13.07.2015 Views

เวกเตอร์

เวกเตอร์

เวกเตอร์

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

315 102 General Physics I อ. ดร. ศรีประจักร์ ครองสุข<strong>เวกเตอร์</strong> (Vectors)• บทนํา• การรวม<strong>เวกเตอร์</strong>• <strong>เวกเตอร์</strong>หนึงหน่วย• การแยก<strong>เวกเตอร์</strong>• ผลคูณสเกลาร์และ<strong>เวกเตอร์</strong>• ผลคูณสเกลาร์ของสาม<strong>เวกเตอร์</strong>16/4/2008


บทนํา (Introduction)ปริมาณทีวัดในทางฟิ สิกส์แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ• ปริมาณสเกลาร์ (scalar quantity) คือ ปริมาณทีระบุขนาดเพียงอย่างเดียว เช่น อุณหภูมิ,ปริมาตร, มวล, เวลา เป็ นต้น• ปริมาณ<strong>เวกเตอร์</strong> (vectors) คือ ปริมาณทีต้องระบุทั งขนาดและทิศทางพร้อมกัน เช่นการกระจัด, ความเร็ว, ความเร่ง, แรง, สนามแม่ไฟฟ้ าและสนามแม่เหล็ก เป็ นต้นABθ BNθ AAอุณหภูมิEB2ปริมาณสเกลาร์ปริมาณ<strong>เวกเตอร์</strong>6/4/2008


สมบัติของ<strong>เวกเตอร์</strong>การรวม<strong>เวกเตอร์</strong>(1) การเท่ากันของสอง<strong>เวกเตอร์</strong>ถ้า<strong>เวกเตอร์</strong> A และ<strong>เวกเตอร์</strong> B เท่ากัน จะต้องมีขนาดเท่ากัน (A = B) และมีทิศทางเดียวกันด้วยAABBA = BA ≠ BAA3BA ≠ B แต่ A = -BBA ≠ B6/4/2008


การรวม<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)(2) การบวก<strong>เวกเตอร์</strong>โดยใช้วิธีเรขาคณิต (geometric method)• การบวกสอง<strong>เวกเตอร์</strong>BAR = A + BθRAB• การบวก<strong>เวกเตอร์</strong>ทีมีมากกว่าสอง<strong>เวกเตอร์</strong>ขึ นไป4CA120°B60°R = A + B + CRθACB6/4/2008


การรวม<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)การบวกของสอง<strong>เวกเตอร์</strong>สามารถเขียนในอีกแบบหนึ ง ซึ งเรียกว่าการบวก<strong>เวกเตอร์</strong>แบบสร้างรูปสีเหลียมด้านขนาน (parallelogram)BBRA(3) การสลับทีของการบวก (commutative law of addition)AA + B = B + ABRAB5A6/4/2008


การรวม<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)(4) การเปลียนกลุ่มของการบวก (associative law of addition)A + (B + C) = (A+ B) + CCC6B+CA+BBBAA(5) <strong>เวกเตอร์</strong>ทีติดลบ (Negative of a vector)A + (-A) = 0(6) การคูณปริมาณสเกลาร์(m) กับ<strong>เวกเตอร์</strong>B = mA<strong>เวกเตอร์</strong> A และ –A มีขนาดเท่ากันแต่มีทิศตรงข้าม<strong>เวกเตอร์</strong> B ยาวเป็ นจํานวน m เท่าของ<strong>เวกเตอร์</strong> A6/4/2008


การรวม<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)(7) การลบ<strong>เวกเตอร์</strong> A – B = A + (– B )R = A - BAB- BBAR = A - B76/4/2008


คําถาม (question)?Cจงหา<strong>เวกเตอร์</strong>ลัพธ์R = A+B+C+D+EDEBEDCARAB86/4/2008


การหาขนาดและทิศทางของ<strong>เวกเตอร์</strong>ลัพธ์αRAทิศของ<strong>เวกเตอร์</strong>ลัพธ์tanα=α =tanBsinθA + B cosθ1⎛Bsinθ⎞⎜ ⎟⎝ A + B cosθ⎠−Bβขนาดของ<strong>เวกเตอร์</strong>ลัพธ์RR22= ( A + B cosθ)=A2+ 2ABcosθ+ B+ ( B sinθ)cos2 2γ θR = A + B + 2ABcosθ( 1.2)( 1.3)2222θ + B2sinสมการที 1.2 และ 1.3 เรียกว่า กฎของโคไซน์(cosine’s law) นอกจากนี ยังสามารถหาค่าเหล่านีได้โดยใช้กฎของไซน์ (sine’s law)R=sin γA=sin βBsinα( 1.4)2θ96/4/2008


<strong>เวกเตอร์</strong>หนึ งหน่วย<strong>เวกเตอร์</strong>หนึงหน่วย (unit vectors) คือ <strong>เวกเตอร์</strong>ทีมีขนาดเท่ากับ 1 หน่วย ซึ งถูกกําหนดโดยe A=AA( 1.1)e AAA = Ae Aในระบบพิกัดแบบคาทีเซียน (cartesian coordinates system) <strong>เวกเตอร์</strong>หนึงหน่วยในแนวแกนx, y, และ z แทนด้วยสัญลักษณ์ i, j, k ตามลําดับz10kijxy6/4/2008


การแตก<strong>เวกเตอร์</strong><strong>เวกเตอร์</strong>ใดสามารถแตกเป็ นองค์ประกอบทีตั งฉากกัน สําหรับระบบพิกัดแบบคาร์ทีเซียนจะได้ว่าxA xzA zikφθAjA yyA = A x + A y + A z = A x i + A y j + A z kจากรูปจะเห็นว่าAAxyA z =ดังนั นขนาดของ<strong>เวกเตอร์</strong> AA = A + A +2xz= Asinθcosφ= Asinθsinφ2yและมี<strong>เวกเตอร์</strong>หน่วย e AAcosθθA2ze A6/4/2008e A=sinθ cosφi + sinθsinφj+cosθk11


การแตก<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)ในกรณีทีแตก<strong>เวกเตอร์</strong>บนระนาบ (2 มิติ) จะได้yA yjoiAe AA xθโดยทีA = A x + A y = A x i + A y jAAxy= Acosθ= Asinθxดังนันขนาดของ<strong>เวกเตอร์</strong> A และ <strong>เวกเตอร์</strong>หน่วยAeA2 2= A x+ Ay= cosθ i + sinθj,126/4/2008


การรวม<strong>เวกเตอร์</strong>ด้วยวิธีแยกองค์ประกอบA 2yA 1จากรูปจะเห็นว่าA 1 = A 1x i + A 1y jA 2 = -A 2x i + A 2y jA 3 = -A 3x i - A 3y jx13A 3θRR xyR yxดังนัน<strong>เวกเตอร์</strong>ลัพธ์ของสาม<strong>เวกเตอร์</strong>คือR = A1+ A2+ A3R = ( A1x− A2x− A3x) i + ( A1y+ A2y− A3R= R i + Rxขนาดและทิศทางของ R คือR=Ry2xj+ R2y⎛ R−1y ⎞θ = tan⎜⎟6/4/2008⎝ Rx⎠y) j


การรวม<strong>เวกเตอร์</strong>ด้วยวิธีแยกองค์ประกอบถ้ามี<strong>เวกเตอร์</strong>จํานวนมาก การรวม<strong>เวกเตอร์</strong>ในแต่ละองค์ประกอบจะเป็ นดังนี RRxy==∑i=1∑R= R i+RixRRixiyyjผลบวกแบบพีชคณิตของ<strong>เวกเตอร์</strong>องค์ประกอบตามแกน xผลบวกแบบพีชคณิตของ<strong>เวกเตอร์</strong>องค์ประกอบตามแกน y146/4/2008


ตัวอย่าง 1กําหนดให้kjiAkjiA345321+−=−+= จงหาA 1 A 2RAAR(1)−=+=(2)21วิธีทํา(1) (2)21214243)1(4)(51)(3222=++=++=+−+−++=RkjiRkjiR1014)(923)1(4))((51)(3222=−++=+=−−+−−+−=R9j - 4k2iRkjiR(1) (2)6/4/200815


ผลคูณสเกลาร์และ<strong>เวกเตอร์</strong>การคูณ<strong>เวกเตอร์</strong>มี 2 แบบ คือ• การคูณแบบสเกลาร์ (scalar product)• การคูณแบบ<strong>เวกเตอร์</strong> (vector product)ปริมาณสเกลาร์ปริมาณ<strong>เวกเตอร์</strong>ผลคูณแบบสเกลาร์BA. B = AB cosθโดยที(1.2)θAo0 ≤ θ ≤180166/4/2008


ผลคูณสเกลาร์และ<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)สมบัติการคูณแบบสเกลาร์0k.ij.ki.j1k.kj.j(4) i.i(A.B)B)A.(A).B(A.B)(3)A.CA.BC)A.(B(2)B.AA.B(1)=========+=+=( mmmmB0 then AB0,Aif0A.B(6)B.BA.AA.BkjiBk ,jiA(5)⊥≠≠=++==++==++=++=++=22222222zyxzyxzzyyxxzyxzyxBBBBAAAAA BBABABBBAAA6/4/200817


ตัวอย่าง 2จงแสดงให้เห็นว่า i.i j.j = k.k = 1วิธีทํา= และ i.j = j.k = k.i = 0จากนิยามของการคูณแบบสเกลาร์ A.B = AB cosθเนืองจาก<strong>เวกเตอร์</strong>หนึ งหน่วย i, j และ k ทํามุมตั งฉากกันคือ θ = 90°ดังนัน i.j= ijcos 90=0,j.k=jkcos90=0,k.i=kicos90=0ส่วน i.i j.j = k.k = 1= เนืองจาก<strong>เวกเตอร์</strong>มีทิศเดียวกัน186/4/2008


ผลคูณแบบ<strong>เวกเตอร์</strong>ผลคูณสเกลาร์และ<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)A×BA × B อ่านว่า “A cross B”โดยมีขนาดเป็ นA×B=ABsinθ( 1.3)θABจากรูปแสดงให้เห็นว่าA × B = −B×AB× A196/4/2008


ผลคูณสเกลาร์และ<strong>เวกเตอร์</strong> (ต่อ)สมบัติการคูณแบบ<strong>เวกเตอร์</strong>ikjkji0kkjjii(4)B)(AB)(ABA)(B)(A(3)CABAC)(BA(2)AB-BA(1)mmmm=×=×=×=×=××=×=×=××+×=+××=×kjikjiBAkjiBkjiA(5)jikikj)()()( xyyxzxxzyzzyzyxzyxzyxzyxBABABAA BA BBABBBAAABBBAAA−+−+−==×++=++==×=×6/4/200820


การคูณของสาม<strong>เวกเตอร์</strong>การคูณของสาม<strong>เวกเตอร์</strong>มี 2 แบบ คือ• การคูณสามชั นแบบสเกลาร์ (scalar triple product)• การคูณสามชั นแบบ<strong>เวกเตอร์</strong> (vector triple product)การคูณสามชั นแบบสเกลาร์ได้ผลลัพธ์เป็ นปริมาณสเกลาร์ซึ งมีนิยามดังนี A .(B×C)=ABCxxxABCyyyABCzzz( 1.4)การคูณสามชั นแบบ<strong>เวกเตอร์</strong>ได้ผลลัพธ์เป็ นปริมาณ<strong>เวกเตอร์</strong>ซึ งมีนิยามดังนี A × B×C=( 15)( A.C)B − (A.B)C .216/4/2008


คําถาม?kjiCkjiBkjiA4232−+= −+−=−+=กําหนดให้จงหาBA(2)A.B(1)×C)(BA(4)C)A.(B(3)BA(2)××××6/4/200822

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!