09.03.2015 Views

(Parenteral Nutrition Preparations and Pharmaceutical Care ...

(Parenteral Nutrition Preparations and Pharmaceutical Care ...

(Parenteral Nutrition Preparations and Pharmaceutical Care ...

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ปฏิบัติการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและบริบาลทางเภสัชกรรมโภชนศาสตรคลินิก<br />

(<strong>Parenteral</strong> <strong>Nutrition</strong> <strong>Preparations</strong> <strong>and</strong><br />

<strong>Pharmaceutical</strong> <strong>Care</strong> Clerkship in Clinical <strong>Nutrition</strong>)<br />

จุดมุงหมาย<br />

นิสิต/นักศึกษาที่ผานการฝกปฏิบัติงานการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและการบริบาลทาง<br />

เภสัชกรรมแกผูปวยเฉพาะรายที่ไดรับอาหารทางหลอดเลือดดํา สามารถเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

และประยุกตความรูดานเภสัชบําบัดในการใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยเฉพาะราย<br />

วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม<br />

นิสิต/นักศึกษาที่ผานการฝกปฏิบัติงานการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา แลวสามารถ<br />

๑. รวบรวมและประเมินขอมูลพื้นฐานที่จําเปนของผูปวย โดย<br />

๑.๑. รวบรวมและแปลผลตรวจรางกาย/หองปฏิบัติการ และขอมูลตาง ๆที่เกี่ยวของกับการเตรียม<br />

สารอาหารทางหลอดเลือดดํา การดูแลดานโภชนาการและยา<br />

๑.๒. ประเมินผูปวยเพื่อหาปจจัยที่มีผลเกี่ยวของกับโภชนาการ<br />

๑.๓. ระบุและจัดลําดับความสําคัญของปญหาดานการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและปญหา<br />

ดานโภชนาการ โดยพิจารณาบนพื้นฐานทางวิชาการ ผลตรวจรางกาย/ผลทางหองปฏิบัติการ<br />

๒. อธิบายความแตกตาง ขอบงใชและการเลือกใชในการรักษาผูปวยแตละราย รวมถึงการบริหาร total<br />

parenteral nutrition หรือ partial parenteral nutrition แตละสูตร<br />

๓. ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยที่ไดรับอาหารทางหลอดเลือดดํา โดยเนนกระบวนการดูแลผูปวยอยาง<br />

เปนระบบ (systematic approach)<br />

๔. วิเคราะหแนวทางการรักษามาตรฐานและหลักฐานเชิงประจักษ เพื่อเสนอแผนการรักษาที่เหมาะสม<br />

สําหรับผูปวยเฉพาะราย โดยครอบคลุมภาวะความเจ็บปวย ภาวะทางโภชนาการ ความตองการสารอาหาร<br />

และพลังงาน การคัดเลือกสูตร ปริมาณอาหารและสารน้ําที่เหมาะสมแกผูปวยเฉพาะราย รวมถึงอันตร<br />

กิริยาระหวางยา-อาหาร ยา-ยา อาการไมพึงประสงคและแผนการติดตาม<br />

๕. สืบคน ปองกัน และดําเนินการแกไขปญหาที่อาจเกี่ยวเนื่องกับการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

การใหสารอาหารทางหลอดเลือดดําและการใชยา เสนอแนวทางการเลือกสูตรสารอาหาร การปรับสูตร<br />

สารอาหารและการติดตามการใชพรอมใหขอเสนอแนะที่เหมาะสมตอบุคลากรสาธารณสุขสาขาอื่นในกรณี<br />

ที่มีปญหา<br />

๖. เตรียมสารอาหารที่ใหทางหลอดเลือดดําแกผูปวยแตละราย<br />

๗. มีความรูและความเขาใจเปนอยางดี ในหลักการใชและการติดตามผูปวยที่ไดรับสารอาหารทางหลอดเลือด<br />

ดํา อยางนอยควรครอบคลุมหัวขอดังตอไปนี้<br />

๗.๑. เทคนิคการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๗.๑.๑. Aseptic Technique<br />

๗.๑.๒. Order of mixing<br />

๗.๑.๓. Compatibility/Stability /Storage<br />

๗.๒. การประเมินภาวะทางโภชนาการของผูปวยเฉพาะราย<br />

๗.๒.๑. ความตองการพลังงานและสารอาหาร<br />


๗.๒.๒. ความผิดปกติของสารน้ําและอิเล็กโทรไลต<br />

๗.๒.๓. ความผิดปกติของสมดุลกรดดาง<br />

๗.๓. การคัดเลือกสูตรสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๗.๔. การติดตามประสิทธิผลและความปลอดภัยของการไดรับสารอาหารทางหลอดเลือดดําโดย<br />

พิจารณาจากอาการแสดงทางคลินิกและผลตรวจทางหองปฏิบัติการที่เกี่ยวของ<br />

๘. จัดทําแฟมประวัติของผูปวย (patient profile) แตละราย และการดําเนินการดานเอกสารที่เกี่ยวของ เชน<br />

SOAP note หรือที่มีหลักการคลายกัน<br />

๙. ติดตามการยอมรับตอคําแนะนํา พรอมวางแผนการแกไขอยางตอเนื่อง<br />

๑๐. ใหคําปรึกษาแกผูปวย/ญาติ หรือผูดูแลผูปวยในเรื่องของอาหาร ยา โรค และการดูแลรักษาตนเอง ใน<br />

ระหวางรับการรักษาในโรงพยาบาลและกอนออกจากโรงพยาบาล (discharge counseling)<br />

๑๑. สามารถคนหา เลือก วิเคราะหขอมูลทางการแพทย และใหบริการเภสัชสนเทศแกแพทย พยาบาล และ<br />

บุคลากรอื่น ๆ อยางมีประสิทธิภาพภายในเวลาที่เหมาะสม<br />

๑๒. สื่อสารกับผูปวย แพทยพยาบาล และบุคลากรอื่น ๆ อยางมีประสิทธิภาพ<br />

แนวทางการฝกปฏิบัติงาน<br />

ในการฝกปฏิบัติงานนี้ นิสิต/นักศึกษามีความรับผิดชอบดังตอไปนี้<br />

๑. เขารวมในกิจกรรมประจําวันของแหลงฝก ในสวนที่ไดรับมอบหมายจากอาจารยประจําแหลงฝก<br />

๒. ปฏิบัติงานใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยโดยครอบคลุมวัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม<br />

๓. เขารวมกับบุคลากรอื่นในการตรวจเยี่ยมผูปวย ซึ่งรวมถึง ward round และ attending round<br />

๔. ฝกคํานวณความตองการสารอาหารของผูปวยแตละราย พิจารณาสภาวะของผูปวยและความเหมาะสมของ<br />

สูตรอาหารที่ผูปวยจะไดรับ แกไขหรือปองกันปญหาที่อาจเกิดขึ้นจากสูตรอาหารที่ไมเหมาะสม<br />

๕. ประเมินสูตรอาหารทางหลอดเลือดดําสําหรับผูปวยเฉพาะราย โดยพิจารณาจากขอมูลดังตอไปนี้<br />

๕.๑ ภาวะทางโภชนาการของผูปวย<br />

๕.๒ ความตองการพลังงานและสารอาหาร<br />

๕.๓ ความผิดปกติของสารน้ําและอิเล็กโทรไลต<br />

๕.๔ ความผิดปกติของสมดุลกรดดาง<br />

๖. เตรียมสารอาหารที่ใหทางหลอดเลือดดํา<br />

๖.๑ Aseptic technique<br />

๖.๑.๑ การลางมือ การแตงกาย-สวมถุงมือ<br />

๖.๑.๒ การดูดยาจาก vial & ampoule และเติมลงใน Large Volume <strong>Parenteral</strong><br />

preparations<br />

๖.๑.๓ การละลายผงยา (reconstitute dry powder)<br />

๖.๑.๔ การปฏิบัติงานในตูปลอดเชื้อ<br />

๖.๒ Compatibility/Stability/Storage<br />

๖.๓ Order of mixing<br />

๗. ตรวจสอบสารอาหารทางหลอดเลือดดําที่ทําการเตรียม<br />

๗.๑ ปริมาตร<br />


๗.๒ เศษตะกอนจากวัสดุที่ใชในการเตรียม<br />

๗.๓ ความขุน/ใส<br />

๗.๔ ความเขากันได<br />

๗.๕ ความถูกตองของฉลาก/วันหมดอายุ<br />

๗.๖ ความเรียบรอยของบรรจุภัณฑ<br />

๘. จัดเก็บสารอาหารทางหลอดเลือดดําที่ทําการเตรียม<br />

๙. ใหบริการสารสนเทศทางยาแกผูปวย บุคลากรสาธารณสุขอาจารยประจําแหลงฝก<br />

๑๐. คนหา เลือก และวิเคราะหขอมูลทางการแพทยจากเอกสารและแหลงอางอิงตาง ๆ เพื่อนําไปประยุกตใช<br />

ในการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา และอภิปรายรวมกับอาจารยประจําแหลงฝก<br />

๑๑. จัดทําเอกสาร แผนพับหรือเครื่องมืออื่น ๆ เพื่อใชในการใหความรูตามที่ไดรับมอบหมายจากอาจารย<br />

ประจําแหลงฝก<br />


แนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติ<br />

สัปดาห หัวขอ อาจารยผูรับผิดชอบ<br />

๑ - เรียนรูกระบวนการปฏิบัติงานของเภสัชกรที่เกี่ยวของกับโภชนาการ อาจารย<br />

t roppu s no - แนะนําผลิตภัณฑ i t i r tun<br />

ที่มีใชในแหลงฝกปฏิบัติงาน ประจําแหลงฝก<br />

- แนะนําวิธีการเตรียมสารอาหารที่ใหทางหลอดเลือดดําในสถานที่ฝก<br />

ปฏิบัติงาน และใหฝกการเตรียมในสถานการณจําลอง<br />

- เรียนรูวิธีการปฏิบัติงานบนหอผูปวยและวิธีการใหไดขอมูลที่จําเปนในการ<br />

ดูแลผูปวยตามระบบของโรงพยาบาลที่ฝกปฏิบัติ<br />

- ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยที่ไดรับอาหารทางหลอดเลือดดําอยาง<br />

นอย ๒ ราย/สัปดาห *<br />

๒ - ฝกการเตรียมในสถานการณจริง อยางนอย ๕ รายตอสัปดาห *<br />

อาจารย<br />

- ฝกประเมินความเหมาะสมของสูตรสารอาหารตาง ๆ ตลอดจนปญหาที่ ประจําแหลงฝก<br />

อาจเกิดขึ้นจากการเตรียมตามใบสั่งใชสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

- ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยที่ไดรับอาหารทางหลอดเลือดดําอยาง<br />

นอย ๓ ราย/วัน *<br />

- เขารวมใน nutrition support team เพื่อสังเกตบทบาทของเภสัชกรใน<br />

ทีม<br />

๓ - ฝกการเตรียมในสถานการณจริง อยางนอย ๑๐ รายตอสัปดาห *<br />

- ใหบริบาลทางเภสัชกรรมแกผูปวยที่ไดรับอาหารทางหลอดเลือดดําอยาง<br />

นอย ๓ ราย/วัน *<br />

- วิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและ<br />

แนวทางการแกไข ครั้งที่ ๑<br />

- ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งที่ ๑<br />

๔-๖ - ฝกการเตรียมในสถานการณจริง อยางนอย ๑๐ รายตอสัปดาห *<br />

- ใหบริบาลเภสัชกรรมแกผูปวยที่ไดรับอาหารทางหลอดเลือดดําอยางนอย<br />

๓ ราย/วัน *<br />

- นําเสนอ และประเมินวรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) ที่เกี่ยวของกับ<br />

การปฏิบัติงานและ/หรือการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

- ใหความรูในองคกรแกบุคลากรสาธารณสุข (academic in-service)<br />

- นําเสนอกรณีศึกษาครั้งที่ ๒<br />

- ประเมินพฤติกรรม ความสามารถและทักษะการปฏิบัติงานครั้งที่ ๒<br />

อาจารย<br />

ประจําแหลงฝก<br />

อาจารย<br />

ประจําแหลงฝก<br />

หมายเหตุ: * จํานวนผูปวยที่เตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําขึ้นอยูกับความยากงายของสูตรอาหารทางหลอดเลือดดํา; การ<br />

จัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงานเปนแนวทางสําหรับอาจารยประจําแหลงฝกซึ่งอาจปรับเปลี่ยนไดตามสถานการณและความ<br />

เหมาะสมของแหลงฝก<br />


การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน<br />

๑. การประเมินโดยอาจารยประจํามหาวิทยาลัย รอยละ ๒๐<br />

๑.๑. รายงานผลการฝกปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐<br />

๑.๒. การนําเสนอผลการปฏิบัติงาน รอยละ ๑๐<br />

๒. การประเมินโดยอาจารยประจําแหลงฝกปฏิบัติงาน รอยละ ๘๐<br />

๒.๑. การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงพฤติกรรม (แบบ-ป-๑/๑ และ๑/๒) รอยละ ๑๐<br />

๒.๒. การประเมินผลการฝกปฏิบัติงานเชิงทักษะ (ป-๑๖/๑ ๑๖/๒ และ๑๖/๓) รอยละ ๔๐<br />

๒.๓. การประเมินผลการนําเสนอ<br />

๒.๓.๑. นําเสนอกรณีศึกษา (Formal case presentation) รอยละ ๑๕<br />

อยางนอย ๒ กรณีศึกษา<br />

๒.๓.๒. การใหความรูในองคกร (Academic in-service) รอยละ ๕<br />

นักศึกษา และ/หรือหรือบุคลากรสาธารณสุข อยางนอย ๑ ครั้ง<br />

๒.๓.๓. วิจารณวรรณกรรมปฐมภูมิ (Journal club) รอยละ ๑๐<br />

หรือนําเสนอขอมูลที่ไดจากการสืบคนเพื่อนําไปใช<br />

บริบาลแกผูปวยเฉพาะราย อยางนอย ๑ ครั้ง<br />

หมายเหตุ:<br />

- กิจกรรมใดที่แหลงฝกไมไดกําหนดใหฝกปฏิบัติ สามารถปรับคะแนนไดตามการฝกปฏิบัติจริง หรือกําหนดกิจกรรมอื่นใหเทียบเทา<br />

กัน<br />

- กรณีที่ไมสามารถจัดใหแกบุคลากรทางสาธารณสุขไดสามารถจัดการอบรมใหแกผูปวยและ/หรือผูที่เกี่ยวของกับการดูแลผูปวย<br />

- รูปแบบของการนําเสนอการวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและแนวทางการแกไข แตละ<br />

ครั้งประกอบดวย<br />

๑. การนําเสนอปญหาปญหาจากคําสั่งใชสารอาหารทางหลอดเลือดดํา รวมถึงปญหาที่เกิดขึ้นในระหวางการเตรียม<br />

สารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๒. การนําเสนอการสืบคนขอมูลเพิ่มเติม ความนาเชื่อถือและความเหมาะสมของขอมูลอางอิงที่เกี่ยวของกับการเตรียม<br />

สารอาหารทางหลอดเลือด<br />

- รูปแบบของ formal case presentation แตละครั้งประกอบดวย<br />

๑. การเสนอประวัติผูปวย โดยครอบคลุมขอมูลดานCC, HPI, PMH, FH, SH, ALL, MH, PE, Lab และ Hospital course<br />

๒. การนําเสนอปญหาของผูปวยทั้งปญหาเรื่องโรค การใชสารอาหาร การดําเนินการแกไขปญหา การใหขอเสนอแนะ การ<br />

ปรับแผนการใหสารอาหารรวมถึงการติดตามผลการตอบสนองตอการใหสารอาหารตามแผนที่กําหนด<br />

๓. การนําเสนอการสืบคนขอมูลเพิ่มเติม ความนาเชื่อถือและความเหมาะสมของขอมูลอางอิงที่เกี่ยวของกับกรณีศึกษา<br />

และ การนําเสนอและการตอบคําถาม<br />


กิจกรรมปฏิบัติการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

และบริบาลทางเภสัชกรรมโภชนศาสตรคลินิก<br />

เกณฑ แบบ<br />

กิจกรรมที่กําหนด<br />

กําหนด ประเมิน<br />

๑. การจัดเตรียมอุปกรณเครื่องมือที่จําเปนและหองเตรียม<br />

๒.<br />

สารอาหารทางหลอดเลือดดํา ใหพรอมใช<br />

การตรวจเยี่ยมผูปวย (patient care round, ward<br />

ทุกวัน<br />

ทําการ<br />

round หรือ pharmacy round)<br />

๓. การเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา สําหรับผูปวย > ๑๐<br />

ราย/ผลัด*<br />

๔. การจัดทําแฟมประวัติ พรอมบันทึกกระบวนการทาง<br />

เภสัชกรรมในการดูแลผูปวย (จํานวนผูปวยที่รับผิดชอบ<br />

ตอวัน; ไมจําเปนตองเปนผูปวยใหมทุกวัน)<br />

๕. การใหคําแนะนําปรึกษาดานโภชนาการ รวมถึงการให<br />

คําปรึกษาแกผูปวย ญาติ หรือผูเกี่ยวของ กอนผูปวย<br />

ออกจากโรงพยาบาล<br />

๖. การอภิปรายรวมกับอาจารยประจําแหลงฝกเกี่ยวกับ<br />

คําสั่งใชและการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

รวมถึงติดตามการใหสารอาหารทางหลอดเลือดดําใน<br />

ผูปวยที่ไดรับมอบหมาย<br />

> ๓ ราย/<br />

วัน*<br />

> ๓ ราย/<br />

สัปดาห<br />

> ๓ ครั้ง/<br />

สัปดาห * *<br />

๗. การนําเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation)/<br />

การวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับการเตรียมสารอาหารที่<br />

ใหทางหลอดเลือดดําและแนวทางการแกไข > ๒ ครั้ง<br />

๘. การบรรยายสอนแกบุคลากรในโรงพยาบาล นิสิต/<br />

นักศึกษา (academic in-service)<br />

๙. การวิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club)<br />

> ๑ เรื่อง<br />

(ครั้ง)<br />

> ๑ ครั้ง<br />

ป-๑๖/๑<br />

ป-๑๖/๒<br />

ป-๑๖/๓<br />

ป-๖/๑<br />

ป-๖/๒<br />

ป-๖/๓<br />

และ<br />

ป-๙<br />

ป-๘<br />

ป-๗/๑<br />

ป-๗/๒<br />

ป-๗/๓<br />

รอยละ<br />

หมายเหตุ<br />

* ขึ้นกับความยากงายของสูตรสารอาหารทางหลอดเลือดดําตามการพิจารณาของอาจารยประจําแหลงฝก<br />

** การอภิปรายเกี่ยวกับผลการวิเคราะหปญหาจากคําสั่งใชสารอาหารทางหลอดเลือดดํา รวมถึงปญหาที่เกิดขึ้นใน<br />

ระหวางการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา โดยสืบคนขอมูลเพิ่มเติมจากแหลงอางอิงที่เหมาะสม เพื่อเสนอแนว<br />

ทางการแกไขที่เหมาะสม<br />

๔๐<br />

๑๕<br />

๕<br />

๑๐<br />

๑๐


แบบบันทึกสรุปกิจกรรมปฏิบัติการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและ<br />

บริบาลทางเภสัชกรรมดานโภชนศาสตรคลินิก<br />

ชื่อนิสิต.....................................................................................รหัสประจําตัว......................................<br />

แหลงฝก..............................................ระหวางวันที่..........................ถึง..........................รวม.........วัน<br />

กิจกรรมที่กําหนด เกณฑกําหนด ปฏิบัติจริง<br />

๑. การเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา สําหรับผูปวย > ๑๐ ราย/ผลัด*<br />

๒. การตรวจเยี่ยมผูปวย (patient care round, ward round หรือ pharmacy<br />

round)<br />

ทุกวันทําการ<br />

๓. การจัดทําแฟมประวัติ พรอมบันทึกกระบวนการทางเภสัชกรรมในการดูแล<br />

ผูปวย (จํานวนผูปวยที่รับผิดชอบตอวัน; ไมจําเปนตองเปนผูปวยใหมทุกวัน)<br />

> ๓ ราย/วัน*<br />

๔. การใหคําแนะนําปรึกษาดานยาและสุขภาพ รวมถึงการใหคําปรึกษาแกผูปวย<br />

ญาติ หรือผูเกี่ยวของ ในระหวางรับการรักษาในโรงพยาบาลและกอนออก<br />

จากโรงพยาบาล (discharge counseling) และเมื่อผูปวยมาตามนัดในกรณี<br />

> ๓ ราย/สัปดาห<br />

ผูปวยนอก<br />

๕. การอภิปรายรวมกับอาจารยประจําแหลงฝกเกี่ยวกับการติดตามการใชยาใน<br />

ผูปวยที่ไดรับมอบหมาย<br />

> ๓ ครั้ง/สัปดาห<br />

(case discussion)**<br />

๖ การนําเสนอกรณีศึกษา (formal case presentation)/การวิเคราะหปญหา<br />

ที่เกี่ยวของกับการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและแนวทางการแกไข<br />

> ๒ ครั้ง<br />

๗ การบรรยายสอนแกบุคลากรในโรงพยาบาล นักศึกษา หรืออาสาสมัคร<br />

(academic in-service)<br />

> ๑ เรื่อง (ครั้ง)<br />

๘ การวิจารณวรรณกรรมปฐมภูมิ (journal club) > ๑ เรื่อง<br />

ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็น.............................................................................................................................<br />

.......................................................................................................................................................................<br />

.......................................................................................................................................................................<br />

ลงชื่อนักศึกษา ...........................................................<br />

ลงชื่ออาจารยประจําแหลงฝก.......................................<br />

๑๑


แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา<br />

สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก<br />

แบบ-ป-๑/๑<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา.............................................................รหัสประจําตัว...............................................<br />

ปฏิบัติงาน.......................................................ชื่อแหลงฝก................................................ผลัดที่...........<br />

ใหอาจารยประจําแหลงฝกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการอภิปราย<br />

สอบถาม การสื่อสาร ทั้งโดยวาจา หรือลายลักษณอักษร และใหประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาหที่ ๓ และ ๖ ของการฝก<br />

ปฏิบัติงาน ผลการประเมินในสัปดาหที่ ๓ ควรมีการแจงใหนิสิต/นักศึกษาทราบ เพื่อใหเกิดการพัฒนา โดยคะแนนที่ใชการ<br />

ประเมินผลการฝกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาหที่ ๖<br />

คําชี้แจง<br />

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษา<br />

ที่ทานดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ)<br />

ระดับขั้นการประเมิน<br />

คะแนน ระดับ นิยาม<br />

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพรอม เสียสละ กระตือรือรน รวมถึงทัศนคติที่ดีตอ<br />

การฝกปฏิบัติงาน พรอมสามารถอภิปรายและใหขอเสนอแนะที่เปนประโยชนอยางเหมาะสม<br />

๔ ดี นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมเหมาะสม มีความพรอม เสียสละ รวมถึงทัศนคติที่ดีตอการฝก<br />

ปฏิบัติงาน สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับคําแนะนําเพียงเล็กนอย<br />

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมอยูในเกณฑพอใชสามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับ<br />

คําแนะนําเปนสวนใหญ<br />

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไมเหมาะสมบางประการ เกิดความผิดพลาดซ้ํา สามารถปฏิบัติงานได<br />

แตตองไดรับการติดตามอยางใกลชิด<br />

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษามีพฤติกรรมไมเหมาะสม เกิดความผิดพลาดซ้ํา และไมปรับปรุงตัวตามคําแนะนํา<br />

ของอาจารยประจําแหลงฝก<br />

นิสิต/นักศึกษาจะไดรับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ก็ตอเมื่อ<br />

มีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา<br />

มากกวาหรือเทากับรอยละ ๕๐<br />

๑๒


แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา<br />

สําหรับอาจารยแหลงฝก<br />

แบบ-ป-๑/๒<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา...................................................................รหัสประจําตัว..................................<br />

ปฏิบัติงาน.....................................................ชื่อแหลงฝก..............................................ผลัดที่.......<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๑. การตรงตอเวลา และความมีวินัย (มากอนเวลาที่สามารถเตรียมตัวพรอมที่จะ<br />

ฝกฯ)<br />

๒. การแตงกายเหมาะสม แสดงถึงความเปนวิชาชีพเภสัชกรรม<br />

๓. พฤติกรรมในการติดตอสัมพันธกับบุคคลอื่น อยางมีสัมมาคารวะ และ<br />

เหมาะสมกับกาลเทศะ<br />

๔. ความมีน้ําใจ ไมเพิกเฉยตอการชวยเหลือผูอื่นตามสมควร<br />

๕. ความเหมาะสมของบุคลิกภาพ (นาเชื่อถือ มีสุขอนามัยที่ดี การวางตัวที่<br />

เหมาะสมกับการเปนบุคลากรสาธารณสุข)<br />

๖. การเตรียมความพรอมในการเตรียมตัวกอนมาปฏิบัติงาน<br />

๗. ความตั้งใจ กระตือรือรน และรับผิดชอบตอการฝกฯ<br />

๘. ความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย<br />

๙. การปรับตัวเขากับแหลงฝก<br />

๑๐. การปรับปรุงตนเองตอขอเสนอแนะ (ยอมรับฟง ทบทวนตนเองและปรับปรุง<br />

ตนเองตามที่ไดรับขอเสนอแนะ)<br />

๑๑. การมีจรรยาบรรณแหงวิชาชีพ (เชน ซื่อสัตยไมมีพฤติกรรมที่เสี่ยงตอการ<br />

เปดเผยความลับของผูปวย)<br />

๑๒. ความคิดริเริ่มสรางสรรค ( เชน มีความคิดปรับปรุงคุณภาพกิจกรรม หรือริเริ่ม<br />

กิจกรรมใหมเพื่อพัฒนาคุณภาพงานบริบาลทางเภสัชกรรม)<br />

รวมคะแนน (คะแนนที่ได x ๑๐)/ฐานคะแนนที่ประเมินจริง<br />

สัปดาหที่ ๓ สัปดาหที่ ๖<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑<br />

ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม...........................................................................................................................<br />

.................................................................................................................................................................................<br />

.................................................................................................................................................................................<br />

ลงชื่อ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก<br />

( )<br />

๑๓


แบบ-ป-๑๖/๑<br />

ประเมินทักษะการฝกปฏิบัติการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

และบริบาลเภสัชกรรมดานโภชนศาสตรคลินิก<br />

สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา........................................................................รหัสประจําตัว....................................<br />

ปฏิบัติงาน..................................................ชื่อแหลงฝก.....................................................ผลัดที่..........<br />

ใหอาจารยประจําแหลงฝกประเมินผลโดยสังเกตจากพฤติกรรม ผลการปฏิบัติงานและ/หรือจากการอภิปราย<br />

สอบถาม การสื่อสาร ทั้งโดยวาจา หรือลายลักษณอักษร และใหประเมิน ๒ ครั้ง คือในสัปดาหที่ ๓ และ ๖ ของการฝก<br />

ปฏิบัติงาน ผลการประเมินในสัปดาหที่ ๓ ควรมีการแจงใหนิสิต/นักศึกษาทราบ เพื่อใหเกิดการพัฒนา โดยคะแนนที่ใชการ<br />

ประเมินผลการฝกปฏิบัติงานจะคิดจากคะแนนในสัปดาหที่ ๖<br />

คําชี้แจง<br />

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษา<br />

ที่ทานดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ)<br />

ระดับขั้นการประเมิน<br />

คะแนน ระดับ นิยาม<br />

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีทักษะ/ความสามารถครบถวนตามวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ<br />

เปนที่นาพอใจ เกิดความบกพรองนอย สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง อาจไดรับคําแนะนําเปนครั้ง<br />

คราว<br />

๔ ดี นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีทักษะ/ความสามารถตามวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ มีความ<br />

บกพรองในระดับยอมรับได สามารถปฏิบัติงานไดดวยตนเอง แตตองไดรับคําแนะนําเปนครั้งคราว<br />

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวามีทักษะ/ความสามารถตามเกณฑวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ<br />

มีความบกพรองในระดับยอมรับไดยังคงสามารถปฏิบัติงานไดแตตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ<br />

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดทักษะ/ความสามารถในระดับไมนาเชื่อถือ เกิดความบกพรองอยู<br />

เสมอ การปฏิบัติงานอยูภายใตการดูแลจากอาจารยประจําแหลงฝกอยางใกลชิด<br />

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษาแสดงใหเห็นวาขาดทักษะ/ความสามารถ ไมผานตามวัตถุประสงคการฝกปฏิบัติงานฯ<br />

ไมสามารถปฏิบัติงานไดเกิดความผิดพลาดซ้ํา และไมปรับปรุงตามคําแนะนําของอาจารยแหลงฝก<br />

๑๔


แบบ-ป-๑๖/๒<br />

ประเมินทักษะการฝกปฏิบัติการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

และบริบาลเภสัชกรรมดานโภชนศาสตรคลินิก<br />

สําหรับอาจารยประจําแหลงฝก<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา........................................................................รหัสประจําตัว....................................<br />

ปฏิบัติงาน..................................................ชื่อแหลงฝก.....................................................ผลัดที่..........<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๑. การเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๑.๑ การประเมินความเหมาะสมของสูตรอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๑.๑.๑ ภาวะทางโภชนาการของผูปวย<br />

๑.๑.๒ ความตองการพลังงานและสารอาหาร<br />

๑.๑.๓ ความผิดปกติของสารน้ําและอิเล็กโทรไลต<br />

๑.๑.๔ ความผิดปกติของสมดุลกรดดาง<br />

๑.๒ H<strong>and</strong>ling of parenteral nutrition<br />

๑.๒.๑ การลางมือ<br />

๑.๒.๒ การแตงกาย-สวมถุงมือ<br />

๑.๒.๓ การดูดยาจาก vial & ampoule และเติมลงใน LVP<br />

๑.๒.๔ การละลายผงยา (reconstitute dry powder)<br />

๑.๒.๕ การปฏิบัติงานในตูปลอดเชื้อ<br />

๑.๒.๖ การเลือกใชอุปกรณในการเตรียม<br />

๑.๓ Stability <strong>and</strong> compatibility<br />

๑.๔ Order of mixing<br />

๑.๕ ตรวจสอบสารอาหารทางหลอดเลือดดําที่ทําการเตรียม<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๑ (คะแนนที่ได x ๔๕)/ฐานคะแนนที่มีการประเมินจริง<br />

๒. การบริบาลเภสัชกรรม<br />

๒.๑ การรวบรวมขอมูลที่เหมาะสม<br />

๒.๑.๑ จากเวชระเบียน (ผูปวยนอก/ผูปวยใน/ฐานขอมูลเวชระเบียน<br />

อิเล็คโทรนิกสในโรงพยาบาล )<br />

๒.๑.๒ จากสัมภาษณผูปวย ญาติ และ/หรือบุคลากรทางสาธารณสุขที่<br />

เกี่ยวของ<br />

๒.๑.๓ เลือกขอมูลที่จําเปนเกี่ยวของกับการดูแลผูปวย<br />

๒.๑.๔ สามารถตอบคําถามหรือนําขอมูลมาใชในการดูแลผูปวยจากแบบ<br />

บันทึกไดอยางรวดเร็ว<br />

๒.๒ กระบวนการคิดและวิเคราะหเพื่อแกไขปญหาอยางเปนระบบแกผูปวยเฉพาะ<br />

ราย<br />

๒.๒.๑ การคัดกรองปญหาที่เกี่ยวกับคําสั่งใชสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๒.๒.๒ การระบุปญหาเรื่องโรคและปญหาการบําบัดดานโภชนาการของ<br />

ผูปวย โดยสืบคนจาก เวชระเบียน การสัมภาษณผูปวย/ผูดูแลผูปวย บุคลากร<br />

สาธารณสุข และอื่น ๆ<br />

๒.๒.๓ ระบุขอมูลของผูปวยที่สัมพันธกับปญหาเรื่องโรคและปญหาดาน<br />

โภชนาการ (subjective & objective data)<br />

๑๕<br />

สัปดาหที่ ๓ สัปดาหที่ ๖ หมาย<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ เหตุ


แบบ-ป-๑๖/๓<br />

สัปดาหที่ ๓ สัปดาหที่ ๖ หมาย<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ ๕ ๔ ๓ ๒ ๑ เหตุ<br />

๒.๒.๔ การประเมิน<br />

๒.๒.๔.๑ สาเหตุและปจจัยเสี่ยง<br />

๒.๒.๔.๒ ประเมินรูปแบบการรักษาในปจจุบันหรือควรจะไดรับ (<br />

Indication, Efficacy, Safety)<br />

๒.๒.๔.๒.๑ Indication<br />

๒.๒.๔.๒.๒ Efficacy โดยพิจารณาชนิด สูตรอาหารทาง<br />

หลอดเลือดดํารวมถึงวิถีทางการบริหารยา ที่เหมาะสมตอสภาวะและการตอบสนองของ<br />

ผูปวยแตละราย (การแปลผลและวิเคราะหผลทางหองปฏิบัติการ รวมถึงอาการแสดงทาง<br />

คลินิก)<br />

๒.๒.๔.๒.๓ Safety โดยพิจารณาภาวะแทรกซอนจากการ<br />

ไดรับสารอาหารทางหลอดเลือดดําของผูปวยแตละราย<br />

๒.๒.๕ แผนการแกไขปญหา<br />

๒.๒.๕.๑ เปาหมายการรักษา<br />

๒.๒.๕.๒ แผนการใหสารอาหารทางหลอดเลือดดําในปจจุบันและ<br />

อนาคต พรอมทางเลือกอื่น ๆ ในการรักษา<br />

๒.๒.๕.๓ การติดตามผูปวยดานประสิทธิภาพโดยระบุพารามิเตอรที่<br />

เหมาะสม<br />

๒.๒.๕.๔ การติดตามผูปวยดานความปลอดภัยโดยระบุพารามิเตอรที่<br />

เหมาะสม<br />

๒.๒.๕.๕ การใหคําปรึกษาแกผูปวย/ญาติ/แพทย/บุคลากร<br />

สาธารณสุขอื่น ๆ<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๒ (คะแนนที่ไดx ๔๕)/ฐานคะแนนที่มีการประเมินจริง<br />

๓. การแกไขปญหา<br />

๓.๑ สามารถระบุ วิเคราะหปญหาและเสนอแนะแนวทางการแกไข<br />

๓.๒ ดําเนินการตามแนวทางการแกไขปญหาที่เสนอแนะไว<br />

๓.๓ ติดตามผลการปฏิบัติตามแนวทางการแกไข<br />

๔. การสื่อสารเพื่อแกไขปญหาที่เกี่ยวของกับการปฏิบัติงาน<br />

๔.๑ ระบุบุคคลที่ตองการสื่อสารไดอยางเหมาะสม<br />

๔.๒ เลือกชองทางและใชการสื่อสารที่เหมาะสมตอบุคคลเปาหมาย<br />

๔.๒.๑ อวัจนภาษา: pharmacist note, เอกสารหลักฐานวิชาการ<br />

๔.๒.๒ วัจนภาษา: ภาษาเหมาะแกระดับผูรับสาร ชัดเจน ไดใจความ ถูกตอง<br />

ตรงประเด็น<br />

๔.๓ ใหคําแนะนําถูกตองตามหลักวิชาการ<br />

๔.๔ การตอบปญหาเฉพาะหนาเหมาะสมตามสถานการณ<br />

๕. บริการสารสนเทศทางยาแกบุคลากรทางสาธารณสุข/ผูปวยและ/หรือบุคคลทั่วไป<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๓,๔ และ๕ (คะแนนที่ไดx ๑๐)/ฐานคะแนนที่มีการประเมินจริง<br />

รวมคะแนน (คะแนนที่ได x ๔๐)/๑๐๐<br />

. . . . . . . . . ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม.<br />

. . . . . . . . . . . . . . .<br />

. . . . . . . . .<br />

ลงชื่อ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก<br />

( )<br />

๑๖


แบบประเมินการนําเสนอกรณีศึกษา<br />

แบบ-ป-๖/๑<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา......................................................................รหัสประจําตัว....................................<br />

ปฏิบัติงาน.......................................................ชื่อแหลงฝก..................................................ผลัดที่......<br />

คําชี้แจง<br />

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษา<br />

ที่ทานดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ)<br />

ระดับขั้นการประเมิน<br />

คะแนน ระดับ นิยาม<br />

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตองครบถวน แสดงความรู / ความ<br />

คิดเห็นบนพื้นฐานองคความรูใหมอยางเหมาะสม สามารถอภิปรายประเด็นการดูแลผูปวยดานยาที่<br />

สําคัญ (critical point) และนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยเฉพาะรายไดจริง<br />

๔ ดี นิสิต/นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตอง แสดงความรู / ความคิดเห็นบน<br />

พื้นฐานแนวทางการรักษาที่เปนปจจุบัน สามารถอภิปรายถึงประเด็นการดูแลผูปวยดานยาที่<br />

สําคัญและนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยเฉพาะรายไดบางสวน แตตองไดรับคําแนะนําบาง<br />

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตองบางสวนมีองคความรูพื้นฐาน<br />

ยังขาดความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา ยังไมสามารถนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยไดดวย<br />

ตนเอง ตองไดรับคําแนะนํา<br />

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษาสามารถนําเสนอ อภิปรายและตอบคําถามไดถูกตองบางสวน ขาดขอมูลสําคัญและ<br />

ความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา ไมสามารถนําไปประยุกตใชในการดูแลผูปวยไดตองไดรับ<br />

คําแนะนําเปนสวนใหญ<br />

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษา การนําเสนอไมถูกตอง ไมสามารถอภิปรายและตอบคําถามไดขาดขอมูลสําคัญ<br />

และความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา ตองสอนการทํากรณีศึกษาใหม<br />

๑๗


แบบประเมินการนําเสนอกรณีศึกษา<br />

แบบ-ป-๖/๒<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา............................................................รหัสประจําตัว........................................<br />

ปฏิบัติงาน..............................................ชื่อแหลงฝก..................................................ผลัดที่..........<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๑. การนําเสนอขอมูลผูปวยถูกตองและครบถวน<br />

๑.๑ ประกอบดวย CC, HPI, PMH, FH, SH, ALL, MH, PE, Lab<br />

๑.๒ ประวัติการรักษาโดยยอที่เกี่ยวของกับการใชยา<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๑ (คะแนนที่ได x ๗.๕)/๘<br />

๒. การประเมินและแกไขอยางเปนระบบ<br />

๒.๑ ระบุปญหาเรื่องโรคและปญหาการบําบัดดานยาของผูปวยโดยนิสิต/นักศึกษา<br />

๒.๒ ระบุขอมูลของผูปวยที่สัมพันธกับปญหาเรื่องโรคและปญหาการบําบัดดานยา<br />

(subjective & objective data)<br />

๒.๓ การประเมิน<br />

๒.๓.๑ สาเหตุ<br />

๒.๓.๒ ปจจัยเสี่ยง<br />

๒.๓.๓ ประเมินรูปแบบการรักษาในปจจุบันหรือควรจะไดรับ (IESAC)<br />

๒.๔ แผนการแกไขปญหา<br />

๒.๔.๑ เปาหมายการรักษา<br />

๒.๔.๒ แผนการรักษาดวยยาในปจจุบันและอนาคต<br />

๒.๔.๓ ติดตามผูปวยดานประสิทธิภาพและความปลอดภัย<br />

๒.๔.๔ ใหคําปรึกษาแกผูรับบริการ/ผูปวย/ญาติ/แพทย / บุคลากรสาธารณสุขอื่น ๆ<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๒ (คะแนนที่ได x ๕๐)/๓๖<br />

๓. การใชหลักฐานทางวิชาการ<br />

๓.๑ การนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวของกับกรณีศึกษาเพิ่มเติม โดยเปนขอมูลที่ทันสมัย นาเชื่อถือ<br />

และเปนที่ยอมรับอยางแพรหลายในวงการสาธารณสุข มีจํานวนเหมาะสมเพียงพอที่จะตอบคําถาม<br />

ของผูปวยไดถูกตองเหมาะสมกับผูปวยแตละราย<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๓ (คะแนนที่ได x ๗.๕)/๔<br />

๔. การนําเสนอ<br />

๔.๑ ความเหมาะสมของลําดับของการนําเสนอ งายตอการติดตาม ภายในระยะเวลาที่กําหนด<br />

๔.๒ เนื้อหา เอกสารและสื่อประกอบการนําเสนอสะกดถูกตอง ชัดเจนนาสนใจ<br />

๔.๓ การสื่อสาร: เสียงดังชัดเจน ความเร็วเหมาะสม ศัพทที่ใชเขาใจงายออกเสียงถูกตอง<br />

ทาทาง การประสานสายตา<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๔ (คะแนนที่ได x ๗.๕ )/๑๒<br />

คะแนน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A<br />

๑๘


แบบ-ป-๖/๓<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๕. การตอบคําถาม<br />

๕.๑ ถูกตอง และมีเหตุผลสอดคลองกับระดับนิสิต/นักศึกษา Pharm D.<br />

๕.๒ สามารถคิดไดดวยตนเอง โดยอางอิงองคความรูพื้นฐาน ในกรณีที่ไมมีขอมูลสนับสนุน<br />

คําตอบชัดเจนเชิงประจักษ<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๕ (คะแนนที่ได x ๑๗.๕)/๘<br />

๖. การบูรณาการองคความรูและความเขาใจภาพรวมของกรณีศึกษา<br />

รวมคะแนนสวนที่ ๖ (คะแนนที่ได x ๑๐)/๔<br />

รวมคะแนน (คะแนนที่ได x ๑๕)/๑๐๐<br />

คะแนน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A<br />

. . . . . . . . . ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม.<br />

. . . . . . . . . . . . . . .<br />

. . . . . . . . .<br />

. . . . . . . . .<br />

ลงชื่อ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก<br />

( )<br />

๑๙


แบบประเมินการนําเสนอและวิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ<br />

แบบ-ป-๗/๑<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา ............................................................... รหัสนิสิต.........................................<br />

เรื่อง ...................................................................................วันที่ ..............................................<br />

คําชี้แจง<br />

ใหทานทําเครื่องหมายกากบาท (x) ในชองระดับคะแนนของแบบประเมินที่ตรงกับทักษะและความสามารถของนิสิต/นักศึกษา<br />

ที่ทานดูแลมากที่สุด (ประเมินทั้งในและนอกเวลาการฝกปฏิบัติงานฯ)<br />

ระดับขั้นการประเมิน<br />

คะแนน ระดับ นิยาม<br />

๕ ดีมาก นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษ รวมถึงการสังเคราะหองคความรูปจจุบัน<br />

วรรณกรรมอื่นๆที่เกี่ยวของ และสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงานได<br />

๔ ดี นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษรวมถึงการสังเคราะหองคความรูจาก<br />

วรรณกรรมที่วิพากษและสามารถประยุกตใชในการปฏิบัติงานได อาจตองใหคําแนะนําบาง<br />

๓ ปานกลาง นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษวรรณกรรม ยังไมสามารถสังเคราะหองค<br />

ความรูและนําประยุกตใชในการปฏิบัติงานได ตองไดรับคําแนะนําบาง<br />

๒ ปรับปรุง นิสิต/นักศึกษาสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษวรรณกรรมไดเพียงบางสวน ไมสามารถ<br />

สังเคราะหองคความรูและนําประยุกตใชในการปฏิบัติงานได ขาดความเขาใจภาพรวมของ<br />

วรรณกรรมที่นําเสนอ ตองไดรับคําแนะนําเปนสวนใหญ<br />

๑ ไมผาน นิสิต/นักศึกษาไมสามารถประเมิน วิเคราะหและวิพากษวรรณกรรมไดไมสามารถอธิบายและตอบ<br />

คําถามไดขาดความเขาใจภาพรวมของวรรณกรรมที่นําเสนอ ตองสอนการทําวรรณกรรม ปฐมภูมิ<br />

ใหม<br />

๒๐


แบบ-ป-๗/๒<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๑. การคัดเลือกบทความโดยนิสิต/นักศึกษา<br />

โดยพิจารณาจากประโยชนของการนําไปประยุกตใช ไดแกการใชสนับสนุนการดูแลผูปวยที่นิสิต/<br />

นักศึกษาดูแลอยูและ/หรือการใชสนับสนุนการดูแลผูปวยที่เขารับบริการในหนวยงานนั้น ๆ<br />

๒. การประเมิน และวิพากษบทความ<br />

๒.๑ ชื่อเรื่อง บทคัดยอ บทนํา<br />

๒.๒ คําถามและวัตถุประสงคงานวิจัย<br />

๒.๓ ระเบียบวิธีการวิจัย<br />

๒.๓.๑ รูปแบบการวิจัยมีความสอดคลองกับคําถามงานวิจัย<br />

๒.๓.๒ เกณฑการคัดเขา/คัดออก พิจารณาจากความสอดคลองกับคําถามงานวิจัย<br />

และอคติในการคัดเลือกกลุมตัวอยาง<br />

๒.๓.๓ ขนาดกลุมตัวอยาง/รอยละของผูปวยที่ออกจากการศึกษา (drop out)<br />

๒.๓.๔ สถิติ โดยพิจารณา<br />

- ความเหมาะสมของสถิติที่ใชกับชนิดของตัวแปร<br />

- การกระจายของขอมูลกับความสอดคลองกับสถิติที่เลือกใช<br />

- ความแตกตางของระดับความเชื่อมั่นกับชวงความเชื่อมั่นทางสถิติ<br />

๒.๓.๕ จริยธรรม โดยไมพิจารณาเพียงผลการยอมรับจากคณะกรรมการจริยธรรมการศึกษา<br />

วิจัยในมนุษยแตตองพิจารณาจริยธรรมตามแนวทางการรักษา ความปลอดภัยและประสิทธิผลที่<br />

ผูปวยควรไดรับรวมดวย<br />

๒.๓.๖ เครื่องมือที่ใช พิจารณาจากความสอดคลองรูปแบบงานวิจัยกับเครื่องมือที่ใชในการ<br />

วิจัย เชน การสัมภาษณแบบเก็บขอมูล อุปกรณที่ใชวัดผลการศึกษาที่ตองการ<br />

๒.๓.๗ ตัวแปรและการวัดผลลัพธการศึกษา (outcome variables & outcome<br />

measurement) พิจารณาจากความสอดคลองของตัวแปรกับคําถามและวัตถุประสงคงานวิจัย<br />

๒.๔ รายงานและวิพากษผลการศึกษา ถูกตอง ครบถวน ชัดเจน รูปแบบการนําเสนอผลงานวิจัยมี<br />

อคติหรือไม<br />

๒.๕ อภิปรายและสรุปผลการศึกษา โดยพิจารณาในหัวขอดังตอไปนี้<br />

- ผลงานวิจัยที่ไดสามารถตอบคําถามงานวิจัยไดถูกตองและเหมาะสม<br />

- ความเหมาะสมในการประยุกตใชผลงานวิจัยสอดคลองกับขอบเขตงานวิจัย<br />

- ความสอดคลองของผลการศึกษากับผลจากงานวิจัยอื่น ๆ ที่มีคําถามงานวิจัยเดียวกันหรือ<br />

คลายคลึงกัน<br />

- สามารถนําไปใชในการดูแลผูปวยที่นิสิต/นักศึกษาดูแลอยู<br />

๒.๖ ความคิดเห็นของนิสิต/นักศึกษาตอบทความโดยภาพรวม ในการนําไปประยุกตใชกับผูปวย<br />

หรือคําถามที่นิสิต/นักศึกษาดูแล<br />

๓. การนําเสนอ<br />

๓.๑ นําเขาสูเนื้อหาไดนาสนใจ<br />

๓.๒ ความเหมาะสมของลําดับของการนําเสนอ งายตอการติดตาม ภายในระยะเวลาที่กําหนด<br />

๓.๓ เนื้อหา เอกสารและสื่อประกอบการนําเสนอสะกดถูกตอง ชัดเจนนาสนใจ<br />

คะแนน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A<br />

๒๑


แบบ-ป-๗/๓<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๓.๔ การสื่อสาร: เสียงดังชัดเจน ความเร็วเหมาะสม ศัพทที่ใชเขาใจงาย ออกเสียงถูกตอง ทาทาง<br />

การประสานสายตา<br />

๔. การตอบคําถาม<br />

๔.๑ ถูกตอง มีเหตุผล อางอิงถึงหลักฐานทางวิชาการและเหมาะสมกับระดับความรูที่<br />

นิสิต/นักศึกษา Pharm D. พึงมี<br />

๔.๒ สามารถคิดไดดวยตนเอง โดยอางอิงองคความรูพื้นฐาน ในกรณีที่ไมมีขอมูลสนับสนุนคําตอบ<br />

ชัดเจนเชิงประจักษ<br />

คะแนนรวม (คะแนนที่ได / x ๑๐) /ฐานคะแนนที่มีการประเมินจริง<br />

หมายเหตุ ในกรณีที่ไมสามารถประเมิน ฐานคะแนนการประเมินใหลดลงตามสวน<br />

คะแนน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

. ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม.<br />

. . . . . . . . . . . . . . .<br />

. .<br />

. .<br />

ลงชื่อ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก<br />

( )<br />

๒๒


แบบประเมินการใหความรูบุคลากรในองคกร<br />

แบบ-ป-๘<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา ............................................................................. วันที่ ..................................<br />

เรื่อง ..............................................................................................................................................<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๑. เนื้อหาการนําเสนอ<br />

๑.๑ กําหนดหัวขอและวัตถุประสงคโดยวิเคราะหความตองการของผูฟง<br />

๑.๒ เนื้อหาครบถวนและครอบคลุมประเด็นสําคัญ<br />

๑.๓ มีการวิเคราะหและสังเคราะหเนื้อหาใหสอดคลองกับวัตถุประสงค<br />

๑.๔ เนื้อหาเปนประโยชนและสามารถประยุกตใชตามความตองการของผูฟงได<br />

๒. การใชหลักฐานทางวิชาการ<br />

๒.๑ เปนขอมูลที่ทันสมัย นาเชื่อถือและเปนที่ยอมรับอยางแพรหลายในวงการสาธารณสุข มี<br />

จํานวนเหมาะสมเพียงพอที่จะตอบคําถามตามหัวขอการนําเสนอ<br />

๓. วิธีการนําเสนอ<br />

๓.๑ การคัดเลือกเนื้อหาในปริมาณที่เหมาะสมกับเวลาที่กําหนด<br />

๓.๒ การนําเขาสูเนื้อหาไดนาสนใจ<br />

๓.๓ ความเหมาะสมของลําดับของการนําเสนอ งายตอการติดตาม<br />

๓.๔ เนื้อหา เอกสารและสื่อประกอบการนําเสนอสะกดถูกตอง ชัดเจนนาสนใจ<br />

๓.๕ การสื่อสาร: เสียงดังชัดเจน ความเร็วเหมาะสม ศัพทที่ใชเขาใจงาย ออกเสียงถูกตอง<br />

ทาทาง การประสานสายตา<br />

๓.๖ การใชเทคนิคการนําเสนอในการสรางความมีสวนรวมของผูฟง<br />

๔. การตอบคําถาม<br />

๔.๑ ถูกตอง มีเหตุผล อางอิงถึงหลักฐานทางวิชาการและเหมาะสมกับระดับความรูที่นิสิต/<br />

นักศึกษา Pharm D. พึงมี<br />

๔.๒ สามารถคิดไดดวยตนเอง โดยอางอิงองคความรูพื้นฐานในกรณีที่ไมมีขอมูลสนับสนุน<br />

คําตอบชัดเจนเชิงประจักษ<br />

คะแนน (คะแนนที่ได x ๕)/ฐานคะแนนที่มีการประเมินจริง<br />

หมายเหตุ ในกรณีที่ไมสามารถประเมิน ฐานคะแนนการประเมินใหลดลงตามสวน<br />

. . . . . . . . . ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม.<br />

. . . . . . . . . . . . . . .<br />

. . . . . . . . .<br />

. . . . . . . . .<br />

คะแนน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A<br />

ลงชื่อ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก<br />

( )<br />

๒๓


แบบประเมินการนําเสนอการวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

ชื่อนิสิต/นักศึกษา ............................................................................. วันที่ ..................................<br />

เรื่อง ..............................................................................................................................................<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๑. การคัดเลือกปญหา<br />

๑.๑ ความนาสนใจ<br />

๑.๒ การนําไปใชประโยชน<br />

๒. การประเมินปญหาและแกไขอยางเปนระบบ<br />

๒.๑ ระบุปญหาจากการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําโดยนิสิต/นักศึกษา<br />

๒.๒ ระบุขอมูลที่สัมพันธกับปญหาจากการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๒.๓ การประเมิน<br />

๒.๓.๑ สาเหตุของปญหา<br />

๒.๓.๒ ประเมินและวิเคราะหปญหาจากการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําที่ผูปวย<br />

ไดรับ<br />

๒.๔ แผนการแกไขและปองกันปญหา<br />

๒.๔.๑ แผนการแกไขปญหาจากการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๒.๔.๒ แผนการติดตามการแกไขปญหาจากการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

๒.๔.๒ แผนการปองกันปญหาจากการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําแกผูปวย<br />

เฉพาะรายและ/หรือเชิงระบบ<br />

๓. การใชหลักฐานทางวิชาการ<br />

๓.๑ การนําเสนอขอมูลที่เกี่ยวของกับกรณีศึกษาเพิ่มเติม โดยเปนขอมูลที่ทันสมัย นาเชื่อถือ<br />

และเปนที่ยอมรับอยางแพรหลายในวงการสาธารณสุข มีจํานวนเหมาะสมเพียงพอที่จะแกไข<br />

ปญหาไดถูกตอง เหมาะสมกับแตละปญหาและ/หรือเชิงระบบ<br />

๔. เนื้อหาการนําเสนอ<br />

๔.๑ ความเหมาะสมของปริมาณเนื้อหา รายละเอียด<br />

๔.๒ ความนาเชื่อถือของขอมูล พิจารณาจากเอกสารอางอิงที่ใช<br />

๔.๓ ความเหมาะสมกับผูฟง<br />

๕. วิธีการนําเสนอ<br />

๕.๑ ความเหมาะสมของลําดับของการนําเสนอ งายตอการติดตาม ภายในระยะเวลาที่กําหนด<br />

๕.๒ เนื้อหา เอกสารและสื่อประกอบการนําเสนอสะกดถูกตอง ชัดเจนนาสนใจ<br />

๕.๓ การสื่อสาร: เสียงดังชัดเจน ความเร็วเหมาะสม ศัพทที่ใชเขาใจงายออกเสียงถูกตอง<br />

ทาทาง การประสานสายตา<br />

แบบ-ป-๙/๑<br />

คะแนน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A<br />

๒๔


แบบ-ป-๙/๒<br />

หัวขอการประเมิน<br />

๖. การตอบคําถาม<br />

๖.๑ ถูกตอง มีเหตุผล อางอิงถึงหลักฐานทางวิชาการและเหมาะสมกับระดับความรูที่นิสิต/<br />

นักศึกษา Pharm D. พึงมี<br />

๖.๒ สามารถคิดไดดวยตนเอง โดยอางอิงองคความรูพื้นฐาน ในกรณีที่ไมมีขอมูลสนับสนุน<br />

คําตอบชัดเจนเชิงประจักษ<br />

๗. การบูรณาการองคความรูและความเขาใจภาพรวมของปญหา<br />

คะแนน / (คะแนนที่ได ) x ฐานคะแนนที่มีการประเมินจริง<br />

หมายเหตุ ในกรณีที่ไมสามารถประเมิน ฐานคะแนนการประเมินใหลดลงตามสวน<br />

คะแนน<br />

๕ ๔ ๓ ๒ ๑ N/A<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

.<br />

. ขอเสนอแนะ/ความคิดเห็นเพิ่มเติม.<br />

. . . . . . . . . . . . . . .<br />

. .<br />

. .<br />

ลงชื่อ.....................................................อาจารยประจําแหลงฝก<br />

( )<br />

๒๕


ตัวอยางแบบรายงานการตอบคําถามอยางเปนระบบ<br />

วันที่รับคําถาม ………………………………………………….. เวลา ………………….……………….<br />

ขอมูลผูถาม (demographic of requestor)<br />

ชื่อผูถาม .......................................................................................................................................<br />

……………………………………………………………… ที่อยู<br />

โทร. ...............................................โทรสาร ..........................E-mail address ………………….<br />

อาชีพ/วิชาชีพ<br />

q แพทย q เภสัชกร q พยาบาล<br />

q ทันตแพทย q นิสิต/นักศึกษา q ประชาชน<br />

q อื่น ๆ .......................................................................................<br />

วัตถุประสงคในการถาม<br />

q เพื่อแกปญหาผูปวยเฉพาะราย (patient-specific question)<br />

q เพื่อประโยชนในการปฏิบัติงานทั่วไป q เพื่อเพิ่มพูนความรู<br />

q เพื่อการศึกษาวิจัย q อื่น ๆ ...........................................<br />

แหลงขอมูลที่ไดมีการสืบคนมาแลวและผลการสืบคนขอมูล<br />

...........................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................<br />

ความรีบดวน<br />

q ทันที q ภายใน ๑ วัน q อื่น ๆ ................................<br />

วิธีการถามโดย<br />

q วาจา<br />

q การบันทึกในแบบรับคําถาม<br />

q โทรศัพท / โทรสาร q e-mail<br />

q web site / web board q อื่น ๆ ..........................................................<br />

ขอมูลคําถาม (request)<br />

คําถามแรกรับ (initial question)<br />

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………<br />

………………………………………………………….……<br />

ขอมูลภูมิหลังของคําถาม (background information)<br />

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………<br />

………………………………………………………….……<br />

………………………………………………………………………………………………….……<br />

สรุปคําถามที่แทจริงเพื่อการสืบคน (ultimate question)<br />

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………<br />

………………………………………………………….……<br />

๒๖


การจัดประเภทของคําถามที่แทจริงเพื่อการสืบคน (classification of the ultimate question)<br />

q General product information q Adverse effects<br />

q Availability of dosage forms q Compounding<br />

q Dietary supplement<br />

q Dosage recommendations<br />

(general <strong>and</strong> organ impairment)<br />

q Drug interactions<br />

q Drug-laboratory interference<br />

q Drugs in pregnancy <strong>and</strong> in q Foreign drug identification<br />

lactation<br />

q Geriatric dosage<br />

q Identification of product by<br />

recommendations<br />

description of dosage form<br />

q Investigational drug information q Compatibility / stability<br />

q Method / rate of administration q Pediatric dosage<br />

recommendations<br />

q Pharmacokinetics<br />

q Pharmacology<br />

การสืบคนขอมูลอยางเปนระบบ (search strategy <strong>and</strong> conduct on systematic search)*<br />

แหลงขอมูลที่นาเชื่อถือทั้งหมดที่เลือกใชและสรุปคําตอบจากแตละแหลงขอมูล<br />

๑. แหลงขอมูลตติยภูมิ<br />

๑.๑ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………..………<br />

คําตอบ .............................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................<br />

๑.๒ แหลงขอมูล …………………………………….……………………………………………..……<br />

คําตอบ .............................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................<br />

๒. แหลงขอมูลทุติยภูมิ<br />

๒.๑ แหลงขอมูล …………………………………….…………………………………………..………<br />

คําตอบ ..............................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................................<br />

๒.๒ แหลงขอมูล ……………………………………..……..………………………………...………<br />

คําตอบ ..............................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................................<br />

๓. แหลงขอมูลปฐมภูมิ<br />

๓.๑ แหลงขอมูล …………………………………….………………………………………..…………<br />

คําตอบ ..............................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................<br />

๒๗


๓.๒ แหลงขอมูล ……………………………….………………………………….……………………<br />

คําตอบ .............................................................................................................................................<br />

..........................................................................................................................................................<br />

๔. แหลงขอมูลอื่น ๆ<br />

๔.๑ แหลงขอมูล ……………………………….…………………………….…….……………………<br />

คําตอบ ..............................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................................<br />

๔.๒ แหลงขอมูล ……………………………….…………………………………..……………………<br />

คําตอบ ..............................................................................................................................................<br />

...........................................................................................................................................................<br />

) sd สรุปคําคนที่ใช row y e k (<br />

…………………………………………………………………<br />

… .…………………………………………………………<br />

การวิเคราะหและสังเคราะหคําตอบ<br />

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………<br />

………………………………………………………….……<br />

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………<br />

………………………………………………………….……<br />

ขอมูลการตอบคําถาม<br />

สรุปคําตอบที่ตอบแกผูถาม<br />

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………<br />

………………………………………………………….……<br />

………………………………………………………………………………………………….……………………………………………<br />

………………………………………………………….……<br />

เอกสารอางอิง<br />

๑. ……………………………………………………………………………………………...…………………………………<br />

……………………………………………………...……<br />

๒. ……………………………………………………………………………………………...…………………………………<br />

……………………………………………………...……<br />

๓. ……………………………………………………………………………………………...…………………………………<br />

…………………………………………...………………<br />

วิธีการสงคําตอบ<br />

q วาจา<br />

q เอกสาร<br />

q โทรศัพท / โทรสาร q e-mail<br />

q web site / web board q อื่น ๆ ..........................................................<br />

ชื่อผูตอบคําถาม ……………………………………………<br />

วันที่ตอบคําถาม ……………………………….. เวลา ………………………….<br />

๒๘


รวมระยะเวลาที่ใชในการตอบคําถาม ..............................................................<br />

การติดตามผลการใชขอมูลที่ตอบ (Follow up <strong>and</strong> follow through)<br />

.......................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................<br />

......................................................................................................................................................................<br />

ความคิดเห็นอาจารยประจําแหลงฝก:<br />

....................................................................................................................................................................<br />

....................................................................................................................................................................<br />

....................................................................................................................................................................<br />

....................................................................................................................................................................<br />

ลงชื่อนิสิต/นักศึกษาผูตอบคําถาม.................................................<br />

ลงชื่ออาจารยประจําแหลงฝก.................................................................<br />

หมายเหตุ:<br />

− ตัวอยางแบบบันทึกนี้ อิงตามแนวทางวิธีการคิดแบบ systematic approach จากหนังสือ Malone PM, Kier KL, <strong>and</strong><br />

Stanovich JE. (Eds). Drug Information: a guide for pharmacists, Third Edition. Singapore: McGraw-Hill, Medical<br />

Publishing Division. โดยจัดทําเปนขั้นตอนกระบวนการคิดในการตอบขอสนเทศทางยาอยางเปนระบบเทานั้น ในทางปฏิบัติ<br />

แหลงฝกฯ สามารถใหนิสิต/นักศึกษาบันทึกตามแบบบันทึกที่แหลงฝกฯ ใชเอยูจริงในการปฏิบัติงานปกติประจําวันได<br />

− * ในทางปฏิบัติโดยทั่วไปสวนใหญขอมูลในสวน การสืบคนขอมูลอยางเปนระบบนี้ อาจแยกไปบันทึกในสวนอื่น หรืออาจไมไดมี<br />

การบันทึก<br />

๒๙


คําชี้แจงเพิ่มเติม<br />

การเปลี่ยนแปลงของ<br />

คูมือการฝกปฏิบัติการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดํา<br />

และบริบาลทางเภสัชกรรมโภชนศาสตรคลินิกฉบับปรับปรุง ๒๕๕๕<br />

เรียน อาจารยเภสัชกรประจําแหลงฝกทุกทาน<br />

เนื่องดวยคณะกรรมการฯ ไดมีมติใหมีการปรับปรุงและเปลี่ยนแปลงเนื้อหาของ “คูมือการฝก<br />

ปฏิบัติการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและบริบาลทางเภสัชกรรมโภชนศาสตรคลินิก ฉบับปรับปรุง<br />

๒๕๕๕” เพื่อใหมีความสะดวกและเหมาะสมในการประเมินมากขึ้น ดังนั้นตอไปนี้<br />

๑. เพิ่มขอกําหนดเกี่ยวกับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ดังนี้<br />

“นิสิต/นักศึกษาจะไดรับการประเมินผลการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม<br />

ก็ตอเมื่อนิสิต/นักศึกษา มีคะแนนจากการประเมินความประพฤติและทัศนคติของ<br />

นิสิต/นักศึกษา มากกวาหรือเทากับรอยละ ๕๐”<br />

๒. เปลี่ยนแปลงระดับขั้นการประเมินจาก ๔ ระดับ ไดแกระดับ ๑ = ตองปรับปรุง ระดับ ๒<br />

= ปานกลาง ระดับ ๓ = ดี ระดับ ๔ = ดีเยี่ยม เปน ๕ ระดับ ไดแกระดับ ๑ = ไมผาน<br />

ระดับ ๒ = ปรับปรุง ระดับ ๓ = ปานกลาง ระดับ ๔ = ดี ระดับ ๕ = ดีมาก ทั้งนี้<br />

คํานิยามของแตละระดับการประเมินสามารถอานไดจากสวนหนาของแบบประเมิน<br />

แตละแบบ<br />

จึงเรียนมาเพื่อทราบ<br />

(ผูชวยศาสตราจารยดร.ปวีณา สนธิสมบัติ)<br />

ประธานคณะอนุกรรมการ<br />

การฝกปฏิบัติงานวิชาชีพสาขาโรงพยาบาล<br />

๓๐


๓๑


๒๔


คํานํา<br />

เครือขายคณะทํางานพัฒนาการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม เพื่อการสรางเสริมสุขภาพ<br />

ไดดําเนินการปรับปรุงคูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ฉบับปรับปรุง (ครั้งที่ ๓) สําหรับ<br />

ปการศึกษา ๒๕๕๕ เปนตนไป โดยรวบรวมจากความคิดเห็น ขอเสนอแนะ จากอาจารยประจําแหลงฝก<br />

จากการนิเทศ และการจัดประชุมตาง ๆ โดยประเด็นสําคัญที่ทําการปรับปรุงคือระดับขั้นการประเมินความ<br />

ประพฤติ ทัศนคติและทักษะการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม เพื่อใหสอดคลองกับเกรดที่นิสิต/<br />

นักศึกษาจะไดรับมากขึ้น<br />

เนื่องจากการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเปนความรวมมือกันจากหลายฝาย จึงอาจมี<br />

ความเห็นและแนวปฏิบัติที่แตกตางกันไปบาง แตมีจุดประสงคหลักเพื่อใหการฝกปฏิบัติงานมีมาตรฐานการ<br />

ดําเนินงานในทิศทางเดียวกัน ดังนั้น คูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมนี้จึงเปนแนวทางการ<br />

ปฏิบัติที่ไดจัดทําขึ้นอยางเปนระบบหากแหลงฝกใดมีการปฏิบัติงานที่แตกตางไปจากที่ระบุไวคูมือนี้ ก็<br />

สามารถพิจารณาปรับเปลี่ยนการฝกปฏิบัติงานใหมีความเหมาะสม สอดคลองกับบริบทของแหลงฝกไดตาม<br />

สมควรหรือสามารถแจงไปยังเครือขายคณะทํางานฯ เพื่อนําไปพิจารณาตอไป<br />

คูมือการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ ๓ นี้ นับเปนเกณฑมาตรฐาน<br />

ที่ผานการพิจารณากลั่นกรองจากผูทรงคุณวุฒิในสาขาวิชาชีพเภสัชกรรมหลายฝาย อาทิเชน คณาจารยที่มี<br />

ความเชี่ยวชาญสาขาบริบาลเภสัชกรรม จาก ๑๖ มหาวิทยาลัย ผูแทนจากแหลงฝกปฏิบัติงานบริบาลทาง<br />

เภสัชกรรม ซึ่งเปนผูมีความรูความสามารถและประสบการณการเปนอาจารยแหลงฝกมาอยางตอเนื่อง<br />

ขอขอบคุณกัลยาณมิตรที่เปนคณาจารยและเจาหนาที่ประสานการฝกปฏิบัติงาน จาก<br />

๑๖ มหาวิทยาลัย ที่ชวยอํานวยการใหคูมือฉบับนี้สําเร็จลุลวงไดประกอบดวย จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย<br />

มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยเชียงใหม มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร มหาวิทยาลัยขอนแกน<br />

มหาวิทยาลัยศิลปากร มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยนเรศวร มหาวิทยาลัยมหาสารคาม<br />

มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี มหาวิทยาลัยรังสิต มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ มหาวิทยาลัยสยาม<br />

มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ มหาวิทยาลัยพายัพ และมหาวิทยาลัยพะเยา และขอขอบพระคุณ<br />

อาจารยเภสัชกรหญิง ดร.จินตนา นภาพร ผูจัดการดานวิชาการและวิชาชีพ เครือขายเภสัชศาสตรเพื่อ<br />

การสรางเสริมสุขภาพ (คภ.สสส.) ที่กรุณาใหการสนับสนุนการดําเนินงานนี้มาอยางตอเนื่องเปนปที่ ๔<br />

เครือขายคณะทํางานพัฒนาการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรมเพื่อการสรางเสริมสุขภาพ<br />

มกราคม ๒๕๕๕<br />


สารบัญ<br />

การฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม<br />

- หลักการและเหตุผล<br />

- วัตถุประสงค<br />

- วิธีการฝกปฏิบัติงาน<br />

- ระยะเวลา และรูปแบบการฝกปฏิบัติงาน<br />

- การนิเทศ<br />

- การประเมิน<br />

- ขอควรปฏิบัติของนิสิต/นักศึกษาระหวางฝกปฏิบัติงาน<br />

- ความรับผิดชอบของนิสิต/นักศึกษาระหวางฝกปฏิบัติงาน<br />

การฝกปฏิบัติการบริบาลทางเภสัชกรรมการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและ<br />

บริบาลเภสัชกรรมดานโภชนศาสตรคลินิก<br />

- จุดมุงหมาย<br />

- วัตถุประสงคเชิงพฤติกรรม<br />

- แนวทางการฝกปฏิบัติงาน<br />

- แนวทางการจัดกิจกรรมการฝกปฏิบัติงาน<br />

- การประเมินผลการฝกปฏิบัติงาน<br />

- กิจกรรมการฝกปฏิบัติการบริบาลทางเภสัชกรรมการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือดดําและ<br />

บริบาลเภสัชกรรมดานโภชนศาสตรคลินิก<br />

แบบบันทึกสรุปกิจกรรม<br />

แบบบันทึกสรุปกิจกรรมการฝกปฏิบัติการบริบาลทางเภสัชกรรมการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือด<br />

ดําและบริบาลเภสัชกรรมดานโภชนศาสตรคลินิก<br />

แบบประเมินการฝกปฏิบัติงานบริบาลทางเภสัชกรรม<br />

แบบ ป-๑/๑ และ แบบ ป-๑/๒<br />

แบบประเมินความประพฤติและทัศนคติของนิสิต/นักศึกษา<br />

แบบ ป-๑๖/๑ แบบ ป-๑๖/๒ แบบ ป-๑๖/๓<br />

แบบบประเมินทักษะการฝกปฏิบัติการบริบาลทางเภสัชกรรมการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือด<br />

ดําและบริบาลเภสัชกรรมดานโภชนศาสตรคลินิก<br />

แบบ ป-๖/๑ แบบ ป-๖/๒ แบบ ป-๖/๓<br />

แบบประเมินการนําเสนอกรณีศึกษา<br />

แบบ ป-๗/๑ แบบ ป-๗/๒ แบบ ป-๗/๓<br />

แบบประเมินการนําเสนอและวิพากษวรรณกรรมปฐมภูมิ<br />

แบบ ป-๘<br />

แบบประเมินการใหความรูบุคลากรในองคกร<br />

แบบ ป-๙/๑ แบบ ป-๙/๒<br />

แบบประเมินการนําเสนอการวิเคราะหปญหาที่เกี่ยวของกับการเตรียมสารอาหารทางหลอดเลือด<br />

ดํา<br />

๑<br />

๑<br />

๑<br />

๒<br />

๒<br />

๓<br />

๓<br />

๔<br />

๕<br />

๕<br />

๖<br />

๗<br />

๘<br />

๙<br />

๑๐<br />

๑๑<br />

๑๓<br />

๑๖<br />

๑๙<br />

๒๒<br />

๒๓<br />


ตัวอยางแบบรายงานการตอบคําถามอยางเปนระบบ ๒๕<br />

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!