08.05.2020 Views

กระฎุมพี

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>กระฎุมพี</strong>: มโนทัศน์และความเป็นจริง


สารบัญ<br />

บทที 1 <strong>กระฎุมพี</strong>: มโนทัศน์และความเป็นจริง<br />

โดย อิมมานูเอล วอลเลอร์สไตน์<br />

บทที 2 อังกฤษ ทุนนิยม และกระบวนทัศน์แห่ง<strong>กระฎุมพี</strong><br />

โดย เอลเลน มีกซินส์ วูด<br />

บทที 3 รัฐสมัยใหม่<br />

โดยเอลเลน มีกซินส์ วูด<br />

บทที 4 ชนชั นกลางในยุโรป<br />

โดย เยอร์เก้น ค็อกค้า<br />

บทที 5 ปริทัศน์ “<strong>กระฎุมพี</strong>” : ประวัติของคํา ความคิด และการใช้ในบริบทสังคมไทย<br />

โดย ศราวุฒิ วิสาพรม


บทที 1<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>: มโนทัศน์และความเป็ นจริง<br />

อิมมานูเอล วอลเลอร์สไตน์<br />

“ให้นิยามคําว่า<strong>กระฎุมพี</strong>เหรอ? เราคงเห็นไม่ตรงกันหรอก”<br />

แอร์เนสต์ ลาบรูซส์ (1955)<br />

Définir le bourgeois? Nous ne serions pas d’accord.<br />

Ernest Labrousse (1955)<br />

ในตํานานปรัมปราของโลกสมัยใหม่ ตัวละครเอกทีขาดไม่ได้เลยก็คือ<strong>กระฎุมพี</strong> (bourgeois) <br />

<strong>กระฎุมพี</strong>ซึงบางคนมองว่าเป็นวีรบุรุษ บ้างเห็นเป็นตัวร้าย ขณะทีส่วนใหญ่เห็นเป็นแรงบันดาลใจหรือมี<br />

เสน่ห์ยัวยวน คือผู ้กําหนดทิศทางปัจจุบันและผู ้ผลาญทําลายอดีต ในภาษาอังกฤษ เรามักหลีกเลียงคําว่า<br />

‘<strong>กระฎุมพี</strong>’ และมักใช้คําแทนว่า ‘ชนชั นกลาง’ (หรือพวกชนชั นกลาง) มากกว่า อันทีจริงมันออกจะย้อนแย้ง<br />

เล็กน้อยทีในระบบความคิดของพวกแองโกล-แซกซอนซึงมักจะอวดอ้างถึงความเป็นปัจเจกชนนิยม กลับไม่<br />

มีรูปเอกพจน์ของคําว่า ‘พวกชนชั นกลาง’ ทีใช้ได้โดยง่ายอยู่เลย นักภาษาศาสตร์บอกเราว่า คําว่า ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’<br />

ปรากฏขึ นครังแรกในรูปภาษาละตินว่า burgensis ใน ค.ศ. 1007 และถูกบันทึกในรูปภาษาฝรังเศสว่า<br />

burgeis ราว ค.ศ. 1100 ความหมายดั งเดิมของมันหมายถึงผู ้อยู่อาศัยใน bourg ทีแปลว่าเขตตัวเมือง แต่<br />

เป็นผู ้อยู่อาศัยทีเป็น ‘อิสระ’1 ทว่าพวกเขาเป็นอิสระจากสิงใด คําตอบคือเป็นอิสระจากกฎระเบียบต่าง ๆ ซึง<br />

เป็นเครืองผูกพันทางสังคมและจุดสอดประสานทางเศรษฐกิจของระบอบฟิ วดัล <strong>กระฎุมพี</strong>ไม่ได้หมายถึง<br />

ชาวไร่ชาวนาหรือทาสติดทีดิน (serf) แต่ก็ไม่ใช่พวกขุนนางชั นสูงด้วยเช่นกัน<br />

ดังนั น<strong>กระฎุมพี</strong>จึงเป็นคําทีทั งแปลกพิกลและกํากวมมาตั งแต่ต้น ทีว่าแปลกพิกลก็เพราะ<strong>กระฎุมพี</strong><br />

ไม่มีทีทางตามตรรกะของโครงสร้ างความสัมพันธ์แบบลําดับชั น อีกทั งระบบคุณค่าของระบบฟิ วดัลทีมีช่วง<br />

ชันแบบดังเดิมสามชวงชัน ก็เพิงก่อรูปขึ นจริง ๆ เมือมโนทัศน์เรือง ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’ เกิดขึ นเท่านั น2 ส่วนทีว่า<br />

กํากวมก็เพราะ<strong>กระฎุมพี</strong>ในช่วงเวลานั น (และยังเป็นอยู่ในปัจจุบัน) เป็นทังคํายกย่องและคําดูหมิน ทังชืน<br />

ชมและต่อว่า กล่าวกันว่าพระเจ้าหลุยส์ที 16 ทรงภาคภูมิใจยิงทีได้รับการยกย่องให้เป็น ‘<strong>กระฎุมพี</strong>แห่งกรุง<br />

เบิร์น’3 กระนั น โมลิแยร์ (Molière) กลับเขียนเหน็บแนม ‘สุภาพบุรุษ<strong>กระฎุมพี</strong>’ ไว้อย่างเจ็บแสบ ขณะทีโฟล<br />

ต้นฉบับของบทความนี มาจาก the Byrn History Lecture, Vanderbilt University, 23 มีนาคม 1987.<br />

1<br />

G. Matoré, Le vocabulaire et la société médiévale, Paris 1985, p. 292.<br />

2<br />

G. Duby, Les trois ordres ou l’imaginaire du féodalisme, Paris 1978.<br />

3<br />

M. Canard, ‘Essai de sémantique: Le mot “bourgeois”’, Revue de philosophie franÇaise et de littérature,<br />

XXVII, p. 33.


แบร์ต (Flaubert) กล่าวไว้ ว่า ‘ข้ าพเจ้ าขอเรี ยกผู ้ ใดก็ตามทีมีความคิดธรรมดาสามัญว่า<strong>กระฎุมพี</strong>’<br />

(‘J’appelle bourgeois quiconque pense bassement.’)<br />

ด้วยเหตุทีเป็นขุนนางก็ไม่ใช่ ชาวไร่ชาวนาก็ไม่เชิง ลงท้าย<strong>กระฎุมพี</strong>ในยุคกลางจึงถูกมองว่าเป็น<br />

สมาชิกของชนชันทีอยู่ระหว่างกลาง ซึงก็คือชนชั นกลางนันเอง นียังผลให้เกิดความไม่ชัดเจนอีกประการ<br />

หนึง คือเรานับคนทีอาศัยอยู่ในเมืองทุกคนเป็น<strong>กระฎุมพี</strong>ใช่หรือไม่ หรือแค่บางคน ช่างฝีมือเป็น<strong>กระฎุมพี</strong><br />

<strong>กระฎุมพี</strong>น้อย หรือไม่ใช่<strong>กระฎุมพี</strong>เลยกันแน่ ในทางปฏิบัติ คําว่า<strong>กระฎุมพี</strong>ใช้ระบุถึงระดับรายได้ทีมังคัง ซึง<br />

บ่งบอกถึงความเป็นไปได้ในการบริโภค (รูปแบบการใช้ชีวิต) รวมถึงความเป็นไปได้ในการลงทุน (ทุน)<br />

คําว่า<strong>กระฎุมพี</strong>จึงใช้งานในสองด้านนี คือการบริโภคและทุน ด้านหนึง เราอาจเปรียบเทียบรูปแบบ<br />

การใช้ชีวิตของ<strong>กระฎุมพี</strong>กับชีวิตของชนชันสูงหรือชาวไร่ชาวนา/ช่างฝีมือ เมือเทียบกับชาวไร่ชาวนา/<br />

ช่างฝีมือ รูปแบบการใช้ชีวิตของ<strong>กระฎุมพี</strong>สือถึงความสะดวกสบาย มารยาทสังคม และความสะอาดสะอ้าน<br />

แต่เมือเทียบกับชนชั นสูง ชีวิตของ<strong>กระฎุมพี</strong>สือถึงการขาดความหรูหราฟุ ่ มเฟื อยทีแท้จริงบางอย่าง และ<br />

พฤติกรรมทางสังคมทีเงอะ ๆ งะ ๆ ในบางระดับ (ดังเช่นแนวคิดของพวกเศรษฐีใหม่ (nouveau riche)) ครัน<br />

เวลาผ่านไป ชีวิตในเมืองเริมรุ่มรวยและซับซ้อนขึ น รูปแบบการใช้ชีวิตของ<strong>กระฎุมพี</strong>ยังอาจถูกนําไปเทียบ<br />

กับชีวิตของศิลปินหรือปัญญาชน โดยสะท้อนให้เห็นถึงระเบียบแบบแผน ธรรมเนียมทางสังคม ความสุขุม<br />

นุ่มลึก และความน่าเบือทือด้ าน ตรงข้ ามกับอีกฝังทีถูกมองว่าเป็นไปตามธรรมชาติ เป็นอิสระกว่า<br />

สนุกสนานกว่า และชาญฉลาดกว่า อันเป็นสิงซึงทุกวันนี ถูกเรียกว่า ‘วัฒนธรรมทวนกระแส’ สุดท้ายแล้ว<br />

พัฒนาการของทุนทําให้กรรมาชีพสามารถรับเอารูปแบบการใช้ชีวิตแบบ<strong>กระฎุมพี</strong>ปลอมๆ มาใช้ได้โดยไม่<br />

จําเป็นต้องรับเอาบทบาททางเศรษฐกิจในฐานะนายทุนมาด้วย นีเองคือสิงทีเราเรียกว่า ‘การกลายเป็น<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>’ (embourgeoisement)<br />

ทว่าหาก<strong>กระฎุมพี</strong>เช่นบับบิตต์ (Babbitt) คือตัวชูโรงของวาทกรรมทางวัฒนธรรมสมัยใหม่ ตัวชูโรง<br />

ของวาทกรรมทางเศรษฐกิจ-การเมืองสมัยใหม่ย่อมต้องเป็น<strong>กระฎุมพี</strong>ทีเป็นนายทุน <strong>กระฎุมพี</strong>กลายเป็นมี<br />

ความหมายถึงผู ้ทีใช้ประโยชน์จากปัจจัยการผลิต โดยจ้างแรงงานด้วยค่าแรงเพือให้ผลิตสินค้าไปขายใน<br />

ตลาด และเมือรายได้จากการขายสินค้าสูงกว่าต้นทุนการผลิตซึงรวมค่าจ้างแรงงานเข้าไปแล้ว เราจะเรียก<br />

สิงนั นว่ากําไร โดยสันนิษฐานว่ามันคือเป้าหมายของนายทุน<strong>กระฎุมพี</strong> ผู ้สรรเสริญคุณงามความดีของ<br />

บทบาททางสังคมนี มองว่า<strong>กระฎุมพี</strong>คือผู ้ประกอบการทีสร้ างสรรค์ ส่วนผู ้ประณามความเลวร้ายของ<br />

บทบาททางสังคมดังกล่าวมองว่า<strong>กระฎุมพี</strong>คือปรสิตขูดรีดสังคม กระนั นโดยทัวไปแล้ว ทังสองฝ่ายเห็น<br />

ตรงกันว่านายทุน<strong>กระฎุมพี</strong>ทั งหมดคือพลังเคลือนไหวทีสําคัญยิงของชีวิตทางเศรษฐกิจสมัยใหม่ในศตวรรษ<br />

ที 19 อันทีจริงแล้ว สําหรับนายทุน<strong>กระฎุมพี</strong>หลายคนอาจมีบทบาทตั งแต่ศตวรรษที 16 และสําหรับบางคน<br />

อาจย้อนกลับไปได้ไกลกว่านั น<br />

นิยามในศตวรรษที 19


เมือมโนทัศน์เรือง ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’ หมายความถึงช่วงชั นตรงกลางระหว่างชนชั นสูง/เจ้าทีดินกับชาวไร่<br />

ชาวนา/ช่างฝีมือ ยุค<strong>กระฎุมพี</strong>หรือสังคม<strong>กระฎุมพี</strong>จึงถูกนิยามในสองลักษณะ หนึงคือย้อนกลับไปในอดีตใน<br />

ฐานะทีเป็นความก้าวหน้าเหนือระบบฟิ วดัล สองคือมุ ่งไปสู ่อนาคตเมือเผชิญหน้ากับคําสัญญา (หรือภัย<br />

คุกคาม) ของแนวคิดสังคมนิยม นิยามดังกล่าวเป็นปรากฏการณ์ของศตวรรษที 19 ศตวรรษทีทังคนร่วม<br />

สมัยและผู ้ คนส่วนมากหลังยุคนันมองว่าเป็ นศตวรรษแห่งชัยชนะของ<strong>กระฎุมพี</strong> เป็นห้วงเวลาทาง<br />

ประวัติศาสตร์ทีเป็นตัวอย่างทีดีของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทั งในฐานะทีเป็นมโนทัศน์และความเป็นจริง แล้วสิงใดจะ<br />

สะท้อนถึงอารยะธรรม<strong>กระฎุมพี</strong>ในสํานึกร่วมของพวกเราได้ดีไปกว่าอังกฤษยุควิคตอเรียน ทีเป็นศูนย์กลาง<br />

การผลิตและอุตสาหกรรมของโลก ใจกลางแห่งภารกิจของคนขาว (white man’s burden) ดินแดนทีพระ<br />

อาทิตย์ไม่เคยตกดิน ที ๆ เรามองว่าเป็นดินแดนแห่งความรับผิดชอบ เชือในวิทยาศาสตร์ และมีอารยะธรรม<br />

ความเป็นจริงของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทั งในทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจการเมืองจึงเป็นสิงทีเราทั งหลายรู ้ จัก<br />

กันเป็นอย่างดี ซํ ายังถูกอธิบายอย่างคล้ายคลึงกันจนน่าประหลาดจากกระแสความคิดสามสํานักทียิงใหญ่<br />

ในศตวรรษที 19 ได้แก่ อนุรักษ์นิยม เสรีนิยม และมาร์กซิสม์ อุดมการณ์ทั งสามมีแนวโน้มจะยอมรับตรงกัน<br />

ในเรืองหน้าทีเชิงวิชาชีพ (มักจะเป็นพ่อค้าในช่วงต้น แต่ต่อมากลายเป็นนายจ้างและเจ้าของปัจจัยการผลิต<br />

ซึงโดยมากจ้างคนงานให้เป็นผู ้ผลิตสินค้า) แรงขับเคลือนทางเศรษฐกิจ (มุ ่งหวังกําไร ความปรารถนาทีจะ<br />

สะสมทุน) และรูปแบบทางวัฒนธรรม (ละเอียดถีถ้วน มีเหตุมีผล แสวงผลประโยชน์ส่วนตน) ของ<strong>กระฎุมพี</strong><br />

จนบางคนอาจพาลคิดว่าความเห็นทีตรงกันทีปรากฏในศตวรรษที 19 นี ช่วยให้เราสามารถใช้มโนทัศน์หลัก<br />

เกียวกับ<strong>กระฎุมพี</strong>ได้โดยไม่ต้องลังเลหรือถกเถียงกันให้มากความ ทว่าลาบรูซส์บอกว่าเราคงไม่มีทางหาข้อ<br />

ยุติเรืองนิยามของ<strong>กระฎุมพี</strong>ได้ ดังนั นเขาจึงเตือนให้เราพิจารณาถึงความเป็นจริงเชิงประจักษ์ให้ละเอียด<br />

และพิจารณาทางเลือกต่าง ๆ ให้มากเท่าทีจะเป็นไปได้ ยิงไปกว่านั น แม้ลาบรูซส์จะเสนอคําแนะนํานี ไว้<br />

ตังแต่ปี ค.ศ. 1955 แต่ผมกลับไม่เห็นว่าชุมชนวิชาการโลกได้ตอบรับคําแนะนําของเขาแต่อย่างใด แล้ว<br />

ทําไมจึงควรทําเล่า ขอให้เราลองพิจารณาการใช้มโนทัศน์เรือง<strong>กระฎุมพี</strong>ในงานนักประวัติศาสตร์และนัก<br />

สังคมศาสตร์สาขาอืนในบริบทห้าแบบต่อไปนี ซึงสร้ างความลําบากใจให้กับผู ้อ่านจํานวนมากหรืออาจ<br />

รวมถึงนักวิชาการเหล่านั นเองด้วย บางทีถ้าเราวิเคราะห์ถึงความลําบากใจตรงนี เราอาจเห็นเงือนงําทีเชือม<br />

ภาพของตัวมโนทัศน์และความเป็นจริง<br />

1. นักประวัติศาสตร์มักพรรณนาถึงปรากฏการณ์ทีเรียกว่า ‘การสร้ าง<strong>กระฎุมพี</strong>ให้เป็นอภิชน’ ยกตัวอย่าง<br />

เช่น นักประวัติศาสตร์บางคนเสนอว่าปรากฏการณ์ดังกล่าวเกิดขึ นในสาธารณรัฐแห่งดัตช์ (United<br />

Provinces) ในศตวรรษที 174 ระบบขุนนางรุ ่นใหม่ (noblesse de robe) ในยุคระบอบปกครองเก่าของ<br />

ฝรังเศส (Ancien Régime France) ทีเกิดจากการซื อขายตําแหน่ง เป็นเสมือนการแสดงถึงแนวคิดนี แบบ<br />

เป็นระบบ นีเองคือทีโธมัส มานน์ (Thomas Mann) อธิบายไว้ในหนังสือ Buddenbrooks ว่าเป็นวิธีการ<br />

4<br />

D. J. Roorda, ‘The Ruling Classes in Holland in the Seventeenth Century’, in J. S. Bromley and E. H. Kossman,<br />

eds., Britain and the Netherlands, II, Gröningen 1964, p. 119; and idem, ‘Party and Faction’, Acta Historiae<br />

Nederlandica, II, 1967, pp. 196–97.


้<br />

้<br />

้<br />

ปกติในการปรับเปลียนแบบแผนทางสังคมของตระกูลทีรํารวยจากการเป็นผู ้ประกอบการใหญ่โตมาเป็น ผู<br />

กุมอํานาจทางเศรษฐกิจ เป็นผู ้อุปถัมภ์งานศิลปะ จนท้ายทีสุดในปัจจุบันกลายมาเป็น คนเสเพลทีเสือม<br />

โทรม หรือ คนทีหลีกจากสังคมทีเจ้าสําราญหรือเป็นนักอุดมคติ<br />

แล้วสิงใดเล่าทีเราควรจะสังเกตเห็น สิงนั นก็คือ เพราะเหตุบางอย่างและในบางจุดของช่วงเวลา<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>เหมือนจะละทิ งแบบแผนทางวัฒนธรรมและบทบาททางเศรษฐกิจการเมือง และแสวงหาบทบาท<br />

ของ ‘อภิชน’ แทน ซึงตั งแต่ศตวรรษที 19 ก็ไม่ได้จําเป็นต้องเป็นตําแหน่งขุนนาง หากแต่เป็นบทบาทเศรษฐี<br />

เก่า สัญลักษณ์ทางการแบบดั งเดิมของปรากฎการณ์นี คือการเข้าครอบครองทรัพย์สินทีดิน ทําให้เห็นถึง<br />

การเปลียนแปลงจาก<strong>กระฎุมพี</strong>ทีเป็นเจ้ าของโรงงานและเป็นผู ้ อาศัยในเมือง กลายเป็ นชนชั นสูงผู<br />

ครอบครองทีดินและเป็นผู ้อาศัยในชนบท<br />

เหตุใด<strong>กระฎุมพี</strong>จึงทําเช่นนั น เราย่อมเห็นชัดกันอยู่แล้วว่าในแง่สถานะทางสังคมหรือในแง่วาท<br />

กรรมทางวัฒนธรรมของโลกสมัยใหม่ เป็นความจริงทีตั งแต่ศตวรรษที 11 เรือยมาจนถึงปัจจุบัน การเป็น<br />

อภิชนค่อนข้างเป็นสิงน่าพึงประสงค์กว่าหรือ ‘ดีกว่า’ การเป็น<strong>กระฎุมพี</strong> เรืองนี มีประเด็นน่าสนใจอยู่สอง<br />

ประการ ประการแรก คนพูดกันเสมอว่าพลังขับเคลือนทางกระบวนการทางเศรษฐกิจการเมืองของเรา<br />

นับตั งแต่ศตวรรษที 19 หรือ 16 หรืออาจก่อนหน้านัน ไม่ใช่ใครอืนนอกจาก<strong>กระฎุมพี</strong> แล้วเหตุใดคนเราจึง<br />

อยากทิงบทบาทความเป็นศูนย์กลางแล้ วกลับเลือกบทบาททีดูตกยุคกันเล่า ประการทีสอง ในทาง<br />

อุดมการณ์แล้ว ระบบฟิ วดัลยกย่องชนชั นสูง ส่วนระบบทุนนิยมทีเกิดขึ นภายหลังให้กําเนิดอุดมการณ์ใหม่<br />

ทียกย่อง<strong>กระฎุมพี</strong> อุดมการณ์ใหม่นีเป็นอุดมการณ์กระแสหลักเป็นเวลาอย่างน้อย <br />

150 – 200 ปี โดยเฉพาะ<br />

ในบริเวณศูนย์กลางเศรษฐกิจโลกแบบทุนนิยม ทว่าปรากฎการณ์ Buddenbrooks เดินหน้าไปอย่างรวดเร็ว<br />

ในบริเตน แม้กระทังในปัจจุบัน ตําแหน่งขุนนางทีไม่สามารถตกทอดถึงลูกหลานก็ยังนับว่าเป็นเกียรติยศ<br />

2. แนวคิดทีสําคัญและมีข้อถกเถียงมากในความคิดร่วมสมัย ซึงเป็นทีรู ้ จักดีในงานเขียนของ (แต่ไม่ได้<br />

จํากัดแค่ในงาน) มาร์กซิสต์ คือทีเกียวกับ ‘การทรยศของ<strong>กระฎุมพี</strong>’ ต่อหน้าทีทางประวัติศาสตร์ของมันเอง<br />

อันทีจริงแล้ว แนวคิดนี หมายถึงข้อเท็จจริงทีว่าในบางประเทศ คนที ‘พัฒนา’ น้อยกว่าซึงคือ <strong>กระฎุมพี</strong><br />

ท้องถิน (ในชาติ) ผละจากหน้าทีทางเศรษฐกิจทีเป็น ‘ปกติ’ หรือทีถูกคาดหวัง เพือไปเป็นเจ้าของทีดินหรือผู<br />

มีรายได้จากทรัพย์สิน ซึงก็คือกลายเป็น ‘อภิชน’ แต่สิงทีเกิดขึ นมันมากไปกว่าการกลายเป็นอภิชนใน<br />

ลักษณะของชีวประวัติส่วนบุคคล มันคือการกลายเป็นอภิชนแบบร่วมกันในลักษณะชีวประวัติร่วมกัน<br />

กล่าวอีกนัยหนึงได้ว่ามันเป็นคําถามเรืองจังหวะเวลาของการเปลียนในเชิงคล้ายปฏิทินของประเทศ นัยของ<br />

ทฤษฎีขั นตอนการพัฒนา ในจุดหนึง<strong>กระฎุมพี</strong>ควรจะเข้าแทนทีกลไกรัฐ และสร้างสิงทีเรียกว่า ‘รัฐ<strong>กระฎุมพี</strong>’<br />

ปฏิวัติอุตสาหกรรมประเทศ และสร้ างสมทุนจํานวนมากร่วมกัน กล่าวอย่างสั นๆ ก็คือ เดินไปเส้ นทาง<br />

ประวัติศาสตร์ทีสันนิษฐานไว้ของบริเตนนันเอง หลักจากห้วงเวลานั น บางทีการที<strong>กระฎุมพี</strong>แต่ละคน ‘ทํา<br />

ตัวเองให้เป็นอภิชน’ อาจจะไม่ใช่เรืองสําคัญเท่าเดิม แต่ก่อนห้วงเวลานั น การเปลียนของแต่ละปัจเจกทําให้<br />

การเปลียนร่วมกันในระดับชาติเกิดขึ นยากกว่าเดิม (หรือเกิดขึ นไม่ได้เลย) ในศตวรรษที 20 การวิเคราะห์


แบบนี เป็นรากฐานของกลยุทธ์ทางการเมืองทีสําคัญ ถูกใช้เป็นข้ออ้างในองค์การคอมมิวนิสต์สากลและ<br />

องค์การทีสืบต่อของสิงทีเรียกว่า ‘ทฤษฎีสองขั นเรืองการปฏิวัติระดับชาติ’ ซึงพรรคสังคมนิยมไม่ได้มีเพียง<br />

หน้าทีดําเนินการปฏิวัติของชนชั นกรรมาชีพ (หรือขันสอง) แต่ยังมีบทบาททียิงใหญ่มากในการดําเนินการ<br />

ปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong> (หรือขันแรก) ตามข้อถกเถียงนี ขั นแรกนั นเป็นสิง ‘จําเป็น’ ทางประวัติศาสตร์ และใน<br />

เมือ<strong>กระฎุมพี</strong>ระดับชาติได้ ‘ทรยศ’ บทบาททางประวัติศาสตร์ ภาระจึงตกอยู่กับกรรมาชีพทีจะรับบทบาทนี <br />

ถึงตอนนี แนวคิดทั งหมดน่าสนใจขึ นเป็นทวีคูณ มันน่าแปลกทีจะคิดว่าชนชั นทางสังคมหนึง ซึงคือ<br />

กรรมาชีพ มีทั งหน้าทีและความเป็นไปได้ทางสังคมทีจะแสดงบทบบาททางประวัติศาสตร์ (ไม่ว่ามันจะ<br />

แปลว่าอะไรก็ตาม) ของอีกชนชั นทางสังคมหนึงซึงคือของ<strong>กระฎุมพี</strong> (ผมขอเพิมความเห็นว่า ถึงแม้กลวิธีนี ที<br />

จริงแล้วเริมโดยเลนินหรืออย่างน้อยเขาก็เห็นด้วย มันก็ยังเป็นการตบใส่หน้าอย่างแรงต่อศีลธรรมซึงมาร์กซ์<br />

และเอ็งเงิลส์ประณามนักสังคมนิยมอุดมคติ) แต่ความคิดเรือง ‘การทรยศ’ ยิงน่าฉงนขึ นไปอีกเมือเมือมอง<br />

จากมุมของ<strong>กระฎุมพี</strong>เอง เหตุใด<strong>กระฎุมพี</strong>ในชาติควร ‘ทรยศ’ ต่อบทบาททางประวัติศาสตร์ของตัวเอง ถ้าเรา<br />

มองว่าการแสดงบทบาทนีมีแต่จะได้ประโยชน์ และเพราะทุกคน –นักอนุรักษ์นิยม นักเสรีนิยม นักมาร์ก<br />

ซิสต์- เห็นว่านายทุน<strong>กระฎุมพี</strong>มุ ่งหวังผลประโยชน์ส่วนตัวเสมอ ดังนั นมันจะเป็นไปได้อย่างไรที<strong>กระฎุมพี</strong>จะ<br />

ไม่รู ้ว่าอะไรคือผลประโยชน์ของตัวเอง มันจึงดูเหมือนยิงกว่าปริศนา มันเหมือนข้อความทีขัดกันเอง ความ<br />

ประหลาดของความคิดนี ถูกตอกยํ าเมือพิจารณาจากข้อเท็จจริงทีว่าจํานวนของ<strong>กระฎุมพี</strong>ในชาติทีถูกมองว่า<br />

‘ทรยศ’ ต่อหน้าทีทางประวัติศาสตร์ของตัวเองมีอยู่ไม่น้อย และอันทีจริงแล้วมีจํานวนมาก จนเกือบเป็นคน<br />

ส่วนมากเสียด้วยซํ า<br />

กรรมสิทธิ และการควบคุม<br />

3. ภาษาของ ‘การสร้าง<strong>กระฎุมพี</strong>ให้เป็นอภิชน’ มักจะใช้กับสถานการณ์ของประเทศในยุโรปหลัก ๆ ในช่วง<br />

ศตวรรษที 16-18 และภาษาของ ‘การทรยศของ<strong>กระฎุมพี</strong>’ มักจะใช้กับสถานการณ์ในประเทศนอกยุโรปใน<br />

ศตวรรษที 20 แล้วยังมีภาษาทีสาม ซึงมักใช้หลัก ๆ กับสถานการณ์ในอเมริกาเหนือและยุโรปตะวันตกใน<br />

ท้ายศตวรรษที 19 ถึงศตวรรษที 20 ในปี 1932 เบิร์ล (Berle) และมีนส์ (Means) เขียนหนังสืออันโด่งดังซึง<br />

พวกเขาชี ให้เห็นถึงแนวโน้มในประวัติศาสตร์โครงสร้ างขององค์กรธุรกิจสมัยใหม่ แนวโน้มทีเรียกว่า ‘การ<br />

แบ่งแยกกรรมสิทธิและการควบคุม’5 ในการนี หมายถึงการเปลียนจากสถานการณ์ทีเจ้าของตามกฎหมาย<br />

ของกิจการยังเป็นผู ้จัดการของธุรกิจด้วย กลายเป็นการทีเจ้าของตามกฎหมายมีหลากหลายคน กระจัด<br />

กระจาย และแทบจะเรียกได้ว่ากลายเป็นแค่ผู ้ลงเงินทุน (ซึงก็คือ บรรษัทยุคใหม่) ขณะทีผู ้จัดการทีมี<br />

อํานาจการตัดสินใจทางเศรษฐกิจทีแท้จริงไม่จําเป็นทีจะมีกรรมสิทธิในกิจการเลย และเป็นพนักงานประจํา<br />

ตามศัพท์อย่างเป็นทางการ อย่างทีทุกคนตระหนักดีในปัจจุบัน ความจริงของศตวรรษที 20 ไม่ตรงกับ<br />

5<br />

A. Berle and G. Means, The Modern Corporation and Private Property, New York 1932.


่<br />

คําอธิบายของศตวรรษที 19 ในเรืองบทบาททางเศรษฐกิจของ<strong>กระฎุมพี</strong> ไม่ว่าจะจากนักเสรีนิยมหรือมาร์ก<br />

ซิสต์<br />

การเติบโตขึ นของรูปแบบบริษัทของกิจการส่งผลมากกว่าการเปลียนโครงสร้างระดับบนของกิจการ<br />

แต่ยังก่อให้เกิดชนชั นทางสังคมแบบใหม่หมด ในศตวรรษที 19 มาร์กซ์คาดการณ์ว่าในขณะทีทุนรวมสู<br />

ศูนย์กลาง เมือเวลาผ่านไป การแบ่งแยกของชนชั นทีมากขึ น ซึงทีในทีสุดแล้วจะมีแค่<strong>กระฎุมพี</strong> (จํานวนน้อย<br />

มาก ๆ) และชนชั นกรรมาชีพ (จํานวนเยอะมาก ๆ) เหลืออยู่ มาร์กซ์หมายความในทางปฏิบัติว่า ในช่วงการ<br />

พัฒนาของระบบทุนนิยม กลุ ่มทางสังคมใหญ่สองกลุ ่มประกอบด้วยผู ้ผลิตสินค้าการเกษตรอิสระขนาดเล็ก<br />

และช่างฝีมือในเมืองอิสระขนาดเล็กจะหายไปผ่านกระบวนการคู ่ขนาน ซึงหมายถึงน้อยคนนักจะกลายเป็น<br />

ผู ้ประกอบการขนาดใหญ่ (ซึงคือ<strong>กระฎุมพี</strong>) และส่วนใหญ่จะกลายเป็นชนชั นแรงงาน (ซึงคือกรรมาชีพ)<br />

ถึงแม้ว่า นักเสรีนิยมหลัก ๆ แล้วมิได้คาดการณ์สถาณการณ์ทีว่านี แต่หากพิจารณาแค่เรืองคําอธิบายทาง<br />

สังคม สิงทีมาร์กซ์คาดการณ์ก็มิได้ขัดกับความคิดของเสรีนิยม นอกจากนี นักอนุรักษ์นิยมเช่นคาร์ไลล์<br />

(Carlyle) คิดว่าการคาดการณ์ของมาร์กซิสต์นั นหลัก ๆ แล้วถูกต้อง และพวกเขาก็หวันเกรงความเป็นไปได้<br />

นี <br />

อันทีจริงแล้ว สิงทีมาร์กซ์คิดนั นถูกต้อง สมาชิกของกลุ ่มทางสังคมของสองกลุ ่มนี ได้ลดลงอย่าง<br />

มากทัวโลกในช่วง 150 ปีทีผ่านมา ทว่าในยุคหลังสงครามโลกครังทีสอง นักสังคมวิทยาได้สังเกต (ก่อนที<br />

มันจะกลายเป็นเรืองทีสังเกตเห็นได้ทัวไป) ว่า การสาบสูญของชนชั นทั งสองนี เกิดขึ นพร้ อมกับการเกิดขึ น<br />

ของชนชั นใหม่ ภาษาทีเริมถูกใช้คือ ‘ชนชั นกลางเก่า’ นั นเริมหายไป และ ‘ชนชั นกลางใหม่’ เริมปรากฎขึ น6<br />

ชนชันกลางใหม่ทีว่านี หมายถึงชนชั นทีกําลังเติบโตทีหลัก ๆ ประกอบด้วยผู ้ทํางานสายวิชาชีพทีได้รับ<br />

ค่าจ้างประจําซึงรับตําแหน่งทํางานบริหารจัดการหรือกึงบริหารจัดการในโครงสร้างบริษัท ซึงได้รับตําแหน่ง<br />

จากทักษะทีพวกเขารําเรียนมาในมหาวิทยาลัย ในช่วงแรก หลัก ๆ ก็คือ ‘วิศวกร’ ต่อมาคือผู ้ทําวิชาชีพ<br />

ทางด้านกฎหมายและสุขภาพ ผู ้เชียวชาญด้านการตลาด นักวิเคราะห์คอมพิวเตอร์ และอืน ๆ<br />

สิงทีพึงระลึกไว้มีสองประการต่อไปนี ประการแรกคือความสับสนทางภาษาศาสตร์ ‘ชนชันกลาง<br />

ใหม่’ เหล่านี ถูกมองว่าเป็น ‘ชนชันตรงกลาง’ (เช่น ในศตวรรษที 11) แต่ปัจจุบันตั งอยู่ระหว่าง ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’<br />

หรือ ‘นายทุน’ หรือ ‘ผู ้บริหารระดับสูง’ และ ‘กรรมาชีพ’ หรือ ‘แรงงาน’ <strong>กระฎุมพี</strong>ของศตวรรษที 11เคยเป็น<br />

ชนชั นตรงกลาง แต่ตามศัพท์ของศตวรรษที 20 ศัพท์นี ใช้อธิบายชนชั นสูงในสถานการณ์ทีหลายคนยังอิงถึง<br />

ชนชั นสามแบบแบบเก่า ความสับสนในเรืองนี ยิงแย่ลงไปอีกในทศวรรษที 1960 จากความพยายามทีจะให้<br />

ชือ ‘ชนชันกลางใหม่’ เป็น ‘ชนชันแรงงานใหม่’ และลดจํานวนชนชันลงให้เหลือเพียงสอง7 การเปลียนชือนี <br />

หลัก ๆ แล้วเพือนัยทางการเมือง แต่ไม่ได้สือถึงความจริงอีกเรืองหนึงทีเปลียนไป ซึงคือความแตกต่างของ<br />

วิถีชีวิตและระดับรายได้ของแรงงานมีทักษะกับนักวิชาชีพทีได้รับรายได้ประจํานั นหดใกล้ลง<br />

6<br />

ดูตัวอย่างทีดีใน C. Wright Mills, White Collar, New York 1951.<br />

7<br />

ดูตัวอย่างใน A. Gorz, Stratégie ouvrière et néocapitalisme, Paris 1964.


ประการทีสอง หากพิจารณาจากหมวดการวิเคราะห์แบบศตวรรษที ‘ชนชันกลางใหม่’ นัน<br />

อธิบายได้ยากมาก คือเข้าเกณฑ์บางอย่างของการเป็น ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’ ชนชั นนี ‘มีอันจะกิน’ คือมีเงินทีจะลงทุน<br />

(แต่ไม่มากเกินไปและหลัก ๆ คือลงทุนในหุ ้นและพันธบัตร) และทําเพือผลประโยชน์ของตัวเองทั งทาง<br />

เศรษฐกิจและการเมือง แต่ชนชั นนี มักจะเทียบได้กับแรงงานทีรับค่าจ้าง ตราบเท่าทีพวกเขายังพึงรายได้<br />

จากงานทีทําแบบเดือนต่อเดือนในการดํารงชีวิตเป็นหลัก (แทนทีจะเป็นผลตอบแทนจากทรัพย์สิน) ซึง<br />

ตราบทีเป็นเช่นนั นพวกเขาถือเป็น ‘กรรมาชีพ’ และวิถีชีวิตแบบเน้นความสําราญได้ลดความตึงเครียดจาก<br />

ความเคร่งครัดซึงเกียวโยงกับวัฒนธรรมของ<strong>กระฎุมพี</strong>ลง และตราบทีเป็นเช่นนั นพวกเขาถือเป็น ‘อภิชน’<br />

4. ในโลกทีสามก็มีสิงทีคล้ายกับ ‘ชนชั นกลางใหม่’ เมือประเทศต่าง ๆ ทยอยได้รับเอกราชหลังสงครามโลก<br />

ครังทีสอง นักวิเคราะห์เริมสังเกตถึงการเกิดขึ นของชนชั นทีสําคัญมาก อันได้แก่กลุ ่มผู ้มีการศึกษาทีถูก<br />

ว่าจ้างโดยรัฐบาล ซึงได้รับรายได้ค่อนข้างดีเมือเทียบกับประชาชนในประเทศ ในแอฟริกา กลุ ่มคนเหล่านี <br />

โดดเด่นทีสุดเพราะแทบจะไม่มี ‘ผู ้มีอันจะกิน’ กลุ ่มอืน แนวคิดใหม่จึงเกิดขึ นเพือทีจะเรียกคนเหล่านี โดย<br />

เรียกว่า ‘<strong>กระฎุมพี</strong>ฝ่ายบริหาร’ <strong>กระฎุมพี</strong>ฝ่ายบริหารค่อนข้างทีจะเป็น ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’ แบบดั งเดิมในเรืองวิถีชีวิต<br />

และค่านิยมทางสังคม และเป็นตัวแทนของรากฐานทีสําคัญทางสังคมของระบอบส่วนใหญ่ จนฟานอน<br />

(Fanon) ระบุว่ารัฐในแอฟริกาทีเป็นแบบพรรคเดียวเป็น ‘เผด็จการของ<strong>กระฎุมพี</strong>’ ซึงก็หมายถึง<strong>กระฎุมพี</strong>ทีว่า<br />

นี เอง8 อันทีจริงแล้ว ข้าราชการเหล่านี มิอาจเป็น<strong>กระฎุมพี</strong>ได้เลย ถ้าพิจารณาจากลักษณะการแสดงบทบาท<br />

ทางเศรษฐกิจแบบดั งเดิมของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทีเป็นผู ้ประกอบการ นายจ้างของแรงงาน ผู ้สร้างนวัตกรรม ผู ้รับ<br />

ความเสียง ผู ้แสวงหากําไรสูงสุด แต่การกล่าวแบบนี ก็ไม่ถูกเสียทีเดียว <strong>กระฎุมพี</strong>ฝ่ ายบริหารมักจะแสดง<br />

บทบาททางเศรษฐกิจแบบดั งเดิม แต่เมือทําเช่นนั นกลับไม่มีใครยกย่อง และถูกประณามว่าเป็น ‘การฉ้ อ<br />

ราษฎร์บังหลวง’<br />

5. ประการทีห้าแสดงถึงอีกด้านหนึงทีแนวคิด<strong>กระฎุมพี</strong>และ/หรือชนชั นกลางแสดงบทบาททีดูสับสนทว่า<br />

สําคัญยิง ซึงคือการวิเคราะห์เรืองโครงสร้ างของรัฐในโลกสมัยใหม่ เป็นอีกครังหนึงทีไม่ว่าจะมองจากมุม<br />

ของอนุรักษ์นิยม เสรีนิยม หรือมาร์กซิสต์ การเกิดขึ นของทุนนิยมถูกมองว่าสัมพันธ์และเกียวข้องอย่าง<br />

ใกล้ชิดในทางใดทางหนึงกับการควบคุมทางการเมืองของกลไกของรัฐ นักมาร์กซิสต์กล่าวว่าเศรษฐกิจทุน<br />

นิยมแสดงนัยถึงรัฐ<strong>กระฎุมพี</strong> ซึงเป็นมุมมองทีสรุปได้อย่างกระชับในคําคมทีว่า ‘รัฐคือคณะกรรมการบริหาร<br />

ของชนชันปกครอง’9 หัวใจของการตีความประวัติศาสตร์แบบวิก (Whig) คือแรงขับเคลือนสู ่เสรีภาพของ<br />

มนุษย์เกิดขึ นไปพร้อม ๆ กันในทางเศรษฐกิจและการเมือง เศรษฐกิจเสรีมีนัยถึงประชาธิปไตยแบบตัวแทน<br />

หรืออย่างน้อยคือการปกครองแบบรัฐสภา สิงทีนักอนุรักษ์นิยมไม่พอใจคือความเชือมโยงอย่างลึกซึ ง<br />

ระหว่างการลดทอนความสัมพันธ์ของมนุษย์ให้เหลือเพียงเรืองเงินตรา (cash nexus) และการถดถอยของ<br />

8<br />

F. Fanon, The Wretched of the Earth, New York 1964, pp. 121–63.<br />

9<br />

K. Marx, F. Engels, The Communist Manifesto [1848], New York 1948.


สถาบันแบบดั งเดิม (ลําดับแรก ในระดับโครงสร้างรัฐ) เวลานักอนุรักษ์นิยมพูดถึงยุคแห่งการฟื นฟู การฟื นฟู<br />

ทีพวกเขาต้องการคืออภิสิทธิของระบอบกษัตริย์และอภิชน<br />

แม้กระนั นก็ยังมีเสียงคัดค้านอย่างต่อเนืองทีเราพึงระลึกไว้ อังกฤษในยุควิคตอเรียทีเป็นศูนย์กลาง<br />

ชัยชนะของ<strong>กระฎุมพี</strong> ณ ช่วงแห่งชัยชนะ วอลเตอร์ แบจเจท (Walter Bagehot) พิจารณาถึงบทบาทที<br />

สําคัญต่อเนืองของระบอบกษัตริย์อังกฤษในการรักษาไว้ซึงเงือนไขทีทําให้รัฐสมัยใหม่และระบบทุนนิยมอยู่<br />

รอดและเจริญรุ่งเรือง10 แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ยํ าว่า กระบวนการทําให้โลกเป็นระบบราชการ ซึงเป็น<br />

กระบวนการสําคัญของอารยธรรมทุนนิยมทีเขาสนับสนุน ไม่มีทางทีจะเกิดขึ นได้ในระดับบนสุดของระบบ<br />

การเมือง11 นอกจากนี โจเซฟ ชุมปีเตอร์ (Joseph Schumpeter) มองว่า เนืองจากในทางปฏิบัติ<strong>กระฎุมพี</strong>มิ<br />

อาจให้ความสนใจต่อการเตือนของแบจเจท โครงสร้างการปกครองจําต้องล่มสลายอย่างเลียงไม่ได้ เมือยืน<br />

กรานทีจะปกครอง <strong>กระฎุมพี</strong>จะนํามาซึงจุดจบของตัวเอง12 ทั งสามกําลังบอกเราว่าสมการของเศรษฐกิจ<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>และรัฐ<strong>กระฎุมพี</strong>นั นไม่ง่ายอย่างทีคิด<br />

จากมุมของมาร์กซิสต์ ทฤษฎีเรืองรัฐ เรืองพื นฐานชนชั นของรัฐ (<strong>กระฎุมพี</strong>) เป็นหนึงในเรืองที<br />

ยุ่งยากและเป็นทีถกเถียงกันมากทีสุดในรอบสามสิบปีทีผ่านมา การถกเถียงระหว่างของ นิคอส พอลเลนซัส<br />

(Nicos Poulantzas) และ ราฟ มิลิแบนด์ (Ralph Miliband)13 เป็นตัวอย่างทีชัดทีสุด วลีทีว่า ‘เอกราชโดย<br />

สัมพัทธ์ของรัฐ’ กลายเป็นคําพูดซํ าซากทีมีคนสนับสนุนอย่างกว้างขวางแต่ในนาม ความหมายของมันจะ<br />

เป็นไรได้อีก หากมิใช่ข้อเท็จจริงทีว่ามันได้ รับการยอมรับให้เป็น ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’ หรือ ‘ชนชันกลาง’ ซึงมี<br />

หลากหลายรูปแบบมากเสียจนยากทีจะถกเถียงว่าแบบใดควบคุมรัฐได้ในความเป็นจริง ตามรูปแบบ<br />

ทางตรงตามคติของมาร์กซิสต์ และไม่ใช่ว่าการผสมผสานกันของรูปแบบต่างๆ เหล่านี จะรวมเป็นชนชั นหรือ<br />

กลุ ่มแบบหนึงแบบใด<br />

ทบทวนมโนทัศน์เรื อง<strong>กระฎุมพี</strong><br />

ดังนันมโนทัศน์เรือง<strong>กระฎุมพี</strong> ตังแต่จุดเริมต้นในยุคกลาง ผ่านร่างอวตารของระบอบปกครองเก่าของ<br />

ฝรังเศส (Ancien Régime) ในยุโรปและยุคปฏิวัติอุตสาหกรรมในศตวรรษที 19 จึงใช้อย่างมีความหมาย<br />

ชัดเจนได้ยากเมือพูดถึงโลกในศตวรรษที 21 และยากยิงขึ นไปอีกทีจะใช้เป็นด้ายของอาเรียดเน่ (Ariadne’s<br />

thread) เพือตีความพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของโลกในศตวรรษที 21 ทว่าก็ไม่มีใครพร้อมจะละทิ ง<br />

มโนทัศน์นี อย่างสิ นเชิง ตัวผมเองก็ไม่เคยเห็นการตีความเชิงประวัติศาสตร์โลกสมัยใหม่ของเราอย่างเป็น<br />

เรืองเป็นราวแบบใด ทีปราศจากแนวคิดเรือง<strong>กระฎุมพี</strong>หรือชนชั นกลางเลย ซึงก็เป็นเรืองทีเหมาะสมแล้ว มัน<br />

ยากเสมอทีจะบอกเล่าเรืองราวทีปราศจากตัวเอกของเรือง อย่างไรก็ดีเมือเราเห็นอย่างชัดเจนว่าตัวมโน<br />

10<br />

W. Bagehot, The English Constitution [1867], London 1964.<br />

11<br />

M. Weber, Economy and Society [1922], III, New York 1968, e.g. pp. 1403–05.<br />

12<br />

J. Schumpeter, Capitalism, Socialism and Democracy, New York 1942, Chapter 12.<br />

13<br />

R. Miliband, The State in Capitalist Society, London 1969; N. Poulantzas, Political Power and Social<br />

Classes [1968], NLB, London 1973; และดูการถกเถียงเรืองนี ใน New Left Review 58, 59, 82 and 95.


ทัศน์เข้ากันไม่ได้กับความเป็นจริง บางทีมันอาจเป็นเวลาทีจะทบทวนตัวมโนทัศน์นี และประเมินหาลักษณะ<br />

ทีสําคัญทีแท้จริงเสียใหม่<br />

ผมจะเริมโดยพูดถึงเกร็ดความรู ้ทางประวัติศาสตร์อีกเรืองทีน่าสนใจ เราทุกคนทราบดีว่ากรรมาชีพ<br />

หรือจะเรียกว่าแรงงานทีรับค่าจ้างก็ได้ ไม่ได้มีอยู่ตลอดช่วงประวัติศาสตร์ ว่าพวกเขาทีจริงแล้วถูกสร้ างขึ น<br />

ในช่วงเวลาหนึง กาลครังหนึง แรงงานส่วนใหญ่ของโลกเป็นผู ้ผลิตทางการเกษตรในชนบท ได้รับรายได้ใน<br />

หลายรูปแบบทีต่างกัน แต่แทบจะไม่เคยได้รับในรูปแบบค่าจ้าง ทุกวันนี แรงงานส่วนใหญ่ของโลก (และ<br />

เพิมขึ นเรือย ๆ) อยู่ในเขตเมืองและส่วนมากได้รับรายได้ในรูปแบบค่าจ้าง การเปลียนแปลงนี บางคนเรียกว่า<br />

‘การกลายเป็นกรรมาชีพ’ บ้างก็เรียกว่า ‘การสร้างชนชั นแรงงาน’14 มีทฤษฎีมากมายเกียวกับกระบวนการนี <br />

และเป็นหัวข้อของการศึกษาจํานวนมาก<br />

ถึงแม้ว่าอาจจะไม่เห็นเด่นชัดนักสําหรับพวกเราส่วนใหญ่ แต่เราก็รู ้กันว่าสัดส่วนของคนทีอาจเรียก<br />

ได้ว่า<strong>กระฎุมพี</strong> (ตามนิยามใดนิยามหนึง) มีจํานวนมากกว่าในอดีตมากมายนัก และชัดเจนว่าจํานวนก็<br />

เพิมขึ นอย่างต่อเนืองอาจจะตั งแต่ศตวรรษที 11 และยิงชัดเจนนับจากศตวรรษที 16 ทว่าเท่าทีผมรู ้ เรียกได้<br />

ว่าแทบไม่มีใครพูดถึง ‘การกลายเป็น<strong>กระฎุมพี</strong>’ ในฐานะกระบวนการคู ่ขนานกับ ‘การกลายเป็นกรรมาชีพ’<br />

และไม่มีใครเขียนหนังสือเรืองการสร้ าง<strong>กระฎุมพี</strong> แต่กลับเขียนเรือง ‘ชัยชนะของ<strong>กระฎุมพี</strong>’ (les bourgeois<br />

conquérants)15 เหมือนกับว่า<strong>กระฎุมพี</strong>เป็นสิงทีมีของมันอยู่แล้ว และถูกให้ทําตามผู ้อืน ตามอภิชน ตามรัฐ<br />

ตามแรงงาน เหมือนว่ามันไม่มีจุดกําเนิด แต่ผุดขึ นมาแบบครบองค์จากศีรษะของเทพซูส (Zeus) อย่างนั น<br />

เราควรจะแปลกใจมากกับความประจวบเหมาะราวกับเทวดามาโปรด (deus ex machina) นี และ<br />

มันก็เป็นความประจวบเหมาะอย่างแท้จริง การใช้มโนทัศน์เรือง<strong>กระฎุมพี</strong>/ชนชันกลางทีสําคัญทีสุดคือใช้<br />

อธิบายต้นกําเนิดของโลกสมัยใหม่ กาลครังนึง (ตามแบบเทพนิยาย) มีระบบฟิ วดัลหรือระบบเศรษฐกิจที<br />

ไม่เป็นพาณิชย์และไม่อิงตามความเชียวชาญ มีขุนนางและชาวไร่ชาวนา มีกระทัง (แต่มันเป็นแค่เรือง<br />

บังเอิญอย่างเดียวหรือ) ชาวเมืองในเขตเมืองจํานวนหยิบมือทีผลิตและค้าขายผ่านตลาด ชนชั นกลาง<br />

เติบโตขึ น แผ่ขยายขอบเขตของธุรกรรมทางการเงิน และสร้างสิงมหัศจรรย์ของโลกสมัยใหม่ หรือถ้าให้พูด<br />

อีกแบบหนึง ซึงโดยแก่นแท้แล้วก็คือความคิดเดียวกัน <strong>กระฎุมพี</strong>ไม่ได้แค่เติบโตขึ น (ในทางเศรษฐกิจ) แต่<br />

ต่อมาได้ลุกฮือขึ น (ในทางการเมือง) เพือโค่นล้มอภิชนทีเคยมีอํานาจครอบงํามาก่อน ในเทพนิยายเรืองนี <br />

<strong>กระฎุมพี</strong>/ชนชั นกลางเป็นสิงทีจําเป็นต้ องมีอยู่แล้ว มิเช่นนันเทพนิยายดังกล่าวจะไม่สมเหตุสมผล การ<br />

วิเคราะห์ประวัติศาสตร์เรืองการก่อกําเนิดของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทําให้เห็นประเด็นทีน่าสงสัยอย่างเลียงไม่ได้ในเรือง<br />

ความสอดคล้องกันของคําอธิบายในตํานานเทพนิยาย ดังนั นจึงไม่มีการวิเคราะห์ หรือถ้ามีก็มีไม่มากนัก<br />

การทําให้ชาวเมืองในเขตเมืองในยุคกลางช่วงปลาย (ซึงเป็นตัวแสดงทีมีตัวตนจริง) เป็นรูปธรรม<br />

เป็นสารัตถะทีเรามิได้ทําความเข้าใจอย่างแท้จริง ซึงก็คือทําให้เป็น<strong>กระฎุมพี</strong> (หรืออีกนัยหนึงก็คือ<strong>กระฎุมพี</strong><br />

14<br />

E. P. Thompson, The Making of the English Working Class, revised edition, London 1968.<br />

15<br />

C. Morazé, Les bourgeois conquérants, Paris 1957.


่<br />

ทีพิชิตโลกสมัยใหม่) สอดคล้องกับการทําให้จิตวิทยาและอุดมการณ์ของมันกลายเป็นเรืองลึกลับซ่อนเร้น<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>ทีว่านี ควรจะเป็น ‘คนทีเชือในลัทธิปัจเจกชน’ เป็นอีกครังหนึงทีเราเห็นถึงความคิดทีคล้ายกันของ<br />

นักอนุรักษ์นิยม นักเสรีนิยม และมาร์กซิสต์ สํานักคิดทั งสามเชือว่าสิงทีต่างจากในอดีต (และสําหรับมาร์ก<br />

ซิสต์แล้ว ยังต่างจากในอนาคตด้วย) คือครังนี มีตัวแสดงทางสังคมทีสําคัญอย่างผู ้ประกอบการ<strong>กระฎุมพี</strong> ซึง<br />

สนใจแต่ตัวเองและตัวเองเท่านั น <strong>กระฎุมพี</strong>เหล่านี ไม่รู ้สึกถึงความรับผิดชอบต่อสังคม ไม่สนใจข้อจํากัดทาง<br />

สังคมต่าง ๆ (หรือสนใจน้อยมาก) และแสวงหาความสุขและหลีกเลียงความทุกข์ตามคติของเบนแธมตลอด<br />

เวลา นักเสรีนิยมศตวรรษที 19 นิยามการกระทําแบบนี ว่าเป็นการใช้เสรีภาพ อีกทั งยังบอก (อย่างไม่ค่อยมี<br />

ทีมาทีไป) อีกว่า ถ้าทุกคนทําเช่นนี อย่างเต็มที ทุกคนก็จะได้ประโยชน์อย่างถ้วนหน้า กล่าวอีกอย่างก็คือจะ<br />

ไม่มีผู ้เสียประโยชน์และมีแต่ผู ้ได้รับผลประโยชน์ นักอนุรักษ์นิยมในศตวรรษที 19 และมาร์กซิสต์ ยังต่าง<br />

รังเกียจจากมุมมองทางศีลธรรมและกังขาในเชิงสังคมวิทยาต่อความไม่แยแสเฉยเมยของเสรีนิยมนี สิงที<br />

เสรีนิยมเรียกว่าการใช้ ‘เสรีภาพ’ และเป็ นทีมาของการพัฒนาของมนุษย์ถูกมอง ว่าทําให้รัฐมุ ่งสู<br />

‘อนาธิปไตย’ ซึงเป็นสิงทีไม่น่าปรารถนาในตัวมันเอง และมีแนวโน้มทีจะทําลายความผูกพันทางสังคมทีรัด<br />

โยงสังคมไว้ในระยะยาว<br />

ผมไม่ได้ปฏิเสธว่ามีลักษณะความคิดแบบ ‘ผู ้ทีเชือในลัทธิปัจเจกชน’ อยู่ในความคิดสมัยใหม่ ซึงมี<br />

อิทธิพลสูงสุดในศตวรรษที 19 หรือปฏิเสธว่าลักษณะความคิดนี สะท้อนออกมาทังในฐานะเหตุและผลใน<br />

พฤติกรรมทางสังคมทีสําคัญ โดยตัวแสดงทางสังคมทีสําคัญในโลกสมัยใหม่ สิงทีผมต้องการให้ระวังคือ<br />

การด่วนสรุปอย่างไร้ เหตุผล กล่าวคือแทนทีจะมองปัจเจกนิยมในฐานะความเป็นจริงทางสังคมทีสําคัญ<br />

อย่างหนึง กลับมองในฐานะทีเป็นความเป็นจริงทางสังคมทีสําคัญอย่างเดียวของโลกสมัยใหม่ ของอารยะ<br />

ธรรม<strong>กระฎุมพี</strong> ของเศรษฐกิจโลกแบบทุนนิยม ซึงความจริงไม่ใช่เช่นนั น<br />

ปัญหาพื นฐานอยู่ทีมโนภาพทีเรามีต่อวิธีการทํางานของทุนนิยม เพราะทุนนิยมจําเป็นต้องมีการ<br />

เคลือนย้ายปัจจัยการผลิต (แรงงาน ทุน และสินค้าโภคภัณฑ์) อย่างเสรี เราจึงคาดเดาว่ามันจําเป็นต้องมี<br />

หรืออย่างน้อยนายทุนก็อยากทีจะมีการเคลือนย้ายอย่างเสรีเต็มที ทั ง ๆ ทีในความเป็นจริงสิงทีจําต้องมี<br />

หรือทีนายทุนอยากให้มีคือการเคลือนย้ายอย่างเสรีในระดับหนึงเท่านัน เนืองจากทุนนิยมทํางานภายใต้<br />

กลไกตลาดบนพืนฐาน ‘กฎ’ แห่งอุปสงค์และอุปทาน เราจึงคาดเดาว่ามันจําเป็นต้องมี หรืออย่างน้อย<br />

นายทุนก็อยากให้มีตลาดแข่งขันเสรี แต่ในความเป็นจริงแล้วทีมันจําเป็นต้องมีหรือทีนายทุนต้องการคือ<br />

ตลาดทีสามารถทั งใช้ประโยชน์และหลีกเลียงได้ในเวลาเดียวกัน หรืออีกนัยหนึงก็คือเศรษฐกิจซึงมีทั งการ<br />

แข่งขันและผูกขาดอยู่ด้วยกันแบบผสมผสานอย่างลงตัว เนืองจากทุนนิยมเป็นระบบทีให้ รางวัลต่อ<br />

พฤติกรรมของผู ้เชือถือในลัทธิปัจเจกชน เราจึงคาดเดาว่ามันจําเป็นต้องมี หรืออย่างน้อยนายทุนก็อยากที<br />

จะให้ทุกคนมีพฤติกรรมทีขับเคลือนโดยความคิดแบบปัจเจกชน แต่ในความเป็นจริงแล้วทีมันจําเป็นต้องมี<br />

หรือทีนายทุนต้องการคือให้ทั ง<strong>กระฎุมพี</strong>และกรรมาชีพมีความคิดทางสังคมทีต้านแนวคิดแบบปัจเจกชนอยู่<br />

ด้วยมากในระดับหนึง เนืองจากทุนนิยมเป็นระบบทีถูกสร้ างบนพื นฐานทางกฎหมายสิทธิในทรัพย์สิน เรา


จึงคาดเดาว่ามันจําเป็นต้องมี หรืออย่างน้อยนายทุนก็อยากให้ทรัพย์สินเป็นสิงทีสําคัญจนแตะต้องไม่ได้<br />

และให้สิทธิในทรัพย์สินส่วนบุคคลขยายขอบเขตเข้าไปในปฏิสัมพันธ์ของมนุษย์มากยิงขึ น แต่ในความเป็น<br />

จริงแล้ว ตามประวัติศาสตร์ของทุนนิยมตั งแต่เริมนัน สิทธิในทรัพย์สินหดตัวลงอย่างต่อเนือง ไม่ได้ขยาย<br />

เพิมเติม เนืองจากทุนนิยมเป็นระบบทีนายทุนเรียกร้ องเพือสิทธิการตัดสินใจทางเศรษฐกิจบนพื นฐานทาง<br />

เศรษฐกิจเท่านัน เราจึงคาดเดาว่านายทุนต่อต้านการแทรกแซงทางการเมืองต่อการตัดสินใจของพวกเขา<br />

แต่ในความเป็นจริงแล้วพวกเขาพยายามอย่างต่อเนืองทีจะใช้ประโยชน์จากกลไกรัฐและชืนชอบแนวคิด<br />

เรืองความสําคัญสูงสุดของการเมือง<br />

การสั งสมอย่างไร้จุดจบ<br />

กล่าวโดยย่อ ข้อผิดพลาดในแนวคิดเราเรือง<strong>กระฎุมพี</strong>ของเราคือการวิเคราะห์ความเป็นจริงทาง<br />

ประวัติศาสตร์ของทุนนิยมแบบกลับหัว (หรือจะบอกว่าแบบแปลกประหลาดก็ได้) ถ้าทุนนิยมจะเป็นอะไร<br />

สักอย่าง ก็คงจะเป็นระบบทีอยู่บนพื นฐานของตรรกะการสังสมทุนอันไม่รู ้จักจบสิ น ความไม่รู ้จักจบสิ นทีถูก<br />

ยกย่องหรือก่นด่าประณามดังเช่นสปิริตแบบโพรเมเธียนของมัน16 มันคือความไม่รู ้จักจบสิ นซึงสําหรับเอมิล<br />

เดิร์กไฮม์ (Emile Durkheim) แล้วคู ่กับภาวะสังคมทีไร้ บรรทัดฐานทางคุณค่าและศีลธรรม17 นีคือความไม่<br />

รู ้จักจบสิ นซึงเอริค ฟรอมม์ (Erich Fromm) ยืนกรานว่าเราทุกคนพยายามหลุดพ้นจากมัน18<br />

แม๊กซ์ เวเบอร์ (Max Weber) พยายามวิเคราะห์ความเชือมโยงทีจําเป็นระหว่างจริยธรรมแบบโพ<br />

รเทสแทนท์ (Protestant) และจิตวิญญาณของทุนนิยม เขาอธิบายถึงนัยทางสังคมของเทววิทยาแบบ<br />

แคลวินเรืองการกระทําต่าง ๆ ทีถูกกําหนดไว้ล่วงหน้าโดยพระเจ้า (predestination)19 หากพระเจ้ามีอํานาจ<br />

ทีสามารถกําหนดทุกอย่าง และหากมีแค่คนส่วนน้อยทีจะได้รับการปกป้อง มนุษย์จะไม่สามารถทําอะไรที<br />

จะรับประกันว่าตนจะรวมอยู่ในคนกลุ ่มน้อยนี เพราะถ้าทําได้ก็แปลว่าพวกเขาสามารถกําหนดประสงค์ของ<br />

พระเจ้าและแปลว่าพระเจ้าก็ไม่ได้มีอํานาจในการกําหนดทุกอย่าง อย่างไรก็ดีเวเบอร์ชี ว่าทีเขาพูดมามันถูก<br />

ในเชิงตรรกะ แต่ในทางตรรกะ-จิตวิทยาแล้วมันเป็นไปไม่ได้ ในทางจิตวิทยา เราอาจอนุมานจากตรรกะได้<br />

ว่าพฤติกรรมใด ๆ ก็ตามนันเป็นไปได้เพราะทุกอย่างถูกกําหนดไว้แล้ว หรือไม่ก็เราอาจ รู ้ สึกหดหู่อย่าง<br />

รุนแรงและเลือกทีจะอยู่เฉย ๆ ไม่ทําอะไร เพราะทุกการกระทําล้วนเปล่าประโยชน์ ถ้าพิจารณาจากมุมมอง<br />

ทีว่าเป้าประสงค์หนึงเดียวทีชอบธรรมคือการไถ่บาป เวเบอร์ระบุว่าตรรกะทีขัดกับตรรกะ-จิตวิทยาจะไม่<br />

สามารถอยู่รอดได้และจะต้องปรับเปลียนในทีสุด สิงนั นเกิดกับแคลวินิสม์ (Calvinism) นอกจากหลักการ<br />

เรืองทีว่าทุกสิงถูกกําหนดไว้แล้ว ความเชือนี ยังเสริมความคิดทีว่าการมองเห็นเหตุการณ์ล่วงหน้าเป็นสิง<br />

เป็นไปได้ หรืออย่างน้อยก็การมองเห็นล่วงหน้าในเชิงลบ ในขณะทีการกระทําของเราไม่สามารถมีอิทธิพล<br />

16<br />

D. Landes, Prometheus Unbound, Cambridge 1969.<br />

17<br />

E. Durkheim, Suicide [1897], Glencoe 1951.<br />

18<br />

E. Fromm, Escape from Freedom, New York 1941.<br />

19<br />

M. Weber, The Protestant Ethic and the Spirit of Capitalism [1904–05], London 1930.


ต่อการการกระทําของพระเจ้า พฤติกรรมเชิงลบหรือบาปบางประเภทแสดงถึงสัญลักษณ์ของการขาดซึง<br />

ความดีงาม ถ้าว่าตามนีแล้วในเชิงจิตวิทยาทุกอย่างล้วนถูกต้อง เราถูกกระตุ ้นให้มีพฤติกรรมทีเหมาะสม<br />

เพราะหากเราไม่ทํานันแสดงว่าพระเจ้าได้ทอดทิ งเราแล้ว<br />

ผมขอใช้การวิเคราะห์คล้ายเวเบอร์ทีแยกระหว่างตรรกะและตรรกะ-จิตวิทยาของลักษณะพื นฐาน<br />

ของนายทุน หากเป้าประสงค์ของเราคือการสังสมทุนอย่างไม่รู ้ จักจบสิ น ว่ากันตามเหตุผลแล้ว การทํางาน<br />

หนักไปชัวกัปชัวกัลป์และการข่มใจตนเองเป็นสิงทีจําเป็นต้องทําอยู่เสมอ กฎเหล็กของกําไรยังคงอยู่เฉก<br />

เช่นเดียวกับกฎเหล็กของค่าจ้าง เงินทุกสลึงทีปรนเปรอตัวเองคือเงินทีเราไม่ได้นําไปลงทุนเพือสังสมทุนให้<br />

เรามังคังกว่าเดิม แต่แม้ว่ากฎเหล็กของกําไรจะยืนหยัดหนักแน่นในทางตรรกะ ในทางตรรกะ-จิตวิทยาแล้ว<br />

นันไม่มีทางเป็นไปได้ อะไรคือเป้าหมายของการเป็นนายทุน ผู ้ประกอบการ <strong>กระฎุมพี</strong> หากไม่มีประโยชน์<br />

ส่วนตัวใด ๆ มาเกียวข้อง หากเป็นเช่นนี แล้วก็ไม่มีใครอยากทําแน่นอน อย่างไรก็ดีในทางตรรกะนันคือสิงที<br />

ถูกเรียกร้องให้ต้องทํา ดังนั นตรรกะต้องมีการดัดแปลง มิฉะนั นระบบจะทํางานไม่ได้ และชัดเจนว่าระบบ<br />

ทํางานได้มาสักพักหนึงแล้ว<br />

เฉกเช่นทีการรวมกันของอํานาจล้นฟ้ากับการทีทุกสิงถูกกําหนดล่วงหน้าถูก ปรับเปลียน (และ<br />

ท้ายทีสุดได้ถูกบันทอนลง) โดยการรู ้ เห็นเหตุการณ์ล่วงหน้า การรวมกันของการสังสมกับเงินออมถูก<br />

ปรับเปลียน (และท้ายสุดถูกบันทอน) โดยค่าเช่าเช่นกัน ดังทีเราทราบกันดี ค่าเช่าถูกนําเสนอโดยนัก<br />

เศรษฐศาสตร์คลาสสิก (รวมทังมาร์กซ์ ผู ้เป็นนักเศรษฐศาสตร์คลาสสิกคนสุดท้าย) ว่าเป็นสิงตรงข้ามที<br />

แท้จริงของกําไร แท้จริงแล้วมันไม่ใช่เช่นนั น มันเป็นอีกร่างหนึงต่างหาก นักเศรษฐศาสตร์คลาสสิกพูดถึง<br />

วิวัฒนาการทางประวัติศาสตร์จากค่าเช่าสู ่กําไร ซึงนํามาสู ่ความเข้าใจผิดทางประวัติศาสตร์ว่า<strong>กระฎุมพี</strong>ล้ม<br />

ล้างการปกครองของอภิชน ทว่าในความเป็นจริงแล้ว สิงนี ผิดในสองสถาน ตามช่วงเวลาแล้วมันเกิดใน<br />

ช่วงเวลาสั น ๆ มิใช่ในระยะยาว และมันดําเนินไปในอีกทิศทางหนึง นายทุนทุกคนพยายามทีจะแปรกําไร<br />

เป็นค่าเช่า สิงนี ก่อให้เกิดประโยคทีว่า เป้าหมายหลักของ ‘<strong>กระฎุมพี</strong>’ ทุกคนคือกลายเป็น ‘อภิชน’ นีคือสิงที<br />

เกิดในช่วงเวลาระยะสั น มิใช่แบบทีกินระยะเวลายาวนาน<br />

แล้ว ‘ค่าเช่า’ ทีจริงคืออะไร ถ้าตีความแบบเศรษฐศาสตร์อย่างแคบ ๆ ค่าเช่าคือรายได้ทีเกิดจาก<br />

การครอบครองความเป็นจริงทางพื นทีและเวลาอย่างเป็นรูปธรรม ซึงไม่อาจพูดได้ว่าเป็นการสร้ างสรรค์<br />

ขึ นมาของเจ้าของหรือเป็นผลจากการทํางาน (แม้แต่งานในฐานะเป็นผู ้ประกอบการ) หากผมโชคดีพอมี<br />

ทีดินใกล้บริเวณนํ าตื นซึงสามารถใช้ข้ามแม่นํ าได้และเก็บค่าผ่านทาง สิงทีผมได้รับคือค่าเช่า หากผมให้คน<br />

อืนเข้ามาใช้ทีดินของผมทํามาหากินหรืออาศัยในตึกของผมและผมได้รับค่าตอบแทน ผมก็จะเป็นผู ้เลี ยงชีพ<br />

ด้วยเงินทีได้จากทรัพย์สินทีมีอยู่ อันทีจริงแล้วฝรังเศสในศตวรรษที 18 อาชีพนี ถูกระบุในเอกสารว่าเป็น<br />

‘<strong>กระฎุมพี</strong>ใช้ชีวิตเช่นชนชั นสูงจากรายได้ของพวกเขา’ ซึงก็คือผู ้ทีเลียงการประกอบกิจการหรือมีวิชาชีพ20<br />

20<br />

G. V. Taylor, ‘The Paris Bourse on the Eve of the Revolution’, American Historical Review, LXVII, 4, July 1961,<br />

p. 954. ดูเช่นกันใน M. Vovelle and D. Roche, ‘Bourgeois, Rentiers and Property Owners: Elements for Defining a


ในแต่ละกรณีทีว่ามานี ใช่ว่าผมไม่ได้พยายามทําอะไรเพือให้มีโอกาสทีจะได้รับค่าเช่า จะด้วยการ<br />

มองการณ์ไกลหรือเพราะโชคดีก็ตาม ผมครอบครองสิทธิในทรัพย์สินบางประเภททีทําให้ตนเองสามารถ<br />

เก็บค่าเช่าได้อย่างถูกกฎหมาย ‘งาน’ ทีอยู่เบื องหลังการครอบครองสิทธิในทรัพย์สินมีลักษณะสําคัญสอง<br />

ประการ การกระทํานั นต้องเกิดขึ นในอดีต มิใช่ในปัจจุบัน (อันทีจริงแล้วมักจะทําในอดีตทีผ่านมานานแล้ว<br />

หรืออีกนัยหนึงก็คือบรรพบุรุษทําไว้ให้) และผู ้มีอํานาจทางการเมืองต้ องให้การรับรองแล้ว ซึงถ้าหาก<br />

ปราศจากสองประการนี แล้วมันก็จะไม่สามารถทําเงินให้แก่เจ้าของในปัจจุบันได้ ดังนั นค่าเช่าจึง=อดีต และ<br />

ค่าเช่า=อํานาจทางการเมือง<br />

ค่าเช่ายังประโยชน์แก่เจ้าของทีดินทีครอบครองอยู่ มิได้ยังประโยชน์แก่ผู ้ทีพยายามครอบครองจาก<br />

ผลของงานทีทําในปัจจุบัน ดังนั นค่าเช่าจึงถูกท้าทายตลอดเวลา และเนืองจากว่าค่าเช่าต้องให้การเมือง<br />

รับรอง ตัวมันจึงถูกท้าทายทางการเมืองตลอดเวลา ผู ้ท้าทายทีประสบความสําเร็จก็จะได้ครอบครองทีดิน<br />

และทันทีทีทําได้ตัวเขาก็จะปกป้องความชอบธรรมเรืองค่าเช่าเพือผลประโยชน์ตัวเอง<br />

ค่าเช่าคือวิธีการเพิมอัตรากําไรหากเทียบกับอัตราทีเราจะได้ในตลาดทีมีการแข่งขันอย่างสมบูรณ์<br />

ลองย้อนกลับไปดูตัวอย่างการข้ามแม่นํ าอีกครัง สมมติว่ามีจุดเดียวเท่านั นทีแคบพอให้เราสามารถสร้าง<br />

สะพานข้ามแม่นํ าได้ เรามีทางเลือกหลายทางทีจะจัดการเรืองนี รัฐสามารถประกาศว่าทีดินทุกผืนสามารถ<br />

ตกเป็นกรรมสิทธิเอกชน และคนทีเป็นเจ้าของทีดินสองฟากฝังแม่นํ าส่วนทีแคบทีสุดนี สามารถสร้างสะพาน<br />

เองและเก็บค่าผ่านทางได้ หากพิจารณาจากสมมติฐานทีว่ามีจุดเดียวทีสามารถสร้ างสะพานข้ามนํ าได้<br />

เจ้าของทีดินจะผูกขาดและสามารถเก็บค่าผ่านทางสูงลิบลิวเพือให้ได้รับมูลค่าส่วนเกินอย่างเป็นกอบเป็น<br />

กําจากห่วงโซ่สินค้าโภคภัณฑ์ซึงจําต้องขนส่งข้ามแม่นํ า ในทางกลับกันรัฐอาจประกาศให้ทีดินส่วนนี เป็น <br />

ของรัฐ ซึงจะนําไปสู ่ความเป็นไปได้แบบทัวไปทีดีทีสุดได้สองแบบดังต่อไปนี แบบทีหนึง รัฐสร้ างสะพาน<br />

ด้วยเงินของรัฐและไม่เก็บค่าผ่านทางใด ๆ ซึงแปลว่าจะไม่ก่อให้เกิดมูลค่าส่วนเกินจากห่วงโซ่สินค้าโภค<br />

ภัณฑ์นี แบบทีสอง รัฐอาจประกาศให้สองฟากฝังเป็นทีสาธารณะและอนุญาตให้ธุรกิจเรือขนส่งสินค้าข้าม<br />

ฟากขนาดเล็กสามารถแข่งขันกันได้ ในกรณีหลังการแข่งขันทีรุนแรงจะทําให้ค่าบริการถูกลงเสียจนเจ้าของ<br />

เรือมีอัตรากําไรเพียงเล็กน้อย ทําให้มูลค่าส่วนเกินเกิดขึ นน้อยมากจากห่วงโซ่สินค้าโภคภัณฑ์ทีต้องขนส่ง<br />

ข้ามแม่นํ า<br />

ค่าเช่าและการผูกขาด<br />

โปรดสังเกตว่าในตัวอย่างนี ค่าเช่าเหมือนจะเป็นสิงเดียวกันหรือแทบจะเป็นสิงเดียวกันกับกําไร<br />

จากการผูกขาด อย่างทีเรารู ้ กันว่าการผูกขาดหมายถึงสถานการณ์ทีปราศจากการแข่งขัน ซึงทําให้<br />

Social Category at the End of the Eighteenth Century’, in J. Kaplow, ed., New Perspectives and the French<br />

Revolution: Readings in Historical Sociology, New York 1965; and R. Forster, ‘The Middle Class in Western<br />

Europe: An Essay’, in J. Schneider, ed., Wirtschaftskräften und Wirtschaftswege: Beitrage zur<br />

Wirtschaftsgeschichte, 1978.


ผู ้ดําเนินการได้รับกําไรสูง หรืออาจเรียกว่าสัดส่วนมูลค่าส่วนเกินทีสูงจากทั งห่วงโซ่สินค้าโภคภัณฑ์ซึง มี<br />

ส่วนผูกขาดเป็นองค์ประกอบหนึง เห็นได้ชัดว่ายิงกิจการเข้าใกล้การผูกขาดกิจกรรมทางเศรษฐกิจที<br />

เกียวกับสถานทีและเวลาบางแบบมากเท่าไร อัตรากําไรก็ยิงสูงตาม และยิงตลาดแข่งขันกันอย่างแท้จริง<br />

มากขึ น อัตรากําไรก็จะน้อยลงตาม อันทีจริงแล้วความเชือมโยงระหว่างการแข่งขันทีแท้จริงกับอัตรากําไรที<br />

ตํา ในตัวมันเองเป็นการให้ความชอบธรรมทางอุดมการณ์ทีสําคัญมากอันหนึงแก่ระบบเศรษฐกิจเสรี น่า<br />

เสียดายว่าระบบทุนนิยมไม่เคยให้กําเนิดเศรษฐกิจทีแข่งกันอย่างเสรีอย่างกว้างขวาง และทีไม่เคยเกิดขึ นก็<br />

เพราะนายทุนมุ ่งหาแต่ กําไรสูงสุด เพือสังสมทุนให้มากทีสุดทีจะเป็นไปได้ ดังนั นนายทุนมิได้แค่ถูกกระตุ ้น<br />

ให้ผูกขาด แต่ยังถูกโครงสร้ างบังคับให้พยายามทผูกขาด ถูกผลักดันให้หากําไรสูงสุดผ่านตัวแสดงหลักซึง<br />

สามารถทีจะรักษาสถานการณ์นี ไว้ต่อไปได้เรือย ๆ ซึงก็คือรัฐ<br />

ทีนี คุณคงเห็นแล้วว่า โลกทีผมนําเสนอนั นช่างยุ่งเหยิงวุ ่นวาย นายทุนมิได้ต้องการการแข่งขัน แต่<br />

ต้ องการการผูกขาด พวกเขาไม่ได้พยายามสังสมทุนจากกําไร แต่จากค่าเช่า พวกเขามิได้อยากเป็น<br />

<strong>กระฎุมพี</strong> แต่อยากเป็นอภิชน และนับจากศตวรรษที 16 จวบจนปัจจุบัน เราได้ขยายตรรกะทุนนิยมออกไป<br />

กว้างขึ นและลึกขึ นในเศรษฐกิจโลกแบบทุนนิยม การผูกขาดมีมากขึ นมิใช่น้อยลง ค่าเช่าเกิดเพิมขึ นและ<br />

กําไรน้อยลง การเป็นอภิชนเพิมขึ นและ<strong>กระฎุมพี</strong>น้อยลง<br />

มาถึงตรงนีคุณคงคิดว่าทีพูดมานีก็เกินไป อวดรู ้ เกินจริง โลกทีเราอยู่ทุกวันนี มิได้ ไม่ได้มีหน้าตา<br />

แบบนี แล้วการตีความประวัติศาสตร์ก็ไม่ตรงกับทีเรารําเรียนมา และทีคุณว่ามาก็ถูกเพราะผมเพิงเล่าเรือง<br />

นี ไปแค่ครึงเดียว ทุนนิยมไม่ได้หยุดนิงแต่เป็นระบบทางประวัติศาสตร์ ตัวมันพัฒนามาจากตรรกะและ<br />

ความขัดแย้งภายในของมันเอง กล่าวอีกแบบหนึงคือตัวระบบมีลักษณะการปกครองแบบฆราวาสและวัฏ<br />

จักรของตัวมันเอง ผมขอเริมด้วยเรืองการปกครองแบบฆราวาสก่อน โดยเฉพาะส่วนทีเกียวกับประเด็น<br />

สําคัญทีเรากําลังศึกษาซึงคือ<strong>กระฎุมพี</strong> กล่าวอีกนัยหนึงเราจะพิจารณาจากกระบวนการทางฆราวาสซึงเรา<br />

เรียกว่า การกลายเป็น<strong>กระฎุมพี</strong> ผมเชือว่ากระบวนการทีว่าดําเนินไปในลักษณะนี <br />

ตรรกะทุนนิยมต้องการผู ้ทีขี เหนียวขั นสุด คนทีอิจฉาแม้กระทังช่วงเวลาอย่างคริสต์มาส ตรรกะ-<br />

จิตวิทยาของทุนนิยมทีว่าเงินคือเครืองวัดความสง่างามทีเทียงธรรมยิงกว่าอํานาจ เรียกหาการแสดงความ<br />

มังคังและเพราะฉะนั นจึงเรียกร้ อง ‘การบริโภคอย่างอย่างหรูหราเตะตา’ ระบบดังกล่าวควบคุมความขัดแย้ง<br />

ในตัวโดยการเปลียนแรงผลักสองอย่างนี สู ่ลําดับทางยุคสมัย หรือทีเรียกว่าปรากฎการณ์บุดเดนบรู ้ คส์<br />

(Buddenbrooks phenomenon) ทีใดก็ตามทีมีการกระจุกตัวของผู ้ประกอบการทีประสบความสําเร็จ ทีนัน<br />

จะมีการกระจุกตัวของคนแบบบุดเดนบรู ้ คส์ เช่น การเปลียน<strong>กระฎุมพี</strong>ให้เป็นอภิชนในฮอลแลนด์สมัย<br />

ศตวรรษที 17 ทว่าเวลาสิงนี ปรากฎขึ นซํ าราวกับเป็นเรืองตลกชวนหัว เราเรียกมันว่าการทรยศต่อบทบาท<br />

ทางประวัติศาสตร์ของ<strong>กระฎุมพี</strong> เช่น อียิปต์ในศตวรรษที 20 เป็นต้น<br />

และนีก็ไม่ใช่แค่เรืองของ<strong>กระฎุมพี</strong>ในฐานะผู ้บริโภคเท่านัน ความหลงใหลในชีวิตของอภิชนยังพบ<br />

ได้ในวิธีการดําเนินงานในฐานะผู ้ประกอบการแบบดั งเดิม จวบจนศตวรรษที 19 (และยังเหลือรอดจนถึงทุก


วันนี ) ในแง่ของความสัมพันธ์ด้านการจ้างงาน กิจการทุนนิยมมีรากฐานมาจากลักษณะแบบทีดินในระบบ<br />

ศักดินาในยุคกลาง เจ้าของทีดินมีลักษณะแบบพ่อปกครองลูกทีต้องคอยดูแลลูกจ้าง ให้ทีอยู่อาศัย มอบ<br />

ความคุ ้มครองทีคล้ายกับระบบประกันสังคม และควบคุมพฤติกรรมของลูกจ้างไม่ใช่แค่เพียงขณะทํางาน<br />

แต่รวมไปถึงด้านศีลธรรมด้วย แต่เมือเวลาผ่านไป ทุนมักจะกระจุกตัว นีเป็นผลของการพยายามผูกขาด<br />

และทําลายคู ่แข่ง กระบวนการนี กินเวลาเนืองจากกระแสต้านซึงคอยทัดทานการกึงผูกขาดทั งหลาย กระนั น<br />

โครงสร้างกิจการก็ค่อย ๆ ขยายขนาดใหญ่ขึ นและเริมแยกการเป็นเจ้าของออกจากอํานาจควบคุม ซึงแสดง<br />

ถึงจุดจบของระบบพ่อปกครองลูก การเติบโตของบริษัท และนํามาสู ่การเกิดขึ นของชนชั นกลางใหม่ ทีใดที<br />

‘กิจการ’ เป็นของรัฐแทนทีจะเป็นเอกชน เช่นทีรัฐทีอ่อนแอรอบนอก (peripheral) และโดยเฉพาะเขตกึงรอบ<br />

นอก (semi-peripheral zones) มักเป็น ชนชั นกลางใหม่มักจะแสดงบทบาทเป็น<strong>กระฎุมพี</strong>ด้านบริหาร และ<br />

เมือเวลาผ่านไปเรือย ๆ บทบาทของเจ้าของตามกฎหมายยิงลดความสําคัญลงเรือย ๆ จนแทบไม่เหลืออยู่<br />

แล้วเราควรจะทําความเข้าใจชนชั นกลางใหม่ หรือพวก<strong>กระฎุมพี</strong>ทีรับเงินเดือนเหล่านี อย่างไร หาก<br />

ดูจากการใช้ชีวิต การบริโภค หรือแม้กระทังข้อเท็จจริงทีว่าพวกเขาเป็นผู ้ได้รับมูลค่าส่วนเกิน ชัดเจนว่าพวก<br />

เขาเป็น<strong>กระฎุมพี</strong> แต่พวกเขาไม่ใช่<strong>กระฎุมพี</strong> หรือมีความเป็น<strong>กระฎุมพี</strong>น้อยลงมากหากพิจารณาจากเรืองทุน<br />

หรือสิทธิในทรัพย์สิน ถ้าจะกล่าวอีกแบบ เทียบกับ<strong>กระฎุมพี</strong> ‘แบบดั งเดิม’ พวกเขามีความสามารถน้อยกว่า<br />

ในการแปรกําไรเป็นค่าเช่า หรือหมายถึงความสามารถในการเปลียนตัวเองเป็นอภิชนนันเอง พวกเขาสร้ าง<br />

รายได้จากข้อได้เปรียบทีได้รับในปัจจุบัน มิใช่จากอภิสิทธิทีได้รับจากบรรพบุรุษ นอกจากนี พวกเขาไม่มี<br />

ความสามารถแปรรายได้ในปัจจุบัน (กําไร) เป็นรายได้ในอนาคต (ค่าเช่า) กล่าวอีกนัยหนึงคือพวกเขาไม่<br />

สามารถมอบมรดกให้ลูกหลานได้แบบเป็นกอบเป็นกํา ไม่ใช่แค่พวกเขาทีต้องมีชีวิตอยู่กับปัจจุบัน ลูกหลาน<br />

ของพวกเขาก็เช่นกัน และนีก็คือทุกอย่างของการกลายเป็น<strong>กระฎุมพี</strong> อันได้แก่จุดจบความเป็นไปได้ของการ<br />

กลายเป็นอภิชน (ความฝันสูงสุดของ<strong>กระฎุมพี</strong>ดั งเดิมทีครอบครองสมบัติทุกคน) จุดจบของการสร้ างอดีต<br />

เพืออนาคต การประณามการมีชีวิตอยู่ในปัจจุบัน<br />

หากเรากลับมาพิจารณาเรืองนี ใหม่ เราจะเห็นความคล้ายคลึงอย่างไม่น่าเชือของกระบวนการนี กับ<br />

สิงทีเราเรียกว่าการทําให้เป็นกรรมาชีพ แต่ก็เป็นความคล้ายคลึง ใช่ว่าเหมือนกันกันทุกกระเบียดนิ วไม่<br />

กรรมาชีพตามความหมายทัวไปคือแรงงานซึงไม่ใช่ชาวไร่ชาวนา (ซึงคือผู ้ควบคุมทีดินรายย่อย) หรือ<br />

ช่างฝีมือ (ซึงคือผู ้ควบคุมเครืองจักรรายย่อย) อีกต่อไป กรรมาชีพคือคนทีไม่มีสิงใดจะนํามาขายในตลาด<br />

นอกจากแรงงาน และปราศจากทรัพยากร (ซึงคือไม่มีอดีต) ทีสามารถใช้เป็นทางถอยได้ เขามีชีวิตอยู่ได้<br />

จากงานทีทําในปัจจุบัน <strong>กระฎุมพี</strong>ทีผมกําลังกล่าวถึงไม่ได้ควบคุมทุนอีกต่อไป (ดังนั นจึงไม่มีอดีต) และ<br />

เลี ยงชีพจากงานทีทําในปัจจุบัน ทว่ามีความแตกต่างทีสําคัญอยู่อย่างหนึง คือ<strong>กระฎุมพี</strong>มีชีวิตทีดีกว่ามาก ๆ<br />

ความต่างนี ดูเหมือนจะไม่มีความเกียวข้องใด หรือมีน้อยมาก ๆ กับการควบคุมปัจจัยการผลิต แต่ ด้วย<br />

สาเหตุบางประการ <strong>กระฎุมพี</strong>นี ซึงเป็นผลจากการกลายเป็น<strong>กระฎุมพี</strong> ได้รับมูลค่าส่วนเกินซึงเกิดจากการ


สร้ างของกรรมาชีพ ซึงเป็นผลจากการกลายเป็นกรรมาชีพ ฉะนัน ถ้าไม่ใช่ปัจจัยการผลิต ก็ต้องมีอะไร<br />

บางอย่างที<strong>กระฎุมพี</strong>ได้ควบคุมซึงกรรมาชีพไม่ได้ทํา<br />

‘ทุนมนุษย์’<br />

ณ จุดนี เราควรตระหนักถึงการเกิดขึ นมาเมือไม่นานมานี ของสิงทีเสมือนมโนทัศน์อีกอันหนึง ซึงก็<br />

คือทุนมนุษย์ ทุนมนุษย์คือสิงที<strong>กระฎุมพี</strong>แบบใหม่มีอย่างล้นเหลือ ในขณะทีกรรมาชีพไม่มี และ<strong>กระฎุมพี</strong>ได้<br />

ทุนมนุษย์นี มาจากไหนกันเล่า คําตอบก็เป็นทีรู ้กันดี ก็คือจากระบบการศึกษา ซึงหน้าทีหลักรวมทั งหน้าทีที<br />

ประกาศไว้คือการเตรียมคนให้กลายเป็นสมาชิกของชนชันกลางใหม่ ซึงก็คือการเป็นผู ้มีวิชาชีพ ผู ้ทีมีความ<br />

ชํานาญเฉพาะด้าน ผู ้บริหารกิจการเอกชนและรัฐ ซึงเป็นชิ นส่วนในการสร้ างเศรษฐกิจให้ ดําเนินไปได้ใน<br />

ระบบของเรา<br />

แล้วระบบการศึกษาของโลกได้สร้างทุนมนุษย์ ซึงคือการฝึกคนให้ มีทักษะเฉพาะทางทีซับซ้อนซึง<br />

เหมาะสมจะได้รับผลตอบแทนทางเศรษฐกิจสูงขึ นจริงหรือ เราอาจบอกได้ว่านีคือสิงทีเกิดขึ นไม่มากก็น้อย<br />

ในส่วนบนสุดของระบบการศึกษา (แม้ในกรณีนี ก็เพียงแค่ส่วนเดียวเท่านั น) แต่ระบบการศึกษาส่วนใหญ่<br />

ทําหน้าทีอย่างอืนมากกว่า เช่น การขัดเกลาทางสังคม การคอยเลี ยงดู และการกลันกรองคนทีจะขึ นมาเป็น<br />

ชนชั นกลางใหม่ แล้วการกลันกรองทีว่านี ทําอย่างไร พวกเรารู ้คําตอบนี ดี แน่นอนว่าการกลันกรองทําโดยวัด<br />

ตามความสามารถ เช่นไม่มีคนโง่ขันสุดทีไหนได้รับปริญญาเอก (หรืออย่างน้อยว่ากันว่ามีน้อยมาก) ทว่า<br />

เมือมีคนมากเกินไป (ไม่ใช่น้อยเกินไป) ทีมีความสามารถ (อย่างน้อยความสามารถมากพอทีจะเป็นสมาชิก<br />

ของชนชั นกลางใหม่) ท้ายสุดแล้วการคัดเลือกจําต้องเป็นแบบทีไม่ตามกฎเกณฑ์เท่าไร<br />

ไม่มีใครชอบเสียงดวง เพราะรู ้ สึกว่าควบคุมอะไรไม่ได้เกินไป คนส่วนใหญ่ยอมทําทุกอย่างเพือ<br />

เลียงการคัดเลือกแบบไม่มีกฎเกณฑ์แน่ชัด พวกเขาจะใช้อิทธิพลทีมีเพือรับประกันว่าตนจะชนะ ซึงก็คือการ<br />

มีสิทธิพิเศษนันเอง และคนทีมีข้อได้เปรียบปัจจุบันมากกว่าก็มีอิทธิพลมากกว่า สิงหนึงทีชนชั นกลางใหม่<br />

มอบให้ลูกได้ ในเมือไม่สามารถมอบมรดกทีเป็นอดีตให้ได้แล้ว (หรืออย่างน้อยทําได้ยากขึ นเรือย ๆ) ก็คือ<br />

สิทธิพิเศษในการเข้าถึงสถาบันการศึกษา ‘ทีดีกว่า’<br />

เราไม่ควรแปลกใจว่าศูนย์กลางการต่อสู ้ ทางการเมืองทีสําคัญ ทีหนึงคือเกมการแข่งขันใน<br />

สถานศึกษา (ตีความแบบกว้าง ๆ) ขอย้อนกลับมาทีตัวรัฐก่อน ถึงแม้ว่ารัฐยากทีจะตกรางวัลแก่อดีต<br />

ปกป้องสิทธิพิเศษและทําให้ค่าเช่าเป็นเรืองถูกต้องขึ นเรือย ๆ กล่าวอีกนัยหนึงคือทรัพย์สินลดความสําคัญ<br />

ลงขณะทีทุนนิยมดําเนินไปตามวิถีทางประวัติศาสตร์ แต่รัฐก็ยังคงไม่หายไปไหน แทนทีจะตกรางวัลแก่<br />

อดีตโดยมอบตําแหน่งเกียรติยศ รัฐมอบรางวัลแก่ปัจจุบันผ่านระบบคุณธรรมนิยม ท้ายสุด<strong>กระฎุมพี</strong>วิชาชีพ<br />

ทีได้รับเงินเดือนแต่ไม่มีทรัพย์สินจะสามารถมี ‘อาชีพทีผู ้มีความสามารถสามารถคว้าไปได้’ ตราบใดทีเรา<br />

ตระหนักว่า เมือมีคนมีความสามารถมากเกินไป ใครบางคนต้องตัดสินใจว่าผู ้ใดมีความสามารถหรือไม่มี<br />

และเมือต้องตัดสินใจจากความต่างเพียงเล็กน้อยแล้ว มันจึงเป็นการตัดสินใจทางการเมือง


เราสามารถสรุปภาพทีอธิบายมาได้ดังนี เมือเวลาผ่านไป การพัฒนาของ<strong>กระฎุมพี</strong>ภายใต้โครงร่าง<br />

ของทุนนิยมเกิดขึ นจริง ทว่ารูปแบบปัจจุบันมีความคล้ายกับพ่อค้าในยุคกลาง (ซึงเป็นทีมาของคําว่า<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>เอง) น้อยมาก และมีความคล้ายกับนักอุตสาหกรรมทุนนิยมในศตวรรษที 19 (ซึงเป็นทีมาของ<br />

คําอธิบายมโนทัศน์นี ในปัจจุบันตามสังคมศาสตร์แบบประวัติศาสตร์) น้อยเช่นกัน เหตุทีเราสับสนเกิดจาก<br />

ความบังเอิญและการถูกทําให้ไขว้เขวอย่างตั งใจจากอุดมการณ์ทีครองอํานาจอยู่ อย่างไรก็ดีมันเป็นเรือง<br />

จริงว่า<strong>กระฎุมพี</strong>ในฐานะผู ้รับมูลค่าส่วนเกินเป็นตัวแสดงหลักของละครทุนนิยมนี กล่าวอีกนัยหนึงความคิด<br />

ทีว่าทุนนิยมเป็นระบบทางประวัติศาสตร์ทีมีเอกลักษณ์ในแง่ทีว่ามีแค่ระบบนี เท่านันทีพื นทีทางเศรษฐกิจ<br />

แยกออกจากทางการเมือง สําหรับผมแล้วเป็นความเข้าใจความเป็นจริงแบบผิดมหันต์ ทว่าเป็นความคิดที<br />

ปกป้องทุนนิยมมาก<br />

ประเด็นสุดท้ายทีผมอยากพูดถึงคือเรืองศตวรรษที 21 ปัญหาของร่างอวตารสุดท้ายของอภิสิทธิ<br />

ของ<strong>กระฎุมพี</strong>ซึงคือระบบคุณธรรมนิยม (ซึงเป็นปัญหาถ้ามองจากมุมของ<strong>กระฎุมพี</strong>เป็นระบบทีปกป้องได้<br />

ยากทีสุด (ไม่ใช่ง่ายทีสุด) เพราะรากฐานนันตื นเขินทีสุด ผู ้ถูกกดขีอาจยอมถูกปกครองและยกประโยชน์<br />

ให้แก่ผู ้ทีมาจากชนชั นสูง แต่การถูกปกครองและยกประโยชน์แก่คนทีกล่าวอ้ าง (อย่างน่ากังขา) ว่าตน<br />

ฉลาดกว่านั นยากทีจะยอมรับได้ ผ้าคลุมพร้อมถูกเจาะทะลวง การกดขีเห็นได้ง่ายกว่าเดิม เมือไม่มีกษัตริย์<br />

หรือนักอุตสาหกรรมแบบพ่อปกครองลูกคอยบรรเทาความโกรธ แรงงานก็พร้อมยิงกว่าเดิมทีจะต่อยอด<br />

พัฒนาคําอธิบายจากฐานประโยชน์ทีแคบถึงการกดขีพวกเขาและความอาภัพทั งหลายทีพวกเขาได้รับ นี<br />

คือสิงทีแบจเจทและชุมปีเตอร์พูดถึง แบจเจทเคยหวังว่าพระราชินีวิกตอเรียจะสามารถเติมเต็มตรงนี ได้<br />

ทว่าชุมปีเตอร์ซึงเกิดภายหลังและมาจากเวียนนามิใช่ลอนดอน ได้สอนทีฮาร์วาร์ดและพบเจอประสบการณ์<br />

หลากหลายนั น มองในแง่ร้ายกว่ามาก เขารู ้ว่ามันไม่ยังยืนเมือ<strong>กระฎุมพี</strong>มิอาจกลายเป็นอภิชนได้อีก


บทที 2 1<br />

อังกฤษ ทุนนิยม และกระบวนทัศน์แห่ง<strong>กระฎุมพี</strong><br />

เอลเลน มีกซินส์ วูด<br />

ระบบทุนนิยมนั นเกิดขึ นในอังกฤษ มีแต่ในอังกฤษเท่านั นทีทุนนิยมปรากฎขึ นในยุคสมัยใหม่ตอนต้น<br />

(early modern period) ในฐานะทีเป็นระบบเศรษฐกิจพื นเมืองประจําชาติ โดยมีทั งภาคอุตสาหกรรมและ<br />

เกษตรกรรมสนับสนุนพร้อมเพรียงกัน ในบริบทของตลาดภายในประเทศทีเชือมโยงและพัฒนาแล้วอย่างดี<br />

เศรษฐกิจทุนนิยมอืนๆ ทีเกิดภายหลังนั นได้วิวัฒนาการภายใต้เงือนไขของหลักการใหม่ตามระบบทีมีอยู่ก่อน<br />

แล้ว ความกดดันของการแข่งขันทางเศรษฐกิจอย่างไม่เคยมีมาก่อนได้ก่อให้เกิดแรงผลักดันทีจะปรับปรุงพลัง<br />

การผลิตอยู่เสมอ ในตลาดทีมีความนานาชาติเพิมขึ นเรือยๆ และในระบบรัฐชาติซึ งความก้าวหน้าในการเพิม<br />

ผลผลิตนั นไม่เพียงแค่ทําให้มีการติดต่อกันทางเศรษฐกิจแต่ยังนํามาซึ งความได้เปรียบทางภูมิรัฐศาสตร์และ<br />

การทหารอีกด้วย<br />

อย่างไรก็ดี แม้ว่าอังกฤษจะเป็นแหล่งกําเนิดระบบทุนนิยมแห่งแรกของโลก วัฒนธรรมตะวันตกได้<br />

ผลิตสร้างภาพลักษณ์ของทุนนิยมทีประสบการณ์แบบอังกฤษนั นไม่สามารถปรับเปลียนตนเองให้สอดคล้อง<br />

กับภาพลักษณ์เช่นนั นได้ ภาพลักษณ์ดังกล่าวคือ ทุนนิยมทีแท้จริงจําเป็นต้องเป็นปรากฎการณ์ทีเกิดจากเมือง<br />

และนายทุนทีแท้จริงควรมีต้นกําเนิดมาจากพ่อค้าวาณิชย์ หรือทีเรียกกันทัวไปว่า <strong>กระฎุมพี</strong> เมือการสร้าง<br />

ภาพลักษณ์ของทุนนิยมเป็นไปเช่นนั น ประสบการณ์แบบอังกฤษจึงล้มเหลว เพราะทุนนิยมอังกฤษเกิดขึ นใน<br />

ชนบท และถูกครอบงําโดยชนชั นอํามาตย์ผู้ถือครองทีดิน นักคิดแนวคิดกระแสหลักบางแนวจึงมองระบบ<br />

เช่นนี ว่าไม่สมบูรณ์ ไม่มีวุฒิภาวะ ไม่เป็นสมัยใหม่เพียงพอ ทีสําคัญทีสุดคือแปลกประหลาด เป็น “ทุนนิยม<br />

นอกคอก” (bastard capitalism) ชนิดหนึ งซึ งเกิดมาพร้อมกับรัฐก่อนสมัยใหม่และอุดมการณ์การปกครองแบบ<br />

โบรํ าโบราณ อังกฤษอาจจะเป็นประเทศแรกทีมีทุนนิยม หรือแม้แต่มีทุนนิยมอุตสาหกรรมเป็นทีแรก แต่ระบบ<br />

อังกฤษไปถึงจุดหมายของความเป็นทุนนิยมทีสมบูรณ์ได้โดยผ่านทางลัด อันเกือบจะเป็นความบังเอิญ และยังมี<br />

พื นฐานทีอ่อนแอ อยู่ในสภาพไม่มันคง ในขณะทีทุนนิยมอืนๆ ในยุโรปนั น ถึงแม้จะมีจุดเริมต้นทีช้ากว่า แต่ก็<br />

มุ่งหน้าไปยังทิศทางทีถูกต้อง ภายใต้การนําของ<strong>กระฎุมพี</strong>ในรัฐทีมีเหตุผล และในทีสุดก็ไปถึงจุดหมายได้ใน<br />

สภาวะทีแข็งแกร่งกว่า มีวุฒิภาวะมากกว่า ก่อร่างสร้างขึ นอย่างสมบูรณ์กว่า และมีความเป็นสมัยใหม่อย่าง<br />

สมบูรณ์แท้จริงกว่า<br />

แนวคิดเช่นนี บ่งบอกถึงนัยยะประการหนึ ง คือ การพัฒนาระบบทุนนิยมนั นมีเส้นทางอันเป็น<br />

ธรรมชาติของมันอยู่ ซึ งเส้นทางนี แทบไม่เกียวข้องกับกระบวนการทีแท้จริงทางประวัติศาสตร์ ทีได้ผลิตสร้าง<br />

ระบบทุนนิยมแห่งแรกของโลกขึ นเลย และยังบอกเป็นนัยต่อไปอีกว่าวิวัฒนาการของทุนนิยมนั นไม่อาจ<br />

หลีกเลียงได้ ถึงแม้ในตอนทีระบบนี ได้อุบัติขึ นมาจริงๆ นั นจะเป็นเวลาทีผิดและอยู่ในสถานทีทีผิด ไม่ยากนัก<br />

1<br />

จากบทที 1 “England, Capitalism and the Bourgeois Paradigm” จากหนังสือ The Pristine Culture of Capitalism - Ellen<br />

Meiksins Wood<br />

1


ทีจะเห็นว่าแนวคิดเช่นนี อาจนําไปสู่การใช้เหตุผลแบบวกไปวนมา ดังเช่นทีอ้างกันว่า ระบบเศรษฐกิจของ<br />

อังกฤษนั นมิได้พัฒนาไปตามรูปแบบของ<strong>กระฎุมพี</strong> ความอ่อนแอและล้มเหลวของระบบเช่นนี จึงขึ นอยู่กับ<br />

พัฒนาการทีแปลกแยกของตัวมันเอง หาได้เกียวกับ<strong>กระฎุมพี</strong>ไม่<br />

แต่สมมติว่าถ้าเราแหกคอกออกมาจากความวกวนกํากวมเหล่านี ด้วยการแค่เริมต้นด้วยข้อเท็จจริงง่ายๆ<br />

ว่า ก่อนทีทุนนิยมแบบอังกฤษจะกดดันคู่แข่งหลักของตนเองด้วยแรงกดทางเศรษฐกิจและภูมิศาสตร์นั น<br />

เศรษฐกิจแบบทุนนิยมไม่เคยเกิดขึ นในทีใด ทีมีความเป็นสมัยใหม่หรือมีความเป็นสังคม<strong>กระฎุมพี</strong>มากกว่า<br />

อังกฤษเลย นันหมายความว่าลักษณะสําคัญทีถูกนํามาใช้เป็นหมุดหมายแห่งทุนนิยมสมัยใหม่อย่างไม่ใส่ใจกับ<br />

ประวัติศาสตร์นั นได้กลายเป็นสิงแสดงความขาดหายของมันอย่างนั นหรือ ความขาดหายของลักษณะสําคัญ<br />

เหล่านี เป็นสัญญาณบ่งบอกถึงการมีอยู่ของทุนนิยมหรือไม่ และข้อมูลเหล่านี บอกอะไรเราได้บ้างเกียวกับ<br />

ธรรมชาติของทุนนิยม นอกจากนั นแล้ว เป็นไปได้ไหมว่าความอ่อนแอของเศรษฐกิจอังกฤษนั นไม่เชิงว่าเป็น<br />

อาการของความเจ็บป่ วยจากการพัฒนาทีแปลกประหลาด เท่ากับเป็นความลักลันย้อนแย้งภายในระบบทุนนิยม<br />

เอง<br />

กระบวนทัศน์ของ<strong>กระฎุมพี</strong><br />

ในวัฒนธรรมตะวันตกนั น ได้มีกระบวนทัศน์ทางประวัติศาสตร์อย่างหนึ งซึ งเป็นทีรู้กันทัวและหยัง<br />

รากลึกมันคง ถึงขั นทีว่ากระบวนทัศน์นี ได้กลายเป็นกรอบคิดของการถกเถียงทางประวัติศาสตร์แทบทุกเรือง<br />

โดยทีบ่อยครั งผู้ร่วมการถกเถียง ไม่ว่าจะมาจากฝ่ ายไหน มิได้ตระหนักรู้ถึงกรอบคิดนี ทีครอบงําความคิดตนอยู่<br />

ด้วยซํ า เห็นได้จากทฤษฎีเกียวกับการพัฒนาทีแปลกประหลาดหรือไม่สมบูรณ์ของประวัติศาสตร์อังกฤษ ซึ งได้<br />

ยึดถือกันขัดแย้งกับมาตรฐานของการพัฒนาทางประวัติศาสตร์ตามกรอบคิดดังกล่าว จนสามารถนับมาวัดเทียบ<br />

กันได้ แม้แต่พวกนักประวัติศาสตร์ลัทธิแก้ ซึ งปฏิเสธว่า ตัวแบบ (model) ของ “การเปลียนแปลงทางสังคม”<br />

(social change) นั นประยุกต์ใช้ได้กับประวัติศาสตร์อังกฤษทั งหมด หรือพวกทีปฏิเสธ “การตีความทางสังคม”<br />

ของการปฏิวัติฝรังเศส ยังมีแนวโน้มทีจะให้คําจํากัดความว่าอะไรเข้าข่ายของ “การเปลียนแปลงทางสังคม”<br />

บ้าง ในบริบทของกระบวนทัศน์ทีมีอิทธิพลเช่นนี<br />

กรอบความคิดเกียวกับความก้าวหน้าและหนทางสู่ยุคสมัยใหม่ทีว่านี ฝังรากลึกถึงขั นทีว่า เมือหลักฐาน<br />

ทางประวัติศาสตร์ไม่อาจสนับสนุนกรอบดังกล่าวได้ได้ และเมือมีเหตุผลทางอุดมการณ์อันทรงพลังเกิดขึ นเพือ<br />

หักล้างมัน (เช่นเรืองทีเกียวกับการเติบโตขึ นของลัทธิอนุรักษ์นิยมใหม่หรือความตืนเต้นในชัยชนะของทุน<br />

นิยมทีเป็นกระแสอยู่ในปัจจุบัน) ดูเหมือนว่าจะเหลือทางเลือกเพียงทางเดียว คือการปฏิเสธกระบวนการทาง<br />

ประวัติศาสตร์ทั งหมดเท่านั น ตัวอย่างเช่น การหลีกเลียงของกระแสลัทธิแก้ (revisionist) ทีครอบงําทั ง<br />

ประวัติศาสตร์อังกฤษและฝรังเศส โดยเฉพาะประวัติศาสตร์อังกฤษสมัยศตวรรษที 17 และประวัติศาสตร์การ<br />

ปฏิวัติฝรังเศส ถ้าหลักฐานทางประวัติศาสตร์ล้มเหลวทีจะสนับสนุนกระบวนทัศน์ด้านความก้าวหน้านี (และ<br />

โดยเฉพาะเมือกระบวนทัศน์ดังกล่าวเกียวข้องกับประวัติศาสตร์นิพนธ์แบบลัทธิวิค ทีเน้นใช้เหตุการณ์ในอดีต<br />

เพืออธิบายความก้าวหน้าในปัจจุบัน และลัทธิมาร์กซ์ ซึ งใช้ชนชั นในการอธิบายความเปลียนแปลงทาง<br />

ประวัติศาสตร์จากเกษตรกรรมแบบบุพกาลสู่ทุนนิยมและสังคมนิยมคอมมิวนิสม์ในทีสุด ในขณะทีการปฏิเสธ<br />

2


แนวคิดทั งสองแนวกําลังเป็นทีนิยม) ประวัติศาสตร์จึงถูกลดทอนให้กลายเป็นความไม่แน่นอนอันไร้<br />

โครงสร้าง กลายเป็นลําดับของเหตุการณ์มากกว่ากระบวนการทางประวัติศาสตร์<br />

กระบวนทัศน์อันครอบงําเกียวกับความก้าวหน้าและความเปลียนแปลงทางประวัติศาสตร์ทีว่านี เป็น<br />

เช่นใดเล่า วิธีหนึ งทีเราสามารถอธิบายให้เห็นภาพได้คือผ่านการใช้คู่ขั วตรงข้ามทีขัดแย้งกันอย่างง่ายๆ ไม่กีขั ว<br />

เช่น ชนบท / เมือง การเกษตร / การค้าและอุตสาหกรรม ชุมชน / ปัจเจก ความไร้เหตุผล (เวทมนต์ ความงมงาย<br />

แม้แต่ศาสนา) / ความเป็นเหตุผล การบังคับ / อิสรภาพ และเหนือสิงอืนใดนั นคือ ชนชั นสูง (aristocracy) / ชน<br />

ชั นวาณิชย์ (bourgeoisie) หลักการของการเคลือนไหวในการแบ่งขั วระหว่างยุคโบราณและยุคสมัยใหม่คือ การ<br />

พัฒนาเชิงก้าวหน้าของความรู้ เหตุผล และเทคโนโลยีของมนุษย์ แต่การพัฒนาเหล่านี มักจะถูกก่อให้เป็น<br />

รูปร่างภายในกรอบความคิดทีรู้กันโดยทัวเกียวกับความรุ่งโรจน์และล่มสลายของแต่ละชนชั น เกียวกับชัยชนะ<br />

ของ<strong>กระฎุมพี</strong> ซึ งนับกันว่าเป็นผู้ถือครองวิทยาการความรู้ นวัตกรรม และความก้าวหน้าแห่งยุคสมัยใหม่ และ<br />

ในทีสุดคือผู้นําแห่งระบบทุนนิยมตลอดจนเสรีนิยมประชาธิปไตยอีกด้วย<br />

ประเด็นทีน่าสงสัยเกียวกับกระบวนทัศน์เช่นนี คือ ถึงแม้ว่าจะมีส่วนของความจริงทีสําคัญอยู่มาก แต่<br />

มันไม่สัมพันธ์กับรูปแบบและเรืองราวทีเกิดขึ นจริงในพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ อย่างเช่น ในอังกฤษ ทุน<br />

นิยมนั นมีอยู่ แต่มิได้ถูกสร้างขึ นโดยชนชั นวาณิชย์เลย ในฝรังเศส เคยมีชนชั นวาณิชย์ทีได้รับชัยชนะเหนือชน<br />

ชั นสูง แต่โครงการปฏิวัติของพวกเขานั นแทบไม่เกียวข้องอะไรกับระบบทุนนิยม จะว่าไปแล้ว ในประเทศทั ง<br />

สองแห่งนี ไม่มีทีใดทีทุนนิยมเป็นเพียงผลพวงอันเรียบง่ายของการแข่งขันระหว่างชนชั นสูง (ทีกําลังล่มสลาย)<br />

กับชนชั นวาณิชย์ (ทีกําลังรุ่งโรจน์) และไม่มีทีไหนทีทุนนิยมเป็นผลผลิตทีเกิดขึ นอย่างเป็นธรรมชาติของการ<br />

เผชิญหน้าอันหายนะระหว่างความเป็นพลวัตของเมืองและความโง่งมของชนบท รูปแบบของทุนนิยมใน<br />

ประเทศทั งสองนั นมีลักษณะคล้ายภาพทีประกอบขึ นจากหลายส่วนมากเกินกว่าจะลดทอนให้เหลือเพียงแค่<br />

คําอธิบายเรียบง่าย ซึ งเป็นคําอธิบายทีสร้างขึ นมาได้จากการมองย้อนหลังของนักประวัติศาสตร์ เพือทีพวกเขา<br />

จะได้วางประสบการณ์ของการปฏิวัติฝรังเศสทับซ้อนลงบนตัวอย่างของทุนนิยมแบบอังกฤษมากกว่า<br />

นอกจากนั น ในทางตรงกันข้าม การมองดังกล่าวยังเป็นการตีความประสบการณ์ทางการเมืองของ<br />

ฝรังเศสผ่านมุมมองของการพัฒนาเศรษฐกิจอังกฤษด้วย ซึ งการตีความเช่นนี พบได้แค่ในงานเขียนเกียวกับการ<br />

ปฏิวัติฝรังเศสทีมองผ่านสายตาของนักประวัติศาสตร์ฝรังเศสยุคหลังปฏิวัติ (และนักปรัชญาชาวเยอรมัน)<br />

เท่านั น นักวิชาการเหล่านี ได้มอบเกียรติแก่เหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>อย่างเป็นทางการในฐานะของตัวแทนแห่ง<br />

ความก้าวหน้า เมือมองผ่านสายตาของอุดมการณ์ยกย่องตนเองของ<strong>กระฎุมพี</strong>เช่นนี จะเห็นได้ว่าความสัมพันธ์<br />

ต่างๆ นอกเหนือจากความสัมพันธ์ระหว่างชนชั น ไม่ว่าจะเป็นระหว่างเมืองกับชนบท เกษตรกรรมกับการค้า<br />

และเหล่าขั วตรงข้ามอืนๆ นั นได้ถูกตีความไปในอีกรูปแบบหนึ ง<br />

ก่อนทีจะมีการล่วงลํ าก้าวก่ายทางอุดมการณ์ด้วยการมองย้อนหลังเช่นนี วิวัฒนาการของทุนนิยมใน<br />

อังกฤษมิได้เป็นไปตามทีบรรดาผู้สังเกตการณ์ร่วมสมัยซึ งมองโลกตามกระบวนทัศน์ของ<strong>กระฎุมพี</strong>ได้บรรยาย<br />

ไว้ ทั งนี สามารถเห็นได้จากพลวัตของทุนนิยมเกษตรกรรมอังกฤษ การทีชนชั นเจ้าทีดินเข้าไปมีส่วนร่วมใน<br />

การค้าขาย การขาดซึ งความขัดแย้งทีชัดเจนระหว่างชนชั นสูงกับ<strong>กระฎุมพี</strong> เรืองราวเหล่านี ล้วนบ่งชี ถึงความ<br />

เข้าใจในการเปลียนแปลงทางประวัติศาสตร์ทีค่อนข้างแตกต่างออกไป ดังจะเห็นได้จากงานเขียนของ จอห์น<br />

ล็อค (John Locke) ซึ งหลายคนนับเขาเป็นต้นแบบของนักปรัชญา<strong>กระฎุมพี</strong> ก็มองเรืองนี ต่างไปจากนักคิด<br />

3


<strong>กระฎุมพี</strong>อืนๆ กล่าวคือ เขาเห็นว่า ความขัดแย้งทีเกียวพันกันและการจัดหมวดหมู่ของความแตกต่างระหว่างยุค<br />

เก่ากับยุคใหม่นั นเชือมโยงกับความรู้เชิงก้าวหน้าแน่นอน แต่ไม่ได้แสดงให้เห็นผ่านทางการแบ่งแยกทางชน<br />

ชั นระหว่างชนชั นสูงกับ<strong>กระฎุมพี</strong> หรือการเผชิญหน้าระหว่างเมืองกับชนบท เกษตรกรรมกับการค้า ในงาน<br />

เขียนของล็อคเกียวกับทรัพย์สิน การแบ่งแยกทีเขาเห็นว่าเกียวข้องกับความเปลียนแปลงทางประวัติศาสตร์นั น<br />

คือการแบ่งระหว่างผู้ไร้ผลผลิตกับผู้ก่อผลผลิต ระหว่างคนเก็บค่าเช่าทีอยู่เฉยๆ กับผู้ทีนําการเปลียนแปลง<br />

ปรับปรุงมาสู่เกษตรกรรม เกณฑ์กําหนดเช่นนี สามารถประยุกต์ใช้ได้เท่าเทียมกันทั งกับเจ้าทีดิน (landlord)<br />

และผู้อาศัยในเมือง ชนชั นสูงและ<strong>กระฎุมพี</strong> โดยมองว่าผู้ไร้ผลผลิต เอาแต่เก็บค่าเช่าเฉยๆ นั น ไม่ว่าจะอยู่ใน<br />

เมืองหรือชนบทก็ถือว่าเป็นผลพวงจากยุคโบราณ ส่วนผู้ทีพัฒนาปรับปรุงทรัพย์สินของตนเสมอนั นจัดเป็น<br />

แนวหน้าของความก้าวหน้า<br />

ในช่วงศตวรรษทีสิบแปด แนวคิดเกียวกับความก้าวหน้าได้วิวัฒนาการไปอีก ตามที “สังคมการค้า”<br />

(commercial society) ได้แสดงให้เห็นถึงระยะสูงสุดของพัฒนาการมนุษย์และแนวโน้มทีจะแบ่งแยกระหว่าง<br />

ความรํ ารวยดั งเดิมทีได้จากทีดิน ออกจากความรํ ารวยจากการค้า โดยทั งสองแบบนั นแสดงถึงคุณลักษณะที<br />

แตกต่างกันทางศีลธรรม (ถึงแม้ว่าแท้จริงแล้วอาจไม่ต่างกันนัก) การเชือมโยง “สังคมการค้า” เข้ากับ<br />

ความก้าวหน้านั นเป็นการสันนิษฐานทีแพร่หลาย พบได้ทั งในงานอย่าง ประวัติศาสตร์ (History) ของเดวิด ฮูม<br />

(David Hume) หรืองานคลาสสิคด้านเศรษฐศาสตร์การเมืองอืนๆ แต่ถึงกระนั น ประเด็นไม่ได้อยู่ทีความ<br />

ขัดแย้งระหว่างการหยุดนิงของเกษตรกรรมและพลวัตของการค้า หรือไม่ได้เกียวกับความขัดแย้งระหว่างชน<br />

ชั นของชนชั นสูงผู้ให้เช่าทีทําการเกษตรและ<strong>กระฎุมพี</strong>ผู้ค้าขายในเมือง จริงอยู่ทีบางชนชั นตกตํ าลงขณะทีบาง<br />

ชนชั นเติบโตขึ น แต่เดวิด ฮูมเองก็ยังพูดถึงชนชั นผู้ดีชนบท (gentry) อันเป็นชนชั นเกียวเนืองกับเกษตรกรรมที<br />

เปี ยมไปด้วยพลวัต ซึ งชนชั นนี ต่างไปจากเหล่า “บารอนโบราณ” ซึ งได้ผลาญสมบัติของตนจนหมดสิน ในทาง<br />

ตรงกันข้าม ผู้ดีชนบทเหล่านี ได้ “พยายามทีจะแปรรูปทีดินของพวกเขาเพือให้ได้ผลกําไรมากทีสุด” ซึ งการ<br />

กระทําเช่นนี ได้เพิมความรํ ารวยให้ชาวเมืองและทําให้ชนชั นกลางมีเศรษฐฐานะและอํานาจมากขึ นอีกด้วย<br />

แม้แต่อดัม สมิธ (Adam Smith) เองก็ยังมองข้ามความสามารถในการผลิตของระบบเกษตรกรรม<br />

อังกฤษ และข้ามไปเริมอธิบายการเติบโตของเศรษฐกิจบนสมมติฐานนั นเลย เขาถือว่าการพัฒนานั นมาจากการ<br />

แบ่งแยกแรงงานระหว่างอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม โดยมีการจัดสรรปันส่วนแรงงานกันระหว่างชนบทกับ<br />

เมือง ซึ งทําให้การค้าเติบโตและเพิมประสิทธิภาพทางการผลิตผ่านการแบ่งแยกแรงงานต่างๆ ไปตามความ<br />

ถนัด แต่ถ้านับการค้าว่าเป็นเครืองยนต์แห่งการพัฒนา และถ้าการเชือมต่อระหว่างเมืองกับชนบทนั นสําคัญต่อ<br />

การพัฒนา เราก็ไม่พบพลังเหล่านี เฉพาะในพลวัตของเมือง หรือในชนชั น<strong>กระฎุมพี</strong>ในเมืองผู้เป็นศัตรูกับชนชั น<br />

เจ้าทีดินทีคอยสูบเลือดสูบเนื อเท่านั น เช่นเดียวกับฮูม สมิธไม่เห็นความสําคัญของระบบทุนนิยมเกษตรกรรม<br />

ของอังกฤษ ซึ งเป็นระบบทีถ้าหากมองผ่านกระบวนทัศน์ของ<strong>กระฎุมพี</strong>แล้วก็ถือว่าค่อนข้างย้อนแย้งทีเดียว<br />

เช่นเดียวกัน ในฝรังเศส ได้มีสํานักทางความคิดเกียวกับเศรษฐกิจเกิดขึ น คือ สํานักธรรมชาตินิยม<br />

หรือฟิ ซิโอแครต (physiocrats) ซึ งเห็นว่าเกษตรกรรมเป็นต้นกําเนิดแห่งความก้าวหน้าและรํ ารวย นักคิดกลุ่มนี<br />

สนใจอังกฤษในฐานะทีเป็นต้นแบบของเกษตรกรรมทีมีอํานาจทางการผลิต แต่แนวคิดทั งหมดนี ถูกบดบัง<br />

กล่าวได้ว่าอาจถึงขั นลบล้างทีเดียวเนืองจากการปฏิวัติฝรังเศส อันถือกันทัวไปว่าเป็นหมุดหมายแห่ง<br />

ความก้าวหน้า อาจกล่าวได้ว่าสภาพแวดล้อมของฝรังเศสนั นแตกต่างจากอังกฤษอย่างยิง เพราะฝรังเศสไม่มีทุน<br />

4


นิยมเกษตรกรรม และ<strong>กระฎุมพี</strong>กับชนชั นสูงนั นก็เกลียดชังเป็ นศัตรูกันรุนแรงกว่าในอังกฤษมาก แต่ถึงกระนั น<br />

ในฝรังเศสเอง รูปแบบของความก้าวหน้าทีคิดกันว่าจะสร้างมาขึ นหลังการปฏิวัติก็ยังไม่ค่อยตรงกับความจริง<br />

ทางประวัติศาสตร์ทีเกิดขึ น การเชือมโยง<strong>กระฎุมพี</strong>เข้ากับทุนนิยม (แท้จริงแล้วคือการระบุอย่างไม่มีข้อแม้ว่า<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>นั นเป็นหนึ งเดียวกับทุนนิยมนันเอง) ซึ งในทีสุดได้ปรากฏขึ นจากกระบวนทัศน์อันประกอบรวมขึ น<br />

จากหลายภาคส่วนนั นแทบไม่มีสิงใดเกียวข้องกับความจริงของชีวิต<strong>กระฎุมพี</strong>ในฝรังเศสมากไปกว่าเป็นเพียง<br />

ความรู้สึกทะเยอทะยานของเหล่าเสรีนิยมฝรังเศสทีอยากมีความก้าวหน้าแบบอังกฤษบ้าง <strong>กระฎุมพี</strong>นักปฏิวัติ<br />

ส่วนใหญ่ในฝรังเศสนั นประกอบไปด้วยผู้เชียวชาญในวิชาชีพต่างๆ กัน และข้าราชการ มิใช่นายทุนหรือแม้แต่<br />

พ่อค้าวาณิชย์ทั งรายใหญ่รายย่อยตามแนวคิดมาร์กซิสต์แบบดั งเดิม และการเป็นเจ้าของทีดินก็ยังเป็นอาชีพใน<br />

ฝันของ<strong>กระฎุมพี</strong>อยู่ แต่เมือมองย้อนกลับไป โดยเฉพาะในมุมของการพัฒนาเศรษฐกิจอังกฤษ ควบคู่กับ<br />

ความก้าวหน้าทีมีมาก่อนนี ของรัฐบาลอังกฤษแบบมีรัฐสภา การต่อสู้อันโดดเด่นน่าทึ งระหว่าง<strong>กระฎุมพี</strong><br />

ฝรังเศสกับเหล่าอภิชนนั นได้ถูกทําให้กลายเป็นตัวอย่างของการสู้รบปรบมือกับภาวะเศรษฐกิจชะงักงันและ<br />

การกีดกันทางการเมืองทุกรูปแบบ<br />

เมือมองผ่านกรอบคิดอันทรงพลังของอุดมการณ์หลังปฏิวัติฝรังเศสเช่นนี แม้แต่ประวัติศาสตร์ของ<br />

อังกฤษก็ได้เริมรับเอาสีสันแห่งการเขียนถึง “การเติบโตของ<strong>กระฎุมพี</strong>” เข้ามาในประวัติศาสตร์ ซึ งแน่นอนว่ามี<br />

การปรับให้เข้ากับทฤษฎีของฮูมเรืองการเติบโตขึ นของชนชั นผู้ดีชนบทรายย่อย (gentry) หรือชนชั นชาวนา<br />

เจ้าของธุรกิจนั นก็ถูกผสานเข้ากับ<strong>กระฎุมพี</strong>เช่นเดียวกัน อาจเป็นนักประวัติศาสตร์ฝรังเศส เช่นเธียร์รีและกุย<br />

โซต์ (Thierry and Guizot) เองด้วยซํ าทีเริมต้นเรียกสงครามกลางเมืองอังกฤษว่าการปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong> ซึง<br />

พวกเขาหมายถึงการต่อสู้ทางชนชั นโดย<strong>กระฎุมพี</strong>ก้าวหน้าสมัยใหม่เพือโค่นล้มเหล่าชนชั นสูงทีล้าหลัง รูปแบบ<br />

ของการปฏิวัติฝรังเศสในฐานะตัวแทนแห่งความเปลียนแปลงทางสังคมนั นมีอิทธิพลแม้กระทังในการสร้าง<br />

บุคลิกให้แก่การพัฒนาอุตสาหกรรมในอังกฤษว่าเป็นการ “ปฏิวัติ” ถึงแม้ว่าการปฏิวัติทีว่านี มักปรากฎอยู่ใน<br />

กระบวนทัศน์กระแสหลักราวกับว่ามันเกิดขึ นภายนอกประวัติศาสตร์ของความสัมพันธ์ทางสังคม และแท้จริง<br />

แล้วผูกพันอยู่กับกระบวนการบางอย่างทางธรรมชาติมากกว่า (ซึ งแน่นอนว่าไม่จริง - ผู้แปล) กระบวนการทีว่า<br />

นี ก็อย่างเช่นวิวัฒนาการของเทคโนโลยีทีไม่มีผู้คนมาเกียวข้อง การพัฒนาเทคโนโลยีทีเป็นไปโดยอัตโนมัติอัน<br />

เรียกกันว่า industrialization ท้ายสุดแล้ว ทุกสิงทีรวมกันขึ นมาเป็นกระบวนทัศน์ก็ได้กลายเป็นรูปแบบทีขยาย<br />

ครอบคลุมทัวทั งยุโรป ก่อให้เกิดแบบแผนแบบเดียว (ทีถึงแม้อาจจะเกิดขึ นไม่พร้อมกัน) เพืออธิบายการพัฒนา<br />

ในยุโรป และท้ายสุดก็กลายเป็นแบบแผนทีใช้อธิบายทั งโลกได้<br />

ผลลัพธ์อันลักลันย้อนแย้งของการพัฒนาทางอุดมการณ์นี คือ ลักษณะโดดเด่นเฉพาะเจาะจงของ ทุน<br />

นิยม อันเป็นรูปแบบทางสังคมทีมีความจําเพาะทางประวัติศาสตร์ ซึ งมีกฎการเคลือนไหวในแบบของตัวเอง<br />

นั นถูกมองข้ามและปิ ดบังไป ความจําเพาะเจาะจงของทุนนิยมนั นเห็นได้ชัดน้อยกว่าในเชือมโยง “นายทุน” เข้า<br />

กับ “<strong>กระฎุมพี</strong>” แม้แต่ในงานเขียนของล็อค ทีมุ่งเน้นให้ความสนใจกับเกษตรกรรมแบบอังกฤษ จนถึงจุดทีว่า<br />

กรอบความคิดของล็อค อย่างเช่นเรืองเกียวกับ “นักปรับปรุง” ทางเกษตรกรรม ได้พุ่งความสนใจไปทีความ<br />

แตกต่างระหว่างการใช้ทีดินแบบเพิมผลผลิตและแบบไร้ผลผลิต จนถึงจุดทีว่าเขาหมกมุ่นกับการเพิมผลผลิต<br />

และความมังคังทีจะได้จากการ “ปรับปรุง” มากกว่าจะไปสนใจกับการค้าขายหรือการแสวงหากําไรทางการค้า<br />

เช่นหลักปฏิบัติทีทํากันมาแต่โบราณในการซื อมาด้วยราคาถูกและขายไปในราคาแพง กล่าวได้ว่าล็อคได้เฉียด<br />

5


กรายไปใกล้ระบบอันเป็นเหตุเป็นผลของทุนนิยมมากกว่านักคิดทีระบุว่าทุนนิยมนั นเกียวข้องกับกิจกรรม<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>แบบดั งเดิมหรือแค่เกิดจากการเติบโตขึ นง่ายๆ ของเมืองและการค้า ระบบของความเกียวพันทาง<br />

ทรัพย์สินทีดินทีล็อคได้บรรยายไว้นั น เขาร่างมันขึ นมาจากพลวัตในแคว้นเกษตรกรรมต่างๆ ทางตอนใต้ของ<br />

อังกฤษซึ งเขารู้จักดีทีสุด ซึ งไม่ใช่เพียงแค่การขยายของกิจกรรมทางการค้าแบบเก่าอันสืบสาวไปได้ถึงยุคโรมัน<br />

ล็อคเห็นว่าการปรับปรุงทีดินเพือการเกษตรของนั นก่อให้เกิดพลวัตทางสังคมแห่งการพึ งพาตนเองแบบใหม่<br />

ตลอดจนการสะสมทุนทีมีรากฐานบนการปรับปรุงการเพิมผลผลิตผ่านแรงงานโดยมีความจําเป็นทีเกิดขึ นจาก<br />

การแข่งขันเป็นหลัก<br />

มีข้อสรุปน้อยมากทีสามารถอนุมานได้ด้วยการประมาณการณ์จากกิจกรรมค้าขายแบบดั งเดิมของเหล่า<br />

พ่อค้าวาณิชย์ในยุคโรมันโบราณหรือจากชาวเมืองในยุคกลาง อย่างไรก็ตามการเชือมโยงระหว่าง “ทุนนิยม”<br />

กับ “<strong>กระฎุมพี</strong>” นั นทําให้เกิดแนวโน้มทีจะมองระบบทุนนิยม กิจกรรมอันเป็นเอกลักษณ์ แรงบันดาลใจและ<br />

แรงบังคับ ว่าเป็นแค่เพียงการขยายตัวขึ นจากรูปแบบทางสังคมทีดูเหมือนจะเป็นเช่นนั นอยู่ชัวกาล ไม่มีอายุขัย<br />

ทุนนิยมก็เป็นเพียงแค่การเพิมขึ นของการค้า ตลาด เมืองต่างๆ และเหนือกว่าสิงใดคือการเติบโตขึ นของ “ชน<br />

ชั นกลาง” นันเอง<br />

แนวโน้มเช่นนี มีผลกระทบทีสําคัญอีกประการหนึ ง กล่าวคือ การมองว่าทุนนิยมนั นมีอยู่เสมอใน<br />

ประวัติศาสตร์ (อย่างน้อยก็อย่างซ่อนเร้นแอบแฝง) และอย่างน้อยก็อยู่มายาวนานเท่าทีเราอยากจะสืบค้นไปได้<br />

ถึงนั น ทําให้ต้องเคลือนย้ายลบล้างอุปสรรคต่างๆ ทีขวางทางการพัฒนาอย่างเป็นธรรมชาติของทุนนิยมด้วย<br />

ทุนนิยมจึงถูกมองว่ากลายเป็น โอกาส ทีถูกเลือนออกไปเป็นเวลานานมากกว่าทีจะเป็น แรงบังคับ แบบใหม่ที<br />

ความจําเพาะเจาะจงทางประวัติศาสตร์ ผู้ได้ครอบครองโอกาสนั น ไม่ว่าจะเป็นพ่อค้าแม่ขายรายย่อย พ่อค้า<br />

วาณิชย์ผู้รํ ารวย ชาวเมือง หรือ<strong>กระฎุมพี</strong>เอง ล้วนแต่ปรากฎอยู่อย่างยาวนานตราบเท่าทีมีเมืองและตลาดเกิดขึ น<br />

และอุปสรรคทีขวางทางพวกเขาก็จะยังคงอยู่ตราบใดทียังชนชั นขุนนางและการควบคุมชุมชน การขัดขวาง<br />

เหล่านี นั นแข็งแกร่งเหนียวแน่น และพวกเขาอาจต้องใช้ความรุนแรงเพือขจัดมันออกไป แต่ ถ้าหากว่ามีเรือง<br />

อะไรทีต้องการคําอธิบายแล้ว นันก็คือการกําจัดอุปสรรคเหล่านี แหละ ไม่ใช่การก่อเกิดขึ นเป็นรูปร่างของพลัง<br />

ทางสังคมแบบใหม่<br />

แนวโน้มเดียวกันนี เองอาจช่วยอธิบายว่าทําไมการพัฒนาต่างๆ เช่นการเติบโตขึ นของความเป็นปัจเจก<br />

เสรีภาพ และชนชั นกลางนั นเพียงพอแล้วทีจะอธิบายถึงวิวัฒนาการของทุนนิยม และเป็นทีแน่นอนว่าการ<br />

อธิบายเหล่านี นั นเข้ากันได้เป็นอย่างดีกับพวกทีต้องการเห็นทุนนิยมเป็นกระบวนการทางธรรมชาติของสรรพ<br />

สิง ไม่มีอะไรทีจะดีไปกว่ามุมมองทางประวัติศ่าสตร์ซึ งเห็น “ข้อเท็จจริง” อย่างไม่มีการโต้แย้งว่าทุนนิยม หรือ<br />

“สังคมค้าขาย” นั นมิได้มีอยู่เสมอไป และซึ งระบุว่าเป็นปลายทางแห่งความก้าวหน้า โดยทีในขณะเดียวกันก็<br />

อ้างไปด้วยว่ามันเป็นสากลและมีสถานะทีอยู่เหนือประวัติศาสตร์ อันเป็นกรอบคิดแห่งความก้าวหน้าทียอมรับ<br />

ในความเป็นประวัติศาสตร์ (historicity) ของทุนนินมว่าเป็นขั นตอน (stage) หนึ งของวิวัฒนาการ แต่ก็ปฎิเสธ<br />

ความจําเพาะเจาะจงทางประวัติศาสตร์และความไม่จีรังยังยืนของทุนนิยมไปด้วย<br />

ลัทธิมาร์กซ์และกระบวนทัศน์แห่ง<strong>กระฎุมพี</strong><br />

6


สถานะของลัทธิมาร์กซ์ในกระบวนการสร้างกระบวนทัศน์ดังกล่าวนี นั นมีความกํากวมทีลึกซึ ง<br />

ซับซ้อน แน่นอนว่าการ “ปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong>” นั นมีทียืนอันมันคงในลัทธิมาร์กซ์กระแสหลัก จนกระทังเป็นที<br />

รู้กันทัวไปว่ากระบวนทัศน์เหล่านี ถูกยกว่าเป็นส่วนหนึ งของงานมาร์กซ์และเองเกิลส์ คุณสมบัติส่วนใหญ่ของ<br />

รูปแบบนี ก็มักปรากฎในงานทีมีแนวคิดมาร์กซิสต์ เช่น เรืองเกียวกับความขัดแย้งระหว่าง<strong>กระฎุมพี</strong>กับชนชั นสูง<br />

ทั งในอังกฤษและการปฏิวัติฝรังเศส ระบบทุนนิยมทีค่อยๆ แทรกขึ นมาระหว่างรอยแยกของระบบศักดินา<br />

สวามิภักดิ และรอคอยทีจะถูกปลดปล่อย อย่างไรก็ดี ยังมีงานด้านทฤษฏีมาร์กซิสต์จํานวนมากทีคัดค้านการ<br />

มองประวัติศาสตร์เช่นนี เหนือกว่าสิงใด ความเชือหลักของการวิพากษ์ทางเศรษฐศาสตร์การเมืองนั นยึดมันอยู่<br />

กับความจําเพาะเจาะจงทางประวัติศาสตร์ของทุนนิยมและกฎการเคลือนไหวของมัน กล่าวคือ การปฏิเสธว่า<br />

ทุนนิยมนั นเป็นเพียงแค่การขยายตัวทางการค้าแบบดั งเดิม การแบ่งแยกอย่างเด็ดขาดระหว่างการสะสมทุนกับ<br />

การแสวงหากําไรในรูปแบบของการค้าขายแบบเก่า ตลอดจนการปฏิเสธเกียวกับความพยายามทีจะทําให้ทุน<br />

นิยมทีมีความเป็นระบบนั นกลายเป็นเรืองธรรมดาทีปรากฎอยู่ในทุกยุคทุกสมัย<br />

แนวคิดมาร์กซิสต์เรืองชนชั นว่าเป็นแรงขับเคลือนทางประวัติศาสตร์นั นได้ชวนเชิญให้เรามองหา<br />

หลักการแห่งการเคลือนไหว ทีไม่ได้ปรากฎอยู่ในพลวัตของชนชั นทีขึ นสูงหรือตกตํ าลง มิใช่ในการปะทะอัน<br />

หายนะเพียงครั งเดียวอันมีเมล็ดพันธุ์แห่งการจัดระเบียบสังคมแบบใหม่ระหว่างชนชั นได้เปรียบทีกําลังตกตํ า<br />

(ชนชั นสูง) กับคู่ต่อสู้ผู้ทะเยอทะยานอยากกลายเป็นผู้แสวงประโยชน์หลักฝ่ ายเดียว (<strong>กระฎุมพี</strong>) มิใช่แม้แต่ใน<br />

การปฏิวัติทีพ่ายแพ้ของชนชั นปกครองชนชั นหนึ ง ต่ออีกชนชั น แต่หลักการเหล่านั นอาจหาได้มากกว่าใน<br />

ความสัมพันธ์ต่อเนืองระหว่างผู้เอาเปรียบและผู้ถูกเอาเปรียบ ยกตัวอย่างเช่น ชนชั นเหล่านี อาจมิได้หมายถึงชน<br />

ชั นสูงกับ<strong>กระฎุมพี</strong> แต่เป็นชนชั นเจ้าทีดินกับชาวนา และในการขัดแย้งภายในแต่ละรูปแบบทางสังคม ซึ ง<br />

สามารถก่อให้เกิดวิกฤต การโยกย้ายถินฐาน ความขัดแย้งทีรุนแรง (ไม่ใช่แค่เพียงระหว่างชนชั นแต่ภายในชน<br />

ชั นด้วยกันเอง) หรือแม้แต่การปฏิวัติ<br />

ในมุมมองนี ทุนนิยมจึงมิได้มีอยู่เสมอในประวัติศาสตร์ และนายทุนนั นมิได้เป็นเพียงแค่พ่อค้าที<br />

พัฒนามาเป็นอย่างดีจนเป็นอิสระจากโซ่ตรวนแห่งระบบศักดินาสวามิภักดิ (feudalism) การอุบัติของทุนนิยม<br />

ซึ งมีกฎระเบียบแห่งการเคลือนไหวอันโดดเด่นเฉพาะทางของตนเองนั นจึงต้องการคําอธิบาย และอย่างน้อย<br />

มาร์กซ์ก็ได้อธิบายไว้อย่างเป็นระบบบ้างแล้ว ซึ งได้มีการต่อยอดไปโยงกับความเฉพาะของประวัติศาสตร์<br />

อังกฤษอีกในงานของนักคิดสายวัตถุนิยมประวัติศาสตร์ ประวัติศาสตร์ทีว่า -- เรืองราวของทุนนิยม<br />

เกษตรกรรมแบบอังกฤษ อันประกอบไปด้วย “คณะสาม” (triads) ซึ งคือเจ้าทีดิน นายทุนผู้เช่าที และแรงงานผู้<br />

ได้รับค่าจ้าง เรืองราวของการสะสมทุนแบบบุพกาล (primitive accumulation) ดังทีมาร์กซ์ได้กล่าวไว้ เกียวกับ<br />

การไล่ทีเพือแย่งชิงยึดครองทีดินของชาวนาด้วยการบังคับฟ้องขับไล่และแรงกดดันจากการแข่งขันทาง<br />

เศรษฐกิจ นั นทําให้เกิดความเข้าใจผิดต่อกระบวนทัศน์ของ<strong>กระฎุมพี</strong><br />

ความเข้าใจทางประวัติศาสตร์เช่นนี (ซึ งขัดแย้งกับแนวคิดทีเชือว่าเทคโนโลยีคือสิงทีกําหนด<br />

ประวัติศาสตร์ในขนบมาร์กซิสต์) ยังได้ตั งคําถามกับแนวคิดนามธรรมทีว่า “อุตสาหกรรมภิวัฒน์”<br />

(industrialization) คือกระบวนการทางเทคนิคทีเกิดขึ นเองอีกด้วย ความเข้าใจทีเกียวข้องกับหลักการนี คือการ<br />

มุ่งเน้นที ทุนนิยม อุตสาหกรรม มากกว่า “สังคมอุตสาหกรรม” มันมิได้เป็นเพียงแค่อีกขั นตอนหนึ งในการ<br />

พัฒนาทัวไปของพลังการผลิต ซึ งมีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ นได้ตลอด แต่มันขึ นอยู่กับกฎแห่งการเคลือนไหวที<br />

7


หยังรากในระบบทุนนิยม ทําให้เกิดขึ นได้ด้วยความสัมพันธ์ทางสังคมของนายทุน การเอารัดเอาเปรียบของ<br />

นายทุน กฎของนายทุนเกียวกับการแข่งขันและสะสมทุน จริงอยู่ทีพลังการผลิตในระดับหนึ งนั นเป็นเงือนไข<br />

สําคัญทีจะทําให้ทุนนิยมอุตสาหกรรมเกิดขึ นมาได้ แต่มันพอเพียงแค่ในบริบทของความสัมพันธ์เชิงทรัพย์สิน<br />

ในอังกฤษเท่านั น ขณะทีประวัติศาสตร์อันจําเพาะเจาะจงของอังกฤษนั นตั งอยู่ในบริบททีใหญ่กว่าของการ<br />

พัฒนาในโลกตะวันตกตั งแต่ยุคกรีก- โรมัน และในเครือข่ายทีกว้างกว่าของความสัมพันธ์ทางภูมิศาสตร์<br />

การเมืองและเศรษฐกิจ มันก็ไม่มีคําอธิบาย รูปแบบ หรือทฤษฎีใดทีมีลักษณะเป็นหนึ งเดียว เป็นเส้นตรง และ<br />

สามารถครอบคลุมพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ของยุโรปได้ทั งหมด<br />

งานทีสําคัญทีสุดในขนบวัตถุนิยมประวัติศาสตร์เกียวกับการเปลียนผ่านจากระบบศักดินาสวามิภักดิ<br />

ไปสู่ทุนนิยมนั นพัฒนามาจากกระบวนทัศน์ของลัทธิมาร์กซ์ทีเกียวข้องกับ<strong>กระฎุมพี</strong>น้อยกว่าแนวคิดอืนตั งแต่<br />

เริมต้น นักประวัติศาสตร์มาร์กซิสต์ รวมถึงตัวมาร์กซ์เองด้วย มักจะยืนยันเกียวกับช่วงเวลาอันยาวนานแห่งการ<br />

เปลียนผ่านจากระบบศักดินาสวามิภักดิ ไปสู่ทุนนิยม ซึ งการปฏิวัตินั นไม่ใช่แรงขับสําคัญอันจะนําไปสู่การ<br />

เปลียนแปลง แต่การปฏิวัติได้แสดงให้เห็นถึงวิกฤตของกระบวนการทางประวัติศาสตร์อันยาวนานและ<br />

ซับซ้อน ซึ งไม่จําเป็นต้องมีฉากจบเป็นการปฏิวัติเสมอไป ยิงไปกว่านั น ในการอภิปรายถกเถียงเรืองนี ตั งแต่<br />

มอริซ ดอบบ์ (Maurice Dobb) ถึงรอดนีย์ ฮิลตัน (Rodney Hilton) และการโต้เถียงเรืองการเปลียนผ่านไปจนถึง<br />

โรเบิร์ต เบรนเนอร์ (Robert Brenner) พวกเขามักจะมุ่งความสนใจไปทีความสัมพันธ์ระหว่างชาวนาและเจ้า<br />

ทีดินมากกว่าชนชั นสูงกับ<strong>กระฎุมพี</strong> และยังมีการปฏิเสธทีชัดเจนเกียวกับการอนุมานใดๆ ก็ตามว่าเมืองมีความ<br />

เป็นทุนนิยมและเป็นปฏิปักษ์ต่อระบบฟิ วดัล หรือเงินและตลาดนั นเพิมสภาพคล่องให้ระบบศักดินาสวามิภักดิ<br />

ได้ ตลอดจนการเติบโตของการค้านั นเป็นแรงเคลือนไหวทีสําคัญในการเปลียนผ่านสู่ระบบทุนนิยม ข้อโต้แย้ง<br />

เช่นนี ยังมีแนวโน้มทีจะบ่งบอกถึงนัยยะเกียวกับการแบ่งแยก “<strong>กระฎุมพี</strong>” ออกจาก “นายทุน” โดยรําลึกไว้ถึง<br />

ข้อมูลทีว่าทุนนิยมมิได้พัฒนาขึ นก่อนในสถานทีซึ ง “ชนชั นกลางในเมือง” นั นมี “วุฒิภาวะ” มากกว่าในอังกฤษ<br />

เช่น ในนครรัฐค้าขายทางตอนเหนือของอิตาลี และพวกเขาก็ตั งคําถามถึงสมมติฐานทีว่ามีสิงใดที “ก้าวหน้า”<br />

และ “นําสู่สมัยใหม่” อย่างเป็นธรรมชาติเกียวกับชนชั นกลางในเมืองทีมี “วุฒิภาวะ” และมันใจในตนเอง<br />

เหล่านี หรือมีสิงใดบ้างทีเป็นศัตรูกับระบบศักดินาสวามิภักดิ โดยเนื อแท้<br />

ในงานเขียนตามขนบมาร์กซิสต์ช่วงแรกๆ ยังคงมีแนวโน้มทีจะ สันนิษฐาน ล่วงหน้าถึงสภาวะของทุน<br />

นิยมในช่วงเริมก่อกําเนิดราวกับว่ามันเป็นแค่การขยายตัวของการปฏิบัติทีปรากฎอยู่ก่อนแล้ว โดยเฉพาะการ<br />

ผลิต “สินค้าแบบบุพกาล” (primitive commodity) โดยเหล่าชาวนารายย่อยและรายทีฐานะปานกลาง<br />

โดยเฉพาะชาวนาทีเป็ นเจ้าของทีดินเอง (yeomanry) ยิงไปกว่านั น งานยุคแรกเหล่านี ยังทําเสมือนกับว่าตลาด<br />

ทุนนั นเป็น โอกาส มากกว่าทีจะเป็น ภาวะบังคับ คือเป็นการปลดปล่อยและขยายตัวมากกว่าเป็นความ<br />

เปลียนแปลงทีเกิดขึ นในการผลิตสินค้าเพราะพันธนาการแห่งระบอบศักดินาสวามิภักดิ นั นถูกทําลายไป<br />

เนืองจากการต่อสู้ทางชนชั น ในงานของเบรนเนอร์ (Brenner) แม้แต่เศษซากทีเหลืออยู่ของกระบวนทัศน์<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>ก็หายไป ทุนนิยมมิได้เป็นเพียงแค่ข้อสมมติฐานหรือการคาดการณ์ล่วงหน้าตามสัญชาตญาณ ซึ งการ<br />

ทีมันกําลังจะถือกําเนิดขึ นมาของระบบนี นั นไม่อาจอธิบายได้และจําเป็นต้องสันนิษฐานหรือคาดการณ์ไว้เพือ<br />

เอาไว้อธิบายเมือมันเกิดมาแล้ว ในทางตรงข้าม เบรนเนอร์เห็นว่าทุนนิยมกําเนิดขึ นจากผลลัพธ์ทีไม่ได้ตั งใจ<br />

ของความสัมพันธ์ระหว่างชนชั นทีมิได้เป็นนายทุน เป็นผลพวงของจากการทําให้ผู้ผลิตตกอยู่ภายใต้อํานาจของ<br />

8


ภาวะบังคับ แห่งการแข่งขัน เพราะพวกเขา ถูกบีบ ให้ต้องเข้าสู่ตลาด เพือจะได้เข้าถึงปัจจัยแห่งการอยู่รอดและ<br />

การผลิตครั งใหม่ สาระสําคัญของคําอธิบายนี คือการแบ่งแยก “คณะสาม” (triad) แห่งกสิกรรม นันคือการ<br />

เชือมโยงกันของเจ้าทีดินซึ งเป็นพ่อค้า นายทุนผู้เช่าที และลูกจ้างขายแรงงาน ซึ งกลายเป็นหมุดหมายสําคัญใน<br />

พื นทีมีผลผลิตมากทีสุดในชนบทอังกฤษ แต่ขณะที “คณะสาม” ดังกล่าวนี เป็นหมุดหมายของการอธิบายแบบ<br />

มาร์กซิสต์ตั งแต่สมัยทีมาร์กซ์เองได้เล่าคร่าวๆ ถึงประวัติศาสตร์ชนบทอังกฤษ เบรนเนอร์ได้ลงลึกไปกว่านั น<br />

ในการอธิบายต่อไปถึงกลไกของการพัฒนาระบบทุนนิยม ด้วยการมุ่งความคิดไปทีผู้มีบทบาทสําคัญ นันคือ<br />

ชาวนาผู้เช่าทีดิน ซึ งมีบทบาทมากในการเพาะปลูกของอังกฤษชนิดทีว่าไม่มีทีใดทีชาวนาเช่าทีจะมีอิทธิพลมาก<br />

เท่านี ในยุโรป ชาวนาเหล่านี แตกต่างไปจากเจ้าทีดินหรือชาวนาเจ้าของทีในแง่ทีพวกเขาไม่มีสิทธิถาวรใน<br />

ทรัพย์สินทีดินเหล่านั นนอกเหนือไปจากสัญญาเช่าทีมีเงือนไขทางเศรษฐกิจ และแม้แต่การถือครองทีดินของ<br />

พวกเขาก็ยังถูกบังคับให้ตกอยู่ภายใต้ข้อกําหนดของกลไกตลาดทีเต็มไปด้วยการแข่งขัน ภาวะเช่นนี ผลักดันให้<br />

พวกเขาจําต้องเพิมผลผลิตด้วยนวัตกรรม ความถนัดเฉพาะด้าน และการสะสมทุนหรือกักตุนสินค้า ผลกระทบ<br />

ของความสัมพันธ์เชิงกสิกรรมเช่นนี ได้ก่อให้เกิดพลวัตใหม่ของการเติบโตทีอยู่ได้ด้วยตนเองอย่างทีไม่เคยเกิด<br />

ขึ นมาก่อนในประวัติศาสตร์<br />

คุณสมบัติเฉพาะ (peculiarity) ของชาวอังกฤษและการเสือมสลายของหมู่เกาะบริเตน (Britain)<br />

กระบวนทัศน์เกียวกับความก้าวหน้าแบบ<strong>กระฎุมพี</strong>ดังทีได้กล่าวมาแล้วนั นอยู่เบื องหลังข้อโต้แย้งที<br />

อธิบายถึงการเสือมสลายของระบบทุนนิยมในชาติต่างๆ ของหมู่เกาะบริเตน (อังกฤษ ไอร์แลนด์เหนือ เวลส์<br />

สกอตแลนด์ - ผู้แปล) ว่าเกิดจากการเกิดก่อนกาลอันสมควรและการพัฒนาทีไม่สมบูรณ์ ข้อโต้แย้งเหล่านี<br />

เสนอว่าหมู่เกาะบริเตนนั นทนทุกข์จากการก้าวสู่ความเป็นสมัยใหม่ (modernization) ทีไม่เคยเสร็จสิน การ<br />

พัฒนาทางเศรษฐกิจทีหยุดเติบโตเพราะสถาบันโบรํ าโบราณและทัศนคติทางวัฒนธรรม การผิดยุคสมัยซึ งคง<br />

อยู่ในสังคมนี มาตั งแต่ยุคแรกเริมของการก่อตัวขึ นของระบบทุนนิยมแบบอังกฤษ หลักใหญ่ใจความของคํา<br />

กล่าวหานี คือเหล่าผู้ดีชนชาติต่างๆ ในหมู่เกาะนี นั นมุ่งความสนใจไปทีรูปแบบการค้าขายและหาแหล่งทุนแบบ<br />

ดั งเดิมจนไม่สมดุลย์และก่อให้เกิดความเสียหายแก่รูปแบบการผลิตของอุตสาหกรรมสมัยใหม่ ซึ งความ<br />

หมกมุ่นเช่นนี นั นแสดงให้เห็นถึงการย้อนเวลากลับไปสู่ยุคก่อนสมัยใหม่ ตลอดจนรากเหง้าของทุนนิยม<br />

อังกฤษทีเริมมาจากชนชั นสูง ถ้ายึดถือตามข้อโต้แย้งเช่นนี ลักษณะอันผิดยุคสมัยนั นปรากฎให้เห็นมากขึ น<br />

เรือยๆ ในช่วงหลังของศตวรรษทีสิบเก้า<br />

การโต้แย้งทีเกียวข้องกับข้อเสนอเหล่านี มีแนวโน้มทีจะมุ่งเน้นไปยังยุควิคตอเรียนและการพัฒนาของ<br />

ระบบเศรษฐกิจของหมู่เกาะบริเตนหลังจากนั น แต่ข้อแถลงทีทรงพลังและกินความกว้างขวางทีสุดเกียวกับ<br />

กรณีเกียวกับความล้าหลังของอังกฤษนั นบังคับให้เราต้องมองย้อนกลับไปถึงศตวรรษทีสิบเจ็ดเป็นอย่างน้อย<br />

และยังต้องมองเรืองอืนทีนอกเหนือไปจากเศรษฐกิจด้วยเช่นข้อสนับสนุนทางวัฒนธรรมและการเมือง มันยัง<br />

เชื อเชิญให้เราเปรียบเทียบหมู่เกาะบริเตนกับรัฐอืนๆ ในยุโรป ในข้อเสนอทีเกียวข้องกับชือของนักวิชาการ<br />

อย่างเพอร์รี แอนเดอร์สัน (Perry Anderson) และทอม แนร์น (Tom Nairn) ความอ่อนแอของเศรษฐกิจหมู่<br />

เกาะบริเตนนั นเป็นเพราะความอยู่ยงคงกระพันของระบอบการปกครองแบบเก่า การเจริญก่อนกาลอันควรของ<br />

9


ทุนนิยมอังกฤษและการพัฒนาของมันภายใต้เงาของระบบโบราณทีดื อรันมันคงแน่นเหนียว แต่ข้อสําคัญใน<br />

ทีนี มิได้เกียวข้องเพียงแค่กับความไม่ได้สัดส่วนกันระหว่างอุตสาหกรรมและการค้า หรือเงินทุน แต่ยังเป็นเรือง<br />

ของการเข้ากันไม่ได้ระหว่างเศรษฐกิจแบบทุนนิยมและโครงสร้างพื นฐานทีไม่ยอมเปลียนแปลง รัฐก่อน<br />

สมัยใหม่และวัฒนธรรมทีผิดยุค ตาม “ทฤษฎีของแนร์นและแอนเดอร์สัน” รัฐบริเตนแทบจะไม่วิวัฒนาการไป<br />

เกินจุดสูงสุดของพัฒนาการทีเกิดขึ นในปี 1688 เลย ทั งนี เนืองจากเศรษฐกิจบริเตนไม่เคยถูกทําลายไปด้วยการ<br />

ปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทีสมบูรณ์ ทีได้ทําให้รัฐอืนๆ ในยุโรปเข้าสู่ความเป็นสมัยใหม่ มือตายซากของยุคอดีตใน<br />

รัฐล้าหลังทีถูกครอบงําด้วยวัฒนธรรมจารีตจึงทําลายเศรษฐกิจบริเตนและทอดทิงให้สินไร้ทรัพยากรแห่งการ<br />

ปฏิสังขรณ์ หลังจากทีการเติบโตก่อนเวลาระยะแรกและผู้นําการเติบโตกลุ่มแรกของบริเตนนั นได้สินแรงลง<br />

ทฤษฎีของแนร์นและแอนเดอร์สัน ได้จุดประกายให้เกิดการถกเถียงกันอย่างกว้างขวางและงอกงาม<br />

โดยเฉพาะกับนักประวัติศาสตร์อย่าง อี พี ทอมป์ สัน ทฤษฎีนี ได้ถูกขยายความในช่วงปี 1960-1970 ในวารสาร<br />

New Left Review ประเด็นหลักของคือเพืออธิบาย “จุดเริมต้นของวิกฤตการณ์ปัจจุบัน” ช่วงทีดูเหมือนว่า<br />

รูปแบบในการล่มสลายของอุตสาหกรรมในบริเตนนั นมีลักษณะเฉพาะทีต่างไปจากประเทศทุนนิยมอืนๆ<br />

ประมาณยีสิบปี ต่อมา การถกเถียงนี ถูกรื อฟื นขึ นอีกครั งในบริบทของวิกฤตการณ์นานาชาติและการปรับ<br />

โครงสร้างทุน ซึ งมีแนวโน้มทีจะปิ ดบังลักษณะประหลาดของวิกฤตในอังกฤษไว้ ช่วงเวลานี ยังเป็นช่วงทีระบบ<br />

เศรษฐกิจหลักของทุนนิยมในขณะนั น ซึ งคือระบบของสหรัฐอเมริกา เริมทีจะผลิตซํ ารูปแบบการล่มสลายที<br />

ครั งหนึ งเคยเป็นลักษณะเฉพาะของอังกฤษอีกด้วย ทฤษฎีอันทรงพลังและอิทธิพลของแนร์น - แอนเดอร์สันนี<br />

ได้ถูกสร้างขึ นในช่วงทศวรรษทีหกสิบเพืออธิบายความเสือมของบริเตนทีไม่ได้เน้นแค่ลักษณะเฉพาะของ<br />

วิกฤตอังกฤษ แต่ยังเกียวกับความเฉพาะทีว่านี ด้วยว่ามีลักษณะเป็นอย่างไร ในเวลาเดียวกัน ได้มีขบวนการเพือ<br />

การปฏิรูปรัฐธรรมนูญอังกฤษเกิดขึ น ซึ งเหล่าผู้เสนอคนสําคัญ (โดยเฉพาะพวกทีเกียวข้องกับ “กฎบัตรที 88”)<br />

นั นเชือมันในประเด็นทีคล้ายคลึงกับทฤษฎีของแนร์น - แอนเดอร์สันเกียวกับความไม่สมบูรณ์ของการปฏิวัติ<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>และความขาดวุฒิภาวะของประชาธิปไตยแบบ<strong>กระฎุมพี</strong>ในหมู่เกาะบริเตนด้วย<br />

ต้นฉบับของทฤษฎีแนร์น - แอนเดอร์สันอิงอยู่กับข้อสันนิษฐานหลักๆ สองประการ คือ ความเสือม<br />

ของบริเตนนั นพิเศษและมีลักษณะเฉพาะเจาะจง กับวิกฤตเหล่านี สามารถแกะรอยกลับไปได้ว่าเป็นผลพวง<br />

ของการพัฒนาไปสู่ระบบทุนนิยมในบริเตนทีไม่เคยเสร็จสมบูรณ์ เนืองจากทุนนิยมในระยะแรกนั นเกิดขึ น<br />

ภายใต้ชนชั นสูงผู้ถือครองทีดินแทนทีจะเป็นเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ชาวเมืองทีเอาชนะชนชั นสูงได้ จึงทําให้ไร้ซึ งการ<br />

ปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทีสมบูรณ์ ดังทีเกิดขึ นในภาคพื นทวีปยุโรป ประเทศเหล่านั นจึงมีรัฐของ<strong>กระฎุมพี</strong>ที “มี<br />

เหตุผล” มากกว่า ในบริเตนนั น เหล่าชนชั นสูงกึ งนายทุนทียังพึ งพากสิกรรมอยู่มากไม่จําเป็นต้องเปลียนแปลง<br />

ระบบสังคมและวัฒนธรรมใดๆ ในขณะทีเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ผู้ยังขาดวุฒิภาวะก็ไม่เคยยึดแย่งอํานาจนํา (hegemony)<br />

มาจากชนชั นสูงผ่านทางกระบวนการทําให้ประเทศเข้าสู่สมัยใหม่ ทิงให้ทุนอุตสาหกรรมบริเตนถูกลดทอน<br />

ความสําคัญโดยการค้าขายและการเงินทีล้าสมัย อนุนัยทีสําคัญของทฤษฎีนี คือประเทศอืนๆ ทีทุนนิยมได้<br />

พัฒนาขึ นทีหลังนั นไม่ตกอยู่ภายใต้ภาวะเดียวกันเพราะประเทศเหล่านั น “ทันสมัย” กว่าและการปฎิวัติ<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>ก็สมบูรณ์กว่า<br />

ข้อสันนิษฐานหลักเหล่านี ได้ถูกปรับปรุงตัดต่อภายหลังในหลายรูปแบบโดยตัวแอนเดอร์สันและแนร์<br />

นเอง เพอร์รี แอนเดอร์สันกล่าวใน “The Figures of Descent” ว่ากรณีของบริเตนอาจเป็นการบอกเหตุล่วงหน้า<br />

10


สําหรับกรณีอืนๆ ดังทีเห็นได้ในสหรัฐอเมริกาและสัญญะต่างๆ ของ “การกล่าวสรุปทัวๆ ไป สําหรับสิงที<br />

เกิดขึ นทัวโลกทุนนิยมทีพัฒนาแล้วอืนๆ” (77) ในขณะเดียวกัน เขายอมรับมุมมองทีถูกถ่ายทอดอย่างมันอก<br />

มันใจโดยอาร์โน เมเยอร์ ว่า รัฐจารีตแบบเก่านั นยังปรากฎอยู่ทัวยุโรปจนกระทังถึงศตวรรษทียีสิบ ซึ งบ่งชี ว่า<br />

ความ “ล้าหลัง” นั นมิได้เกิดขึ นเฉพาะในอังกฤษเพียงแห่งเดียว ทอม แนร์นเองได้พัฒนาข้อโต้แย้งไปมากกว่า<br />

แอนเดอร์สันหรือเมเยอร์อีกเกียวกับรัฐจารีตแบบดั งเดิมในยุโรป เขาได้แนะนําในหนังสือของตนเกียวกับ<br />

ระบบกษัตริย์ของหมู่เกาะบริเตนว่า เฉพาะเวลานี เท่านั นทีพวกเรา “อาศัยอยู่ในทศวรรษแรกของการก้าวขึ นสู่<br />

ระบบทุนนิยมอย่างแท้จริง” ซึ งแนร์นเชือมโยงทุนนิยมในทีนี เข้ากับชัยชนะของนายทุนอุตสาหกรรมและการ<br />

ก่อรูปของรัฐทีเกิดขึ นมาเพือรองรับ (373)<br />

ดังนั นหมู่เกาะบริเตนจึงมิได้โดดเด่นไม่ว่าจะเป็นสําหรับ “ความล้าหลัง” หรือแม้แต่รูปแบบของ<br />

วิกฤตการณ์ทีเกิดขึ น โดยเฉพาะถ้าหากแนร์นกล่าวถูกต้องเกียวกับการเลือนชัยชนะของทุนนิยมออกไปยัง<br />

ทศวรรษที 70 ทฤษฎีของเขาดูเหมือนยังต้องการการปรับปรุงทีสําคัญยิง คือ ทศวรรษทีแนร์นเองอ้างว่าได้เห็น<br />

ชัยชนะทีแท้จริงของทุนนิยมนั นยังเป็นทศวรรษทีเกิดรูปแบบของวิกฤตคล้ายๆ กันไปทัว ทั งทีลักษณะเหล่านี<br />

เคยถูกมองว่าจําเพาะกับอังกฤษเท่านั น และประเทศทีเกิดเหตุการณ์คล้ายกันดังกล่าวนี ไม่มีประเทศใดเลยทีมี<br />

ลักษณะโบราณแบบเกาะบริเตนดังทีกล่าวมา<br />

เพอร์รี แอนเดอร์สันสรุป “The Figures of Descent” ด้วยการชี ให้เห็นถึงสัญญะทีรูปแบบของบริเตน<br />

นั นแท้จริงแล้วอาจกลายเป็นรูปแบบสากลทีเกิดขึ นทัวโลกทุนนิยมทีก้าวหน้าทั งหลาย ในเวลาเดียวกัน เขายัง<br />

มองว่าบริเตนนั นมีลักษณะจําเพาะของตนเอง อันเห็นได้จากธรรมชาติ การกําหนดเวลา และมาตราส่วนของ<br />

ความเสือมสลายเช่นเดียวกับความสินไร้ของตัวช่วยและทางเลือกทีมีให้แก่ทุนนิยมบริเตนในการใช้แก้ไขความ<br />

เสือมโทรมของระบบอุตสาหกรรม คําถามสําหรับแอนเดอร์สันคือ ต้นฉบับคําอธิบายทางประวัติศาสตร์ของ<br />

เขานั นสามารถต่อสู้กับการทําให้ความล้าหลังของบริเตนเป็ นเรืองธรรมดาไม่จําเพาะ เพือทีจะนําไปใช้อธิบาย<br />

ประเทศทุนนิยมอืนๆ ในยุโรปได้หรือไม่<br />

ตัวเลือกง่ายๆ คือทําให้สิงทีเกิดขึ นในอังกฤษกลายเป็นเรืองทีเกิดขึ นธรรมดาทัวไป (เพือทีจะใช้อธิบาย<br />

ความล้าหลังและการพัฒนาทีไม่เท่ากันในยุโรปอันจะใช้อธิบายวิกฤตการณ์ต่างๆ) นั นสิงทีแอนเดอร์สัน<br />

ยอมรับไม่ได้ มิใช่เพราะว่ามันไม่อาจนํามาอธิบายกรณีของสหรัฐอเมริกาทีดูเหมือนว่าจะเดินซํ ารอยกับอังกฤษ<br />

มากทีสุด แต่เพราะว่ามีลักษณะจําเพาะบางอย่างในกรณีของบริเตนจริงๆ ซึ งยังต้องการคําอธิบายอยู่ เช่น<br />

อัตราส่วนทีค่อนข้างเฉพาะของอุตสาหกรรมในบริเตน แนวโน้มทีจะนิยมอุตสาหกรรมขนาดย่อมเพือการผลิต<br />

สินค้าอุปโภคบริโภคมากกว่าอุตสาหกรรมหนัก การต่อต้านการสะสมและรวมศูนย์ของทุนและการผลิต ตลอด<br />

นํ าหนักการลงทุนในต่างประเทศทีไม่ได้สัดส่วน นอกจากนั นยังมีการจัดรูปแบบทางวัฒนธรรมทีค่อนข้าง<br />

เฉพาะตัว ซึ งแอนเดอร์สันเคยกล่าวไว้ว่าการจัดเรียงเช่นนี ได้แยกบริเตนออกจากวิถีทางวัฒนธรรมและภูมิ<br />

ปัญญาทัวไปในยุโรปตะวันตก ส่วนทอม แนร์นเองก็ระบุไว้เช่นกันว่าการจัดรูปนั นได้ทิงอัตลักษณ์แห่งชาติอัน<br />

อาจสังเกตได้จากรูปแบบความครํ าครึของสถาบันกษัตริย์และแนวคิดทางชนชั นแบบก่อนทุนนิยมไว้ให้บริเตน<br />

แทนทีจะเป็นความก้าวหน้า<br />

ถ้าหากเศรษฐกิจทุนนิยมอืนๆ ได้ถูกกําหนดไว้ให้ต้องทุกข์ทนกับชะตากรรมเดียวกันในทีสุด และถ้า<br />

หากมรดกแห่งความโบราณจากอดีตของอังกฤษต้องถูกนําไปวางในบริบททีรวมความล้าหลังของยุโรปไว้ด้วย<br />

11


แอนเดอร์สันดูเหมือนจะชี แนะว่าลักษณะเฉพาะของความเสือมในบริเตนอาจถูกอธิบายได้ด้วยลักษณะเฉพาะ<br />

ของระบอบเก่า (Ancien Régime) ของมันเองได้ อย่างไรก็ตาม ถึงแม้ทฤษฎีของแนร์น - แอนเดอร์สันจําต้อง<br />

ระบุให้ชัดเจนลงไปอีกเพืออธิบาย “ในระดับปัจเจกบุคคล” ซึ งจะให้รายละเอียดเกียวกับความเฉพาะของ<br />

ระบอบเก่าแบบอังกฤษทีแตกต่างไปจากระบอบเก่าทียืนยงอยู่ในประเทศอืน แอนเดอร์สันยังเห็นว่าหลักใหญ่<br />

ใจความของทฤษฎีนี ก็ยังใช้ได้อยู่ โดยเฉพาะเมือตัดสินจากมุมมองทางประวัติศาสตร์ (27)<br />

แต่ถึงกระนั น นอกเหนือไปจากการเปลียนแปลงทางทฤษฎีดังทีได้กล่าวมาแล้วมันก็ยังเป็นไปได้ว่า<br />

แท้จริงแล้วทฤษฎีทั งสองทีต่างกันนั นได้แข่งกันทีจะมีความสําคัญเป็นลําดับแรกในการอธิบายประวัติศาสตร์บ<br />

ริเตนของแอนเดอร์สันมาตั งแต่ต้น เนืองจากทฤษฏีทั งสองมีแนวโน้มทีจะเกียวพันกันในงานของเขา ความ<br />

แตกต่างมักจะมองเห็นได้ไม่ชัดเจนนัก แต่ก็เป็นไปได้ทีจะแยกมันออกมาเป็นสายหลักสองสาย<br />

สายแรก (ซึ งโดยรวมแล้วดูเหมือนจะเป็นกระแสหลัก) บรรยายถึงทุนนิยมอันเกิดก่อนกาลและการ<br />

ปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong> “ทีถูกไกล่เกลีย” แล้ว ซึ งคือทุนนิยมทีถูกทําให้หยุดโตโดยเหล่าชนชั นสูงและต้นกําเนิดจาก<br />

ระบบกสิกรรมของมันเอง เหตุเพราะชนชั นสูงและ<strong>กระฎุมพี</strong>ไม่ได้เป็นศัตรูกันอย่างเปิ ดเผย และความล้มเหลว<br />

ของเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ทีจะหนีจากภาวะการเป็นผู้ไร้เสียง (subaltern) ของตน หรือแม้แต่ทีจะเปลียนแปลงรัฐและ<br />

วัฒนธรรมกระแสหลักได้ ในทางตรงข้าม ทุนนิยมในทวีปยุโรปนั นได้ประโยชน์จากการปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong>ที<br />

สมบูรณ์และรุนแรงกว่า และจากการแบ่งแยกทีชัดเจนระหว่างชนชั นสูงกับ<strong>กระฎุมพี</strong> ซึ งแสดงออกมาใน<br />

รูปแบบของชัยชนะเด็ดขาดของเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>และการเปลียนแปลงระบบพื นฐานของวัฒนธรรมและการเมือง<br />

แบบโบราณอย่างทัวถึง ความล้มเหลวของบริเตนและความสําเร็จของทุนนิยมอืนๆ นั นเป็นเพราะการพัฒนา<br />

ก่อนเวลาและไม่สมบูรณ์ของทุนนิยมในอังกฤษเอง และความมีวุฒิภาวะมากกว่าของทุนนิยมในทีอืนๆ<br />

สายทีสอง (ซึ งอาจจะถูกแยกออกจากสายหลักและยืนหยัดได้ด้วยตัวของมันเอง ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เป็น<br />

เช่นนั นก็ตาม โดยมีการคาดคะเนทีผิดพลาดเล็กน้อย) เริมต้นทีทุนนิยมก่อนกาลอันควรเช่นกัน แต่ครั งนี ปัจจัย<br />

สําคัญมิใช่ความยืนยงของระบบเก่ามากเท่ากับว่าทุนนิยมทีเกิดก่อนกาลในบริเตนนี ไม่มีอุปสรรคมากระตุ้น<br />

หรือท้าทายให้เติบโตเลย ในทีนี ข้อบกพร่องของทุนนิยมบริเตนถูกอธิบายด้วยการ ได้เปรียบ ทีมันเริมต้น<br />

ก่อนทีอืน มันไม่ใช่แค่เพียงเรืองทีอธิบายได้ง่ายๆ ว่าเป็นรายแรกทีเกิดขึ น รายแรกทีเสือมลง หรือแม้แต่ด้วย<br />

คําถามเกียวกับสาธารณูปโภคโบรํ าโบราณ ข้อเสนอของสายนี นั นคือวิวัฒนาการของทุนนิยมทีเกิดขึ นก่อนและ<br />

ไร้คู่แข่งในบริเตนนั นทําให้มันไม่มีตัวช่วยทีจะพลิกผันสถานการณ์ได้เมือเกิดความเสือมขึ น ในขณะทีประเทศ<br />

ยุโรปอืนๆ นั นมีตัวช่วยทีเพียบพร้อมกว่า ทุนนิยมแรกเริมในอังกฤษไม่เคยเผชิญกับความต้องการทีจะก่อตั ง<br />

สถาบันและวิถีปฏิบัติเพือสนับสนุนหรือเร่งรัดการเติบโต อย่างเช่น การแทรกแซงบางประการโดยรัฐ หรือ<br />

ทักษะทางการบริหารบางอย่าง และการปฏิวัติอุตสาหกรรมอันเชืองช้าและ “เป็นไปตามธรรมชาติ” ของบริเตน<br />

นั นก็ต่างออกไปจากกระบวนการเปลียนสังคมให้กลายเป็นอุตสาหกรรมของเยอรมันในยุคถัดมา ซึ งทําให้บริ<br />

เตนไม่มีความต้องการทีจะสร้างอาชีวศึกษาทีแพร่หลาย มีประสิทธิภาพ และเป็นของราชการโดยตรง ดังนั น<br />

“ชัยชนะในอดีตจึงกลายเป็นหายนะแห่งปัจจุบัน” (52)<br />

แนวคิดทั งสองสายนี คาบเกียวกันอย่างแน่นอน และมิใช่ว่ามันไม่อาจไปด้วยกันได้ แต่ก็ยังมีความ<br />

แตกต่างทีสําคัญ ซึ งไม่สามารถจะนํามารวมกันได้อยู่ แนวคิดทีสองอันว่าด้วยการเป็นผู้นําในระยะเริมต้นนั น<br />

สามารถสนับสนุนประเด็นเรืองการคงอยู่ของระบอบเก่าทัวยุโรปได้ แนวคิดแรกอันว่าด้วยการปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong><br />

12


ทีไม่สมบูรณ์นั นโดยหลักการแล้วสามารถเอาตัวรอดได้ในคํากล่าวเกียวกับการขยายเวลาของการปฏิวัติ<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>ในยุโรป อย่างไรก็ตาม แนวคิดทีสอง สามารถอธิบายการลอกเลียนรูปแบบของอังกฤษในประเทศอืน<br />

ได้ ซึ งแนวคิดทีหนึ งไม่อาจนํามาใช้ได้เช่นนั น อาทิเช่น ในแนวคิดทีสอง ถึงแม้ว่าบริเตนจะยังคงมี<br />

ลักษณะเฉพาะเนืองจากทุนนิยมในหมู่เกาะนี ได้เกิดก่อนทีอืนและไร้ซึ งคู่แข่ง ทุนนิยมในประเทศอืนทีแม้ว่าจะ<br />

เกิดภายหลังและกลายเป็นผู้นําในสภาพทีมีการแข่งขันสูงกว่าก็ยังอาจเดินซํ ารอยภาวะผู้นําของบริเตนได้ คือ<br />

“ติดกับและโดนความรุ่งเรืองในอดีตถ่วงเอาไว้” (แอนเดอร์สัน 50) ประวัติศาสตร์เมือไม่นานมานี ของทุนนิยม<br />

อเมริกันได้แสดงให้เห็นว่าระยะเวลาแห่งการเป็นผู้นําสามารถสร้างภาวะเสียเปรียบในการแข่งขันให้กับตัวเอง<br />

ได้ โดยเฉพาะเมือผู้นําสามารถทํากําไรได้ในระยะเวลาหนึ งโดยไม่จําเป็นต้องพัฒนากําลังการผลิตของตน ใน<br />

แนวคิดทีสอง สิทธิพิเศษของทุนนิยมในบริเตน การเป็นผู้นําในระยะเริมต้นนั นยังสามารถนํามาใช้อธิบายการ<br />

เสียเปรียบของบริเตนเองได้อยู่ และไม่มีผู้นําทีเกิดขึ นยุคหลังรายใดทีสามารถเดินซํ ารอยผู้นําในระยะแรกได้<br />

โดยเหมือนกันทุกประการ แต่ในแนวคิดนี ความสําเร็จและล้มเหลวของเศรษฐกิจทุนนิยมใดๆ นั นขึ นอยู่กับ<br />

สภาวะของการแข่งขันมากกว่าการคงอยู่หรือการแตกแยกของอดีตก่อนมีทุนนิยม<br />

ในอีกทางหนึ ง แนวคิดทีสองสามารถยอมรับสิงทีแนวคิดแรกยอมรับไม่ได้ นันคือรูปแบบทีโบราณ<br />

นั นไม่จําเป็นต้องเข้ากับพลวัตของทุนนิยมไม่ได้ ดังจะเห็นได้จากกรณีทีชัดเจนในเยอรมันและญีปุ ่ น แนวคิดที<br />

สองนั นยังเล่นล้อกับความเป็นไปได้ว่าอาจมีบางสถานการณ์ซึ งการอยู่รอดของระบอบเก่าสามารถสนับสนุน<br />

การพัฒนาของทุนนิยมได้ เช่น ความพร้อมอยู่เสมอของระบบรัฐราชการในการแทรกแซงและเอาชนะความ<br />

ขัดแย้งทีมีอยู่ตลอดเวลาในระบบทุนนิยม “บริสุทธิ ” หรือการคงอยู่ของรูปแบบทางวัฒนธรรมทีรับประกันว่า<br />

คนงานจะเชือฟังนายจ้าง แน่นอนว่าผู้เดินตามรอยทุนนิยมแบบแรกเริมของอังกฤษนั นอาจจะเหมือนกับกรณี<br />

ของทุนนิยมทีพัฒนาขึ นภายใต้การอุปถัมป์ ของระบบก่อนสมัยใหม่ ดังทีรัฐหลังยุคสมบูรณาญาสิทธิราชย์ขาน<br />

รับกับความท้าทายของการแข่งขัน และตัวอย่างของทุนนิยมแรกเริมในอังกฤษ (บางครั งก็ได้ประโยชน์จาก<br />

ความพร้อมอยู่เสมอของทุนและเทคโนโลยีอังกฤษ) ในกรณีนอกเหนือบริเตนเหล่านี เองทีพลวัตของทุนนิยม<br />

สามารถพัฒนาขึ น ก่อนกาล อันหมายถึงก่อนทีจะพื นถินนั นจะพร้อมอย่างเต็มทีและแม้กระทังการรับเอาสิงที<br />

หลงเหลืออยู่ของยุคก่อนทุนนิยมมาใช้กับความต้องการในการพัฒนาทุนนิยม<br />

แนวคิดทั งสองนี อาจกล่าวได้อีกประการหนึ งว่า มันแตกต่างกันในเหตุเบื องหลังของการสร้างแนวคิด<br />

เกียวกับทุนนิยมนันเอง คือ แนวคิดแรกนั นตั งอยู่บนพื นฐานของทุนนิยมแบบก้าวหน้าซึ งถ้ายึดถือตาม “กฎ<br />

ธรรมชาติ” ของมันแล้วจะสนับสนุนความก้าวหน้าทางอุตสาหกรรมและรัฐแห่ง “เหตุผล” เสมอ ขณะทีแนวคิด<br />

ทีสองยอมรับว่ามีความลักลันย้อนแย้งฝังแฝงอยู่ในระบบ แนวคิดแรกต้องยกความล้มเหลวใดๆ ทีเกิดขึ นกับ<br />

ทุนนิยมให้กับความไม่สมบูรณ์ของการพัฒนาระบบทุนนิยม ส่วนแนวคิดทีสองสามารถอธิบายความล้มเหลว<br />

ว่าเป็นความอ่อนแอทีฝังลึกในระบบทุนนิยมเอง ควรจะเพิมเติมในทีนี ว่าแนวคิดทีสองอันเกียวข้องกับผู้นําราย<br />

แรกๆ นั น เข้ากันได้มากกว่ากับข้อถกเถียงทีนําเสนอโดย อี พี ทอมป์ สัน (E.P. Thompson) ในการโต้แย้ง<br />

เริมแรก แนวคิดทีสองนี ยังไม่ค่อยเป็นไปตามคํากล่าวอันน่าเชือถือทีแนร์น - แอนเดอร์สันได้สร้างไว้ใน<br />

รูปแบบอันเป็นนามธรรมและถูกทําให้เป็ นอุดมคติเกียวกับ “การปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong>” จากประสบการณ์ใน<br />

ประเทศอืนๆ ซึ งอาจนับได้ว่าค่อนข้างเป็นการทําซํ าโดยไม่จําเป็น<br />

13


การอภิปรายทีกําลังจะตามมานี จะเขียนขึ นเพือแย้งกับภูมิหลังของทฤษฎีของแนร์น - แอนเดอร์สัน<br />

ถึงแม้ว่าจะไม่ได้เป็นการโต้เถียงกับพวกเขาโดยตรง เนืองจากผู้เขียนเองก็มีประเด็นพื นฐานทีเห็นตรงกัน<br />

เกียวกับการมาก่อนของทุนนิยมแบบอังกฤษนั นได้ทําให้เข้าใจสภาวะปัจจุบันมากขึ น และยังได้สร้างประเด็น<br />

ต่อไปโดยอิงกับแนวคิดของพวกเขาเกียวกับประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมของหมู่เกาะบริเตน แต่ไม่จําเป็นต้อง<br />

ได้ข้อสรุปเดียวกัน<br />

อย่างไรก็ดี มีอยู่ประเด็นหนึ งซึ งยังคงไม่อาจเถียงได้ นันคือ บริเตน หรืออาจกล่าวได้ว่าเป็นอังกฤษ<br />

มากกว่า นั นเป็นสังคมทุนนิยมแห่งแรกของโลก และการมาก่อนของอังกฤษนั นได้ส่งผลกระทบอย่างมากต่อ<br />

การพัฒนาของมันเองในเวลาต่อมา แทบไม่ต้องสงสัยเลยว่าเส้นทางการพัฒนาอันมีลักษณะเฉพาะได้ทิงให้ทุน<br />

นิยมของหมู่เกาะบริเตนขาดซึ งอุปกรณ์หรือตัวช่วยทีจะปรับโครงสร้างได้เมือเกิดวิกฤตขึ น เห็นได้ชัดจากการ<br />

รวมศูนย์ของทุนและการผลิต ซึ งเป็นสิงจําเป็นอย่างยิงในการแข่งขันระหว่างประเทศในยุคต่อมา แต่ข้อมูล<br />

เหล่านี นั นสามารถตีความได้หลายประการ ถ้าหากทุนนิยมอังกฤษเป็นทุนนิยมแห่งแรก และดังนั นจึงเป็นที<br />

เดียวทีเกิดขึ น ซึ งทําให้มันไม่ขานรับกับแรงกดดันให้แข่งขันจากรัฐสมัยใหม่อืนๆ ประเด็นทีเป็นจริงอย่างไม่<br />

น่าสงสัยเลยคือการวิวัฒนาการโดย “ธรรมชาติ” นี ได้ทิงสิงทีเหลือจากระบอบเก่าเอาไว้ให้แทนทีจะกวาดล้าง<br />

มันออกไปผ่านขั นตอนของการปฏิวัติในแต่ละครั ง แต่ก็อาจจะเป็นจริงด้วยเหตุผลเดียวกันว่าทุนนิยมนั นหยัง<br />

รากลึกและกฎแห่งการเคลือนไหวของมันก็ลงหลักปักฐานมันคงอยู่ทีอังกฤษมากกว่าทีอืน โดยได้เปลียนแปลง<br />

เนื อแท้ของสังคมในขณะทียังรักษารูปแบบภายนอกแบบเดิมเอาไว้ อาจกล่าวได้ว่าเป็นเหล้าใหม่ในขวดเก่าก็ได้<br />

ดังนั น หมู่เกาะบริเตนเป็นทุนนิยมทีแปลกประหลาด หรือว่ามันเป็นทุนนิยมได้อย่างประหลาดกันแน่ คําถามนี<br />

สําคัญไม่น้อยไปกว่าการทําความเข้าใจทุนนิยมโดยรวมเพือการตีความประวัติศาสตร์บริเตนโดยเฉพาะ คําตอบ<br />

ทีได้จะทําให้แตกต่างกันมาก ว่าสิงใดเป็นต้นเหตุของข้อบกพร่องในทุนนิยมแห่งแรกของโลกและรูปแบบของ<br />

การเสือมโทรมลงของอุตสาหกรรมกันแน่ระหว่างความอ่อนแอของการไร้วุฒิภาวะและความไม่เสร็จสมบูรณ์<br />

ของการปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong> ซึ งจําเพาะเจาะจงอยู่กับกรณีของการพัฒนาทีหยุดเติบโต หรือความลักลันย้อนแย้งใน<br />

ตัวระบบทุนนิยมเอง<br />

อาจเป็นไปได้ทีคุณสมบัติหลายอย่างทีเคยถูกยกให้เป็นการพัฒนาอันไม่เสร็จสินสมบูรณ์ของทุนนิยม<br />

อังกฤษนั นแท้จริงแล้วขึ นอยู่กับตัวระบบทุนนิยมเองมากกว่า ขณะทีการปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทีดูเหมือนว่าเสร็จ<br />

สมบูรณ์กว่าในทีอืนนั นอาจแสดงให้เห็นถึงความต่อเนืองอันลึกซึ งของระบบเก่าก่อนทุนนิยม และความ<br />

ต่อเนืองนั นอาจเป็นประโยชน์กับทุนนิยมอืนๆ ในยุโรปอีกด้วยก็ได้ เราอาจจะพบว่า ขณะทีบริเตนนั นโดดเด่น<br />

มากในความยึดติดกับรูปแบบเก่าๆ และแนวโน้มของบริเตนเองทีคอยแต่จะรื อฟื นหรือแม้แต่ประดิษฐ์ความโบ<br />

รํ าโบราณต่างๆ และขณะทีรูปแบบเหล่านี มีความสําคัญเชิงอุดมการณ์อย่างมาก ความต่อเนืองกับอดีตก่อนทุน<br />

นิยมในอังกฤษอาจเป็นแค่เพียงรูปแบบและสัญลักษณ์ภายนอกมากกว่าทีจะเป็นความต่อเนืองกับอดีตก่อนทุน<br />

นิยมในเชิงโครงสร้าง (โดยไม่มีกับดักทางสัญลักษณ์) เหมือนกับในประเทศยุโรปอืนๆ<br />

มีเครืองหมายมากมายถูกใช้เป็นขนบเพือแสดงให้เห็นถึงยุคสมัยใหม่ เครืองหมายเหล่านี มักเกียวพัน<br />

กับกระบวนทัศน์ของ<strong>กระฎุมพี</strong> ซึ งไม่ปรากฎให้เห็นในหมู่เกาะบริเตนแต่ปรากฎเด่นชัดในคู่แข่งทาง<br />

ประวัติศาสตร์ อันได้แก่รัฐ “สมัยใหม่” ทีมี “เหตุผล” ต่างๆ อันประกอบไปด้วยขนบของวาทกรรมทาง<br />

การเมืองและรูปแบบทางวัฒนธรรมทีตอบสนองกันเป็นอย่างดี ในทีนี ผู้เขียนจะเสนอว่าการเติบโตของหมุด<br />

14


หมายเหล่านี ในภาคพื นยุโรปมิได้แสดงถึงวุฒิภาวะของ<strong>กระฎุมพี</strong>หรือพลังของนายทุน แต่ในทางตรงข้าม มัน<br />

กลับสะท้อนให้เห็นถึงความแข็งแกร่งของความสัมพันธ์ทางสังคมและทรัพย์สินในสังคมก่อนทุนนิยม แท้จริง<br />

แล้ว รูปลักษณ์ของความคิดทีมักถูกเชือมโยงกับการเกิดขึ นของรัฐสมัยใหม่ อย่างเช่น แนวคิดบางประการ<br />

เกียวกับอธิปไตยอันแบ่งแยกมิได้และความเป็นชาติ นั นพิสูจน์ให้เห็นอย่างยิงถึงการขาดความเป็นสมัยใหม่<br />

ของมันเอง และการขาดซึ งอธิปไตยอันเป็นหนึ งเดียวและความเป็นชาตินั นก็ปรากฎอยู่ในรัฐเหล่านั นในความ<br />

เป็นจริง กรณีทีสําคัญคือฝรังเศส ซึ งได้มอบต้นแบบของ “การปฏิวัติแห่ง<strong>กระฎุมพี</strong>” ให้กับโลก และกําเนิดของ<br />

ยุคสมัยใหม่<br />

ในทางกลับกัน สิงทีคิดกันว่าเป็นสัญลักษณ์ของรัฐสมัยใหม่และวัฒนธรรมทางการเมืองทีขาดหายไป<br />

ในอังกฤษนั นมิได้เป็นเพราะรัฐอังกฤษนั นล้าหลังหรือเพราะทุนนิยมอังกฤษแปลกประหลาดและขาดวุฒิภาวะ<br />

ในทางตรงกันข้าม การขาดหายของสิงเหล่านี แสดงให้เห็นถึงการมีอยู่ของทุนนิยมทีได้พัฒนาเป็นอย่างดีและ<br />

รัฐทีวิวัฒนาการไปอย่างสอดคล้องกับทุนนิยม สิงทีขาดหายไปจากวาทกรรมทางการเมืองของอังกฤษแท้จริง<br />

แล้วมีอยู่ในโลกความเป็นจริงของอังกฤษ ดังนั น ในหมู่เกาะบริเตน จึงไม่มีการขาดช่วงหรือแตกแยกทีสําคัญ<br />

ระหว่างเศรษฐกิจทุนนิยมกับวัฒนธรรมทางการเมืองของระบอบเก่าทีถูกหยุดเวลาไว้ทีปี 1688 ในทางตรงกัน<br />

ข้าม การก่อรูปของรัฐและวัฒนธรรมกระแสหลักของบริเตนได้เกียวพันกันอย่างแยกไม่ได้ ด้วยการพัฒนาของ<br />

ทุนนิยม ซึ งสอดคล้องกันเป็นอย่างดีกับตรรกะทางเศรษฐกิจและความขัดแย้งภายใน หมู่เกาะบริเตนอาจเป็นที<br />

ซึ งมีวัฒนธรรมเป็นทุนนิยมอย่างสมบูรณ์ทีสุดในยุโรปก็เป็นได้<br />

15


16


บทที 3<br />

รัฐสมัยใหม่2<br />

เอลเลน มีกซินส์ วูด<br />

เพอรี แอนเดอร์สัน เขียนไว้ว่า หมู่เกาะอังกฤษนั นแปลกแยกโดดเดียวอยู่ท่ามกลางรัฐทุนนิยมหลัก<br />

อืนๆ เพราะไม่เคยผ่านกระบวนการปฏิรูปเข้าสู่สมัยใหม่อย่างสมบูรณ์เหมือนรัฐเหล่านั น ทฤษฏีของโทมัส<br />

แนร์น และเพอรี แอนเดอร์สันดั งเดิมเสนอว่ารัฐ “เรียบง่าย” (minimalist English state) อย่างอังกฤษนั น เป็น<br />

ผลผลิตของการวิวัฒนาการก่อนเวลาอันควร ในช่วงหัวเลี ยวหัวต่อทีสําคัญยิง คือการปฏิวัติอุตสาหกรรมใน<br />

ศตวรรษที ในขณะทีบนภาคพื นยุโรปนั นมีการปฏิวัติของเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ทีเป็นลําดับขั นตอน ซึ งได้สร้าง<br />

รัฐสมัยใหม่ทีมีการรวมศูนย์อํานาจและบริหารราชการบนหลักเหตุผล รัฐเหล่านี มีความสามารถในการวาง<br />

ทิศทางพัฒนาเศรษฐกิจ<br />

ในการอธิบายครั งล่าสุด ประเด็นสําคัญดังกล่าวของทฤษฎีนี ยังคงเดิม ถึงแม้ว่าจะมีการเลือนการปฏิวัติ<br />

ของ<strong>กระฎุมพี</strong>ออกไปเป็นช่วงกลางศตวรรษทียีสิบก็ตาม แอนเดอร์สันเขียนถึงการปฏิวัติในอังกฤษว่า เป็นความ<br />

“รวดเร็วและอวสานสิน” ของกระบวนการซึ งจบลงในปี อันนับว่าเป็นหนึ งศตวรรษก่อนการเริมต้นของ<br />

ทุนนิยมอุตสาหกรรมเองด้วยซํ า เขาได้เปรียบเทียบความแปลกแยกอันโดดเดียวของหมู่เกาะอังกฤษกับรัฐอืนที<br />

มีการปฏิวัติเสร็จสินสมบูรณ์กว่า ว่า<br />

ประสบการณ์ของรัฐทุนนิยมสมัยใหม่อืนๆ นั นแตกต่างออกไป … การกวาดล้างภูมิทัศน์ทางสังคม<br />

และสถาบันครั งสุดท้ายทีคิดกันว่าขึ นในช่วงสงครามโลกครั งทีหนึ งนั น อาร์โน เมเยอร์ได้ตรวจสอบ<br />

อีกครั งและพบว่ามันเสร็จสินอย่างแท้จริงตอนสงครามโลกครั งทีสอง ความสําคัญทัวๆ ไปของ “การ<br />

ปฏิวัติและปฏิวัติเล่า” เหล่านี เหมือนกันหมดทุกแห่ง การปฏิวัติเหล่านี คือช่วงทีจําเป็นในการทําให้รัฐ<br />

กลายเป็นสมัยใหม่ ซึ งก่อให้เกิดการตืนตัวทางเศรษฐกิจขึ นอีกครั งหนึ ง … มีเพียงหมู่เกาะอังกฤษ<br />

เท่านั นทีเป็นข้อยกเว้น<br />

แต่ถ้าหากข้อเสนอนี หมายความว่าความบกพร่องของรัฐอังกฤษนั นเกิดจากความไม่สมบูรณ์ของการ<br />

ทําให้เป็นสมัยใหม่โดยการปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong>และเหตุการณ์ทีเกิดตามๆ กันมา แอนเดอร์สันได้บอกใบ้ถึง<br />

ความเป็นไปได้ทีจะมีคําอธิบายอันเป็นทางเลือกอืนๆ อันจะเห็นได้จากการบรรยายถึงยุควิคตอเรียนว่า “เรียบ<br />

ง่าย” (minimalism) และเคร่งครัดมัธยัสถ์ (austerity) พร้อมกับนําไปเปรียบเทียบกับรัฐยุโรปร่วมสมัยกันใน<br />

ด้านการใช้จ่ายสาธารณะ รายรับจากภาษี และขนาดของระบบบริหารรัฐกิจแล้ว แอนเดอร์สันสรุปว่า<br />

ความแปลกประหลาดของรัฐอังกฤษนั นมีต้นตอมาจากคําสังห้ามของระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ใน<br />

ศตวรรษที ส่วนในราชวงศ์อืนของยุโรปนั น มีการสร้างข้าราชการจํานวนมากทีแม้ว่าส่วนใหญ่จะ<br />

2<br />

จากบทที 2 The Modern State จากหนังสือ The Pristine Culture of Capitalism - Ellen Meiksins Wood<br />

17


มาจากชนชั นสูง แต่ก็ไม่ใช่ทุกคน ซึ งการสร้างระบบนี ได้กลายเป็นรากฐานของการเติบโตขึ นอย่าง<br />

ถาวรของเหล่าข้าราชการมืออาชีพ … ทว่าไม่มีการมอบอํานาจเช่นนั นให้แก่กองทัพและระบบราชการ<br />

ในอังกฤษช่วงก่อนประวัติศาสตร์ของศตวรรษที เลย<br />

ข้อเสนอทีถึงแม้จะไม่ค่อยมีคําอธิบายมากนักของประเด็นนี คือ รัฐราชการ “สมัยใหม่” ซึ งมีผลดีใน<br />

การนําพาเศรษฐกิจของรัฐต่างๆ ในยุโรปนั นเป็นมรดกตกทอดมาจากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และไม่ใช่<br />

ผลผลิตของการพัฒนาทีก้าวหน้าของทุนนิยม ถ้ายึดตามข้อสังเกตนี สิงใดกันเล่าทีมีความสมัยใหม่กว่า รัฐ<br />

อังกฤษซึ งหลีกเลียงสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือ รัฐในยุโรปทียังคงยึดมันกับรากเหง้าขอสมบูรณาญาสิทธิราชย์<br />

ในอดีต “ความขาดหายไปอันมีลักษณะเฉพาะ” ในประวัติศาสตร์อังกฤษนั นเกียวข้องกับทุนนิยมทีไม่พัฒนา<br />

หรือไม่ หรือ ในทางตรงกันข้าม เกิดจาก “คําสังห้าม” จากระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์กันแน่ และถ้าหากว่า<br />

รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์มีความเป็น<strong>กระฎุมพี</strong>มากกว่า จะถือว่ามันมีความเป็นทุนนิยมอย่างทัวถึงน้อยกว่าด้วย<br />

หรือไม่<br />

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์และรัฐสมัยใหม่<br />

รัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์นั นดําเนินรอยตามตรรกะทางเศรษฐกิจของตัวเอง ซึ งเป็นตรรกะทีได้รับ<br />

อิทธิพลมาจากระบบทีมาก่อนทุนนิยมมากกว่าเศรษฐกิจทุนนิยมทีกําลังเติบโต ในทีนี รัฐเป็นเครืองมือสําคัญ<br />

ในการจัดสรรงบประมาณ โดยมีข้าราชการเป็นผู้ดําเนินการจัดการงบทีมาจากทรัพยากรส่วนบุคคลเหล่านี<br />

เช่นเดียวกับเหล่าขุนนางในระบบศักดินาสวามิภักดิ ทีคอยจัดสรรแรงงานส่วนเกินของชาวนาผ่านอํานาจทาง<br />

การเมือง การทหาร และการบังคับใช้กฎหมาย ด้วยข้ออ้างของสิทธิพิเศษทางกฎหมายนี ทําให้ทายาทของเหล่า<br />

ขุนนางไม่เพียงแค่สามารถสืบทอดอํานาจเก่าและอภิสิทธิ จากบรรพบุรุษของตนได้ แต่ยังสามารถสร้างอํานาจ<br />

ใหม่เพิมในรูปแบบใหม่ คือ สิทธิในการครอบครองอํานาจทางการเมือง ผ่านทางรูปแบบใหม่ของการถือครอง<br />

ทรัพย์สินอันได้มาจากสิทธิทางการเมืองด้วย หน่วยงานรัฐในรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์แสดงให้เห็นถึงการรวม<br />

อํานาจสู่ศูนย์กลางขึ นสู่ส่วนบน ของระบบศักดินาสวามิภักดิ ซึ งผลผลิตส่วนเกินของชาวนาได้ถูกจัดเก็บใน<br />

รูปแบบของภาษีแทนทีจะเป็นค่าเช่าทีดิน<br />

การจัดการทางเศรษฐกิจ และเป้าหมายทางการเมืองทีก่อให้เกิดเครืองมือทีซับซ้อนเช่นนี เองทืทําให้<br />

ระบบกษัตริย์ของฝรังเศสแตกต่างไปจากอังกฤษ กล่าวคือ ในอังกฤษ ชนชั นปกครองมีอํานาจทีเข้มแข็งในการ<br />

ครอบครองทีดินมาเป็นเวลานาน และได้เพิมปริมาณทรัพย์สินของตนเองผ่านทางการใช้สอยทรัพย์สินเหล่านั น<br />

อย่างก่อให้เกิดผล โดยเฉพาะทีดินซึ งถูกเตรียมพัฒนาเพือเพาะปลูกโดยผู้เช่าที ซึ งเป็นการพัฒนาเพือตอบสนอง<br />

ต่อภาวะการแข่งขัน ทีดินของเอกชนทีตกอยู่ภายใต้ระบอบการจัดการแบบ “ทุนนิยม” โดยสมบูรณ์นั นมักจะมี<br />

การพัฒนามากกว่า และรัฐในฐานะเครืองมือสําหรับจัดสรรแรงงานส่วนเกินจากผู้ผลิตโดยตรงนั นสําคัญน้อย<br />

กว่ามาก ซึ งทรัพย์สินอืนทางการเมือง สิทธิพิเศษของบริษัท และผลพวงของขอบเขตอํานาจศาลก็เป็นไป<br />

ในทางเดียวกัน ในกรณีเช่นนี เองทีระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ โดยเฉพาะโครงสร้างระบบภาษีและการ<br />

บริหารงานในรูปแบบของรัฐฝรังเศสนั น “ถูกศาลห้ามบังคับใช้” ในอังกฤษ<br />

18


ผู้เขียนมิได้จะกล่าวว่าชนชั นปกครองของอังกฤษหมดความสนใจในตําแหน่งทีไม่ต้องทํางาน<br />

(sinecures) และหน่วยงานของรัฐ เพราะแท้จริงแล้ว การแสวงหาประโยชน์จากรัฐโดยเหล่าขุนนางผู้ทรง<br />

อํานาจนั นได้เริมต้นขึ นมาใหม่ในช่วงเวลาอันรุ่งโรจน์ของทุนนิยมเกษตรกรรมในช่วงศตวรรษทีสิบแปด เมือ<br />

“การโกงกินสมัยเก่าๆ” ได้ปล้นความรุ่งเรืองของชาติไปอย่างละโมบโลภมาก แต่ในเวลานั น รัฐยังมิใช่<br />

เครืองมือโดยตรงในการสกัดกลันผลผลิตส่วนเกิน ทีมีการจัดสรร “ค่าเช่าส่วนกลาง” ในรูปแบบภาษีจาก<br />

ชาวนาผู้ผลิต หรือรัฐเองก็ไม่ได้แข่งขันกับทรัพย์สินทีก่อตั งจากการเมืองในการแบ่งสรรปันส่วนผลผลิต<br />

ส่วนเกินจากชาวนา ในทางตรงกันข้าม ขณะทีชนชั นซึ งถือครองทรัพย์สินเก็บภาษีตัวเองโดยได้รับความ<br />

เห็นชอบจากรัฐสภา ส่วนหนึ งของชนชั นดังกล่าวนั นได้ใช้รัฐเป็นสือกลางสําหรับรีดไถเอาส่วนทีดีทีสุดทีได้<br />

จากเอกชนโดยการจัดสรรทางเศรษฐกิจเพียงอย่างเดียว<br />

ข้อมูลเหล่านี อาจช่วยยืนยันในสิงทีแอนเดอร์สันเรียกว่า “ความสําเร็จครั งประวัติศาสตร์ของชนชั น<br />

ปกครองอังกฤษในทุกรูปแบบของการกลายร่าง” อันเป็นความสําเร็จทีพิสูจน์ได้ถึงล่มสลายของระบบทุนนิยม<br />

ของอังกฤษ ซึ งมีการ “ปกป้องรักษาภาคประชาสังคมทีเหนือกว่ารัฐมาเป็นเวลานาน” ความ “สําเร็จ" นี ถูก<br />

แสดงออกผ่าน “ความแปลกประหลาดสามประการของโครงสร้างอํานาจในหมู่เกาะอังกฤษ ได้แก่ การที<br />

รูปแบบระบบราชการและทหารไม่ค่อยมีความสําคัญ รูปแบบเศรษฐกิจทีโดดเด่น และการทีรูปแบบทาง<br />

วัฒนธรรมและอุดมการณ์มีความสําคัญอย่างทีสุด”<br />

แต่ถ้าสิงเหล่านี คือลักษณะทีโดดเด่นทีสุดของรัฐอังกฤษ ก็นับว่ามันเกียวข้องกับความมีวุฒิภาวะ<br />

เติบโตของความสัมพันธ์ทางสังคมและทรัพย์สินแบบทุนนิยมมากกว่ากับข้อเสนอทีว่าทุนนิยมของอังกฤษ<br />

พัฒนาไม่สมบูรณ์ ระบบทุนนิยมของหมู่เกาะอังกฤษนั นอาจต้องทนทุกข์ทีมันได้ก่อร่างสร้างตัวอย่างโดดเด่น<br />

มันคงภายใต้ประชาสังคม แต่การทีภาคประชาสังคม และของรูปแบบทาง “เศรษฐกิจ” มีความเหนือกว่าระบบ<br />

การเมืองการทหาร จนอาจกล่าวได้ว่าเป็นการแยกประชาสังคมออกจากรัฐ นั นเป็นลักษณะเฉพาะทีใช้ในการ<br />

ให้คําจํากัดความระบอบทุนนิยมเอง ซึ งทําให้มันแตกต่างจากรูปแบบทางสังคมอืนๆ งานเขียนของแอนเดอร์<br />

สันเกียวกับ “โครงสร้างอํานาจในหมู่เกาะอังกฤษ” นั นจึงเข้ากันได้กับข้อสันนิษฐานข้อทีสอง (เกียวกับภาวะ<br />

ผู้นําทีเกิดขึ นก่อนทีอืน) มากกว่าทฤษฎีเรืองการปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong>ทีไม่เสร็จสินสมบูรณ์ และมันไม่บังคับเราให้<br />

ลงความเห็นว่าความล้มเหลวทั งหมดของอังกฤษเกิดจากการดํารงอยู่ของการผิดกาละ หรือเห็นว่าความสําเร็จ<br />

ทั งหมดของภาคพื นยุโรปเกิดจากความเป็นสมัยใหม่ทีสมบูรณ์แบบกว่าและการปฏิวัติของ<strong>กระฎุมพี</strong>ทีสมบูรณ์<br />

ทัวถึงกว่า<br />

ความคิดเกียวกับรัฐ<br />

อังกฤษและฝรังเศสได้สร้างรัฐรวมศูนย์มาเป็นเวลานานก่อนประเทศอืนในยุโรป แต่กลายเป็น<br />

ประสบการณ์ของฝรังเศสทีมอบกระบวนทัศน์หลักเกียวกับการเมืองสมัยใหม่ การปฏิวัติฝรังเศสคือตัวอย่างที<br />

ชัดเจนทีสุด แต่แนวคิดเกียวกับรัฐสมัยใหม่นั นมิได้เป็นหนี ประวัติศาสตร์ก่อนการปฏิวัติฝรังเศสน้อยไปกว่า<br />

กันเลย แท้จริงแล้ว แนวคิดเกียวกับรัฐเองนั นได้รับความหมายแบบสมัยใหม่ในช่วงศตวรรษทีสิบหกของ<br />

19


ฝรังเศสเป็นหลัก และระบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ทีเริมให้รากฐานอันมันคงต่อแนวคิดเรืองรัฐในวัฒนธรรม<br />

ยุโรป<br />

ในฝรังเศส กระบวนการรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางของรัฐ ซึ งได้ถูกพิสูจน์แล้วว่ายืดเยือมาก เริมต้น<br />

ก่อนหน้าเมือ “อํานาจอธิปไตยทีถูกแบ่งสรรปันส่วน” ในระบอบศักดินาสวามิภักดิ ถูกท้าทายโดยอํานาจหนึ ง<br />

เดียวของกษัตริย์ซึ งถูกสร้างผ่านกระบวนการของ “การขยายตัวเกียวกับมรดก” ซึ งได้ทําให้เจ้าผู้ครองคนเดียวมี<br />

อํานาจเหนือกว่าคู่แข่งผู้อืน แต่ถึงแม้ว่าการรวมศูนย์อํานาจจะประสบความสําเร็จเพียงใด ระบอบสมบูรณาญา-<br />

สิทธิราชย์ของฝรังเศสก็ไม่เคยเอาชนะการกระจายอํานาจออกเป็นหลายส่วนของระบอบศักดินาสวามิภักดิ ใน<br />

อดีตได้ จริงอยู่ ลักษณะสําคัญของระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์คือความตึงเครียดทีสืบทอดกันมาระหว่างการ<br />

รวมอํานาจเข้าสู่กษัตริย์และการแบ่งแยกอํานาจแบบระบอบศักดินาสวามิภักดิ เดิม โดยมีพื นฐานจากการ<br />

แบ่งแยกระหว่างรูปแบบต่างๆ กันของทรัพย์สินทีสถาปนาขึ นด้วยการเมือง ในทางหนึ ง ค่าเช่ารวมกับดอกผล<br />

ของขอบเขตอํานาจกฎหมายหรือสิทธิพิเศษทางกฎหมาย และอีกด้านหนึ งคือ “การรวมศูนย์อํานาจเข้าสู่<br />

ส่วนบน” ของเหล่าขั วอํานาจศักดินาในรูปแบบของหน่วยงานรัฐและการเก็บภาษีโดยรัฐจัดสรร กําไรทีเพิมพูน<br />

ขึ นในหมู่ชนชั นปกครองจากกระบวนการรวมอํานาจสู่ศูนย์กลางของระบอบศักดินาสวามิภักดิ มิได้แก้ไข<br />

ปัญหาและความตึงเครียดระหว่างรัฐและอํานาจอิสระของชนชั นปกครอง เช่นเดียวกับทีไม่ได้แก้ปัญหา<br />

เกียวกับทรัพย์สินทีก่อตั งจากการเมืองหรือความแตกแยกของอํานาจอธิปไตย เพราะทั งสองประการนี ล้วนเอา<br />

เปรียบแรงงานของชาวนา ความขัดแย้งเหล่านี ได้ถูกแก้ไขไปเพียงบางส่วนโดยการแต่งตั งชนชั นสูงจํานวนมาก<br />

เข้าไปทํางานในส่วนราชการอันรํ ารวยของรัฐ<br />

การอ้างสิทธิของอํานาจสมบูรณาญาสิทธิราชย์เพือต่อต้านขอบเขตอํานาจต่างๆ และความตึงเครียด<br />

ระหว่างการรวมศูนย์อํานาจของกษัตริย์กับการกระจายอํานาจออกเป็นหลายส่วนของระบอบศักดินาสวามิภักดิ<br />

นั น ได้ทําให้แนวคิดเกียวกับอธิปไตยและรัฐกลายเป็นประเด็นทีมีนัยยะทางอุดมการณ์อย่างไม่เคยเป็นมาก่อน<br />

นักทฤษฎีการเมืองทีสําคัญเกียวกับเรืองนี คือ ฌอง โบแดง ผู้ซึ งได้อธิบายทฤษฎีเกียวกับอธิปไตยอันสัมบูรณ์<br />

และไม่อาจแบ่งแยกได้ ไว้อย่างเป็นระบบระเบียบเป็นครั งแรกในช่วงทีครึ งทีสองของศตวรรษทีสิบหก<br />

เช่นเดียวกับแนวคิดเกียวกับรัฐว่าเป็นการแสดงตัวให้เป็นรูปร่างของอํานาจอธิปไตย ว่าเป็นวิถีทางในการรวม<br />

ความสับสนของอํานาจขุนนางและการแบ่งขอบเขตทางกฎหมายเข้าด้วยกันอย่างราบรืนงดงาม<br />

แต่ถ้าหากว่าเป้าหมายของการรวมศูนย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ได้ประสบความสําเร็จแล้วใน<br />

เชิงทฤษฎี มันก็ไม่เคยสําเร็จเลยในทางปฏิบัติ ต้องรอจนถึงการปฏิวัติฝรังเศส โดยเฉพาะในยุคทีนโปเลียน<br />

ครองอํานาจ การรวมศูนย์อํานาจทีแท้จริงจึงได้เกิดขึ น นโปเลียนเริมต้นสร้างรัฐสมัยใหม่ด้วยการกวาดล้างพวก<br />

นิยมระบบศักดินาสวามิภักดิ ทีรอดจากการปฏิวัติมาได้ พวกที “ร่างอยู่ระหว่างสองขั ว” และอํานาจของบริษัท<br />

ต่างๆ ตลอดจนขอบเขตทางกฎหมายทีแตกแยกออกเป็นหลายส่วนซึ งเป็นแนวขวางกั นมิให้เกิดการรวมศูนย์<br />

ทางการเมืองและเศรษฐกิจได้ อย่างไรก็ตาม ยังเหลืออีกขั นตอนหนึ งของการปฏิวัติ และกรอบความคิดด้านคํา<br />

นิยามของรัฐว่าต่างกับภาคประชาสังคมอย่างไร รวมไปถึงการจแยกจากกันของอํานาจทางการเมืองและ<br />

เศรษฐกิจ ซึ งก่อนหน้านี เคยรวมกันภายใต้ระบบศักดินาสวามิภักดิ และสมบูรณาญาสิทธิราชย์ก่อนการปฏิวัติ<br />

ด้วย งานเหล่านี ไม่เสร็จสินในฝรังเศสจนกระทังรัฐได้ถูกแปรสภาพจากปรสิตทีเติบโตได้ด้วยการสูบเลือดจาก<br />

การเก็บภาษีชาวนามาเป็นตัวเร่งปฏิกิริยาในการพัฒนาระบบทุนนิยม<br />

20


ถ้าโครงการของนโปเลียนได้รับเชื อไฟจากแรงกดดันของการแข่งขันจากอังกฤษซึ งได้กลายเป็นทุน<br />

นิยมเรียบร้อยแล้ว การคุกคามทางการทหารของรัฐนโปเลียนแบบ “สมัยใหม่” ก็ได้กลายเป็นแรงกระตุ้นให้เกิด<br />

การสร้างชาติ รวมถึงการพัฒนาทางเศรษฐกิจในทีต่างๆ บนภาคพื นยุโรป นับแต่นั นเป็นต้นมา กระบวนการ<br />

รวมรัฐและเศรษฐกิจเข้าด้วยกัน หรืออาจกล่าวได้ว่าคือทุนนิยมนันเอง ก็ได้พัฒนาไปด้วยกันอย่างสมัครสมาน<br />

สามัคคี<br />

ในยุคหลังการปฏิวัติ เฮเกลคือผู้ทีสามารถจับเอาวิญญาณของยุคสมัยเอาไว้ได้ งานทฤษฎีของเขา<br />

เกียวกับการสร้างรัฐที “เป็นสมัยใหม่” อย่างแท้จริงนั นได้รับแรงกระตุ้นจากความบกพร่องของดินแดนเล็กๆ<br />

ต่างๆ ในเยอรมันทีแยกจากกันและถูกปกครองโดยเจ้าชายหรือชนชั นสูง โดยเฉพาะเมือเปรียบเทียบกับความ<br />

เป็นเอกภาพทางการเมืองและกําลังการทหารของรัฐแบบนโปเลียน ในฐานะทีเป็นนักคิดคนแรกทีได้อธิบาย<br />

อย่างเป็นระบบเกียวกับความแตกต่างเชิงแนวคิดระหว่าง “รัฐ” และ “ภาคประชาสังคม” เฮเกลได้ยึดรัฐแบบ<br />

นโปเลียนเป็นแรงบันดาลใจสําหรับการสร้างรัฐทีเป็นสมัยใหม่อย่างแท้จริง และยังยึดงานของนัก<br />

เศรษฐศาสตร์การเมืองชาวอังกฤษอย่างสจวร์ต (Steurt) และสมิธเป็นต้นแบบของภาคประชาสังคมอีกด้วย ผล<br />

ของการทดลองทางความคิดในการปลูกถ่ายแบบแผนทางสังคมของต่างชาติลงบนความเป็นจริงที “ล้าหลัง”<br />

ของเยอรมันครั งนี นั นก่อให้เกิดการหลอมรวมอันน่าพิศวงของรัฐ “สมัยใหม่” กับหลักการศักดินาสวามิภักดิ<br />

แบบโบรํ าโบราณ โดยเฉพาะเมือเฮเกลเสนอทีจะปรับปรุงสถาบันของระบบศักดินาและให้รักษา “อํานาจ<br />

ประสานงานทีอยู่ตรงกลาง” ซึ งนโปเลียนเองได้ทําลายไปหมด เฮเกลเห็นว่าการกวาดล้างเช่นนี เป็นอันตรายต่อ<br />

องค์ประกอบอันเป็นเอกภาพของรัฐ เนืองจากทําให้รัฐขาดตัวกลางทีจําเป็นระหว่าง “ความเฉพาะตน” ของ<br />

ปัจเจก และ “ความเป็นสากล” ของรัฐ<br />

เมือความเป็นเอกภาพของเยอรมันได้เกิดขึ นในทีสุดช่วงปลายศตวรรษทีสิบเก้า กระบวนการนั นยังคง<br />

เปี ยมไปด้วยตรรกะของยุคก่อนทุนนิยม ซึ งถูกขับดันโดยแรงกดดันจากภายนอกของการแข่งขันทางภูมิศาสตร์<br />

การเมืองและสงคราม เช่นเดียวกับทีการรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางของรัฐประสบความสําเร็จได้จากทีผู้มี<br />

อํานาจเบื องบนกําหนดและตอบสนองต่อแรงกระตุ้นจากภายนอก ทุนนิยมของเยอรมันก็ถูกขับดันให้ก้าวไป<br />

ไกลเกินกว่าระดับการพัฒนาภายในด้วยแรงกระตุ้นทั งจากเบื องบนและภายนอก การรวมอํานาจรัฐเข้าสู่<br />

ศูนย์กลางของเยอรมันและฝรังเศสนั นจึงมีสิงต่อไปนี ทีเหมือนกัน กล่าวคือ ทั งสองแห่งล้วนประสบความ-<br />

สําเร็จ ได้ด้วยการบวนการทีบีบบังคับจากชนชั นนํา (ถึงแม้ว่าในฝรังเศส กระบวนการจะเริมก่อนเยอรมัน<br />

ค่อนข้างมากและใช้เวลายืดเยือกว่า) ดังนั นในทั งสองกรณี จึงถือได้ว่ารัฐให้แรงกระตุ้นจากภายนอกเป็นปัจจัย<br />

ในการพัฒนาระบบทุนนิยม ถึงแม้ว่าอาจจะต่างกันในหลายระดับ ปัจจัยภายนอกของความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ<br />

หลังสมบูรณาญาสิทธิราชย์และการพัฒนาของระบบทุนนิยมในกรณีเหล่านี นํามาซึ งการปลดปล่อยอันเฉียบคม<br />

ของความแบ่งแยกระหว่างรัฐและภาคประชาสังคม<br />

ความแปลกประหลาดอันเป็นลักษณะเฉพาะของรัฐอังกฤษ<br />

ในกรณีของอังกฤษนั นแตกต่างออกไปอย่างมาก ความเป็นเอกภาพทีเกิดขึ นมานานแล้วของเหล่าชน<br />

ชั นนําของอังกฤษได้สร้างรากฐานทียาวนานและเป็นองค์ประกอบภายในสําหรับการรวมรัฐ ในทีนี <br />

21


กระบวนการแรกเริมของการก่อตัวของรัฐมิได้เป็นประเด็นเกียวกับการทีเจ้าผู้หนึ งจะก้าวขึ นมามีอํานาจเหนือ<br />

คู่แข่งคนอืนๆ ในทางกลับกัน การรวมศูนย์ของระบบศักดินาสวามิภักดิ ในอังกฤษนั นเป็นโครงการทีเกิดขึ น<br />

จากการมีส่วนร่วมของชนชั นเจ้าของทรัพย์สินทีทรงอํานาจ อาจกล่าวได้ว่าชนชั นนําของอังกฤษนั นเกิดมาเพือ<br />

ร่วมมือกัน ดังทีชัยชนะของชาวนอร์มัน (the Norman Conquest) เหนือชาวแองโกลซักซอนในปี <br />

(คําอธิบายเพิมของผู้แปล) ได้นําชนชั นปกครองทีด้จัดตั งกันเป็นหน่วยทหารและการเมืองทียึดเหนียวกันไว้<br />

เรียบร้อยแล้วมาสู่อังกฤษ ถึงแม้ว่าจะมีช่วงเวลาทีเจ้าผู้ครองนครและราชวงศ์ต่างๆ มีปัญหากัน แต่อังกฤษไม่<br />

เคยกลายเป็นระบบศักดินาสวามิภักดิ ทีแบ่งแยกกันอย่างชัดเจน การเกิดขึ นตั งแต่เนินของรัฐสภาแห่งชาติอัน<br />

เป็นหนึ งเดียวและขนบธรรมเนียมของการมี “กษัตริย์อยู่ในรัฐสภา” ได้พิสูจน์ว่ากระบวนการก่อรูปของรัฐของ<br />

อังกฤษอันมีกษัตริย์เป็นประมุขนั นแตกต่างกันอย่างมากจากฝรังเศส ซึ งขอบเขตทางกฎหมายทีแตกแยกกันเป็น<br />

หลายฝ่ ายและสถาบันอันมีผู้แทนนั นถูกแยกออกจากกันทั งในแนวตั งและแนวนอนด้วยชนชั นและท้องถิน<br />

รูปแบบการก่อตัวของรัฐอังกฤษนั นถูกเชือมโยงกับการวิวัฒนาการของชนชั นปกครองตั งแต่ช่วง<br />

เริมแรก วิวัฒนาการแรกเริมของการสร้างรัฐนี ไม่ได้เป็นเรืองทีเกียวข้องกับอํานาจของขุนนางสักคนทีได้ขึ น<br />

ครองอํานาจเหนือคู่แข่งคนอืน อันทีจริง การรวบรวมอํานาจมาอยู่ศูนย์กลางแบบระบอบศักดินาในอังกฤษเป็น<br />

ผลงานร่วมกันของชนชั นนําผู้เป็นเจ้าของทรัพย์สินและทีดิน แน่นอนว่าเราอาจกล่าวได้ว่าชนชั นปกครองของ<br />

อังกฤษเกิดมาอย่างสามัคคีปรองดองกัน ดังทีชัยชนะของชาวนอร์มัน (the Norman Conquest) นําเข้าระบบชน<br />

ชั นปกครองในเชิงการทหารและการเมืองอย่างเป็นระบอบระเบียบและสอดคล้องกันมาสู่อังกฤษ แม้จะมีการ<br />

ขัดแย้งกันบ้างระหว่างขุนนางและราชวงศ์ อังกฤษก็ไม่เคยพลั งไปถึงการแบ่งแยกดินแดนตามระบอบศักดินา<br />

วิวัฒนาการแรกเริมของรัฐสภาทีมีความเป็นเอกรัฐรวมถึงสูตรตามแบบฉบับรัฐสภากษัตริย์พิสูจน์ให้เห็นถึง<br />

กระบวนการก่อตัวของรัฐทําให้รัฐร่วมประมุขอย่างอังกฤษกับฝรังเศสแตกต่างกันอย่างมาก ทั งอํานาจศาลยัง<br />

กระจัดกระจายและตัวแทนของสถาบันต่าง ๆ ทีแบ่งไปทัวทุกสารทิศตามชนชั นและเขตการปกครอง<br />

รูปแบบการก่อตั งรัฐของอังกฤษนั นเกียวข้องกับวิวัฒนาการของชนชั นปกครองโดยทีไม่ได้ขึ นอยู่กับ<br />

อํานาจของสภาวะเศรษฐกิจแบบพิเศษ อย่างระบอบศักดินา หรือการรวมอํานาจเหล่านี เข้าสู่ศูนย์กลางใน<br />

อนุกรมภาษี/หน่วยงานของรัฐในระบอบเผด็จการเบ็ดเสร็จ ในยุคก่อนสมัยใหม่ ตอนทีรัฐเผด็จการถูกรวบรวม<br />

เข้าไว้ด้วยกันทีฝรังเศส ขุนนางอังกฤษเลือกทีจะเดินไปอีกทาง ด้วยความทีมีทีดินมากมายอยู่ในมือโดย<br />

ปราศจากการแบ่งแยกเขตการปกครองของขุนนางทีน่าเหนือยหน่ายแบบฝรังเศสหรือผู้สืบทอดทีดินทีได้รับ<br />

จากกษัตริย์ ทั งยังถูกทําให้ปลอดทหารก่อนชนชั นสูงอืน ๆ ในยุโรป พวกขุนนางอังกฤษจึงทยอยกันหันไปพึ ง<br />

การจัดสรรทางเศรษฐกิจ การใช้ทีดินให้เป็นประโยชน์มากทีสุดโดยการแข่งขันกันมากกว่าทีจะบีบบังคับให้<br />

ถอดถอนส่วนเกินโดยตรง แม้แต่การเอารัดเอาเปรียบรัฐในฐานะแหล่งทรัพยากรในรูปแบบของหน่วยงานรัฐ<br />

ตําแหน่งงานทีมีแต่ชือ การอุปถัมภ์ และโกงกินกันอย่างเปิ ดเผย ก็ยังต้องพึ งพาการหมุนเวียนความมังคังสะสม<br />

ทีเกิดจากวิถีเศรษฐกิจแบบนี อย่างมาก ผลทีตามมาของความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจทีโดนเด่นแบบนี คืออังกฤษ<br />

กลายเป็นรัฐทีปกครองตนเองโดยอิสระอย่างเต็มตัวซึ งแสดงให้เห็นถึงชนชั นเศรษฐกิจของผู้เข้ายึดครองทีเป็น<br />

“ส่วนบุคคล” ในมุมมองทางการเมืองทีเป็น “สาธารณะ” หมายความว่ากลไกการทํางานของเศรษฐกิจในการ<br />

เข้ายึดครองนั นถูกแยกออกจากกลไกลการทํางานของกฎการเมืองและการทหาร หรือในอีกแง่หนึ ง หมายความ<br />

22


ว่าประชาสังคม (civil society) นั นถูกแยกออกจากรัฐ ในขณะทีรัฐก็ตอบสนองจนถึงขั นเป็นรองอยู่ภายใต้<br />

ประชาสังคม<br />

อย่างไรก็ตาม การแยกกันของรัฐและประชาสังคมในทางประวัติศาสตร์นั นถูกสะท้อนให้เห็นผ่าน<br />

ความเป็นหนึ งเดียวของมโนทัศน์พวกเขา ข้อเท็จจริงทีน่าตะลึงใจก็คือคําว่า “รัฐ” ถูกบันทึกในพจนานุกรมของ<br />

อังกฤษในแง่ของความหมายในสมัยใหม่ในศตวรรษที เฉกเช่นฝรังเศส เมือคําว่ารัฐนั นย้อนกลับไปถึงพื น<br />

หลังของความคิดทางการเมืองของอังกฤษโดยทันที เนืองด้วยพัฒนาการของระบอบกษัตริย์เบ็ดเสร็จทีถูกกีด<br />

กันอยู่ด้วยแล้วถูกทําให้ต้องหยุดชะงักในช่วงทศววรรษแห่งการปฏิวัติในศตวรรษที ในภาษาทางการเมือง<br />

สมัยนั น คําว่า เครือรัฐ (commonwealth) สังคมการเมือง (political society) และแม้แต่ ประชาสังคม (civil<br />

society) ในอังกฤษนั นยังอยู่ในมโนทัศน์ทีถูกควบคุมโดยคําว่ารัฐสักแห่งในยุโรป บุคลักษณะของชนชั น<br />

ปกครองและความสัมพันธ์ทีมีต่อรัฐ ความเป็นรองของรัฐต่อประชาสังคมนั นถูกแสดงออกมาอย่างเหมาะสม<br />

มากกว่าผ่านแนวคิดทีรัฐถูกย่อยให้เป็นชาติการเมือง (political nation) ของผู้ครอบครองส่วนบุคคล<br />

รัฐและชาติ<br />

วิวัฒนาการของชาตินิยม “สมัยใหม่” แบบยุโรปนั นเกียวข้องกันอย่างแนบแน่นกับแผนการสร้างรัฐ<br />

และการรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางของรัฐ และนีเป็นอีกครั งทีอังกฤษมีฝรังเศสเป็นตัวอย่าง การปฏิวัตฝรังเศส<br />

ก่อให้เกิดความคิดแบบชาตินิยมทีเป็นแรงบันดาลใจให้อีกหลายประเทศ จนกลายมาเป็นต้นแบบของการ<br />

ปลดปล่อยทีมีผลกระทบอย่างถ้วนทัวในทีอืนมากกว่าในฝรังเศสเองเสียอีก ในยุโรป นโยบายขยายดินแดน<br />

ของนโปเลียน (Napoleanic expansionism) กลับกลายเป็นสิงปลุกเร้าการสร้างชาติในแบบทีแตกต่างออกไป<br />

สิงทีรัฐสมัยใหม่จําเป็นต้องมีไม่ใช่กลุ่มชนชั นนําทีกระหายสงคราม แต่เป็นชาติรวมกันทั งชาติทีสามารถระดม<br />

กําลังกันเพือรัฐได้ ชาตินิยมจึงมอบแรงขับเคลือนของอุดมการณ์ (ideological motivation) และวิธีในการระดม<br />

พลทีพร่องไปในชนชั นทีไม่ได้มีความคุ้นเคยกับสงครามแต่เกิดอย่างพวกทหารชนชั นสูง<br />

แต่ทั งการปฏิวัติฝรังเศสและสงครามทีตามมาหลังจากนั นมีผลกระทบทีแปลกประหลาดต่ออังกฤษ<br />

ต้นแบบของการปฏิวัตินั นถูกนําไปใช้อย่างกระตือรือร้นโดยพวกสุดโต่ง (radical) และพวกเสรีนิยม<br />

(libertarian) แต่ผลกระทบโดยรวมของตัวอย่างจากฝรังเศสกลายเป็นว่าวิวัฒนาการของอัตลักษณ์ชาติสมัยใหม่<br />

นั นดับลงรวดเร็วมากแทนทีจะได้รับแรงผลักดันเพิม เนืองด้วยชนชั นปกครองก็ตอบสนองต่อการคุกคามของ<br />

การปฏิวัติและลัทธิฌากอแบ็ง (Jacobinism) เพือป้องกันตัว รัฐอังกฤษตอบสนองต่ออุดมการณ์ (ideology) และ<br />

สัญลักษณ์นิยม (symbolism) ของการปฏิวัติฝรังเศสโดยการ “หล่อความรู้สึกรักชาติขึ นมาโดยมีจุดยึดเหนียว<br />

เป็นราชวงศ์” การเข้ามาแทนทีสาธารณรัฐ (republic) ของจักรวรรดินโปเลียนบวกกับประสบการณ์ทําสงคราม<br />

กับฝรังเศสยิงทําให้มันได้ผลมากขึ นไปอีกด้วยการพรากความชอบธรรมไปจากตัวอย่างจากฝรังเศสสําหรับ<br />

พวกสุดโต่งและพวกเสรีนิยมในอังกฤษ ภาพทีทําให้เห็นได้ชัดเจนทีสุดคือสัญลักษณ์นิยมของความเป็นชาติ<br />

เนืองจากสงครามกับฝรังเศส “ทําให้แน่ใจว่าสัญลักษณ์ของหมู่เกาะอังกฤษทีซึ งแต่ก่อนถูกใช้ในแบบเดียวกับ<br />

มาริญานน์ ในระดับชาติ บ่อยครั งสําหรับพวกเสรีนิยม กลายมาเป็นทรัพย์สมบัติทีเกียวข้องกับราชวงศ์และรัฐ<br />

อย่างมากขึ นและมากขึ น”<br />

23


ความก้าวหน้าของชาตินิยมฝรังเศสผูกอยู่กับการเสือมถอยของอัตลักษณ์ชาติอังกฤษ สมาคมแห่ง<br />

สาธารณรัฐของฝรังเศสและสัญลักษณ์นิยมแห่งราชวงศ์ของอังกฤษดูเหมือนว่าจะสนับสนุนเกณฑ์ของ แนร์น์-<br />

แอนเดอร์สัน (Nairn-Anderson formula, thesis ) ว่าพวกบูชัวร์ซีอังกฤษทียังไม่เจริญ (immature) และไร้เสียง<br />

(subaltern) ต้องทนทุกข์กับความล้มเหลวทีจะกล้าในการเผชิญหน้ากับการปฏิวัติฝรังเศสและไม่มีทางทีจะ<br />

ดําเนินการโครงการทําให้เป็นสมัยใหม่ (modernizing) อย่างสําเร็จลุล่วงเพราะได้รับผลกระทบจากชนชั นกลาง<br />

ชาวฝรังเศสในการรวมตัวของความเป็นชาติสมัยใหม่<br />

แต่ในขณะเดียวกันก็มีความกํากวมในเกณฑ์ดังกล่าว ทั งคําว่า ความเป็นชาติ (nationhood) และคําว่า<br />

ความเป็นสมัยใหม่ (modernity) ยังต้องการคํานิยามทีชัดเจน ยกตัวอย่างเช่น มันเป็นเรืองปกติมากทีจะถกเถียง<br />

ว่า “ชุมชนจินตกรรม” (imagined community) ของชาติได้รับความเข้มแข็งมาจากการเสือมถอยของผู้ที<br />

จงรักภักดีและมีความสามัคคีตามขนบธรรมเนียม ในขณะทีหลักการทีมีร่วมกันของยุคก่อนสมัยใหม่และ<br />

ชุมชนจริง ๆ สินความสามารถในการนิยามประสบการณ์ทัวไปของผู้คน:<br />

ด้วยความเสือมถอยของชุมชนแท้จริงทีผู้คนเคยคุ้นชิน หมู่บ้านและเครือญาติ เขตทางศาสนาและ<br />

ชุมชนสเปน (barrio) สมาคม ความเป็นพีเป็นน้อง หรืออะไรก็ตาม สมาชิกในชุมชนจึงรู้สึกว่าต้องมี<br />

อะไรมาทดแทน ชุมชนในจินตนาการของ “ชาติ” สามารถเข้ามาเติมเต็มช่องว่างในใจผู้คนได้<br />

หรืออาจพูดได้ว่า “ชุมชนจินตกรรม” ของชาติก็คือความสามัคคีและจงรักภักดีในรูปแบบสมัยใหม่โดย<br />

ทีมีเงือนไขการมีอยู่ซึ งคือการเสือมถอยของความสมัครสมานของยุคก่อนสมัยใหม่นันเอง<br />

แน่นอนว่า “รัฐชาติ” นี เป็นปรากฏการณ์สมัยใหม่ และแน่นอนว่าความรู้สึกของความเป็นชาตินั นมี<br />

เงือนไขทีมีมาก่อนแล้วของสมัยใหม่บางประการ โดยเฉพาะกลไกของรัฐทีมีความเป็นหนึ ง ระบบการสือสารที<br />

เพียงพอ ภาษาทีทําให้เป็นสากลได้ในรูปแบบของภาษาทีพูดในชีวิตประจําวันทีเป็นลายลักษณ์อักษร อย่างไรก็<br />

ตาม นีไม่ใช่ความจริงทั งหมด ถ้าชาตินิยมสมัยใหม่แบบจําลองเกิดขึ นความดื อรั น ไม่ใช่ในการเสือมถอยเพียง<br />

เล็กน้อยของหลักการทีมีร่วมกันตามขนบธรรมเนียม<br />

ชาติฝรังเศสถูกหลอมขึ นมาด้วยกระบวนการรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางของรัฐทีถูกริเริมขึ นมาโดย<br />

ระบอบกษัตริย์เบ็ดเสร็จ ถูกสานต่อด้วยการปฏิบัติ และลุล่วงโดยนโปเลียนไม่มากก็น้อย ซึ งสวนทางกันกับ<br />

การแตกกระจายของฝรังเศสยุคก่อนสมัยใหม่ กระบวนการนี เกิดขึ นในรูปแบบของการจู่โจมหลักการทีมี<br />

ร่วมกันตามขนบธรรมเนียมทั งในแง่ของการตั งให้อํานาจในการตัดสินคดีของชาติไปค้านกับผลประโยชน์<br />

เฉพาะกลุ่มประจําท้องถินของชุมชนทีแท้จริงตามขนบ และในแง่ของการตั งให้ผลประโยชน์ของชาติมาก่อน<br />

อภิสิทธิ ของชนชั นอริสโตแครต การคัดค้านกันในการปฏิวัติของพวก “อริสโตคราต” (Aristocrates) และพวก<br />

“นาซิองโน” (Nationaux) นันอุดมไปด้วยข้อมูลทางประวัติศาสตร์ แต่การคัดค้านของชาติและอภิสิทธิ นี ทีซึ ง<br />

เป็นผลสรุปของการปฏิวัติบอกอะไรทีกํากวม แน่นอนว่ามันไม่สือออกมาอย่างชัดเจนถึงแนวโน้มความเป็น<br />

สมัยใหม่ มันก่อกําเนิดกองกําลังขึ นมาจากความหัวดื อหัวรั นของหลักการยุคก่อนสมัยใหม่ และมันแสดงออก<br />

ถึงความต่อเนืองทีเป็นหลักพื นฐานระหว่างการรวมอํานาจเข้าสู่ศูนย์กลางของระบอบเบ็ดเสร็จทีจําเป็นต้องมี<br />

24


การยืนยันหลักการของ “ชาติ” ซึ งต่อต้านกับอํานาจในการตัดสินคดีในส่วนท้องถินและอภิสิทธิ ของอริสโต<br />

แครต และโครงการปฏิวัติความเป็น “ชาติ”<br />

ในความคัดค้านกันของ “ชาติ” และอภิสิทธิ นั นมีต้นกําเนิดมาตั งแต่คริสตศตวรรษที ในขณะที<br />

ผู้แทนของฐานันดรทีสาม (Third Estate) ในการพยายามทีจะปกป้องอภิสิทธิ ของตน เรียกร้องให้เกิดหลักการ<br />

ของ “ความเป็นทั งหมด” ความสมดุลย์ที “สอดประสาน” กันของภาคส่วนทีร่วมกันซึ งถูกนําเสนออกมาโดย<br />

ความมุ่งมันตั งใจทีรวมกันเป็นหนึ งเดียวในการรวมอํานาจเข้ากษัตริย์ ค้านกันกับการผูกขาดและความลําเอียง<br />

ของอภิสิทธิ ชนชั นสูง “ชาติ”ทีต่อต้านกับอภิสิทธิ นั นเป็นการสู้รบกันแบบเก่าในหลายแง่ (แต่ไม่ใช่การสู้รบกัน<br />

แบบทุนนิยมแน่นอน) มันยากทีจะมองเห็นว่าพวก<strong>กระฎุมพี</strong>ซีทีสนับสนุนโครงการนี (โดยไม่ต้องพูดถึงพวก<br />

ชนชั นชาวไร่ชาวนาทีเป็นผู้ได้รับผลประโยชน์หลัก) ใช้เกณฑ์ใดในการสถาปนาชนชั นสมัยใหม่ทีมีวุฒิภาวะ<br />

และมันใจในตัวเองได้ขนาดนี เป็นชนชั นทีมีส่วนช่วยในการไปสู่ความก้าวหน้าของทุนนิยมมากกว่าทีพวก<br />

อริสโตแครตอังกฤษเคยเป็น การเบียงเอนเชิงปฏิวัติชองชนชั นปกครองอังกฤษทีขัดกับการปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong>อืน<br />

ๆ นั นไม่ได้เกิดจากการรวมรัฐเข้าด้วยกันทีถูกริเริมจากระบอบกษัตรย์เบ็ดเสร็จ แต่ด้วยการอ้างสิทธิ อํานาจ<br />

สูงสุดของประชาสังคมและทรัพย์สินส่วนตัวเหนือรัฐทีแข็งแกร่งอยู่แล้วซึ งชนชั นปกครองครอบครองอยู่อย่าง<br />

เห็นผลได้ชัด<br />

ในประเทศฝรังเศส และภายหลังในเยอรมนี อุดมการณ์ของชาติไม่ได้ถูกใช้เพือแสดงออกและ<br />

สนับสนุนความเป็นหนึ งของรัฐทีมีอยู่แล้วอย่างง่าย ๆ อีกทั งยังมีพลวัตทีมันคงของการเจริญเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจทียังยืนในตัวของมันเอง แต่อุดมการณ์ดังกล่าวต้องรักษาไว้ซึ งกระบวนการของการรวมเป็นหนึ งและ<br />

พัฒนาการของมันด้วยตัวเอง “หลักการของเชื อชาติ”ถูกใช้เป็นเครืองมือในการบูรณาการรัฐ และเป็นสิงคํ าจุน<br />

การแทรกแซงของรัฐ ลัทธิชาตินิยมทีไม่ว่าจะต้องผ่านการเปลียนแปลงจากพัฒนาการอย่างไร ก็ถูกตั งเงือนไข<br />

ตั งแต่เริมแรกโดยความพยายามทีจะสร้างรัฐทีรวมเป็นหนึ งซึ งขัดต่ออะไรหลาย ๆ อย่างจากภายนอก และใน<br />

ภายหลังแรงกระตุ้นจากภายในเสียมากกว่า “ความเป็นชาติ”จัดหาให้ซึ งหลักการทางอุดมการณ์ความเป็นหนึ ง<br />

เดียวกันโดยทีหลักการทีมีโครงสร้างมากกว่าอ่อนแอกว่าความร่วมมือทีเป็นไปตามขนบมากกว่าและความ<br />

จงรักภักดีระดับภูมิภาค<br />

รัฐชาติยูเคเนีย<br />

เป็นอีกครั งทีกรณีของอังกฤษนั นแตกต่างอย่างโดดเด่น และเป็นอีกครั งทีการไม่มีอยู่ของมโนทัศน์เป็น<br />

พยานให้แก่การมีอยู่ของประวัติศาสตร์ สิงทีเป็นจริงแน่นอนคือมโนทัศน์เกียวกับความเป็นชาติของอังกฤษนั น<br />

ถูกตั งเงือนไขอยู่บนความเป็น “สหราชอาณาจักร” (United Kingdom) ทีประกอบไปด้วยหลากหลายชาติ จึงได้<br />

ตัดเรืองเชื อชาติออกไปจากความเป็นชาติแล้ว แต่ทว่า ถ้าเป็นแบบกรณีตัวอย่างของฝรังเศส แนวคิดสมัยใหม่<br />

ของชาตินั นเกิดขึ นจากความตึงเครียดระหว่างรัฐและการแบ่งแยกดินแดนทีมีร่วมกันมากกว่าความภักดีต่อเชื อ<br />

ชาติ เช่นนั นความแปลกประหลาดของความเป็นชาติอังกฤษนั นเป็นผลจากความเป็นหนึ งเดียวของรัฐอังกฤษ<br />

พอ ๆ กับความหลากหลายของสหราชอาณาจักร ในอังกฤษ แรงกดดันของอุดมการณ์ชาตินิยมนั นอ่อนแอกว่า<br />

เพราะความเป็นจริงของความเป็นชาตินั นแข็งแกร่งกว่า ด้วยความทีค้านกันเล็กน้อยกับหลักการทีมีร่วมกันของ<br />

25


ยุคก่อนสมัยใหม่ (และแน่นอนว่าไม่มีตัวอย่างความเป็นชาติสมัยใหม่ทีไหนมาก่อน) มโนทัศน์ของ “ชาติ” ที<br />

เกียวข้องกับความเป็นใหญ่ของกฎหมายและวัฒนธรรมอังกฤษนั นถูกแสดงให้เห็นแล้วตั งแต่สมัย<br />

คริสตศตวรรษที แต่หลังจากนั นเป็นต้นมาก็ไม่มีการเรียกร้องอย่างแรงกล้าต่อความเป็นหนึ งเดียวของรัฐ<br />

เพือให้ความเชือมันแก่อัตลักษณ์ของความเป็นชาติและต่อต้านอิทธิพลของการปกครองแบบแบ่งแยกดินแดน<br />

ความเป็นหนึ งเดียวแบบชาติของรัฐนั นมีรกรากจากความสัมพันธ์ทางสังคมทีมีอยู่ทัวไปและจากธรรมชาติของ<br />

ชนชั นปกครอง ในแง่นี ถ้าแรงกระตุ้นทั งหลายในการสร้างชาตินิยมสมัยใหม่นั นค่อนข้างอ่อนแอ มันคงเป็น<br />

เพราะว่าไม่มีความดื อรั นของสถาบันในยุคก่อนสมัยใหม่และรูปแบบทางวัฒนธรรม มากกว่าทีจะเป็นเพราะว่า<br />

มีสิงเหล่านั น และความไม่ร่วมมือกันของชาติทีไม่ใช่อังกฤษเปลียนไปเข้าสู่ “สหราชอาณาจักร” นั นสําเร็จ<br />

ลุล่วงได้ด้วยเงือนไขของความเป็นหนึ งของรัฐอังกฤษ<br />

ทอม แนร์น์แย้งว่า ความแปลกประหลาดของรัฐอังกฤษนั นถูกแสดงออกมาในรูปแบบของอัตลักษณ์<br />

ของชาติทีเด่นชัด ซึ งนันทําให้อังกฤษแตกต่างจากรัฐชาติสมัยใหม่อืน ๆ ทั งหมด รวมถึงชาตินิยมสมัยใหม่<br />

ทั งหมดอีกด้วย อันทีจริง เขาเสนอว่าอัตลักษณ์ชาตินี มีความน่าทึ งในแง่ทีว่ามันล้มเหลวทีจะประคับประคอง<br />

อุดมการณ์ชาตินิยมสมัยใหม่ ด้วยความทีขาดพื นฐานของเชื อชาติและภูมิภาคและไร้ซึ งแนวโน้ม<br />

“ประชาธิปไตยนิยม” ทีซึ งแนร์น์เชือว่าเกียวข้องกับชาตินิยม “ชาติ”อังกฤษหรือสิงทีเขาเรียกว่ารัฐชาติยูเคเนีย<br />

(the state-nation of Ukania) นั นไม่มีอัตลักษณ์นอกเหนือไปจากรัฐทีถูกใช้เป็นสัญลักษณ์โดยระบอบกษัตริย์<br />

และขนบธรรมเนียม (ทีมักถูกสร้างขึ นมา) -การโน้มเอียงไปทางประชาธิปไตยนิยมหรือสมภาคนิยม<br />

(egalitarian) อะไรก็ตามถูกสลายไปในการทําความเข้าใจคําว่าชนชั นของยุคก่อนสมัยใหม่ (หรือ “ชนชั น” ใน<br />

เครืองหมายอัญประกาศ เพือทีจะได้แยกออกจากชนชั นทีเป็นปรากฏการณ์ทุนนิยมสมัยใหม่ทีคนคุ้นชิน)<br />

ลําดับชั นของฐานะและรสนิยมซึ งยังดํารงอยู่โดยวัฒนธรรมของระบอบกษัตริย์ การก่อตัวทีแปลกประหลาดนี<br />

ถูกคิดว่ามาจากการเจริญก่อนวัยอันควรของทุนนิยมอังกฤษและความไม่สําเร็จของการทําให้เป็นสมัยใหม่อีก<br />

แล้ว<br />

ในจุดนี เช่นกัน แนร์น์กําลังชี ไปทีจุดทีต้องการคําอธิบายอย่างไม่ต้องสงสัยเลย แม้ว่าเราอาจจะต้องการ<br />

คําอธิบายทีแตกต่างออกไป ลัทธิระบอบกษัตริย์นั นมีความน่าทึ ง ไม่ว่ามันจะมีความสําคัญอย่างล้นหลามอย่าง<br />

ทีแนร์น์ชี หรือไม่ และไม่ว่าเราจะยอมรับคําอธิบายของเขาในเรืองแนวโน้มสมภาคนิยมและเป็นทีได้รับความ<br />

นิยมของชาตินิยมแบบสมัยใหม่หรือไม่ ชาตินิยมแบบสมัยใหม่นั นอาจจะได้รับความนิยมจากประชาชนเนือง<br />

ด้วยมันอาจถูกใช้เป็นเครืองมือในการเคลือนไหวของมวลชน แต่นันก็ไม่หมายความว่ามันเป็นพลัง<br />

ประชาธิปไตยหรือพลังสมภาคนิยม และไม่ว่ากรณีใด ความแปลกประหลาดของชาตินิยมอังกฤษไม่ได้ทําให้<br />

มันได้ผลน้อยลงเลยในฐานะแรงขับเคลือน ดังทีประจักษ์ได้จากประสบการณ์สงครามโลกทั งสองครั งและการ<br />

ออกไปเสียงภัยของกองกําลังทหารทีน้อยลงและน้อยลงตั งแต่นั นเป็นต้นมา บางทีสิงทีต้องการคําอธิบายนั นหา<br />

ใช่ความดื อรั นของระบอบกษัตริย์ในฐานะสัญลักษณ์ของความเป็นชาติ หากแต่เป็นบทบาททีสัญลักษณ์นั นมี<br />

และไม่มี<br />

สิงทีโดดเด่นสําหรับอังกฤษก็คือวัฒนธรรมการเมืองทีมีธรรมเนียมทางสติปัญญาและความตระหนักรู้<br />

ในวงกว้างในขณะทีแนวคิดคําว่ารัฐยังอ่อนแอ ซึ งถูกแทนทีด้วยลัทธิของสัญลักษณ์ปลอม ๆ ของความเป็นรัฐ<br />

อังกฤษนั นค่อนข้างพิเศษกว่าประเทศหลัก ๆ อืนในยุโรปในแง่เหล่านี ถ้าหากจะมีตัวอย่างทีคล้ายกันในโลกทุน<br />

26


นิยมตะวันตก มันก็คงจะเป็นสหรัฐ การเคารพบูชาธงชาติของชาวอเมริกันนั นแทบไม่ต่างอะไรกับลัทธิบูชาเจ้า<br />

ในอังกฤษเลย (ลองจินตนาการดูถึงการมาโรงเรียนทุกเช้าและต้องเอามือทาบอกเคารพธงชาติเพือแสดงความ<br />

จงรักภักดีสิ!) และเหมือนกันกับในอังกฤษ สัญลักษณ์อันศักสิทธิ นี ดํารงอยู่ในวัฒนธรรมการเมืองทีขาด<br />

ความรู้สึกความเป็นชาติจากเชื อชาติของประชาชนและขาดคํากําจัดความทีชัดเจนของคําว่ารัฐ (คําว่า“รัฐ”ใน<br />

“สหรัฐ”นั นมีความหมายไปในเชิงของ“จังหวัด”มากกว่าคําว่า état ในภาษาฝรังเศส และคําว่า Staat ใน<br />

ภาษาเยอรมันทีแปลว่ารัฐ) ตัวอย่างเช่น สําหรับชาวฝรังเศสแล้ว แนวคิดของคําว่ารัฐนับเป็นปรากฏการณ์ใน<br />

ชีวิตประจําวัน โลกทีใช้ภาษาอังกฤษเป็นหลักดูจะไม่ค่อยสบายใจกับสิงนี ขวดนํ า Perrier นั นถูกตีตราไว้อย่าง<br />

น่าภาคภูมิใจว่า“ถูกรับรองโดยรัฐ” (Authorisée par l’État) แต่หากจะพิมพ์แบบนั นลงไปบนขวดโคคาโคล่า<br />

หรือกล่องชา PG Tips คงเป็นเรืองทีไม่น่าแม้แต่จะคิด<br />

ชาวอังกฤษและอเมริกันไม่ค่อยใช้คํานําหน้าสถาบันต่าง ๆ ด้วยคําว่ารัฐ เช่นคําว่า Staatsoper (ซึง<br />

แปลว่าโรงละครโอเปร่าของรัฐ) ส่วนมากทั งสองประเทศจะใช้คําว่า “แห่งชาติ” หรือ “ของหลวง” (หรือทั งคู่<br />

พร้อมกัน) และยังมีคําคุณศัพท์อีกมากมายเพือให้เข้ากับจุดประสงค์ อาทิ แห่งสหรัฐ สาธารณะ แห่งชาติ(แม้จะ<br />

พบได้น้อยมาก) และบ่อยครั งทีระบุเลยว่าเป็น “ของรัฐบาล” หรือ “รัฐบาลควบคุมดูแล” ทั งสหรัฐและอังกฤษ<br />

คุ้นเคยกับรัฐบาลดี แต่แทบจะไม่มีความเป็น“รัฐ”เลย เนืองด้วยจุดประสงค์ของการใช้ได้จริง ถ้าคําว่ารัฐจะ<br />

ปรากฏ ก็จะปรากฏในบริบทของการเหยียดหยาม เป็นทีเห็นได้ชัดว่าความชอบธรรมทางการเมืองใน<br />

วัฒนธรรมทีแทบจะปิ ดหูปิ ดตาใส่คําว่ารัฐนั นแสดงให้เห็นถึงปัญหาทีเด่นชัด และในทั งคลังคําศัพท์ทาง<br />

การเมืองนี การทดแทนด้วยสัญลักษณ์จึงเข้ามามีบทบาททางอุดมดารณ์ทีไม่จําเป็น ในขณะทีแนวคิดของคําว่า<br />

รัฐเองนั นถูกฝังลงไปในจิตสํานึกของชาติแล้ว<br />

ในอังกฤษ จุดมุ่งหมายทางอุดมการณ์เหล่านี นั นถูกปฏิบัติหน้าทีโดยสัญลักษณ์นิยมในสมัยก่อนทุน<br />

นิยม แต่นีไม่ได้หมายความว่าบทบาทของสัญลักษณ์นี ถูกกําหนดโดยบุคลักษณะของรัฐอังกฤษยุคก่อน<br />

สมัยใหม่ ในทางตรงกันข้าม จุดอ่อนทางแนวคิดและอุดมการณ์ของคําว่ารัฐในวัฒนธรรมอังกฤษนั นถูก<br />

กําหนดโดยพัฒนาการทีสมบูรณ์กว่าในช่วงแรกเริมของความสัมพันธ์สมัยใหม่ระหว่างรัฐและประชาสังคมซึ ง<br />

เกียวเนืองกับการเติบโตของระบบทุนนิยม มันไม่ได้ย้อนแย้งกันเลยแม้จะดูเป็นอย่างนั นในเรืองทีว่าแนวคิด<br />

ของรัฐถูกจํากัดความให้ชัดเจนเพียงเล็กน้อย ในขณะทีการแยกกันอย่างเป็นทางการระหว่างบุคลักษณะของรัฐ<br />

และประชาสังคมเกิดขึ นก่อนและ“เป็นไปตามธรรมชาติ”ทีสุด และแนวคิดดังกล่าวบรรลุวุฒิภาวะทางชุด<br />

ความคิดในหลายรัฐทีรักษาไว้ซึ งการผสมผสานของการเมืองและเศรษฐกิจในรูปแบบของระบอบกษัตริย์<br />

เบ็ดเสร็จและสิงทีสืบทอดต่อมาในสมัยใหม่ ในทีซึ งการเริมเป็นรูปเป็นร่างของประชาสังคมนั นเป็นโครงการ<br />

ของรัฐทีทุกคนตระหนักดี<br />

ราชวงศ์อังกฤษในฐานะเจตน์จํานงร่วม: ชาติ หรือ ชนชั น<br />

การให้เหตุผลของทอม แนร์น์เกียวกับราชวงศ์อังกฤษก็ถูกพลิกจากหน้ามือเป็นหลังมือได้ เขาอธิบาย<br />

ให้เราเข้าใจว่าลัทธิราชวงศ์แสดงให้เห็นถึงบุคลักษณะของรัฐอังกฤษในยุคก่อนสมัยใหม่ในแง่ทีสําคัญสองแง่:<br />

กษัตริย์ (the Crown) นั นถูกมองว่าเป็น “สิงทีเป็นศูนย์รวมเจตน์จํานงทางจิตใจของคนทั งชาติ” และในเมือชาติ<br />

27


ไม่มีอัตลักษณ์อืนนอกจากรัฐทีถูกสมมติขึ นมาผ่านราชวงศ์ทีแทรกซึมอุดมการณ์ของการแบ่งชนชั นสูงตํ าเข้า<br />

ไปในสังคม ซึ งส่อเป็นนัย ๆ ถึงการผสมผสานระหว่างรัฐและประชาสังคม<br />

แต่กลับเป็นฝรังเศส ไม่ใช่อังกฤษ ทีมีวัฒนธรรมอย่างเป็นระบบและยาวนานของวาทกรรมทาง<br />

การเมืองทีเกียวข้องกับเจตน์จํานงสาธาราณะหรือเจตน์จํานงร่วมทีหมกมุ่นกับการพยายามหาจุดทีจะเป็นแหล่ง<br />

ให้หลักการรวมเป็นหนึ งของสาธารณะ ซึ งเป็นจุดทีอิงอยู่กับการกระจายของระบอบศักดินาและการแบ่งแยก<br />

ดินแดนทีแบ่งแยกตัวการเมืองต่อไป อาทิ สถาบันผู้แทนนั นได้รับความเข้าใจอย่างชัดเจนว่าเป็นตัวแทนของสิง<br />

ทีเป็นรูปธรรมและมีร่วมกันอย่างเด่นชัด และในแต่ละสถาบันนั นก็มีจุดประสงค์ทีมีร่วมกันอย่างเด่นชัด หนึ ง<br />

ในคํากล่าวอ้างเพือปกป้องระบอบกษัตริย์เบ็ดเสร็จหลัก ๆ เลยคือการอ้างว่ากษัตริย์นั นเป็นจุดศูนย์รวมเจตน์<br />

จํานงสาธาราณชนของคนทั งชาติ ในขณะทีผู้อ้างสิทธิ ในอํานาจคนอืน ๆ นั นมีความ “พิเศษ” ด้วยพื นหลัง<br />

ดังกล่าวทําให้รุซโซ ได้คิดค้นทฤษฎี “เจตน์จํานงร่วม” ขึ นมาโดยการโจมตีระบอบเบ็ดเสร็จของฝรังเศสด้วย<br />

การยืนยันว่าเจตน์จํานงร่วมนั นอยู่ในตัวประชาชนหรือไม่ก็ไม่มีอยู่เลย<br />

ในทางตรงกันข้าม คนอังกฤษไม่เคยวุ่นวายกับการตั งคําถามเหล่านี เพราะพวกเขาไม่เคยต้องเผชิญหน้า<br />

กับความตึงเครียดของบุคลักษณะความเป็นระบอบเบ็ดเสร็จระหว่างการกระจายอํานาจและการรวบรวมอํานาจ<br />

เข้าสู่ศูนย์กลาง ทั งรัฐสภาและสถาบันไม่เคยขึ นชือว่าเป็น“สิงทีเป็นศูนย์รวมเจตน์จํานงทางจิตใจของคนทั ง<br />

ชาติ”ในแง่นี แน่นอนว่าอาจจะไม่มีความจําเป็นเลยทีจะต้องปลุกหลักการของความเป็นชาติขึ นมาเพราะว่ามัน<br />

ไม่เคยมีกลุ่มผู้สวามิภักดิ สิงอืนเข้ามาท้าทายอย่างรุนแรง หากแต่จะเป็นในส่วนทีไม่ใช่ประเทศอังกฤษของส<br />

หราชอาณาจักรมากกว่าทีสัญลักษณ์นิยมของรัฐถูกนํามาเป็นตัวแทนสังคมจินตกรรมของความเป็นชาติ ใน<br />

ส่วนทีเอกรัฐอังกฤษกําหนดให้ชาติอืน ๆ มีความเป็นหนึ งร่วมกับตนด้วยการยึดครองหรือการดองกันอย่างบีบ<br />

บังคับจากเบื องบน ทีสัญลักษณ์นิยมของสถาบันกษัตริย์ถูกทําให้เข้ามายืนแทนเอกภาพของชาตินั นเกียวข้อง<br />

เป็นพิเศษกับสิงเหล่านี แต่เบื องหลังโครงสร้างอันลึกลับนี มีความเป็นจริงเกียวกับสถาบันของความเป็นหนึ ง<br />

เดียวกันของชาติอังกฤษอยู่ บุคลักษณะทีมีมาตั งแต่แรกเริมและมีความเป็นหนึ งเดียวสูงของอังกฤษดําเนิน<br />

ต่อไปเพือกําหนดและทําให้ความสัมพันธ์กับหน่วยประกอบอืนในสหราชอาณาจักรมีความซับซ้อนและทําให้<br />

ชาติอืน ๆ ตกเป็นรองต่อโครงสร้างทีเป็นเอกภาพของอังกฤษ<br />

ในอังกฤษเอง ความเป็นเอกภาพของชาติไม่ได้ถูกประกอบสร้างอย่างน่าพิศวงเทียบเท่ากับการถูก<br />

ทึกทักว่ามีอยู่จริงในฐานะสถาบันหนึ ง ตัวอย่างเช่น รัฐสภาได้ทําหน้าทีเป็นหน่วยงานระดับชาติอันมีเอกรัฐอัน<br />

โดดเด่นมาอย่างยาวนาน และซึ งต่างอย่างสินเชิงกับหน่วยงานการปกครองระบบผู้แทน (representative<br />

institutions) ของฝรังเศส อังกฤษในอย่างน้อยทีสุดจากศตวรรษทีสิบหกยึดถือว่าหน่วยงานดังกล่าวของตนเป็น<br />

ตัวแทนของ “ทั งราชอาณาจักร” แม้กระทังสภาขุนนางและสภาสามัญชน (ทีแม้ว่าโดยทัวไปจะถูกพิจารณาว่า<br />

เป็น “ฐานันดร” อันแตกต่างกัน) เช่นเดียวกันกับสภาฐานันดรของฝรังเศส หาได้สะท้อนถึงการแบ่งแยกเป็น<br />

กลุ่มอย่างสมบูรณ์แบบระหว่างเหล่าขุนนางและสามัญชน การบริหารอันเป็นเอกลักษณ์ของระบบตัวแทน<br />

รัฐสภาบนพื นฐานจากบรรดาหน่วยงานผู้แทนท้องถินเองก็หาได้บ่งชี ถึงการมีอํานาจอย่างต่อเนืองของหลักการ<br />

บริหารร่วม (corporate principles) ในทางกลับกัน มันกลับเป็นพยานหลักฐานว่าหลักการดังกล่าวอยู่ภายใต้การ<br />

ควบคุมของอํานาจอธิปไตยหนึ งเดียวของชาติซึ งถูกแบ่งแยกตามเขตภูมิศาสตร์ สมาชิกแต่ละคนในรัฐสภาถูก<br />

พิจารณาให้เป็นผู้แทนของไม่เพียงแต่ผลประโยชน์ท้องถินแต่ยังรวมถึงผลประโยชน์ของชาติอันเป็นหนึ งเดียว<br />

28


การยอมรับเงือนไขนี ยังนําไปสู่หลักการทีว่าแม้ว่าบุคคลจะปฏิเสธการใช้สิทธิเลือกตั ง ไม่ว่าจะด้วยเพราะไม่ได้<br />

อาศัยในเขตทีมีสิทธิหรือขาดคุณสมบัติครองครอบทรัพย์สินเพือมีสิทธิเลือกตั ง สิทธิของพวกเขายังคง “มีอยู่”<br />

ในรัฐสภา กล่าวคือ ทุกคนทีมีส่วนในผลประโยชน์ของชาติต่างจะได้รับสิงทีเอ็ดมันด์ เบิร์กจะเรียกในศตวรรษ<br />

ทีสิบแปดว่า การแทนสิทธิ “โดยปริยาย”<br />

เมือพิจารณาในแง่นี แน่นอนว่า ความคิดเรืองผลประโยชน์ของชาติอันเป็นหนึ งเดียวจึงเป็นเพียงเรือง<br />

แต่งทางอุดมคติ แต่สิงทีเป็นเรืองแต่งในวาทกรรมนี หาใช่การแสดงภาพของรัฐอังกฤษในฐานะโครงสร้าง<br />

ประเภทเอกรัฐ ตัวอย่างเช่น สิงทีเป็นภาพลวงตาในทฤษฎีการเป็นผู้แทนโดยปริยายไม่ใช่รัฐชาติอังกฤษ แต่<br />

เหนือสิงอืนใดคือการมีเอกภาพของประโยชน์ท่ามกลางความแตกต่างทางชนชั นและทรัพย์สิน ดังทีกล่าวว่าผู้มี<br />

กรรมสิทธิ ทีดินฉบับคัดลอกซึ งปราศจากสิทธิในการออกเสียงหรือกรรมกรผู้ปราศจากสิทธิในการครอบครอง<br />

ทีดิน หาได้มี “สิทธิ” ในรัฐสภาน้อยไปกว่าเหล่าผู้มีอภิสิทธิ ครอบครองทีดินและเลือกตั ง กระนั น ในอังกฤษ<br />

ดังทีต่างจากฝรังเศสทีความแตกต่างทางเศรษฐกิจผูกโยงอย่างทันทีทันใดกับสิทธิพิเศษทางองค์กร (corporate<br />

privilege) และขอบเขตทางกฎหมายทีแตกแยกออกเป็นหลายส่วน ความสัมพันธ์ทางทรัพย์สินทีแพร่หลาย การ<br />

แบ่งแยกทีกําลังแผ่ขยายระหว่าง “รัฐ” และ “ภาคประชาสังคม” เปิ ดโอกาสอย่างทีไม่เคยมีมาก่อนให้สามารถ<br />

แยกความเป็นเอกภาพทางการเมือง (political unity) ออกจากความไม่เป็นเอกภาพทางสังคม (social disunity)<br />

สําหรับการจําแนกทรัพย์สินและลําดับขั น การพิจารณาสามารถกระทําได้บนพื นฐานของระดับทางอุดมการณ์<br />

ทีต่างออกไป<br />

ข้อสังเกตการณ์นี จึงนําเรามาสู่คํากล่าวของแนร์น์ทีว่าระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์คือสัญลักษณ์ของ<br />

ชนชั น แน่นอนว่าราชวงศ์อังกฤษนังอยู่ ณ จุดสูงสุดของโครงสร้างทางอุดมการณ์ซึ งหล่อเลี ยงหลักการ<br />

ปกครองก่อนระบบทุนนิยมตามลําดับขั น (สิงทีแนร์น์เรียกว่า “ชนชั น”) ดังทีต่างจากความสัมพันธ์ของชน<br />

ชั นในระบบทุนนิยม (คําว่า ชนชั น ซึ งปราศจากเครืองหมายอัญประกาศ) ในประเด็นเรืองความสําเร็จของ<br />

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในการข่มระงับการตระหนักรู้ทางชนชั นสมัยใหม่ ข้อถกเถียงอาจเกิดขึ นได้<br />

วัฒนธรรมทาง “ชนชั น” ไม่ว่าจะในทางใด ไม่อาจกล่าวได้ว่าทําให้ชนชั นแรงงานของอังกฤษอ่อนข้อลงหรือ<br />

ลดทอนความขัดแย้งอันรุนแรงทางชนชั น ในอังกฤษ ลัทธิกษัตริย์ แน่นอนว่าไม่ได้หยุดยั งกลุ่มแรงงานจากการ<br />

เข้าไปมีส่วนร่วมมากขึ นในข้อพิพาทแรงงานต่าง ๆ ซึ งมากกว่ารัฐส่วนใหญ่ในโลกระบบทุนนิยมก้าวหน้าและ<br />

แน่นอนว่ามากกว่าฝรังเศสซึ งไม่มีการรวมตัวกันของชนชั นแรงงาน ชะตาของอุตสาหกรรมอังกฤษได้รับ<br />

ผลกระทบอย่างฝังรากลึกจากรูปแบบความขัดแย้งอย่างรุนแรงทางชนชั นจากอิทธิพลระบบทุนนิยมอันเป็น<br />

เอกลักษณ์มากกว่าการยึดติดอย่างไม่เข้าสมัยต่อซากหลงเหลือทีตกทอดจากระบอบการปกครองโบราณ<br />

อย่างไรก็ดี ไม่อาจปฏิเสธได้ว่าอุดมคติเรือง “ชนชั น” ยังคงสร้างความสับสนและซับซ้อนในประเด็นปัญหา<br />

ระหว่างชนชั น ให้ความสําคัญอย่างเกินควรไปกับประเด็นเรืองรูปแบบ, ภาษา, และการแบ่งแยกทางวัฒนธรรม<br />

โดยแท้จริงยังมีความประหลาดบางอย่างในวัฒนธรรมทีได้รับอิทธิพลอย่างแพร่หลายจากตรรกะทาง<br />

ระบบทุนิยมซึ งถึงอย่างไรก็ดียังคงพึ งพาหลักการขับเคลือนเศรษกิจแบบพิเศษ (extra-economic principles)<br />

ของสถานะ รูปแบบ และความแตกต่างทางวัฒนธรรม เปลียนผันเป็นมุ่งเน้นแทนทีจะอําพรางความไม่เท่าเทียม<br />

เพือมอบการสนับสนุนทางอุดมการณ์แด่ระบบชนชั น จึงไม่เป็นทีน่าแปลกใจว่าการอยู่รอดของ “ชนชั น” (จาก<br />

การเผชิญกับภาระหน้าทีในโลกระบบทุนนิยม) สามารถอธิบายอีกครั งได้ด้วยการพิจารณาข้อเท็จริงทีว่า<br />

29


ความสัมพันธ์ทางชนชั นทุนนิยมเกิดขึ นเองโดยธรรมชาติและโดยปราศจากการตระเตรียม เป็นผลลัพธ์จาก<br />

กระบวนการตระหนักรู้ภายในถึงความสัมพันธ์ทางสังคมของอังกฤษในช่วงก่อนระบบทุนนิยม ด้วยเหตุนี ก็<br />

เฉกเช่นเดียวกันว่าการปฏิรูปทางสังคมจะมีแนวโน้มเป็นเสมือนการได้ไวน์รูปแบบใหม่ในขวดเก่า แต่กระนั น<br />

การมุ่งความสนใจไปทีขวดเก่าโดยละเลยพิจารณาไวน์ใหม่ก็อาจเป็นการพิจารณาอย่างผิดประเด็นหาก<br />

ปรากฏผลสืบเนืองว่าคุณสมบัติของระบบทุนนิยมก่อร่างมาจากเศษส่วนเหลือจากยุคก่อนสมัยใหม่<br />

ชนชั นปกครองของอังกฤษเผชิญกับภารกิจทีไม่เคยมีมาก่อนในประวัติศาสตร์ การเติบโตของระบบ<br />

ทุนนิยมในช่วงแรกบันทอนหลักการดั งเดิมของการจัดลําดับช่วงชั น (stratification) ทีซึ งสถานะภาพทาง<br />

เศรษฐกิจไม่อาจแยกขาดจากสถานะ “เศรษฐกิจแบบพิเศษ” (extra-economic) ระบบทุนิยมมีแนวโน้มทีจะ<br />

ชําระล้างชนชั นของกับดักทางเศรษฐกิจแบบพิเศษ “ทีถูกบังคับใช้” และโดยทัวไปเป็นปรปักษ์กับตรรกะ<br />

เหตุผลของชนชั นบนพื นฐานของหลักการเศรษฐกิจแบบพิเศษของการจัดลําดับขั น ตัวอย่างเช่น ระบบทุนนิยม<br />

เป็นปรปักษ์กับประเภทอุดมการณ์ทีสนับสนุนลําดับศักดินา ซึ งยึดถือว่าลําดับขั นทางสังคมซึ งถูกกําหนดไว้<br />

แล้วโดยอํานาจเบื องบนเป็นส่วนหนึ งในสายโซ่ยิงใหญ่ของสรรพสิง (Great Chain of Being) หนึ งในความ<br />

ย้อนแย้งอันเป็นแบบฉบับของประวัติศาสตร์อังกฤษคือการทีความต้องการพิเศษต่าง ๆ ของระบบทุนนิยมถูก<br />

สนองผ่านการส่งเสริมและคํ าจุ้นบรรดาอุดมการณ์เก่า แต่เนืองจากหลักการ “เศรษฐกิจแบบพิเศษ” ของความ<br />

เหลือมลํ าทางองค์กรหรือทางกฎหมายในยุคก่อนระบบทุนนิยมเป็นทีแพร่หลายน้อยลงทุกที ภาระจึงถูกหันเห<br />

ไปยังการเน้นอย่างเกินจริงและน่าขันในประเด็นเรืองรูปแบบ วัฒนธรรม และภาษา<br />

ทว่าบางทีคําถามอาจไม่ใช่เพราะเหตุใดอุดมการณ์เรืองชนชั นจึงกลายมาอยู่ในรูปแบบเช่นนี แต่ดูท่าจะ<br />

เป็นเพราะเหตุใดอุดมการณ์ดังกล่าวจึงเข้ามามีบทบาทสําคัญอย่างโดดเด่นในวัฒนธรรมอังกฤษ ทุกสังคมชน<br />

ชั นต่างยึดถือบรรดาอุดมการณ์เพือสร้างความชอบธรรมให้แก่ระบบลําดับชนชั นของตนเองแต่ “ชนชั น” ใน<br />

อังกฤษดูเหมือนจะมีภารกิจทียิงใหญ่กว่า ประวัติศาสตร์เริมแรกของรัฐอังกฤษปูทางให้รัฐสามารถแพร่ขยาย<br />

อุดมการณ์เรืองความเป็นชาติอันแรงกล้าเพือสนับสนุนให้เกิดความเป็นหนึ งเดียวกันของประชากร กระนั น ณ<br />

ทีนี ซึ งเร็วกว่ามากโขกว่าทีอืน อุดมการณ์การปกครองถูกเรียกร้องให้ประกอบด้วยข้อขัดแย้งและความวุ่นวาย<br />

ในอีกระดับหนึ ง ไม่ใช่การแตกแยกทางการเมืองของระบบอํานาจอธิปไตยทีถูกแบ่งแยกหรืออํานาจกฎหมายที<br />

แข่งขันกัน แต่ในระดับของความเป็นปรปักษ์ของความสัมพันธ์ชนชั นทาง “เศรษฐกิจ” เท่านั นซึ งแบ่งแยกออก<br />

จาก “การประดับประดา” ทางการเมือง สิงนี ยังอาจนําไปสู่ความจริงทีว่าในอังกฤษ อุดมการณ์เรือง “ชนชั น”<br />

ประกอบด้วยภาระในการครอบครองอํานาจมากกว่าความคิดเรือง “ชาติ”<br />

การปฏิวัติของเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>และรัฐสมัยใหม่อันสมบูรณ์แบบ?<br />

แล้วรัฐสมัยใหม่และการปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong>เชือมโยงกันอย่างไร? กรณีแม่แบบเช่นในฝรังเศส ตรรกะเชิง<br />

เผด็จการของการครอบครองอํานาจทางการเมืองและการถือครองทรัพย์สินอันได้มาจากสิทธิทางการเมือง ซึ งมี<br />

อิทธิพลอย่างกว้างขวางในรัฐดังกล่าวทีขับเคลือนด้วยการเก็บภาษี ไม่ได้ถูกเปลียนผันโดยการปฏิวัติอย่าง<br />

ทันทีทันใดและอย่างสมบูรณ์แบบแม้ว่าการปฏิวัติจะเปิ ดโอกาสให้เหล่าบูชัวร์ ‘มากพรสวรรค์’ ได้เข้าถึง<br />

ทรัพยากรกําไรงามเพียงใด (และความสําคัญของแม้กระทังการเปลียนแปลงนี ก็ไม่ควรถูกกล่าวอย่างเกินเหตุ<br />

30


เพราะประวัติศาสตร์การเข้าถึงอํานาจของเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>นั นมีอย่างยาวนานก่อนหน้าแล้ว เป็นภัยร้ายทีระดม<br />

และขับเคลือนเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ร์ไปสู่การปฏิวัติ) ตัวอย่าง เช่น คําอธิบายฝรังเศสในสมัยหลังการปฏิวัติในงาน<br />

เขียน การรัฐประหาร บรูว์แมร์ ของมาร์กซ์ ยังคงประกอบด้วยร่องรอยของรูปแบบก่อนการปฏิวัติ ระบุว่า<br />

เป็น “องค์กรระบบราชการและทางทหารขนาดใหญ่”, “ร่างปรสิตอันน่าสะพรึงกลัว” ทีซึ งผลประโยชน์ทาง<br />

วัตถุของเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ชาวฝรังเศสส่วนใหญ่มักคาบเกียวและทับซ้อนกันอย่างใกล้ชิด มันคือเครืองจักทีจัดหา<br />

อาชีพให้แก่ประชากรส่วนเกินและทดแทนสิงทีไม่อาจนําเข้ากระเป๋ าในรูปแบบกําไร ดอกเบี ย ค่าเช่า และ<br />

ค่าธรรมเนียมด้วยเงินเดือนรัฐ<br />

อันทีจริง มันยังคงเป็นทีตั งคําถามว่า ในฝรังเศส เคยมีการเป็นปรปักษ์กันอย่างชัดเจนระหว่างกลุ่มชน<br />

ชั นสูงก่อนระบบทุนิยมและกลุ่ม<strong>กระฎุมพี</strong>ระบบทุนิยมดํารงอยู่จริงหรือไม่ ประเด็นซึ งแอนเดอร์สันได้กล่าวว่า<br />

เป็นแรงพลักดันหลักของการพัฒนาระบบทุนิยมอย่างพลวัตและสมบูรณ์แบบ หากอังกฤษปราศจากแรงตึง<br />

เครียดอย่างพลวัตอันสลักสําคัญระหว่างกลุ่มระบบทุนิยมและกลุ่มก่อนระบบทุนนิยมเพราะเหล่าชนชั นสูงก็<br />

ดําเนินรอยตามระบบทุนนิยมเทียบเท่ากับเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong> แรงตึงเครียดดังทีกล่าวว่ามีในฝรังเศษก็ขาดหาย<br />

เช่นกันเพราะเหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ก็หาได้เป็นนักทุนนิยมมากไปกว่าเหล่าชนชั นสูง ด้วยเหตุนี กลุ่มใดกันทีมีความ<br />

“ก้าวหน้า” หรือ “มีความสมัยใหม่” มากกว่า?<br />

การเปลียนผันของรัฐจากผลกระทบของการปฏิวัติและนโปเลียนแน่นอนว่าในระยะยาวนําไปสู่การ<br />

พัฒนาระบบทุนนิยมในฝรังเศส แต่ไม่ว่าการปฏิวัติจะนํามาซึ งความสําเร็จคณานับเพียงใด ชัยชนะของชนชั น<br />

ทุนนิยมผู้มันใจแรงกล้าหาใช่หนึ งในความสําเร็จนั น แม้กระทังทุกวันนี หลังจากการปฏิวัติกว่าสองร้อยปี<br />

“ความเป็นสมัยใหม่” ของฝรังเศสและวัฒนธรรมทรงอิทธิพลของมันยังคงเป็นทีตั งคําถาม บรรดาการสืบเนือง<br />

จากยุคก่อนสมัยใหม่ของฝรังเศสในยุคสมัยใหม่สามารถถูกรวมเป็นรายการได้อย่างมากคณาไม่น้อยไปกว่า<br />

รายงานบทสรุปการเสือมถอยของอังกฤษในบทความแนร์น-แอนเดอร์สัน เช่น ระบบราชการของฝรังเศส,<br />

วัฒนธรรมตามระบอบการปกครองแมนดาริน, และสถาบันวิชาการชั นนําสําหรับตําแหน่งทางราชการ<br />

วัฒนธรรมซึ งพิจารณาว่าราชการพลเรือนคืออาชีพทีมีเกียรติสูงสุด อาชีพทียังคงครอบครองเป็นส่วนใหญ่จาก<br />

การสืบทอดกันในกลุ่มชนชั นสูง เป็นบรรดาลักษณะการปฏิบัติงานทีต่างมีรากมาจากรัฐระบอบเผด็จการก่อน<br />

การปฏิวัติซึ งมีอาชีพราชการเป็นทรัพยากรหลักทางเศรษฐกิจ วัฒนธรรมทางราชการดังกล่าวนี ยังแผ่ขยายไปสู่<br />

ระบบอุตสาหกรรมซึ งในฝรังเศสปรากฏผ่านการผสมผสานอย่างน่าทึ งของตําแหน่งการจัดการและหัวหน้า<br />

คนงาน อันเป็นไปได้ว่าอยู่บนหลักเผด็จการการอันแปลกประหลาดในการกําจัดบรรดาผู้มีแนวโน้มเป็นปริ<br />

ปักษ์ด้วยการเพิมตําแหน่งและสิทธิพิเศษ กล่าวได้ว่า เหล่า<strong>กระฎุมพี</strong>ในฝรังเศสไม่เคยละทิงทัศนคติดังผู้ลงทุน<br />

หรือผู้ให้เช่าดั งเดิมของตนเอง รูปภาพล่าสุดของมีแตร็องจึงมาพร้อมกับคําเกรินว่า “ผมใช้ชีวิตวัยเด็กในอีก<br />

ประเทศหนึ ง” กล่าวโดยฟร็องซัว มีแตร็อง เกิดในปี บุตรชายของผู้ผลิตนํ าสมสายชู ผู้<strong>กระฎุมพี</strong>เกินและ<br />

ทะนงตนเกินกว่าจะพบปะกับลูกค้าของตนเอง “ผมต้องใช้ความพยายามอย่างมากในการกระโดดมาสู่ศตวรรษ<br />

ปัจจุบันนี ” แต่แม้กระทังใน “ศตวรรษปัจจุบัน” นี วัฒนธรรมการบริหารและจัดการของฝรังเศส ซึ งเพิงปรากฏ<br />

สัญลักษณ์การปรับตัวเข้ากับค่านิยมของผู้ประกอบการและแรงกดดันทางการแข่งขันในตลาดนานาชาติอย่าง<br />

สมบูรณ์แบบไม่กีทศวรรษทีผ่านมา ยังคงเต็มไปด้วยหลักการอันล้าสมัยละเอียดซับซ้อนของการยึดถือลําดับ<br />

ขั น, พิธีรีตอง, ความเป็นทางการในรูปแบบและความสัมพันธ์ส่วนตัว, เครือข่ายการอุปถัมภ์ของชนชั นสูงซึ งฝัง<br />

31


รากลึกในสถาบันทรงอิทธิพลต่าง ๆ, อํานาจเผด็จการในมือของผู้อุปถัมภ์, และระบบค่านิยมซึ งบูชาแนวคิด<br />

นามธรรมมากกว่ากระบวนการผลิต<br />

การยึดติดกับยศตราของฝรังเศส (ในกรณีทีไม่พิจารณารวมสหภาพเวียต ฝรังเศสมักถูกกล่าวว่าเป็ น<br />

ประเทศทีมีติดการยศตรามากทีสุดในโลก) คือผลผลิตการผสมผสานอันแปลกประหลาดของความเป็น<br />

สมัยใหม่เข้ากับการอวดอ้างระบอบราชวงศ์ดั งเดิมของนาโปเลียน แม้กระทังว่าการปฏิวัติและผู้สืบทอดอํานาจ<br />

จากนาโปเลียนจะนําความสําเร็จมาในทันใด นําความเป็นเอกภาพและการรวมอํานาจการปกครองมาสู่รัฐทีเคย<br />

แตกแยกเป็นเศษส่วนเกินเยียวยา สิงทียังคงดํารงอยู่อย่างเต็มเปี ยมคือขนบธรรมเนียมภูมิภาคนิยมและท้องถิน<br />

นิยมอันแรงกล้าและบรรดาตระกูลการเมืองของเหล่าผู้ทรงอิทธิพลท้องถินซึ งยังคงเป็นปัจจัยหลักในการเมือง<br />

ฝรังเศสยุคสมัยใหม่ดังเช่นทีบรรดาชาวนาชาวฝรังเศสคือจิตวิญญาณสําคัญในนโยบายเกษตรกรรมร่วมของ<br />

ยุโรป (Europe’s Common Agricultural Policy) ขนบธรรมเนียมปัญญาชนของฝรังเศสซึ งทฤษฎีแนรน์และ<br />

แอนเดอร์สันพิจารณาว่าเป็นแบบอย่างของกลุ่มประจักษ์นิยมชาวอังกฤษทีเสือมถอย ได้รับอิทธิพลอย่างน้อย ๆ<br />

มาจากขนมธรรมเนียมแมนดาริน, อัสสมาจารย์นิยม (scholasticism) ในยุคก่อนสมัยใหม่, และจากมรดกตก<br />

ทอดอันยาวนานของระบบการศึกษาเยซูอิตซึ งได้ถูกปรับปรุงใหม่ให้สัมพันธ์กับทางโลกมากขึ นในระบบ<br />

การศึกษามัธยมลีเซของนาโปเลียน (กระทังชือยังมีนัยยะถึงอัสสมาจารย์นิยมของอริสโตเติล) เหล่าอิทธิพลซึ ง<br />

แผ่ขยายเช่นเดียวกันมาสู่บรรดาอิทธิพลสมัยใหม่ของ “การปฏิวัติ<strong>กระฎุมพี</strong>” ไม่มีสิงใดทีจะปรากฏ<br />

พยานหลักฐานของมรดกตกทอดพระเยซูอิต (ซึ งมุ่งเน้นการศึกษาวาทศิลป์ เก่าแก่) มากไปกว่าปรัชญาฝรังเศส<br />

การพัฒนาระบบทุนนิยมอันโดดเด่นของอังกฤษ ซึ งแตกต่างจากมรดกตกทอดในช่วงก่อนระบบทุน<br />

นิยมของฝรังเศสถูกสังเกตและสรุปความไว้ได้อย่างดีในบทความหนังสือพิมพ์ “ทําไมการเรียกนางแทตเชอร์<br />

ว่านักพูจาดิสต์นิยม จึงผิดอย่างยิง” เมือไม่นานมานี อย่างไรก็ดี แม้ว่าพูจาดและแทตเชอร์จะเติบโตมาในชนชั น<br />

ระดับกลางอย่างตํ าเหมือนกัน โครงสร้างชนชั นดังกล่าวของในอังกฤษและฝรังเศสแตกต่างกันอย่างสินเชิง:<br />

ในอังกฤษ เจ้าของกิจการมักมีทัศนคติหวาดกลัวจากการเป็นชนกลุ่มน้อยในชาติทีประกอบด้วยชนชั นกรรม<br />

อาชีพเป็นหลัก พวกเขาแสวงหาหนทางทีจะแบ่งแยกตนเองออกจากเหล่าเพือนบ้านทีเกียรติตํ ากว่าและพยายาม<br />

ดําเนินรอยตามการดํารงอยู่ในแบบฉบับสังคมทีดีกว่า โลกทีบ่มเพาะความใจแคบและทัศนคติว่าตนเองสูงส่ง<br />

กว่า ทว่า ในบรรดาเมืองเล็กทางใต้ของฝรังเศส เหล่าเจ้าของกิจการและเจ้าของทีดินขนาดเล็ก เช่น ชาวนาและ<br />

ช่างฝี มือ คือประชากรส่วนใหญ่และจึงปราศจากชนชั นกรรมาชีพอันสลักสําคัญให้หวาดกลัวหรือเดียดฉัน<br />

ค่านิยมเดียวทีนางแทตเชอร์สืบทอดได้จากชนชั นระดับกลางอย่างตํ าของเธอ หรือจะว่าเป็นเพียงค่านิยมเดียว<br />

ของชนชั นดังกล่าวก็ว่าได้ คือการแสวงหาการเปลียนสถานภาพทางสังคม กล่าวคือ ความปรารถนาทีจะหลุด<br />

พ้นจากชนชั นเช่นนั นในขณะทีพูจาดแสวงหาหนทางเพือพัฒนาชนชั นของเขา ในขณะทีนางแทตเชอร์กล่าว<br />

ด้วยนํ าเสียงของคุณครูอย่างมีวาทศิลป์ และพิจารณาว่าดัลวิชเป็นเมืองทีห่างไกลเมืองใหญ่เกินไป พูจาดกล่าวโอ้<br />

ด้วยนํ าเสียงชาวเมืองโอแวร์ญและยืนหยัดดังเดิมทีชุมชนเซนต์ซีรี<br />

นอกจากนี หากการปฏิวัติของอังกฤษเกิดขึ นเร็วเกินไป วี.จี. เคียร์นานแนะในบทวิจารณ์หนังสือแก้ว<br />

เสน่หา ของทอม แนร์น์ว่า:<br />

การปฏิวัติฝรังเศสเกิดขึ นอย่างล่าช้า อย่างล่าช้าเสียจนกระทังระบบหรือกลไกหลายอย่างทีก่อกําเนิด<br />

และพัฒนาในยุคระบอบเผด็จการเกือบคงอยู่อย่างไม่อาจถูกกําจัดได้ ชาวอังกฤษยอมรับการนํา<br />

32


ของครอมเวลล์ ในฐานะ “ผู้นําของประชากร” ชาวฝรังเศสมอบคลานแทบเท้าของนโปเลียนผู้<br />

ปราบดาภิเษกตนเอง และมันไม่ใช่เพียงการกลับมาสู่ระบอบการปกครองอัตาธิปไตยของพวกเขา<br />

เท่านั น<br />

“ช้าเกินไป” อาจเป็นคํากล่าวซึ งเป็นทีตั งคําถามได้ไม่ต่างจาก “เร็วเกินไป” ทั งสองต่างพึ งพากระบวน<br />

ทัศน์<strong>กระฎุมพี</strong>เพือคงมาตรฐานความถูกต้องประวัติศาสตร์และความเป็นปกติ แต่อย่างน้อยทีสุดทีสามารถกล่าว<br />

ได้ก็คือความแตกต่างระหว่างระบบทุนนิยมของอังกฤษและของฝรังเศสไม่มีความข้องเกียวใดเลยกับการยึดติด<br />

กับบรรดาขนบเก่าแก่ของอังกฤษและการบอกลาอดีตยุคก่อนสมัยใหม่ทีสมบูรณ์กว่าของฝรังเศส<br />

33


บทที 4<br />

ชนชั นกลางในยุโรป[*]<br />

เยอร์เก้น ค็อกค้า<br />

มโนทัศน์ใดทีคนยิงอยากใช้กันเท่าไร มโนทัศน์นั นยิงไม่เทียงตรง และมโนทัศน์ “ชนชั นกลาง” ก็เป็น<br />

ตัวอย่างทีดีของมโนทัศน์แบบนี “ชนชั นกลาง” เป็นมโนทัศน์ศูนย์กลางของการอภิปรายทางการเมืองมาตั งแต่<br />

ปลายศตวรรษที ถึงปัจจุบัน และพร้อมกันนั นมโนทัศน์นี ก็ก่อตัวและเปลียนแปลงตามการอธิปรายทาง<br />

การเมืองในแต่ละยุคสมัย นอกจากนี มันก็ยังเป็นมโนทัศน์สําคัญทีใช้ในการชี นําการตีความทางประวัติศาสตร์<br />

อีกสารพัดในยุคสมัยใหม่อีกด้วย และในช่วงไม่กีปี มานี ประวัติศาสตร์ชนชั นกลางก็ได้กลายมาเป็นประเด็น<br />

สําคัญอีกครั งโดยเฉพาะในการศึกษาประวัติศาสตร์แถบยุโรปกลาง [1]<br />

อย่างไรก็ดี “นักศึกษาปริญญาตรีไม่รู้กีรุ่นต่อกีรุ่นก็คิดว่าคําว่า ‘ชนชั นกลาง’ นี คือความยุ่งเหยิง มันคือ<br />

สนามรบ หรือกระทังเป็นกล่องแพนโดร่า แต่ทีแน่ๆ คือ นิยามมันเปลียนไปมาตลอดราวกับกิงก่าเปลียนสี” [2]<br />

ในภาษาอังกฤษ คําว่า “middle class” ไม่เหมือนคํานี ในภาษาฝรังเศส (bourgeoisie) เยอรมัน (Bürgertum) และ<br />

อิตาลี (borghesia) และนีก็ยังไม่ต้องพูดถึงคํานี ในภาษาโปแลนด์ (Miezczanstwo) และรัสเซีย (mescane) ทียิงดู<br />

ห่างไปอีก ในบางภาษา (โดยเฉพาะเยอรมัน) มโนทัศน์นี มีความหมายอีกหลายชั น ตั งแต่ “bürgher” (ใน<br />

ความหมายของคนทีอยู่ในเมืองยุคกลางหรือสมัยใหม่ตอนนั นทีมีนัยยะว่ามีอภิสิทธิ ทางกฎหมายบางอย่าง) ไป<br />

ถึง “middle class” หรือ “bourgeois” ไปจนถึง “citizen” ความหมายมันเปลียนไปตามกาลเวลา หน้าทีของมัน<br />

ทั งในเชิงการใช้บรรยาย การใช้วิเคราะห์ และการใช้บอกสภาวะบางอย่างของมโนทัศน์นี ก็ซ้อนทับกันไปมา<br />

และก็ยังไม่ต้องนับว่ามันไม่ใช่เป็นคําทีเป็น “คํากลาง” ทีใช้โดยผู้สังเกตปรากฎการณ์และนักประวัติศาสตร์<br />

เท่านั น แต่มันยังมีบทบาทเป็นคําทีใช้เพือในการจุดประเด็นชวนทะเลาะหรือยืนยันอะไรบางอย่างในการ<br />

ถกเถียงสาธารณะ การวิจารณ์สังคม ไปจนถึงการฉายภาพสังคมอุดมคติ อย่างซํ าแล้วซํ าเล่า [3]<br />

อย่างไรก็ดีคําว่า “ชนชั นกลาง” ก็มีแนวโน้มทีความหมายต่างๆ จะโน้มเอียงเข้าหากันในงานเขียนยุค<br />

ปัจจุบัน อย่างน้อยๆ ทุกวันนี ในงานทีเขียนเกียวกับ “ศตวรรษที อันยาวนาน” (ทีจริงๆ เริมตั งแต่ศตวรรษที<br />

และจบลงตอนสงครามโลกครั งที ) มโนทัศน์ “ชนชั นกลาง” ในบริบทนี ก็ประกอบไปด้วยพ่อค้า ผู้ผลิต


อุตสาหกรรม นายธนาคาร นายทุน ผู้ประกอบการ ผู้จัดการ ไปจนถึงพวกเจ้าทีดิน ซึ งความหมายนี ก็รวมไปถึง<br />

ครอบครัวของบุคคลเหล่านี ด้วย (ในภาษาเยอรมันจะเรียกรวมว่า Wirtschaftsbürgertum ซึ งแปลว่าชนชั นกลาง<br />

ทางเศรษฐกิจ) นอกจากนี ชนชั นกลางก็ยังประกอบไปด้วยครอบครับของหมอ ทนาย หมอสอนศาสนา<br />

นักวิทยาศาสตร์ และคนทีมีอาชีพอืนๆ อย่าง อาจารย์มหาวิทยาลัย อาจารย์โรงเรียนมัธยม ปัญญาชน<br />

นักวิชาการ ซึ งนีรวมทั งคนทีทํางานทั งในภาครัฐและเอกชนเข้าด้วยกันแล้ว (ในภาษาเยอรมันจะเรียกรวมว่า<br />

Bildungbürgertum ซึ งแปลว่าชนชั นกลางทางวัฒนธรรม)<br />

“ชนชั นกลาง” นั นไม่รวมพวกขุนนาง ชาวนา คนใช้แรงงานระดับล่าง ไปจนถึงชนชั นล่างโดยทัวไป<br />

แม้ว่าก็อาจมีข้อถกเถียงได้ว่าเส้นแบ่งจริงๆ มันอยู่ตรงไหน นอกจากนี ก็มีกลุ่มคนทีอยู่ระหว่างกลางและอาจถูก<br />

จัดเป็นชนชั นกลางหรือไม่ก็ได้ ซึ งคนกลึ มนี ก็ได้แก่ทหารและศิลปิ น และมันก็มีคนอีกหลากหลายทีสถานะ<br />

ทางสังคมเปลียนไปจนมีคําถามว่ายังเป็นชนชั นกลางอยู่หรือไม่ เช่น พวกช่างฝี มือ พ่อค้าปลีก เจ้าของโรงเตียม<br />

คนเหล่านี เป็น “คนเมือง” (bürgertum) แน่ๆ ในช่วงสมัยใหม่ตอนต้น และคนพวกนี ก็ต้องเป็นส่วนหนึ งของ<br />

ชนชั นกลางแน่ๆ ในศตวรรษที และต้นศตวรรษที และเมือเวลาผ่านไป คนพวกนี ก็ค่อยๆ เคลือนไปที<br />

ชายขอบของความเป็นชนชั นกลาง ช่วงท้ายของศตวรรษที และในศตวรรษที คนพวกนี ก็จะถูกจับไป<br />

รวมกับพนักงานกินเงินเดือนระดับล่างรวมถึงพวกมืออาชีพทีค่าแรงตํ าทั งจากภาครัฐและเอกชน และรวมกัน<br />

เป็นกลุ่มคนทีเรียกว่า “ชนชั นกลางล่าง” (ซึ งภาษาเยอรมันคือ Kleinbürgertum และภาษาฝรังเศสคือ petite<br />

bourgeoisie) ซึ งก็มีนัยยะว่าคนเหล่านี ก็ไม่ใช่ชนชั นกลางอย่างทีมันควรจะเป็นซะทีเดียว [4]<br />

ในบทความนี จุดเน้นก็คือชนชั นกลางอย่างทีมันควรจะเป็น (อย่างน้อยๆ ก็เท่าทีเป็นไปได้) ในช่วง<br />

ศตวรรษที ในเยอรมนี ในยุคนี ชนชั นกลางและครอบครัวคิดเป็นราวเพียง % ของประชากรเท่านั น นีเป็น<br />

สิงทีสอดคล้องกับอัตราส่วนของประชากรในเขตเมืองและชนบท ซึ งแต่ละประเทศก็มีอัตราส่วนทีต่างๆ กัน<br />

อัตราส่วนของคนทีอยู่ในเมืองของอังกฤษและยุโรปตะวันตกจะมากกว่าอัตราส่วนของคนทีอยู่ในเมืองใน<br />

ยุโรปตะวันออกและชายขอบของยุโรปเล็กน้อย ทั งนี อัตราส่วนนี ก็ค่อยๆ เพิมขึ นช้าๆ เมือเวลาผ่านไป [5] ใน<br />

ทีนี ผู้เขียนได้ตัดสินใจทีจะใช้นิยามของ “ชนชั นกลาง” ทีค่อนข้างเฉพาะแล้ว ซึ งผู้เขียนก็จะใช้สลับไปมากับคํา<br />

ว่า “<strong>กระฎุมพี</strong>” [6]<br />

อะไรคือคุณลักษณะสําคัญของชนชั นกลางในช่วงปลายศตวรรษที , 19 และ ? อะไรคือ<br />

คุณลักษณะทีนักธุรกิจ เจ้าของอาคารให้เช่า หมอ ทนาย พระ ฯลฯ มีร่วมกันทีทําให้พวกเขาและครอบครัวนั น


มีความต่างจากกลุ่มทางสังคมอืนๆ ทีไม่ใช่ชนชั นกลาง? อะไรคือสิงทีพวกเขามีเหมือนกันทีเป็นตัวชี ขาดว่า<br />

พวกเขาต่างจากคนกลุ่มอืน และลักษณะร่วมเหล่านี เปลียนไปตามกาลเวลาอย่างไร?<br />

ถ้าเราจริงจังกับแนวคิดเรือง “ชนชั น” สิงทีเราเรียกว่าชนชั นกลางนั นไม่เคยเป็น “ชนชั น” จริงๆ เลย<br />

อย่างน้อยๆ ก็จากมุมของมาร์กซิสต์ เพราะมันรวมคนทีเป็นเจ้านายตัวเอง เป็นลูกจ้าง และคนทีมีสถานะที<br />

แตกต่างกันมากๆ ในตลาดเข้าด้วยกัน ซึ งชนชั นกลางนีก็ต่างจาก “คนเมือง” (bürgher) ในช่วงยุคกลางตอน<br />

ปลายและสมัยใหม่ตอนต้นเพราะชนชั นกลางก็ไม่มีมีอภิสิทธิ ทางกฎหมายทีเฉพาะเจาะจงอะไรแบบพวกคน<br />

เมืองในยุคนั น มันมีสองทฤษฎีทีพอจะฟังดูเข้าท่าเกียวกับลักษระของชนชั นกลาง ทฤษฎีหนึ งว่าด้วย<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างชนชั น อีกทฤษฎีว่าด้วยมิติทางวัฒนธรรม และเราก็จะได้เห็นว่าสองทฤษฎีนี สามารถจะ<br />

ไปด้วยกันได้ และเราต้องการทั งสองทฤษฎีในการเข้าใจทั งการวิวัฒนาการและการถดถอยของชนชั นกลางใน<br />

ยุโรป<br />

ยิงคนประสบภาวะตึงเครียดและขัดแย้งกับกลุ่มคนอืนๆ เท่าไร พวกเขาก็ยิงมีแนวโน้มจะรวมตัวกัน<br />

อย่างแนบแน่นในบางระดับ พร้อมกันนั นพวกเขาก็จะมีความเข้าใจสิงต่างๆ ร่วมกัน ไปจนถึงอาจมีการกระทํา<br />

รวมหมู่อะไรก็ได้ การทีเราต่างจากคนอืนก็แสดงว่าเรามีอัตลักษณ์ นีเป็นสิงทีเห็นได้มากมายจากประวัติศาสตร์<br />

ของทั งชนชั น ศาสนา และชาติพันธุ์ คําอธิบายเดียวกันนี ก็สามารถใช้กับกลุ่มชนชั นกลางยุโรปได้ เพราะคน<br />

กลุ่มนี คือกลุ่มคนทีเกิดขึ นในยุคหลังกิลด์ โดยคนพวกนี ก็ไม่ผูกติดกับท้องถินต่อไปเหมือนยุคของกิลด์ และคน<br />

พวกนี เกิดขึ นมาในช่วงครึ งหลังของศตวรรษที และช่วงต้นศตวรรษที <br />

พ่อค้า ผู้ประกอบการและนายทุน อาจารย์มหาวิทยาลัย ผู้พิพากษา นักข่าว ครูสอนศาสนา และ<br />

ข้าราชการระดับสูงนั นมีความต่างกันในหลายแง่มุม แต่คนเหล่านี ล้วนมีสํานึกร่วมกันว่าพวกเขามีระยะทาง<br />

ทางสังคมจากพวกอภิชนผู้มีอภิสิทธิ ในทางกฎหมายไปจนถึงระบอบสมบูรณาญาสิทธิราช “ประชาสังคม”<br />

แบบสมัยใหม่ของพวกชนชั นกลางนั นเป็นการออกห่างจากทั งศาสนาและกิลด์นั น มันเกิดจากการเน้นหลักของ<br />

การศึกษาและความสําเร็จ การทํางานและการพึ งพาตัวเอง และประชาสังคมพวกนี ก็ได้รับการสนับสนุนโดย<br />

เหล่าชนชั นกลางทีไม่เห็นด้วยกับอภิสิทธิ ต่างๆ และการปกครองในระบอบเก่า เอาจริงๆ โครงการทางสังคม<br />

พวกนี คือโครงการของพวกชนชั นกลางผู้ชาย (แม้ว่าเอาจริงๆ ชนชั นกลางผู้หญิงก็ไม่ได้ต่อต้านมันเท่าไร) ผู้ซึ ง<br />

ในระยะยาวนั นก็พยายามจะอ้างหลักการของประชาสังคมเพือปลดปล่อยตัวเองจากพันธนาการ<br />

นีเป็นกระบวนการทีซับซ้อนทีเต็มไปด้วยข้อยกเว้น ครอบครัวชนชั นกลางไม่ได้แค่พยายามแยกตัว<br />

ออกจากพวกอภิชนเท่านั น แต่พวกเขากลับรับเอาหลักการบางหลักการของพวกอภิชนมา พวกข้าราชการเป็น


เจ้าหน้าทีของรัฐ แต่พวกเขาก็เป็นส่วนหนึ งของชนชั นกลางทีก่อนตัวขึ นอย่างกัน อย่างไรก็ดี คนกลุ่มย่อยๆ<br />

ของพวกชนชั นกลางมากมายทีเกิดขึ นก็มีศัตรูร่วมกันก็คือพวกอภิชน ระบบสมบูรณาญาสิทธิราชทีไม่มี<br />

ขีดจํากัด และจารีตนิยมทางศาสนา พวกเขาพัฒนาความสนใจและประสบการณ์ร่วมกันไปจนถึงพวกเขาก็มี<br />

ความเข้าใจตัวเองร่วมกันและอุดมการณ์ร่วมกัน ในแง่นี เองทีชนชั นกลางได้ประกอบตัวเองขึ นมาเป็นกลุ่ม<br />

ก้อนทางสังคมทีตัดผ่านอาชีพ ภาคธุรกิจ และตําแหน่งแห่งทีทางชนชั นทีหลากหลาย<br />

ในช่วงของศตวรรษที คําอธิบายชนชั นกลางแบบนี ไปจนถึงความตึงเครียดและเป็นอริต่างๆ ก็ได้มี<br />

พลังน้อยลง แต่มันก็ไม่ได้หายไปอย่างสินเชิง ความพร่าเรือนนี เกิดขึ นจากการค่อยๆ จางหายไปของอภิสิทธิ <br />

ทางกฎหมายของพวกอภิชนในพื นทีส่วนใหญ่ของยุโรปและการผสมปนเปกันของชนชั นกลางระดับบนกับ<br />

พวกอภิชนบางส่วน พร้อมกันนั น เส้นแบ่งเส้นใหม่ก็เริมมามีบทบาท ซึ งเส้นแบ่งทีว่านี จริงๆ ก็ยังไม่ดํารงอยู่<br />

ในปี แน่ๆ แต่มันมามีบทบาทเด่นในช่วงค่อนศตวรรษที เข้าไปแล้ว เส้นแบ่งอันแหลมคมทีว่านี คือ<br />

เส้นแบ่งระหว่างชนชั นกลางกับคนระดับล่างของสังคม ตั งแต่ชนชั นแรงงานทีเกิดขึ น ไปจนถึงคนตัวเล็กตัว<br />

น้อยในสังคม และนีก็ร่วมถึงชนชั นกลางระดับล่างด้วย แม้ว่าพวกนายทุนอุตสาหกรรม พ่อค้า เจ้าทีดินให้เช่า<br />

นักกฎหมาย ข้าราชการระดับสูง อาจารย์มหาวิทยาลัย ครูโรงเรียนมัธยม และนักวิทยาศาสตร์ในช่วงปลาย<br />

ศตวรรษที จะมีความแตกต่างกันมาก แต่สิงทีคนเหล่านี มีเหมือนกันก็คือพวกเขาไม่ได้มองว่าตัวเองเป็น<br />

ส่วนหนึ งของ “ประชาชน” “ชนชั นแรงงาน” และขบวนการแรงงานทีเกิดขึ น นอกจากนี ความเหมือนกันนี ก็<br />

เป็นประเด็นมากในความเข้าใจตัวเองของชนชั นกลางเหล่านี และมันส่งผลไปจนถึงการเลือกพันธมิตรทาง<br />

สังคมและท่าทีทางการเมืองของพวกเขา [7]<br />

ในขณะทีพวกชนชั นกลางพยายามจะสร้างความเป็นปึ กแผ่นแยกจากคนระดับบนและล่างของพวกเขา<br />

พวกเขาก็นิยมตัวเองผ่านวัฒนธรรม ครอบครัวชนชั นกลางจากหลายหลายอาชีพล้วนมีความเคารพต่อ<br />

ความสําเร็จของปัจเจกบุคคล นีคือสิงทีพวกเขาสามารถใช้สร้างความยอมรับนับถือ อิทธิพล ไปจนถึงการ<br />

บรรลุรางวัลต่างๆ ของชีวิต คนเหล่านี มองการทํางานทัวไปในแง่บวก ยึดถือในเหตุผลและการควบคุมอารมณ์<br />

นอกจากนี พวกเขาก็เชือในการไม่ต้องขึ นกับผู้อืน ไม่ว่าจะเป็นในระดับปัจเจกหรือระดับสมาคม ชนชั นกลาง<br />

เชือในการศึกษามาก การศึกษาทัวไปในเชิงวัฒนธรรมนั นเป็นพื นฐานทีคนเหล่านี สามารถสือสารกันได้ และนี<br />

เป็นลักษณะทีทําให้พวกเขาต่างจากคนกลุ่มอืนๆ ทีไม่ได้ผ่าน “การศึกษา” แบบนี มา นีทําให้การมุ่งพัฒนา<br />

ในทางวิชาการเป็นสิงทีได้ได้รับความเคารพในหมู่ชนชั นกลาง เช่นเดียวกับการมุ่งพัฒนาในทาง<br />

ศิลปวัฒนธรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวรรณกรรม ดนตรี หรือศิลปะ


ในวัฒนธรรมชนชั นกลาง การมีอุดมคติของครอบครัวทีไม่เหมือนชนชั นอืนเป็นสิงจําเป็น ครอบครัว<br />

ของชนชั นกลางเป็นสิงทีเป็นเป้าหมายโดยตัวมันเอง มันคือชุมชนทีผูกโยงกันด้วยสายสัมพันธ์ทางอารมณ์และ<br />

ความจงรักภักดีระดับรากฐาน คนในครอบครัวมีการแยกบทบาททางเพศชัดเจน และคนทีเป็นผู้นําและหัวหน้า<br />

ครอบครัวนั นก็เป็นผู้ชาย ตัวสถาบันครอบครัวเองก็มีเป้าหมายทีจะเป็นพื นทีปลอดภัยทีจะป้องกันสมาชิกจาก<br />

โลกภายนอก ไม่ว่าจะเป็นการแข่งขัน ลัทธิวัตถุนิยม การเมือง หรือกระทังสาธารณชนทัวไป ครอบครัวเป็น<br />

พื นทีทีผู้หญิงมีบทบาทด้านความเป็นส่วนตัว แต่นีไม่ได้หมายความว่าครอบครอบครัวจะปราศจากคนรับใช้<br />

ในทางตรงข้าม คนรับใช้เป็นสิงจําเป็นมากสําหรับครอบครัวทีจะแบ่งเบางานของแม่ในครอบครัวชนชั นกลาง<br />

เพือทีแม่จะได้มีเวลาใช้ชีวิตครอบครัวได้เพียงพอและส่งต่อ “ทุนทางวัฒนธรรม” ไปสู่คนรุ่นต่อไป เมืออาณา<br />

บริเวณสาธารณะและอาณาบริเวณทางเศรษฐกิจนั นแยกออกจากกัน ครัวเรือนและครอบครัวซึ งเป็นพื นที<br />

ส่วนตัว บทบาทหน้าทีของผู้ชายและผู้หญิงก็ยิงไม่เท่ากันมากขึ น การใช้ชีวิตของผู้ชายและผู้หญิงห่างกันมาก<br />

ขึ นแม้ว่าพวกเขาจะยังมีมิติอืนๆ ทีใกล้ชิดกันมากอยู่ นีเป็นเป็ นแนวโน้มใหญ่ของชนชั นกลางภายในช่วง<br />

ศตวรรษที อย่างไรก็ดี เมือตอนปลายศตวรรษที เมือผู้หญิงเริมย่างก้าวเข้ามาในพื นทีสาธารณะ แนวโน้ม<br />

นี ก็เริมพลิกกลับ แม้ว่านันจะเป็นแค่จุดเริมของกระบวนการอันเชืองช้าและยาวนานอันยังไม่จบสิน แม้ว่ามัน<br />

จะถูกเร่งขึ นมามากในศตวรรษที [8]<br />

วัฒนธรรมชนชั นกลางสามารถจะเฟื องฟูได้แค่ในเมืองน้อยใหญ่ต่างๆ เท่านั น ชนชั นกลางต้องการ<br />

พบปะคนจําพวกเดียวกัน ซึ งก็จะจะพบได้ตามคลับ ตามสมาคม ตามงานเลี ยง ตามอีเวนต์ทางวัฒนธรรม และ<br />

เนืองจากปริมาณของคนทีมีจริตทางวัฒนธรรมเดียวกันแบบทีว่านี ในชนบทมีน้อยเกินไป วัฒนธรรมแบบนี จึง<br />

เกิดในชนบทไม่ได้ คนทีจะเข้าร่วมกิจกรรมทางวัฒนธรรมของชนชั นกลางได้อย่างเต็มทีนั นต้องมีสถานะทาง<br />

เศรษฐกิจทีมันคงไม่ว่าจะเป็นมิติของเงินทาง มิติของพื นทีอยู่อาศัย ไปจนถึงมิติเวลาว่าง ซึ งสิงเหล่านี พวกเขา<br />

ต้องมีมากกว่าระดับที “พอมีพอกิน” ไปเยอะ ความจําเป็นพวกนี มันทําให้คนกลุ่มใหญ่ของประชากรไม่<br />

สามารถเป็นชนชั นกลางอย่างแท้จริงได้ ถ้าเราคิดว่าการรวมกลุ่มและความเฉพาะเจาะจงของชนชั นกลางนั น<br />

เกิดขึ นผ่านกิจกรรมทางสังคมและศิลปวัฒนธรรมแล้ว เราก็คงจะเข้าใจดีว่าไม่ว่าจะเป็นรูปแบบทางสัญลักษณ์<br />

ต่างๆ ของชีวิตประจําวันชนชั นกลาง พฤติกรรมและพิธีรีตองบนโต๊ะอาหาร การอ้างคําจากวรรณกรรม<br />

คลาสสิคในบทสนทนา ตําแหน่งในสังคม พีธีการต่างๆ ไปจนถึงการแต่งกาย ว่าล้วนเป็นสิงสําคัญแค่ไหน<br />

สําหรับวัฒนธรรมชนชั นกลาง[9]<br />

สองข้อเสนอหลักนี ก็ค่อนข้างจะชี ชัดว่าชนชั นกลางกลุ่มต่างๆ นั นเคยมีหลายๆ สิงร่วมกันอยู่ (และก็<br />

ยังมีอยู่ในบางระดับ) ซึ งหลายๆ สิงดังกล่าวพอจะสรุปได้ว่าเป็นประสบการณ์และผลประโยชน์ต่างๆ ทีมี


ร่วมกัน ซึงและสิงเหล่านี ก็วางอยู่บนฐานของวัฒนธรรมทีมีร่วมกันและศัตรูทีมีร่วมกันอีก พวกเขายังบอกชัด<br />

ว่าการจะบอกว่าชนชั นกลางมีลักษณะเฉพาะอะไรมากกว่านั นนั นเป็นไปได้ยาก ลําพังการมีวัฒนธรรมร่วมกัน<br />

และการมีศัตรูร่วมกันนั นเป็นคํานิยามชนชั นกลางทีจํากัดจําเขียมากๆ เพราะในมิติอืนๆ ของชีวิตชนชั นกลางมี<br />

ความแตกต่างหลากหลายสุดๆ พวกเขามีผลประโยชน์และประสบการณ์ทีเกิดบนฐานของอาชีพ สถานะทาง<br />

เศรษฐกิจ เพศ ศาสนา และชาติพันธุ์ทีล้วนแตกต่างกัน ดังนั นไม่ว่าเราจะชี ลงไปทีจุดไหนของเวลา ชนชั นกลาง<br />

นั นก็มีความแตกต่างหลากหลายตลอด และในนั นก็มี “โลกหลากหลายใบทีดํารงอยู่พร้อมกันไปร่วมกัน” [10]<br />

การเปรียบเทียบ<br />

นักประวัติศาสตร์หลายคนมักจะใช้คําว่าชนชั นกลางในรูปพหูพจน์ (middle classed) เพือทีจะเน้นให้เห็นความ<br />

แตกต่างหลากหลายในสิงทีเรียกรวมๆ ว่าชนชั นกลาง การใช้รูปพหูพจน์ทีว่านี ก็ดูจะเหมาะสมแล้วถ้าเรากําลัง<br />

พูดถึงความต่างในระดับท้องถินหรือระดับชาติ โดยดั งเดิมแล้ว วัฒนธรรมต่างๆ ของชนชั นกลางมีรากฐานมา<br />

จากเมือง และนีก็หมายความว่าลักษณะทางวัฒนธรรมชนชั นกลางในแต่ละถินก็มีมิติแบบท้องถินปะปนอยู่<br />

อย่างเข้มข้น แม้ว่ามันจะเป็นความจริงทีทั งพ่อค้า ข้าราชการ และพวกปัญญาชนจะรวมกันสร้างเครือข่ายทีเลย<br />

ไปจากทั งท้องถินและภูมิภาคออกไปจนทําให้เกิดชนชั นกลางระดับชาติหรือระดับยุโรปในทีในศตวรรษที <br />

แต่อันทีจริง ชนชั นกลางในแต่ละกลุ่มก็ยังมีความแตกต่างและแตกแยกไปตามชาติ ภูมิภาค หรือกระทังท้องถิน<br />

การจะไปพูดถึงความหลากหลายภายในโลกของชนชั นกลางยุโรปเป็นสิงทีเกินขอบเขตของบทความนี ในย่อ<br />

หน้าถัดๆ ไปนี ผู้เขียนจะเพียงแสดงให้เห็นความแตกต่างสําคัญๆ ระหว่างชนชั นกลางในยุโรปตะวันตก ยุโรป<br />

กลาง และยุโรปตะวันออก โดยมีการชําเลืองไปดูทางยุโรปเหนือและใต้อีกเล็กน้อย และคําอธิบายทีว่านี ก็คือ<br />

คําอธิบายสําหรับชนชั นกลางศตวรรษที “อันยาวนาน” เท่านั น<br />

ความสัมพันธ์ของพวกชนชั นกลางกับอภิชนคือปัจจัยสําคัญทีทําให้ชนชั นกลางแต่ละประเทศต่างกัน<br />

ความต่างทีว่านี สัมพันธ์อย่างแนบแน่นว่าระบอบการเมืองและเศรษฐกิจเก่านั นในอดีตเป็นอย่างไร และสินสุด<br />

ลงอย่างไร [11] ในอังกฤษ ระเบียบสังคมเศรษฐกิจแบบศักดินาของแถบชนบทและระบบกิลด์ในเมืองนั นผุพัง<br />

มาหลายศตวรรษแล้วก่อนจะเกิดชนชั นกลาง ภาคการเกษตรดั งเดิมถูกดึงเข้าสู่ระบบการค้า ความสัมพันธ์แบบ<br />

เจ้าศักดินากับบ่าวไพร่ก็ถูกเปลียนเป็นความสัมพันธ์ผ่านสัญญา พวกกิลด์ต่างๆ ก็ถูกยกเลิกไปนานแล้ว<br />

นอกจากนี พัฒนาการของทุนนิยมก็ทําให้ชนบทและเมืองแยกออกจากกัน และทําให้ชนชั นนําในชนบทและ<br />

ในเมืองเป็นคนละกลุ่มกัน ทั งนี พวกคนรวยในเมืองทีไม่ใช่อภิชนซะทีเดียวก็ยังสามารถจะถือครองทีดินได้


ด้วยต่างจากหลายพื นที นอกจากนี มิติทีต่างกันสําคัญของอภิชนอังกฤษกับอภิชนยุโรปก็คือ ในขณะทีรุ่นลูก<br />

ของอภิชนยุโรปจะถือว่าเป็นอภิชนหมด แต่ความเป็นอภิชนในแง่การมีตําแหน่ง “ลอร์ด” ของอังกฤษนั นจะตก<br />

ไปอยู่ในมือลูกชายคนโตแต่เพียงคนเดียว ทั งนั นหากครอบครัวนั นไม่มีลูกชายเลยการ “ลอร์ด” ก็อาจตกไปอยู่<br />

ในมือของลูกสาวคนโตได้เช่นกัน<br />

แม้ว่างานในช่วงหลังๆ ก็มีการเตือนกันมากว่าอย่าไปคิดว่าอภิชนในอังกฤษจะเปิ ดกว้างอะไรนัก แต่<br />

ในทางประวัติศาสตร์ก็รู้ดีว่าพวกอภิชนเจ้าทีดินอังกฤษนั นก็ถือว่าเปิ ดกว้างกว่าทีอืนมากตั งแต่การแต่งงานกับ<br />

ชนชั นกลาง ไปจนถึงการรับความคิดไปจนถึงทรัพย์สินเงินทางจากชนชั นกลางมามากมาย นีทําให้ในช่วง<br />

ศตวรรษที การผสมกันทางชนชั นก็เกิดขึ นเข้มข้น และทีน่าสนใจก็คือการทีชนชั นกลางเข้าไปแทรกซึมใน<br />

อภิชนอังกฤษ มันกลับไม่ได้ทําให้สถานะทางสังคมไปจนถึงอํานาจและวัฒนธรรมต่างๆ ของพวกอภิชน<br />

อังกฤษอ่อนแอลงเลย แต่มันกลับทําให้สิงเหล่านี แข็งแรงขึ น ต้องยอมรับว่าอภิชนอังกฤษนั นประสบ<br />

ความสําเร็จมากในการรักษาสถานะพิเศษของตนเอาไว้ได้ ไม่ว่าจะเป็นในทางการเมือง สังคม และเศรษฐกิจ<br />

และสถานะพวกนี ก็ถูกรักษาต่อเนืองมาถึงศตวรรษที ในแง่นี เส้นแบ่งระหว่างพวกอภิชนและเจ้าทีดินใหญ่<br />

กับชนชั นกลางระดับสูงในอังกฤษนั นก็ถือว่าพร่าเลือนกว่าทีอืนใดในยุโรป ทั งนี ภาวะใกล้เคียงกันก็เกิดที<br />

สวีเดนเช่นกัน เพราะทีนันเส้นแบ่งระหว่างเจ้าศักดินากับชาวนา และเส้นแบ่งระหว่างชนบทและเมืองก็ล้วน<br />

พร่าเลือนกว่าทีอืนๆ แม้ว่านันจะมีสาเหตุทีต่างจากทางอังกฤษโดยสินเชิง[12]<br />

ในฝรังเศส ระบอบเก่าก็ไม่ได้ห้ามคนรวยในเมืองซื อทีดินเช่นเดียวกับอังกฤษ ในบางภูมิภาคและบาง<br />

เมือง อภิชนฝรังเศสบางส่วนและกลุ่มชนชั นกลางบนก็ได้เข้าเป็นพันธมิตรกันอย่างใกล้ชิดมาตั งแต่ศตวรรษที<br />

แล้ว หลังจากการปฏิวัติ อภิชนก็ถูกถอดถอนอภิสิทธิ จนสินและพวกเขาก็ไม่ได้รับอภิสิทธิ คืนจนทุกวันนี <br />

มิติทางกฎหมายเคยแยกกันกันระหว่างเมืองกับชนบทก็ได้รับการยกเลิกไป นักประวัติศาสตร์ฝรังเศสปัจจุบัน<br />

มักจะเน้นให้เห็นว่าผลของการปฏิวัติฝรังเศสนั นมีน้อยมากต่อการกระจายอํานาจและทรัพย์สิน รวมไปจนถึง<br />

แหล่งทีมาของชนชั นนํา ภายหลังการปฏิวัติ พวกอภิชนก็ยังมีบทบาทสําคัญในการปกครอง ไม่ว่าจะเป็นใน<br />

ระดับท้องถินหรือระดับประเทศโดยรวมๆ นีเป็นการพยายามแก้ไขแนวทางการอธิบายปฏิวัติฝรังเศสว่าเป็นชัย<br />

ชนะของชนชั น<strong>กระฎุมพี</strong>ทีมีมาก่อน แต่ถ้าเราเปรียบเทียบฝรังเศสกับยุโรปทางฝังตะวันออกของแม่นํ าไรห์น<br />

เราก็จะเห็นเลยว่าตั งแต่ความยืดหยุ่นในระบอบเก่ามาถึงการปฏิวัติมันก็ทําให้เส้นแบ่งระหว่างอภิชนกับชนชั น<br />

กลางระดับสูงพร่าเลือนมาตลอด ซึ งนีไม่ใช่ลักษณะเฉพาะของฝรังเศส แต่ อิตาลี เนเธอร์แลนด์ เบลเยียม และ<br />

สวิสเซอร์แลนด์ก็เป็นเช่นเดียวกัน (ในกรณีของสวิสเซอร์แลนด์ ชนชั นอภิชนไม่เคยเป็นชนชั นทีแข็งแรงอยู่แต่<br />

ไหนแต่ไรแล้ว)


ยุคทีชนชั นนําปกครองฝรังเศสหลังจากความพ่ายแพ้ของนโปเลียนไปจนถึงช่วงแรกๆ ของยุค<br />

สาธารณรัฐทีสามถูกมองว่าเป็นยุคเปลียนผ่านระหว่างระเบียบสังคมกิลด์แบบยุคเก่าไปสู่สังคมชนชั นสมัยใหม่<br />

ถ้าเรามองเทียบจากฝังตะวันออก จุดทีเราควรจะเน้นของยุคนี ไม่ใช่เรืองขององค์ประกอบแบบอภิชนในยุคนี <br />

ไม่ใช่การทียุคนี เน้นการถือครองทีดินเพราะเป็นฐานของอํานาจและสถานะทางสังคม ไม่ใช่เรืองของกลไก<br />

แบบจารีตแบบเครือข่ายครอบครัวและวัฒนธรรมชนชั นนําท้องถินทีวัฒนธรรมอํานาจจากทีดินต้องใช้ทํางาน<br />

และมันก็ไม่ใช่ลักษณะแบบธนาธิปไตยสมัยใหม่อย่างการมีสิทธิ ในการลงคะแนนเสียงทียังผูกกับเงินทองและ<br />

ความมังมีด้วย สิงทีจะเห็นได้ชัดถ้าเราเทียบฝรังเศสกับยุโรปกลางหรือตะวันออกในยุคเดียวกัน ก็คือฝรังเศสจะ<br />

มีองค์ประกอบของวัฒนธรรมอภิชนและ<strong>กระฎุมพี</strong>ผสมกันอยู่ในวัฒนธรรมของชั นนํายุคนี แน่นอน แม้ว่าใน<br />

ยุคนี ความแตกต่างกันระหว่างวัฒนธรรมอภิชนและวัฒนธรรมชนชั นกลางก็ยังไม่ได้หายไป แต่ยุคนี ในฝรังเศส<br />

มันมีแนวโน้มทีจะมีการผสมผสานระหว่างสองวัฒนธรรมนี เข้าด้วยกัน (และในอิตาลีกับอังกฤษก็เป็นเช่นกัน<br />

แม้จะมีความต่างในรายละเอียด) ภาวะผสมผสมนี ทําให้องค์ประกอบทางวัฒนธรรมของอภิชนสามารถเสือม<br />

ลงได้อย่างช้าๆ และนิมนวลไปพร้อมๆ กับทีชนชั นกลางค่อยๆ ผงาดขึ น และในช่วงปี พวกชนชั นกลางก็<br />

กลายมาเป็นพวกทีมีอํานาจกว่าพวกอภิชนไปอย่างชัดเจนแล้ว [13]<br />

บางภูมิภาคในเยอรมนี สิงทีเกิดขึ นมีความคล้ายคลึ งกับยุโรปตะวันตก เช่นในแคว้นไรห์นแลนด์<br />

แคว้นเฮสเส-คาสเซล บางส่วนของแคว้นซักโซนี ไปจนถึงพวกเมืองอิสระอย่างฮัมบูร์ก Hamburg พื นทีเหล่านี <br />

เราจะเห็นว่าทธิพลของอภิชนจะเสือมเร็วกว่าพื นทีอืน แต่ในภาพใหญ่แล้วระเบียบเก่าจะเข้มแข็งในทาง<br />

ตะวันออกของแม่นํ าไรห์นโดยเฉพาะอย่างอย่างทางตะวันออกของแม่นํ าเอลเบ ในพื นทีพวกนี เป็นพื นทีทียังทํา<br />

การค้ากันไม่มาก (หรือทําการค้าในรูปแบบทีต่างออกไป) และความแตกต่างระหว่างอภิชนกับชาวนา ความ<br />

แตกต่างระหว่างเมืองกับชนบท ความแตกต่างระหว่างพวก “คนเมือง” (bürgher) กับคนอืนๆ ทีอาศัยอยู่ใน<br />

เมือง และความแตกต่างระหว่างชนชั นกลางและคนอืนๆ ของสังคมนั นมีความชัดเจนทั งในทางกฎหมาย<br />

การเมืองและวัฒนธรรม ในพื นทียุโรปกลางและยุโรปตะวันออก “ระบอบเก่า” ได้ห้ามพวกคนรวยในเมืองซื อ<br />

ทีดินมาครอบครองโดยตลอด ซึ งต่างจากในยุโรปตะวันตกอย่างอังกฤษและฝรังเศสทีคนกลุ่มนี ครอบครอง<br />

ทีดินได้มานานแล้ว และในพื นทีพื นทียุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ระเบียบของศักดินาในชนบทและกิลด์<br />

ในเมืองก็ไม่เคยถูกลบล้างไปภายใต้การปฏิวัติเพียงครั งเดียว แต่เกิดจากกระบวนการอันค่อยเป็นค่อยไปทีเริม<br />

ตอนปลายศตวรรษที และดําเนินไปตลอดศตวรรษที <br />

แน่นอน ความแตกต่างของยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกนั นลึกซึ งและมีหลายชั น ในปรัสเซีย บาวา<br />

เรีย ออสเตรีย โบฮีเมีย กาลิเซีย และรัสเซีย ล้วนมีการปฏิรูปทีดิน การเกิดทรัพย์สินส่วนบุคคลระดับปัจเจก ไป


จนถึงการริเริมใช้สถาบันทางการเมืองสมัยใหม่นั นเกิดในเวลาทีแตกต่างกัน และส่งผลต่างกันทั งนั น แต่ที<br />

ปรัสเซีย ออสเตรีย และรัสเซียพวกอภิชน (หรือบางส่วนของพวกเขา) ก็ยังรักษาเศษซากของสถานะทาง<br />

กฎหมายอันพิเศษของพวกเขาได้จนสินสงครามโลกครั งที ซึ งเป็นการรักษาสถานะได้ยาวนานกว่าอภิชนฝัง<br />

ยุโรปตะวันตกมาก แน่นอนว่าการร่วมมือกันของอภิชนกับชนชั นกลางระดับสูงในยุโรปกลางและยุโรป<br />

ตะวันออกนั นก็มีหลากหลายตั งแต่การเป็นพันธมิตรกัน การทํางานร่วมกัน ไปจนถึงการผสมรวมกันก็ยังมี<br />

เล็กน้อย การผสมผสานกันเหล่านี เห็นได้ตั งแต่การทีชนชั นกลางไปซื ออสังหาริมทรัพย์ของพวกอภิชน การที<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>และอภิชนร่วมมือกันในระบบราชการทีโตขึ น การค่อยๆ เข้าแทนทีในองค์กรของพวกอภิชนโดยชน<br />

ชั นกลาง ไปจนถึงการพยายามเลียนแบบวิถีชีวิตของอภิชนของพวกคนชนชั นกลางระดับบนทีรวยๆ ในตอน<br />

ปลายศตวรรษที เอาจริงๆ ชนชั นกลางส่วนน้อยก็ถูกให้บรรดาศักดิ และกลายเป็นอภิชนด้วยซํ า ซึ งนีเป็นสิง<br />

ทีมักพบทีออสเตรียและรัสเซีย มากกว่าทีปรัสเซีย นอกจากนี การแต่งงานกันระหว่าง<strong>กระฎุมพี</strong>และอภิชนก็<br />

เกิดขึ นเช่นกัน แม้ว่าภาวะพวกนี จะเกิดขึ น แต่ในภาพรวม เส้นแบ่งระหว่างอภิชนกับชนชั นกลางก็มีความ<br />

ชัดเจนในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกมากกว่าทางยุโรปตะวันตกเยอะ โดยเส้นแบ่งนี ในยุโรปกลางและ<br />

ยุโรปตะวันออกก็ยังชัดมาถึงศตวรรษที และสร้างความเสียเปรียบให้กับชนชั นกลางโซนนี มาก ในเยอรมนี<br />

และออสเตรีย ชนชั นกลางนั นทั งได้อํานาจทางการเมืองมาน้อยและก็มีอิทธิพลทางสังคมและวัฒนธรรมน้อย<br />

กว่าทางยุโรปตะวันตกเยอะ ส่วนถ้ามาดูทางรัสเซีย ชนชั นกลางก็จะยิงอ่อนแอลงไปอีกและพวกเขาก็แตกแยก<br />

กันสุดๆ ด้วย [14]<br />

อีกทางหนึ งในการเข้าใจความแตกต่างกันระหว่างประเทศต่างๆ ในประวัติศาสตร์ชนชั นกลางยุโรปก็<br />

คือการเข้าไปดูองค์ประกอบภายในของชนชั นกลาง โดยเฉพาะความสัมพันธ์ระหว่างชนชั นกลางทางเศรษฐกิจ<br />

และชนชั นกลางทางวัฒนธรรม<br />

ในประเทศทีเศรษฐกิจก้าวหน้าทางตะวันตก พ่อค้า นายธนาคาร และเจ้าทีดินให้เช่า (รวมถึง<br />

ผู้ประกอบการและผู้จัดการอุตสาหกรรมในภายหลัง) เป็นคนกลุ่มใหญ่และเป็นแก่นของชนชั นกลางมาตั งแต่<br />

กลางศตวรรษที ถึงกลางศตวรรษที คนทีทรัพย์สินมากพวกนี มีความต่อเนืองของชนชั นระหว่างรุ่น และ<br />

พวกเขาก็วางรากมันคงในภูมิภาคของตัวเอง รวมทั งเป็นผู้มีอิทธิพลในท้องถินด้วย<br />

แน่นอนว่ามันมีทั งทนาย พระ หมอ เจ้าพนักงาน อาจารย์มหาวิทยาลัย และครูในโรงเรียนมัธยมและ<br />

โรงเรียนฝึ กอาชีพอยู่ในชนชั นนี ทั งจํานวนของพวกเขาและความสําคัญของพวกเขาขยายตัวขึ นเรือยๆ<br />

โดยเฉพาะอย่างยิงในช่วงท้ายของศตวรรษที แต่ถ้ามองในเชิงอํานาจ อิทธิพล และสถานะทางสังคม แล้ว


พวกชนชั นกลางทางวัฒนธรรมเหล่านี มีน้อยกว่าชนชั นกลางทางเศรษฐกิจมาก โดยเฉพาะในช่วงต้นศตวรรษที<br />

20<br />

ในอังกฤษ ทั งคนอย่าง John Stuart Mill ในช่วง ’s และ Karl Marx ในภายหลังจากนั นไม่นานก็<br />

ล้วนละเลยพวกชนชั นกลางทางวัฒนธรรม โดยมองว่าพวกนี เป็นแค่ส่วนเสริมของชนชั นนายทุน<br />

ผู้ประกอบการเท่านั น และนักประวัติศาสตร์ก็มักจะนําเนินรอยตามสองคนนี (โดยเฉพาะพวกทีอยู่ในจารีต<br />

แบบมาร์กซิสต์) นักประวัติศาสตร์อังกฤษอย่าง Harold Perkin เคยเขียนถึง “ชนชั นกลางทีถูกลืม” เมือเขาได้<br />

กลับไปค้นพบพวกกลุ่มคนทีมีวิชาชีพเฉพาะ และแยกคนพวกนี ออกจากพวกผู้ประกอบการและนักธุรกิจ<br />

ในช่วงทีชนชั นกลางเกิดขึ นในช่วง ’s<br />

ในฝรังเศส พวกชนชั นกลางทางวัฒนธรรมไม่ใช่พวกชายขอบแบบในอังกฤษ แต่เอาจริงๆ พวกชนชั น<br />

นําฝรังเศสก็ไม่ได้มีการฝึ กทางวิชาชีพเท่าไร สําหรับพวกชนชั นนําและพวกคนทีอยูในกลไกรัฐในฝรังเศส สิง<br />

ทีสําคัญไม่ใช่เรืองของการรํ าเรียนกฎหมายมา แต่เป็นเรืองของการมีทีดินและการมีคอนเนคชันในระดับ<br />

ท้องถิน<br />

ไม่ว่าจะเป็นในเกาะบริเตนใหญ่หรือฝรังเศส ความเปลียนแปลงนั นเพิงจะเริมเปลียนในช่วงครึ งหลัง<br />

ของศตวรรษที ทั งสิน ในช่วงนี การศึกษาระดับมัธยมขยายตัวขึ น และการศึกษาแบบเป็นระบบก็สําคัญมาก<br />

สําหรับบรรดาลูกชายชนชั นกลาง (และลูกสาวด้วยในภายหลัง) ซึ งนีก็คือสิงทีชนชั นกลางมีร่วมกันและทําให้<br />

พวกเขาต่างจากมวลชนชั นล่าง ทั งมหาวิทยาลัยและโรงเรียนวิชาชีพต่างๆ ก็ขายตัวไปพร้อมกันด้วย (แม้ว่าจะ<br />

อย่างช้าๆ) พวกงานทีเป็นวิชาชีพเริมเป็นเรืองปกติ และคนพวกนี ก็ได้รับความเคารพ นอกเหนือจากความมังคัง<br />

และภูมิหลังทางครอบครัวในสมัยก่นอ มาตอนนี ฝี มือและวุฒิการศึกษาก็เริมมีบทบาทมากขึ นในการทําให้คน<br />

เข้าสู่ชนชั นกลางได้ (แม้ว่าตอนนี จะยังเป็นรองฐานะทางเศรษฐกิจและภูมิหลังทงครอบครัวก็ตาม) มันมี<br />

โอกาสมากขึ นเรือยๆ ให้ลูกหลานชนชั นกลางระดับล่างสามารถเลือนระดับชนชั นได้ แต่ในภาพรวมแล้วพวก<br />

โรงเรียนต่างๆ นั นก็มักจะมีจํานวนน้อยและมีค่าเล่าเรียนสูง ซึ งโรงเรียนพวกนี ก็สร้างขึ นมาเพือตอบรับคนทีมา<br />

จากครอบครัวชนชั นกลางอยู่แล้ว [15]<br />

รูปแบบทีเกิดในยุโรปตะวันตกนี ก็ปรากฎในยุโรปกลางเช่นกัน ในพื นทีทีเมืองและภูมิภาคมีจารีตเก่าๆ<br />

ของความมังคังของพ่อค้าและการปกครองตัวเองของท้องถิน พัฒนาการก็เป็นอย่างยุโรปตะวันตก เช่นที มันน์<br />

ไฮน์ คาร์ลส์รูห์ และฮัมบูร์ก อย่างไรก็ดี ในพื นทีส่วนใหญ่ของเยอรมนี สิงทีเกิดขึ นก็ต่างออกไป กิจกรรม<br />

ทางการค้าและการประกอบการนั นเกิดขึ นในระดับทีเบาบางในภูมิภาคนี ระบบโรงงานเกิดขึ นภายหลังอังกฤษ


เบลเยียม และฝรังเศส ชาวเยอรมันมังคังน้อยกว่าเพือนบ้านฝังตะวันตก และความต่างนี เราจะเห็นได้จากทั งการ<br />

มีทรัพย์สินและคฤหาสน์ทีเล็กกว่าฝังยุโรปตะวันตกของพวกอภิชนเยอรมัน ไปจนถึงวิถีชีวิตของชนชั นกลางที<br />

สมถะกว่า<br />

ในเวลาเดียวกัน “ปฏิรูปจากเบื องบน” ก็เป็นจารีตทีสําคัญใน ปรัสเซีย บาวาเรีย ออสเตรียและรัฐยุโรป<br />

กลางอืนๆ พวกผู้นําสมบูรณาญาสิทธิราชและระบบราชการทีเกิดขึ นได้เป็นผู้นําในการนําสังคมเข้าสู่สมัยใหม่<br />

เพือเพิมอํานาจของตัวเอง ในบริบทนี เราต้องเข้าใจการเน้นการปรับระบบโรงเรียนรัฐในปรัสเซียและรัฐ<br />

เยอรมันอืนๆ ให้เป็นสมัยใหม่ก่อน โรงเรียนมัธยมทีสอนภาษาลาตินและงานคลาสสิคไปจนถึงมหาวิทยาลัย<br />

นั นขยายตัวอย่างมาก และมหาวิทยาลัยนั นมีเป้าหมายทีจะฝึ กคนหนุ่มให้กลายมาเป็นข้าราชการ จํานวน<br />

นักศึกษามหาวิทยาลัยในช่วงทศวรรษแรกๆ และช่วงทศวรรษท้ายๆ ของศตวรรษที ในเยอรมนีนั นมีสูงกว่า<br />

ฝรังเศสมาก การเน้นคุณลักษณะด้านการศึกษาและคุณวุฒิ (แทนทีจะเน้นคุณลักษณะด้านทรัพย์สินและภูมิ<br />

หลังทางครอบครัว) นั นทําให้การเข้าไปเป็นชนชั นกลางค่อนง่ายสําหรับชนชั นกลางล่าง แต่ในทางกลับกันมัน<br />

ก็กีดกันชนชั นแรงงานและคนระดับล่างของสังคมส่วนอืนๆ ออกไป การเลือนชนชั นจากชนชั นแรงงานไปสู่<br />

ชนชั นกลางมักจะใช้เวลา - รุ่น โดยการมีอาชีพครูโรงเรียนประถมของคนรุ่นหนึ งก็เป็นขั นตอนในการ<br />

เปลียนผ่านชนชั นทีสําคัญของครอบครัว อย่างไรก็ดี การทีจะหล่นลงไปชนชั นล่างนั นเป็นไปได้เร็วกว่ามาก<br />

การศึกษาทางวัฒนธรรมและการได้รับคุณวุฒิทางอาชีพนั นเป็นสิงทีทรงเกียรติในสายตาคนเยอรมัน และการ<br />

ฝึ กฝนคนหนุ่มให้ขึ นไปเป็นข้าราชการตําแหน่งสูงนั นก็ทําให้คนเหล่านี เข้าใกล้อํานาจ โดยเฉพาะอย่างยิง<br />

ในช่วงศตวรรษที ทีสภาไม่ใช่สถาบันทีแข็งแรงนัก แต่สิงทีทีแข็งแรงมากในรัฐคือระบบราชการ<br />

ช่วงต้นศตวรรษที ชนชั นกลางทางวัฒนธรรมเป็นคนกลุ่มเล็กๆ ทีทรงอิทธิพล ซึ งมีแกนกลางอยู่ที<br />

ช้าราชการทีได้รํ าเรียนในระดับมหาวิทยาลัยมาก ถ้าว่ากันด้วยการยอมรับทางสังคมและอํานาจแล้ว คนกลุ่มนี <br />

มีสถานะชนชั นกลางทีแข็งแรงกว่าพวกชนชั นกลางทางเศรษฐกิจอย่างพ่อค้า เจ้าของโรงงาน นักธุรกิจ ทีมี<br />

รายได้และทรัพย์สินมากกว่าเสียอีก ดุลอํานาจนี เพิงจะเริมปลียนตอนช่วงปลายศตวรษที เมือเกิด<br />

อุตสาหกรรมขยายตัวและทําให้ทรัพย์สินและอํานาจของชนชั นกลางทางเศรษฐกิจเพิมขึ นไปพร้อมๆ กับการ<br />

นับหน้าถือตาในสังคมของคนกลุ่มนี ส่วนใหญ่แล้ว เราจะเห็นแพตเทิร์นนี ได้ชัดในส่วนรัฐแถบตะวันตกทีอยู่<br />

ใต้ราชวงศ์ฮับส์บูร์กในอิตาลีก็เช่นกัน ในพื นทีนี borghesia unmanistica หรือชนชั นกลางทางวัฒนธรรมนั นก็<br />

ค่อนข้างจะมีจํานวนมากและมีอิทธิพล แต่ทีในกรณีของอิตาลีทีว่า พวกข้าราชการมีบทบาทน้อยกว่าเยอรมนี<br />

แต่พวกวิชาชีพอืนๆ จะมีบทบาทมากกว่า (โดยเฉพาะพวกทนาย)[16]


ทั งในยุโรปตะวันตกและยุโรปกลาง ชนชั นกลางทางเศรษฐกิจและชนชั นกลางทางวัฒนธรรมนั นมี<br />

ความเชือมโยงกันแบบหลวมๆ พวกเขามีองค์ประกอบทางวัฒนธรรมร่วมกันและ “มีคอนแทค” กันจากหลาย<br />

ช่องทาง อย่างไรก็ดี คนสองกลุ่มนี ก็แยกจากกันพอสมควรเพราะพวกเขามีประสบการณ์ทีต่างกัน เมือเวลาผ่าน<br />

ไปในทศวรรษ คนพวกนี ก็เริมใกล้ชิดกันขึ น ซึ งจะเห็นได้จากคนทั งสองกลุ่มเริมมีภูมิหลังทางการศึกษา<br />

ตรงกันมากขึ น มีการแต่งงานข้ามกลุ่มมากขึ น (อย่างน้อยก็ในกรณีของเยอรมนี) และก็มีความยึดมันใน<br />

อุดมการณ์ใหญ่ๆ ร่วมกันมากขึ น ไม่ว่าอุดมการณ์นั นจะเป็นเสรีนิยมหรือชาตินิยม<br />

ในทางกลับกัน ในชาติยุโรปตะวันออกกลาง และยุโรปตะวันออกนั น เส้นแบ่งระหว่างกลุ่มย่อยๆ ใน<br />

ชนชั นกลางนั นมีอย่างชัดเจน ความอ่อนแอทางเศรษฐกิจของผู้มิภาคเหล่านี ก็สอดคล้องกับความอ่อนแอกับ<br />

พวกชนชั นกลางในพื นที เมือโอกาสทางธุรกิจทีเหมาะสมเกิดขึ น ทุนจากต่างชาติและผู้ประกอบการต่างชาติจะ<br />

เติมเต็มช่องว่างนี ไม่ว่านันจะเป็นคนเยอรมัน คนยิว คนกรีก หรือกระทังคนอาร์มีเนียน คนโปแลนด์ คนเชค<br />

คนสโลวัค และคนทางประเทศแถบคาบสมุทรบัลข่านนั นล้วนอยู่ใต้จักรวรรดิ ข้ามชาติและถูกปกครองโดยชน<br />

ชั นนําต่างชาติทั งนั นในช่วงนี ชนชั นกลางทางวัฒนธรรมในแบบยุโรปกลางนั นไม่สามารถพัฒนาขึ นมาได้<br />

ง่ายๆ ในภูมิภาคนี แต่สําหรับภูมิภาคนี มันก็จะมีปรากฎการณ์เฉพาะทีเรียกว่า “ชนชั นกลางล่างทางวัฒนธรรม”<br />

(ตามที Jiri Karalka เรียก) พวกเขาคือชนชั นกลางล่างผู้มีการศึกษา ซึ งประกอบไปด้วยครูโรงเรียนประถม พระ<br />

คาธอลิค ข้าราชการระดับล่าง และปัญญาชนบางส่วน คนพวกนี มีปฏิสัมพันธ์กับพวกพ่อค้า ผู้ประกอบการ<br />

และชนชั นนําต่างๆ น้อยมาก (อาจมีข้อยกเว้นคือพวกชนชั นนําท้องถิน) แต่คนพวกนี มีความใกล้ชิดกับ<br />

ประชาชนส่วนใหญ่และมีบทบาทสําคัญมากๆ ในการทําให้เกิดลัทธิชาตินิยมในยุโรปตะวันออก (เอาจริงๆ<br />

คําอธิบายนี ใช้ได้กับฟิ นแลนด์ นอร์เวย์ และประเทศแถบทะเลบอลติกต่างๆ ด้วย) ในยุโรปตะวันออกกลาง<br />

ความหลากหลายทางชาติพันธุ์มีสูงมาก และมันก็มีความตึงเครียดระหว่างชาติต่างๆ สูงด้วย ซึ งในภาวะแบบนี <br />

การมีวัฒนธรรมร่วมแบบข้ามชาติพันธุ์นั นไม่เกิดขึ น และการเกิดขึ นของชนชั นกลางทีมีลักษณะข้ามชาติพันธุ์<br />

ก็เลยเกิดขึ นไม่ได้ [17]<br />

นีเป็นสิงทีจริงมากๆ ในรัสเซีย ซึ งเป็นพื นทีแทบไม่มีจารีตในการปกครองตัวเองของเมืองเลย แทนที<br />

จะกลุ่มพ่อค้าจะรวมตัวกันประกาศให้เมืองเป็นเขตปกครองตัวเองพิเศษ แต่ในรัสเซียพวกพ่อค้ารวยๆ นั นกลับ<br />

รวมตัวกันเพือรับการจัดสรรค์อภิสิทธิ และต้องจ่ายภาษีให้กิลด์ทีอยู่ใต้รัฐบาลกลาง มีการเข้าออกจากคนกลุ่มนี <br />

บ้าง แต่สมาชิกของคนกลุ่มนี แยออกจากพวกช่างฝี มือและชนชั นกลางล่างอืนๆ อย่างชัดเจน นอกจากนี พวกเขา<br />

ก็ยังแยกออกจากพวกปัญญาชน (intelligentsia) ด้วย (ซึ งพวกนี ในรัสเซียหมายถึง ข้าราชการระดับล่าง พระ ครู<br />

คนมีวิชาชีพ นักเขียน และนักข่าว) พวกปัญญาชนรัสเซียนั นต่างจากสิงทีเรียกว่าชนชั นกลางทางวัฒนธรรม


ของยุโรปกลาง เพราะมันไม่รวมพวกข้าราชการระดับสูงทีรํ าเรียนมหาวิทยาลัยเข้ามาด้วย เนืองจากคนพวกนี <br />

ในรัฐเซียมักจะเป็นชาวต่างชาติทีเป็นอภิชนหรือกะลังจะเป็นอภิชน และก็เป็นกลุ่มคนทีพวกปัญญาชนรัสเซีย<br />

เดียดฉันท์ บางครั งพวกปัญญาชนสามัญชนก็มีความสัมพันธ์กับพวกปัญญาชนของพวกอภิชนบ้าง ซึง<br />

ความสัมพันธ์แบบนี อย่างน้อยๆ ก็เกิดขึ นมากกว่าทีปัญญาชนสามัญชนจะมีความสัมพันธ์กับพวกกลุ่มพ่อค้า<br />

และนายทุนอันเป็นพวกทีปัญญาชนมองว่ามีสถานะตํ าทางปัญญา เอาจริงๆ กระทังก่อนปี สถานการณ์ใน<br />

รัสเซียก็ต่างจากทางยุโรปตะวันตกเป็นอย่างมากระดับทีนักวิชาการรุ่นหลังเขียนออกมาเลยว่า “ไม่มีชนชั น<br />

กลางในรัสเซียก็เพราะองค์ประกอบต่างๆ ภายในของมันนั นตั งใจเป็นอย่างยิงทีจะไม่ยอมรวมตัวเป็นเนื อ<br />

เดียวกัน” [18]<br />

ถ้าจะสรุปรวบยอดส่วนนี แล้ว ชนชั นกลางยุโรปมีความแตกต่างกันในหลายแง่มากๆ ซึ งถ้ามองในภาพ<br />

กว้างสุด เราน่าจะแบ่งกลุ่มของชนชั นกลางได้เป็นสามกลุ่ม ในตะวันตก กลุ่มคนทีมีทรัพย์สินทีดินคือกลุ่มทีมี<br />

อํานาจในชนชั นกลาง ในโซนนี เส้นแบ่งระหว่างชนชั นกลางและอภิชนนั นไม่ชัดเจน รวมทั งพร่าเลือนขึ น<br />

เรือยๆ นีทําให้ความมังคัง อภิสิทธิ และอิทธิพลของชนชั นกลางแข็งแรงมากและขยายขึ นตามกาลเวลา ใน<br />

ยุโรปกลาง ชนชั นกลางผู้มีการศึกษามีบทบาทสําคัญมากกว่าฝังตะวันตก แต่ในพื นทีนี เส้นแบ่งระหว่างอภิชน<br />

กับชนชั นกลางก็ค่อนข้างชัดเจน และทําให้อิทธิพลของพวกเขามีค่อนข้างจํากัด ถัดไปทางตะวันออก ชนชั น<br />

กลางก็ยิงไม่แข็งแรงขึ นไปอีก ในพื นทีนี เส้นแบ่งระหว่างอภิชนกับชนชั นกลางชัดมากๆ และชนชั นกลางก็<br />

กระจัดกระจายเป็นอย่างมาก และถ้าถัดในทางตะวันออกสุดและตะวันออกเฉียงใต้สุดของยุโรป ก็เรียกได้ว่า<br />

ไม่มีชนชั นกลางทีเป็นปึ กแผ่นอยู่เลยในเวลาทีชนชั นกลางกําลังต่อตัวขึ นแล้วในพื นทีอืนๆ ของยุโรป<br />

พัฒนาการขั นต่างๆ ของชนชั นกลาง<br />

อะไรคือแนวโน้มใหญ่ๆ ในกระบวนการพัฒนาการของชนชั นกลางยุโรป? ในกระบวนการทีซับซ้อน<br />

และหลากหลายระดับนี เรากล่าวถึงจุดหักเหสําคัยๆ ได้ยากมาก พัฒนาการชนชั นกลางนั นต่างกันไปในแต่ละ<br />

ประเทศและภูมิภาค และความต่างนั นไม่ได้เป็นแค่ความต่างเชิงโครงสร้าง แต่เป็นเรืองช่วงเวลาด้วย ดังนั นการ<br />

กล่าวถึงช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ของการก่อตัวชนชั นกลางนั น ก็เป็นสิงทีแทบจะไม่เป็นสากลแบบ<br />

อัตโนมัติ อยางไรก็ดีเราอาจพูดถึง ช่วงเวลาทางประวัติศาสตร์ของการก่อตัวของชนชั นกลางยุโรปได้ ซึ งก็คือ<br />

. ช่วงครึ งหลังของศตวรรษที . ช่วงครึ งแรกของศตวรรษที . ช่วงกลางศตวรรษที ถึงสงครามโลก<br />

ครั งที . ช่วงเวลาหลังจากนั น


ศตวรรษที <br />

เราไม่สามารถหาจุดกําเนิดแบบเป๊ ะๆ ของชนชั นกลางได้ แต่มันมีสามอาณาบริเวณทางสังคมทีเรา<br />

พอจะมองหาได้ อย่างแรกสุดเลย มันมีพวก “คนเมือง” ของเมืองช่วงสมัยใหม่ตอนต้น ในยุโรปส่วนใหญ่ (เว้น<br />

ทางตะวันออก) เมืองต่างๆ มันเป็ นเหมือนเกาะในทะเลของระบบศักดินา เมืองพวกนี มีอภิสิทธิ ทางกฎหมายทั ง<br />

ในเชิงการค้า การปกครองตัวเอง และสิทธิพลเมืองของผู้อยู่อาศัย ในเมืองต่างๆ มีเพืองแค่คนหยิบมือเดียว<br />

เท่านั นทีจะมีสิทธิพลเมืองเต็มที ซึ งนีก็คือสิทธิในการมีทรัพย์สิน ในการทําการค้า ในการแต่งงาน ในการมี<br />

ครัวเรือนเป็นของตัวเอง ไปจนถึงการมีสิทธิ อยู่ในกิลด์ สมาคม และมีสิทธิ ในการมีส่วนร่วมในการปกครอง<br />

เมือง พ่อค้าต่างๆ และช่างฝี มือทีเป็นเจ้าของร้านค้าของตัวเองเป็นส่วนหนึ งของคนกลุ่มทีมีอภิสิทธิ ทาง<br />

กฎหมายทีว่านี นอกจากนี ผู้มีอภิสิทธิ ก็รวมไปถึงเจ้าทีดินในเมือง เจ้าของอาหารให้เช่า เจ้าหน้าทีรัฐ และคนทีมี<br />

ทักษะและอาชีพเฉพาะ คนพวกนี ก็มักจะเป็นผู้ชายทีเป็นหัวหน้าครอบครัวด้วย อย่างไรก็ดีคนส่วนใหญ่ทีอยู่<br />

ในเมืองกับคนกลุ่มทีว่ามาเช่นกันก็คือ พวกข้ารับใช้ ช่างรับจ้าง แรงงาน คนทีทําอาชีพระดับล่างอืนๆ ไปจนถึง<br />

สมาชิกครอบครัวทีไม่ได้ทํางาน (มักจะเป็นผู้หญิง) คนพวกนี ก็ไม่มีสิทธิพลเมืองเต็มที และไม่ได้ถือว่าเป็น<br />

“คนเมือง” ในความหมายจริงๆ ของมัน<br />

วัฒนธรรม<strong>กระฎุมพี</strong>ช่วงแรกนั นพัฒนาในหมู่พวก “คนเมือง” มันคือปทัสฐานและวิถีชีวิตทีวนเวียนอยู่<br />

รอบการทํางาน ทรัพย์สิน ความน่านับถือ ความประหยัด ระเบียบ ศาสนา และการมีส่วนร่วมในการจัดการ<br />

เรืองต่างๆ ร่วมกัน ถ้าทีไหนสังคมจารีตยังแข็งแรง เมืองทีปกครองตัวเองและเต็มไปด้วยคนเมืองก็จะไม่<br />

ปรากฎในช่วงยุคกลางตอนปลายและช่วงสมัยใหม่ตอนต้น และนีก็เป็นเงือนไขสําคัญให้พื นทีเหล่านี ไม่มีชน<br />

ชั นกลางปรากฎในช่วงต่อมา<br />

อาณาบริเวณทีสองทีเราจะพบการก่อตัวของชนชั นกลางก็คือ อาณาบริเวณของพวกตัวแทนของระบบ<br />

ทุนนิยม พวกนี ก็เช่น พวกพ่อค้าส่งทีมีสายสัมพันธ์ข้ามท้องถินหรือข้ามชาติ พวกนายทุน พวกนายธนาคาร<br />

พวกเจ้าของและผู้จัดการโรงงานยุคก่อนก่อนอุตสาหกรรมไปจนถึงเหมืองต่างๆ คนพวกนี มักจะเป็นส่วนหนึ ง<br />

ของชุมชนคนเมือง แต่พร้อมกันนั น คนพวกนี ก็มีกิจกรรมและกิจการทีมีขอบเขตเหนือกว่าท้องถิน พวกนี มี<br />

ธุรกิจแบบยุคหลังกิลด์ ทั งความสามารถในการแข่งขันและความมังคังของคนพวกนี ทําให้พวกนี ต่างจาก<br />

เศรษฐกิจกิลด์ของเมืองต่างๆ ซึ งยังคงอยู่ได้ระเบียบของกิลด์ ไปจนถึงขนบและศีลธรรมต่างๆ ในแบบช่างฝี มือ<br />

อยู่ จริงๆ แล้ว คนกลุ่มนี ในยุโรปกลางและยุโรปตะวันออก ก็มักจะได้รับอภิสิทธิ พิเศษจากรัฐ ทําให้คนพวกนี


ไม่ต้องอยู่ในกฎระเบียบของเมืองบ้านเกิด และทําให้คนพวกนี ห่างออกจากชุมชนของพวกคนเมืองแบบดั งเดิม<br />

มากไปอีก<br />

ส่วนอาณาบริเวณทีสามทีเราจะไปดูต้นกําเนิดของชนชั นกลางได้ เราจะดูได้จากคนทีรับใช้ผู้ปกครอง<br />

รัฐบาลต่างๆ พวกเข้าผู้ปกครอง พวกพระระดับสูง พวกขุนนาง และผู้มีอํานาจสารพัดในยุคนี คนพวกนี คือ<br />

พวกข้ารับใช้ทีความรู้ เจ้าพนักงานทีมีการศึกษา พวกเจ้าหน้าทีประสานงาน พวกผู้เชียวชาญทางกฎหมาย ไป<br />

จนถึงพวกอาจารย์มหาวิทยาลัยและพระ (ซึ งสองกลุ่มหลังนีค่อนข้างจะเป็นเอกเทศจากกลุ่มอืนหน่อย) คนพวก<br />

นี มีจะมีการศึกษาระดับมหาวิทยาลัย และคนพวกนี เองทีเป็นผู้สนับสนุนหลักของแนวคิดเรือง “การรู้แจ้ง”<br />

(Enlightenment) และแนวคิดนี ก็มีอิทธิพลต่อวัฒนธรรมชนชั นกลางทีเกิดขึ น พวกชนชั นกลางทางวัฒนธรรม<br />

พวกนี มักจะใช้ชีวิตอยู่ในเมืองโดยเฉพาะเมืองทีเป็นศูนย์กลางการปกครอง คนพวกนี มีความสัมพันธ์ใกล้ชิด<br />

กับพวกคนเมือง แต่สถานะทางสังคมของพวกเขานั นต่างออกไป เพราะสถานะของคนพวกนี ไม่ได้ขึ นอยู่กับ<br />

ฐานะทางเศรษฐกิจ แต่ขึ นอยู่กับความสัมพันธ์กับผู้ปกครอง และเมือเวลาผ่านไปก็ขึ นอยู่กับระดับการศึกษา<br />

การฝึ กฝนทางวิชาการ และความชํานาญเฉพาะมากขึ นเรือยๆ ชนชั นกลางทางวัฒนธรรมพวกนี จํานวนมากมี<br />

ความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับชนชั นนําตามจารีต พวกเจ้าทิดิน และพวกอภิชน ทั งนี คนพวกนี จํานวนมากมีทีดินเป็น<br />

ของตัวเองด้วยซํ า แถมบางคนก็ได้เลือนขั นเป็นอภิชนอีก [19]<br />

จารีตของเมืองปกครองตัวเองในยุโรป การผงาดขึ นของทุนนิยม และผลของการก่อตัวของรัฐล้วนเป็น<br />

ปัจจัยสําคัญต่อการก่อตัวของชนชั นกลาง ชุมชนคนเมืองในเขตเมือง การขยายตัวของกลุ่มธุรกิจ และการ<br />

ขยายตัวของคนมีการศึกษาทั งในและนอกระบบราชการนั นมีความแตกต่างกันไปอย่างมากในแต่ละท้องถิน<br />

คนทีขยายตัวขึ นมาในอาณาบริเวณเหล่านี มักจะไม่ใช่พวกอภิชน และก็ไม่ใช่ชนชั นล่างด้วย พวกเขาเกียวข้อง<br />

กันอย่างใกล้ชิด มีความทับซ้อนกันบางส่วน และพวกเขาก็พัฒนาวัฒนธรรมร่วมขึ นมา เมือสิงเหล่านี เกิดขึ นใน<br />

ระดับใหญ่ ขนชั นกลางสมัยใหม่ก็เกิดขึ น ซึ งส่วนใหญ่ก็จะเกิดขึ นในช่วงครึ งหลังของศตวรรษที <br />

ครึงแรกของศตวรรษที : 1800-1850<br />

ทีอังกฤษและสวิสเซอร์แลนด์ โครงสร้างสังคมศักดินานั นล่มสลายไปก่อนหน้านี แล้ว ในยุโรปทาง<br />

เหนือไม่มีโครงสร้างแบบนี แต่แรกด้วยซํ า ส่วนทีรัสเซียและทางยุโรปตะวันออกส่วนอืนๆ สังคมศักดินานั น<br />

กว่าจะล่มลงก็ภายหลังช่วงนี อีกนานตอนหลังสงครามไครเมียร์ อย่างไรก็ดี ในยุโรปส่วนใหญ่ ระเบียบสังคม<br />

แบบเก่านั นจบสินลงตอนช่วงปลายศตวรรษที จนถึงกลางศตวรรษที ไม่ว่านันจะเกิดจากการปฏิวัติรวด


เดียวแบบฝรังเศสหรือการปฏิรูป (และปฏิวัติ) อย่างค่อยเป็นค่อยไปอย่างยาวนานเช่นในรัฐต่างๆ ของเยอรมนี<br />

สถานะทางกฎหมายทีแตกต่างระหว่างเมืองและชนบทค่อยๆ หายไป และสถานะของ “คนเมือง” ผู้มีอภิสิทธิ <br />

กับคนอืนๆ ทีอยู่ในเมืองทีไม่มีอภิสิทธิ ก็ค่อยๆ หายไปเช่นกัน ทีดินก็ได้กลายเป็นทรัพย์สินอย่างหนึ งทีซื อขาย<br />

ในตลาดได้ตามปกติ ระเบียบต่างๆ ของกิลด์ก็อ่อนแอลงหรือไม่มีใครทําตาม โครงสร้างทางกฎหมายก็ค่อยๆ<br />

เปลียนไปและเป็นการวางรากฐานให้เศรษฐกิจระบบตลาดแบบไม่มีการควบคุม ทุนนิยมกลายมาเป็นแนวทาง<br />

หลักในทางการค้า อุตสากรรม และการเกษตร หลังจากนั น กระบวนการเปลียนแปลงสู่อุตสาหกรรมก็ได้เริม<br />

ขึ นและระบบโรงงานก็ได้โดดเด่นขึ นทั งในอังกฤษและส่วนต่างๆ ของยุโรป สิงทีหลงเหลือจากระเบียบกิลด์<br />

แบบเก่าตอนนี ได้ไม่ถูกยกเลิกไปก็อ่อนแอจนทําอะไรไม่ได้แล้ว การพัฒนาในเชิงสถาบันในแต่ละพืนทีต่างกัน<br />

แต่แนวโน้มทีเกิดร่วมกันในทุกทีก็คือการทีอํานาจรัฐทั งทั งรวมศูนย์และเข้มข้นขึ น รัฐเดินเข้าสู่การปกครอง<br />

โดยระบบราชการหรือรัฐสภา เดินเข้าสู่รัฐบาลทีอยู่ใต้รัฐธรรมนูญและกระบวนการทางกฎหมายสมัยใหม่ การ<br />

สร้างรัฐเกิดขึ นมาก่อนหน้านี นานแล้วแน่นอน แต่ในช่วงนี มันมีการพัฒนาทีเร็วมากๆ โดยการเปลียนแปลง<br />

ทีว่ามาทั งหมดนั นเกิดขึ นส่วนใหญ่โดยชนชั นกลาง และการเปลียนแปลงเหล่านี ก็มีผลอย่างมหาศาลต่อโลก<br />

ของชนชั นกลาง<br />

ในช่วงศตวรรษที พันธมิตรระหว่างพวกอภิชนและชนชั นกลางระดับสูงนั นใกล้ชิดมาก สอง<br />

ตัวอย่างทีชัดคือพวกชนชั นนําฝรังเศส และกลุ่มคนทีเป็นส่วนผสมกันของอภิชนเจ้าทีดิน เจ้าพนักงานรัฐ พ่อค้า<br />

รวยๆ และพวกมืออาชีพเก่าแก่ในลอนดอน แต่ในช่วงศตวรรษที สิงทีเกิดขึ นในทีอืนๆ คืออภิชนนั นเป็นชน<br />

ชั นนําหลัก ในช่วงศตวรรษที สมดุลนั นเปลียนไป องค์ประกอบทางวัฒนธรรมของชนชั นกลางขยายเข้ามา<br />

ในโลกชนชั นนํามากขึ นเพราะช่วงนี เงินทองดูจะสําคัญกว่าคํานําหน้าชือหรือบรรดาศักดิ และสังคมก็เริม<br />

ยอมรับการประเมินคนตามความสามารถมากขึ น ความการเปลียนขั วอํานาจระหว่างชนชั น<strong>กระฎุมพี</strong>กับอภิชน<br />

นั นไม่ได้เป็นไปอย่างราบรืน ความตึงเครียดและขัดแย้งมีเสมอ เช่นในปี , และ แต่การปะทะ<br />

กันเหล่านี ก็ทําได้แต่เพียงสร้างการเปลียนแปลงช้าๆ ในระยะยาวเท่านั น<br />

ในศตวรรษที ชนชั นกลางทางเศรษฐกิจมีจํานวนค่อนข้างน้อย คนกลุ่มนี ส่วนทีมีอํานาจก็คือพวก<br />

พ่อค้า นายธนาคาร เจ้าของอาหารให้เช่า และคนอืนๆ ทีมีบทบาทเป็นพวกหุ้นส่วนระดับเล็กของชนชั นนําที<br />

เป็นเจ้าของทีดิน คนกลุ่มนี ไม่มีอํานาจทางการเมืองและเป็นคนขายขอบของสังคม พอมาศตวรรษที คน<br />

กลุ่มนี ขยายจํานวนขึ น มีทรัพย์สินมากขึ น และมีความสําคัญมากขึ น ในยุโรปตะวันตก การขยายตัวของภาค<br />

การผลิตเริมทําการเปลียนองค์ประกอบของชนชั นกลางทางเศรษฐกิจและทําให้คนกลุ่มนี มีการเรียกร้องมาก<br />

ขึ นพร้อมๆ กับมีอํานาจมากขึ น คนพวกนี เป็นชนชั นกลางแบบใหม่ทีมีสํานึกแบบชนชั นกลางแบบถึงรากถึง


โคน คนพวกนี เน้นการทํางานและการประหยัด การไม่ขึ นกับใครและการช่วยเหลือตัวเอง ซึ งคนพวกนี ก็<br />

เกิดขึ นในเมืองทีภาคการผลิตขยายตัว (เช่นในตอนเหนือของอังกฤษ ตอนเหนือของฝรังเศส และทีแคว้นไรห์น<br />

แลนด์) คนพวกนี ต้านอํานาจของเมืองหลวงต่างๆ และชนชั นนําในนั น รวมถึงระเบียบเก่าทีมีลักษณะแบบ<br />

อภิชน และบางครั งคนพวกนี ก็โจมตีศาสนา/นิกายหลักของประเทศ ในนามของคนทีมาจากศาสนา/นิกายกลุ่ม<br />

น้อยด้วย [20]<br />

ในช่วงนี ระบบราชการแข็งแกร่งขึ น สามัคคีขึ น และมีจิตวิญญาณขององค์กรมากขึ นโดยเฉพาะอย่าง<br />

ยิงในยุโรปกลาง (แต่ไม่จํากัดแค่นั น) โรงเรียนต่างๆ ทั งได้รับการปฏิรูปและขยายตัวออกไป มหาวิทยาลัยกลาย<br />

มาเป็นพื นทีสําคัญในการก้าวสู่ความเป็นชนชั นกลาง ทั งข้าราชการและกลุ่มอาชีพเฉพาะต่างๆ นั นพัฒนาการ<br />

ข้ออ้างและข้อเรียกร้องใหม่ๆ ของตัวเองบนฐานของสิงทีตนได้รํ าเรียนศึกษาและฝึ กฝนมา พวกเขาเน้น<br />

หลักการในการประเมินความสําเร็จของคนผ่านความสามารถ และเน้นว่าชนชั นนําทีเกิดขึ นสมัยใหม่นั นต้อง<br />

มองอาชีพต่างๆ อย่างเป็นเอกเทศ ไม่ขึ นกับอะไรอย่างอืน[21]<br />

หากจะกล่าวอีกแบบแล้ว ทั งชนชั นกลางทางเศรษฐกิจและชนชั นกลางทางวัฒนธรรมผู้มีการศึกษานั น<br />

ล้วนแข็งแกร่งขึ นและสร้างทีทางของตัวเองในช่วงนี อย่างไรก็ดี ในช่วงต้นศตวรรษที คนทั งสองกลุ่มนั นก็<br />

ยังอยู่ร่วมกับพวกชุมชน “คนเมือง” ในเมือง ซึ งถ้าเป็นแถบยุโรปกลางและยุโรปตะวันออกตอนกลาง คนพวก<br />

นี ก็ยังมีสถานะทางกฎหมายทีเฉพาะ และก็ยังมีความเหนียวแน่นทั งทางสังคมและวัฒนธรรมอันทําให้พวกเขา<br />

ต่างจากคนระดับล่างของสังคม และคนในแถบชนบท คนชั นกลางยังไม่เป็นชนชั นกลางอย่างเหมาะสม เพราะ<br />

พวกเขายังไม่ตัดสายสัมพันธ์ของพวกตนออกจากพวกช่างฝี มือ พวกพ่อค้าปลีก ไปจนถึงพวกข้าราชการระดับ<br />

ล่าง<br />

การเป็นสมาชิกในสมาคมต่างๆ นั นเริมทําให้กลุ่มชนชั นชั นกลางใหม่เหล่านี มีความเป็นอันหนึ ง<br />

เดียวกันบนฐานของวัฒนธรรมร่วมทีกําลังก่อตัวขึ น วัฒนธรรมนี มีศูนย์กลางอยู่ทีครอบครัวและงาน<br />

แนวความคิดเรืองความก้าวหน้า ระเบียบศีลธรรมทีเข้มงวด การศึกษา และบางครั งก็รวมถึงศาสนาด้วย<br />

วัฒนธรรมแบบนี ชี ให้เห็นถึงมุมมองต่อชีวิตในยุคหลังอภิชนอันเป็นมุมมองแบบสมัยใหม่ อันมักจะได้รับการ<br />

ผลักดันผ่านการวิพากษ์วิจารณ์ระเบียบเก่าๆ และระบอบอภิชน สิงทีโตจากวัฒนธรรมใหม่แบบนี ก็ได้แก่<br />

โครงการทางเศรษฐกิจการเมืองแบบเสรีนิยมสารพัด ซึ งมันถูกแปรรูปไปเป็นข้อเรียกร้องและการรณรงค์ต่างๆ<br />

ทั งในระดับการเมืองท้องถิน ระดับการเมืองภูมิภาค และระดับการเมืองชาติ แน่นอนว่ามันมีทั งชนชั นกลางที<br />

ไม่เอาแนวคิดเสรีนิยม และคนทีเอาแนวคิดเสรีนิยมทีไม่ใช่ชนชั นกลางแน่ๆ ในแง่หนึ งช่วงครึ งแรกของ


ศตวรรษที นี ความสัมพันธ์เชือมโยงของวัฒนธรรมชนชั นกลางกับแนวคิดเสรีนิยมนั นก็แน่นแฟ้นระดับที<br />

เรียกได้ว่าคลาสสิค ชนชั นกลางพวกนี กําลังขยายตัวขึ น และพวกเขาก็พยายามจะท้าทายสิงทียังเหลือรอดมา<br />

จากระบอบเก่า ไม่ว่าจะเป็นอภิสิทธิ ต่างๆ หรือการปกครองแบบทีทุกวันนี เรียกว่าไม่เป็นประชาธิปไตย[22]<br />

1850 ถึงสงครามโลกครั งที <br />

ในระหว่างช่วงกลางศตวรรษที ถึงสงครามโลกครั งที แนวโน้มเหล่านี บางแนวโน้มก็ดําเนิน<br />

ต่อไป การปฏิวัติอุตสาหกรรมดําเนินไปอย่างรวดเร็วในพื นทีส่วนใหญ่ของยุโรป การพัฒนาของเมืองเร่งขึ น<br />

รัฐประชาชาติได้เกิดขึ นในเยอรมนีและอิตาลีตามข้อเรียกร้องของนักเสรีนิยม การขยายตัวของระบบราชการก็<br />

ยังดําเนินต่อไป ระบบการศึกษาก็ขยายตัวต่อ และหลังจากทศวรรษ การแทรกแซงทางเศรษฐกิจและ<br />

สังคมของรัฐบาลนั นก็ขยายตัวขึ นไปอีก<br />

ชนชั นกลางทางเศรษฐกิจขยายตัวขึ นไปอีกพร้อมๆ กับความมังคังและความสําคัญในสังคมของพวก<br />

เขา โดยตอนนี พวกนายทุนอุตสาหกรรมกลายมาเป็นหัวหอกใหญ่ของคนกลุ่มนี แล้ว การขยายตัวของพวก<br />

ผู้จัดการต่างๆ ก็เกิดขึ นเช่นกัน ในช่วงนี พวกนักธุรกิจจํานวนมากขึ นเรือยๆ ก็เริมมีภูมิหลังทีมีการศึกษาถึง<br />

ระดับมัธยมหรือกระทังมหาวิทยาลัย พวกชนชั นกลางทางวัฒนธรรมก็ขยายตัวขึ นเช่นกันและมีการแบ่งแยก<br />

ย่อยภายในมากขึ น การเป็นมืออาชีพแบบอิสระนั นน้อยลง และการเป็นมืออาชีพทีเป็นลูกจ้างนั นก็ขยายตัวขึ น<br />

แม้กระทั งในเยอรมนี พวกมืออาชีพอิสระและพวกมืออาชีพทีทํางานองค์กรนั นก็เริมมีจํานวนมากกว่า<br />

ข้าราชการ ซึ งระหว่างกลางของทั งสองอย่างคือพวกพระ พวกหมอและนักกฎหมายคือพวกมืออาชีพกลุ่มย่อยที<br />

ใหญ่ทีสุด คนพวกนี ขยายตัวอย่างรวดเร็วไปพร้อมๆ กับความก้าวหน้าทางการแพทย์ ความครอบคลุมของ<br />

ระบบกฎหมาย และการเริมเกิดขึ นของรัฐสวัสดิการ<br />

ในปี ชนชั นกลางได้เหนือกว่าอภิชนอย่างชัดเจนแล้วในยุโรปส่วนใหญ่ไม่ว่าจะเป็นในแง่<br />

ทรัพย์สินเงินทอง อิทธิพลทางวัฒนธรรม และอํานาจทางการเมือง แม้ว่าการอ้างดังนี จะต้องพิจารณาดีๆ ใน<br />

แง่มุมของการกระจายอํานาจทางการเมืองในเยอรมนี ยุโรปกลาง และยุโรปตะวันออก เราก็สามารถจะพูดได้<br />

เลยว่าในช่วงสองทศวรรษก่อนสงครามโลกครั งที เราได้เห็นชนชั นกลางขึ นสู่จุดสูงสุดแล้ว ชนชั นกลางเป็น<br />

คนกลุ่มเล็กในทุกที แต่ทั งสมาชิกและสถาบันของพวกเขา ทั งจิตวิญญาณและวัฒนธรรมของพวกเขานั นขึ น<br />

เป็นใหญ่ไปทัวในพื นทางทางสังคมจํานวนมาก รวมไปจนถึงทั งในเศรษฐกิจและระบบการศึกษา ในศาสตร์<br />

และศิลป์ ในเมือง ในการทํางาน ไปจนถึงในชีวิตครอบครัว มันผิดแน่นอนถ้าเราจะพูดถึงขาลงของชนชั นกลาง


ในช่วงก่อนปี [23] อย่างไรก็ดี ในขณะเดียวกัน ชนชั นกลางก็ประสบความยากลําบากและมีแนวทางตั ง<br />

รับมากขึ น พวกเขาสูญเสียพลังและความเป็นเนื อเดียวกันทีเคยมีไป<br />

มันมีการท้าทายเหล่าชนชั นกลางจากชนชั นล่างก่อนช่วง - มานานแล้ว ชนชั นกลางมองเห็น<br />

การลุกฮือของชนชั นล่างตลอด ตั งแต่การปฏิวัติฝรังเศสในทศวรรษ สงครามชนชั นในอังกฤษช่วงหลัง<br />

สงครามนโปเลียน การลุกฮือและหยุดงานกันของเหล่าคนงานและช่างฝี มือในฝรังเศสช่วงทศวรรษ และ<br />

การปฏิวัติของนักทอผ้าทีซิเซเลียในปี การเรียกร้องการปฏิรูปอย่างถึงรากไปจนถึงการปลุกปันของ<br />

พวกสังคมนิยมสารพัดจนทําให้ช่วงทศวรรษ ถูกเรียกว่า “ฮังกรี โฟร์ตี ” หรือ Vormarz (ซึงก็คือช่วงเวลา<br />

ก่อนการปฏิวัติ ) ความไม่สงบเหล่านี ช่วยยํ าเตือนพวกชนชั นกลางให้ตระหนักว่ามันมีโลกใบใหญ่อยู่ใต้<br />

พวกเขาทีพวกเขาเข้าไปไม่ถึง และน่าจะเป็นโลกอันตรายด้วย พวกชนชั นกลางก็ต้องปกป้องตัวเองจากโลก<br />

ทีว่านี อย่างชาญฉลาด ซึ งการปกป้องตัวเองทีว่านี บางทีก็ต้องเป็นไปในระดับทีต้องละทิงความคิดก้าวหน้าไป<br />

บ้าง และหันไปเป็นพันธมิตรกับพวกชนชั นนําเก่าทีหลงเหลืออยู่<br />

ถึงแม้ว่าประเด็นเกียวกับเส้นแบ่งทางสังคมระหว่างชนชั นกลางกับชนชั นล่างจะไม่ใช่เรืองใหม่เลย แต่<br />

มันก็กลายมาเป็นประเด็นทีโดดเด่นเป็นประเด็นอย่างเต็มทีในช่วงครึ งหลังของศตวรรษที ประสบการณ์<br />

ของการปฏิวัติในปี - ก็ได้เป็นจุดแตกหักทีสําคัญมากระหว่างชนชั นกลางกับชนชั นล่าง เพราะมันคือชุด<br />

ทีมวลชนปลดเปลื องตัวเองจากการนําของชนชั นกลาง และลุกขึ นท้าทายโลกของชนชั นกลาง<br />

ก้าวต่างๆ ของประชาธิปไตยได้เกิดขึ นในช่วงนี ตั งแต่การมีสิทธิ เลือกตั งของผู้ชาย (ซึ งเป็นผลจาก<br />

เหตุการณ์ - ในฝรังเศส ผลจากการเกิดขึ นของชาติเยอรมันช่วง - ผลจากเหตุการณ์ช่วงทศวรรษ<br />

ของอิตาลี ส่วนในอังกฤษและทีอืนๆ ในยุโรป กระบวนการเกิดขึ นอย่างช้าๆ ค่อยเป็นค่อยไป) ทําให้ “คน<br />

ธรรมดา” ก้าวเข้าสู่โลกการเมืองกว่าทุกยุคสมัยทีผ่านมา โครงสร้างของการเมืองนั นเปลียนจากยุคของระบบ<br />

ของชนชั นนํา ไปสู่ยุคของการเมืองมวลชนและชนชั น<br />

ความแข็งแกร่งของขบวนการแรงงานนั นเป็นตัวบ่งชี ว่าชนนั นแรงงานเกิดขึ นและเป็นพลังทีชัดเจน<br />

แล้ว และพร้อมกันนั นความตึงเครียดในหมู่ชนชั นกลางก็มากขึ นด้วย คอมมูนปารีสในปี เป็นการส่ง<br />

สัญญาณสําคัญไปทัวยุโรป ความตึงเครียดและความขัดแย้งระหว่างชนชั นกระจายไปทัวทุกอณูของสังคม<br />

ตั งแต่วัฒนธรรมทัวๆ ไปจนถึงการเมืองในครัวเรือน มันมาในหลายรูปแบบ ทั งแบบตรงไปตรงมาและแบบ<br />

แอบแฝง แต่ประเด็นก็คือสิงเหล่านี หนักข้อมากในช่วงปลายศตวรรษที และต้นศตวรรษที มากกว่า<br />

ช่วงหนึ งร้อยปี ก่อนแน่นอน ชนชั นกลางจํานวนมหาศาลได้เผชิญหน้ากับคู่อริตัวใหม่ แต่เดิมศูนย์กลางของ


วัฒนธรรมและการเมืองของชนชั นกลางคือการรุกต่อสู้กับพวกชนชั นนําเก่า แต่มาตอนนี ชนชั นกลางกลายมา<br />

เป็นฝ่ ายรับทีกิจกรรมส่วนใหญ่เป็นเรืองของการแยกตัวออกจากชนชั นล่าง<br />

แวดวงสังคมของชนชั นกลางต้องออกมาพูดชัดเจนในสิงทีก่อนหน้านี รับรู้กันโดยทัวไปแต่ไม่มีใคร<br />

พูด พวกเขาต้องกล่าวว่าพวกเขาไม่ใช่ส่วนหนึ งของคนทัวไป นีทําให้รอยแยกระหว่างแวดวงของผู้มีเงินทอง<br />

และการศึกษากับ “ประชาชน” กว้างขึ นไปอีก องค์ประกอบแบบกิลด์ในชุมชน “คนเมือง” นั นค่อยๆ เสือม<br />

สลายลง แต่พร้อมกันนั น การจําแนกความแตกต่างระหว่างชนชั นกลางระดับบนกับล่างนั นก็พัฒนาขึ นไปอีก<br />

ขั น มันเกิดช่องว่างทีกว้างขึ นทีฝังหนึ งคือพวกพ่อค้ารายใหญ่ นายทุนอุตสาหกรรม อาจารย์มหาวิทยาลัย และ<br />

ข้าราชการระดับสูง และอีกฝังหนึ งคือช่างฝี มือ เจ้าของร้านค้าปลีก เจ้าของโรงแรม ข้าราชการชั นผู้น้อย และ<br />

ลูกจ้างในธุรกิจต่างๆ ในครึ งหลังของศตวรรษที นี เองทีชนชั นกลางล่างเริมมีตัวมีตนทีชัดเจน และมโนทัศน์<br />

“ชนชั นกลาง” ก็มีความหมายแคบลงและหมายถึงแวดวงของผู้คนทีมีการศึกษาและเงินทอง[24]<br />

ส่วนบนขององค์ประกอบของชนชั นกลางก็เปลียนไปเช่นกัน งานวิจัยเมือไม่นานมานี มีเหตุผลทีดีเลย<br />

ทีจะเรียกว่าชนชั นกลางระดับบนของศตวรรษที ว่าเป็นชนชั นกลางที “ได้กลายเป็นศักดินา” พวกชนชั น<br />

กลางรวยๆ เริมซื อทีดินและใช้ชีวิตบางช่วงในรอบปี ทีคฤหาสน์หรูนอกเมือง คนพวกนี เริมบริโภคเพือบอก<br />

ฐานะ เริมล่าสัตว์และเล่นคริกเก็ต เริมทําการคบค้าสมาคมกับพวกอภิชนเป็นปกติไม่ใช่แค่ตามเทศกาลที<br />

ลอนดอนหรือเบอร์ลิน ไปจนถึงคิดให้ลูกสาวของตนแต่งเข้าบ้านพวกอภิชน ซึ งสิงเหล่านี ก็การทําตัว<br />

เลียนแบบอภิชนของพวกชนชั นกลางนันเอง<br />

ชนชั นกลางสามารถมีวิถีชีวิตแบบพวกอภิชนได้โดยไม่ละลายการทําธุรกิจของตน และหลายๆ คนก็<br />

ทําแบบนั น เสรีนิยมนั นไม่เคยเป็นองค์ประกอบทีแยกไม่ขาดจากวัฒนธรรมชนชั นกลาง และการย้ายไปเข้าฝัง<br />

อนุรักษ์นิยมของพวกนักธุรกิจรวยๆ ข้าราชการระดับสูง และพวกมืออาชีพต่างๆ ตั งแต่ปลายศตวรรษที เป็น<br />

ต้นมาก็ไม่สามารถจะถือว่าเป็นการลืมกําพืดชนชั นกลางได้ การได้บรรดาศักดิ เป็นอภิชนเป็นสิงทีไม่ค่อย<br />

เกิดขึ น ส่วนใหญ่พวกลูกชายของนักธุรกิจรวยๆ ก็จะอยู่ในโลกธุรกิจนันแหละ และส่วนใหญ่พวกครอบครัว<br />

อภิชนก็จะนิยมให้รุ่นลูกแต่งงานกับชนชั นเดียวกัน และพวกเขาก็ยังคงเดียดฉันท์กับการมุ่งจะเป็นเลิศในโลก<br />

การค้าและอุตสาหกรรมใดๆ<br />

อย่างไรก็ดี ถึงมันจะมีความไม่ลงรอยบางอย่างของชนชั นกลางกับอภิชนอยู่จริงๆ ในช่วงนี แต่นันก็<br />

ไม่ได้หมายความว่าข้อเสนอว่าชนชั นกลางกําลังกลายเป็นเจ้าศักดินาไม่มีแก่นความจริงอะไรอยู่ และใน<br />

ทางตรงข้าม มันมีความจริงทีสําคัญบางอย่างในนั นด้วยซํ า ในปี ความมังคังของชนชั นกลางรวยๆ นั นอยู่


ในระดับเดียวกับพวกอภิชนหรือกระทังมากกว่าด้วยซํ า ซึ งนีเป็นคนละเรืองกับตอนปี ทีพวกอภิชนยัง<br />

รวยกว่าอยู่ ชนชั นกลางระดับบนนั นมีความใกล้เคียงพวกอภิชนมากๆ ไม่ว่าจะเป็นเรืองวิถีชีวิตและวัฒนธรรม<br />

การแต่งงานระหว่างชนชั นและการผสมปนเปทางสังคมระหว่างพวกชนชั นกลางและพวกอภิชนนั นสูงอย่างที<br />

ไม่เคยเป็นมาก่อนในอังกฤษสมัยพระเจ้า Edward และในเยอรมนีสมัยพระเจ้า Wilhelm และในรัสเซียช่วงก่อน<br />

การปฏิวัติ ในโลกการเมือง ความขัดแย้งระหว่างพวกเจ้าทีดินกับพวกนักธุรกิจ ไปจนถึงความขัดแย้งระหว่าง<br />

พวกอภิชนอนุรักษ์นิยมและชนชั นกลางเสรีนิยมนั นได้จบสินแลงแล้วในช่วงนี อภิชนจํานวนมากได้ปรับตัว<br />

เข้าสู่ยุคใหม่และรับแก่นหลักๆ ของวัฒนธรรมชนชั นกลางมาหมดแล้ว และพร้อมกันนั นชนชั นกลางจํานวน<br />

มากก็เริมเอียงไปทางอนุรักษ์นิยม เมือต้องเผชิญกับภัยจากเบื องล่าง คนทีอยู่ด้านบนของสังคมนั นก็ให้<br />

ความสําคัญกับประสบการณ์และผลประโยชน์ทีมีร่วมกันมากกว่า สิงเหลานี ทีพวกเขามีไม่เหมือนกันและแยก<br />

พวกเขาออกจากกันในช่วงก่อนหน้านี และสิงทีน่าจะเรียกได้ว่าชนชั นนําแบบผสมทีพยายามจะประสานรอย<br />

แยกระหว่างอภิชนและชนชั นกลางก็ถือกําเนิดขึ น โดยเฉพาะอย่างยิงในยุโรปตะวันตก[25]<br />

สําหรับชนชั นกลางเอง นีหมายถึงการแบ่งแยกภายในมีมากขึ น เพราะส่วนบนของชนชั นกลางนั น<br />

กําลังพยายามจะถอนตัวจากชนชั น สองมิติทางสังคมทีเป็นตัวบ่งชี สําคัญของอัตลักษณ์ชนชั นกลางมายาวนาน<br />

เริมจางหายไป ความสัมพันธ์ของวัฒนธรรมชนชั นกลางกับแนวคิดเสรีนิยมได้ผุพังไป และการนิยม<br />

ความก้าวหน้าของชนชั นกลางก็ได้ลดลงและกลายเป็นปรากฎการณ์ในชนชั นกลางกลุ่มน้อยเท่านั น แนวคิด<br />

ชาตินิยมทีถือกําเนิดมายังคงแข็งแรงอยู่ แต่ตอนนี แนวคิดชาตินิยมมันก็เริมมีนัยยะของการไม่เอาเสรีนิยม เป็น<br />

การนิยมนิยมจักรวรรดิ นิยม ไปจนถึงมีนัยยะในการเหยียดเชื อชาติ ความไม่มันคงทางปัญญาขยายตัวขึ น บน<br />

ฐานของสิงเหล่านี การวิจารณ์โลกของชนชั นกลางอย่างรุนแรงไปจนถึงการปฏิเสธโลกของชนชั นกลางตรงๆ<br />

ก็แพร่กระจายอย่างรวดเร็ว การวิจารณ์เหล่านี เน้นไปทีการไม่ให้คุณค่าศิลปะวัฒนธรรมเท่าทีควร ความหน้า<br />

ไหว้หลังหลอก การเน้นพิธีรีตองต่างๆ อย่างเคร่งครัด ไปจนถึงการมองชีวิตแบบ “มีเหตุผล” มากเกินไป พวก<br />

ทีมีอิทธิพลในการผลักคําวิจารณ์โลกของชนชั นกลางทีสุดคือพวกขบวนการแรงงานสังคมนิยม โดยคนทีป่ าว<br />

ประกาศแนวคิดเหล่านี ในหลายครั งก็คือชนชั นกลางเอง พวกปัญญาชน ศิลปิ น นักเขียนหัวก้าวหน้า ไปจนถึง<br />

พวกขบวนการคนรุ่นใหม่ของชนชั นกลางในช่วงรอยต่อของทศวรรษ มีคลับและสมาคมมากมายทีวิจารณ์<br />

วัฒนธรรมชนชั นกลางอย่างจริงจัง และสมาชิกของคลับและสมาคมพวกนี ส่วนใหญ่ก็เป็นชนชั นกลาง นีทําให้<br />

ช่วงสินศตวรรษและก่อนสงครามโลกครั งที โลกของชนชั นกลางนั นไม่ได้ถูกจู่โจมจากเบื องล่างเท่านั น แต่<br />

มันก็มีการตั งคําถามภายในตัวมันเองอย่างมากมายด้วย[26]


ตั งแต่สงครามโลกครั งที <br />

ประวัติศาสตร์ของชนชั นกลางหลังสงครามโลกครั งที เป็นเรืองของชัยชนะและการแพร่กระจาย ใน<br />

แง่หนึ งแล้ว ชนชั นกลางได้หายไปพร้อมๆ กับสองชนชั นทีเป็ นศัตรูของมัน สิงทีคงอยู่กลับเป็นวัฒนธรรมของ<br />

ชนชั นกลางทีเปลียนไปและขยายตัวอย่างมาก<br />

เส้นแบ่งระหว่างอภิชนกับส่วนอืนๆ ของสังคมได้จางหายไปแล้ว ในศตวรรษที อภิชนในยุโรปไม่<br />

มีอภิสิทธิ ทางกฎหมายใดๆ เหลือแล้ว หรือเอาจริงๆ สถานะพิเศษทางสังคมของคนกลุ่มนี ก็ไม่มีเหลือเช่นกัน<br />

ในยุโรปตะวันออก อภิชนถูกทําลายละขับไล่โดยพวกเผด็จการคอมมิวนิสต์ ในยุโรปกลาง พวกอภิชนก็พังไป<br />

กับการขยายตัวของฟาสซิสต์และสงคราม ในพื นทีส่วนใหญ่ของยุโรป ชัยชนะของทุนนิยมและประชาธิปไตย<br />

เป็นกลไกสําคัญในการทําให้สถานะทางสังคมไปจนถึงสิทธิ ต่างๆ ทียังหลงเหลือของอภิชนสูญสินไปหมด<br />

พวกอภิชนอาจหลงเหลืออยู่บ้าง (โดยเฉพาะในอังกฤษ) แต่ถ้าจะมองในพื นทีส่วนใหญ่ของยุโรป มันไม่<br />

สมเหตุสมผลอีกแล้วทีเราจะยังแยกอภิชนกับชนชั นกลางออกจากกันอีกเวลาพิจารณาส่วนบนสุดของสังคม<br />

ต่างๆ นีทําให้นักประวัติศาสตร์ของศตวรรษที และนักวิชาการทีศึกษาปัจจุบันนั นมักจะเรียกคนพวกนี <br />

รวมๆ ว่า ชนชั นนํา หรือ Oberschicht ในภาษาเยอรมัน หรือ classes superieures ในภาษาฝรังเศส [27]<br />

แต่เส้นแบ่งทางสังคมอย่างทีสองทีช่วยในการระบุตัวตนของชนชั นกลางในศตวรรษที นั นกลับ<br />

ยังคงดํารงอยู่ ตลอดศตวรรษที เส้นแบ่งระหว่างชนชั นกลางกับชนชั นล่างนั นอยู่ภายใต้อิทธิพลของ<br />

ความสัมพันธ์ทางสังคมภายในสังคมหนึ งๆ และการเมืองในรัฐนั นๆ กระทังในตอนนี เส้นแบ่งทางชนชั นนี ก็<br />

ไม่ได้หายไปในสังคมยุโรปตะวันตกใดๆ และมันก็กําลังจะโผล่มากอีกครั งในยุโรปตะวันออก อันเป็นพื นที<br />

“ความแตกต่างทางชนชั น” ถูกบ่อนทําลาย กดทับ และถูกแทนทีด้วยความไม่เท่าเทียมในรูปแบบอืนๆ อย่างไร<br />

ก็ดี องค์ประกอบของกลุ่มประชากรทีทํางานก็ได้เปลียนแปลงไปในระดับรากฐาน อันเป็นผลจากความชะงัก<br />

งันและการเสือมถอยของภาคการผลิตทีต้องใช้แรงงานคอปกนํ าเงิน การขยายตัวอย่างมหาศาลของแรงงานคอ<br />

ปกขาว รวมไป รวมไปถึงการเปลียนแปลงอย่างลึกซื งในโลกการทํางาน ชีวิตของแรงงานได้เปลียนไปอย่าง<br />

มหาศาลภายหลังสังคมเข้าสู่ประชาธิปไตย การเกิดขึ นของรัฐสวัสดิการ และการขยายตัวของกําลังซื อของ<br />

มวลชนอย่างทีไม่ได้คาดเดามาก่อนในช่วง ’s การประสานกันของขบวนการแรงงานต่างๆ พัฒนาขึ นไป<br />

อีก ระบอบเผด็จการต่างๆ และสงครามต่างๆ ในศตวรรษที ไปจนถึงการสูญสลายของประชากรและการ<br />

ย้ายถินฐานของประชากรทีตามมาล้วนทําให้วัฒนธรรมชนชั นแรงงานดังเดิมผุพังไปในยุโรปส่วนใหญ่ แต่สิง


ทีทําให้ชนชั นแรงงานหายไปเร็วยิงกว่านั นก็คือการพัฒนามาตรฐานการครองชีพและการเกิดขึ นของสังคม<br />

บริโภคภายหลังสงครามโลกครั งที <br />

รูปแบบของความไม่เท่าเทียมกันทางสังคมและวัฒนธรรมนั นไม่ชัดเจนขึ นอย่างมากในช่วงปี ทีเพิง<br />

ผ่านมา แน่นอน ขบวนการแรงงานไม่ได้หายไปไหน จริงๆ แล้ว ขบวนการแรงงานนั นท้าทายชนชั นกลาง<br />

กว่าเดิมอีกภายหลังสงครามโลกครั งที ขบวนการคอมมิวนิสต์นั นเป็นขบวนการทีท้าทายชนชั นกลางใน<br />

ระดับท้องถิน ก่อนทีมันจะขยายตัวจนใหญ่กว่าฐานชนชั นแรงงานระดับท้องถินของมันและกลายมาเป็นการ<br />

ท้าทายชนชั นกลางระดับนานาชาติไป แต่ในสังคมตะวันตกหลังสงครามโลกครั งที ขบวนการแรงงานต่างๆ<br />

ก็ได้สูญพลังไปบางส่วน และสูญเสียความถึงรากถึงโคนไปจนหมดสิน และในท้ายทีสุด ภัยคอมมิวนิสต์ของ<br />

ชนชั นกลางก็ได้สูญสลายไปในระดับนานาชาติเช่นกัน<br />

เรืองทีว่ามานี เป็นเรืองซับซ้อนเกินว่าจะเล่าในทีนี แต่ ณ จุดนี ประเด็นคือว่า การท้าทายชนชั นกลาง<br />

จากเบื องล่าง (ซึ งมันมีความเกียวพันใกล้ชัดกับการผงาดของชนชั นล่างและขบวนการแรงงานสังคมนิยม) อัน<br />

เป็นปัจจัยสําคัญในการก่อร่างชนชั นกลางในศตวรรษที และต้นศตวรรษที นั น ไม่สามารถอยู่รอดมาได้<br />

ถึงหลังสงครามโลกครั งที หลังจากนี เป็นต้นมา ในสังคมตะวันตกมันมีรอยแยกทางสังคมใหม่ๆ เช่นระหว่าง<br />

คนส่วนใหญ่ของสังคมกับพวกผู้อพยพระดับล่าง พวกคนตกงาน และพวกชนกลุ่มน้อยชายขอบ ความไม่เท่า<br />

เทียมทางสังคมในภาพรวมไม่ได้ลดลง มันมีความขัดแย้งใหม่ๆ ด้วย เช่น ประเด็นเรืองสิงแวดล้อม แต่สิง<br />

เหล่านี ก็ไม่ได้ทํางานท้าทายชนชั นกลางแบบขบวนการสังคมนิยมกรรมาชีพซึ งเคยมีผลให้ชนชั นกลางต้อง<br />

ผนึกกําลังกันและรักษาพรมแดนของตัวเองในศตวรรษที [28]<br />

ชนชั นกลางแข็งแกร่งกว่าบรรดาคู่ต่อสู้ของพวกเขาจริงๆ พวกเขาชนะในทีสุด วัฒนธรรมและ<br />

หลักการของพวกเขากระจายไปทัวในพวกชนชั นนําในสังคม กระจายในบางระดับไปในชนบททีกําลังหดตัว<br />

ลง กระจายไปในมวลชนชั นกลางทีเคยถูกเรียกว่า “ชนชั นกลางล่าง” และกระจายไปในหมู่ชนชั นแรงงานด้วย<br />

ซํ าในบางระดับ อย่างไรก็ดี มันก็มีขีดจํากัดในการกระจายทางวัฒนธรรมของชนชั นกลางอยู่ และมันก็ยังมี<br />

ความแตกต่างหลากหลายไปในทุกที นีทําให้แม้แต่สังคมตะวันตกเอง ก็ไม่สามารถจะถูกเรียกว่า “สังคม<br />

<strong>กระฎุมพี</strong>” ได้เต็มปาก แต่ในตอนนี วัฒนธรรมชนชั นกลางอันมีแนวโน้มทีจะมุ่งสู่งความเป็นสากลก็ได้เคลือน<br />

ตัวไปจากกลุ่มก้อนทางสังคมทีวัฒนธรรมมันก่อตัวมาและพัฒนาจนชัดเจนชัดเจนไปไกลแล้ว และในชัยชนะ<br />

ครั งนี สิงทีชนชั นกลางเสียไปก็คืออัตลักษณ์ของตนเอง


แต่มันก็มีความเปลียนแปลงภายในเช่นกัน กลุ่มชนชั นกลางทีรับเงินเดือนเป็นหลักขยายตัวไปมากกว่า<br />

กลุ่มที “เป็นนายตัวเอง” นีทําให้นิยามของ “การพึ งพา” ของชนชั นกลางก็ต้องเปลียนไปด้วย ตอนนี มันยังมี<br />

ร่องรอยของชนชั นกลางข้าราชการอยู่ พวกเจ้าทีดินให้เช่าทีมีรายได้จากอสังหาริมทรัพย์โดยไม่ต้องทํางานนั น<br />

มีจํานวนน้อยลง (เว้นแต่ในหมู่ผู้สูงอายุ) การลดลงนี อาจมองว่าเป็นความก้าวหน้าของหลักการในการเน้นการ<br />

ทํางานและความสําเร็ขของชนชั นกลางก็ได้<br />

องค์ประกอบอืนๆ ของชนชั นกลางในศตวรรษที นั นสูญหายไปในการก้าวสู่ความเป็นสมัยใหม่<br />

และหายนะต่างๆ ในศตวรรษที ตั งแต่สงครามโลกครั งที เป็นต้นมา จํานวนคนรับใช้ในบ้านเรืองของชน<br />

ชั นกลางนั นลดลงอย่างต่อเนือง ซึ งคนรับใช้เหล่านี เคยเป็นส่วนประกอบสําคัญอย่างมากของครอบครัวชนชั น<br />

กลางในศตวรรษที การเรียนศิลปวัฒนธรรมคลาสสิคนั นไม่เป็นทีนิยมแล้วในหมู่ชนชั นกลาง และสิงทีเป็น<br />

ทีนิยมกว่าก็คือการเรียนวิชาชีพทีต้องใช้ความชํานาญเฉพาะ การเปลียนแปลงนี ทําลายมิติทางวัฒนธรรมอัน<br />

สําคัญทีเคยผูกชนชั นกลางไว้ด้วยกัน วัฒนธรรมต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นวัฒนธรรมของการทํางานและความมัธยัสถ์<br />

วัฒนธรรมของความก้าวหน้าและความเชือในระเบียบ วัฒนธรรมของความเคร่งครัดในศาสนาและการทําสิงที<br />

ถูกต้อง ทีล้วนเคยเป็นลักษณะเด่นทีใช้นิยามความเป็นชนชั นกลางในศตวรรษที นั นล้วนหายไปหมดในชน<br />

ชั นกลางศตวรรษที สถาบันทีเป็นแกนกลางของวัฒนธรรมชนชั นกลางอย่างครอบครัวได้เปลียนแปลงไป<br />

มหาศาล เพราะการแบ่งบทบาทตามเพศอย่างชัดเจนนั นเคยถือเป็นแกนกลางของครอบครัวชนชั นกลาง แต่<br />

ในตอนนี ความสัมพันธ์ระหว่างเพศได้เปลียนไปโดยสินเชิงแล้วและเส้นแบ่งทีเคยมีก็แทบจะหายไปหมด<br />

นอกจากนี อิทธิพลอืนก็สงผลต่อครอบครัวชนชั นกลางเช่นกัน เช่น การเปลียนแปลงของสถานะของวัยรุ่น<br />

การผงาดขึ นของสือ ไปจนถึงการมีทางเลือกทีมากมายหลากหลายในสังคมสมัยใหม่ ผลทีเกิดขึ นโดยรวมก็คือ<br />

ครอบครัวได้สูญหน้าทีทีมันเคยมีในศตวรรษที รวมไปถึงความเป็นปึ กแผ่นภายในตัวมันเอง ซึ งการ<br />

เปลียนแปลงของครอบครัวชนชั นกลางนี ก็ส่งผลให้วัฒนธรรมชนชั นกลางโดยรวมผุพังไป [29]<br />

แต่เราก็ควรจะตระหนักเช่นกันว่าการเปลียนแปลงเหล่านี เกิดขึ นในโลกของชนชั นกลางเอง นีเป็น<br />

ความจริงแน่นอนถ้าเราพูดถึงขบวนการเพือความเท่าเทียมของผู้หญิง เพราะขบวนการนี ใช้ฐานข้อเรียกร้อง<br />

แบบชนชั นกลาง ไม่ว่าจะเป็น สิทธิระดับปัจเจก การศึกษา การทํางานและการประสบความสําเร็จ ไปจนถึง<br />

การมีส่วนร่วมในชีวิตสาธารณะ ซึ งเอาจริงๆ มันคือการคิดกับข้อเรียกร้องนี จริงจังพอทีจะขยายข้อเรียกร้องนี <br />

ให้ไกลไปกว่าการเป็นข้อเรียกร้องของผู้ชายเท่านั นไปให้เป็นข้อเรียกร้องของผู้หญิงด้วย เพราะอย่างน้อยๆ<br />

ผู้หญิงก็เป็นกลุ่มคนทีเคยถูกปฏิเสธสิทธิทีชนชั นกลางพึงมีมาตลอด ปี แรกของประวัติศาสตร์ชนชั นกลาง<br />

การทีเอาผู้หญิงซึ งเป็น “อีกครึ งหนึ ง” ของชนชั นกลางร่วมเข้ามาในวัฒนธรรมอย่างเท่าเทียม ตัววัฒนธรรมก็


ต้องเปลียนตาม และนีก็เป็นจริงเช่นกันกับความพยายามจะรวมเอาชนชั นอืน และคนในพื นทีอืนๆ ของโลกเข้า<br />

มาในวัฒนธรรมชนชั นกลาง ทุกวันนี กระบวนการเหล่าน็ก็ยังดํารงอยู่ และเราก็ไม่รู้ว่ามันจะไปจบเมือไร ซึ ง<br />

มันก็ทําให้วัฒนธรรมชนชั นกลางยังเปลียนไปเรือยๆ<br />

บทความนี ได้เน้นพูดถึงชนชั นกลางในแง่ของกลุ่มทางสังคมเล็กๆ ทีชัดเจนและมีอิทธิพลสูง ซึ งคน<br />

กลุ่มนี นิยามตนเองผ่านการมีวัฒนธรรมร่วมกันและมีศัตรูร่วมกัน การดํารงอยู่ของคนกลุ่มนี แตกต่างออกไป<br />

ตามพื นทีและเวลา พวกเขาเกิดขึ นในศตวรรษที และเสือมถอยไปในช่วงศตวรรษที พวกเขาสถาปนา<br />

ตัวเองชัดเจนในแถบยุโรปตะวันตกกว่าแถบยุโรปตะวันออก การดํารงอยู่ของชนชั นกลางนั นขึ นอยู่กับการจัด<br />

วางทางสังคมในประวัติศาสตร์ทีเฉพาะ ซึ งองค์ประกอบหลักในการจัดวางนี ก็คือจารีตของยุคแห่งการรู้แจ้ง<br />

และการแบ่งแยกระหว่างเมืองและชนบททีสืบทอดมาจากยุคกลาง มันดูเหมือนว่าการจัดวางนี จะเป็นสิง<br />

เฉพาะเจาะจงของสังคมยุโรปเท่านั น และก็ดูเหมือนว่ามันจะไม่ปรากฎในทีอืนๆ ในโลก<br />

[*] บทความนี จะไปปรากฎที Hartmut Kaelble, ed., The European Way (Providence, R.I., in press) ด้วย โดย<br />

ตีพิมพ์ในทีนี โดยได้รับอนุญาตจาก Berghahn Books แล้ว ผู้เขียนเขียนบทความนี ในขณะทีผู้เขียนเป็น Fellow ที<br />

Center for Advanced Study in the Behavioral Sciences ที Stanford University ในช่วงปี 1994-95 และผู้เขียนก็<br />

รู้สึกขอบคุณทีนันมากๆ เพราะบรรยากาศการทํางานมันกระตุ้นให้ผู้เขียนผลิตงานสุดๆ นอกจากนี ผู้เขียนยัง<br />

ขอขอบคุณ สมาชิกของ European History Workshop ที Stanford University สําหรับการอภิปรายร่างบทความ<br />

เช่นนี พร้อมทั งขอขอบคุณ Gunilla-F. Budde ที Berlin ทีช่วยผมเตรียมต้นฉบับงานชินนี<br />

[1] D. Blackbournand R. J. Evans, eds., The German Bourgeoisie: Essays on the Social History of the German<br />

Middle Class from the Late Eighteenth through the Early Twentieth Century (London, 1991); V. Bacskai, ed.,<br />

Bürgertum und bürgerliche Entwicklungin Mittel-und Osteuropa, 2 vols. (Budapest,1986); E. Bruckmulleret<br />

al., eds., Bürgertum in der Habsburgermonarchie, 2 vols. (Wien, 1990, 1992); R. Romanelli, "Political Debate,<br />

Social History, and the Italian 'Borghesia': Changing Perspectives in Historical Research," Journal of Modern<br />

History 63 (1991): 717-39.<br />

[2] P. M. Pilbeam, The Middle Classes in Europe, 1789-1914: France, Germany, Italy and Russia (London,<br />

1990), p. 1.


[3] P. Gay, The Bourgeois Experience: Victoriato Freud, vol. 1, Education of the Senses (Oxford, 1984), pp.<br />

18-24; J. Kocka, "The European Pattern and the German Case," in Bourgeois Society in Nineteenth-Century<br />

Europe, ed. J. Kocka and A. Mitchell (Oxford, 1993), pp. 3-4, 8-15.<br />

[4] G. Crossick and H.-G. Haupt, eds., Shopkeepers and Master-Artisans in Nineteenth-Century Europe<br />

(London, 1984); J. Kocka, Les employes en Allemagne, 1850-1980: Histoire d'un groupe sociale (Paris,<br />

1989).<br />

[5] Kocka, "The European Pattern," p. 4; R. Price, A Social History of Nineteenth Century France (London,<br />

1987), p. 122; Gay, p. 23.<br />

[6] นีหมายความถึงการละเลยความหมายและนัยยะทีต่างของสองคํานี คําว่า “ชนชั นกลาง” โดยทัวไปจะเป็น<br />

คําทีกว้างกว่า “<strong>กระฎุมพี</strong>” และคําว่า “<strong>กระฎุมพี</strong>” ก็มักจะถูกใช้ในข้อเขียนทางการเมือง ข้อเขียนเชิงวิพากษ์ และ<br />

ข้อเขียนชวนทะเลาะมากกว่าคําว่า “ชนชั นกลาง” ซึ งมักถูกใช้แบบกลางๆ กว่า ดู R. Koselleck, U. Spree, and<br />

W. Steinmetz, "Drei burgerliche Welten? Zur vergleichenden Semantik der bürgerlichen Gesellschaft in<br />

Deutschland, England, und Frankreich," in Bürger in der Gesellschaftder Neuzeit, ed. H. J. Puhle (Gottingen,<br />

1991), pp. 14-58; W. Steinmetz, "Gemeineuropaische Tradition und nationale Besonderheiten im Begriff der<br />

'Mittelklasse': Ein Vergleich zwischen Deutschland, Frankreich und England," in Bürgerschaft: Rezeption<br />

und Innovation der Begrifflichkeitvom hohen Mittelalterbis ins 19. Jahrhundert, ed. R. Koselleck and K.<br />

Schreiner (Stuttgart, 1994), pp. 161-236; U. Spree, "Die verhinderte 'Bürgerin'? Ein Begriffsgeschichtlicher<br />

Vergleichzwischen Deutschland, Frankreich und Grofbritannien,"in ibid., pp. 274-306.<br />

[7] การไล่ดูความหมายและการใช้คอนเซ็ปต์ทีเป็นสิงตรงข้ามกับ "ชนชั นกลาง" ในยุคต่างๆ ทีเปลียนไปนั นเป็น<br />

หนึ งในวิธีในการดูการเปลียนเปลียนแปลงของชนชั นกลาง สามารถดูหลักฐานในเชิงเปรียบเทียบอย่างละเอียด<br />

ได้ที J. Kocka, "Bürgertum und bürgerliche Gesellschaft im 19. Jahrhundert: Europaische Entwicklungen und<br />

deutsche Eigenarten," in Bürgertumim 19. Jahrhundert: Deutschland im europdischen Vergleich, ed. J. Kocka<br />

and U. Frevert (Munich 1988), 1:20-24.<br />

[8] L. Davidoff and C. Hall, Family Fortunes: Men and Women of the English Middle Classes, 1780-1850<br />

(Chicago, 1987), pp. 18-28; M. A. Kaplan, The Making of the Jewish Middle Class: Women, Family, and<br />

Identity in Imperial Germany (Oxford, 1991); B. G. Smith, Ladies of the Leisure Class: The Bourgeoisie of<br />

Northern France in the Nineteenth Century (Princeton, N.J., 1981); G.-F. Budde, Auf dem Weg ins


Bürgerleben: Kindheitund Erziehung in deutschen und englischen Bürgerfamilien, 1840-1914 (Gottingen,<br />

1994).<br />

[9] สําหรับกรณีออสเตรีย ดู U. Docker, Die Ordnungder buirgerlichen Welt: Verhaltensideale und soziale<br />

Praktikenim 19. Jahrhundert (Frankfurt,1994); สําหรับกรณีสวีเดน ดู J. Frykman and O. Lofgren, Culture<br />

Builders: A Historical Anthropology of Middle-Class Life (New Brunswick,N.J., 1987).<br />

[10] Th. Zeldin, France, 1848-1945 (Oxford, 1973), 1:22. ถ้าว่าตามนิยามของเราแล้ว "ชนชั นกลาง" ไม่ใช่แค่<br />

คอนเซ็ปต์ลอยๆ แต่เป็นกลุ่มทางสังคมทีมีอยู่จริงๆ ทีมีลักษณะบงาอย่างร่วมกัน มีความรู้สึกเป็นพวกเดียวกัน<br />

มีทัศนคติและคุณค่าร่วมกัน ไปจนถึงมีแนวโน้มทางพฤติกรรมแบบเดียวกัน<br />

[11] J. Blum, ed., The End of the Old Order in Rural Europe (Princeton, N.J., 1978). ส่วนหนังสือทีเนื อหา<br />

คล้ายคลึงกันทีว่าด้วยการสินสุดลงของระบบกิลด์ในเมืองนั นก็ยังไม่มีใครเขียนออกมา W. Mosse, "Nobility<br />

and Middle Classes in 19th-Century Europe: A Comparative Study," in Kocka and Mitchell, eds., pp. 70-102.<br />

[12] E. Hobsbawm, "The Example of the English Middle Class," in Kocka and Mitchell, eds., pp. 127-50; B.<br />

Str'ath, "Die burgerliche Gesellschaft in Schweden," in Kocka and Frevert, eds., 1:224-46.<br />

[13] A. Daumard, Les bourgeois et la bourgeoisie en France depuis 1815 (Paris, 1987); G. Chaussinand-<br />

Nogaret et al., Histoire des elites en France du XVIe au XXe siecle: L'honneurle merite, l'argent (Paris, 1991);<br />

A. M. Banti, Terrae denaro: Una bourghesia padana dell'Ottocento (Venice, 1989); A. Tanner, "Bürgertum<br />

und Bürgerlichkeit in der Schweiz: Die 'Mittelklassen'an der Macht," in Kocka and Frevert, eds., 1:193-223.<br />

[14] ดูบทความประมวลความแตกต่างกันของโปแลนด์และรัสเซียที E. Bruckmuller and H. Stekl และที W.<br />

Dlugoborski in Kocka and Frevert, eds., pp. 160-92, 266-99. ดูกรณีรัสเซียที Pilbeam (n. 2 above), pp. 18-22,<br />

passim; G. Fischer, "The Intelligentsia and Russia," in The Transformation of Russian Society: Aspects of<br />

Social Change since 1861, ed. T. E. Black (Cambridge, Mass., 1960), pp. 353-73; A. J. Rieber, Merchants and<br />

Entrepreneurs in Imperial Russia (Chapel Hill, N.C., 1982)<br />

[15] H. Perkin, The Origins of Modern English Society, 1780-1880 (London, 1969), pp. 252 ff.; H.<br />

Berghoffand R. Muller, "Tired Pioneers and Dynamic Newcomers? A Comparative Essay on English and<br />

German Entrepreneurial History, 1870-1914," Economic History Review 47, no. 2 (1994): 262-87; R.<br />

Torstendahl and M. Burrage, eds., The Formation of Professions: Knowledge, State and Strategy<br />

(London,1990); K. Offen, "The Second Sex and the Baccalaurea tin Republican France, 1880-1924," French<br />

Historical Studies 13 (1983): 252-86.


[16] H.-U. Wehler, "Deutsches Bildungsbürgertum in vergleichender Perspektive: Elemente eines<br />

'Sonderwegs'?" in Bildungsbürgertum im 19. Jahrhundert IV: Politischer Einfu, 83 und gesellschaftliche<br />

Formation, ed. J. Kocka (Stuttgart, 1989), pp. 215-37. ชั นกลางเยอรมันตะวันตกเฉียงใต้จะอยู่ใต้อิทธิพลของ<br />

ข้าราชการและคนมีวิชาชีพต้อยกว่า ดู L. Gall, Bürgertum in Deutschland (Berlin, 1989). H. Kaelble, Social<br />

Mobility in the 19th and 20th Centuries: Europe and America in Comparative Perspective (Leamington Spa,<br />

1985); K. Tenfelde, "Unternehmer in Deutschland und Osterreichwahrenddes 19. Jahrhunderts,"in Innere<br />

Staats bildung und gesellschaftliche Modernisierungin Osterreich und Deutschland 11867/71-1914, ed. H.<br />

Rumpler (Munich, 1991), pp. 125-38; H. Siegrist, Advokat, Bürger und Staat: Eine vergleichende Geschichte<br />

der Rechtsanwdlte in Deutschland, Italien und der Schweiz (18.-20. Jahrhundert) (Frankfurt, 1995); F. K.<br />

Ringer, Education and Society in Modern Europe, 1815-1960 (Bloomington, Ind., 1979)<br />

[17] W. Dlugoborski, "Das polnische Bürgertum vor 1918 in vergleichender Perspektive," in Kocka and<br />

Frevert, eds. (n. 7 above), 1:266-99; M. Hroch, "Das Bürgertum in den nationalen Bewegungen des 19.<br />

Jahrhunderts,"in ibid., 3:337-59; and E. Kaczynska, "Bürgertum und stadtische Eliten: Kongreßpolen, Rußand<br />

und Deutschland im Vergleich," in ibid., 3:466-88; G. Ranki, "The Development of the Hungarian Middle<br />

Classes: Some East-West Comparisons," in Kocka and Mitchell, eds. (n. 3 above), pp. 439-55.<br />

[18] Pilbeam, pp. 22 (quote), 18 ff., 68, 80, 135 ff.<br />

[19] งานในกลุ่มนี มีมากมาย งานศึกษาระดับคลาสสิคได้แก่ M. Walker, German Hometowns: Community,<br />

Stateand General Estate, 1648-1871 (Ithaca, N.Y., 1971), สําหรับพวกชุมชนเมืองตามจารีตในแถบยุโรปกลาง<br />

ดู Pilbeam, pp. 212- 13 (เป็นการอ้างถึงงานของ R. Forster, L. Bergeron, J. Tulard, ฯลฯ), สําหรับอภิชนช่วง<br />

ศตวรรษที 18 ดู W.D. Rubinstein, "The End of 'Old Corruption' in Britain, 1780-1860," Past and Present, no.<br />

101 (1983), pp. 55-86.<br />

[20] Perkin, pp. 196 ff.; Ch. Charle, Histoire sociale de la France au XIXe siecle (Paris, 1991), pp.42-55, 181-<br />

228, 239 ff. สําหรับงานศึกษาไม่นานมานี เกียวกับภูมิภาคเล็กๆ ของเยอรมนี ดู St. Brakensiek, "Adlige und<br />

bürgerliche Amtstrager in Staat und Gesellschaft: Das Beispiel Hessen-Kassel, 1750-1866," in Wegezur<br />

Geschichtedes Burgertums, ed. K. Tenfelde and H.-U. Wehler (Gottingen, 1994), pp. 15-35. โดยทัวไป<br />

วัฒนธรรมชนชั นกลางอังกฤษนั นมีความใกล้ชิดกับศาสนามากกว่าวัฒนธรรมชนชั นกลางของเยอรมนีและ<br />

ฝรังเศส ซึ งสองประเทศนี จะเน้นความรู้แบบทางโลกย์และจะพยายามออกห่างจากศาสนา (แต่ก็มีข้อยกเว้นมาก<br />

มาก เช่น พวกนักธุรกิจโปรเตสแตนท์จากบาร์เมนและพวกคาธอลิคในทางตอนเหนือของฝรังเศส โดยเฉพาะ<br />

พวกผู้หญิง) นอกจากนี พวก “ผู้มีศรัทธาเก่า” ก็รวมตัวกันเป็นชนกลุ่มน้อยทางศาสนาทีไม่ยอมนับถือศาสนาตาม


ส่วนกลาง ซึ งพวกนี เป็นองค์ประกอบสําคัญของชนชั นกลางมอสโคว์ ดู A. Gerschenkron, Europe in the<br />

Russian Mirror: Four Lectures in Economic History (Cambridge, 1970), pp. 17 ff. สําหรับผู้ประกอบการ<br />

ชาวยิว ดู W.E. Mosse, The German-Jewish Economic Elite, 1820-1935: A Socio-Cultural Profile (Oxford,<br />

1989) สําหรับชนชั นกลางคาธอลิคทางฝังตะวันตกของเยอรมนี ดู Th. Mergel, Zwischen Klasse und Konfession.<br />

Katholisches Bürgertum im Rheinland, 1794-1914 (Gottingen, 1994); และสําหรับฝรังศส ดู Smith (n. 8 above)<br />

[21] ดู Pilbeam, chap. 5.<br />

[22] R. J. Morris, Class, Sect and Party: The Making of the British Middle Class, Leeds, 1820-1850<br />

(Manchester,1990); E. Francois, ed., Geselligkeit, Vereinswesen und bürgerliche Gesellschaf tin Frankreich,<br />

Deutschlandundder Schweiz, 1750-1850 (Paris, 1986); J. J. Sheehan, German History, 1770-1866 (Oxford,<br />

1989), chap. 9; D. Langewiesche, "Liberalism and the Middle Classes in Europe," in Kocka and Mitchell, eds.,<br />

pp. 40-69; D. Langewiesche, ed., Liberalismus im 19. Jahrhundert: Deutschlandim europaischen Vergleich<br />

(Gottingen, 1988).<br />

[23] H. G. Haupt, Sozialgeschichte Frankreichsseit 1789 (Frankfurt,1989), pp. 232-60; H.-U. Wehler,<br />

Deutsche Gesellschaftsgeschichte (Munich, 1995), 3:712-50, and "Wie buirgerlich war das Deutsche<br />

Kaiserreich?" in Bürger und Bürgerlichkeit im 19. Jahrhundert, ed. J. Kocka (Gottingen, 1987), pp. 243-80;<br />

F.M. L. Thompson, The Rise of Respectable Society: A Social History of Victorian Britain, 1830-1900<br />

(Cambridge, Mass., 1988); D. Lieven, The Aristocracy in Europe, 1815-1914 (London, 1992); Y. Cassis,<br />

"Businessmen and the Bourgeoisie in Western Europe," in Kocka and Mitchell, eds., pp. 103-24; H. Kaelble,<br />

"French Bourgeoisie and German Burgertum,1870- 1914,"in ibid., pp. 273-301; M. Hildermeier,"Sozialer<br />

Wandelim stadtischen Rußand in der zweiten Halfte des 19. Jahrhunderts," Jahrbücher für Geschichte<br />

Osteuropas 25 (1977): 525-66.<br />

[24] E. J. Hobsbawm, The Age of Capital, 1848-1875 (London,1977), chaps. 12, 13, and The Age of Empire,<br />

1875-1914 (New York, 1987), chaps. 5, 7; H.-U. Wehler, "Die Geburtsstunde des deutschen<br />

Kleinbürgertums," in Puhle, ed. (n. 6 above), pp. 199-209; G. Crossick,ed., The Lower Middle Class in<br />

Britain,1870-1914 (New York, 1977); J. Kocka, ed., Arbeiter und Bürger im 19. Jahrhundert: Variantenihres<br />

Verhaltnisses im europaischen Vergleich (Munich, 1986).<br />

[25] D. L. Augustine, Patricians and Parvenus: Wealth and High Society in Wilhelmine Germany (Oxford,<br />

1994); H. Kaelble and H. Spode, "Sozialstrukturund Lebensweisen deutscher Untemehmer, 1907-1927,"<br />

Scripta Mercaturae 24 (1990): 132-78; H. Berghoff, "Aristokratisierung des Bürgertums? Zur


Sozialgeschichte der Nobilitierung von Unternehmern in Preußen und Großbritannien 1870 bis 1918,"<br />

Vierteljahrschrift für Sozial- und Wirtschaftsgeschichte 81 (1994): 178-204; บทความต่างๆ ของ F.M. L.<br />

Thompson และ P.Thaneon ทีเกียวกับพวกอภิชนและชนชั นกลางของอังกฤษ ใน A. M. Birke et al., eds.,<br />

Bürgertum, Adel und Monarchie: Wandelder Lebensformenim Zeitalter des bürgerlichen Nationalismus<br />

(Munich, 1989), pp. 15-35, 93-108; T. Durandin,"Entretraditionet aventure,"in Chaussinand-Nogaretet al., eds.<br />

(n. 1 above), pp. 319-451; A. J. Mayer, The Persistence of the Old Regime:Europe to the Great War (New<br />

York, 1981).<br />

[26] H. Mommsen, "Die Auflosung des Bürgertums seit dem spaten19. Jahrhundert," in Kocka, ed., Bürger<br />

und Bürgerlichkeit, pp. 288-315.<br />

[27] Y. Cassis, "Financial Elites in Three European Centres: London, Paris, Berlin, 1880s-1930s," Business<br />

History 33 (1991): 53-71; H. Kaelble, "Die oberen Schichten in Frankreichund der Bundesrepublikseit 1945,"<br />

in Frankreich Jahrbuch 1991 (Opladen,1991), pp. 63-78; H. Morsel, "La classe dominantede l'entredeuxguerresa<br />

nos jours," in Histoire des francais XIXe-XXesiecle, ed. Y. Lequin (Paris, 1983), 2:536 ff.<br />

[28] J. Mooser, Arbeiterleben in Deutschland 1900-1970: Klassenlagen, Kultur und Politik (Frankfurt,1984);<br />

A. A. Jackson, The Middle Classes, 1900-1950 (Naim, 1991); A. Marwick, Class: Image and Reality in<br />

Britain, France and the USA since 1930 (New York, 1980). ส่วนงานไม่นานมานี ทีน่าอ่านก็คือ H. Siegrist,<br />

"Ende der Bürgerlichkeit?" Geschichte und Gesellschaft 20 (1994): 549-93; K. Tenfelde,"Stadt und<br />

Bürgertum im 20. Jahrhundert," in Tenfelde and Wehler,eds., pp. 317-53.<br />

[29] L. Davidoff, "The Family in Britain," in The Cambridge Social History of Britain, ed. F.M. L. Thompson<br />

(Cambridge,1990), 2:98-129, ซึ งจะต่างไปจาก Budde (n. 8 above); K. H. Jarausch, The Unfree Professions:<br />

German Lawyers, Teachers and Engineers, 1900-1950 (New York, 1990), ซึ งจะต่างไปจาก R. Koselleck, ed.,<br />

Bildungsbürgertum im 19. Jahrhundert II: Bildungsguter und Bildungswissen (Stuttgart, 1990). C. Hall, White,<br />

Male and Middle Class: Explorations in Feminism and History (Cambridge, 1992); U. Frevert,ed.,<br />

Bürgerinnen und Bürger: Geschlechterverhaltnisse im 19. Jahrhundert (Gottingen, 1988).


- 1 -<br />

บทที่ 5<br />

ปริทัศน “กระมพี” : ประวัติของคำ ความคิด และการใชในบริบทสังคมไทย<br />

ศราวุฒิ วิสาพรม1<br />

บทความเชิงปริทัศนนี้เปนการสำรวจประวัติของคำวา “กระมพี” ในสังคมไทย และการใชในวงวิชาการ<br />

ไทยแบบสังเขปเพื่อเปนการปูพื้นความเขาใจเพื่อนำไปสู “ปญหา” ของมโนทัศนและกระบวนทัศนกระมพีที่<br />

หนังสือเลมนี้ไดชวนถกเถียง<br />

สืบสาวหาประวัติของคำ<br />

คำวา “กระมพี” มาจากภาษาสันสกฤตวา กุมฺพี หรือ กุมฺพิก (อานวา กุ-ตุม-พิ-กะ) รูปลักษณการสะกด<br />

เองก็มีอยูหลายแบบ ดังที่ผูเขียนไดตามสืบคนหามาพรอมกับความหมายดังตอไปนี้<br />

ในชวงสมัยรัชกาลที่ 4 – 5 แหงกรุงรัตนโกสินทร หนังสืออักขราภิธานศรับทของหมอบรัดเลย (Dan<br />

Beach Bradley) ผูดำเนินการจัดทำหนังสือรวบรวมคำในภาษาไทยซึ่งใชเวลายาวนาน 12 ป ระหวาง 6<br />

พฤษภาคม พ.ศ. 2404 – 2416 ก็ปรากฏคำศัพท “กะดูมภี” มีความหมาย “วาคนเจาทรัพย, หคนมั่งมีทรัพย<br />

มากนั้น”2 สันนิษฐานไดวาในสังคมสยามแถบภาคกลางปจจุบันยุคนั้นมีคนที่จัดอยูในกลุม “กระมพี” มิเพียง<br />

เทานั้นหลักฐานในสังคมทางตอนเหนือ คือ ลานนายุคศตวรรษที่ 14 (ราวพุทธศตวรรษที่ 19 – 20) ก็ปรากฏวามี<br />

“กมพีกะ” อันเปนคำเรียกเฉพาะ หมายถึงกลุม ชางฝมือ พอคา ไพรมั่งมี3<br />

ปทานุกรม กรมตำรา กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับพิมพครั้งแรก ป พ.ศ. 2463 ระบุ กระมพี ในความหมาย<br />

เดียวกับ กุมพี ม.น. คนมั่งมี, คนมีทรัพยสมบัติมาก4<br />

1 ผูเขียนขอขอบคุณคุณพิพัฒน พสุธารชาติ แหง Illuminations Editions เปนอยางสูงที่ชักชวนใหเขียนบทความนี้<br />

2 บรัดเลย, แดน บีธ. หนังสือ อักขราภิธานศรับท, มปท., 2416, หนา 6.<br />

3 อรุณรัตน วิเชียรเขียว, และคณะ. พจนานุกรมศัพทลานนาเฉพาะที่ปรากฏในใบลาน. เชียงใหม: สุริวงศบุคเซนเตอร, 2539. ;<br />

และยังปรากฏคำอื่นที่ใชเรียกคนมีฐานะมั่งคั่ง เชน “สะครวย” หรือ “เสฏฐี” ดูตัวอยางการคนควาของ วิชญา มาแกว “ระบบ<br />

เศรษฐกิจและความเปลี่ยนแปลงทางสังคมในยุคทองของอาณาจักรลานนา (ค.ศ. 1355-1525)” วิทยานิพนธศิลปศาสตรมหา<br />

บัณฑิต สาขาวิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2559.<br />

4 ศึกษาธิการ, กระทรวง. ปทานุกรม. พระนคร : กรมตำรา, 2463, หนา 3 และ 37.


- 2 -<br />

อีกเจ็ดปถัดมา ปทานุกรม กรมตำรา กระทรวงธรรมการ ฉบับพิมพครั้งที่สอง ป พ.ศ. 2470 ระบุ กระมพี<br />

[กระดุมพี] (ม.กุมพี, กุมพิก; ส. กุมพิน) น. คนมั่งมี; พอเรือน; ผูดูแลการบาน, ผูเปนกิ่งแหงสกุล; คน (แมอาจ<br />

เปนบาว) แหงสกุล, พลเมือง.5<br />

กุมพี ม. (ส. กุมพิน) น. คนมั่งมี. คนมีทรัพยสมบัติมาก, ผูครองเรือน, พอเรือน, ผูดูแลการบาน.<br />

กุมพินี ม. ส. น. เมียกุมพี, แมเรือน6<br />

ภายหลังการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 มีการประดิษฐถอยคำและแปลคำศัพทใหม ๆ จากภาษาตางประเทศมาเปน<br />

ภาษาไทยอีกจำนวนมาก มีปญญาชนฝายรัฐหลายทานที่มีบทบาทสำคัญ หนึ่งในบุคคลที่มีบทบาทสูงมาก คือ กรม<br />

หมื่นนราธิปพงศประพันธ (พระนามเดิมวา หมอมเจาวรรณไวทยากร วรวรรณ หรือ พระองควรรณ) ผูมีสวนรวม<br />

แปลคำศัพทในการจัดทำพจนานุกรม และปญญาชนทานนี้ก็เปนผูแปล Bourgeoisie เปน กระมพี ซึ่งเปนคำที่มี<br />

ความหมายกลาง ๆ7 และรวมถึงบทบาทการแปลคำศัพทเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง กฎหมาย เศรษฐกิจ สังคม<br />

และการตางประเทศอีกจำนวนมาก ซึ่งพระองคเองเคยดำรงตำแหนงประธานคณะกรรมการชำระปทานุกรม เพื่อ<br />

จัดทำเปนพจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตสถาน พ.ศ. 2493 โดยพจนานุกรมฉบับแรกนี้ไดระบุวา กระมพี8 (แผลงมา<br />

จาก กุมพี) น. (๑) คนมั่งมี, พอเรือน. (๒) หมายความวาคนเลวก็มีใชควบวา ไพรกระมพี (ในอินเดียบางแหง<br />

หมายความวา ชนจำพวกศูทรที่มั่งมีขึ้น. Hobson-Jobson ในคำ Kumbi. ทมิฬ (ปาก) วาคนจน)<br />

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525 ระบุวา กระมพี9 น. (๑) คำนี้เดิมแปลวา คนมั่งมี,พอเรือน<br />

, (ในอินเดีย บางแหงหมายความวา ชนจำพวกศูทรที่มั่งมีขึ้น Hobson-Jobson ในคำ Kumbi. ทมิฬ (ปาก) วาคน<br />

จน) (๒) มักนิยมใชขาคูกับ ไพร ไพรกระมพี หมายความวาชนชั้นต่ำ. (แผลงมาจากกุมพี).<br />

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 กระมพี10 น. ชนชั้นต่ำ, นิยมใชเขาคูกับไพร เปนไพร<br />

กระมพี. (ป.กุมพิก วาคนมั่งมี).<br />

5 ธรรมการ, กระทรวง. ปทานุกรม. พิมพครั้งที่สอง. พระนคร : กรมตำรา, 2470, หนา 16.<br />

6 ธรรมการ, กระทรวง. ปทานุกรม. พิมพครั้งที่สอง. พระนคร : กรมตำรา, 2470, หนา 76.<br />

7 Kasian Tejapira. Commodifying Marxism : The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958.<br />

Melbourne: Kyoto University Press and Trans Pacific Press, 2001, pp. 197 – 198.<br />

8 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2493, หนา 37.<br />

9 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525, หนา 24.<br />

10 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542, หนา 30.


- 3 -<br />

พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554 กระมพี น. คนมั่งมี, พอเรือน, มักนิยมใชเขาคูกับคำ ไพร<br />

เปน ไพรกระมพี หมายความวา ชนชั้นต่ำ. (ป. กุมฺพิก วา คนมั่งมี; ส. กุมฺพี, กุมฺพินฺ วา เจาบาน, ผูครองเรือน<br />

, คนใชในบาน).11<br />

ทายสุดนี้ยังพบในพจนานุกรมของเอกชน คือ พจนานุกรมฉบับมติชน ป พ.ศ. 2547 ระบุวา กระมพี น.<br />

คนมั่งมี, พอเรือน, ใชเขาคูกับคำ ไพรเปน ไพรกระมพี หมายถึง คนชั้นต่ำ เชน ชื่อกระจงพงศไพรกระมพี ยังไม<br />

มีลูกผัวตัวคนเดียว (อภัยมณี), หมายถึง คนชั้นสามัญที่สรางฐานะจนร่ำรวยขึ้นมา. (สังคม) น. เรียกคนในชนชั้น<br />

นายทุนสมัยใหมซึ่งเปนเจาของปจจัยการผลิตและเปนผูซื้ออำนาจแรงาน, กมพีก็ใช. (บัญญัติคูกับ อ.<br />

Bourgeois)12<br />

การเมืองในการแปล Bourgeois (ie) และการบัญญัติศัพทภาษาไทย<br />

การแปลคำวา bourgeois (ie) เปนคำวา “กระมพี” ในภาษาไทยนั้น เกษียร เตชะพีระ ระบุวาเปนผลงาน<br />

ของกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ13 ซึ่งมีความคิดวาภาษาเปนตัวกำกับวิธีคิดและการเปลี่ยนแปลงของโลก14 ดัง<br />

สะทอนจากปาฐกถาเมื่อปลายป พ.ศ. 2475 ที่จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย ความวา<br />

“…ภาษาไทยนี้แหละจะเปนหลักประกันแหงความมั่นคงของประชาชาติไทยตอไป เพราะวา<br />

ถาเรานิยมใชคำฝรั่งทับศัพทในคำที่เกี่ยวกับความคิดเห็นแลว เราอาจเดินเร็วเกินไปก็ได กลาวคือเรา<br />

อาจถายแบบของเขามาโดยตรง แทนที่จะดัดแปลงเสียกอนใหเขารูปเขาทำนองความคิด…”15<br />

11 พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2554. http://www.royin.go.th/dictionary/index.php<br />

12 พจนานุกรมฉบับมติชน. กรุงเทพฯ : มติชน, 2547, หนา 20-21. ; จากการสืบคนใน https://dictionary.sanook.com/<br />

ความหมายจากพจนานุกรมแปล อังกฤษ-ไทย อ. สอ เสถบุตร แปลคำวา bourgeois [n. adj.] จำพวกชนชั้นกลาง และ<br />

ความหมายจากพจนานุกรมแปล อังกฤษ-ไทย NECTEC's Lexitron Dictionary แปลคำวาbourgeois [n.] ชนชั้นกลาง (ตาม<br />

แนวความคิดแบบมารกซิส) [syn.] middle-class<br />

13 Kasian Tejapira. Commodifying Marxism : The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958.<br />

Melbourne: Kyoto University Press and Trans Pacific Press, 2001, pp.197.<br />

14 นครินทร เมฆไตรรัตน. “คำอธิบายของปญญาชนฝายที่สนับสนุนกับฝายที่ตอตานการปฏิวัติสยาม 2475” วารสารสถาบัน<br />

พระปกเกลา. 2, 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2547), หนา 26.<br />

15 วรรณไวทยากร, หมอมเจา.“ปาฐกถาพิเศษเรื่องสยามพากย”, วิทยาจารย, ปที่ 33 ฉบับที่ 1, 2475, หนา 67.


- 4 -<br />

การประดิษฐคำศัพทอยางแข็งขันโดยกรมหมื่นนราธิปพงศประพันธ ไดรับความนิยมและการตอบรับอยาง<br />

แพรหลาย แมกระทั่งพวกหัวรุนแรงและคอมมิวนิสตก็ยังใชคำศัพทที่ปญญาชนเจาหัวกาวหนาทานนี้บัญญัติอยาง<br />

หลีกเลี่ยงไมได เชน จิตร ภูมิศักดิ์ ก็ใชคำวากระมพีที่แปลมาจาก Bourgeoisie ในงานเขียนของป พ.ศ. 2500<br />

และหากยอนไปเวลากอนหนาอีกกรณีของปญญาชน นักเขียนฝายซายอยางอัศนี พลจันทร เจาของหลาย<br />

นามปากกาก็ใชคำดังกลาว ดังปรากฏงานเขียนที่ใชนามปากกาอินทรายุทธในหนังสือเอกชน ป พ.ศ. 2484<br />

“อยางไรก็ดี, ยังเปนหนังสือของพวกชนชั้นกระมพีที่กาวหนา…เราพยายามทำใหมันเปนของ<br />

ประชาชน เอาพวกหัวเกามาปนกับพวกหัวใหม แลวดัดมาทางสังคมนิยม. เราไดคัดคานสงคราม<br />

เมืองขึ้นของพวกจักรวรรดินิยมฝรั่งเศสในอินโดจีนดวย, ไดคัดคานระบอบศักดินานิยมและระบอบ<br />

กษัตริยสุดตัว โดยอาศัยลักษณะที่กาวหนาของชนชั้นกระมพีที่รวมงาน…”16<br />

เกษียร เตชะพีระวิเคราะหวาชวงทศวรรษ 2470 - 2480 พวกหัวรุนแรงและคอมมิวนิสตตกเปนฝาย<br />

เสียเปรียบในเกมการเมืองวัฒนธรรมของการแปลและบัญญัติคำศัพท จวบจนกระทั่งหลังสงครามโลกครั้งที่สองเปน<br />

จุดเปลี่ยนสำคัญที่พวกฝายซายและคอมมิวนิสตไดตื่นตัว (อีกระลอก) ในการประดิษฐคำศัพทและการแปลใหมใน<br />

คำศัพทของลัทธิมารกซและคอมมิวนิสต17<br />

อัศนี พลจันทรเองไดแปลคำศัพทใหมหลายคำรวมถึงคำวา Bourgeoisie มาเปนภาษาไทย คือ “แพศย”<br />

หรือ “แพศยา” (phaessaya) ซึ่งเปนภาษาสันสกฤตที่มีสองความหมายคือ “ชนชั้นพอคา” และ “โสเภณี”/<br />

“ผูหญิงเลว”18<br />

การเปลี่ยนคำ Bourgeoisie ในภาษาไทยจากกระมพีสูแพศย/แพศยา ของอัศนี พลจันทร เปนหนึ่งในอีก<br />

หลายคำที่ปญญาชนฝายซายไทยไดกระทำไว อนึ่งคำวาแพศยและแพศยานี้เปนคำเกาที่มีปรากฏใหเห็นในสังคม<br />

สยามมากอนแลว ดังปรากฏใน ปทานุกรม กรมตำรา กระทรวงศึกษาธิการ ฉบับพิมพครั้งแรก ป พ.ศ. 2463<br />

16 อินทรายุทธ (นามปากกา). “บันทึกวาดวย ‘จำกัด พลางกูร และ น.ส.พ. เอกชน” ใน คณะกรรมการจัดงาน “นายผีคืนถิ่น<br />

แผนดินแม” ชีวิตและผลงาน : ตำนาน ‘นายผี’ อัศนี พลจันทร (2461-2530). กรุงเทพฯ : แสงดาว, 2542, หนา 97.<br />

17 Kasian Tejapira. Commodifying Marxism : The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958.<br />

Melbourne: Kyoto University Press and Trans Pacific Press, 2001, pp.198.<br />

18 Kasian Tejapira. Commodifying Marxism : The Formation of Modern Thai Radical Culture, 1927-1958.<br />

Melbourne: Kyoto University Press and Trans Pacific Press, 2001, pp. 198 ; สายชล สัตยานุรักษ, “ประวัติศาสตรการ<br />

บัญญัติศัพท : มิติหนึ่งของการเมืองวัฒนธรรมกอนและหลังการปฏิวัติ 2475” เจาพอ ประวัติศาสตร จอมขมังเวทย. รวมบทความ<br />

เพื่อเปนเกียรติในโอกาสครบรอบ 60 ป ฉลอง สุนทราวาณิชย. กรุงทพฯ: ศยาม, 2558, หนา 279.


- 5 -<br />

แพศย (ม. เวสส ส. ไวศย) น. พอคา<br />

แพศยา (แพดสะหยา ม. เวสิยา ส. เวศยา) น. หญิงผูหาเงินในทางรวมประเวณี19 และ<br />

ปทานุกรม กรมตำรา กระทรวงธรรมการ ฉบับพิมพครั้งที่สอง ป พ.ศ. 2470<br />

แพศย (ส. เวศยา; ม. เวสส) น. ‘ผูมีลำเนาบนพื้นดิน’ คือคนเพาะปลูก, ‘ผูทำงานเสมอ’ คือชาวนา ชาวสวน<br />

, ชนแหงวรรณที่สาม (ผูมีธุระที่ตองเดินไปมาเหมือนธุระในการเพาะปลูก, ถือความวาพอคา).<br />

แพศยา [แพดสหยา] (ม. เวสิยา; ส. เวศยา) น. หญิงผูหาเงินในทางรวมประเวณี20<br />

สิ่งที่อัศนี พลจันทร ไดกระทำขางตนกลาวไดวาเปน “การพยายามฟนคำเกาเอามาเติมความหมายใหม” ดัง<br />

ทัศนะของเกษียร เตชะพีระที่คนควาแลวพบวาผูเขียนนามปากกาอินทรายุทธใชคำวา “ทานผูรูหลักนักปราชญ”<br />

เปนคำแปลของ “intelligentsia” และ “intellectual” ในงานเขียนและงานแปลเมื่อป พ.ศ. 2493 ทั้งนี้กรมหมื่น<br />

นราธิปพงศประพันธไดทรงใหความเห็นตอคำวา “ทานผูรูหลักนักปราชญ” เปนคำที่มีมาเดิมแลวในภาษาไทย21 ซึ่ง<br />

ผูเขียนเห็นวากรณีของการแปล Bourgeoisie ใหมก็มีครรลองทำนองเดียวกันนั่นเอง<br />

ในอีกดานหนึ่งก็ยังพบการใชคำวา “กระมพี” จากปญญาชนฝายซายทานอื่นอยูดวยในป พ.ศ. 2500<br />

ผลงานเขียนของจิตร ภูมิศักดิ์ผานนามปากกาสมสมัย ศรีศูรพรรณ เรื่องโฉมหนาศักดินาไทยในปจจุบันตีพิมพใน<br />

วารสารนิติศาสตรฉบับศตวรรษใหม ซึ่งเปนการใชคำวากระมพีเปนคำแปลของ Bourgeoisie ตามความหมาย<br />

แบบฉบับทฤษฎีมารกซิสต เมื่อเขากลาวถึงในประเด็นลักษณะทางเศษฐกิจและการเมืองของระบบศักดินา ดังความ<br />

วา<br />

“…พวกนี้คือพวกชนชั้นใหมของสังคมที่เรียกกันวา ชนชั้นกลาง (Middle class) หรือ<br />

กระมพี (Bourgeoisie) กำลังของพวกนี้กำลังของพวกนี้ขยายออกไปอยางกวางขวางทุกขณะ…”22<br />

ขอสังเกตประการแรก คือ แมปญญาชนบางทานจะพยายาม “แปลใหม” ของคำศัพทฝายซายและ<br />

คอมมิวนิสตใหเปนภาษาไทย แตก็ยังมีปญญาชนบางทานที่เลือกใชคำวากระมพีอยู ประการตอมาจิตร ภูมิศักดิ์<br />

ไดใหความหมาย Bourgeoisie = Middle class และประการสุดทายการงานเขียนของจิตร ภูมิศักดิ์ทรงพลังอยาง<br />

19 ศึกษาธิการ, กระทรวง. ปทานุกรม. พระนคร : กรมตำรา, 2463, หนา 305.<br />

20 ธรรมการ, กระทรวง. ปทานุกรม. พิมพครั้งที่สอง. พระนคร : กรมตำรา, 2470, หนา 523.<br />

21 เกษียร เตชะพีระ. “กำเนิดคำวา ‘ปญญาชน’” ศิลปวัฒนธรรม. 14,7 (พฤษภาคม 2536), หนา 79.<br />

22 จิตร ภูมิศักดิ์. โฉมหนาศักดินาไทย. พิมพครั้งที่ 10. กรุงเทพฯ: ศรีปญญา, 2550, หนา 44.


- 6 -<br />

มากเมื่อ “เกิดใหม” ในชวงทศวรรษ 2510 ซึ่งมีอิทธิพลทางความคิดตอขบวนการนิสิต นักศึกษา และฝายซายใน<br />

ไทยอยางแพรหลาย23<br />

ทามกลางสมรภูมิการเมืองวัฒนธรรมการแปลและบัญญัติคำศัพทหลังสงครามโลกครั้งที่สอง สายชล สัตยานุ<br />

รักษไดชี้ใหเห็นวากรมหมื่นนราธิปพงศประพันธทรงเรงบัญญัติศัพทเพื่อตอสูกับฝายหัวรุนแรงและคอมมิวนิสตโดย<br />

มีวัตถุประสงคเพื่อควบคุมความหมายของคำ ซึ่งก็คือการควบคุมความรูสึกนึกคิดของคนไมใหปรารถนาไปสูการ<br />

เปลี่ยนแปลงสังคมไทยอยางถอนรากถอนโคน24 ซึ่งหากถอดสมการตามที่เกษียร เตชะพีระเคยกลาวไว คือ “คุมคำ<br />

→ คุมความหมาย → คุมความคิด → คุมคน”25<br />

กรมหมื่นนราธิปพงศประพันธทรงปรับแกการบัญญัติศัพทใหมในป พ.ศ. 2501 คำวา bourgeois ถูกแปล<br />

ใหมเปน “คนชั้นกลาง”26 ทั้งนี้อาจเปนไปไดวาเพราะ “กระมพี” ไดถูกฝายซายนำไปใชหลายครั้งในความหมาย<br />

ตามลัทธิมารกซและคอมมิวนิสตดังนั้นจึงตองมีการ “ชำระ” เสียใหม<br />

ปญหาวาดวยมโนทัศนกระมพี27<br />

ในโลกวิชาการตะวันตกไดวิพากษมโนทัศน bourgeois อยางกวางขวาง เรมอนด วิลเลี่ยมส (Raymond<br />

Williams) นักวัฒนธรรมศึกษาแนวสังคมนิยม กลาววาคำดังกลาวนี้ชางยุงยากนักในการจะใชในภาษาอังกฤษ อีก<br />

ทั้งยังมีความหมายหลายทางทั้งในแบบมารกซิสตหรือความหมายตามบริบททางประวัติศาสตรของแตละสังคม 28<br />

23 ดู เรยโนลดส, เคร็ก เจ. ความคิดแหวกแนวของไทย จิตร ภูมิศักดิ์ และโฉมหนาของศักดินาไทยปจจุบัน. พิมพครั้งที่ 2.<br />

กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร, 2561.<br />

24 สายชล สัตยานุรักษ, “ประวัติศาสตรการบัญญัติศัพท : มิติหนึ่งของการเมืองวัฒนธรรมกอนและหลังการปฏิวัติ 2475” เจาพอ<br />

ประวัติศาสตร จอมขมังเวทย. รวมบทความเพื่อเปนเกียรติในโอกาสครบรอบ 60 ป ฉลอง สุนทราวาณิชย. กรุงทพฯ: ศยาม,<br />

2558, หนา 279 – 280.<br />

25 เกษียร เตชะพีระ, “ประวัติศาสตรการเปลี่ยนคำ ‘กรรมกร’ เปน ‘แรงงาน’ วิธีสะกด ‘ปศาจวาทกรรม’ ในสังคมไทย”. มติชน<br />

ออนไลน. ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕. สืบคนเมื่อ ๓ พฤษภาคม ๒๕๕๕, จาก<br />

http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=๑๓๓๖๐๔๘๒๐๒&grpid=๐๓&catid=&subcatid=<br />

26 วิทยทัศนพระองควรรณฯ. กรุงเทพฯ: มูลนิธินราธิปประพันธพงศ-วรวรรณ, 2544, หนา 302.<br />

27 สำหรับประเด็นนี้ผูเขียนหยิบเพียงบางเสี้ยวสวนของผลงานนักวิชาการไทยมากลาวถึงเทานั้น หากผูอานสนใจรายเอียดมากกวานี้<br />

โปรดอานยอนกลับไปอาน พิพัฒน พสุธารชาติ. คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ. กรุงเทพฯ<br />

: Illuminations Editions, 2560.<br />

28 Williams, Raymond. Keywords : a vocabulary of culture and society. Revised edition. New York : Oxford<br />

University Press, 1985, pp. 45 – 48.


- 7 -<br />

เชนเดียวกับนักทฤษฎีชื่อดังนามวาอิมมานูเอล วอลเลอรสไตน (Immanuel Wallerstein) กลาววา bourgeois<br />

เปนคำที่ทั้งแปลกพิกลและมีความกำกวมตั้งแตตน29<br />

ในวงวิชาการไทยก็เชนกันก็มีการตั้งคำถามเกี่ยวกับปญหาเชิงทฤษฎี/กระบวนทัศนกระมพี (และรวมถึงชน<br />

ชั้นกลาง/คนชั้นกลาง - middle class)30<br />

สำหรับประเด็นที่จะกลาวถึงขอจำกัดขอบเขตที่การใชกระมพีของนักประวัติศาสตรไทย คือ นิธิ เอียวศรี<br />

วงศ รวมถึงนักวิชาการบางทานที่มีผลงานเกี่ยวของ<br />

ผลงานเรื่อง “วัฒนธรรมกระมพีกับวรรณกรรมตนรัตนโกสินทร” ที่ไดเสนอไวตั้งแตป 2525 แลวถูกตีพิมพ<br />

รวมเลมในปากไกและใบเรือ : รวมความเรียงวาดวยวรรณกรรมและประวัติศาสตรตนรัตนโกสินทร เมื่อป พ.ศ.<br />

2527 นับไดวาเปนหนึ่งในการปกหมุดหมาย “กระมพี” ใหเปนที่ถกเถียงมาตั้งแตทศวรรษ 2520 เรื่อยมา<br />

จนกระทั่งทศวรรษ 2550 ที่ไดมีการตีพิมพปากไกและใบเรือ: รวมความเรียงวาดวยวรรณกรรมและประวัติศาสตร<br />

ตนรัตนโกสินทร ครั้งที่สี่ในป พ.ศ. 2554 งานชิ้นนี้ก็ไดถูกหยิบมาพูดถึงในเวทีวิชาการอีก (แลว)31 ตอเนื่องมาจนถึง<br />

ความพยายามในการ “รื้อสราง” โดยพิพัฒน พสุธารชาติ ที่ทยอยตีพิมพเผยแพรในนิตยสารวิภาษาระหวางป พ.ศ.<br />

2554 – 2556 และตีพิมพรวมเลมอยูใน คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ<br />

เมื่อป พ.ศ. 256032<br />

ขอสังเกตประการหนึ่งนักทฤษฎีและนักสังคมศาสตรสาขาตาง ๆ มักตั้งคำถามตอการใชมโนทัศนและทฤษฎี<br />

วา “ใช” ไดหรือไม ? “ถูกตอง” หรือเปลา ? หากมโนทัศนและกระบวนทัศนมีปญหาตั้งแตตนในโลกตะวันตกการ<br />

นำเขามาใชวิเคราะหกรณีสังคมไทยมันก็ตองผิดดวย รวมถึงการที่งานเขียนของนิธิ เอียวศรีวงศบอยครั้งมักไม<br />

อางอิงถึงนักคิด/นักทฤษฎี/นักวิชาการตะวันตกดูตัวอยางการตั้งคำถามดังกลาวจากไชยันต ไชยพร พิพัฒน พสุธาร<br />

29 Wallerstein, Immanuel. The Bourgeois(ie) as Concept and Reality. This article was originally given as the<br />

Byrn History Lecture, Vanderbilt University, 23 March 1987.<br />

30 ดูตัวอยาง สังศิต พิริยะรังสรรค และผาสุก พงษไพจิตร, บรรณาธิการ. ชนชั้นกลางบนกระแสประชาธิปไตยไทย. กรุงเทพฯ:<br />

ศูนยศึกษาเศรษฐศาสตรการเมือง คณะเศรษฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย รวมกับมูลนิธิฟรีดริช เอแบรท, 2536 ; นลินี<br />

ตันธุวนิตย, บรรณาธิการ. ศึกษา รูจัก วิพากษ คนชั้นกลาง : รวมบทความจากการสัมมนาทางวิชาการ คณะสังคมวิทยาและ<br />

มานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : มิสเตอรกอปป, 2550.<br />

31 สำหรับผูสนใจตามสืบคนหาในโลกออนไลนไดใน "สัมมนาวิชาการเปดตัวหนังสือ ปากไกและใบเรือ" ในหัวขอ "ปากไกและใบ<br />

เรือ ในหลากหลายมิติ" จัดโดยภาคประวัติศาสตร คณะอักษรศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2555 ;<br />

re:reading group #6: ประวัติศาสตรนิพนธ ที่ The Reading Room สีลม 19 วันเสารที่ 30 พฤศจิกายน 2556 และ สัมนาเชิง<br />

ปฏิบัติการ คราสและควินิน : รื้อสราง 'ปากไกและใบเรือ' ของ นิธิ เอียวศรีวงศ ที่ภาควิชาประวัติศาสตร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร<br />

ทาพระจันทร วันที่ 25 มีนาคม 2560<br />

32 อนึ่งผูเขียนกลาวถึงในบริบทเกี่ยวกับหนังสือ คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ.


- 8 -<br />

ชาติ กุลลดา เกษบุญชู มี้ด และเกงกิจ กิตติเรียงลาภ33 เปนตน ซึ่งผูเขียนเห็นคลอยตามกับการตั้งคำถามใน<br />

กิจกรรมทางปญญาดังกลาวนี้อันเปนเรื่องที่ควรบังเกิดขึ้นในวงวิชาการอยูแลว<br />

เริ่มที่<br />

ประเด็นตอมาหากจะทำความเขาใจงานเขียนของนิธิ เอียวศรีวงศในจุดยืนของ “นักประวัติศาสตรไทย” ขอ<br />

นิธิมองกระมพี คือ ใคร ?<br />

กระมพี คือ “เจาและขุนนางเจสัวราษฎรผูมีทรัพย” ในสมัยตนรัตนโกสินทร ซึ่งจำแนกเปนคนสามกลุม<br />

คือ เจา ขุนนาง และพอคาจีน ขอเสนอดังกลาวนี้ขัดตอทฤษฎีมารกซิสตโดยเฉพาะคนสองกลุมแรกที่ “ชนชั้นนำ<br />

กระมพีในระบบศักดินา…ผิดตำราลัทธิมารกซอยางยิ่ง เพราะระบบศักดินาจะมีชนชั้นนำเปนกระมพีไดอยางไร<br />

?”34 คำถามดังกลาวคงปรากฏขึ้นในความคิดของบรรดานักทฤษฎีทั้งหลายดังที่พิพัฒน พสุธารชาติ กลาว<br />

“แนวคิด ‘กระมพี’ (ใน ‘ปากไกและใบเรือ’) เกิดจากการดัดแปลงแนวคิดบางอยางของมักศ<br />

เวเบอร (Max Weber) ผสมเขากับแนวคิด ‘ชนชั้นกระมพี’ ของคารล มารกซ (Karl Marx) แต<br />

ความยอกยอนอยูที่แนวคิดพื้นฐานบางอยางของนิธิเองก็เขากันไมไดกับของเวเบอร และแนวคิด<br />

ปรัชญาประวัติศาสตรของนิธิก็ไมไดเปนแบบเดียวกับมารกซ จนทำใหแนวคิด ‘กระมพี’ ที่นิธิใชมี<br />

ความขัดแยงในตัวเองอยู”35<br />

“…ความหมายที่นิธิใช ไมไดทำใหชนชั้น ‘กระมพี’ สามารถแยกตัวออกมาไดจากชนชั้นศักดิ<br />

นา ความถูกตองของนิยามที่นิธิใช จึงไมไดเปนเพียงระดับของความสอดคลองระหวางกรอบคิด<br />

ทฤษฎีกับขอมูลที่เกิดขึ้นจริง แตเปนความขัดแยงที่เกิดขึ้นภายในกรอบทฤษฎีเรื่องชนชั้น (Class)<br />

เนื่องจากการอธิบายวากระมพีเปนชนชั้นนำของไทย แตก็เปนชนชั้นศักดินาดวย หมายความวาชน<br />

33 โปรดดู ไชยันต ไชยพร. นิธิ เอียวศรีวงศ ใน/กับวิกฤตการเมืองไทย.กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2557 ; พิพัฒน พสุธารชาติ. คราสและ<br />

ควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ. กรุงเทพฯ : Illuminations Editions, 2560.; Kullada<br />

Kesboonchoo-Mead and Kengkij Kittirianglarp. Transition Debates and The Thai State: An Observation” Essays<br />

on Thailand's economy and society : for Professor Chattip Nartsupha at 72. Pasuk Phongpaichit and Chris<br />

Baker. Editor. Bangkok : Sangsan, 2013, pp. 91-118.<br />

34 เกษียร เตชะพีระ. “อานปากไกและใบเรือทามกลางสงครามความเปนไทย (2): จุดเดนภาพรวม”. มติชนออนไลน. 28 ธันวาคม<br />

พ.ศ. 2555. http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1356669407&grpid=03&catid=&subcatid=<br />

35 พิพัฒน พสุธารชาติ. คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ. กรุงเทพฯ : Illuminations<br />

Editions, 2560, หนา 38-39.


- 9 -<br />

ชั้นนำของไทยสามารถเปนไดทั้งชนชั้นศักดินา (Nobility) และชนชั้นกระมพี (Bourgeois) ไป<br />

พรอมๆ กันอยางนั้นหรือ ?”36<br />

ทัศนะอีกดานเกษียร เตชะพีระไดตั้งขอสังเกตตอขอเสนอของนิธิ เอียวศรีวงศทามกลางบริบททางวิชาการ<br />

ยุคทศวรรษ 2520 วา “อ.นิธิไดเสนอแนวคิดแหลมคมทาทายตางๆ ไวในปากไกและใบเรือ” จุดเดนประการหนึ่ง<br />

คือ<br />

“Bold Conception & Historical Revisionism หรือกลารวบยอดความคิดและแกไข<br />

ความรับเชื่อทางประวัติศาสตร ทามกลางความรับเชื่อตามตำราและลัทธิคัมภีรแข็งทื่อตายตัวรวม<br />

สมัยเมื่อ 30 ปกอน ไมวาจะของฝายซายเรื่องพัฒนาการของสังคม 5 ขั้นตอนตามทฤษฎีวัตถุนิยม<br />

ประวัติศาสตรแบบมารกซิสตที่วาสังคมทั่วโลกลวนพัฒนาผาน 5 ขั้นตอน ไดแก สังคมคอมมิวนิสต<br />

บุพกาล, สังคมครองทาส, สังคมศักดินา, สังคมทุนนิยม, และสังคมคอมมิวนิสต เปนตน หรือความรับ<br />

เชื่อของประวัติศาสตรกระแสหลักที่วา “สยามเกา” หยุดนิ่งไมเปลี่ยนแปลง กอนการเขามาของลัทธิ<br />

อาณานิคมตะวันตกโดยเฉพาะสนธิสัญญาเบาริงในรัชกาลที่ 4 นั้น” 37<br />

วิธีการ/วิธีคิดทางประวัติศาสตร<br />

เหตุผลอีกประการที่จะชวยไขคำถามได คือ ตองเขาใจวิธีการทางประวัติศาสตรที่นิธิ เอียวศรีวงศสมาทาน<br />

และใชเปนวิธีคิด ดังที่อรรถจักร สัตยานุรักษไดใหเหตุผลวานักประวัติศาสตรเองก็ตองอานทฤษฎี แตใชทฤษฎีอยาง<br />

ยืดหยุนเขากับขอมูลหลักฐานทั้งหลาย38 ดังนั้นผลงานเรื่องวัฒนธรรมกระมพีกับวรรณกรรมตนรัตนโกสินทร<br />

ไดรับอิทธิพลจากบรรดานักทฤษฎีทั้งหลายแตไมไดใชอยางเครงครัดหรืออธิบายตามทฤษฎี เพราะนัก<br />

36 พิพัฒน พสุธารชาติ. คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ. กรุงเทพฯ : Illuminations<br />

Editions, 2560, หนา 65.<br />

37 เกษียร เตชะพีระ. “อานปากไกและใบเรือทามกลางสงครามความเปนไทย (2): จุดเดนภาพรวม”. มติชนออนไลน. 28 ธันวาคม<br />

พ.ศ. 2555. http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=1356669407&grpid=03&catid=&subcatid=<br />

38 งานเสวนา' "คราสและควินิน" กับการอานทวน "ปากไกและใบเรือ" ของนิธิ เอียวศรีวงศ. ณ รานหนังสือ Book Re:public' วัน<br />

เสารที่ 13 มกราคม 2561 https://www.facebook.com/173639362714953/videos/1553305128081696 ; อรรถจักร สัต<br />

ยานุกรักษไดเขียนอธิบายพื้นฐานความคิดทางประวัติศาสตรในลักษณะดังกลาวไวตั้งแตชวงทศวรรษ 2540 โปรดดู อรรถจักร สัต<br />

ยานุรักษ. ปญหาของการศึกษาประวัติศาสตรลานนา : เอกสารคำสอนกระบวนวิชา 004472. เชียงใหม: ภาควิชาประวัติศาสตร<br />

คณะมนุษยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม, 2542


- 10 -<br />

ประวัติศาสตรไดนำมาสรางกรอบแนวคิด/การวิเคราะหขึ้นมา หรือใชในฐานะ “วิธีคิด”39 สิ่งดังกลาวสะทอนให<br />

เห็นจากวิธีวิจัยทางประวัติศาสตรที่นิธิ เอียวศรีวงศเสนอไววา<br />

“สิ่งที่ทำใหประวัติศาสตรแตกตางจากศาสตรประเภทที่สนใจอดีต ไดแก วิธีการของ<br />

ประวัติศาสตรและจุดมุงหมายของประวัติศาสตร วิชาในสังคมศาสตรหมายที่จะแสวงหากฎ หรือ<br />

ระเบียบ หรือความเปนเอกภาพของพฤติกรรมของมนุษยที่เปนสากล ไมไดจำกัดอยูเฉพาะกรณี<br />

เหมือนประวัติศาสตร แตประวัติศาสตรไมไดมีจุดมุงหมายเชนนี้ ถึงกระนั้นก็หาไดปฏิเสธวากฎเชนนี้<br />

มีอยู และเปนสิ่งจำเปนสำหรับการศึกษาไม แมวานักประวัติศาสตรไมไดสรางกฎที่ใชไดทั่วไปในทุก<br />

สังคมทุกสมัยขึ้น แตนักประวัติศาสตรก็ตองใชกฎเชนนี้อยูตลอดเวลา”40<br />

“การใชกฎเพื่ออธิบายขอเท็จจริงเปนลักษณะพิเศษของประวัติศาสตรอยางหนึ่ง ในขณะที่<br />

สังคมศาสตรใชขอเท็จจริงเพื่ออธิบาย ‘กฎ’”41<br />

ดังนั้นการใช “กระมพี” เรียกคนสามกลุม คือ เจา ขุนนาง และพอคาจีน ในทัศนะหนึ่งจึงมิอาจใชไดอยาง<br />

ถูกตองตามทฤษฎี ในอีกทัศนะหนึ่งจากจุดยืนของนักประวัติศาสตรไทยก็เปนสิ่งที่พึงกระทำได และนิธิ เอียวศรีวงศ<br />

ไดสรางความแปลกใหม แหวกแนว จนกลายเปนขอเสนออันแหลมคมที่ไดรับการยอมรับอยางมากดวยเชนกัน<br />

กระมพีกับความหมายที่เลื่อนไหลตามบริบท<br />

การใช “กระมพี” ของนิธิ เอียวศรีวงศนั้นมิไดมีความหมายที่หยุดนิ่งอยูเพียงนิยามเดียว หากแตมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงตามบริบทของการใชอยูตลอด ดังในป พ.ศ. 2557 ชวงกอนการรัฐประหารโดยคณะรักษาความสงบ<br />

แหงชาติ (คสช.) ทามกลางสถานการณการชุมนุมของมวลมหาประชาชน บทความ กบฏกระมพี นิธิ เอียวศรีวงศ<br />

ใชคำวากระมพีในความหมายคือ คนชั้นกลาง<br />

39 คำวา “วิธีคิด” นี้เปนวิธีการหรือ “ขนบ” อยางหนึ่งที่นักประวัติศาสตรไทยกลุมหนึ่งไดแสวงหา ถกเถียง จนตกผลึกทางความคิด<br />

ปรากฏใหเห็นตั้งแตทศวรรษ 2510 โปรดดู ฉลอง สุนทราวิณิชย. “คำนำ” ใน อานันท กาญจนพันธุ. ความคิดทางประวัติศาสตร<br />

และศาสตรของวิธีคิด. กรุงเทพฯ: อมรินทร, 2543.<br />

40 นิธิ เอียวศรีวงศ, “ประวัติศาสตรและการวิจัยทางประวัติศาสตร ใน ชาญวิทย เกษตรศิริ และ สุชาติ สวัสดิ์ศรี (บรรณาธิการ),<br />

ปรัชญาประวัติศาสตร, (กรุงเทพฯ : ประพันธสาสน, 2519), น.154-155.<br />

41 นิธิ เอียวศรีวงศ, “ประวัติศาสตรและการวิจัยทางประวัติศาสตร ใน ชาญวิทย เกษตรศิริ และ สุชาติ สวัสดิ์ศรี (บรรณาธิการ),<br />

ปรัชญาประวัติศาสตร, (กรุงเทพฯ : ประพันธสาสน, 2519), น.155.


- 11 -<br />

“ในกลุมผูชุมนุมของ กปปส. เมื่อตัดคนจำนวนมากที่มาจากภาคใต ตัดการดซึ่งตองจางเขามา<br />

รักษาความปลอดภัยจำนวนมากแลว คนกลุมใหญที่เหลืออยูคือกระมพี หรือที่ผมเคยเรียกว่าคน<br />

ชั้นกลางระดับกลางขึ้นไป<br />

ที่เรียกวากระมพีในที่นี้ ผมหมายถึงคนชั้นกลางในตระกูลที่เติบโตทางเศรษฐกิจมาพรอมกับ<br />

นโยบายพัฒนาของระบอบสฤษฎิ์ ธนะรัชต การขยายการศึกษาเพื่อรับการลงทุนดานธุรกิจ<br />

อุตสาหกรรมสมัยใหม ทำใหพวกเขาไดรับการศึกษาสูงขึ้น เขยิบเขาไปเปนคนงานคอปกขาว แลวก็<br />

เขยิบตอไปถึงระดับบริหาร ตั้งแตชั้นสูงถึงชั้นกลางๆ ลูกหลานของเขาซึ่งบัดนี้ก็เปนหนุมสาว ไดรับ<br />

การศึกษาสูงกวาคนทั่วไป และกำลังไตเตาอยูในบรรไดของหนาที่การงานตางๆ ซึ่งดูจะมีอนาคต<br />

(prospect) ดีกวาพอแมของเขาเสียอีก”<br />

อีกทั้งยังเนนย้ำถึงการใช “กระมพี” ที่คำนึงถึงบริบทที่มีความเฉพาะเจาะจงลงไปวา<br />

“ฝรั่งคนหนึ่งเขียนหนังสือเกี่ยวกับการถดถอยของประชาธิปไตยทั่วโลก และถูกอางในสื่อไทย<br />

บอยๆ กลาววาประชาธิปไตยกำลังถูกคนชั้นกลางในหลายประเทศทั่วโลกปฏิเสธ ผมคิดวาผูเขียน<br />

สรุปอยางหยาบเกินไป เพราะเรื่องนี้ตองดู "คนชั้นกลาง" ในแตละสังคมใหดี เพราะถึงถูกเรียก<br />

เหมือนกัน แตที่จริงแลวแตกตางกันมากทีเดียว<br />

ในที่นี้ขอดูแตคนชั้นกลางกลุมที่ผมเรียกวากระมพีไทยเทานั้น”42<br />

เห็นไดวาความหมายของกระมพีดังกลาวตางไปจากกระมพีในสมัยตนรัตนโกสินทร หรือในบทความ<br />

ระยะเวลาไมไกลกันมาก เชน คนชั้นกลางกับระบอบการเมือง43 ที่เผยแพรในเดือนมีนาคม พ.ศ. 2561 นิธิ เอียวศรี<br />

วงศใชคำวากระมพีในความหมาย “เจาของทุน” จึงสรุปไดวาการใชกระมพีของนิธิ เอียวศรีวงศมีการ<br />

เปลี่ยนแปลงตามสถานการณหรือบริบทอยูเสมอ ทั้งนี้หากมองวาเปนปญหาก็ยอมเปนขอพึงสังเกตไดดังที่เกงกิจ<br />

42 นิธิ เอียวศรีวงศ “กบฏกระมพี (1-2)” ประชาไท. 18 กุมภาพันธ 2557. https://prachatai.com/journal/2014/02/51839<br />

43 น ิ ธ ิ เ อ ี ย ว ศ ร ี ว ง ศ . “คนชั้นกลางกับระบอบการเมือง” ม ติชนออนไลน. 19 มีนาคม 2561<br />

https://www.matichon.co.th/columnists/news_879814


- 12 -<br />

กิตติเรียงลาภตั้งคำถามตอความ “ไมนิ่ง” ของนิยามกระมพี - คนชั้นกลาง - นายทุน ที่นิธิ เอียวศรีวงศไดใชสลับ<br />

ปะปนไปมาอยูบอยครั้ง44<br />

กระบวนทัศนกระมพีกับการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 : พิจารณาผลงานนิธิ-นครินทร-กุลลดา<br />

เอเลน มีกซีนส วูด (Ellen Meiksins Wood) นักทฤษฎีการเมืองและประวัติศาสตรมารกซิสต กลาวถึง<br />

กระบวนทัศนกระมพี (Bourgeois paradigm) อันเปนกระบวนทัศนทางประวัติศาสตรแบบหนึ่งซึ่งเปนที่รับรู<br />

โดยทั่วไปและหยั่งรากฝงลึกอยางมั่นคงในวัฒนธรรมตะวันตก กระบวนทัศนดังกลาวกลายเปนกรอบคิดในการ<br />

ถกเถียงประวัติศาสตรแทบทุกเรื่อง ซึ่งบอยครั้งที่ผูรวมถกเถียงมิอาจรูเทาทันวาตนถูกกระบวนทัศนดังกลาวนี้<br />

ครอบงำอยูดวยซ้ำไป วูดจึงไดเสนอใหกลับไปไปพิจารณากระบวนการทางประวัติศาสตรที่แทจริง เพราะกระบวน<br />

ทัศนการปฏิวัติกระมพีนั้นแมวาจะมีความเปนจริงอยูมาก แตก็ไมสอดคลองกับรูปแบบและเรื่องราวที่เกิดขึ้นจริง<br />

ในพัฒนาการทางประวัติศาสตร45<br />

สังคมไทยเองก็มีการกลาวถึงการปฏิวัติกระมพีที่ปรากฏทั้งในขบวนการเคลื่อนไหวทางการเมือง และใน<br />

แวดวงวิชาการที่ไมวาจะจัดอยูในสกุลมารกซิสตหรือเสรีนิยมตางก็มีการพูดถึงกระบวนทัศนดังกลาว ผูเขียนขอยก<br />

กรณีการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 มาเปนตัวอยาง<br />

วา<br />

ในบทความสนทรภู: มหากวีกระมพี (2524) นิธิ เอียวศรีวงศ ไดกลาวถึงกระมพีกับการปฏิวัติ พ.ศ. 2475<br />

44 งานเสวนา' "คราสและควินิน" กับการอานทวน "ปากไกและใบเรือ" ของนิธิ เอียวศรีวงศ. ณ รานหนังสือ Book Re:public' วัน<br />

เสารที่ 13 มกราคม 2561 https://www.facebook.com/173639362714953/videos/1553305128081696/ ; อนึ่งโปรดดู<br />

ความเห็นโตแยงตอเกงกิจ กิตติเรียงลาภจากสมศักดิ์ เจียมธีรสกุลที่ไดแสดงไวผานการถายทอดสดในคลิปดังกลาวประกอบดวย<br />

45 เอเลน มีกซีนส วูด กลาวยกกรณีที่ถูกใชเปน “ตัวแบบ” (model) คือ อังกฤษและฝรั่งเศส ในอังกฤษเกิดระบบทุนนิยมขึ้นจริงแต<br />

ก็ไมไดเกิดจากน้ำมือของกระมพี ดานการปฏิวัติฝรั่งเศสอาจเกิดจากการระทำของกระมพี แตก็ไมไดมีความเกี่ยวของอันใดกับ<br />

ทุนนิยม วูดยังไดสรุปถึงกระบวนทัศนกระมพีวา เปนการนำประสบการณของการปฏิวัติฝรั่งเศสมาวางทับลงระบบทุนนิยมอังกฤษ<br />

โปรดดู Wood, Ellen Meiksins. “England, Capitalism and Bourgeois Paradigm” The Pristine Culture of Capitalism<br />

: A Historical Essay on Old Regimes and Modern States. New York : Verso, 2015, pp. 1-20. ; ดูฉบับแปลไทยใน<br />

หนังสือเลมนี้


- 13 -<br />

“การปฏิวัติของพวกกระมพีใน พ.ศ. 2475 จึงเกิดขึ้นเพื่อจัดสรรโครงสรางของอำนาจในหมู<br />

กระมพีดวยกันใหม นับเปนความสืบเนื่องในประวัติศาสตรที่ยาวนานอันอาจยอนหลังไปไดถึงตน<br />

รัตนโกสินทร”46<br />

พิพัฒน พสุธารชาติ วิจารณทัศนะดังกลาวโดยอางถึงความคิดของเอเลน มีกซีนส วูด วา<br />

“คำอธิบายของนิธิที่วาการปฏิวัติใน พ.ศ. 2475 เปนการปฏิวัติของพวกกระมพี อันทำให<br />

เกิดการจัดสรรโครงสรางของอำนาจในหมูกระมพีใหมดวยกันใหม นับเปนความสืบเนื่องใน<br />

ประวัติศาสตรที่นาวนานอันมองยอนหลังไปไดถึงตนรัตนโกสินทร คำอธิบายดังกลาวมีฐานคิดมาจา<br />

กระบวนทัศนกระมพีนั้นเอง อยางไรก็ตามที่เอเลน มีกซีนส วูด ไดวิจารณไวกลาวคือ กระบวนทัศน<br />

นี้ไมไดมีความสอดคลองกับเหตุการณจริงที่เกิดขึ้นในประวัติศาสตร ไมวาจะเปนอังกฤษ ฝรั่งเศส<br />

หรือประเทศใดๆ ในโลก นอกจากนี้จากตัวอยางของอังกฤษ แสดงใหเห็นวาระบบทุนนิยมสามารถ<br />

เกิดไดในระบบศักดินา ระบบศักดินาจึงไมไดมีความหยุดนิ่ง แตสามารถปรับตัวไดอยางมีพลวัต เมื่อ<br />

เปรียบเทียบกับไทยในสมัยตนรัตนโกสินทรซึ่งถือไดวาเปนรัฐแบบศักดินา ที่ยังไมใชรัฐ<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย ผูเขียนจึงเห็นวาไมมีความจำเปนใดๆ ที่ตองนำ ‘ชนชั้นกระมพี’ หรือ<br />

แมกระทั่ง ‘โลกทัศนกระมพี’ ตามคำอธิบายของนิธิ มาเปนปจจัยในการอธิบายสภาพทางเศรษฐกิจ<br />

สังคมของไทยในสมัยตนรัตนโกสินทร” 47<br />

ขอวิจารณตอมาจากธเนศ วงศยานนาวา ไดตั้งขอสังเกตนิยามชนชั้นกลางที่นิธิ เอียวศรีวงศกลาวไวไมได<br />

รวมเอาขาราชการเขามาเปนสวนหนึ่งของชนชั้นกลาง ซึ่งคำนิยามดังกลาวพบไดในผลงานการปฏิวัติสยาม พ.ศ.<br />

2475 ของนครินทร เมฆไตรรัตน ที่พยายามอธิบายบทบาทของชนชั้นกลางนอกระบบราชการที่มีบทบาทในการ<br />

ปฏิวัติตามแนวทางการอธิบายการปฏิวัติกระมพี (bourgeois revolution) ในฝรั่งเศส48<br />

46 นิธิ เอียวศรีวงศ. ปากไกและใบเรือ : รวมความเรียงวาดวยวรรณกรรมและประวัติศาสตรตนรัตนโกสินทร. พิมพครั้งที่ 4.<br />

นนทบุรี : ฟาเดียวกัน, 2555, หนา 259.<br />

47 พิพัฒน พสุธารชาติ. คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ. กรุงเทพฯ : Illuminations<br />

Editions, 2560, หนา 78.<br />

48 ธเนศ วงศยานนาวา. “วัฏจักรของทฤษฎีและประวัติศาสตรของชนชั้นกลาง : จากการปฏิวัติฝรั่งเศสสูพฤษภาทมิฬ/19<br />

กันยายน” ใน นลินี ตันธุวนิตย, บรรณาธิการ. ศึกษา รูจัก วิพากษ คนชั้นกลาง : รวมบทความจากการสัมมนาทางวิชาการ<br />

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : มิสเตอรกอปป, 2550, หนา 23.


- 14 -<br />

ผลงานชิ้นเอกของนครินทร เมฆไตรรัตน เรื่องการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ที่พัฒนามาจากวิทยานิพนธ<br />

เรื่อง “ประวัติศาสตรภูมิปญญาของการเปลี่ยนระบอบการปกครองสยามระหวาง พ.ศ. 2470 - 2480” เมื่อป พ.ศ.<br />

2528 กลาวถึงกระมพีในฐานะที่เปนสวนหนึ่งของคนชั้นกลาง นครินทร เมฆไตรรัตนเองเลือกใชคำวาคนชั้นกลาง<br />

ซึ่งเปนคำที่ใชอยูในสมัยการปฏิวัติ ในความหมายที่ตรงกับ middle class ทั้งนี้กำเนิดของคนชั้นกลางสยามนั้นมี<br />

ที่มาจากหลายทาง “ทั้งจากกลุมขุนนาง คหบดี และไพรกระมพีในสังคมจารีต และจากกลุมคนจีนที่ไดอพยพเขา<br />

มาเปนระยะ ๆ ภายหลังที่สยามไดเปดประเทศครั้งใหมในป พ.ศ. 2398”49<br />

คนชั้นกลางในสมัยการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 คือคนที่อยูนอกระบบราชการ ดังนั้นขาราชการจึงไมจัดเปน<br />

คนชั้นกลาง โดยในผลงานของเขาเสนอคนชั้นกลางสองกลุมใหญ คือ กลุมแรกผูประกอบธุรกิจการคาและการ<br />

ลงทุน ซึ่งพอคา นายทุน กระมพี ก็จัดอยูในกลุมนี้ กลุมที่สองผูประกอบอาชีพการงานโดยอิสระ โดยเฉพาะกลุม<br />

นักเขียนและนักหนังสือพิมพ ในคนกลุมนี้ก็มีที่มาจากสถานะไพรกระมพีดวยเชนกัน ตัวอยางเชน นาย ก.ศ.ร<br />

กุหลาบ นายเทียนวรรณ50<br />

อนึ่งในผลงานการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ของนครินทร เมฆไตรรัตน ไดจำแนกคนออกเปนกลุมตาง ๆ โดย<br />

พยายามหลีกเลี่ยงมโนทัศน “ชนชั้น” ตามทฤษฎีมารกซิสม แลวใชคำวา “กลุมสังคม” (social group) ซึ่งไดรับ<br />

อิทธิพลมาจากแนวคิดของ อี. พี. ทอมปสัน (E.P. Thompson) นักประวัติศาสตรมารกซิสตชาวอังกฤษ และ<br />

อิทธิพลทางความคิดที่เดนชัดจากแม็กซ เวเบอร (Max Weber) นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน ในมโนทัศน “ชนชั้น”<br />

ในความหมายของ “การมีโอกาสชีวิตที่เหมือนกันของกลุมคนกลุมหนึ่ง โอกาสชีวิตนั้นเกี่ยวพันกับการมี<br />

ผลประโยชนและโภคภัณฑในทางเศรษฐกิจ ที่อยูในเงื่อนไขของการมีตลาดสินคาและแรงงาน”51<br />

“คนชั้นกลาง” คือใคร ? ในดานของแนวความคิด นครินทร เมฆไตรรัตนไดอางถึงมโนทัศนของ ปเตอร<br />

สเทิรน (Peter Stearns) นักประวัติศาสตรชาวอเมริกัน จากเรื่อง The Middle Class: Toward a Precise<br />

Definition ที่จำกัดความแบบกระชับวาคนชั้นกลาง คือ คนที่ประกอบอาชีพเกี่ยวของกับธุรกิจการคา การ<br />

อุตสาหกรรม และประกอบอาชีพดวยวิชาชีพอิสระ และอีกดานที่ควบคูกัน คือ หลักฐานทางประวัติศาสตรอันเปน<br />

สิ่งที่นักประวัติศาสตรตองพึงมีในการอธิบาย นครินทร เมฆไตรรัตนอางถึงหลักฐานเชิงประจักษ คือ การสำรวจ<br />

49 นครินทร เมฆไตรรัตน. การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475. พิมพครั้งที่ 5 (ฉบับแกไขและปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ฟาเดียวกัน,<br />

2553, หนา 124.<br />

50 นครินทร เมฆไตรรัตน. การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475. พิมพครั้งที่ 5 (ฉบับแกไขและปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ฟาเดียวกัน,<br />

2553, หนา 124-151.<br />

51 นครินทร เมฆไตรรัตน.“ประวัติศาสตรภูมิปญญาของการเปลี่ยนระบอบการปกครองสยามระหวาง พ.ศ. 2470 - 2480”<br />

วิทยานิพนธอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชาประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2528, หนา 10.


- 15 -<br />

สำมะโนครัวประชากรโดยรัฐซึ่งไดตีพิมพรายงานสถิติรายป และรายงานการสำรวจที่ตีพิมพใน เทศาภิบาล<br />

(นิตยสารของกรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย)<br />

Statistical Year Book ที่สำรวจในป พ.ศ. 2472 รายงานวามีผูประกอบ การอิสระ (professions and<br />

independent workers) 93,967 คน ผูประกอบการพาณิชยการคา ขายอาหารและอื่นๆ (commerce, dealing,<br />

catering, etc.) 503,839 คน และมีผูประกอบการอุตสาหกรรม (industrial pursuits) 164,526 คน รวม<br />

762,332 คน คิดเปนรอยละ 10.14 ของจำนวนผูประกอบอาชีพในสยาม คนกลุมนี้คือ คนชั้นกลางในทัศนะของ<br />

นครินทร เมฆไตรรัตน ซึ่งตางจากขอเสนออีกชุดหนึ่ง (จากนักวิชาการ) ที่พิจารณาวาขาราชการคือคนชั้นกลาง52<br />

ผลงานของนครินทร เมฆไตรรัตนยังมีกลิ่นอายของการปฏิวัติกระมพีตามแนวทางที่นักประวัติศาสตรมารก<br />

ซิสตใชในการอธิบายการปฏิวัติฝรั่งเศส และสรางความสอดคลองสูขั้นตอนการปฏิวัติสังคมนิยมที่จะเปนอีกขั้น<br />

ตามมาตามหลักพัฒนาการวัตถุนิยมประวัติศาสตรนั่นเอง53 อยางไรก็ดีนครินทร เมฆไตรรัตนก็เสนอให “พิจารณา<br />

คนชั้นที่ออนแอและอยูนอกระบบราชการนั้นโดยตัวของพวกเขาเอง…ดูวาพวกเขาไดมีสวนผลักดันการ<br />

เปลี่ยนแปลง แมวาจะเปนการผลักดันจากภายนอกและมีความเบาบางอยูมากก็ตาม” จุดนี้เองตางจากการศึกษา<br />

ของฉัตรทิพย นาถสุภาปรมาจารยใหญแหงสำนักเศรษฐศาสตรการเมืองที่พยายามคนหาชนชั้นกลางในกรอบ<br />

กระบวนทัศน “การปฏิวัติประชาธิปไตยกระมพี” ซึ่งเปนภารกิจทางประวัติศาสตรของคนกลุมนี้ แลวสรุปวาชน<br />

ชั้นกลางสยามออนแอเพราะไมสามารถนำพาไปสูการปฏิวัติกระมพีได54 จะเห็นไดวาขอเสนอของนครินทร เมฆ<br />

ไตรรัตนยึดมั่นกับ “สิ่งที่เกิดขึ้นจริง” มากกวาตัวแบบการปฏิวัติตามทฤษฎี<br />

ธเนศ วงศยานนาวา วิจารณผลงานการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 วา<br />

“การยืนยันบทบาทของชนชั้นกลางของนครินทร เมฆไตรรัตนไมไดอยูในกรอบของ “ชีวิตดาน<br />

วัตถุ” หรือการบริโภคอันเปนแงมุมสำคัญของประวัติศาสตรสังคม เปาหมายหลักของการแสดง<br />

บทบาทของชนชั้นกลางของนครินทร อยูที่แนวทางการตอสูทางการเมือง งานของนครินทรแสดงนัย<br />

และความหมายในทางการเมืองไวอยางหนึ่งก็คืออยางนอยๆ เมื่อชนชั้นกลางที่สำนึกบทบาททาง<br />

การเมืองก็แสดงใหเห็นความพรอมในระดับหนึ่งของเสรีประชาธิปไตย การปฏิวัติ 2475 จึงไมใชเรื่อง<br />

52 นครินทร เมฆไตรรัตน. การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475. พิมพครั้งที่ 5 (ฉบับแกไขและปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ฟาเดียวกัน,<br />

2553, หนา 122 – 123.<br />

53 ธเนศ วงศยานนาวา. “วัฏจักรของทฤษฎีและประวัติศาสตรของชนชั้นกลาง : จากการปฏิวัติฝรั่งเศสสูพฤษภาทมิฬ/19<br />

กันยายน” ใน นลินี ตันธุวนิตย, บรรณาธิการ. ศึกษา รูจัก วิพากษ คนชั้นกลาง : รวมบทความจากการสัมมนาทางวิชาการ<br />

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : มิสเตอรกอปป, 2550, หนา 23<br />

54 นครินทร เมฆไตรรัตน. การปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475. พิมพครั้งที่ 5 (ฉบับแกไขและปรับปรุงครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ : ฟาเดียวกัน,<br />

2553, หนา 123.


- 16 -<br />

ของชนชั้นนำบางกลุมตองการยึดอำนาจจากเจา และที่สำคัญประชาธิปไตย 2475 จึงไมใชเรื่องของ<br />

“การประทาน” แตเปนการตอสูเรียกรอง แมวานครินทรเองจะไมไดไปไกลถึงประเด็นเรื่องของการ<br />

ตอสูทางชนชั้นก็ตาม”55<br />

ขอวิจารณขางตนนาสนใจเปนอยางยิ่งโดยเฉพาะประเด็นเรื่องประวัติศาสตรสังคม (Social History) และยัง<br />

ไดรับการสานตอการวิพากษโดยพิพัฒน พสุธารชาติ ที่อางถึงขอเขียนของธเนศ วงศยานนาวา และเยอรเกน<br />

ค็อกกา (Jurgen Kocka) นักประวัติศาสตรชาวเยอรมัน วาการอธิบายการเกิดขึ้นหรือลมสลายของชนชั้นกลางไทย<br />

ตองใชปจจัยทางสังคมบางประการมาชวยอธิบาย เชน มองจากชีวิตดานวัตถุ หรือการบริโภค เปนตน ซึ่งทำใหชน<br />

ชั้นกลางหรือกระมพีนั้นมีความแตกตางจากชนชั้นอื่นอยางมีนัยสำคัญ พรอมกับเรียกรองใหมีประวัติศาสตรทาง<br />

สังคมของชนชั้นกลางไทยที่แทจริง มิใชการจงใจสรางขึ้นมาของนักวิชาการดานประวัติศาสตร56<br />

ทั้งนี้ผูเขียนตองการฉายภาพอีกมิติหนึ่งที่อาจกลาวไดวานักประวัติศาสตรไทยเองก็ไมได “ไรเดียงสา” ตอ<br />

เรื่องประวัติศาสตรสังคม นอกเหนือจากขอเสนอของเครก เจ. เรโนลดส (Craig J. Reynolds) ที่ไดบรรยายถึง<br />

การศึกษาประวัติศาสตรสังคมไทยไวเมื่อป พ.ศ. 252257 (ดังที่พิพัฒน พสุธารชาติไดอางถึงไวในงานเขียน58) ใน<br />

ระยะเวลาใกลๆ กัน นิธิ เอียวศรีวงศไดเสนอถึงภารกิจของนักประวัติศาสตรในการศึกษาประวัติศาสตรพรอมกับ<br />

กลาวถึงมารค บล็อค (Marc Bloch) นักประวัติศาสตรชื่อดังชาวฝรั่งเศสแหงสำนักนักแอนนาลส (Annales<br />

school) และอีริค ฮอบสบอม (Eric Hobsbawm) นักประวัติศาสตรมารกซิสตแหงสำนักซายใหม (New Left) ใน<br />

อังกฤษ ความวา<br />

“จุดมุงหมายของนักประวัติศาสตรมิใชเพื่อเขาใจดานเดียวของสังคมในอดีต จุดมุงหมายที่<br />

แทจริงคือ การเขาใจสังคม ‘ทั้งหมด’ เราตองไมลืมวา อาจมีบางคนที่สมัครใจทำงานทาง<br />

ประวัติศาสตรวัฒนธรรม ประวัติศาสตรเศรษฐกิจ ประวัติศาสตรทางความคิด ประวัติศาสตรศาสตร<br />

55 ธเนศ วงศยานนาวา. “วัฏจักรของทฤษฎีและประวัติศาสตรของชนชั้นกลาง : จากการปฏิวัติฝรั่งเศสสูพฤษภาทมิฬ/19<br />

กันยายน” ใน นลินี ตันธุวนิตย, บรรณาธิการ. ศึกษา รูจัก วิพากษ คนชั้นกลาง : รวมบทความจากการสัมมนาทางวิชาการ<br />

คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร. กรุงเทพฯ : มิสเตอรกอปป, 2550, หนา 25-26.<br />

56 พิพัฒน พสุธารชาติ. คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ. กรุงเทพฯ : Illuminations<br />

Editions, 2560, หนา 414 – 417.<br />

57การบรรยายดังกลาวไดตีพิมพ เคร็ก เจ. เรโนลดส.ประวัติศาสตรสังคมคืออะไร.(กรุงเทพฯ: สถาบันไทยคดีศึกษา<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร, 2522)<br />

58 พิพัฒน พสุธารชาติ. คราสและควินิน : รื้อ-สราง ‘ปากไกและใบเรือ’ ของ นิธิ เอียวศรีวงศ. กรุงเทพฯ : Illuminations<br />

Editions, 2560, หนา 414.


- 17 -<br />

ศิลปะ ฯลฯ แตจุดมุงหมายหลักของเรา คือ ‘ประวัติศาสตรทั้งหมด’ ดังที่ มารค บอลค เรียกวา<br />

‘total history’ หรือที่ ฮอบสบอมเรียกวา “ประวัติศาสตรของสังคม” ไมใชประวัติศาสตรสังคม”59<br />

ชวงทศวรรษ 2520 – 2530 นักประวัติศาสตรไทยตางแสวงหาแนวทางการศึกษาประวัติศาสตรที่ตางไป<br />

จากประวัติศาสตรราชวงศ ประวัติศาสตรการเมือง และอาจรวมถึงประวัติศาสตรมารกซิสต ขอยกตัวอยางนิธิ<br />

เอียวศรีวงศ (อีกครั้ง) ไดเสนอแนวทางประวัติศาสตรประชาชน ในป พ.ศ. 2531 และประวัติศาสตรของผูต่ำตอย<br />

(subaltern history) ในป พ.ศ. 2533 เพื่อนำมาประยุกตศึกษาประวัติศาสตรไทย60 และขอเสนอจากนัก<br />

ประวัติศาสตรอีกทาน คือ ธเนศ อาภรณสุวรรณที่ไมตองการใหงานศึกษาประวัติศาสตรไทยอยูเพียงระดับ<br />

“ประวัติศาสตรสังคม” (social history) เพราะขาดมิติทางการเมือง พรอมเรียกรองเชนเดียวกับนิธิ เอียวศรีวงศ<br />

ใหการศึกษาประวัติศาสตรไทยกาวไปสู “ประวัติศาสตรของสังคม” (history of society) ที่ควรตระหนักถึงมิติ<br />

ทางการเมืองดวย61 ซึ่งในทัศนะของผูเขียนผลงานเรื่องการปฏิวัติสยาม พ.ศ. 2475 ของนครินทร เมฆไตรรัตนก็อยู<br />

ในขอบขายดังกลาว<br />

นักวิชาการทานสุดทายที่จะกลาวถึง คือ กุลลดา เกษบุญญชู มี้ดนักรัฐศาสตรที่เสนอ “กระมพีราชการ”<br />

กับบทบาทการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 หากนิธิ เอียวศรีวงศไดสรางความเคลือบแคลงใจแกนักทฤษฎีจากการเสนอวา<br />

เจาและขุนนางเปนกระมพีแลวนั้น ขอเสนอของกุลลดา เกษบุญชู มี้ดที่เรียกกลุมพลังสังคมที่เคลื่อนไหวทาทาย<br />

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชยสยามวา “bureaucratic bourgeoisie” หรือ “กระมพีราชการ” ก็คงสรางความ<br />

ประหลาดใจและนาตื่นตาตื่นใจไปพรอมกัน<br />

ขณะที่นิธิ เอียวศรีวงศ นครินทร เมฆไตรรัตน รวมถึงฉัตรทิพย นาถสุภา62 เสนอวาควรพิจารณากระมพี/<br />

ชนชั้นกลางนอกระบบราชการ กุลลดา เกษบุญชู มี้ด กลับมีขอเสนอที่ตรงกันขามกลับไปอยูในระบบราชการโดย<br />

59นิธิ เอียวศรีวงศ. “การศึกษาประวัติศาสตรไทยอดีตและอนาคต”. รวมบทความประวัติศาสตร. 1,1 (กรกฎาคม 2523), หนา<br />

14-15.<br />

60 นิธิ เอียวศรีวงศ.“สูประวัติศาสตรประชาชนไทย”. ศิลปวัฒนธรรม. 9, 3 (มกราคม 2531), หนา 42-60. ; นิธิ เอียวศรีวงศ.<br />

“ประวัติศาสตรประชาชน : การแสวงหา”. เอกสารอัดสำเนา, 2533.<br />

61 ธเนศ อาภรณสุวรรณ. “ทำไมพระเจาหลุยสที่ 13 ไมทรงสั่งน้ำมูก: ปญหาของประวัติศาสตรสังคม?” วารสารมนุษยศาสตร.<br />

ฉบับที่ 1-2 (2531), หนา 120-126. ; ผูเขียนบทความนี้ไดปรับปรุงอีกครั้งในป 2547 โปรดดู<br />

https://www.academia.edu/41735069/On_Problems_of_Social_Histปญหาของประวัติศาสตร_สังคม<br />

62 ขอเขียนของกุลลดา เกษบุญชู มี้ดที่วิจารณวิธีวิทยาของ “สำนักนิธิ” และ “สำนักฉัตรทิพย” โปรดดู กุลลดา เกษบุญชูใน<br />

เอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการเรื่อง “ยุโรปกับรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว: โอกาส ความ<br />

ขัดแยง และการเปลี่ยนแปลง” ณ โรงแรมเจดับบลิว แมริออท กรุงเทพฯ จัดโดยสยามสมาคมในพระบรมราชูปถัมภและคณะ<br />

รัฐศาสตร จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย วันที่ 18-20 ธันวาคม พ.ศ. 2540. ; รวมถึงตองการเสนอคำอธิบายการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 ที่


- 18 -<br />

เสนอคำวา “กระมพีราชการ” อีกทั้งยังแตกตางจากขอเสนอของนักประวัติศาสตรกอนหนาตัวอยางเชน ผลงาน<br />

ของวารุณี โอสถารมย ที่กลาวถึงชนชั้นกลางในระบบราชการ63<br />

กระมพีราชการของกุลลดา เกษบุญชู มี้ด นับวาเปนขอเสนอใหมที่ไมเคยมีใครกลาวถึงมากอน (original<br />

arguments) ทวาก็ยังคงอยูในกระบวนทัศนการปฏิวัติกระมพี ที่ประสบความสำเร็จโดยการนำของขาราชการ<br />

กระมพีเมื่อ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475 ซึ่งการใชคำดังกลาวนี้กุลลดา เกษบุญชู มี้ด ระบุวาตรงกับขาราชการ<br />

ระดับกลางในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย กระมพีราชการ (bureaucratic bourgeoisie) “หมายถึงชนชั้นใหม<br />

ในสังคมที่ผานระบบการศึกษาสมัยใหมในประเทศและไดเลื่อนสถานะเปนขาราชการในภายหลัง”64<br />

การใชคำ “กระมพีราชการ” ไดรับอิทธิพลมาจากเบเนดิกท แอนเดอรสัน65 ดังที่กุลลดา เกษบุญชู มี้ด<br />

กลาวถึงคำดังกลาวใชในบริบทที่คลายคลึงกับคำอธิบายในผลงานเรื่อง Withdrawal symptoms: Social and<br />

cultural aspects of the October 6 coup. (1977) ที่เบเนดิกท แอนเดอรสันไดอธิบายชนชั้นทางสังคมใหม<br />

ภายใตระบอบสฤษดิ์66 ทั้งนี้เบเนดิกท แอนเดอรสันไดใชคำวา Bourgeois, Middle & Upper Bourgeoisie และ<br />

Petty Bourgeoisie ในบทความดังกลาว อีกทั้งเมื่อมีการแปลเปนพากษภาษาไทยคณะผูแปล คือ ชาญวิทย<br />

เกษตรศิริ ธเนศ อาภรณสุวรรณ และเกษียร เตชะพีระ ก็เลือกใชคำวา “กระมพี” เปนคำแปล Bourgeoisie67<br />

บทสงทาย การใชกระมพีไทยในทศวรรษ 2560<br />

แตกตางไปจากผลงานของนครินทร เมฆไตรรัตนดวย โปรดดู กุลลดา เกษบุญญชู มี้ดไดกลาวถึงไวในหนา 41 ของบทความ; โปรดดู<br />

กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. หลังจากหนังสือที่มาชวยชีวิต ตามหาทฤษฎีที่สอดคลองกับงานเชิงประจักษ.<br />

https://www.dropbox.com/s/kcrepogj5qdo1e4/หลังจากหนังสือที่มาชวยชีวิต%20ตามหาทฤษฎีที่สอดคลองกับงานเชิง<br />

ประจักษ.pdf?dl=0<br />

63 วารุณี โอสถารมย. “การศึกษาในสังคมไทย พ.ศ. 2411-พ.ศ. 2475” วิทยานิพนธปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต ภาควิชา<br />

ประวัติศาสตร บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2524.<br />

64 กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย วิวัฒนาการรัฐไทย. นนทบุรี : ฟาเดียวกัน, 2562, หนา 176<br />

65 ผูเขียนตั้งขอสังเกตวางานวิชาการดานไทยศึกษาเชิงวิพากษไดรับอิทธิพลอยางมากจากเบเนดิกท แอนเดอรสัน ทั้งทางตรงจาก<br />

การร่ำเรียนและสนทนากับปรมาจารยทางรัฐศาสตรและอุษาคเนยทานนี้ และทางออมจากการอานผลงานของเขา กรณีนิธิ เอียวศรี<br />

วงศ กุลลดา เกษบุญชู มี้ด รวมถึงนครินทร เมฆไตรรัตนเองก็อยูในขายดวย<br />

66 กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย วิวัฒนาการรัฐไทย. นนทบุรี : ฟาเดียวกัน, 2562, หนา 176<br />

67 แอนเดอรสัน, เบเนดิกต.บานเมืองของเราลงแดง: แงมุมทางสังคมและวัฒนธรรมของรัฐประหาร 6 ตุลาคม. กรุงเทพฯ: มติ<br />

ชน, 2559.


- 19 -<br />

คำวา “กระมพี” ยังถูกใชอยูจนกระทั่งถึงปจจุบัน ยกตัวอยางเชน นิธิ เอียวศรีวงศ นักวิชาการและ<br />

ปญญาชนสาธารณะก็ยังคงใชคำดังกลาวอยูบอยครั้งในบทความของเขา รวมถึงนักรัฐศาสตรอยางเกษียร เตชะพี<br />

ระ68 นักประวัติศาสตรอยางธเนศ อาภรณสุวรรณ69 ก็ยังใชคำนี้อยูใหเห็นในขอเขียนทางวิชาการ และกุลลดา เกษ<br />

บุญชู มี้ด ในคำนำหนังสือ ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย วิวัฒนาการรัฐไทย เมื่อป พ.ศ. 2562 ก็กลาวถึง<br />

“กระมพีกลุมใหม” ในไทย คือ “นักเลือกตั้ง” หรือนักการเมืองทั้งในเมืองและชนบทที่มีบทบาทสำคัญอยางยิ่งใน<br />

การเมืองไทยสมัยใหม70<br />

ทั้งนี้ไมเพียงแตนักวิชาการอาวุโสที่กลาวมาเทานั้นหากยังมีการปรากฎในผลงานของนักวิชาการรุนใหม<br />

บทความ กษัตริยกระฎมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี71 ของปวงชน อุนจะนำนัก<br />

รัฐศาสตรสายมารกซิสตไดเสนอวากษัตริยและสถาบันกษัตริยคือ กระมพี !<br />

สถาบันกษัตริยแบบกระมพี (bourgeois monarchy) รวมไปถึงคำวากษัตริยกระมพี<br />

(bourgeois monarch) ที่ผูเขียนนำมาใชในบทความนี้ หาไดเปนคำศัพทใหมที่ผูเขียนจินตนาการ<br />

สรรคืสรางขึ้นมาเอง อันที่จริงแลว, มันเปนคำที่นักคิดและนักประวัติศาสตรในโลกตะวันตกใชอางถึง<br />

พระเจาหลุยสฟลิปที่หนึ่ง, กษัตริยฝรั่งเศสผูครองราชยในชวงป 1830 ถึง 1848, ผูไดรับฉายา<br />

“กษัตริยกระมพี” และสถาบันกษัตริยในรัชสมัยนั้นก็ไดรับการเรียกขานวา “สถาบันกษัตริยแบบ<br />

กระมพี” ที่เปนเชนนั้นก็เนื่องมาจากความสัมพันธอันแนนแฟนและพันธมิตรทางการเมืองอันแนบ<br />

แนนระหวางกษัตริย, นายธนาคาร, นายทุนอุตสาหกรรม, และชนชั้นกลางในรัชสมัยของพระองค”72<br />

ทั้งนี้ปวงชน อุนจะนำไดอางอิงถึงงานเขียนของตนธารลัทธิมารกซ คือคารล มารกซ (Karl Marx) ฟรีดริช<br />

เองเกลส (Friedrich Engels) และผลงานของเจอรโรล ซีเกล (Jerrold Seigel) นักประวัติศาสตรชาวอเมริกัน จาก<br />

68 “หนักแผนดินเอฟเฟกต!'เกษียร'ตั้งคำถามนักวิชาการทำขบวนการตอสูดวยอาวุธในชนบทของพคท.หายไปไหน?” ไทยโพสต.<br />

(19 กุมภาพันธ 2562) https://www.thaipost.net/main/detail/29463<br />

69 ธเนศ อาภรณสุวรรณ. “วิจารณบทความปวงชน อุนจะนำ ‘กษัตริยกระมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหง<br />

ราชวงศจักรี’” ฟาเดียวกัน. 16,2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561)<br />

70 ดู กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย วิวัฒนาการรัฐไทย. นนทบุรี : ฟาเดียวกัน, 2562, หนา (11)– (15)<br />

71 ปวงชน อุนจะนำ กษัตริยกระฎมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี. ฟาเดียวกัน. 16,1 (มกราคม -<br />

มิถุนายน 2561), หนา 7 – 71.<br />

72 ปวงชน อุนจะนำ กษัตริยกระฎมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี. ฟาเดียวกัน. 16,1 (มกราคม -<br />

มิถุนายน 2561), หนา 10 – 11.


- 20 -<br />

เรื่อง Modernity and Bourgeois Life: Society, Politics and Culture in England, France, and Germany<br />

since 1750.73<br />

ขอเสนอหลักของปวงชน อุนจะนำ คือ สถาบันกษัตริยในรัชสมัยรัชกาลที่ 9 ไดแปรสภาพจากสถาบันจารีต<br />

ตามศักดินาไปเปนสถาบันกษัตริยแบบกระมพี นี่คือมรดกชิ้นสำคัญในรัชสมัยของพระองคทาน74 และความ<br />

นาสนใจอีกประการที่ปวงชนไดเสนอ คือ<br />

“…ชนชั้นกระมพีที่มีขนาดใหญ, มั่งคั่ง, มีพลัง, และมีจิตสำนึกทางการเมืองรวมกัน ก็ไดจุติ<br />

ขึ้นในราชอาณาจักรไทยเสียทีในปลายศตวรรษที่ 20 อยางไรก็ดี, ความยอนแยงของประวัติศาสตร<br />

ไทยก็คือ แทนที่จะลุกฮือขึ้นทำการ “ปฏิวัติกระมพี” ลมลางซากเดนที่ตกคางมาจากระบบ<br />

เศรษฐกิจการเมืองในอดีต, กระมพีไทยกลับกลายเปนฐานมวลชนที่สำคัญที่สุดของสถาบัน<br />

กษัตริย…”75<br />

“…ทามกลางบริบทของ ‘การปฏิวัติอุตสาหกรรม,’ การเปลี่ยนวิถีการผลิตเปนทุนนิยม<br />

อุตสาหกรรม, การผงาดขึ้นมาของชนชั้นกระมพี, และกระแสความนิยมในอุดมการณเสรีนิยม<br />

ประชาธิปไตย, สถาบันกษัตริยไมควรจะมีธุระกงการอันใดทั้งสิ้นกับการเปลี่ยนผานแหงยุคสมัยที่วา<br />

นี้. อันที่จริงแลว, ถาจะเครงครัดเอาตามคัมภีรทฤษฎีการเมือง, มันตองเปนยุคที่วานี้ดวยซ้ำที่ ‘การ<br />

ปฏิวัติกระมพี’ ควรจะประทุขึ้นในไทยและกวาดลางสถาบันตาง ๆ ที่ตกคางมาจากยุคศักดินา –<br />

ไมใชแคสถาบันทหาร หากแตรวมถึงสถาบันกษัตริย-ใหสิ้นซากไปจากพื้นที่การเมือง, การคาในตลาด,<br />

และความสัมพันธทางชนชั้นภายใตระบบทุนนิยมเสียที. อยางไรก็ดี, ตลกรายในทางประวัติศาสตร<br />

เศรษฐกิจการเมืองไทยก็คือ มันกลับเปนยุคแหงการเปลี่ยนผานครั้งใหญชวงปลายศตวรรษที่ 20 ที่วา<br />

นี้เอง ที่สถาบันกษัตริยไดแสดง ‘พระอัจฉริยภาพ’ ในการปรับตัวเขากับกระแสแหงความ<br />

เปลี่ยนแปลงไดอยางนาทึ่ง”76<br />

73 ปวงชน อุนจะนำ กษัตริยกระฎมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี. ฟาเดียวกัน. 16,1 (มกราคม -<br />

มิถุนายน 2561), เชิงอรรถที่ 10 หนา 11.<br />

74 ปวงชน อุนจะนำ กษัตริยกระฎมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี. ฟาเดียวกัน. 16,1 (มกราคม -<br />

มิถุนายน 2561), หนา 10.<br />

75 ปวงชน อุนจะนำ กษัตริยกระฎมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี. ฟาเดียวกัน. 16,1 (มกราคม -<br />

มิถุนายน 2561), หนา 70.<br />

76 ปวงชน อุนจะนำ กษัตริยกระฎมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหงราชวงศจักรี. ฟาเดียวกัน. 16,1 (มกราคม -<br />

มิถุนายน 2561), หนา 35-36.


- 21 -<br />

คงพอสัมผัสไดวาการอธิบายดังกลาวอยูในกระบวนทัศนกระมพี ทั้งนี้ธเนศ อาภรณสุวรรณ วิจารณบาง<br />

ประเด็นของบทความนี้วา “…ไมประสบความสำเร็จในการวาดภาพใหสถาบันกษัตริยเปนเสมือน ‘ผูราย’ ในฐานะ<br />

ที่เปนกระมพีหรือนายทุนอันเปนสัญลักษณของการขูดรีดเอาเปรียบผูผลิต เพราะไมไดใหความสำคัญกับการกอ<br />

รูปของชนชั้นนายทุนรวมถึงแหลงที่มาของการกอรูปทางชนชั้น (class formation) และการพัฒนาของพลังทาง<br />

ชนชั้น…”77 แมวาทั้งสองจะมีมุมมองที่แตกตางกันในบางประการ78 แตนาสังเกตวาทั้งคูตางยอมรับวามี<br />

“กระมพี”ในสังคมไทย และใชคำดังกลาวในงานเขียนของพวกเขา<br />

บทความปริทัศน “กระมพีไทย” คงตองขอจบเพียงเทานี้ แตการตั้งคำถามและขอถกเถียงเรื่องมโนทัศน<br />

และกระบวนทัศนกระมพีในไทยยังคงดำเนินตอไป<br />

77 ธเนศ อาภรณสุวรรณ. “วิจารณบทความปวงชน อุนจะนำ ‘กษัตริยกระมพี : มรดกทางประวัติศาสตรจากรัชกาลที่ 9 แหง<br />

ราชวงศจักรี’” ฟาเดียวกัน. 16,2 (กรกฎาคม - ธันวาคม 2561), หนา 213 ; โปรดดูขอวิจารณฺจากธเนศ อาภรณสุวรรณใน<br />

ประเด็นวิธีวิทยาและการตีความในบริบททางประวัติศาสตรไทยเพิ่มเติมในบทความดังกลาว<br />

78 ดูการตอบกลับโดยปวงชน อุนจะนำในบทความ ปวงชน อุนจะนำ “สถาบันที่ยิ่งใหญ มาพรอมการศึกษาที่ใหญยิ่ง : โตบท<br />

วิจารณ ‘กษัตริยกระมพี’” ฟาเดียวกัน. 17,1 (มกราคม - มิถุนายน 2562), 49-78.

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!