21.01.2015 Views

พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของจนท. - นิติการ

พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของจนท. - นิติการ

พรบ.ความรับผิดทางละเมิดของจนท. - นิติการ

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

พระราชบัญญัติความรับผิดทางละเมิด<br />

ของเจ้าหน้าที ่ พ.ศ. ๒๕๓๙<br />

1


หลักการ และ เหตุผล / ความเป็ นมา ของกฎหมาย<br />

ความเป็ นมา<br />

มีกรณีคดี เจ้าพนักงานที่ดิน ปฏิบัติหน้าที่ราชการเกิดข้อผิดพลาด<br />

ก่อให้เกิดความเสียหายแก่บุคคลภายนอก แล้วต้องรับผิดเป็ นการ<br />

ส่วนตัว และไม่มีกฎหมายคุมครอง เจ้าหน้าที่<br />

หลักการ<br />

๑. เพื่อคุ้มครองเจ้าหน้าที่ ที่ได้กระท าละเมิด<br />

ในการปฏิบัติหน้าที่<br />

๒. เพื่อเยียวยาความเสียหายให้แก่ผู้เสียหาย<br />

จากการท าละเมิดของ จนท. อย่างเป็ นธรรม<br />

และรวดเร็ว<br />

2


เหตุผล<br />

เหตุผลในการตรากฎหมาย<br />

๑. เจ้าหน้าที่ปฏิบัติหน้าที่ ไม่ใช่เพื่อประโยชน์ของตนเอง<br />

เมื่อเกิดความเสียหาย น า ปพพ. มาใช้บังคับ ไม่เหมาะสม<br />

๒. บางกรณีเจ้าหน้าที่ที่อาจกระท าโดยไม่ตั ้งใจ หรือ<br />

ผิดพลาดเล็กน้อย<br />

๓. หลักลูกหนี้ร่วม ท าให้ต้องรับผิดในการกระท าของ<br />

เจ้าหน้าที่อื่นด้วย<br />

3


๔.เจ้าหน้าที่ไม่กล้าตัดสินใจเพราะเกรงต้องรับผิด<br />

บั่นทอนขวัญก าลังใจ<br />

มีวิธีการบริหารงานบุคคลและวินัยควบคุมอยู ่ ท าให้มีความรอบคอบ<br />

กฎหมายนี้ มุ ่งคุ ้มครองเจ้าหน้าที่ที่ปฏิบัติหน้าที่ด้วยความสุจริต<br />

และใช้ความระมัดระวังตามสมควร<br />

4


ความรับผิดทางละเมิดของเจ้าหน้าที่<br />

ตามหลักกฎหมายแพ่ง<br />

เจ้าหน้าที่ผู ้ท าละเมิดต้องรับผิดเป็ นส่วนตัว<br />

หน่วยงานของรัฐร่วมรับผิด แล้วไล่เบี้ยจากเจ้าหน้าที่<br />

เจ้าหน้าที่ร่วมกันกระท าผิดต้องรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วม<br />

5


ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง<br />

1. มีลักษณะไปในทางที่บุคคลนั ้น ได้กระท า<br />

ไปโดยขาดความระมัดระวัง<br />

2. ที่เบี่ยงเบนไปจากเกณฑ์มาตรฐานอย่างมาก<br />

เช่น พึงคาดเห็นได้ว่าความเสียหายอาจเกิดขึ้นได้<br />

หรือ หากระมัดระวังสักเล็กน้อย ก็คงคาดเห็น<br />

การอันอาจเกิดความเสียหายเช่นนั ้น<br />

(ที่ นร 0601/87 ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2540) 6


เหตุสุดวิสัย<br />

1. เหตุใดๆ อันจะเกิดขึ ้น หรือจะให้ผลพิบัติ<br />

2. เป็ นเหตุที่ไม่สามารถป้ องกันได้<br />

3. แม้บุคคลผู้ต้องประสบหรือใกล้จะต้องประสบ<br />

จะได้จัดการระมัดระวังตามสมควร<br />

อันพึงคาดหมายได้จากบุคคลในฐานะและ<br />

ภาวะเช่นนั้น<br />

7


กรณีละเมิดในการปฏิบัติหน้าที่-รัฐเสียหาย<br />

๑. รถราชการเสียหาย/สูญหาย<br />

รถคว ่า(ไม่มีคู ่กรณี)/ รถชนกัน /รถถูกโจรกรรม<br />

๒. ทรัพย์สินราชการ ช ารุดเสียหาย/ถูกโจรกรรม<br />

๓. ทุจริตยักยอกเงินของทางราชการ<br />

๔. เพลิงไหม้<br />

๕ . การจัดซื ้อ/จัดจ้าง<br />

8


กรณีท าให้บุคคลภายนอก(เอกชน)เสียหาย (ม.5 ว.1)<br />

ก. หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดต่อผู้เสียหาย<br />

ในผลแห่งการละเมิดของ จนท. ดังนี ้<br />

(๑) จนท.ประมาทเลินเล่อไม่ร้ายแรง<br />

- หน่วยงานของรัฐ ต้องรับผิดชดใช้ฯให้แก่ผู้เสียหาย<br />

- จนท.ไม่ต้องรับผิดชดใช้ฯ<br />

(๒) จนท.จงใจ/ประมาทเลินเล่ออย่างร้ายแรง<br />

- หน่วยงานของรัฐ ต้องชดใช้แทนไปก่อน<br />

- แล้วใช้สิทธิไล่เบี ้ยจาก จนท.ในภายหลัง<br />

9


ตัวอย่าง การละเมิดกรณีการรักษาพยาบาล<br />

เกิดจากการรักษาพยาบาล โดยไม่ถูกวิธีโดย/ ประมาท หรือ<br />

ขาดความระมัดระวัง เบี่ยงเบนไปจากมาตรฐาน หรือ ไม่ได้รับความ<br />

ยินยอม และ เกิดความเสียหาย<br />

เช่น<br />

1. คนไข้แพ้ยา (ต้องสอบประวัติเสมอ)<br />

2. จ่ายยาให้คนไข้ผิดคนผิด (กลูโคส/ยาชา)มีกรณีฉีดและกิน<br />

3. ให้เลือดคนไข้ผิดกลุ ่มเลือด (ผิดกรุ ๊ ป) /ผิดคน/ราย<br />

4. น ้าร้อนลวกเด็ก (อาบน ้าเด็กคลอด)<br />

5. แพทย์ท าหมันโดยไม่บอกคนไข้ 10


7. ตามแพทย์เวรแล้ว แต่แพทย์ไม่มารักษาผู ้ป่ วย(งดเว้น)<br />

8. แพทย์ตัดหมดลูกพบทารก<br />

9. แพทย์ท าคลอดโดยวิธีดึงเด็กออก ไหลเด็กหลุด กระดูกหัก<br />

10. แพทย์ละทิ้งหน้าที่ระหว่างผ่าตัด..<br />

11. แพทย์ไม่มารักษาผู ้ป่ วยแพ้ยา<br />

12. ลืมกรรไกรในท้องคนไข้ case ผ่าตัด<br />

11


13. ผ่าตัดคลอดลืมผ้าก๊อส / ท าคลอดแล้วไม่ออฟก๊อส<br />

14. คนไข้ตกรถเข็นตาย(ทางลาดเอียง) / ตกเตียงที่ ER<br />

15. อบเด็กทารกตาย (ความร้อนเกิน)<br />

16. คนไข้อยู่ห้องพิเศษคนเดียวตาย<br />

17. คนไข้ตกเตียงตาย<br />

18. สมัครใจไม่อยู่ คนไข้ไปตายหน้าโรงพยาบาล<br />

12


19. หนึ่งถั่วเหลืองให้ความอบอุ ่นเด็กเกิดไหม้<br />

20.ท าคลอดแล้วตกเลือดตาย(ปล่อยคนไข้อยู่คนเดียว)<br />

21. กระเป๋ าน ้าร้อนไหม้คนไข้<br />

22. ฉีดยาผิดชนิด (คนหนึ่งเตรียม อีกคนฉีด)<br />

23. ผ่าคลอดทางหน้าท้องแม่ตาย<br />

24. วินิจฉัยโรคผิดพลาด /รักษาผ่าตัดช้าคนไข้ตาย<br />

25. อาการค้างเคียงท าให้คนไข้ตาบอด<br />

26. คนไข้ไร้สติหนีออกจากตึก ไปตกสระน ้าตาย<br />

27. คลอดบุตรแม่ตาย/เด็กตาย 13

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!