05.01.2015 Views

25/6/2007 09:27/ Page 1 of 6

25/6/2007 09:27/ Page 1 of 6

25/6/2007 09:27/ Page 1 of 6

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>25</strong>/6/<strong>2007</strong> <strong>09</strong>:<strong>27</strong>/ <strong>Page</strong> 1 <strong>of</strong> 6<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

Fungi<br />

ฟงไจ จัดเปนจุลินทรียพวกหนึ่ง วิชาที่ศึกษาเกี่ยวกับจุลินทรียพวกนี้คือ Mycology ซึ่งมาจากคําภาษากรีก<br />

mykes แปลวา เห็ด (mushroom) และ logos แปลวาการศึกษาหรือวิชา (discourse) โดยในสมัยกอนนั้น<br />

เริ่มรูจัดเห็ดกอนเพราะมีขนาดใหญมองเห็นดวยตาเปลา ตอมาเมื่อวิชาการเจริญขึ้น มีการคนพบกลองจุลทรรศน<br />

จึงมีการจัดจุลินทรียพวก รา ราเมือก ยีสต และเห็ด ในการศึกษาวิชานี้<br />

คําวา ฟงไจ หมายรวมถึง รา (molds) ยีสต (yeasts) และ fleshy fungi (แตในที่นี้จะกลาวแยกเฉพาะ<br />

molds สวน ยีสตจะกลาวในบทตอไป) ฟงไจ เปนกลุมของจุลินทรีย ที่ไมมีคลอโรฟลล มีสปอร มีการ<br />

สืบพันธุทั้งแบบมีเพศและไมมีเพศ เซลลเปนแบบ eukaryote มีทั้งที่อยูเปนเซลลเดี่ยว ๆ และติดกันเปนสาย<br />

(เสนใย) filamentous การเจริญจะขยายตามแนวยาวไดอยางไมมีขอบเขตจํากัด ผนังเซลลประกอบดวยสาร<br />

พวกเซลลูโลส และไคติน หรืออยางไดอยางหนึ่ง<br />

สัณฐานวิทยา<br />

เชื้อรามีรูปรางไดหลายแบบ คือ เปนเซลลเดียว (unicellular) เชนยีสต เปนหลายเซลล<br />

(multicellular) คือพวก filamentus เซลลจะเรียงตัวกันในแนวเดียวเปนเสนใยหรือ ไฮฟา (hypha) เซลลมี<br />

ขนาดแตกตางกันไป พวกที่มีขนาดใหญจะมีเสนผาศูนยกลาง 10-20 ไมโครเมตร สวนพวกที่มีขนาดเล็กมี<br />

เสนผาศูนยกลาง 1 ไมโครเมตร เสนใยจะมีความกวางจํากัดดังกลาวแลว แตจะมีความยาวไมจํากัด ราทั่วไปมีผนัง<br />

กั้นตามขวางเปนระยะ เรียกวา septum แตบางชนิดเสนใยจะเปนทอยาวตอกันไปตลอดโดยไมมีผนังกัน เรียก<br />

เสนใยแบบนี้วา coenocytic หรือ nonseptate hypha เชื้อราบางชนิดมีรูปรางได 2 แบบ (dimorphic<br />

fungi) คือ เปน filamentous fungi เมื่อเจริญอยูในธรรมชาติอยางอิสระ แตจะมีรูปรางเปนเซลลเดี่ยว ๆ<br />

(ยีสต)เมื่อเปนปาราสิตของคน จุลินทรียเหลานี้กอใหเกิดโรคผิวหนังหลายชนิด เชน กลาก เกลื่อน<br />

เซลลของเชื้อรามีลักษณะเหมือนเซลลพวก eukaryote ทั่วไป โดยเฉพาะเซลลพืช คือประกอบดวยโครงสราง<br />

สําคัญดังนี้ คือ ผนังเซลล เยื่อหุมเซลล นิวเคลียส และ organelle ตาง ๆ<br />

ผนังเซลล(cell wall) ทําหนาที่ใหเซลลคงรูปรางอยูได ประกอบดวยสารไคตินและเซลลูโลส หรือ<br />

อยางไดอยางหนึ่ง บางชนิดอาจมี โปรตีน ลิปด และสารประกอบอื่น ๆซึ่งอาจเปลี่ยนแปลงตามสภาพและ<br />

ระยะเวลาในการเจริญ<br />

เยื่อหุมเซลล (cell membrane) ทําหนาที่หอหุมโปรโตปลาสซึม และควบคุมการเขาออกของสาร<br />

ตาง ๆ ระหวางภายในและภายนอกเซลล ประกอบดวยสารพวกลิปด และโปรตีน ในรูปสารประกอบเชิงซอนที่<br />

เรียกวา lipoprotein ลิปดที่พบเปนองคประกอบของเยื่อหุมเซลลจะเปนพวก phospholipid ซึ่งปริมาณของ<br />

องคประกอบตาง ๆ จะแตกตางกันไปในเชื้อแตละชนิด<br />

นิวเคลียส ภายในเซลลของเชื้อราอาจพบมีนิวเคลียสไดมากกวาหนึ่ง แตจะพบไดยากเนื่องจากมีขนาด<br />

เล็กและโปรงแสง ตองใชการยอมสีเขาชวย นิวเคลียสจะมีขนาดประมาณ 0.5 % ของไซโตปลาสซึม<br />

โครโมโซมของเชื้อราเปนชนิดแฮปพลอยด โดยในเชื้อแตละชนิดจะมีจํานวนโครโมโซมไมเทากัน<br />

organell ตาง ๆ มีเหมือนกับในสิ่งมีชีวิตชั้นสูงทั่วไป คือ ไมโตคอนเดรีย เอนโดพลาสมิคเรติคูลัม ไร<br />

โบโซม และกอลไจแอพพาราตัส และทําหนาที่เชนเดียวกับในสิ่งมีชีวิตชั้นสูงทั่วไป<br />

นอกจากนี ้ยังพบ lomasomes อยูในของเหลวที่อยูระหวางผนังเซลลและเยื่อหุมเซลล เปนโครงสรางที่มีผนัง<br />

หุม ทําหนาที่เกี่ยวกับการสรางผนังเซลล เยื่อหุมเซลล และการสังเคราะหไกลโคเจน หนาที่อื่นนอกเหนือจากนี้ยัง<br />

ไมทราบชัดเจน<br />

โครงสรางพิเศษ<br />

เสนใยของเชื้อราสามารถเปลี่ยนแปลงโครงสรางเพื่อทําหนาที่พิเศษไดหลายแบบดังนี้<br />

1. ไรซอยด (rhizoid) เปนเสนใยสั้น ๆ ที่งอกออกจากจุดเดียวกัน คลายรากในพืชชั้นสูง อาจออกจาก<br />

aerial mycelium หรืออาจออกจากฐานของกานชูสปอร หรือ จาก unicellular thalli ทําหนาที่ยึดเกาะเชื้อ<br />

ราใหอยูกับผิวของอาหาร ชวยในการดูดซึมอาหาร อาจเรียกวา rhizoid mycelium ก็ได<br />

2. ฮอสทอเรีย (haustoria) เปนสวนของเสนใยของเชื้อราที่เปน parasite ที่แทรก (penetrate) เขาไป<br />

ในเซลล host ทําหนาที่ดูดซึมและลําเลียงอาหารจากเซลล host รูปรางของฮอสทอเรียอาจเกือบกลม ยาว หรือ<br />

อาจแตกแขนงเปนกิ่งกานแบบรากพืชก็ได เชื้อราบางชนิดเมื่อเจริญเปน parasite ในพืชจะมีการสรางฮอสทอเรีย<br />

แตเมื่อแยกมาเลี้ยงในหองปฏิบัติการพบวาจะไมมีการสรางฮอสทอเรีย<br />

เนื้อเยื่อ<br />

ในบางระยะของการเจริญของเชื้อราใน class ascomycetes และ basidiomycetes เสนใยจะมีการ<br />

เจริญอัดตัวกันแนนเปนเนื้อเยื่อได เรียกวา plectenchyma ซึ่งมีรูปแบบของการอัดตัวประสานกันเปน 2 แบบ<br />

คือ<br />

1. prosenchyma เปนเนื้อเยื่อที่เกิดจากการอัดตัวกันของเสนใยอยางหลวม ๆ ตามยาว ยังสามารถมองเห็น<br />

เปนเสนใยแตละเสนอยู<br />

2. pseudoparenchyma เปนเนื้อเยื่อที่เกิดจากการอัดตัวกันของเสนใยอยางหนาแนน แยกออกเปนเสน<br />

ไมได มีลักษณะคลายเนื้อเยื่อ parenchyma ในพืชชั ้นสูง<br />

เนื้อเยื่อทั้งสองแบบพบในโครงสรางของเชื้อราที่รูจักกันดีคือ stroma ซึ่งเปนเนื้อเยื่อที่มีลักษณะคลาย<br />

เบาะรองรับสวนที่จะสรางสปอร และ sclerotium ซึ่งเปนสวนที่ตองทนตอสภาพแวดลอม ใชในการอยูขามฤดู<br />

เมื่อสภาพแวดลอมเหมาะสมก็จะงอกเปนเสนใยไดตอไป<br />

การดํารงชีวิต<br />

ขอแตกตางประการหนึ่งของเชื้อรากับพืชชั้นสูงก็คือเชื้อราตองการอาหารที่นําไปใชไดทันที เนื่องจากไม<br />

สามารถสังเคราะหอาหารเองได ราสวนใหญสรางโปรตีนจากสารอินทรีย และสารอนินทรียของไนโตรเจน มี<br />

กลูโคสเปนแหลงคารบอนที่ดีที่สุด สวนไนโตรเจนที่ดีที่สุดนั้นไดจากสารประกอบอินทรียของไนโตรเจน<br />

รองลงมาคือสารประกอบแอมโมเนียและไนเตรต<br />

ราสวนใหญสามารถดํารงชีวิตในที่มีอุณหภูมิตั้งแต 0-35 องศาเซลเซียส แตอุณหภูมิที่เหมาะสมในการ<br />

เจริญ (optimum temperature) คือ 20-30 องศาเซลเซียส แตก็แตกตางกันไปในราแตละชนิด โดยที่ราบาง<br />

ชนิดสามารถเจริญไดในที่อุณหภูมิ 40-45 องศาเซลเซียส บางชนิดสามารถเจริญไดในที่อุณหภูมิต่ําแมใน<br />

Polson Mahakhan 1<br />

211Fungi_501.doc<br />

Polson Mahakhan 2


<strong>25</strong>/6/<strong>2007</strong> <strong>09</strong>:<strong>27</strong>/ <strong>Page</strong> 2 <strong>of</strong> 6<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

อุณหภูมิตูเย็น แตในที่อุณหภูมิที่สูงกวา optimum temperature เชื้อราจะมีความสามารถในการเจริญไดลด<br />

นอยลง โดยที่อุณหภูมิ 60 องศาเซลเซียส เชื้อรา (เซลลปกติ) ทุกชนิดจะถูกทําลาย และที่อุณหภูมิ 100 องศา<br />

เซลเซียส สปอรตาง ๆ และสเคอโรเตียมจะถูกทําลายหมด สวนสภาพพีเอชที่เหมาะสมในการเจริญของเชื้อรามัก<br />

เปนกรด โดยมีคา pH ประมาณ 6 และในการเจริญของเชื้อรานั้นไมจําเปนตองมีแสงสวาง แตในราบางชนิด<br />

ตองการแสงสวางในการสรางสปอร และจะหันกานชูสปอรเขาหาแสงสวาง<br />

เชื้อรามีการดํารงชีวิตเปน 3 แบบ ใหญ ๆ คือ อยูอยางอิสระ, เปน parasite ของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ และอยู<br />

รวมกับสิ่งมีชีวิตอื่นอยางพึ่งพาอาศัยกัน ดังนี้<br />

1. saprophyte เจริญเปนอิสระโดยอาศัยอาหารจากการยอยสลายซากพืชซากสัตว ซึ่งเปนการดํารงชีวิตที่<br />

พบมากที่สุดของเชื้อรา สามารถแบงการเจริญแบบนี้ออกเปน 2 แบบยอย ๆ คือ<br />

1.1 obgate saprophytes คือเจริญไดเฉพาะบนซากพืชซากสัตวเทานั้น<br />

1.2 facultative parasites คือปกติเจริญบนซากพืชซากสัตว แตในบางสภาวะก็สามารถเจริญใน<br />

สิ่งมีชีวิตได<br />

2. parasite เปนเชื้อราที่ปกติเจริญบนสิ่งมีชีวิตไมวาจะเปนพืชหรือสัตว สามารถแบงเปน 2 แบบ ยอย ๆ<br />

เชนกัน คือ<br />

2.1 obgate parasite คือเจริญไดเฉพาะบนสิ่งมีชีวิตเทานั้น<br />

2.2 facultative saprophytes คือปกติเจริญบนสิ่งมีชีวิตแตบางสภาวะก็สามารถเจริญบนซากพืช<br />

ซากสัตวหรือบนอาหารเลี้ยงเชื้อในหองปฏิบัติการได<br />

3. mutualism เปนการเจริญแบบพึ่งพาอาศัยกับสิ่งมีชีวิตอื่น มี 2 แบบ คือ<br />

3.1 mycorrhiza คือการอยูรวมกันของเชื้อรากับรากพืชชั้นสูง<br />

3.2 lichen คือการอยูรวมกันของเชื้อรากับสาหราย<br />

การเจริญ<br />

เมื่อสภาวะแวดลอมเหมาะสมตอการเจริญ สปอรของเชื้อราจะเริ่มงอก โดยจะมีการดูดซับน้ําผานผนังเซลล<br />

เขาสูไซโตปลาสซึม ทําใหกิจกรรมของโปรโตปลาสซึมดําเนินไดอยางรวดเร็วขึ้นหรือมีเมตาบอลิซึมสูงขึ้น<br />

นิวเคลียสจะมีการแบงตัวและมีการสังเคราะหโปรโตปลาสซึมเพิ่มขึ้น จากนั้นสปอรจะมีการสราง germ tube<br />

ยื่นออกมา ตอมานิวเคลียสจะแบงตัวอีกครั้งพรอมกับมีการสรางไฮฟาในระยะแรกขึ้น และเจริญเปนเชื้อราใหม<br />

ตอไป<br />

เสนใยของเชื้อรามีการเจริญไดสองทิศทางคือตามขวางและตามยาว โดยที่การเจริญตามขวางนั้นจะมีการ<br />

เจริญไปจนเต็มที่แลวจะหยุดเจริญ สวนการเจริญตามยาวของเสนใยนั้นจะมีการเจริญยาวออกแลแตกแขนงอยาง<br />

ไมจํากัด จนกวาสภาพแวดลอมจะไมเหมาะสม เสนใยที่มารวมกันเปนไมซีเลียมจะประกอบดวยสองสวนคือ สวน<br />

ที่ยึดติดกับอาหารเรียกวา vegetative mycelium ทําหนาที่ดูดสารอาหารไปเลี้ยงสวนตาง ๆ สวนที่สองคือ<br />

สวนที่ยื่นไปในอากาศ เรียกวา aerial mycelium หรือ reproductive mycelium ทําหนาที่สรางสปอร<br />

เพื่อการสืบพันธุ<br />

การเจริญของเสนใยของเชื้อรานั้นจะเจริญจากสวนปลาย (hyphal tip) ซึ่งเปนสวนที่ active ที่สุด สวน<br />

ที่เกี่ยวของกับการเจริญของเสนใยนั้นเรียกวา apical growth region ซึ่งคือสวนปลายสุดของเสนใย<br />

จนกระทั่งถึงระยะประมาณ 100 ไมโครเมตร ในสวนนี้ไซโตปลาสซึมสวนใหญประกอบไปดวย RNA และ<br />

โปรตีนที่ประกอบไปดวยกรดอะมิโน ชนิด อารจินิน ไทโรซีน และฮิสติดีน จะไมมีแวคคูโอล และอาหารสะสม<br />

พวกไกลโคเจน หรือมีอยูในปริมาณนอยมาก และจะพบ ไมโตคอนเดรียอยูเปนจํานวนมากในสวนปลายสุดหรือ<br />

ประมาณ 3.0-7.5 ไมโครเมตรจากสวนปลาย และจะพบนิวเคลียสไดในสวนที่ถัดจากปลายเสนใยเขาไปถึง 400<br />

ไมโครเมตร<br />

เราสามารถวัดการเจริญของเชื้อราไดโดยใช การหาน้ําหนักแหง (dry weigth) โดยการเลี้ยงเชื้อราใน<br />

อาหารเหลว (broth) และมีการเขยาหรือพนอากาศใหเสนใยไดรับออกซิเจนอยางเต็มที่ อีกทั้งทําใหเสนใยมีการ<br />

สัมผัสกับอาหารอยางทั่วถึง ลักษณะของเสนใยที่ไดจะตางกับเมื่อเลี้ยงเชื้อบนอาหารแข็ง โดยจะหลุดจากกัน และ<br />

มีลักษณะคลายยีสตมากขึ้น เมื่อตอการวัดน้ําหนักก็จะนําไปกรองและทําใหแหงเพื่อวัดการเจริญเติบโตพบวาการ<br />

เจริญของเชื้อราจะคลายกับสิ่งมีชีวิตทั่วไปคือ มีระยะ lag phase log phase และ stationary phase<br />

เหมือนกัน แตระยะการเจริญเติบโตของราจะมี phase คอนขางสั้น และระยะ log phase จะมีลักษณะชันขึ ้น<br />

เรื่อย ๆ สวนการวัดการเจริญของเชื้อราที่เจริญบนอาหารแข็งนั้นนิยมใชการวัดขนาดเสนผาศูนยกลางของโคโลนี<br />

การสืบพันธุ<br />

เชื้อรามีการสืบพันธุได 2 แบบ คือ มีทั้งแบบ การสืบพันธุแบบมีเพศ และการสืบพันธุแบบไมมีเพศ ดังมี<br />

รายละเอียดตอไปนี้<br />

1. การสืบพันธุแบบไมมีเพศ การสืบพันธุแบบนี้มีความสําคัญมากเนื่องจากสามารถเกิดไดรวดเร็วและ<br />

เปนจํานวนมาก ทําใหเชื้อรามีการแพรกระจายไดอยางรวดเร็ว การสืบพันธุแบบไมมีเพศสามารถแบงไดหลาย<br />

แบบดังนี้<br />

1.1 Fragmentation เกิดจากการที่เสนใยของเชื้อราที่แตกหักสามารถงอกและเจริญเปนเสนใย<br />

ใหมตอไปได<br />

1.2Budding คือการแตกหนอ ซึ่งพบไดทั่วไปใน ยีสต<br />

1.3 Transverse fission คือการแบงเซลลตามขวางจากหนึ่งเปนสองแตเซลลจะมีการคอดเวา<br />

ตรงกลางและหลุดออกจากกันพบไดในยีสตบางพวกเชน Schizosaccharomyces<br />

1.4 Sporulation คือการสรางสปอร ที่เกิดขึ้นโดยไมมีการผสมกันทางเพศ มีหลายแบบดังนี้<br />

conidiospores เปน microconidia หรือ macroconidia เกิดจากเสนใยที่ยื่นยาวออกไปทํา<br />

หนาที่เปนเซลลพิเศษในการสรางสปอร<br />

arthrospores เปนสปอรที่เกิดจากการหลุดออกของเสนใย<br />

sporangiospores เปนสปอรที่สรางอยูในอับสปอร<br />

blastospores เปนสปอรที่เกิดจากการแตกหนอมาจากสปอรเดิม<br />

chlamydospores เปนสปอรที่มีผนังหนาคงทนตอสภาพแวดลอมที่ไมเหมาะสมไดดี ใชในการอยูขาม<br />

ฤดู<br />

Polson Mahakhan 3<br />

211Fungi_501.doc<br />

Polson Mahakhan 4


<strong>25</strong>/6/<strong>2007</strong> <strong>09</strong>:<strong>27</strong>/ <strong>Page</strong> 3 <strong>of</strong> 6<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

zoospores เปนสปอรที่มีแฟลกเจลลาชวยในการเคลื่อนที่<br />

สามารถแบงสปอรที่ไดจากการสืบพันธุแบบไมมีเพศ ออกเปน 2 แบบ ตามลักษณะโครงสราง ดังนี้<br />

A. สปอรที่มีสิ่งหอหุม คือสปอรที่เกิดในอับสปอร (sporangium) ไดแก sporangiospore ซึ่งถา<br />

เกิดจากเชื้อราที่อยูในน้ํามักมีการสรางแฟลกเจลลาสําหรับเคลื่อนที่เรียกสปอรชนิดนี้วา zoospore แตถาเปนเชื้อ<br />

ราที่อยูบนบกสปอรจะไมสามารถเคลื่อนที่ไดเรียกวา aplanospore<br />

B. สปอรที่ไมมีสิ่งหอหุม คือสปอรที่เกิดจากเซลลในเสนใยสรางผนังหนาขึ้น ไดแก<br />

Chlamydospore หรือเกิดที่ปลายกานชูสปอร ไดแก conidiosopore<br />

2. การสืบพันธุแบบมีเพศ กาสืบพันธุแบบมีเพศของเชื้อราเหมือนกับในสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ คือ ตองมีการ<br />

รวมตัวกันของนิวเคลียสสองอัน ซึ่งขั้นตอนการรวมตัวของนิวเครียสสามารถแบงออกไดเปน 3 ระยะ คือ<br />

1. plasmogamy คือระยะที่ไซโตปลาสซึมของเซลลทั้งสองเซลลมารวมกัน ทําใหนิวเคลียสของ<br />

ทั้งสองเซลลมาอยูรวมกันดวย นิวเคลียสระยะนี้มีโครโมโซมเปน n หรือ haploid<br />

2. karyogamy เปนระยะที่นิวเคลียสทั้งสองมารวมกัน โดยในเชื้อราชั ้นต่ํานิวเคลียสจะรวมตัว<br />

กันอยางรวดเร็วหลังจากเกิดระยะ plasmogamy แลว สวนในเชื้อราชั้นสูงการรวมตัวกันของนิวเคลียสจะ<br />

เกิดขึ้นชามากหลังจากระยะ plasmogamy ทําใหเซลลในระยะนี้มี 2 นิวเคลียส เรียกวา dikaryon<br />

3. haploidization หรือไมโอซิส เปนระยะที่นิวเคลียสที่มีโครโมโซมเปน 2n หรือ diploid<br />

จะแบงตัวแบบไมโอซิสเพื่อลดจํานวนโครโมโซมลงเปน n หรือ haploid<br />

การเกิด plasmogamy สามารถแบงออกไดเปน 5 วิธีดังนี้<br />

1. Plasmogametic copulation คือ การรวมตัวกันของแกมมีทเพศผู และเพศเมีย ซึ่งแกมมีททั้ง<br />

สองเพศ หรือเพศใดเพศหนึ่งเคลื่อนที่ได แกมมีทที่เคลื่อนที่ไดเรียกวา planogamete แกมมีทที่มีรูปราง<br />

คลายกันและขนาดเทากัน เรียกวา isogametes ถารูปรางคลายกันแตขนาดตางกัน เรียกวา anisogametes ถา<br />

แกมมีททั้งสองเพศนั้นรูปรางตางกัน เรียกวา heterogametes<br />

2. Gametangial contact โดยการที่แอนเธอริเดียม และโอโอโกเนียมเคลื่อนที่มาสัมผัสกัน จากนั้น<br />

นิวเคลียสจากแกมมีทตัวผูจะเคลื่อนเขาไปในโอโอโกเนียม โดยผนังเซลลสวนที่สัมผัสกันจะละลายออก หรือ<br />

มิฉะนั้นอาจมีรูยื่นออกมาใหเปนทางเดินของนิวเคลียส เมื่อนิวเคลียสของเพศผูเขาไปอยูในโอโอโกเนียมแลว โอ<br />

โอโกเนียมจะเจริญตอไป สวนแอนเธอริเดียมจะสลายไป<br />

3. Gametangial copulation เปนวิธีการที่เซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียรวมตัวกัน (fusion) เกิด<br />

ในเชื้อราที่เปนพวก holocarpic คือ ทัลลัส (thallus) หนาที่เหมือนกับเปนเซลลสืบพันธุ การรวมตัวกันของ 2<br />

ทัลลัส เกิดขึ ้นได 2 แบบ คือ<br />

3.1 แกมมีแทนเจียมเพศหนึ่งผสมกับแกมมีแทนเจียมอีกเพศหนึ่ง โดยผานทางรูที่เกิดจากผนัง<br />

เซลลมาสัมผัสกัน<br />

3.2 แกมมีแทนเจียมสองเพศมาสัมผัสกัน แลวรวมกันโดยตรงเปนเซลลใหมอีกเซลลหนึ่ง<br />

4. Spermatization เกิดในเชื้อราบางชนิดที่สรางเซลลเล็ก ๆ มี 1 นิวเคลียสลักษณะคลายสปอร เรียก<br />

เซลลนี้วาสเปอรมาเตียม spermatium ทําหนาที่เหมือนเปนเซลลสืบพันธุเพศผู สเปอรมาเตียมจะถูกพัดพาไป<br />

ตามลม ตามน้ํา หรืออาจติดไปกับแมลง เมื่อไปพบกับเซลลสืบพันธุเพศเมียซึ่งเปนสวนของเสนใยที่เรียกวา<br />

trichogyne โปรโตปลาสซึมของสเปอรมาเตียมจะไหลเขาไปใน trichogyne โดยผานทางรูที่จุดซึ่งผนังแตะ<br />

กัน<br />

5. Somatogamy พบในราชั้นสูงหลายชนิด ไมสรางอวัยวะสืบพันธุ เซลลธรรมดาทําหนาที่เปน<br />

เซลลสืบพันธุดวย<br />

สามารถแบง สปอรแบบมีเพศ (sexual spore) คือสปอรที่เกิดจากการผสมพันธุระหวางเพศผูกับเพศเมีย<br />

ตามการสรางและรูปรางได 4 แบบดังนี้<br />

ascospore คือสปอรที่สรางในถุงหุมสปอรที่เรียกวา ascus สวนใหญจะมี 8 สปอรตอ 1<br />

ascus พบในรา class Ascomycetes<br />

basidiospore คือสปอรที่สรางบนเบสิเดียม (basidium) 1 เบสิเดียมมี 4 สปอร พบในรา<br />

class Basidiomycetes<br />

zygospore คือสปอรที่มีขนาดใหญ สรางในอับสปอรที่มีผนังหนา พบในเชื้อรา genus<br />

Rhizopus ใน class Zygomycetes<br />

oospore คือสปอรที่สรางขึ้นในถุงหุมสปอรที่เรียกวาโอโอโกเนียม (oogonium) มี<br />

จํานวนสปอรตั้งแต 1 จนถึง 20 สปอร หรือมากกวานั้น พบในเชื้อราพวก Saprolegina ใน class<br />

Oomycetes<br />

สามารถแบงเชื้อราตามเพศของเซลลสืบพันธที่สราง ออกไดเปน 3 ชนิดคือ<br />

1. hermaphoroditic สรางเซลลสืบพันธุเพศผูและเพศเมียไดในทัลลัสเดียวกัน<br />

2. dioecious บางทัลลัสสรางเฉพาะเพศเมียและบางทัลลัสสรางเฉพาะเพศผู<br />

3. sexually undifferentiated เซลลสืบพันธุที่สรางแยกไมออกวาเปนเพศผูหรือเพศเมีย<br />

และแบงเชื้อราตามเพศของทัลลัสออกเปน 2 ชนิดดังนี้<br />

1. homothallic fungi คือเชื้อราที่แตละทัลลัสมีทั้ง 2 เพศ สามารถสืบพันธุแบบมีเพศไดเลยโดยไม<br />

ตองไปแตะหรือสัมผัสกับทัลลัสอื่น เชื้อราที่เปน dioecious จะเปน homothallic ไมได<br />

2. heterothallic แตละทัลลัสไมสามารถสืบพันธุแบบมีเพศโดยตัวของมันเองไดจะตองมีการผสม<br />

กับทัลลัสอันอื่นกอนจึงจะสืบพันธุแบบมีเพศได<br />

Polson Mahakhan 5<br />

211Fungi_501.doc<br />

Polson Mahakhan 6


<strong>25</strong>/6/<strong>2007</strong> <strong>09</strong>:<strong>27</strong>/ <strong>Page</strong> 4 <strong>of</strong> 6<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

การจําแนกหมวดหมู<br />

CLASS ASCOMYCETES<br />

จัดเชื้อราอยูใน Kingdom Myceteae (Fungi) และแบงออกเปนเปนหมวดหมูยอย ๆ ดังนี้<br />

Division Gymnomycota (slime molds)<br />

Class Acrasiomycetes (cellular)<br />

Class Myxomycetes (acellular)<br />

Division Mastigomycota (flagellated lower fungi)<br />

Division Amastigomycota<br />

Class Ascomycetes<br />

Class Basidiomycetes<br />

Class Zygomycetes<br />

Class Deuteromycetes (Fungi Imperfecti)<br />

โดยมี class ที่สําคัญแตกตางกันพอสังเขป ดังนี้<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

CLASS PHYCOMYCETES<br />

1. เสนใยไมมีผนังกั้น<br />

2. สรางสปอรภายใน sporangium อยางไมจํากัดจํานวน<br />

3. สราง zoospore ภายใน zoosporangium แตละ zoospore มีแฟลกเจลลา 1-2 เสน หรือบางชนิด<br />

สรางสปอรที่ไมมีแฟลกเจลลาหรือ aplanspore<br />

4. การสืบพันธุแบบมีเพศจะสราง oospore หรือ zygospore มีผนังหนาทําใหทนตอสภาวะแวดลอมไม<br />

เหมาะสมไดดี<br />

5. การดํารงชีวิตเปนแบบ sprophyte และปาราสิต<br />

6. ตองการความชื้นคอนขางสูงในการเจริญ สมาชิกสวนมากจึงเปนฟงไจที่อยูในน้ํา<br />

ฟงไจในกลุมนี้มีหลายชนิด ที่สําคัญไดแก Rhyzopus, Mucor, Albugo, Saproleginia,<br />

Pythium, Synchytrium, Pythophthora เปนตน<br />

ความสําคัญทางเศรษฐกิจ<br />

ฟงไจในกลุมนี้มีหลายชนิดนําไปใชในอุตสาหกรรมตาง ๆ เชน Rhizopus nigricans ใชผลิต<br />

fumaric acid, R. nodusus ใชผลิต lactic acid และ R. oryzae ใชทําขาวหมาก แอลกอฮอลและสุรา<br />

จากขาว เพราะมีเอนไซม amylase เปลี่ยนแปงเปนน้ําตาลไดดี สวนฟงไจหลายชนิดที่ทําใหเกิดโรคกับพืชและ<br />

สัตว เชน PLasmopara viticola ทําใหเกิดโรคราน้ําคางขององุน Synchytrium endobioticum ทําให<br />

มะละกอแคระแกรน Pythium aphanidermatum ทําใหเกิดการเนาของรากและลําตนของมะละกอ และ<br />

Saprolegnia spp. เปนปาราสิตของปลา ทําใหผิวหนังปลาเปนจุดขาว ๆ เปนตน<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

1. เสนใยมีผนังกั้น<br />

2. สรางสปอรทั้งแบบมีเพศและไมมีเพศ การสรางสปอรแบบมีเพศเกิดใน ascus จํานวน 8 ascospore<br />

3. ไมตองการความชื้นมากในการเจริญ<br />

ฟงไจในกลุมนี้ที่สําคัญไดแก Gibberella และยีสต<br />

ความสําคัญทางเศรษฐกิจ<br />

1. ประโยชน<br />

1.1 ดานอุตสาหกรรม Saccharomyces cerevisia ใชผลิตแอลกอฮอลหรือเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล<br />

Gibberellafujikuroi ผลิตฮอรโมน gibberellin เรงการเจริญของพืช เปนตน<br />

1.2 เปนอาหาร โดยใช S. cerevisiae เพาะเลี้ยงในของเสียจากอุตสาหกรรมตาง ๆ เพื่อนําไปใชเลี้ยง<br />

สัตวซึ่งใหคุณคาทางอาหารสูง<br />

2. โทษ<br />

ทําใหเกิดโรคในพืช เชน Uncinula necator ทําใหเกิดโรค powdery mildew ในองุน<br />

Erysiphe graminis var. houdie ทําใหเกิดโรคในขาวบารเลย Venturia inaequalis ทําใหเกิดโรคของ<br />

แอปเปล Claviceps purpurea ทําใหเกิดโรคของขาวไรนและ Sphaerotheca humuli ทําใหเกิดโรคของ<br />

กุหลาบ เปนตน<br />

CLASS BASIDIOMYCETES<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

1. เสนใยมีผนังกั้น<br />

2. เสนใยเปนชนิด binucleate mycelium ในแตละเซลลมี 2 นิวเคลียส<br />

3. การสืบพันธุแบบมีเพศจะสราง basidiospore บน basidium<br />

สมาชิกที่สําคัญ ไดแก เห็ดหอม เห็ดนางรม เห็ดฟาง เปนตน<br />

ความสําคัญทางเศรษฐกิจ<br />

ฟงไจในกลุมนี้มีหลายชนิด กอใหเกิดประโยชนและโทษ ดังนี้<br />

1. ประโยชน<br />

Polson Mahakhan 7<br />

211Fungi_501.doc<br />

Polson Mahakhan 8


<strong>25</strong>/6/<strong>2007</strong> <strong>09</strong>:<strong>27</strong>/ <strong>Page</strong> 5 <strong>of</strong> 6<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

ประโยชนที่สําคัญไดแก นําไปใชเปนอาหาร ไดแก พวกเห็ด ตาง ๆ เชน เห็ดฟาง เห็ดหอม เห็ดหูหนู เห็ด<br />

นางฟา เห็ดเปาฮื้อ เปนตน นอกจากนี้เห็นบางชนิดยังใชเปนยาเชนยาขับพยาธิได คือ เห็ดจิกหรือเห็ดตีนตุกแก<br />

(Lopharia papyracea) ใชขับพยาธิตัวแบนเชน พยาธิตัวตืด ไดเนื่องจากมีสาร polyporic acid ซึ่งมี<br />

สมบัติเปนสารถายพยาธิ<br />

อาหารหรือควบคุมการแพรระบาดของเชื้อโรคเทานั้น แตยังพยายามมุงเนนที่จะนําฟงไจมาใชประโยชนในดาน<br />

การเกษตรกรรมและอุตสาหกรรมตาง ๆ ใหมากขึ ้นดวย โดยเฉพาะเพื่อการเพิ่มผลผลิต เชื่อกันวาฟงไจจะเปนจุลิ<br />

นทรียอีกชนิดหนึ่งที่เกี่ยวของกับการอยูรอดของมนุษยชาติในอนาคตอยางแทจริง<br />

2. โทษ<br />

2.1 เปนพิษตาอมนุษย ไดแก เห็ดในสกุล Amanitia เชน A. muscaria มีสารพิษ muscarine<br />

กระตุนการทํางานของพาราซิมพาเธติคซึ่งเปนระบบประสาทอัตโนมัติทําใหเกิดการคลื่นไส อาเจียน อุจจาระรวง<br />

รูมานตาหดแคบ หายใจไมสะดวก สวน A. phalloides มีสารพิษamanitin ทําลายเซลลของอวัยวะตาง ๆ ได<br />

ดี โดยเฉพาะตับ หัวใจแลไต ทําใหเกิดอาเจียนอยางรุนแรงและอุจจาระรวง ตอมาเกิดเปนตะคริว ความดันโลหิต<br />

ต่ําและตายในที่สุด<br />

2.2 ทําใหเกิดโรคกับพืชเศรษฐกิจหลายชนิด เชน Ustilago tritici และ Urocystis tritici ทําให<br />

เกิดโรคกับขาวสาลี Tilletia horrida ทําใหเกิดโรคกับขาวเจา Utilago maydis ทําใหเกิดโรคกับขาวโพด<br />

เปนตน<br />

CLASS DEUTEROMYCETES<br />

ลักษณะทั่วไป<br />

1. เสนใยมีผนังกั้น<br />

2. มีเฉพาะการสืบพันธุแบบไมมีเพศเทานั้น และสรางสปอรแบบ conidia<br />

ฟงไจในกลุมนี้ยังไมพบระยะที่มีการสืบพันธุแบบมีเพศ คงพบเฉพาะระยะสืบพันธุแบบไมมีเพศเทานั้น จึง<br />

มีชื่อสามัญวา fungi imperfeci ถาหากมีการศึกษาจนสามารถพบระยะที่มีการสืบพันธุแบบไมมีเพศก็จะจัดไว<br />

ในกลุมอื่น ๆ เชน ถาพบมีการสราง ascospore ก็จัดไวใน class Ascomycetes หรือถาพบการสราง<br />

basidiospore ก็จัดไวใน class Basidiomycetes ฟงไจใน class Deuteromycetes ประกอบดวย<br />

สมาชิกเกือบ 2000 สกุล และ 15000-20000 ชนิด<br />

ความสําคัญทางเศรษฐกิจ<br />

ฟงไจใน class Deuteromycetes ทําใหเกิดโรคกับมนุษย สัตวและพืชตาง ๆ มากมาย เชน โรคใบเหี่ยว<br />

ของยาสูบและมะเขือ โรคใบไหมของมะพราว โรคจุดสีน้ําตาลของขาว เปนตน สวนโรคที่เกิดกับมนุษย ไดแก<br />

กลาก เกลื่อน Honkong foot เปนตน เกิดจากฟงไจแตกตางกันไป เชน Epidermophyton floccosum<br />

ทําใหเกิดเปนกลากที่ผิวหนัง และเล็บแตไมเกิดที่ผม สวน Microsporum sp. ทําใหเกิดกลากที่ผิวหนัง ผม<br />

และเล็บ เปนตน<br />

เนื่องจากฟงไจเปนจุลินทรียที่มีบทบาทเกี่ยวของกับการดํารงชีวิตของมนุษยเปนอยางมาก ทั้งทางตรงและ<br />

ทางออม ทั้งในดานประโยชนและโทษ ดังกลาวมาแลว ดังนั้นการศึกษาเกี่ยวกับฟงไจจึงมิใชเฉพาะเพื่อการถนอม<br />

Polson Mahakhan 9<br />

211Fungi_501.doc<br />

Polson Mahakhan 10


<strong>25</strong>/6/<strong>2007</strong> <strong>09</strong>:<strong>27</strong>/ <strong>Page</strong> 6 <strong>of</strong> 6<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

317211 Gen. Micro.; Fungi<br />

Polson Mahakhan 11<br />

211Fungi_501.doc<br />

Polson Mahakhan 12

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!