18.08.2013 Views

cache

cache

cache

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ชัยวัฒน (2546) ไดประยุกตใชแบบจําลอง HEC-HMS และแบบจําลอง TOP เพื่อหาความ<br />

เหมาะสมในการทํานายน้ําทาของลุมน้ําลําภาชีที่มีพื้นที่รับน้ํา<br />

2,590 ตารางกิโลเมตร สําหรับ<br />

แบบจําลอง TOP หรือ Topographic Model ถูกพัฒนาโดย Beven (1997) เพื่อจําลองกระบวนการ<br />

เกิดน้ําทาของลุมน้ําเล็กๆ<br />

ในประเทศอังกฤษ มีวัตถุประสงคเพื่อลดจํานวนพารามิเตอรของ<br />

แบบจําลองประเภท Continuous Model ในการจําลองกระบวนการเกิดน้ําทา<br />

แบบจําลอง TOP<br />

ขึ้นกับลักษณะการกระจายของพื้นที่ทางกายภาพของลุมน้ําและความลาดชันของพื้นที่ลุมน้ํา<br />

ซึ่งใน<br />

การประเมินน้ําทาจะใชวิธีหาความชื้นที่ขาดหายไปของชั้นดินโดยคิดอัตราการไหลผานของน้ําใน<br />

ชั้นดินเมื่อดินมีลักษณะเปนดินชนิดเดียวกัน<br />

ผลการศึกษาพบวาการประยุกตใชแบบจําลองทั้งสอง<br />

แบบจําลองสําหรับเหตุการณเดี่ยวมีความถูกตองมากกวาแบบเหตุการณตอเนื่อง<br />

เพราะลุมน้ําลําภาชี<br />

มีความลาดชันสูง มีขอมูลทางอุทกวิทยานอย และเปนลุมน้ําขนาดใหญ<br />

โดยประสิทธิภาพของ Nash<br />

และ Sutcliff ของแบบจําลอง HEC-HMS สําหรับเหตุการณเดี่ยวและเหตุการณตอเนื่องมีคาเทากับ<br />

71.4 และ 24.9 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนแบบจําลอง TOP มีคาประสิทธิภาพของ Nash และ<br />

Sutcliff เทากับ 83 และ 17 เปอรเซ็นต ตามลําดับ เมื่อพิจารณากราฟน้ําทาจากการคํานวณพบวา<br />

แบบจําลอง TOP เหมาะสมในการใชงานในลุมน้ําลําภาชีมากกวาแบบจําลอง<br />

HEC-HMS เนื่องจาก<br />

แบบจําลอง TOP นําลักษณะทางกายภาพมาพิจารณาในการหาคาพารามิเตอรดวย<br />

34

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!