13.07.2015 Views

Management by Objective (MBO)

Management by Objective (MBO)

Management by Objective (MBO)

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

่็<strong>Management</strong> <strong>by</strong> <strong>Objective</strong> (<strong>MBO</strong>)Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand 11) การบริหาร : ภาพรวม• วิธีการบริหารแบบดังเดิมนัน จะอาศัยแผนภูมิขององค์กรและคําบรรยายลักษณะงานซึ งระบุวาบุคคลคนหนึ่ งต้องรับผิดชอบอะไรบ้าง แตไมได้สะท้อนให้เห็นวา่ ่ ่บุคคลคนนันต้องรับผิดชอบเพือให้บรรลุความสําเร็จอะไรบ้าง ดังนัน องค์กรจึงถูกมองวา่ เป็ นโครงสร้างของความรับผิดชอบและอํานาจหน้าทีตามแผนภูมิและคําบรรยายลักษณะงานทีกาหนดขึนมา ํ เชน ่ ผู้บริหารกจะถูกมองวา่ เป็ นผู้วางแผนจัดองค์กร และควบคุมกจกรรมของผู้ใต้บังคับบัญชาิ เป็ นต้น ดังนัน เขาจะมีสายความรับผิดชอบและอํานาจหน้าทีอยางชัดเจนภายในองค์กร่ การเปลียนแปลงจะเกดขึนตอเมือทําการปรับปรุงความสัมพันธ์เหลานีอยางเป็ ิ ่ ่ ่ นทางการ ดังนันวิธีการบริหารแบบดังเดิมจึงโน้มเอียงทีจะมองวาการบริหารนันอยูคงที ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand2


่่็่ั่่2) แนวความคิดของ <strong>MBO</strong>• ก) เป็ นปรัชญาของการบริหารทีสะท้อนให้เห็น “การป้ องกนปัญหา ั (Proactive)”แทนทีจะเป็ น “การแกปัญหา ้ (Reactive)” ในการบริหารงาน และยังเป็ นการบริหารที “มุงผลสําเร็จ” อีกด้วย• ข) เป็ นกระบวนการทีประกอบไปด้วยลําดับขันตอนทีเกยวพันกน ี ั ระหวาง• 1 การกาหนดเป้ ํ าหมายทีชัดเจนและรัดกุม• 2 การวางแผนการปฏิบัติงานเพือบรรลุเป้ าหมาย• 3 การควบคุมและการประเมินผลการปฏิบัติงานตามเป้ าหมาย• 4 การแกไขตามความจําเป็ ้นเพือให้บรรลุเป้ าหมาย• ตามสีข้อข้างต้น จะกลาวได้วา ่ ่ องค์ประกอบทีสําคัญของกระบวนการกคือ ็Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand9องค์ประกอบทีสําคัญของ <strong>MBO</strong>• 1) การกาหนดเป้ ํ าหมาย• 2) การวางแผนปฏิบัติงาน• 3) การควบคุมตนเอง• 4) การประเมินผลความคืบหน้าเป็ นระยะ• ซึ งสามารถขยายความเพือให้เข้าใจได้งายขึนกคือ• 1. การกําหนดเป้ าหมายขององค์กร• ผู้บังคับบัญชาจะต้องเข้าใจในเป้ าหมายและทิศทางทีองค์กรจะมุงไปอยางชัดเจนแล้วนําเป้ าหมายและทิศทางขององค์กรมาวางแผนการทํางานให้กบผู้ใต้บัง คับบัญชาPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand10


ู่ัู่ัั่• 2. แจ้งวัตถประสงค์และเป้ ุ าหมายให้ผ้ใต้บังคับบัญชาได้ทราบู• แจ้งเป้ าหมายให้ผู้ใต้บังคับบัญชาทราบ แล้วให้ผู้ใต้บังคับบัญชาไปจัดทําแผนปฏิบัติการยอยแล้วกลับมารายงานให้ทราบในเบืองต้นวาจะมีแนวทางดําเนินการอยางไร• 3. ผ้บังคับบัญชาและผ้ใต้บังคับบัญชาตกลงกันให้ชัดเจนูู• ในขันนีทังผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชาจะต้องมาหารือกน ั กอนทีจะเริมงานวา่ ่จะบรรลุเป้ าหมายรวมกนได้อยางไร่ ั ่ กรอบของระยะเวลามีเทาใด ่ เริมต้นและสินสุดเมือใด จะมีการติดตามและตรวจสอบผลการปฏิบัติงานกนอยางไร ั ่ เพือให้มีความเข้าใจตรงกนและมีการปฏิบัติงานเป็ นไปในทิศทางเดียวกนPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand11• 4. ปล่อยให้ผ้ใต้บังคับบัญชาปฏิบัติงานไปตามแผนทีได้ตกลงกัน• เมือตกลงกนตามข้อ ั 3 แล้ว ในขันนีหัวหน้ากต้องปลอยให้ลูกน้องทํางานไปตามทีเขา ็ ่ได้รับมอบหมาย ซึ งไมได้แปลวาหัวหน้าปลอยไปแล้วปลอยไปเลยแตหากลูกน้องมี่ ่ ่ ่ ่ปัญหาหรือมีอุปสรรคอยางใด ่ กยอมจะกลับมาหารือกบหัวหน้าได้เสมอ็ ่• 5. ผ้บังคับบัญชาตรวจสอบและติดตามผลการปฏิบัติงาน• ในขันนีหัวหน้ากจะต้องมีการตรวจสอบความคืบหน้าของงานวาลูกน้องทํา ็ ่ งานไปได้เทาไร ่ ซึ งหัวหน้ากจะต้องกาหนดวิธีการติดตามผลในรูปแบบตาง็ ํ ่ ๆ เชน ่ การให้ลูกน้องรายงานความคืบหน้าในทีประชุม การให้ทําเป็ นรายงาน เพือเปรียบเทียบกบัเป้ าหมายวาลูกน้องสามารถปฏิบัติงานไปได้กเปอร์เซ็นต์ตามกรอบระยะ่ ี เวลาทีตกลงกนไว้แล้ว ั และจะบรรลุเป้ าหมายเมือใด เป็ นไปตามแผนงานหรือไม่ หรือจะต้องมีการปรับเปลียนแผนงานหรือไมอยางไร ่ ่ เป็ นต้นPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand12


่่ั• 6. มีระบบรางวัลรองรับ• แนนอนวา ่ ่ หากลูกน้องสามารถปฏิบัติงานได้ตามแผนงานทีตกลงกนไว้แล้ว ั หัวหน้ากจะต้องมาพิจารณาวาจะมีการให้คุณให้โทษสําหรับลูกน้องทีมีความสาม็ ่ ารถ(หรือไมสามารถ) ทํางานนัน ๆ ได้แคไหนเพียงใด ่ บรรลุเป้ าหมายทีหารือกนไว้ในตอนแรกหรือไม่ เพราะเหตุใดPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand13• ค) เป็ นระบบการบริหารทีทําให้การวางแผนและการควบคุมองค์กร การจัดองค์กรและการมอบหมายงาน การแกปัญหาและการตัดสินใจ้ การจูงใจและการควบคุมตนเอง การประเมินผลการปฏิบัติงาน การฝึ กอบรมและพัฒนา การจายผลประโยชน์ตอบแทน และการวางแผนกาลังคน ํ งายขึน ่ Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand14


3) ประโยชน์ของ <strong>MBO</strong>ประโยชน์ของการบริหารโดยวัตถประสงค์ทีระบไว้ชัดเจนมีดังต่อไปนีุ ุ คือ• 1) บุคคลเข้าใจบทบาทและความรับผิดชอบของพวกเขาได้สมบูรณ์และชัดเจนมากขึน • 2) บุคคลรู้วาทําไมพวกเขาต้องกระทํา่ สิงนีทําให้งานของพวกเขามีความหมายมากขึน และความคับอกคับใจน้อยลงได้• 3) งานมีความเหนือยน้อยลง เพราะมีจุดโฟกสรวมกน ั ่ ั กอให้เกดความชวยเหลือกน่ ิ ่ ั• 4) การประสานงานระหวางผู้บังคับบัญชาและผู้อยูใต้บังคับบัญชาดีขึน่ ่ • 5) ความขัดแย้งระหวางหนวยงานขององค์การลดลง่ ่ และการประสานงานดีขึน • 6) คุณภาพและความรวดเร็วในการแกปัญหาดีขึน ้ และการตัดสินใจมีเหตุผลมากขึน Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand154) ความเป็ นมาของ <strong>MBO</strong> (<strong>Management</strong> By <strong>Objective</strong>)• การกําเนิดของ <strong>MBO</strong>• ผู้ให้กาเนิดคํา ํ ๆ นีรวมทังอธิบายถึงความหมายและวิธีการปฏิบัติในเรืองการบริหารงานโดยมีวัตถุประสงค์กคือ ็ ดร.ปี เตอร์ ดรักเกอร์(Prof.Dr.Peter F. Drucker) ยอดปรมาจารย์ด้านการจัดการชือดังของโลกจนได้รับสมญานามวา่เป็ น "Guru of Guru in <strong>Management</strong>" ซึ งเพิงถึงแกกรรมไปเมือปลายปี่ 2005 นีเองPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand16


่่่• ดร. ดรักเกอร์ ได้นําเสนอแนวทางการจัดการทีเรียกวา่ "การบริหารจัดการโดยมีวัตถุประสงค์" หรือ "<strong>Management</strong> <strong>by</strong> <strong>Objective</strong>" หรือ "<strong>MBO</strong>" ขึนมาเพือแกปัญหาในการทํางานรวมกนระหวางผู้บังคับบัญชากบผู้ใต้บังคับบัญ้ ่ ั ่ ั ชา และสามารถทําให้การประเมินผลการปฏิบัติงานเป็ นทียอมรับกนได้ทังสองฝ่ั ายเพือให้บรรลุผลสําเร็จตามทีองค์กรมุงหวังไว้ ่ ซึ งอาจกลาวได้วาเป็ นแนวทางสําหรับการบริหารจัดการโดยการกาหนดดัชนีชีวัดหลักให้เป็ ํ นรูปธรรมและมีความละเอียดมากยิงขึนในยุคตอมา ่ แตต้องยอมรับวาแนวคิดของ่ ่ ดร. ดรักเกอร์ในยุคทีคิด เขียนและเผยแพรหลักการ ่ <strong>MBO</strong> นันเป็ นแนวคิดทีลําสมัยมากทีเดียวPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand17ความหมายของ <strong>MBO</strong>• ดร.ดรักเกอร์ ให้ความหมายของ <strong>MBO</strong> ไว้วาหมายถึง ่ "เป็ นการบริหารซึ งผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญชารวมกนกาหนดวัตถุประสงค์่ ั ํ มาตรฐาน และเลือกปฏิบัติงาน โดยผู้ใต้บังคับบัญชามีภาระหน้าทีและความรับผิดชอบตอวัตถุประสงค์โดยมีผู้บังคับบัญชาสนับสนุน และกระตุ้นเพือให้เกดการควบคุมตนเองิ ฉะนันความสําคัญของการวางแผน และการควบคุมจึงขึนอยูกบความสามารถในการบริหาร่ ัข้อมูลโดยการสร้างความสัมพันธ์ของระบบข้อมูลกบการวางแผนั และการควบคุมสนับสนุนการตัดสินใจรวมกน ่ ั "•Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand18


ััััํํํํํ่้่ํ่• หากพูดงาย ่ ๆ ภาษาชาวบ้านกคือ ็ การบริหารจัดการโดยทีต้องมีการหันหน้าเข้าหากนัระหวางหัวหน้ากบลูกน้อง่ ั เพือพูดคุยกนในเรืองวัตถุประสงค์หรือเป้ าหมายของงานให้มีความเข้าใจตรงกนทีชัดเจนเสียกอนั ่ เรียกวาให้มีการสือสาร่ 2 ทางนันเอง ซึ งการพูดคุยกนนีจะทํากนกอนทีจะให้ลูกน้องเริมทํางานและหัวหน้าจะต้อง ่ มีความชัดเจนในเรืองของวัตถุประสงค์และเป้ าหมายเสียกอน ่ ดังนันหัวหน้างานจึงต้องมีการวางแผน มอบหมายงาน ติดตามและควบคุมเพือประเมินผลการทํางานของลูกน้องได้อยางถูกต้องและลดปัญหาความเข้าใจทีไมตรงกนลง่ ่ ั ได้มาก• ดังนัน จุดมุงหมายของ ่ <strong>MBO</strong> กคือการประสานกนระหวางความต้องการของบุคคล็ ั ่กบความต้องการขององค์กรนันเองPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand195) กระบวนการ <strong>MBO</strong>องค์ประกอบทีสําคัญ ขันตอนทีสําคัญการกาหนดเป้ ํ าหมายการวางแผนปฏิบัติงานการควบคุมตนเองการประเมินความคืบหน้า• 1.การกาหนดกลยุทธ์ขององค์การ• 2.การกาหนดเป้ าหมายขององค์การ• 3การกาหนดเป้ าหมายของหนวยงาน• 4.การกาหนดเป้ าหมายของบุคคล• 5.การกาหนดแผนปฏิบัติงาน• 6.การปฏิบัติและการแกไข• 7.การประเมินผลความคืบหน้าตามเป้ าหมายเป็ นระยะ• 8.การประเมินผลการปฏิบัติงานโดยสวนรวมเสริมแรงพฤติกรรม และการเพิมแรงจูงใจ โดย• ก. การฝึ กอบรมและพัฒนาผู้บริหาร• ข. การจายผลตอบแทน• ค. การวางแผนอาชีพและกาลังคนPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand20


่่่ํั่่่่่่่่5.1) การกาหนดเป้ ํ าหมาย (Goal Setting)• หัวใจของ <strong>MBO</strong> อยูทีการกาหนดเป้ ่ ํ าหมาย (Goal) ทีมองเห็นได้ชัดเจนและวัดได้ตรวจสอบได้ ในผลงานทีสําคัญแตละด้านของผู้บริหาร• ผู้บริหารทุกระดับต้องกาหนดเป้ ํ าหมายทีเฉพาะเจาะจง (Target) ขึนมา เป้ าหมายเหลานีต้องสอดคล้องกบกลยุทธ์ ภารกจ ิ (Mission) และวัตถุประสงค์ (<strong>Objective</strong>)ขององค์กรและของหนวยงานของพวกเขา่ เป้ าหมายของพวกเขาแตละคนต้องถูกกาหนดขึนมารวมกนระหวางพวกเขาเองและผู้บังคับบัญชาของพวกเขาํ ่ ั ่และต้องอยูภายในขอบเขตความรับผิดชอบของพวกเขาแตละคน• เป้ าหมายของผู้บริหารระดับสูงแตละคนจะถูกสือสารไปยังผู้ใต้บังคับ บัญชาของเขาPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand21• ผู้อยูใต้บังคับบัญชาจะเปลียนแปลงเป้ าหมายของผู้บังคับบัญชาของเข าให้เป็ นการกระทํา (action) และกาหนดเป้ าหมายภายในขอบเขตความรับผิดชอบของพวกเขาขึนมา เป้ าหมายของพวกเขาแตละคนจะเป็ นสวนหนึ งของเป้ าหมายของผู้บังคับบัญชาของเขาเทานัน ่ และเป้ าหมายของพวกเขาแตละคนจะมีขอบเขตแคบกวา่ รายละเอียดมากกวา่ และครอบคลุมระยะเวลาทีสันกวา• กระบวนการนีเกดขึนอยางเดียวกนในทุกระดับการบริหาร ิ ่ ัจนกระทังเรามีลําดับของเป้ าหมายทีสอดคล้องกนทังแนวดิงและแนวนอนตลอดทัวทังองค์กรั Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand22


เป้ าหมายของแผนก Aเป้ าหมายขององค์กรเป้ าหมายของแผนก Bเป้ าหมายของบุคคลเป้ าหมายของบุคคลเป้ าหมายของบุคคลการดําเนินงานการดําเนินงานการดําเนินงานการดําเนินงานการดําเนินงานการดําเนินงานPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand235.2) การวางแผนปฏิบัติงาน (Action Planning)• เมือผู้บริหารทุกระดับกาหนดเป้ ํ าหมายทีชัดเจนแล้ว ผู้ใต้บังคับบัญชาทังหลายจะวางแผนการปฏิบัติงานเพือบรรลุเป้ าหมายของพวกเขา การวางแผนปฏิบัติงานจะเกยวพันกบคําถามตอไปนีีั ่ อะไร (What) ใคร (Who) ทําไม (Why) เมือไร (When)ทีไหน (Where) และอยางไร ่ (How) (หรือ 5W1H นันเอง ) เพือให้บรรลุเป้ าหมายทีกาหนดไว้ ํPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand24


ิ่่5.3) การควบคุมตนเอง (Self-Control)• การควบคุมตนเองเป็ นองค์ประกอบทีสําคัญอยางหนึ ่ งของ <strong>MBO</strong> ผู้อยูใต้บังคับบัญชาจะต้องควบคุมพฤติกรรมและกจกรรมของแผนปฏิบัติงานเพือบรรลุเป้ าหมายด้วยตัวของเขาเอง ไมใชผู้บังคับบัญชา่ ่• การมีสวนรวมในการกาหนดเป้ ่ ่ ํ าหมายและการวางแผนปฏิบัติเป็ นสิงจําเป็ นตอการควบคุมตนเอง เพราะสิงเหลานีกอให้เกดความเข้าใจทีดีและมีความผูกพันตอ ่ ่ ิ ่เป้ าหมายมากขึน• บุคคลต้องได้รับข้อมูลย้อนกลับทีเขาจําเป็ นต้องใช้ประเมินผลความคืบหน้าและการแกไขด้วยตัวเองอีกด้วย้Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand255.4) การประเมินผลเป็ นระยะ (Periodic Review)• การประเมินผลความคืบหน้าตามเป้ าหมายทีกาหนดไว้อยางมีระบบถือเป็ ํ ่ นรากฐานแหงความสําเร็จของ่ <strong>MBO</strong> ปัญหาจะถูกระบุและอุปสรรคจะถูกขจัดออกไป• การประเมินผลเป็ นระยะควรเกดขึนบอยครังเทาทีจะเป็ ิ ่ ่ นไปได้ในทางปฏิบัติภายในชวงระยะเวลาของการบรรลุเป้ ่าหมายPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand26


่่ํํํํ่่่่่ิ่กระจายออกมาเป็ นลําดับของกจกรรมจะประกอบด้วยิ• ขันตอนที 1 การกาหนดกลยุทธ์ขององค์กร• กลยุทธ์ขององค์กรประกอบด้วยถ้อยแถลงของภารกจ ิ วัตถุประสงค์ และนโยบาย สิงเหลานีเป็ นการวิเคราะห์ความมุงหมาย รากฐานขององค์กร ทําไมองค์กรจึงดํารงอยูองค์กรให้บริการ/สินค้าอะไร องค์กรเป็ นองค์กรประเภทไหน เป็ นต้น• ขันตอนที 2 การกาหนดเป้ าหมายขององค์กร• การกาหนดเป้ ํ าหมายขององค์กรโดยสวนรวมทีเฉพาะเจาะจงในแตละด้านทีส่ ่ ะท้อนให้เห็นผลการปฏิบัติงานขององค์กรโดยสวนรวม ่ ตัวอยางเชน ่ เป้ าหมายของธุรกจอาจเป็ นการทํากาไร ํ ประสิทธิภาพของการทํางาน ฐานะทางการตลาด และอืน ๆเป็ นต้นPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand27• ขันตอนที 3 การกาหนดเป้ าหมายของหนวยงาน• ตัวอยางเชน ่ เป้ าหมายประสิทธิภาพการทํางานโดยสวนรวมอาจจะถูกระบุตอไปโดยแผนกการผลิตวาเป็ ่ นจํานวนชินในการผลิต ประมาณของเสีย ระดับต้นทุน และของคงคลัง ตลอดจนตัววัดผลการปฏิบัติงานอืน ๆ เป็ นต้น• ขันตอนที 4 การกาหนดเป้ าหมายของบุคคล• เป็ นการกาหนดเป้ ํ าหมายทีเป็ นจริงและท้าทายของสมาชิกแตละคนในองค์กร่ นัน ๆโดยทัวไปสิงเหลานีมุงหมายในการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานของบุคค ่ ่ลหรือของกลุมให้ดีขึน ่ ทังนีอาจจะรวมเป้ าหมายการพัฒนาสวนบุคคลเข้าไว้ด้วยกได้่ ็Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand28


ํ้่• ขันตอนที 5 กาหนดแผนปฏิบัติงาน• กาหนดแผนปฏิบัติงานเพือบรรลุเป้ ํ าหมายทีกาหนดไว้ ํ สิงเหลานีเกยวพันกบการระบุ ่ ี ักจกรรมหรือเหตุการณ์ทีต้องเกดขึนเพือให้บรรลุเป้ ิ ิ าหมายอยางมีป ่ ระสิทธิภาพ• ขันตอนที 6 การนําแผนไปปฏิบัติและการแกไข• สิงจําเป็ นของขันตอนนีกคือ ็ มาตรฐานเพือใช้ในการประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคลจําเป็ นต้องมีข้อมูลย้อนกลับเพือทําให้การควบคุมตนเองงายขึนPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand29• ขันตอนที 7 การประเมินความคืบหน้าตามเป้ าหมายเป็ นระยะ• ทําการประเมินความคืบหน้าตามเป้ าหมายทีกาหนดไว้เป็ ํ นระยะ รวมถึงการระบุและการแกไขปัญหา ้ และการปรับปรุงเป้ าหมายและลําดับความสําคัญใหม่ เมือจําเป็ น• ขันตอนที 8 การประเมินผลปฏิบัติงานโดยสวนรวม ่ เสริมแรงพฤติกรรมและเพิมแรงจูงใจ• โดยการฝึ กอบรมและพัฒนา การจายผลตอบแทน่ การวางแผนเส้นทางอาชีพเพือให้การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์เป็ นไปอยางมีประสิทธิภาพ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand30


ํู่่ัั่ลําดับขั นตอนกิจกรรมทีสําคัญทีขึนอย่ระหว่างกันดังต่อไปนีขันตอนทีสําคัญทีผูกเข้ากบองค์ประกอบสําคัญสิงนําเข้าจากภายนอกการกําหนดกลยุทธ์ขันตอนที 1ขันตอนที 2,3,4 ขันตอนที 5 ขันตอนที 6 ขันตอนที 7การกําหนดเป้ าหมาย•องค์การ•บุคคลการวางแผนปฏิบัติงานการปฏิบัติและการควบคุมตนเองการประเมินผลตามคืบหน้าเป็ นระยะการแก้ปัญหาสิงนําเข้าจากภายในขันตอน ที 8 ค.การวางแผนงานอาชีพและกําลังคนขันตอน ที 8 ก.การฝึ กอบรมและพัฒนาขันตอนที 8การประเมินผลการปฏิบัติงานของบุคคลผลการปฎิบัติงานตาม<strong>MBO</strong>ผลการปฏิบัติงานโดยส่วนรวมขันตอน ที 8 ข.การจ่ายผลตอบแทนตัวแปรอืนๆPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailandผลการปฏิบัติงานด้านอืนๆ31ขันตอนที 1 การกาหนดกลยุทธ์ : จุดเริมต้นของ <strong>MBO</strong> กลยุทธ์ในทีนี จะเป็ นบางสิงบางอยางที 1) สร้างความมันใจวาองค์กรกาลังทําสิงทีถูกต้องเหมาะสมกบความสามาร ่ ํ ัถและข้อจํากดขององค์กรั และสอดคล้องกบอุปสรรคและโอกาสภายในสภาพแวดล้อมขององค์กร 2) ตอบคําถามวาองค์กรต้องการเป็ ่นอะไร 3) ระบุสิงสําคัญทีสุดทีองค์กรต้องกระทํา ถ้าหากวาองค์กรต้องการบรรลุความสําเร็จ 4) กาหนดทิศทางเพือการกาหนดเป้ ํ ํ าหมายทีเจาะจง (target) และแผนงานเพือบรรลุเป้ าหมายทีเจาะจงเหลานัน Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand32


ิิํ่ั๊ํภารกจ ิ (Mission)• ภารกจขององค์กรคือถ้อยแถลงโดยทัวไปของความมุงหมายขององค์กร การกาหนดภารกจเป็ นขันตอนแรกของกระบวนการกาหนดและระบุสิงทีอง ๕กรจะเป็ น• โดยทัวไปภารกจควรจะตอบคําถามวา ิ ่ องค์กรทําอะไร (องค์กรผลิตและขายสินค้าหรือบริการอะไร?) และองค์กรผลิตและขายสินค้าหรือบริการให้แกใคร ่ ใครคือลูกค้าขององค์กร• ภารกจของ ิ ยูเนียน ออย• บริษัทดําเนินการสํารวจ การผลิต การจัดซือ และการขายนํามันดิบและกาซธรรมชาตทัวโลก และบริษัทดําเนินการผลิต การขนสง ่ และการตลาดของนํามันปิ โตรเลียมแลเคมี ……………………………………Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand35• ภารกจของ ิ อินเตอร์เนชันแนล เทเลโฟน แอนด์ เทเลกราฟ• บริษัทดําเนินธุรกจโทรคมนาคมและอิเล็กทรอนิคส์ิ ผลิตภัณฑ์ทางวิศวกรรมผลิตภัณฑ์และบริการเพือการบริโภค ทรัพยากรธรรมชาติ การประกนภัยและการเงินPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand36


่่่่่่่วัตถุประสงค์ (<strong>Objective</strong>s)• วัตถุประสงค์เป็ นองค์ประกอบอยางทีสองของกลยุทธ์่ คําวาวัตถุประสงค์(<strong>Objective</strong>) กบเป้ ั าหมาย (Goal) มักจะถูกใช้แทนกนอยูบอยครังั ่ ่ ซึ งโดยแท้จริงแล้วมันจะแตกตางกนเล็กน้อย่ ั• Richard Vancil ได้นิยามวัตถุประสงค์ไว้วา่ “แรงดลใจในอนาคต” และนิยามเป้ าหมายไว้วา่ “ผลสําเร็จ ณ. วันหนึ งในอนาคต” ดังนันจะเห็นวา• 1) วัตถุประสงค์เป็ นถ้อยแถลงทีกว้างและทัวไปทีชีให้เห็นถึงทิศทางแ ละอุดมคติในอนาคต เป้ าหมายเป็ นถ้อยแถลงของผลสําเร็จสุดท้ายทีเฉพาะเจาะจง• 2) วัตถุประสงค์ไมมีกาลเวลา ่ วัตถุประสงค์ยังยืนและไมจบสิน ่ แตเป้ ่ าหมายไมยังยืน ่ เป้ าหมายคือผลสําเร็จทีเฉพาะเจาะจงทีจบสินได้และถูกทดแทนด้วยเป้ าหมายตอมาPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand37• วัตถุประสงค์อยางหนึ ่ งของประธานาธิบดี John F. Kenedy ในปี 1960 คือ การสร้างและรักษาฐานะของประเทศให้เป็ นผู้นําทางสาขาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีเอาไว้เป้ าหมายอยางหนึ ่ งของเขา คือ การสงมนุษย์ไปยังดวงจันทร์และกลับมาอยางปลอดภัยภายในสินสุดทศวรรษนี• จะเห็นวา่ วัตถุประสงค์จะระบุขอบเขตทีองค์กรมุงความพยายามไปสู ่ แตเป้ าหมายเกยวพันกบการปฏิบัติงานเฉพาะอยางีั ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand38


่่่นโยบาย (Policies)• องค์ประกอบอยางทีสามของกลยุทธ์กคือนโยบาย่ ็• ในขณะทีวัตถุประสงค์คือถ้อยแถลงของอุดมคติ และเป้ าหมายคือผลสําเร็จทีเฉพาะเจาะจงทีต้องบรรลุ ณ. วันหนึ งในอนาคต นโยบายจะให้แนวทางทีชีให้เห็นวาการตัดสินใจควรทําอยางไร ่ และสมาชิกในองค์กรจะดําเนินการตามวัตถุประสงค์และเป้ าหมายอยางไร• นโยบายต้องสอดคล้องกบถ้อยแถลงของภารกจและวัตถุประสงค์ั ิ ดังนันนโยบายต้องถูกทบทวนและทําให้ทันสมัยอยูเสมอPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand39• นโยบายทีมีประสิทธิภาพ ควรมีลักษณะดังนี • 1) มีความยืดหยุน่ (ปรับเปลียนตามเงือนไขทีเปลียนแปลง)• 2) มีความกว้าง (ต้องครอบคลุมเงือนไขตาง ่ ๆ)• 3) มีความชัดเจน (มีเหตุผลและเป็ นลายลักษณ์อักษร)• 4) มีจริยธรรม (สอดคล้องกบจริยธรรมของสังคมั )Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand40


่ํ็่่ขั นตอนที 2, 3, 4 การกําหนดเป้ าหมายสภาพแวดล้อมภายนอก :อุปสรรคและโอกาสสภาพแวดล้อมภายใน :ความสามารถขององค์การ( จุดออนและจุดแข็ง่ )ผลประโยชน์และความคาดหวังของผู้มีสวนได้เสีย ่ :คณะกรรมการบริหารผู้ถือหุ้นผู้บริหารพนักงานภารกจ ิวัตถุประสงค์นโยบายกลยุทธ์Goalsเป้ าหมาย(ระยะยาวและระยะสัน )การปฏิบัติการPlan/Controlแผนงาน/การควบคุม(ระยะยาวและระยะสัน )การกระทําPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand41กอนทีจะไปถึงเป้ ่ าหมาย ….• เงือนไขสําคัญทีต้องดํารง (ทําให้มีขึนและรักษาไว้ ) เมือเราใช้ <strong>MBO</strong> กคือ• 1) ความคิดทีมุงผลสําเร็จ• สมาชิกขององค์กรต้องมีความคิดและพฤติกรรมแบบมุงผลสําเร็จ ่ (Results) พวกเขาจึงจะยอมรับวาเป้ ่ าหมายมีประโยชน์เพราะมันให้ทิศทางกบเขา ั มิฉะนันพวกเขาจะกลับไปมีพฤติกรรมแบบมุงกจกรรม ่ ิ (Activities) แบบเดิม• 2) ความสามารถในการกาหนดเป้ าหมาย• สมาชิกขององค์กรต้องสามารถกาหนดและเขียนเป้ ํ าหมายได้ พนักงานสวนใหญจะเกดการสับสนกนระหวางกจกรรมกบเป้ ิ ั ่ ิ ั าหมาย• 3) การจัดองค์กรทีดี• สมาชิกขององค์กรเข้าใจโครงสร้างองค์กรเป็ นอยางดี ่ และเข้าใจบทบาทและความรับผิดชอบของพวกเขาอยางชัดเจน ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand42


่่ั่้ํ• 4) บุคคลได้รับการบอกกลาว ่• สมาชิกขององค์กรต้องมีความรู้จักองค์กรอยางพอเพียง ่ (ภารกจ ิ วัตถุประสงค์ จุดแข็ง จุดออน ่ ปัญหา และโอกาสขององค์กร) ปฏิบัติงานของพวกเขาด้วยความรับผิดชอบและมีประสิทธิภาพ และมีสวนรวมในการกาหนดเป้ ่ ่ ํ าหมาย• 5) การกาหนดเป้ ํ าหมาย• เป้ าหมายจะถูกกาหนดและปรับปรุงอยูเรือยํ ่ ๆ สมาชิกขององค์กรกาหนดเป้ าหมายของงานทีพวกเขารับผิดชอบอยูโดยปรึกษากบผู้บังคับบัญชาของพวกเขาPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand43• 6) เป้ าหมายเพือความมีประสิทธิภาพและความอยูรอด ่• เป้ าหมายถูกกาหนดขึนมาเพือความสําเร็จของงานํ เพือความมีประสิทธิภาพ และเพือปรับปรุงองค์กรให้ดีขึน ดังนันความสนใจจะมุงไปสูการักษาและปรับปรุง ่ ่ความสามารถของบุคคลและองค์กรและการบรรลุผลสําเร็จของงาน• 7) แผนงาน• ผู้บังคับบัญชาต้องคอยดูวาผู้ใต้บังคับบัญชาของพวกเขามีแผนงานและการควบคุมทีดี ผู้บังคับบัญชาต้องให้การสนับสนุนและชวยปรับแกไขแผนงานตามความจําเป็ นPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand44


่่่่่ั่่• 8) การทบทวนเป้ าหมาย• เป้ าหมายทีกาหนดโดยบุคคลจะถูกทบทวนํ (review) โดยผู้บังคับบัญชาสองระดับทีอยูเหนือขึนไป ่ เพือให้มันใจได้วาเรืองทีสําคัญได้รับความสนใจอยางเพียงพอจาก ่ ่ระดับตอ ่ ๆ กนั และเพือดูชองวางและความซําซ้อนของการมอบหมายงาน่ ่ การทบทวนชวยให้ผู้บริหารเข้าใจวาอะไรกาลังเกดขึนทีระดับตํ่ ่ ํ ิ าได้ดีขึน• 9) ความเป็ นผู้นําแบบพัฒนา• ผู้บังคับบัญชาไมได้ประเมินผลการปฏิบัติงานเพียงอยางเดียวเทานั่ ่ ่ น เข้าต้องให้การสนับสนุนเพือให้ผลการปฏิบัติงานออกมาดีด้วย เขาต้องเป็ นผู้สอนงาน โดยให้คําแนะนํา ฝึ กอบรม และชวยเหลือผู้ใต้บังคับบัญชา่ และปรับปรุงความสามารถให้ดีขึนในอนาคต ชวยแกปัญหา ่ ้ ข้อติดขัดตาง ่ ๆ เพือให้การปฏิบัติงานสําเร็จลุลวงไปด้วยดีPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand45• 10) การประเมินผลปฏิบัติงาน• ผลการปฏิบัติงานของทุกบุคคลจะถูกประเมินผลเป็ นระยะ ๆ (ไมใชแคทําตอน่ ่ ่ปลายปี เทานัน ่ ) บุคคลแตละคนต้องวิเคราะห์ผลปฏิบัติงานด้วยตัวของเขาเอง่ และเตรียมรายงานความสําเร็จเพือเสนอตอผู้บังคับบัญชาให้ทําการทบทวน• ผลการปฏิบัติงานทีพนักงานทําขึนมานัน จะถูกประเมินวาเขาบรรลุเป้ าหมายทีกาหนดไว้ลวงหน้าดีแคไหนํ ่ ่ สวนผู้จัดการและหัวหน้างานจะถูกประเมินวาพวกเขาบริหารงานและพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาของพวกเขาได้ดีแคไหน ่ รายงานประเมินผลการปฏิบัติงานจะถูกนําเสนอตอผู้บังคับบัญชาสองระดับขึนไปเพือทํากา่ รทบทวนนันหมายความวา ่ ผู้บังคับบัญชาจะเข้าใจบทบาทของสองระดับทีอยูติดกบเขาด้านลางวามีบทบาทความเป็ ่นผู้นําได้ดีเพียงใด46Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand


่่่• 11) การพัฒนาพนักงาน• การประเมินผลการปฏิบัติงานจะทําให้ทราบถึงจุดออนจุดแข็งของพนักงานพนักงานและผู้บังคับบัญชาจะกาหนดเป้ ํ าหมายและแผนพัฒนารวมกน ่ ั• 12) การประเมินผลระบบ• ระบบ <strong>MBO</strong> จะถูกตรวจสอบจากผู้บริหารระดับสูงเป็ นระยะ ๆ เพือดูความมีประสิทธิภาพของระบบ และแนวทางการปรับปรุงระบบให้สอดคล้องกบัสถานการณ์ทีเปลียนแปลงไปPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand47เป้ าหมาย• เป้ าหมายคือถ้อยแถลงทีเฉพาะเจาะจงของบางสิงบางอยางทีต้องการบรร ่ ลุให้ได้เป้ าหมายไมใชเป็ ่ ่ นการแสดงเชิงอุดมคติหรือความทะเยอทะยาน เป้ าหมายไมได้เป็ นถ้อยแถลงของกกรรมบางอยางทีต้องปฏิบัติิ ่ แตเป้ าหมายจะระบุสิงทีจะเป็ นผลสําเร็จเนืองจากกจกรรมนัน ิ • ผู้บริหารทีมุงเน้นกจกรรมจะโน้มเอียงทีจะคิดในแงของสิงทีพวก่ ิ ่ เขาจะกระทําแทนทีจะเป็ นผลสําเร็จสุดท้ายPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand48


่่่่่ตัวอยาง ่พนักงานผู้จัดการฝ่ ายขายหัวหน้าฝ่ ายซอม ่บํารุงหัวหน้ารักษาความปลอดภัยกิจกรรม• พนักงานขายแตละคนจะไปหาลูกค้าอยางน้อยทีสุด ่ 5 คนตอวัน• ซอมแซมเครืองจักรทีชํารุดทุก่เครือง• ฝึ กอบรมวิธีการรักษาความปลอดภัยให้แกหัวหน้างานทุกคนภายใน 31/12/2012เป้ าหมาย• พนักงานขายแตละคนจะขายได้อยางน้อยทีสุด ่ 55,000 หนวยในปี2012• 95% ของเครืองจักรทุกเครืองพร้อมใช้งานภายในเวลา 90 วัน• หัวหน้างานทุกคนจะรู้และใช้วิธีการรักษาความปลอดภัยหลังจาก31/12/2012Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand49• เป้ าหมายทีมีคุณคาและอธิบายสภาวะทีต้องการในอนาคตอยางเพียงพอคว่ ่ รมีลักษณะทีสําคัญหกอยางดังตอไปนี่ ่ • 1) ความเหมาะสมทางองค์กร (Organizational Appropriate)• 2) บรรลุความสําเร็จได้ (Attainable)• 3) เฉพาะเจาะจง (Specific)• 4) เข้าใจได้ (Understandable)• 5) วัดได้ (Measurable)• 6) ประสานกนั (Coordinated)Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand50


ลําดับของเป้ าหมายเป้ าหมายของผู้นําเป้ าหมายของรองผู้นําเป้ าหมายของหัวหน้างานPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand51เป้ าหมายของระดับลางจะเป็ ่ นสวนหนึ ่ งของเป้ าหมายยอยของระดับบน่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand52


มันแตกออกไปเหมือนTree Diagramตัวอยาง ่


่่ลําดับของเป้ าหมายตอไปจะกลายเป็ ่ นแผนระยะสัน กลาง ยาวองค์กรโดยสวนรวม ่แผนกหนวย ่ (ฝ่ าย)บุคคลPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand55การกาหนดเป้ ํ าหมาย (ขององค์กร) รวมกน ่ ั ( Mutual Goal Setting )กระบวนการกาหนดเป้ ํ าหมายภายในองค์การมีอยูสามขันตอน ่ คือ1.การเข้าใจความต้องการและความมุงมันของผู้อยูใต้บังคับบัญชา2.การเข้าใจปัญหา โอกาส และความท้าทายขององค์การ3.การกาหนดและประเมินเป้ ําหมายของบุคคลกบผู้บังคับบัญชาัผู้บริหารพนักงานGoalขององค์กรAgreeTogetherPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand56


้การกาหนดเป้ ํ าหมายของบุคคลแตละบุคคลจะกาหนดชัวคราวเพือตัวพวกเขาเองขึนมาดังตอไปนี่ ํ ่ คือ1.สิงจําเป็ นทีต้องกระทําทีถูกระบุในการประชุมกลุมและการอภิปรายกบ่ ั บังคับบัญชา2.บทบาทและความรับผิดชอบทางองค์การของเขาความต้องการของเขาเอง3.การกาหนดเป้ ํ าหมายของบุคคลGoalขององค์การGoalของแผนกGoalของพนักงานPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand57• นอกเหนือจากเป้ าหมายทีเกยวพันกบผลสําเร็จของงานตามหน้าทีแล้วีั ผู้บริหารควรจะกาหนดเป้ ํ าหมายทีเกยวพันกบความมีประสิทธิภาพขององค์กรและบุคคลี ั และการปรับปรุงให้ดีขึน การแกปัญหาทีมีอยู ่ ดังนันเป้ าหลายจะเป็ นสามด้านคือ• 1) เป้ าหมายของงานตามหน้าที (Functional Work Goals)• 2) เป้ าหมายความมีประสิทธิภาพขององค์กร (Organizational Effectiveness Goals)(ความสามารถปฏิบัติงานและปรับตัวขององค์กร)• 3) เป้ าหมายและความมีประสิทธิภาพสวนบุคคล ่ (Personal Effectiveness Goals)(ความสามารถปฏิบัติงานและปรับตัวของบุคคลทีกาหนดเป้ ํ าหมาย)Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand58


ัีััํีีเป้ าหมายทีเกยวข้องกบงานทีผมทําเป้ าหมายทีเกยวข้องกบประสิทธิภาพขององค์กรเป้ าหมายทีเกยวข้องกบประสิทธิภาพของตัวผมเองPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand59• ภายในขอบเขตทังสาม เป้ าหมายควรถูกกาหนดขึนมาเพือ• 1) การบรรลุผลงานทีสําคัญ• 2) การปรับปรุงให้ดีขึน • 3) การแกปัญหา ้Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand60


้้้เป้ าหมายทีเกยวข้องกบงานทีผมทําีั1) การบรรลุผลงานทีสําคัญ2) การปรับปรุงให้ดีขึน3) การแกปัญหาเป้ าหมายทีเกยวข้องกบประสิทธิภาพขององค์กรีั1) การบรรลุผลงานทีสําคัญ2) การปรับปรุงให้ดีขึน3) การแกปัญหาเป้ าหมายทีเกยวข้องกบประสิทธิภาพของตัวผมเองีั1) การบรรลุผลงานทีสําคัญ2) การปรับปรุงให้ดีขึน3) การแกปัญหาPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand61ตารางกาหนดเป้ ํ าหมายแบบหน้าตาง ่ 9 ชอง ่เป้ าหมายของงานตามหน้าทีเป้ าหมายความมีประสิทธิภาพขององค์กรเป้ าหมายความมีประสิทธิภาพของบุคคลผลงานทีสําคัญการปรับปรุงให้ดีขึน การแกปัญหา ้Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand62


่่่เป้ าหมายของงานตามหน้าที (Functional Work Goals) – ผลงานทีสําคัญ• คํานิยาม• ความสําเร็จทีสําคัญหรือผลงานทีคาดหวังไว้ รวมทังเป้ าหมายทีมีลําดับความสําคัญสูง ๆ ทีต้องให้ความสนใจเป็ นพิเศษ สิงเหลานีรวมทังผลงานทีซํา ่ ๆกนและมีอยูเรือยั ่ ๆ ทีจําเป็ นตอความสําเร็จของการปฏิบัติงานโดยสวนรวมPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand63เป้ าหมายของงานตามหน้าที – การปรับปรุงให้ดีขึน • คํานิยาม• การคิดค้นสิงใหม ่ ๆ หรือการเปลียนแปลงทีวางแผนไว้ทีเลยไปจาก “ผลงานทีสําคัญ” ในการมีสวนชวยตอความสําเร็จของบริษัท่ ่ ่ สิงเหลานีเป็ ่ นผลงานตามหน้าทีทีมีสวนชวยให้บางสิงบางอยาง่ ่ ่ ดีขึน ถูกกวา่ รวดเร็วกวา่ หรือ แตกตางไปจากเดิม เป็ นต้นPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand64


่่เป้ าหมายของงานตามหน้าที – การแกปัญหา ้• คํานิยาม• การตรวจสอบ แผนงาน การกระทํา ฯลฯ ทีจําเป็ นต้องมีเพือเอาชนะอุปสรรคความยุงยาก ่ หรือสภาวะทีไมดี ่ ทีขัดขวางการบรรลุ “ผลงานทีสําคัญ”Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand65เป้ าหมายความมีประสิทธิภาพขององค์กร - ผลงานทีสําคัญ• คํานิยาม• ความสําเร็จทีจําเป็ นตอการรักษาความสามารถบรรลุเป้ ่ าหมายของงานตามหน้าทีขององค์กร “ผลงานทีสําคัญ” เป็ นถ้อยคําทีรวมทังการใช้ทรัพยากรมนุษย์ สิงของทางกายภาพ การเงิน นโยบาย การปฏิบัติงาน ระบบและวิธีการ ฯลฯ ทีมีอยูอยางดีทีสุดและผสมผสานสิงเหลานีให้เป็ ่ น “วิธีการบรรลุความสําเร็จ” ทีมีประสิทธิภาพPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand66


่เป้ าหมายความมีประสิทธิภาพขององค์กร - การปรับปรุงให้ดีขึน • คํานิยาม• การคิดค้นสิงใหม ่ ๆ หรือ การเปลียนแปลงทีวางแผนไว้เลยไปจาก “ผลงานทีสําคัญ” ในการบรรลุความมีประสิทธิภาพขององค์กร การคิดค้นสิงใหม่ ๆ เหลานีจะขยายความสามารถขององค์กรให้บรรลุ “เป้ าหมายตามหน้าที” ขององค์กร โดยการปรับปรุง ทรัพยากรมนุษย์ สิงของทางกายภาพ การเงิน นโยบาย การปฏิบัติงานระบบและวิธีการ สภาพแวดล้อม ฯลฯ ให้ดีขึนPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand67เป้ าหมายความมีประสิทธิภาพขององค์กร - การแกปัญหา ้• คํานิยาม• การตรวจสอบ แผนงาน การกระทํา ฯลฯ ทีจําเป็ นตอการเอาชนะอุปสรรค่ ความยุงยาก ่ หรือ สภาพวะทีไมดีทีขัดขวางการบรรลุความสําเร็จ่ “เป้ าหมายขององค์กร”เป้ าหมานีเกยวข้องกบความแตกตางออกไปจากปกติ ี ั ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand68


่่่่่เป้ าหมายความมีประสิทธิภาพของบุคคล - ผลงานทีสําคัญ• คํานิยาม• การพัฒนาบุคคลอยางมีแผนแบบเพือรักษาความสามารถของบุคคลในการบรรลุเป้ าหมายของเขา และหลีกเลียงความล้าสมัยของมนุษย์ สิงเหลานีรวมทังการ ่ ปรับปรุง ความรู้ ทักษะ ความสามารถ ทัศนคติของบุคคลแตละคนทีจําเป็ นตอการปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพ่ ให้ทันสมัยขึนPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand69เป้ าหมายความมีประสิทธิภาพของบุคคล - การปรับปรุงให้ดีขึน • คํานิยาม• การพัฒนาบุคคลอยางมีแผนแบบเพือขยายความสามารถของบุคคลในการบรรลุเป้ าหมายของงาน หรือ การมีความรับผิดชอบสูงขึนภายในบริษัท “การปรับปรุงให้ดีขึน” เกนเลยจาก ิ “ผลงานทีสําคัญ” สิงนีเพิมความสามารถของบุคคลแทนทีจะเป็ นการรักษาไว้เทานัน Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand70


่่เป้ าหมายความมีประสิทธิภาพของบุคคล - การแกปัญหา ้• คํานิยาม• การตรวจสอบ แผนงาน การกระทํา ฯลฯ ทีจําเป็ นตอการเอาชนะอุปสรรคหรือความยุงยากทีขัดขวางการใช้ความสามารถ่ พลัง และเวลาในการทํางานอยางมีประสิทธิภาพPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand71ขั นตอนที 5 การวางแผนปฏิบัติงานการวางแผนเพือความสําเร็จของเป้ าหมายลักษณะของแผนงานและการวางแผน ประกอบไปด้วย• แผนงานระยะสัน คือ ถ้อยแถลงหรือความเข้าใจสิงทีต้องเกดขึนเพือบรรลุ ิ เป้ าหมายระยะสัน แผนงานระยะสันคอนข้างมีรายละเอียดมาก ่• แผนงานระยะยาว คือ ถ้อยแถลงหรือความเข้าใจสิงทีต้องเกดขึนกอนทีเรา ิ ่สามารถบรรลุเป้ าหมายระยะยาวได้GoalของพนักงานPlanของพนักงานPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand72


่่่่ิิ่ิ่่่กลาวโดยยอแล้ว่ ่ …การวางแผน คือ กระบวนการระบุเหตุการณ์ทุกอยางทีต้องเกดขึนเพือบรรลุผลสําเร็จ่ ิ ทีต้องการ แล้วใช้ความคิดเพือตอบคําถาม “อะไรต้องเกดขึนเพือทําให้สภาวะทีต้องการในอนาคตเกดขึนจริง ิ ?” สิงเหลานีเกยวพันกบการระบุ ่ ี ั• การกระทําอะไรทีมีความจําเป็ น• การกระทําเหลานีจะเกดขึนทีไหน• ทําไมการกระทําเหลานีมีความจําเป็ ่ น• การกระทําเหลานีจะเกดขึนเมือไร• ใครจะกระทําอะไรบ้าง• สิงตางๆ ่ จะถูกกระทําอยางไร ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand73ความหมายของการวางแผน• การวางแผนถูกให้ความหมายในหลายทางทีคล้ายกนั เชน• การคิดถึงสิงทีเราต้องการบรรลุความสําเร็จและเราจะบรรลุความสําเร็จได้อยางไร• การเลือกทางเลือกของการกระทําในอนาคต• การพิจารณาลวงหน้าถึงสิงทีจะกระทําและสิงเหลานีจะถูกกระทําอยา่ ่ ่ งไร• การเตรียมการเพืออนาคตโดยการตัดสินใจในขณะนี• การค้นหาสิงทีต้องกระทําในขณะนีเพือให้ได้ผลสําเร็จทีต้องการในอ นาคต• การตัดสินใจลวงหน้าวา ่ อะไร อยางไร ่ ทีไหน เมือไร และใครทีจะเชือมโยงชวงวางจากที ๆ เราอยูในปัจจุบันไปยังทีทีเราต้องการในอนาคต• การคาดคะเน การมีอิทธิพล และการควบคุมลักษณะและทิศทางของการเปลียนแปลงPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand74


่่่่่่่่ั่คุณลักษณะของการวางแผน 1.การเกยวพันกบอนาคตีั การวางแผนคือความพยายามมองลวงหน้าวาอะไรจะเกดขึน่ ่ ิ (การพยากรณ์)เนืองจากอนาคตเป็ นสิงทีไมแนนอน ่ ่ การวางแผนจึงมีระดับของความไมแนนอนรวมอยูด้วยเสมอ 2.สภาพแวดล้อมทีเปลียนแปลง องค์กรและบุคลากรจะดําเนินงานอยูในสภาพแวดล้อมทีเปลียนแปลงอยูเ่ ่ รือย ๆ สิงเหลานีคือความไมแนนอน่ ่ ่ มันเป็ นการบังคับให้เราต้องคาดคะเนถึงลักษณะของการเปลียนแปลงนีPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand75 3.การตอบสนองตอสภาพแวดล้อม่ แผนงานยอมถูกสร้างขึนมาเพือตอบสนองตอสภาพแวดล้อม และยอมไมมีองค์กรใดหรือบุคคลใดทีมองเห็นสภาพแวดล้อมได้อยางสมบูรณ์ ่ ความสําเร็จจึงขึนกบความสามารถในการวางแผนทีจะสนองตอบการเปลียนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ดีทีสุด 4.ข้อจํากดทางความสามารถั การวางแผนขึนอยูกบคุณลักษณะและจุดออน ่ ั ่ จุดแข็งของบุคคล นันหมายความวาแผนงานขององค์กรต้องมีการกระทําทีอยูภายในขีดความสามารถของบุคคลและองค์กร ดังนันการเลือกวาเราจะทําอะไรจะถูกจํากดโดยข้อจํากดตาง ่ ั ั ่ ๆ เสมอPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand76


่ 5.กจกรรมทีตอเนืองิ ่ การวางแผนเกยวกบการประเมินทังสภาพแวดล้อมภายในและภายนอกอยางีั ่ตอเนือง ่ ดังนันการกระทําทังหลายยอมจะต้องอยูบนพืนฐานของการประเมิน ่ ่ เหลานี 6.การสร้างสมมุติฐาน การวางแผนนันยอมเกยวพันกบสมมติฐาน ่ ี ั ทังนีกเพือให้ทางเลือกของการกระทํา ็ทีระบุไว้นันมีเหตุผล ดังนันการกาหนดสมมติฐานต้องกระทําอยางรอบคอบ ํ ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand77 7.กระบวนการความคิดสร้างสรรค์ การวางแผนเป็ นกระบวนการความคิดสร้างสรรค์แบบหนึ ง การวางแผนเกยวพันกบ ีัการค้นหาและเสนอวิธีการเพือบรรลุผลสําเร็จทีต้องการ มันไมมีสูตรสําเร็จงาย่ ่ ๆ ทีจะบอกวาจะกระทําอยางไรให้แกผู้วางแผน่ ่ ่ 8.ความสัมพันธ์ระหวางเหตุและผล่ การวางแผนเกยวพันกบการพิจารณาวาอะไรต้องเกดขึนเพือกอให้เกีั ่ ิ ่ ิดผลลัพธ์ทีต้องการ นันหมายความวา่ ผู้วางแผนต้องรู้ความสัมพันธ์ระหวางเหตุและผล่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand78


ิ่่่ั 9.ความต้องการเป้ าหมาย การวางแผนต้องมองผลสําเร็จทีต้องการและเฉพาะเจาะจง เป้ าหมายต้องถูกกาหนดขึนมากอนทีการวางแผนจะดําเนินตอไปได้อยางมีเหตุผลํ ่ ่ 10.แผนงานทีดีทีสุด การวางแผนเกยวพันกบการเลือกทางเลือกของการกระทําทีดีทีสุดจากกีั ลุม่ทางเลือกของการกระทําทีมีอยูPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand79 11.การตัดสินใจในอนาคต การวางแผนเกยวพันกบการตัดสินใจสิงทีจะกระทําลวงหน้าีั ่ การวางแผนในองค์กรเป็ นลําดับของการตัดสินใจทีสอดคล้องกนภายในและต้องสนับสนุนซึงกนัและกนั แผนงานคือลําดับของการตัดสินใจทีขึนอยูระหวางกน ่ ่ ั 12.กจกรรมทีเกดขึนอยูเรือยิ ิ ่ ๆ การวางแผนเกดขึนอยูเรือย ๆ การวางแผนจะถูกปรับปรุงใหม่ ซําแล้ว ซําอีกเพือให้สิงทีจะต้องกระทําเหมาะสมเมือถึงเวลาดําเนินการตามแผนงานPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand80


่่ํขันตอนของการวางแผน• 1) คําบรรยายผลสําเร็จทีต้องการโดยสรุปจะถูกกาหนดขึนมา ํ นีคือถ้อยแถลงของความมุงหมายทีอธิบายสิงทีต้องบรรลุความสําเร็จ• 2) การวิเคราะห์คุณลักษณะของสถานการณ์ในปัจจุบัน สิงเหลานันคือ ่ การประเมินจุดออน ่ จุดแข็ง ความสามารถ ทรัพยากร และโอกาสขององค์การ การค้นพบสิงเหลานีอาจชีให้เห็นถึงความจําเป็ ่ นทีต้องปรับปรุงเป้ าหมายทีกาหนดไว้ในข้อ 1)• 3) สมมติฐานและข้อจํากดของการวางแผนจะถูกกาหนดขึนมาและระบุไว้ั ํ สมมุติฐานขึนอยูกบปัจจัยทีอาจเปลียนแปลงได้ ่ ั ดังนันการตรวจสอบการเปลียนแปลงและการทําให้สมมติฐานทันสมัยถือเป็ นสวนสําคัญในการวางแผนPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand81• 4) ทําการพยากรณ์วาปัจจัยและเหตุการณ์อะไรทีอาจชวยหรือขัดขวางการบรร่ ่ ลุผลสําเร็จทีต้องการ ทําให้รู้ถึงชองวางของการวางแผน่ ่ (Planning Gap)Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand82


่่่• 5) แผนงานทีเป็ นทางเลือกจะถูกพัฒนาขึนมาเติมชองวางของการวางแผนให้ ่ ่ เต็มเพือให้บรรลุผลสําเร็จตามต้องการ• 6) เราจะคัดเลือกแผนงานทีดีทีสุดโดยใช้• 6.1) ข้อมูลทีรวบรวมไว้ในข้อ 2 3 และ 4• 6.2) การประมาณต้อนทุนของแผนปฏิบัติการ• 6.3) โอกาสสําเร็จของแผนงาน• 6.4) ความคลองตัวของแผนงานตอสภาวะทีเปลียนแปลง่่• 6.5) โอกาสทีบุคคลจะยอมรับแผนงาน• 6.6) การได้มาซึ งทรัพยากรทีถูกคาดหวัง ซึ งต้องนํามาใช้ในแผนงานPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand83• 7) ลําดับ ชวงเวลา ่ และบุคลากรทีแผนงานต้องการจะถูกกาหนดขึนมา ํ เราต้องตอบคําถาม 5W1H ให้ได้อยางครบถ้วน• อะไร? ระบุเหตุการณ์ทีต้องเกดขึนเพือปิ ิ ดชองวางของการวางแผน่ ่• ทําไม? เพือมันใจวาขันตอนทีวางไว้มีความจําเป็ นอยางแท้จริง• เมือไร? เน้นวาแตละขันตอนจะแล้วเสร็จเมือใด่ ่ • ทีไหน? สถานทีทีกจกรรมจะดําเนินการิ• ใคร? ผู้ทีต้องรับผิดชอบและต้องมอบหมายงาน• อยางไร ่ ? งบประมาณ ระเบียบปฏิบัติ กฎ แนวทาง ทีต้องดําเนินการPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand84


• 8) กาหนดจุดตรวจสอบความคืบหน้าํ เพือจะได้ปรับปรุงแกไขอยางทันทวงที้ ่ ่• 9) แผนงานควรถูกตรวจสอบ ประเมิน และปรับปรุงให้ทันตอการเปลียนแปลง่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand85สรุปAPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand86


ABPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand87BCPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand88


่่่่CPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand89ข้อผิดพลาดในการวางแผน• 1) แผนงานไมสัมพันธ์กบภารกจ่ ั ิ• 2) แผนงานละเลยองค์ประกอบทางด้านบุคคล• 3) ข้อสมมติฐานไมถูกต้อง• 4) การอาศัยแผนงานเกามาใช้กบสถานการณ์่ ั โดยไมพิจารณาอยางรอบคอบ• 5) การไมปรับปรุงแผนงานเป็ ่ นระยะ ๆ• 6) ขาดการวิเคราะห์ผลได้-ผลเสีย (ผลได้ไมสูงกวาผลเสีย่ ่ )• 7) โอกาสของการยอมรับมีน้อย• 8) โอกาสของความสําเร็จไมได้ถูกยกขึนมาพิจารณา• 9) ความคิดสร้างสรรค์ถูกละเลยในแผนPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand90


• 10) ติดอยูกบกรอบความคิดวา่ ั ่ “วิธีการนีเป็ นวิธีการเดียวทีดีทีสุด”• 11) การไมมีแผนงานทีเป็ ่นทางเลือก• 12) การมีเหตุผลทีผิด เพราะไมได้คิดถึงความสัมพันธ์ของเหตุผลอยางเพียงพอ่่• 13) การขาดความเข้าใจ• 14) แผนงานถูกละเลย• 15) การขาดการควบคุม• 16) พนักงานไมได้มีสวนรวมในการวางแผน่ ่ ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand91Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand92


่่ขันตอนที 6 การปฏิบัติและการควบคุมตนเอง• ขันตอนนี พนักงานจะนําแผนไปปฏิบัติและควบคุมตนเอง เพือให้งานทีทําสําเร็จลุลวงไปตามแผนงานทีวางไว้• กระบวนการควบคุมเกยวพันกบการวัดผลปฏิบัติงานจริงีั เพราะเป็ นการเปรียบเทียบระหวางผลการปฏิบัติงานจริงและผลการปฏิบัติงานทีวางแผนไว้หรือเป้ าหมาย และการแกไขใด ้ ๆ ทีจําเป็ นเพือให้ผลการปฏิบัติงานจริงเป็ นไปตามผลการปฏิบัติงานทีวางแผนไว้หรือเป็ นไปตามเป้ าหมายนันเอง • หน้าทีทีเป็ นหัวใจของการควบคุมทีมีประสิทธิภาพมีอยู ่ 2 ประการ คือ• 1) การระบุความแตกตางในปัจจุบันหรือทีจะมาถึงในไมช้าระหวางสภาวะจ่ ่ ่ ริงกบัสภาวะทีต้องการ• 2) การแกไขเพือกาจัดความแตกตางข้างต้น้ ํ ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand93


่่่่่• เหตุผลสําคัญทีทําให้บุคคลล้มเหลวในการระบุปัญหาและสาเหตุของปัญหาอยาง ่ถูกต้องมีอยู่ 3 ประการ คือ• 1) ผู้แกปัญหาไมได้เข้าใจปัญหาอยางแท้จริง้ ่ ่ หรือ กลาวได้วา่ มองไมเห็นปัญหา• 2) ผู้แกปัญหาระบุปัญหาทีผิด้ หรือ ระบุสาเหตุของปัญหาไมถูกต้อง ่ หรือ ทังสองอยาง• 3) ขันตอนของการระบุปัญหาได้ถูกละเลยหรือข้ามไป กลับโดดไปยังคําตอบทันทีPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand95จุดควบคุมในระบบการบริหารโดยวัตถุประสงค์ของผู้บังคับบัญชา• 1) ผู้บังคับบัญชาของพนักงาน 2 ระดับทีอยูเหนือขึนไปทําการประเมินเป้ าหมายของพนักงานเพือมันใจวา่ เป้ าหมาย• 1.1 สอดคล้องกบกลยุทธ์ขององค์กรและกลยุทธ์ยอยั ่ (ของแผนกหรือฝ่ าย)• 1.2 ถูกต้องและเป็ นลายลักษณ์อักษรอยางดี ่• 1.3 สอดคล้องกบเป้ ั าหมายอืน ๆ• 2) ผู้บังคับบัญชา (ระดับที 1) ตรวจสอบเพือความมันใจวา่ ผู้ใต้บังคับบัญชาของพวกเขาได้กาหนดแผนงานและการควบคุมทีแนนอนเพือดําเนินตามํ ่ เมือพวกเขาทํางานมุงไปสูการบรรลุเป้ ่ าหมายของพวกเขาทีวางไว้Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand96


ั่่่ํ่ั่• 3) ผู้บังคับบัญชาประเมินผลความคืบหน้าเป็ นระยะ ๆ และตรวจสอบรวมกบผู้ใต้บังคับบัญชาของพวกเขา เพือพิจารณาวางานคืบหน้าไปตามแผนงานหรือไมและถ้าหากวาไม ่ ่ พวกเขาต้องพยายามระบุปัญหาและปรับปรุงเพือเอาชนะปัญหาและบรรลุเป้ าหมายทีต้องการ• 4) ผู้บังคับบัญชาทีอยูเหนือขึนไป ่ (ระดับ 2) ต้องทบทวนการประเมินผลของผู้บังคับบัญชา (ระดับ 1) เพือตรวจสอบดูวา่ ผู้ใต้บังคับบัญชาของเขากาลังบริหารพัฒนาผู้ใต้บังคับบัญชาของพวกเขาตามทีควรจะทําหรือไม่ นีคือการตรวจสอบเพือมันใจวา่ ระบบบริหารโดยวัตถุประสงค์มุงการพัฒนา ่ ไมใชมุงไปทีการ ่ ่ควบคุมPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand97• 5) ผู้บังคับบัญชาระดับ 2 ทําการตรวจสอบเพือดูวา่ พวกเขา (ผู้บังคับบัญชาระดับ1) ได้วางแผนพัฒนาให้กบผู้ใต้บังคับบัญชาของพวกเขาหรือไม• 6) ระบบบริหารโดยวัตถุประสงค์ต้องถูกตรวจสอบเพือให้มันใจได้วาระบบไ ่ ด้รับการยอมรับ ไมกอให้เกดผลทีไมต้องการ่ ่ ิ ่ สร้างบรรยากาศทีดีอันจะทําให้บุคคลทํางานได้อยางมีประสิทธิภาพและพึงพอใจในการทํางาน่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand98


่่ตัวอยางแบบฟอร์มทีใช้่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand99การควบคุมตนเองการบริหารโดยวัตถุประสงค์อยูบนรากฐานการควบคุมตนเอง่ ไมใชการควบคุมบุคคล่ ่แตเป็ ่ นการควบคุมการปฏิบัติงาน ถ้าหากวาบุคคลมีสวนรวมกาหนดเป้ ่ ่ ่ ํ าหมายภายในขอบเขตความรับผิดชอบของเขาแล้ว เขารู้วาเขาต้องกระทําอะไรบ้าง่ กระทําอยาไร ่ เมือเขามีสวนรมในการวางแผนปฏิบัติงาน่ ่ เมือเราให้ข้อมูลย้อนกลับทีเขาต้องการ สามารถประเมินผลลวงหน้าของตนเองได้่ และดําเนินการแกไขทีจําเป็ ้ นเพือบรรลุเป้ าหมายของตนเอง โดยไมจําเป็ ่ นต้องมีผู้บังคับบัญชาออกคําสัง ดังนัน ผู้บังคับบัญชาทีมีแรงจูงใจสูง สภาพแวดล้อมของงานทีจูงใจ และการมีสวนรวมของผู้บังคับบัญชาทุกระดับในกระบวนการ <strong>MBO</strong>Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand100


่่่่ขันตอนที 7 การประเมินผลความคืบหน้าเป็ นระยะ• ประโยชน์ของการประเมินความคืบหน้าของงานเป็ นระยะ ๆ• 1) มีทัศนคติตอการประเมินผลความคืบหน้าของงานทีดี• 2) การรับรู้เป้ าหมายอยางชัดเจน• 3) การบรรลุความสําเร็จของเป้ าหมายมองเห็นชัดเจน• 4) ความเชือวาความสัมพันธ์ระหวางผู้บังคับบัญชาและผู้ใต้บังคับบัญช่ ่ าถูกปรับปรุงให้ดีขึน• 5) การรับรู้วาผู้บังคับบัญชาสนับสนุนพวกเขาผานการประเมินผลความคืบห่ ่ น้าของงาน• 6) ความรู้สึกวาพวกเขามีสวนรวมในกระบวนการบริหารแบบ่ ่ ่ <strong>MBO</strong>Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand101ขันตอนที 8 การประเมินผลการปฏิบัติงานบุคคล ควรประเมินผลรวมกน ่ ั มากกวาทีผู้บังคับบัญชาจะเป็ ่ นผู้ประเมินฝ่ ายเดียว หรือกลาวได้วา่ ควรเปลียนจากการประเมินฝ่ ายเดียวเป็ นการประเมินรวมกนัPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand102


การประเมินผลทําได้สามทางคือ การประเมินผลโดยใช้คุณลักษณะ (Evaluation <strong>by</strong> Traits) การประเมินผลโดยใช้ผลสําเร็จ (Evaluation <strong>by</strong> Results Achieved) การประเมินผลโดยใช้พฤติกรรม (Behaviorally Based Appraisal)Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand103Evaluation <strong>by</strong> Traits


่ั่Evaluation <strong>by</strong> Results Achieved• ทําได้ 2 วิธี คือ• 1) การเปรียบเทียบระหวางผลสําเร็จกบเป้ ่ ั าหมายหรือมาตรฐานทีกาหนดไว้แ ํ ล้ว• 2) การระบุและประเมินผลสําเร็จทุกอยางทีทําได้ ่• วิธีแรกเหมาะสําหรับตําแหนงระดับตํ ่ า เพราะงานระบุได้และมีโครงสร้างชัดเจน• วิธีทีสองเหมาะสําหรับตําแหนงระดับสูง ่ ซึ งต้องเผชิญกบการเปลียนแปลงมากกวาโดยพิจารณาไปที คุณจะบรรลุความสําเร็จอะไร (ซึ งวิธีแรก จะมองวา่ คุณบรรลุสิงทีคุณต้องรับผิดชอมมากน้อยแคไหน) วิธีการนีอาจจะเกดความลําเอียงได้งาย ิ ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand105Behaviorally Based AppraisalPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand106


่่ํ่่การอภิปรายการประเมินผล• การอภิปรายการประเมินผลระหวางผู้บังคับบัญชากบผู้อยูใต้การบังคั่ ั ่ บบัญชาจะเกดขึนภายหลังการวัดผลปฏิบัติงานิ • การอภิปรายการประเมินผลถูกมองวาเป็ นระยะเวลาทีบุคคลได้รับข้อมูลผลการปฏิบัติงานของพวกเขาย้อนกลับ และฐานะของพวกเขาในสายตาผู้บังคับบัญชา• ผู้ใต้บังคับบัญชาสวนใหญไมชอบการประเมินผล่ ่ ่ เพราะวาการประเมินผลแสดงการคุกคามตอการเคารพนับถือตัวเองของพวกเขา่ การติเตียนการทํางานเหมือนการโจมตีโดยตรงตอพวกเขาเป็ ่ นการสวนตัว ่• และด้วยเหตุผลข้างต้น ทําให้ผู้บังคับบัญชาตอต้านหรือไมให้ความรวมมือในการ่ ่ ่ประเมินผลและการอภิปรายด้วยPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand107แนวทางการอภิปรายการประเมินผล• 1) การติเตียนจะมีผลกระทบในทางไมดีตอการบรรลุเป้ ่ ่ าหมาย … ต้องระมัดระวัง• 2) ในทางกลับกนั การสรรเสริญมีผลกระทบน้อยมากไมวาทางดีหรือไมดีตอการ่ ่ ่ ่บรรลุเป้ าหมาย• 3) ผลการปฏิบัติงานจะดีขึนเมือเป้ าหมายทีเฉพาะเจาะจงถูกกาหนดขึนมาอยางชัดเจน• 4) การฝึ กสอน (Coach) ควรเป็ นกจกรรมประจําวันหรือกจกรรมทีกระทําเป็ ิ ินปกติไมใช้กจกรรมทีทําปี ่ ิ ละครัง • 5) การกาหนดเป้ ํ าหมายรวมกนเป็ ่ ั นการปรับปรุงผลงานให้ดีขึน • 6) การอภิปรายควรมุงไปทีการปรับปรุงผลการปฏิบัติงานให้ดีขึน่ จึงไมควรนําเรืองการขึนเงินเดือน การเลือนตําแหนงมาเกยวข้อง่ ีPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand108


่่่่่่่• 7) การมีสวนรวมของพนักงานในการกาหนดเป้ ่ ่ ํ าหมายและวางแผนเพือปรับปรุงให้ดีขึนชวยกอให้เกดผลสําเร็จทีดี ่ ิ• 8) การเคารพนับถือตนเองมีผลกระทบอยางมากตอพฤติกรรมของบุคคล่ ่• 9) บุคคลยอมโน้มเอียงทีจะประเมินผลการปฏิบัติงานของเขาเองตามระดับความทะเยอทะยานภายในของเขา• 10) การป้ องกนตนเองทีเกดจากการประเมินผลแบบติเตียนจะนําไปสูผลการั ิ ่ปฏิบัติงานทีไมดีPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand109การเตรียมการอภิปรายการประเมินผล• ผู้บริหารควรทบทวนสิงตอไปนีเสียกอน ่ ่• 1) คําบรรยายลักษณะงานของพนักงาน การพิจารณาหน้าทีความรับผิดชอบ• 2) มาตรฐานการปฏิบัติงาน และการวัดตามมาตรฐานนัน ๆ ทําอยางไร• 3) เป้ าหมายทีเห็นพ้องต้องกนั และ เป้ าหมายนันถูกวัดอยางไร• 4) แฟ้ มสะสมผลงาน (ถ้ามี)• ผู้บริหารต้องมีข้อมูลเหลานีชัดเจนและอยูภายในใจ และจะต้องทบทวนผลการประเมินของพวกเขาในอดีตทีผานมาอีกด้วย่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand110


รายการตรวจสอบตนเองกอนการอภิปรายการประเมินผล่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand111Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand112


่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand113การดําเนินการอภิปราย• 1) จงสร้างบรรยากาศทีดี เพือให้เกดการสือสารแบบสองทางิ• 2) ผู้บังคับบัญชา – จงดูทีตัวเองกอน ่• 3) จงพิจารณาผลปฏิบัติงาน ไมใชตัวบุคคล ่ ่• 4) จงอยาละทิงจุดแข็งของพวกเขา่ ทําให้เขารู้• 5) เราทํางานรวมกน ่ ั ดังนันจึงควรใช้คําวา ่ “เรา”• 6) จงใช้เวลาของเราอยางเต็มที• 7) มีความยุติธรรมและเหตุผล อยาจู้จีหรือคุ้ยแคะสิงเล็ก่ ๆ น้อย ๆ• 8) จริงใจ ตรงไปตรงมา• 9) ติดตามผลหลังจบการอภิปรายPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand114


่ั้่ั่่่่่การพัฒนาพนักงาน• การละเลยการพัฒนาพนักงานเป็ นหนทางไปสูความล้มเหลวขององค์กรอยางแนนอน ่ สาเหตุมาจากความล้าสมัย (Obsolescence)• ความล้าสมัยเป็ นความไมสามารถปฏิบัติงานอยางหนึ่ ่ ง Mahler มองความล้าสมัยวา่“ความไมสามารถบรรลุผลสําเร็จทีถูกคาดหวังจากเขาในขณะนี ” ทัง ๆ ทีครังหนึ งเขาเคยมีความสามารถทําได้• องค์กรสามารถป้ องกนความล้าสมัยได้ด้วยการสร้างและรักษาบรรยากาศทีนําไปสูการพัฒนาและความเจริญเติบโตสวนบุคคล• ผู้บริหารต้องตอสู้กบปัจจัยหลายอยางทีทําให้เกดความคิดและการกร่ ั ่ ิ ะทําทีไม่ยืดหยุนและแคบ ่ และการเสือมลงทางความคิดและความเฉือยชา ปัจจัยเหลานีได้แก ่ ่Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand115สาเหตุของความล้าสมัย (Obsolescence)• 1) นิสัยทีไมชอบใช้ความคิด่• 2) กลัวความล้มเหลว• 3) กระทําเพือเอาตัวรอดไปวัน ๆ• 4) มีทัศนคติ “ผมรู้เพียงพอทีจะเอาตัวรอดแล้ว”• 5) ความโน้มเอียงทีจะผัดวันประกนพรุง• 6) การพึ งพาอาศัยวิธีการแกปัญหาแบบเกา ่ ๆ เสมอ• 7) งานประจําวันทีไมเปลียนแปลง่ ไมสนใจประสบการณ์ใหม่ ๆ• 8) หลีกเลียงโอกาสและความพยายามใหม่ ๆ เนืองจากมองวาซับซ้อนเกนไป่ ิยุงยากเกนไป ่ ิ หรือ เรียกร้องมากเกนไป ิPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand116


้่่่ิ่่ิแนวทางการป้ องกนั• 1) การตรวจสอบสุขภาพและการออกกาลังกาย ํ (ความคิดทีดีเกดจากรางกายทีแข็งแรง)• 2) การประเมินผลปฏิบัติงานเป็ นระยะ ๆ เพือวัดการเติบโตและพัฒนา และกอให้เกดแนวทางแกไข/ปรับปรุง• 3) การหลีกเลียงการแบงงานกนทําเฉพาะด้านมากเกนไป่ ั ิ ด้วยการขยายงานตามแนวนอน (Job Enlargement) และการขยายงานตามแนวดิง (Job Enrichment)• 4) การศึกษาอยางตอเนืองทังทีเป็ ่ ่ นทางการและไมเป็ ่ นทางการ ทังในและนอกเวลาการทํางาน• 5) การเปลียนแปลงอาชีพงานอยางมีแผน ่ โดยการเลือนตําแหนง ่ การสับเปลียน การโยกย้ายตามแนวนอน และการลดตําแหนงงานในบางกรรีตามความจําเป็ นPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand117การจูงใจในขันตอนการประเมินผล• ประเด็นสําคัญ 3 ประเด็น คือ• 1) การประเมินผลอยางเปิ ่ ดเผย• 1.1 การประเมินผลควรมีสวนชวยบุคคลผู้ถูกประเมินให้พัฒนาขีดความสามารถของเขาด้วย• 1.2 จะสรุปผลการประเมินเป็ นขันสุดท้ายได้กตอเมือได้มีการอภิปรายรว ็ ่ ่ มกนัระหวางผู้จัดการและผู้ใต้บังคับบัญชาแล้วเทานัน่ ่ • 2) การประเมินผลอยางยุติธรรม ่• 1.1 ควรประเมินผลแบบสมบูรณ์แทนทีจะเป็ นแบบเปรียบเทียบ (เทียบกบัเป้ าหมาย ไมใชเทียบกบบุคคล่ ่ ั )Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand118


ัั• 3) มีความเห็นอกเห็นใจซึ งกนและกน• 3.1 ยืนยันข้อเท็จจริงรวมกน ่ ั• 3.2 มีความชืนชมระหวางกน ่ ั• 3.3 รวมกนตรวจสอบในกรณีทีล้มเหลว่ ั• 3.4 ให้กาลังใจเพือปรับปรุงการปฏิบัติงานในอนาคตํPanom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand119Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand120


My <strong>Objective</strong>• <strong>Objective</strong> 1: _______________________________________________• <strong>Objective</strong> 2: _______________________________________________• <strong>Objective</strong> 3: _______________________________________________• <strong>Objective</strong> 4: _______________________________________________• <strong>Objective</strong> 5: _______________________________________________Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand121จบหัวข้อ• มีคําถามมัยครับ …….Panom P., Engineering Dept., Sanmina-SCI Thailand122

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!