30.05.2013 Views

STATISTICS-WWW.CLIPVIDVA.COM_

STATISTICS-WWW.CLIPVIDVA.COM_

STATISTICS-WWW.CLIPVIDVA.COM_

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

สถิติ<br />

ในปัจจุบันชีวิตคนเราต้องพบกับ ข้อมูล (Data) มากมาย หากเราต้องการน าข้อมูลเหล่านี้ไปใช้ให้เกิด<br />

ประโยชน์ในสาขาต่างๆ เช่น เศรษฐศาสตร์ วิทยาศาสตร์ เป็นต้น เราจะต้องท าการวิเคราะห์ข้อมูลซึ่งเป็นที่มา<br />

ของวิชา สถิติศาสตร์ (Statistics) ซึ่งเราจะได้ศึกษากันในบทนี้<br />

จากสถิติแล้ว ข้อสอบ PAT1 มีการออกข้อสอบ<br />

ในบทนี้ทุกครั้งประมาณครั้งละ<br />

5-6 ข้อ ที่ส<br />

าคัญระดับความยากถือว่าไม่ยากมากน่าเก็บคะแนนเป็นอย่างยิ่ง<br />

ครับ<br />

สถิติ<br />

1. การน าเสนอข้อมูล<br />

2. ค่ากลางข้อมูล<br />

3. ต าแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล<br />

4. ค่าการกระจายข้อมูล<br />

5. ค่ามาตรฐานและการแจกแจง<br />

แบบปกติ<br />

6. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชัน<br />

ระหว่างข้อมูล<br />

1


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

1. การน าเสนอข้อมูล<br />

ได้ 2 รูปแบบ<br />

การแจกแจงความถี่<br />

เป็นการจัดเรียงล าดับข้อมูลดิบที่เก็บรวบรวมมาได้<br />

โดยจัดให้เป็นหมวดหมู่<br />

ซึ่งท<br />

า<br />

1. การแจกแจงความถี่แบบตาราง<br />

1.1 ตารางแจกแจงความถี่<br />

1.2 ตารางแจกแจงความถี่สะสม<br />

1.3 ตารางแจกแจงความถี่สัมพัทธ์<br />

1.4 ตารางแจกแจงความถี่สะสมสัมพัทธ์<br />

2. การแจกแจงความถี่แบบใช้แผนภูมิหรือกราฟ<br />

2.1 ฮิสโทแกรม<br />

2.2 รูปหลายเหลี่ยมความถี่<br />

2.3 โค้งความถี่<br />

2.4 โค้งความถี่สะสม<br />

2.5 แผนภาพต้น-ใบ<br />

ตัวอย่างตารางและแผนภาพการแจกแจงความถี่แบบต่างๆ<br />

2


NOTE<br />

คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

3


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

2. ค่ากลางข้อมูล<br />

ข้อควรรู้<br />

2.1 ค่าเฉลี่ยเลขคณิต<br />

(Arithmetic mean)<br />

ข้อมูล มีสูตรดังนี้<br />

ประชากร หมายถึง กลุ่มของสมาชิกทุกหน่วยที่เราต้องการศึกษาลักษณะ<br />

กลุ่มตัวอย่าง<br />

หมายถึง กลุ่มย่อยของสมาชิกในกลุ่มของประชากรที่สุ่มเลือกมาเพื่อศึกษา<br />

ค่าเฉลี่ยเลขคณิต<br />

เรียกสั้นๆว่าค่าเฉลี่ย<br />

คือค่าของผลรวมของข้อมูลทั้งหมดหารด้วยจ<br />

านวน<br />

เมื่อ<br />

Xi แทน ข้อมูลแต่ละตัว และ n แทน จ านวนข้อมูล<br />

นอกจากนี้ยังมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตในแบบต่างๆ<br />

ได้แก่<br />

- ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบถ่วงน้าหนัก<br />

เมื่อ<br />

wi คือ น้าหนักถ่วงของแต่ละข้อมูล<br />

4


NOTE<br />

คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

- ค่าเฉลี่ยเลขคณิตรวม<br />

- ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว<br />

2.2 มัธยฐาน (Median)<br />

เมื่อ<br />

fi แทนความถี่ของแต่ละอันตรภาคชั้น<br />

และ xi แทน จุดกึ่งกลางของแต่ละอันตรภาคชั้น<br />

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตแบบลดทอน<br />

มัธยฐาน คือค่าของข้อมูลที่อยู่ต<br />

าแหน่งกึ่งกลางของชุดข้อมูลเมื่อมีการจัดเรียงข้อมูลจากน้อย<br />

ไปมากหรือมากไปน้อย โดยแบ่งเป็น 2 กรณี<br />

- กรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่<br />

N 1<br />

มัธยฐาน คือ ค่าของข้อมูลต าแหน่งที่<br />

2<br />

***ข้อควรระวัง การหาค่ามัธยฐานข้อมูลต้องมีการเรียงล าดับจากน้อยไปมากแล้ว<br />

5


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

- กรณีข้อมูลมีการแจกแจงความถี่<br />

เมื่อ<br />

L แทนขอบล่างของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่<br />

I แทนความกว้างของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่<br />

L<br />

f แทนความถี่สะสมจนถึงขอบล่างของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่<br />

f Med แทนความถี่ของชั้นที่มีมัธยฐานอยู่<br />

2.3 ฐานนิยม (Mode)<br />

ฐานนิยม คือข้อมูลที่มีความถี่สูงสุด<br />

แบ่งเป็น 2 กรณี<br />

- กรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่<br />

NOTE<br />

- กรณีข้อมูลมีการแจกแจงความถี่<br />

ฐานนิยม คือ ข้อมูลที่มีความถี่(จ<br />

านวน)สูงสด<br />

เมื่อ<br />

L แทนขอบล่างของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่<br />

I แทนความกว้างของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่<br />

d แทนผลต่างความถี่ของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่กับชั้นที่อยู่ติดกันที่ต่ากว่า<br />

L<br />

d แทนผลต่างความถี่ของชั้นที่มีฐานนิยมอยู่กับชั้นที่อยู่ติดกันที่สูงกว่า<br />

U<br />

6


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

2.4 สมบัติของค่ากลางข้อมูล<br />

-<br />

n<br />

<br />

i1<br />

nX X<br />

n<br />

<br />

i1<br />

- X X <br />

n<br />

<br />

i<br />

i<br />

0<br />

- <br />

i1<br />

i<br />

2<br />

X k มีค่าน้อยที่สุด<br />

เมื่อ<br />

kX -<br />

n<br />

<br />

i1<br />

Xik มีค่าน้อยที่สุด<br />

เมื่อ<br />

k Med<br />

- ถ้าข้อมูลชุด Y ทุกๆตัวสัมพันธ์กับข้อมูลชุด X แต่ละตัว ตามสมการ i i <br />

ว่า Y mXCหรือ Y mXC หรือ Y mXC REVIEW<br />

Med Med<br />

7<br />

Mod Mod<br />

Y mX C จะได้<br />

ตัวอย่าง ข้อมูลน้าหนัก<br />

(ก.ก.) ของนักเรียน 9 คนเป็นดังนี้<br />

50 64 72 43 57 59 64 41 50<br />

จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต<br />

มัธยฐานและฐานนิยมของข้อมูลชุดนี้


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ตัวอย่าง จงค านวณผลการเรียนเฉลี่ยของนักเรียนคนหนึ่งซึ่งมีผลการเรียนดังนี้<br />

รายวิชา คณิตศาสตร์ ฟิสิกส์ เคมี ชีววิทยา ภาษาอังกฤษ<br />

หน่วยกิต 3 2 1.5 1.5 2<br />

เกรดที่ได้<br />

4 2.5 3 3.5 1.5<br />

ตัวอย่าง นักเรียนห้องหนึ่งมีนักเรียนทั้งหมด<br />

24 คน เป็นนักเรียนชาย 16 คน โดยส่วนสูงเฉลี่ยของ<br />

นักเรียนชายและหญิง คือ 172 และ 158 เซนติเมตร ตามล าดับ จงหาส่วนสูงเฉลี่ยของนักเรียนห้องนี้<br />

ตัวอย่าง ตารางแจกแจงความถี่สะสมของคะแนนสอบของนักเรียน<br />

100 คน เป็นดังนี้<br />

คะแนน จ านวนนักเรียนสะสม<br />

20-29 2<br />

30-39 11<br />

40-49 24<br />

50-59 44<br />

60-69 74<br />

70-79 89<br />

80-89 99<br />

90-99 100<br />

จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิต<br />

มัธยฐานและฐานนิยมของคะแนนสอบ<br />

8


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ตัวอย่าง จงหาค่า a-b เมื่อ<br />

a คือค่าที<br />

12 20 และ b คือค่าที่ท<br />

าให้<br />

8<br />

bYiมีค่าน้อยที i1<br />

่ท าให้ aX <br />

9<br />

5<br />

<br />

i1<br />

i<br />

2<br />

มีค่าน้อยที่สุดส<br />

าหรับข้อมูล X : 2 3 6<br />

่สุดส าหรับข้อมูล Y : 16 15 10 8 7 6 5 3<br />

ENT ต.ค. 41 ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงล<br />

าดับจากน้อยไปมากได้เป็น 10, 20, 30, 30, a, b, 60, 60, 90, 120 ถ้า<br />

ฐานนิยมและมัธยฐานของคะแนนชุดนี้เป็น<br />

30 และ 40 ตามล าดับ แล้วข้อมูลชุดต่อไปนี้<br />

คือ 11, 22, 33, 34,<br />

a+5, b+6, 67, 68, 99, 130 มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับข้อใด<br />

1. 50 2. 55.5 3. 60 4. 60.5


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ENT มี.ค. 42 เมื่อสร้างตารางแจกแจงความถี่ของนักเรียน<br />

36 คน โดยใช้ความกว้างของแต่ละอันตรภาคชั้น<br />

เป็น 10 แล้ว ปรากฏว่ามัธยฐานของคะแนนทั้งหมดอยู่ในช่วง<br />

50-59 ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้คะแนนต่ากว่า<br />

49.5 คะแนนอยู่จ<br />

านวน 12 คน และมีนักเรียนได้คะแนนต่ากว่า<br />

59.5 คะแนนอยู่จ<br />

านวน 20 คน แล้วมัธยฐาน<br />

ของคะแนนการสอบครั้งนี้มีค่าเท่ากับเท่าใด<br />

1. 53 2. 54 3. 56 4. 57<br />

ENT มี.ค. 44 ก าหนดให้ x1, x2,…, x10 มีค่าเป็น 5, 6, a, 7, 10, 15, 5, 10, 10, 9 ตามล าดับ โดยที่<br />

a


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ENT มี.ค. 48 ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย<br />

x1, x2,…, x13 โดยที่<br />

xn = | 5-n | เมื่อ<br />

n = 1, 2,…, 13 จ านวน<br />

จริง a ที่ท<br />

าให้<br />

13<br />

<br />

i1<br />

x a<br />

n<br />

มีค่าน้อยที่สุด<br />

เท่ากับเท่าใด<br />

PAT1 มี.ค. 52 ข้อมูลชุดหนึ่งมี<br />

99 จ านวน เรียงล าดับจากน้อยไปมากได้เป็น x1, x2,…, x99 ถ้าค่าเฉลี่ยเลข<br />

คณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับมัธยฐาน<br />

แล้วข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />

1.<br />

49 99<br />

<br />

x x<br />

i i<br />

i1i51 49 99<br />

<br />

2. x x x x <br />

3.<br />

50 i 50 i<br />

i1i51 49 99<br />

<br />

x x x x<br />

50 i 50 i<br />

i1i51 49 2 99<br />

2<br />

<br />

4. x x x x <br />

50 i 50 i<br />

i1i51 11


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

PAT1 มี.ค. 53 นักเรียนห้องหนึ่งสอบวิชาคณิตศาสตร์ได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ<br />

40 คะแนน ถ้า<br />

นักเรียนชายสอบได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต<br />

35 คะแนนและนักเรียนหญิงสอบได้คะแนนเฉลี่ยเลขคณิต<br />

50<br />

คะแนน อัตราส่วนของนักเรียนชายต่อนักเรียนหญิงตรงกับข้อใดต่อไปนี้<br />

1. 3:2<br />

2. 2:3<br />

3. 2:1<br />

4. 1:2<br />

PAT1 ก.ค. 53 สร้างตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนการสอบของนักเรียนกลุ่มหนึ่ง<br />

โดยให้ความกว้างของ<br />

แต่ละอันตรภาคชั้นเป็น<br />

10 แล้วปรากฏว่ามัธยฐานของคะแนนการสอบเท่ากับ 57 คะแนนซึ่งอยู่ในช่วง<br />

50-59<br />

ถ้ามีนักเรียนที่สอบได้คะแนนต่ากว่า<br />

49.5 คะแนน อยู่จ<br />

านวน 12 คน และมีนักเรียนได้คะแนนต่ากว่า<br />

59.5<br />

คะแนน อยู่จ<br />

านวน 20 คน จงหาว่านักเรียนกลุ่มนี้มีทั้งหมดกี่คน<br />

12


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

3. ต าแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล<br />

ในหัวข้อที่แล้วเราได้ศึกษาการหาค่ากึ่งกลางของข้อมูลไปแล้ว<br />

ไม่ว่าจะเป็น ค่าเฉลี่ยเลขคณิต<br />

มัธยฐาน<br />

และฐานนิยม ส าหรับในบทนี้เราจะศึกษาค่า<br />

ณ ต าแหน่งใดๆของข้อมูล ได้แก่ ควอร์ไทล์ (แบ่งข้อมูลออกเป็น<br />

4 ส่วนเท่าๆกัน) เดไซล์ (แบ่งข้อมูลออกเป็น 10 ส่วนเท่าๆกัน) และเปอร์เซนไทล์ (แบ่งข้อมูลออกเป็น 100<br />

ส่วนเท่าๆกัน) โดยข้อมูลจะต้องถูกเรียงล าดับจากน้อยไปมากก่อนเสมอ<br />

NOTE<br />

แบ่งเป็น 2 กรณี<br />

D1<br />

แผนภาพอธิบายต าแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล<br />

P25<br />

Q1<br />

D2.5<br />

การค านวณหาค่าควอร์ไทล์ เดไซล์และเปอร์เซนไทล์มีลักษณะคล้ายๆกับการค านวณค่ามัธยฐาน โดย<br />

- กรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่<br />

Med<br />

P50<br />

Q2<br />

D5<br />

r<br />

ควอไทล์ที่<br />

r (Qr) คือข้อมูลต าแหน่งที่<br />

N 1<br />

4<br />

13<br />

P75<br />

Q3<br />

D7.5<br />

D9


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

r<br />

เดไซล์ที่<br />

r (Dr) คือข้อมูลต าแหน่งที่<br />

N 1<br />

10<br />

r<br />

เปอร์เซนไทล์ที่<br />

r (Pr) คือข้อมูลต าแหน่งที่<br />

N 1<br />

100<br />

***ข้อควรระวัง ในการหาค่าควอร์ไทล์ เดไซล์และเปอร์เซนไทล์ข้อมูลต้องมีการเรียงล าดับจากน้อยไปมาก<br />

แล้ว<br />

- กรณีข้อมูลมีการแจกแจงความถี่<br />

r Q<br />

เมื่อ<br />

L แทนขอบล่างของชั้นที่มีควอร์ไทล์<br />

เดไซล์หรือเปอร์เซนไทล์อยู่<br />

I แทนความกว้างของชั้นที่มีควอร์ไทล์<br />

เดไซล์หรือเปอร์เซนไทล์อยู่<br />

f แทนความถี่สะสมจนถึงขอบล่างของชั้นที่มีควอร์ไทล์<br />

เดไซล์หรือเปอร์เซนไทล์อยู่<br />

L<br />

f , r D f , r P f แทนความถี่ของชั้นที่มีควอร์ไทล์<br />

เดไซล์หรือเปอร์เซนไทล์อยู่<br />

***ข้อควรระวัง ในการหาค่าควอร์ไทล์ เดไซล์และเปอร์เซนไทล์ของข้อมูลที่แจกแจงความถี่แล้ว<br />

จะใช้<br />

ต าแหน่งโดยไม่ต้องบวกหนึ่ง<br />

มีแผนภาพอีกชนิดหนึ่งที่ช่วยให้เห็นการกระจายข้อมูลได้ชัดเจนยิ่งขึ้น<br />

เรียกว่า แผนภาพกล่อง (Box<br />

plot) ซึ่งจะบอกค่าทางสถิติทั้งหมด<br />

5 ค่า ได้แก่ ข้อมูลต่าสุด<br />

ข้อมูลสูงสุด ข้อมูลในควอร์ไทล์ที่<br />

1, 2, 3 โดยรูป<br />

ด้านล่างแสดงตัวอย่างของแผนภาพกล่อง<br />

14


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

องค์ประกอบของแผนภาพกล่อง ได้แก่ ตัวกล่องซึ่งจุดปลายกล่องทางด้านซ้าย<br />

ตรงกลางและขวาจะ<br />

เป็นข้อมูลในควอร์ไทล์ที่<br />

1 2 และ 3 ตามล าดับ และกิ่งซึ่งจะยื่นออกมาจากกล่อง<br />

โดยจุดปลายกิ่งซ้ายและกิ่ง<br />

ขวาคือ ข้อมูลต่าสุดและสูงสุดตามล<br />

าดับ<br />

ตัวอย่าง จากข้อมูล 18.3 20.6 19.3 22.4 20.2 18.8 19.7 20.0 19.6 18.8 จงหา P89 – Q3 + D4<br />

ตัวอย่าง ส่วนสูงของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเป็นดังตาราง<br />

จงใช้ตารางในการตอบค าถามต่อไปนี้<br />

ส่วนสูง (cm) จ านวนนักเรียน<br />

150-154 5<br />

155-159 10<br />

160-164 12<br />

165-169 14<br />

170-174 8<br />

175-179 7<br />

180-184 4<br />

15


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ก. นายด าและนายแดงเป็นนักเรียนในกลุ่มนี้<br />

โดยนายด ามีส่วนสูงอยู่ในต<br />

าแหน่งควอร์ไทล์ที่<br />

3 และนายแดงมีส่วนสูงอยู่ในต<br />

าแหน่งเปอร์เซนไทล์ที่<br />

45 ดังนั้นนายด<br />

าและนายแดงมีส่วนสูงต่างกันเท่าไร<br />

ข. นางสาวขาวมีส่วนสูง 159.5 เซนติเมตร คิดเป็นเดไซล์ที่เท่าไร<br />

ENT มี.ค. 46 ก าหนดตารางแจกแจงความถี่ของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่งได้ดังนี้<br />

่<br />

คะแนน ความถี<br />

16-18 a<br />

19-21 2<br />

22-24 3<br />

25-27 6<br />

28-30 4<br />

ถ้าควอร์ไทล์ที่<br />

1 (Q1) เท่ากับ 18.5 คะแนน แล้วมัธยฐานของคะแนนสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องนี้<br />

เท่ากับเท่าใด<br />

16


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

A-NET 49 โรงงานแห่งหนึ่งมีพนักงานจ<br />

านวน 40 คน และตารางการแจกแจงความถี่สะสมของอายุ<br />

พนักงานเป็นดังนี้<br />

อายุ(ปี) ความถี่สะสม<br />

11-20 6<br />

21-30 14<br />

31-40 26<br />

41-50 36<br />

51-60 40<br />

ถ้าผู้จัดการมีอายุ<br />

48.5 ปี แล้วพนักงานที่มีอายุระหว่างค่ามัธยฐานของอายุพนักงานและอายุของผู้จัดการ<br />

มี<br />

จ านวนประมาณเท่ากับข้อใด<br />

1. 31.5%<br />

2. 33.7%<br />

3. 35.0%<br />

4. 37.0%<br />

PAT1 ต.ค. 52 ข้อมูลชุดหนึ่งมี<br />

5 จ านวนและมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ<br />

12 ถ้าควอไทล์ที่<br />

1 และ 3 ของ<br />

ข้อมูลชุดนี้เท่ากับ<br />

5 และ 20 ตามล าดับ แล้วเดไซล์ที่<br />

5 ของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่าใด<br />

17


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

PAT1 ต.ค. 53 ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียน 2 ห้อง ซึ่งท<br />

าคะแนนเฉลี่ยได้<br />

60 คะแนน โดยห้อง<br />

แรกมีนักเรียนจ านวน 40 คน และห้องที่สองมีนักเรียนจ<br />

านวน 30 คน ถ้าคะแนนสอบในห้องแรก เปอร์เซน<br />

ไทล์ที่<br />

50 มีค่า 64 คะแนนและฐานนิยมมีค่าเป็น 66 คะแนน แล้วคะแนนเฉลี่ยของนักเรียนห้องที่สองมีค่า<br />

เท่ากับเท่าใด<br />

PAT1 มี.ค. 54 ในการสอบคณิตศาสตร์คะแนนเต็ม 60 คะแนน มีนักเรียนเข้าสอบ 30 คน นาย ก. เป็น<br />

นักเรียนคนหนึ่งที่เข้าสอบในครั้งนี้<br />

นาย ก. สอบได้ 53 คะแนนและมีจ านวนนักเรียนที่มีคะแนนสอบน้อยกว่า<br />

53 คะแนนอยู่<br />

27 คน ถ้ามีการจัดกลุ่มคะแนนสอบเป็นช่วงคะแนนโดยมีอันตรภาคชั้นกว้างเท่าๆกัน<br />

คะแนน<br />

สอบของนาย ก. อยู่ในช่วงคะแนน<br />

51-60 จ านวนนักเรียนที่สอบได้คะแนนในช่วงคะแนน<br />

51-60 นี้มีทั้งหมดกี่<br />

คน<br />

1. 3<br />

2. 4<br />

3. 5<br />

4. 9<br />

18


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

4. ค่าการกระจายข้อมูล<br />

ในหัวข้อที่ผ่านมาเราได้ศึกษาถึงค่ากลางของข้อมูลเพื่อใช้เป็นตัวแทนของข้อมูลทั้งหมด<br />

แต่ยังมีอีกสิ่ง<br />

หนึ่งที่ควรจะวิเคราะห์ประกอบกันนั่นคือ<br />

การกระจายตัวของขัอมูล ซึ่งจะช่วยให้เราเข้าใจข้อมูลที่เรามีได้<br />

ละเอียดขึ้น<br />

โดยการวัดการกระจายตัวของข้อมูลแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ การวัดการกระจายสัมบูรณ์และการ<br />

วัดการกระจายสัมพัทธ์ ซึ่งแต่ละประเภทจะมีตัววัดการกระจายข้อมูลอีก<br />

4 แบบ ซึ่งจะได้ศึกษาต่อไป<br />

4.1 การวัดการกระจายสัมบูรณ์ คือ การวัดการกระจายตัวของข้อมูลเพียงชุดเดียว เพื่อดู<br />

ว่าข้อมูลชุดนั้นมีการกระจายตัวมากน้อยเพียงใด<br />

โดยที่นิยมใช้มีอยู่ทั้งหมด<br />

4 แบบ ได้แก่<br />

- พิสัย<br />

- ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์<br />

- ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย<br />

- ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

สูตรการค านวณ พิสัย (Range)<br />

- กรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่<br />

- กรณีข้อมูลมีการแจกแจงความถี่<br />

พิสัย = ค่าสูงสุด – ค่าต่าสุด<br />

( xmax xmin)<br />

พิสัย = ขอบบนของอันตรภาคชั้นที่มีข้อมูลที่มีค่าสูงสุด<br />

– ขอบล่างของอันตรภาคชั้นที่มีข้อมูลที่มีค่าต่าสุด<br />

สูตรการค านวณ ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์<br />

(Quartile deviation : QD)<br />

- กรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่และมีการแจกแจงความถี่<br />

สูตรการค านวณ ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย<br />

(Mean deviation : MD)<br />

- กรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่<br />

19


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

- กรณีข้อมูลมีการแจกแจงความถี่<br />

สูตรการค านวณ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

(Standard deviation : SD)<br />

- กรณีข้อมูลไม่มีการแจกแจงความถี่<br />

- กรณีข้อมูลมีการแจกแจงความถี่<br />

NOTE<br />

ถ้าข้อมูลชุด Y ทุกๆตัว สัมพันธ์กับข้อมูลชุด X แต่ละตัว ตามสมการ จะได้ว่า<br />

ค่าการกระจายของข้อมูลชุด Y เป็น |m| เท่าของชุด X<br />

4.2 การวัดการกระจายสัมพัทธ์ จะใช้ก็ต่อเมื่อมีข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไป<br />

ซึ่งอาจเป็น<br />

ข้อมูลคนละประเภทแต่สามารถน ามาวัดการกระจายได้ โดยที่นิยมใช้มีอยู่ทั้งหมด<br />

4 แบบ ได้แก่<br />

- สัมประสิทธิ์ของพิสัย<br />

- สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์<br />

- สัมประสิทธิ์ของส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย<br />

- สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน<br />

20


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

สูตรการค านวณ สัมประสิทธิ์ของพิสัย(Coefficient<br />

of Range : CR)<br />

สูตรการค านวณ สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนควอร์ไทล์<br />

(Coefficient of quartile deviation : CQ)<br />

สูตรการค านวณ สัมประสิทธิ์ส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ย<br />

(Coefficient of average deviation : CA)<br />

สูตรการค านวณ สัมประสิทธิ์ของความแปรผัน<br />

(Coefficient of variation : CV)<br />

ข้อควรรู้<br />

ตัวอย่าง อายุของสมาชิกในครอบครัวหนึ่งซึ่งมี<br />

5 คน ได้แก่ 10, 30, 30, 30, 60 ปี จงหาค่าการ<br />

กระจายสัมบูรณ์ทั้ง<br />

4 แบบ<br />

21


ข้อควรรู้<br />

คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ความแปรปรวน ( ) เป็นการวัดการกระจายสัมบูรณ์อีกชนิดหนึ่ง<br />

โดย<br />

ความแปรปรวน = ค่าของส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน<br />

2<br />

และเมื่อมีข้อมูล<br />

2 ชุดที่แต่ละชุดทราบความแปรปรวน<br />

สามารถหาความแปรปรวนรวมได้จาก<br />

ตัวอย่าง ในการสอบครั้งหนึ่ง<br />

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนของคะแนนสอบของนักเรียนเป็น<br />

14 คะแนนและ 1.4 คะแนน 2 ตามล าดับ จงหาค่าเฉลี่ยเลขคณิตและความแปรปรวนเมื่อ<br />

ก. ผู้สอนเพิ่มคะแนนเก็บให้กับทุกคน<br />

คนละ 5 คะแนน<br />

ข. หากผู้สอนปรับคะแนนเต็มจากเดิม<br />

20 คะแนนเป็น 60 คะแนน<br />

22


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ENT มี.ค. 43 ข้อมูลชุดหนึ่งประกอบด้วย<br />

x1, x2, x3,…, x20 โดยมีสมบัติดังนี้<br />

20<br />

Xia มีค่าน้อยที<br />

i1<br />

่สุดเมื่อ<br />

a=5 และ<br />

20<br />

2<br />

( Xib) มีค่าน้อยที<br />

i1<br />

1. ข้อมูลชุดนี้มีค่าเฉลี่ยเลขคณิตน้อยกว่าค่ามัธยฐาน<br />

2. ผลรวมของข้อมูลชุดนี้ทั้งหมดเท่ากับ<br />

100<br />

3. ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับ<br />

5<br />

4. สัมประสิทธิ์ของการแปรผันของข้อมูลชุดนี้มีค่าเท่ากับ<br />

50%<br />

23<br />

20<br />

2<br />

( Xi<br />

5) 500<br />

i1<br />

<br />

่สุดเมื่อ<br />

b=8 ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />

ENT ต.ค. 45 ข้อมูลชุดหนึ่งเรียงล<br />

าดับจากน้อยไปมาก คือ a 4 5 6 b ซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตและส่วน<br />

เบี่ยงเบนเฉลี่ยเท่ากับ<br />

6 และ 3 ตามล าดับ สัมประสิทธิ์ของพิสัยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับเท่าใด<br />

,


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ENT มี.ค. 47 ถ้า 20, x2,…,x25 เป็นข้อมูลที่เรียงจากค่าน้อยไปค่ามากและเป็นล<br />

าดับเลขคณิตและควอร์ไทล์<br />

ที่หนึ่งของข้อมูลชุดนี้เท่ากับ<br />

31 แล้วส่วนเบี่ยงเบนเฉลี่ยของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้<br />

1. 6.24<br />

2. 10.28<br />

3. 12.48<br />

4. 24.96<br />

ENT ต.ค 47 ให้ x1, x2,…, x5 เป็นข้อมูลชุดหนึ่งซึ่งมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ<br />

6 ถ้า<br />

แล้ว ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้<br />

1. 2<br />

2. 2<br />

3. 6<br />

4. 2 2<br />

24<br />

5<br />

2<br />

( Xi<br />

4) 30<br />

i1


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

PAT1 ก.ค. 52 ถ้าความยาวของรัศมีวงกลม 10 วงมีค่าเฉลี่ยเลขคณิตเท่ากับ<br />

3 และมีความแปรปรวนเท่ากับ<br />

5 แล้วผลรวมของพื้นที่วงกลมทั้ง<br />

10 วงนี้<br />

มีค่าเท่ากับเท่าใดต่อไปนี้<br />

1. 90<br />

2. 95<br />

3. 140<br />

4. 340<br />

PAT1 ต.ค. 53 พิจารณาข้อความต่อไปนี้<br />

ก. ในการสอบของนักเรียน 3 คน พบว่าค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบเท่ากับ<br />

80 คะแนน ค่ามัธย-<br />

ฐาน 75 คะแนน และพิสัยเท่ากับ 25 คะแนน คะแนนสอบของนักเรียนที่ได้คะแนนต่าสุดเท่ากับ<br />

70 คะแนน<br />

ข. ข้อมูลชุดที่หนึ่งมี<br />

5 จ านวน คือ x1, x2, x3, x4, x5 และข้อมูลชุดที่สองมี<br />

4 จ านวน คือ x1, x2, x3,<br />

x4 โดยที่ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลทั้งสองชุดเท่ากัน<br />

ถ้า a และ b เป็นส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของข้อมูลชุดที่<br />

หนึ่งและชุดที่สองตามล<br />

าดับ แล้ว<br />

b<br />

a <br />

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />

1. ก. ถูก และ ข. ถูก<br />

2. ก. ถูก แต่ ข. ผิด<br />

3. ก. ผิด แต่ ข. ถูก<br />

4. ก. ผิด และ ข. ผิด<br />

5<br />

2<br />

25


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

5. ค่ามาตรฐานและการแจกแจงแบบปกติ<br />

5.1 ค่ามาตรฐาน<br />

ในหัวข้อนี้<br />

หากเราต้องการเปรียบเทียบข้อมูลตั้งแต่สองชุดขึ้นไป<br />

เช่น นาย ก. ได้คะแนนสอบ<br />

วิชาคณิตศาสตร์ 90% ส่วนวิชาฟิสิกส์ 98% เราไม่สามารถกล่าวได้ว่า นาย ก. เก่งวิชาฟิสิกส์มากกว่าวิชา<br />

คณิตศาสตร์ แต่เราต้องค านึงถึงค่าเฉลี่ยและการกระจายของคะแนนทั้งสองวิชาด้วย<br />

นักสถิติจึงคิดค่าทางสถิติ<br />

ใหม่อีกหนึ่งตัวเพื่อใช้เปรียบเทียบข้อมูลซึ่งมาจากคนละชุด<br />

นั่นก็คือ<br />

ค่ามาตรฐาน (Standard score : z) โดย<br />

หาได้จาก<br />

สมบัติของค่ามาตรฐาน<br />

-<br />

n<br />

<br />

i1<br />

z<br />

i<br />

0<br />

- z 0 และ SD 1 เสมอ<br />

z<br />

- The 95% rule กล่าวว่า “โดยทั่วไปข้อมูลที่อยู่ระหว่าง<br />

z = -2 และ z = 2 จะมีปริมาณ 95%<br />

ของข้อมูลทั้งหมด”<br />

หมายความว่าข้อมูลทั้งหมดจะอยู่ในช่วง<br />

(z – 2SD, z + 2SD) แสดงว่าเรา<br />

อาจประมาณ พิสัย เท่ากับ 4SD ได้<br />

5.2 เส้นโค้งความถี่และการแจกแจงแบบปกติ<br />

เส้นโค้งความถี่<br />

แสดงให้เห็นถึงลักษณะการแจกแจงของข้อมูลมีทั้งหมด<br />

3 แบบ ได้แก่<br />

26


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

สิ่งที่เราได้จากเส้นโค้งความถี่<br />

นั่นคือ<br />

สามารถค านวณหาต าแหน่งสัมพัทธ์ของข้อมูล (มัธยฐาน ควอร์<br />

ไทล์ เดไซล์ เปอร์เซนไทล์) ได้ โดยอาศัยพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ<br />

ซึ่งมีหลักการง่ายๆ<br />

ได้แก่<br />

1. เราจะต้องเปลี่ยนข้อมูลของเราให้อยู่ในรูปค่ามาตรฐาน<br />

แล้วน าไปสร้างเส้นโค้งปกติ<br />

มาตรฐาน ซึ่งมีสมบัติว่า<br />

พื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานจะเท่ากับ<br />

1.00<br />

2. ใช้ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานกับค่ามาตรฐาน<br />

โดย<br />

ค่าที่ระบุในตารางจะแสดงพื้นที่ที่วัดระหว่าง<br />

z=0 ไปถึง z ใดๆที่ระบุในตาราง<br />

3. หาค่าต าแหน่งสัมพัทธ์ที่ต้องการโดยน<br />

าพื้นที่ที่ได้ไปเปลี่ยนเป็นค่ามาตรฐาน<br />

เช่น การหาเปอร์เซนไทล์ที่<br />

65 จะท าได้โดยการเปิดตารางพื้นที่<br />

0.65-0.5=0.15 ซึ่งจะได้ว่าค่า<br />

z=0.385 หรือ เปอร์เซนไทล์ที่<br />

20 จะท าได้โดยการเปิดตาราง 0.5-0.2=0.3 ซึ่งจะได้ค่า<br />

z=0.841 แต่เนื่องจาก<br />

เป็นพื้นที่ทางด้านซ้าย<br />

จะได้ z=-0.841<br />

ตัวอย่าง นายแดงสอบวิชาภาษาไทยและคณิตศาสตร์ได้คะแนน 48 และ 35 คะแนนตามล าดับ โดย<br />

ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของคะแนนสอบวิชาภาษาไทยและคณิตศาสตร์เท่ากับ<br />

45 และ 32 คะแนนตามล าดับ และ<br />

ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานเท่ากับ<br />

12 และ 10 คะแนนตามล าดับ จงหาว่านายแดงสอบวิชาใดได้ดีกว่ากัน<br />

27


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ตัวอย่าง คนงาน 100 คน มีอายุเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานของอายุเป็น<br />

25 และ 13 ปี<br />

ตามล าดับ ถ้าผลรวมของค่ามาตรฐานของอายุคนงาน 99 คนเป็น -0.25 แล้ว อายุของคนงานอีกคนที่เหลือ<br />

เป็นเท่าใด<br />

ตัวอย่าง ถ้าคะแนนสอบวิชาเคมีมีการแจกแจงปกติ โดยมีคะแนนเฉลี่ยและความแปรปรวนเป็น<br />

60<br />

และ 25 ตามล าดับ และผู้สอบผ่านต้องได้ไม่น้อยกว่า<br />

54 คะแนน สมมตินาย ก ข และ ค ทราบว่าตนเองได้<br />

คะแนนอยู่ในต<br />

าแหน่งเปอร์เซนไทล์ที่<br />

10 15 และ 33 ตามล าดับ จงหาว่านาย ค สอบได้คะแนนเท่าใดและ<br />

นักเรียนทั้งสามคนนี้ใครสอบผ่านบ้าง<br />

ก าหนดให้ตารางแสดงพื้นที่ใต้โค้งปกติตั้งแต่ค่ามาตรฐาน<br />

0 ถึง z ดังนี้<br />

่<br />

Z 0.35 0.40 0.44 1.20<br />

พื้นที<br />

0.1368 0.1554 0.1700 0.3849<br />

ENT มี.ค. 43 โรงเรียนแห่งหนึ่งมีนักเรียนชั้น<br />

ม.6 จ านวน 300 คน สมชาย สมศักดิ์และสมศรี<br />

เป็นนักเรียน<br />

ชั้น<br />

ม.6 ของโรงเรียนนี้<br />

โดยที่<br />

เกรดเฉลี่ยของสมชายอยู่ในต<br />

าแหน่งเดไซล์ที่<br />

8.15 เกรดเฉลี่ยของสมศักดิ์คิดเป็น<br />

ค่ามาตรฐานเท่ากับ 1 นักเรียนชั้น<br />

ม.6 ที่ได้เกรดเฉลี่ยมากกว่าสมศรีมีจ<br />

านวน 50 คน ถ้าสมมติว่าเกรดเฉลี่ย<br />

ของนักเรียนชั้น<br />

ม.6 มีการแจกแจงปกติ ข้อใดต่อไปนี้เป็นรายชื่อนักเรียนเรียงล<br />

าดับจากคนที่ได้เกรดเฉลี่ยมาก<br />

ที่สุดไปน้อยที่สุด<br />

(ก าหนดพื้นที่ใต้โค้งปกติ<br />

z=0 ถึง z=1 มีค่าเท่ากับ 0.3413)<br />

1. สมชาย สมศักดิ์<br />

สมศรี<br />

2. สมศักดิ์<br />

สมศรี สมชาย<br />

3. สมศรี สมศักดิ์<br />

สมชาย<br />

4. สมศักดิ์<br />

สมชาย สมศรี<br />

28


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ENT ต.ค. 45 ในการสอบวิชาคณิตศาสตร์ของนักเรียนห้องหนึ่ง<br />

ซึ่งมีคะแนนเต็ม<br />

70 คะแนน มีสัมประสิทธิ์<br />

ของการแปรผันของคะแนนเท่ากับ 2/7 ถ้านายบัณฑิตสอบได้ 65 คะแนน ซึ่งคิดเป็นคะแนนมาตรฐานเท่ากับ<br />

3 และนางสาวบังอรสอบได้คะแนนซึ่งคิดเป็นค่ามาตรฐานเท่ากับ<br />

1.9 แล้ว นางสาวบังอรสอบได้คะแนนเท่ากับ<br />

ข้อใดต่อไปนี้<br />

1. 50 คะแนน<br />

2. 52 คะแนน<br />

3. 54 คะแนน<br />

4. 56 คะแนน<br />

ENT มี.ค. 46 การแจกแจงความสูงของนักเรียนกลุ่มหนึ่งเป็นการแจกแจงปกติ<br />

ถ้านักเรียนที่มีความสูง<br />

มากกว่า 149.4 เซนติเมตร มีอยู่<br />

3% และนักเรียนที่มีความสูงน้อยกว่าฐานนิยมแต่มากกว่า<br />

136.5 เซนติเมตร<br />

มีอยู่<br />

25.8% แล้ว ข้อใดต่อไปนี้คือฐานนิยมและความแปรปรวนของความสูงของนักเรียนกลุ่มนี้ตามล<br />

าดับ<br />

(หน่วยเป็นเซนติเมตร) ก าหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติมาตรฐานที่อยู่ระหว่าง<br />

0 ถึง z<br />

1. 144.4, 5<br />

2. 144.4, 25<br />

3. 140, 5<br />

4. 140, 25<br />

่<br />

z 0.3 0.7 1.49 1.88<br />

พื้นที<br />

0.1179 0.2580 0.4139 0.4700<br />

29


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

PAT1 มี.ค. 52 ข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ<br />

ถ้าหยิบข้อมูล a, b, c, d มาค านวณค่ามาตรฐาน ปรากฏว่า<br />

ได้ค่าดังตาราง<br />

ข้อใดต่อไปนี้ถูก<br />

ข้อมูล a b c d<br />

ค่ามาตรฐาน(z) -3 -0.45 0.45 1<br />

1. –a+2b+2c-3d = 0<br />

2. –a+b+c-3d = 0<br />

3. a-2b+3c+2d = 0<br />

4. a-b+c-d = 0<br />

PAT1 มี.ค. 52 ข้อมูลความสูงของนักเรียนชั้น<br />

ม.6 ของโรงเรียนแห่งหนึ่งมีการแจกแจงปกติ<br />

ถ้าจ านวน<br />

นักเรียนที่มีความสูงน้อยกว่า<br />

140.6 เซนติเมตร มีอยู่<br />

3.01% และจ านวนนักเรียนที่มีความสูงมากกว่าค่ามัธย<br />

ฐานแต่น้อยกว่า 159.4 เซนติเมตร มีอยู่<br />

46.99% แล้วจ านวนนักเรียนที่มีความสูงไม่น้อยกว่า<br />

155 เซนติเมตร<br />

แต่ไม่เกิน 160 เซนติเมตรมีเปอร์เซนเท่ากับข้อใดต่อไปนี้<br />

เมื่อก<br />

าหนดตารางแสดงพื้นที่ใต้เส้นโค้งปกติ<br />

มาตรฐานระหว่าง 0 ถึง z เป็นดังนี้<br />

z 1.00 1.12 1.88 2.00<br />

พื้นที่ใต้เส้นโค้ง<br />

0.3413 0.3686 0.4699 0.4772<br />

1. 12.86%<br />

2. 13.14%<br />

3. 15.87%<br />

4. 13.59%<br />

30


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

PAT1 ต.ค. 52 ก าหนดให้ข้อมูลชุดหนึ่งมีการแจกแจงปกติ<br />

หยิบข้อมูล x1, x2, x3 มาค านวณค่ามาตรฐาน<br />

ปรากฏว่าได้ค่าเป็น z1, z2, z3 ตามล าดับ ถ้า z1+z2 = z3 แล้วค่าเฉลี่ยเลขคณิตของข้อมูลชุดนี้เท่ากับข้อใด<br />

ต่อไปนี้<br />

1. x1+x2-x3<br />

2. x1-x2-x3<br />

3. x3-x2-x1<br />

4. x1+x2+x3<br />

31


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

6. ความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างข้อมูล<br />

ในระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ความสัมพันธ์ที่ควรทราบและออกข้อสอบมีอยู่<br />

2 รูปแบบ ได้แก่<br />

1. ฟังก์ชันเส้นตรง<br />

รูปทั่วไป<br />

: Yˆ mX c<br />

สมการปกติ :<br />

n n<br />

<br />

Y mXnc i i<br />

i1 i1<br />

2. ฟังก์ชันพาราโบลา<br />

รูปทั่วไป<br />

:<br />

สมการปกติ :<br />

ˆ<br />

n<br />

XiYi m n<br />

2<br />

Xi c<br />

n<br />

Xi<br />

i1 i1 i1<br />

<br />

2<br />

Y aX bX c<br />

n n<br />

2<br />

n<br />

i i i<br />

i1 i1 i1<br />

<br />

Y a X b X nc<br />

n<br />

XiYi a<br />

n<br />

3<br />

Xi b<br />

n<br />

2<br />

Xi c<br />

n<br />

Xi<br />

i1 i1 i1 i1<br />

<br />

n<br />

2<br />

Xi Yi a<br />

n<br />

4<br />

Xi b<br />

n<br />

3<br />

Xi c<br />

n<br />

2<br />

Xi<br />

i1 i1 i1 i1<br />

<br />

***หมายเหตุ สมการปกติเป็นสมการที่ไว้ใช้หาค่าคงที่<br />

เช่น a, b, c, m<br />

ข้อควรระวัง<br />

การสร้างสมการถดถอยจะสามารถใช้ท านายตัวแปรตาม ( ) จากตัวแปรต้น (X) ได้ แต่ไม่<br />

สามารถใช้สมการเดียวกันท านายตัวแปรต้น (X) จากตัวแปรตาม ( ) ได้นอกจากใช้ท านายค่าตัวแปร<br />

ต้นได้ ณ จุด ถ้าต้องการท านายตัวแปรต้นจะต้องเปลี่ยนรูปสมการให้อยู่ในรูป<br />

32


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

หากข้อมูลของเรามีตัวแปรต้นที่เป็นช่วงที่ห่างเท่าๆกัน<br />

เช่น ช่วงเวลา (พ.ศ.) เราเรียกข้อมูลเหล่านั้นว่า<br />

ข้อมูลที่อยู่ในรูปของอนุกรมเวลา<br />

เราสามารถแทนค่าตัวแปนต้นที่เป็นตัวเลขน้อยๆ<br />

โดยหากมีจ านวนตัวแปร<br />

ต้นเป็นจ านวนคี่<br />

มักจะแทนด้วย …, -2, -1, 0, 1, 2,… โดยตัวแปรต้นตรงกลางแทนด้วย 0 เสมอ หากจ านวน<br />

ตัวแปรต้นเป็นจ านวนคู่<br />

มักจะแทนด้วย …, -3, -1, 1, 3,… โดยตัวแปนต้นคู่ตรงกลางแทนด้วย<br />

-1 และ 1<br />

ตัวอย่าง จากการสอบถามรายจ่ายของ 8 ครอบครัวในหมู่บ้านหนึ่ง<br />

ได้ผลสัมพันธ์กับรายได้ดังตาราง<br />

จงใช้ข้อมูลข้างต้นตอบค าถามต่อไปนี้<br />

รายได้ (พันบาท) 1 3 4 6 8 9 11 14<br />

รายจ่าย (พันบาท) 1 2 4 4 5 7 8 9<br />

ก. ให้หาความสัมพันธ์ที่ใช้ประมาณรายจ่ายจากรายได้<br />

ข. ถ้าครอบครัวหนึ่งในหมู่บ้านแห่งนี้มีรายได้<br />

4,500 บาท จะมีรายจ่ายประมาณเท่าใด<br />

ค. ถ้าครอบครัวหนึ่งในหมู่บ้านแห่งนี้มีรายจ่าย<br />

3,500 บาท จะมีรายได้ประมาณเท่าใด<br />

33


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

ตัวอย่าง ให้สร้างสมการท านายประชากรในท้องที่หนึ่ง<br />

ซึ่งมีข้อมูลที่ส<br />

ารวจมาได้ดังตารางและจากนั้น<br />

ให้ประมาณจ านวนประชากรในท้องที่นี้ในปีพ.ศ.<br />

2547<br />

พ.ศ. 2535 2537 2539 2541 2543<br />

จ านวนประชากร (พันคน) 0.8 0.9 1.1 1.4 2.0<br />

ENT ต.ค. 42 พิจารณาข้อมูลของ x และ y ดังนี้<br />

x -3 -1 0 1 3<br />

y 0 a a+3 a+4 a+6<br />

เมื่อ<br />

a เป็นค่าคงที่<br />

ให้ x และ y มีความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันเป็นกราฟเส้นตรง โดยที่ความชันเท่ากับ<br />

1.55 ถ้า<br />

x=4 จะประมาณค่า y ได้เท่ากับข้อใดต่อไปนี้<br />

1. 8.7<br />

2. 10.8<br />

3. 11.2<br />

4. 12.8<br />

34


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

A-NET 51 ถ้าในการหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างคะแนนสอบวิชาที่หนึ่ง<br />

(X) และวิชาที่สอง<br />

(Y)<br />

ของนักเรียนชั้นหนึ่งมีจ<br />

านวน 10 คน ของโรงเรียนแห่งหนึ่ง<br />

ได้พจน์ต่างๆที่ใช้ในการค<br />

านวณค่าคงตัวจาก<br />

สมการปกติ ดังนี้<br />

10<br />

<br />

i1<br />

X<br />

i<br />

50<br />

10<br />

<br />

i1<br />

Y 50<br />

i<br />

10<br />

<br />

i1<br />

XY 288<br />

35<br />

i i<br />

10<br />

<br />

i1<br />

X<br />

2<br />

i<br />

304<br />

10<br />

<br />

i1<br />

Y<br />

2<br />

i<br />

284 ได้สมการ<br />

ประมาณคะแนนสอบวิชาที่สองจากคะแนนสอบวิชาที่หนึ่งเป็น<br />

Yˆ1.5 0.7X(ใช้ทศนิยมหนึ่งต<br />

าแหน่ง)<br />

พิจารณาข้อความต่อไปนี้<br />

ก. ถ้านักเรียนสองคนในกลุ่มนี้มีคะแนนสอบวิชาที่หนึ่งต่างกัน<br />

2 คะแนนแล้ว คะแนนสอบวิชาที่สอง<br />

ของนักเรียนสองคนนี้ต่างกันประมาณ<br />

1.4 คะแนน<br />

ข. เมื่อสอบคะแนนสอบวิชาที่สอง<br />

จะประมาณคะแนนสอบวิชาที่หนึ่งของนักเรียนกลุ่มนี้ได้จาก<br />

สมการ Xˆ1.4Y 2.1<br />

ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง<br />

1. ก. ถูก และ ข. ถูก<br />

2. ก. ถูก และ ข. ผิด<br />

3. ก. ผิด และ ข. ถูก<br />

4. ก. ผิด และ ข. ผิด<br />

PAT ก.ค. 52 ในการหาความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันระหว่างปริมาณสารปนเปื้อนชนิดที่<br />

1 (x) และปริมาณสาร<br />

ปนเปื้อนชนิดที่<br />

2 (y) จากตัวอย่างอาหารจ านวน 100 ตัวอย่าง พบว่าความแปรปรวนของปริมาณสารชนิดที่<br />

1<br />

มีค่าเท่ากับ 1.75 ค่าเฉลี่ยเลขคณิตของปริมาณสารชนิดที่<br />

2 มีค่าเท่ากับ 0.5<br />

100<br />

<br />

i1<br />

x<br />

2<br />

i<br />

100<br />

<br />

i1<br />

xy<br />

i i<br />

100และ<br />

200ถ้าสมการปกติของความสัมพันธ์เชิงฟังก์ชันดังกล่าวอยู่ในรูป<br />

y = ax+b แล้ว เมื่อพบสาร<br />

ปนเปื้อนชนิดที่<br />

1 อยู่<br />

4 หน่วย จะพบสารปนเปื้อนชนิดที่<br />

2 (โดยประมาณ) เท่ากับข้อใดต่อไปนี้<br />

1. 0.5 หน่วย<br />

2. 1 หน่วย<br />

3. 1.5 หน่วย<br />

4. 2 หน่วย


คณิตศาสตร์ สถิติ www.clipvidva.com<br />

เอกสารอ้างอิง<br />

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้<br />

พื้นฐาน<br />

คณิตศาสตร์ เล่ม 2 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่<br />

5, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว,<br />

พิมพ์ครั้งที่<br />

3, 2549.<br />

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี กระทรวงศึกษาธิการ. หนังสือเรียนสาระการเรียนรู้<br />

เพิ่มเติม<br />

คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่<br />

6, กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ครุสภาลาดพร้าว,<br />

พิมพ์ครั้งที่<br />

4, 2550.<br />

อรรณพ สุขธ ารง. คณิตศาสตร์ Entrance เล่ม 3. ม.ป.ป.<br />

จักรินทร์ วรรณโพธิ์กลาง.<br />

คัมภีร์ คณิตศาสตร์ Entrance ม.4-5-6 สอบตรง สอบโควต้า Admission<br />

PAT1, กรุงเทพมหานคร: พ.ศ. พัฒนา, พิมพ์ครั้งที่<br />

1, 2552.<br />

ฝ่ายวิชาการ บริษัท สกายบุ๊กส์<br />

จ ากัด. รวมสูตรเลขคณิต ช่วงชั้นที่<br />

3-4, ปทุมธานี: สกายบุ๊กส์, พิมพ์ครั้งที่<br />

1,<br />

2548.<br />

ณัฐ อุดมพาณิชย์. เส้นทางสู่<br />

วิศวะฯจุฬา พิชิต PAT1 คณิตศาสตร์, กรุงเทพมหานคร: สถาบันสอนวิชา<br />

คณิตศาสตร์ NUTTY PROFESSIONAL, พิมพ์ครั้งที่<br />

2, 2552.<br />

ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. 1001 TESTS IN MATHS 2, กรุงเทพมหานคร: บริษัท ส านักพิมพ์แม็ค จ ากัด, พิมพ์<br />

ครั้งที่<br />

1, 2550.<br />

ทรงวิทย์ สุวรรณธาดา. 1001 TESTS IN MATHS 3, กรุงเทพมหานคร: บริษัท ส านักพิมพ์แม็ค จ ากัด, พิมพ์<br />

ครั้งที่<br />

1, 2550.<br />

36

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!