18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

(land use) ชนิดของดิน (soil type) ชนิดและความหนาแนนของสิ่งปกคลุมดิน<br />

(soil cover) รูปราง<br />

และความลาดชันของลุมน้ํา<br />

เปนตน<br />

จากเหตุผลของความซับซอนของขบวนการเกิดน้ําทา<br />

จึงเปนที่มาของแบบจําลองน้ําฝน-<br />

น้ําทา<br />

(rainfall-runoff model) มากมาย ซึ่งสรางขึ้นตามพื้นฐานของแบบจําลองดานแนวความคิด<br />

(conceptual model) ของผูพัฒนาแบบจําลองซึ่งมีความแตกตางกันไป<br />

โดยแบบจําลองสวนใหญตอง<br />

อาศัยลักษณะทางกายภาพของลุมน้ําและขอมูลดานอุทกวิทยา<br />

โดยเฉพาะอยางยิ่ง<br />

ขอมูลน้ําฝนเปน<br />

ขอมูลดานเขาของแบบจําลอง ในปจจุบันแบบจําลองน้ําฝน-น้ําทา<br />

ที่ไดมีการพัฒนาและมีการใช<br />

อยางแพรหลายมีมากมาย อาทิเชน แบบจําลอง TANK, SCS, Linear Programming, HEC-HMS<br />

และ NAM เปนตน<br />

ในการศึกษานี้ไดเลือกใชแบบจําลอง<br />

NAM เพื่อการประเมินน้ําทารายวันของสถานีวัด<br />

น้ําทาในลุมน้ําปงตอนบน<br />

โดยขอมูลดานเขาที่สําคัญของแบบจําลองคือ<br />

ปริมาณฝนรายวันและ<br />

ปริมาณการระเหยรายวัน สาเหตุที่เลือกใชแบบจําลอง<br />

NAM เนื่องจากเปนแบบจําลองที่ไดรับการ<br />

ยอมรับเพื่อการประเมินปริมาณน้ําทารายวันสําหรับประเทศไทย<br />

โดยแบบจําลอง NAM ไดถูกนํามา<br />

ประยุกตใชกับลุมน้ําตาง<br />

ๆ มากมายในประเทศไทย อาทิเชน การศึกษาสําหรับลุมน้ําสวยซึ่งเปนลุม<br />

น้ําสาขาของลุมน้ําโขง<br />

(ไพรัตน,2536) ลุมน้ําบางปะกง<br />

(ยุพิน, 2542) ลุมน้ํานาน<br />

(กานดา, 2545)<br />

และลุมน้ําปงตอนบน<br />

(ศิริกัญญา, 2547) เปนตน สําหรับสาเหตุที่เลือกพื้นที่ศึกษาเฉพาะลุมน้ําปง<br />

ตอนบนเทานั้น<br />

แทนที่จะศึกษาทั้งลุมน้ําปง<br />

เนื่องจากลุมน้ําปงตอนบนครอบคลุมพื้นที่<br />

25,345<br />

ตารางกิโลเมตร บริเวณเหนือเขื่อนภูมิพล<br />

ซึ่งงายตอการประเมินปริมาณน้ําทามากกวาลุมน้ําปง<br />

ตอนลางที่มีปริมาณการไหลเปนลักษณะของ<br />

Regulated Flow ซึ่งถูกควบคุมพฤติกรรมการไหลโดย<br />

ปริมาณน้ําที่ถูกปลอยจากเขื่อนภูมิพล<br />

ดังนั้น<br />

ในการศึกษาประสิทธิภาพของแบบจําลองในการ<br />

ประเมินปริมาณน้ําทาจึงยากตอการประเมินและสรุปผลความสามารถของแบบจําลอง<br />

นอกจากการศึกษาประสิทธิภาพในการประยุกตใชแบบจําลอง NAM เพื่อการประเมิน<br />

ปริมาณน้ําทารายวันของลุมน้ําปงตอนบนแลว<br />

ในการศึกษานี้มีวัตถุประสงคหลักเพื่อการนํา<br />

แบบจําลอง NAM มาประยุกตใชกับพื้นที่ของลุมน้ําปงตอนบนในบริเวณที่ไมมีการติดตั้งสถานีวัด<br />

น้ําทา<br />

(ungaged catchments) ซึ่งโดยสวนใหญแลวการพัฒนาแหลงน้ําในบริเวณจุดที่ตั้งหัวงานนั้น<br />

จะไมมีสถานีวัดน้ําทาตั้งอยู<br />

ดังนั้น<br />

ถาสามารถนําแบบจําลอง NAM มาประยุกตใชกับบริเวณที่ไมมี<br />

สถานีวัดน้ําทาตั้งอยู<br />

จะนํามาซึ่งประโยชนอยางมากตองานดานพัฒนาแหลงน้ําของลุมน้ําปง<br />

2

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!