขตขอมูลถูกจัดใหอยูในรูปแบบคอลัมน โดยมีชองวางเปนตัวแบง<br />

ระหวางเขตขอมูล<br />

ในที่นี้เลือก มีการใชตัวคั่น (Delimited)<br />

5) หลังจากเลือกมีการใชตัวคั่น (Delimited) -> เลือกตัวคั่น ชองวาง (Space) และแท็บ (Tab) เพื่อแยก<br />

ขอความตางๆ โดยใชชองวางและแท็บเปนตัวแบง ซึ่งจะเห็นตัวอยางจากชองแสดงตัวอยางขอมูล จากนั้นเลือก<br />

ถัดไป (Next) และเลือกเสร็จสิ้น (Finish) ดังแสดงในภาพที่ 25<br />

5<br />

6<br />

ภาพที่ 25 แสดงการเลือกตัวคั่น: Delimited<br />

6) หลังจากนั้น ที่อยู ที่เปนขอความ จะถูกแยกเปนบานเลขที่ หมูที่ ถนน ตําบล อําเภอ จังหวัด และ<br />

รหัสไปรษณีย แตปญหาคือ ตําบล อําเภอ จังหวัด จะไมไดเรียงเปนคอลัมนที่สวยงาม เนื่องจากการพิมพที่อยู<br />

อาจจะมีรูปแบบที่หลากหลาย เชน ไมมีหมูที่ ไมมีชื่อถนน หรือการเวนวรรคที่แตกตางกัน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 15


หมายเหตุ การทําฐานขอมูล การเวนวรรค ควรเวนแค 1 วรรค และคํายอ เชน ตําบล -> ต. อําเภอ -> อ.<br />

และจังหวัด -> จ. จะอยูติดกับชื่อของตําบล อําเภอ และจังหวัด<br />

7) คัดลอก (Copy) ตําบล อําเภอ จังหวัด ใหอยูที่คอลัมนที่เรียงกันเพื่อการจัดทําฐานขอมูล<br />

จากนั้นพิมพชื่อตัวแปร ตําบล อําเภอ จังหวัดที่แถว (Row) ที่1 ดังแสดงในภาพที่ 26<br />

7<br />

ภาพที่ 26 แสดงการจัดเรียงขอมูลใหม<br />

2.2 การรวมขอความจากหลายๆ คอลัมน ใหเปนขอความเดียวกัน โดยใชฟงกชั่น CONCATENATE<br />

การรวมขอความจากหลายๆ คอลัมน เชน คอลัมนของ ตําบล อําเภอ จังหวัด ใหเปนขอความ<br />

เดียวกันในคอลัมน “ที่อยู” เพื่อจัดทําฐานขอมูล มีขั้นตอนดังนี้<br />

1) เลือกตําแหนงหรือเซลลที่ตองการใหผลจากการรวมหลายๆ ขอความไปแสดง<br />

2) เลือกคําสั่ง การรวมขอความจากหลายๆ คอลัมน ใหเปนขอความเดียวกัน<br />

โดยเลือกเมนูแทรก (Insert) -> เลือกฟงกชั่น (Function) ดังแสดงในภาพที่ 27<br />

2<br />

ภาพที่ 27 แสดงการเลือกเมนูฟงกชั่นเพื่อการรวมขอความ<br />

3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง แทรกฟงกชั่น (Insert Function) เพื่อเลือกฟงกชั่นในการรวม<br />

ขอความใหเลือกประเภทเปน “ขอความ” (Text) แลวเลือกฟงกชั่นเปน “CONCATENATE” (รวมหลายๆ<br />

สายอัขระขอความใหเปนหนึ่งสายอัขระขอความ) และเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 28<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 28 แสดงการเลือกฟงกชั่นที่รวมหลายๆ ขอความใหเปนหนึ่งขอความ: CONCATENATE<br />

16 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4) จะปรากฏหนาของอารกิวเมนตของฟงกชั่น (Function Arguments): CONCATENATE ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 29<br />

4<br />

ภาพที่ 29 แสดงหนาตางอารกิวเมนตของฟงกชั่น CONCATENATE<br />

5) ใหเลือกที่สัญลักษณ (ในภาพที่ 29) แลวจะปรากฏหนาตางดังแสดในภาพที่ 30 ใหเลือกเซลล A2<br />

จากนั้นเลือกที่สัญลักษณ<br />

ภาพที่ 30 แสดงการเลือกอารกิวเมนตของฟงกชั่น CONCATENATE<br />

6) แสดงการใชฟงกชั่น CONCATENATE เพื่อรวมหลายๆ ขอความใหเปนขอความเดียวกัน ในที่นี้คือรวม<br />

เซลล A2 ซึ่งเก็บคําวา “ต.หางดง” ไวที่ Text 1, เซลล B2 ซึ่งเก็บคําวา “อ.หางดง” ไวที่ Text 3 และเซลล C2 ซึ่งเก็บ<br />

คําวา “จ.เชียงใหม” ไวที่ Text 5 เขาไวเปน ต.หางดง อ.หางดง จ.เชียงใหม โดยมีการเวนวรรคระหวางเซลล โดย<br />

การเติม “ “ ไวที่ตําแหนง Text 2 และ Text 4 ตามลําดับ และเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 31<br />

5<br />

6<br />

ภาพที่ 31 แสดงการใชฟงกชั่น CONCATENATE เพื่อรวมหลายๆ ขอความใหเปนขอความเดียวกัน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 17


7) เมื่อรวมขอความโดยใชฟงกชั่น CONCATENATE ดังแสดงในเซลล E2 แลว ถาตองการให<br />

เซลลอื่นๆ รวมกันเปนขอความเดียวกันทุกแถว ทําไดโดยการคัดลอก (Copy) สูตรดังกลาวใหกับแถวอื่นๆ<br />

หรือลาก (Drag) สูตรที่รวมขอความแลวใหกับแถวอื่นๆ ดังแสดงในภาพที่ 32<br />

7<br />

ภาพที่ 32 แสดงการคัดลอกสูตร การรวมขอความโดยฟงกชั่น CONCATENATE ใหกับแถวอื่นๆ<br />

2.3 การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดยใชตัวกรอง (Filter)<br />

การตรวจสอบความถูกตองของขอมูลโดยใชตัวกรองนั้น ทําใหการตรวจสอบความถูกตอง ความ<br />

สอดคลอง และความซ้ําซอนของขอมูลทําไดงาย โดยไมจําเปนตองตรวจสอบทีละเร็คคอรด เนื่องจากตัว<br />

กรองจะจัดกลุมขอมูลที่เหมือนกัน ไมวาจะเปนขอมูลตัวเลขหรือขอมูลขอความเขาไวดวยกัน ทําให<br />

สามารถแยกแยะขอมูลที่ผิดและขอมูลที่ถูกตองได และสามารถกรองขอมูลเพียงคอลัมนเดียวหรือกรอง<br />

ขอมูลหลายๆ คอลัมนก็ได ขึ้นกับความตองการของผูใช โดยมีขั้นตอนดังนี้<br />

1) เลือกตัวแปรหรือคอลัมน ที่ตองการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล หรืออาจจะตรวจสอบ<br />

ความถูกตองทุกคอลัมนก็ได โดยการเลือกที่คอลัมน A หรือ B หรือ C …. ในที่นี้เลือกตรวจสอบคอลัมน<br />

“อําเภอ”<br />

2) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกตัวกรอง (Filter) -> เลือกตัวกรองอัตโนมัติ (Auto Filter) ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 33<br />

ภาพที่ 33 แสดงการเลือกตัวกรองขอมูลแบบอัตโนมัติ: Auto Filter<br />

18 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) หลังจากเลือกตัวกรองอัตโนมัติแลว จากนั้นจะเห็นลูกศร หรือ List ของขอมูลที่ตัวแปร “อําเภอ” ซึ่งใน<br />

ตัวแปรอําเภอนั้น จะมี List ดังนี้คือ อ.เมือง อ.สันทราย อ.สารภี และอ.หางดง ซึ่งผูใชสามารถเลือกอําเภอใดก็ได<br />

เชน ถาเลือก อ.เมือง จะแสดงเปนลูกศรชี้ลงสีน้ําเงิน และบรรทัดที ่มีการกรองขอมูลจะมีเลขที่ระบุแถวเปนสีน้ําเงิน<br />

ดังแสดงในภาพที่ 34<br />

หรือถาตองการเลือก อ.เมือง เพื่อตรวจสอบความถูกตองของตําบลใน อ.เมืองนั้น อาจจะเลือกกรองขอมูล<br />

ที่ตัวแปร “อําเภอ” และ ”ตําบล” เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบขอมูล ดังแสดงในภาพที่ 35<br />

ภาพที่ 34 แสดงผลของการเลือกตัวกรองอัตโนมัติที่สราง: ตัวแปร “อําเภอ”<br />

ภาพที่ 35 แสดงผลของการเลือกตัวกรองอัตโนมัติ ตัวแปร “อําเภอ”และ “ตําบล”<br />

4) ถาไมตองการกรองขอมูล หรือยกเลิกการกรองขอมูล ใหเลือกทั้งหมด (All) ที่ Listing ลูกศรสีน้ําเงินจะ<br />

หายไปและแถวที่กรองที่ระบุเปนตัวเลขสีน้ําเงินจะหายเปน จะกลายเปนสีดําแทน<br />

อยาลืม!!! ถาตองการกรองตัวแปรใหมที่ไมเกี่ยวของกับตัวแปรเดิม ตองยกเลิกการกรองขอมูลเดิมกอน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 19


2.4 การวิเคราะหขอมูลอยางงายหรือการสรางรายงานสรุปอยางรวดเร็วดวย Pivot Table<br />

เมื่อถึงเวลาที่ตองจัดทํารายงาน เราสามารถนําขอมูลที่จัดเตรียมไวมาจัดทํารายงานไดอยาง<br />

รวดเร็ว โดยใชระบบจัดทํารายงานอัตโนมัติ หรือที่เรียกวา Pivot Table ของโปรแกรม <strong>Excel</strong> ซึ่งนอกจาก<br />

จะจัดทํารายงานสรุปขอมูลไดอยางรวดเร็วแลว ยังสามารถแกไขรายงานไดงายและรวดเร็วอีกดวย เสมือน<br />

การหาขอมูลโดยใชตารางความถี่ (Frequency) หรือตารางไขว (Crosstab)<br />

การสรางรายงาน Pivot Table<br />

กอนจะสรางรายงานดวย Pivot Table จะตองเลือกขอมูลที่จะนํามาใชสรางรายงานกอน จาก<br />

ฐานขอมูลใน <strong>Excel</strong> ที่ไดสรางไวแลว จากนั้นจึงสรางรายงาน Pivot Table ซึ่งจะนําขอมูลมาคํานวณและ<br />

สรุปผลใหโดยอัตโนมัติ ตามขั้นตอนดังนี้<br />

1) ทําแถบสีครอบคลุมพื้นที่ทั้งหมด หรือเลือกขอมูลทั้งหมด ทุกแถว (Row) รวมถึงตัวแปรในแถวที่<br />

1 และทุกคอลัมน (Column) ที่ตองการสรางรายงานดวย Pivot Table หรือตองการวิเคราะหขอมูล<br />

2) เลือกเมนูขอมูล (Data) -> เลือกรายงาน Pivot Table และ Pivot Chart (Pivot Table and<br />

Pivot Chart Report) ดังแสดงในภาพที่ 36<br />

ภาพที่ 36 แสดงการเลือกรายงาน Pivot Table และ Pivot Chart<br />

3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง ตัวชวยสราง Pivot Table และ Pivot Chart - ขั้นที่ 1 จาก 3<br />

(Pivot Table and Pivot Chart Wizard - Step 1 of 3) และพบคําถามวา 1) คุณตองการวิเคราะหขอมูล<br />

จากที่ใด (Where is the data that you want to analyze?) ในที่นี้ใหเลือก รายงานหรือฐานขอมูล<br />

Microsoft Office <strong>Excel</strong> และคําถาม 2) คุณตองการสรางรายงานอะไร (What kind of report do you<br />

want to create?) ใหเลือก Pivot Table จากนั้นเลือกถัดไป (Next) ดังแสดงในภาพที่ 37<br />

ภาพที่ 37 แสดงหนาตางตัวชวยสราง Pivot Table และ Pivot Chart<br />

20 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


4) จะปรากฏหนาตางตัวชวยสราง Pivot Table ขั้นที่ 2 จะพบคําถามวา ขอมูลที่คุณตองการใชอยูที่ไหน<br />

(Where is the data that you want to use?) เนื่องจากเราไดเลือกขอมูลทั้งหมดที่ตองการสราง Pivot Table ไว ใน<br />

ที่นี้จึงแสดงพื้นที่ครอบคลุม (Range) $A$1: $M$154 และเลือกถัดไป (Next) ซึ่งถามีการเพิ่มขอมูลขึ้น หรือเพิ่มตัว<br />

แปรขึ้นสามารถพิมพแกไขเพื่อกําหนดขอบเขตพื้นที่ใหมไดตามตองการ<br />

5) ตัวชวยสราง Pivot Table ขั้นที่ 3 จะพบคําถามวา คุณตองการให Pivot Table Report อยูที่ไหน (What<br />

do you want to put the Pivot Table report?) ใหเลือกแผนงานใหม (New workshet) จากนั้นเลือกเสร็จสิ้น (Finish)<br />

จะไดหนาจอรายงาน Pivot Table เพื่อวิเคราะหขอมูลอยางงาย ซึ่งประกอบดวย 3 สวนคือ<br />

1. ตารางเพื่อสราง Pivot Table แบองออกเปน 3 บริเวณ คือ 1) บริเวณปลอยเขตขอมูลแถวที่นี่ (Drop<br />

Row Fields Here) เปนการจําแนกขอมูลตามแถว 2) บริเวณปลอยเขตขอมูลคอลัมนที่นี่ (Drop<br />

Column Fields Here) เปนการจําแนกขอมูลตามคอลัมน 3) บริเวณปลอยรายการขอมูลที่นี่ (Drop<br />

Data Items Here ) (เนื้อที่วางตรงกลาง) การระบุขอมูลหรือตัวแปรที่ตองการวิเคราะหขอมูล<br />

2. รายการเขตขอมูลของ Pivot Table (Pivot Table Field List) จะแสดงตัวแปรตางๆ เพื่อใหเลือกทํา<br />

รายงาน Pivot Table<br />

3. เมนูบารของ Pivot Table ดังแสดงในรูปภาพที่38<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 38 แสดงหนาจอสําหรับการรายงานขอมูลโดยใช Pivot Table<br />

6) ในขั้นตอนนี้ จะตองเลือกวาจะใหขอมูลใดจําแนกตามแถว และขอมูลใดจําแนกตามคอลัมนของตาราง<br />

และขอมูลใดใชเปนตัวประมวลผลเมื่อขอมูลในแถวและคอลัมนเปลี ่ยนไป เชน ผลรวม (Sum) จํานวนนับ (Count)<br />

คาเฉลี่ย (Average) สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (StdDev) คาสูงสุด (Max) คาต่ําสุด (Min) เปนตน โดยการลาก ตัว<br />

แปรจากรายการเขตขอมูล ไปใสในรายงาน Pivot Table ในตําแหนงที่ตองการ ดังแสดงตัวอยางตอไปนี้<br />

จากฐานขอมูลพนักงานในสถานประกอบกิจการที่สรางขึ้นแลวนั้น สามารถประมวลผลเพื่อคํานวณหา<br />

จํานวนของพนักงานแกนนํา จําแนกตาม เพศ และที่อยูของสถานประกอบกิจการ => อําเภอ ตําบล<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 21


- ขั้นตอนแรก ทําการจําแนกขอมูลตามแถว ในที่นี้เลือกตัวแปร “เพศ” จากรายการเขตขอมูลของ<br />

Pivot Table โดยคลิกเมาสคางลาก (drag) เพื่อนําขอมูลไปวางยัง “ปลอยเขตขอมูลแถวที่นี่” (ดานซายสุด)<br />

หากตองการสรางหลายๆ แถว ใหลากขอมูลไปปลอยตําแหนงเดิมเพิ่ม คือตัวแปร “อําเภอ” และ “ตําบล”<br />

โดยปลอยที่แถบสีเทาใกลๆ ตัวแปรเพศ และตัวแปรอําเภอ ที่ปลอยแลวตามลําดับ<br />

- ขั้นตอนถัดไป การจําแนกขอมูลตามคอลัมน โดยนําตัวแปรจากรายการเขตขอมูลของ Pivot<br />

Table โดยคลิกเมาสคางลาก (drag) เพื่อนําขอมูลไปวางยัง “ปลอยเขตขอมูลคอลัมนที่นี่” (ดานบนสุด) ใน<br />

ที่นี้ไมตองแสดง<br />

- ขั้นตอนสุดทาย การประมวลผลขอมูลซึ่งแสดงในรายงาน Pivot Table โดยนําตัวแปรในที่นี้คือ<br />

“พนักงานแกนนํา” จากรายการเขตขอมูลของ Pivot Table โดยคลิกเมาสคางลาก (drag) เพื่อนําขอมูลไปวาง<br />

ยัง “ปลอยรายการขอมูลที่นี่” (ชองวางใหญตรงกลาง) จะไดรายงานสรุปผลขอมูล Pivot Table ทันที ดังแสดง<br />

ในภาพที่ 39<br />

- ในกรณีที่ลากขอมูลตัวแปรผิด หรือตองการสลับตําแหนงของตัวแปร หรือสลับการจําแนกขอมูล<br />

ตามแถวเปนการจําแนกขอมูลตามคอลัมนใหลากตัวแปรนั้นๆ กลับไปวางคืนที่รายการเขตขอมูลของ Pivot<br />

Table แลวจึงคอยลากรายการของขอมูลมาวางใหม<br />

- ในกรณีที่รายการเขตขอมูลของ Pivot Table ถูกซอน ใหเลือกยกเลิกการซอนรายการเขตขอมูล<br />

(Unhide Field List) หรือเลือกซอนรายการเขตขอมูล (Hide Field List) ไดตามความ<br />

ตองการ<br />

ภาพที่ 39 แสดงรายงานสรุปผลของขอมูลโดยใช Pivot Table<br />

การแกไขรายงาน Pivot Table<br />

การแกไขรายงาน Pivot Table ในกรณีที่ฐานขอมูลที่จัดทํามีการปรับปรุงขอมูล เพิ่มขอมูล หรือลบ<br />

ขอมูล เชน การเพิ่มจํานวนพนักงานแกนนําในสถานประกอบกิจการในฐานขอมูลเดิมและตองจัดทํา<br />

รายงาน Pivot Table ในไตรมาสถัดไป ผูใชสามารถแกไขตัวรายงาน Pivot Table เดิมได ตามขั้นตอนดังนี้<br />

22 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1) คลิกขวาที่หัวสีเทาของรายงาน Pivot Table จะปรากฏเมนู Drop down List ของรายงาน Pivot Table<br />

จากนั้นเลือกตัวชวยสราง Pivot Table (Pivot Table Wizard) ดังแสดงในภาพที่ 40<br />

2) จะปรากฏตัวชวยสราง Pivot Table ขั้นที่ 3 (Pivot Table and Pivot Chart Wizard – Step 3 of 3) ให<br />

เลือกยอนกลับ (Back) จะปรากฏตัวชวงสราง Pivot Table ขั้นที่ 2 ซึ่งจะแสดงพื้นที่ครอบคลุม (Range) จากเดิม<br />

$A$1: $M$154 แตถาเพิ่มขอมูลอีก 30 ชุดขอมูล (30 แถว) พื้นที่ครอบคลุมจะเปลี่ยนใหมเปน $A$1: $M$184 ซึ่ง<br />

สามารถพิมพแกไขไดเลย และเลือกถัดไป (Next) จะปรากฏหนาตางเดิม และเลือกเสร็จสิ้น (Finish)<br />

3) หลังจากแกไขพื้นที่ครอบคลุม (Range) ในการสรางรายงาน Pivot Table เสร็จแลว จะกลับมาที่หนาจอ<br />

รายงาน Pivot Table ที่สรางไวแลวเหมือนเดิม ขอควรระวัง หลังจากแกไขปรับปรุงขอมูลหรือตัวแปรแลว ตองทํา<br />

การฟนฟูขอมูล (Refresh Data) ที่เมนูบารหรือเมนู Drop Down List เพื่อปรับปรุงขอมูลใน<br />

รายงาน Pivot Table<br />

1<br />

ภาพที่ 40 แสดงเมนู Drop Down list ของรายงาน Pivot Table<br />

2.5 การทําเมนู Listing สําหรับการบันทึกขอมูลในการจัดทําฐานขอมูล<br />

การทําเมนู Listing เพื่อใหเลือกรายการขอมูล (List) ที่ไดจัดทําขึ้น ทําใหสะดวกงายและปองกันความ<br />

ผิดพลาด สําหรับการบันทึกขอมูลในการจัดทําฐานขอมูล เชน การทํารายการ (List) กิจกรรมหลักของมูลนิธิพะเยา<br />

เพื่อการพัฒนา ตามขั้นตอนดังนี้<br />

เริ่มจากจัดทํารายการ (List) กิจกรรมหลักของมูลนิธิพะเยาเพื ่อการพัฒนา ในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> ในแผน<br />

งาน (Sheet) ชื่อ “Activity” ตัวอยางเชน<br />

1.1 การรณรงคประชาสัมพันธ<br />

1.2 การใหความรูกับเยาวชน<br />

1.3 การใหความรูกับผูใหญ<br />

2.1.1 การพัฒนาศักยภาพ CTW: เอดส เพศศึกษา และการสื่อสาร<br />

2.1.2 การพัฒนาศักยภาพ CTW: สุขภาพทางเพศและอนามัยเจริญพันธุ<br />

2.2 การรณรงคระดับตําบล<br />

2.3.1 การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเอดสตําบล: ประชุม<br />

2.3.2 การพัฒนาศักยภาพคณะกรรมการเอดสตําบล: ศึกษา ดูงาน<br />

3.1 เวทีความรวมมือระดับอําเภอ<br />

4.1 การประชุมคณะกรรมการปองกันเอดสฯ จังหวัด<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 23


4.2 การนิเทศ ติดตาม<br />

5.1 สรุปบทเรียนศูนยบริการที่เปนมิตรระดับภาครวมกัน<br />

5.2 สรุปบทเรียนการทํางานขององคกรชุมชนระดับภาค<br />

1) เลือกขอบเขตพื้นที่ที่จัดทํารายการกิจกรรมทั้งหมด หรือทําแถบสีในกิจกรรมที่ List ไว<br />

2) กด Ctrl คางไว แลวกด F3 (Ctrl + F3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง กําหนดชื่อ (Define<br />

Name)<br />

- ดานบนสุด ใสชื่อในสมุดงาน (Name in workbook) วา “กิจกรรมที่เขารวม”<br />

- ดานลางสุด อางอิงไปยัง (Refers to) จะกําหนดขอบเขตของรายการขอมูลที่ตองการแสดง ใน<br />

เมนู Listing เนื่องจากมีการกําหนดขอบเขตพื้นที่ไวแลวขางตน คือ =Activity!$A$2:$A$21<br />

(อางอิง ชื่อsheet และพื้นที่ครอบคลุม) และเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 41<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 41 แสดงการสรางเมนู Listing เลือก Ctrl+F3<br />

3) หลังจากนั้น เปด Sheet ใหม ชื่อ “Form” ใสตัวแปรเพื่อบันทึกขอมูลกลุมเปาหมายที่เขารวม<br />

กิจกรรมของโครงการฯ ประกอบดวย No. ชื่อ-สกุล เพศ อายุ ที่อยู (หมูที่ ตําบล อําเภอ จังหวัด) กิจกรรมที่<br />

เขารวม เรื่องที่จัดกิจกรรม วัน-เดือน-ปที่เขารวมกิจกรรม ดังแสดงในภาพที่ 42<br />

ภาพที่ 42 แสดงการสรางตัวแปรเพื่อจัดทําฐานขอมูล<br />

3<br />

24 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


สําหรับ กิจกรรมที่เขารวม เนื่องจากมีคอนขางมาก อาจจะบันทึกขอมูลผิดพลาดได จึงจําเปนตองมี เมนู<br />

Listing เพื่อความสะดวกและปองกันความผิดพลาด<br />

4) วิธีการทําเมนู listing ใหเลือกเซลลที่ตองการทํา เชน เซลล I2 และเลือกเมนูขอมูล (Data) เลือกการ<br />

ตรวจสอบความถูกตอง (Validation) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง การตรวจสอบความถูกตองของขอมูล (Data<br />

Validation) เลือกแท็บ การตั้งคา (Settings) ตรงเกณฑตรวจสอบความถูกตอง (Validation criteria) สวนของ<br />

อนุญาต (Allow) ใหเลือก รายการ (List) สวนแหลงขอมูล (Source) พิมพ = กิจกรรมที่เขารวม (อยาลืม เทากับ<br />

และพิมพชื่อที่ตั้งไวในหนาตางการกําหนดชื่อ ใหถูกตอง) จากนั้นเลือกตกลง (OK) ดังแสดงในภาพที่ 43<br />

4<br />

ภาพที่ 43 แสดงหนาตางการตรวจสอบความถูกตองของขอมูล: Data Validation<br />

5) จากนั้นจะเห็นลูกศรเลื่อนลงตรงเซลล I2 ลองเลือกดูที่ลูกศร จะเห็นวามีเมนู Listing ซึ่งสามารถคัดลอก<br />

(Copy) ไปยังเซลลอื่นๆ ที่ตองการไดเลย เชน เซลล I3 เซลล I4 .. ดังแสดงในภาพที่ 44<br />

ภาพที่ 44 แสดงผลการสรางเมนู Listing หรือเมนู Drop Down List<br />

2.6 การคํานวณดวยสูตร (Formula) และการคํานวณดวยฟงกชั่น (Function)<br />

โปรแกรม Microsoft <strong>Excel</strong> มีความสามารถเดนในดานการคํานวณ ซึ่งมีลักษณะการคํานวณ 2 รูปแบบ<br />

ใหญๆ ไดแก การคํานวณดวยสูตร (Formula) และการคํานวณดวยฟงกชั่นสําเร็จรูป (Function) สําหรับการ<br />

คํานวณดวยฟงกชั่น จะไมขอกลาวรายละเอียดในที่นี้<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 25


การคํานวณดวยสูตร (Formula)<br />

- ใหเลือกเซลลที่ตองการวางผลลัพธจากการคํานวณดวยสูตร<br />

- สรางสูตรการคํานวณ โดยสูตรจะมีรูปแบบดังนี้ = คาที่1 เครื่องหมายในการคํานวณ คาที่ 2 ...<br />

(อยาลืม เครื่องหมายเทากับ เนื่องจากการคํานวณคาตางๆ ไมวาจะเปนดวยสูตร หรือการคํานวณดวย<br />

ฟงกชั่นสําเร็จรูป จะตองมีเครื่องหมายเทากับ บงบอกการคํานวณเสมอ)<br />

เครื่องหมายการคํานวณ<br />

ตัวอยางสูตรการคํานวณ<br />

=500*2% หมายถึง เอา 2 หารดวย 100 แลวนําผลลัพธไปคูณกับ 500<br />

=5+(5*8) หมายถึง เอา 5 คูณ 8 แลวนําผลลัพธไปบวกกับ 5<br />

=(5+5)*8 หมายถึง เอา 5 บวกกับ 5 แลวนําผลลัพธไปคูณกับ 8<br />

=A2/100 หมายถึง เอาคาในเซลล A2 หารดวย 100<br />

=A2+A3+A4+A5 หมายถึง เอาคาในเซลล A2 บวกดวยคาในเซลล A3 บวกดวยคาในเซลล A4<br />

บวกดวยคาในเซลล A5<br />

การคํานวณดวยสูตร (Formula) ในโปรแกรม <strong>Excel</strong> จะมี 2 รูปแบบ คือ<br />

1) สูตรแบบใชคาคงที่ จะไมมีการเปลี่ยนแปลงผลลัพธใหอัตโนมัติ เมื่อคาใดคาหนึ่งเปลี่ยนแปลง การ<br />

เปลี่ยนผลลัพธจะตองไปแกไขที่สูตรดวยตนเอง<br />

2) สูตรแบบใชตําแหนงเซลล จะมีการเปลี่ยนแปลงผลลัพธใหโดยอัตโนมัติ เมื่อคาใดคาหนึ่งเปลี่ยนแปลง<br />

ซึ่งเปนวิธีที่นิยมใชมากที่สุด และสะดวกที่สุด<br />

ตัวอยางโจทยการคํานวณ<br />

ภาพที่ 45 แสดงตัวอยางตารางขอมูลการคํานวณดวยสูตร (Formula)<br />

26 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


• ตองการหาผลลัพธของคาน้ําในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ โดยใชสูตรแบบคาคงที่<br />

o คลิกเลือกในเซลล D2 (เพราะเปนตําแหนงเซลลที่ตองการใสผลลัพธ)<br />

o พิมพสูตร =700 + 800 แลวกดปุม <br />

• ตองการหาผลลัพธของคาไฟฟาในเดือนมกราคมและกุมภาพันธ โดยใชสูตรแบบตําแหนงเซลล<br />

o คลิกเลือกในเซลล D3 (เพราะเปนตําแหนงเซลลที่ตองการใสผลลัพธ)<br />

o พิมพสูตร =B3+C3 แลวกดปุม หรือเลือก B3+C3 คือเอาคาในเซลล B3 บวกดวยคา<br />

ในเซลล C3<br />

สวนที่ 3 การสรางแผนภูมิ<br />

1. แผนภูมิ (Chart)<br />

แผนภูมิ (Chart) เปนการนําขอมูลมาแสดงผลในลักษณะของภาพที่สามารถมองเห็นความแตกตางของ<br />

รูปทรงได ทําใหเขาใจ และจดจําขอมูลไดดีขึ้นและชวยในการตัดสินใจไดงายขึ้น<br />

การสรางแผนภูมิในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong> ผูใชสามารถเลือกชนิดของแผนภูมิได สําหรับรูปแบบการสราง<br />

และขั้นตอนตางๆ ในการสรางแผนภูมิจะมีเครื่องมือชวย (Wizard)<br />

ชนิดของแผนภูมิ (Chart) ที่นิยมใชแบงออกเปน 4 ชนิดคือ<br />

1) แผนภูมิสดมภ (กราฟแทงแนวตั้ง: Column)<br />

2) แผนภูมิแทง (กราฟแทงแนวนอน: Bar)<br />

3) แผนภูมิเสน (กราฟเสน: Line)<br />

4) แผนภูมิวงกลม (กราฟวงกลม: Pie)<br />

ดังแสดงในภาพที่ 46<br />

ภาพที่ 46 แสดงชนิดของแผนภูมิ (Chart)<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 27


2. สวนประกอบของแผนภูมิ<br />

ชื่อแกน Y<br />

แกน Y<br />

ชื่อของแผนภูมิ<br />

ชุดแทงขอมูล<br />

พื้นที่แผนภูมิ<br />

คาของขอมูล<br />

แกน X<br />

ชื่อแกน X<br />

ภาพที่ 47 สวนประกอบของแผนภูมิ<br />

3. การสรางแผนภูมิ โดยมีขั้นตอนดังนี้<br />

ภาพที่ 48 ตัวอยางตารางขอมูลเพื่อสรางแผนภูมิ<br />

1) การเลือกพื้นที่ครอบคลุมที่จะสรางแผนภูมิ โดยการคลุมทึบพื้นที่ที่มีขอมูลที่เราตองการ<br />

(ตัวอยางในตาราง คลุมทึบขอมูลอําเภอและจํานวนพนักงานที่ไดรับการอบรมในจังหวัด<br />

ฉะเชิงเทรา) ดังแสดงในภาพที่ 49<br />

2) เลือกไอคอน ตัวชวยสรางแผนภูมิ (Chart Wizard)<br />

ภาพที่ 49 แสดงการเลือกพื้นที่ครอบคลุมที่จะสรางแผนภูมิ<br />

28 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) ขั้นตอนการสรางแผนภูมิ<br />

ขั้นตอนที่ 1: เลือกชนิดแผนภูมิ (Chart Type)<br />

เลือกชนิดของแผนภูมิ (Chart Type) และชนิดยอยของแผนภูมิ (Chart sub-type) ในกรณีนี้ใหเลือก ชนิด<br />

แผนภูมิ -> คอลัมน (Column) และชนิดยอยของแผนภูมิ -> แผนภูมิคอลัมนแบบเปนกลุม (Clustered Column)<br />

ใชเปรียบเทียบคาในแตละประเภท จากนั้นเลือกถัดไป (Next) ดังแสดงในภาพที่ 50<br />

ภาพที่ 50 แสดงการเลือกชนิดของแผนภูมิ<br />

ขั้นตอนที่ 2: แหลงขอมูลของแผนภูมิ (Chart Source Data)<br />

ในขั้นตอนนี้ กําหนดชวงขอมูล (Data Range) หรือการแกไข เพิ่มชุดขอมูล และการแสดงชุดขอมูลใน<br />

รูปแบบคอลัมน (Series in Columns) จากนั้นคลิกปุมถัดไป (Next) ดังแสดงในภาพที่ 51<br />

ภาพที่ 51 แสดงการกําหนดชวงขอมูล และแสดงชุดขอมูลในรูปแบบคอลัมน<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 29


ขั้นตอนที่ 3: ตัวเลือกแผนภูมิ (Chart Option)<br />

ในตัวเลือกแผนภูมิจะปรากฎแท็บตางๆ 6 แท็บ คือ ชื่อเรื่อง (Title) แกน (Axes) เสนตาราง<br />

(Gridlines) คําอธิบายแผนภูมิ (Legend) ปายชื่อขอมูล (Data Labels) และตารางขอมูล (Data Table)<br />

ซึ่งชวยในการใหรายละเอียด และตกแตงแผนภูมิที่สรางขึ้นใหชัดเจนและสวยงาม<br />

1) ชื่อเรื่อง (Titles) มีรายละเอียดดังนี้คือ ชื่อแผนภูมิ (Chart Title) แกนประเภท: X (Category (X)<br />

axis) แกนคา: Y (Value (Y) axis) ในที่นี้ 1) ชื่อแผนภูมิ: ขอมูลพนักงานบริษัทโตโยตาที่ไดรับการอบรม<br />

ความรูเรื่องโรคเอดส จ.ฉะเชิงเทรา ป 2551 2) แกนประเภท (X): อําเภอ และ 3) แกนคา (Y): จํานวน<br />

พนักงาน (คน)) แตในกรณีที่แผนภูมิมีแกนคา (Y) 2 แกน ตองกําหนดแกนคา (Y) ที่สองดวย ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 52<br />

ภาพที่ 52 แสดงตัวเลือกแผนภูมิ: แท็บชื่อเรื่อง<br />

2) แกน (Axes) คือ การกําหนดคาขอมูลแกน X โดยมีตัวเลือก 3 ประเภท คือ อัตโนมัติ<br />

(Automatic), ประเภท (Category) และมาตราสวนเวลา (Time-scale) ดังแสดงในภาพที่ 53<br />

ภาพที่ 53 แสดงการกําหนดคาขอมูลแกน X<br />

30 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3) เสนตาราง (Gridlines) คือ การกําหนดเสนตารางของแกน X และ แกน Y วาใหมีเสนตารางหลัก (Major<br />

Gridlines) หรือเสนตารางรอง (Minor Gridlines) หรือไม ดังแสดงในภาพที่ 54<br />

ภาพที่ 54 แสดงการกําหนดคาเสนตารางแกน X และแกน Y<br />

4) คําอธิบายในแผนภูมิ (Legend) คือ การกําหนดคําอธิบายแผนภูมิวาใหแสดงหรือไม และเลือกรูปแบบ<br />

การจัดวาง (Placement) ดานลาง (Bottom) มุม (Corner) ดานบน (Top) ดานขวา (Right) ดานซาย (Left) ดัง<br />

แสดในภาพที่ 55<br />

ภาพที่ 55 แสดงการกําหนดคําอธิบายในแผนภูมิ<br />

5) ปายชื่อขอมูล (Data Label) คือการกําหนดใหแสดงปายชื่อหรือคาของขอมูลบนแทงแผนภูมิหรือไม<br />

โดยปายชื่อประกอบดวย 3 ชนิด คือ ชื่อชุดขอมูล (Series Name) ชื่อประเภท (Category Name) และคาขอมูล<br />

(Value) ดังแสดงในภาพที่ 56<br />

ภาพที่ 56 การกําหนดปายชื่อหรือคาของขอมูลบนแทงแผนภูมิ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 31


6) ตารางขอมูล (Data Table) คือการกําหนดใหแสดงตารางขอมูลประกอบแผนภูมิหรือไม ซึ่งถา<br />

แสดงตารางขอมูล จะปรากฏอยูดานลางของแผนภูมิ ดังแสดงในภาพที่ 57<br />

ภาพที่ 57 การกําหนดการแสดงตารางขอมูลประกอบแผนภูมิ<br />

ขั้นตอนที่ 4: ตําแหนงแผนภูมิ (Chart Location) คือการจัดวางแผนภูมิ โดยสรางเปนแผนงานใหม<br />

(As new sheet) หรือวางแผนภูมิลงในแผนงานเดิม (As object in) ขึ้นอยูกับความตองการของผูใช จากนั้น<br />

เลือกเสร็จสิ้น (Finish) ดังแสดงในภาพที่ 58<br />

4. การแกไขและปรับแตงแผนภูมิ<br />

แผนภูมิหรือกราฟที่ไดสรางขึ้น มีลักษณะดังนี้<br />

ภาพที่ 58 การกําหนดตําแหนงของแผนภูมิ<br />

....<br />

ภาพที่ 59 แผนภูมิแบบคอลัมนที่จัดทําแลวเสร็จ<br />

32 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


หากผูใชตองการ ปรับแตงแผนภูมิ ใหสวยงามและเหมาะสม จะมีเครื่องมือชวยในการปรับแตงโดยการ<br />

คลิกขวาที่แผนภูมิ จะปรากฏคําสั่งตางๆ ดังแสดงในภาพที่ 60<br />

ภาพที่ 60 แสดงคําสั่งตาง ๆ สําหรับแกไขและปรับแตงแผนภูมิ<br />

ตัวอยาง การเปลี่ยนชนิดแผนภูมิ จากแผนภูมิคอลัมน เปนแผนภูมิวงกลม โดยการเลือกชนิดแผนภูมิ (Chart<br />

Type) จากเมนูขางตน ในกรณีนี้ใหเลือก ชนิดแผนภูมิ -> วงกลม (Pie) และชนิดยอยของแผนภูมิ -> แผนภูมิ<br />

วงกลม (Pie) จากนั้นเลือกถัดไป (Next) จะไดแผนภูมิวงกลมดังแสดงในภาพที่ 61<br />

การแกไขและปรับแตงแผนภูมิ<br />

ภาพที่ 61 การเปลี่ยนชนิดแผนภูมิจากแผนภูมิคอลัมน เปนแผนภูมิวงกลม<br />

1) การจัดรูปแบบชุดขอมูล (Format Data Series): การแกไขแทงชุดขอมูล (แผนภูมิคอลัมน) สังเกตวา<br />

จะมีสี่เหลี่ยมดําเล็กๆ อยูกลางแทงชุดของขอมูล ใหดับเบิลคลิกที่ชุดขอมูลหรือแทงชุดขอมูล จะปรากฏหนาตาง<br />

จัดรูปแบบชุดขอมูล (Format Data Series) หรือคลิกขวาแลวเลือกการจัดรูปแบบชุดขอมูล (Format Data Series)<br />

และเลือกในแท็บลวดลาย (Patterns) ซึ่งผูใชสามารถเลือกสี ลวดลายหรือเติมลักษณะพิเศษตางๆ ของเสนขอบ<br />

และพื้นที่ รวมทั้งใสภาพตามที่ตองการได ดังแสดงในภาพที่ 62<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 33


ภาพที่ 62 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบชุดขอมูลในแท็บลวดลาย: Patterns<br />

2) การจัดรูปแบบพื้นที่ลงจุด (Format Plot Area): การเติมสี ลวดลาย และภาพในพื้นที่<br />

แผนภูมิ ใหดับเบิลคลิกเสนขอบบนพื้นที่แผนภูมิ จะปรากฏหนาตางจัดรูปแบบพื้นที่ลงจุด (Format Plot<br />

Area) จากนั้นเลือกแท็บลวดลาย (Patterns) เพื่อเติมสี ลวดลาย เติมลักษณะพิเศษ หรือรูปภาพของเสน<br />

ขอบและพื้นที่ (Format Data Series) ดังแสดงในภาพที่ 63<br />

ภาพที่ 63 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบพื้นที่ลงจุดในแท็บลวดลาย: Patterns<br />

3) การจัดรูปแบบแกน (Format Axis): การเปลี่ยนแบบตัวอักษร (Font, Font Style) สีตัวอักษร<br />

(Color) ปรับขนาดตัวอักษร (Size) และจัดตําแหนงของตัวอักษร (Alignment)<br />

3.1 การเปลี่ยนแบบตัวอักษร สีและขนาดของตัวอักษร (Font)<br />

วิธีการเปลี่ยนตัวอักษร ใหผูใชดับเบิลคลิกตัวอักษรที่แสดงแกน X (Category X axis) หรือแกน Y<br />

(Value Y axis) จะปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบแกน (Format Axis) จากนั้นใหเขาไปแกไขที่แท็บแบบ<br />

อักษร (Font) ซึ่งรายการที่สามารถปรับเปลี่ยนแกไขได คือ แบบอักษร (Font) ลักษณะแบบอักษร (Font<br />

Style) ขนาด (Size) สี (Color) พื้นหลังตัวอักษร (Background) ลักษณะพิเศษอื่นๆ (Effects) เปนตน<br />

ดังแสดงในภาพที่ 64<br />

34 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 64 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบแกนในแท็บแบบอักษร: Font<br />

3.2 การจัดตําแหนง (Alignment)<br />

วิธีการจัดตําแหนงตัวอักษร ใหผูใชดับเบิลคลิกตัวอักษรที่แสดงแกนหรือชื่อแกน X หรือแกน Y จะปรากฏ<br />

หนาตางการจัดรูปแบบชื่อแกน (Format Axis Title) จากนั้นเขาไปที่แท็บการจัดตําแหนง (Format Axis Title)<br />

สําหรับในสวนการจัดตําแหนงขอความ (Text Alignment) สามารถจัดในแนวนอน (Horizontal) และแนวตั้ง<br />

(Vertical) และในสวนของการวางแนว (Orientation) โดยกําหนดคาองศา หรือ คลิกเมาสลาก จุดสีแดงไปยังองศา<br />

ที่ตองการจัดวางตําแหนงตัวอักษร ดังแสดงในภาพที่ 65<br />

ภาพที่ 65 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบแกนในแท็บการจัดตําแหนง: Alignment<br />

4) การจัดรูปแบบเสนตาราง (Format Gridlines): การเปลี่ยนเสนตาราง (Gridlines) และมาตราสวน<br />

(Scale) การลบหรือแกไขเสนตารางซึ่งเปนเสนบอกขอบเขตคาของขอมูล โดยมาตราสวนจะกําหนดคาที่มากที่สุด<br />

(Maximum) และคาที่นอยที่สุด (Minimum) ในแกน Y<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 35


4.1 การเปลี่ยนลวดลายของเสนตาราง (Gridlines: Pattern)<br />

การเปลี่ยนลวดลายของเสนตาราง ใหผูใชดับเบิลคลิกที่เสนตาราง (เแนวนอน) จะปรากฏหนาตาง<br />

การจัดรูปแบบเสนตาราง (Format Gridlines) จากนั้นใหเขาไปแกไขที่แท็บลวดลาย (Patterns) ซึ่งผูใช<br />

สามารถเลือกใชเสนตารางหรือไมก็ได โดยอาจจะใชเสนตารางแบบอัตโนมัติ (Automatic) หรือกําหนดเอง<br />

(Custom) โดยสามารถปรับเปลี่ยนลักษณะของเสนตาราง (Style) สี (Color) หรือน้ําหนักเสน (Weight) ได<br />

ดังแสดงในภาพที่ 66<br />

ภาพที่ 66 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบเสนตารางในแท็บลวดลาย: Pattern<br />

4.2 การเปลี่ยนมาตราสวนของเสนตาราง (Gridlines: Scale)<br />

การเปลี่ยนมาตราสวนของเสนตาราง (Gridlines: Scale) หรือการเปลี่ยนมาตราสวนของแกน Y<br />

(Axis: Scale) ใหผูใชดับเบิลคลิกที่เสนตาราง (เแนวนอน) ปรากฏหนาตางการจัดรูปแบบเสนตาราง<br />

(Format Gridlines) จากนั้นใหเขาไปแกไขที่แท็บมาตราสวน (Scales) โดยมาตราสวนแกนคา (แกน Y) จะ<br />

กําหนดคานอยที่สุด (Minimum) คามากที่สุด (Maximum) หนวยหลัก (Major unit) และหนวยรอง (Minor<br />

unit) ดังแสดงในภาพที่ 67<br />

ภาพที่ 67 แสดงการแกไขการจัดรูปแบบเสนตารางในแท็บมาตราสวน: Scale<br />

36 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


โปรแกรม<br />

Portable Swiff Chart Pro


โปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

โปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

Swiff Chart 3 Pro เปนโปรแกรมที่ชวยในการนําเสนอขอมูล โดยสรางกราฟชนิดตางๆ ออกมาเปนรูป<br />

ภาพเคลื่อนไหว หรือ Flash Movie ซึ่งรูปภาพเคลื่อนไหวดังกลาว สามารถนําไปใชไดใน Microsoft PowerPoint<br />

โดย Install โปรแกรม SwiffPointPlayer<br />

การติดตั้งโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

การติดตั้งโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro ไมจําเปนตองทําการติดตั้งเหมือนโปรแกรมทั่วไปซึ่งจะมี<br />

ขั้นตอนที่ยุงยาก กลาวคือ โปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro นั้นใชงานไดเลยโดยคัดลอกตัวโปรแกรมไปวางที่<br />

Desktop ก็สามารถเลือกที่ไอคอน ใชงานไดเลย<br />

แตในกรณีที่บางเครื่องไมสามารถใชงานจากที่ไอคอน ใหทําการ Install Program<br />

SwiffPointPlayer โดยเลือกที่ไอคอนเพื่อทําการ Install program ดังกลาว ซึ่งโปรแกรมนี้มีประโยชนในการนํา รูป<br />

ภาพเคลื่อนไหวจากโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro ไปใชในโปรแกรม Microsoft PowerPoint โดยแสดง<br />

เปน Flash Movie<br />

การใชงานโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro<br />

การเริ่มตนใชงานโปรแกรม Portable.Swiff.Chart.3.Pro ควรจะรูจักเมนูในการเริ่มตนใชงานใหดีกอน<br />

เพื่อใหสามารถใชงานโปรแกรมไดอยางมีประสิทธิภาพ สามารถดูไดดัง ภาพที่ 1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 1 แสดงหนาหลักของโปรแกรม Portable.Swiff.Chart.3.Pro<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 37


ขั้นที่ 1 (Start) จะแสดงหนาหลักของโปรแกรม Portable Swiff Chart 3 Pro จะมีไอคอน<br />

หลักๆ อยู 2 ไอคอน ดังนี้คือ<br />

1) Open an Existing Project จะเปนเมนูสําหรับเปดกราฟที่เคยสรางไวแลวมาใชงาน ซึ่งใน Swiff<br />

Chart Pro เอง มีตัวอยางกราฟที่ไดสรางไวแลว สามารถนํามาปรับปรุงเพื่อใชงานได โดยเลือกที่<br />

Open an Existing Project ซึ่งจะแสดงหนาตางให Browse Folder และ File จากนั้นเลือก File ที่<br />

ตองการเปด หรืออาจจะเลือกตัวอยางกราฟ (Template) จาก Open a Sample ดังแสดงในภาพที่ 2<br />

1<br />

ภาพที่ 2 แสดงเมนูสําหรับเปดกราฟที่เคยสรางไวแลว: Open an Existing Project<br />

2) New Chart Wizard เปนเมนูสําหรับการสรางกราฟขึ้นมาใหม โดยใชขอมูล (Data) ที่มีอยู<br />

ประกอบดวย 6 ขั้นตอน ดังนี้คือ<br />

ขั้นตอนที่ 1 Start<br />

ใหเลือกที่เมนู New Chart Wizard จะเปนตัวชวยในการสรางกราฟ โดยจะสามารถเลือก<br />

รูปแบบของกราฟ และกําหนดรายละเอียดตางๆ ใหกับกราฟไดสะดวกมาก เมื่อทําการเลือกที่ New Chart<br />

Wizard ก็จะปรากฏหนาตาง ใหเลือกชนิดของกราฟ หรือ Chart type และ Chart sub-type ดังนี้คือ<br />

38 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 3 แสดงตัวเลือกชนิดของกราฟ (Chart type)<br />

1. Chart type เลือกชนิดของกราฟ<br />

2. Chart sub type เมื่อเลือกชนิดของกราฟแลว หลังจากนั้นเลือกรูปแบบของกราฟ<br />

3. หลังจากเลือกชนิดและรูปแบบของกราฟเรียบรอยแลวใหทําการ Click Next เพื่อไปสูขั้นตอนตอไป<br />

ดังแสดงในภาพที่ 3<br />

ชนิดของกราฟ (Chart type)<br />

1) Chart type: Column กราฟแทงแนวตั้ง<br />

1<br />

2 3<br />

ภาพที่ 4 แสดงรูปแบบของกราฟแทงแนวตั้ง Chart type: Column<br />

รูปแบบของกราฟแทงแนวตั้งและแนวนอน มี 3 รูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 4 และ 5<br />

รูปแบบที่ 1: Clustered Column / Bar: Compares values across categories คือการ<br />

เปรียบเทียบกราฟแทงในแตละแทง เชน กราฟแสดงจํานวนนักเรียน/นักศึกษาที่ไดรับการอบรมดาน<br />

เพศศึกษา ในไตรมาส 9-20 โดยที่แกน X แทนไตรมาสที่ 9-20 สวนแกน Y แทนจํานวนนักเรียน/นักศึกษาที่<br />

ไดรับการอบรมในแตละไตรมาส<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 39


รูปแบบที่ 2: Stacked Column / Bar: Compares the contribution of each value to a<br />

total across categories เชน กราฟแสดงจํานวนนักเรียน/นักศึกษาที่ไดรับการอบรมดาน<br />

เพศศึกษา จําแนกตามเพศชายและหญิง ในไตรมาส 9-20 โดยที่แกน X แทนไตรมาสที่ 9-20 สวน<br />

แกน Y ขอมูลชุดที่ 1 (Stack1) แทนจํานวนนักเรียน/นักศึกษาชายที่ไดรับการอบรมในแตละ<br />

ไตรมาส และขอมูลชุดที่ 2 (Stack2) แทนจํานวนนักเรียน/นักศึกษาหญิงฯ<br />

รูปแบบที่ 3: 100% Stacked Column / Bar: Compares the percentage each value<br />

contributes to a total across categories คือการเปรียบเทียบกราฟแทง แบบ 2 ทางทั้งแกน X<br />

และแกน Y ในกราฟแทงเดียวกัน โดยที่กราฟในแตละแทงตองรวมกันเปน 100% จากตัวอยางใน<br />

รูปที่ 2 แกน Y แทนสัดสวนของนักเรียน/นักศึกษาชาย (ขอมูลชุดที่ 1) และนักเรียน/นักศึกษาหญิง<br />

(ขอมูลชุดที่ 2) ในแตละไตรมาส โดยสัดสวนดังกลาวตองรวมกันเปน 100%<br />

2) Chart type: Bar กราฟแทงแนวนอน<br />

1 2 3<br />

ภาพที่ 5 แสดงรูปแบบของกราฟแทงแนวนอน Chart type: Bar<br />

3) Chart type: Line กราฟเสน<br />

1 2 3<br />

ภาพที่ 6 แสดงรูปแบบของกราฟเสน Chart type: Line<br />

40 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


รูปแบบของกราฟเสน มี 3 รูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 6 และ 7 ดังนี้คือ<br />

รูปแบบที่ 1: Line / Area with makers displayed at each data value: Displays trend over<br />

time or categories คือกราฟเสนแตละเสนจะแสดงคาแนวโนมหรือคาของขอมูลตามชวงของเวลา เชน<br />

กราฟแสดง Cohort TB Treatment in Prison in Quarter 9-19 จําแนกตาม 1) Success Rate (การรักษา<br />

สําเร็จ: ชุดขอมูลที่ 1) 2) Default Rate (การขาดยา: ชุดขอมูลที่ 2) 3) Died (การเสียชีวิต: ชุดขอมูลที่ 3)<br />

4) Transfer out (การโอนออก: ชุดขอมูลที่ 4) และ 5) Failure (การรักษาลมเหลว: ชุดขอมูลที่ 5) โดยที่<br />

แกน X แทนไตรมาสที่ 9-20 สวนแกน Y แทนอัตรารอยละของกราฟ 5 เสน จากชุดขอมูล 5 ชุดขางตน<br />

รูปแบบที่ 2: Stacked Line / Area with makers displayed at each data value: Displays the<br />

trend of the contribution of each value over time or categories จากตัวอยางในรูปที่ 1 ขางตน กราฟ<br />

เสนที่ 1 แทนอัตรารอยละของการรักษาสําเร็จ, กราฟเสนที่ 2 แทนอัตรารอยละของการรักษาสําเร็จ +<br />

กราฟเสนที่ 1, กราฟเสนที่ 3 แทนอัตรารอยละของการเสียชีวิต + กราฟเสนที่ 2, กราฟเสนที่ 4 แทนอัตรา<br />

การโอนออก + กราฟเสนที่ 3 และ กราฟเสนที่ 5 แทนอัตราการรักษาลมเหลว + กราฟเสนที่ 4 ตามลําดับ<br />

คลายๆ อัตรารอยละสะสมตั้งแตกราฟเสนที่ 1 จนถึงกราฟเสนที่ 5<br />

รูปแบบที่ 3: 100% Stacked Line / Area with makers displayed at each data value:<br />

Displays the trend of the percentage each value contributes overtime or categories จากตัวอยาง<br />

ขางตน ผลรวมของกราฟทั้ง 5 เสนจะรวมกันเทากับ 100% (กราฟเสนที่ 5 จะเปน 100%)<br />

4) Chart type: Area กราฟพื้นที่<br />

1 2 3<br />

ภาพที่ 7 แสดงรูปแบบของกราฟพื้นที่ Chart type: Area<br />

5) Chart type: Pie กราฟวงกลม<br />

รูปที่ 1: Pie. Displays the contribution of each value to a total คือกราฟวงกลมโดยที่คาของ<br />

ขอมูลแตละคาคือสวนหนึ่งกราฟวงกลมในแตละชิ้น โดยสัดสวนรวมกันของทุกชิ้นตองเทากับ 100%<br />

รูปที่ 2: Explored Pie: Displays the contribution of each value to a total while<br />

emphasizing individual values<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 41


1<br />

2<br />

ภาพที่ 8 แสดงรูปแบบของกราฟวงกลม Chart type: Pie<br />

6) Chart type: Combination กราฟผสมระหวางกราฟแทงและกราฟเสน/กราฟพื้นที่<br />

1 2<br />

ภาพที่ 9 แสดงรูปแบบของกราฟแทงและกราฟเสน/กราฟพื้นที่ Chart type: Combination<br />

รูปแบบที่ 1: Classic combination chart. Column series and Line / Area series<br />

plotted on the same axis คือ กราฟแทง (ขอมูลชุดที่ 1) และกราฟเสนหรือกราฟพื้นที่ (ขอมูลชุด<br />

ที่ 2) โดยพล็อตอยูในแกน Y แกนเดียวกัน<br />

รูปแบบที่ 2: Classic combination chart. Columns are plotted on primary axis,<br />

Lines are plotted on secondary axis คือ กราฟแทง (ขอมูลชุดที่ 1) และกราฟเสนหรือกราฟ<br />

พื้นที่ (ขอมูลชุดที่ 2) โดยขอมูลชุดที่ 1 พล็อตอยูในแกน Y ที่เปนแกนหลัก (Primary axis) และ<br />

ขอมูลชุดที่ 2 พล็อตอยูในแกน Y ที่เปนแกนรอง (Secondary axis)<br />

ขั้นตอนที่ 2 Data<br />

หลังจากเลือกชนิดของกราฟ (Chart Type) เรียบรอยแลว จะปรากฏหนาตาง Chart Source<br />

Data เพื่อเลือกวิธีนําเขาขอมูลเพื่อการสรางกราฟ ดังแสดงในภาพที่ 10<br />

42 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

ภาพที่ 10 แสดงการเลือกแหลงนําเขาของขอมูลเพื่อการสรางกราฟ: Data<br />

การนําเขาขอมูลเพื่อการสรางกราฟ มี 2 ลักษณะคือ<br />

1. Enter Data manually เพื่อคัดลอกและวางขอมูลจาก MS. <strong>Excel</strong> หรือการคียขอมูลที่ตองการสราง<br />

กราฟในตารางที่เปนรูปแบบคลาย MS. <strong>Excel</strong> ในโปรแกรมนี้ ดังแสดงในภาพที่ 11<br />

2. Import Data From File เลือกไฟลขอมูลที่ตองการนํามาสรางกราฟ เชนไฟล <strong>Excel</strong> (.xls) หรือไฟล<br />

Text (.txt) หรือไฟล CSV<br />

หลังจาก Enter Data หรือ Import Data จากไฟลขอมูลเรียบรอยแลว จากนั้นใหเลือก Next<br />

ภาพที่ 11 แสดงการคียขอมูลที่ตองการสรางกราฟ: Enter Data manually<br />

1<br />

หลังจากคียขอมูลที่ตองการสรางกราฟเรียบรอยแลว ใหเลือก Finish ดังแสดงในภาพที่ 11 ซึ่งจะ<br />

ปรากฏหนาตาง Swiff Chart Pro (Chart1) แสดงกราฟเสนที่สรางเสร็จเรียบรอยแลว แตยังไมมีการ<br />

ปรับแตงรูปแบบ ดังแสดงในภาพที่ 12 กลาวคือ ในหนาตางนี้สามารถแกไขหรือปรับแตงกราฟเพิ่มเติม<br />

ดังนี้<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 43


1<br />

2<br />

ภาพที่ 12 แสดงกราฟเสนที่สรางเสร็จแลว แตยังไมมีการปรับแตงรูปแบบ<br />

1) Edit Sheet: (Tab ดานซายบน) ขอมูลที่นํามาสรางกราฟ สามารถเปลี่ยนแปลง แกไข เพิ่มเติมได ซึ่ง<br />

สามารถแกไขขอมูลในตารางไดเลย โดยเลือกในชองที่ตองการแกไข แลวทําการแกไขขอมูล กราฟจะ<br />

เปลี่ยนตามขอมูลที่แกไขใหอัตโนมัติ หรือเลือกที่ Tab: Edit Sheet<br />

2) เมนู Draw: (Tab ดานขวาลาง) เปนตัวสรางเสน เพิ่มขอความ รูปภาพ สัญลักษณตางๆ ในกราฟได<br />

ขั้นตอนที่ 3 Chart Styles<br />

การเลือกรูปแบบหรือสไตลของกราฟเพิ่มเติมจาก Template ที่โปรแกรม Swiff Chart Pro สราง<br />

ขึ้นที่มีอยูดานซายมือ โดยถาตองการเปลี่ยนแปลงสไตลของกราฟเปนแบบที่ตองการใหเลือกรูปแบบที่ดาน<br />

ซายมือ กราฟดานขวามือจะเปลี่ยนเปนสไตลที่เลือกใหอัตโนมัติ ในที่นี้เลือก Style: Techno ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 13<br />

ภาพที่ 13 แสดงการเลือกรูปแบบหรือสไตล: Chart Styles<br />

44 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ขั้นตอนที่ 4 Series Setting<br />

การเลือกรูปแบบหรือสีของกราฟเสนรวมถึงจุด หรือกราฟแทงตามชุดของขอมูล (Series Setting) เพิ่มเติม<br />

จาก Template ที่โปรแกรม Swiff Chart Pro สรางขึ้นที่มีอยูดานซายลาง โดยถาตองการเปลี่ยนแปลงรูปแบบหรือสี<br />

ของกราฟดังกลาวเปนแบบที่ตองการใหเลือกที่ดานซายมือ กราฟดานขวามือจะเปลี่ยนเปนรูปแบบหรือสีที่เลือกให<br />

อัตโนมัติ ดังแสดงในภาพที่ 14<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 14 แสดงการเลือกรูปแบบหรือสีของกราฟเสนรวมถึงจุด หรือกราฟแทงตามชุดขอมูล: Series Settings<br />

นอกจากนี้ Series Setting ยังมี Option ใหเลือก 2 Options ดังนี้คือ<br />

1) Data Series Options: คือคําสั่งเพื่อเปลี่ยนแปลงรูปแบบของชุดขอมูล (Data Series) ทั้งกราฟแทงและ<br />

กราฟเสนรวมถึงจุด โดยเมื่อเลือกคําสั่งยอยๆ ภายใต Tab: Data Series Options จะขึ้นเมนูยอยตางๆ ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 15 ดังนี้คือ<br />

- Patterns / Markers การจัดรูปแบบของกราฟ เชน สีพื้นและเสนขอบของกราฟแทง (Fill & Border)<br />

หรือสีและลักษณะของกราฟเสนและจุด (Line & Markers) รวมถึง Effect ตางๆ<br />

- Axis การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของแกนหลัก (Primary axis) หรือแกนรอง (Secondary axis)<br />

- Data Labels การแสดงปายชื่อขอมูลหรือคาของขอมูลที่กราฟแทงในแตละกราฟ หรือกราฟเสนในแต<br />

ละจุด โดย Label ที่แสดงประกอบดวย 1) Value คาของขอมูล 2) Category name ชื่อประเภท เชน<br />

Q9 .. Q19 และ 3) Series name ชื่อชุดของขอมูล เชน Success Rate (ชุดขอมูลที่ 1 ), Default Rate<br />

(ชุดขอมูลที่ 2), Died (ชุดขอมูลที่ 3), Transfer out (ชุดขอมูลที่ 4) และ Failure (ชุดขอมูลที่ 5) โดย<br />

การเลือกเพื่อแสดงคา Label สามารถแสดงที่กราฟแทงใด หรือกราฟเสนใดก็ได แสดงคาเพียงบางชุด<br />

ของขอมูลหรือจะแสดงทุกชุดของขอมูลก็ได<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 45


- Series Order การเลือกสลับตําแหนงของชุดขอมูลทั้งกราฟแทงและกราฟเสน โดยเลือกชุด<br />

ของขอมูลที่ตองการและเลือก move up หรือ move down เชน ตองการสลับเสนกราฟใหม<br />

เปน Default Rate (ชุดขอมูลที่ 2) กอน Success Rate (ชุดขอมูลที่ 1)<br />

- Options การปรับแตงคุณสมบัติอื่นๆ ของกราฟ เชน ขนาดของแทงกราฟ การจัดรูปแบบ<br />

กราฟในลักษณะเรียงซอนกัน (Stack) เปนตน<br />

ภาพที่ 15 แสดงเมนูยอยตางๆ ภายใต Tab: Data Series Options<br />

2) Data Labels Options: คือคําสั่งเพื่อการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของ Data Label หรือปายชื่อขอมูล โดย<br />

เมื่อเลือกคําสั่งยอยๆ ภายใต Tab: Data Labels Options จะขึ้นเมนูยอยตางๆ ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

- Data Label รายละเอียดดังขางตน<br />

- Font การปรับแตงรูปแบบตัวอักษร ขนาด สี และสไตล<br />

- Number การเลือกประเภทของ Data Label เชน Number, Percentage, Date<br />

- Border and Shading การปรับแตงลักษณะสีพื้นและเสนขอบของ Data Label<br />

- Alignment การจัดตําแหนงของ Data Label<br />

46 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ขั้นตอนที่ 5 Chart Options<br />

การปรับแตงคุณสมบัติของกราฟ โดยการกําหนดคาเอง ไดแก การปรับแตงชนิดของกราฟ (Change<br />

Chart Type) การกําหนดภาพเคลื่อนไหว (Animation) การปรับขนาดของกราฟ (Resize Chart) เปนตน ซึ่งใน<br />

Chart Options มี 2 Options ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 16 แสดงการปรับแตงคุณสมบัติของกราฟ โดยการกําหนดคาเอง: Chart Options<br />

1) General Options: คือคําสั่งเพื่อเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติทั่วไปของกราฟ ประกอบดวยเมนูยอย ดังนี้<br />

- Change Chart Type การเปลี่ยนแปลงชนิดของกราฟ เชน จากกราฟแทง (Bar) เปนกราฟเสน (Line)<br />

หรือกราฟพื้นที่ (Area)<br />

- Animation การกําหนดภาพเคลื่อนไหว เพื่อแสดงผลของกราฟออกมาเปน Flash Movie ซึ่งคลายกับ<br />

การปรับแตงในโปรแกรม MS. PowerPoint เมื่อเลือก Animation… จะขึ้นหนาตาง Animation<br />

Settings ดังแสดงในภาพที่ 17<br />

i. Enable Animation คือการกําหนดวาจะใหมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวหรือไม ถาไมเลือกจะเปน<br />

ภาพนิ่ง แตถาเลือกจะแสดงภาพเคลื่อนไหวแบบ Flash Movie สามารถเลือกที่จะใหเริ่มแสดงผลใน<br />

กี่วินาที (Start) และจบในกี่วินาที (End) และเปนการเคลื่อนไหวแบบใด (Type) ที่ Chart Elements<br />

ใด เชน คําอธิบายกราฟ (Legend) แกน X แกน Y ปายชื่อขอมูล (Data Label) เปนตน<br />

ii. Animation is Looping คือการกําหนดวาจะมีการแสดงภาพเคลื่อนไหวซ้ําหลายๆ ครั้งหรือไม<br />

(Loop) ถาไมเลือกจะทําการแสดงภาพเคลื่อนไหวเพียงครั้งเดียว แตถาเลือกจะแสดง<br />

ภาพเคลื่อนไหวซ้ําหลายๆ ครั้ง สามารถตั้งเวลาใหชาหรือเร็วได ขึ้นอยูกับ Duration before Ending<br />

คือความถี่ของการแสดงภาพเคลื่อนไหวซ้ํา (ถาระบุ10 sec จะแสดงภาพเคลื่อนไหวซ้ําทุก 10<br />

วินาที) และ Frame Rate คือจํานวน frame ตอวินาที ซึ่งการกําหนดคา Animation นี้จะมีผลตอการ<br />

นําเสนอในโปรแกรม MS. PowerPoint ดวย<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 47


- Resize Chart การกําหนดความกวาง และความสูงของกราฟ หนวยเปน pixel ซึ่งนิยม เลือก<br />

Width: 900 Height: 450 (จะขึ้นโดยอัตโนมัติ)<br />

ภาพที่ 17 แสดงคุณสมบัติของการกําหนดภาพเคลื่อนไหว: Animation Settings<br />

2) Layout Options: คือการปรับแตงโครงรางของกราฟ ประกอบดวยเมนูยอย ดังนี้<br />

- Edit Legend การแกไขคําอธิบายกราฟ<br />

- Edit Chart Title การแกไขชื่อหัวเรื่องของกราฟ<br />

- Edit Axes การแกไขแกน X (Horizontal axis) และ แกน Y (Vertical axis)<br />

- Edit Gridlines การแกไขเสน Gridlines ทั้งแกน X และ แกน Y<br />

- Chart Background…. การแกไขภาพพื้นหลังทั้งหมด<br />

- Plot Background…. การแกไขพื้นหลังเฉพาะในสวนที่แสดงกราฟ (Plot)<br />

ดังแสดงรายละเอียดดังนี้<br />

2.1) เลือก Edit Legend จะปรากฏ Legend Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไขคําอธิบาย<br />

กราฟ ดังแสดงในภาพที่ 18<br />

- Show Legend การเลือกวาจะแสดงคําอธิบายกราฟหรือไม ในที่นี ้ใหเลือก Show Legend<br />

- Edit Legend Border and Shading การแกไขสีพื้นหลัง (Fill) รวมถึงสีและลักษณะของเสนขอบ<br />

(Line) ในคําอธิบายกราฟ<br />

- Edit Legend Font and Text Color การแกไข Font สไตล สี และขนาดของตัวอักษร<br />

- Edit Legend Placement การแกไขตําแหนง (Position) เชน บน ลาง ซาย ขวา และการจัดวาง<br />

(Alignment) ของกรอบแสดงคําอธิบายกราฟ<br />

แตถาตองการยอนกลับไปยังเมนู Layout Options ใหเลือกที่ Options ดานบน<br />

48 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 18 แสดงเมนูเพื่อแกไขคําอธิบายกราฟ: Legend Options<br />

2.2) เลือก Edit Chart Title จะปรากฏ Title Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไขหัวเรื่องของกราฟ<br />

ดังแสดงในภาพที่ 19<br />

- เลือก Add Chart Title การใสชื่อหัวเรื่องของกราฟ ซึ่งจะแสดงหนาตาง Chart Options: Tab<br />

Titles มีรายละเอียดดังนี้คือ 1) Chart title: ชื่อหัวเรื่องใหญของกราฟ 2) Chart subtitle: ชื่อหัวเรื่องรอง<br />

ของกราฟ 3) Category (X) axis: ชื่อของแกน X และ 4) Value (Y) axis: ชื่อของแกน Y แตถาแกน Y มี 2<br />

แกน จะตองระบุชื่อของทั้งแกนหลัก (Primary value axis) และแกนรอง (Secondary value axis)<br />

สวนเมนูยอยอื่นๆ จะคลายๆ กับ Legend Options ขางตน<br />

ภาพที่ 19 แสดงเมนูเพื่อแกไขหัวเรื่องของกราฟ: Title Options<br />

2.3) เลือก Edit Axes จะปรากฏ Axes Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไขแกน X (Horizontal axis)<br />

และแกน Y (Vertical axis) ดังแสดงในภาพที่ 20<br />

- Enable or Disable Axes การเลือกเพื่อแสดงหรือไมแสดงแกน X (Category X axis) และ/หรือ<br />

แกน Y (Value Y axis)<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 49


- Edit Horizontal Axis และ Edit Vertical Axis การแกไขเพื่อจัดรูปแบบของแกน X (Edit<br />

Horizontal Axis) และการแกไขแกน Y (Edit Vertical Axis) ในกรณีที่แกน Y มี 2 แกน คือแกน<br />

หลักและแกนรอง จําเปนจะตองแกไขแกนรอง คือ Edit Secondary Vertical Axis ดวย<br />

ภาพที่ 20 แสดงเมนูยอยเพื่อแกไขแกน X และ Y: Axes Options<br />

1<br />

1 2 6 3 4<br />

5<br />

2<br />

3<br />

4<br />

5<br />

6<br />

ภาพที่ 21 แสดงเมนูยอยเพื่อแกไขแกน Y: Vertical Axis<br />

หลังจากเลือก Edit Vertical Axis จะปรากฏ Vertical Axis Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการ<br />

แกไขแกน Y ดังแสดงในภาพที่ 21<br />

I. Change Axis Colors หรือ Tab Patterns คือ การกําหนดสีและลักษณะเสนของแกน<br />

II. Edit Axis Scale หรือ Tab Scale คือ การกําหนดสเกลหรือมาตราสวนของแกน Y ไดแก<br />

Minimum value (คาต่ําสุดของแกน), Maximum value (คาสูงสุดของแกน), Major unit (หนวย<br />

หลักของแกน) และ Minor unit (หนวยรองของแกน)<br />

III. Change Axis Labels Font and Color หรือ Tab Font คือ การกําหนด Font สไตล สี และ<br />

ขนาดของตัวอักษร<br />

IV. Edit Axis Labels Alignment หรือ Tab Alignment คือ การกําหนดการจัดวางตําแหนงของ<br />

สเกลของแกน<br />

V. Edit Axis Labels Borders and Shading หรือ Tab Borders and Shading คือ การแกไขสี<br />

และเสนขอบ ที่แสดงสเกลของแกน<br />

50 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


VI. Edit Axis Labels Number Format หรือ Number คือ การเลือกประเภทของตัวเลขหรือคาของขอมูล ที่<br />

แสดงสเกลของแกน เชน Number, Percentage, Date<br />

2.4) เลือก Edit Gridlines จะปรากฏ Gridlines Options เพื่อแสดงเมนูยอยในการแกไข Gridline ทั้ง<br />

แกน X และแกน Y ดังแสดงในภาพที่ 22<br />

ภาพที่ 22 แสดงเมนูยอยเพื่อแกไข Gridlines: Gridlines Options<br />

การแกไข Gridlines ทั้งแกน X (Horizontal Gridlines) และแกน Y (Vertical Gridlines) เปนการ<br />

เลือกวาจะแสดงเสน Gridline หลัก (Major) และ Gridline รอง (Minor) ของแกน X และ/หรือแกน Y<br />

หรือไม รวมถึงการแกไขเสน Gridlines ของแกน X และ/หรือแกน Y<br />

2.5) เลือก Chart Background การแกไขภาพพื้นหลัง จะปรากฏหนาตาง Format Chart Background<br />

เพื่อเติมสีในกรอบ (Fill) รวมถึงสีและลักษณะของเสนขอบ (Line) ของภาพพื้นหลัง<br />

2.6) เลือก Plot Background การแกไขภาพพื้นหลังเฉพาะในสวนที่แสดงกราฟ จะปรากฏหนาตาง<br />

Format Plot Background เพื่อเติมสีในกรอบ (Fill) รวมถึงสีและลักษณะของเสนขอบ (Line) ของภาพ พื้นหลัง ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 23<br />

ภาพที่ 23 แสดงเมนูยอย การแกไขภาพพื้นหลัง: Chart Background<br />

และการแกไขภาพพื้นหลังเฉพาะสวนที่แสดงกราฟ: Plot Background<br />

หมายเหตุ ผูใชงานสามารถแกไขสวนตางๆ ของกราฟ (Chart Elements) โดยสามารถเลือก Object<br />

สวนที่เราตองการจะแกไข เพื่อให Object นั้น Active และขึ้นเมนูยอยเพื่อแกไขสวนตางๆ โดยไมตองเขา<br />

ไปที่เมนูคําสั่งดานซายมือ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 51


การบันทึกกราฟในรูปแบบของ Swiff Chart Pro<br />

คลายกับการบันทึกไฟลงานทั่วไป โดยทําการบันทึกกราฟที่ไดทําเรียบรอย ใน File และ Folder ที่<br />

ตองการสําหรับแกไขปรับปรุงตอไป ซึ่งไฟลดังกลาวบันทึกในรูปแบบของ Swiff Chart Porject<br />

(นามสกุล .sfc) ดังแสดงในภาพที่ 24<br />

ภาพที่ 24 การบันทึกกราฟในรูปแบบของ Swiff Chart Project (*.sfc)<br />

ขั้นตอนที่ 6 Export<br />

การสงออก (Export) ไฟลกราฟดังกลาว ไปใชงานเพื่อการนําเสนอกราฟแบบภาพเคลื่อนไหวใน<br />

โปรแกรม MS. PowerPoint ตองทําการ Export ไฟลกราฟออกไปในรูปแบบ Flash Movie ดังตอไปนี้<br />

2<br />

1<br />

3<br />

4<br />

กําหนดรายละเอียดของกราฟที่<br />

จะสงออกเปน Flash Movie<br />

ภาพที่ 25 แสดงการสงออก (Export) ไฟลกราฟไปใชงานในรูปแบบของ Flash Movie<br />

52 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


การ Export ไฟลกราฟออกไปในรูปแบบ Flash Movie มีขั้นตอนดังนี้คือ<br />

1. Preview กราฟทุกครั้งกอน Export เปน Flash Movie<br />

2. เลือกที่เมนู Export ที่ Tab ดานบน จะปรากฎหนาตาง Flash and Export<br />

3. เลือก Export as a Flash Movie ดานซายลาง จะปรากฏหนาตาง Save as Flash Movie<br />

4. ในหนาตาง Save as Flash Movie เพื่อใหกําหนดขนาดและรายละเอียดของกราฟ Flash Movie<br />

โดยกําหนดความกวาง (Width) 900 pixel และความสูง (Height) 450 pixel จากนั้นเลือก Save<br />

เพื่อบันทึกกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว (Macromedia Flash) ดังแสดงในภาพที่ 25<br />

การบันทึกกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว (Macromedia Flash)<br />

คลายกับการบันทึกไฟลงานทั่วไป โดยทําการบันทึกกราฟที่ไดทําเรียบรอย ใน File และ Folder ที่<br />

ตองการสงออกในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว ซึ่งไฟลดังกลาวบันทึกในรูปแบบของ Macromedia Flash<br />

(นามสกุล .swf) ดังแสดงในภาพที่ 26<br />

ภาพที่ 26 การบันทึกกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว Macromedia Flash (*.swf)<br />

การแทรกไฟลกราฟในรูปแบบของภาพเคลื่อนไหว (Flash Movie) ในโปรแกรม MS. PowerPoint<br />

หลังจากบันทึกไฟลกราฟในรูปแบบภาพเคลื่อนไหว จะไดไฟลกราฟ นามสกุล.swf ซึ่งสามารถ<br />

นําไปแสดงในโปรแกรม Microsoft PowerPoint ดังนี้คือ<br />

1) เปดโปรแกรม Microsoft PowerPoint และเปด Slide วาง<br />

2) เลือกเมนู Insert และเลือกคําสั่ง Flash Movie ซึ่งคําสั่งนี้จะปรากฏภายหลังการ Install<br />

Program Portable Swiff Chart 3 Pro ดังแสดงในภาพที่ 27<br />

ภาพที่ 27 การแทรกไฟลกราฟในรูปแบบ Flash Movie ในโปรแกรม MS. PowerPoint<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 53


3) หลังจากนั้นจะปรากฏหนาตาง File Open เพื่อเลือกเปด Folder และ File ที่เก็บกราฟใน<br />

รูปแบบภาพเคลื่อนไหว File of Type: Macromedia Flash Movies จากนั้นเลือก Insert<br />

ดังแสดงในภาพที่ 28<br />

Insert<br />

ภาพที่ 28 แสดงการเปดไฟลกราฟที่ตองการนําเสนอในรูปแบบ Flash Movie ใน MS. PowerPoint<br />

4) ปรากฎ Slide ใน Microsoft PowerPoint ซึ่งจะไมเห็นเปนรูปกราฟ โดยรูปกราฟที่แสดงเปน<br />

ภาพเคลื่อนไหว (Flash Movie) จะแสดงเมื่อเลือกนําเสนอสไลด หรือ Slide Show เทานั้น<br />

ภาพที่ 29 แสดงการนําเสนอกราฟในรูปแบบ Flash Movie ในโปรแกรม Microsoft PowerPoint<br />

54 การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


โปรแกรม <strong>SPSS</strong>


โปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

บทที่ 1<br />

ความหมายของคําวาสถิติ<br />

1. สถิติ (Statistical)<br />

สถิติ หมายถึง วิธีการที่วาดวยการเก็บรวบรวมขอมูล การนําเสนอขอมูล การวิเคราะหขอมูล และการ<br />

ตีความหมายขอมูล สถิติเปนทั้งวิทยาศาสตรและศิลปศาสตร เรียกวาสถิติศาสตร<br />

2. ประเภทของสถิติ แบงเปน 2 ประเภท คือ<br />

2.1 สถิติเชิงพรรณา (Descriptive Statistics) เปนสถิติที่ใชอธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ตองการศึกษากลุม<br />

ใดกลุมหนึ่ง ไมสามารถอางอิงไปยังกลุมอื่นๆ ได เชน คาความถี่ คารอยละ คาเฉลี่ย คามัธยฐาน คาฐานนิยม คา<br />

สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คาพิสัย เปนตน<br />

2.2 สถิติเชิงอนุมาน (Inferential Statistics) เปนสถิติที่ใชอธิบายคุณลักษณะของสิ่งที่ตองการศึกษากลุม<br />

ใดกลุมหนึ่งหรือหลายกลุม แลวสามารถอางอิงไปยังกลุมประชากรตางๆ ได โดยกลุมที่นํามาศึกษาตองเปนตัว<br />

แทนที่ดีของประชากร ซึ่งไดมาจากการสุมตัวอยาง สวนตัวแทนที่ดีของประชากร เรียกวากลุมตัวอยาง<br />

สถิติเชิงอนุมาน สามารถแบงออกไดเปน 2 ประเภทคือ<br />

1) สถิติแบบใชพารามิเตอร คือสถิติที่ตองเปนไปตามขอตกลงเบื้องตน 3 ประการดังนี้คือ<br />

a. ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดตองเปนขอมูลที่อยูในระดับชวง (Interval Scale)<br />

b. ขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากกลุมตัวอยาง ตองมีการแจกแจงแบบปกติ (Normal Distribution)<br />

c. กลุมประชากรแตละกลุมที่ศึกษาตองมีความแปรปรวนเทากัน<br />

สถิติประเภทนี้ไดแก t-test, F-test, ANOVA, Regression<br />

2) สถิติแบบไมใชพารามิเตอร คือ สถิติที่ไมอยูในขอตกลงเบื้องตนทั้ง 3 ประการ สถิติประเภทนี้ไดแก Chi-<br />

Square, Goodness of fit test, การวิเคราะหความสัมพันธ, การทดสอบความเปนอิสระและความ<br />

คลายคลึง<br />

หมายเหตุ สถิติแบบใชพารามิเตอรจะมีอํานาจในการทดสอบ (Power of Test) หรือความนาจะเปนในการ<br />

ตัดสินใจที่ถูกตอง สูงกวาสถิติแบบไมใชพารามิเตอร<br />

3. ระดับของการวัด (Scale of Measurement)<br />

การวัดเปนการกําหนดคาของขอมูลเปนตัวเลขใหกับสิ่งที่ตองการศึกษา โดยการวัดแบงออกเปน 4 ระดับคือ<br />

3.1 สเกลนามบัญญัติ (Nominal Scale) เปนระดับที่ใชจําแนกความแตกตางของสิ่งที่ตองการวัดออกเปน<br />

กลุม เชน เพศ แบงออกเปนเพศชายและเพศหญิง โดยใหคา 1 แทนดวยเพศชาย และคา 2 แทนดวยเพศหญิง<br />

ทัศนคติ แบงออกเปน เห็นดวย และไมเห็นดวย โดยใหคา 1 แทนเห็นดวย และคา 2 แทนไมเห็นดวย โดยตัวเลขใน<br />

ระดับนามบัญญัติไมสามารถนํามา บวก ลบ คูณ หาร ได<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 55


3.2 สเกลมาตรวัดอันดับ (Ordinal Scale) เปนระดับที่ใชสําหรับจัดอันดับหรือตําแหนงของสิ่งที่<br />

ตองการวัด เชน ระดับของความคิดเห็น แบงออกเปน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็นดวย เฉยๆ ไมเห็น<br />

ดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง โดยใหคา 1 แทนดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง คา 2 แทนดวย ไมเห็นดวย คา 3<br />

แทนดวย เฉยๆ คา 4 แทนดวย เห็นดวย และคา 5 แทนดวย เห็นดวยอยางยิ่ง โดยตัวเลขในระดับมาตรวัด<br />

อันดับ สามารถนํามาบวก ลบ หรือหาคาเฉลี่ยได แตไมสามารถนํามาคูณ หรือหารได<br />

3.3 สเกลอันตรภาค (Interval Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขโดยมีชวงหางระหวาง<br />

ตัวเลขเทาๆ กัน แตไมมีศูนยแท มีแตคาศูนยที่สมมติขึ้น เชน การสอบได 0 คะแนน ไมไดหมายความวาเขา<br />

ไมมีความรู แตเขาไมสามารถทําขอสอบวิชานั้นได หรืออุณหภูมิ 0 องศา ไมไดหมายความวาไมมีความ<br />

รอน แตมีความรอนเพียง 0 องศาเทานั้น<br />

3.4 สเกลอัตราสวน (Ratio Scale) เปนระดับที่สามารถกําหนดคาตัวเลขใหกับสิ่งที่ตองการวัด<br />

โดยมีศูนยแท เชน น้ําหนัก ความสูง อายุ โดยสามารถนําตัวเลขในระดับอัตราสวนนี้มา บวก ลบ คูณ หาร<br />

หรือหาอัตราสวน หรือคาเฉลี่ยได<br />

4. ประชากรและกลุมตัวอยาง (Scale of Measurement)<br />

ประชากร คือ สิ่งทั้งหมดที่เปนคุณลักษณะของสิ่งที่เราตองการศึกษา<br />

กลุมตัวอยาง คือ สวนหนึ่งของทั้งหมดที่เปนคุณลักษณะของสิ่งที่เราตองการศึกษา<br />

5. โปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

โปรแกรม <strong>SPSS</strong> (Statistical Package for Social Science) เปนโปรแกรมสําเร็จรูปทางสถิติที่<br />

สามารถวิเคราะหขอมูลไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยแสดงคาสถิติตางๆ พรอมทั้งสามารถแสดงกราฟและ<br />

ตาราง ขอดีของโปรแกรม <strong>SPSS</strong> เนื่องมาจากใชงานไดงาย และสามารถหามาใชไดงาย นอกจากนี้<br />

โปรแกรมยังมีการพัฒนาอยูตลอดเวลา อันจะเห็นไดจากรุนของโปรแกรมที่เปลี่ยนแปลงไปอยางรวดเร็ว<br />

จนปจจุบัน <strong>SPSS</strong> for Windows พัฒนามาถึงรุนที่ 13 แลว<br />

56<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


บทที่ 2<br />

การเตรียมเครื่องมือกอนการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล<br />

1. เครื่องมือในการเก็บรวบรวมขอมูล<br />

ตัวอยางแบบสอบถาม พฤติกรรมการออกกําลังกายของบุคลากร กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข<br />

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป<br />

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงใน หรือเติมขอความลงในชองวางตรงตามความเปนจริง<br />

1. เพศ<br />

ชาย หญิง<br />

2. อายุ…………ป<br />

3. สถานภาพสมรส<br />

1. โสด 2. สมรส 3. หมาย / หยา / แยกกันอยู<br />

4. ระดับการศึกษาสูงสุด<br />

1. ต่ํากวาปริญญาตรี<br />

2. ปริญญาตรี<br />

3. สูงกวาปริญญาตรี<br />

4. อื่น ๆ โปรดระบุ…………………………………<br />

5. รายได…………………..บาทตอเดือน<br />

6. ทานมีโรคประจําตัวหรือไม<br />

1. ไมมี<br />

2. มีโรคประจําตัว โปรดระบุ…………………………………<br />

7. ปจจุบันทานออกกําลังกายเพื่อสุขภาพดวยวิธีใด (ตอบไดมากกวา 1 ขอ)<br />

1. เดิน 2. วิ่งเหยาะ ๆ 3. เตนแอโรบิค<br />

4. ไทเกก 5. ถีบจักรยานอยูกับที่ 6. อื่น ๆ ………………………<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 57


สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองที่ตรงตามความคิดเห็นของทานมากที่สุด<br />

ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย ใช ไมใช<br />

1. ประโยชนของการออกกําลังกายเปนประจําทําใหมีการลาปวยนอยลง<br />

2. การออกกําลังกายประกอบดวย 3 ชวงคือชวงอบอุนรางกาย ชวงฝกจริงชวงผอนคลาย<br />

3. ระยะเวลาการออกกําลังกายใหมีสุขภาพดี คือครั้งละ 15 – 30 นาที สัปดาหละ3 วัน<br />

4. ควรออกกําลังกายหลังรับประทานอาหารทันที<br />

5. บุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงไมจําเปนตองออกกําลังกาย<br />

6. ควรออกกําลังกายหักโหมใหเหนื่อยมาก ๆ เมื่อเริ่มออกกําลังกายครั้งแรก<br />

7. การออกกําลังกายทําใหระบบไหลเวียนเลือด กลามเนื้อ และระบบอื่น ๆ แข็งแรงขึ้น<br />

8. ผูที่มีโรคประจําตัวควรออกกําลังกายมากกวาคนที่มีสุขภาพแข็งแรง<br />

9. การออกกําลังกายชวยผอนคลายความตึงเครียด ทําใหนอนหลับไดดีขึ้น<br />

10. การออกกําลังกายเปนการหด ยืดกลามเนื้อ และขอตอ<br />

11. การออกกําลังกายทําใหเกิดการใชออกซิเจนและเผาผลาญอาหารในรางกายเพิ่มขึ้น<br />

12. เลือกวิธีออกกําลังกายที่เหมาะสมกับเพศและวัย<br />

สวนที่ 3 ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

คําชี้แจง โปรดทําเครื่องหมาย ลงในชองที่ตรงกับความรูสึก / ความคิดเห็นของทานมากที่สุด<br />

ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

1. การออกกําลังกายทําใหเสียคาใชจายโดยไมจําเปน<br />

2. ผูสูงอายุไมควรออกกําลังกายเพราะทําใหสุขภาพทรุดโทรม<br />

3. ผูที่มีสุขภาพแข็งแรงดีไมจําเปนตองออกกําลังกาย<br />

4. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหสดชื่น และคลายเครียด<br />

5. การออกกําลังกายเปนประจําชวยชะลอความเสื่อมของ<br />

รางกายได<br />

6. การออกกําลังกายทําใหเหนื่อยลาและนอนไมหลับ<br />

7. การออกกําลังกายเปนเรื่องยุงยากเพราะมีขั้นตอนมาก<br />

8. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหรูปรางกระชับไดสัดสวน<br />

มีความคลองตัว<br />

9. ผูที่มีโรคประจําตัวตองปรึกษาแพทยกอนออกกําลังกาย<br />

10. การออกกําลังกายทําใหลดโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคความ<br />

ดันโลหิตสูงและโรคหัวใจ<br />

เห็นดวย<br />

อยางยิ่ง เห็นดวย ไมแนใจ ไม<br />

เห็นดวย<br />

ไมเห็นดวย<br />

อยางยิ่ง<br />

58<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


2. การสรางรหัสสําหรับขอมูล<br />

2.1 ตัวแปร<br />

ตัวแปร คือ ชื่อที่ใชเรียกแทนขอคําถามในเครื่องมือที่เก็บขอมูล มักจะตั้งชื่อตัวแปรเปนภาษาอังกฤษ และมี<br />

ความยาวไมเกิน 8 ตัวอักขระ เพื่อใหโปรแกรม <strong>SPSS</strong> สามารถเขาใจได<br />

2.2 ชนิดของตัวแปร<br />

ชนิดของตัวแปร แบงออกเปน 2 ชนิดคือ<br />

1. ตัวแปรเชิงปริมาณ คือ ตัวแปรที่มีคาเปนตัวเลข ที่ระบุไดวามีคามากหรือนอย เชน รายได อายุ<br />

น้ําหนัก สวนสูง ขนาดของตัวแปร รายไดมี 6 หลัก อายุมี 2 หลัก น้ําหนักมี 3 หลัก สวนสูงมี 3 หลัก เปนตน<br />

2. ตัวแปรเชิงคุณภาพหรือตัวแปรเชิงกลุม คือ ตัวแปรที่เปนขอความ หรือตัวแปรที่ตองใชตัวเลขแทนคา<br />

รหัสของขอมูล ซึ่งขนาดของตัวแปร ควรจะเทากับจํานวนทางเลือกของคําตอบ เชน เพศ จําแนกเปน 2 กลุม คือเพศ<br />

ชายและเพศหญิง ระดับความคิดเห็นมี 5 ระดับ ขนาดของตัวแปรกําหนดเปน 1 หลัก แตถาระดับความคิดเห็นมี<br />

10 ระดับ ขนาดของตัวแปรควรกําหนดเปน 2 หลัก เปนตน<br />

2.3 กําหนดรหัสโดยแบงตามชนิดของคําถาม<br />

การกําหนดรหัสของขอมูลจะตองคํานึงถึงชนิดของคําถาม โดยที่ชนิดของคําถามแบงออกเปน<br />

1. คําถามปลายปด แบงออกเปน<br />

• คําถามที่มีคําตอบใหเลือกเพียง 2 คําตอบ เชน เพศ มี 1: เพศชายและ 2: เพศหญิง<br />

• คําถามที่มีคําตอบใหเลือกหลายคําตอบ เชน สถานภาพสมรส มี 1: โสด 2: สมรสอยูดวยกัน 3: สมรส<br />

แยกกันอยู และ 4: หยา/หมาย<br />

• คําถามที่สามารถเลือกคําตอบไดหลายคําตอบ หรือตอบไดมากกวา 1 ขอ เชน วิธีในการออกกําลังกาย ณ<br />

ปจจุบัน ซึ่งสามารถตอบไดหลายวิธี ไดแก เดิน วิ่งเหยาะๆ เตนแอโรบิค ไทเก็ก ถีบจักยานอยูกับที่ หรือ<br />

วิธีการอื่นๆ โดยถาเลือกตอบ จะแสดงคา 1 แตถาไมเลือกตอบ จะแสดงคา 0<br />

• คําถามที่คําตอบใหใสลําดับที่ เชน วิธีในการออกําลังกายที่ปฏิบัติบอยที่สุด 3 อันดับแรก โดยจะใสคา 1<br />

หนาวิธีการที่ปฏิบัติบอยที่สุด และจะใสคา 2 และ 3 หนาวิธีที่ปฏิบัติในลําดับถัดมา<br />

• คําถามที่ใหแสดงระดับมากนอย เชน ระดับความคิดเห็น แบงออกเปน 5 ระดับ คือ เห็นดวยอยางยิ่ง เห็น<br />

ดวย เฉยๆ ไมเห็นดวย และไมเห็นดวยอยางยิ่ง โดยใหคา 1 แทนดวย ไมเห็นดวยอยางยิ่ง คา 2 แทนดวย<br />

ไมเห็นดวย คา 3 แทนดวย เฉยๆ คา 4 แทนดวย เห็นดวย และคา 5 แทนดวย เห็นดวยอยางยิ่ง<br />

2. คําถามปลายเปด เชน ขอดีของการออกําลังกาย หรือขอเสียของการออกกําลังกาย ตลอดจนขอเสนอแนะในการ<br />

ออกกําลังกายนั้น ซึ่งเปนคําถามปลายเปดใหตอบ โปรแกรม <strong>SPSS</strong> จะสามารถพิมพขอความไดยาวไมเกิน 255<br />

อักขระ และถาพิมพเปนขอความจะไมสามารถนํามาประมวลผลได จึงจําเปนตองสรุปขอคําตอบนั้น เปนรหัส<br />

ตัวเลขแทนขอความ<br />

3. คําถามที่ไมไดรับคําตอบ (Missing data) จะแทนคาดวย 9, 99, 999 … ขึ้นอยูกับขนาดของตัวแปรวาใชกี่หลัก<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 59


3. การจัดทําคูมือลงรหัส<br />

คูมือลงรหัส คือ การกําหนดรหัสของขอมูลแทนคําตอบในขอคําถาม เพื่อเตรียมนําเขาขอมูลกอน<br />

การประมวลผลขอมูล โดยคูมือลงรหัสประกอบดวย 1) เลขที่แบบสอบถาม 2) เลขที่ขอคําถาม 3) ชื่อตัว<br />

แปร 4) รายการขอมูลหรือขอคําถามในแตละขอ 5) ขนาดของตัวแปร และ 6) คาที่เปนไปไดพรอม<br />

คําอธิบายความหมาย และ 7) การระบุคา Missing<br />

สวนที่ 1 ขอมูลสวนบุคคลทั่วไป<br />

คําถาม<br />

ขนาดของ คาที่เปนไปไดและ คา<br />

ชื่อตัวแปร รายการขอมูล<br />

ที่<br />

ตัวแปร ความหมาย Missing<br />

1 SEX เพศ 1 1: ชาย 2: หญิง 9<br />

2 AGE อายุ 2 ระบุตามจริง 99<br />

3 STATUS สถานภาพสมรส 1 1: โสด 2: สมรส 3: หยา/ 9<br />

หมาย/แยกกันอยู<br />

4 EDU ระดับการศึกษาสูงสุด 1 1: ต่ํากวาป.ตรี 2: ป.ตรี 9<br />

3: สูงกวาป.ตรี 4: อื่นๆ<br />

5 SALARY รายได 6 ระบุตามจริง 999999<br />

6 DISEASE ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 1 1: ไมมี 2: มี 9<br />

7 ปจจุบันทานออกกําลังกายเพื่อสุขภาพดวยวิธีใด<br />

7.1 EXE1 - เดิน 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.2 EXE2 - วิ่งเหยาะๆ 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.3 EXE3 - เตนแอโรบิก 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.4 EXE4 - ไทเกก 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.5 EXE5 - ถีบจักรยานอยูกับที่ 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

7.6 EXE6 - วิธีอื่นๆ 1 1: ใช 0: ไมใช 9<br />

60<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


สวนที่ 2 ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

ที่<br />

ชื่อ<br />

ตัวแปร<br />

รายการขอมูล<br />

ขนาด<br />

ตัวแปร<br />

คาที่เปนไปได<br />

และ<br />

ความหมาย<br />

คา<br />

Missing<br />

คําตอบที่<br />

ถูกตอง<br />

1 KNOW1 1. ประโยชนของการออกกําลังกายเปนประจําทําใหมีการลา<br />

ปวยนอยลง<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

2 KNOW2 2. การออกกําลังกายประกอบดวย 3 ชวง คือ ชวงอบอุน<br />

รางกาย ชวงฝกจริง ชวงผอนคลาย<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

3 KNOW3 3. ระยะเวลาการออกกําลังกายใหมีสุขภาพดี คือครั้งละ 15<br />

– 30 นาที สัปดาหละ 3 วัน<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

4 KNOW4 4. ควรออกกําลังกายหลังรับประทานอาหารทันที 1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

5 KNOW5 5. บุคคลที่มีสุขภาพแข็งแรงไมจําเปนตองออกกําลังกาย 1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

6 KNOW6 6. ควรออกกําลังกายหักโหมใหเหนื่อยมาก ๆ เมื่อเริ่มออก<br />

กําลังกายครั้งแรก<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

7 KNOW7 7. การออกกําลังกายทําใหระบบไหลเวียนเลือด กลามเนื้อ<br />

และระบบอื่น ๆ แข็งแรงขึ้น<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

8 KNOW8 8. ผูที่มีโรคประจําตัวควรออกกําลังกายมากกวาคนที่มี 1 1: ใช 2: ไมใช 9 2: ไมใช<br />

สุขภาพแข็งแรง<br />

9 KNOW9 9. การออกกําลังกายชวยผอนคลายความตึงเครียด ทําให<br />

นอนหลับไดดีขึ้น<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

10 KNOW10 10. การออกกําลังกายเปนการหดยืดกลามเนื้อและขอตอ 1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

11 KNOW11 11. การออกกําลังกายทําใหเกิดการใชออกซิเจนและ<br />

เผาผลาญอาหารในรางกายเพิ่มขึ้นจากปกติ<br />

1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

12 KNOW12 12. เลือกวิธีออกกําลังกายที่เหมาะสมกับเพศและวัย 1 1: ใช 2: ไมใช 9 1: ใช<br />

หมายเหตุ ถาคําตอบที่ถูกตองเปน ใช ถาตอบวา “ใช” จะได 1 คะแนน แตถาตอบวา “ไมใช” จะได 0 คะแนน<br />

KNOW1 - KNOW3, KNOW7, KNOW9-KNOW12<br />

ถาคําตอบที่ถูกตองเปน ไมใช ถาตอบวา “ไมใช” จะได 1 คะแนน แตถาตอบวา “ใช” จะได 0 คะแนน<br />

KNOW4 – KNOW6 และ KNOW8<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 61


สวนที่ 3 ทัศนคติเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

ที่ ชื่อตัวแปร รายการขอมูล<br />

ขนาดของ คา ทัศนคติที่<br />

ตัวแปร Missing ถูกตอง<br />

1 THINK1 1. การออกกําลังกายทําใหเสียคาใชจายโดยไมจําเปน 1 9 ทางลบ<br />

2 THINK 2 2. ผูสูงอายุไมควรออกกําลังกายเพราะทําใหสุขภาพทรุดโทรม 1 9 ทางลบ<br />

3 THINK 3 3. ผูที่มีสุขภาพแข็งแรงดีไมจําเปนตองออกกําลังกาย 1 9 ทางลบ<br />

4 THINK 4 4. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหสดชื่น และคลายเครียด 1 9 ทางบวก<br />

5 THINK 5 5. การออกกําลังกายเปนประจําชวยชะลอความเสื่อมของรางกาย 1 9 ทางบวก<br />

6 THINK 6 6. การออกกําลังกายทําใหเหนื่อยลาและนอนไมหลับ 1 9 ทางลบ<br />

7 THINK 7 7. การออกกําลังกายเปนเรื่องยุงยากเพราะมีขั้นตอนมาก 1 9 ทางลบ<br />

8 THINK 8 8. การออกกําลังกายเปนประจําทําใหรูปรางกระชับไดสัดสวนมีความคลองตัว 1 9 ทางบวก<br />

9 THINK 9 9. ผูที่มีโรคประจําตัวตองปรึกษาแพทยกอนออกกําลังกาย 1 9 ทางบวก<br />

10 THINK 10 10. การออกกําลังกายทําใหลดโอกาสเสี่ยงตอการเปนโรคความดันโลหิตสูง 1 9 ทางบวก<br />

หมายเหตุ ถาทัศนคติเปนทางบวก เห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 5, เห็นดวย ไดคะแนน 4,<br />

ไมแนใจ ไดคะแนน 3, ไมเห็นดวย ไดคะแนน 2, ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 1<br />

ถาทัศนคติเปนทางลบ เห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 1, เห็นดวย ไดคะแนน 2,<br />

ไมแนใจ ไดคะแนน 3, ไมเห็นดวย ไดคะแนน 4, ไมเห็นดวยอยางยิ่ง ไดคะแนน 5<br />

4. การปอนคาของขอมูลในโปรแกรม MS. <strong>Excel</strong><br />

ภาพที่ 1 แสดงการปอนคาของขอมูลตามคูมือลงรหัสในโปรแกรม MS.<strong>Excel</strong><br />

แถวที่ 1 ใชในการกําหนดตัวแปรตามคูมือลงรหัส เรียงลําดับตามคอลัมภ<br />

แถวที่ 2 ใชในการกําหนดคาของขอมูล ในแบบสอบถามหมายเลขที่ 1 หรือ ID=1 (Case ที่ 1)<br />

แถวที่ 2 แถวที่ 3....ใชในการกําหนดคาของขอมูลในแบบสอบถามเลขที่ 2, 3....ตามลําดับ<br />

62<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


บทที่3<br />

โปรแกรม <strong>SPSS</strong> for window<br />

1. การนําเขาขอมูลที่ปอนในโปรแกรม MS.<strong>Excel</strong> สูโปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

1.1 เปดโปรแกรม <strong>SPSS</strong> โดยเริ่มจาก Start -> All Programs –> <strong>SPSS</strong> for windows -> <strong>SPSS</strong> 11.5 for<br />

window หลังจากเปดโปรแกรม <strong>SPSS</strong> แลวจะแสดงหนาตางดังแสดงในภาพที่ 1 จากนั้นปดหนาตางดังกลาว<br />

ภาพที่ 1 แสดงหนาตางการเขาสูโปรแกรม <strong>SPSS</strong><br />

1.2 เปด File ตางๆ ที่สรางไวแลว เชน File ขอมูล (Open -> Data), File คําสั่งที่ใชในการ Run <strong>SPSS</strong><br />

(Open -> Syntax), File ผลลัพธจากการวิเคราะหขอมูล (Open -> Output) ดังแสดงในภาพที่ 2<br />

ภาพที่ 2 แสดงหนาตางการเปด File ขอมูล (Open -> Data)<br />

1.3 เปดไฟลขอมูล โดยการ Browse เพื่อหาชื่อไฟลที่ปอนคาของขอมูลแลว (File name) และเลือกรูปแบบ<br />

ของไฟลขอมูลที่ตองการนําเขาสูโปรแกรม <strong>SPSS</strong> (File of type) ซึ่งมีไดหลายรูปแบบ เชน <strong>SPSS</strong> for window<br />

(*.sav), <strong>SPSS</strong> for PC (*.sys), <strong>Excel</strong> (*.xls), SAS, dBase, Text (*.txt), Data (*.dat) ในที่นี้เลือก 1) Filename:<br />

<strong>SPSS</strong> data 2) File of Type: <strong>Excel</strong> (*.xls) และ 3) เลือก Open ตามลําดับ จากนั้นจะขึ้นหนาตาง Open <strong>Excel</strong><br />

Data Source ใหเลือก 4) Read variable names from the first row of data คือ ใชชื่อของตัวแปรตามแถวที่ 1<br />

ของไฟลขอมูลใน MS.<strong>Excel</strong> 5) กําหนดขอมูลใน worksheet (Set auto) และ 6) เลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 3<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 63


ภาพที่ 3 แสดงหนาตางการเปด File ขอมูล (Open -> Data)<br />

2. หนาตาง <strong>SPSS</strong> data Editor<br />

ในหนาตาง <strong>SPSS</strong> data Editor ประกอบดวย 2 Sheet คือ 1) Data View จะแสดงคาของขอมูล<br />

และ 2) Variable View จะแสดงตัวแปร และคุณสมบัติของตัวแปร<br />

2.1 หลังจากเปดไฟลขอมูลดังกลาวแลว จะแสดงคาของขอมูลทั้งหมดใน Sheet Data View โดย<br />

ใน Sheet Data View นี้จะแสดงตารางลักษณะคลายๆ กับใน MS. <strong>Excel</strong> คือ แถวจะแทนดวยจํานวน<br />

แบบสอบถาม หรือจํานวนขอมูล สวนคอลัมภ จะแทนดวยตัวแปรตางๆ เชน ID, SEX, AGE, STATUS,<br />

EDU ฯลฯ เปนตน ดังแสดงในภาพที่ 4.1<br />

2.2 ใน Sheet Variable View จะเก็บตัวแปรและคุณลักษณะของตัวแปร ดังแสดงในภาพที่ 4.2<br />

1) Name: ชื่อ (ชื่อของตัวแปรมีความยาวไมเกิน 8 อักขระ)<br />

2) Type: ชนิดของตัวแปร ดังแสดงในภาพที่ 4.3<br />

- Numeric: แทนคาของขอมูลที่เปนตัวเลข กําหนดขนาดความกวางของตัวเลข (Width) และ<br />

ทศนิยม (Decimal Places)<br />

- Comma: แทนขอมูลที่มีเครื่องหมายคอมมาคั่น เชน ปอน 1234 จะแสดงเปน 1,234.00<br />

- Dot: แทนขอมูลที่มีเครื่องหมายจุดทศนิยมคั่น โดยจะแสดงเปน 1.234.00<br />

- Scientific notation: แทนขอมูลดวยสัญลักษณทางคณิตศาสตร โดยแสดงเปน1.2+E03<br />

- Date: แสดงคาของขอมูลเปนวันที่ ซึ่งมีรูปแบบหลากหลาย ดังแสดงในภาพที่ 4.4<br />

- Dollar: แสดงคาของขอมูลเปนจํานวนเงินดอลลาร มีเครื่องหมาย $ นําหนา<br />

- Customer currency: แสดงคาของขอมูลที่นิยามคุณลักษณะเอง<br />

- String: แสดงคาของขอมูลแบบตัวอักษร ตัวเลข ซึ่งขอมูลนี้ไมสามารถนํามาคํานวณได<br />

3) Width และ Decimals: ขนาดความกวางของคาขอมูล (รวมคาทศนิยม) และทศนิยม<br />

4) Label: อธิบายความหมายของตัวแปร<br />

64<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


5) Values: ใชอธิบายคาของตัวแปร มันนิยมใชกับตัวแปรระดับ Nominal Scale และ Ordinal Scale เชน<br />

ตัวแปรเพศ Add Value Label ดังนี้คือ Value: พิมพ 1, Value Label: แทนดวยชาย จากนั้นเลือก Add ถัดมา<br />

Value: พิมพ 2, Value Label: แทนหญิง จากนั้นเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 4.5<br />

6) Missing: คาที่ไมระบุ หรือคาที่ไมไดรับคําตอบ หรือคาที่ไมถูกตอง แทนดวยตัวเลข 9, 99, 999 ...<br />

ขึ้นกับขนาดของตัวแปรวาใชกี่หลัก เลือก Discrete Missing Value แตถาไมกําหนดคา Missing Vale ใหเลือก No<br />

Missing Value ดังแสดงในภาพที่ 4.6<br />

ภาพที่ 4.1 แสดงขอมูลทั้งหมดที่ Import เขามา ใน Sheet Data View<br />

ภาพที่ 4.2 แสดงตัวแปรทั้งหมดที่ Import เขามา ใน Sheet Variable View<br />

ภาพที่ 4.3 แสดงชนิดของตัวแปร ภาพที่ 4.4 แสดงรูปแบบของคาขอมูลที่เปน Date<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 65


ภาพที่ 4.5 แสดงการกําหนดคา Value Labels ภาพที่ 4.6 แสดงการกําหนด Missing Values<br />

7) Column ใชในการกําหนดขนาดของคอลัมภ หรือขนาดของคาของขอมูล<br />

8) Align คือการกําหนดใหคาของขอมูล ชิดซาย ชิดขวา หรือตรงกลาง<br />

9) Measure คือ มาตรวัดหรือสเกลในการวัด มี Nominal Scale, Ordinal Scale, Scale<br />

3. การบันทึกแฟมขอมูล (SAVE)<br />

การบันทึกขอมูลลงแฟมขอมูลเลือก เมนู File -> เลือก Save Data as -> Browse เพื่อเลือก<br />

Folder ที่ตองการบันทึกแฟมขอมูล โดยใสชื่อ File name: Data <strong>SPSS</strong> และ Save as type: <strong>SPSS</strong> (*.sav)<br />

จากนั้นเลือก SAVE ดังแสดงในภาพที่ 5<br />

หมายเหตุ Save file Data (ขอมูล) นามสกุล *.sav, การ Save file Syntax (คําสั่ง) นามสกุล *.sps สวน<br />

การ Save file Output นามสกุล *.spo<br />

ภาพที่ 5 แสดงการบันทึกขอมูลลงแฟมขอมูล<br />

4. การเปดแฟมขอมูล (OPEN)<br />

การเปดแฟมขอมูลเลือก เมนู File -> เลือก Open -> Browse เพื่อเลือก Folder ที่ตองการเปด<br />

แฟมขอมูล ในที่นี้เลือกชื่อ File name: Data <strong>SPSS</strong> และ เลือก File of type: <strong>SPSS</strong> (*.sav) จากนั้นเลือก<br />

OPEN ดังแสดงในภาพที่ 3 (ขางตน)<br />

66<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


บทที่4<br />

การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล (Analyze)<br />

การประมวลผลและวิเคราะหขอมูล โดยใชโปรแกรม <strong>SPSS</strong> มีหลายคําสั่งขึ้นอยูกับสถิติที่ตองการวิเคราะห<br />

การวิเคราะหเบื้องตนที่ตองใชในที่นี้คือ คําสั่ง Reports, Descriptive Statistics, Compare Means, Correlate<br />

และ Multiple Response ดังแสดงรายละเอียดดังนี้<br />

ภาพที่ 6 แสดงคําสั่งในการประมวลผลและวิเคราะหขอมูล: Analyze<br />

1. การใชคําสั่ง Report<br />

1.1 คําสั่ง OLAP Cubes (Online Analytical Processing) เปนคําสั่งในการสรุปลักษณะของ ตัวแปรเชิง<br />

ปริมาณจําแนกตามลักษณะของตัวแปรเชิงกลุม ในที่นี้สรุปอายุเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง (ตัวแปรเชิงปริมาณ)<br />

จําแนกตามเพศ (ตัวแปรเชิงกลุม) ในภาพรวม<br />

เลือกเมนู Analysis -> Report -> OLAP Cubes จากนั้นจะแสดงหนาตาง OLAP Cubes ซึ่งดานซาย<br />

ประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Summary Variables(s) จะใสตัว<br />

แปรเชิงปริมาณที่ตองการหาคาสถิติตางๆ เชน ผลรวม คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในที่นี้คือ อายุ<br />

(age) 2) Grouping Variable(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนก ในที่นี้คือ เพศ (sex) 3) เลือก<br />

Statistics ซึ่งจะแสดงหนาตาง OLAP Cubes: Statistics เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก Sum,<br />

Number of cases, Mean, Standard Deviation จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม 4) Title ใส<br />

หัวตาราง และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 7.1<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 67


1<br />

2<br />

3<br />

4<br />

ภาพที่ 7.1 แสดงคําสั่งในการสรุปขอมูล OLAP Cubes<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง OLAP Cubes ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงอายุภาพรวม Sum = 3734 ป จากจํานวนกลุมตัวอยาง N = 115 คน อายุเฉลี่ย<br />

(Mean) = 32.47 ป และคาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Std.Deviation) = 7.205 ป โดยเมื่อคลิกที่ตาราง<br />

OLAP Cubes จะพบวาตัวแปรเพศ มีตัวกรองใหเลือกเพศ สามารถจําแนกตามเพศชาย และเพศหญิง ดัง<br />

แสดงในภาพที่ 7.2<br />

ภาพที่ 7.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง OLAP Cubes<br />

68<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1.2 คําสั่ง Summarize Cases เปนคําสั่งในการสรุปลักษณะของตัวแปรเชิงปริมาณจําแนกตามลักษณะของ<br />

ตัวแปรเชิงกลุม ในที่นี้สรุปอายุเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง (ตัวแปรเชิงปริมาณ) จําแนกตามเพศ (ตัวแปรเชิงกลุม)<br />

โดยจําแนกเปนเพศชาย เพศหญิง และภาพรวม<br />

เลือกเมนู Analysis -> Report -> Case Summaries จากนั้นจะแสดงหนาตาง Summarize Cases ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Variables(s) จะใสตัวแปร<br />

เชิงปริมาณที่ตองการหาคาสถิติตางๆ เชน ผลรวม คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในที่นี้คือ อายุ (age) 2)<br />

Grouping Variable(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนก ในที่นี้คือ เพศ (sex) 3) เลือก Statistics ซึ่งจะ<br />

แสดงหนาตาง Summary Report: Statistics เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก Mean, Standard<br />

Deviation, Minimum, Maximum จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงใน<br />

ภาพที่ 8.1<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 8.1 แสดงคําสั่งในการสรุปขอมูล Summarize Cases<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Summarize Cases ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงอายุเฉลี่ย (Mean) จําแนกตามเพศชาย เพศหญิง และภาพรวม สวนเบี่ยนเบนมาตรฐาน (Std.<br />

Deviation) คาสูงสุด และคาต่ําสุด ดังแสดงในภาพที่ 8.2<br />

ภาพที่ 8.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Case Summaries<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 69


2. การใชคําสั่ง Descriptive Statistics<br />

2.1 คําสั่ง Descriptive เปนคําสั่งในการอธิบายตัวแปรเชิงปริมาณ ตามสถิติที่ตองการวิเคราะห เชน<br />

Mean, Std. Deviation ในที่นี้หาคาเฉลี่ยของตัวแปรอายุ (age) และรายได (salary)<br />

เลือกเมนู Analysis -> Descriptive Statistics -> Descriptives จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Descriptive ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Variables(s) จะใสตัวแปรเชิงปริมาณที่ตองการหาคาสถิติตางๆ ในที่นี้คือ อายุ (age) และรายได (salary)<br />

2) เลือก Options ซึ่งจะแสดงหนาตาง Descriptives: Options เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก<br />

Mean, Standard Deviation, Minimum และMaximum จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม<br />

และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 9.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 9.1 แสดงคําสั่งในการอธิบายขอมูล Descriptive ตามสถิติที่ตองการวิเคราะห<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Descriptive ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงอายุเฉลี่ย (Mean) รายไดเฉลี่ย (Salary) สวนเบี่ยนเบนมาตรฐาน (Std. Deviation)<br />

คาสูงสุด และคาต่ําสุด ดังแสดงในภาพที่ 9.2<br />

ภาพที่ 9.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Descriptive<br />

70<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


2.2 คําสั่ง Frequencies เปนคําสั่งในการอธิบายทั้งตัวแปรเชิงปริมาณ และตัวแปรเชิงกลุม โดยการสราง<br />

ตารางแจกแจงความถี่และคารอยละแบบทางเดียว<br />

สําหรับตัวแปรเชิงกลุม ในที่นี้คือ เพศ (sex), สถานภาพสมรส (status) และการศึกษาสูงสุด (edu) สวนตัว<br />

แปรเชิงปริมาณ ในที่นี้คือ อายุ (age) และรายได (salary)<br />

เลือกเมนู Analysis -> Descriptive Statistics -> Frequencies จากนั้นจะแสดงหนาตาง Frequency ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร คือ Variables(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่<br />

ตองการหาคาความถี่ (Frequency) คารอยละ(Percent) คารอยละที่ตัดคา Missing data (Valid Percent)<br />

คารอยละของความถี่สะสม (Cumulative Percent) ในที่นี้เลือก เพศ (sex) สถานภาพสมรส (status) และ<br />

ระดับการศึกษาสูงสุด (edu) นอกจากนี้ คําสั่ง Frequencies ยังสามารถใชในการสราง Chart ได โดยเลือก<br />

Charts ซึ่งจะแสดงหนาตาง Frequencies: Charts โดยสามารถเลือกชนิดของ Chart หรือ Chart Type<br />

ดังนี้คือ Bar Charts, Pie Charts หรือ Histograms และคาที่แสดง Chart หรือ Chart Value สามารถเลือก<br />

ตาม คาความถี่ (Frequencies) หรือตามคารอยละ (Percentages) จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสู<br />

หนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 10.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 10.1 แสดงคําสั่ง Frequencies ในการสรางตารางแจกแจงความถี่และคารอยละทางเดียว<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 71


- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Frequencies ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong><br />

Viewer โดยจะแสดงตัวแปรเพศ (sex) สถานภาพสมรส (status) และระดับการศึกษา (edu) โดยคาสถิติ<br />

จะแสดงคาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percent), Valid Percent, รอยละของความ ถี่สะสม<br />

(Cumulative Percent) ดังแสดงในภาพที่ 10.2<br />

ภาพที่ 10.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Frequencies<br />

2.3 คําสั่ง Crosstabs เปนคําสั่งในการอธิบายตัวแปรทั้งเชิงปริมาณ และตัวแปรเชิงกลุม โดยการสราง<br />

ตารางแจกแจงความถี่และคารอยละตั้งแต 2 ทางขึ้นไป<br />

เลือกเมนู Analysis -> Descriptive Statistics ->Crosstabs จากนั้นจะแสดงหนาตาง Crosstabs ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Row(s) จะใสตัวแปรเชิง<br />

ปริมาณหรือตัวแปรเชิงกลุม ที่ตองการแจกแจงความถี่และคารอยละตามแถว ในที่นี้คือ เพศ (sex) 2)<br />

Column(s) จะใสตัวแปรเชิงกลุม ที่ตองการจําแนก ความถี่และคารอยละตามคอลัมภ ในที่นี้คือ การมีโรค<br />

ประจําตัว (disease) จากนั้น 3) เลือก Cells ซึ่งจะแสดงหนาตาง Crosstabs: Cell Display ใชในการ<br />

แสดงคารอยละจําแนกตามแถวหรือคอลัมภ โดยสวนใหญจะจําแนกคารอยละตามคอลัมภ ในที่นี้เลือก<br />

Counts: Observed และ Percentage: Column จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และ<br />

เลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 11.1<br />

2<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 11.1 แสดงคําสั่ง Crosstabs ในการสรางตารางแจกแจงความถี่และคารอยละ 2 ทางขึ้นไป<br />

72<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Crosstabs ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong> Viewer โดย<br />

จะแสดงคาความถี่และคารอยละของเพศ (sex) ชาย-หญิง ตามแถว และคาความถี่และคารอยละของการมีโรค<br />

ประจําตัว (Disease) ไมมีโรค-มีโรค ตามคอลัมภ ดังแสดงในภาพที่ 11.2<br />

ภาพที่ 11.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Crosstabs<br />

3. การใชคําสั่ง Multiple Response<br />

3.1 Multiple Response: Define Sets เปนคําสั่งที่ใชในการสราง Set ของตัวแปรที่มีหลายคําตอบ (ขอ<br />

คําถามที่ตอบไดมากกวา 1 ขอ) หลังจากสราง Set ของตัวแปรแลว สามารถทําการวิเคราะหขอมูลตัวแปรชนิด<br />

นี้ โดยการหาคาความถี่ (Frequency) คารอยละ (Percentage) และการสรางตารางไขว (Crosstab)<br />

เลือกเมนู Multiple Response -> Define sets จากนั้นจะแสดงหนาตาง Define Multiple Response<br />

Sets ซึ่งหนาตางยอยตางๆ ประกอบดวย 1) Set Definition คือตัวแปรตางๆ 2) Variables in Set โดย<br />

จะนําตัวแปรของขอคําถามที่มีหลายคําตอบ จาก Set Definition นําไปใสใน Variables in Set ในที่นี้คือ ขอ<br />

คําถามที่ระบุถึงวิธีการออกกําลังกายในปจจุบัน ซึ่งสามารถระบุไดหลายวิธี ดังแสดงในตัวแปร EXE1 ….<br />

EXE6 3) Variable are Code as ใชในการกําหนดคาของขอมูลที่ตองการแสดง ในกรณีที่ 1) ขอคําถามมี<br />

คําตอบใหเลือก 2 คําตอบ ถาคําตอบ “ใช” แสดงคา 1 แตถาคําตอบ “ไมใช” แสดงคา 0 ใหเลือกคําสั่ง<br />

Dichotomies Counted Value ระบุคา =1 สวนกรณีที่ 2) ขอคําถามปลายปดหรือปลายเปดที่มีคําตอบได<br />

หลายคําตอบ เชน 15 คําตอบ ใหเลือกคําสั่ง Categories โดยระบุ Range จาก 1 ถึง 15 4) ตั้งชื่อตัวแปรที่<br />

Define sets ขึ้นมา Name: EXE สวน Label: วิธีออกกําลังกาย จากนั้น 5) เลือก Add เพื่อเพิ่ม ตัวแปรที่<br />

Define Set 6) แสดง Multi Response Sets คือ $EXE จากนั้นเลือก Close ดังแสดงในภาพที่ 12<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 73


1<br />

2<br />

5<br />

3<br />

4<br />

6<br />

ภาพที่ 12 แสดงคําสั่ง Multiple Response: Define Sets ในการสราง Set<br />

ของตัวแปรที่มีหลายคําตอบ<br />

74<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


3.2 Multiple Response: Frequencies เปนคําสั่งที่ใชในการหาคาความถี่และคารอยละของ ตัวแปรที่<br />

มีหลายคําตอบ หรือขอคําถามที่มีไดหลายคําตอบ<br />

เลือกเมนู Multiple Response -> Frequencies จากนั้นจะแสดงหนาตาง Multiple Response<br />

Frequencies ซึ่งหนาตางดานซาย คือ Multi Response Sets จะแสดงตัวแปรที่ทําการ Define Sets ในที่นี้คือ<br />

วิธีออกกําลังกาย ($exe) นํามาวางที่หนาตางดานขวา Table(s) for จากนั้นเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 13.1<br />

หมายเหตุ สวน Missing Values คือการเลือกวาใหแสดงคา Missing หรือไม โดย 1) Exclude cases<br />

listwise within dichotomies จะไมรวมคา Missing สําหรับการ Define Set ชนิด Dichotomies 2) Exclude<br />

cases listwise within categories จะไมรวมคา Missing สําหรับการ Define Set ชนิด Categories<br />

ภาพที่ 13.1 แสดงคําสั่ง Multiple Response: Frequencies ในการหาคาความถี่และคารอยละ<br />

ของตัวแปรที่มีหลายคําตอบ<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Multiple Response: Frequencies ดังแสดงในหนาตาง<br />

Output-<strong>SPSS</strong> Viewer โดยจะแสดงคาจํานวน Valid cases: 114 ราย Missing case: 1 รายแสดงคาความถี่และ<br />

คารอยละของวิธีการออกกําลังกายโดยการเดิน (EXE1) จํานวนความถี่ (Count) 96 ราย คารอยละเทียบกับจํานวน<br />

ผูตอบทั้งหมด (Responses) รอยละ 40.9 (96/235*100) คารอยละเทียบกับจํานวนตัวอยางทั้งหมด (Cases) รอย<br />

ละ 84.2 (96/114*100) ดังแสดงในภาพที่ 13.2<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 75


ภาพที่ 13.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะห คําสั่ง Multiple Response: Frequencies<br />

4. การใชคําสั่ง Compare Means<br />

คําสั่ง Means เปนคําสั่งที่ใชในการหาคาเฉลี่ยของตัวแปรเชิงปริมาณ จําแนกตามตัวแปรเชิงกลุม เชน<br />

คาเฉลี่ยของอายุจําแนกตามเพศ<br />

เลือกเมนู Compare Means -> Means จากนั้นจะแสดงหนาตาง Means ซึ่งดานซายประกอบดวยตัว<br />

แปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Dependent List จะใสตัวแปรเชิงปริมาณที่<br />

ตองการหาคาสถิติตางๆ เชน ผลรวม คาเฉลี่ย คาสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ในที่นี้คือ อายุ (age) 2)<br />

Independent List จะใสตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนก ในที่นี้คือ เพศ (sex) 3) เลือก Options หรือ<br />

Statistics ซึ่งจะแสดงหนาตาง Means: Options เพื่อใสคาสถิติที่ตองการวิเคราะห ในที่นี้เลือก Number<br />

of cases, Mean, Standard Deviation, Minimum, Maximum จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสู<br />

หนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 14.1<br />

76<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2 3<br />

ภาพที่ 14.1 แสดงคําสั่ง Means ในการหาคาเฉลี่ยและสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

- ผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะหขอมูล คําสั่ง Means ดังแสดงในหนาตาง Output-<strong>SPSS</strong> Viewer โดยจะ<br />

แสดงอายุเฉลี่ย (Mean) จําแนกตามเพศชาย เพศหญิง และภาพรวม สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Std. Deviation) คา<br />

ต่ําสุด (Minimum) และคาสูงสุด (Maximum) ดังแสดงในภาพที่ 14.2<br />

ภาพที่ 14.2 แสดงผลลัพธที่ไดจากการวิเคราะห คําสั่ง Means<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 77


บทที่ 5<br />

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูล การจัดการขอมูล (Transform)<br />

การเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูลโดยใชโปรแกรม <strong>SPSS</strong> มีหลายคําสั่ง โดยคําสั่งที่ใชเปนสวนใหญคือ 1)<br />

Recode เพื่อการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูลทั้งในตัวแปรเดิมและในตัวแปรใหม และ 2) Compute เพื่อการคํานวณ<br />

คาของขอมูลในตัวแปรใหม ดังแสดงในภาพที่ 15<br />

ภาพที่ 15 แสดงคําสั่งในการเปลี่ยนแปลงรูปแบบของขอมูล (Transform)<br />

1. การใชคําสั่ง Recode<br />

คําสั่ง Recode เปนคําสั่งที่ใชในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล โดยแบงเปน 2 ลักษณะคือ<br />

1) Recode into same variables และ 2) Recode into different variables<br />

1.1 คําสั่ง Recode into same variables เปนคําสั่งที่ใชในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล โดยทําในตัว<br />

แปรเดิม เชน ขอคําถามเกี่ยวกับการมีโรคประจําตัว (Disease) คําตอบ: “ไมมี” แทนดวย 1 และคําตอบ:<br />

“มี” แทนดวย 2 ใหเปลี่ยนแปลงเปน คําตอบ: “ไมมี” แทนดวย 2 และคําตอบ: “มี” แทนดวย 1 (อยาลืม!!<br />

เปลี่ยน Value ของตัวแปร Disease ใน Variables View ใหสอดคลองกับคาของขอมูลที่เปลี่ยนแปลง)<br />

เลือกเมนู Transform –> Recode -> เลือก Into Same Variables จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Recode into Same Variables ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร<br />

ดังนี้คือ 1) Numeric Variables เพื่อใสตัวแปรที่ตองการ Recode ในที่นี้เลือก ตัวแปร ทานมีโรคประจําตัว<br />

หรือไม (Disease)<br />

2) เลือก Old and New Values เพื่อระบุคาเดิมที่ตองการเปลี่ยนแปลงใน Old Value และคาใหม<br />

ที่ตองการเปลี่ยนไปใน New Value ในที่นี้คือ Old Value: Value = 1 เปลี่ยนเปน New Value: Value = 2<br />

เลือก Add จะได 1->2 ใน Box ของ Old -> New และ Old Value = 2 เปลี่ยนเปน New Value = 1 เลือก<br />

Add จะได 2->1 ใน Box ของ Old -> New ตามลําดับ จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม<br />

และเลือก OK<br />

3) ในกรณีที่มีเงื่อนไขในการ Recode ใหเลือกคําสั ่ง If จากนั้นจะแสดงหนาตาง Recode into<br />

Same Variables: If cases ซึ่งมี 2 เงื่อนไขใหเลือกคือ 1) Include all cases ถาตองการเลือก case<br />

ทั้งหมด และ 2) Include if case satisfied condition ถาตองการเลือกเงื่อนไข ดังแสดงในภาพที่ 16<br />

78<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

3<br />

2<br />

ภาพที่ 16 แสดงคําสั่ง Recode into Same Variables ในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล<br />

ในตัวแปรเดิม<br />

1.2 คําสั่ง Recode into different variables เปนคําสั่งที่ใชในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล โดยการสรางตัวแปร<br />

ใหมเพื่อเก็บคาของตัวแปรที่เปลี่ยนไป โดยที่ตัวแปรเดิมยังคงคาเดิมอยู สวนใหญจะนิยม Recode โดยใสคาในตัว<br />

แปรใหมมากกวา Recode ในตัวแปรเดิม เชน สถานภาพสมรส (status) โสด แทนดวย 1 ใหคงคาเดิมคือ โสด = 1<br />

สวนสมรส แทนดวย 2 และหยา/หมาย แทนดวย 3 ใหเปลี่ยนเปน สมรสและหยา/หมาย = 2<br />

เลือกเมนู Transform –> Recode -> เลือก Into Different Variables จากนั้นจะแสดงหนาตาง Recode<br />

into Different Variables ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Numeric Variables -> Output เพื่อใสตัวแปรที่ตองการ Recode ในที่นี้เลือก ตัวแปร Status สวนดานขวา<br />

Output Variable Name: ใหพิมพชื่อตัวแปรใหมที่เก็บคาของตัวแปรที่เปลี่ยนไป คือ Status_n และเลือก Change<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 79


เพื่อเปลี่ยนชื่อตัวแปรจาก Status -> Status_n 2) เลือก Old and New Values เพื่อระบุคาเดิมที่ตองการ<br />

เปลี่ยนแปลงใน Old Value และคาใหมที่ตองการเปลี่ยนไปใน New Value ในที่นี้คือ Old Value: Value =<br />

1 (โสด) เปลี่ยนเปน New Value: Value = 1 (โสด) เลือก Add จะได 1 -> 1 ใน Box ของ Old -> New<br />

และ Old Value: Range = 2 (สมรส) through 3 (หยา/หมาย) เปลี่ยนเปน New Value: Value = 2<br />

(สมรส/หยา/หมาย) เลือก Add จะได 2 thru 3 = 2 ใน Box ของ Old -> New จากนั้นเลือก Continue<br />

จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 17<br />

ภาพที่ 17 แสดงคําสั่ง Recode into Different Variables ในการเปลี่ยนแปลงคาของขอมูล<br />

ในตัวแปรใหม<br />

ตัวอยางการใชคําสั่ง Recode into Different Variables<br />

สําหรับใหคาคะแนนขอคําถามความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย (Know) 12 ขอ<br />

- คําถาม ขอ 1-3, ขอ 7, ขอ 9-12 เปนคําถามที่ ถูกตอง คือ ถาตอบวา “ใช” หรือ 1 จะได 1<br />

คะแนน แตถาตอบวา “ไมใช” หรือ 0 จะได 0 คะแนน ดังแสดงในภาพที่ 18<br />

- คําถาม ขอ 4-6, ขอ 8 เปนคําถามที่ ไมถูกตอง คือ ถาตอบวา “ใช” หรือ 1 จะได 0 คะแนน แตถา<br />

ตอบวา “ไมใช” หรือ 0จะได 1 คะแนน ดังแสดงในภาพที่ 19<br />

80<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


ภาพที่ 18 แสดงคําสั่งในการ Recode into different variables ในขอคําถามที่ถูกตอง<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 19 แสดงคําสั่งในการ Recode into Different Variables ในขอคําถามที่ไมถูกตอง<br />

2. การใชคําสั่ง Compute<br />

คําสั่ง Compute เปนคําสั่งในการคํานวณคาตัวแปรชนิดตัวเลขทั้งระดับ Nominal Scale, Ordinal Scale,<br />

Interval Scale และ Ratio Scale โดยที่กําหนดคาที่ตองการคํานวณไวในตัวแปรใหม เชน การคํานวณคาภาพรวม<br />

ความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย (Know) ทั้ง 12 ขอ (Know1-Know12) ใสในตัวแปรใหมชื่อ KnowTot<br />

เลือกเมนู Transform –> Compute จากนั้นจะแสดงหนาตาง Compute Variable ซึ่งดานซายประกอบดวย<br />

Box: Target Variable เพื่อใหใสชื่อตัวแปรใหมที่คํานวณแลว ดานลางจะแสดงตัวแปรตางๆ ที่ตองการคํานวณคา<br />

สวนดานขวามี Box: Numeric Expression ที่เปนคําสั่งกําหนดคาให Target Variable ซึ่งประกอบดวยชื่อตัวแปร<br />

คาคงที่ เครื่องหมายคํานวณ และฟงกชั่นตางๆ โดยสามารถพิมพหรือเลือกฟงกชั่น และเครื่องหมายในการคํานวณ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 81


ดังแสดงในภาพที่ 20 ดังนี้คือ 1) Target Variable พิมพชื่อตัวแปรใหมคือ KnowTot และ 2) Box:<br />

Numeric Expression ทําการคํานวณโดยรวมตัวแปร Know1_n - Know12_ n เขาดวยกัน ดังนี้<br />

know1_n+know2_n+know3_n+knnow4_n+know5_n+know6_n+know7_n+know8_n+<br />

know9_n+know10_n+know11_n+know12_n จากนั้นเลือก OK<br />

1<br />

ภาพที่ 20 แสดงคําสั่งในการ Compute คํานวณคาภาพรวมความรูเกี่ยวกับการออกกําลังกาย<br />

บทที่ 6<br />

การทดสอบสมมติฐานทางสถิติ<br />

1. ความหมายของการประมาณคาและการทดสอบสมมติฐาน<br />

การประมาณคา คือ การประมาณคาพารามิเตอรซึ่งเปนลักษณะของประชากรโดยใชขอมูล<br />

ตัวอยางหรือทําการประมาณคาพารามิเตอรดวยคาสถิติ เชน การประมาณคาเฉลี่ยของประชากร ดวย<br />

คาเฉลี่ยของตัวอยาง การประมาณความแปรปรวนของประชากร ดวยความแปรปรวนของตัวอยาง<br />

การทดสอบสมมติฐาน มีจุดมุงหมายที่จะอธิบาย / สรุปลักษณะของประชากร (คาพารามิเตอร)<br />

ดวยขอมูลที่เก็บรวบรวมไดจากกลุมตัวอยาง (คาสถิติ) โดยใชสถิติเชิงสรุปอางอิง<br />

เงื่อนไขของการทดสอบสมมติฐานทางสถิติโดยใชขอมูลตัวอยาง คือประชากรหรือตัวแปรที่<br />

ตองการทดสอบจะตองมีการแจกแจงปกติ หรือใกลเคียงการแจกแจงแบบปกติ<br />

2. ขั้นตอนการทดสอบสมติฐานทางสถิติ<br />

1. การตั้งสมมติฐานทางสถิติเพื่อการทดสอบเปนการตั้งสมมติฐานเกี่ยวกับคาพารามิเตอรของ<br />

ประชากร โดยตองมีทั้งสมมติฐานหลัก หรือสมมติฐานทางการวิจัย (H 0 ) และสมมติฐานรอง หรือสมมติฐาน<br />

ทางสถิติ หรือสมมติฐานที่นักวิจัยตั้งไว (H 1 )<br />

2. การกําหนดสถิติทดสอบ<br />

2.1 การทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับ คาเฉลี่ยของประชากร (µ) โดยใชคาเฉลี่ยของตัวอยาง (Χ) ดัง<br />

แสดงใน ภาพที่ 21 ในกรณีที่<br />

82<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ทดสอบคาเฉลี่ยของประชากรเดียว โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช One-Sample T Test<br />

- ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะ<br />

เลือกใช Independent-Samples T Test<br />

- ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong><br />

จะเลือกใช Paired-Sample T Test<br />

- การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร หรือการวิเคราะหความแปรปรวน<br />

แบบทางเดียว โดยใชสถิติทดสอบ F-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช One-way ANOVA<br />

- การเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของประชากรเปนรายคูหรือการเปรียบเทียบเชิงซอน ในกรณีที่ทราบวามีความ<br />

แตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร โดยสวนใหญจะใช LSD (Least-Significant Different)<br />

โดยเลือกใช One-way ANOVA: Post Hoc Multiple Comparisons<br />

ภาพที่ 21 แสดงคําสั่งในการการทดสอบสมมติฐานเกี่ยวกับคาเฉลี่ยประชากร<br />

2.2 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว ในการทดสอบความเปนอิสระกันของ 2 ตัวแปร<br />

โดยเลือกใชสถิติทดสอบ Chi-Square ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใชคําสั่ง Crosstabs และเลือกสถิติทดสอบ<br />

แบบ Chi-Square เชน การหาความสัมพันธระหวางการมีโรคประจํา ตัวและสถานภาพสมรส<br />

2.3 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว หรือการทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ<br />

(Correlation Coefficient) วาตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธมากนอยเพียงใด ใน <strong>SPSS</strong> การคํานวณหา<br />

คาสัมประสิทธสหสัมพันธจะเลือกใชคําสั่ง Correlate และมี 2 คําสั่งใหเลือกคือ<br />

- Bivariate เปนการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่แสดงความสัมพันธ<br />

ในรูปเชิงเสนโดยไมคํานึงถึงตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวของเลย จึงทําใหความสัมพันธที่ไดไมใชความสัมพันธที่<br />

แทจริง ระหวางตัวแปร 2 ตัว อาจจะมีมีตัวแปรอื่นๆ แอบแฝงอยู<br />

- Partial เปนการหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่ไดควบคุมหรือกําจัดอิทธิพลของตัว<br />

แปรอื่นๆ โดยจะเหลือเพียงตัวแปร 2 ตัวที่ตองการหาความสัมพันธเทานั้น<br />

3 การคํานวณหาคาสถิติทดสอบ<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 83


4 การกําหนดขอบเขตความผิดพลาดหรือระดับนัยสําคัญ คือ คาที่ชวยในการตัดสินใจ หรือคาความ<br />

นาจะเปนของการปฏิเสธสมมติฐานหลัก(H 0 ) ซึ่งเรียกคานี้วาระดับนัยสําคัญของการทดสอบ และจะ<br />

แทนดวยสัญลักษณ อานวา แอลฟา (alpha) โดยปกติเรามักจะเลือกระดับนัยสําคัญที่ = 0.05<br />

และ 0.01 โดยเราปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H 0 ) เมื่อผลลัพธของการทดสอบมีคาความนาจะเปน<br />

(Significance level: Sig.) เทากับหรือนอยกวาระดับนัยสําคัญ ที่ตั้งไว<br />

5 การสรางเขตปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H 0 ) เปนการหาคาวิกฤติ (Critical Value) ซึ่งเปนคาที่แบงเขตที่<br />

จะปฏิเสธหรือยอมรับ H 0<br />

ในการวิเคราะหสมมติฐานโดยใชโปรแกรม <strong>SPSS</strong> for window จะไดคา P-value คือคาที่ใชตรวจสอบ<br />

ถึงการปฏิเสธหรือยอมรับสมมติฐานหลัก โดยจะทําการเปรียบเทียบกับระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว<br />

- ถาคา P-value หรือคา Significance level (Sig.) มีคามากวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว จะยอมรับ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 )<br />

- แตถาคา P-value หรือคา Significance level (Sig.) มีคานอยกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว จะปฏิเสธ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 ) และยอมรับสมมติฐานรองหรือสมมติฐานที่นักวิจัยตั้งไว (H 1 )<br />

สรุปวา คา P-value คือคาความนาจะเปนหรือคาที่ใชสําหรับหาขอเท็จจริงสําหรับการทดสอบ<br />

สมมติฐานนั้นๆ สวนระดับนัยสําคัญคือ การกําหนดขอบเขตของการปฏิเสธสมมติฐาน<br />

6. สรุปผลของการทดสอบ โดยจะเปรียบเทียบระหวาง คาสถิติทดสอบกับคาวิกฤติ<br />

3. สถิติในการทดสอบสมมติฐาน<br />

3.1 ทดสอบคาเฉลี่ยของประชากรเดียว โดยใชสถิติทดสอบ t-Test สําหรับ <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช การ<br />

วิเคราะหขอมูลแบบ One-Sample T Test เชน การทดสอบรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเทากับ 15,000 บาท<br />

ตอเดือนหรือไม H 0 : µ = 15,000 แล H 1 : µ ≠ 15,000<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก One-Sample T Test จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

One-Sample T Test ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 1) box: Test Variable(s): ให<br />

เลือกชื่อของตัวแปรที่ตองการทดสอบ ในที่นี้คือ รายได (Salary) 2) Test Value ใหใสคาคงที่ที่ตองการทดสอบ<br />

ในที่นี่คือ 15,000 แลวเลือก Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95% จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 22.1<br />

1<br />

2 3<br />

ภาพที่ 22.1 แสดงคําสั่งในการทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยของประชากรเดียว: One-Sample T Test<br />

84<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ผลลัพธในการทดสอบคาเฉลี่ยของประชากรเดียว<br />

รายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง คือ 17,106 บาท สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน คือ 7,131 บาท ผลการทดสอบ<br />

สมมติฐาน พบวา คาสถิติทดสอบ t-Test = 3.166 คา Sig. = 0.002* ซึ่งนอยกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปได<br />

วา ปฏิเสธสมมติฐานหลัก (H 0 ) และยอมรับสมมติฐานรอง (H 1 ) นั่นคือรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางไมเทากับ 15,000<br />

บาทตอเดือนอยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (มากกวา 15,000 บาทตอเดือน) ดังแสดงในภาพที่ 22.2<br />

One-Sample Statistics<br />

One-Sample Test<br />

N Mean Std. Deviation Std. Error Mean<br />

รายได 115 17105.57 7131.090 664.978<br />

Test Value = 15000<br />

t df Sig. (2-tailed) Mean Difference<br />

95% Confidence Interval<br />

of the Difference<br />

Lower<br />

Upper<br />

รายได 3.166 114 .002* 2105.57 788.25 3422.88<br />

ภาพที่ 22.2 แสดงผลลัพธการทดสอบสมมติฐานคาเฉลี่ยของประชากรเดียว: One-Sample T Test<br />

3.2 ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะ<br />

เลือกใช Independent-Samples T Test เชน การทดสอบรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเพศชายและหญิงวามี<br />

ความแตกตางกันหรือไม (กลุม 1: เพศชาย และกลุม 2: เพศหญิง)<br />

H 0 : µ 1 = µ 2 , H 1 : µ 1 ≠ µ 2<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก Independent-Samples T Test จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Independent-Samples T Test ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Test Variable(s): ใหเลือกชื่อของตัวแปรที่ตองการทดสอบ ในที่นี้คือ รายได (salary) 2) Grouping Variable ใหใสชื่อ<br />

ตัวแปรที่ตองการจําแนก ในที่นี่คือ เพศ (sex) โดยการ Define Groups จําแนกเปน Group1: 1 (เพศชาย) และ Group 2:<br />

(เพศหญิง) แลวเลือก 3) Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95% จากนั้นเลือก Continue จะกลับมา<br />

สูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 23.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 23.1 คําสั่งในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร: Independent-SamplesT Test<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 85


่<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร<br />

รายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเพศชาย 12,257 บาท สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 3,477 บาท และรายไดเฉลี่ย<br />

ของเพศหญิง 17,420 บาท สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7,202 บาท ผลการทดสอบสมมติฐาน พบวา 1) คาสถิติทดสอบ<br />

ความแปรปรวนของกลุมตัวอยาง (Levene’s Test for Equality of Variance) F-Test = 1.911 คา Sig. = 0.170<br />

ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ สมมติฐานหลัก (H 0 ) คือความแปรปรวนของกลุม<br />

ตัวอยางไมมีความแตกตางกัน ใช Equal variances assumed 2) คาสถิติทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ย<br />

ของ 2 กลุมประชากร (t-Test for Equality of Means) t-Test = -1.877, df = 113, Sig = 0.063 ซึ่งมากกวาระดับ<br />

นัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปวา ยอมรับสมมติฐานหลัก (H 0 ) นั่นคือรายไดเฉลี่ยของกลุมตัวอยางเพศชายและเพศ<br />

หญิงไมแตกตางกัน อยางมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงในภาพที่ 23.2<br />

Group Statistics<br />

รายได<br />

รายได<br />

เพศ N Mean Std. Deviation<br />

Std. Error<br />

Mean<br />

ชาย 7 12257.14 3476.999 1314.182<br />

หญิง 108 17419.81 7201.652 692.979<br />

Independent Samples Test<br />

Levene's Test for Equality of<br />

Variances<br />

Sig. (2-<br />

F Sig. t df tailed)<br />

Equal variances<br />

assumed<br />

Equal variances<br />

not assumed<br />

1.911 0.170<br />

t-test for Equality of Means<br />

Mean<br />

Difference<br />

Std. Error<br />

Difference<br />

95% Confidence Interval<br />

of the Difference<br />

Lower Upper<br />

-1.877 113 .063 -5162.67 2751.014 -10612.926 287.583<br />

-3.475 9.758 .006 -5162.67 1485.697 -8484.162 -1841.182<br />

ภาพที่ 23.2 ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากร:<br />

Independent-Sample T Test<br />

3.3 ทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู โดยใชสถิติทดสอบ t-Test ใน<br />

<strong>SPSS</strong> จะเลือกใช Paired-Samples T Test เชน การทดสอบคะแนนเฉลี่ยกอนการอบรมและหลังการอบรม<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก Paired-Samples T Test จากนั้นจะแสดงหนาตาง Paired-<br />

Samples T Test ซึ่งดานซายบนประกอบดวยตัวแปรตางๆ ดานซายลาง box: Current Selections จะแสดงตัวแปรที่เลือกเพื่อ<br />

ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยแบบจับคู ในที่นี้คือ Variable1:คะแนนกอนการอบรม (Pretest) Variable2: คะแนนหลังการ<br />

อบรม (Posttest) สวนดานขวามี box: Paired Variables ซึ่งจะนําตัวแปรจาก Current Selections Variable1 และ Variable2 ที<br />

เลือกมาใส เปน Pretest - Posttest แลวเลือก Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95% จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 24.1<br />

86<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

ภาพที่ 24.1 คําสั่งในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู:<br />

Paired-Sample T Test<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู<br />

คะแนนเฉลี่ยกอนการอบรม 32.47 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.205 คะแนน และคะแนนเฉลี่ยหลัง<br />

การอบรม 34.10 คะแนน สวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน 7.456 คะแนน คาสัมประสิทธสหสัมพันธ (r) = -0.121, Sig. =<br />

0.197 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ สมมติฐานหลัก (H 0 ) คือ คาเฉลี่ยกอนการอบรม<br />

และหลังการอบรมไมมีความสัมพันธกัน<br />

คาสถิติทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู Paired Differences<br />

Sample t-Test = -1.597, df = 114, Sig = 0.113 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 ) นั่นคือ คาเฉลี่ยกอนการอบรมและหลังการอบรมไมมีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญทาง<br />

สถิติที่ระดับ 0.05 ดังแสดงในภาพที่ 24.2<br />

Paired Samples Statistics<br />

Mean N Std. Deviation<br />

Std. Error<br />

Mean<br />

Pair 1 คะแนนกอนการอบรม 32.47 115 7.205 .672<br />

คะแนนหลังการอบรม 34.10 115 7.456 .695<br />

3<br />

Paired Samples Correlations<br />

Pair 1<br />

คะแนนกอนการอบรม &<br />

คะแนนหลังการอบรม<br />

N Correlation Sig.<br />

115 -.121 .197<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 87


Pair 1 คะแนนกอนการอบรม -<br />

คะแนนหลังการอบรม<br />

Mean<br />

Paired Samples Test<br />

Paired Differences<br />

95% Confidence<br />

Std.<br />

Deviation<br />

Std. Error<br />

Mean<br />

Interval of the<br />

Difference<br />

Lower Upper<br />

t<br />

df<br />

Sig.<br />

(2-tailed)<br />

-1.63 10.978 1.024 -3.66 .39 -1.597 114 .113<br />

ภาพที่ 24.2 ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางระหวางคาเฉลี่ยของ 2 กลุมประชากรแบบจับคู:<br />

Paired-Sample T Test<br />

3.4 การเปรียบเทียบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร หรือการวิเคราะหความ<br />

แปรปรวนแบบทางเดียว โดยใชสถิติทดสอบ F-Test ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใช One-Way ANOVA เชน การ<br />

ทดสอบอายุเฉลี่ยของกลุมตัวอยาง จําแนกตามระดับการศึกษา (กลุม1: ต่ํากวา ป.ตรี กลุม2: ป.ตรี กลุม3: สูง<br />

กวา ป.ตรี) วามีความแตกตางกันหรือไม<br />

H 0 : µ 1 = µ 2 = µ 3 , H 1 : µ 1 ≠ µ 2 ≠ µ 3<br />

และการเปรียบเทียบคาเฉลี่ยของประชากรเปนรายคู หรือการเปรียบเทียบเชิงซอน ในกรณีที่ทราบวามี<br />

ความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร โดยสวนใหญจะใช LSD (Least-Significant Different)<br />

โดยเลือกใช One-way ANOVA: Post Hoc Multiple Comparisons<br />

H 0 : µ 1 = µ 2 = µ 3 , H 1 : µ i ≠ µ j อยางนอย 1 คู i ≠ j<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Compare Mean -> เลือก One-Way ANOVA จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

One-Way ANOVA ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1)<br />

Dependent List: จะใสชื่อของตัวแปรเชิงปริมาณที่ตองการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ย ในที่นี้คือ<br />

รายได (Salary) 2) Factor: จะใสชื่อของตัวแปรเชิงกลุมที่ตองการจําแนกตามกลุม ในที่นี้คือ สถานภาพสมรส<br />

(Status) จากนั้น 3) เลือก Post Hoc ซึ่งจะแสดงหนาตาง One-Way ANOVA: Post Hoc Multiple<br />

Comparisons เลือก Equal Variances Assumed: LSD และเลือก Significance level = 0.05 จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม 4) เลือก Options เพื่อระบุคา Confidence Interval ในที่นี้เลือก 95%<br />

จากนั้นเลือก Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 25.1<br />

88<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


1<br />

2<br />

3 4<br />

ภาพที่ 25.1 คําสั่งในการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร: F-Test (ANOVA) และการ<br />

ทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู: LSD<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร และความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู<br />

จากตาราง ANOVA จะไดคาของ Sum of Squares และ Mean Square ใน Between Groups, Within<br />

Groups คาสถิติทดสอบ F-Test = 8.173 และ Sig.


(I) ระดับการศึกษา<br />

สูงสุด<br />

Multiple Comparisons Dependent Variable: อายุ => LSD<br />

(J) ระดับ Mean Difference Std. Error Sig. 95% Confidence Interval<br />

การศึกษาสูงสุด (I-J)<br />

Lower Bound Upper Bound<br />

ต่ํากวาป.ตรี ป.ตรี -.43 1.667 .798 -3.73 2.88<br />

สูงกวาป.ตรี -7.92(*) 2.296 .001 -12.47 -3.38<br />

ป.ตรี ต่ํากวาป.ตรี .43 1.667 .798 -2.88 3.73<br />

สูงกวาป.ตรี -7.50(*) 1.913 .000 -11.29 -3.71<br />

สูงกวาป.ตรี ต่ํากวาป.ตรี 7.92(*) 2.296 .001 3.38 12.47<br />

ป.ตรี 7.50(*) 1.913 .000 3.71 11.29<br />

ภาพที่ 25.2 ผลลัพธในการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยมากกวา 2 กลุมประชากร:<br />

F-Test (ANOVA) และการทดสอบความแตกตางของคาเฉลี่ยเปนรายคู: LSD<br />

3.5 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว ในการทดสอบความเปนอิสระกันของ 2<br />

ตัวแปร โดยเลือกใชสถิติทดสอบ Chi-Square ใน <strong>SPSS</strong> จะเลือกใชคําสั่ง Crosstabs และเลือกสถิติทดสอบ<br />

แบบ Chi-Square เชน การหาความสัมพันธระหวางการมีโรคประจําตัวและสถานภาพสมรส<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Descriptive Statistics -> เลือก Crosstabs จากนั้นจะแสดงหนาตาง<br />

Crosstabs ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 3 box ใหใสตัวแปร ดังนี้คือ 1) Rows: จะ<br />

ใสชื่อของตัวแปรที่ตองการจําแนกตามแถว ในที่นี้คือ สถานภาพสมรส (status) 2) Columns: จะใสชื่อของตัว<br />

แปรที่ตองการจําแนกตามคอลัมภ ในที่นี้คือ ทานมีโรคประจําตัวหรือไม (disease) 3) Layer: แบงการจําแนก<br />

ขอมูลเปน layer ตางๆ ใสตัวแปรที่ตองจําแนกขั้นที่ 3 (layer 1 of 1) ขั้นที่ 4 (layer 2 of 2) ตามลําดับ จากนั้น<br />

3) เลือก Statistics ซึ่งจะแสดงหนาตาง Crosstabs: Statistics เลือก Chi-square (สถิติทดสอบ) จากนั้นเลือก<br />

Continue จะกลับมาสูหนาตางเดิม และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 26.1<br />

1<br />

2<br />

3<br />

ภาพที่ 26.1 คําสั่งในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว: Chi-Square<br />

90<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล


- ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว<br />

จากตาราง Crosstabs เพื่อแสดงคาความถี่และคารอยละระหวางสถานภาพสมรส (ตามแถว) และการมี<br />

โรคประจําตัว(ตามคอลัมภ)เมื่อทดสอบความความสัมพันธระหวางการมีโรคประจําตัวและสถานภาพสมรส พบวา<br />

Pearson Chi-Square = 0.225 และ Sig. = 0.894 ซึ่งมากกวาระดับนัยสําคัญที่ตั้งไว (0.05) สรุปไดวา ยอมรับ<br />

สมมติฐานหลัก (H 0 ) นั่นคือ การมีโรคประจําตัวและสถานภาพสมรสไมมีความสัมพันธกัน ดังแสดงในภาพที่ 26.2<br />

สถานภาพสมรส * ทานมีโรคประจําตัวหรือไม Crosstabulation<br />

ทานมีโรคประจําตัวหรือไม<br />

ไมมี มี<br />

สถานภาพสมรส โสด Count 71 12 83<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 72.4% 70.6% 72.2%<br />

สมรส Count 26 5 31<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 26.5% 29.4% 27.0%<br />

หยา/หมาย Count 1 0 1<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 1.0% .0% .9%<br />

Total Count 98 17 115<br />

% within ทานมีโรคประจําตัวหรือไม 100.0% 100.0% 100.0%<br />

Chi-Square Tests<br />

Value df Asymp. Sig. (2-sided)<br />

Pearson Chi-Square .225(a) 2 .894<br />

Likelihood Ratio .370 2 .831<br />

Linear-by-Linear Association .005 1 .946<br />

N of Valid Cases 115<br />

a. 3 cells (50.0%) have expected count less than 5. The minimum expected count is .15.<br />

ภาพที่ 26.2 ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงกลุม 2 ตัว: Chi-Square<br />

Total<br />

3.6 การวิเคราะหความสัมพันธระหวางตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว หรือการทดสอบสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ<br />

(Correlation Coefficient) วาตัวแปร 2 ตัวมีความสัมพันธมากนอยเพียงใด ใน <strong>SPSS</strong> การคํานวณหา<br />

คาสัมประสิทธสหสัมพันธจะเลือกใชคําสั่ง Correlate และมี 2 คําสั่งใหเลือกคือ<br />

- Bivariate ซึ่งเปนการหาคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่แสดงความสัมพันธใน<br />

รูปเชิงเสน โดยไมคํานึงถึงตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวของเลย เชน การหาความสัมพันธระหวางรายไดและอายุ<br />

โดยไมคํานึงถึงตัวแปรอื่นๆ ที่เกี่ยวของเลย อาทิ เพศ สถานภาพสมรส และระดับการศึกษาสูงสุด จึงทํา<br />

ใหความสัมพันธที่ไดไมใชความสัมพันธที่แทจริง ระหวางตัวแปร 2 ตัวแปรดังกลาว อาจจะมีตัวแปรอื่นๆ<br />

แอบแฝงอยู<br />

หมายเหตุ การประมาณคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของประชากร (ρ) โดยใชคาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธของตัวอยาง<br />

(r) คาสัมประสิทธิ์สหสัมพันธมีคาสูงสุดเปน 1 และคาต่ําสุดเปน -1 โดยที่<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก 91


1) ถาคา r มีคาเขาใกล 1 หมายถึงตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว มีความสัมพันธในทิศทางเดียวกันและ<br />

มีความสัมพันธกันมาก<br />

2) ถาคา r มีคาเขาใกล -1 หมายถึงตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว มีความสัมพันธในทิศทางตรงกันขาม<br />

และสัมพันธกันมาก<br />

3) ถาคา r มีคาเขาใกล 0 หรือเทากับ 0 แสดงวามีความสัมพันธกันนอยหรือไมมีความสัมพันธกัน<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Correlate -> เลือก Bivariate จากนั้นจะแสดงหนาตาง Bivariate<br />

Correlations ซึ่งดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 1) box Variables: ใหใสตัวแปรเชิง<br />

ปริมาณที่ตองการหาความสัมพันธ ในที่นี้เลือก อายุ (age) และรายได (salary) 2) box Correlation<br />

Coefficients ใหเลือก Pearson Correlation และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 27.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 27.1 คําสั่งในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว แบบ Bivariate Correlations<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว แบบ Bivariate Correlations<br />

จากตาราง Correlations จะไดคา Pearson Correlation ระหวางอายุและรายไดคือ 0.713 และ<br />

คา Sig. =


- Partial (สัมประสิทธสหสัมพันธเชิงสวน) ซึ่งเปนการหาความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว ที่ไดควบคุม<br />

หรือกําจัดอิทธิพลของตัวแปรอื่นๆ ออกแลวจะเหลือเพียงแค 2 ตัวแปรที่ตองการหาความสัมพันธเทานั้น<br />

- เลือกเมนู Analyze –> Correlate -> เลือก Partial จากนั้นจะแสดงหนาตาง Partial Correlations ซึ่ง<br />

ดานซายประกอบดวยตัวแปรตางๆ สวนดานขวามี 2 box 1) Variables: ใหใสตัวแปรเชิงปริมาณที่ตองการหา<br />

ความสัมพันธ ในที่นี้เลือก อายุ (age) และรายได (salary) 2) Controlling for: ใหใสตัวแปรที่ตองการควบคุม<br />

เพื่อใหไดคาของความสัมพันธระหวางตัวแปรอายุและตัวแปรรายไดอยางแทจริง ในที่นี้เลือก Controlling เพศ<br />

(sex), สถานภาพสมรส (status) และระดับการศึกษาสูงสุด (edu) และเลือก OK ดังแสดงในภาพที่ 28.1<br />

1<br />

2<br />

ภาพที่ 28.1 แสดงคําสั่งในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว:<br />

แบบ Partial Correlation<br />

- ผลลัพธในการทดสอบความสัมพันธของตัวแปรเชิงปริมาณ 2 ตัว<br />

จากตาราง Correlations จะไดคา Partial Correlation ระหวางอายุและรายได โดยควบคุมอิทธิพลของตัว<br />

แปร เพศ สถานภาพสมรส และระดับการศึกษาสูงสุด คือ 0.6499 และคา Sig. =


โปรแกรม<br />

Geographic Information System<br />

(<strong>GIS</strong>)


<strong>GIS</strong> Program<br />

1.การเขาใชงานโปรแกรม <strong>GIS</strong> ไดที่แอดเดรส http://www.thaiprddc.org/ เมื่อใสแอดเดรส เรียบรอย<br />

แลวจะปรากฏหนาเว็บไซดของสํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก ดังภาพที่ 1<br />

ภาพที่ 1 แสดงหนาหลักเว็บไซดของสํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก<br />

2. เมื่อเขาสูหนาหลักเว็บไซดของสํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลกเรียบรอยแลว จะมีเมนู ห ลั ก<br />

สําหรับขอมูลตางๆ ของเว็บไซด ใหเลือกไปที่เมนู <strong>GIS</strong> ก็จะเขาสูหนาสําหรับใสชื่อและรหัสผาน กอนเขาสู<br />

ระบบ <strong>GIS</strong> ดังภาพที่ 2<br />

1<br />

ภาพที่ 2 แสดงหนาสําหรับใสชื่อและรหัสผานกอนเขาสูระบบ <strong>GIS</strong><br />

3.การเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> ตองมีการสมัครสมาชิกเพื่อรับ Username กับ Password โดยการเลือก<br />

สมัครสมาชิกที่คําวา กรุณาสมัครสมาชิกกอนเขาระบบ คลิก ดังภาพที่ 2 และเมื่อทําการคลิกเพื่อสมัคร<br />

สมาชิก จะปรากฏหนาการกรอกขอมูลสําหรับสมัครสมาชิก ดังภาพที่ 3<br />

SAVE<br />

ภาพที่ 3 แสดงหนาสําหรับกรอกขอมูลสมัครสมาชิก<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล 94


4. เมื่อสมัครสมาชิกเรียบรอยแลว จะสามารถเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> ได แตในกรณีที่ไมเคยใชระบบ<br />

<strong>GIS</strong> มากอนจําเปนตองทําการติดตั้งโปรแกรม SVG View สําหรับดูขอมูลจากแผนที่ โดยสามารถดาวนโหลด<br />

โปรแกรมไดจากหนาสําหรับเขาใชงานระบบ <strong>GIS</strong> ดังภาพที่ 2 โดยจะอยูดานลางการสมัครสมาชิก ทําการคลิก<br />

เพื่อดาวนโหลดโปรแกรมมาติดตั้งเพื่อใหสามารถใชระบบ <strong>GIS</strong> ไดอยางมีประสิทธิภาพ โดยจะแสดงขั้นตอน<br />

การดาวนโหลด ดังภาพที่ 4<br />

1<br />

ภาพที่ 4 แสดงขั้นตอนการดาวนโหลดโปรแกรม SVG View<br />

5. เมื่อดาวนโหลดและติดตั้งโปรแกรม SVG View เรียบรอยแลว จะปรากฏหนาหลักเพื่อใชงานระบบ<br />

<strong>GIS</strong> ดังภาพที่ 5<br />

2<br />

1<br />

3<br />

ภาพที่ 5 แสดงหนาหลักของระบบ <strong>GIS</strong><br />

95<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก


สวนประกอบหลักของระบบ <strong>GIS</strong><br />

1. สวนแสดงแผนที่<br />

2. สวนเมนูสําหรับเลือกรายงานแสดงผลขอมูลแผนที่<br />

• จําแนกตาม 3 โรค ไดแก โรคเอดส วัณโรค และมาลาเรีย ดังแสดงในภาพที่ 6<br />

• จําแนกตามการรายงานขอมูล พื้นที่ดําเนินงาน (Mapping Area) ดังแสดงในภาพที่ 7<br />

- โรคเอดส จําแนกตาม Sub-Recipients (SR)<br />

- วัณโรค จําแนกตาม 4 TB Program (Prison, Border, Urban, TB-HIV) ใน TB Round<br />

1และจําแนกตาม PR-DDC & PR-WVFT ใน TB Round 6<br />

- มาลาเรีย จําแนกตาม Malaria Round 2 และ Malaria Round 7 และพื้นที่การแพร<br />

ระบาดของมาลาเรียระดับ A1 & A2<br />

• จําแนกตามการรายงานขอมูลพื้นที่ดําเนินงานที่ทับซอน(Overlapping Area) ดังแสดงในภาพที่ 8<br />

- โรคเอดส จําแนกตาม Area Prevention (Community setting, School setting และ<br />

Workplace setting) และ Care & Treatment (Hospital based Care และ Community<br />

based Care)<br />

- วัณโรค จําแนกตามพื้นที่ทับซอนของ 4 TB Program ใน TB Round 1 และพื้นที่ ทับ<br />

ซอนของ PR-DDC & PR-WVFT ใน TB Round 6<br />

- มาลาเรีย จําแนกตามพื้นที่ทับซอนของ Malaria Round 2 และ Malaria Round 7<br />

3. สวนแสดงขอมูลสรุป ของจังหวัด อําเภอ และตําบลที่ดําเนินงาน จํานวนพื้นที่ที่ดําเนินงาน และ<br />

รายชื่อของหนวยงานผูรับทุนรอง (SR) หนวยงานผูรับทุนยอย (SSR) และผูประสานงานในแตละพื้นที่ โดย<br />

สามารถดูรายละเอียดของอําเภอที่ดําเนินงานโดยการ คลิกที่จังหวัดที่ตองการ และสามารถดูรายละเอียด<br />

ของตําบลที่ดําเนินงานโดยการ คลิกที่อําเภอที่ตองการ ตามลําดับ<br />

1<br />

ภาพที่ 6 แสดงเมนูสําหรับเลือกรายงานของ 3 โรค<br />

การใชโปรแกรมสําหรับบริหารจัดการและการนําเสนอขอมูล 96


2<br />

ภาพที่ 7 แสดงเมนูสําหรับการจําแนกรายงาน ขอมูลพื้นที่ดําเนินงาน<br />

3<br />

ภาพที่ 8 แสดงเมนูสําหรับการจําแนกรายงาน พื้นที่ดําเนินงานที่ทับซอน<br />

97<br />

<strong>MIS</strong>_ฝายติดตามและประเมินผล สํานักงานบริหารโครงการกองทุนโลก

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!