23.04.2020 Views

VDO content 07042020

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

คลิปบทสัมภาษณ์ กนกรัตน์ เลิศชูสกุล ต่อหนังสือ ‘จากมือตบถึงนกหวีด’ ตอนที ่ 1<br />

1. ท าไมคนที ่เคยเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณต้องอ่านหนังสือเล่มนี้? (ฉบับสั้น ไม่มี<br />

ค าตอบในรายละเอียด)<br />

- เป็นเวลา 10 กว่าปีที่คุณและผู ้คนจ านวนมากมายเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ ระลอกแล้ว<br />

ระลอกเล่า ทุ่มพลังงานงาน แรงกายแรงใจ พลังทรัพย์ เวลา ความสะดวกสบายในชีวิต หรือหลาย<br />

คนเสี่ยงชีวิตตัวเองเลยด้วยซ ้า<br />

- ในระหว่างการเข้าร่วม พวกคุณอาจจะมีค าถามหรือข้อสงสัยมากมาย อยู่ในใจ ที่ยังไม่สามารถ<br />

ตอบได้ เนื่องจากในช่วงเวลานั ้น เราเป็นเพียงผู ้เข้าร่วม หรืออาจจะเป็นเพียงแกนน าในระดับ<br />

ท้องถิ่น ที่มองไม่เห็นภาพรวม ไม่ว่าจะเป็น<br />

o ท าไมแกนน าจังตัดสินใจแบบนั ้น แกนน าแต่ละกลุ ่ม แต่ละปีก ต้องเผชิญปัญหา และ<br />

อุปสรรค อะไรบ้าง ที่ท าให้เขาตัดสินใจมากมายทั ้งที่เราเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย<br />

o ท าไมแต่ละกลุ ่มต้องทะเลาะกัน ท าไมพธม. ต้องทะเลาะกับพรรคประชาธิปัติย์ ท าไมพธม.<br />

ต้องตั ้งพรรคการเมืองใหม่ ท าไมสุดท้ายพรรคการเมืองใหม่ล้มเหลว<br />

o หรือ คุณคงเคยถามตัวเองว่า ท าไมในขบวนการจึงมีคนและกลุ ่มที่ท าอะไรแบบที่คุณไม่<br />

เห็นด้วย ท าไมพวกเขามีพฤติกรรมแบบนั ้น แบบนี ้ ท าไมพวกเขาจึงช่วงแตกต่างกับพวก<br />

คุณเสียเหลือเกิน หรือท าไมเขาจึงยอมท าตามแกนน าทุกอย่าง หรือบางกลุ ่มก็ไม่เห็นด้วย<br />

กับแกนน าและมักท าอะไรที่ตรงข้ามกับสิ่งที่แกนน าพยายามรณรงค์<br />

o ท าไมบางช่วงขบวนการเติบโตมีพลังมาก บางครั้งท าไมทะเลาะกันจังเลย ท าไมบางช่วง<br />

ขบวนการหายไป บางครั้งมีกลุ ่มใหม่ชื่อแปลกๆ เกิดขึ ้นมากๆ และท าไมจึงฟื ้นตัวกลับมามี<br />

พลังมากในช่วง กปปส.<br />

- ถึงแม้ว่า หนังสือเล่มนี ้อาจจะไม่สามารถตอบค าถามทุกอย่างที่คุณมีและต้องการรู ้ แต่งานชิ ้นนี ้<br />

พยายาม สร้างถามค าถามหลายอย่าง และพยายามหาค าแทนพวกคุณ<br />

- ในการตอบค าถามเหล่านี ้ ทั ้งที่ผู ้เขียนตั ้งเอง และผู ้อ่านสนใจ ผู ้เขียนพยายามท าในสิ่งที่งานก่อน<br />

หน้านี ้ไม่ได้คือ การไปคุยกับคนธรรมดาที่ไม่ได้ เป็นแกนน าในกทม. ที่มีชื่อเสียงที่งานจ านวนมาก<br />

มักท า แต่งานชินนี ้พยายามไปคุย สัมภาษณ์เชิงลึก กับคนท าธรรมดาๆ ที่เข้าร่วมขบวนการทั ้ง คน<br />

ที่เป็นคนเข้าร่วมขบวนการธรรมดา ไปจนถึงแกนน าในท้องถิ่น ที่ไม่ปรากฎตัวในสื่อมวลชนทั่วไป<br />

เพื่อที่จะเข้าใจว่า จริงๆแล้วคนทั่วไปที่เขาร่วมเขาเป็นใคร มีหน้าตาอย่างไร และคิดอย่างไร โดย


งานชิ ้นนี ้ไปคุยกับผู ้คนทั่วประเทศ 100 คน โดยพยายามให้ครอบคลุมผู ้คนที่มีความหลากหลายใน<br />

หลากหลายมิติมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นใน<br />

o เชิงพื้นที่ สัมภาษณ์คน ใน 4 ภูมิภาคของไทย ได้แก่ เหนือ อีสาน ใต้ และ กรุงเทพ ในพื ้นที่<br />

13 จังหวัด ได้ แก่ เชียงใหม่ ล าพูน สงขลา สุราษฎร์ธานี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์<br />

นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี กรุงเทพมหานคร นครศรีธรรมราช ภูเก็ต และ พัทลุง<br />

o เชิง หลากหลายด้านภูมิหลังทางสังคมเศรษฐกิจ จากกลุ ่มอาชีพ ต าแหน่งและสถานภาพ<br />

ในองค์กร ระดับการศึกษา และเพศ<br />

o และเชิงความหลากหลายด้านบทบาท หน้าที่ และระดับการมีส่วนร่วมในขบวนการฯ ใน<br />

การเลือกผู ้ ให้ข้ อมูล งานชิ ้นนี ้พยายามเลือกคนจากกลุ ่มที่ท าหน้ าที่และมีบทบาทที่<br />

หลากหลายในการสนับสนุนขบวนการต่อต้านทักษิณ ไม่ว่าจะเป็นแกนน าในระดับจังหวัด<br />

และท้องถิ่นต่างๆ ไปจนถึงผู ้สนับสนุนด้านการเงิน หรือ “กลุ ่มแม่ยก-พ่อยก” ผู ้ชุมนุมแบบ<br />

ปักหลักถาวร ผู ้สนับสนุนในระดับปฏิบัติการในหน้าที่ต่างๆ เช่น การ์ด กลุ ่มจัดเตรียมเวที<br />

และเสบียงอาหาร ฯลฯ นอกจากหน้าที่แล้ว งานชิ ้นนี ้ยังพยายามครอบคลุมระดับการมี<br />

ส่วนร่วม ไม่ว่าจะเป็นผู ้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขันและต่อเนื่อง ไปจนถึงผู ้สนับสนุนเพียงทาง<br />

ใจและทุนทรัพย์ แต่ไม่เคยเข้าร่วมการชุมนุมเลย<br />

- ในการพูดคุยงานชิ ้นนี ้พยายามชวนคุยในเรื่องส าคัญๆ 4 เรื่องหลักที่จะช่วยในเราเข้าใจทั ้งภาพ<br />

กว้าง และลักษณะเฉพาะของแต่ละกลุ ่ม<br />

o ปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วม หรือเลือกสนับสนุนแนวคิดและยุทธศาสตร์<br />

ในการเคลื่อนไหว ไม่ว่าจะเป็น ภูมิหลังและพลวัตของครอบครัว ความเชื่อทางการเมือง<br />

ของพ่อแม่ เงื่อนไขทางสังคมเศรษฐกิจ และการกล่อมเกลาทางการเมืองและสังคมในวัย<br />

เยาว์ ประสบการณ์ในการเข้าร่วมทางการเมืองก่อนเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ ไม่ว่า<br />

จะเป็นขบวนการนิสิตนักศึกษาช่วง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ขบวนการคอมมิวนิสต์หลัง 6<br />

ตุลาคม พ.ศ. 2519 ขบวนการเรียกร้องประชาธิปไตยในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535<br />

ขบวนการภาคประชาชนช่วงทศวรรษ 2530-40 ขบวนการปฏิรูปการเมือง พ.ศ. 2540<br />

ที่มีผลต่อการเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

o บทบาทและทัศนคติของผู ้สนับสนุนที่มีต่อขบวนการต่อต้านทักษิณในช่วงเวลาต่างๆ ไม่ว่า<br />

จะเป็นเหตุผลและที่มาของการเข้าร่วมสนับสนุนขบวนการฯ บทบาท หน้าที่ ระดับ และ


รูปแบบ การมีส่วนร่วมในขบวนการฯ ความคิดเห็นและจุดยืนต่อการเติบโต เปลี่ยนแปลง<br />

ทั ้งในเชิงยุทธศาสตร์และอุดมการณ์ ความขัดแย้ง การซบเซา และการกลับมาฟื ้นตัวใหม่<br />

ในแต่ละช่วงของขบวนการฯ<br />

o การเปลี่ยนแปลงหรือการยืนหยัดทางอุดมการณ์ของผู ้สนับสนุน ผ่านการทบทวนชีวิต<br />

ทางการเมืองที่ผ่านมาของพวกเขา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประชาธิปไตย<br />

สถาบันทางการเมือง การรัฐประหาร กระจายอ านาจ การเติบโตขึ ้นของเสื ้อแดง ทักษิณ<br />

วิสัยทัศน์ที่มีต่อแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งและการเมืองไทยในอนาคต<br />

- ในเบื ้องต้นสิ่งที่งานชิ ้นนี ้ค้นพบ และมีประโยชน์ส าหรับคนที่เคยเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ ที่<br />

พอจะให้พวกคุณได้เห็นอรรตถรส ก่อนที่จะซื ้อหนังสือและไปอ่านในรายละเอียดเพิ่มเติมคือ<br />

o พวกคุณมีความหลากหลายมาก ไม่ว่าจะเป็นในเชิงสาขาอาชีพ ชนชั ้น<br />

เช่น กลุ ่มข้าราชการ กลุ ่มผู ้ประกอบการขนาดเล็กและกลาง นักการเมืองท้องถิ่น<br />

กลุ ่มศาสนา กลุ ่มศิลปิน สื่อมวลชนท้องถิ่น นักพัฒนาในองค์กรพัฒนาเอกชน<br />

กลุ ่มคนรุ่นใหม่ กลุ ่มผู ้ เกษี ยณ อายุ กลุ ่มแรงงานนอกระบบ เช่น คนขับ<br />

จักรยานยนต์รับจ้ าง เจ้ ามือหวยใต้ ดิน กลุ ่มวิชาชีพ ( professionals) เช่น<br />

ทนายความ แพทย์ ทันตแพทย์ อาจารย์มหาวิทยาลัย วิศวกร กลุ ่มพนักงาน<br />

บริษัททั ้งผู ้บริหารระดับสูง เสมียนไปจนถึงพนักงานขายของหน้าร้าน<br />

o อุดมการณ์ และฐานคิดทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็ น กลุ ่มอนุรักษ์ นิยมเหนียวแน่น<br />

(unswerving conservatives) กลุ ่ ม เส รี นิย ม ผู ้ ยอมประนี ป ระนอม ( compromised<br />

liberal) หรือ กลุ ่มเสรีนิยมผู ้ถูกท าให้เป็นชายขอบ (marginalised liberals) ซึ่งแต่ละกลุ ่ม<br />

ก็มีจุดเริ่มต้นในการเข้าร่วมขบวนการไม่เหมือนกัน สนับสนุนประเด็นทางการเมืองที่<br />

แตกต่างกัน<br />

o น่าสนใจถ้าคุณจะลอง locate หรือประเมินเล่นๆ ว่าตัวคุณเองอยู่ตรงไหนใน spectrum<br />

ความหลากหลายนี ้<br />

คุณเป็นใคร คุณอยู่ในกลุ ่มไหน อะไรท าให้คุณเข้าร่วม คุณเข้าร่วมเมื่อไร คุณ<br />

ได้รับแรงบันดาลใจจากอะไร คุณมีจุดยืนทางการเมืองแบบการแบ่งอุดมการณ์<br />

อย่างไร ไม่ว่าจะเป็น อนุรักษ์นิยม เสรีนิยมที่มีหลากหลายแบบ


ในแต่ละช่วงคุณเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้วยกับประเด็นอะไร ของขบวนการ และคุณ<br />

มีปฏิบัติการอย่างไรในการแสดงออกทางการเมืองของคุณ<br />

ทั ้งหมดมันจะช่วยให้เราเข้าใจภาพอันซับซ้อนของการเคลื่อนไหว ว่าไม่ใช่ทุกคนที่<br />

คิดเหมือนเรา<br />

o ซึ่งทั ้งหมดมันจะเริ่มต้นท าให้เราเข้าใจพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆในขบวนการ<br />

ที่เราเคยเข้าร่วม<br />

ท าไมในช่วงแรกกระบวนการภายใต้การน าของ พธม.จึงประสบความส าเร็จใน<br />

การดึงผู ้ คนจ านวนมากมายที่มีสถานะและความคิดที่แตกต่างกันเข้ าร่วม<br />

ขบวนการจนกลายเป็นขบวนการที่พลังในช่วงต้นของพันธมิตร ในปี 2548-2549<br />

การเปลี่ยนแปลงไปชูประเด็นที่เน้นเรื่อง ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์มาก<br />

ขึ ้น ช่วยดึงดูดให้กับคนที่ให้ความส าคัญกับ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ท า<br />

ให้ผู ้ร่วมสนับสนุนมากขึ ้นหรือน้อยลงอย่างไร<br />

อะไรคือที่มาของการเติบโตอีกครั้งของขบวนการต่อต้านทักษิณ ในช่วงการขับไล่<br />

รัฐบาลสมัคร และสมชาย<br />

ท าไมหลังชัยชนะในการไล่รัฐบาลเหล่านั ้นแล้ว และได้รัฐบาลที่มาจากพรรค<br />

ประชาธิปัตย์ การเมืองหลายคนในขบวนการเคยสนับสนุน ทั ้งแกนน าและ<br />

ขบวนการจึงขัดแย้ งกันอย่างรุนแรง และอะไรคือปั จจัยที่ท าให้ ผู ้ สนับสนุน<br />

ขบวนการเริ่มค่อยๆลดน้อยลง<br />

การเติบโตของขบวนการย่อยๆ ที่เรียกร้องประเด็นเฉพาะ ในช่วงรัฐบาลยิ่งลักษณ์<br />

บอกอะไรเรา<br />

และที่ส าคัญที่สุด อะไรที่ช่วยให้ ขบวนการต่อต้ านทักษิณ กลับมาประสบ<br />

ความส าเร็จอีกครั้งในช่วงปี 2556-2557 ภายใต้การน าของกปปส.<br />

- และทั ้งหมดนี เป็นสิ่งที่หนังสือเล่มนี ้<br />

้พยายามตอบ<br />

- สุดท้ายต้องขอขอบพระคุณ ผู ้เข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณจ านวนกว่า 100 คนที่ให้โอกาสดิฉัน<br />

ในการพูดคุยเรียนรู ้จักชีวิตของพวกคุณ เข้าใจคุณในมิติและมุมมองที่ซับซ้อนกว่าที่ผ่านมา


2. ท าไมคนที ่เคยเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณต้องอ่านหนังสือเล่มนี้? (ฉบับยาวที ่มี<br />

ค าถามพร้อมค าตอบ)<br />

- เป็นเวลา 10 กว่าปีที่คุณและผู ้คนจ านวนมากมายเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ ระลอกแล้ว<br />

ระลอกเล่า ทุ่มพลังงานงาน แรงกายแรงใจ พลังทรัพย์ เวลา ความสะดวกสบายในชีวิต หรือหลาย<br />

คนเสี่ยงชีวิตตัวเองเลยด้วยซ ้า<br />

- ในระหว่างการเข้าร่วม พวกคุณอาจจะมีค าถามหรือข้อสงสัยมากมาย อยู่ในใจ ที่ยังไม่สามารถ<br />

ตอบได้ เนื่องจากในช่วงเวลานั ้น เราเป็นเพียงผู ้เข้าร่วม หรืออาจจะเป็นเพียงแกนน าในระดับ<br />

ท้องถิ่น ที่มองไม่เห็นภาพรวม ไม่ว่าจะเป็น<br />

o ท าไมแกนน าจังตัดสินใจแบบนั ้น แกนน าแต่ละกลุ ่ม แต่ละปีก ต้องเผชิญปัญหา และ<br />

อุปสรรค อะไรบ้าง ที่ท าให้เขาตัดสินใจมากมายทั ้งที่เราเห็นด้วยและไม่เห็นด้วย<br />

o ท าไมแต่ละกลุ ่มต้องทะเลาะกัน ท าไมพธม. ต้องทะเลาะกับพรรคประชาธิปัติย์ ท าไมพธม.<br />

ต้องตั ้งพรรคการเมืองใหม่ ท าไมสุดท้ายพรรคการเมืองใหม่ล้มเหลว<br />

o หรือ คุณคงเคยถามตัวเองว่า ท าไมในขบวนการจึงมีคนและกลุ ่มที่ท าอะไรแบบที่คุณไม่<br />

เห็นด้วย ท าไมพวกเขามีพฤติกรรมแบบนั ้น แบบนี ้ ท าไมพวกเขาจึงช่วงแตกต่างกับพวก<br />

คุณเสียเหลือเกิน หรือท าไมเขาจึงยอมท าตามแกนน าทุกอย่าง หรือบางกลุ ่มก็ไม่เห็นด้วย<br />

กับแกนน าและมักท าอะไรที่ตรงข้ามกับสิ่งที่แกนน าพยายามรณรงค์<br />

o ท าไมบางช่วงขบวนการเติบโตมีพลังมาก บางครั้งท าไมทะเลาะกันจังเลย ท าไมบางช่วง<br />

ขบวนการหายไป บางครั้งมีกลุ ่มใหม่ชื่อแปลกๆ เกิดขึ ้นมากๆ และท าไมจึงฟื ้นตัวกลับมามี<br />

พลังมากในช่วง กปปส.<br />

- ถึงแม้ว่า หนังสือเล่มนี ้อาจจะไม่สามารถตอบค าถามทุกอย่างที่คุณมีและต้องการรู ้ แต่งานชิ ้นนี ้<br />

พยายาม สร้างถามค าถามหลายอย่าง และพยายามหาค าแทนพวกคุณ<br />

- ในการตอบค าถามเหล่านี ้ ทั ้งที่ผู ้เขียนตั ้งเอง และผู ้อ่านสนใจ ผู ้เขียนพยายามท าในสิ่งที่งานก่อน<br />

หน้านี ้ไม่ได้คือ การไปคุยกับคนธรรมดาที่ไม่ได้เป็นแกนน าในกทม. ที่มีชื่อเสียงที่งานจ านวนมาก<br />

มักท า แต่งานชินนี ้พยายามไปคุย สัมภาษณ์เชิงลึก กับคนท าธรรมดาๆ ที่เข้าร่วมขบวนการทั ้ง คน<br />

ที่เป็นคนเข้าร่วมขบวนการธรรมดา ไปจนถึงแกนน าในท้องถิ่น ที่ไม่ปรากฎตัวในสื่อมวลชนทั่วไป<br />

เพื่อที่จะเข้าใจว่า จริงๆแล้วคนทั่วไปที่เขาร่วมเขาเป็นใคร มีหน้าตาอย่างไร และคิดอย่างไร โดย


งานชิ ้นนี ้ไปคุยกับผู ้คนทั่วประเทศ 100 คน โดยพยายามให้ครอบคลุมผู ้คนที่มีความหลากหลายใน<br />

หลากหลายมิติมากที่สุด ไม่ว่าจะเป็นใน<br />

o เชิงพื้นที่ สัมภาษณ์คน ใน 4 ภูมิภาคของไทย ได้แก่ เหนือ อีสาน ใต้ และ กรุงเทพ ในพื ้นที่<br />

13 จังหวัด ได้แก่ เชียงใหม่ ล าพูน สงขลา สุราษฎร์ธานี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์<br />

นครราชสีมา ขอนแก่น อุดรธานี กรุงเทพมหานคร นครศรีธรรมราช ภูเก็ต และ พัทลุง<br />

o เชิง หลากหลายด้านภูมิหลังทางสังคมเศรษฐกิจ จากกลุ ่มอาชีพ ต าแหน่งและสถานภาพ<br />

ในองค์กร ระดับการศึกษา และเพศ<br />

o และเชิงความหลากหลายด้านบทบาท หน้าที่ และระดับการมีส่วนร่วมในขบวนการฯ ใน<br />

การเลือกผู ้ ให้ข้ อมูล งานชิ ้นนี ้พยายามเลือกคนจากกลุ ่มที่ท าหน้ าที่และมีบทบาทที่<br />

หลากหลายในการสนับสนุนขบวนการต่อต้านทักษิณ ไม่ว่าจะเป็นแกนน าในระดับจังหวัด<br />

และท้องถิ่นต่างๆ ไปจนถึงผู ้สนับสนุนด้านการเงิน หรือ “กลุ ่มแม่ยก-พ่อยก” ผู ้ชุมนุมแบบ<br />

ปักหลักถาวร ผู ้สนับสนุนในระดับปฏิบัติการในหน้าที่ต่างๆ เช่น การ์ด กลุ ่มจัดเตรียมเวที<br />

และเสบียงอาหาร ฯลฯ นอกจากหน้าที่แล้ว งานชิ ้นนี ้ยังพยายามครอบคลุมระดับการมี<br />

ส่วนร่วม ไม่ว่าจะเป็นผู ้มีส่วนร่วมอย่างแข็งขันและต่อเนื่อง ไปจนถึงผู ้สนับสนุนเพียงทาง<br />

ใจและทุนทรัพย์ แต่ไม่เคยเข้าร่วมการชุมนุมเลย<br />

- ในการพูดคุยงานชิ ้นนี ้พยายามชวนคุยในเรื่องส าคัญๆ 4 เรื่องหลักที่จะช่วยในเราเข้าใจทั ้งภาพ<br />

กว้าง และลักษณะเฉพาะของแต่ละกลุ ่ม<br />

o ปัจจัยอะไรบ้างที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าร่วม หรือเลือกสนับสนุนแนวคิดและยุทธศาสตร์<br />

ในการเคลื่อนไหว ไม่ว่าจะเป็น ภูมิหลังและพลวัตของครอบครัว ความเชื่อทางการเมือง<br />

ของพ่อแม่ เงื่อนไขทางสังคมเศรษฐกิจ และการกล่อมเกลาทางการเมืองและสังคมในวัย<br />

เยาว์ ประสบการณ์ในการเข้าร่วมทางการเมืองก่อนเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ ไม่ว่า<br />

จะเป็นขบวนการนิสิตนักศึกษาช่วง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ขบวนการคอมมิวนิสต์หลัง 6<br />

ตุลาคม พ.ศ. 2519 ขบวนการเรียกร้องประชาธิปไตยในช่วงเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2535<br />

ขบวนการภาคประชาชนช่วงทศวรรษ 2530-40 ขบวนการปฏิรูปการเมือง พ.ศ. 2540<br />

ที่มีผลต่อการเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

o บทบาทและทัศนคติของผู ้สนับสนุนที่มีต่อขบวนการต่อต้านทักษิณในช่วงเวลาต่างๆ ไม่ว่า<br />

จะเป็นเหตุผลและที่มาของการเข้าร่วมสนับสนุนขบวนการฯ บทบาท หน้าที่ ระดับ และ


รูปแบบ การมีส่วนร่วมในขบวนการฯ ความคิดเห็นและจุดยืนต่อการเติบโต เปลี่ยนแปลง<br />

ทั ้งในเชิงยุทธศาสตร์และอุดมการณ์ ความขัดแย้ง การซบเซา และการกลับมาฟื ้นตัวใหม่<br />

ในแต่ละช่วงของขบวนการฯ<br />

o การเปลี่ยนแปลงหรือการยืนหยัดทางอุดมการณ์ของผู ้สนับสนุน ผ่านการทบทวนชีวิต<br />

ทางการเมืองที่ผ่านมาของพวกเขา และแลกเปลี่ยนความคิดเห็นเกี่ยวกับประชาธิปไตย<br />

สถาบันทางการเมือง การรัฐประหาร กระจายอ านาจ การเติบโตขึ ้นของเสื ้อแดง ทักษิณ<br />

วิสัยทัศน์ที่มีต่อแนวทางการแก้ไขปัญหาความขัดแย้งและการเมืองไทยในอนาคต<br />

- ในเบื ้องต้นสิ่งที่งานชิ ้นนี ้ค้นพบ และมีประโยชน์ส าหรับคนที่เคยเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณ ที่<br />

พอจะให้พวกคุณได้เห็นอรรตถรส ก่อนที่จะซื ้อหนังสือและไปอ่านในรายละเอียดเพิ่มเติมคือ<br />

o พวกคุณมีความหลากหลายมาก ไม่ว่าจะเป็นในเชิงสาขาอาชีพ ชนชั ้น<br />

เช่น กลุ ่มข้าราชการ กลุ ่มผู ้ประกอบการขนาดเล็กและกลาง นักการเมืองท้องถิ่น<br />

กลุ ่มศาสนา กลุ ่มศิลปิน สื่อมวลชนท้องถิ่น นักพัฒนาในองค์กรพัฒนาเอกชน<br />

กลุ ่มคนรุ่นใหม่ กลุ ่มผู ้ เกษี ยณ อายุ กลุ ่มแรงงานนอกระบบ เช่ น คนขับ<br />

จักรยานยนต์รับจ้ าง เจ้ ามือหวยใต้ ดิน กลุ ่มวิชาชีพ ( professionals) เช่น<br />

ทนายความ แพทย์ ทันตแพทย์ อาจารย์มหาวิทยาลัย วิศวกร กลุ ่มพนักงาน<br />

บริษัททั ้งผู ้บริหารระดับสูง เสมียนไปจนถึงพนักงานขายของหน้าร้าน<br />

o อุดมการณ์ และฐานคิดทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็ น กลุ ่มอนุรักษ์ นิยมเหนียวแน่น<br />

(unswerving conservatives) กลุ ่ ม เส รี นิย ม ผู ้ ยอมประนี ป ระนอม ( compromised<br />

liberal) หรือ กลุ ่มเสรีนิยมผู ้ถูกท าให้เป็นชายขอบ (marginalised liberals) ซึ่งแต่ละกลุ ่ม<br />

ก็มีจุดเริ่มต้นในการเข้าร่วมขบวนการไม่เหมือนกัน สนับสนุนประเด็นทางการเ มืองที่<br />

แตกต่างกัน<br />

- น่าสนใจถ้าคุณจะลอง locate หรือประเมินเล่นๆ ว่าตัวคุณเองอยู่ตรงไหนใน spectrum ความ<br />

หลากหลายนี ้<br />

o คุณเป็นใคร คุณอยู่ในกลุ ่มไหน อะไรท าให้คุณเข้าร่วม คุณเข้าร่วมเมื่อไร คุณได้รับแรง<br />

บันดาลใจจากอะไร คุณมีจุดยืนทางการเมืองแบบการแบ่งอุดมการณ์อย่างไร ไม่ว่าจะเป็น<br />

อนุรักษ์นิยม เสรีนิยมที่มีหลากหลายแบบ


o ในแต่ละช่วงคุณเห็นด้วยหรือไม่เห็นด้ วยกับประเด็นอะไร ของขบวนการ และคุณมี<br />

ปฏิบัติการอย่างไรในการแสดงออกทางการเมืองของคุณ<br />

o ทั ้งหมดมันจะช่วยให้เราเข้ าใจภาพอันซับซ้อนของการเคลื่อนไหว ว่าไม่ใช่ทุกคนที่คิด<br />

เหมือนเรา<br />

- ซึ่งทั ้งหมดมันจะเริ่มต้นท าให้เราเข้าใจพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงต่างๆในขบวนการที่เราเคย<br />

เข้าร่วม<br />

o ในช่วงแรกกระบวนการภายใต้การน าของ พธม.จึงประสบความส าเร็จในการดึงผู ้คน<br />

จ านวนมากมายที่มีสถานะและความคิดที่แตกต่างกันเข้าร่วมขบวนการจนกลายเป็น<br />

ขบวนการที่พลังในช่วงต้นของพันธมิตร ในปี 2548-2549<br />

o ต่อมา การเปลี่ยนแปลงไปชูประเด็นที่เน้นเรื่อง ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์มากขึ ้น<br />

ช่วยดึงดูดให้กับคนที่ให้ความส าคัญกับ ชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย์ ท าให้ผู ้ร่วม<br />

สนับสนุนมากขึ ้นหรือน้อยลงอย่างไร<br />

o แต่ท าไมหลังชัยชนะในการไล่รัฐบาลเหล่านั ้นแล้ ว และได้ รัฐบาลที่มาจากพรรค<br />

ประชาธิปัตย์ การเมืองหลายคนในขบวนการเคยสนับสนุน ทั ้งแกนน าและขบวนการจึง<br />

ขัดแย้ งกันอย่างรุนแรง และอะไรคือปัจจัยที่ท าให้ผู ้สนับสนุนขบวนก ารเริ่มค่อยๆลด<br />

น้อยลง<br />

ความขัดแย้งด้านจุดยืนทางการเมืองระหว่างแกนน า พธม. กลุ ่มเสรีนิยมกับกลุ ่ม<br />

อนุรักษ์นิยม<br />

ประเด็นแรก พวกเสรีนิยมชายขอบส่วนใหญ่เชื่อว่า การใช้ ยุทธศาสตร์การ<br />

เผชิญหน้าแบบสุดขั ้ว และการเคลื่อนไหวโดยชูแนวคิดชาตินิยม กษัตริย์นิยม<br />

น ามาซึ่งปัญหาความขัดแย้ง และปัญหากับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา และ<br />

สิงคโปร์ โดยไม่จ าเป็น<br />

ประเด็นที่สอง สมาชิกที่มีแนวคิดเสรีนิยมไม่เห็นด้ วยกับแนวทางที่ไม่เป็ น<br />

ประชาธิปไตย ไม่ว่าจะเป็นการเรียกร้ องและสนับสนุนทหารให้เข้ามาแทรกแซง<br />

ทางการเมือง ของทั ้ง พธม. และ กปปส. ที่จบลงด้วยการรัฐประหารในปี พ.ศ.<br />

2549 และ 2557 รวมทั ้งการต่อต้านการเมืองการเลือกตั ้ง พวกเขาไม่เห็นด้วยกับ


แนวทางขัดขวางการลงคะแนนเสียงเลือกตั ้ง ด้วยการปิดล้อมคูหาเลือกตั ้งปี พ.ศ.<br />

2557<br />

ความขัดแย้งระหว่างแกนน าและมวลชนของ พธม. กับพรรคประชาธิปัตย์<br />

ความขัดแย้งที่ 1 เริ่มต้นจากความไม่พอใจของแกนน าและผู ้สนับสนุน พธม. ที่มี<br />

ต่อการท างานของประชาธิปัตย์เมื่อได้เป็นรัฐบาล ในขณะที่ พธม. เชื่อว่าการขึ ้น<br />

สู ่อ านาจของประชาธิปัตย์เป็นผลมาจากการชุมนุมขับไล่ทักษิณของตน แต่เมื่อ<br />

นายอภิสิทธิ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ขึ ้นด ารงต าแหน่งนายกรัฐมนตรี พรรค<br />

ประชาธิปัตย์กลับไม่ด าเนินนโยบายตามข้อเรียกร้ องของพวกเขา ประชาธิปัตย์<br />

ไม่ได้ด าเนินการก าจัดอ านาจของระบอบทักษิณอย่างเด็ดขาดในทันทีที่ขึ ้นสู ่<br />

อ านาจทางการเมือง ส่วนปีกอนุรักษ์นิยมก็ไม่พอใจที่พรรคไม่ด าเนินนโยบายตาม<br />

แนวทางชาตินิยมสุดขั ้ว ในการจัดการกับปัญหาความขัดแย้งเขตแดนระหว่าง<br />

ไทยกับกัมพูชา<br />

ความขัดแย้งที่ 2 คือ การแข่งขันทางการเมืองระหว่างพรรคประชาธิปัตย์กับ<br />

ผู ้สนับสนุน พธม. และพรรคการเมืองใหม่ จากความผิดหวังและไม่เชื่อใจในพรรค<br />

ประชาธิปัตย์ แกนน าพธม.จ านวนหนึ่งตัดสินใจจัดตั ้งพรรคการเมืองของ พธม.<br />

เองขึ ้นในนาม “พรรคการเมืองใหม่” เพื่อแข่งขันทางการเมืองกับทักษิณและ<br />

ประชาธิปัตย์ แต่ผลที่ตามมาคือ การสูญเสียมวลชนที่ยังคงยึดมั่นและสนับสนุน<br />

พรรคประชาธิปัตย์<br />

ความขัดแย้งภายในขบวนการระหว่างกลุ ่มสนับสนุนและต่อต้านพรรคการเมือง<br />

ใหม่<br />

ในด้านหนึ่ง การตัดสินใจจัดตั ้งพรรคการเมืองใหม่สร้างความไม่พอใจให้แกนน าที่<br />

วางแผนการจัดตั ้งพรรคการเมืองอยู่แล้ว ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ สมาชิกคนส าคัญ<br />

ของสันติอโศกต้องการจะรื ้อฟื ้นพรรคการเมืองในแนวทางพรรคพลังธรรม<br />

ในขณะเดียวกันมวลชนจ านวนมาก ไม่ว่าจะเป็นกลุ ่มอนุรักษ์นิยมเหนียวแน่นที่<br />

ต่อต้านประชาธิปไตยและการเลือกตั ้ง กลุ ่มเสรีนิยมทั ้งที่ยอมประนีประนอมและ<br />

ที่ถอนตัว รวมทั ้งกลุ ่มผู ้สนับสนุนพรรคประชาธิปัตย์ ต่างไม่เห็นด้วยกับการจัดตั ้ง


พรรคการเมืองใหม่และลุกขึ ้นวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักในแนวทางที่ไม่ต่างกัน<br />

มากนัก ทั ้งในประเด็นตัวบุคคล โดยมุ ่งเน้นโจมตีความต้องการขึ ้นสู ่อ านาจของ<br />

สนธิผ่านพรรคการเมืองใหม่<br />

o การเติบโตของขบวนการย่อยๆ ที่เรียกร้ องประเด็นเฉพาะ ในช่วงรัฐบาลยิ่งลักษณ์ บอก<br />

อะไรเรา<br />

ความล้มเหลวในการรื้อฟื้นขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

ไม่ว่าจะเป็ นเคลื่อนไหวแบบชูประเด็นและข้ อเรียกร้ องเฉพาะกลุ ่ม (issuespecific<br />

movement) การเคลื่อนไหวแบบ “ชุมนุมระยะสั ้น– มาแล้วไป (flash<br />

mob)” การเคลื่อนไหวแบบไม่มีแกนน า (leaderless movement) และการรื ้อฟื ้น<br />

ยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหวแบบเน้นประเด็นที่หลากหลาย เพื่อครอบคลุมมวลชน<br />

หลายกลุ ่ม (inclusive strategy) ในการรื ้อฟื ้นขบวนการต่อต้านทักษิณ แต่ก็ไม่<br />

ประสบความส าเร็จในการระดมมวลชนในระดับที่มากเช่นเดิม<br />

กลุ ่มนิยมกษัตริย์ “กลุ ่มพิทักษ์สยาม” ภายใต้การน าของ พลเอกบุญเลิศ แก้ว<br />

ประสิทธิ์<br />

การขยายตัวของการชุมนุมแบบฉับพลันระยะสั ้น (flash mob) “กลุ่มประชาชน<br />

ทนไม่ไหว (Uprising People group: URP)”<br />

“กลุ ่มเสื ้อหลากสี” และ “กลุ ่มหน้ากากขาว (V for Vendetta Thailand)”<br />

เพื่ อครอบ ค ลุม ม วลชนหล าย กลุ ่ม (inclusive strategy) ใน มิ ติ แรก การ<br />

เคลื่อนไหวของกลุ ่มหน้ากากขาวรณรงค์ให้มวลชนต่อต้านทักษิณโดยใส่หน้ากาก<br />

V for Vendetta ในการจัดกิจกรรมทางการเมือง ไม่ต้องเปิดเผยสถานภาพของ<br />

ตนเองกับสาธารณะ ท าให้ทุกคนสามารถเป็นแกนน าและผู ้สนับสนุนได้<br />

มิติที่สอง การรณรงค์พยายามขยายประเด็นข้อเรียกร้ องให้หลากหลาย เพื่อ<br />

ครอบคลุมมวลชนหลายกลุ ่ม (inclusive strategy) ช่วงเริ่มต้นเป็นการเคลื่อนไหว<br />

ในประเด็นกว้างๆ เพื่อต่อต้านรัฐบาลยิ่งลักษณ์ในหลากหลายประเด็น ในระยะ<br />

ต่อมามีการริเริ่มประเด็นที่หลากหลายขึ ้น<br />

o และที่ส าคัญที่สุด อะไรที่ช่วยให้ขบวนการต่อต้านทักษิณ กลับมาประสบความส าเร็จอีก<br />

ครั้งในช่วงปี 2556-2557 ภายใต้การน าของกปปส.


การกลับมาของขบวนการต่อต้านทักษิณภายใต้การน าของ กปปส.<br />

ปัจจัยแรก การยุติบทบาททางการเมืองของ พธม. ในช่วงเดือนกันยายน พ.ศ.<br />

2556<br />

ปัจจัยที่ 2 การเข้ าร่วมขบ วนก ารฯ อย่างเต็ มตัวของแกนน าจากพ รรค<br />

ประชาธิปัตย์ช่วยระดมฐานมวลชนผู ้สนับสนุนประชาธิปัตย์ ทรัพยากร และ<br />

โครงสร้างพื ้นฐานของพรรค<br />

ปัจจัยที่ 3 ความพยายามของรัฐบาลยิ่งลักษณ์ในการผลักดัน “ พ.ร.บ. นิรโทษ<br />

กรรม” ได้สร้างโครงสร้ างโอกาสทางการเมือง (political opportunity structure)<br />

ครั้งใหม่ส าหรับการกลับมาของขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

ปัจจัยที่ 4 แกนน ากปปส. ประสบความส าเร็จในออกแบบโครงสร้ างองค์กรการ<br />

เคลื่อนไหวใหม่ที่มีลักษณะ “หลวมและรองรับความหลากหลาย (loose and<br />

pluralistic structure)” ภายใต้การน าของ พธม. องค์กรการเคลื่อนไหวมีลักษณะ<br />

“รวมศูนย์ (centralized structure)”<br />

ปัจจัยที่ 5 การปรับใช้แนวทาง “ชูประเด็นข้อเรียกร้องที่หลากหลาย (inclusive)”<br />

มากขึ ้น ช่วยให้ กปปส. สามารถระดมการสนับสนุนจากทุกกลุ ่มอุดมการณ์<br />

เช่นเดียวกับที่เคยเป็นจุดแข็งและปัจจัยความส าเร็จของ พธม.ในช่วงแรก กปปส.<br />

เน้นการชูประเด็นอนุรักษ์นิยมในเวทีหลักคู ่กับการยอมให้มีพื ้นที่ส าหรับประเด็น<br />

ก้าวหน้าอื่นๆ<br />

ปัจจัยที่ 6 การจัดการรณรงค์และการชุมนุมในพื ้นที่ในรูปแบบที่สอดคล้องกับวิถี<br />

ชีวิตของคนกรุงเทพ และชนชั ้นกลางรุ่นใหม่ ส่งผลให้ กปปส. สามารถท าให้<br />

ขบวนการทางการเมืองดูไม่เป็นการเมืองได้ (depoliticized) ท าให้สามารถขยาย<br />

ฐานมวลชนของขบวนการต่อต้านทักษิณไปยังกลุ ่มวัยรุ่น และกลุ ่มคนที่ไม่สนใจ<br />

หรือปฏิเสธการมีส่วนร่วมทางการเมือง<br />

- และทั ้งหมดนี เป็นสิ่งที่หนังสือเล่มนี ้<br />

้พยายามตอบ<br />

- สุดท้ายต้องขอขอบพระคุณ ผู ้เข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณจ านวนกว่า 100 คนที่ให้โอกาสดิฉัน<br />

ในการพูดคุยเรียนรู ้จักชีวิตของพวกคุณ เข้าใจคุณในมิติและมุมมองที่ซับซ้อนกว่าที่ผ่านมา


3. ท าไมคนเสื้อแดงและคนรักประชาธิปไตยต้องอ่านหนังสือเล่มนี้?<br />

- เรารู ้ว่าเมื่อหลายท่านเมื่อแรกเห็นหน้าปกหนังสือเล่มนี ้คุณอาจจะอยากโยนมันทิ ้งในทันที ใจเย็นๆ<br />

นะคะ เพราะถ้าโยนมันทิ ้งหรือไม่ซื ้อมันคุณพลาดละ<br />

- ไม่ว่าคุณจะเรียกตัวเอง จัดตัวเอง หรือใครจะเรียกคุณว่าอะไร เสื ้อแดงทักษิณ เสื ้อแดง radical คน<br />

รักประชาธิปไตย ฯลฯ บอกเลยว่าหนังสือเล่นมนี ้เป็นหนังสือที่คุณต้องอ่าน<br />

- ที่ผ่านมาหลายคนอาจจะ มองคนในขบวนการต่อต้านทักษิณ ว่าเป็นพวก อ ามาต สลิ่ม คนกลัวผี<br />

ทักษิณ หลายคนอาจบอกว่า ไม่อยากรู ้ จัก และไม่จ าเป็นต้องไปท าความรู ้ จักคนพวกนี ้หรือ เป็น<br />

อนุรักษ์นิยม เหมือนกันหมด<br />

- แต่จากการศึกษา และค าตอบที่งานชิ ้นนี ้ค้ นพบมันบอกอะไรหลายอย่าง โดยเฉพาะอย่างยิ่ง คือ<br />

การท าความเข้าใจกับขบวนการต่อต้านทักษิณอย่างลึกซึ ้งและรอบด้าน มันมีผลอย่างมากต่อการ<br />

เรียกร้องประชาธิปไตยของพวกคุณ<br />

o การท าความเข้าใจความหลากหลาย พัฒนาการ พลวัต ความขัดแย้ง ความส าเร็จ ความ<br />

ล้มเหลว และการกลับมาประสบความส าเร็จ ของขบวนการต่อต้านทักษิณจะช่วยในการ<br />

วางแผนการเคลื่อนไหวของขบวนการประชาธิปไตยทั ้งในระดับแกนน าและผู ้สนับสนุน<br />

o การอยู่ร่วมกันอย่างเข้าใจกันระหว่างคุณกับพวกเขาในโลกที่ก าลังพลิกผันอย่างมาก<br />

- เบื ้องต้น สิ่งที่งานชิ ้นนี ้ค้นพบคือ ผู ้สนับสนุนขบวนการต่อต้านทักษิณ มีความหลากหลาย<br />

o พวกเขาหลากหลาย ไม่ได้เหมือนกันหมด ไม่ว่าจะเป็ นกลุ ่มอนุรักษ์นิยมเหนียวแน่น<br />

(unswerving conservatives) กลุ ่ ม เส รี นิย ม ผู ้ ยอมประนี ป ระนอม (compromised<br />

liberal) หรือกลุ ่มเสรีนิยมผู ้ ถูกท าให้เป็นชายขอบ (marginalised liberals) จุดยืนทาง<br />

การเมืองของพวกเขาไม่ได้ ติดอยู่กับผลประโยชน์ทางชนชั ้นเสมอไปทุกกลุ ่ม การเข้าร่วม<br />

ของพวกเขาจ านวนมาก เป็นผลมากจากความส าเร็จของการสร้างกรอบโครงความคิดของ<br />

แกนน าและของรัฐไทย<br />

o ระดับความเป็นอนุรักษ์นิยมของแต่ละกลุ ่มที่ระดับและองค์ประกอบที่แตกต่างกัน<br />

o การเข้าร่วมของพวกเขาก่อตัวขึ ้นผ่านการประเมินว่าอะไรคือภัยคุกคามต่อค่านิยมของ<br />

พวกเขา<br />

o ดังนั ้น ในการท างานทางความคิดเราต้องเข้าใจความแตกต่างของแต่ละกลุ ่ม


- นอกจากนั ้น พวกเขาเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา พวกเขาเต็มไปด้วยความขัดแย้ง การเปลี่ยนขั ้ว<br />

เปลี่ยนแปลงความคิด หนังสือเล่มนี ้ช่วยชี ้ให้เราเห็นว่าในจุดเปลี่ยนแต่ละช่วง ส่งผลให้พวกเขา<br />

เปลี่ยนแปลง ไม่ว่าจะไม่เห็นด้วยกับขบวนการ หรือถูกเบียดขับออกมาจากขบวนการ ไม่ว่าจะเป็น<br />

o ความขัดแย้งด้านจุดยืนทางการเมืองระหว่างแกนน า พธม. กลุ ่มเสรีนิยมกับกลุ ่มอนุรักษ์<br />

นิยม<br />

ประเด็นแรก พวกเสรีนิยมชายขอบส่วนใหญ่เชื่อว่า การใช้ ยุทธศาสตร์การ<br />

เผชิญหน้าแบบสุดขั ้ว และการเคลื่อนไหวโดยชูแนวคิดชาตินิยม กษัตริย์นิยม<br />

น ามาซึ่งปัญหาความขัดแย้ง และปัญหากับประเทศเพื่อนบ้าน เช่น กัมพูชา และ<br />

สิงคโปร์ โดยไม่จ าเป็น<br />

ประเด็นที่สอง สมาชิกที่มีแนวคิดเสรีนิยมไม่เห็นด้ วยกับแนวทางที่ไม่เป็ น<br />

ประชาธิปไตย ไม่ว่าจะเป็นการเรียกร้ องและสนับสนุนทหารให้เข้ามาแทรกแซง<br />

ทางการเมือง ของทั ้ง พธม. และ กปปส. ที่จบลงด้วยการรัฐประหารในปี พ.ศ.<br />

2549 และ 2557 รวมทั ้งการต่อต้านการเมืองการเลือกตั ้ง พวกเขาไม่เห็นด้วยกับ<br />

แนวทางขัดขวางการลงคะแนนเสียงเลือกตั ้ง ด้วยการปิดล้อมคูหาเลือกตั ้งปี พ.ศ.<br />

2557<br />

o ความขัดแย้งระหว่างแกนน าและมวลชนของ พธม. กับพรรคประชาธิปัตย์<br />

ความขัดแย้งที่ 1 เริ่มต้นจากความไม่พอใจของแกนน าและผู ้สนับสนุน พธม. ที่มี<br />

ต่อการท างานของประชาธิปัตย์เมื่อได้เป็นรัฐบาล ในขณะที่ พธม. เชื่อว่าการขึ ้น<br />

สู ่อ านาจของประชาธิปัตย์เป็นผลมาจากการชุมนุมขับไล่ทักษิณของตน แต่เมื่อ<br />

นายอภิสิทธิ์ หัวหน้าพรรคประชาธิปัตย์ขึ ้นด ารงต าแหน่งนายกรัฐมนตรี พรรค<br />

ประชาธิปัตย์กลับไม่ด าเนินนโยบายตามข้อเรียกร้ องของพวกเขา ประชาธิปัตย์<br />

ไม่ได้ด าเนินการก าจัดอ านาจของระบอบทักษิณอย่างเด็ดขาดในทันทีที่ขึ ้นสู ่<br />

อ านาจทางการเมือง ส่วนปีกอนุรักษ์นิยมก็ไม่พอใจที่พรรคไม่ด าเนินนโยบายตาม<br />

แนวทางชาตินิยมสุดขั ้ว ในการจัดการกับปัญหาความขัดแย้งเขตแดนระหว่าง<br />

ไทยกับกัมพูชา<br />

ความขัดแย้งที่ 2 คือ การแข่งขันทางการเมืองระหว่างพรรคประชาธิปัตย์กับ<br />

ผู ้สนับสนุน พธม. และพรรคการเมืองใหม่ จากความผิดหวังและไม่เชื่อใจในพรรค


ประชาธิปัตย์ แกนน าพธม.จ านวนหนึ่งตัดสินใจจัดตั ้งพรรคการเมืองของ พธม.<br />

เองขึ ้นในนาม “พรรคการเมืองใหม่” เพื่อแข่งขันทางการเมืองกับทักษิณและ<br />

ประชาธิปัตย์ แต่ผลที่ตามมาคือ การสูญเสียมวลชนที่ยังคงยึดมั่นและสนับสนุน<br />

พรรคประชาธิปัตย์<br />

o ความขัดแย้งภายในขบวนการระหว่างกลุ ่มสนับสนุนและต่อต้านพรรคการเมืองใหม่<br />

ในด้านหนึ่ง การตัดสินใจจัดตั ้งพรรคการเมืองใหม่สร้างความไม่พอใจให้แกนน าที่<br />

วางแผนการจัดตั ้งพรรคการเมืองอยู่แล้ว ไชยวัฒน์ สินสุวงศ์ สมาชิกคนส าคัญ<br />

ของสันติอโศกต้ องการจะรื ้อฟื ้นพรรคการเมืองในแนวทางพรรคพลังธรร ใน<br />

ขณะเดียวกันมวลชนจ านวนมาก ไม่ว่าจะเป็นกลุ ่มอนุรักษ์นิยมเหนียวแน่ นที่<br />

ต่อต้านประชาธิปไตยและการเลือกตั ้ง กลุ ่มเสรีนิยมทั ้งที่ยอมประนีประนอมและ<br />

ที่ถอนตัว รวมทั ้งกลุ ่มผู ้สนับสนุนพรรคประชาธิปัตย์ ต่างไม่เห็นด้วยกับการจัดตั ้ง<br />

พรรคการเมืองใหม่และลุกขึ ้นวิพากษ์วิจารณ์อย่างหนักในแนวทางที่ไม่ต่างกัน<br />

มากนัก ทั ้งในประเด็นตัวบุคคล โดยมุ ่งเน้นโจมตีความต้องการขึ ้นสู ่อ านาจของ<br />

สนธิผ่านพรรคการเมืองใหม่<br />

- การเข้าใจความหลากหลาย ขัดแย้ง เปลี่ยนแปลง ของพวกท าให้เราเห็นและต้องกลับมาคิดว่า ถ้า<br />

เราจะรรรงค์ประชาธิปไตย กลุ ่มไหนที่เราควรจะเริ่มท างานด้วย พวกเขาไม่ได้เหมือนกันหมด


4. ท าไมคนที ่เคยเข้าร่วม แต่ต่อมาผิดหวังและหันหลังให้กับสนับสนุนขบวนการต่อต้าน<br />

ทักษิณ ควรอ่านหนังสือเล่มนี้?<br />

- ถ้าคุณอาจเคยสนับสนุนขบวนการต่อต้านทักษิณ แต่ต่อมาคุณกลับผิดหวัง ไม่เห็นด้วย และถอย<br />

ออกมาจากขบวนการ หนังสือเล่มนี ้พยายามจะหาค าตอบต่อหลายค าถามที่อยู่ในใจคุณ ไม่ว่าจะ<br />

เป็น<br />

o ท าไมขบวนการต่อต้านทักษิณจึงถูกครอบง าโดยพลังอนุรักษ์นิยม?<br />

o ท าไม่เพื่อนฝ่ ายก้าวหน้าและกลุ ่มเสรีนิยมของคุณจ านวนมากจึงยอมประนีประนอมกับ<br />

กลุ ่มแบบอนุรักษ์นิยม และยังคงสนับสนุนขบวนการต่อไป ทั ้งที่เขาอาจจะไม่เห็นด้วยกับ<br />

หลายอย่างของขบวนการ?<br />

o และที่ส าคัญคุณที่อาจจะมองว่าตัวเองเป็นตัวแทนของเสรีนิยม และมีบทบาทในขบวนการ<br />

ตั ้งแต่ต้น ต่อมาไม่เห็นด้วยกับกลุ ่มอนุรักษ์นิยม จึงถูกเบียดขับออกจากขบวนการ?<br />

- หนังสือเล่มนี ้พยายามชี ้ให้เห็นถึงจุดเปลี่ยนต่างๆที่ท าให้ขบวนการเปลี่ยนแปลงจากขบวนการ<br />

มวลชนเพื่อประชาธิปไตย และประเด็นก้าวหน้า เช่นในช่วง 14 ตุลาคม พฤษภาทมิษ 2535 และ<br />

ขบวนการภาคประชาชนตลอดทศวรรษ 2540 เพราะอะไร<br />

- ค าถามแรกที ่น่าสนใจคือ ท าไมขบวนการต่อต้านทักษิณจึงถูกครอบง าโดยพลังอนุรักษ์<br />

นิยม?<br />

o ในการตอบค าถามว่า ท าไมขบวนการต่อต้ านทักษิณที่เคยประกอบไปด้ วยกลุ ่มทาง<br />

ความคิดที่หลากหลาย จึงค่อยๆ ถูกครอบด้ วยพลังอนุรักษ์ นิยม งานชิ ้นนี ้พบว่า<br />

ยุทธศาสตร์ในการขยายมวลชนผ่านอุดมการณ์อนุรักษ์นิยม ช่วยรื ้อฟื ้นและระดมการ<br />

สนับสนุนจากเครือข่ายทางสังคม 2 เครือข่ายส าคัญที่มีอยู่แล้วก่อนเกิดขบวนการฯ คือ<br />

พลังกลุ ่มฝ่ายขวาที่กระจัดกระจายอยู่ (scattered right-wing groups) และ ชนชั ้นกลางที่<br />

ไม่มีความสนใจทางการเมือง (apolitical middle class) การจัดตั ้งปัจเจกและกลุ ่มฝ่ าย<br />

ขวาเพื่อขยายฐานมวลชน<br />

o โดยเฉพาะการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์ในช่วง 2548-2549 จากที่เน้นยุทธศาสตร์แบบรวม<br />

หลากหลายกลุ ่มและประเด็นเพื่อสร้ างแนวร่วมอันกว้างขวาง (inclusive) ไปเป็นการเน้น<br />

ประเด็นเฉพาะกลุ ่ม โดยเฉพาะการผลักดันประเด็น ชาติ-ศาสนา-กษัตริย์ ให้เป็นประเด็น<br />

หลักเพื่อดึงดูดมวลชนอนุรักษ์นิยมที่กระจัดกระจายไร้ การจัดตั ้ง ให้เข้าร่วมและเป็นฐาน


มวลชนสนับสนุนขบวนการแทนการเน้น หลากหลายประเด็นที่แต่ละกลุ ่มมีมวลชนไม่มาก<br />

นัก<br />

o การระดมมวลชนดังกล่าวช่วยสร้างความเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันให้กับพลังฝ่ ายขวาที่ก่อน<br />

หน้านี ้เคยกระจัดกระจายและอ่อนแอ จนกลายเป็นตัวแสดงหลัก และมีพลังเหนือกลุ ่ม<br />

ก่อนหน้านี ้ที่มีความหลากหลาย และประสบความส าเร็จในการผลักดันให้แนวทางอนุรักษ์<br />

นิยมกลายเป็นแนวทางหลักของขบวนการฯ เบียดขับพลังก้าวหน้า และฝ่ ายเสรีนิยมออก<br />

จากขบวนการฯ<br />

o ในขณะเดียวกันความพยายามของแกนน าที่เข้าไปดึงดูดมวลชนชนชั ้นกลาง ที่ไม่มีความ<br />

ตื่นตัว หรือไม่เคยเข้าร่วมกิจกรรมทางการเมืองมาก่อน ให้เข้ามาสนับสนุนขบวนการ<br />

ต่อต้านทักษิณ โดยอาศัยอุดมการณ์อนุรักษ์นิยมมากกว่าเสรีนิยมนั ้น ท าให้ชนชั ้นกลาง<br />

เหล่านี ้กลายมาเป็นพลังสนับสนุนกลุ ่มฝ่ ายขวาในขบวนฯ และเมื่อทั ้ง 2 กลุ ่มจับมือกัน<br />

ขบวนการฯ ก็ถูกครอบง าโดยพลังอนุรักษ์นิยมที่มีพลังทั ้งในเชิงจ านวน อ านาจต่อรอง และ<br />

ทรัพยากร<br />

o แน่นอนว่าในระยะสั ้นการเปลี่ยนแปลงยุทธศาสตร์แบบนี ้ช่วยให้ขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

เติบโตอย่างรวดเร็ว และสามารถสร้างแรงกดดันและลดทอนความชอบธรรมของทักษิณ<br />

ได้อย่างมีพลัง<br />

o แต่สิ่งที่งานชินนี ้พบคือ ในเวลาต่อมา มวลชนอนุรักษ์นิยมที่ก่อนหน้านี ้ไม่เคยถูกจัดตั ้ง<br />

ค่อยพัฒนาเครือข่ายและการจัดตั ้งตัวเอง จนพวกเขากลายเป็นพลังหลักของขบวนการ<br />

ต่อต้านทักษิณ และจากจ านวนและทรัพยากรที่พวกเขามี พวเขาประสบความส าเร็จใน<br />

การยึดกุมแกนน าและกระบวนการตัดสนใจของขบวนการฯ ในหลากหลายระดับ ไม่ว่าจะ<br />

เป็นในส่วนกลางหรือในจังหวัดต่างๆ รวมทั ้งเบียดขังพลังอื่นๆที่คิดต่างจากพวกเขาออก<br />

จากขบวนการ ในขณะที่พลังอื่นๆ เช่น เสรีนิยมที่มีบทบาทในช่วงต้นของขบวนการ ไม่มี<br />

อ านาจต่อรอง ผลที่ออกมาน าไปสู ่การยึดกุมขบวนการโดยพลังอนุรักษ์นิยม<br />

o ข้อสรุปเบื ้องต้นที่ส าคัญคือ การเติบโตของพลังอนุรักษ์นิยมในขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

ส่วนหนึ่งเป็นผลมากจากฝ่ายที่มองว่าตัวเองก้าวหน้าใช้ยุทธศาสตร์ หรือไม่ได้คัดค้านต่อ<br />

ยุทธศาสตร์ในการระดมมวลชนด้วยแนวคิดและยุทธศาสตร์แบบอนุรักษ์นิยมน าไปสู ่การ<br />

เติบโตและขยายพลังจนยึดแกนน าของขบวนการฯ


- ส่วนค าถามที ่ต่อมาที ่ท่านสงสัยว่ากลุ ่มอดีตพลังที ่เคยประกาศตัวเองว่าเป็ นเสรีนิยิมจึง<br />

ยอมประนีประนอมกับกลุ ่มแบบอนุรักษ์นิยม?<br />

o ในการวิเคราะห์หาค าตอบว่าเหตุใดพลังเสรีนิยมยังยอมประนีประนอมกับปีกและแนวคิด<br />

แบบอนุรักษ์นิยม งานชิ ้นนี เสนอว่า ้<br />

o ประการแรก ผู ้สนับสนุนปีกเสรีนิยมและปีกก้าวหน้ากลุ ่มต่างๆ ยอมเพื่อแลกเปลี่ยนกับ<br />

อ านาจ ทรัพยากร และเครือข่ายทางการเมือง ที่จะสนับสนุนประเด็นทางการเมืองของ<br />

พวกเขา<br />

o ประการที่ 2 จากการเก็บข้อมูลพบว่า ถึงแม้ว่าพวกเขาจะยังไม่ได้ยอมรับปีกอนุรักษ์นิยม<br />

และแนวคิดอนุรักษ์นิยมในช่วงต้น แต่พลังกรอบโครงความคิดหลัก “ภัยคุกคาม-วิกฤตครั้ง<br />

ใหญ่ -ต้ องท าอะไรเดี๋ยวนี ้ (Threat - Mega Crisis - Action Now)” ท าให้ ปี กเสรีนิยม<br />

จ านวนมากเชื่อปีกอนุรักษ์นิยมว่า ทักษิณเป็นภัยคุกคามร่วมของทุกกลุ ่ม มากกว่าชนชั ้น<br />

อนุรักษ์นิยมและชนชั ้นน าเก่า รวมทั ้งเชื่อว่า นโยบายและสิ่งที่ทักษิณท าทุกอย่างจะผลัก<br />

ให้ประเทศเข้าสู ่วิกฤตครั้งใหญ่ การเข้าร่วมขบวนการต่อต้านทักษิณเป็นทางเลือกเดียวที่<br />

เหลืออยู่ในการยับยั ้งวิกฤตการณ์ในครั้งนี ้<br />

- ส่วนค าถามที ่คาใจหลายๆคนที ่สนใจว่า เหตุใดกลุ ่มเสรีนิยมที ่ไม่เห็นด้วยกับกลุ ่มอนุรักษ์<br />

นิยมจึงถูกเบียดขับออกจากขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

o มวลชนปีกเสรีนิยมที่มีประสบการณ์และทักษะทางการเมืองเข้าร่วมขบวนการต่อต้าน<br />

ทักษิณตั ้งแต่ช่วงเริ่มต้น ตั ้งแต่ในฐานะผู ้ประสานงานการจัดการประท้ วงและระดม<br />

มวลชน แกนน าในระดับท้องถิ่น หรือเป็นผู ้เข้าร่วมชุมนุมที่ขยันขันแข็ง แต่เมื่อแนวคิดและ<br />

พลังอนุรักษ์ นิยมเริ่มเข้ ามามีอิทธิพลเหนือขบวนการฯ พวกเขาเริ่มตั ้งค าถามและ<br />

แสดงออก ทั ้งในระหว่างกลุ ่มแกนน าและอย่างเปิดเผยต่อสาธารณะ ถึงความไม่เห็นด้วย<br />

อย่างไรก็ดี เสียงของพวกเขาถูกกดทับ ถูกท าให้เป็นอื่น และถูกกดดันให้ลดบทบาทลง<br />

ท้ายที่สุด พวกเขาก็ถอนตัวจากการมีส่วนร่วมในขบวนการฯ หลังจากนั ้นก็เก็บตัวเงียบ<br />

หรือไม่ก็ลุกขึ ้นมาต่อต้าน และประณามขบวนการต่อต้านทักษิณ<br />

o ความขัดแย้งระหว่าง 2 ฝ่ ายเริ่มต้นขึ ้นใน 3 ประเด็นหลักคือ หนึ่ง เมื่อแกนน าของ พธม.<br />

เริ่มใช้ยุทธศาสตร์ทางอุดมการณ์อนุรักษ์นิยมสุดขั ้ว ไม่ว่าจะเป็นชาตินิยมหรือกษัตริย์นิยม<br />

มาใช้ในการระดมมวลชน ไม่ว่าจะเป็นการเรียกร้ องให้สถาบันกษัตริย์เข้าแทรกแซงทาง


การเมือง หรือใช้ต่อต้านกัมพูชาในกรณีเขาพระวิหาร พลังเสรีนิยมที่มีบทบาทมาตั ้งแต่ต้น<br />

เริ่มไม่เห็นด้วย และประณามการใช้ยุทธศาสตร์ดังกล่าว แต่พวกเขากลับถูกตอบโต้อย่าง<br />

รุนแรงโดยปีกอนุรักษ์นิยม จนบางรายไม่มีที่ยืนและตัดสินใจออกจากขบวนการฯ ไป<br />

o สอง การปะทะระหว่างปีกเสรีนิยมกับกลุ ่มอนุรักษ์นิยมสุดขั ้วเน้นการเผชิญหน้า (militant<br />

conservative groups) เกิดขึ ้นเป็นระลอกๆ โดยเฉพาะเมื่อแกนน าของขบวนการฯ ยอม<br />

และสนับสนุนให้ขบวนการฯ ใช้ยุทธศาสตร์แบบเน้นการเผชิญหน้าเพื่อกดดันรัฐบาล และ<br />

ไม่ห้ามปรามการใช้ความรุนแรงเพื่อตอบโต้กับฝ่ายตรงข้ามและรัฐ พวกเขาตั ้งค าถามกับ<br />

การยึดท าเนียบรัฐบาล สถานที่ราชการ และสนามบินนานาชาติภายใต้การน าของกลุ ่ม<br />

และปั จเจกเน้ นความรุนแรง (militant groups and individuals) จากการสัมภาษณ์<br />

ปัจเจกเสรีนิยม หลายคนต่อสู ้และถกเถียงกับแกนน าในระดับท้องถิ่นของเขาในการไม่<br />

สนับสนุนแนวทางเหล่านี ้ แต่เนื่องจากเขาเป็นเพียงคนกลุ ่มน้อย เสียงของเขาถูกกลบใน<br />

กระบวนการตัดสินใจ หลายคนจากเดิมที่เคยเป็นแกนน าในระดับท้องถิ่นก็หมดความชอบ<br />

ธรรม และถูกกีดกันออกจากขบวนการฯ<br />

o สาม การต่อสู ้เพื่อปกป้องหลักการประชาธิปไตยและการเมืองเลือกตั ้งในการรณรงค์ของ<br />

ขบวนการต่อต้านทักษิณ เป็นอีกประเด็นหนึ่งที่ท าให้ปีกเสรีนิยมถูกเบียดขับออกจาก<br />

ขบวนการฯ<br />

o ถึงแม้ว่า ในช่วงต่อมา แกนน ากลุ ่มไหม่ของขบวนการต่อต้านทักษิณฯ อย่าง กปปส. จะ<br />

พยายามหันกลับมาใช้ ยุทธศาสตร์การเคลื่อนไหว แบบ inclusive โดยพยายามจัด<br />

โครงสร้างการเคลื่อนไหวใหม่ให้กลุ ่มต่างๆที่เคยขัดแย้งและเห็นไม่เหมือนกัน เข้ามาร่วม<br />

ขบวนการโดยมี autonomy และ authority เป็นเอกเทศ แต่โดยภาพรวมขบวนการก็ถูกยึด<br />

กุมและครอบโดยพลังอนุรักษ์นิยมทั ้งในทางความคิดทางการเมืองและผู ้เข้าร่วมเสียแล้ว

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!