14.11.2014 Views

No Title for this magazine

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

บทที่ 1<br />

โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

(Peptic ulcer diseases and Treatment)<br />

บทนํา<br />

โรคแผลในทางเดินอาหาร (Peptic ulcer diseases) เปนโรคหรือกลุมอาการที่มีความ<br />

ผิดปกติของทางเดินอาหารสวนบน ซึ่งมีกรดและเปบซินเขามาเกี่ยวของเดิมอาจเรียกวา แผลเปบ<br />

ติก (peptic ulcer) หรือโรคกระเพาะหรือโรคแผลในกระเพาะอาหาร เนื่องจากเปนแผลที่พบใน<br />

เยื่อบุทางเดินอาหารสวนที่สัมผัสกับน้ําหลั่งจากกระเพาะอาหาร ซึ่งไดแกเยื่อบุหลอดอาหารสวน<br />

ลาง กระเพาะอาหาร และลําไสเล็กสวนบน และเรียกแผลที่พบตามตําแหนงวา esophageal ulcer<br />

gastric ulcer (GU) และ duodenal ulcer (DU) นอกจากนี้ยังมีโรคที่พบ<br />

รายงานแตไมมากนัก เชน Zollinger-Ellison syndrome บางครั้งการหลั่งกรดมากบางระยะมี<br />

แตการอักเสบของเยื่อบุโดยไมมีแผล จึงรวมการอักเสบในเยื่อบุทางเดินอาหารที่สวนตนที่เกิดจาก<br />

กรด เชน reflux exophagitis gastritis และ duodenitis ไวในกลุม acid related diseases (ARD)<br />

คําจํากัดความ<br />

เปบติก (Peptic) หมายถึง สิ่งที่เกี่ยวของหรือมีความสัมพันธกับการยอยอาหาร หรือ<br />

สรางและมีสาเหตุเกิดจากเอนไซมเปบซิน สวนแผล ulcer หมายถึงรอยแตกหรือแยกที่ผิวหนัง<br />

ทําใหมีสูญเสียเนื้อเยื่อสวนหนา เกิดการแตกหรือการตายของเนื้อเยื่อตางๆ หรือมีหนอง เมื่อ<br />

รวมความแลว peptic ulcer จะหมายถึงการมีรอยแตกหรือแยกของชั้น mucosa ในกระเพาะ<br />

อาหารหรือลําไสเล็กสวนตน แผลจะลึกลงไปถึงชั้น muscularis mucosae และมีขบวนการอักเสบ<br />

เกิดขึ้นตามมา ซึ่งมักจะเปนผลจากการเสียสมดุลยของปจจัยที่ทําใหเกิดแผลในทางเดินอาหาร<br />

(aggressive factor) และ ปจจัยในการปองกัน (defensive factor)<br />

ชนิดของแผลในทางเดินอาหาร<br />

ก. แบงตามสาเหตุของการเกิดแผลในทางเดินอาหาร<br />

1. การเกิดแผลในทางเดินอาหารซึ่งสัมพันธกับเชื้อ Helicobacter pylori (HP)<br />

2. การเกิดแผลในทางเดินอาหารซึ่งสัมพันธกับยาในกลุมตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด<br />

3. การเกิดแผลในทางเดินอาหารที่เกิดจากความเครียด<br />

ข. แบงตามระยะเวลาการเกิดโรค<br />

1. แผลในทางเดินอาหารเฉียบพลัน (acute ulcers) หมายถึงการเกิดแผลในทางเดินอาหาร<br />

ที่เกิดจากความเครียด


2 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

2. แผลในทางเดินอาหารเรื้อรัง (chronic ulcers) หมายถึงการเกิดแผลในทางเดินอาหาร<br />

ซึ่งสัมพันธกับเชื้อ Helicobacter pylori หรือสัมพันธกับยาตานอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด<br />

ซึ่งแผลในทางเดินอาหารแตละชนิดจะมีความแตกตางกันในแงความลึกของแผล<br />

สมมติฐานของโรคการแสดงออกทางคลินิก และแนวโนมหรือโอกาสของแผลที่จะเกิดขึ้น<br />

ระบาดวิทยา<br />

ประมาณรอยละ 10 ของคนอเมริกันเกิดโรคแผลในทางเดินอาหารตลอดชวงชีวิต<br />

การเกิดโรคจะขึ้นกับชนิดของแผลในทางเดินอาหาร อายุ เพศ ถิ่นที่อยูอาศัย เชื้อชาติ การ<br />

ประกอบอาชีพและสภาพสังคมสิ่งแวดลอม ปจจัยตางๆ เหลานี้จะมีผลตอการเกิดแผลในทางเดิน<br />

อาหาร และอัตราการติดเชื้อ Helicobacter pylori โรคแผลในทางเดินอาหารเปนโรคที่สําคัญ<br />

เนื่องจากมีผลตอการขาดงาน ความไมสามารถในการทํางาน และคาใชจายที่สูญเสียไปในการดูแล<br />

รักษา<br />

พยาธิสรีรวิทยาของการเกิดแผลในกระเพาะอาหาร<br />

สรีรวิทยาของการหลั่งกรดของทางเดินอาหาร<br />

การหลั่งกรดจะหลั่งจาก parietal cells หรือ oxyntic cells ที่ชั้น mucosa ของกระเพาะ<br />

อาหาร สวน fundus และ body เมื่อเซลถูกกระตุนจะมีการหลั่งกรดเขาสูกระเพาะอาหาร (gastric<br />

lumen) ผาน secretory canaliculi ในสภาวะพัก parietal cells จะหลั่ง intrinsic factor ซึ่งเปน<br />

โปรตีนมีหนาที่เปนตัวพาวิตามิน บี 12<br />

สารภายในรางกายที่กระตุนการหลั่งกรดคือ อะเซติลคลอรีน (Acetylcholine) ฮีสตามีน<br />

(histamine) และ แกสตริน (gastrin) ซึ่งจะมีตัวรับที่เฉพาะเจาะจงของสารแตละชนิดบน parietal<br />

cell เมื่อถูกกระตุนจะทําใหการหลั่งกรดเกิดขึ้น อะเซติลคลอรีนจะหลั่งจาก postganglionic vagal<br />

neurons ในกระเพาะอาหาร กระตุนผานตัวรับชนิด M 3 สําหรับฮีสตามีนจะหลั่งจาก mucosal<br />

mast cell หรือ enterochromaffin cells ในกระเพาะอาหารกระตุนผานตัวรับชนิด H 2 และแกส<br />

ตรินจะหลั่งจาก antral และ duodenal G cells แกสตรินจะออกฤทธิ์จับกับตัวรับโดยตรงที่<br />

parietal cell หรือกระตุนการหลั่งฮีสตามีนจาก enterochromaffin cells<br />

เมื่อ agonist จับกับตัวรับที่เฉพาะเจาะจงบริเวณ parietal cell จะมี second<br />

messengers ที่เขามาเกี่ยวของคือ cyclic AMP และแคลเซียมอิสระซึ่งควบคุมการหลั่งกรด<br />

ฮีสตามีนจะกระตุน cyclic AMP โดยกระตุนเอนไซม adenylate cyclase ซึ่งมีหนาที่เปลี่ยน<br />

ATP ใหเปน cAMP สวนแกสตรินและอะเซติลคลอรีน จะทําใหมีการหลั่งแคลเซียมจากแหลงสะสม<br />

ภายในเซลล (intracellular store) ทําใหแคลเซียมภายในเซลลเพิ่มขึ้น ผลคือกระตุนเอนไซม<br />

hydrogen/potassium adenosine triphosphate (H + /K + ATPase) หรือ gastric proton pump ที่<br />

apical membrance ของ parietal cell เมื่อถูกกระตุนจะเรงปฏิกิริยาการแลกเปลี่ยนของไฮโดรเจน<br />

อิออน ซึ่งเปนขั้นตอนสุดทายของการหลั่งกรด เมื่อพีเอชในกระเพาะอาหารต่ํากวา 3 จะมีกลไก


3 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ยับยั้งการหลั่งแกสตริน โดย negative feedback mechanism prostaglandin ชนิด PGE 2 จะ<br />

ยับยั้งฮีสตามีนในการกระตุน adenylate cyclase นอกจากนี้การยับยั้งการหลั่งกรดอาจเกิดจาก<br />

การหลั่งเปบไทด เชน somatostatin และ secretin เปนตน<br />

การหลั่งกรดจะแตกตางกันในแตละบุคคลขึ้นกับสภาวะทางจิตใจ เพศ อายุ และ<br />

สุขภาพเปนตน โดยพบวาในคนสูงอายุอาจพบการหลั่งกรดนอย (hypochlorhydria) หรือไมมี<br />

การหลั่งกรด (achlorhydria) จะพบการหลั่งกรดมากในผูปวย duodenal ulcer, gastrinoma และ<br />

mast cytosis เปนตน การหลั่งกรดโดยปกติจะเปนแบบ circadian rhythm คือจะมีการหลั่งกรด<br />

สูงในชวงบายและเย็น (14.00-23.00 น.) และต่ําในชวงเชา (05.00-11.00 น.) การหลั่งกรดปกติ<br />

อัตรา 2-10 mEq./ชั่วโมง สูงสุดไมเกิน 20-40 mEq./ชั่วโมง<br />

การกระตุนใหเกิดการหลั่งกรดจะแบงไดเปน 3 ระยะคือ ระยะ cephalic ระยะ gastric<br />

และระยะ intestinal ระยะ cephalic จะถูกกระตุนโดยแสง รสชาติ และกลิ่นของอาหาร ผานทาง<br />

เสนประสาทเวกัส ระยะ gastric จะถูกกระตุนโดยตัวกระตุนภายในกระเพาะอาหาร การขยาย<br />

ของกระเพาะอาหาร โดยผานทางเสนประสาทเวกัส สวนประกอบของอาหาร (กรดอะมิโนและ<br />

เปบไทด) จะกระตุนการหลั่งแกสตริน และระยะ intestinal จะมีการกระตุนและการยับยั้ง การ<br />

กระตุนจะเกิดโดยกรดอะมิโนในทางเดินอาหารหรือในระบบไหลเวียนโลหิต สวนการยับยั้งจะเกิด<br />

โดยความเปนกรด ไขมัน และภาวะ hyperosmolar เมื่อ duodenal mucosa สัมผัสกรดจะ<br />

กระตุนใหเกิดการหลั่ง secretin ทําใหยับยั้งการสรางกรดของแกสตริน สวนไขมันจะยับยั้งการ<br />

หลั่งกรดโดยไปทําใหเกิดการหลั่ง gut peptides เชน cholecystokinin และ gastric inhibitory<br />

peptide เปนตน<br />

Gastric mucosal cells หลั่ง proteolytic proenzymes ที่สําคัญคือ pepsinogen group I<br />

(PGI) จาก chief และ mucus neck cells ของ acid secreting mucosa และ pepsinogen group<br />

II (PG II) จาก mucus cells ของ gastric และ duodenal mucosa การเปลี่ยน pepsinogen ให<br />

เปน pepsin เปลี่ยนในสภาวะที่เปนกรด (พี เอชที่เหมาะสมคือ 1.8-3.5) จะเกิด inactivated<br />

reversibly ที่ พี เอช 4 และเกิด irreversibly destroy ที่พีเอช 7 การหลั่ง PGI จะสัมพันธโดยตรง<br />

กับการหลั่งกรด และพบวาในภาวะ hypergastrinemia และการติดเชื้อ Helicobacter pylori จะ<br />

สัมพันธกับการเพิ่มระดับ PGI ในเลือด


4 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

รูปที่ 1 กลไกการกระตุนใหเกิดการหลั่งกรดโดยสารสื่อประสาทตางๆ(


5 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

สรีรวิทยาในการปองกัน mucosal ของการเดินอาหาร<br />

มีหลายกลไกที่ใชอธิบายการปองกัน mucosal ของทางเดินอาหารจากการถูกทําลาย<br />

โดยสารตางๆ ทั้งภายในและภายนอกรางกาย เชน การหลั่งเมือกตางๆ การหลั่งไบคารบอเนต<br />

ปริมาณเลือดที่มาหลอเลี้ยง mucosal การเจริญเติบโตของเซลล epithelial และการซอมแซมบาด<br />

แผลเมื่อมีการบาดเจ็บ การปองกัน mucosal โดยกลไกตางๆ เหลานี้ ไมเกี่ยวของกับการยับยั้ง<br />

การหลั่งกรด เมือกที่สรางขึ้นบนผิวของ mucosa จะปกปองเซลลตางๆ และเปนชั้นของสารหลอ<br />

ลื่น ประกอบดวยน้ํา อิเลคโตรไลท ไกลโคโปรตีน และกรดนิวคลีอิก มีการสราง mucus gel หรือ<br />

ชั้นของ unstirred เพื่อปองกัน hydrogen ions เกิด back diffusion (ความสามารถของ hydrogen<br />

ion จาก stomach lumen แพรกลับเขาสู gastric mucosa) ไบคารบอเนตจะหลั่งจาก gastric,<br />

duodenal surface, epithelial cells , ตับออนและระบบน้ําดี ไบคารบอเนตสวนใหญจะถูกขังไวใน<br />

mucus-gel layer (ซึ่งจะมีความแตกตางของ พี เอช ระหวาง mucosal epithelial cells และ<br />

lumen) hydrogen ions ในทางเดินอาหารจะถูก neutralized โดย mucosal bicarbonate<br />

โดยแพรจากชั้น mucus-gel<br />

ปริมาณเลือดที่มาหลอเลี้ยงกระเพาะอาหารและลําไสเล็กจําเปนในการรักษา mucosal<br />

integrity ถาเลือดมาหลอเลี้ยงไมเพียงพอจะเกิดการขาดออกซิเจนซึ่งเกี่ยวของกับพยาธิสภาพของ<br />

stress ulcers สวนการเปลี่ยนแปลงปริมาณเลือดที่มาหลอเลี้ยง mucosal มีผลเกี่ยวของกับพยาธิ<br />

สภาพของโรคแผลในทางเดินอาหาร อยางไรนั้นยังไมสามารถอธิบายได การเจริญเติบโตของ<br />

เซลล epithelial และการซอมแซมบาดแผลเมื่อมีการบาดเจ็บนั้น พบวาเซลล epithelial ของทาง<br />

เดินอาหารมีการเจริญเติบโตที่เร็วมาก เมื่อมีการบาดเจ็บจะมีการซอมแซมทันที ตัวอยาง growth<br />

factors เชน epidermal growth factor จะกระตุนการเจริญเติบโตของเซลลหลายชนิด และมีบท<br />

บาทสําคัญในการปองกัน mucosal และซอมแซมแผล<br />

PGE 2 ที่สรางจาก gastric และ duodenal mucosal cells จะมีบทบาทสําคัญใน<br />

การปองกัน mucosal ของทางเดินอาหาร โดยจะกระตุนการหลั่งเมือก การหลั่งไบคารบอเนต<br />

ปริมาณเลือดที่มาหลอเลี้ยง mucosal การเจริญเติบโตของเซลล และการซอมแซมบาดแผลเมื่อมี<br />

การบาดเจ็บเกิดขึ้น<br />

การเกิดพยาธิสภาพของแผลในทางเดินอาหาร<br />

การเกิดแผลในทางเดินอาหาร จะขึ้นกับสมดุลยระหวางปจจัยที่ทําใหเกิดแผล และปจจัย<br />

ในการปองกัน พบวาผูปวย Zollinger Ellison syndrome และผูปวย duodenal ulcer มีการเพิ่ม<br />

parietal cell mass ทําใหมีการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารเพิ่มขึ้น แตยังพบวาผูปวย duodenal<br />

ulcer จํานวนมากมีการหลั่งกรดปกติ สวนผูปวย gastric ulcer จะมีการหลั่งกรดปกติหรือต่ํากวา<br />

แสดงวามีปจจัยอื่นเขามาเกี่ยวของในการเกิดพยาธิสภาพของแผลในทางเดินอาหาร นอกจาก<br />

กรด เชน การเปลี่ยนแปลงเยื่อเมือก การไดรับ prostaglandin inhibitor และการติดเชื้อ<br />

Helicobacter pylori เปนตน ดังนั้นโรคแผลในทางเดินอาหารจะเกิดขึ้นเมื่อมีปจจัยบางอยาง


6 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

รบกวนกลไกปกติของรางกาย มีปจจัยหลายอยางเขามาเกี่ยวของ และเปนผลรวมของความ<br />

ผิดปกติของพยาธิสรีรวิทยาหลายๆ อยาง รวมทั้งผลของสิ่งแวดลอมและปจจัยทางพันธุกรรม<br />

การเกิดแผลในทางเดินอาหารจะขึ้นกับ etiologic factors แผลในลําไสเล็กพบสวนใหญที่ลําไสเล็ก<br />

สวนตน สวนแผลในทางเดินอาหารเกิดไดตลอดทางเดินอาหาร สวนใหญจะพบบริเวณ lesser<br />

curvature บริเวณ distal, antral และ mucosa ที ่มีการหลั่งกรด


7 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

Zollinger Ellison Syndrome<br />

Helicobacter pylori<br />

กรดและเปบซิน<br />

NSAIDS<br />

Stress-related<br />

Mucosal<br />

เปลี่ยนแปลง mucosal defense<br />

ทําลาย mucosal<br />

แผลในทางเดินอาหาร<br />

รูปที่ 2 การเกิดพยาธิสภาพของโรคแผลในทางเดินอาหาร กรดและเปบซินมีผลทําใหเกิดแผลใน<br />

ทางเดินอาหาร เมื่อกลไกในการปองกันมิวโคซาเปลี่ยนแปลงไป เชน จาก NSAIDs,<br />

H.pylori หรือความเครียด (Stress-related mucosal damage, SRMD) ดัดแปลงมาจาก<br />

Pharmacotherapy, A Pathophysiologic Approach, 4 th ed, 1999


8 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

อาการแสดงทางคลินิก<br />

ผูปวยโรคแผลในทางเดินอาหาร ทั้งผูปวย gastric ulcer และ duodenal ulcer มีอาการ<br />

ไมแตกตางกัน จะแยกออกจากกันไดโดยการใชการสองกลองดูแผลในทางเดินอาหารชวย อาการ<br />

ของโรคแผลในทางเดินอาหาร คือจะปวดบริเวณลิ้นป ปวดแสบๆ รอนๆ อาการปวดที่มักเกิด<br />

ตอนกระเพาะอาหารวาง เชน ระหวางมื้ออาหาร กอนนอนหรือตอนดึก อาการปวดจะบรรเทาลง<br />

เมื่อรับประทานอาหารหรือไดรับยาลดกรด มีแนวโนมที่จะเกิดแผลในลําไสเล็ก สวนแผลใน<br />

กระเพาะอาหาร เวลาเกิดอาการปวด ไมแนนอน พบบอยหลังรับประทานอาหารหรือภายใน 1-3<br />

ชั่วโมง หลังรับประทานอาหาร อาการปวดทองที่แสดงออกนั้นไมสัมพันธกับการมีหรือไมมีแผลใน<br />

ทางเดินอาหาร ผูปวยที่ไมแสดงอาการของแผลในทางเดินอาหาร อาจวินิจฉัยพบแผลในทางเดิน<br />

อาหาร เรียกวา silent ulcer ตัวอยางเชน ผูปวยที่รับประทานยาแกปวด หรือผูปวยที่ทนอาการ<br />

ปวดไดมากๆ คนสูงอายุ ในทางกลับกันผูปวยที่แสดงอาการของโรคแผลในทางเดินอาหาร อาจ<br />

ตรวจไมพบแผลในทางเดินอาหารได เรียกวา nonulcers dyspepsia ควรแยก nonulcer<br />

dyspepsia และโรคแผลในทางเดินอาหารออกจากกัน ซึ่งยังไมมีวิธีที่จะแยกโดยใชอาการได อาจ<br />

ใชขอมูลจากประวัติทางการแพทย และยืนยันโดยดูแผล ความซับซอนหรือความรุนแรงที่อาจเกิด<br />

ขึ้นอาจพบ เลือดออก (bleeding) ทางเดินอาหารอุดตัน (obstruction) หรือกระเพาะอาหารทะลุ<br />

(perforation) ทําใหเปลี่ยนลักษณะของการปวดได การเพิ่มอาการปวด ปวดบริเวณกวางขึ้น<br />

หรือไมตอบสนองตอยาลดกรด แสดงวาแผลในทางเดินอาหารเปนเพิ่มขึ้น อาการอื่นๆ ที่อาจพบ<br />

เชน คลื่นไส อาเจียน เรอ แนนทอง เบื่ออาหาร และน้ําหนักลด<br />

ผลการทดสอบคาทางหองปฏิบัติการโดยทั่วไป ไมไดชวยในการวินิจฉัยโรคแผลในทาง<br />

เดินอาหาร การศึกษาการหลั่งกรด และความเขมขนของแกสตรินในเลือดขณะอดอาหาร อาจ<br />

แนะนําในผูปวยที่ไมตอบสนองตอการรักษาหรือผูปวยที่คาดวามีการหลั่งแกสตรินมากกวาปกติ<br />

การติดตามอาการเลือดออกในทางเดินอาหาร จะทําโดยวัดคา hematocrit, hemoglobin และทํา<br />

stool hemoccolt tests วิธีการวินิจฉัยแผลในทางเดินอาหารที่ดีที่สุดคือการสองกลองดูแผลในทาง<br />

เดินอาหาร ซึ่งเปนวิธีที่ใหผลดี ปลอดภัยและราคาถูก<br />

ความสัมพันธของโรคแผลในทางเดินอาหารกับ Helicobacter pylori (HP)<br />

HP เปนเชื้อกรัมลบรูปแทงอยูระหวางชั้น mucous และ epithelial cells ในกระเพาะ<br />

อาหาร HP จะสรางเอนไซม urease ซึ่งสามารถเปลี่ยน urea เปน ammonia และ carbon dioxide<br />

มีหลายสมมติฐานที่ใชอธิบายการที่ HP ทําใหเกิดแผลในทางเดินอาหาร ทฤษฎี “leaking roof”<br />

เสนอวา HP รบกวนกลไกในการปองกัน mucosa โดยสรางพิษ (toxins) เอนไซมและขบวนการ<br />

อักเสบตางๆ ประกอบดวย lipopolysacecharide, vacuolizing cytotoxin, urease และ<br />

ammonia ซึ่งจะไปกระตุน macrophage และ neutrophil บทบาทของระบบภูมิคุมกันตอการติด<br />

เชื้อ HP ตองทําการศึกษาตอไป การติดตอของ HP จะติดตอจากคนสูคนเปนแบบ fecal-oral


9 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

และ oral-oral route หรือผานทางเครื่องมือเชน การใช endoscopes พบอุบัติการณการเกิดโรคสูง<br />

ในประเทศที่กําลังพัฒนา การติดเชื้อ HP สัมพันธกับสภาวะแวดลอม เศรษฐศาสตร หรือ<br />

สาธารณสุขที่ไมคอยไดมาตรฐาน ซึ่งรายละเอียดจะไดกลาวตอไป<br />

ความสัมพันธของโรคแผลในทางเดินอาหารกับความผิดปกติของการหลั่งกรดและการ<br />

เคลื่อนไหว<br />

ผูปวยที่เปนแผลในลําไสเล็กสวนตน สวนใหญจะมีการหลั่งกรดปกติ พบบางที่มีการหลั่ง<br />

กรดสูงกวาปกติ ปจจัยที่ทําใหมีการหลั่งกรดสูง เชนการเพิ่มจํานวน parietal cell, การเพิ่ม<br />

ปริมาณการหลั่งกรดพื้นฐาน (basal secretory drive) การเพิ่มปริมาณการหลั่งกรดหลังมื้ออาหาร<br />

(postprandial secretory drive), การเพิ่มความไวของ parietal cell ตอตัวกระตุนตางๆ หรือการ<br />

กระตุนผานเสนประสาทเวกัส พอๆ กับมีการรบกวนการยับยั้งการหลั่งกรด สวนผูปวยแผลใน<br />

กระเพาะอาหารจะมีการหลั่งกรดปกติหรือลดลง การเคลื่อนไหวของกระเพาะอาหารจะมีผลตอ<br />

อัตราการนําอาหารจากกระเพาะอาหารไปยังลําไสเล็ก สวนการเคลื่อนไหวของลําไสเล็กมีผลใน<br />

การกําจัดสารที่หลั่งจากกระเพาะอาหาร น้ําดี และตับออนออกจากลําไสเล็ก ในผูปวยแผลในลํา<br />

ไสเล็กสวนตน การเรง gastric emptying จะทําใหความเปนกรดในลําไสเล็กสวนตนเพิ่มขึ้น ใน<br />

กรณีที่มีความผิดปกติของ antral-pylorus-duodenal motility จะทําใหมีการไหลยอนกลับของ<br />

อาหารจากลําไสเล็กมายังกระเพาะอาหาร หรือในกรณีที่มีการทําให gastric emptying ชาลง จะ<br />

เพิ่มเวลาในการสัมผัสของกระเพาะอาหารกับกรด เปบซินและอาหารที่ไหลยอนกลับมาจากลําไส<br />

เล็ก และเปนไปไดวาถาผูปวยมีภาวะ gastric stasis และ duodenal reflux จะมีอิทธิพลตอความ<br />

รุนแรงของโรคแผลในทางเดินอาหารได<br />

ความสัมพันธของโรคแผลในทางเดินอาหารกับยาในกลุมตานการอักเสบที่ไมใช<br />

สเตียรอยด (NSAIDs)<br />

การใช NSAIDs เปนเวลานานจะทําใหเกิดแผลในทางเดินอาหารได ซึ่งจะพบแผลใน<br />

กระเพาะอาหารมากกวาแผลในลําไสเล็กสวนตน ปจจัยที่ทําใหเกิดแผลในทางเดินอาหาร เชน<br />

เคยมีประวัติโรคแผลในทางเดินอาหาร ขนาดยาและระยะเวลาของการไดรับยา NSAIDs กลไก<br />

ในการทําใหเกิดแผลในทางเดินอาหารเกิดจากผลโดยตรงของ NSAIDs ตอทางเดินอาหาร และ<br />

ผลที่เกิดจากการยับยั้งการสังเคราะห prostaglandin (PG) ยาในกลุม NSAIDs นอกจากจะยับยั ้ง<br />

เอนไซม cyclooxygenase ทําใหลด PGs ที่ใชในการปองกัน mucous แลวยังสรางอนุมูลอิสระที่มี<br />

ออกซิเจน (oxygen-derived free radicals) ทําใหมีการเมแทบอลิซึมผานทางวิถีทาง<br />

lipoxygenase เกิด leukotrienes ซึ่งทําใหมีการบาดเจ็บของ mucosal เพิ่มขึ้น ซึ่งรายละเอียดจะ<br />

ไดกลาวตอไป<br />

สําหรับ Adrenocorticosteroids นั้นยังคงเปนที่ถกเถียงกันอยูวามีความสัมพันธกับการ<br />

เกิดโรคแผลในทางเดินอาหารหรือไม adrenocorticosteroids จะทําใหเกิดแผลในทางเดินอาหาร


10 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ไดโดยไปเพิ่มการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร และยับยั้งการสราง prostaglandin นอกจากนี้<br />

adrenocorticosteroids จะทําใหแผลหายชาหรือยับยั้งการเจริญเติบโตของเซลลตางๆ ดังนั้น<br />

ผูปวยที่ไดรับ adrenocorticosteroids และ NSAIDs จะมีความเสี่ยงสูงตอการเกิดโรคแผลในทาง<br />

เดินอาหาร<br />

ความสัมพันธของโรคแผลในทางเดินอาหารกับสาเหตุอื่นๆ<br />

โรคแผลในทางเดินอาหารอาจพบไดในผูปวยที่ติดเชื้อไวรัส เชน cytomegalovirus, การ<br />

ไดรับการฉายรังสี หรือการไดรับเคมีบําบัดผาน hepatic artery pump, การไดรับ infusion ของ<br />

5-fluorouracil, mitomycin C, doxorubicin หรือ cisplatin ซึ่งเปนพิษโดยตรงตอทางเดินอาหาร


11 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ตารางที่ 1 ลักษณะทางคลินิกของแผลในลําไสเล็ก (Duodenal ulcer, DU), แผลใน<br />

กระเพาะอาหาร (Gastric ulcer, GU) และ Nonulcer dyspepsia(NUD)<br />

อาการ DU GU NUD<br />

ปวด + + + + + + + + + + + +<br />

ปวดเริ่มตนบริเวณลิ้นป + + + + + + + + + +<br />

คอนขางแรง + + + + + + + +<br />

ปวดเวลากลางคืน (nocturnal) + + + + + + + +<br />

อาการปวดแผไปดานหลัง + + + + + +<br />

บรรเทาเมื่อไดรับยาลดกรด + + + + + + + + + + +<br />

อาการปวดเพิ่มขึ้นเมื่อไดรับอาหาร + + + + +<br />

อาหารบรรเทาลงเมื่อไดรับอาหาร + + + + + + +<br />

heartburn + + + + + +<br />

ทองอืด + + + + + + + + +<br />

คลื่นไส + + + + + + +<br />

อาเจียน + + + + + +<br />

เบื่ออาหาร + + + +<br />

น้ําหนักลด + + + + +<br />

พบตลอดสม่ําเสมอ (+ + + +) , พบบอย (+ + + ) , พบไมบอย (+ +), ไมคอยพบ (+)


12 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ปจจัยเสี่ยงที่มีผลตอการเกิดโรคแผลในทางเดินอาหาร<br />

1. การสูบบุหรี่<br />

การสูบบุหรี่จะเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคแผลในทางเดินอาหาร และอัตราเสี่ยงจะ<br />

เพิ่มขึ้นเมื่อปริมาณการสูบเพิ่มขึ้น (มากกวา 10 มวนตอวัน) การสูบบุหรี่จะมีอิทธิพลตอการเกิด<br />

แผลในทางเดินอาหาร การกลับเปนใหม การหายของแผลและความซับซอนของโรคตางๆ ที่<br />

ตามมา กลไกที่เกิดขึ้นอาจเกิดจากการเรง gastric emptying ของของเหลวตางๆ การยับยั้ง<br />

การหลั่งไบคารบอเนตจากตับออน การเกิด duodenogastric reflux การกระตุ นการหลั่งกรด<br />

การเปลี่ยนแปลงเลือดที่ไปเลี้ยง mucosal และการลดการสราง mucosal prostaglandin ผลที่บุหรี่<br />

ทําใหเพิ่มความเสี่ยงของการเกิดโรคแผลในทางเดินอาหารนั้นยังไมมีขอมูลชัดเจน วาเกิดจาก<br />

สาเหตุใด สวนนิโคตินจะมีบทบาทอยางไรคงตองทําการศึกษาตอไป<br />

2. ปจจัยทางพันธุกรรม<br />

มีรายงานวาการติดเชื้อ Helicobacter pylori ซึ่งสัมพันธกับการมีแกสตรินในเลือดสูง<br />

(hypergastrinemia) และ hyperpepsinogenemia I มีความเปนไปไดวาเกี่ยวของกับการถายทอด<br />

ทางพันธุกรรม ซึ่งถายทอดทาง autosomal dominance และพบวาผูที่มีเลือดกลุมโอมีโอกาสเกิด<br />

โรคแผลในทางเดินอาหารมากกวาผูที่มีเลือดกลุมอื่นๆ และโรคทางพันธุกรรมบางโรคเชน โรค<br />

multiple endocrine neoplasia (MEN) type I , โรค systemic mastocytosis และโรค<br />

amyloidosis type IV มีความสัมพันธกับการเกิดโรคแผลในทางเดินอาหาร<br />

3. ปจจัยทางดานจิตใจ<br />

ภาวะเครียดจะทําใหเกิดโรคแผลในทางเดินอาหารเพิ่มขึ้นหรือไม ยังไมมีหลักฐานที่<br />

สนับสนุนเพียงพอ แตมีหลักฐานทางคลินิกพบวาผูปวยโรคแผลในทางเดินอาหารมีอิทธิพลของ<br />

ความเครียดเขามาเกี่ยวของ และผูที่มีภาวะเครียดจะมีพฤติกรรมตอภาวะเสี่ยงเพิ่มขึ้นเชนการสูบ<br />

บุหรี่ การใชยาในกลุมตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด การเปลี่ยนแปลงการตอบสนองตอการ<br />

อักเสบ ความตานทานตอการติดเชื้อ Helicobacter pylori ลดลง เนื่องจากความยากในการ<br />

ประเมินการตอบสนองตอความเครียด บทบาทในการกอใหเกิดพยาธิสภาพของความเครียดจึง<br />

ไมแนนอน<br />

4. ปจจัยทางดานอาหาร<br />

บทบาทของสารอาหาร อาหารและเครื่องดื่มตอการเกิดแผลในทางเดินอาหาร<br />

ไมแนนอน ตัวอยางเชน ชา กาแฟ โคลา เบียร นม และเครื่องเทศ อาจทําใหเกิดอาการ<br />

dyspepsia แตไมมีรายงานการเพิ่มความเสี่ยงตอการเกิดแผลในทางเดินอาหาร พบวาคาเฟอีน<br />

เปนตัวกระตุนการหลั่งกรดในกระเพาะอาหาร สวนประกอบตางๆในชาหรือกาแฟที่ไมมีคาเฟอีน


13 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

เบียรและไวน อาจเกี่ยวของในการเพิ่มการสรางกรดในกระเพาะอาหาร เอธานอลในความเขมขน<br />

สูงๆ จะเกี่ยวของกับการเกิด acute gastric mucosal damage และการเกิดเลือดออกในทางเดิน<br />

อาหารสวนบนได แตยังไมมีหลักฐานเพียงพอที่จะกลาวไดวาเอธานอลทําใหเกิดโรคแผลในทาง<br />

เดินอาหาร<br />

5. โรคอื่นๆ ที่สัมพันธกับโรคแผลในทางเดินอาหาร<br />

พบโรคแผลในทางเดินอาหารเพิ่มขึ้นในผูปวยที่เปนโรค reflux esophagitis และ<br />

Barrett’s esophagus สําหรับผูปวยโรคปอดเรื้อรังและมะเร็งปอด ที่มีการสูบบุหรี่รวมดวยจะมี<br />

โอกาสการเกิดโรคแผลในทางเดินอาหารเพิ่มขึ้น มีรายงานการเกิดแผลในทางเดินอาหารเพิ่มขึ้น<br />

ในผูปวยโรค rheumotoid arthritis ที่มีการใชยาแอสไพริน ยาตานการอักเสบที่ไมใชสเตียรอยด<br />

และยาในกลุม adrenocorticosteroids รวมทั้งผูปวยที่เปน cirrhosis มีรายงานไมพบความ<br />

สัมพันธของโรคแผลในทางเดินอาหารกับผูปวยที่เปนโรค pernicious anemia, atrophic gastritis,<br />

Addison’s disease, autoimmune thyroid diseases และโรค hypothyroidism<br />

การรักษาโรคแผลในทางเดินอาหาร<br />

จุดประสงคในการรักษาโรคแผลในทางเดินอาหารคือ เพื่อบรรเทาอาการปวดของผูปวย<br />

ชวยเรงใหแผลหายเร็วขึ้น ลดการกลับเปนใหม และลดอาการแทรกซอนอื่นๆ ที่อาจเกิดขึ้นตาม<br />

มา โรคแผลในทางเดินอาหารนั้นมีปจจัยตางๆ ที่เขามาเกี่ยวของและมีอิทธิพลตอการหายของ<br />

แผล ดังนั้นในการรักษานอกจากการใชยาแลว จะตองพิจารณาปจจัยอื่นๆ ที่มีบทกระทบดวย<br />

อัตราการหายของโรคแผลในทางเดินอาหารจะขึ้นกับสาเหตุความรุนแรงของโรคที่เปน<br />

ปจจัยเสี่ยงตางๆ ที่มีผลกระทบ รวมทั้งความรวมมือของผูปวย การใชยาจะชวยทําใหแผลใน<br />

ทางเดินอาหารหายเร็วขึ้น สําหรับโรคแผลในกระเพาะอาหารนั้นการหายของแผลจะไมสัมพันธกับ<br />

การกดการหลั่งกรด (ตางจากการเกิดแผลที่ลําไสเล็ก) การใชยาในการรักษาโรคแผลในทางเดิน<br />

อาหาร นอกจากจะรักษาโรคแผลในทางเดินอาหารที่เปนอยูแลว ยังอาจปองกันการกลับมาเปน<br />

ซ้ําโดยใหยาแบบตอเนื่องได ซึ่งจะกลาวในรายละเอียดตอไป<br />

ยาที่ใชในการรักษาโรคแผลในทางเดินอาหาร<br />

1. H 2 receptor antagonists (H 2 RA)<br />

ตัวอยางเชน cimetidine, ranitidine, famotidine, nizatidine เปนตน กลไกการออกฤทธิ์<br />

ยาในกลุม H 2 RA จะไปแยงที่ฮีสตามีนในการจับกับ histamine (H 2 ) receptor บน basolateral<br />

membrance ของ parietal cell แบบแยงที่และผันกลับได ทําใหลดการสราง cyclic AMP ใน<br />

cytosol ซึ่งเปน secondary messenger ที่สําคัญที่จะไป activate proton pump (hydrogen,<br />

potassium ATPase) ใหมีการคัดหลั่ง hydrogen ions โดยแลกเปลี่ยนกับ potassium ions เขาสู<br />

เซลล เมื่อระดับของ cyclic AMP ภายในเซลลลดลง ทําใหลดการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารที่ถูก


14 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

กระตุนดวยฮีสตามีนดวย พบวาการที่ฮีสตามีนมีผลตอ cyclic AMP และวิถีทางของแคลเซียม<br />

จะมีผลยับยั้งการหลั่งกรดที่ parietal cell ได ยา H 2 RA จะยับยั้งการหลั่งกรดไดทั้งชนิด basal<br />

nocturnal และ pentagastrin secretion และรวมถึงการคัดหลั่งกรดที่ถูกกระตุนดวย insulin<br />

อาหาร และอื่นๆ<br />

สูตรโครงสรางทางเคมีของยาในกลุม H 2 RA จะมีความแตกตางกัน คือ cimetidine<br />

famotidine และ ranitidine จะมีสูตรโครงสราง ประกอบดวย imidazole ring (เชนเดียวกับ<br />

histamine) , thiazole และ furan rings ตามลําดับ สําห รับ nizatidine จะประกอบดวย thiazole<br />

ring ของ famotidine และ side chain ของ ranitidine สวน roxatidine acetate มีโครงสรางคอน<br />

ขางจะแตกตางจาก H 2 RA ชนิดอื่นคือเปนอนุพันธของ piperidine และมี double ring structure<br />

ยาในกลุมนี้เนื่องจากมีลักษณะโครงสรางทางเคมีที่แตกตางกันมีผลทําใหมีความแตกตางในความ<br />

แรงของการออกฤทธิ์ของยา ตั้งแตความแรงต่ําสุด (cimetidine) จนถึงความแรงสูงสุด<br />

(famotidine) การเพิ่มความแรงของยาไมไดบอกถึงการเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษา ถาในการ<br />

รักษาเราใหการรักษาตามขนาดที่สามารถยับยั้งการหลั่งกรดได ซึ่งจะทําใหอัตราการหายหรือประ<br />

สิทธิภาพทางคลินิกของยา H 2 RA ไมแตกตางกันไมวาจะเปนการรักษาโรคแผลในกระเพาะอาหาร<br />

หรือแผลในลําไสเล็ก และไมวาจะใหยาวันละครั้งเดียว (หลังอาหารเย็นหรือกอนนอน) หรือแบง<br />

ใหวันละหลายครั้ง โดยการใหยาวันละ 2 ครั้ง จะชวยกดการหลั่งกรดในตอนกลางวันจะมี<br />

ประโยชนในผูปวยที่ปวดทองตอนกลางวัน ในผูปวยแผลในลําไสเล็กจะใหยาเปนเวลา 6-8 สัปดาห<br />

และอาจใหยานานขึ้นถาผูปวยมีปจจัยเสี่ยงอื่นหรือ หากทําการรักษาแลวยังไมหายขาดอาจใหยา<br />

ตออีก 2-4 สัปดาห สวนแผลในกระเพาะอาหารจะใหยาประมาณ 8 สัปดาห ถาแผลมีขนาดใหญ<br />

อาจใชเวลา 12 สัปดาห<br />

เมื่อใหยากลุม H 2 RA โดยการรับประทาน มีการดูดซึมเร็ว แตไมสมบูรณเกิด first pass<br />

metabolism ความเขมขนสูงสุดพบ 1-3 ชั่วโมงหลังใหยา มีคาชีวสมมูลยรอยละ 30-80 สําหรับ<br />

ranitidine, cimetidine และ famotidine สวน nizatidine มีคาชีวสมมูลยรอยละ 98 การใชยา<br />

H 2 RA พรอมกับยาลดกรดหรือ sucralfate จะลดการดูดซึมของยา H 2 RA ลงรอยละ<br />

10-30 สําหรับอาหารจะไมรบกวนตอการดูดซึมของยา H 2 RA ยา H 2 RA จะสามารถกระจายไป<br />

ไดทั่วรางกาย รวมทั้งสามารถผาน blood brain barrier และรกได และยังถูกขับออกทางน้ํานมได<br />

cimetidine จะผาน blood brain barrier ไดดีที่สุด ยา H 2 RA ทุกชนิดจับกับพลาสมาโปรตีนต่ํา<br />

(รอยละ 15-30) มีการเปลี่ยนแปลงสวนใหญที่ตับ และขับถายทางไต โดยขบวนการกรองและการ<br />

ขับออก (renal tubular secretion) ทางไต คาครึ่งชีวิตของการขจัดยา ของ cimetidine ranitidine<br />

และ nizatidine สั้นประมาณ 1.5 ชั่วโมง ของ famotidine ประมาณ 4 ชั่วโมง ที่นานที่สุดคือ<br />

roxatidine ประมาณ 4-8 ชั่วโมงในรายที่มีความบกพรองในการทํางานของไต พบวาคาครึ่งชีวิต<br />

จะเพิ่มขึ้น 2-10 เทาจึงมีความจําเปนตองปรับขนาดของยา H 2 RA ในผูปวยที่ทํา peritoneal<br />

dialysis หรือ hemodialysis ไมจําเปนตองใหยาเพิ่ม และผูปวยที่มี hepatic dysfunction ไมมี<br />

ความจําเปนตองปรับขนาดยาเชนเดียวกัน ยกเวนในรายที่มี severe liver failure


15 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ผูปวยโดยทั่วไปทนอาการขางเคียงได อาการขางเคียงที่พบเชนอาการตอระบบทางเดิน<br />

อาหาร (ทองเสียหรือทองผูก) ระบบประสาทสวนกลาง (ปวดศีรษะ, มึนงง, งวงนอน, สับสน)<br />

ระบบหัวใจและหลอดเลือด (หัวใจเตนชา ความดันโลหิตต่ําและหัวใจเตนผิดจังหวะ) ตอไต<br />

(cimetidine รบกวน glomerular filtration และ tubular secretion ของ creatinine) ผลตอตับ<br />

(การเพิ่ม hepatic transaminase เมื่อหยุดยาระดับเอนไซมลดลง) อาจพบผลตอระบบเลือดคือ<br />

เกิด thrombocytopenia และผลตอตอมไรทอคือ ในผูปวยชายที่ไดรับ cimetidine ในขนาดสูงหรือ<br />

เปนเวลานานอาจเกิดหนาอกโตในเพศชาย (gynecomastia) หรือ impotence เนื่องจากฤทธิ์<br />

antiandrogen ของยา อาการขางเคียงจะพบเพิ่มขึ้นในคนสูงอายุ ผูปวยโรคตับ ผูปวยโรคไต<br />

รวมทั้งการไดรับยาในขนาดสูง


16 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

รูปที่ 2 สูตรโครงสรางทางเคมีของยากลุม H 2 receptor antagonists


17 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

การเกิดปฏิกิริยาตอกันระหวางยา อาจเกิดไดหลายกลไก เชน<br />

ก. การที่ H 2 RA ไปเพิ่ม intragastric pH ทําให bioavailability ของยาที่ใหโดยการรับประทาน<br />

รวมกันเปลี่ยนไป เชน ketoconazole<br />

ข. การที่ H 2 RA จับกับ cytochrome P 450 mixed-function oxidase ที่ตับ แบบผันกลับได ผล<br />

คือจะลดความสามารถในการกําจัดยาที่เกิดการเปลี่ยนแปลงยาในระยะที่ 1 (โดยเฉพาะผลตอ<br />

ปฏิกิริยา oxidation) ยาในกลุม H 2 RA ที่มีรายงานในฤทธิ์ของการยับยั้งการทํางานของ<br />

เอนไซม ไซโตโครม พี 450 ที่ตับคือ cimetidine ซึ่งจะตองระวังเมื่อใชยาที่มี therapeutic<br />

range แคบ เชน phenytoin, warfarin และ theophylline เปนตน สวน ramitidine จะจับกับ<br />

cytochrome P 450 ไดนอยกวา จึงมีโอกาสทําใหมีการเปลี่ยนแปลงของเมแทบอลิซึมของยา<br />

อื่นๆ นอยลง สําหรับ famotidine และ nizatidine ไมจับกับ cytochrome P450<br />

ค. การที่ H 2 RA ยับยั้งเอนไซม gastric mucosal alcohol dehydrogenase (ADH) ทําใหมีผล<br />

ตอการเมแทบอลิซึมของเอธานอลที่ mucosal<br />

ง. การที่ H 2 RA ไปยับยั้งการขจัดยาทางไตโดยยับยั้งขบวนการ renal tubular secretion ทําใหมี<br />

ผลตอยาที่ขจัดทาง renal tubular secretion เชน procainamide acecainide และ<br />

theophylline<br />

ตัวอยางยาที่เกิดปฏิกิริยากับ cimetidine<br />

: ketoconazole ความเขมขนของยาในเลือดลดลง เนื่องจากการเพิ่ม pH ในทางเดิน<br />

อาหารทําให dissolution ของ ketoconazole ลดลง การดูดซึม ketoconazole จึงลดลง<br />

: warfarin, theophylline, caffeine, phenytoin, carbamazepine, propranolol,<br />

nifedipine, lidocaine, quinidine, imipramine, disipramine, triazolam, meperidine และ<br />

metronidazole ความเขมขนของยาในเลือดจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการลดเมแทบอลิซึมที่ตับ<br />

: procainamide และ acecainide ความเขมขนของยาในเลือดจะเพิ่มขึ้น เนื่องจากมีการ<br />

แยงที่ในการขับออก (renal tubular secretion)<br />

ในทางตรงขาม ยา H 2 RA อาจถูกรบกวนโดยยาอื่นทําใหการดูดซึมลดลงได เชน ยาลด<br />

กรด จะทําใหชีวสมมูลยของ cimetidine, ranitidine และ famotidine ลดลงรอยละ 30-40 ดังนั้น<br />

ควรใหยาลดกรดอยางนอย 2 ชั่วโมง กอนหรือหลังใหยา H 2 RA Propantheline อาจเพิ่มการดูด<br />

ซึมของยา H 2 RA และ metoclopramide อาจลดการดูดซึมลง การให cimetidine รวมกับ<br />

phenobarbital จะทําให hepatic metabolism ของ cimetidine เพิ่มขึ้นรอยละ 40 สงผลให<br />

ชีวสมมูลยลดลงรอยละ 20 ดังนั้นการใหยา H 2 RA รวมกับยาอื่นจึงตองระวังการเกิดปฏิกิริยา<br />

ตอกันระหวางยาไวเสมอ<br />

การเลือดยา H 2 RA ชนิดใดนอกจากจะพิจารณาประสิทธิภาพของยาแลว ขอใหคํานึงถึง<br />

ราคายา ผลขางเคียง การทําปฏิกิริยากับยาตัวอื่นและความสะดวกในการรับประทาน แมวาการ


18 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

รักษาแผลในลําไสเล็กและแผลในกระเพาะอาหารดวยยา H 2 RA จะใหผลดีสามารถทําใหแผลหาย<br />

ได แตพบวารอยละ 80 ของผูปวยที่หายจะกลับเปนแผลซ้ําอีกใน 1 ป ดังนั้นการให maintenance<br />

therapy ในระยะยาวดวย ยา H 2 RA ในขนาดครึ่งหนึ่งของขนาดมาตรฐานที่ใชรักษา (ตารางที่<br />

3) โดยใหยาวันละครั้งกอนนอนจะชวยลดอัตราการเกิดแผลซ้ําใน 1 ป เหลือเพียงรอยละ 10-20


19 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ตารางที่ 2 ยาที่เกิดปฏิกิริยาตอกันระหวางยากับ cimetidine<br />

Ketoconazole<br />

Phenytoin<br />

Nifedipine<br />

Procainamide<br />

Theophylline<br />

Warfarin<br />

Alcohol<br />

ยา ผลตอระดับยาในเลือด กลไกการเกิดปฏิกิริยา<br />

ลด<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

Benzodiazepines<br />

Carbamazepines<br />

Propranolol<br />

Quinidine<br />

TCAs<br />

Verapamil<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

เพิ่ม<br />

การดูดซึมเนื่องจากการเพิ่มความเปนดาง<br />

ยับยั้งเมแทบอลิซึม<br />

เพิ่มพื้นที่ภายใตกราฟ รอยละ 60-90<br />

แยงที่ในการขับออก (renal tubular secretion)<br />

ยับยั้งเมแทบอลิซึม<br />

ยับยั้งเมแทบอลิซึม<br />

ยับยั้งเอนไซม gastric alcohol<br />

dehydrogenase<br />

ยับยั้งแมเทบอลิซึม<br />

ยับยั้งแมเทบอลิซึม<br />

ยับยั้งแมเทบอลิซึม<br />

ยับยั้งแมเทบอลิซึมและลดการกําจัดทางไต<br />

ยับยั้งแมเทบอลิซึม<br />

ลด clearahce<br />

ตารางที่ 3 H 2 RA ที่มีใชกันทางคลินิก<br />

ชื่อยา Cimetidine Ranitidine Nizatidine Famotidine<br />

ความแรง* 1 4-10 4-10 20-50<br />

ขนาดยา (มก.) รักษาแผลใน<br />

ทางเดินอาหาร<br />

400 bid,<br />

800 hs<br />

150 bid<br />

300 hs<br />

150 bid<br />

300 hs 40 hs<br />

ขนาดยาที่ปองกันการกลับเปน<br />

ซ้ํา (มก.)<br />

400 hs 150 hs 150 hs 20 hs<br />

* เปรียบเทียบกับ cimetidine


20 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ตารางที่ 4 เภสัชจลนศาสตรของยาในกลุม H 2 RA<br />

ชื่อยา Cimetidine Ranitidine Nizatidine Famotidine<br />

ชีวสมมูลย (รอยละ) 30-80<br />

(60)<br />

30-88<br />

(50)<br />

75-100<br />

(98)<br />

37-45<br />

(43)<br />

เวลาที่ยามีความเขมขนสูงสุด (ชั่วโมง) 1-2 1-3 1-3 1-3<br />

ปริมาตรการกระจายตัว(ลิตร/กก.นน.ตัว) 0.8-1.2 1.2-1.9 1.2-1.6 1.1-1.4<br />

การจับกับพลาสมาโปรตีน (รอยละ) 13-26 15 26-35 16<br />

การขจัดยาออกจากรางกาย (clearance) 450-650 568-709 667-850 417-483<br />

(มล/นาที)<br />

โดยการรับประทาน 60 73 22 50-80<br />

โดยการฉีดเขาหลอดเลือดดํา 25-40 30 25 25-30<br />

การขจัดยาทางไต (รอยละ)<br />

โดยการรับประทาน 40 27 57-65 25-30<br />

โดยการฉีดเขาหลอดเลือดดํา 50-80 50 75 65-80<br />

คาครึ่งชีวิต (ชั่วโมง) 1.5-2.3 1.6-2.4 1.1-21.6 2.5-4<br />

ดัดแปลงจาก Applied therapeutics, 1995


21 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ในการใช H 2 RA รักษาโรคแผลในทางเดินอาหารตามขนาดในตารางที่ 3 จะทําใหมีอัตรา<br />

การหายของแผลไมแตกตางกัน มีรายงานรอยละ 8 ของผูปวยอาจตองเพิ่มระยะเวลาการรักษาให<br />

นานขึ้น การใช H 2 RA จะชวยบรรเทาอาการของผูปวยและชวยปองกันการเกิดโรคซ้ําซอนที่ตาม<br />

มา และ H 2 RA สามารถชวยปองกันการกลับเปนซ้ําของโรคได โดยใหยาในขนาดครึ่งหนึ่งของ<br />

ขนาดที่ใชรักษาและใหกอนนอน ซึ่งจะใหผูปวยที่มีอาการของโรคกลับเปนซ้ําบอยๆ (มากกวา 3<br />

ครั้งตอป) ผูปวยซึ่งมีความซับซอนของโรค เชน มีเลือดออกหรือในผูปวยที่มีความเสี่ยงสูงหาก<br />

ตองทําการผาตัด นอกจากนี้ยังมีการใช H 2 RA ในการรักษาโรคตอไปนี้<br />

ก. Zollinger – Ellison syndrome (ZES)<br />

ขนาด H 2 RA ที่ใชในขนาดสูงทุก 6 ชั่วโมงเพื่อรักษาปริมาณกรดที่หลั่งไมเกิน 10<br />

มิลลิโมลตอชั่วโมง โดยขนาดที่ใหตอวันคือ cimetidine ไมเกิน 13.2 กรัม ranitidine ไมเกิน 3.6<br />

กรัม famotidine ไมเกิน 480 มิลลิกรัม ถาไมไดผลบางรายอาจใหรวมกับยา anticholinergic ใน<br />

ปจจุบันผูปวยมักไมใชยาในกลุมนี้รักษา ZES เนื่องจากราคาสูง อาการขางเคียงและความ<br />

ไมสะดวกในการใชยา ผูปวยจะเปลี่ยนไปใชยาในกลุม proton pump inhibitors มากกวา ผูปวย<br />

บางรายอาจไมตอบสนองตอ H 2 RA ในขนาดสูงโดยไมสามารถอธิบายไดวาเกิดจากสาเหตุใด<br />

ข. Gastroesophageal reflux disease (GERD)<br />

อาการของ GERD จะมีตั้งแตพบเฉพาะอาการแตไมมีการทําลายหลอดอาหาร หรือการ<br />

อักเสบเกิดขึ้น จนกระทั่งอาการรุนแรงถึงขึ้น erosive หรือ ulcerative esophagitis และมี<br />

complication ตางๆ ตามมามีหลายปจจัยที่มีผลตอการเกิด GERD เชน ปริมาณของ gastric acid<br />

และเปบซินที่ไหลยอนเขาสูหลอดอาหาร ระยะเวลาที่กรดและเปบซินสัมผัสกับหลอดอาหาร และ<br />

ความไวของ mucosa ในการถูกทําลายจากกรดและเปบซินเปนตน (รายละเอียดจะกลาวตอไป)<br />

ในบางรายงานการให cimetidine 1.0-1.6 กรัมตอวัน เปนเวลา 6-12 สัปดาห จะใหผลในการ<br />

รักษาแตสวนใหญจะไมใหผลในการรักษา ranitidine ขนาด 150 มก.วันละ 2 ครั้งเปนเวลา 6<br />

สัปดาห ไดผลในการรักษาดี และเมื่อเพิ่มขนาดของ H 2 RA ใหสูงกวาขนาดปกติที่ใชรักษาแผลใน<br />

ทางเดินอาหาร จะทําใหผลการรักษาดีขึ้นอัตราการหายของแผลนั้นไมขึ้นกับเพศ อายุ น้ําหนัก<br />

หรือระยะเวลาการเปนโรค แตจะขึ้นกับความรุนแรงของโรคที่เปน<br />

ค. Stress ulcer และ Erosions<br />

ผูปวยที่เปนแผลในทางเดินอาหารเนื่องจากความเครียด หากไมทําการรักษาอาการของ<br />

โรคจะรุนแรงขึ้นและสงผลตอระบบตางๆ ของรางกายได (เชน ระบบไหลเวียนโลหิตลมเหลว<br />

ระบบหายใจลมเหลว ไตวาย ตับไมทํางานเปนตน) พยาธิสภาพของการเกิด การทําลายเยื่อ<br />

เมือกคอนขางซับซอน แตไมมีผลตอระบบประสาทสวนกลาง ปจจัยที่ทําใหเกิดพยาธิสภาพที่<br />

สําคัญคือการลดปริมาณเลือดที่ไปยังบริเวณเยื่อเมือก การลดการหลั่งเมือกและไบคารบอเนต มี<br />

การใช H 2 RA ในหลายๆ ขนาดและวิธีการใหยาที่แตกตางกัน (เชน การใหยาขนาดเดียว การให


22 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ยาแบบซึมซาบ เปนตน) เปนที่ยอมรับกันวาการทําให pH ในกระเพาะสูงกวา 4 จะปองกันแผลใน<br />

กระเพาะอาหารที่เกิดจากความเครียดได<br />

2. Proton pump inhibitor (PPI)<br />

ตัวอยางเชน omeprazole, lansoprazole, pantoprazole, rabeprazole esomeprazole<br />

เปนตน<br />

ยาในกลุม PPI จะยับยั้งการหลั่งกรดในกระเพาะอาหารทั้งภาวะปกติและภาวะที่ถูก<br />

กระตุน เมื่อใหยาในกลุม PPI ยาจะอยูในรูป parent compound เมื่ออยูในสภาวะที่เปนกรด จะ<br />

เปลี่ยนเปน active metabolites คือ sulfenamide จับโดยใชัพันธะโควาเลนทกับกลุมซัลไฮดริล<br />

ของเอนไซม H + /K + ATPase ที่ apical membrance และ tubulovesicles รอบๆ secretory<br />

canaliculi ของ parietal cell โดยจับแบบ noncompetitive และการยับยั้งเปนแบบไมผันกลับ ทํา<br />

ใหฤทธิ์ในการรักษาของยาในกลุม PPI นานเนื่องจากตองรอการสรางเอนไซม H + /K + ATPase<br />

ขึ้นมาใหม ยาในกลุม PPI เปนดางออนๆ (pKa = 4) จะถูกทําลายอยางรวดเร็วในสิ่งแวดลอมที่<br />

เปนกรด ฉะนั้นการใหยาในกลุม PPI จะใหยาในรูปเจลาติน แคปซูล ซึ่งบรรจุ pH-sensitive<br />

granules (enteric-coated granules) จะปลดปลอยยาเมื่อ pH ในทางเดินอาหารมากกวา 6 ยาจะ<br />

มีการปลดปลอยและดูดซึมที่ลําไสเล็ก และถูกสงไปที่ parietal cell โดยเปลี่ยนใหเปน active<br />

metabolite จับกับเอนไซมตอไป กรณีที่ผูปวยกลืนยาไมได จะเปดแคปซูลแลวนําแกรนูลใสในน้ํา<br />

ที่มีความเปนกรด (acidic juice) เพื่อหลีกเลี่ยงการเกิด dissolution ของ protective coating<br />

ยาในกลุม PPI จะถูกดูดซึมไดเร็ว ความเขมขนสูงสุดภายใน 12-17 นาที เกิด<br />

presystemic metabolism โดยขึ้นกับขนาดของยาที่ให คาชีวสมมูลยเทากับรอยละ 30-50 คา<br />

ปริมาตรการกระจายตัวเทากับ 0.31 ลิตรตอกิโลกรัม จับกับพลาสมาโปรตีนรอยละ 95 เกิด<br />

เมแทบอลิซึมที่ตับ มีคาครึ่งชีวิต 1 ชั่วโมง ขับถายทางปสสาวะรอยละ 80 และทางอุจจาระรอยละ<br />

20 ฤทธิ์ในการยับยั้งการหลั่งกรดเกิดนาน จึงสามารถใหยาวันละครั้ง กอนรับประทานอาหารเชา<br />

ได และไมตองปรับขนาดยาในผูปวยโรคไต<br />

อาการขางเคียงจะคลายกับยาในกลุม H 2 RA ไมคอยพบและผูปวยสามารถทนอาการ<br />

ขางเคียงได เชน ผลตอระบบทางเดินอาหาร (คลื่นไส ทองรวง ทองผูก ปวดทอง) ผลตอระบบ<br />

ประสาทสวนกลาง (ปวดศีรษะ มึนงง) มีรายงานการเกิด หนาอกโตในเพศชาย โลหิตจาง ชา<br />

ตามปลายประสาท เปนตน<br />

ยาในกลุม PPI ถูกเมแทบอลิซึมที่ตับโดยจับกับเอนไซมไซโตโครม พี 450 อาจรบกวน<br />

การเมแทบอลิซึมของยาอื่นที่ตับ (cytochrome II C subfamily) จึงอาจลดเมแทบอลิซึมของยา<br />

หลายชนิดเชน diazepam, phenytoin, warfarin และ tolbutamide เปนตน<br />

ขนาดของยา omeprazole ที่ใชไดผลในการรักษาแผลที่ลําไสเล็ก คือ 20 มิลลิกรัมตอวัน<br />

หรือ lansoprazole 15 มิลลิกรัมตอวัน เปนเวลา 4 สัปดาห ผลจะแตกตางกันในแตละบุคคลขึ้น<br />

กับปจจัยเสี่ยงเชน การสูบบุหรี่ การไดรับยา NSAIDs ฯลฯ รวมทั้งขนาดและความรุนแรงของ<br />

แผลเมื่อเปรียบเทียบกับ H 2 RA พบวายาในกลุม PPI จะมีอัตราการหายของแผลดีกวา และ


23 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

อาการจะหายเร็วกวา ควรลดขนาดยาลงในผูปวยโรคตับ แตในผูปวยโรคไตและคนสูงอายุไมตอง<br />

ลดขนาดยาลง


24 โรคแผลในทางเดินอาหารและการรักษา<br />

-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------<br />

ตารางที่ 5 เภสัชจลนศาสตรของยาในกลุม PPI<br />

พารามิเตอร Omeprazole Lansoprazole Pantoprazole Rabeprazole<br />

ชีวสมมูลย (%)<br />

25-40 80-90 77<br />

52<br />

( เมื่อใชยา<br />

หลายขนาด)<br />

เวลาที่ความเขมขนของยาสูงสุด<br />

(ช.ม.)<br />

คาครึ่งชีวิต (ช.ม.)<br />

clearance (ลิตร/ช.ม.)<br />

Vd (ลิตร/กก.)<br />

linear pharmacokinetics<br />

ระยะเวลาการออกฤทธิ์ (ช.ม.)<br />

การจับกับพลาสมาโปรตีน<br />

ผลของ<br />

. อายุ<br />

1-6<br />

0.5-1.2<br />

24-37.2<br />

0.13-0.35<br />

No<br />

≤72<br />

95<br />

Cl ,T1/2<br />

1.2-2.1<br />

0.9-2.1<br />

24-39<br />

0.4<br />

Yes<br />

>24<br />

97<br />

Cl , ,T1/2<br />

2-4<br />

0.8-2.0<br />

5.4-13.5<br />

0.15<br />

Yes<br />

-<br />

-<br />

Cl ,T1/2<br />

3-5<br />

0.6-1.4<br />

-<br />

-<br />

Yes<br />

>24<br />

96.3<br />

Cl T1/2( )<br />

. renal insufficiency<br />

Cl,T1/2<br />

Cl ,T1/2 <br />

Cl ,T1/2<br />

Cl ( ) , T1/2<br />

. hepatic dysfunction<br />

Cl<br />

,T1/2<br />

Cl<br />

,T1/2<br />

Cl , T1/2<br />

Cl<br />

,T1/2

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!