02.04.2015 Views

Democ Terms and Concept Handbook_Final28112014_compressed(2)

Democ Terms and Concept Handbook_Final28112014_compressed(2)

Democ Terms and Concept Handbook_Final28112014_compressed(2)

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

ค ำและแนวคิดในประชำธิปไตยสมัยใหม่<br />

GLOSSARY OF CONCEPTS AND TERMS<br />

IN MODERN DEMOCRACY<br />

สิริพรรณ นกสวน สวัสดี<br />

และคณะ<br />

พฤศจิกายน 2557<br />

5


สำรบัญ<br />

ค ำน ำและกิตติกรรมประกำศ ................................................................................................................................................. 5<br />

วิธีกำรใช้หนังสือ ..................................................................................................................................................................... 7<br />

ส่วนที่ 1 : POLITICAL ACTORS AND ROLES ตัวแสดงและบทบำททำงกำรเมือง ............................................................. 9<br />

Civil Society ประชาสังคม ........................................................................................................................................ 10<br />

Third Sector ภาคส่วนที ่สาม/ภาคอาสาสมัครและชุมชน ............................................................................................. 13<br />

NGO/ Non-Profit Organization/ Civil Society Organization องค์กรนอกภาครัฐ/องค์กรภาคเอกชนที ่ไม่แสวงหาก าไร/<br />

องค์กรภาคประชาสังคม ............................................................................................................................................ 15<br />

Fourth Sector ภาคส่วนที ่สี ่....................................................................................................................................... 26<br />

Media สื ่อ ................................................................................................................................................................. 30<br />

Private Sector ภาคเอกชน ....................................................................................................................................... 34<br />

The State รัฐ ............................................................................................................................................................ 37<br />

ส่วนที่ 2: POLITICAL CULTURE AND DEMOCRACY วัฒนธรรมกำรเมือง และประชำธิปไตย ........................................ 40<br />

Agency ตัวแทน ........................................................................................................................................................ 41<br />

Amnesty การนิรโทษกรรม ........................................................................................................................................ 46<br />

Authoritarianism เผด็จการแบบอ านาจนิยม .............................................................................................................. 54<br />

Centralism/ Decentralism การรวมอ านาจ และการกระจายอ านาจ ............................................................................ 58<br />

Centripetal การเปิดให้คนกลุ่มน้อยเข้าถึงส่วนกลาง ................................................................................................... 64<br />

Consensus ฉันทามติ............................................................................................................................................... 66<br />

Conservative/ Neo-conservative อนุรักษ์นิยม และอนุรักษ์นิยมใหม่......................................................................... 69<br />

Constitutionalism รัฐธรรมนูญนิยม ........................................................................................................................... 74<br />

Constitutional Monarchy ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข/ระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้<br />

รัฐธรรมนูญ ............................................................................................................................................................... 77<br />

Corruption การทุจริต ................................................................................................................................................ 80<br />

Cultural Relativism สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรม ......................................................................................................... 84<br />

Deliberative <strong>Democ</strong>racy ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ ......................................................................................... 87<br />

Fiscal <strong>Democ</strong>racy ประชาธิปไตยทางการคลัง ........................................................................................................... 90<br />

Illiberal <strong>Democ</strong>racy ประชาธิปไตยที ่ไม่เสรี............................................................................................................... 92


Substantive <strong>Democ</strong>racy ประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหา .................................................................................................... 95<br />

Governance การจัดการปกครอง .............................................................................................................................. 97<br />

Horizontal <strong>and</strong> Vertical Accountability ความรับผิดชอบต่อสาธารณะแนวราบและแนวดิ่ง ......................................... 99<br />

Horizontal <strong>and</strong> Vertical Order กฎระเบียบแนวราบและแนวดิ่ง ............................................................................... 102<br />

Inclusiveness การนับรวมทุกกลุ่มคน ...................................................................................................................... 104<br />

Institutionalism สถาบันนิยม ................................................................................................................................... 107<br />

Legitimacy ความชอบธรรมทางการเมือง ................................................................................................................ 109<br />

Liberalism/ Neo-liberalism เสรีนิยม และเสรีนิยมใหม่ ............................................................................................. 112<br />

Norm Setting การก าหนดบรรทัดฐาน ..................................................................................................................... 118<br />

Paternalism ปิตาธิปไตย......................................................................................................................................... 120<br />

Patronage System ระบบอุปถัมภ์........................................................................................................................... 123<br />

Pluralism พหุนิยม .................................................................................................................................................. 126<br />

Political Economy เศรษฐกิจการเมือง .................................................................................................................... 129<br />

Public Sphere ปริมณฑลสาธารณะ ........................................................................................................................ 131<br />

Reconciliation การปรองดอง .................................................................................................................................. 135<br />

Rule of Law หลักนิติธรรม ...................................................................................................................................... 139<br />

Social Capital ทุนทางสังคม ................................................................................................................................... 143<br />

Social Contract สัญญาประชาคม ........................................................................................................................... 145<br />

Social Economy เศรษฐกิจเชิงสังคม ....................................................................................................................... 148<br />

Social Norm บรรทัดฐานทางสังคม ......................................................................................................................... 150<br />

Transparency ความโปร่งใส ................................................................................................................................... 152<br />

ส่วนที่ 3: RIGHTS AND SOCIAL JUSTICE สิทธิและควำมเป็ นธรรมทำงสังคม.............................................................. 156<br />

Civil Disobedience การดื ้อแพ่งของพลเมือง/อารยะขัดขืน ....................................................................................... 157<br />

Distributive Justice การกระจายอย่างเป็นธรรม ...................................................................................................... 161<br />

Equality ความเสมอภาค ......................................................................................................................................... 164<br />

Freedom อิสรภาพ ................................................................................................................................................. 167<br />

Children’s Rights สิทธิเด็ก ..................................................................................................................................... 169<br />

Civil Rights สิทธิพลเมือง ........................................................................................................................................ 172<br />

Disability Rights สิทธิคนพิการ ............................................................................................................................... 175<br />

Human Rights สิทธิมนุษยชน ................................................................................................................................. 178<br />

Indigenous Rights สิทธิชนพื ้นเมือง ........................................................................................................................ 183<br />

Labour Rights สิทธิแรงงาน .................................................................................................................................... 185


Minority Rights/ Majority Rule which respects Minority Rights สิทธิของเสียงข้างน้อยและกฎเสียงข้างมากที ่เคารพ<br />

สิทธิเสียงข้างน้อย ................................................................................................................................................... 189<br />

Older People’s Rights สิทธิผู้สูงอายุ ...................................................................................................................... 192<br />

Women’s Rights สิทธิสตรี ..................................................................................................................................... 195<br />

Social Security/ Social Safety Net ความมั่นคงทางสังคม และเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม ........................... 198<br />

Social Welfare สวัสดิการสังคม .............................................................................................................................. 201<br />

Sovereignty of the People อ านาจอธิปไตยของปวงชน .......................................................................................... 208<br />

Transitional Justice ความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่าน ............................................................................................ 211<br />

ส่วนที่ 4 : SOCIAL AND ECONOMIC DEVELOPMENT กำรพัฒนำสังคมและเศรษฐกิจ ................................................. 216<br />

Business Ethics จริยธรรมทางธุรกิจ ....................................................................................................................... 217<br />

Civic Education การศึกษาเพื ่อสร้างพลเมือง........................................................................................................... 220<br />

Corporate Social Responsibility ความรับผิดชอบต่อสังคม สภาพแวดล้อมและลูกจ้างของบรรษัท ........................... 222<br />

Empowerment การเพิ่มอ านาจ ............................................................................................................................... 225<br />

Green Economy เศรษฐกิจสีเขียว .......................................................................................................................... 228<br />

Green Consumerism การบริโภคสีเขียว ................................................................................................................. 231<br />

Green Jobs งานสีเขียว/งานคอปกเขียว .................................................................................................................. 233<br />

Income Distribution การกระจายรายได้.................................................................................................................. 235<br />

Micro–Finance ระบบการเงินในระดับจุลภาค .......................................................................................................... 238<br />

Philanthropy การท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ ......................................................................................................... 242<br />

Venture Philanthropy การร่วมลงทุนเชิงองค์กรเพื ่อสังคม ....................................................................................... 244<br />

Poverty Line เส้นความยากจน ............................................................................................................................... 246<br />

Social Enterprise กิจการเพื ่อสังคม ........................................................................................................................ 249<br />

ดรรชนี (INDEX) .................................................................................................................................................................. 253


ค ำน ำและกิตติกรรมประกำศ<br />

หนังสือ ค าและแนวคิดในประชาธิปไตยสมัยใหม่ (Glossary of <strong>Concept</strong>s <strong>and</strong> <strong>Terms</strong> in Modern <strong>Democ</strong>racy) จัดท า<br />

ด้วยความตั้งใจให้เป็นแหล่งค้นคว้าข้อมูล (source book) เบื ้องต้น ส าหรับสาธารณชนและผู้สนใจทั่วไป ปรากฏการณ์หนึ ่งที ่<br />

เกิดขึ ้นในสังคมไทยท่ามกลางโลกหมุนสังคมเปลี ่ยนตามความเร็วของอินเตอร์เน็ตก็คือ ความสนใจเรื ่องราวข่าวสารของพลเมืองไทย<br />

เติบโตงอกงาม ความกระตือรือร้นตื ่นตัวทางการเมืองท าให้พลเมืองไทยกระหายใคร่รู้ความเป็นไปทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม<br />

การเมืองทั้งของไทยและของโลก แต่การท าความเข้าใจประเด็นที ่มีความซับซ้อน มีตัวแสดงจ านวนมาก มีค าศัพท์และแนวคิด<br />

เกิดขึ ้นใหม่ตลอดเวลา ไม่ใช่เรื ่องง่าย โดยเฉพาะอย่างยิ่งในสภาวการณ์ความขัดแย้งและวิกฤติการเมืองในช่วงทศวรรษที ่ผ่านมา<br />

ค าและแนวคิดจ านวนมากถูกโยนลงสู ่การถกเถียงสาธารณะโดยมิได้มีความเข้าใจในค าๆ นั้นตรงกัน หลายครั้งจึงพบว่าการ<br />

ถกเถียงน าไปสู ่ทางตันที ่ไม่สามารถหาทางออกของปัญหาร่วมกันได้ ค าหลายค าถูกหยิบมาใช้ตามกระแส จังหวะ ผลประโยชน์<br />

และโอกาสทางการเมือง นักวิชาการ นักการเมือง นักธุรกิจ สื ่อมวลชน แกนน าการเคลื ่อนไหว และอีกหลายกลุ่มคน ต่างเลือกที ่<br />

จะใช้ค าที ่แฝงความคิดตามประสบการณ์และความเชื ่อส่วนตัว ท าให้ค าส าคัญหลายค าเหล่านี ้ล่องลอยอยู ่ในจินตนาการของผู้ใช้ ไม่<br />

สามารถยกระดับสติปัญญาและความเข้าใจของผู้ฟังและสาธารณะได้<br />

มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท แห่งประเทศไทย (Friedrich-Ebert-Stiftung--FES Thail<strong>and</strong> Office) ได้เล็งเห็นว่าการมีหนังสือที ่<br />

รวบรวมค าและแนวคิดหลักต่างๆ เข้าไว้ด้วยกัน จะช่วยให้สังคมไทยถกเถียงอภิปรายกันด้วยความรู้มากกว่าความเห็น หนังสือเล่ม<br />

นี ้จึงถูกเขียนขึ ้นมาด้วยความปรารถนาให้เป็นคู ่มือที ่ไม่ได้เป็นเพียงศัพท์บัญญัติทางรัฐศาสตร์ แต่เพื ่ออธิบายความหมาย ที ่มา<br />

ความเหมือนและแตกต่างของการใช้ในสังคมไทยและที ่ใช้กันในสากล ของค าและแนวคิดที ่ถูกพูดถึงบ่อยๆ และใช้กันอย่าง<br />

แพร่หลาย ค าและแนวคิดหลายค าเกิดจากบริบทเฉพาะของสังคม และส่วนใหญ่ก าเนิดมาจากสังคมตะวันตก เมื ่อน ามาใช้ใน<br />

สังคมไทย มีการแตกหน่อเชื ่อมโยงเข้ากับปรากฏการณ์ทางสังคม วัฒนธรรม การเมือง เศรษฐกิจของไทย ท าให้ความเข้าใจ<br />

ผิดเพี ้ยนไปจากความหมายเดิม หนังสือคู ่มือ ค าและแนวคิดในประชาธิปไตยสมัยใหม่ เล่มนี ้ พยายามคัดสรรค าและแนวคิดที ่จะท า<br />

ให้ผู้อ่านเห็นทั้งภาพใหญ่ และภาพย่อยของสังคมประชาธิปไตยในมิติต่างๆ ให้ค านิยามอย่างกะทัดรัดชัดเจน ขณะเดียวกันก็อธิบาย<br />

การน าไปใช้อย่างครอบคลุม จุดส าคัญที ่ควรรู้ พร้อมยกตัวอย่างเปรียบเทียบการใช้ค าและแนวคิดในต่างประเทศกับในประเทศไทย<br />

และมีบรรณานุกรมส าหรับการค้นคว้าต่อยอดด้วย<br />

การคัดเลือกค าที ่ปรากฏอยู ่ในหนังสือคู ่มือนี ้ เป็นไปตามเจตนารมณ์ของมูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท ประจ าประเทศไทย ที ่<br />

ต้องการน าเสนอค าและแนวคิด ที ่สะท้อนพัฒนาการและพลวัตของประชาธิปไตยสมัยใหม่ โดยมีกรอบคิดว่าต้องการเน้นเสนอค า<br />

และแนวคิด ที ่อาจไม่เป็นที ่รู้จักอย่างกว้างขวาง ไม่ปรากฏว่ามีการเขียนถึงหรือรวบรวมความหมายไว้อย่างเป็นทางการ หรือเป็น<br />

ค าที ่มีการใช้อย่างสับสนและเข้าใจผิดอยู ่เนือง ๆ แน่นอนว่ามีค าและแนวคิดส าคัญภายใต้กรอบความคิดนี ้จ านวนมากเกินกว่าที ่<br />

ขอบเขตของงานชิ ้นเล็ก ๆ นี ้จะครอบคลุมได้หมด ด้วยเหตุนี ้ ค าส าคัญหลายค าจึงถูกตัดออกไปอย่างน่าเสียดาย เช่น สหภาพ<br />

แรงงาน (labor union) กลุ่มผลักดันประเด็นสาธารณะ (advocacy group) กลุ่มผลประโยชน์ (interest group) ภาคความมั่นคง<br />

(security sector) และสิทธิชุมชน (community rights) เป็นต้น ผู้เขียนหวังเป็นอย่างยิ่งว่าหนังสือ ค าและแนวคิดในระบอบ<br />

5


ประชาธิปไตยสมัยใหม่ จะสร้างแรงบันดาลใจให้มีการต่อยอดงานเขียนในลักษณะนี ้ในอนาคต เพื ่อรวบรวมค าและแนวคิดที ่สะท้อน<br />

การเดินทาง การขับเคลื ่อน และปฏิสัมพันธ์หลากมิติในระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ให้สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น<br />

ภายหลังจากที ่ผู้เขียนได้จัดท าต้นฉบับเบื ้องต้นเสร็จ รศ.ดร. โสรัจจ์ หงศ์ลดารมภ์ และ ผศ.ดร.ศุภมิตร ปิติพัฒน์ ได้<br />

ตรวจทาน ติติง ให้ความเห็น และข้อเสนอแนะอันเป็นประโยชน์อย่างมากทั้งในส่วนสาระและโครงสร้าง ซึ ่งผู้เขียนได้น าความเห็น<br />

ทุกประการมาปรับปรุงเท่าที ่จะท าได้ในเวลาอันจ ากัด หากปราศจากความเห็นที ่มีคุณค่าของอาจารย์ทั้งสองท่านแล้ว งานชิ ้นนี ้คงมี<br />

ความบกพร่องอีกนับไม่ถ้วน แต่กระนั้น ผู้เขียนตระหนักดีว่า หนังสือ ค าและแนวคิดในประชาธิปไตยสมัยใหม่ ก็ยังขาดความ<br />

สมบูรณ์อยู ่อีกมาก ผู้เขียนขอน้อมรับความผิดพลาดใดๆ ที ่มี ไว้เพียงผู้เดียว และขอขอบพระคุณอาจารย์ทั้งสองในความกรุณาช่วย<br />

ลบจุดอ่อนและเติมเต็มเนื ้อหาในหลายประเด็น<br />

หนังสือคู ่มือเล่มนี ้จะไม่มีทางส าเร็จลงได้เลย หากปราศจากวิสัยทัศน์ที ่เล็งเห็นถึงความส าคัญของการสร้างความรู้ความ<br />

เข้าใจเกี ่ยวกับประชาธิปไตยสมัยใหม่ ของคุณมาร์ค ศักซาร์ (Mr. Marc Saxer) ผู้อ านวยการมูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท ประจ าประเทศ<br />

ไทย ผู้สนับสนุนทุนในการจัดท า โดยมีคุณอรนัฐ นรพฤทธิ์ เป็นผู้จุดประกายริเริ่มโครงการ ก าหนดหมวดหมู ่แนวคิด และคัดเลือก<br />

ค า ตลอดจนให้ความเห็นอันเป็นประโยชน์ยิ่งต่อการปรับปรุงเนื ้อหาฉบับร่าง และคุณชไมพร เสียงเย็น ผู้ประสานงานอย่างแข็งขัน<br />

ขณะเดียวกันก็เต็มไปด้วยความเข้าใจและอดทนในข้อจ ากัดเรื ่องเวลาของผู้เขียน จึงขอแสดงความขอบคุณอย่างสูงสุดมา ณ<br />

โอกาสนี ้ ขอขอบคุณส านักงานวิทยทรัพยากร จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ห้องสมุดรูฟุส ดี. สมิธ คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย ที ่ได้อ านวยความสะดวกในด้านทรัพยากรหนังสือ บทความ และสิ่งพิมพ์ทางวิชาการอื ่นๆ เพื ่อการค้นคว้าหาข้อมูล<br />

ในการจัดท าหนังสือคู ่มือเล่มนี ้มาโดยตลอด นายวีระ หวังสัจจะโชค และนายเอกลักษณ์ ไชยภูมี นักวิจัยที ่ท างานอย่างแข็งขันและมี<br />

ประสิทธิภาพเป็นกลไกส าคัญในการสืบค้น รวบรวมข้อมูล และเรียบเรียงต้นฉบับ เป็นสองบุคคลที ่ท าให้หนังสือเล่มนี ้เกิดขึ ้นได้<br />

และสุดท้ายคุณจิราภรณ์ ด าจันทร์ ผู้ท าหน้าที ่ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูล และจัดรูปล่มในขั้นตอนสุดท้าย ผู้เขียนขอขอบคุณ<br />

ทีมงานทั้งสามท่านที ่ท าให้หนังสือเล่มนี ้ส าเร็จได้ด้วยดี<br />

สิริพรรณ นกสวน สวัสดี<br />

พฤศจิกายน 2557<br />

6


วิธีกำรใช้หนังสือ<br />

หนังสือคู ่มือ “ค าและแนวคิดในประชาธิปไตยสมัยใหม่” (Glossary of <strong>Concept</strong>s <strong>and</strong> <strong>Terms</strong> in Modern <strong>Democ</strong>racy)<br />

เล่มนี ้ ประกอบไปด้วยการอธิบายค าและแนวคิดส าคัญที ่เกี ่ยวข้องกับประชาธิปไตย กว่า 70 ค า ทุกค าและแนวคิดที ่เลือกมาบรรจุ<br />

ไว้ในหนังสือคู ่มือเล่มนี ้ ได้ถูกพิจารณาทบทวนแล้วว่าต่างมีความส าคัญต่อการท าความเข้าใจแนวคิดประชาธิปไตยสมัยใหม่ เพื ่อ<br />

ฉายภาพให้เห็นโครงสร้างความเกี ่ยวเนื ่อง และเพื ่อแยกแยะองค์ประกอบของประชาธิปไตยให้เห็นมิติต่างๆ อย่างชัดเจน หนังสือ<br />

คู ่มือเล่มนี ้จึงจัดกลุ่มค าและแนวคิด ออกเป็น 4 หมวดหมู ่ คือ<br />

1. หมวดหมู ่หนึ ่ง ว่าด้วยตัวแสดงทางการเมืองและบทบาทของตัวแสดงเหล่านั้น (Political Actors <strong>and</strong> Roles) ทั้งใน<br />

ระดับบุคคล สังคม และรัฐ<br />

2. หมวดหมู ่ที ่สอง วัฒนธรรมและประชาธิปไตย (Political Culture <strong>and</strong> <strong>Democ</strong>racy) กล่าวถึงแนวคิดพื ้นฐานของ<br />

ประชาธิปไตยสมัยใหม่ ไปจนถึง องค์ประกอบของประชาธิปไตย ทั้งในแง่ของกลไกสถาบันทางการเมือง และวัฒนธรรม ประเพณี<br />

3. หมวดหมู ่ที ่สาม กล่าวถึงเรื ่องสิทธิเสรีภาพ และความเป็นธรรม (Rights & Social Justice) ซึ ่งเป็นคุณสมบัติส าคัญของ<br />

ระบอบประชาธิปไตย และได้แจกแจงสิทธิของกลุ่มคนต่างๆ ไว้ในรายละเอียดด้วย<br />

4. หมวดหมู ่ที ่สี ่ ว่าด้วยแนวคิดพื ้นฐานเกี ่ยวกับกระบวนการพัฒนาทางสังคม และเศรษฐกิจ (Social & Economic<br />

Development) ในสังคมประชาธิปไตยสมัยใหม่<br />

ค าและแนวคิดในแต่ละหมวดหมู ่ถูกจัดเรียงล าดับตามตัวอักษรภาษาอังกฤษ โดยเริ่มจากอักษร A เพื ่อความสะดวกใน<br />

การสืบค้น โดยจะมีค าแปลภาษาไทยต่อท้าย<br />

การอธิบายค าและแนวคิดจะใช้รูปแบบเดียวกัน ประกอบด้วย 5 ส่วนหลัก ได้แก่<br />

1. ควำมหมำย เป็นการบ่งบอกว่าค า หรือแนวคิดนั้นหมายความว่าอย่างไร คืออะไร บางค าอาจมีผู้ให้นิยามค าไว้อย่าง<br />

ชัดเจนเป็นที ่ยอมรับร่วมกัน ขณะที ่บางค าหรือบางแนวคิดอาจยังไม่มีการให้ค าจ ากัดความหนึ ่งเดียว และอาจมีมากกว่าหนึ ่ง<br />

ความหมายก็เป็นได้<br />

2. อรรถำธิบำย กล่าวถึงต้นก าเนิดในเชิงประวัติศาสตร์และ/ หรือทฤษฎี ตลอดจนพัฒนาการของแนวคิดที ่ถูกน าไปปรับ<br />

ใช้ในระดับสากล พร้อมกับยกตัวอย่างที ่เป็นรูปธรรมประกอบในตอนท้ายเพื ่อให้ง่ายต่อการท าความเข้าใจ<br />

3. ตัวอย่ำงกำรใช้ค ำและแนวคิดในบริบทของสังคมไทย เป็นส่วนที ่รวบรวมการประยุกต์ใช้ค าและแนวคิดใน<br />

สังคมไทย โดยเปรียบเทียบการใช้ค าและแนวคิดเดียวกันกับที ่ใช้ในต่างประเทศ ว่ามีความเหมือน หรือ ความแตกต่างอย่างไร บาง<br />

ค าและบางแนวคิดอาจใช้ในความหมายเดียวกันทั้งของไทยและในต่างประเทศ บางค าเมื ่อน ามาใช้ในสังคมไทยเกิดควา ม<br />

คลาดเคลื ่อนไปจากความหมายต้นก าเนิด เนื ่องด้วยความเข้าใจผิด หรือความเข้าใจที ่แตกต่างอันเกิดจากการแตกหน่อความคิด<br />

จากฐานคติในบริบทของสังคมไทยเอง<br />

7


4. ข้อสังเกตเพื่อกำรพิจำรณำเพิ่มเติม เพื ่อเป็นการเสนอประเด็นอื ่นๆ ที ่เกี ่ยวข้องกับค าและแนวคิดนั้นในแง่มุมที ่กว้าง<br />

ขึ ้น ซึ ่งไม่อาจกล่าวถึงได้ครอบคลุมทั้งหมดในหนังสือคู ่มือนี ้ ข้อสังเกตเพิ่มเติมจะเป็นประโยชน์ส าหรับผู้สนใจอยากศึกษาค าและ<br />

แนวคิดดังกล่าวให้ละเอียดลึกซึ ้งยิ่งขึ ้น<br />

5. เอกสำรอ้ำงอิง เพื ่อเป็นแหล่งข้อมูลส าหรับการค้นคว้าเพิ่มเติม<br />

อนึ ่ง หมวดหมู ่ของค าต่าง ๆ ที ่ประกอบกันอยู ่ภายในหนังสือคู ่มือนั้นเป็นหมวดหมู ่ที ่เกิดขึ ้นจากการจัดกลุ่มโดยคณะ<br />

ผู้จัดท า ซึ ่งในแง่หนึ ่งก็อาจเป็นการลดทอนความสัมพันธ์ระหว่างค า โดยเฉพาะอย่างยิ่งค าที ่อยู ่คนละหมวดหมู ่ แต่โดยธรรมชาติ<br />

ของค าและแนวคิดที ่คัดสรรมาบรรจุในคู ่มือนี ้ ล้วนเป็นองค์ประกอบส าคัญของระบอบประชาธิปไตยสมัยใหม่ ค าและแนวคิดเหล่านี ้<br />

จึงไม่อาจแยกออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด ดังนั้นในการท าความเข้าใจค าและแนวคิด ในหนังสือคู ่มือเล่มนี ้จึงต้องเรียนรู้ค าและ<br />

แนวคิดอื ่นๆ ที ่สัมพันธ์กันควบคู ่ไปด้วย คู ่มือเล่มนี ้จึงได้เชื ่อมโยงค าต่างๆ ที ่สัมพันธ์กันในสองลักษณะ<br />

ลักษณะแรกก็คือ การเชื ่อมโยงภายในเนื ้อหาซึ ่งจะเขียนไว้ในนขลิขิตว่า “(โปรดดู......)” ซึ ่งแสดงให้เห็นว่าเนื ้อหาเฉพาะ<br />

ในจุดที ่ก าลังอภิปรายนั้นสามารถน าไปใช้เชื ่อมโยงได้กับแนวคิดทฤษฎีของค าในส่วนใดได้บ้าง ตัวอย่างเช่น ภายใต้ค า Amnesty<br />

(นิรโทษกรรม) จะพบความเชื ่อมโยงในประโยคที ่ว่า “การละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ ่งส่งผลให้ความไว้วางใจของประชาชนที ่มีต่อรัฐลด<br />

น้อยลง ถือเป็นความล้มเหลวของรัฐ (โปรดดู the State)” หรือ ในค าว่า Legitimacy (ความชอบธรรมทางการเมือง) จะพบประโยค<br />

“ความถูกต้องในมิติของกฎหมายตามหลักของรัฐสมัยใหม่นั้นจะต้องเป็นความถูกต้องที ่ยืนอยู ่บนหลักการของหลักนิติรัฐ หรือ หลัก<br />

นิติธรรม (โปรดดู Rule of Law)”<br />

ส่วนลักษณะที ่สองก็คือการเชื ่อมโยงท้ายเนื ้อหาซึ ่งจะเขียนแนบไว้ในตอนท้ายของการอภิปรายค าแต่ละค า (ถ้ามี) โดยจะ<br />

แสดงด้วยค าว่า “ดูเพิ่มใน...” ซึ ่งหมายถึงเนื ้อหาทั้งหมดของค าค านั้นสามารถน าไปใช้อธิบายเชื ่อมโยงในภาพรวมได้กับค าอื ่นใด<br />

ได้บ้างนั่นเอง ตัวอย่างเช่น ค าว่า Civil Disobedience (การดื ้อแพ่งของพลเมือง/อารยะขัดขืน) ดูเพิ่มใน ‘Social Contract’, ‘Civil<br />

Rights’ หรือ ค าว่า Governance (การจัดการปกครอง) ดูเพิ่มใน ‘Transparency’, ‘Legitimacy’ และ ‘Accountability’ เป็นต้น<br />

นอกจากนี ้ผู้อ่านยังสามารถตรวจสอบ และดูความสัมพันธ์ของค าและแนวคิดต่างๆ ที ่ปรากฏในหนังสือคู ่มือเล่มนี ้ ได้จาก<br />

ตารางดรรชนี (index) ท้ายเล่มได้อีกด้วย<br />

ผู้เขียนและคณะผู้จัดท าหวังเป็นอย่างยิ่งว่า หนังสือคู ่มือ “ค าและแนวคิดในประชาธิปไตยสมัยใหม่” จะเป็นแหล่งค้นคว้า<br />

ข้อมูลเบื ้องต้นส าหรับสาธารณชนทั่วไป และขยายผลน าไปสู ่ความต้องการท าความเข้าใจค าและแนวคิดที ่ได้พบเห็น ได้สดับ<br />

ตรับฟังในชีวิตประจ าวันทั้งในด้านกว้าง และด้านลึกมากยิ่งขึ ้นไป<br />

สิริพรรณ นกสวน สวัสดี และคณะผู้จัดท า<br />

8


ส่วนที่ 1<br />

Political Actors <strong>and</strong> Roles<br />

ตัวแสดง และบทบำททำงกำรเมือง<br />

9


CIVIL SOCIETY<br />

ประชำสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

ประชาสังคม หรือ Civil Society เป็นแนวคิดที ่มีเป้าหมายเพื ่อการมีสังคมและชุมชนที ่เข้มแข็ง ด้วยเป็นแนวคิดที ่กว้าง จึง<br />

มีผู้ให้ค านิยามไว้หลากหลาย โดยทั่วไปประชาสังคม หมายถึง พื ้นที ่หรือส่วนของสังคมที ่มีประชาชนเป็นผู้แสดงบทบาทหลัก พื ้นที ่<br />

ดังกล่าวจึงไม่ใช่ภาครัฐ ซึ ่งปฏิบัติหน้าที ่โดยมีกฎหมายรองรับ และภาคธุรกิจเอกชนที ่เน้นด าเนินงานโดยมุ่งแสวงหาผลก าไร ใน<br />

พื ้นที ่ประชาสังคม ประชาชนทั่วไปเป็นผู้มีบทบาทส าคัญในการด าเนินการที ่เป็นอิสระจากภาครัฐ และอยู ่นอกบริบทการแข่งขันทาง<br />

การเมือง ซึ ่งกลุ่มและผู้กระท าการทางสังคม อาจมีวัฒนธรรม วิถีชีวิต วิธีคิดอันหลากหลายมาร่วมกันในกิจกรรมที ่มีเป้าหมายเพื ่อ<br />

แลกเปลี ่ยนข่าวสารข้อมูล ถกเถียงแลกเปลี ่ยนความคิด สร้างเอกลักษณ์และความเห็นร่วมกัน รวมถึงต้องมีจุดมุ่งหมายร่วมในการ<br />

พิทักษ์หรือเพิ่มพูนผลประโยชน์สาธารณะบางประการให้กับสังคม โดยลักษณะของพื ้นที ่ดังกล่าวสามารถเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับ<br />

พื ้นที ่ทางการเมือง และทางเศรษฐกิจ ซึ ่งส่งผลกระทบต่อการตัดสินใจระหว่างสามพื ้นที ่ดังกล่าวนี ้ด้วย (ธีรยุทธ บุญมี, 2547: 19;<br />

Sudipta Kaviraj <strong>and</strong> Sunil Khilnani, 2001: 149-150; John Hall, 1995: 1; Jude Howell <strong>and</strong> Jenny Pearce, 2001: 30-31)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ค าว่าประชาสังคมมีพัฒนาการทางประวัติศาสตร์มาอย่างยาวนานในฐานะที ่เป็นพื ้นที ่ทางสังคมซึ ่งอยู ่ตรงกันข้ามกับ<br />

ภาครัฐ กล่าวได้ว่าประชาสังคมในช่วงศตวรรษที ่ 17-18 หมายถึง พื ้นที ่อิสระที ่เกิดขึ ้นจากการรวมตัวอย่างสมัครใจของคนที ่มีความ<br />

เชื ่อร่วมกันในคุณค่าบางประการ มีวิถีชีวิตในการปฏิบัติการร่วมกัน และต้องมีองค์การที ่จัดให้มีการแสดงความคิดเห็นสาธารณะ<br />

หรือกล่าวได้ว่าประชาสังคมคือพื ้นที ่ในการประกอบกิจกรรมของปัจเจกชนที ่เป็นอิสระจากรัฐ ประชาสังคมในช่วงศตวรรษที ่ 17-18<br />

ได้กลายเป็นพลังขับเคลื ่อนในระบบทุนนิยม<br />

อย่างไรก็ดี ในช่วงกลางศตวรรษที ่ 20 ได้เกิดการตั้งค าถามกับค าว่าประชาสังคมว่า ควรรวมถึงภาคเอกชนหรือไม่ เพราะ<br />

ภาคเอกชนมีเป้าหมายอยู ่ที ่ผลประโยชน์ส่วนตัว (self-interest) จนท าให้เกิดการทบทวนนิยามค าว่าประชาสังคม ให้แยกออกจาก<br />

ภาคเอกชน ในฐานะที ่เป็นพื ้นที ่อิสระ ที ่ไม่ใช่ทั้งภาครัฐและภาคเอกชน แต่เป็นพื ้นที ่ใหม่เรียกว่าภาคประชาสังคม ซึ ่งเกิดมาจาก<br />

การรวมตัวอย่างอิสระเพื ่อวัตถุประสงค์ในการกระท ากิจกรรมบางอย่างร่วมกันในการบรรลุผลประโยชน์สาธารณะ ซึ่งอาศัย<br />

ความคิดของนักปรัชญาชาวสก๊อตในศตวรรษที่ 18 อย่างอดัม เฟอร์กูสัน (Adam Ferguson) ที ่ได้กล่าวว่า ประชาสังคมเป็น<br />

พื ้นที ่สาธารณะของปัจเจกบุคคล ที ่โดยธรรมชาติแล้วเป็นผู้ที ่มีจริยธรรมและมีความเอื ้อเฟื ้อเผื ่อแผ่ถึงผู้อื ่นเสมอ ประชาสังคมจึงมี<br />

เป้าหมายเพื ่อผลประโยชน์สาธารณะมากกว่าผลประโยชน์ของปัจเจกบุคคลที ่ได้มาจากพื ้นที ่ทางเศรษฐกิจและกลไกตลาด (Hann<br />

<strong>and</strong> Dunn, 1996: 4)<br />

ความหมายของแนวคิดประชาสังคมในปัจจุบันที ่ได้รับการยอมรับมากที ่สุด คือนิยามของนักรัฐศาสตร์ร่วมสมัยอย่าง แลร์<br />

รี ่ ไดมอนด์ (Diamond, 1996: 228) ซึ ่งได้อธิบายแนวคิดประชาสังคมว่า คืออาณาบริเวณ (realm) ที ่มีการจัดตั้งขึ ้นของชีวิตทาง<br />

สังคมที ่มีลักษณะเป็นอาสาสมัคร มีการเติบโตอย่างเป็นอิสระจากรัฐ และอยู ่ภายใต้กติการ่วมกันของสังคม ค าว่าประชาสังคมจึง<br />

แตกต่างจากค าว่า “สังคม” (society) เพราะเป็นพื ้นที ่ของพลเมืองที ่จะร่วมกันกระท าการบางอย่างในพื ้นที ่สาธารณะ (public<br />

10


sphere) โดยมีประชาสังคมเป็นพื ้นที ่ตรงกลาง (intermediary entity) ระหว่างพื ้นที ่ของเอกชนและภาครัฐ ทั้งนี ้รวมถึงเป็นพื ้นที ่<br />

เชื ่อมระหว่างประชาชนกับภาคธุรกิจเอกชนและภาครัฐ ด้วยเหตุนี ้ประชาสังคมจึงไม่ได้เป็นเพียงความพยายามในการจ ากัดอ านาจ<br />

รัฐ แต่อาจเป็นพื ้นที ่ส าหรับให้ความชอบธรรมแก่รัฐก็ได้ หากภาครัฐนั้นได้กระท าการอยู ่บนพื ้นฐานของหลักนิติธรรม และเป็นที ่<br />

ยอมรับของสังคมโดยรวม<br />

ถึงกระนั้นแล้ว ค าว่าประชาสังคมยังคงเป็นค าศัพท์ทางการเมืองที ่มีความสับสนในการนิยามและน าไปใช้อย่างมาก การ<br />

น าค าว่าประชาสังคมไปใช้ในสังคมตะวันตกจึงจ าเป็นต้องผูกโยงกับค าศัพท์อื ่นที่เข้าใจง่ายกว่า เช่น กระบวนการท าให้เป็น<br />

ประชาธิปไตย (democratization) โลกาภิวัตน์ (globalization) การเป็นอาสาสมัคร (volunteering) ความเป็นพลเมือง<br />

(citizenship) และผลประโยชน์สาธารณะ (public interest) เป็นต้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

การนิยามประชาสังคมในประเทศไทย งานของ เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2545: 23-29) ได้ให้ความหมายของประชาสังคม<br />

ไว้ว่าคือ เครือข่าย กลุ่ม ชมรม สมาคม มูลนิธิ สถาบัน และชุมชนที ่มีกิจกรรมหรือมีการเคลื ่อนไหวอยู ่ระหว่างรัฐและเอกชน โดยมี<br />

จุดเน้นอยู ่ที ่ไม่ชอบและไม่ยอมให้รัฐครอบง าหรือบงการ แม้ว่าจะยอมรับความช่วยเหลือจากรัฐและความร่วมมือกับรัฐได้ แต่ก็<br />

สามารถชี ้น าก ากับและคัดค้านรัฐได้พอสมควร และไม่ชอบลัทธิปัจเจกชนนิยมสุดขั้ว ซึ ่งส่งเสริมให้คนเห็นแก่ตัว ต่างคนต่างอยู ่<br />

แก่งแย่งแข่งขันกันจนไม่เห็นแก่ประโยชน์ส่วนรวม หากแต่สนับสนุนให้ปัจเจกชนรวมกลุ่มรวมหมู ่ และมีความรับผิดชอบต่อ<br />

ส่วนรวม โดยไม่ปฏิเสธการแสวงหาหรือปกป้องผลประโยชน์เฉพาะส่วนเฉพาะกลุ่ม และงานของ ชลธิศ ธีระฐิติ (2546: 47-48) เห็น<br />

ว่าประชาสังคมเป็นมโนทัศน์ทางยุทธศาสตร์ (strategic concept) ที ่มีความหมายหลากหลายจนไม่สามารถกล่าวว่านิยามใด<br />

ถูกต้องทั้งหมด เพราะความหมายของค าว่าประชาสังคมขึ ้นอยู ่กับองค์ประกอบต่างๆ ในทางยุทธศาสตร์ของผู้ที ่น าค าว่าประชา<br />

สังคมไปใช้ ว่ามีวัตถุประสงค์ในด้านใดเป็นส าคัญ เช่น หากบุคคลหนึ ่งมีประสบการณ์ทางการเมืองในการต่อสู้กับภาครัฐ ประชา<br />

สังคมจึงอาจหมายถึงพื ้นที ่ในการเพิ่มอ านาจให้กับประชาชน หรือหากอีกบุคคลหนึ ่งเคยท างานเพื ่อสังคมโดยอาศัยการสนับสนุน<br />

บางอย่างจากกลไกรัฐ ประชาสังคมของบุคคลที ่สองจึงอาจเชื ่อมโยงหรือมีความสัมพันธ์ที ่ใกล้ชิดกับรัฐมากกว่าบุคคลแรก<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ประเด็นที ่น่าจับตามองคือ การน าค าว่าประชาสังคมไปใช้ในสังคมไทยนั้น ยังมีความสับสนอยู ่มากในการแยกแยะระหว่าง<br />

ค าว่าประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชน (NGO) กล่าวคือ สองค านี ้ถูกใช้เสมือนมีความหมายเดียวกัน และหลายครั้งใช้ทับซ้อน<br />

กันไปมาระหว่างประชาสังคมที ่เป็น “พื ้นที ่สาธารณะ” และประชาสังคมที ่เป็น “ตัวแสดง” ขององค์กรพัฒนาเอกชน อีกทั้งยังมีความ<br />

เข้าใจผิดที ่ว่าประชาสังคมจะเกิดขึ ้นในชนบทเท่านั้น เพราะไม่เชื ่อว่าชุมชนเมืองจะสามารถเกิดการรวมตัวกันเพื ่อผลประโยชน์<br />

ส่วนรวมได้ หรือกล่าวได้ว่ามีความพยายามที ่จะน าค าว่าประชาสังคมไปใช้ร่วมกับค าว่าชุมชนท้องถิ่นนิยม (communitarianism)<br />

ทั้งที ่ในนิยามสากล ประชาสังคมเป็นพื ้นที ่ที ่สามารถเกิดขึ ้นได้ไม่ว่าในเมืองหรือในชนบท<br />

ดังนั้น สังคมไทยจึงควรกลับมาพิจารณาค าว่า “ประชาสังคม” ในความหมายของ “พื ้นที ่สาธารณะ” ที ่อยู ่ตรงกลางระหว่าง<br />

ภาครัฐและภาคเอกชน หรือจะกล่าวโดยเปรียบเทียบได้ว่าประชาสังคมเป็น “สนาม” ในการเข้ามาท ากิจกรรมบางอย่างร่วมกันอย่าง<br />

11


อิสระและมีจุดมุ่งหมายอยู ่ที ่ผลประโยชน์ส่วนรวม ซึ ่ง “ผู้เล่น” ที ่จะเข้าไปใช้สนามดังกล่าวนั้นจึงถือว่าเป็น “ตัวแสดง” (actor) ในการ<br />

เข้าไปมีอิทธิพลหรือเข้าไปมีส่วนร่วมระหว่างพื ้นที ่ทางสังคมและพื ้นที ่ทางการเมือง<br />

แนวคิดเรื ่องประชาสังคมสามารถแบ่งออกเป็น 5 ส่วน ประกอบด้วย ภาคส่วนที ่สาม (third sector) องค์กรนอกภาครัฐ<br />

(NGO) กลุ่มทางสังคม (social group) ขบวนการทางสังคม (social movement) และเครือข่ายสังคม (social network) แต่ละส่วนมี<br />

บทบาทและท าหน้าที ่แตกต่างกัน อย่างไรก็ดี ต้องค านึงถึงสภาพความเป็นจริงที ่การขับเคลื ่อนใน “ประชาสังคม” มีลักษณะที ่ทับ<br />

ซ้อนระหว่างบทบาทของแต่ละส่วน และอาจมีลักษณะร่วมกันจนไม่สามารถจ าแนกออกเป็น 5 ส่วนได้อย่างชัดเจน เช่น NGO/NPO<br />

อาจถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ ่งของขบวนการทางสังคม ดังนั้น การจ าแนกดังกล่าวจึงมีไว้เพื ่อช่วยท าความเข้าใจรายละเอียดของประชา<br />

สังคม แต่ไม่มุ่งหวังที ่จะสร้างกรอบการมองประชาสังคมที ่แยกส่วนแบบไม่มีปฏิสัมพันธ์ต่อกันระหว่างส่วนต่างๆ<br />

12


THIRD SECTOR<br />

ภำคส่วนที่สำม/ภำคอำสำสมัครและชุมชน<br />

ควำมหมำย<br />

ค าว่า ภาคส่วนที ่สาม หรือ ภาคอาสาสมัครและชุมชนในภาษาอังกฤษที ่เรียกว่า Third Sector หมายถึง ภาคส่วนที ่สาม<br />

ของกลุ่มต่างๆ ในสังคม ที ่ไม่ใช่ภาคส่วนที ่หนึ ่งคือ “รัฐ” (public sector) และไม่ใช่ภาคส่วนที ่สองคือ “ธุรกิจ” (private sector) โดย<br />

ภาคส่วนที ่สามคือกลุ่มสังคมที ่มีการจัดตั้งหรือรวมกลุ่มกันขึ ้นเป็นองค์การหรือเครือข่ายที ่จัดกิจกรรมเพื ่อผลประโยชน์ของสังคม<br />

สิ่งแวดล้อม วัฒนธรรม และผู้ด้อยโอกาส ภาคส่วนที ่สามจึงอาจเรียกว่าเป็น “ภาคอาสาสมัครและชุมชน” (voluntary<br />

community sector) หมายถึง การรวมกลุ่มกันของประชาชนอย่างอิสระจากภาครัฐและทุน ประกอบกับอาสาสมัครในการท างาน<br />

เพื ่อสังคมและชุมชนในลักษณะขององค์กรที ่ไม่ได้มุ่งหวังผลก าไร (non-profit sector) (http://www.tseo.or.th/article/528)<br />

องค์กรอย่าง Civil Society International (CSI) ได้ให้ความหมายของภาคส่วนที ่สามหรือภาคประชาชนไว้ว่าเป็นความ<br />

ร่วมมือกันของประชาชนที ่เห็นคุณค่าและมีเป้าหมายร่วมกันในการก่อตั้งสมาคม กลุ่มศาสนา สหภาพแรงงาน กลุ่มที ่ปรึกษาด้าน<br />

กฎหมายให้แก่ประชาชน และกลุ่มอื ่นๆ ที ่คอยเป็นกระบอกเสียงให้กับสังคมเพื ่อให้เกิดการมีส่วนร่วมสาธารณะและส่งเสริม<br />

ประชาธิปไตย ภาคส่วนที ่สามจึงเป็นเสมือนทางเชื ่อมของประชาชนที ่ไม่ได้อยู ่ในพื ้นที ่ของกลไกตลาดในทางเศรษฐกิจและไม่ได้อยู ่<br />

ในบริบทของการแข่งขันทางการเมือง แต่จะเน้นในเรื ่องของสภาพความเป็นอยู ่ กิจกรรมเพื ่อสังคม คุณภาพชีวิต ความมั่นคงของ<br />

มนุษย์ และสิ่งแวดล้อม เป็นต้น<br />

ภาคส่วนที ่สามที ่มีการจัดตั้งเป็นองค์การ หรือที ่เรียกว่า Third Sector Organizations (TSOs) จะต้องมีลักษณะส าคัญ 3<br />

ประการ คือ<br />

1) มีความอิสระในการด าเนินการ ไม่อยู ่ภายใต้การควบคุมของรัฐบาล<br />

2) การท างานต้องขับเคลื ่อนด้วยคุณค่า (value-driven) ที ่เห็นแก่ผลส าเร็จที ่เป็นเป้าหมายของสังคม เช่น การเพิ่ม<br />

สวัสดิการสังคม การรักษาสิ่งแวดล้อม ฯลฯ มากกว่าการแสวงหาก าไร<br />

3) มีกิจกรรมใหม่และท าการลงทุนใหม่เพื ่อสังคมเสมอ เมื ่อเกิดผลลัพธ์หรือก าไร หรือกล่าวอย่างง่ายคือก าไรที ่ได้จาก<br />

การท ากิจกรรมต้องคืนให้กับสังคม<br />

อย่างไรก็ดี การนิยามกับการปฏิบัติจริงมีความแตกต่างกันพอสมควร เพราะตัวอย่างในประเทศอังกฤษมีกระทรวงภาค<br />

ส่วนที ่สาม (Ministry for the Third Sector) ที ่จัดตั้งขึ ้นเนื ่องจากการเห็นความส าคัญของภาคส่วนที ่สาม หรือกลุ่มผู้ด้อยโอกาส<br />

น าโดยนายเอ็ด มิลิแบนด์ (Ed Milib<strong>and</strong>) อดีตรัฐมนตรีประจ ากระทรวงและเป็นผู้น าของพรรคแรงงาน ที ่ท าการหาผู้สนับสนุน<br />

เงินทุนภาคส่วนที ่สามได้ถึง 1.2 ล้านปอนด์ ส าหรับการด าเนินโครงการแลกเปลี ่ยนนวัตกรรม เพื ่อพัฒนาความสามารถในการ<br />

สร้างสรรค์นวัตกรรมใหม่ให้กับภาคส่วนที ่สาม ต่อมาเมื ่อเดือนพฤษภาคม พ.ศ. 2549 นายกรัฐมนตรีโทนี ่ แบลร์ (Tony Blair) ได้<br />

ประกาศตั้งหน่วยงานที ่ชื ่อว่าส านักงานภาคส่วนที ่สาม (Office of the Third Sector: OTS) เพื ่อเป็นองค์กรที ่ท าหน้าที ่สะท้อนเสียง<br />

กลุ่มผู้ที ่ด้อยโอกาสในสังคม และหาแนวทางประสานงานกับหน่วยงานต่างๆ ของรัฐ ทั้งยังมีจุดมุ่งหมายในการเป็นศูนย์กลาง<br />

ผู้เชี ่ยวชาญในการประสานงานระหว่างภาครัฐกับภาคส่วนที ่สาม เพื ่อให้ผู้ด้อยโอกาสในสังคม ได้รับการช่วยเหลืออย่างทั่วถึง และ<br />

เพื ่อเพิ่มโอกาสการเรียนรู้ของคนในสังคมด้วย (เกรียงศักดิ์ , 2555) จึงเห็นได้ว่าภาคส่วนที ่สามมีความร่วมมือกับรัฐมากพอสมควร<br />

13<br />

<strong>and</strong>


อรรถำธิบำย<br />

ก าเนิดของการมีภาคส่วนที ่สาม สามารถย้อนหลังไปในปี ค.ศ. 1601 ยุคสมัยพระราชินี อลิซาเบทที ่ 1 แห่งอังกฤษ<br />

(Elizabeth I of Engl<strong>and</strong>) ที ่มีการตรากฎหมายเพื ่อช่วยเหลือคนยากคน (the Poor Law) โดยระบุว่า ศาสนจักรต้องช่วยเหลือดูแล<br />

ผู้ยากไร้ที ่ไม่สามารถช่วยเหลือตนเองได้ การเน้นให้ศาสนจักรเป็นตัวแสดงหลักในการดูแลผู้ยากไร้ ถูกน าไปสานต่อเมื ่อผู้ตั้งถิ่น<br />

ฐานในโลกใหม่สร้างประเทศสหรัฐอเมริกา หากวิเคราะห์ประวัติศาสตร์อเมริกันตั้งแต่เริ่มก่อตั้งจนถึงสงครามกลางเมือง จะเห็นว่า<br />

ศาสนามีบทบาทอย่างสูงในชุมชน ประชาชนใช้ศาสนาเป็นที ่พึ ่งในการก าหนดกฎระเบียบและหลักเกณฑ์ในการอยู ่ร่วมกัน ศาสน<br />

จักรเป็นจุดเริ่มต้นของสถานศึกษา โรงเรียน สถานที ่รับเลี ้ยงเด็กก าพร้า และให้ความช่วยเหลือผู้ตกยาก<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับในประเทศไทย ค าว่าภาคส่วนที ่สามยังไม่ได้รับความนิยมเท่าที ่ควรเมื ่อเปรียบเทียบกับค าว่าประชาสังคมหรือ<br />

องค์กรนอกภาครัฐ (NGO) แต่กลุ่มองค์กรทางสังคมในไทยอย่าง Thail<strong>and</strong> Social Enterprise ได้พยายามน าเสนอข้อมูลของภาค<br />

ส่วนที ่สามโดยน าไฟล์เอกสารค าแปลของส านักงานภาคส่วนที ่สาม ของประเทศอังกฤษ มาน าเสนอในเว็บไซต์<br />

อย่างไรก็ดี การใช้ค าศัพท์เรื ่องภาคส่วนที ่สามกลับพบปัญหาในการท าความเข้าใจว่าภาคส่วนที ่สามในประเทศไทยได้ถูก<br />

แปลโดยกลุ่มองค์กรทางสังคมร่วมกับรัฐบาลให้กลายเป็นความหมายเดียวกับกิจการเพื ่อสังคม (social enterprise) จนเกิดเป็น<br />

ส านักงานสร้างเสริมกิจการเพื ่อสังคมแห่งชาติ (สกส.) ที ่มีเป้าหมายในการกระตุ้น สนับสนุน ประสานงานความร่วมมือเพื ่อให้เกิด<br />

กิจการเพื ่อสังคมและพัฒนาเป็นเครือข่ายกิจการเพื ่อสังคมทั่วประเทศ และเพื ่อให้เกิดแรงบันดาลใจและสร้างจิตส านึกที ่ดีให้ทุกคน<br />

สามารถมีส่วนร่วมในการรับผิดชอบต่อสังคมและน าพาสังคมให้ดีขึ ้นต่อไป ตามระเบียบส านักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการสร้างเสริม<br />

กิจการเพื ่อสังคมแห่งชาติ พ.ศ. 2554 “กิจการเพื ่อสังคม” หมายถึง<br />

“การที่ภาคเอกชนซึ่งเป็นบุคคล กลุ่มบุคคล หรือชุมชน ได้ประกอบกิจการหรือด าเนินการโดยมี<br />

เป้าหมายอย่างชัดเจนตั้งแต่เริ่มต้น เพื่อแก้ไขป ัญหาและพัฒนาชุมชน สังคม หรือสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก และมี<br />

รายรับจากการขาย การผลิตสินค้า หรือการให้บริการซึ่งมิได้มุ่งสร้างก าไรสูงสุดต่อผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของกิจการ<br />

หรือการด าเนินการ...”<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

การใช้ค าว่าภาคส่วนที ่สามในสังคมไทยจึงมีความสับสนกับกลุ่มองค์กรที ่มีกิจกรรมในเชิงธุรกิจหรือผู้ประกอบการเพื ่อ<br />

สังคม (โปรดดู Social Enterprise) อีกทั้งการใช้ยังก ากวมไม่สามารถก าหนดออกมาเป็นลักษณะของการจัดตั้งองค์กรที ่มีหลักการ<br />

ชัดเจนได้ ท าให้องค์กรภาคประชาชนส่วนใหญ่ถูกเรียกรวมกันว่าเป็นประชาสังคม หรือ NGO ซึ ่งไม่ถูกต้องนัก ด้วยเหตุนี ้จึง<br />

จ าเป็นต้องกลับมาพิจารณาค าว่าภาคส่วนที ่สามใหม่ ในฐานะที ่เป็นองค์กรกลาง ที ่ไม่ได้อยู ่ภายใต้การควบคุมของรัฐและไม่ถูก<br />

ก ากับโดยอิทธิพลของทุน<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Enterprise’ และ ‘Social Economy’<br />

14


ควำมหมำย และ อรรถำธิบำย<br />

NGO/ NON-PROFIT ORGANIZATION/ CIVIL SOCIETY ORGANIZATION<br />

องค์กรนอกภำครัฐ/ องค์กรภำคเอกชนที่ไม่แสวงหำก ำไร/ องค์กรภำคประชำสังคม<br />

ในการกล่าวถึงตัวแสดงที ่เป็นองค์กรระหว่างกลางระหว่างภาครัฐและเอกชน จะมีค าศัพท์ 3 ค า ที ่มีความหมายใกล้เคียง<br />

กันคือค าว่า NGO (Non-Governmental Organization) NPO (Non-Profit Organization) และ CSO (Civil Society Organization)<br />

โดยจะกล่าวเรียงล าดับต่อไปนี ้<br />

NGO หรือองค์กรที ่ไม่ได้เป็นส่วนหนึ ่งของรัฐบาลและไม่ได้มีเป้าหมายในการด าเนินกิจกรรมเพื ่อผลก าไรทางธุรกิจ ตาม<br />

ความหมายที ่สหประชาชาติ หรือ United Nations (UN) ให้ค านิยามไว้คือ กลุ่มพลเมืองอาสามสมัครที ่ไม่หวังผลก าไรที ่ถูกจัดตั้งขึ ้น<br />

ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และระดับระหว่างประเทศ โดยมีภารกิจส าคัญที ่เป็นผลประโยชน์สาธารณะ ซึ ่งปฏิบัติในด้านการ<br />

บริการและมนุษยธรรม ท าให้พลเมืองสนใจรัฐบาล ติดตามการด าเนินการของนโยบายสาธารณะ และส่งเสริมการมีส่วนร่วม<br />

ทางการเมืองในระดับชุมชน (Yaziji <strong>and</strong> Doh, 2009: 4) แม้ว่าจะมี NGO บางองค์กรเกิดขึ ้นมาจากการก่อตั้งโดยภาครัฐ แต่การ<br />

ด าเนินการต่างๆ ต้องอยู ่ในฐานะ “นอกภาครัฐ” กล่าวคือต้องไม่มีตัวแทนจากภาครัฐเข้ามาเป็นสมาชิกในองค์กร องค์กรนอกภาครัฐ<br />

หรือ NGO มีเป้าหมายในการท ากิจกรรมเพื ่อสังคมและอาจมีแง่มุมบางอย่างเกี ่ยวกับการเมือง เช่น สิทธิมนุษยชน สวัสดิการสังคม<br />

ฯลฯ แต่การเข้าไปเกี ่ยวข้องกับการเมืองนั้น ไม่ได้เป็นไปในลักษณะขององค์กรทางการเมืองอย่างพรรคการเมือง<br />

NPO คือ องค์กรภาคเอกชนที ่ด าเนินการโดยไม่หวังผลก าไร กล่าวคือ การได้มาซึ ่งส่วนเกินหรือก าไรจากการด าเนิน<br />

กิจการบางอย่างขององค์กรนี ้จะถูกน ากลับมาท าประโยชน์เพื ่อสังคม องค์กร NPO<br />

จึงมีลักษณะเป็นองค์กรหรือมูลนิธิที ่มี<br />

จุดมุ่งหมายในการสนับสนุนกลุ่มที ่มีความคิดเห็นเป็นไปในแนวทางเดียวกัน โดยภารกิจจะแตกต่างกัน เช่น องค์กรการกุศล<br />

องค์การว่าด้วยการศึกษา องค์กรศาสนา และองค์กรที ่มีจุดมุ่งหมายในด้านอื ่นๆ โดยการท างานทั้งหมดจะไม่มีจุดประสงค์ในเชิง<br />

พาณิชย์ อย่างไรก็ดี การหารายได้เพื ่อด าเนินกิจกรรมเพื ่อสังคมอาจจะมาจากค่าลงทะเบียนสมาชิก ค่าบ ารุงที ่ได้รับจากสมาชิก<br />

หรือเงินหรือทรัพย์สินอื ่นใดที ่ได้มาจากการบริจาคหรือจากการให้โดยเสน่หา<br />

CSO คือ องค์กรภาคประชาสังคม เป็นค าที ่พยายามท าความเข้าใจกับองค์กรสาธารณะประโยชน์เพื ่อสังคม เพื ่อป้องกัน<br />

ความสับสนกับ NGO และ NPO ที ่สามารถตีความว่าเป็นองค์กรเอกชนที ่ด าเนินธุรกิจเพื ่อสังคม แต่ CSO คือองค์กรที ่เกิดขึ ้นจาก<br />

พื ้นที ่ของประชาสังคมโดยเฉพาะ ซึ ่งไม่ได้มาจากภาครัฐและภาคธุรกิจ ภารกิจส าคัญขององค์กร CSO เช่น การให้บริการแก่<br />

ประชาชนผู้ด้อยโอกาส การให้ความรู้และค าปรึกษา ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการก าหนดนโยบาย ส่งเสริมการมีส่วนร่วมในการ<br />

จัดสรรทรัพยากรในชุมชน และการก ากับติดตามการบริการต่างๆ ของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน<br />

อย่างไรก็ดี ค าว่า NGO, NPO และ CSO สามารถเรียกรวมกันได้ว่าเป็นองค์กรสาธารณะประโยชน์ที ่ไม่ได้เป็นหน่วยงาน<br />

รัฐบาลหรือส่วนหนึ ่งของรัฐบาล แต่การเรียกชื ่อที ่แตกต่างกันเป็นไปตามยุทธศาสตร์ของการด าเนินการของแต่ละองค์กร ซึ ่งเป็น<br />

การด าเนินกิจกรรมสาธารณะประโยชน์และไม่หวังผลก าไร<br />

15


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย การน าเข้าค าว่า NGO, NPO และ CSO จากตะวันตกมาใช้ เริ่มแพร่หลายมากขึ ้นในช่วงการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจยุคหลังสงครามเย็นหรือนับตั้งแต่รัฐบาลของพลเอกเปรม ติณสูลานนท์ เป็นต้นมา การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างต่อเนื ่องใน<br />

ช่วงเวลาดังกล่าว ท าให้เกิดปัญหาเกี ่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม ปัญหาสิทธิมนุษยชน และความยากจน แต่การน า<br />

แนวคิดดังกล่าวมาใช้นั้น จะเรียกโดยทับศัพท์ว่า “เอ็นจีโอ” เช่น เว็บไซต์ http://www.thaingo.org ก็เรียกตัวเองว่า “ไทยเอ็นจีโอ” ที ่<br />

จ าเป็นต้องเรียกเช่นนี ้เพราะค าแปลภาษาไทยทั้ง 2 ค าแปลนั้นยังคงมีปัญหา คือ<br />

1) การแปลองค์กรดังกล่าวว่า “องค์กรพัฒนาเอกชน” หมายถึง องค์กรที ่ไม่ใช่ภาคราชการ และไม่ใช่ภาคธุรกิจที ่<br />

แสวงหาก าไร ก่อตั้งและด าเนินการโดยกลุ่มบุคคลที ่มีความมุ่งมั่นในอันที ่จะเข้ามามีส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาสังคม<br />

โดยเฉพาะปัญหาด้านคุณภาพชีวิตของกลุ่มบุคคลผู้ด้อยโอกาสและประชาชนผู้ทุกข์ยากอันเกิดจากผลกระทบจาก<br />

การพัฒนา แต่การนิยามเช่นนี ้ท าให้เกิดความสับสนในการท าความเข้าใจ หรือตั้งค าถามว่าองค์กรดังกล่าวเกี ่ยวข้อง<br />

กับภาคเอกชนหรือภาคธุรกิจที ่ด าเนินการโดยการแสวงหาก าไรหรือไม่ ด้วยเหตุนี ้ท าให้การเรียกองค์กรที ่แสดง<br />

บทบาทเหล่านี ้ จ าเป็นต้องทับศัพท์ว่า “เอ็นจีโอ” มากกว่าที ่จะแปลเป็นภาษาไทย<br />

2) การนิยามองค์กรอีกลักษณะหนึ ่งตาม พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ. 2546 และแก้ไขเพิ่มเติม<br />

พ.ศ. 2550 ได้นิยามค าว่า “องค์กรสาธารณประโยชน์” หมายถึง องค์กรเอกชนที ่ได้รับการรับรองให้ด าเนินงานการ<br />

จัดสวัสดิการสังคมตามกฎหมาย และ “องค์กรสวัสดิการชุมชน” หมายถึงองค์กรภาคประชาชนที ่จัดตั้งขึ ้นโดยมี<br />

วัตถุประสงค์ในการจัดสวัสดิการสังคมให้แก่สมาชิกในชุมชนหรือปฏิบัติงานด้านการจัดสวัสดิการสังคมของเครือข่าย<br />

องค์กรสวัสดิการชุมชน และได้รับการรับรองให้ด าเนินงานด้านการจัดสวัสดิการสังคมตามกฎหมาย ทั้ง 2 องค์กรที ่<br />

เกิดขึ ้นนี ้จึงมีความหมายที ่ทับซ้อนกับ NGO, NPO และ CSO ท าให้เกิดความสับสนในการน าไปปฏิบัติจริงและการ<br />

สื ่อสารกับสังคมโดยรวม<br />

นอกจากนี ้ องค์กรที ่ถูกเรียกว่า “เอ็นจีโอ” ในสังคมไทย ยังคงถูกตั้งค าถามว่าเป็นอิสระจากภาครัฐมากหรือน้อยเพียงใด<br />

หรือเป็นเพียงองค์กรตัวแทนของภาครัฐ มีเป้าหมายร่วมกันกับภาครัฐในการด าเนินการทางสังคม ประกอบกับบทบาทของ “เอ็นจี<br />

โอ” ในวิกฤติทางการเมืองไทยในช่วงปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ค่อนข้างมีความแตกต่าง และที ่ส าคัญหลายองค์กรมีแนวทางปฏิบัติ<br />

ที ่ถูกมองว่าไม่ส่งเสริมสิทธิในการเลือกตั้งและเสียงข้างมากของประชาชน ในประเด็นนี ้ แนนซี ่ เบอร์มีโอ (Bermeo, 2003: 7-20) ได้<br />

เปิดมุมมองเกี ่ยวกับบทบาทขององค์กรในประชาสังคมผ่านการศึกษาเปรียบเทียบปรากฏการณ์ส าคัญของ 17 ประเทศ โดย<br />

พยายามเชื ่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างการกระท าของพลเมือง (citizen action) กับการล่มสลายของระบอบ (regime breakdown)<br />

และเน้นศึกษาปรากฏการณ์การเคลื ่อนไหวของประชาชน (ordinary people) ที ่ตอบสนองต่อช่วงเวลาที ่ไม่ปกติ (extraordinary<br />

times) โดยมีข้อถกเถียงหลักคือ องค์กรในภาคประชาสังคมแม้มีข้อเสนอว่าเป็นองค์กรที ่ส่งเสริมประชาธิปไตย แต่หลายครั้งในช่วง<br />

วิกฤติต่างๆ องค์กรดังกล่าวกลับเป็นตัวแสดงส าคัญในการล่มสลายของประชาธิปไตย<br />

16


ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

สองประเด็นที ่ควรถกอภิปรายให้เข้าใจตรงกันคือ หนึ ่ง NGO, NPO และ CSO ของสังคมไทย ควรมีบทบาทในการ<br />

เกื ้อหนุนกระบวนการท าให้เป็นประชาธิปไตย มิใช่แสดงบทบาทในการเหนี ่ยวรั้งคัดค้าน ด้วยการแสดงความไม่ไว้วางใจระบบ<br />

การเมือง นักการเมือง และการตัดสินใจของประชาชน และ สอง ควรวางหลักเกณฑ์หรือแนวทางที ่ชัดเจนในเรื ่องความสัมพันธ์<br />

ระหว่างองค์กรดังกล่าวกับภาครัฐ ภาคเอกชน และสาธารณะ<br />

ดูเพิ่มใน ‘Philanthropy’, ‘Corporate Social Responsibility’, ‘Social Enterprise’ และ ‘Fourth Sector’<br />

17


SOCIAL GROUP<br />

กลุ่มทำงสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

กลุ่มทางสังคม (Social Group) หมายถึง การรวมกลุ่มกันของบุคคลตั้งแต่สองคนขึ ้นไปที ่มีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างมี<br />

ระเบียบแบบแผน มีการแบ่งปันทัศนคติร่วมกัน และมีความเป็นอันหนึ ่งอันเดียวกัน โดยกลุ่มจะมีเป้าหมายในการท ากิจกรรม<br />

บางอย่างร่วมกันเพื ่อบรรลุเป้าหมายของกลุ่ม หรือกล่าวได้ว่ากลุ่มทางสังคมต้องมีสมาชิกที ่ค านึงถึง (Henri Tajfel, 2010: 15-40)<br />

อรรถำธิบำย<br />

1) แรงจูงใจและเป้าหมายที ่มีร่วมกัน<br />

2) มีการแบ่งบทบาทหน้าที ่ระหว่างสมาชิกด้วยกัน<br />

3) มีสถานภาพและบทบาทบางประการในการเข้ามามีความสัมพันธ์ซึ ่งกันและกัน<br />

4) เคารพบรรทัดฐานและคุณค่าร่วมกันภายในกลุ่ม<br />

5) มีการควบคุมพฤติกรรมด้วยการให้รางวัลและการลงโทษทางสังคม รางวัลและการลงโทษอาจแตกต่างกันไปในแต่ละ<br />

สังคม โดยจะขึ ้นอยู ่กับบรรทัดฐานของสังคมนั้นๆ<br />

กลุ่มทางสังคม มีความหมายแตกต่างกับค าว่าฝูงชน (crowd) ที ่หมายถึงคนจ านวนมากที ่มารวมกันอยู ่ในสถานที ่เดียวกัน<br />

ชั่วครั้งชั่วคราว เช่น ฝูงชนในโรงภาพยนตร์หรือในสนามกีฬา แต่กลุ่มทางสังคมจะต้องมีการจัดตั้งขึ ้นอย่างมีระเบียบแบบแผนมาก<br />

พอสมควรในการมีปฏิสัมพันธ์ตอบโต้กัน ซึ ่งจะเป็นกติกาที ่สมาชิกในกลุ่มยึดถือปฏิบัติตามและสามารถใช้ควบคุมพฤติกรรมของ<br />

สมาชิกด้วย (จ านงค์ และคณะ, 2548: 61)<br />

ในสังคมหนึ ่งๆ จะมีกลุ่มทางสังคมอยู ่มากมายและหลากหลาย บางกลุ่มมีขนาดเล็กประกอบไปด้วยสมาชิกเพียงไม่กี ่คน<br />

บางกลุ่มมีขนาดใหญ่มีสมาชิกนับร้อยนับพันคน บางกลุ่มรวมตัวกันอย่างชั่วคราว บางกลุ่มด ารงอยู ่อย่างถาวร บางกลุ่มมีการ<br />

เปิดรับสมาชิกอย่างสมัครใจ แต่บางกลุ่มนั้นการเป็นสมาชิกเกิดขึ ้นโดยไม่มีทางเลือกหรือโดยถูกบังคับ<br />

สาระส าคัญของกลุ่มทางสังคม คือ สมาชิกในกลุ่มต้องมีการก าหนดสถานภาพ (status) และบทบาท (role) สถานภาพ<br />

หมายถึง ต าแหน่งที ่ถูกก าหนดโดยสังคมของบุคคลหนึ ่งในกลุ่มทางสังคม ซึ ่งสถานภาพมีสองประเภทคือ สถานภาพที ่ติดตัวมาแต่<br />

ก าเนิดไม่สามารถเปลี ่ยนแปลงได้ เช่น เพศ อายุ เชื ้อชาติ ฯลฯ กับสถานภาพที ่ได้มาภายหลังการเกิด สามารถเปลี ่ยนแปลงได้ เช่น<br />

อาชีพ สามี ภรรยา สมาชิกพรรคการเมือง ฯลฯ ส าหรับปัจเจกบุคคลหนึ ่งคนสามารถมีหลายสถานภาพในเวลาเดียวกัน<br />

ส่วนค าว่าบทบาท หมายถึง แนวทางในการปฏิบัติของบุคคลในกลุ่มทางสังคมที ่ถูกก าหนดโดยสถานภาพทางสังคม<br />

บทบาทจึงเป็นเสมือนพลวัตของสถานภาพที ่มีการปฏิบัติขึ ้นจริงอย่างผูกมัดและต่อเนื ่อง สมาชิกที ่มีสถานภาพหนึ ่งจะต้องมีความ<br />

รับผิดชอบหรือหน้าที ่ในการกระท าชุดหนึ ่งเพื ่อบรรลุเป้าหมายของกลุ่ม สถานภาพและบทบาทมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่<br />

ออก คนบางคนมีสถานภาพหลายอย่างในเวลาเดียวกัน ท าให้บทบาทขัดกันได้ (Tischler, 2010: 110-113)<br />

18


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย การนิยามค าว่ากลุ่มทางสังคมในทางวิชาการและสังคมวิทยาถือว่ามีความเข้าใจที ่ไม่แตกต่างกันมาก<br />

นักกับนิยามของตะวันตก แต่การใช้ค าว่ากลุ่มทางสังคมในทางปฏิบัติจะเน้นไปที ่การกระท าบางประการที ่มีเป้าหมายร่วมกันในการ<br />

เคลื ่อนไหว และหลายครั้งจะใช้แทนค าว่าขบวนการทางสังคม (social movement) ทั้งที ่กลุ่มทางสังคมมีความหมายที ่กว้างกว่าและ<br />

ยืดหยุ่นกว่าค าว่าขบวนการทางสังคม แต่การเรียกขบวนการทางสังคมให้เป็นกลุ่มทางสังคมจะท าให้การสื ่อสารระหว่างสังคมกับ<br />

ปัจเจกบุคคลมีความเข้มข้นน้อยลง และลดความรู้สึกที ่เป็นการเมืองลงไป<br />

ตัวอย่างเช่น บทความหนังสือพิมพ์หนึ ่ง กล่าวถึงกลุ่มทางสังคมที ่ได้มีบทบาทมากขึ ้นในสังคมไทย บทความดังกล่าวได้<br />

แบ่งกลุ่มทางสังคมออกเป็น 2 ประเภทคือ กลุ่มเคลื ่อนไหว (mob) กับกลุ่มขบวนการเคลื ่อนไหวทางสังคมใหม่ (new social<br />

movement) ซึ ่งกลุ่มทางสังคมที ่กล่าวถึงในบทความคือขบวนการเคลื ่อนไหวในการต่อต้านการคอร์รัปชั่นของกลุ่มต่างๆ ที ่เริ่มจาก<br />

การรวมตัวของภาคเอกชน และสร้างเครือข่ายทางสังคมกับภาคประชาชน สื ่อ นักวิชาการ และพยายามเชื ่อมโยงไปถึงภาครัฐ<br />

(ศรัณย์, 2554) แม้การใช้ค าว่ากลุ่มทางสังคมดังกล่าวจะไม่ได้ผิดในทีเดียว แต่จ าเป็นต้องท าความเข้าใจว่าขบวนการทางสังคมเป็น<br />

เพียงส่วนหนึ ่งของกลุ่มทางสังคม<br />

19


SOCIAL MOVEMENT<br />

ขบวนกำรทำงสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

ความหมายของค าว่าขบวนการทางสังคม (social movement) สามารถกล่าวได้อย่างกว้างๆ ว่าเป็นกลุ่มพลังทางสังคมที ่<br />

มีการจัดตั้งกันอย่างเป็นระบบเป็นองค์กรเคลื ่อนไหว ซึ ่งพยายามที ่จะเข้าไปมีอิทธิพลต่อสังคมและนโยบายสาธารณะต่างๆ<br />

ขบวนการเคลื ่อนไหวนี ้พยายามเข้าไปถ่วงดุลกับอ านาจรัฐเพื ่อที ่จะรักษาผลประโยชน์สาธารณะ ขบวนการเคลื ่อนไหวที ่เกิดขึ ้นนี ้ไม่<br />

จ าเป็นที ่จะต้องมีเป้าหมายในการยึดอ านาจรัฐ หรือเข้าไปเป็นส่วนหนึ ่งในระบบการเมืองอย่างพรรคการเมือง (political party) และ<br />

แตกต่างจากกลุ่มผลประโยชน์ (interest group) ตรงที ่กลุ่มผลประโยชน์ยึดมั่นในผลประโยชน์ส่วนตัวของกลุ่มตัวเอง แต่ขบวนการ<br />

เคลื ่อนไหวจะใส่ใจกับผลประโยชน์สาธารณะมากกว่า (Kurian et al., 2011: 1563)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ขบวนการทางสังคมเป็นปรากฏการณ์ทางการเมืองที ่เกิดขึ ้นภายหลังสงครามโลกครั้งที ่สองเป็นต้นมา (ตั้งแต่ ค.ศ.<br />

1940s) อันเนื ่องมาจากการเกิดขึ ้นของกลุ่ม องค์การ และปัจเจกบุคคลที ่พยายามจะเข้ามามีส่วนร่วมกับสังคม ภาครัฐ และนโยบาย<br />

สาธารณะ ไม่ว่าจะโดยทางตรงหรือทางอ้อม เพื ่อรักษาไว้ซึ ่งผลประโยชน์สาธารณะและสิทธิเสรีภาพของพลเมือง การเคลื ่อนไหว<br />

ของประชาชนจ านวนมากในหลายพื ้นที ่ของโลกในประเด็นเรื ่องสิทธิสตรี สิทธิของคนผิวสี และปัญหาสิ่งแวดล้อม แสดงออกผ่าน<br />

การเดินขบวน การสร้างข้อเรียกร้องและการยึดสถานที ่ส าคัญต่างๆ เพื ่อแสดงให้เห็นถึงจุดยืนเรื ่องสิทธิเสรีภาพและปัญหาสังคม<br />

(Kurian et al., 2011: 1562)<br />

ในประเทศตะวันตกจะเรียกการศึกษาการเมืองที ่เอาขบวนการทางสังคมเป็นตัวแสดงหลักว่า การเมืองเรื ่องการต่อสู้<br />

เคลื ่อนไหว (contentious politics) และพบว่า ค าว่าขบวนการทางสังคมจะสามารถเกิดขึ ้นได้ทั้งในระดับท้องถิ่น ระดับชาติ และ<br />

ระดับระหว่างประเทศ เช่น ระดับท้องถิ่นอาจเป็นรูปแบบการเคลื ่อนไหวเพื ่อปกป้องทรัพยากรธรรมชาติหรือปกป้องสิทธิชุมชน<br />

(Community rights) ระดับชาติอาจเป็นการเคลื ่อนไหวเพื ่อปฏิรูปการเลือกตั้ง และระดับระหว่างประเทศอาจเป็นการเคลื ่อนไหว<br />

ต่อต้านอิทธิพลของระบบทุนจากกระแสโลกาภิวัตน์ หรือต่อต้านกลุ่ม G8 เป็นต้น ซึ ่งขบวนการทางสังคมที ่เกิดขึ ้นในแต่ละประเทศ<br />

มีลักษณะแตกต่างกันไปตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายของแต่ละองค์กร และมีความแตกต่างระหว่างขบวนการทางสังคมใน<br />

ประเทศที ่พัฒนา กับขบวนการทางสังคมในประเทศก าลังพัฒนา กล่าวคือ ในประเทศที ่พัฒนา ขบวนการดังกล่าวจะเคลื ่อนไหวใน<br />

ประเด็นที ่เป็นนามธรรม ไม่ใช่เรื ่องของวัตถุหรือเพื ่อเรียกร้องความจ าเป็นพื ้นฐานส าหรับการด ารงชีพ เช่น ขยายสิทธิสตรี<br />

ปัญหาสิ่งแวดล้อม และกดดันประเด็นทางนโยบายของรัฐบาล เป็นต้น ส่วนขบวนการทางสังคมในประเทศก าลังพัฒนาจะ<br />

เคลื ่อนไหวในประเด็นปัญหาที ่เกิดจากการพัฒนาเศรษฐกิจ ผลกระทบจากกระแสโลกาภิวัตน์ต่อชุมชนท้องถิ่น อัตลักษณ์ ความ<br />

ยากจน และความมั่นคงของมนุษย์ เป็นต้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย ในการให้ความหมายของค าว่าขบวนการทางสังคม ได้มีนักวิชาการด้านรัฐศาสตร์และสังคมศาสตร์<br />

จ านวนมากให้ค าจ ากัดความไว้ หนึ ่งในนักวิชาการที ่ศึกษาขบวนการทางสังคมคือ ประภาส ปิ่นตบแต่ง (2552: 20-25) เห็นว่า<br />

20


ขบวนการทางสังคมมีลักษณะเป็นแนวคิดเชิงยุทธศาสตร์ กล่าวคือ การนิยามขึ ้นอยู ่กับว่าผู้ให้นิยามมีบทเรียนและประสบการณ์<br />

การมองปัญหาสังคมการเมืองอย่างไร มีเป้าหมายในการมองสังคมการเมืองเป็นอย่างไร รวมทั้งประเมินวิธีการก าหนดยุทธศาสตร์<br />

และปฏิบัติการของขบวนการทางสังคมอย่างไร ซึ ่งสามารถสรุปได้เป็น 3 แนวทางส าคัญคือ<br />

1) ความคิดที ่ว่าขบวนการทางสังคมเป็นการเคลื ่อนไหวของฝูงชนจ านวนมากที ่มีพฤติกรรมไร้ระเบียบ ใช้ความรุนแรง<br />

ในการเรียกร้อง และสร้างความวุ่นวายให้กับระบบการเมือง<br />

2) ความคิดที ่มองว่าขบวนการทางสังคมเป็นลักษณะหนึ ่งของการจัดองค์กร ที ่มีการวางยุทธศาสตร์ การแสวงหาแนว<br />

ร่วม และการระดมทรัพยากร เพื ่อสร้างผลสะเทือนต่อระบบการเมืองให้มีการเปลี ่ยนแปลงนโยบายบางอย่าง<br />

3) ความคิดที ่ว่าขบวนการทางสังคมเป็นกลุ่มเคลื ่อนไหวที ่เรียกร้องสิทธิเสรีภาพ สิทธิในทางอัตลักษณ์ชุมชนท้องถิ่น<br />

และพยายามสร้างอุดมการณ์ใหม่เพื ่อถ่วงดุลกับภาครัฐ<br />

ในทางปฏิบัติค าว่าขบวนการทางสังคมถูกน าเข้ามาและนิยมใช้กันในช่วงหลังเหตุการณ์พฤษภาทมิฬในปี พ.ศ. 2535<br />

เช่น กลุ่มสมัชชาคนจน เป็นต้น โดยใช้ร่วมกับค าว่า “เอ็นจีโอ” อยู ่บ่อยครั้งในการเรียกร้องเรื ่องปัญหาสิ่งแวดล้อม คุณภาพชีวิต<br />

ปัญหาอันเนื ่องมาจากการพัฒนา และสิทธิชุมชนท้องถิ่น ที ่น่าสังเกตคือ การเคลื ่อนไหวของขบวนการทางสังคมที ่พยายามเข้าไปมี<br />

อิทธิพลทางการเมืองตั้งแต่เหตุการณ์วิกฤติความขัดแย้งทางการเมืองตั้งแต่ พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา ท าให้ค าว่าขบวนการทางสังคม<br />

ถูกตีความไปหลากหลายมากกว่ากลุ่มเอ็นจีโอ แต่ยังรวมถึงกลุ่มการเมืองอื ่นๆ เช่น กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื ่อประชาธิปไตย และ<br />

กลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ เป็นต้น ท าให้เกิดความสับสนว่าขบวนการทางสังคมควรมีระยะห่างจาก<br />

ระบบการเมืองเพียงใด มีความสัมพันธ์กับพรรคการเมืองในลักษณะใด และมากน้อยเพียงใด มุ่งหวังที ่จะยึดอ านาจรัฐหรือไม่ หรือ<br />

อาจจะกล่าวว่ากลุ่มดังกล่าวไม่ใช่ขบวนการทางสังคมในนิยามแบบตะวันตก<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ระบบการเมืองในปัจจุบันปฏิเสธอิทธิพลการเคลื ่อนไหวของขบวนการทางสังคมไม่ได้ แต่สามารถจัดการให้ขบวนการทาง<br />

สังคมมีต าแหน่งแห่งที ่ในระบบการเมืองได้ และต้องแยกแยะให้ชัดเจนว่าขบวนการทางสังคมต้องการเพียง “สร้างผลสะเทือน” ต่อ<br />

ระบบการเมืองเพื ่อเปลี ่ยนแปลงนโยบายบางประการของภาครัฐ กล่าวคือเป็นเพียงเครื ่องมือ “ถ่วงดุล” อ านาจรัฐเท่านั้น ไม่ได้มี<br />

เป้าหมายหลักเป็นการยึดอ านาจรัฐแต่อย่างใด<br />

21


ควำมหมำย<br />

SOCIAL NETWORK<br />

เครือข่ำยสังคม<br />

เครือข่ายสังคม (Social Network) เป็นลักษณะของการประสานงานระหว่างตัวแสดงต่างๆ ในพื ้นที ่ประชาสังคม การมอง<br />

กลุ่มเอ็นจีโอ องค์กรภาคประชาชน หรือขบวนการทางสังคมในลักษณะของเครือข่ายเป็นความพยายามที ่จะเน้นย ้าในเรื ่องของการ<br />

ประสานงานและการสื ่อสารระหว่างภาคส่วนต่างๆ ที ่มี “ความร่วมมือและพึ ่งพาอาศัย” ในแนวระนาบ (horizontal) ซึ ่งเป็น<br />

ความสัมพันธ์ในระดับเดียวกันหรือเท่าเทียมกัน ไม่มีสายการบังคับบัญชาหรือล าดับขั้นต ่าสูงแบบแนวดิ่ง (vertical) โดยลักษณะ<br />

ของการท างานแบบเครือข่ายจะมีลักษณะร่วมกัน 3 ประการ (Mario Diani, 2003: 1-20) คือ<br />

อรรถำธิบำย<br />

1) สมาชิก กลุ่ม หรือองค์กร มีจ านวนมากและหลากหลาย ไม่ถูกจ ากัดอยู ่ที ่กลุ่มใดกลุ่มหนึ ่ง<br />

2) การรวมกลุ่มระหว่างกันมีลักษณะชั่วคราวแปรผันตามวัตถุประสงค์หรือเป้าหมายที ่มีร่วมกัน<br />

3) แต่ละกลุ่มหรือองค์กรจะมีทรัพยากรที ่แตกต่างกัน การร่วมมือเป็นเครือข่ายท าให้เกิดการแลกเปลี ่ยนทรัพยากรและ<br />

การพึ ่งพาอาศัยกัน ()<br />

ในสังคมปัจจุบันที ่พลังโลกาภิวัตน์เชื ่อมโยงพื ้นที ่ต่างๆ ในโลกให้ใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ ้น เครือข่ายสังคมจึงสามารถมองได้ใน<br />

2 พื ้นที ่ กล่าวคือ พื ้นที ่แรกเป็น “พื ้นที ่จริง” ที ่สัมผัสได้ การร่วมมือระหว่างองค์กรภาคประชาชนหรือขบวนการทางสังคมในลักษณะ<br />

เครือข่ายมีความจ าเป็นมากยิ่งขึ ้นเพราะจะเป็นการเสริมพลังในการเคลื ่อนไหวในพื ้นที ่ประชาสังคม เพื ่อก่อให้เกิดผลสะเทือนต่อ<br />

ระบบการเมือง ทั้งในการก าหนดนโยบายของภาครัฐและการเรียกร้องความรับผิดชอบต่อสาธารณะจากภาคเอกชน งานวิชาการ<br />

ของ เดียอานี (Diani, 2003: 1-7) กล่าวว่า การวิเคราะห์ขบวนการทางสังคมด้วยเครือข่ายได้รับความนิยมมากยิ่งขึ ้น เพราะการ<br />

เคลื ่อนไหวขององค์กรต่างๆ ทั้งในระดับชาติและข้ามชาติมีความใกล้ชิดและประสานงานกันมากยิ่งขึ ้นทั้งในด้านกิจกรรมแ ละ<br />

ทรัพยากร ซึ ่งมีประเด็นหลักอยู ่ที ่ “การมีปฏิสัมพันธ์” และ “การพึ ่งพาอาศัย” ระหว่างองค์กร เพื ่อจุดหมายคือการสร้างการ<br />

ขับเคลื ่อนทางสังคม<br />

อีกพื ้นที ่หนึ ่งคือ “พื ้นที ่เสมือนจริง” เป็นเครือข่ายทางสังคมที ่เกิดขึ ้นในโลกออนไลน์ กล่าวคือ การเกิดขึ ้นของ Web 2.0<br />

ซึ ่งเป็นระบบปฏิบัติการทางอินเตอร์เน็ตที ่เปิดให้ผู้สร้างหรือเจ้าของเว็บไซต์สามารถสื ่อสารกับผู้เล่นเว็บไซต์ และผู้เล่นสามารถมี<br />

ปฏิสัมพันธ์ต่อเว็บไซต์ดังกล่าวได้ด้วย การมีปฏิสัมพันธ์ในพื ้นที ่ใหม่นี ้เติบโตขึ ้นจาก Web-board และ Blog มาเป็น Social<br />

Network เช่น Facebook และ Twitter เป็นต้น การเกิดขึ ้นของเครือข่ายสังคมใหม่นี ้เป็นการเปลี ่ยนแปลงครั้งส าคัญของการ<br />

ติดต่อสื ่อสารระหว่างปัจเจกบุคคลและองค์กรต่างๆ อีกทั้งการท างานของ Web 2.0 มีลักษณะอิสระจากภาครัฐพอสมควร พื ้นที ่ใน<br />

โลกออนไลน์จึงเป็นของภาคเอกชนและประชาสังคม การรวมกลุ่มและการติดต่อสื ่อสารระหว่างกันจึงง่ายยิ่งขึ ้น การเคลื ่อนไหวของ<br />

ภาคประชาสังคมในศตวรรษที ่ 21 จึงนิยมใช้พื ้นที ่ดังกล่าวมากยิ่งขึ ้นในการวิพากษ์วิจารณ์ ตรวจสอบ และถ่วงดุลกับอ านาจรัฐและ<br />

22


ภาคเอกชน เช่น ปรากฏการณ์ Arab Spring ที ่นอกจากอาศัยการเคลื ่อนไหวบนท้องถนนแล้ว ปัจจัยด้านการระดมมวลชนและ<br />

สร้างกระบวนการประชาธิปไตยได้เติบโตอยู ่ในโลกอินเตอร์เน็ต เช่น twitter เป็นต้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย การนิยามความหมายของค าว่าเครือข่ายสังคมผ่านการเปรียบเทียบระหว่างค าว่า “กลุ่ม” และ<br />

“เครือข่าย” กล่าวคือ “กลุ่ม” จะประกอบด้วยความเชื ่อมโยงของปัจเจกบุคคลที ่มีความใกล้ชิดและมีอัตลักษณ์ร่วมกัน รวมถึงมีความ<br />

เชื ่อและประสบการณ์ที ่คล้ายกันที ่จะน าไปสู ่การก าหนดเป้าหมายร่วมกัน แต่ “เครือข่าย” จะเป็นการเชื ่อมโยงสายสัมพันธ์อย่าง<br />

หลวมๆ ของปัจเจกบุคคล กลุ่ม หรือองค์กรต่างๆ ในการท ากิจกรรมบางอย่างภายใต้กฎเกณฑ์หรือเป้าหมายร่วมกัน โดยแต่ละ<br />

กลุ่มจะมีความเชื ่อและอัตลักษณ์ที ่แตกต่างกัน แต่จะพยายามเชื ่อมโยง ประนีประนอม และพึ ่งพาอาศัยกันเพื ่อบรรลุเป้าหมายหลัก<br />

ร่วมกัน (เสถียร, 2553)<br />

องค์กรที ่ท างานในลักษณะเครือข่ายสังคม พบเห็นได้หลายเครือข่าย เช่น เครือข่ายเด็กเยาวชนกับการบ าเพ็ญประโยชน์<br />

และสงเคราะห์ กลุ่มผู้ประสานงานรณรงค์นิรโทษกรรมระหว่างประเทศ กลุ่มศึกษาปัญหายา (กศย.) เป็นต้น โดยความเข้าใจเรื ่อง<br />

เครือข่ายสังคมของไทยเห็นว่าเป็นโครงสร้างและกระบวนการที ่เชื ่อมโยงสมาชิกในกลุ่มหรือองค์กรในประชาสังคมเข้าด้วยกัน<br />

ปัจจัยส าคัญของเครือข่ายประชาสังคมจึงเป็นระบบการสื ่อสารที ่มีประสิทธิภาพและการประชาสัมพันธ์ เครือข่ายประชาสังคมจะ<br />

เป็นสิ่งที ่ช่วยรวมจิตส านึกของสมาชิกและองค์กรภาคประชาชนในสังคมให้มีความเข้มแข็งขึ ้นมา (สามารถค้นหาตัวอย่างของ<br />

เครือข่ายสังคมของไทยได้ใน http://www4.nesac.go.th/participation/)<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ดังนั้น การท าความเข้าใจค าว่าเครือข่ายสังคมจึงต้องพึงระวังว่าการสร้างเครือข่ายนั้นสามารถท าได้ทั้งในชีวิตจริงและใน<br />

โลกออนไลน์ และการรวมตัวกันเป็นเครือข่ายระหว่างกลุ่มองค์กรที ่หลากหลาย ไม่จ าเป็นต้องสูญเสียอัตลักษณ์หรือความเชื ่อของ<br />

องค์กรตัวเอง แต่กลุ่มหรือองค์กรเดียวจะมีข้อจ ากัดในการเคลื ่อนไหวประเด็นปัญหาใหญ่ในสังคม ท าให้เครือข่ายมีความจ าเป็นที ่<br />

จะต้องมีการประสานงาน ติดต่อสื ่อสาร แลกเปลี ่ยนทรัพยากร และแบ่งบันประสบการณ์และความเชื ่อระหว่างกันอย่างสันติเพื ่อ<br />

บรรลุเป้าหมายหลักร่วมกัน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

เกรียงศักดิ์เจริญวงศ์ศักดิ์(2555). “ผู้ประกอบการเพื ่อสังคม… เพิ่มโอกาสการเรียนรู้ให้คนในสังคม”. เข้าถึงวันที ่ 10 พฤษภาคม<br />

2555 ใน http://www.kriengsak.com/node/290.<br />

“การพัฒนาองค์กรธุรกิจเพื ่อสังคม ในประเทศอังกฤษ กับส านักงานภาคส่วนที ่ 3”. Thail<strong>and</strong> Social Enterprise. เข้าถึงวันที ่ 11<br />

พฤษภาคม 2555 ใน http://www.tseo.<br />

or.th/article/528.<br />

จ านงค์ อดิวัฒนสิทธิ์และคณะ (2548). สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที ่ 12. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.<br />

23


ชลธิศ ธีระฐิติ (2546). “Civil Society: ประชาสังคม”. ใน สิริพรรณ นกสวน และ เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา (บรรณาธิการ). ค าและ<br />

ความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

ธีรยุทธ บุญมี. (2547). ประชาสังคม. กรุงเทพฯ: สายธาร.<br />

ประภาส ปิ่นตบแต่ง (2552). กรอบวิเคราะห์การเมืองแบบทฤษฏีขบวนการทางสังคม. เชียงใหม่: มูลนิธิไฮน์ริค เบิลล์ ส านักงาน<br />

ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้.<br />

ศรัณย์ ธิติลักษณ์ (2554). "ขบวนการเคลื ่อนไหวทางสังคมใหม่ กับ การต่อต้านคอรัปชั่น". เข้าถึงวันที ่ 12 พฤษภาคม 2555ใน<br />

http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/<br />

politics/opinion/coruption/20111223/425919.<br />

เสถียร จิรรังสิมันต์ (2553). “ความแตกต่างระหว่างกลุ่มและเครือข่าย”. ส านักส่งเสริมและประสานการมีส่วนร่วมองค์กรเครือข่าย<br />

(สปค.) ส านักงานสภาที่ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศ.). เข้าถึงวันที ่ 13 พฤษภาคม 2555 ใน<br />

http://www4.nesac.<br />

go.th/participation/booklet/pdf/MAR_APR2553.pdf.<br />

เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2545). การเมืองของพลเมือง. กรุงเทพฯ: โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.<br />

“NGOs คือใคร?”. ไทยเอ็นจีโอ. เข้าถึงวันที ่ 8 พฤษภาคม 2555 ใน http://www.thaingo.<br />

org/story/info_009.htm.<br />

Bermeo, Nancy (2003). Ordinary People in Extraordinary Times: The Citizenry <strong>and</strong> the Breakdown of <strong>Democ</strong>racy.<br />

Princeton <strong>and</strong> Oxford: Princeton University Press.<br />

Diamond, Larry (1996). “Toward <strong>Democ</strong>ratic Consolidation”. In Diamond Larry <strong>and</strong> Marc F. Plattner (eds.). The Global<br />

Resurgence of <strong>Democ</strong>racy. Baltimore: Johns Hopkins University Press.<br />

Diani, Mario (2003). “Introduction: Social Movements, Contentious Actions, <strong>and</strong> Social Networks: 'From Metaphor to<br />

Substance'?”. In Mario Diani <strong>and</strong> Doug McAdam (eds.). Social Movements <strong>and</strong> Networks: Relational<br />

Approaches to Collective Action. Oxford: Oxford University Press.<br />

Hann, Chris <strong>and</strong> Elizabeth Dunn (eds.) (1996). Civil Society: Change <strong>and</strong> Western Models. London <strong>and</strong> New York:<br />

Routledge.<br />

Hall, John. (1995). Civil society: theory, history, comparison. Cambridge: Polity Press.<br />

Howell, Jude, <strong>and</strong> Pearce, Jenny. (2001). Civil society <strong>and</strong> development: a critical<br />

exploration. Boulder : Lynne Rienner.<br />

24


Kaviraj, Sudipta, <strong>and</strong> Khilnani, Sunil. (2001). Civil society. Cambridge: Cambridge<br />

University Press.<br />

Kurian, George Thomas et al. (2011). The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.<br />

Tajfel, Henri. (2010). Social Identities <strong>and</strong> Intergroup Relations. Cambridge: Cambridge University Press.<br />

Tischler, Henry L. (2010). Introduction to Sociology. 10 th Edition. Wadsworth: Cengage Learning.<br />

Yaziji, Michael <strong>and</strong> Jonathan Doh (2009). NGOs <strong>and</strong> Corporations: Conflict <strong>and</strong> Collaboration. Cambridge: Cambridge<br />

University Press.<br />

“UN <strong>and</strong> Civil Society”. United Nation. Accessed May 7, 2012 from<br />

http://www.un.org/en/civilsociety/index.shtml.<br />

“What is Civil Society?”. Civil Society International. Accessed May 7, 2012 from<br />

http://www.civilsoc.org/whatisCS.htm.<br />

“What is the third sector <strong>and</strong> its benefits for commissioners”. National Audit office, UK. Accessed May 10, 2012<br />

from.http://www.nao.org.uk/sectors/third_sector/<br />

successful_commissioning/toolkit_home/introduction.aspx.<br />

Byrne, Tara. “A Historical Perspective of the Third Sector: Changing Times Call for Changing Ways”. Accessed August<br />

25, 2013 from depts.washington.<br />

edu/leader/cbl/.../Nonprofit% 20intro%20readings.doc‎.<br />

25


FOURTH SECTOR<br />

ภำคส่วนที่สี่<br />

ควำมหมำย<br />

ภาคส่วนที ่สี ่ (Fourth Sector) เป็นค าศัพท์ที ่ใหม่มากในแวดวงวิชาการและกลุ่มองค์กรภาคประชาชน ค าว่าภาคส่วนที ่สี ่<br />

ถูกประดิษฐ์ขึ ้นในศตวรรษที ่ 21 ท่ามกลางปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที ่สลับซับซ้อน เช่น ปัญหาการว่างงาน ปัญหา<br />

อาชญากรรม ปัญหาคุณภาพชีวิต ปัญหายาเสพติด ปัญหาสิทธิมนุษยชน ฯลฯ โดยปัญหาทั้งหลายนี ้มีลักษณะที ่ซับซ้อนจนไม่<br />

สามารถที ่จะอาศัยภาคส่วนเดียวในการจัดการปัญหา แต่จ าเป็นต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วนในสังคม ซึ ่งทุกภาค<br />

ส่วนในความหมายนี ้ประกอบไปด้วย 3 ภาคส่วนคือ<br />

1) ภาคส่วนที ่หนึ ่ง หรือภาคส่วนของรัฐ (Governmental/Public sector) ท าหน้าที ่ในการบริการสาธารณะผ่านนโยบาย<br />

สาธารณะ และมีอ านาจหน้าที ่ตามกฎหมาย<br />

2) ภาคส่วนที ่สอง หรือ ภาคเอกชน (Private Sector) ท าหน้าที ่ในระบบเศรษฐกิจในการแสวงหาก าไรให้กับองค์กร<br />

3) ภาคส่วนที ่สาม หรือ ภาคอาสาสมัครและชุมชนไม่แสวงหาก าไร (Non-Profit Sector) ท าหน้าที ่เป็นอาสาสมัครดูแล<br />

ประเด็นสาธารณะทางสังคมต่างๆ โดยไม่มุ่งหวังผลก าไร<br />

แผนภำพแสดงกิจกรรมขององค์กรที่แสวงหำก ำไร<br />

26


แผนภำพแสดงกิจกรรมขององค์กรที่ไม่แสวงหำก ำไร<br />

แผนภำพแสดงกำรท ำงำนของภำคส่วนที่สี่<br />

(ที่มำ: www.fourthsector.net)<br />

27


อรรถำธิบำย<br />

ภาคส่วนที ่สี ่ เป็นรูปแบบการจัดองค์กรรูปแบบใหม่ที ่เส้นแบ่งอาณาเขตระหว่างภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสังคม เริ่ม<br />

จางหายไป ปัญหาต่างๆ ในสังคมจ าเป็นต้องอาศัยองค์กรรูปแบบใหม่ที ่เอาจุดเด่นของภาคส่วนทั้งสามมาควบรวมกัน (the<br />

convergence of organizations) และสร้างองค์กรรูปผสม (hybrid organizations) เพื ่อรองรับและแก้ไขปัญหา ดังแผนภาพ<br />

ภาคส่วนที ่สี ่ จะน าหลักการของภาคเอกชน เช่น การบริหารงานแบบตลาด ความโปร่งใส จริยธรรมในการประกอบธุรกิจ<br />

การตรวจสอบบัญชี ฯลฯ และหลักการของภาครัฐและภาคสังคม เช่น ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ ประสิทธิภาพ ประสิทธิผล การ<br />

แปรรูปให้เป็นเอกชน งานอาสาสมัครเพื ่อสังคม ฯลฯ โดยเมื ่อน ามาผสมกันแล้วจะได้องค์กรที ่มีรายได้ (earned) ไม่ใช่มาจากการ<br />

บริจาค หรือภาษี (taxed) แต่องค์กรดังกล่าวจะด าเนินการโดยมีเป้าหมายเพื ่อผลประโยชน์สูงสุดของสังคม (maximize social<br />

benefit) มากกว่าผลประโยชน์ของเจ้าของกิจการ (owners) ตัวอย่างเช่น ผู้ประกอบการเพื ่อสังคม (social entrepreneur) เป็นการ<br />

จัดองค์กรของเอกชนรูปแบบใหม่ที ่พยายามใช้ความคิดสร้างสรรค์และไม่ยึดติดกับผลก าไรขององค์กร แต่เน้นที ่การสร้างนวัตกรรม<br />

ใหม่ๆ ให้กับสังคมและสนใจปัญหาสาธารณะ องค์กรในลักษณะผู้ประกอบการเพื ่อสังคมนี ้ไม่ได้ท างานเพียงองค์กรเดียว แต่ต้องมี<br />

ความสามารถในการสร้างเครือข่ายและประสานงานกับภาครัฐและภาคประชาชนอื ่นๆ เพื ่อให้การท าธุรกิจสามารถสร้างประโยชน์<br />

ให้กับสังคมได้ (Elkington <strong>and</strong> Hartigan, 2008) ค าอธิบายเช่นนี ้จึงถือว่าใหม่ส าหรับสากลและในสังคมไทยยังไม่ได้น าเข้ามาใช้<br />

อย่างเป็นทางการ<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ปัญหาการใช้ค าว่าภาคส่วนที ่สี ่ในสังคมไทย อาจจะยังไม่เกิดขึ ้นเพราะค าศัพท์นี ้ยังไม่ได้ถูกน าเข้ามาใช้มากนัก แต่ค าที ่มี<br />

ความหมายใกล้กันที ่ถูกใช้กันอย่างแพร่หลายคือ “ทุกภาคส่วนในสังคม” ที ่ประกอบด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสังคม รวมถึง<br />

อ านาจของสื ่อมวลชนสาธารณะ ที ่มีความพยายามของกลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชนน าแนวคิดของศาสตราจารย์เกียรติคุณ นายแพทย์<br />

ประเวศ วะสี เรื ่อง “สามเหลี ่ยมเขยื ้อนภูเขา” ที ่มีสาระหลักว่า ในการปฏิรูปประเทศไทยต้องใช้พลังทางสังคม เพื ่อร่วมแก้ปัญหา<br />

ความเหลื ่อมล ้าทางเศรษฐกิจ สร้างความเป็นธรรม และแก้ปัญหาความยากจน โดยใช้ชุดความคิดสามเหลี ่ยมเขยื ้อนภูเขา<br />

ประกอบด้วย 3 พลัง คือ พลังทางปัญญา พลังทางสังคม และพลังของอ านาจรัฐ ที ่เชื ่อมโยงกัน สามเหลี ่ยมดังกล่าวจึงเป็นความ<br />

ร่วมมือระหว่างกลุ่มนักวิชาการที ่ก าหนดความรู้ร่วมมือกับกลุ่มภาคสังคมที ่ประกอบด้วยองค์กรที ่ไม่แสวงหาผลก าไร และการ<br />

เคลื ่อนไหวดังกล่าวต้องได้รับการสนับสนุนจากภาครัฐ สามเหลี ่ยมดังกล่าวไม่ปฏิเสธนักการเมือง ถ้านักการเมืองเป็นคนดีที ่พร้อม<br />

ท าประโยชน์ต่อสังคม แต่การเมืองต้องไม่แทรกแซงหรือครอบง าการเคลื ่อนไหว การเขยื ้อนภูเขาจึงต้องใช้องค์กรภาคประชาช น<br />

เป็นฝ่ายน า (ประชาไท, 2553)<br />

28


อย่างไรก็ดี การผสมผสานแนวคิดดังกล่าวของสังคมไทยเกิดปัญหาหลายประการ ขอยกตัวอย่างเพียงบางปัญหา<br />

เช่น บทบาทขององค์กรพัฒนาเอกชนบางหน่วยงานที ่อยากช่วยเหลือสังคมและพยายามหาแรงสนับสนุนจากภาครัฐโดยไม่สนใจว่า<br />

อ านาจรัฐที ่สนับสนุนนั้นเป็นประชาธิปไตยหรือไม่ หรือปัญหาเกี ่ยวกับการอ้างค าว่า “ทุกภาคส่วน” เพื ่อเป็นการปฏิเสธ “เสียงส่วน<br />

ใหญ่” ที ่ถูกลดค่าให้เป็นเพียงคะแนนเสียงที ่เป็นตัวเลขทางการเมืองเท่านั้น ค าว่าทุกภาคส่วนจึงกลายเป็นข้ออ้างของเสียงส่วนน้อย<br />

ของสังคมที ่ไม่ยอมรับกฎกติกา ท าให้ค าว่าทุกภาคส่วนเป็นเสมือนอากาศที ่ไม่มีความหมายและไม่รู้ว่าคือองค์กรใด หรือใครกันแน่<br />

กรณีปัญหาดังกล่าวพบมากในวิกฤติความขัดแย้งทางสังคมการเมืองไทยตั้งแต่ปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ดังนั้น สังคมไทยจึงจ าเป็นที ่จะต้องน าเข้าค าว่า “ภาคส่วนที ่สี ่” มาใช้อย่างจริงจัง โดยยึดนิยามของสากลที ่วางรากฐานไว้<br />

เกี ่ยวกับการผสมผสานข้อดีของภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคสังคมเข้าด้วยกัน เพื ่อสร้างพื ้นที ่และองค์กรรูปแบบใหม่ที ่สามารถ<br />

รองรับกับปัญหาในสังคมสมัยใหม่และเชื ่อมโยงประสานงานชุมชนทางสังคมให้มีความใกล้ชิดกัน โดยไม่แบ่งว่าส่วนใดมีอ านาจ<br />

หน้าที ่ดูแลพื ้นที ่ใดเฉพาะ แต่ต้องใช้ความร่วมมือระหว่างกันในการแก้ไขปัญหาสังคม<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Private Sector’, ‘Third Sector’, ‘Social Economy’, ‘Venture Philanthropy’ และ ‘Social Enterprise’<br />

“ประเวศชี ้สามเหลี ่ยมเขยื ้อนภูเขาปฏิรูปประเทศไทยได้....!!!” (2553). ประชาไท. เข้าถึงวันที ่ 26 มิถุนายน 2555 ใน<br />

http://prachatai.com/journal/2010/06/30008.<br />

Abramson, Alan et al. (2009). The Emerging Fourth Sector: A New Sector of Organizations at the Intersection of the<br />

Public, Private, <strong>and</strong> Social Sectors (Executive Summary). Washington DC: The Aspen Institute.<br />

Elkington, John <strong>and</strong> Pamela Hartigan (2008). The Power of Unreasonable People: How Social Entrepreneur Create<br />

Markets That Change the World. Boston, Mass.: Harvard Business School Press<br />

“Fourth Sector”. เข้าถึงวันที ่ 26 มิถุนายน 2555 ใน http://www.fourthsector.net/.<br />

29


MEDIA<br />

สื่อ<br />

ควำมหมำย<br />

สื ่อ (Media) หรือ “สื ่อมวลชน” (mass media) ท าหน้าที ่เป็นตัวกลางในการเชื ่อมต่อข้อมูลระหว่างกิจกรรมสาธารณะ<br />

ต่างๆ ไม่ว่าจะมาจากภาครัฐหรือภาคสังคม ส่งผ่านข้อมูลและข่าวสารให้กับประชาชนทั่วไปในพื ้นที ่ส่วนตัวโดยใช้สื ่อกลางบางอย่าง<br />

เช่น หนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ อินเตอร์เน็ต เป็นต้น จุดมุ่งหมายของสื ่อ คือ เพื ่อกระชับความสัมพันธ์ของคนในสังคมทั้งในระดับ<br />

ชุมชน ระดับประเทศ และระดับระหว่างประเทศให้มีความรู้สึกร่วมกัน และท าให้ย่นระยะห่างทางเขตแดน ท าให้คนในพื ้นที ่หนึ ่งมี<br />

ความรู้สึกร่วมและรู้สึกถึงผลกระทบต่างๆ จากประชาชนอีกพื ้นที ่หนึ ่ง เช่น การเกิดภัยพิบัติในทวีปเอเชีย แต่ประชาชนในยุโรปต่าง<br />

มีความรู้สึกหดหู ่ร่วมกันไปกับความเสียหายจากความสูญเสียนั้น ความรู้สึกร่วมเช่นนี ้จะสร้างความเป็นประชาคมเดียวกัน และรับรู้<br />

ข้อมูลร่วมกัน สื ่อจึงอยู ่ใกล้ชิดกับสังคมและการเมืองอย่างมากจนไม่สามารถแยกออกจากกันได้ สื ่อในปัจจุบันยังได้รับอิทธิพลจาก<br />

โลกาภิวัตน์ในการเชื ่อมโยงพื ้นที ่ต่างๆ ในโลกแบบข้ามพื ้นที ่และเวลา<br />

สื ่อเป็นตัวส่งสาร 3 ประเภทหลักในสังคม โดยการรายงานข่าว รายการบันเทิง และโฆษณา ผ่านการสื ่อสาร 3 ประเภทนี ้<br />

สื ่อมีบทบาทส าคัญมากในการก าหนดประเด็นสาธารณะ (agenda setting) อ านาจของสื ่ออยู ่ที ่ การเลือกน าเสนอข่าว โดยการเลือก<br />

ที ่จะน าเสนอบางเรื ่อง (พฤติกรรมของนายกรัฐมนตรียิ่งลักษณ์ที ่พูดผิดพูดถูก) และเลือกที ่จะไม่น าเสนอบางข่าว (เสียงสะท้อนและ<br />

ความคิดเห็นของประชาชนในพื ้นที ่สามจังหวัดภาคใต้) ดังนั้น สื ่อจึงเป็นผู้ชี ้น าสังคมว่าประเด็นอะไรส าคัญและควรจับตามอง<br />

บทบาทในการคัดสรรประเด็นข่าวสาร ท าให้สื ่อมีฐานะรักษาช่องทางการสื่อสาร (gatekeeper) การน าเสนอข่าวยังเป็นการให้<br />

สถานภาพและบทบาทแก่บุคคลและสถานการณ์ การสัมภาษณ์ผ่านรายการโทรทัศน์ระดับชาติ หรือการขึ ้นปกหนังสือ จะเป็นการ<br />

สร้างบุคคลส าคัญระดับชาติ<br />

ผู้จัดการสื ่อ (บรรณาธิการ ผู้อ านวยการผลิต นักข่าว และผู้ประกาศข่าว) มีบทบาทส าคัญในการก าหนดทัศนคติทางการ<br />

เมือง ผู้โฆษณาหรือนักโฆษณาโดยการซื ้อเวลาออกอากาศผ่านรายการโทรทัศน์ วิทยุ หรือบนหน้ากระดาษ ส่งผลต่อการสื ่อสารที ่<br />

มีไปยังประชาชน เจ้าของสื ่อไม่ว่าจะเป็น สถานีโทรทัศน์ สถานีวิทยุ เคเบิล หรือหนังสือพิมพ์ มีบทบาทส าคัญในการเลือกว่าใครจะ<br />

เป็นผู้รายงานข่าว น าเสนอข่าวในแต่ละวัน และจะให้สื ่อมีภาพลักษณ์โดยรวมอย่างไรต่อการรับรู้สาธารณะ<br />

อรรถำธิบำย<br />

สื ่อ มีรากศัพท์มาจากค าว่า medium หรือในภาษาลาตินคือ medius หมายถึง ตรงกลาง ตีความหมายได้ว่าเป็นการ<br />

ติดต่อสื ่อสารเชื ่อมโยงคนในสังคมให้รับรู้ข้อมูลร่วมกัน โดยในสมัยโบราณ สื ่อได้ถูกผลิตขึ ้นในรูปแบบของภาพวาดฝาผนัง จิตกรรม<br />

งานศิลปะ และแผนที ่ ต่อมาเมื ่อพัฒนาการทางเทคโนโลยีมีสูงมากขึ ้น การติดต่อสื ่อสารได้เปลี ่ยนแปลงรูปแบบไป เช่น จดหมาย<br />

โทรเลข เป็นต้น จนมาถึงยุคของหนังสือพิมพ์ สื ่อได้มีลักษณะเป็น “มวลชน” ที ่สามารถเข้าถึงประชาชนทุกกลุ่มในสังคม และเมื ่อปี<br />

ค.ศ. 1925 เกิดนวัตกรรมใหม่คือโทรทัศน์ สื ่อมวลชนจึงขยายตัวมากยิ่งขึ ้นผ่านการกระจายเสียง (broadcasting) ที ่ประชาชน<br />

จ านวนมากสามารถเข้าถึงและรับรู้ร่วมกัน จนถึงปัจจุบันได้เกิดสิ่งที ่เรียกว่า “สื ่อใหม่” (new media) คือ สื ่อที ่ใช้เทคโนโลยีแบบ<br />

Web 2.0 หรืออินเตอร์เน็ตที ่มีความรวดเร็วในการน าเสนอข่าวให้กับประชาชนผู้รับสาร และผู้ใช้บริการสามารถแสดงความคิดเห็น<br />

30


ตอบโต้ระหว่างกันได้ ลักษณะของข้อมูลจึงหลากหลายและมีจ านวนมาก การเกิดขึ ้นและได้รับความนิยมอย่างสูงจากสื ่อใหม่นี ้ ท า<br />

ให้สื ่อสิ่งพิมพ์กระแสหลักต้องปรับตัวเป็นอย่างมาก เช่น มีหนังสือพิมพ์ออนไลน์ (online newspapers) ควบคู ่ไปกับหนังสือพิมพ์<br />

กระดาษแบบเดิม หรือการเกิดขึ ้นของหนังสือออนไลน์ (Electronic book—E-book) และวารสารออนไลน์ (E-magazine) ที ่น่าสนใจ<br />

คือ ด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่นี ้ ประชาชนที ่เคยเป็นเพียงผู้รับสารด้านเดียว สามารถกลายเป็นผู้ส่งสารได้ด้วยการท างานที ่ไม่<br />

จ าเป็นต้องมีการจัดตั้งองค์กรหรือสถานที ่ เช่น การเขียน Webboard Blog หรือการมีส่วนร่วมในการรายงานข่าวยุคดิจิตอล ใน<br />

ฐานะ “สื ่อภาคประชาชน” ด้วยกล้องจากโทรศัพท์มือถือ ให้กับสถานีข่าวที ่เป็นทางการได้ เช่น iReport ของ CNN หรือ “นักข่าว<br />

พลเมือง” ของ Thai PBS และการน าเสนอสถานการณ์ผ่าน Facebook ก็ได้กลายเป็นอีกช่องทางหนึ ่งที ่ผู้ใช้สื ่อสังคมออนไลน์นิยม<br />

ส่งข่าวไปยังสังคม กล่าวให้ชัดคือ ในปัจจุบันที ่เทคโนโลยีทางการสื ่อสารสะดวกรวดเร็วขึ ้น เราทุกคนสามารถท าหน้าที ่เป็นสื ่อไป<br />

พร้อมๆ กับเป็นผู้รับสื ่อ<br />

ในทางวิชาการ กระบวนการสื ่อสารมวลชนจะประกอบไปด้วยองค์ประกอบ 4 ประการ หรือที ่เรียกว่า SMCR (Berlo,<br />

1960) ดังนี ้<br />

1) S (Source) คือผู้ที ่ท าหน้าที ่ส่งสาร ต้องเป็นผู้ที ่มีทักษะความช านาญในการสื ่อสาร โดยมีความสามารถในการเรียบ<br />

เรียงจัดระบบ (encode) เนื ้อหาข่าวสาร มีทัศนคติที ่ดีต่อผู้รับสาร เพื ่อผลในการสื ่อสาร มีความรู้อย่างดีเกี ่ยวกับข้อมูล<br />

ข่าวสารที ่จะส่ง และควรจะมีความสามารถในการปรับระดับของข้อมูลนั้นให้เหมาะสมและง่ายต่อระดับความรู้ของผู้รับ<br />

ตลอดจนพื ้นฐานทางสังคมและวัฒนธรรมที ่สอดคล้องกับผู้รับด้วย เพื ่อส่งเสริมการคิดแบบสร้างสรรค์และการคิด<br />

วิพากษ์ต่อสถานการณ์หนึ ่งๆ<br />

2) M (Message) คือสาร หรือข้อมูลข่าวสาร (Information) เป็นส่วนของเนื ้อหา ที ่อาจจะเป็นข้อมูลข่าวสาร เหตุการณ์<br />

ปัจจุบัน สารสนเทศ ข้อมูลทางวิชาการ และบันเทิง<br />

3) C (Channel) คือช่องทาง หรือส่วนที ่เป็นสื ่อ (Media) ในความหมายนี ้ “สื ่อ” จึงเป็นเพียงตัวกลางในการน าเสนอข้อมูล<br />

ข่าวสารเท่านั้น สื ่อไม่ได้เป็นผู้ผลิตเนื ้อหาหรือเป็นผู้ส่งสารโดยตรง<br />

4) R (Receiver) คือผู้รับสาร ต้องเป็นผู้มีทักษะความช านาญในการสื ่อสารโดยมีความสามารถใน “การถอดรหัส”<br />

(decode) สาร เป็นผู้ที ่มีทัศนคติ ระดับความเข้าใจ และพื ้นฐานทางสังคมวัฒนธรรม เช่นเดียวหรือคล้ายคลึงกันกับผู้<br />

ส่งจึงจะท าให้การสื ่อความหมายหรือการส่งสารนั้นมีประสิทธิผล<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย สื ่อได้รับความสนใจและมีความส าคัญมาอย่างยาวนาน เริ่มจากสื ่อประเภทหนังสือพิมพ์ที ่ให้ข้อมูล<br />

ข่าวสารเหตุการณ์ปัจจุบัน และวิพากษ์วิจารณ์ปัญหาสังคมการเมือง สื ่อไทยเติบโตและมีบทบาทกว้างขวางมากขึ ้นหลังจาก<br />

ทศวรรษ 2490-2500 เป็นต้นมา เนื ่องจากจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรวิชาการหนังสือพิมพ์ภาคค ่า มหาวิทยาลัย<br />

ธรรมศาสตร์เปิดการศึกษาระดับปริญญาตรี ด้านวารศาสตร์ขึ ้นเป็นครั้งแรกในแผนกวารศาสตร์ สังกัดคณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์<br />

และจอมพล ป. พิบูลสงคราม ได้จัดตั้งบริษัทไทยโทรทัศน์ จ ากัด มีการส่งบุคลากรไปฝึกอบรมต่างประเทศเพื ่อน าความรู้เกี ่ยวกับ<br />

31


การพัฒนาสื ่อมวลชนทั้งวิทยุและโทรทัศน์มาใช้ในประเทศ หลังจากทศวรรษดังกล่าวเป็นต้นมา อาชีพสื ่อมวลชนจึงเกิดขึ ้นอย่าง<br />

เต็มตัวในสังคมไทย<br />

อย่างไรก็ดี สื ่อมวลชนที ่เกิดขึ ้นในช่วงเวลานั้นมีลักษณะที ่เรียกว่าเป็นสื ่อภายใต้อ านาจนิยม (media authoritarianism)<br />

หมายถึง สื ่อที ่ถูกควบคุมก ากับด้วยรัฐบาลเผด็จการทหาร ท าให้มักเป็นการน าเสนอข้อมูลเพียงด้านเดียวและไม่สามารถท างานได้<br />

อย่างอิสระ ต่อเมื ่อการเมืองเปิดมากยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะตั้งแต่หลังปี พ.ศ. 2530 เป็นต้นมา ถือว่าเป็นยุคทองของกิจการโทรทัศน์ไทย<br />

เนื ่องจากเป็นทศวรรษที ่ประเทศไทยมีครบทั้งโทรทัศน์ประเภทรับชมได้โดยไม่เสียค่าสมาชิก หรือ ฟรีทีวี (Free TV) และโทรทัศน์<br />

แบบเสียค่าสมาชิก (subscription TV)<br />

วิกฤติการเมืองช่วงปี พ.ศ. 2534-35 ที ่รู้จักกันในนาม “พฤษภาทมิฬ” ท าให้สังคมไทยตระหนักว่า มีความจ าเป็นต้องมี<br />

สื ่อมวลชนที ่มีความเป็นอิสระจากอ านาจรัฐ จึงมีการก่อตั้งสื ่อเสรีที ่ชื ่อว่า “ITV” (Independent TV) และมีสื ่อสิ่งพิมพ์ส านักใหม่<br />

เกิดขึ ้นมากมาย ต่อมาหลังการรัฐประหารปี พ.ศ. 2549 ภายใต้รัฐบาลพลเอกสุรยุทธ์ จุลานนท์ ตามพระราชบัญญัติองค์การ<br />

กระจายเสียงและแพร่ภาพสาธารณะแห่งประเทศไทย พ.ศ. 2551 ITV ได้ถูกเปลี ่ยนเป็น “ทีวีสาธารณะ” ในชื ่อ ThaiPBS และได้รับ<br />

เงินบ ารุงที ่จัดสรรจากการจัดเก็บภาษีสุราและยาสูบตามกฎหมายว่าด้วยสุราและกฎหมายว่าด้วยยาสูบ โดยให้มีรายได้สูงสุด<br />

ปีงบประมาณละไม่เกิน 2,000 ล้านบาท (รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังมีอ านาจปรับเพดานสูงสุดของเงินได้ทุกๆ 3 ปี) ในช่วงรัฐบาล<br />

ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ThaiPBS แสดงบทบาทในการตรวจสอบรัฐบาลในหลายประเด็นอย่างต่อเนื ่อง และถูกวิจารณ์ในเรื ่องการเลือก<br />

น าเสนอประเด็นทางการเมืองที ่ถูกโจมตีจากฝ่ายหนึ ่งว่าอ่อนไหว ไม่เหมาะสม และอีกฝ่ายหนึ ่งว่า ไม่ยอมออกอากาศเนื ้อความ<br />

ส าคัญของข้อถกเถียง จนหลายปรากฏการณ์เกิดการวิพากษ์วิจารณ์ว่าอะไรควรเป็นบทบาทที ่เหมาะสมของสื ่อทีวีสาธารณะ<br />

ความขัดแย้งทางการเมืองไทยในช่วงปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา เกิดสื ่อที ่มีลักษณะ “เลือกข้าง” ทางการเมืองจ านวนหนึ ่ง<br />

สื ่อลักษณะดังกล่าวมักเป็นสื ่อที ่ถูกจัดตั้งเพื ่อเป็นกระบอกเสียงทางการเมืองและใช้เป็นสื ่อกลางในการระดมมวลชนของตนลงไป<br />

เคลื ่อนไหวทางการเมือง เช่น บทบาทของสื ่อทีวีอย่าง ASTV ที ่สนับสนุนกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื ่อประชาธิปไตย (PAD หรือ<br />

กลุ่มเสื ้อเหลือง) และเครือข่ายวิทยุชุมชนจ านวนหนึ ่งที ่สนับสนุนกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช. หรือ<br />

กลุ่มเสื ้อแดง) นอกจากนั้น ในประเทศไทยพรรคการเมืองยังมีความสัมพันธ์กับสื ่ออย่างใกล้ชิด และใช้สื ่อเพื ่อเป็นกระบอกเสียง<br />

และสนับสนุนวาระทางการเมืองของตนอย่างเข้มข้น เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างพรรคเพื ่อไทยกับ Voice TV และ Asian Update<br />

หรือ พรรคประชาธิปัตย์กับทีวี Blue Sky<br />

สื ่อที ่ด ารงหรือได้รับการยอมรับว่ามีความเป็นกลางมีน้อยลง เพราะมักจะถูกประเมินและจัดวางให้กลายเป็นฝ่ายใดฝ่าย<br />

หนึ ่งตามความโน้มเอียงส่วนตัวของผู้เสพย์สื ่อ ในปัจจุบัน จึงเกิดการตั้งค าถามเรื ่องจริยธรรมของสื ่ออย่างกว้างขวางจาก<br />

สาธารณชน เมื ่อพูดถึงสื ่อหรือสื ่อมวลชนในสังคมไทย จึงจ าเป็นต้องกลับมาทบทวนบทบาทการท างานว่า สื ่อควรจะท าหน้าที ่ส่ง<br />

สารอย่าง “เป็นกลาง” ในการน าเสนอข้อมูลให้รอบด้านและเป็นอิสระ หรือสื ่อสามารถ “เลือกข้าง” ในการตรวจสอบการกระท าและ<br />

อ านาจของฝ่ายที ่อยู ่ตรงข้ามกับตน หรือสนับสนุนผู้น าที ่ตนชื ่นชอบ และชี ้น าความคิดอุดมการณ์อย่างใดอย่างหนึ ่งตามที ่สื ่อนั้นๆ<br />

เห็นว่าถูกต้อง ในประเด็นนี ้เมื ่อกลับไปดูความหมายสากลจะพบว่า อย่างน้อย สื ่อควรท าหน้าที ่ในการเป็น “ตัวกลาง” เพื ่อเปิด<br />

โอกาสให้ความคิดอันแตกต่างหลากหลายในสังคมถูกน าเสนออย่างตรงไปตรงมา รอบด้าน ไม่บิดเบือน เป็น พื ้นที ่ของการ<br />

แลกเปลี ่ยนข้อมูลข่าวสารและการถกเถียงอย่างเสมอภาค มีเหตุผลของประชาชนทุกกลุ่มในสังคม<br />

32


ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ปัญหาการท าความเข้าใจค าว่า “สื ่อ” ไม่ได้อยู ่ที ่การให้นิยาม แต่ปัญหาอยู ่ที ่บทบาทหน้าที ่ของสื ่อต่อการวางตัวในสังคม<br />

สื ่อควรจะวางตนให้เป็นกลไกในพื ้นที ่ตรงกลางระหว่างประชาชนกับรัฐ และระหว่างกลุ่มความคิดต่างๆ ในสังคม เพื ่อเป็นพื ้นที ่<br />

สาธารณะและพื ้นที ่เสรีส าหรับการเชื ่อมโยงข้อมูลข่าวสารและความคิดเห็นต่างๆ ที ่เกิดขึ ้นในสังคม ไปสู ่การน าเสนอข้อมูลอย่าง<br />

ตรงไปตรงมา มากกว่าที ่จะเป็นสื ่อที ่เลือกข้างหรือมีอุดมการณ์ที ่ฝักใฝ่กลุ่มสังคมหรือกลุ่มการเมือง สื ่อเลือกข้างดังกล่าว มีแนวโน้ม<br />

จะบิดเบือนการน าเสนอ หรือเลือกน าเสนอบางประเด็น ละเลยบางประเด็น ซึ ่งจะท าให้องค์กรสื ่อกลายเป็นเพียงกลไกหรือเครื ่องมือ<br />

ในการขับเคลื ่อนอุดมการณ์หรือแสวงหาผลประโยชน์ของเจ้าของสื ่อ หรือผู้มีอ านาจเหนือสื ่อนั้น<br />

นอกจากนั้น การแข่งขันที ่สูงของตลาดสื ่อท าให้สื ่อจ านวนหนึ ่งเปลี ่ยนการน าเสนอข่าวไปสู ่ความบันเทิง จนมักจะถูก<br />

ประณามว่าเป็นข่าวบันเทิง (infotainment) โดยเน้นการน าเสนอข่าวเสมือนหนึ ่งเป็นละคร หรือสื ่อสิ่งพิมพ์บางส านัก เน้นการพาด<br />

หัวข่าวเกินจริงเพื ่อดึงดูดความสนใจ นอกจากนั้น “การเล่าข่าว” ของสื ่อทีวีที ่น าข่าวจากสื ่อสิ่งพิมพ์และสื ่ออื ่นๆ มาถ่ายทอดด้วยการ<br />

อ่านพร้อมกับใส่ความคิดเห็นส่วนตัวของผู้น าเสนอข่าว บางครั้งได้ท าให้น ้าหนักของความคิดเห็นส่วนตัวของผู้น าเสนอข่าวบดบัง<br />

เนื ้อหาหรือสารที ่ผู้ฟังหวังจะได้รับ โดยรวมภูมิทัศน์ของสื ่อที ่เปลี ่ยนแปลงอย่างรวดเร็วจากการเกิดสื ่อสังคมออนไลน์ และช่องทาง<br />

การสื ่อสารที ่ขยายตัวเพิ่มขึ ้น ท าให้สิ่งที ่สาธารณะได้รับเต็มไปด้วยข่าวที ่มากขึ ้นจากแหล่งข่าวที ่เยอะขึ ้น แต่สาระข่าวไม่ได้ท าให้<br />

เกิดความเข้าใจที ่กระจ่างชัดขึ ้น หรือชี ้ให้เห็นมุมมองที ่แตกต่างแต่อย่างใด ประเด็นที ่น่าสนใจคือ บทบาทของสื ่อในการท าหน้าที ่<br />

ทางการเมืองแบบดั้งเดิม คือ ให้ความรู้และข้อมูลเกี ่ยวกับปรากฏการณ์ทางสังคม และผู้น าทางการเมืองของพวกเขา และท าหน้าที ่<br />

เหมือนเป็นผู้เฝ้าระวัง (watchdog monitoring) และตรวจสอบการท างานของรัฐบาลและผู้มีอ านาจอื ่นๆ กลับดูเหมือนอ่อนแอลง<br />

ท่ามกลางการเติบโตอย่างรวดเร็วของสื ่อประเภทต่างๆ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

“รูปแบบจ าลอง S M C R Model” (2550). Kroobannok. เข้าถึงวันที ่ 25 มิถุนายน 2555 ใน http://www.kroobannok.com/102.<br />

“สื ่อเก่า (Traditional Media) ปะทะกับ สื ่อใหม่ (New Media) จะเกิดอะไรขึ ้น” (2554). PECHA.VJ_Hunt. เข้าถึงวันที ่ 25<br />

มิถุนายน 2555 ใน http://tarbby.wordpress.<br />

com/2011/06/01/.<br />

Berlo, David K. (1960).The Process of Communication: An Introduction to Theory <strong>and</strong> Practice. New York: Holt, Rinehart<br />

<strong>and</strong> Winston.<br />

Kurian, George Thomas et al. (2011). The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.<br />

33


PRIVATE SECTOR<br />

ภำคเอกชน<br />

ควำมหมำย<br />

ภาคเอกชน (Private Sector) เป็นค าศัพท์ที ่ถูกใช้อย่างกว้างขวางในชีวิตประจ าวัน ท าให้การนิยามความหมายมีความ<br />

แตกต่างหลากหลายไปตามประสบการณ์ของผู้ใช้ค าศัพท์นั้น แต่จุดร่วมส าคัญของภาคเอกชนจะถูกใช้เมื ่อพยายามอธิบายกลุ่ม<br />

บุคคลที่ไม่ได้อยู่ในภาครัฐ หรือตรงกันข้ามกับภาครัฐบาล (Government Sector) และเป็นกลุ่มบุคคลที ่รวมตัวกันเพื ่อ<br />

วัตถุประสงค์ในการแสวงหาผลประโยชน์ในทางเศรษฐกิจ (Allison, 1986: 13-32)<br />

อรรถำธิบำย<br />

อย่างไรก็ดี การพิจารณาถึงความหมายของค าว่าภาคเอกชน สามารถแยกออกเป็น 2 มิติ ดังนี ้<br />

1) มิติทางเศรษฐศาสตร์ ภาคเอกชนเป็นส่วนหนึ ่งของระบบเศรษฐกิจที ่ด าเนินการโดยปัจเจกบุคคลหรือกลุ่มของ<br />

ปัจเจกบุคคล ซึ ่งสามารถแยกออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนแรกเป็นภาคเอกชนในฐานะที ่เป็นครัวเรือน (households)<br />

ท าหน้าที ่ในการบริโภคสินค้าและเป็นแรงงานในระบบตลาด ส่วนที ่สองคือภาคบริษัท (enterprise) หรือ<br />

ผู้ประกอบการ (entrepreneur) เป็นกลุ่มของปัจเจกบุคคลที ่มารวมตัวกันเป็นองค์กร เพื ่อประกอบกิจกรรมทาง<br />

เศรษฐกิจในด้านการซื ้อขายแลกเปลี ่ยนธุรกรรมต่างๆ โดยมุ่งหมายที ่จะแสวงหาก าไรและความอยู ่รอดในระบบ<br />

เศรษฐกิจ<br />

2) มิติทางการเมือง ภาคเอกชนเป็นพื ้นที ่ของพลเมือง (citizen) ที ่จะต้องได้รับความคุ้มครองจากรัฐในเรื ่องสิทธิ<br />

ของปัจเจกบุคคล (rights) และสิทธิในการได้รับบริการจากรัฐ ภาคเอกชนจึงอาจหมายถึงบุคคลทั่วไป และหมายถึง<br />

กลุ่มบุคคลที ่รวมตัวกันเพื ่อท ากิจกรรมทางสังคม<br />

อย่างไรก็ดี ความหมายของภาคเอกชนที ่ได้รับความนิยมน าไปใช้ จะหมายถึงภาคเอกชนในส่วนขององค์กรธุรกิจและ<br />

บริษัทห้างร้านต่างๆ เมื ่อท าการเปรียบเทียบระหว่างภาคเอกชนกับภาครัฐจะพบว่ามีความต่างกันใน 3 ประเด็น คือ 1) ด้าน<br />

ยุทธศาสตร์ (strategy) การจัดการภาคเอกชนจะมีเป้าหมายและวัตถุประสงค์เป็นของตัวเองคือการแสวงหาก าไร ในขณะที ่การ<br />

จัดการภาครัฐเป้าหมายขององค์การจะถูกควบคุมโดยฝ่ายนิติบัญญัติที ่มีกฎระเบียบชัดเจน 2) ด้านบริหารจัดการงานภายใน<br />

(managing internal components) ที ่เอกชนมีอิสระในการบริหาร เช่น สามารถจ้างหรือไล่เจ้าหน้าที ่คนใดออกก็ได้ ในขณะที ่<br />

โครงสร้างการบริหารภาครัฐถูกก าหนดโดยกฎหมาย การบริหารงานจึงต้องอยู ่ภายใต้กรอบดังกล่าว 3) ด้านบริหารจัดการกลุ่มคน<br />

ภายนอก (managing external constituencies) ในภาคเอกชน ผู้บริหารจะรับผิดชอบต่อบอร์ดบริหารเท่านั้น แต่ในภาครัฐ<br />

ผู้บริหารจะต้องรับผิดชอบต่อหลากหลายองค์กร เช่น รัฐสภา ศาล องค์กรอิสระ NGOs และสื ่อ เป็นต้น (Allison op.cit.)<br />

34


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย ภาคเอกชนมีความหมายที ่ไม่แตกต่างกับความหมายในระดับสากลมากนัก กล่าวคือภาคเอกชนเป็น<br />

องค์กรที ่เกี ่ยวข้องกับการแลกเปลี ่ยนสินค้า บริการ หรือทั้งสินค้าและบริการแก่ผู้บริโภค หน่วยงานภาคเอกชนโดดเด่นในระบบ<br />

เศรษฐกิจแบบทุนนิยม ซึ ่งธุรกิจส่วนมากมีเอกชนเป็นเจ้าของ และบริหารจัดการเพื ่อให้ได้ก าไร และเพิ่มความมั่งคั่งของผู้ถือหุ้น<br />

ภาคเอกชนในบางความหมายยังอาจเป็นประเภทไม่แสวงหาผลก าไรหรือมีรัฐเป็นเจ้าของก็ได้ ภาคเอกชนจึงเป็นหัวใจส าคัญในการ<br />

เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและติดต่อค้าขายทั้งภายในและระหว่างประเทศ หลายครั้งภาคเอกชนจึงไม่ได้ด าเนินการโดดเดี ่ยวจาก<br />

ภาครัฐ แต่จะได้รับความคุ้มครองจากภาครัฐ เพราะการเติบโตของภาคธุรกิจจะกลายเป็นตัวเลขการเจริญเติบโตของประเทศใน<br />

องค์รวม<br />

ปัญหาในการใช้ค านี ้เกิดขึ ้นเมื ่อต้องขีดเส้นแบ่งระหว่าง “ภาคเอกชน” กับ “ภาครัฐ” ว่าสามารถแบ่งแยกได้จริง มากน้อย<br />

เพียงใด เช่น ภาคเอกชนอาจจะมีกิจกรรมเพื ่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) หรือภาครัฐอาจมีหน่วยงานที ่<br />

ด าเนินการอย่างอิสระคล้ายเอกชน เช่น รัฐวิสาหกิจ (public enterprise) หรือกิจการของรัฐที ่มอบให้เอกชนเป็นผู้ด าเนินการ ปัญหา<br />

ดังกล่าวเกิดขึ ้นทั้งในสังคมไทยและสากล เพราะพื ้นที ่ระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐมีความใกล้ชิดกันมากยิ่งขึ้น รวมไปถึง<br />

บทบาทหน้าที ่หลายอย่างที ่จ าเป็นต้องมีความร่วมมือระหว่างทุกภาคส่วนในสังคม ทั้งภาครัฐและเอกชน<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

จากที ่กล่าวมานี ้ การใช้ค าว่าภาคเอกชนอาจจะท าให้เกิดความสับสนอยู ่บ้างว่าหมายถึงองค์กรหรือภาคส่วนใด<br />

จ าเป็นต้องแสวงหาก าไรเสมอไปหรือไม่ แต่การนิยามและการใช้ในสังคมไทยก็แทบจะไม่มีความแตกต่างกับความหมายในระดับ<br />

สากล ปัญหาจะมีเพียงการแบ่งระหว่างภาคเอกชนและภาครัฐที ่จะต้องค านึงไว้ตลอดว่าเป็นเพียงการแบ่งแยกเพื ่อการศึกษาเท่านั้น<br />

แต่ในความเป็นจริงไม่สามารถแบ่งทั้งสองภาคส่วนนี ้ออกจากกันได้อย่างเด็ดขาด เพราะทั้งภาคเอกชนและภาครัฐมีบทบาทหน้าที ่<br />

หลายอย่างที ่ทับซ้อนกันและจ าเป็นต้องมีความร่วมมือประสานงานระหว่างกันตลอดเวลา<br />

ในปัจจุบัน เกิดการด าเนินธุรกิจที ่เป็นความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนกับรัฐบาล (a public–private partnership (PPP<br />

หรือ P3) กล่าวคือเป็นการร่วมมือด าเนินธุรกิจ เพื ่อประโยชน์ของสังคมโดยรวม ความร่วมมือนี ้มีลักษณะส าคัญคือ รัฐบาลให้เงิน<br />

อุดหนุนบริษัทเอกชน บริษัทเอกชนเป็นผู้ร่วมทุน และผู้ด าเนินการ โดยมีเป้าหมายเพื ่อลดความเสี ่ยง (risk) ในการลงทุนของ<br />

ภาคเอกชน ซึ ่งอาจท าให้ไม่อยากลงทุนในกิจการที ่ต้นทุนสูง และโอกาสในความคุ้มทุนต ่า ในขณะเดียวกันก็เพิ่มความรับผิด และ<br />

รับชอบ (accountability) ของภาคเอกชน ที ่ต้องอยู ่ภายใต้การก ากับของภาครัฐ ตัวอย่างเช่น ในประเทศแคนาดา การสร้าง<br />

โครงสร้างพื ้นฐานและระบบขนส่งมวลชนในหลายพื ้นที ่จัดท าโดยความร่วมมือระหว่างภาคเอกชนกับรัฐบาล เช่น รถบัสความเร็วสูง<br />

(bus rapid transit) Viva และถนนสาย Ontario 407 เป็นต้น<br />

ดูเพิ่มใน ‘Corporate Social Responsibility’ และ ‘Fourth Sector’<br />

35


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

Allison, Graham T. (1986). “Public <strong>and</strong> Private Management: Are They Fundamentally Alike in All Unimportant<br />

Respects?”. In Frederick S. Lane (ed.). Current Issues in Public Administration. New York: St. Martin's Press.<br />

36


THE STATE<br />

รัฐ<br />

ควำมหมำย<br />

รัฐ (State) เป็นค าที ่ใช้ส าหรับเรียกหน่วยของสถาบันการเมืองและเจ้าหน้าที ่ของรัฐที ่ท าหน้าที ่ในการควบคุมสังคมและ<br />

ประชาชนผ่านการวางกฎระเบียบต่างๆ และคอยจัดสรรทรัพยากรภายใต้พื ้นที ่จ ากัด (Kurian, 2011: 1594-1597) โดยรัฐจะมี<br />

หน้าที ่หลักอยู ่ 4 ประการ ดังนี ้<br />

อรรถำธิบำย<br />

1) หน้าที ่ในการปกครองและควบคุมสังคม<br />

2) หน้าที ่ในการเป็นหน่วยเดียวของสังคมที ่สามารถใช้ความรุนแรงอย่างชอบธรรม<br />

3) หน้าที ่ในการจัดการทรัพยากรภายในรัฐ ทั้งในด้านการเก็บภาษีและการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ<br />

4) หน้าที ่ในด้านของความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ<br />

ในทางรัฐศาสตร์ นิยามของรัฐที ่ได้รับความนิยมมากที ่สุดคือ นิยามของ แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) (อ้างใน<br />

Haralambos <strong>and</strong> Holborn, 2004: 541) ที ่กล่าวว่า รัฐ คือ องค์กรทางการเมืองที ่มีอ านาจบังคับและมีความต่อเนื ่องในการผูกขาด<br />

การใช้ความรุนแรงอย่างชอบธรรมด้วยการบังคับใช้ระเบียบและกฎหมาย จากนิยามดังกล่าวจะเห็นว่ารัฐเป็นหน่วยงานทางการ<br />

ปกครองที ่มีเป้าหมายในการรักษาระเบียบ (social order) ทั้งในทางสังคมและการเมือง นักวิชาการที ่ได้รับอิทธิพลจากนิยาม<br />

ดังกล่าว จนสามารถสร้างผลงานทางรัฐศาสตร์ที ่โด่งดัง คือ เธดา สค๊อชโพล (Theda Skocpol) (1979: 29-32) หนังสือชื ่อ States<br />

<strong>and</strong> Social Revolutions ที ่กล่าวว่า “รัฐ” มีหน่วยงานในการจัดการทรัพยากรที ่มีอยู ่ภายในเขตแดนอย่างชอบธรรม (legitimacy)<br />

เพื ่อบรรลุเป้าหมายของตัวเอง คือการรักษาระเบียบ (maintains order) และท าการแข่งขันกับรัฐอื ่นในด้านศักยภาพของรัฐ เช่น<br />

การทหาร เป็นต้น โดยอุดมคติแล้ว รัฐจึงมีหน้าที ่ดูแลความสัมพันธ์ระหว่างกลุ่มคน และภาคส่วนต่างๆ โดยก ากับให้การด าเนิน<br />

กิจกรรมใดๆ ในรัฐ เกิดประโยชน์โดยรวมต่อสาธารณะอย่างสมดุล<br />

ในทางปฏิบัติ “รัฐ” เป็นค าศัพท์ที ่ถูกใช้อย่างแพร่หลายและมีความหมายที ่หลากหลายในตัวมันเอง โดยสามารถจ าแนก<br />

การใช้ค าว่ารัฐออกเป็น 3 ความหมาย กล่าวคือความหมายแรก “รัฐ” คือ พื ้นที ่ทางการเมืองในการต่อสู้ต่อรองของนักการเมืองและ<br />

กลุ่มผลประโยชน์ในการเข้าไปมีอิทธิพลต่อการจัดสรรทรัพยากรสาธารณะ เพื ่อให้ได้มาซึ ่งผลประโยชน์แก่กลุ่มของตนมากที ่สุด<br />

ความหมายที ่สอง “รัฐ” คือ รัฐบาล ที ่ท าหน้าที ่ในการบริหารประเทศและมุ่งหวังสร้างคะแนนเสียงเพื ่อให้ได้รับคัดเลือกกลับเข้ามา<br />

บริหารประเทศอีกครั้ง รัฐในความหมายนี ้จึงไม่รวมถึงฝ่ายค้านในรัฐสภาและข้าราชการอื ่นๆ และความหมายที ่สาม “รัฐ” คือ<br />

องค์การทางการเมือง หมายรวมถึงหน่วยงานทั้งหมดที ่เป็นของภาคสาธารณะ ทั้งรัฐบาล ข้าราชการ ศาล และทหาร ซึ ่งอาจถูก<br />

แทนด้วยค าว่าเจ้าหน้าที ่รัฐ (the authorities) ได้<br />

37


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับความหมายในสังคมไทย ในงานของชัยอนันต์ สมุทวณิช (2534: 25) ได้พยายามจ าแนกการพิจารณาความหมาย<br />

ของรัฐออกเป็น 4 แนวทาง คือ 1) รัฐในฐานะที ่เป็นรัฐบาล (the state as government) ซึ ่งหมายถึงกลุ่มบุคคลผู้ด ารงต าแหน่งที ่มี<br />

อ านาจในการตัดสินใจในสังคมการเมือง 2) รัฐในฐานะที ่เป็นระบบราชการ (the state as public bureaucracy) คือเครื ่องมือ<br />

ทางการบริหารที ่เป็นปึกแผ่นและมีระเบียบทางกฎหมายรองรับ 3) รัฐในฐานะที ่เป็นชนชั้นปกครอง (the state as ruling class)<br />

และ 4) รัฐในฐานะที ่เป็นโครงสร้างทางอุดมการณ์ (the state as normative order) ฉะนั้น ในการนิยามความหมายของรัฐ อาจ<br />

เปลี ่ยนแปลงไปขึ ้นอยู ่กับบริบทของการใช้ค า ว่าจะให้ค าว่า “รัฐ” หมายแทนสิ่งใด<br />

อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติ ค าว่า “รัฐ” กลับพบปัญหาในการน ามาใช้อย่างมาก เพราะตามแบบเรียนของการศึกษาขั้น<br />

พื ้นฐานของไทยไม่ได้บอกว่ารัฐคืออะไร แต่กลับกล่าวเพียงแค่รัฐประกอบไปด้วย 4 หน่วยหลัก คือ ประชาชน เขตแดน อ านาจ<br />

อธิปไตย และรัฐบาล ซึ ่งต้องครบองค์ประกอบดังกล่าวเท่านั้นจึงถูกเรียกว่ารัฐ การนิยามรัฐเช่นนี ้จึงมีลักษณะเป็นการท่องจ า และ<br />

ไม่ได้เชื ่อมโยงกับความหมายในเชิงวิชาการทั้งในระดับภายในประเทศและระดับสากล<br />

ส าหรับการใช้ค าว่า “รัฐ” ในสังคมไทย มักถูกผูกโยงเข้ากับเรื ่องของ “อ านาจ” และ “เจ้าหน้าที ่” เสมอ กล่าวได้ว่ารัฐเป็นหน่วย<br />

การปกครองหนึ ่งที ่มีเจ้าหน้าที ่รัฐสามารถใช้อ านาจรัฐกับประชาชน และมีความหมายเชิงลบอยู ่ในตัวเอง เพราะการใช้ค าว่า “อ านาจรัฐ”<br />

มีนัยไปถึงการที ่เจ้าหน้าที ่รัฐใช้อ านาจปกครองกับประชาชนอย่างไม่ชอบธรรม หรือใช้อ านาจกดขี ่ข่มเหงประชาชนที ่สามารถอยู ่ด้วยกัน<br />

ภายในสังคมหรือชุมชนของตัวเอง “รัฐ” ในสังคมไทยจึงเป็นค าที ่มีระยะห่างกับ “ประชาชน” และ “สังคม” มากพอสมควร และรัฐมักจะมี<br />

ภาพลักษณ์ในด้านลบ เช่น เมื ่อกล่าวถึงรัฐ คนมักจะนึกถึง การแย่งชิงอ านาจ การทุจริตคอร์รัปชั่น และความเชื ่องช้าของระบบราชการ<br />

ในภาครัฐ<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

จะเห็นว่า แนวคิดเกี ่ยวกับ “รัฐ” มีความหมายกว้างขวางมากที ่สุดแนวคิดหนึ ่ง และสามารถถูกใช้ได้ในหลายบริบทและ<br />

หลายความหมาย จึงเป็นไปได้ยากในการนิยามค าว่ารัฐให้กระชับหรือถูกต้องเพียงความหมายเดียว แนวคิดว่าด้วยรัฐจึงอาจแยก<br />

พิจารณาโดยสังเขปได้ว่า รัฐในความหมายของพื ้นที ่ รัฐในความหมายของรัฐบาล และรัฐในความหมายของระบบราชการ ประเด็น<br />

ที ่สังคมไทยต้องพยายามท าความเข้าใจคือ รัฐอยู ่ใกล้ชิดกับประชาชนมากกว่าที ่หลายคนตระหนัก ฉะนั้น บทบาทของรัฐจึงกระทบ<br />

ต่อชีวิตประจ าวันและความเป็นอยู ่ของประชาชนอย่างหลีกเลี ่ยงไม่ได้ หน้าที ่ของรัฐที ่ส าคัญ นอกจากจะรักษาความสงบเรียบร้อย<br />

ของสังคมแล้ว รัฐต้องสร้างหลักประกันว่าจะพัฒนาประเทศเพื ่อประโยชน์ของประชาชนโดยรวม และ รัฐมีหน้าที ่และความ<br />

รับผิดชอบในการประกันอิสรภาพและเสรีภาพของปัจเจกบุคคล กล่าวได้ว่า ในสังคมประชาธิปไตย บทบาทของรัฐที ่พึงปรารถนา<br />

คือ รัฐที ่ช่วยพัฒนาอิสรภาพและเสรีภาพของประชาชนที ่ด้อยโอกาสให้สามารถกระท าตามเจตนารมณ์ของเขาได้ รัฐที ่กระจาย<br />

ทรัพยากรและความเป็นธรรมทางเศรษฐกิจให้แก่คนทุกกลุ่ม เพื ่อยกระดับความเป็นอยู ่ของประชาชน และกระจายความเท่าเทียม<br />

กันของคนในสังคม ในประเด็นหลัง บทบาทของรัฐในหลายประเทศจึงผูกโยงอยู ่กับการจัดสรรสวัสดิการสังคม (โปรดดู Social<br />

Welfare)<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Order’ & ‘Horizontal <strong>and</strong> Vertical Order’ และ ‘Social Welfare’<br />

38


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ชัยอนันต์ สมุทวณิช (2535). รัฐ. พิมพ์ครั้งที ่ 3. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

Haralambos, Michael, Martin Holborn, <strong>and</strong> Robin Heald (2004). Sociology: Themes <strong>and</strong> Perspectives. London:<br />

Hammersmith.<br />

Kurian, George Thomas et al. (2011). The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.<br />

Skocpol, Theda (1979). States <strong>and</strong> Social Revolutions: A Comparative Analysis of France, Russia, <strong>and</strong> China. Cambridge:<br />

Cambridge University Press.<br />

39


ส่วนที่ 2<br />

POLITICAL CULTURE AND DEMOCRACY<br />

วัฒนธรรมกำรเมืองและประชำธิปไตย<br />

40


AGENCY<br />

ตัวแทน<br />

ควำมหมำย<br />

“ตัวแทน” (Agency) เป็นค าที ่มีความหมายหลายนัย ขึ ้นอยู ่กับบริบทของการใช้ โดยในที ่นี ้จะแยกการพิจารณาเป็น 3<br />

บริบทคือ การเมือง เศรษฐกิจ และสังคม ซึ ่งค าว่าตัวแทนในทั้ง 3 บริบท มีความหมายร่วมกัน คือ การกระท ากิจกรรมอย่างใดอย่าง<br />

หนึ ่งที ่ตัวเราเองไม่สามารถกระท าการนั้นเองได้ จึงจ าเป็นต้องมีการเลือกตัวแทนขึ ้นมา และมอบอ านาจให้กระท ากิจกรรมดังกล่าว<br />

แทนตน ไม่ว่าจะเป็นเรื ่องการบริหาร การร่างกฎหมาย การท าสัญญาทางธุรกิจ การจ้างงาน หรือการเป็นตัวแทนของสาธารณะ<br />

เป็นต้น<br />

ในบริบททางการเมือง การเลือกตัวแทนและการมอบอ านาจนั้น เป็นปรากฏการณ์ร่วมกันของการเมืองในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยแบบตัวแทน ที ่ตั้งอยู ่บนปรัชญาการเมืองว่าประชาชนเป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตย แต่เมื ่อประชาชนไม่สามารถมีส่วน<br />

ร่วมทางการเมืองได้โดยตรง ด้วยข้อจ ากัดของเวลา ความรู้ ทักษะและอื ่นๆ ประชาชนจึงพร้อมใจกันเลือกผู้แทน (representatives)<br />

และ “มอบหมายอ านาจ” ให้ผู้แทนเหล่านั้นตัดสินใจเชิงนโยบายและบริหารประเทศแทนตน ในความสัมพันธ์นี ้ ประชาชนจึงเป็น<br />

เจ้าของอ านาจ (principal) ในขณะที ่สมาชิกรัฐสภาและรัฐบาล เป็นตัวแทนที ่ได้รับมอบหมายให้ท าหน้าที ่แทน (agent) (Kiewiet<br />

<strong>and</strong> McCubbins, 1991)<br />

ในทางทฤษฎี เบิร์ช (Birch, 2007: 134-140) ได้แบ่งตัวแทนออกเป็นประเภทต่างๆ บนฐานคิดที ่ว่าประชาชนมีเหตุผลใน<br />

การรักษาผลประโยชน์ของตัวเอง จึงได้เลือกผู้แทนที ่จะสามารถรักษาผลประโยชน์ของตนได้มากที ่สุด ในขณะเดียวกันผู้แทนก็มี<br />

ผลประโยชน์ของตัวเองเช่นกัน เพื ่อให้ได้มาซึ ่งต าแหน่งทางการเมืองจึงต้องตอบสนองผลประโยชน์ของตัวเองและผลประโยชน์ของ<br />

ประชาชนที ่เลือกตนเข้าสู ่ต าแหน่งด้วย ฉะนั้น ในทางการเมือง ตัวแทนจึงเป็นเรื ่องของผลประโยชน์ต่างตอบแทน (reciprocity)<br />

ระหว่างตัวแทนกับประชาชน<br />

ในการพิจารณาการเป็นตัวแทนในเชิงโครงสร้าง มีจุดสนใจอยู ่ 3 ส่วนคือประชาชนที ่เป็นผู้เลือกผู้แทน (people ส่วนที ่<br />

เป็น voter) ในฐานะที ่เป็นผู้ตัดสินใจเลือกผู้แทนทางการเมือง (political representatives) แต่ผู้แทนดังกล่าวต้องแสดงความเป็น<br />

ตัวแทนต่อประชาชนทั้งหมด (people ที ่เป็นประชาชนโดยรวม the whole) ไม่เพียงแต่เฉพาะผู้เลือกตั้งที ่เลือกตนมาเท่านั้น<br />

ความสัมพันธ์ในการเป็นตัวแทนจึงเชื ่อมโยงกับบริบทและโครงสร้างมิติต่างๆ อย่างหลีกเลี ่ยงไม่ได้ (Vieira <strong>and</strong> Runciman, 2008:<br />

140-147)<br />

41


ในทางเศรษฐกิจ การศึกษาเรื ่องตัวแทนเป็นการวิเคราะห์ภายใต้กรอบความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้างและลูกจ้าง<br />

(principal-agent framework) จะอธิบายกิจกรรมของการแทนที ่เป็นความสัมพันธ์ระหว่างนายจ้าง (principal) และตัวแทนหรือ<br />

ลูกจ้าง (agent) ที ่สัมพันธ์กันผ่านสัญญาจ้างงาน โดยทั่วไปนายจ้างต้องการลูกจ้างที ่สามารถท างานให้กับตนได้อย่างเต็มที ่สมบูรณ์<br />

ในขณะที ่ลูกจ้างก็จะพยายามน าเสนอข้อดีของตัวเองและปกปิดข้อบกพร่องบางประการ เพื ่อให้ได้รับเลือกจากนายจ้างและได้งาน<br />

ท า ซึ ่งท าให้เห็นว่าทั้งนายจ้างและลูกจ้างต่างมีผลประโยชน์เป็นของตัวเองและพยายามให้ได้มาซึ ่งผลประโยชน์จากความสัมพันธ์<br />

ดังกล่าว<br />

ในทางสังคม ตัวแทนหมายถึงผู้ท าหน้าที ่ในการขัดเกลาทางสังคม (agent of socialization) ในการสร้างความรู้<br />

ความสามารถ ทักษะ ทัศนคติ อุดมการณ์ ฯลฯ ไปในทางที ่สังคมต้องการและสามารถปรับตัวให้เข้ากับสังคมได้ ตัวแทนดังกล่าว<br />

เช่น ครอบครัว กลุ่มเพื ่อน และโรงเรียน เป็นต้น นอกจากนี ้ ตัวแทนในทางสังคมอาจหมายถึงกลุ่ม NGOs ต่างๆ ที ่ท างานในพื ้นที ่<br />

ประชาสังคม โดยกลุ่มองค์กรพัฒนาเอกชนจะแสดงตนว่าเป็นตัวแทนของผลประโยชน์สาธารณะ และคอยท างานปกป้อง<br />

ผลประโยชน์ดังกล่าว<br />

42


อรรถำธิบำย<br />

ในสังคมตะวันตกมีข้อถกเถียงถึงขอบเขตอ านาจของตัวแทนมาช้านาน ด้านหนึ ่ง เอ็ดมันด์ เบิร์ค (Edmund Burke)<br />

นักปราชญ์และนักการเมืองอังกฤษเคยกล่าวอย่างชัดเจนว่า รัฐสภาเป็นที ่รวมของผู้ท าหน้าที ่ถกเถียงพิจารณาปัญหาของคนทั้ง<br />

ประเทศ ที ่มีผลประโยชน์แห่งชาติร่วมกันเป็นหนึ ่งเดียว (representative as trustee) อคติต่อการปกป้องผลประโยชน์ท้องถิ่นที ่คับ<br />

แคบไม่สามารถน าไปสู ่ผลประโยชน์ส่วนรวมได้ ดังนั้น เอ็ดมันด์ เบิร์ค บอกประชาชนในเขตเลือกตั้งของเขาอย่างชัดเจนว่า เขาไม่<br />

ผูกพันกับค าสั่งหรือข้อเรียกร้องจากคนที ่เลือกเขาเข้าสภา แต่เขาจะตัดสินใจจากความคิดเห็นส่วนตัวที ่ไม่มีอคติ โดยใช้<br />

วิจารณญาณ และสามัญส านึกเป็นที ่ตั้ง ซึ ่งสอดคล้องกับแนวคิดของผู้ร่างรัฐธรรมนูญสหรัฐฯ เช่น เจมส์ เมดิสัน (James Madison)<br />

ได้แสดงความเห็นผ่านเอกสารที ่เรียกว่า “ the Federalist Papers” หมายเลข 10 ว่าคุณสมบัติการเป็นตัวแทนในระบบการเมือง<br />

จะต้องเป็นผู้ที ่ฉลาดกว่า มีความรักชาติ และความยุติธรรมมากกว่า อันจะน าไปสู ่การเล็งเห็นผลประโยชน์ส่วนรวมของมหาชนได้<br />

ดีกว่าการกระท าตามสิ่งที ่ประชาชนต้องการเท่านั้น ขณะที ่ความต้องการของมหาชนที ่ว่านี ้อาจน าไปสู ่การเอารัดเอาเปรียบ หรือ<br />

กดขี ่กลุ่มอื ่นๆ ได้เช่นกัน (Hamilton, Madison <strong>and</strong> Jay, 2003: 76-77)<br />

ต่อมาเมื ่อคลื ่นแห่งกระแสประชาธิปไตยแผ่ขยายไปทั่วโลก พร้อมๆ กับการตอกย ้าถึงความส าคัญของ “เสียงของ<br />

ประชาชนคือเสียงสวรรค์” (vox populi vox dei) ที ่เพิ่มขึ ้น แนวคิดว่าด้วยสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเป็นตัวแทนผลประโยชน์<br />

แห่งชาติของเอ็ดมันด์ เบิร์ค ถูกทดแทนด้วยความเชื ่อว่า “ผู้แทน” คือผู้ได้รับมอบหมายให้ท าหน้าที ่ “แทน” ประชาชน<br />

(representative as a delegate) ดังนั้นจึงควรท าตามค าสั่งและความต้องการของผู้เลือกตั้ง และจะไม่ท าการในสิ่งที ่ผู้เลือกตั้ง<br />

ไม่ประสงค์ให้ท า<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในสังคมไทยนั้น ปัญหาซึ ่งกลายเป็นรากเหง้าแห่งปัญหาทั้งปวงคือ การที ่ผู้รับมอบอ านาจไปท าหน้าที ่เป็นตัวแทนไม่ได้<br />

ท าหน้าที ่ทั้งในมิติที ่มีผลประโยชน์แห่งชาติร่วมกันเป็นหนึ ่งเดียว (trustee) และมิติที ่สะท้อนความต้องการของผู้เลือกตั้ง (delegate)<br />

ส่วนหนึ ่งเป็นเพราะการขาดกลไกให้ประชาชนเข้าถึงข้อมูลการท าหน้าที ่ของตัวแทน ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมาย เข้าประชุมสภา<br />

หรือตรวจสอบรัฐบาล ในสังคมไทย ประชาชนน้อยคนและน้อยครั้งที ่ใช้สิทธิเลือกตั้งเพื ่อลงโทษและควบคุมตัวแทนของตน ท าให้<br />

การแข่งขันเพื ่อรักษาผลประโยชน์ของประชาชนไม่สมบูรณ์ และน าไปสู ่ภาวะ “ไม่จ าเป็นต้องใช้ความพยายาม” (failure of effort)<br />

ของตัวแทนไทย ประเด็นเรื ่องเจ้าของอ านาจและผู้รับมอบอ านาจในระบบรัฐสภาไม่ใช่เป็นเพียงความสัมพันธ์ระหว่างประชาชนและ<br />

ตัวแทนเท่านั้น แต่ยังครอบคลุมถึงความสัมพันธ์เชิงอ านาจระหว่างฝ่ายบริหารและฝ่ายนิติบัญญัติ ในระบอบประชาธิปไตยระบบ<br />

รัฐสภาที ่ประชาชนเลือกสมาชิกสภา ผู้แทนราษฎร และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรเลือกนายกรัฐมนตรี จากนั้นนายกรัฐมนตรีจึง<br />

แต่งตั้งคณะรัฐมนตรีอีกชั้นหนึ ่ง ท าให้สมาชิกรัฐสภามีฐานะเป็นเจ้าของอ านาจ (principal) ล าดับที ่สองที ่ได้ยินยอมส่งทอดอ านาจ<br />

บริหารไปยังนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ฝ่ายหลังจึงอยู ่ในฐานะผู้รับมอบอ านาจ (agent) จากรัฐสภา ซึ ่งเป็นที ่มาของหลักการ<br />

ที ่ฝ่ายบริหารต้องรับผิดชอบต่อ (accountable to) ฝ่ายนิติบัญญัติ (สิริพรรณ, 2552: 403-452)<br />

43


ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ประเทศหนึ ่งจะเป็นประชาธิปไตยได้ ขึ ้นอยู ่กับการมีกลไกที ่ให้เจ้าของอ านาจสามารถ “เลือก” และ “ควบคุม” การท า<br />

หน้าที ่ของตัวแทนหรือผู้รับมอบอ านาจได้ ในทางปฏิบัติการเลือกและการควบคุมรวมถึงการลงโทษและการให้รางวัล นั่น<br />

หมายความว่าประชาชนมีอ านาจในการเลือก ควบคุม ลงโทษ และให้รางวัลผู้แทนของตน และสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรที ่มาจาก<br />

การเลือกตั้งของประชาชนต้องมีอ านาจเลือก ควบคุม ลงโทษ และให้รางวัลนายกรัฐมนตรีและคณะรัฐมนตรี ในฐานะที ่เป็นผู้รับมอบ<br />

อ านาจจากประชาชนโดยตรง<br />

โดยทั่วไป กลไกการตรวจสอบในความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของอ านาจและผู้รับมอบหมายสามารถแบ่งได้เป็น 4 ช่องทาง<br />

คือ 1) การรักษาสัญญาระหว่างเจ้าของอ านาจและผู้รับมอบอ านาจ 2) กระบวนการสรรหาและการคัดเลือก 3) การตรวจสอบและ<br />

การเรียกร้องความต้องการโดยเจ้าของอ านาจ และ 4) กลไกการตรวจสอบเชิงสถาบัน<br />

ในระบอบประชาธิปไตย กระบวนการเพื ่อให้ได้ตัวแทนคือการเลือกตั้ง ปัญหาในการเลือกตัวแทนแบ่งได้กว้างๆ เป็นสอง<br />

ประเด็นคือ 1) เลือกผิดเพราะความไม่รู้อันเกิดจากข้อมูลถูกปิดบัง (hidden information) และ 2) ระบบเลือกตั้งที ่ไม่เอื ้อให้ได้<br />

ตัวแทนที ่มีความชอบธรรม จะเห็นว่า “การเลือกตัวแทน” เป็นจุดเริ่มต้นในการให้สัญญาระหว่างเจ้าของอ านาจและผู้รับมอบอ านาจ<br />

ดังนั้น กระบวนการสรรหาและการคัดเลือกผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองจึงเป็นมาตรการที ่ควบคุมสายสัมพันธ์ระหว่างประชาชนกับ<br />

ตัวแทนก่อนเข้ารับต าแหน่ง (ex ante) และเมื ่อเป็นตัวแทนแล้ว ระบบการเมืองต้องมีมาตรการควบคุมสายสัมพันธ์ระหว่าง<br />

ประชาชนกับตัวแทนภายหลังเข้ารับต าแหน่ง (ex post) เพื ่อก ากับให้การท าหน้าที ่ของตัวแทนถูกตรวจสอบได้โดยเจ้าของอ านาจ<br />

คือประชาชนผู้เลือกตั้ง การเลือกผิดนอกจากจะท าให้ประชาชนได้ตัวแทนที ่ไร้ความรู้ความสามารถ ยังได้ผู้รับมอบอ านาจที ่มีการ<br />

กระท าอันซ่อนเร้น (hidden action) ที ่ผิดแผกไปจากเจตนารมณ์ของเจ้าของอ านาจ ผลก็คือตัวแทนไม่ค านึงถึงประโยชน์ของ<br />

เจ้าของอ านาจ ใช้อ านาจจนก่อให้เกิดปัญหามาตรฐานทางจริยธรรม (moral hazard) พฤติกรรมของตัวแทนที ่มีผลประโยชน์และ<br />

แรงจูงใจในการท าหน้าที ่ไม่สอดคล้องและไม่ตอบสนองผลประโยชน์ของเจ้าของอ านาจที ่ผ่านมาส่งผลให้เกิดความไม่ไว้วางใจ<br />

(distrust) ของประชาชนซึ ่งเป็นเจ้าของอ านาจ (principal) ที ่มีต่อสมาชิกรัฐสภาและรัฐบาลซึ ่งเป็นตัวแทนที ่ได้รับมอบหมาย<br />

(agent) ความไม่ไว้วางใจดังกล่าวถือได้ว่าเป็นส่วนหนึ ่งของปัญหาความชอบธรรมในการใช้อ านาจของฝ่ายนิติบัญญัติและบริหาร<br />

ซึ ่งจะส่งผลต่อเสถียรภาพของระบบการเมืองในระยะยาว (สิริพรรณ, 2552: 403-452)<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Civil Society’<br />

สิริพรรณ นกสวน สวัสดี (2552). “ความเป็นตัวแทน กลไกตรวจสอบ และระบบเลือกตั้ง:<br />

ข้อคิดในการออกแบบสถาบันการเมือง”. รัฐศาสตร์สาร 30 ปี ธรรมศาสตร์ 60 ปี. เล่ม 1. กรุงเทพ: โรงพิมพ์<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.<br />

Birch, Anthony H. (2007). The <strong>Concept</strong>s <strong>and</strong> Theories of Modern <strong>Democ</strong>racy. 3 rd<br />

edition. London: New York, Routledge.<br />

44


Burke, Edmund (1877). “Speech to the Electors of Bristol”. The Works of the Right Honorable Edmund Burke, Vol. 2, 5 th<br />

edition. Boston: Little Brown.<br />

Hamilton, Alex<strong>and</strong>er (2003). The Federalist Papers. New York: Signet Classics.<br />

Kiewiet, D. Roderick <strong>and</strong> Mathew D. McCubbins (1991). The Logic of Delegation. Chicago: University of Chicago Press.<br />

Vieira, Monica Brito <strong>and</strong> David Runciman (2008). Representation: Key <strong>Concept</strong>. Cambridge, UK: Polity Press.<br />

45


AMNESTY<br />

กำรนิรโทษกรรม<br />

ควำมหมำย<br />

การนิรโทษกรรม (Amnesty) มีรากศัพท์มาจากค าว่า "amnesia" ซึ ่งหมายถึงสภาวะที ่คนๆ หนึ ่งได้สูญเสียความทรงจ าใน<br />

เรื ่องหนึ ่งๆ ไป ดังนั้น ค าว่านิรโทษกรรมจึงหมายถึงกระบวนการลบล้างความผิดให้แก่บุคคล กลุ่มบุคคล หรือ คณะบุคคล เป็นการ<br />

เฉพาะ ประหนึ ่งว่าการกระท าความผิดนั้นมิเคยเกิดขึ ้น ซึ ่งโดยส่วนมากแล้วมักจะเป็นคดีความทางการเมือง<br />

การนิรโทษกรรม มีความหมายมากไปกว่าการอภัยโทษ (pardon) เพราะการอภัยโทษเป็นแค่เพียงการยกโทษให้ หรือ<br />

ยกเลิกการลงโทษ แต่ไม่ได้ยกเลิกความผิดที ่ได้ตัดสินตามกระบวนการยุติธรรมไปแล้ว ในขณะที ่การนิรโทษกรรมจะเป็นการ<br />

ยกเลิกทั้งความผิดและการลงโทษตามกระบวนการยุติธรรมที ่ผ่านมา หรือในกรณีที ่การกระท าดังกล่าวยังไม่ผ่านกระบวนการ<br />

พิจารณาตามกระบวนการยุติธรรม ก็ให้ถือว่าการกระท านั้นไม่เป็นความผิด ตลอดจนเลือกที ่จะลืมเหตุการณ์ที ่ผ่านมา และความ<br />

ทรงจ าที ่ถูกบันทึกไว้อย่างเป็นทางการของความผิดนั้นให้ถูกลบออกไปทั้งหมด และให้ผู้กระท าการนั้น พ้นจากความรับผิดโดย<br />

สิ ้นเชิง วิธีการนิรโทษกรรมตามหลักสากล มักใช้ร่วมกับวิธีการตรวจสอบหาความจริง หากพบว่ามีการละเมิดสิทธิมนุษยชน ซึ ่ง<br />

ส่งผลให้ความไว้วางใจของประชาชนที ่มีต่อรัฐลดน้อยลง ถือเป็นความล้มเหลวของรัฐ (โปรดดู the State) ที ่รัฐต้องรับผิดชอบกับ<br />

การกระท าที ่ท าลงไป เพื ่อป้องกันมิให้เกิดซ ้าอีก ในกรณีนี ้ รัฐอาจให้มีการชดเชยแก่ผู้เสียหายหรือญาติพี ่น้อง เพื ่อเป็นการเยียวยา<br />

ผู้ได้รับผลกระทบ และเพื ่อให้เกิดการปรับปรุงวิธีปฏิบัติและการกระท าที ่เลวร้ายในอดีตให้ดีขึ ้น การนิรโทษกรรมจึงมักถูกน ามาใช้<br />

เป็นเครื ่องมือเพื ่อยุติความขัดแย้งในกรณีที ่รัฐบาลเห็นว่ามีความส าคัญอย่างยิ่งยวด และเชื ่อมั่นว่าผลจากการนิรโทษกรรมจะเป็นที ่<br />

ยอมรับของประชาชนโดยทั่วไป<br />

โดยสรุป ความแตกต่างระหว่างการนิรโทษกรรม (amnesty) และการอภัยโทษ (pardon) ได้แก่<br />

1) นิรโทษกรรม หมายถึงลืมหมดสิ ้นว่าเคยมีการกระท าดังกล่าวเกิดขึ ้น (forgetfulness) ขณะที ่อภัยโทษ หมายถึงการให้<br />

อภัย เพราะสงสาร จึงยกโทษให้ (forgiveness)<br />

2) การอภัยโทษจะเป็นรายบุคคล (ระบุชื ่อ แต่คราวละหลายคนก็ได้) นิรโทษกรรม จะท าเป็นหมู ่คณะ<br />

3) นิรโทษกรรม อาจท าในกรณีที ่คณะบุคคลนั้นยังไม่เคยผ่านกระบวนการยุติธรรมใดๆ หรือต้องค าพิพากษา แต่การอภัย<br />

โทษ ต้องมีการพิพากษาว่ามีการกระท าผิดเกิดขึ ้นแล้ว<br />

4) นิรโทษกรรมเป็นวิธีการทางการเมือง เพื ่อแก้ปัญหาที ่มีความส าคัญระดับชาติ (national importance) จึงมักท าการนิร<br />

โทษกรรมคณะบุคคล ในเหตุการณ์ส าคัญ ไม่ใช่เป็นการนิรโทษกรรมให้แก่ปัจเจกบุคคล<br />

5) การอภัยโทษ ข้อมูลประวัติอาชญากรรมจะไม่ถูกลบทิ ้ง เนื ่องจากศาลได้วินิจฉัยว่ามีความผิดแล้ว<br />

46


อรรถำธิบำย<br />

การนิรโทษกรรมปรากฏขึ ้นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ตั้งแต่สมัยกรีกโบราณ คือในเอเธนส์เมื ่อราวๆ สี ่ร้อยปีก่อนคริสตกาล<br />

ที ่เอเธนส์ได้พ่ายแพ้ต่อสปาตาร์ในสงครามเพโลพอนนีเซียน (Peloponnesian War) คณะทหารกลุ่มหนึ ่งน าโดยทราไซบูลุส<br />

(Thrasybulus) และอัลซีไบอะดีส (Alcibiades) ได้ก่อการปฏิวัติต่อผู้ปกครองที ่ได้ชื ่อว่าคณะทรราชสามสิบคน (The Thirty<br />

Tyrants) ซึ ่งเป็นตัวแทนของการปกครองที ่สปาตาร์ได้จัดวางเอาไว้หลังจากสิ ้นสุดสงคราม และเมื ่อทราไซบูลุส ก่อการจนส าเร็จเสร็จสิ ้น<br />

แล้ว สิ่งส าคัญประการแรกสุดที ่เขาได้ท าก็คือ การน าการปกครองในระบอบประชาธิปไตยกลับคืนสู ่เอเธนส์ และพร้อมๆ กันนั้นก็ได้<br />

ออกค าสั่งนิรโทษกรรมให้แก่บุคคลส่วนใหญ่ของคณะทรราชสามสิบคนเพื ่อสร้างความสมานฉันท์ให้แก่เอเธนส์<br />

หลังจากนั้นอีกหลายพันปี ในยุคสมัยแห่งการรื ้อฟื ้นระบอบกษัตริย์ (restoration) ของอังกฤษ พระเจ้าชาร์ลที ่ 2 ได้มีการ<br />

ออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมให้แก่บุคคล หรือ คณะบุคคล ที ่เคยเป็นปฏิปักษ์ต่อระบอบกษัตริย์ในสมัยพระเจ้าชาร์ลที ่ 1<br />

เพียงแต่จะไม่ครอบคลุมถึงบุคคลที ่มีส่วนเกี ่ยวข้องกับการตัดสินประหารชีวิตพระเจ้าชาร์ลที ่ 1 ไว้ในพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมนี ้<br />

ด้วยเท่านั้นเอง ตัวอย่างทั้งสองกรณีที ่ได้ยกมานั้นเป็นการใช้การนิรโทษกรรมเป็นเครื ่องมือทางการเมืองในการลบล้างโทษ และ<br />

ความผิดที ่เกิดขึ ้นจากประเด็นวิวาทและความขัดแย้งทางการเมือง โดยหวังว่าจะน าไปสู ่ความปรองดองสมานฉันท์ในสังคม (โปรด<br />

ดู Reconciliation)<br />

การปฏิวัติ รัฐประหารที ่เกิดขึ ้นในระบอบการปกครองทุกระบอบอาจถือได้ว่าเป็นความพยายามเล่นนอกกติกาทาง<br />

อ านาจของระบอบการปกครองนั้นๆ เช่น การปฏิวัติในระบอบราชาธิปไตยก็เป็นการเล่นนอกกติกาของอ านาจที ่จะต้องมาจาก<br />

การสืบสันตติวงศ์ หรือ การรัฐประหารในระบอบประชาธิปไตยเองก็ถือเป็นการเล่นนอกกติกาทางอ านาจของระบอบประชาธิปไตย<br />

ที ่จะต้องมาจากการเลือกตั้งของประชาชนด้วยเช่นกัน ดังนั้น เมื ่อเกิดการปฏิวัติ หรือ การรัฐประหารขึ ้นไม่ว่าจะในระบอบการ<br />

ปกครองใดก็ตาม หากคณะปฏิวัติ/รัฐประหารประสบความส าเร็จในการก่อการก็จะกลายเป็นองค์อธิปัตย์ใหม่ แต่กระนั้นเพื ่อเป็น<br />

เกราะคุ้มภัยให้แก่ตนเองจากภยันตรายของกระแสต่อต้านการปฏิวัติ รัฐประหาร ที ่อาจเกิดขึ ้นในภายหลัง อันเป็นผลของการเล่น<br />

นอกกติกาของระบอบการปกครองแบบเดิม คณะผู้ก่อการจึงจ าเป็นต้องอาศัยอ านาจอธิปไตยที ่เพิ่งได้มานี ้ในการตรากฎหมายเพื ่อ<br />

นิรโทษกรรมความผิดในการก่อการปฏิวัติรัฐประหาร หรือ อีกนัยหนึ ่งก็คือท าให้การเล่นนอกกติกาของระบอบการปกครองเก่าของ<br />

พวกตนนั้นชอบธรรม และไม่สามารถถูกเอาผิดจากผู้ที ่สนับสนุนระบอบการปกครองเดิมได้ เช่น การที ่คณะราษฎรต้องรีบร้อนให้<br />

พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัวทรงลงพระปรมาภิไธยตราพระบรมราชโองการพระราชก าหนดนิรโทษกรรมในคราว<br />

เปลี ่ยนแปลงการปกครองแผ่นดิน พุทธศักราช 2475<br />

(ดูตัวบทได้ใน http://www.lawreform.go.th/lawreform/images/th/legis/compe/th/law/2475/b901-20-2475-001.htm)<br />

ประเทศแอฟริกาใต้ในสมัยประธานาธิบดีเฟดริค วิลลิม เดอ เคลิร์ก (F. W. de Klerk) จัดให้มีคณะกรรมการความจริงและ<br />

ความปรองดองแห่งแอฟริกาใต้ (South Africa’s Truth <strong>and</strong> Reconciliation Commission) เพื ่อบังคับใช้กฎหมายนิรโทษกรรมในปี<br />

ค.ศ.1992 วัตถุประสงค์หลักของการใช้กฎหมายนิรโทษกรรมในแอฟริกาใต้คือต้องการยุติสงครามต่อต้านการปกครองของคนขาว<br />

(the battle against white rule) และความรุนแรงในการแบ่งแยกสีผิว (apartheid) ที ่ด าเนินอยู ่ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1990 โดยกฎหมายมี<br />

เนื ้อหายกเลิกการเอาผิดและจะไม่ด าเนินคดีกับบุคคลที ่ก่ออาชญากรรมทั้งปัจเจกบุคคลและกลุ่มองค์กร ไม่ว่าจะเป็นนักการเมือง<br />

47


เจ้าหน้าที ่รัฐ หรือประชาชนทั่วไปที ่ปล้น ฆ่า เผา ใช้ความรุนแรง หรืออาชญากรรมอื ่นใดก่อนวันที ่ 9 ตุลาคม ค.ศ. 1990 โดยที ่<br />

บุคคลต้องมาขึ ้นทะเบียนเพื ่อขอนิรโทษกรรมกับรัฐสภา และจะต้องอธิบายและพิสูจน์ให้คณะกรรมการฯ เห็นว่าการกระท าดังกล่าว<br />

เกิดขึ ้นจากแรงจูงใจและเหตุผลทางการเมือง มิใช่การท าผิดทั่วไป กฎหมายดังกล่าวมีลักษณะส าคัญ 3 ประการคือ 1) การนิรโทษ<br />

กรรมในแอฟริกาใต้ไม่ได้เป็นประโยชน์ต่อเฉพาะกลุ่มนักการเมืองที ่กระท าผิดเท่านั้น 2) การกระท านั้นจ ากัดอยู ่เฉพาะประเด็นที ่<br />

เกี ่ยวข้องกับการเมือง ไม่ครอบคลุมถึงการกระท าผิดในรูปแบบอื ่น เช่นการโกงกิน ทุจริต คอร์รัปชั่น และ 3) มีการแต่งตั้ง<br />

คณะกรรมการไต่สวนสอบสวนอย่างเป็นทางการ มิใช่พอออกกฎหมายแล้ว จะพ้นผิดโดยปราศจากการพิจารณา ที ่จริงแล้ว<br />

กฎหมายดังกล่าวในแอฟริกาใต้ได้รับการวิจารณ์อย่างมากว่ารัฐบาลของประธานาธิบดีเดอ เคลิร์ก ต้องการลบล้างความผิดและ<br />

ท าลายหลักฐานการกระท ารุนแรงโดยมิชอบของรัฐบาล แต่ในที ่สุดกฎหมายก็ผ่านรัฐสภาได้เพราะกลุ่มต่อต้านก็ได้ประโยชน์จาก<br />

การปลดปล่อยนักโทษการเมืองและนักรบที่ต้องลี้ภัยอยู ่นอกประเทศให้เป็นอิสระ จึงเป็นกฎหมายที ่ทั้งสองฝ่ายได้ประโยชน์<br />

ร่วมกันอย่างชัดเจน<br />

ความส าเร็จในการนิรโทษกรรมที ่กล่าวถึงกันมากคือ การนิรโทษกรรมในแอฟริกาใต้ซึ ่งริเริ่มโดยรัฐบาลนายเนลสัน แมน<br />

เดลา (Nelson M<strong>and</strong>ela) ผู้เป็นหนึ ่งในเหยื ่อหรือผู้เสียหายร่วมกับคนผิวด าจ านวนมาก ได้ออกกฎหมายนิรโทษกรรมหรือกฎหมาย<br />

เพื ่อสร้างความเป็นอันหนึ ่งอันเดียวกันและความปรองดองแห่งชาติ (Promotion of National Unity <strong>and</strong> Reconciliation Act) โดย<br />

จัดตั้งคณะกรรมการเพื ่อการค้นหาความจริงและการปรองดองแห่งแอฟริกาใต้ (South Africa’s Truth <strong>and</strong> Reconciliation<br />

Commission---TRC) ขึ ้นมาอีกครั้งในปี ค.ศ. 1995 และเริ่มมีการไต่สวนตรวจสอบข้อเท็จจริงปี ค.ศ. 1996 คณะกรรมการดังกล่าว<br />

มีอ านาจนิรโทษผู้กระท าผิดได้ การนิรโทษกรรมในแอฟริกาใต้มีเงื ่อนไขที ่รัดกุมซับซ้อน กล่าวคือในเบื ้องต้นใช้เป็นเครื ่องมือ<br />

แลกเปลี่ยนระหว่างการยอมเปิดเผยข้อเท็จจริงต่อสาธารณะกับการได้รับนิรโทษกรรม โดยผู้กระท าผิด ต้องยอมถูกไต่<br />

สวนสาธารณะ ต้องยอมเปิดเผยข้อเท็จจริงอันเป็นประโยชน์ในการคลี ่คลายเหตุการณ์ และต้องยอมรับผิดในการกระท าที ่ก่อขึ ้น<br />

รวมทั้งขอขมาเหยื ่อของตน หลังจากนั้นผู้กระท าผิด จึงจะยื ่นขอนิรโทษมาที ่คณะกรรมการฯ ซึ ่งคณะกรรมการจะปรึกษาเหยื ่อหรือ<br />

ญาติของผู้เสียหาย แล้วจึงเลือกนิรโทษกรรมเป็นกรณีๆ เมื ่อการนิรโทษกรรมเกิดขึ ้น จะมีการจัดท ารายงานเผยแพร่ต่อสาธารณะ<br />

ซึ ่งผลก็คือท าให้สังคมตระหนักรู้ร่วมกันว่าการกระท าใดที ่ถือเป็นความผิด มีการส านึกผิด และเป็นบทเรียนที ่สังคมได้จดจ าเรียนรู้<br />

ร่วมกัน<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในประเทศไทยมีการใช้การนิรโทษกรรมเป็นเครื ่องมือลดความขัดแข้งทางการเมืองมาตลอดตั้งแต่การเปลี ่ยนเปลี ่ยน<br />

การปกครองมาสู ่ระบอบประชาธิปไตย โดยออกเป็นทั้งพระราชก าหนด และ พระราชบัญญัติ เช่น พระราชก าหนดนิรโทษกรรม<br />

แก่ผู้กระท าความผิดฐานกบฏและจลาจล พุทธศักราช 2488 พระราชก าหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าความผิดเนื ่องในการชุมนุม<br />

กัน ระหว่างวันที ่ 17 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ถึงวันที ่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการ<br />

อันเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายในราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญาและความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการ<br />

ป้องกันการกระท าอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2532 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการยึดอ านาจการปกครองแผ่นดิน เมื ่อ<br />

วันที ่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2520 พ.ศ.2520 (ดูตัวบทกฎหมายนิรโทษกรรมของประเทศไทย ได้ใน<br />

http://www.lawreform.go.th/lawreform/index.php?option=com_lawreform&Task<br />

48


=showlaw&hidemainmenu=1&lid=316&gid=6&Itemid=18)<br />

ตำรำงสรุปจ ำนวนกำรนิรโทษกรรมในประเทศไทยที่ผ่ำนมำ<br />

ครั้งที่ กฎหมำย<br />

1 พระราชก าหนดนิรโทษกรรมในคราวเปลี ่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475<br />

2 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในการจัดการให้คณะรัฐมนตรีลาออกเพื ่อให้มีการเปิดสภา<br />

ผู้แทนราษฎรตามรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2476<br />

3 พระราชก าหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าความผิดฐานกบฏและจลาจล พ.ศ. 2488<br />

4 พระราชบัญญัติอนุมัติพระราชก าหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าความผิดฐานกบฏและ<br />

จลาจล พ.ศ. 2488<br />

5 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการต่อต้านการด าเนินการสงครามของญี ่ปุ่น<br />

พ.ศ. 2489<br />

6 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท ารัฐประหาร พ.ศ. 2490<br />

7 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ที ่ได้น ารัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2475<br />

กลับมาใช้ พ.ศ. 2494<br />

8 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ พ.ศ. 2499<br />

9 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการยึดอ านาจการบริหารราชการแผ่นดินเมื ่อ<br />

วันที ่ 16 กันยายน พ.ศ. 2500 พ.ศ. 2500<br />

10 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการปฏิวัติเมื ่อวันที ่ 20 ตุลาคม พ.ศ. 2501 พ.ศ.<br />

2502<br />

11 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในโอกาสครบ 25 พุทธศตวรรษ (ฉบับที ่ 2) พ.ศ. 2502<br />

12 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการปฏิวัติ เมื ่อวันที ่ 17 พฤศจิกายน พ.ศ. 2514<br />

พ.ศ. 2515<br />

13 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่นักเรียน นิสิต นักศึกษา และประชาชน ซึ ่งกระท า<br />

ความผิดเกี ่ยวเนื ่องกับการเดินขบวนเมื ่อวันที ่ 13 ตุลาคม พ.ศ. 2516 พ.ศ. 2616<br />

14 พระราชบัญญัติยกเลิกค าสั่งของหัวหน้าคณะปฏิวัติที ่ 36/2515 ลงวันที ่ 22 มิถุนายน<br />

พ.ศ. 2515 พ.ศ. 2517<br />

49


ตำรำงสรุปจ ำนวนกำรนิรโทษกรรมในประเทศไทยที่ผ่ำนมำ<br />

ครั้งที่ กฎหมำย<br />

15 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการยึดอ านาจการปกครองประเทศ เมื ่อวันที ่ 6<br />

ตุลาคม พ.ศ. 2519 พ.ศ. 2519<br />

16 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการอันเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายใน<br />

ราชอาณาจักร ระหว่างวันที ่ 25 และวันที ่ 26 มีนาคม พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520<br />

17 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการยึดอ านาจการปกครองแผ่นดิน เมื ่อวันที ่ 20<br />

ตุลาคม พ.ศ. 2520 พ.ศ. 2520<br />

18 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ ่งกระท าความผิดเนื ่องในการชุมนุมใน<br />

มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ระหว่างวันที ่ 4 ถึงวันที ่ 6 ตุลาคม 2519 พ.ศ. 2521<br />

19 พระราชก าหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้ก่อความไม่สงบเพื ่อยึดอ านาจการปกครองแผ่นดิน<br />

ระหว่างวันที ่ 31 มีนาคม ถึงวันที ่ 3 เมษายน พ.ศ. 2524 พ.ศ. 2524<br />

20 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ก่อความไม่สงบเพื ่อยึดอ านาจการปกครองแผ่นดิน<br />

ระหว่างวันที ่ 8 และวันที ่ 9 กันยายน พ.ศ. 2528 พ.ศ. 2531<br />

21 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการอันเป็นความผิดต่อความมั่นคงของรัฐภายใน<br />

ราชอาณาจักร ตามประมวลกฎหมายอาญาและความผิดตามกฎหมายว่าด้วยการป้องกัน<br />

การกระท าอันเป็นคอมมิวนิสต์ พ.ศ. 2532<br />

22 พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าการยึดและควบคุมอ านาจการปกครองแผ่นดิน<br />

เมื ่อวันที ่ 23 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2534 พ.ศ. 2534<br />

23 พระราชก าหนดนิรโทษกรรมแก่ผู้กระท าความผิดเนื ่องในการชุมนุมกันระหว่างวันที ่ 17<br />

พฤษภาคม พ.ศ. 2535 ถึงวันที ่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2535 พ.ศ. 2535<br />

ประเด็นการนิรโทษกรรมในประเทศไทยอยู ่ในความสนใจของสาธารณะมาตลอด ตั้งแต่เมื ่อนายกรัฐมนตรีสมัคร สุนทร<br />

เวช ชนะการเลือกตั้งปี พ.ศ. 2550 ครั้งนั้นมีความพยายามเสนอร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความปรองดองแห่งชาติหรือที ่ได้รับชื ่อ<br />

เล่นว่า “กฎหมายนิรโทษกรรม” ซึ ่งเป็นร่างพระราชบัญญัติที ่ประกอบด้วย 5 มาตรา มีเนื ้อหาพอสรุปได้ดังนี ้<br />

“เนื่องจากป ัจจุบันเหตุการณ์บ้านเมืองไม่ปกติ ประชาชนเกิดการแบ่งแยกทางความคิดอย่าง<br />

รุนแรง จนมีการแบ่งเป็นฝ ักเป็นฝ่าย สมควรสร้างความปรองดองแห่งชาติโดยการนิรโทษกรรมบุคคลที่<br />

มีความผิดตามกฎหมายหรือรัฐธรรมนูญ ซึ่งได้กระท าก่อนหรือหลังวันที่ 19 กันยายน 2549 หรือบุคคล<br />

ที่ได้รับผลร้ายจากองค์กรที่เกิดจากการปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์<br />

ทรงเป็นประมุข (คปค.) ในความผิดเกี่ยวกับ (1) การต่อต้านการบริหารราชการแผ่นดิน (2) การต่อต้าน<br />

50


การยึดอ านาจการปกครองประเทศ (3) การปฏิบัติหน้าที่ในองค์กรอิสระตามรัฐธรรมนูญและองค์กรตาม<br />

รัฐธรรมนูญ (4) การปฏิบัติหน้าที่ใน คตส.และการที่บุคคลหรือคณะบุคคลหรือนิติบุคคลซึ่งได้รับผลร้าย<br />

จาก คตส. (5) การที่เจ้าหน้าที่ของรัฐเข้าระงับปราบปรามหรือสลายการชุมนุมของกลุ่มบุคคล ตาม (1)<br />

(2) ส่วน (6) การที่บุคคลหรือคณะบุคคลที่บริหารราชการแผ่นดินและตามประกาศ คปค.ฉบับ 30 โดยผู้<br />

ที่ได้รับนิรโทษกรรมให้รวมถึงผู้กระท าทั้งในฐานะตัวการ ผู้สนับสนุน ผู้ใช้ให้กระท าหรือผู้ถูกใช้ให้กระท า<br />

หากการกระท านั้นเป็นความผิดตามกฎหมายให้ผู้นั้นพ้นจากความผิดและความรับผิดทั้งในทางอาญา<br />

ทางแพ่งและทางปกครอง หากผู้นั้นถูกตัดสิทธิทางการเมือง ให้คืนสิทธิทางการเมืองแก่ผู้นั้นด้วย แต่ผู้<br />

ได้รับนิรโทษกรรมไม่สามารถเรียกร้องสิทธิหรือประโยชน์ใดๆ ทั้งสิ ้น….”<br />

ต่อมาในปี พ.ศ. 2555 มีสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรกลุ่มหนึ ่งน าโดย พล.อ. สนธิ บุญยรัตกลิน อดีตผู้น าของ คมช.(คณะมนตรี<br />

ความมั่นคงแห่งชาติ) ผู้ก่อการรัฐประหารในวันที ่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 ได้เสนอร่างพระราชบัญญัติปรองดองฯ เข้าสู ่รัฐสภา โดย<br />

หลักใหญ่ใจความและสาระส าคัญของร่างพระราชบัญญัติปรองดองฯ ฉบับดังกล่าวนี ้อยู ่ที ่การจัดให้มีการนิรโทษกรรมความผิดให้แก่<br />

ทุกๆ ฝ่ายในปัญหาความขัดแย้งที ่เกิดขึ ้นจากการชุมนุมทางการเมืองไทยตั้งแต่วันที ่ 15 กันยายน พ.ศ.2548 เป็นต้นมาจนถึงวันที ่<br />

10 พฤษภาคม พ.ศ. 2554 แต่ร่างพระราชบัญญัติดังกล่าวมิได้ถูกน าเข้าสู ่กระบวนการพิจารณาในรัฐสภา<br />

ในช่วงกลางปี พ.ศ.2556 รัฐบาลโดยพรรคเพื ่อไทย และ ส.ส.ของพรรครัฐบาลได้พยายามเสนอร่างพระราชบัญญัติว่าด้วย<br />

การนิรโทษกรรม และความปรองดองแห่งชาติขึ ้นมาใหม่อีกครั้ง ในบรรดาร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรม และร่างพระราชบัญญัติ<br />

เพื ่อการปรองดองทั้งหมด มีสองฉบับที ่ได้รับความสนใจมากที ่สุด คือ ร่างพระราชบัญญัติปรองดองฯ ของนายวรชัย เหมะ<br />

สมาชิกสภาผู้แทนราษฎรจังหวัดสมุทรปราการ สังกัดพรรคเพื ่อไทย ที ่มีเนื ้อหามุ่งนิรโทษกรรมเฉพาะผู้ชุมนุมทางการเมืองทุกกลุ่ม<br />

ยกเว้นแกนน าผู้สั่งการ ในขณะที ่ร่างพระราชบัญญัติปรองดองฯ อีกฉบับของ ร.ต.อ. เฉลิม อยู ่บ ารุง รองนายกรัฐมนตรีนั้นมีเนื ้อหาที ่<br />

มุ่งนิรโทษกรรมให้กับทุกๆ ฝ่าย ซึ ่งรวมไปจนถึงแกนน า และผู้สั่งการด้วย จนได้ชื ่อว่าเป็นร่างพระราชบัญญัติปรองดองฯ “แบบสุด<br />

ซอย” ผลปรากฏว่าร่างพระราชบัญญัติฉบับของ ร.ต.อ. เฉลิมนี ้ได้รับการสนับสนุนจาก ส.ส. พรรคเพื ่อไทยเป็นจ านวนมาก ด้วย<br />

เหตุนี ้จึงก่อให้เกิดกระแสต่อต้านจากกลุ่มผู้ชุมนุมทางการเมืองโดยเฉพาะกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยขับไล่เผด็จการแห่งชาติ หรือ<br />

นปช. ที ่ต้องการสืบหาความจริง และไม่ต้องการปล่อยให้เรื ่องราวที ่เกิดขึ ้น โดยเฉพาะเหตุการณ์รัฐประหารปี พ.ศ. 2549 และการ<br />

สลายการชุมนุมในปี พ.ศ. 2553 ถูกลบไปจากหน้าประวัติศาสตร์ โดยไม่มีการวินิจฉัยว่าใครสั่งการและระบุผู้รับผิดชอบต่อ<br />

เหตุการณ์ดังกล่าว<br />

ในเดือนตุลาคม พ.ศ.2556 สภาผู้แทนราษฎรได้มีมติเห็นชอบรับหลักการร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ ่งกระท า<br />

ความผิดเนื ่องจากการชุมนุมทางการเมืองการแสดงออกทางการเมืองของประชาชน ที ่เสนอโดยนายวรชัย เหมมะ แต่ร่าง<br />

พระราชบัญญัตินี ้ กลับถูกแปรญัตติในชั้นกรรมาธิการจนมีเนื ้อหาครอบคลุมถึงหลายฝ่าย รวมถึง พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นาย<br />

อภิสิทธิ์เวชชาชีวะ และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ และย้อนเวลาให้ครอบคลุมถึงเหตุการณ์ในปี พ.ศ. 2547 จนมาถึงการกระท าใน<br />

เดือนสิงหาคม พ.ศ.2556 จนถูกเรียกขานว่าเป็นพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแบบสุดซอย หรือ เหมาเข่ง นอกจากนี ้สภา<br />

ผู้แทนราษฎรยังมีมติรับรองร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวด้วยกระบวนการที ่รวบรัด โดยผ่านความเห็นชอบวาระ 2 และวาระ 3<br />

51


ตอนตี 4 ของวันที ่ 31 ตุลาคม พ.ศ.2556 ท าให้มีเสียงคัดค้านจากประชาชนทุกกลุ่ม ทุกฝ่าย ทั้งจากญาติผู้สูญเสียจากเหตุการณ์ปี<br />

พ.ศ.2553 พรรคฝ่ายค้าน ทั้งคนเสื ้อเหลืองและเสื ้อแดง และจากแทบทุกภาคส่วนในสังคม<br />

กระแสต่อต้านที ่รุนแรงทั้งจากฝ่ายที ่เห็นว่าเป็นการล้างผิดต่อคดีคอร์รัปชั่น และฝ่ายที ่ไม่พอใจเพราะเป็นการไม่ด าเนินคดี<br />

เอาผิดกับผู้สั่งการและใช้อ านาจรัฐอย่างรุนแรงเกินขอบเขต ยังผลให้ประชาชนถึงแก่ชีวิต รวมถึงเป็นการยอมรับการรัฐประหารที ่<br />

ผ่านมา ท าให้วุฒิสภามีมติคว ่าร่างพระราชบัญญัติฉบับนี ้ และรัฐบาลมีมติถอนร่างพระราชบัญญัติทั้ง 6 ฉบับที ่เหลือออกจากวาระ<br />

การประชุมสภา และสัญญาว่าจะไม่น าร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมใดๆ เข้าสู ่การพิจารณาอีก ตลอดระยะเวลาการเป็นรัฐบาล<br />

(โปรดดู Transitional Justice)<br />

หัวใจส าคัญของการนิรโทษกรรมคือ การยอมรับผิดและการยอมรับการลงโทษโดยผู้กระท าผิด แต่ในสังคมไทยเมื ่อพูดถึง<br />

การนิรโทษกรรมจะเน้นที ่การละเว้นโทษทางกฎหมาย จะเห็นได้ว่า ค าถามส าคัญเกี ่ยวกับเรื ่องการนิรโทษกรรมส าหรับประเทศ<br />

ไทยในปัจจุบัน คือ เมื ่อมีการนิรโทษกรรมแล้วจะน าไปสู ่การยอมรับของคนทุกกลุ่มในสังคมหรือไม่ จะช่วยลดความขัดแย้งและ<br />

น าไปสู ่การปรองดองได้จริงหรือไม่ ดูเหมือนว่า ส าหรับคนจ านวนมาก การค้นหาความจริง การบังคับใช้กฎหมาย และน าตัว<br />

ผู้กระท าผิดมาลงโทษ มีความสลักส าคัญไม่น้อยไปกว่าต้องการให้คู ่ขัดแย้งทางการเมืองยอมรับร่วมกันว่า กฎหมายนิรโทษกรรมจะ<br />

มาลบล้างความผิดให้แก่ทุกฝ่าย และที ่ส าคัญควรสร้างความเข้าใจร่วมกันเสียแต่แรกว่า การนิรโทษกรรมจะส่งผลให้เป็นการยกเลิก<br />

ภาระรับผิดทางกฎหมายก่อนที ่จะมีการนิรโทษกรรมหรือไม่ เพราะหากเป็นเช่นนั้นก็เหมือนเป็นการเชื ้อเชิญให้คนละเมิดกฎหมาย<br />

และละเมิดสิทธิประชาชนสามารถพ้นผิดในที ่สุด โดยปราศจากการยอมรับผิดจากผู้กระท า<br />

ประวัติศาสตร์โลกแต่โบราณให้บทเรียนส าคัญประการหนึ ่งว่า ประชาธิปไตยต้องการการผสมผสานที ่ลงตัวระหว่างการ<br />

เลือกที ่จะจดจ าและจงใจที ่จะลืม เพื ่อสร้างความทรงจ าที ่เหมาะสมเกี ่ยวกับประชาธิปไตย หากสังคมไทยจะใช้การนิรโทษกรรมเป็น<br />

เครื ่องมือทางการเมือง เป้าหมายหลักที ่ควรบรรลุคือ เพื ่อให้การนิรโทษกรรมประทับความทรงจ าทางการเมืองที ่จะช่วยสร้างโอกาส<br />

ในการจรรโลงประชาธิปไตย<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

เมื ่อโลกได้พัฒนาไป ความหมายของการนิรโทษกรรมจึงไม่ได้ถูกจ ากัดอยู ่แต่เพียงการลบล้างความผิดเพื ่อสร้างความ<br />

สมานฉันท์ และปรองดองขึ ้นเท่านั้น หากแต่หมายรวมถึงการหยุดยั้งความผิดของนักโทษ หรือ ผู้ต้องหาทุกคนที ่ต้องตกอยู ่ภายใต้<br />

การบังคับใช้กฎหมายที ่ขัดต่อหลักสิทธิ เสรีภาพขั้นพื ้นฐานของประชาชนอันเป็นหลักการพื ้นฐานสากลที ่ทั่วโลกยอมรับ<br />

ภายใต้แนวคิดดังกล่าว องค์การนิรโทษกรรมสากล (Amnesty International หรือ AI) จึงได้ถูกก่อตั้งขึ ้น โดยเกิดขึ ้นครั้ง<br />

แรกในกรุงลอนดอน ประเทศอังกฤษ ในปี ค.ศ. 1961<br />

หลังจากที ่มีการตีพิมพ์บทความเรื ่อง “(นักโทษ) ผู้ถูกหลงลืม” (the<br />

forgotten) ลงในหนังสือพิมพ์ ดิ ออบเซอร์ฟเวอร์ (The Observer) โดยทนายความชาวอังกฤษ ชื ่อ ปีเตอร์ เบินเนนสัน (Peter<br />

Benenson) ซึ ่งเรียกร้องให้มีการปล่อยตัวนักศึกษาชาวโปรตุเกสที ่ถูกจับในข้อหาเฉลิมฉลองอวยพรให้แก่ “อิสรภาพ” (raising a<br />

toast to freedom)<br />

52


ด้วยเหตุนี ้องค์การนิรโทษกรรมสากลที ่ถูกจัดตั้งขึ ้นจึงมีจุดประสงค์หลักในการค้นคว้า และด าเนินการป้องกัน และยุติการ<br />

ละเมิดสิทธิมนุษยชน ตลอดจนการแสวงหาความยุติธรรมส าหรับผู้ที ่ถูกละเมิดสิทธิตามหลักสิทธิมนุษยชนสากล (อ้างใน<br />

Amnesty international [an international NGO] https://www.amnesty.org/) โดยหวังว่าจะสามารถพัฒนาขึ ้นเป็นศูนย์กลางของ<br />

การติดต่อข้อมูลข่าวสาร และเรื ่องราวที ่เกี ่ยวข้องกับการละเมิดสิทธิมนุษยชนจากทั่วทุกมุมโลก<br />

แม้การนิรโทษกรรมมักถูกมองว่าเป็นยาวิเศษที ่ช่วยให้ผู้กระท าผิดสามารถเอาตัวรอดจากการกระท าผิดที ่ได้ก่อไว้ แต่การ<br />

นิรโทษกรรมในโลกปัจจุบันจะถูกตรวจสอบและวิพากษ์วิจารณ์ในเวทีระหว่างประเทศอย่างเข้มข้น ดังนั้น การนิรโทษกรรมจึงควร<br />

ท าอย่างระมัดระวังและรัดกุม โดยควรมีขั้นตอนต่างๆ เช่น หนึ ่ง การนิรโทษกรรม ต้องท าหลังจากไต่สวนหาข้อเท็จจริง และระบุ<br />

ผู้กระท าผิดได้แล้ว สอง นิรโทษกรรมเฉพาะผู้กระท าผิดที ่ยอมเปิดเผยข้อเท็จจริงเกี ่ยวกับการกระท าผิดของตัวเอง สาม ผู้ที ่จะ<br />

ได้รับนิรโทษกรรม ต้องยอมรับผิดต่อผู้ได้รับผลกระทบจากการกระท า สี ่ ปรึกษาเหยื ่อหรือผู้ได้รับผลกระทบจากการกระท า ห้า<br />

แยกความผิดที ่จะให้นิรโทษกรรม โดยความผิดสถานเบาจะนิรโทษกรรมง่ายกว่าความผิดสถานหนัก เช่นการกระท าให้ถึงแก่ความ<br />

ตาย หรือพิการ ทุพพลภาพ ในปีพ.ศ. 2553 รัฐบาลอัฟกานิสถานออกกฎหมายนิรโทษกรรมแบบ “เหมาเข่ง” โดยไม่มีขั้นตอน 5<br />

ประการข้างต้น เป็นเหตุให้ องค์กรฮิวแมนไรทซ์วอทช์ (Human Rights Watch) แอมเนสตี ้อินเตอร์เนชันแนล (Amnesty<br />

International) และสหประชาชาติ (United Nations) รวมทั้งองค์กรสิทธิมนุษยชนทั่วโลกประณามการกระท าดังกล่าว<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Reconciliation’<br />

แอมเนสตี ้อินเตอร์เนชั่นแนล. งานของเรา. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.amnesty.or.th/.<br />

Amnesty international. Who we are. Accessed September 30, 2012 from<br />

https://www.amnesty.org/.<br />

53


AUTHORITARIANISM<br />

เผด็จกำรแบบอ ำนำจนิยม<br />

ควำมหมำย<br />

อ านาจนิยม (Authoritarianism)<br />

เป็นระบอบการเมืองที ่มีฐานอยู ่บนอุดมการณ์ทางการเมืองแบบเผด็จการชนิดที ่<br />

ผู้ปกครองสามารถใช้อ านาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือรัฐ หรือกลุ่มคนใดๆ ในการธ ารงไว้ซึ ่งเป้าหมายสูงสุดคือการรักษาอ านาจของ<br />

ตน (Kurian, 2011: 103) โดยมักจะไม่ค านึงถึงสิทธิ เสรีภาพของประชาชน ปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที ่เป็นปฏิปักษ์กับผู้น า<br />

ควบคุมสื ่อมวลชน ผูกขาดการใช้อ านาจและจ ากัดการตรวจสอบ<br />

กล่าวได้ว่า ระบอบอ านาจนิยมเป็นระบอบการเมืองที ่ใช้แพร่หลายมากที ่สุดเป็นระยะเวลายาวนานที ่สุดในประวัติศาสตร์<br />

การปกครองของมนุษยชาติ ทุกวันนี ้ “อ านาจนิยม” เป็นค าที ่ถูกใช้ถึงบ่อยครั้งที ่สุดเมื ่อกล่าวถึงระบอบการปกครองที ่ไม่เป็น<br />

ประชาธิปไตย ลักษณะเด่นของระบอบอ านาจนิยมคือ การกระท าและการตัดสินใจของผู้ปกครองไม่ถูกจ ากัดโดยสิทธิ เสรีภาพ และ<br />

ความเสมอภาคของประชาชน ในขณะที ่สิทธิ เสรีภาพของประชาชนมีอยู ่อย่างจ ากัด กล่าวอีกนัยหนึ ่ง สิทธิทางการเมืองของ<br />

ประชาชน หากมีอยู ่บ้าง ก็จ ากัดเต็มที ด้วยเหตุที ่ผู้ปกครองอ านาจนิยมจะสร้างกฎระเบียบ มาตรการที ่เข้มงวด เพื ่อจ ากัดกิจกรรม<br />

ของบุคคลและกลุ่มบุคคลที ่ต้องการมีส่วนร่วมในการจัดสรรสิ่งที ่มีคุณค่าในสังคม ในระบอบอ านาจนิยม ประชาชนส่วนใหญ่ในสังคม<br />

มักไม่ได้รับอนุญาตให้แสดงออกทางการเมืองใดๆ ยกเว้น กิจกรรมที ่ได้รับการสนับสนุนจากอ านาจรัฐ ฉะนั้น การต่อสู้ทาง<br />

การเมืองในรูปแบบการชุมนุมประท้วงและเดินขบวนตามจังหวะและโอกาส จึงแทบจะเป็นรูปแบบการมีส่วนร่วมชนิดเดียวที ่ท าได้<br />

ในขณะที ่เสรีภาพของสื ่อมวลชนและประชาชนที ่จะวิพากษ์วิจารณ์และตั้งค าถามต่อระบบการเมืองจะถูกตรวจสอบ หากฝ่าฝืนจะมี<br />

มาตรการลงโทษ<br />

อย่างไรก็ตาม ในระบอบอ านาจนิยม ประชาชนสามารถด าเนินชีวิตประจ าวันในส่วนที ่ไม่เกี ่ยวข้องกับมิติทางการเมืองได้<br />

อย่างปกติ สามารถเลือกประกอบอาชีพ นับถือศาสนา และสังสรรค์หาความสุขได้โดยไม่อยู ่ภายใต้การควบคุมโดยตรงจากรัฐบาล<br />

แต่กระนั้น ในบางประเทศสิทธิและเสรีภาพในการด าเนินชีวิตอาจถูกควบคุมโดยธรรมเนียมปฏิบัติ บรรทัดฐานหรือความเชื ่อทาง<br />

ศาสนาที ่เข้มงวด ซึ ่งอาจเป็นส่วนหนึ ่งหรือคนละส่วนกับอ านาจรัฐในระบบการเมืองก็ได้ ประเทศที ่จัดได้ว่าเป็นระบอบอ านาจนิยม<br />

เช่น อิหร่าน สหภาพเมียนมาร์ (พม่า--Union of Myanmar) ซาอุดิอาระเบีย และอินโดนีเซีย ภายใต้นายพลซูฮาร์โต เป็นต้น<br />

ที ่น่าสนใจคือ ประสบการณ์ทางการเมืองของประเทศในลาตินอเมริกา น ามาสู ่ค าเรียกขาน “ระบอบราชการ-อ านาจนิยม”<br />

(bureaucratic authoritarianism) ที ่ใช้อธิบายประเทศจ านวนหนึ ่งที ่เคยเป็นประชาธิปไตย แต่เกิดหักเหจนในที ่สุดระบอบ<br />

ประชาธิปไตยต้องล่มสลาย และถูกแทนที ่ด้วยแนวร่วมระหว่างคณะทหารกับพลเรือนที ่ท าการรัฐประหารยึดกุมสถาบันการเมือง<br />

ที ่มาจากการเลือกตั้ง ชนชั้นน าที ่ประกอบด้วย ทหาร ข้าราชการพลเรือน นักเทคนิคระดับสูง (technocrats) ตลอดจนนักธุรกิจชั้นน า<br />

ด าเนินนโยบายที ่เน้นการพัฒนาอุตสาหกรรม แต่ปิดกั้นการมีส่วนร่วมของประชาชนในการก าหนดนโยบาย และการเข้ามาแข่งขัน<br />

ในตลาดการเมือง โดยคณะทหารและระบบราชการดังกล่าว แสดงบทบาททางการเมืองในฐานะที ่เป็นสถาบัน ไม่ใช่ตัวบุคคล<br />

นักวิชาการลาตินอเมริกาวิเคราะห์ว่า ระบอบราชการ-อ านาจนิยม เป็นผลจากการพัฒนาอุตสาหกรรมแบบทุนนิยมพึ ่งพา ประเทศ<br />

ที ่จัดว่าใช้ระบอบราชการ-อ านาจนิยม เช่น บราซิล อาร์เจนตินา และ ชิลี<br />

54


อ านาจนิยมที ่มีการกล่าวถึงในยุคปัจจุบันมากที ่สุดคือ “อ านาจนิยมที ่มาจากการเลือกตั้ง” (electoral authoritarianisms)<br />

หรือระบอบอ านาจนิยมที ่มีเปลือกนอกฉาบด้วยผู้น าที ่มาจากการเลือกตั้ง ซึ ่งปรากฏให้เห็นในหลายประเทศแถบตะวันออกกลาง<br />

และแอฟริกาเหนือ (Linz, 2000: 34; Badie, 2011: 107)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดเรื ่องระบอบอ านาจนิยมเป็นผลจากบริบททางการเมืองหลังทศวรรษ 1960 เป็นต้นมา ที ่โลกได้แบ่งระบอบการ<br />

ปกครองต่างๆ ออกเป็น 2 ค่ายใหญ่ตามอุดมการณ์ทางการเมือง คือ ระบอบประชาธิปไตย และระบอบที ่ไม่เป็นประชาธิปไตย โดย<br />

ระบอบอ านาจนิยมถูกมองว่าเป็นรูปแบบหนึ ่งของระบอบที ่ไม่เป็นประชาธิปไตย<br />

ทฤษฎีเกี ่ยวกับอ านาจนิยมได้มีการศึกษาอย่างเป็นระบบครั้งแรกโดยฮวน เจ. ลินท์ (Juan J. Linz) ในปี ค.ศ. 1964 ลินท์<br />

ระบุว่าระบอบการปกครองแบบอ านาจนิยมนั้นจะต้องประกอบด้วยคุณสมบัติพื ้นฐาน 3 ประการอันได้แก่ 1) พหุนิยมแบบจ ากัด 2)<br />

การมุ่งไปที ่จิตใจมากกว่าอุดมการณ์ 3) ปราศจากการระดมสรรพก าลังทางการเมือง (political mobilization) เพื ่อการสนับสนุนใน<br />

ระยะยาว (Badie, 2011: 108)<br />

ความเป็นพหุนิยมแบบจ ากัดนั้นเป็นลักษณะประการหนึ ่งที ่ท าให้อ านาจนิยมอยู ่กึ ่งกลางระหว่างเผด็จการเบ็ดเสร็จ กับ<br />

ประชาธิปไตย เพราะในขณะที ่ระบอบประชาธิปไตยเปิดโอกาสให้มีพหุนิยมแบบเต็มรูปแบบ และเผด็จการเบ็ดเสร็จที ่ไม่เปิดโอกาส<br />

ให้มีพหุนิยมขึ ้นในสังคมเลยนั้น ระบอบอ านาจนิยมกลับเปิดโอกาสให้ความแตกต่างหลากหลายบางประการด ารงอยู ่ได้ ไม่ว่าจะ<br />

เป็นการยอมให้มีคู ่แข่ง หรือฝ่ายตรงข้ามทางการเมือง คือ พรรคการเมืองอื ่นๆ หรือภาคประชาสังคมบ้าง แต่กระนั้นสิ่งเหล่านี ้<br />

ก็มักจะต้องถูกจ ากัด และด าเนินกิจกรรมอยู ่ได้ก็โดยความยินยอมของผู้น าอ านาจนิยม ภายในขอบเขตที ่ถูกก าหนดไว้ เพราะโดย<br />

ส่วนใหญ่แล้วการยอมให้มีความแตกต่างในสังคมอยู ่บ้างนี ้ ก็มักจะเป็นเพียงการสร้างความชอบธรรมให้แก่การปกครองโดยคณะ<br />

ทหาร (military junta) หรือผู้น าที ่กุมอ านาจอยู ่เบื ้องหลังนั่นเอง ซึ ่งความก ้ากึ ่งเหล่านี ้นี ่เองที ่ท าให้ระบอบอ านาจนิยมไม่มีการ<br />

จัดระบบโครงสร้าง และอุดมการณ์ที ่อยู ่เบื ้องหลังอย่างเป็นระบบและชัดเจน อันเป็นที ่มาของลักษณะส าคัญประการที ่สองก็คือ การ<br />

มุ่งควบคุมจิตใจมากกว่าอุดมการณ์ ซึ ่งส่งผลให้ระบอบการปกครองนี ้ไม่สามารถระดมสรรพก าลังทางการเมือง เพื ่อให้ได้รับการ<br />

สนับสนุนอย่างต่อเนื ่องจากวัยรุ่นหนุ่มสาว นักวิชาการ และนักศึกษาปัญญาชนในสังคมได้นั่นเอง (Linz, 2000: 159-261)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ช่วงเวลาที ่ประเทศไทยปกครองด้วยระบอบอ านาจนิยมที ่ชัดเจนที ่สุดเห็นจะได้แก่ ช่วงปี พ.ศ. 2500 -2516 หรือ ในช่วง<br />

ระบอบสฤษดิ์และระบอบถนอม-ประภาส นั่นเอง โดยในช่วง พ.ศ. 2502-2506 ที่ได้มีการประกาศธรรมนูญการปกครอง พ.ศ.<br />

2502 ท าให้นายกรัฐมนตรี คือจอมพลสฤษดิ์สามารถใช้อ านาจตามมาตรา 17 ซึ ่งบัญญัติข้อความให้อ านาจแก่นายกรัฐมนตรีใน<br />

กรณีพิเศษไว้อย่างกว้างขวาง แม้กระทั่งสามารถสั่งประหารประชาชนโดยไม่ต้องผ่านกระบวนการยุติธรรม ไม่มีเสรีภาพของ<br />

สื ่อมวลชนในการน าเสนอข้อมูลข่าวสารต่างๆ และที ่ส าคัญก็คือ ไม่มีพรรคการเมือง และการเลือกตั้ง อ านาจการเมืองทั้งหมดจึง<br />

อยู ่ในมือของจอมพลสฤษดิ์แต่เพียงผู้เดียว ที ่แต่งตั้งตนเองเป็นทั้งผู้บัญชาการทหารสูงสุด ผู้บัญชาการทหารบก และอธิบดีกรม<br />

ต ารวจ การจัดวางความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ในสังคมในสายตาของจอมพลสฤษดิ์ตั้งอยู ่บนความเชื ่อที่ว่า รัฐบาลต้องมีอ านาจ<br />

55


สูงสุดในการบริหารประเทศ โดยมีเป้าหมายหลักอยู ่ที ่เสถียรภาพทางการเมืองและความเป็นปึกแผ่นของชาติ ส่วนระบบราชการ<br />

มีหน้าที ่ปฏิบัติตามค าสั่ง ของรัฐบาลโดยเฉพาะจากตัวผู้น าคือจอมพลสฤษดิ์ภายใต้ตรรกะนี ้ ข้าราชการจึงมีหน้าที ่หลักเป็นผู้รับใช้<br />

รัฐบาล ไม่ใช่รับใช้ประชาชน แนวคิดของจอมพลสฤษดิ์เป็นการประยุกต์ประเพณีการจัดระเบียบการเมืองการปกครองของไทย<br />

แบบพ่อปกครองลูกที ่มีพื ้นฐานอยู ่บนประวัติศาสตร์และจารีตดั้งเดิมในสมัยสุโขทัย แนวคิดดังกล่าวถูกเรียกขานว่า “ระบอบพ่อขุน<br />

อุปถัมภ์” (ทักษ์, 2552: 226-227 ) ซึ ่งได้กลายเป็นที ่มาของวาทกรรม “ประชาธิปไตยแบบไทยๆ” ที ่ใช้สร้างความชอบธรรมทาง<br />

การเมืองท่ามกลางความล้มเหลวในการวางรากฐานประชาธิปไตยของสังคมไทยมาหลายทศวรรษ<br />

แม้ว่าในปี พ.ศ. 2511 หลังจากการถึงแก่อนิจกรรมของจอมพลสฤษดิ์ไปกว่า 5 ปี ประเทศไทยได้มีการประกาศใช้<br />

รัฐธรรมนูญฉบับใหม่ คือ รัฐธรรมนูญฉบับปี พ.ศ. 2511 และตามติดมาด้วยการเลือกตั้งในปีเดียวกัน อันเป็นผลลัพธ์มาจากความ<br />

พยายามของสหรัฐอเมริกาในการผลักดันให้ไทยเป็นประชาธิปไตยมากขึ ้น โดยกลไกของการเลือกตั้ง เพื ่อรับมือกับภัยคอมมิวนิสต์<br />

(Kesboonchoo-Mead, 2012: 215-240) ทว่าการเลือกตั้งที ่เกิดขึ ้นนั้น แท้จริงเป็นเพียงฉากหน้าในการสร้างความชอบธรรมให้แก่<br />

ระบอบถนอม-ประภาสผู้สืบทอดอ านาจจากจอมพลสฤษดิ์ เพราะพรรคการเมืองที ่ได้รับการเลือกตั้งก็ได้แก่พรรคสหประชาไทย<br />

ของจอมพลถนอม กิตติขจร อีกทั้งในสภายังมีวุฒิสมาชิกที ่มาจากการแต่งตั้งของจอมพลถนอมอีกกว่าครึ ่งสภา (จ านวน 91 คน<br />

จาก 140 คน) ดังนั้น จอมพลถนอมจึงมีอ านาจล้นเหลือที ่มาจากการผูกขาดเสียงสนับสนุนในรัฐสภา<br />

รัฐบาลของจอมพลถนอมในปี พ.ศ. 2511 จึงเป็นเพียงแค่รัฐบาลตัวแทนของระบอบอ านาจนิยมจากการเลือกตั้งที ่แม้จะ<br />

เปิดโอกาสให้มีพรรคการเมือง และการเลือกตั้ง แต่ก็แฝงเร้นไว้ด้วยความพยายามในการรักษาฐานอ านาจทางการเมือง ควบคู ่ไป<br />

กับการแสร้งท าให้ดูเหมือนว่าเป็นการปกครองในระบอบประชาธิปไตย แต่ด้วยกลไกที ่ผิดฝาผิดตัว และบิดเบือนจึงท าให้รัฐบาล<br />

ของจอมพลถนอมไม่อาจรับมือกับแรงเสียดทานที ่ตามมาจากกลไกของระบบรัฐสภา คือ การตรวจสอบ และการอภิปรายซักถาม<br />

โดยฝ่ายค้าน และสมาชิกรัฐสภาไปได้ ด้วยเหตุนี ้หลังจากที ่รัฐบาลไม่สามารถผ่านร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจ าปี<br />

ต่อรัฐสภาได้ จอมพลถนอมจึงตัดสินใจสลัดคราบประชาธิปไตย และเปิดเผยตัวตนของระบอบเผด็จการด้วยการยึดอ านาจตัวเองใน<br />

ปี พ.ศ. 2514 ซึ ่งการรัฐประหารครั้งนี ้ได้น าไปสู ่ความขัดแย้งทางการเมืองที ่รุนแรงมากขึ ้น และน าไปสู ่การล่มสลายของระบอบ<br />

อ านาจนิยม ถนอม-ประภาส ภายหลังจากการเกิดวิกฤติการณ์เดือนตุลาคมในอีก 2 ปีถัดมา ซึ ่งเป็นที ่รู้จักกันดีในนาม “เหตุการณ์<br />

14 ตุลา พ.ศ.2516”<br />

ภายใต้ระบอบอ านาจนิยม สฤษดิ์– ถนอม – ประภาส ก่อให้เกิดการสืบทอดค่านิยม และทัศนคติแบบเจ้าคนนายคน การ<br />

ที ่คณะรัฐมนตรีในช่วงเวลาดังกล่าวมีที ่มาจากข้าราชการประจ าและข้าราชการบ านาญจ านวนมาก ท าให้มีการใช้เส้นสายในแวดวง<br />

ข้าราชการเป็นบันไดไต่เต้าไปสู ่ต าแหน่งทางการเมือง เปิดโอกาสให้คณะทหาร กลุ่มธุรกิจและข้าราชการผูกขาดอ านาจและ<br />

กอบโกยผลประโยชน์เข้ากระเป๋าตัวเองเป็นจ านวนมหาศาล<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน กระบวนการอันส าคัญและจ าเป็นกระบวนการหนึ ่งที ่มิอาจขาดหายไปได้เลยก็คือ<br />

การเลือกตั้ง (election) เพราะเป็นกระบวนการที ่จะท าให้ประชาชนเจ้าของอ านาจได้แสดงออกซึ ่งเจตจ านงเสรีของแต่ละบุคคล<br />

ทว่าการเลือกตั้งก็อาจมิใช่ตัวบ่งชี ้ถึงความเป็นประชาธิปไตยเสมอไป เพราะระบอบอ านาจนิยมในหลายประเทศได้อาศัย<br />

56


กระบวนการเลือกตั้งมาเป็นเครื ่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการปกครอง และการใช้อ านาจแบบเ บ็ดเสร็จเด็ดขาดเพื ่อ<br />

ประโยชน์ส่วนตนเป็นที ่ตั้ง ด้วยการอ้างเสียงสนับสนุนข้างมาก ท าให้เกิดอ านาจนิยมแบบใหม่ที ่เรียกว่า อ านาจนิยมที ่มาจากการ<br />

เลือกตั้ง (electoral authoritarianism) ท าให้เกิดข้อถกเถียงว่า การเลือกตั้งมิได้เท่ากับการมีประชาธิปไตยเสมอไป หรือกล่าวอีกนัย<br />

หนึ ่งก็คือ การเลือกตั้งเป็นปัจจัยที ่ “จ าเป็น” แต่อาจไม่ “เพียงพอ” ที ่จะแบ่งระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย ออกจากระบอบ<br />

การปกครองที ่ไม่เป็นประชาธิปไตย<br />

เส้นแบ่งใหม่ที ่เกิดขึ ้นระหว่างการเลือกตั้งของระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย และระบอบอ านาจนิยมที ่แฝงเร้นอยู ่<br />

ในคราบประชาธิปไตยตัวแทนจอมปลอม (authoritarianism disguised in the form of representative democracy) จึงอยู ่ที ่มิติ<br />

ด้านคุณภาพของการเลือกตั้งและประสิทธิภาพของกลไกตรวจสอบด้วย กล่าวคือ การเลือกตั้งจะต้องเป็นการเลือกตั้งที่เสรี<br />

เที่ยงธรรม และโปร่งใส (free, fair, <strong>and</strong> transparent election) ที ่ปราศจากการแทรกแซงจากปัจจัยภายนอกอื ่นๆ อาทิ การซื ้อ<br />

สิทธิ์ขายเสียง การแทรกแซงของคณะทหาร ไม่มีการครอบง า หรือจ ากัดคู ่แข่งทางการเมืองในกระบวนการเลือกตั้ง จึงจะนับได้ว่า<br />

เป็นการเลือกตั้งที ่เพียงพอและจ าเป็นที ่จะน าไปสู ่ระบอบเสรีประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง (Badie, 2011: 112-114) และเมื ่อได้ชัย<br />

ชนะและมีเสียงข้างมากแล้ว หากใช้กลไกเสียงข้างมากบ่อนท าลายกลไกตรวจสอบ ก็อาจน าไปสู ่อ านาจนิยมซึ ่งเกิดขึ ้นภายใต้เสื ้อ<br />

คลุมประชาธิปไตย นอกจากนั้น ความแตกต่างระหว่างอ านาจนิยมและประชาธิปไตยที่ส าคัญไม่แพ้การเลือกตั้ง คือ การมีหลัก<br />

นิติธรรมที ่ไม่เอนเอียง มีรัฐบาลที ่ตรวจสอบได้ และมีกระบวนการยุติธรรมที ่เป็นอิสระปราศจากการแทรกแซงหรืออคติ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Agency’ และ ‘Illiberal <strong>Democ</strong>racy’<br />

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2552). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการต าราสังคมศาสตร์และ<br />

มนุษยศาสตร์.<br />

Badie, Bertr<strong>and</strong>, Dirk Berg-Schlosser, <strong>and</strong> Leonardo Morlino (2011). International<br />

encyclopedia of political science. Thous<strong>and</strong> Oaks, Calif.: SAGE Publications.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Linz, Juan (2000). Totalitarian <strong>and</strong> authoritarian. Boulder: Lynne Rienne.<br />

Kesboonchoo-Mead, Kullada (2012). “The cold war <strong>and</strong> Thai democratization”. In Southea <strong>and</strong> the cold war. New York:<br />

Routledge.<br />

57


CENTRALISM/ DECENTRALISM<br />

กำรรวมอ ำนำจ และกำรกระจำยอ ำนำจ<br />

ควำมหมำย<br />

การรวมอ านาจ และการกระจายอ านาจ (Centralization <strong>and</strong> Decentralization) เป็นรูปแบบหนึ ่งของการจัดการปกครอง<br />

ของรัฐสมัยใหม่ โดยการจัดการปกครองแบบรวมอ านาจจะหมายถึง การจัดการปกครองที ่รวมศูนย์กลางอ านาจทั้งหมดของประเทศ<br />

ไว้ที ่รัฐบาลในส่วนกลาง (central government) ในขณะที ่การจัดการปกครองแบบกระจายอ านาจนั้นจะหมายถึง การจัดการ<br />

ปกครองที ่ยอมให้อ านาจ หรือมีการส่งมอบอ านาจบางอย่างจากรัฐบาลในส่วนกลางไปให้แก่รัฐบาลในท้องถิ่นบริหารจัดการกันเอง<br />

(Kurian, 2011: 207)<br />

ระดับการกระจายและรวบอ านาจอาจแตกต่างกันไปในแต่ละประเทศ จากการส ารวจ (Lijphart, 1984: 178) พบว่า การ<br />

เปรียบเทียบสัดส่วนการจัดเก็บภาษีระหว่างรัฐบาลกลางและท้องถิ่นชี ้ให้เห็นชัดเจนถึงความสัมพันธ์ระหว่างรัฐบาลแบบสหพันธรัฐ<br />

กับการกระจายอ านาจ และรูปแบบรัฐเดี ่ยว (unitarism/ unitary states) ที ่ด าเนินไปในทิศทางเดียวกับการรวมศูนย์อ านาจ กล่าวคือ<br />

ประเทศที ่รัฐบาลกลางมีสัดส่วนการจัดเก็บภาษีที ่สูงกว่ารัฐบาลท้องถิ่นมาก จะมีระดับการกระจายอ านาจน้อย เช่น ประเทศ<br />

ออสเตรเลีย ในขณะที ่ในประเทศสวิตเซอร์แลนด์ รัฐบาลกลางจัดเก็บภาษีน้อยกว่าครึ ่งหนึ ่งของการจัดเก็บภาษีทั้งประเทศ ประเทศ<br />

ที ่ใช้รูปแบบรัฐเดี ่ยวบางประเทศมีสัดส่วนการจัดเก็บภาษีโดยท้องถิ่นที ่สูง เช่น ญี ่ปุ่น และกลุ่มประเทศนอร์ดิก (ได้แก่ สวีเดน<br />

นอร์เวย์ และฟินแลนด์) จึงกล่าวได้ว่าเป็นรัฐเดี ่ยวที ่มีการกระจายอ านาจค่อนข้างสูง<br />

รูปแบบการรวมอ านาจและการกระจายอ านาจที ่เป็นรูปธรรมคือ การแบ่งรูปแบบรัฐเป็น รัฐเดี ่ยว สหพันธรัฐ และ<br />

สมาพันธรัฐ สหพันธรัฐจะต่างจากรัฐเดี ่ยว (unitary state) ตรงที ่การจัดรูปแบบการปกครองแบบรัฐเดี ่ยว ท้องถิ่นหรือหน่วยการ<br />

ปกครองย่อยได้รับอ านาจจากการจัดสรรของรัฐบาลกลาง และสหพันธรัฐและรัฐเดี ่ยวจะแตกต่างจากสมาพันธรัฐ (confederation/<br />

league of states) เพราะในระบบสมาพันธรัฐนั้น รัฐบาลกลางไม่มีอ านาจอิสระ (autonomous powers) ของตนเอง แต่ได้อ านาจ<br />

จากรัฐที ่เข้าร่วมเป็นสมาชิกของสมาพันธ์ กล่าวคือ ความสัมพันธ์ระหว่างรัฐต่างๆ จะด าเนินไปอย่างหลวมๆ โดยก่อตั้งรัฐบาลกลาง<br />

ที ่มีอ านาจจ ากัดเนื ่องจากต้องปฏิบัติตามเจตนารมณ์ของรัฐสมาชิก รัฐบาลกลางนี ้จะมีหน้าที ่ดูแลเรื ่องส าคัญที ่ส่งผลกระทบร่วมกัน<br />

ระหว่างรัฐที ่เข้าร่วมสมาพันธ์ เช่น การป้องกันประเทศ การคลัง และการค้า การจัดระบบการปกครองเช่นนี ้จึงไม่ได้มุ่งเน้นความ<br />

มั่นคง และความเข้มแข็งร่วมกันของรัฐเช่นในระบบสหพันธรัฐ และรัฐเดี ่ยว ตัวอย่างที ่ชัดเจนของการจัดรูปแบบการปกครองแบบ<br />

สมาพันธรัฐคือ สมาพันธรัฐอเมริกา เมื ่ออาณานิคมของอังกฤษทั้ง 13 แห่ง ประกาศตนเป็นเอกราชในปี ค.ศ. 1776 มีการร่าง<br />

ข้อตกลงที ่เรียกว่า “บทบัญญัติแห่งสมาพันธรัฐและสหภาพอันเป็นนิรันดร์” (Articles of Confederation <strong>and</strong> Perpetual Union)<br />

ซึ ่งได้รับการให้สัตยาบรรณจากรัฐที ่ 13 คือ รัฐเมรี ่แลนด์ซึ ่งเป็นรัฐสุดท้ายที ่เข้าร่วมสมาพันธ์ ในปี ค.ศ. 1781 (ส านักข่าวสารอเมริกัน,<br />

2534: 7)<br />

ลักษณะส าคัญของรูปแบบรัฐบาลแบบสหพันธรัฐคือ การแบ่งแยกอ านาจ (division of powers) ระหว่างรัฐบาลกลาง<br />

(central government) และรัฐบาลท้องถิ่นหรือมลรัฐ (regional/state government) โดยที ่องค์ประกอบแต่ละหน่วยหรือรัฐที ่มา<br />

รวมกันเป็นสหพันธรัฐมีขอบเขตอาณาบริเวณที ่ชัดเจน และทั้งรัฐบาลกลางและรัฐบาลท้องถิ่นต่างมีอ านาจโดยตรงจากรัฐธรรมนูญ<br />

58


ของตนเอง และเป็นอ านาจที ่ไม่ก้าวก่ายซึ ่งกันและกัน การรวบอ านาจไว้ที ่ส่วนกลางไม่อาจท าได้ เว้นเสียแต่จะล้มล้างเจตนารมณ์<br />

แห่งรัฐธรรมนูญ วิลเลี ่ยม ไรเคอร์ (William H. Riker) ได้ให้นิยามค าว่าสหพันธรัฐไว้เป็นแนวทางส าหรับผู้สนใจว่า “ระบบ<br />

สหพันธรัฐ เป็นการจัดระเบียบองค์กรทางการเมืองที ่หน้าที ่และกิจกรรมของรัฐบาลมีการแบ่งแยกระหว่างรัฐบาลท้องถิ่นและรัฐบาล<br />

กลาง ในลักษณะที ่รัฐบาลแต่ละส่วนมีกิจกรรมบางอย่างที ่ตนเองมีสิทธิอ านาจตัดสินใจขั้นสุดท้าย” (Riker, 1975: 101)<br />

การสร้างสมดุลระหว่างสิทธิอ านาจของท้องถิ่นหรือมลรัฐ (states’ right) กับอ านาจของรัฐบาลกลางเป็นสิ่งจ าเป็น ดังนั้น<br />

มลรัฐจึงยังคงด ารงไว้ซึ ่งอ านาจที ่จ าเป็นในการควบคุม ดูแลทุกข์สุขของประชาชนภายในมลรัฐตน แต่หลักการส าคัญก็คือ อ านาจ<br />

ดังกล่าวต้องไม่ขัดแย้งกับความต้องการและสวัสดิภาพของชาติโดยส่วนรวม อ านาจและหน้าที ่ที ่แต่ละมลรัฐมีภายในรัฐของตนเช่น<br />

การศึกษา การสาธารณสุข กฎหมาย การแต่งงาน หย่าร้าง การเก็บภาษีท้องถิ่น การควบคุมและด าเนินการเลือกตั้ง และการดูแล<br />

ความสงบเรียบร้อยภายในมลรัฐ ดังนั้น เราจะพบว่าแม้รัฐสองรัฐที ่อยู ่ติดกันก็อาจมีกฎหมายในเรื ่องเดียวกันที ่แตกต่างกันได้<br />

(ส านักข่าวสารอเมริกัน, 2534: 28) ตัวอย่างเช่น บัตรลงคะแนนเสียงเลือกตั้งที ่มีรูปลักษณ์ต่างกัน หรือการก าหนดอายุขั้นต ่าที ่<br />

สามารถแต่งงานได้อย่างถูกกฎหมาย ส่วนกิจการที ่ถือเป็นอ านาจหน้าที ่ของรัฐบาลกลาง เช่น การเก็บภาษีของชาติ การไปรษณีย์<br />

การจัดพิมพ์ธนบัตรและเงินเหรียญ การรักษาความปลอดภัยและความมั่นคงระดับชาติ การท าสนธิสัญญาระหว่างประเทศ และการ<br />

ประกาศสงคราม เป็นต้น<br />

เหตุผลประการหนึ ่งของการมีรัฐบาลรูปแบบสหพันธรัฐก็เพื ่อจัดสรรอ านาจให้คนกลุ่มต่างๆ ภายในประเทศมีความเป็น<br />

อิสระในการตัดสินใจ และด ารงไว้ซึ ่งแบบแผนความเชื ่อ และวิถีชีวิตที ่ตนต้องการโดยที ่ไม่เป็นอุปสรรคต่อสวัสดิภาพและความ<br />

มั่นคงของชาติ เช่นกลุ่มคนที ่นับถือศาสนาแตกต่างจากคนส่วนใหญ่ หรือกลุ่มวัฒนธรรม ชาติพันธุ์ โดยเฉพาะเมื ่อคนเหล่านี ้รวมตัว<br />

กันเป็นกลุ่มย่อย (sub-societies) ในสังคมที ่เป็นพหุสังคม (โปรดดู pluralism) คุณลักษณะของท้องถิ่นภายในสหพันธรัฐหนึ ่งท าให้<br />

เราสามารถแบ่งระบบสหพันธรัฐออกได้เป็น 2 ประเภทคือ สหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นหรือมลรัฐคล้ายคลึงกัน (congruent federalism)<br />

และสหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นหรือมลรัฐไม่คล้ายคลึงกัน (incongruent federalism)<br />

สหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นหรือมลรัฐคล้ายคลึงกันคือ สหพันธรัฐที ่เกิดจากการรวมตัวของมลรัฐที ่การกระจายของกลุ่มต่างๆ<br />

ภายในประเทศค่อนข้างสมดุล ท้องถิ่นหรือมลรัฐแต่ละแห่งสามารถเป็นภาพสะท้อนของสหพันธรัฐโดยรวมได้ ในทางตรงกันข้าม<br />

สหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นหรือมลรัฐไม่คล้ายคลึงกันคือ สหพันธรัฐที ่ประกอบด้วยท้องถิ่นหรือมลรัฐที ่มีความแตกต่างกันอย่างชัดเจน และ<br />

แต่ละท้องถิ่นจะมีภาพลักษณ์เฉพาะของตนเองที ่ไม่สามารถเป็นตัวแทนทั้งหมดของประเทศนั้นได้ (Tarlton, 1965: 868) เช่นพูด<br />

ภาษา หรือนับถือศาสนาแตกต่างกันออกไป หากเปรียบเทียบโดยดูความเหมือนและความแตกต่างภายในอาณาเขตพื ้นที ่ของ<br />

รัฐบาลท้องถิ่นแล้วจะพบว่า ในสหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นมีความคล้ายคลึงกัน กลุ่มต่างๆ เช่น กลุ่มศาสนา กลุ่มชาติพันธุ์ จะอยู ่กระจัด<br />

กระจาย ผสมผสาน (cut across) ไปทั่วประเทศ ในขณะที ่ในสหพันธรัฐที ่แต่ละท้องถิ่นแตกต่างกัน กลุ่มบุคคลเหล่านี ้จะกระจุก<br />

รวมกันอยู ่ภายในมลรัฐหนึ ่งหรือท้องถิ่นหนึ ่ง จนกลายเป็นอาณาบริเวณของตนเอง และสร้างขอบเขตทางสังคม (social<br />

boundaries) ของกลุ่มตัวเองขึ ้นมา<br />

หากสหพันธรัฐใดขีดเส้นแบ่งเขตแดนตามขอบเขตทางสังคม กล่าวคือ ท้องถิ่น หรือมลรัฐหนึ ่งเป็นที ่รวมของกลุ่มบุคคลที ่<br />

นับถือศาสนาเดียวกัน มีอุดมการณ์เหมือนกัน หรือมีชาติพันธุ์เดียวกัน ความผิดแผกแตกต่าง (heterogeneity) ของสหพันธรัฐ<br />

โดยรวมจะแปรเปลี ่ยนเป็นความคล้ายคลึงกันมากขึ ้นภายในระดับท้องถิ่น หรือมลรัฐเอง กล่าวอีกนัยหนึ ่ง สหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นไม่<br />

59


คล้ายคลึงกัน หากประกอบด้วยมลรัฐหรือท้องถิ่นเล็กๆ ที ่ภายในท้องถิ่นแต่ละแห่งมีความคล้ายคลึงกันสูง ก็จะลดระดับความ<br />

หลากหลายของพหุสังคม (plural society) โดยรวมในประเทศนั้นลง ตัวอย่างของประเทศสหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นหรือมลรัฐคล้ายคลึง<br />

กัน เช่น ออสเตรเลีย เยอรมนี และสหรัฐอเมริกา ส่วนสหพันธรัฐที ่ท้องถิ่นหรือมลรัฐไม่คล้ายคลึงกัน เช่น เบลเยียม แคนาดา<br />

และสวิตเซอร์แลนด์<br />

ชื ่อที ่ใช้เรียกหน่วยย่อยหรือท้องถิ่นนอกจากใช้ค าว่ามลรัฐ (states) แล้ว มีแตกต่างกันไปเช่น กังตอง (canton) หรือ<br />

จังหวัด (province) ประชาชนที ่อยู ่ภายใต้อาณาเขตสหพันธรัฐถือว่าเป็นพลเมืองของทั้งรัฐบาลกลางและรัฐบาลในรัฐของตนไป<br />

พร้อมกัน สหรัฐอเมริกาเป็นรัฐสมัยใหม่รัฐแรกที ่ใช้ระบบสหพันธรัฐ แต่ก็มีประเทศอื ่นที ่ใช้ระบบนี ้มาอย่างต่อเนื ่องยาวนานเช่น<br />

สวิตเซอร์แลนด์ (1848) แคนาดา (1867) ออสเตรเลีย (1901) นอกจากนี ้ยังมีประเทศที ่เคยอยู ่ภายใต้อาณานิคมอังกฤษซึ ่งใช้ระบบ<br />

สหพันธรัฐเช่น มาเลเซีย อินเดีย และ ไนจีเรีย ส่วนทวีปลาตินอเมริกาเป็นภูมิภาคที ่ประเทศเกิดใหม่ในศตวรรษที ่ 19 นิยมใช้<br />

รูปแบบการปกครองนี ้เช่นกัน เช่นประเทศเม็กซิโก โคลัมเบีย และอาร์เจนตินา<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดเกี ่ยวกับการรวมอ านาจนี ้มีมาตั้งแต่สมัยคริสต์ศตวรรษที ่ 17 ในยุโรปที ่รัฐในระบบฟิวดัล (feudalism) เดิมนั้น<br />

สามารถสถาปนาอ านาจอันเบ็ดเสร็จเด็ดขาดขององค์พระมหากษัตริย์ขึ ้นปกครองเหนืออาณาบริเวณ และประชาชนพลเมืองที ่<br />

แน่นอนได้ส าเร็จด้วยกลไกต่างๆ เช่น กลไกของระบบราชการในฝรั่งเศส เป็นต้น (กุลลดา, 2552: 206)<br />

ในขณะที ่แนวคิดเกี ่ยวกับเรื ่องการกระจายอ านาจและการรวมอ านาจปรากฏอย่างชัดเจนในการถกเถียงของผู้ร่าง<br />

รัฐธรรมนูญสหรัฐอเมริกา (American founding fathers) ในการประชุมใหญ่ที ่ฟิลาเดเฟีย ค.ศ. 1787 ที ่ก่อให้เกิดข้อถกเถียงส าคัญ<br />

ในการร่างรัฐธรรมนูญซึ ่งถูกแบ่งออกเป็นสองฝ่าย คือ ฝ่ายเฟดเดอรัลลิสต์ (federalist) กับฝ่ายแอนไท-เฟดเดอรัลลิสต์ (antifederalist)<br />

โดยที ่ฝ่ายเฟดเดอรัลลิสต์นั้นสนับสนุนให้มีรัฐบาลกลางที ่เข้มแข็ง และการรวมอ านาจส าคัญๆ ไว้ที ่รัฐบาลกลาง ในทาง<br />

ตรงกันข้าม ฝ่ายแอนไท-เฟดเดอรัลลิสต์นั้นสนับสนุนแนวคิดการกระจายอ านาจให้รัฐบาลมลรัฐและประชาชนเข็มแข็งและมีอ านาจ<br />

ในการจัดการตนเองมาก เพื ่อให้รัฐบาลส่วนกลางมีอ านาจลดลง เป็นการป้องกันเผด็จการโดยอ านาจรัฐที ่ฝ่ายแอนไท-เฟดเดอรัล<br />

ลิสต์ประเมินว่าน่ากลัวกว่าอ านาจใดๆ<br />

นอกจากนี ้ ในบางครั้งแนวคิดเกี ่ยวกับการกระจายอ านาจก็อาจอ้างอิงจากการก่อตั้งคอมมูนปารีส (Paris Commune) ในปี<br />

ค.ศ. 1871 โดยชนชั้นแรงงาน และพลังฝ่ายซ้ายที ่นิยมระบอบสาธารณรัฐ ที ่ได้รวมตัวกันขึ ้น และภายหลังก็ได้มีการประกาศปฏิเสธ<br />

อ านาจของรัฐบาลกลางฝรั่งเศส และยืนยันในสิทธิที ่จะปกครองตนเอง (autonomy) แต่ท้ายที่สุดคอมมูนปารีสก็ถูกกองก าลัง<br />

ของรัฐจากส่วนกลางบุกเข้าปราบปรามหลังจากปกครองตนเองมาได้เพียง 2 เดือนเท่านั้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยตั้งแต่เปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 แม้จะเป็นประเทศที ่มีลักษณะเป็นรัฐเดี ่ยว (unitary state)<br />

และมีการจัดการปกครองที ่เน้นการรวมอ านาจเข้าสู ่ศูนย์กลางคือรัฐบาลในกรุงเทพมหานครเป็นหลักมาโดยตลอดก็ตามที แต่<br />

60


กระนั้นแนวคิดการกระจายอ านาจก็มีปรากฏให้เห็นตั้งแต่หลังจากที ่มีการเปลี ่ยนแปลงการปกครองแล้ว ดังจะเห็นได้จากการออก<br />

พระราชบัญญัติเทศบาลในปี พ.ศ. 2476 โดยคณะราษฎร หรือ พระราชบัญญัติสุขาภิบาลในปี พ.ศ. 2495 ตลอดจนพระราชบัญญัติ<br />

ราชการบริหารส่วนจังหวัด (ซึ ่งภายหลังได้พัฒนาไปเป็นองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นที ่เรียกว่า “อบจ.”) ในปี พ.ศ. 2498 อีกด้วย ซึ ่ง<br />

การจัดตั้งองค์กรเหล่านี ้ ล้วนแล้วแต่เป็นรากฐานของความพยายามกระจายอ านาจไปสู ่ท้องถิ่นตั้งแต่การเปลี ่ยนแปลงการปกครอง<br />

ทว่ากรอบของกฎหมายที ่ชัดเจนเกี ่ยวกับการกระจายอ านาจ และองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นของไทยนั้นปรากฏขึ ้นครั้ง<br />

แรกก็ในสมัยรัฐธรรมนูญฉบับปี พุทธศักราช 2540 ที ่มีการระบุกรอบแนวคิดเกี ่ยวกับการกระจายอ านาจไว้ในหมวดว่าด้วย<br />

แนวนโยบายพื ้นฐานแห่งรัฐ (หมวด 5 มาตรา 78) และหมวดว่าด้วยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นโดยเฉพาะ (หมวด 9) ซึ ่งล้วน<br />

แล้วแต่ท าให้แนวคิดเกี ่ยวกับการกระจายอ านาจสู ่ท้องถิ่นเติบโตขึ ้นอย่างเป็นรูปธรรมมากยิ่งขึ ้นในช่วงทศวรรษ 2000s จนถึง<br />

ปัจจุบัน<br />

ในปัจจุบันกระแสเรียกร้องการกระจายอ านาจสู่ท้องถิ่นในประเทศไทยมีความเข้มข้นเป็นอย่างมาก มีความพยายาม<br />

ผลักดันให้มีการปกครองตนเองในรูปแบบพิเศษเหมือนกับกรุงเทพมหานคร และเมืองพัทยาในหลายๆ พื ้นที ่ เช่น การเคลื ่อนไหว<br />

เพื ่อให้มีการออกพระราชบัญญัติเชียงใหม่มหานคร ในรูปแบบของจังหวัดจัดการตนเอง (ช านาญ, 2555) เป็นต้น ซึ ่งหาก<br />

พิจารณาแต่เพียงผิวเผินอาจพบว่าการให้เกิดจังหวัดจัดการตนเองในรูปแบบพิเศษนั้นจะท าให้รัฐบาลกลางขาดรายได้จากการ<br />

จัดเก็บภาษีบางประเภท แต่หากพิจารณาในระยะยาวแล้วจะพบว่า การให้ท้องถิ่นบริหารจัดการ และพัฒนาตนเองอาจท าให้พื ้นที ่<br />

เหล่านั้นพึ ่งพาตนเอง และพัฒนาศักยภาพได้รวดเร็วขึ ้น กลายเป็นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจ การคมนาคมเชื ่อมต่อ และการ<br />

ท่องเที ่ยวในภูมิภาค ซึ ่งจะเป็นตัวช่วยเร่งผลักดันให้เศรษฐกิจมวลรวมของประเทศชาติเติบโตมากยิ่งขึ ้นในระยะยาว<br />

การกระจายอ านาจให้ประชาชนในพื ้นที ่มีสิทธิดูแลตนเองเพิ่มขึ ้น ถูกน าเสนอเป็นเครื ่องมือหนึ ่งเพื ่อแก้ปัญหาความขัดแย้ง<br />

และความรุนแรงในสามจังหวัดภาคใต้ แต่ประเด็นถกเถียงนี ้ยังไม่มีข้อสรุป<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ข้อถกเถียงเกี ่ยวกับการรวมอ านาจ–การกระจายอ านาจดังที ่ปรากฏในการร่างรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกานั้นก็เป็นหนึ ่ง<br />

ในบรรดาข้อถกเถียงคลาสสิกที ่ประเทศที ่เป็นรัฐสมัยใหม่ต่างๆ ทั่วโลกจะต้องเผชิญ เพราะแต่เดิมนั้นการจัดการปกครองทั้งสอง<br />

แบบถูกมองว่าต่างก็มีข้อดี ข้อเสียที ่แตกต่าง และเหมาะสมกับสภาพทางภูมิศาสตร์ วัฒนธรรมทางการเมือง และสภาพทางสังคม<br />

วิทยาการเมืองของแต่ละประเทศที ่แตกต่างกันออกไป<br />

กล่าวคือ การจักการปกครองแบบรวมอ านาจนั้นมีข้อดีที ่สามารถตอบโจทย์ในเรื ่องของความมีเอกภาพของชาติ<br />

(national unity) จากการมีรัฐบาลกลางเพียงรัฐบาลเดียวที่มีอ านาจชอบธรรมในการปกครอง และท าให้การตัดสินใจในการ<br />

ด าเนินนโยบายสาธารณะของรัฐนั้นมีความเป็นอันหนึ ่งอันเดียวกันภายใต้รัฐบาลกลาง และไม่ก่อให้เกิดปัญหาของความแตกต่าง<br />

ทางด้านกฎหมาย และการบังคับใช้ที ่แตกต่างกันในแต่ละพื ้นที ่ดังที ่ปรากฏให้เห็นบ่อยครั้งในสหรัฐอเมริกา ที ่กฎหมายของมลรัฐ<br />

หนึ ่งมีเนื ้อหาต่างไปจากกฎหมายของอีกมลรัฐหนึ ่ง แต่ในขณะเดียวกันการรวมอ านาจก็มีข้อเสียที ่อาจท าให้การบริหารบ้านเมือง<br />

เป็นไปได้ด้วยความล่าช้า เนื ่องจากรัฐบาลกลางต้องรับผิดชอบภารกิจทั้งหมดไม่ว่าเล็กหรือใหญ่ที ่เกิดขึ ้นภายในขอบขัณฑสีมาของ<br />

61


รัฐชาติ อีกทั้งนโยบายที ่ออกมาโดยรัฐบาลกลางนั้นจ าต้องมีลักษณะที ่เป็นภาพรวมของทั้งประเทศ ท าให้ผลลัพธ์ของนโยบาย<br />

สาธารณะนั้นอาจไม่ตรงตามความต้องการ วัฒนธรรม และอัตลักษณ์ของคนในพื ้นที ่ (local people) (Kurian, 2011: 207) และท า<br />

ให้ขาดกลไกการตรวจสอบถ่วงดุลในระดับรัฐบาล กับท้องถิ่น เพราะในรัฐที ่เน้นการรวมอ านาจนั้นการกระจายอ านาจให้มีการ<br />

จัดการปกครองท้องถิ่นจะเกิดขึ ้นได้ก็ต่อเมื ่อริเริ่มโดยรัฐบาลกลาง ซึ ่งส่งผลให้อ านาจ งบประมาณ และอัตตาณัติ (autonomy) ของ<br />

ท้องถิ่นนั้นต้องขึ ้นกับรัฐบาลกลางอยู ่มาก ในขณะที ่รัฐในแบบสหพันธรัฐอย่างสหรัฐอเมริกานั้น รัฐบาลกลางเกิดจากการตกลงรวมตัว<br />

ของรัฐบาลมลรัฐย่อยๆ จึงท าให้รัฐบาลมลรัฐสามารถตรวจสอบถ่วงดุลรัฐบาลกลาง และคงไว้ซึ ่งอัตตาณัติของตนเองได้มากกว่านั่นเอง<br />

ในขณะที ่การจัดการปกครองแบบกระจายอ านาจ นอกจากจะมีข้อดีในการท าให้ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วม<br />

ทางการเมืองได้โดยตรงมากขึ ้นเนื ่องจากเป็นการเมืองในระดับท้องถิ่นของตนแล้ว ยังท าให้กระบวนการตรวจสอบการท างานนั้น<br />

เป็นไปอย่างใกล้ชิด และท าให้นโยบายที ่ออกโดยรัฐบาลในระดับท้องถิ่นนั้นต้องสามารถตอบสนองความต้องการของคนในระดับ<br />

ท้องถิ่นได้อย่างแท้จริง แต่อาจต้องแลกมาด้วยการท าให้บ้านเมืองมีมาตรฐาน และเอกภาพที ่เป็นหนึ ่งเดียวกันของรัฐ (Kurian,<br />

2011: 207) ซึ ่งปัญหาดังกล่าวนี ้ปัจจุบันได้ถูกท้าทาย และลดความส าคัญลงไปมากขึ ้นทุกที เนื ่องจากกระแสของ<br />

กระบวนการพัฒนาประชาธิปไตยที ่เน้นให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมผ่านการกระจายอ านาจ เพื ่อให้พวกเขาสามารถบริหารจัดการ<br />

ตนเองในระดับท้องถิ่นได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ ้น ประกอบกับกระแสวัฒนธรรม และชุมชนนิยมที ่เน้นการคงไว้ซึ ่งอัต<br />

ลักษณ์อันหลากหลายตามแนวคิด “ชามสลัด” (salad bowl concept) มากกว่าการเข้าไปควบรวม หรือหลอมกลืนกินวัฒนธรรม<br />

ท้องถิ่นที ่ตั้งอยู ่บนความเชื ่อ “หม้อหลอมละลาย” (melting pot concept) แบบเดิมๆ ภายใต้ค ากล่าวอ้างในเรื ่องการธ ารงรักษา<br />

“เอกลักษณ์แห่งชาติอันหนึ ่งอันเดียว”<br />

จากข้อดีข้อเสียของการจัดการปกครองทั้งสองรูปแบบดังกล่าว ในปัจจุบันประเทศต่าง ๆ ทั่วโลกจึงได้พยายามผสมผสาน<br />

ทั้งสองรูปแบบของการจัดการปกครองเข้าไว้ด้วยกันตามแต่ความเหมาะสม และความพอดีกันของทั้งปัจจัยด้านสถานการณ์<br />

การเมือง วัฒนธรรมการเมือง และสังคมวิทยาการเมือง ว่าเหมาะสมกับการจัดการปกครองในรูปแบบใดมากน้อยกว่ากัน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Horizontal <strong>and</strong> Vertical Order’<br />

กุลลดา เกษบุญชู-มี ้ด (2552). วิวัฒนาการรัฐอังกฤษ ฝรั ่งเศส ในกระแสเศรษฐกิจโลก จากระบบฟิวดัลถึงการปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: ฟ้า<br />

เดียวกัน.<br />

ช านาญ จันทร์เรือง (2555). เชียงใหม่มหานครพร้อมแล้ว. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.bangkokbiznews.com/home/detail/politics/opinion/chamnan/20120613/456364/เชียงใหม่มหานครพร้อม<br />

แล้ว.html.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

62


ส านักข่าวสารอเมริกัน (2534). การปกครองของสหรัฐ. United States Information Agency: เอกสารเผยแพร่ที ่จัดท าโดยสถานทูต<br />

สหรัฐอเมริกา ประจ าประเทศไทย.<br />

Elazar, J. Daniel (1976). “Federalism vs. Decentralization: The Drift from Authenticity”. Publius 6, No.4 Fall, p.13.<br />

Laski, Harold J. (1973). A Grammar of Politics. London: George Allen & Unwin Ltd.<br />

Lijphart, Arend (1984). <strong>Democ</strong>racies: Patterns of Majoritarian <strong>and</strong> Consensus Government in Twenty-One Countries. New<br />

Haven: Yale University Press.<br />

Riker, H. William (1975). “Federalism”. In Fred I. Greenstein <strong>and</strong> Nelson W. Polsby (eds.). H<strong>and</strong>book of Political Science,<br />

Vol. 5: Governmental Institutions <strong>and</strong> Processes. Reading, Mass.: Addison-Wesley.<br />

Tarlton, Charles D. (1965). “Symmetry <strong>and</strong> Asymmetry as Elements of Federalism: A Theoretical Speculation”. Journal<br />

of Politics, Vol.27, No.4 November.<br />

63


CENTRIPETAL<br />

กำรเปิ ดให้คนกลุ่มน้อยเข้ำถึงส่วนกลำง<br />

ควำมหมำย<br />

การเปิดให้คนกลุ่มน้อยเข้าถึงส่วนกลาง (Centripetal) เป็นแนวคิดส าคัญในสังคมที ่มีความแตกต่างขัดแย้ง (divided<br />

society) ทั้งในด้านของชาติพันธุ์วรรณนา ศาสนา อัตลักษณ์ และความคิดทางการเมือง แนวคิดดังกล่าวมีเป้าหมายเพื ่อสร้างกลไก<br />

ในการอยู ่ร่วมกันของกลุ่มต่างๆ ในสังคมและการเปิดรับฟังเสียงของคนกลุ่มน้อยให้เข้าสู ่ระบบการเมือง โดยเป็นการออกแบบ<br />

วิศวกรรมทางการเมือง (political engineering) ผ่านระบบพรรคการเมือง และกลไกการเลือกตั้งเพื ่อรองรับกลุ่มคนที ่มีความ<br />

หลากหลายทางชาติพันธุ์ (multiethnic party system) เพื ่อให้ระบบการเมืองมีลักษณะของการประนีประนอมทางนโยบายและเปิด<br />

ช่องทางที ่เป็นทางการให้คนหลากหลายกลุ่มสามารถเข้ามาตัดสินใจร่วมกันในส่วนกลาง (Wolff <strong>and</strong> Yakinthou, 2011: 4)<br />

อรรถำธิบำย<br />

นักวิชาการคนส าคัญที ่ศึกษาความหลากหลายทางสังคมและการจัดการความขัดแย้งอย่าง โดนัลด์ ฮอโรวิทซ์ (Donald<br />

Horowitz) ได้กล่าวว่า สังคมที ่มีความแตกแยกอย่างฝังรากลึกควรหา “พื ้นที ่ร่วม” ในการปรับตัวเข้าหากันเพื ่อส่งเสริมพรรค<br />

การเมืองที ่มีความหลากหลายทางชาติพันธุ์ ที ่สามารถเรียกร้องผลประโยชน์ให้กับกลุ่มต่างๆ ในสังคมได้ การเข้าถึงส่วนกลางของ<br />

คนกลุ่มน้อยจึงต้องค านึงถึงการเมืองในเชิงสถาบันที ่เป็นประชาธิปไตย (democratic institution) ในการสร้างกลไกที ่มีความเป็น<br />

ทางการพอสมควรเพื ่อเปิดช่องของการต่อรองประนีประนอมในระบบการเมือง การออกแบบวิศวกรรมทางการเมืองอาจท าผ่าน<br />

ระบบพรรคการเมือง ระบบเลือกตั้ง และการจัดตั้งรัฐบาล เช่น ระบบพรรคการเมืองแบบหลายพรรคจะส่งเสริมความเป็นตัวแทน<br />

ของประชาชนหลายกลุ่มมากกว่าระบบสองพรรค ระบบเลือกตั้งแบบสัดส่วน (โดยไม่มีเกณฑ์ขั้นต ่า หรือมีเกณฑ์ขั้นต ่าไม่สูงมาก)<br />

จะเปิดโอกาสให้ประชาชนหลากหลายกลุ่มได้เข้ามาเป็นตัวแทนได้มากกว่าระบบเลือกตั้งแบบเสียงข้างมาก เป็นต้น<br />

ตัวอย่างคลาสสิกเกี ่ยวกับการจัดการความหลากหลายและความแตกต่างในสังคมคือ ระบบการเมืองแบบสหพันธรัฐ<br />

(federalism) เช่น สหรัฐอเมริกา ได้แบ่งการปกครองออกเป็น 2 ระดับคือ ระดับมลรัฐและรัฐส่วนกลาง โดยระดับมลรัฐมีอ านาจ<br />

อธิปไตยเป็นของตัวเองในการออกกฎหมาย บังคับใช้กฎหมาย และตีความกฎหมายให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมและประวัติศาสตร์<br />

ด้านรัฐส่วนกลางมีหน้าที ่จ ากัดเพียงเรื ่องของความมั่นคง การคลังสาธารณะ ค่าเงิน และการต่างประเทศ ระบบสหพันธรัฐจึงถูกใช้<br />

เพื ่อรวมสังคมที ่มีความหลากหลายให้สามารถอยู ่ภายในประเทศเดียวกันได้ และมีการกระจายอ านาจระหว่างกัน (โปรดดู centralism<br />

<strong>and</strong> decentralism)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย การศึกษาเกี ่ยวกับความหลากหลายทางชาติพันธุ์ กลุ่มอัตลักษณ์และคนกลุ่มน้อยกับการออกแบบ<br />

วิศวกรรมทางการเมืองยังมีอยู ่น้อยมาก เพราะส่วนใหญ่การศึกษาความหลากหลายในสังคมมักจะไปเน้นเชิงสังคมวิทยาและ<br />

มานุษยวิทยาในมิติชุมชนนิยมหรือท้องถิ่นนิยม มากกว่าพูดถึงความสัมพันธ์กับระบบการเมืองในส่วนกลาง นักวิชาการที ่ได้<br />

กล่าวถึงการจัดการความหลากหลายด้วยระบบการเมือง เช่น นครินทร์ เมฆไตรรัตน์ นักวิชาการด้านรัฐศาสตร์พูดถึงปัญหาของ<br />

64


ระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนที ่ไม่สามารถสร้างความเป็นตัวแทนให้กับประชาชนทุกกลุ่มได้ และประชาชนมีความหลากหลาย<br />

ทั้งในด้านความคิด อัตลักษณ์ และด้านอื ่นๆ โดยเสนอแนวคิดประชาธิปไตยแบบสมานฉันท์ (Consensual <strong>Democ</strong>racy/<br />

Consociational <strong>Democ</strong>racy) ซึ ่งเป็นแนวคิดของอาเรน ไลจ์พาร์ท (Arend Lijphart) ในการสร้างระบบการเมืองที ่เป็น<br />

ประชาธิปไตยในสังคมที ่มีความแตกแยกแตกต่าง<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ดังนั้น ปัญหาของการใช้ค าว่า “การเข้าถึงส่วนกลางของคนกลุ่มน้อย” หรือ “Centripetalism” คือช่องว่างทางความรู้ในทาง<br />

วิชาการและแนวทางปฏิบัติของสังคมไทย ที ่ยังไม่สามารถเชื ่อมโยงการศึกษาแบบชาติพันธุ์วรรณนา หรือการศึกษาความ<br />

แตกแยก/แตกต่าง/หลากหลายในสังคม ให้เข้ากับการศึกษาสถาบันการเมืองหรือระบบการเมืองซึ ่งเป็นเรื ่องของอ านาจการ<br />

ตัดสินใจในส่วนกลาง ด้วยเหตุนี ้จึงจ าเป็นที ่จะต้องน าหลักการของ Centripetalism มาร่วมกันถกเถียงอภิปรายเพื ่อแสวงหาค า<br />

นิยามที ่ทุกคนเห็นร่วมกัน การศึกษาดังกล่าวมีความจ าเป็นส าหรับสังคมไทยที ่อยู ่ในช่วงเปลี ่ยนผ่านทางการเมืองที ่ประชาชนใน<br />

สังคมมีความขัดแย้งสูง<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Centralization’ และ ‘Decentralization’<br />

ฉัตรบงกช ศรีวัฒนสาร (2555). “ความยากล าบากในการสถาปนาระบอบประชาธิปไตยตัวแทน: ข้อสังเกตเบื ้องต้น”. เข้าถึงวันที ่ 6<br />

ตุลาคม 2555 ใน http://kingprajadhipokstudy.blogspot.com/search/label/ความยากล าบากในการสถาปนาระบอบ<br />

ประชาธิปไตยตัวแทน.<br />

Horowitz, Donald L. (1985). Ethnic Groups in Conflict. Berkeley CA: University of California Press.<br />

Horowitz, Donald L. (1991). A <strong>Democ</strong>ratic South Africa? Constitutional Engineering in a Divided Society. Berkeley CA:<br />

University of California Press.<br />

Lijphart, Arend (1977). <strong>Democ</strong>racy in Plural Societies: A Comparative Exploration. New Haven: Yale University Press.<br />

Wolff, Stefan <strong>and</strong> Christalla Yakinthou (eds.) (2011). Conflict Resolution: Theories <strong>and</strong> Practice. London <strong>and</strong> New York:<br />

Routledge.<br />

65


CONSENSUS<br />

ฉันทำมติ<br />

ควำมหมำย<br />

รากศัพท์ของค าว่าฉันทามติ (Consensus) มาจากภาษาลาตินว่า cōnsēnsus หรือ cōnsentiō หมายถึง ความรู้สึก<br />

ร่วมกัน (feel together) โดยพจนานุกรมฉบับ Merriam-Webster’s Collegiate Dictionary ให้ความหมายฉันทามติไว้ว่าเป็น<br />

ข้อตกลงร่วมกันที ่มีลักษณะเป็นการยอมรับแบบเอกฉันท์ (unanimity) หัวใจของฉันทามติมีสาระส าคัญอยู ่ที ่การประนีประนอม<br />

ระหว่างกัน และจัดกระบวนการให้คนในสังคมหรือชุมชนมีสิทธิในการแสดงความคิดเห็น เป้าหมายของฉันทามติมีเพื ่อเป็นเครื ่อง<br />

รับประกันว่าสมาชิกทุกคนในชุมชนจะสามารถแสดงความคิดเห็นและหาข้อตกลงร่วมกันได้ (http://www.merriamwebster.com/dictionary/consensus)<br />

ฉันทามติ มักเชื ่อมโยงกับการตัดสินใจ (consensus decision making) ซึ ่งหมายถึงกระบวนการตัดสินใจโดยกลุ่มคนที ่<br />

เน้นความยินยอมและเห็นชอบร่วมกันจากผู้มีส่วนร่วมทุกคน ดังนั้น ฉันทามติในกระบวนการตัดสินใจจึงหมายถึงทางออกแห่ง<br />

ปัญหาซึ ่งเป็นที ่ยอมรับร่วมกัน ได้รับการสนับสนุนจากทุกฝ่าย ถึงแม้อาจไม่ใช่ทางเลือกที ่ดีที ่สุดในใจของคนทุกคน<br />

อรรถำธิบำย<br />

ฉันทามติเป็นรูปแบบการตัดสินใจที ่ถูกออกแบบมาให้มีความแตกต่างจากการตัดสินใจโดยใช้เสียงข้างมาก (majority<br />

decision) ฉะนั้น ฉันทามติจะไม่เน้นที ่การลงคะแนนเสียง เพราะการลงคะแนนเสียงอาจท าให้เสียงข้างน้อย (minorities) ถูกละเลย<br />

ไปได้ ดังนั้น ฉันทามติจึงเน้นที ่กระบวนการในการอภิปรายถกเถียง รับฟังความคิดเห็นเพื ่อหาข้อตกลงร่วมกันระหว่างทุกฝ่าย<br />

มากกว่า หรืออาจจะกล่าวได้ว่าฉันทามติเป็นรูปแบบการตัดสินใจที ่จะป้องกันปรากฏการณ์ที ่เรียกว่าเผด็จการเสียงข้างมาก<br />

(majority tyranny)<br />

การตัดสินใจแบบฉันทามติ เป็นกระบวนการตัดสินใจที ่กลุ่มคนจ านวนมากอาจเห็นไม่ตรงกัน แต่ต้องการให้เกิดการมีส่วน<br />

ร่วมและความเห็นพ้องต้องกันมากที ่สุด กระบวนการถกอภิปราย ประกอบด้วยขั้นตอนดังนี ้<br />

รวมคนทุกกลุ่ม (inclusive): เปิดให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้าร่วมในกระบวนการถกอภิปรายให้มากที ่สุด<br />

เปิดช่องทางการมีส่วนร่วม (participatory): ผู้เข้าร่วมต้องมีโอกาสแสดงความคิดเห็น<br />

ร่วมด้วยช่วยกัน (collaborative): ทุกกลุ่ม ทุกคน ร่วมมือกันเสนอทางเลือก คนที ่มีความเห็นคล้ายกันพยายามปรับ<br />

ข้อเสนอให้เป็นตัวแทนความคิดของกลุ่มตน เพื ่อให้กลุ่มอื ่นพิจารณา<br />

หาข้อตกลง (agreement seeking): เป้าหมายคือ พยายามหาข้อตกลงร่วมกันให้มากที ่สุด เป้าหมายสูงสุดคือ<br />

ความเห็นพ้องต้องกันอย่างสมบูรณ์<br />

66


เกื ้อกูลกัน (cooperative): ผู้เข้าร่วมควรมีหัวใจอยู ่ที ่ผลประโยชน์ร่วมกันของทุกฝ่าย ควรปล่อยให้ทุกกลุ่มได้แสดง<br />

ความต้องการที ่แท้จริงของตนเอง เพื ่อน ามาปรับเข้ากับทางเลือกที ่ทุกฝ่ายจะยอมรับร่วมกันได้ ขณะเดียวกัน ก็ไม่ควร<br />

ให้ความต้องการเฉพาะของกลุ่มตนบดบังหรือท าให้ผลประโยชน์ร่วมกันไม่สามารถบรรลุได้<br />

ขั้นตอนไปสู ่กำรตัดสินใจแบบฉันทำมติ<br />

ขั้นที ่ 1: ถกอภิปราย<br />

ขั้นที ่ 2: แจกแจงข้อเสนอ/ทางเลือก<br />

ขั้นที ่ 3: ระบุตัวตนผู้มีส่วนร่วม/ส่วนได้ส่วนเสีย<br />

ขั้นที ่ 4: ร่วมกันปรับปรุง แก้ไขข้อเสนอ/ทางเลือก<br />

ขั้นที ่ 5: ประเมินเสียงสนับสนุน<br />

ขั้นที ่ 6: สรุปมติ หรือถ้าไม่สามารถหามติร่วมกันได้ ให้กลับไปท าข้อที ่ 1-5 ใหม่<br />

การสรุปผลการตัดสินใจ หรือ กติกาการตัดสินใจ ขึ ้นอยู ่กับข้อก าหนดที ่ตกลงกันไว้ล่วงหน้า น ้าหนักและขอบเขตของการ<br />

เห็นพ้องต้องกันมีหลายขนาดเช่น ทุกคนเห็นพ้องร่วมกัน ทุกคนเห็นร่วมกัน ยกเว้นหนึ ่งเสียงหรือสองเสียง เสียงข้างมากเด็ดขาด<br />

อย่างมาก (super majority) ซึ ่งมีตั้งแต่ 90% 75% เสียงสองในสาม หรืออื ่นๆ ที ่มากกว่าเสียงข้างมากเพียงครึ ่งหนึ ่ง บางกรณีอาจ<br />

ใช้การตัดสินใจของคณะกรรมการที ่ตั้งขึ ้นก็ได้ ในกรณีที ่ต้องการเสียงเห็นพ้องต้องกันอย่างสมบูรณ์ (unanimity) ผู้ที ่ไม่เห็นด้วย<br />

เพียงหนึ ่งเสียงก็อาจมีอ านาจยับยั้ง (block) การตัดสินใจนั้นได้ ขึ ้นอยู ่กับว่ากติกาที ่ก าหนดไว้เป็นเช่นไร (Hartnett, 2011)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับประเทศไทย ศาสตราจารย์ ดร.กาญจนา นาคสกุล ได้ให้นิยามฉันทามติ ว่าเป็นค าที ่ไม่ปรากฏในพจนานุกรมฉบับ<br />

ราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 ค าที ่ใกล้เคียงกัน คือ ค าว่า “ฉันทาคติ” แปลว่า ความล าเอียงเพราะรักใคร่ชอบใจ กับค าว่า<br />

“ฉันทานุมัติ” แปลว่า ความเห็นชอบตามโดยความพอใจ ให้กระท าการด้วยความเต็มใจ มักใช้ว่ามีฉันทานุมัติหรือลงฉันทานุมัติ<br />

หมายความว่าลงความเห็นด้วยความยินยอมพร้อมใจ เช่น ญาติๆ มีฉันทานุมัติให้เขาเป็นผู้จัดการมรดกของคุณปู่ “ฉันทานุมัติ”<br />

กับ “ฉันทามติ” จึงใช้ในความหมายเดียวกัน<br />

ในเชิงการน าไปใช้พบตัวอย่างเช่น ในเอกสารแผนพัฒนาการเมืองของสภาพัฒนาการเมืองเห็นว่า การสร้างกระบวนการ<br />

แสวงหาฉันทามติในการหาข้อสรุปหรือมติที ่ “ทุกคน” ที ่เกี ่ยวข้องยอมรับด้วยความเต็มใจโดยไม่มองข้ามความคิดเห็นหรือข้อคัดค้าน<br />

ของคนส่วนน้อย หลายครั้งจึงพบว่า “ญัตติสาธารณะ” และการริเริ่มหรือการเปลี ่ยนแปลงครั้งส าคัญๆ ทางการเมืองอาจถูกอ้างว่า<br />

ได้รับฉันทานุมัติจากประชาชนนอกสภา เช่น การขับไล่เผด็จการทหาร หรือเผด็จการระบอบรัฐสภา การร่างรัฐธรรมนูญ รวมทั้งการ<br />

ปฏิรูปการเมือง เป็นต้น แต่ในความเป็นจริง สังคมไทยยังไม่เคยน ากระบวนการตัดสินใจแบบเห็นพ้องต้องกันอย่างฉันทามติมาใช้<br />

อย่างเป็นทางการเลย<br />

ด้วยเหตุนี ้จึงเห็นได้ว่าการใช้ค าว่าฉันทามติในสังคมไทยยังมีปัญหาในการท าความเข้าใจใน 2 ระดับดังนี ้<br />

67


1) ปัญหาระดับการนิยาม เป็นปัญหาในการให้ความหมายที ่เน้นเรื ่องของเสียงข้างน้อย ไม่ใช่เรื ่องของ “กระบวนการ”<br />

เพราะฉันทามติในความหมายสากลไม่ได้สนใจเสียงข้างน้อยแต่เพียงอย่างเดียว แต่จะสนใจทั้งกระบวนการไม่ว่าจะมี<br />

เสียงขนาดไหน ก็มีสิทธิที ่จะแสดงความคิดเห็นและอภิปรายถกเถียงเพื ่อหาข้อตกลงร่วมกันได้<br />

2) ปัญหาระดับการปฏิบัติ ฉันทามติมักถูกใช้เป็นข้ออ้างในการไม่ปฏิบัติตามเสียงข้างมาก และไม่สนใจกติกาของ<br />

สังคม ซึ ่งปัญหาดังกล่าวถือว่าเป็นปัญหาระดับสากลเช่นเดียวกัน เพราะค าว่า consensus ที ่ต้องการให้ทุกเสียงมี<br />

ข้อสังเกตที่ควรเพิ่มเติม<br />

ความหมายอาจจะถูกน าไปบิดเบือนให้กลายเป็นเสียงข้างน้อยเท่านั้นที ่มีความหมาย หรือกล่าวได้ว่าเกิดเผด็จการ<br />

เสียงข้างน้อย (minority tyranny)<br />

การท าความเข้าใจและน าค าว่าฉันทามติไปใช้ จึงต้องค านึงถึงหลักการส าคัญคือ “กระบวนการ” ในการอภิปรายถกเถียง<br />

ที ่สมาชิกทุกคนในสังคมหรือชุมชนสามารถแสดงความคิดเห็นได้อย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่เน้นที ่ผลลัพธ์จากการตัดสินใจ แต่เน้นที ่<br />

การแลกเปลี ่ยนความคิดเห็นและการประนีประนอมระหว่างกัน จนท าให้เกิดข้อตกลงร่วมกันที ่สามารถยอมรับได้ทุกฝ่าย ซึ่งไม่<br />

จ าเป็นว่าจะต้องเกิดประโยชน์สูงสุดหรือมีประสิทธิภาพสูงสุด แต่จะเป็นกระบวนการที ่ลดความขัดแย้งได้ดีที ่สุด<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

“ฉันทามติ” (2555). ราชบัณฑิตสถาน. เข้าถึงวันที ่ 20 สิงหาคม 2555 ใน http://www.royin.go.th/th/knowledge/detail.php?<br />

ID=381.<br />

“แผนพัฒนาการเมือง” (2555). สภาพัฒนาการเมือง. เข้าถึงวันที ่ 20 สิงหาคม 2555 ใน<br />

http://www.pdc.go.th/th/images/stories/file/Council_for_Political_Development/inside.pdf.<br />

Hartnett, Tim (2011). The Basics of Consensus Decision Making. New York: New<br />

Society Publisher. Accessed May 7, 2012 from http://www.consensusbook.com.<br />

Read, James H. (2011). “Consensus”. In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science.<br />

Washington, D.C.: CQ Press.<br />

Lijphart, Arend (1984). <strong>Democ</strong>racies: Patterns of Majoritarian <strong>and</strong> Consensus Government in Twenty-one Countries. New<br />

Haven: Yale University Press.<br />

68


CONSERVATIVE/ NEO-CONSERVATIVE<br />

อนุรักษ์นิยม และอนุรักษ์นิยมใหม่<br />

ควำมหมำย<br />

อนุรักษ์นิยม (Conservative) โดยทั่วไปหมายถึง แนวคิดที ่เน้นการธ ารงไว้ซึ ่งสิ่งที ่มีอยู ่ สิ่งที ่ได้รับตกทอดมา ผู้ที ่จะมีจิตส านึก<br />

เป็นแบบอนุรักษ์นิยมได้นั้นจะต้องตระหนักรู้อยู ่แก่ใจ หรือ มีส านึกอย่างแน่วแน่ที ่จะปฏิเสธซึ ่งทางเลือกอื ่นๆ ที ่จะน าไปสู ่การเสาะ<br />

แสวงหาสิ่งใหม่ๆ หรือ การเปลี ่ยนแปลง ซึ ่งจิตส านึกเช่นนี ้นี ่เองได้น าไปสู ่การก่อร่างสร้างหลักการ และกฎเกณฑ์บางอย่างที ่จะมา<br />

ก าหนดวิสัยทัศน์ ทัศนคติ ตลอดจนแนวทางของการมีส่วนร่วมทางการเมืองการปกครองของผู้ที ่มีจิตส านึกดังกล่าวร่วมกัน<br />

(Kurian, 2011: 301)<br />

องค์ประกอบพื ้นฐานของแนวคิดอนุรักษ์นิยมนั้นมีหลายประการ โดยคุณสมบัติที ่ส าคัญๆ ได้แก่การยึดถือขนบประเพณี<br />

(tradition) ซึ ่งหมายถึงสิ่งที ่ได้รับการพิสูจน์จากคนในสังคมแล้วว่าดี จึงยึดถือ และประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา ซึ่งวิธีคิดใน<br />

รูปแบบนี ้ขัดแย้ง และตรงข้ามกับการเสาะแสวงหาความเปลี ่ยนแปลง ดังนั้นประเพณีจึงถือได้ว่าเป็นแก่นของแนวคิดอนุรักษ์นิยม<br />

เพราะถือได้ว่าเป็นขุมปัญญาแห่งอดีต (wisdom of the past) ที ่ได้ผ่านบทพิสูจน์ทางกาลเวลา (tested by time) มาแล้วว่าเป็นสิ่งที ่<br />

ดี และคู ่ควรแก่การน้อมน าไปปฏิบัติ อีกทั้งยังเป็นสายใยที ่คอยประสานความรู้สึกเป็นหนึ ่งเดียวกันทางประวัติศาสตร์ที ่มาของคน<br />

ในสังคมอีกด้วย (Heywood, 2012)<br />

นอกจากนี ้พวกอนุรักษ์นิยมยังมีวิธีคิดเป็นแบบ “ปฏิบัตินิยม” หรือ “สัมฤทธิผลนิยม” (pragmatism) และ “ประจักษ์นิยม”<br />

(empiricism) โดยทั้งสองแนวคิดนี ้ล้วนแล้วแต่เป็นแนวคิดที ่ต่อต้านความคิดที ่เชื ่อว่าบ่อเกิดของความรู้นั้นเกิดขึ ้นจากการใช้เหตุผล<br />

เท่านั้น เพราะว่าพวกอนุรักษ์นิยมนั้นเชื ่อว่ามนุษย์ยังมีข้อจ ากัดและยังไม่สมบูรณ์ ดังนั้น พวกเขาจึงปฏิเสธแนวทางดังกล่าว และ<br />

เชื ่อว่าความรู้คือสิ่งที ่ได้มาโดยผ่านผัสสะทั้ง 5 ประการของมนุษย์ อันน าไปสู่การสั่งสมประสบการณ์ ซึ ่งเป็นบ่อเกิดของความรู้<br />

ในแบบปฏิบัตินิยม หรือ ความรู้ที ่น าไปปฏิบัติได้จริง มากกว่าความรู้ในแบบนามธรรม หรือ ความรู้ที ่เป็นกฎเกณฑ์ทั่วไปที ่สร้างขึ ้น<br />

จากการใช้เหตุผลแต่เพียงอย่างเดียวของฝ่ายเหตุผลนิยม (rationalism) ดังนั้น พวกอนุรักษ์นิยมบางส่วนจึงไม่ยอมรับว่าแนวคิด<br />

ของตนนั้นเป็น “อุดมการณ์” ที ่มีลักษณะเป็นกฎเกณฑ์ทั่วไป แต่เป็นทัศนคติทางจิตใจ และแนวทางการด าเนินชีวิตมากกว่า<br />

(สมเกียรติ, 2551: 51)<br />

แนวคิดอนุรักษ์นิยมปฏิเสธแนวคิดที ่มองมนุษย์เป็นเพียงปัจเจกบุคคล แต่มองมนุษย์ในฐานะที ่ต้องอยู ่ร่วมกันเป็นหน่วย<br />

ใหญ่ที ่เป็นกลุ่ม หรือ เป็นสังคม ในรูปแบบขององคาพยพ (organicism) ที ่ทุกๆ คนในสังคมเปรียบเสมือนอวัยวะของร่างกายที ่ไม่<br />

สามารถด ารงชีวิตอยู ่ได้เพียงล าพัง แต่จะต้องอาศัยการอยู ่ร่วมกันเป็นองค์รวมโดยไม่สามารถขาดส่วนใดส่วนหนึ ่งไปได้ ซึ ่ง การ<br />

เปรียบเทียบผู้คนในสังคมเป็นองคาพยพของร่างกายนี ้เองที ่น าไปสู ่การจัดล าดับชั้นความส าคัญของคนในสังคม (hierarchy)<br />

เช่นเดียวกันกับระบบวรรณะทั้งสี ่ (caste system) ของพราหมณ์-ฮินดู ที ่แบ่งชนชั้นและความส าคัญของผู้คนในสังคมออกตาม<br />

อวัยวะของพระศิวะ คือ ศีรษะ แขน ขา และเท้า นั่นเอง<br />

69


โดยรวม แนวคิดอนุรักษ์นิยมมีลักษณะเด่นคือ ชอบสภาวะดั้งเดิม (status quo) ไม่ท าอะไรให้กระทบกับสิ่งที ่มีอยู ่แล้ว ไม่<br />

นิยมการเปลี ่ยนแปลง หรือถ้าจ าเป็นต้องเปลี ่ยนแปลง ก็ต้องแบบค่อยเป็นค่อยไป ไม่ค่อยยอมรับนวัตกรรมใหม่ๆ แบบพลิกฝ่ามือ ให้<br />

ความส าคัญกับประสบการณ์ของบุคคล (ตามคติไทยที ่ว่า “อาบน ้าร้อนมาก่อน”) และมองว่า ความเสมอภาคอาจเป็นอันตรายต่อ<br />

เสรีภาพ หากมนุษย์ใช้เสรีภาพนั้นเพื ่อประโยชน์ต่อตนเองโดยจ ากัดเสรีภาพบุคคลอื ่น ดังนั้น จึงมักอธิบายว่าความเสมอภาค 1 คน 1<br />

เสียงเป็นความเสมอภาคแต่เพียงเชิงปริมาณ ความเสมอภาคดังกล่าวจะไร้คุณภาพและความหมายหากไม่มีการพิจารณาความ<br />

แตกต่างของบุคคล เช่น ความรู้ ประสบการณ์ ฐานะ วัย<br />

ส าหรับแนวคิดอนุรักษ์นิยมใหม่ (neo-conservative) เป็นแขนงหนึ ่งที ่แตกออกมาจากแนวคิดอนุรักษ์นิยมแบบเดิมที ่ได้<br />

กล่าวไปในข้างต้น บางครั้งเรียกสั้นๆ ว่า “นีโอคอน” (neo-con) โดยแนวคิดอนุรักษ์นิยมใหม่ มักหมายถึงแนวคิดทางการเมืองที ่<br />

สนับสนุนบทบาทของรัฐบาลในการเข้าแทรกแซงเพื ่อแก้ปัญหาสังคม หรือแทรกแซงการเมืองระหว่างประเทศ ในบริบทการเมือง<br />

ระหว่างประเทศนั้น ค าว่าอนุรักษ์นิยมใหม่ ถูกใช้อธิบายนโยบายต่างประเทศแบบเชิงรุกผ่านการแทรกแซงโดยกองก าลังทหาร<br />

(military interventionism) แนวคิดอนุรักษ์นิยมใหม่ในเชิงนโยบายต่างประเทศ มีฐานคติ 3 ประการ คือ<br />

1) มองป ัญหาแบบขาว-ด า แบ่งฝ ักฝ่ายคุณธรรม และไร้คุณธรรมอย่างชัดเจน ฉะนั้นฝ่ายเทพหรือคุณธรรมจึงมี<br />

ความชอบธรรมทั้งปวงที ่จะเข้าแทรกแซงทางการเมืองเพื ่อมวลมนุษยชาติ<br />

2) เป็นการเมืองระหว่างประเทศแบบอ านาจเดี ่ยว (uni-polar) ภายใต้การน าของสหรัฐอเมริกา และสนับสนุนการใช้<br />

ก าลังทหารเป็นกลไกส าคัญอันดับแรก ไม่ใช่เป็นเพียงทางเลือกหนึ ่ง โดยเชื ่อมั่นในแนวทางการใช้ก าลังทหารเชิงรุก<br />

เพื ่อป้องกันก่อนเหตุเกิด (preemptive military action)<br />

3) ไม่ให้ความส าคัญกับหน่วยงานทางการทูตแบบเดิม เช่น กระทรวงการต่างประเทศ<br />

ตัวอย่างที ่เด่นชัดของรัฐบาลที ่น าแนวคิดอนุรักษ์นิยมใหม่มาใช้ในการก าหนดความสัมพันธ์ระหว่างประเทศคือ รัฐบาล<br />

ประธานาธิบดีโรนัลด์ แรแกน (Ronald Reagan) ประธานาธิบดีจอร์ช เอช. ดับเบิ ้ลยู บุช (George H.W. Bush) และประธานาธิบดี<br />

จอร์ช ดับเบิ ้ลยู บุช (George W. Bush) ทั้งสามคนมาจากพรรครีพับลิกัน (Republican party)<br />

อรรถำธิบำย<br />

หากลองมองย้อนกลับไป ค าว่าอนุรักษ์นิยมนี ้อาจมีที ่มาตั้งแต่ยุคกลาง (Middle Ages) ดังจะเห็นได้จากผู้ดูแลเมืองในยุค<br />

กลางของยุโรปจะถูกเรียกว่า “conservators” (สมเกียรติ, 2551: 47) อย่างไรก็ตาม ค าว่าอนุรักษ์นิยมนั้นได้เริ่มมีนัยทางการเมือง<br />

หรือ กลายเป็น “อุดมการณ์ทางการเมือง” (political ideology) ภายหลังจากเหตุการณ์ปฏิวัติใหญ่ของฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1789 ที ่ถือ<br />

ได้ว่าเป็นการเปลี ่ยนแปลงครั้งส าคัญทั้งในมิติของอุดมการณ์ ความคิด และรูปแบบทางการเมืองการปกครอง ด้วยเหตุนี ้ผลของการ<br />

ปฏิวัติฝรั่งเศสจึงได้ท าให้เกิดกระแสต่อต้านการเปลี ่ยนแปลง หรือ กลุ่มปฏิกิริยาของการปฏิวัติขึ ้น โดยบุคคลเหล่านี ้นี ่เองที ่เป็นกลุ่ม<br />

คนที ่เรียกตนเองว่าเป็น “พวกอนุรักษ์นิยม” น าโดยนักคิดชาวอังกฤษคนส าคัญในสมัยนั้นคือ เอ็ดมัน เบิร์ก (Edmund Burk: 1729<br />

-1797) ผ่านงานเขียนของเขาเรื ่อง “บทสะท้อนว่าด้วยการปฏิวัติในฝรั ่งเศส” (Reflections on the Revolution in France) ที ่กล่าว<br />

โจมตีการปฏิวัติฝรั่งเศส และถือได้ว่าเป็นเสาหลักและคู ่มือชิ ้นเอกของกลุ่มอนุรักษ์นิยมในรุ่นต่อๆ มาทั่วโลก (Kurian, 2011: 301)<br />

70


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

หากยึดถือแนวคิดอนุรักษ์นิยมตามรูปแบบที ่ได้อธิบายไปในข้างต้นแล้ว อาจนับได้ว่านักคิด ปัญญาชน หรือ อุดมการณ์<br />

ทางการเมืองที ่สามารถสร้างอ านาจน า (hegemony)<br />

ในประเทศไทยสมัยสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือ สมัยก่อนที ่จะมีการ<br />

เปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 นั้นล้วนแล้วแต่เป็นแนวคิดในแบบอนุรักษ์นิยม หรือ จารีตประเพณีนิยมทั้งสิ ้น<br />

ทว่าภายหลังจากการเปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 นั้นหมายรวมถึงกลุ่มผู้ที ่สนับสนุน และนิยมในระบอบเก่า<br />

(ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์) ซึ ่งส่วนใหญ่ได้แก่เจ้านายและเชื ้อพระวงศ์เดิม บางทีเรียกว่า “กลุ่มอนุรักษ์นิยมเก่า” ในขณะที ่<br />

“กลุ่มอนุรักษ์นิยมใหม่” ก็ได้แก่บุคคลที ่รับช่วงและสืบต่อแนวคิดนี ้มาจากกลุ่มอนุรักษ์นิยมเก่า เช่น ม.ร.ว. คึกฤทธิ์ปราโมทย์ โดยที ่<br />

กลุ่มอนุรักษ์นิยมทั้งเก่าและใหม่ต่างก็มีจุดยืนร่วมกันในการสนับสนุน และเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์ โดยแต่ละฝ่ายต่างก็มี<br />

บทบาทในทางการเมืองไทยในแต่ละช่วงต่างๆ กันไป เช่น กลุ่มอนุรักษ์นิยมเก่ามีบทบาทส าคัญในช่วงปี 2490 – 2495 ในขณะที ่<br />

กลุ่มอนุรักษ์นิยมใหม่ฝ่าย “ราชครู” และ “สี ่เสาเทเวศร์” นั้นมีบทบาทน าในช่วง 2495-2500 และ 2500 – 2510 ตามล าดับ (ศูนย์<br />

ข้อมูลการเมืองไทย)<br />

ในช่วงหลังจากการเกิดเหตุการณ์วิกฤติการณ์เดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 นั้นกลุ่มอนุรักษ์นิยมได้แตกออกเป็นกลุ่มถนอม-<br />

ประภาส กลุ่มกฤษณ์ สีวะรา (สี ่เสาเทเวศร์เก่า) และกลุ่มพรรคชาติไทย (ราชครูเก่า) และกลุ่มพรรคประชาธิปัตย์ในการร่วมมือกัน<br />

ขับเคี ่ยวกับแนวคิดเสรีนิยมที ่เติบโตขึ ้นหลังจากเหตุการณ์ในปี พ.ศ. 2516 ที ่ท้ายที ่สุดได้น าไปสู ่เหตุการณ์นองเลือดในวันที่ 6<br />

ตุลาคม พ.ศ. 2516 หรือ ที ่เรียกว่าขบวนการ “ขวาพิฆาตซ้าย” โดยค าว่า “ขวา” ในที่นี้ก็อาจแทนได้กับแนวคิดอนุรักษ์นิยมใน<br />

สังคมไทย<br />

นอกจากนี ้ หลังจากเหตุการณ์รัฐประหารรัฐบาลของ พ.ต.ท. ทักษิณ ชินวัตร ในปี พ.ศ. 2549 ค าว่าอนุรักษ์นิยมใน<br />

สังคมไทยได้ขยายวงจากกลุ่มกษัตริย์นิยม ไปครอบคลุมถึงผู้ที ่ไม่ยอมรับระบอบประชาธิปไตยระบบตัวแทนที ่มาจากการเลือกตั้ง<br />

ของประชาชนเสียงข้างมาก รวมไปถึงอาจสนับสนุนแนวทางอ านาจนิยม ในกรณีนี ้หมายถึงผู้ที ่เห็นด้วยและสนับสนุนให้ใช้การ<br />

รัฐประหารแก้ไขวิกฤติของประเทศ ควบคู ่ไปกับแนวทางการถวายคืนพระราชอ านาจ (โดยอ้างอิงเนื ้อหาในมาตรา 7 ของ<br />

รัฐธรรมนูญ) อีกทั้งยังหมายรวมถึงกลุ่มผู้ที ่เคลื ่อนไหวโดยยึดอุดมการณ์ “ราชา ชาตินิยม” คือน าประเด็นเรื ่องชาตินิยม (nationalism)<br />

กับการปกป้องสถาบันพระมหากษัตริย์มาใช้เป็นพลังและสร้างความชอบธรรมในการขับเคลื ่อนประเด็นที ่มุ่งเป้าไปยังการล้มรัฐบาล<br />

ที ่มาจากการเลือกตั้ง ซึ ่งมักจะเคลื ่อนไหวโดยอิงแอบไปกับฝ่ายอนุรักษ์นิยมในแบบเก่าของไทยร่วมอยู ่ด้วยเสมอ การเคลื ่อนไหว<br />

ผ่านเครือข่ายอุปถัมภ์โดยชนชั้นน าของไทยเพื ่อรับมือกับแรงเสียดทานทางการเมืองอันเกิดขึ ้นจากความเปลี ่ยนแปลงทางด้าน<br />

ทัศนคติ และอุดมการณ์ทางการเมืองของประชาชนไทยปรากฏให้เห็นในหลากหลายกลุ่มมวลชน และเด่นชัดขึ ้นมากทั้งก่อนและ<br />

หลังเหตุการณ์รัฐประหาร 19 กันยายน พ.ศ. 2549 จนถึงการรัฐประหาร 22 พฤษภาคม พ.ศ. 2557<br />

อาจกล่าวได้ว่า แนวคิดอนุรักษ์นิยมในสังคมไทยประกอบไปด้วยการให้ความส าคัญกับคุณค่า (values) 3 ประการ ที ่พวก<br />

เสรีนิยม (โปรดดู liberal) ไม่สนใจนัก คือ 1) ความภักดี (loyalty) 2) การเคารพในอ านาจ สถานภาพ (respect for authority)<br />

ความศักดิ์สิทธิ์(sanctity) (บุคลาธิษฐาน) และ 3) เชื ่อฟัง (obedient) ประเด็นที ่ถูกมองว่าสะท้อนแนวคิดอนุรักษ์นิยมในสังคมไทย<br />

เช่น เห็นด้วยกับนโยบายให้นักเรียนตัดผมสั้น (เกรียน) ยึดมั่นในการแต่งเครื ่องแบบนิสิต นักศึกษา ต้องการผดุงรักษาระบบอาวุโส<br />

71


และคงไว้ซึ ่งวัฒนธรรมดั้งเดิมที ่เชื ่อว่าเป็นสัญลักษณ์ของความเป็นไทย ผู้ที ่มีความเชื ่อในประการหลัง มักมองว่าประเทศไทยมี<br />

เอกลักษณ์เฉพาะตัวที ่พิเศษกว่าชาติใดในโลก และมักยอมรับไม่ได้หากมีการวิพากษ์วิจารณ์ที ่ชี ้ให้เห็นถึงจุดอ่อน และข้อบกพร่อง<br />

ของประเทศไทย และความเป็นไทย<br />

ส าหรับแนวคิดอนุรักษ์นิยมใหม่ในสังคมไทย นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2556) วิเคราะห์ให้เห็นว่า นอกจากอ านาจของทุนแล้ว สิ่ง<br />

ที ่กลุ่มสนับสนุนแนวคิดอนุรักษ์นิยมใหม่กังวลใจมากที ่สุด คือ การจัดวางระเบียบสังคมเพื ่อก ากับพฤติกรรมของผู้คน อนุรักษนิยม<br />

ใหม่ต้องการรื ้อฟื ้นหรือผดุงอ านาจตามประเพณีและการเคารพช่วงชั้นทางสังคมตามประเพณีให้คงคืนและด ารงอยู่ต่อไป ที ่<br />

น่าสนใจไปกว่านั้นคือ กลุ่มอนุรักษ์นิยมใหม่จะระแวงไม่ไว้วางใจประชาธิปไตยมวลชน และอยากเห็นระบบการปกครอง<br />

(governance) อยู ่ในมือชนชั้นน า มากกว่าอยู ่ในการก ากับของมวลชน แม้จะมีจ านวนมาก แต่ขาดประสบการณ์ ด้อยการศึกษา ไม่<br />

มีชาติตระกูล ไม่มีหัวนอนปลายเท้า<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในสหรัฐอเมริกา แนวคิดอนุรักษ์นิยมมักถูกเชื ่อมโยงกับผู้นิยมพรรครีพับลิกัน (Republican Party) ซึ ่งมีความโน้มเอียง<br />

เสนอนโยบายเหล่านี ้ คือ ในประเด็นทางเศรษฐกิจ นิยมรัฐบาลขนาดเล็ก มีกฎเกณฑ์กติกาในการท าธุรกิจน้อย ให้เอกชนในระบบ<br />

ตลาดเสรีท าหน้าที ่บริการประชาชนแทนรัฐ ตีความรัฐธรรมนูญตามลายลักษณ์อักษร ขณะที ่ผู้มีแนวคิดเสรีนิยม (โปรดดู liberal)<br />

มักนิยมรัฐบาลที ่เข้ามาควบคุมกฎระเบียบในการด าเนินธุรกิจและด าเนินนโยบายเพื ่อประชาชน เช่น ระบบประกันสุขภาพถ้วนหน้า<br />

ไม่ให้ปลาใหญ่กินปลาเล็ก ในประเด็นทางการเมือง ผู้มีแนวคิดเสรีนิยมจะชื ่นชอบรัฐบาลที ่เก็บภาษีน้อยลง ใช้จ่ายน้อยลง (เช่นกับ<br />

นโยบายประชานิยม) ต้องไม่ใช้งบขาดดุล นายทุนและผู้มีรายได้สูงควรมีแรงจูงใจที ่จะลงทุน การบริจาคและการกุศลเป็นเรื ่องของ<br />

ประชาชน ไม่ใช่รัฐบาล และเน้นการปกป้องทรัพย์สินส่วนบุคคล ซึ ่งตรงกันข้ามกับผู้มีแนวคิดอนุรักษ์นิยมที ่เห็นว่ารัฐควรจัดให้มี<br />

สวัสดิการและบริการสาธารณะแก่ผู้มีรายได้น้อย ถึงแม้จ าเป็นจะต้องเก็บภาษีเพิ่มขึ ้น ผู้มีรายได้สูงควรเสียภาษีในสัดส่วนที ่สูงขึ ้น<br />

เน้นการดูแลผลประโยชน์และทรัพย์สินส่วนรวม ส่วนในประเด็นทางสังคม ผู้มีแนวคิดอนุรักษ์นิยมมักต่อต้านการแต่งงานของเพศ<br />

เดียวกัน การท าแท้ง สนับสนุนสิทธิในการถือครองอาวุธปืน เห็นด้วยกับโทษประหารชีวิต มองว่าประชาชนต้องรับผิดชอบชีวิตและ<br />

ทรัพย์สินของตนเอง บุคคลควรรับผิดชอบในการกระท าของตน โดยเฉพาะเมื ่อท าผิด รัฐบาลมีหน้าที ่ต้องลงโทษให้ถึงที ่สุด แม้จะ<br />

เป็นการลงโทษที ่รุนแรง กฎหมายมีไว้เพื ่อรักษาความเป็นระเบียบและความสงบเรียบร้อยของสังคม ในขณะที ่ผู้ที ่มีแนวคิดเสรีนิยม<br />

มักเห็นว่าโครงสร้าง และความไม่เป็นธรรมในสังคมมีส่วนส่งผลให้คนท าความผิด จึงควรให้โอกาสทุกคน กฎหมายมีไว้เพื ่อเป็น<br />

หลักประกันเรื ่องสิทธิที ่เท่าเทียมกันทุกคน และปกป้องประชาชน ถึงแม้บางครั้งอาจท าให้เสรีภาพทางเศรษฐกิจของบางกลุ่มลดลง<br />

นักจิตวิทยาบางคนเชื ่อว่า ผู้มีแนวคิดอนุรักษ์นิยมมักมองสังคมว่ามีภัยคุกคามอยู ่เสมอ เวลาได้ยินเสียงดังจะตกใจง่าย<br />

กว่า และเวลาเห็นภาพน่ารังเกียจ เช่น คนกินหนอน ผู้มีแนวคิดอนุรักษ์นิยมจะรู้สึกขยะแขยงกว่า นอกจากนี ้ผู้มีแนวคิดอนุรักษ์นิยม<br />

มักชอบสุนัขที ่ซื ่อสัตย์และว่าง่าย ขณะที ่ผู้มีแนวคิดเสรีนิยมมักชอบสุนัขที ่อ่อนโยน แต่ไม่เชื ่อฟัง<br />

ในระบอบประชาธิปไตยควรมีพื ้นที ่ให้ทุกแนวคิด ไม่ว่าจะเป็นอนุรักษ์นิยม เสรีนิยม สังคมนิยม หรือคอมมิวนิสต์ เพราะ<br />

เราไม่สามารถท าให้มนุษย์มีความคิดเหมือนกัน มองโลกผ่านสายตาคู ่เดียวกัน จารีต ประเพณี และวัฒนธรรมแบบที ่กลุ่มอนุรักษ์<br />

72


นิยมยึดถือไม่จ าเป็นต้องขัดแย้งกับประชาธิปไตยเสมอไป และไม่มีสังคมใดในโลกที ่ตัดขาดจากวัฒนธรรมประเพณีของตัวเองได้<br />

ทั้งหมด ฉะนั้น สังคมควรเปิดพื ้นที ่ให้ทุกความเห็นมีที ่ยืน และแสดงความเห็นต่างได้อย่างสันติ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Liberalism’<br />

“พัฒนาการแนวคิดอนุรักษ์นิยม”. ศูนย์ข้อมูลการเมืองไทย. เข้าถึงวันที ่ 20 สิงหาคม 2555 ใน http://politicalbase.in.th/index.php/<br />

พัฒนาการแนวคิดอนุรักษ์นิยม.<br />

นิธิ เอียวศรีวงศ์. “ทุนนิยมสามานย์และนีโอคอนไทย”. มติชนสุดสัปดาห์. ฉบับวันที ่ 6-12 กันยายน 2556, หน้า 30.<br />

สมเกียรติ วันทะนะ (2551). อุดมการณ์ทางการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: อักษรข้าวสวย.<br />

Heywood, Andrew (2012). Political ideologies: an introduction. New York: Palgrave Macmillan.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Laslett, Peter (1949). Patriarcha <strong>and</strong> other political works of Sir Robert Filmer. Oxford: Basil Blackwell.<br />

73


CONSTITUTIONALISM<br />

รัฐธรรมนูญนิยม<br />

ควำมหมำย<br />

รัฐธรรมนูญนิยม หรือ ระบอบรัฐธรรมนูญ (Constitutionalism) หมายถึง ความเชื ่อทางปรัชญาความคิดที ่นิยมหลักการ<br />

ปกครองรัฐด้วยกฎหมายรัฐธรรมนูญ กล่าวคือ เป็นแนวความคิดที ่มุ่งหมายจะใช้รัฐธรรมนูญที ่เป็นลายลักษณ์อักษร (written<br />

constitution) เป็นหลักในการก าหนดรูปแบบ กลไก และสถาบันทางการเมืองการปกครองต่างๆ ตลอดจนโครงสร้างพื ้นฐานของ<br />

การบริหารงานภาครัฐในฐานะที ่เป็นกฎหมายสูงสุด (อมร จันทรสมบูรณ์, 2537: 9; Alex<strong>and</strong>er, 1999: 16; Bellamy, 2007: 4-5;<br />

Sartori, 1962: 3)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดนี ้เริ่มก่อตัวขึ ้นครั้งแรกในประเทศตะวันตก ในราวคริสต์ศตวรรษที ่ 17 เพื ่อต่อต้าน คัดค้านรูปแบบการเมืองการ<br />

ปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolutism) ของประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปขณะนั้น จนมาปรากฏชัดเจนขึ ้นหลังจากการ<br />

ประชุมเพื ่อยกร่างรัฐธรรมนูญของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1787 (McIlwain, 1977: 17) ซึ ่งท าให้แนวคิดเกี ่ยวกับรัฐธรรมนูญที ่เป็น<br />

ลายลักษณ์อักษรนั้นปรากฏชัดเจนขึ ้นเป็นครั้งแรก ดังนั้น แนวคิดเรื ่องลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี ้เมื ่อเกิดขึ ้นในขั้นต้น จึงไม่ได้มี<br />

ความหมายกลางๆ แต่อย่างใด หากแต่มีความหมายที ่โน้มเอียงไปในด้านการจ ากัดอ านาจแบบเบ็ดเสร็จเด็ดขาดของการปกครอง<br />

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ในขณะนั้น และเน้นหนักในการพยายามสร้างสิทธิ เสรีภาพ และความเสมอภาคของพลเมืองภายในรัฐ<br />

โดยเรียกร้องให้มีการน าสิ่งที ่เรียกว่า “รัฐธรรมนูญ” มาใช้เป็นหลักในการวางกรอบของประเด็นดังกล่าว จากลักษณะข้างต้นจึงท าให้<br />

ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมในประเทศตะวันตกนั้นได้กลายเป็นส่วนหนึ ่งของอุดมการณ์เสรีประชาธิปไตยไปในที ่สุด หรือกล่าวอีกนัยหนึ ่ง<br />

ก็คือ ส าหรับประเทศตะวันตกแล้ว หากจะมีรัฐธรรมนูญก็ควรจะต้องเป็นรัฐธรรมนูญที ่เป็นประชาธิปไตยนั่นเอง (Bellamy, 2007:<br />

93)<br />

ท่ามกลางกระแสเสรีประชาธิปไตยซึ ่งยังคงเป็นกระแสหลักของประเทศส่วนใหญ่ในตะวันตก จึงได้ท าให้ค าว่าลัทธิ<br />

รัฐธรรมนูญนิยมในปัจจุบันกลับกลายเป็นสิ่งที ่มีความหมายกลางๆ ที ่มองรัฐธรรมนูญเป็นเครื ่องมือทางกฎหมายอย่างหนึ ่ง ที ่จะ<br />

น ามาใช้วางโครงสร้างสถาบันทางการเมืองการปกครอง ก าหนดแหล่งที ่มาของอ านาจ การเข้าสู ่อ านาจ และการใช้อ านาจของ<br />

ผู้ปกครองในทุกๆ ระบอบการปกครอง (McIlwain, 1977) โดยมิได้จ ากัดอยู ่แต่เพียงระบอบประชาธิปไตยอีกต่อไป ดังจะเห็นได้<br />

จากในปัจจุบันนี ้รัฐสมัยใหม่ “ทุกรัฐ” ในโลกนี ้ไม่ว่าจะเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตยหรือไม่ ต่างก็ล้วนแล้วแต่ยึดรูปแบบการ<br />

ปกครองของระบอบรัฐธรรมนูญนิยม (constitutionalism) ทั้งสิ ้น กล่าวคือ ทุกๆ รัฐต่างก็มีรัฐธรรมนูญเป็นกฎหมายสูงสุดในการ<br />

จัดวางอ านาจและโครงสร้างทางการเมืองของประเทศนั้นๆ (เสน่ห์, 2540: 17) โดยปัจจุบัน (พ.ศ. 2556) ประเทศที ่สหประชาชาติ<br />

ให้การรับรองนั้นมีทั้งสิ ้น 196 ประเทศ (แต่เป็นสมาชิกสหประชาชาติเพียง 193 ประเทศ) ในขณะที ่รัฐธรรมนูญที ่เป็นทางการที ่ใช้<br />

อยู ่ในปัจจุบันในโลกนี ้มีทั้งสิ ้นกว่า 203 ฉบับ ทั้งนี ้เพราะในรัฐโพ้นทะเลบางแห่งอย่างเช่น หมู ่เกาะบริติช เวอร์จิน (British Virgin<br />

Isl<strong>and</strong>s or BVI) ของอังกฤษ หรือ เกาะกรีนแลนด์ของเดนมาร์กนั้นต่างก็เป็นรัฐที ่มีรัฐธรรมนูญเป็นของตนเองในฐานะเป็นดินแดน<br />

74


ที ่มีการปกครองตนเอง แม้ว่าอ านาจอธิปไตยเหนือดินแดน (absolute territorial sovereignty) นั้นจะเป็นของประเทศเจ้าเอกราชก็<br />

ตาม<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยเองก็รับเอาลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมนี ้เข้ามาใช้อย่างเป็นทางการภายหลังจากการเกิดการเปลี ่ยนแปลงการ<br />

ปกครอง พ.ศ. 2475 และการได้มาซึ ่งรัฐธรรมนูญฉบับแรกของคณะราษฎร แม้ว่าขบวนการในการเปลี ่ยนแปลงการปกครองนั้นจะ<br />

สามารถสร้างระบอบรัฐธรรมนูญขึ ้นในประเทศไทยได้ แต่ผลจากการที ่การเปลี ่ยนแปลงการปกครองเกิดจากการต่อสู้กันเฉพาะภายใน<br />

กลุ่มชนชั้นน าบางส่วนของไทย ประกอบกับประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่มีความรู้ความเข้าใจเกี ่ยวกับรัฐธรรมนูญ ถึงขนาดที ่มีคนเข้าใจ<br />

ว่า “รัฐธรรมนูญ” เป็นชื ่อของลูกชายนายทหารผู้น าการเปลี ่ยนแปลงการปกครอง คือ พระยาพหลพลพยุหเสนา (ปรีดี, 2543) ทั้งนี ้<br />

ก็เพราะประชาชนส่วนใหญ่ยังไม่ได้มีส่วนร่วมในการเปลี ่ยนแปลงการปกครอง หรือต่อสู้บนพื ้นฐานของความเข้าใจในสิทธิเสรีภาพ<br />

และการได้มาซึ ่งรัฐธรรมนูญ อันจะเป็นเครื ่องมือในการสร้างความเสมอภาคเท่าเทียมและเป็นตัวแทนอ านาจอธิปไตยของปวงชน<br />

ดังเช่นที ่ประชาชนชาติตะวันตกได้ต่อสู้ด้วยความยากล าเค็ญเพื ่อก่อร่างสร้างระบอบรัฐธรรมนูญในประเทศของพวกเขา<br />

ดังนั้น ระบอบรัฐธรรมนูญของไทยที ่เกิดขึ ้นภายหลังจากการเปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 จึงสามารถก่อรูปได้<br />

ก็แต่เพียงหลักการในการจ ากัดอ านาจผู้ปกครอง คือ พระมหากษัตริย์ในระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ และท าให้แหล่งที ่มาของ<br />

อ านาจต้องอ้างอิงกับประชาชนเจ้าของอ านาจอธิปไตยได้ตามหลักการทุกประการ แต่จากการได้มาซึ ่งรัฐธรรมนูญที ่ประชาชนไม่ได้<br />

มีส่วนร่วมในการต่อสู้มากนักจึงท าให้พวกเขาไม่สามารถเชื ่อมโยงจิตส านึกให้เข้ากับรัฐธรรมนูญได้ แม้จะมีบทบัญญัติถึงหน้าที ่<br />

ในการพิทักษ์รัฐธรรมนูญไว้ในรัฐธรรมนูญก็ตาม ท าให้รัฐธรรมนูญขาดความศักดิ์สิทธิ์ กฎหมายรัฐธรรมนูญไทยตั้งแต่ปี<br />

พ.ศ.2475 จึงกลายเป็นผลลัพธ์และการรอมชอมจากการต่อสู้ของกลุ่มชนชั้นน าทางการเมืองกลุ่มต่างๆ และเป็นภาพสะท้อนของ<br />

ผู้กุมอ านาจทางการเมืองในขณะนั้น ซึ ่งสามารถถูกฉีกทิ ้งและร่างรัฐธรรมนูญฉบับใหม่ขึ ้นมาแทนในภายหลังโดยผู้น าทางการเมือง<br />

กลุ่มใหม่ได้อย่างง่ายดาย (เสน่ห์, 2540: 31-35)<br />

อย่างไรก็ดี หลังจากเหตุการณ์การเรียกร้องให้มีการใช้รัฐธรรมนูญในเดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 ของขบวนการนิสิต<br />

นักศึกษาไทย ได้แสดงให้เห็นถึงจุดเปลี ่ยนครั้งยิ่งใหญ่ในหน้าประวัติศาสตร์การเมืองไทย โดยเฉพาะในแง่ของกฎหมายรัฐธรรมนูญ<br />

ปรากฏการณ์นี ้สะท้อนว่า คนส่วนหนึ ่งของสังคมได้เริ่มตระหนักรู้และเข้าใจความส าคัญของรัฐธรรมนูญในฐานะที ่เป็นตัวแทน<br />

อ านาจอธิปไตยสูงสุดของปวงชน และเป็นเครื ่องมือที ่จะน าไปใช้จ ากัดอ านาจของผู้ปกครองจากการใช้อ านาจอันมิชอบ (abuse of<br />

power) ซึ ่งจะท าให้ประชาชนสามารถมีเสรีภาพและความเสมอภาคเท่าเทียมที ่ถูกรับรองไว้ภายใต้กฎหมายรัฐธรรมนูญได้อย่าง<br />

ถ้วนหน้า ซึ ่งเป็นแก่นของระบอบรัฐธรรมนูญนั่นเอง (เสน่ห์, 2540: 316)<br />

จากเหตุการณ์ดังกล่าวนี ้เองที ่ท าให้ลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมเริ่มเข้ามามีบทบาทในการเมืองไทย ในฐานะที ่เป็นแนวคิดที ่จะ<br />

สร้างกลไกทางกฎหมายรัฐธรรมนูญที ่มีลักษณะเป็นประชาธิปไตย คือ จ ากัดอ านาจผู้ปกครอง และสร้างเสรีภาพให้แก่พลเมืองให้<br />

มากที ่สุด จึงท าให้แนวคิดนี ้เติบโตออกไปจากเดิมมาก แม้ช่วงเวลาหลังจากการเกิดเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ประเทศไทย<br />

จะต้องเผชิญกับยุคที ่รัฐธรรมนูญมีลักษณะที ่เป็นประชาธิปไตยเพียงครึ ่งใบก็ตาม และด้วยกระแสลัทธิรัฐธรรมนูญนิยมที ่เติบโตขึ ้น<br />

จึงท าให้ท้ายที ่สุดในปี พ.ศ. 2540 ประเทศไทยก็สามารถประกาศใช้รัฐธรรมนูญฉบับที ่ได้ชื ่อว่าประชาชนได้เข้ามามีส่วนร่วมใน<br />

75


กระบวนการยกร่าง และจัดท ารัฐธรรมนูญมากที ่สุดฉบับหนึ ่ง ซึ ่งถึงแม้รัฐธรรมนูญฉบับดังกล่าวจะสามารถน ามาบังคับใช้ได้แค่<br />

เพียง 9 ปีก่อนจะเกิดการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2549 แต่จะเห็นได้ว่าการฉีกรัฐธรรมนูญของคณะทหารในครั้งนี ้แตกต่างจากครั้ง<br />

ก่อนๆ เพราะครั้งนี ้ได้เกิดกระแสต่อต้านคณะรัฐประหารที ่ท าลายรัฐธรรมนูญเป็นอย่างมาก ซึ ่งสะท้อนให้เห็นถึงพัฒนาการที ่ดีของ<br />

ประเทศไทยที ่ประชาชนเริ่มผูกโยงความส าคัญของตัวรัฐธรรมนูญเข้ากับการมีอยู ่ของสิทธิและเสรีภาพของตนที ่ได้บัญญัติไว้ใน<br />

รัฐธรรมนูญ ซึ ่งเป็นสิ่งที ่มีความส าคัญมากกว่าเพียงแค่ตัวอักษรที ่จารึกไว้ในกระดาษ หากแต่เป็นเจตนารมณ์ของตัวรัฐธรรมนูญที ่<br />

คอยปกป้องสิทธิ เสรีภาพของประชาชนอันเป็นปัจจัยพื ้นฐานของรัฐธรรมนูญทุกรัฐธรรมนูญในระบอบรัฐธรรมนูญ (every<br />

constitutionalism’s constitution) นั้นพึงมี<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

เสน่ห์ จามริก (2540). การเมืองไทยกับพัฒนาการรัฐธรรมนูญ. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการต ารา<br />

สังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.<br />

อมร จันทรสมบูรณ์ (2537). คอนสติติวชั ่นแนลลิสม์ (Constitutionalism): ทางออกของประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สถาบันนโยบาย<br />

ศึกษา.<br />

McIlwain, Charles Howard (1977). Constitutionalism, ancient <strong>and</strong> modern. London: Cornell University Press.<br />

Sartori, Giovanni (1997). Comparative constitutional engineering. New York: New York University Press.<br />

Alex<strong>and</strong>er, Larry (1998). Constitutionalism: philosophical foundations. Cambridge: Cambridge University Press.<br />

Bellamy, Richard (1996). Constitutionalism, democracy <strong>and</strong> sovereignty: American <strong>and</strong><br />

European perspectives. London: Gower House.<br />

Bellamy, Richard (2007). Political constitutionalism: a republican defense of the constitutionality of democracy. London:<br />

Gower House.<br />

76


CONSTITUTIONAL MONARCHY<br />

ระบอบประชำธิปไตยอันมีพระมหำกษัตริย์เป็ นประมุข/ระบอบพระมหำกษัตริย์ภำยใต้รัฐธรรมนูญ<br />

ควำมหมำย<br />

ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์เป็นประมุข หรือ ระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ (Constitutional<br />

Monarchy) หมายถึง ระบอบการปกครองของประเทศที ่เป็นราชอาณาจักร (kingdom) คือมีองค์พระมหากษัตริย์เป็นประมุขของรัฐ<br />

(head of state) ที ่ขึ ้นมาด ารงต าแหน่งด้วยการสืบราชสันตติวงศ์ (hereditary) แต่ในขณะเดียวกันก็ยังเป็นระบอบที ่สมาทานลัทธิ<br />

รัฐธรรมนูญนิยมของยุคสมัยใหม่เอาไว้ด้วยในเวลาเดียวกัน (โปรดดู Constitutionalism) จึงท าให้ระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้<br />

รัฐธรรมนูญ เป็นระบอบที ่มีลักษณะแตกต่างจากระบอบราชาธิปไตยแบบเดิม หรือระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolute<br />

monarchy) เพราะในระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญนั้น องค์พระมหากษัตริย์มิได้มีอ านาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหมือนเดิม<br />

อีกต่อไป แต่ถูกจ ากัดพระราชอ านาจ และพระราชสถานะไว้โดยบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ ซึ ่งจะเป็นตัวบ่งชี ้ว่าพระองค์สามารถ<br />

กระท าสิ่งใดได้ และไม่สามารถกระท าสิ่งใดได้ หรือ จะด ารงพระราชสถานะอย่างไรภายใต้รัฐธรรมนูญของระบอบการปกครองของ<br />

ประเทศนั้นๆ (Kurian, 2011: 315)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญนี ้เกิดขึ ้นครั้งแรกในงานเขียนของดูเปร์ (W. Dupre) ชาวฝรั่งเศส โดยดูเปร์ได้<br />

ริเริ่มใช้ค าว่า “Monarchie constitutionelle” (Bogdano, 1995: 1) ซึ ่งแนวคิดดังกล่าวได้ถูกให้นิยามความหมายที ่ชัดเจนมากขึ ้นในงาน<br />

เขียนของแมคเคาเลย์ (Macaulay) ที ่กล่าวว่าระบอบราชาธิปไตยภายใต้รัฐธรรมนูญ ก็คือระบอบการปกครองที ่ “พระมหากษัตริย์ทรง<br />

ปกเกล้าฯ แต่มิได้ทรงปกครอง” (the kings reigns, but does not rule) (Macaulay, 1986) กล่าวคือ พระมหากษัตริย์ในฐานะ<br />

ประมุขของรัฐทรงมีพระราชสถานะอยู ่เหนือการเมือง อันมีนัยว่า พระองค์ต้องทรงเป็นกลางทางการเมืองและใช้พระราชอ านาจ<br />

(royal prerogative) เท่าที ่รัฐธรรมนูญได้ก าหนดไว้เท่านั้น จะไม่สามารถใช้พระราชอ านาจในการริเริ่มนโยบายหรือกระท าการใดๆ<br />

ที ่อยู ่นอกเหนือจากที ่รัฐธรรมนูญได้ก าหนดไว้โดยปราศจากผู้รับสนองพระบรมราชโองการอีกต่อไป และนี ่คือที ่มาของหลักการ<br />

พระมหากษัตริย์ไม่ทรงกระท าผิด (the king can do no wrong) คือ พระองค์ไม่สามารถถูกฟ้องร้องด าเนินคดีใดๆ จากการลงพระ<br />

ปรมาภิไธยในเอกสารต่างๆ ได้ เนื ่องจากสิ่งเหล่านั้นไม่ได้เกิดจากการริเริ่มของพระองค์เอง (Bogdano, 1995 : 1-2) ผู้ที ่ต้อง<br />

รับผิดชอบก็คือผู้รับสนองพระบรมราชโองการนั่นเอง<br />

ประเทศอังกฤษถือได้ว่าเป็นตัวแบบหนึ ่งของการปกครองในระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ ซึ ่งวอลเตอร์<br />

เบจชอต (Walter Bagehot) ได้อธิบายสถานะของพระมหากษัตริย์อังกฤษในรัฐธรรมนูญไว้ว่า หากแบ่งพระราชอ านาจในรัฐธรรมนูญ<br />

ออกเป็นสองส่วน คือ ส่วนเกียรติยศ (the dignified parts of the constitution) และส่วนด าเนินการ (efficient parts of the<br />

constitution) การที ่พระองค์ทรงปกเกล้าฯ แต่มิได้ทรงปกครอง ก็คือการที ่พระองค์ทรงใช้พระราชอ านาจในรัฐธรรมนูญเฉพาะด้าน<br />

ที ่เป็นส่วนเกียรติยศเท่านั้น (สันติสุข, 2554: 33)<br />

เช่น บทบาทของพระมหากษัตริย์ที ่พระมหากษัตริย์ในฐานะประมุขของรัฐ<br />

สามารถด ารงพระราชสถานะอยู ่เหนือการเมือง และท าหน้าที ่ประมุขของรัฐในการเป็นศูนย์รวมจิตใจ และความเป็นอันหนึ ่งอัน<br />

เดียวกันของพลเมืองอันหลากหลายชาติพันธุ์ได้เป็นอย่างดี ในขณะที ่พระองค์จะไม่ทรงใช้พระราชอ านาจในส่วนด าเนินการซึ ่งเป็น<br />

77


หน้าที ่ของรัฐบาล หรือ คณะรัฐมนตรี แต่อย่างไรก็ตามในส่วนนี ้เบจชอตได้กล่าวว่าพระองค์ยังคงมี “สิทธิ” หรือพระราชอ านาจ<br />

(rights) ที ่ส าคัญยิ่งอยู ่ 3 ประการ คือ พระราชอ านาจที ่จะทรงรับการปรึกษาหารือ (the right to be consulted) พระราชอ านาจที ่<br />

จะทรงพระราชทานขวัญและก าลังใจ (the right to encourage) และพระราชอ านาจที ่จะพระราชทานพระราชด ารัสตักเตือน (the<br />

right to warn) (Bagehot, 1971: 111) ซึ ่งพระราชอ านาจทั้งสามนี ้เป็นสิ่งที ่จะช่วยท าให้ประสบการณ์ที ่สั่งสมมาช้านานมากกว่า<br />

สถาบันทางการเมืองอื ่นใดของอังกฤษเกิดประโยชน์ต่อการเมืองการปกครองได้ในอีกทางหนึ ่งนั่นเอง ดังจะเห็นได้จากการที ่<br />

นายกรัฐมนตรีของอังกฤษจะต้องเข้าเฝ้าสมเด็จพระราชินีนาถเอลิซาเบธที ่ 2 เพื ่อถวายข้อมูลความเป็นไปของรัฐบาลเป็นประจ า<br />

สัปดาห์ละหนึ ่งครั้ง พระราชอ านาจที ่ใช้ในกรณีดังกล่าวจะถูกเก็บเป็นความลับและไม่เปิดเผยให้สาธารณชนรับทราบ ทั้งนี ้ก็เพื ่อ<br />

ธ ารงความเป็นกลางของสถาบันพระมหากษัตริย์เอาไว้นั่นเอง (เจษฎา, 2546: 220)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยเองในฐานะที ่เป็นประเทศหนึ ่งที ่ปกครองด้วยระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ แต่มักปรากฏอยู ่<br />

ภายใต้ชื ่อที ่คุ้นเคยกันในปัจจุบันว่า “ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” ด้วยวัฒนธรรมและประเพณีที ่มี<br />

มาแต่เดิมของประเทศไทย ได้ท าให้บทบาทและพระราชอ านาจของสถาบันพระมหากษัตริย์ไทยแตกต่างไปจากสถาบัน<br />

พระมหากษัตริย์ของประเทศอื ่นๆ ในยุโรป เพราะแม้ด้านหนึ ่งองค์พระมหากษัตริย์ไทยจะทรงใช้พระราชอ านาจตามที ่บัญญัติไว้ใน<br />

รัฐธรรมนูญ เช่น การยับยั้งร่างกฎหมายแบบชั่วคราว แต่ในอีกทางหนึ ่งความเชื ่อเกี ่ยวกับเรื ่องพระบารมี (charisma) ขององค์<br />

พระมหากษัตริย์ไทยก็ได้ท าให้พระองค์นั้นสามารถใช้พระราชอ านาจในแบบที ่ไม่ปรากฏเป็นลายลักษณ์อักษรในรัฐธรรมนูญได้จาก<br />

ฐานบารมีดังกล่าว เช่น การเกิดธรรมเนียมที ่ว่าร่างกฎหมายฉบับใดที ่พระมหากษัตริย์ไม่ทรงลงพระปรมาภิไธย หรือ วีโต้มานั้น<br />

รัฐสภาจะปล่อยให้ร่างกฎหมายฉบับดังกล่าวนั้นตกไป ทั้งๆ ที ่รัฐสภามีสิทธิที ่จะยืนยันในร่างกฎหมายดังกล่าวตามที ่ระบุไว้ใน<br />

รัฐธรรมนูญ เป็นต้น ซึ ่งการเกิดพระราชอ านาจในรูปแบบพิเศษข้างต้นนั้น ศาสตราจารย์ ธงทอง จันทรางศุ มองว่าเกิดขึ ้นจาก 3<br />

ปัจจัยด้วยกัน คือ ความจงรักภักดีของราษฎร บารมีของพระมหากษัตริย์ และความสัมพันธ์ระหว่างพระมหากษัตริย์กับหัวหน้า<br />

รัฐบาล ซึ ่งปัจจัยทั้งหมดนี ้จะเปลี ่ยนแปลงไปในแต่ละรัชสมัยนั่นเอง (ธงทอง, 2548: 125-128)<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์ (2543). ระบบการเมืองการปกครองฝรั ่งเศส. กรุงเทพฯ: สยามศิลป์.<br />

เจษฎา พรไชยา (2546). พระราชอ านาจของพระมหากษัตริย์ของประเทศไทยกับประเทศอังกฤษ. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่ง<br />

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

ธงทอง จันทรางศุ (2548). พระราชอ านาจของพระมหากษัตริย์ในทางกฎหมายรัฐธรรมนูญ .<br />

กรุงเทพฯ: เอส.ซี.พริ ้นท์แอนด์แพค.<br />

สันติสุข โสภณสิริ (2554). แนวความคิดเกี่ยวกับการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขใน<br />

ประเทศไทย. ภาคนิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต. กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

78


Macaulay, Lord (1986). The history of Engl<strong>and</strong>. London : Penguin Books.<br />

Bogdano, Vernon (1995). The monarchy <strong>and</strong> the constitution. Oxford : Clarendon Press.<br />

Bagehot, Walter (1971). The English constitution. New York: Cornell University Press.<br />

79


CORRUPTION<br />

กำรทุจริต<br />

ควำมหมำย<br />

การทุจริต (corruption) โดยทั่วไปแล้วหมายถึง การกระท าผิดและเป็นไปเพื ่อผลประโยชน์ส่วนตัว (Kurian, 2011: 341)<br />

ส่วนการทุจริตคอร์รัปชั่นทางการเมืองนั้นเป็นปัญหาการใช้อ านาจในทางมิชอบ (abuse of power) ส่วนใหญ่แล้วมักเกิดขึ ้นภายใต้<br />

โครงสร้างความสัมพันธ์ระหว่างภาครัฐ และภาคเอกชน (private sector) หรือในบางครั้งอาจเกิดขึ ้นภายในหน่วยงานหรือโดย<br />

เจ้าหน้าที ่รัฐเองก็ได้เช่นกัน โดยการบิดเบือนอ านาจที ่ว่านี ้จะต้องน าไปสู ่ผลประโยชน์ของฝ่ายหนึ ่งหรือทั้งสองฝ่าย โดยมีการใช้<br />

ประโยชน์จากอ านาจรัฐเข้าช่วย โดยที ่ฝ่ายใดฝ่ายหนึ ่งอาจมีอ านาจเหนืออีกฝ่าย ซึ ่งผลลัพธ์ของการเอื ้อประโยชน์โดยละเมิด<br />

กฎหมาย กติกา อาจออกมาในรูปแบบของเงินสินบน (bribery) การอุปถัมภ์ค ้าชู (patronage) หรือการเลื ่อนเงินเดือน เลื ่อน<br />

ต าแหน่งแก่พวกพ้อง (nepotism) (Kurian, 2011: 344)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ประเด็นเรื ่องการคอร์รัปชั่นในการศึกษาทางการเมืองของตะวันตกนั้นโดยทั่วไปมักถูกมองว่าเป็นกระบวนการหนึ ่งที ่มัก<br />

เกิดขึ ้นในประเทศด้อยพัฒนา หรือ ประเทศก าลังพัฒนา ที ่ระบบการตรวจสอบถ่วงดุลยังไม่สามารถท างานได้อย่างเต็ม<br />

ประสิทธิภาพ เป็นโครงสร้างที ่ยังไม่มีการพัฒนาให้เป็นสมัยใหม่ ในขณะที ่ประเทศพัฒนาแล้วจะมีการจัดวางโครงสร้างในการ<br />

รองรับการคอร์รัปชั่น ไม่ว่าจะเป็นการจัดให้มีการวิ่งเต้นอย่างเปิดเผย เช่น การมีล็อบบียิสต์ (lobbyist) ของสหรัฐอเมริกา ควบคู ่ไปกับ<br />

ระบบการตรวจสอบที ่เข้มข้นและมีประสิทธิภาพ เป็นต้น<br />

ในหนังสือ “คอร์รัปชั ่นกับการปกครอง: สาเหตุ ผลสะเทือน และการปฏิรูป” (corruption <strong>and</strong> government: causes<br />

consequences <strong>and</strong> reform) ของซูซาน โรส-อัคเคอร์แมน (Susan Rose-Ackerman) ได้แบ่งประเภทของรัฐบาลที ่ทุจริตคอร์รัปชั่น<br />

ออกเป็น 4 ประเภท ดังปรากฏตามตารางด้านล่าง<br />

ผู ้รับสินบนด ำรงต ำแหน่ง<br />

ข้ำรำชกำรระดับสูง<br />

ผู ้รับสินบนด ำรงต ำแหน่ง<br />

ข้ำรำชกำรระดับล่ำง<br />

ผู ้จ่ำยสินบนมำกรำย<br />

ระบอบขี ้ขโมย (Kleptocracy)<br />

- Extortionary state<br />

- Weak state<br />

การให้สินบนแบบแข่งขัน<br />

เครือข่ายการรับสินบน<br />

บน<br />

ผู ้จ่ำยสินบนน้อยรำย<br />

การผูกขาดสองฝ่าย<br />

(Bilateral monopoly)<br />

รัฐที ่ถูกมาเฟียครอบง า (Mafiadominated<br />

state)<br />

ที่มำ: Ackerman, Susan Rose (1999). Corruption <strong>and</strong> government: causes, consequences, <strong>and</strong> reform. Cambridge:<br />

Cambridge University Press.<br />

80


จากตารางข้างต้น ซูซานได้ใช้เกณฑ์สองเกณฑ์ในการจ าแนกการคอร์รัปชั่น ประการแรกคือดูว่าการคอร์รัปชั่นนั้นเกิด<br />

ขึ ้นกับผู้มีต าแหน่งในระดับสูงของรัฐบาล หรือ เกิดกับผู้ใต้บังคับบัญชาจ านวนมาก และประการที ่สองคือดูว่ามีการจัดระบบของผู้<br />

จ่ายสินบนว่ามีมากราย หรือ น้อยรายอย่างไร จนออกมาเป็นความสัมพันธ์ในสี ่รูปแบบ คือ หากรัฐบาลและเจ้าหน้าที ่ของรัฐ<br />

ระดับสูงมีการเรียกรับสินบนจากตลาดที ่มีผู้ยินยอมจ่ายสินบนมากราย รัฐบาลก็จะกลายเป็นรัฐบาลแห่งการคอร์รัปชั่นที ่เรียกว่า<br />

ระบอบขี ้ขโมย แต่หากตลาดมีผู้ที ่สามารถเข้าถึงระบบการจ่ายสินบนได้ไม่กี ่ราย ก็จะเป็นระบบที่มีการผูกขาดของการรับ-จ่าย<br />

สินบนไว้ที่ระดับบนของทั้งภาครัฐ และภาคเอกชน ในอีกทางหนึ ่ง หากการคอร์รัปชั่นเกิดขึ ้นที ่เจ้าหน้าที ่ระดับล่างจ านวนมาก<br />

ภายใต้ตลาดที ่มีการจ่ายสินบนมากราย การคอร์รัปชั่นก็มีแนวโน้มจะเป็นไปในแนวทางของเครือข่ายของการคอร์รัปชั่นอย่าง<br />

มหาศาล ในขณะที ่ถ้าหากมีผู้ที ่สามารถเข้าถึงการจ่ายสินบนได้ไม่กี ่ราย รูปแบบของการคอร์รัปชั่นก็จะเปลี ่ยนแปลงไปในแนวทาง<br />

ของระบบมาเฟียครอบง า ที ่แต่ละท้องถิ่นมีการเรียกรับและจ่ายสินบนกันโดยเจ้าพ่อของแต่ละท้องที ่ให้แก่ข้าราชการในพื ้นที ่<br />

(Ackerman, 1999: 114-125)<br />

ในมุมมองระดับสากลพบว่าประเทศที ่มี ดัชนีความเป็นประชาธิปไตยสูงมีแนวโน้มจะพบปัญหาคอร์รัปชั่นต ่า กล่าวได้ว่า<br />

ประเทศที ่เป็นประชาธิปไตยใช้กระบวนการตรวจสอบ ถ่วงดุล และมาตรการตามวิถีทางประชาธิปไตยก าจัดและจ ากัดคอร์รัปชั่น<br />

ซึ ่งตรงกันข้ามกับสังคมไทยที ่มักมองและอธิบายการทุจริตคอร์รัปชั่นแบบแคบ ๆ ในประเด็นเรื ่องศีลธรรม และจริยธรรม โดยไม่ได้<br />

วิเคราะห์รากเหง้าที ่แท้จริงซึ ่งเป็นปัญหาเชิงโครงสร้างที ่ซับซ้อน<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นเป็นปัญหาที ่อยู ่เคียงคู ่กับสังคมไทยมาตั้งแต่ก่อนมีการเปลี ่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475<br />

เพียงแต่หลังจากการเปลี ่ยนแปลงการปกครอง ข้ออ้างเกี ่ยวกับการทุจริตคอร์รัปชั่นของรัฐบาลที ่มาจากการเลือกตั้งได้กลายมาเป็น<br />

เหตุผลส าคัญประการหนึ ่งที ่คณะรัฐประหารเลือกที ่จะหยิบมาใช้ในการสร้างความชอบธรรมให้แก่คณะรัฐประหาร เช่น การ<br />

รัฐประหารของหลวงธ ารงนาวาสวัสดิ์ (พล.ร.ต. ถวัลย์ ธ ารงนาวาสวัสดิ์ ) ในปี พ.ศ. 2490 ก็เกิดขึ ้นจากข้อกล่าวหาว่ารัฐบาลมีการ<br />

ทุจริตถึงขนาดที ่ว่ามีการ “กินจอบ กินเสียม” ที ่น ามาแจกจ่ายให้แก่ประชาชนในสมัยนั้น หรือ จะเป็นข้ออ้างสุดคลาสสิกที ่<br />

คุ้นเคยกันว่า “บุฟเฟต์คาร์บิเนต” ของรัฐบาล พล.อ.ชาติชาย ชุณหะวัณ ที ่เป็นเสมือนการกรุยทางให้คณะรักษาความสงบ<br />

เรียบร้อยแห่งชาติ (รสช.) เข้ามาท าการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2534 เป็นต้น<br />

ปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นของนักการเมืองซึ ่งถูกมองว่าเป็นส่วนหนึ ่งของกระบวนการ “ถอนทุนคืน” เป็นผลลัพธ์อัน<br />

หลีกเลี ่ยงไม่ได้ที ่เกิดขึ ้นจากการทุ่มเม็ดเงินอย่างมหาศาลในกระบวนการหาเสียงเลือกตั้ง ดังนั้น รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย<br />

พ.ศ. 2540 จึงมุ่งขจัดปัญหาการทุจริตคอร์รัปชั่นทางการเมือง โดยให้มีองค์กรอิสระท าหน้าที ่ตรวจสอบการทุจริตคอร์รัปชั่นของ<br />

นักการเมืองเป็นพิเศษอย่างเช่น คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ผู้ตรวจเงินแผ่นดิน และ<br />

คณะกรรมการการเลือกตั้ง (กกต.)<br />

ในช่วง 10 ปีที ่ผ่านมา เกิดการทุจริตคอร์รัปชั่นที ่เรียกว่า “การคอร์รัปชั่นเชิงนโยบาย” ซึ ่งมีความหมายกว้างๆ ว่า เป็น<br />

การน าเงินภาษีไปทุ่มให้กับนโยบายประชานิยม แต่ในกระบวนการน านโยบายไปปฏิบัตินั้นส่งผลเอื ้อประโยชน์ให้แก่ธุรกิจของ<br />

นักการเมืองและพวกพ้อง ควรกล่าวด้วยว่าผลของการด าเนินนโยบายประชานิยมนี ้มุมหนึ ่งมีคุณูปการที ่ท าให้ประชาชนในชนบท<br />

81


ตระหนักถึงความส าคัญของนโยบายสาธารณะที ่เป็นรูปธรรม และจับต้องได้ อันจะท าให้ชาวบ้านในชนบทสามารถเป็นได้ทั้งฐาน<br />

เสียงของพรรคการเมือง และฐานนโยบายของรัฐบาล จากเดิมที ่ชาวบ้านเป็นเพียงฐานเสียงของรัฐบาลเท่านั้น (เอนก เหล่าธรรม<br />

ทัศน์, 2553: 21-22, 32)<br />

ในทางหนึ ่งนั้นผลลัพธ์ที ่เกิดขึ ้นจากนโยบายประชานิยมได้ก่อให้เกิดการเปลี ่ยนแปลงสภาพของทั้งภูมิทัศน์ในชนบท และ<br />

ตัวประชาชนในชนบท จากการเป็นเพียงชาวบ้าน หรือ ชาวนาผู้ยากไร้ในสายตาของคนเมืองและนักการเมือง ให้กลายเป็นพลเมือง<br />

ผู้ให้ความส าคัญกับนโยบายสาธารณะของรัฐบาลมากขึ ้น เพราะนโยบายส่งผลต่อการด ารงชีวิตของประชาชนโดยตรง การ<br />

เปลี ่ยนแปลงในภูมิทัศน์ทางการเมืองดังกล่าวก่อให้เกิดการเปลี ่ยนแปลงทางการเมืองครั้งใหญ่ในช่วงหลังทศวรรษ 2540 เป็นต้นมา<br />

โดยเฉพาะการผลักดันให้พรรคการเมืองจะต้องแข่งขันกันน าเสนอนโยบายที ่สร้างสรรค์ และเป็นรูปธรรมโดยเฉพาะในด้าน<br />

เศรษฐกิจต่อประชาชนภายในประเทศมากยิ่งขึ ้น เพื ่อที ่จะได้มาซึ ่งชัยชนะในการแข่งขันการเลือกตั้งทั้งในระดับชาติ และระดับ<br />

ท้องถิ่น อย่างไรก็ดี การคอร์รัปชั่นเชิงนโยบายที ่เชื ่อมโยงกับการใช้งบประมาณในโครงการประชานิยมของทุกรัฐบาลเป็นประเด็นที ่<br />

ต้องจับตามอง เพราะสังคมควรประเมินนโยบายทั้งในแง่ของความคุ้มค่าทางเศรษฐกิจและความสูญเสียที ่อาจเกิดจากการ<br />

คอร์รัปชั่นจากช่องโหว่ของกฎหมายและการด าเนินนโยบาย รายงานประจ าปีขององค์กรเพื ่อความโปร่งใสระหว่างประเทศแสดงให้<br />

เห็นการเปลี ่ยนแปลงในดัชนีคอร์รัปชั่นของประเทศไทยในรอบ 10 ปี ที ่ผ่านมาดังนี ้<br />

ตำรำงแสดงดรรชนีกำรคอร์รัปชั ่นของไทยในรอบสิบปี ที่ผ่ำนมำ<br />

ปี ค.ศ. Corruption Perceptions Index (CPI) ล ำดับที่<br />

2003 3.3 / 10 70<br />

2004 3.6 / 10 64<br />

2005 3.8 / 10 59<br />

2006 3.6 / 10 63<br />

2007 3.3 / 10 84<br />

2008 3.5 / 10 80<br />

2009 3.4 / 10 84<br />

2010 3.5 / 10 78<br />

2011 3.4 / 10 80<br />

2012 3.7 / 10 88<br />

2013 3.5 / 10 102<br />

ที่มำ: Transparency International (คะแนนเรียงล าดับจาก 0 หมายถึงมีการทุจริตสูง จนถึง 100 หมายถึง สะอาดมาก)<br />

82


ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในปัจจุบันจะมีองค์กรที ่เรียกว่า องค์กรเพื ่อความโปร่งใสระหว่างประเทศ (Transparency International) ซึ ่งจะคอยจัดท า<br />

รายงานประจ าปี (annual report) ทุกๆ ปีเกี ่ยวกับดัชนีภาพลักษณ์ของการทุจริตคอร์รัปชั่น (corruption perception index: CPI)<br />

เพื ่อชี ้ให้เห็นว่าระดับการทุจริตคอร์รัปชั่นของประเทศต่างๆ ในโลกมีแนวโน้มเป็นไปในทิศทางใด โดยในรายงานฉบับปี ค.ศ. 2011<br />

ประเทศที ่มีดัชนีการทุจริตคอร์รัปชั่นน้อยที ่สุดห้าอันดับแรก ได้แก่ ประเทศนิวซีแลนด์ เดนมาร์ก – ฟินแลนด์ (เท่ากัน) สวีเดน<br />

สิงคโปร์ และนอร์เวย์ ตามล าดับ ที ่ควรสังเกตคือ ประเทศที ่มีดัชนีการทุจริตน้อยล้วนเป็นประเทศที ่มีดัชนีความเป็นประชาธิปไตย<br />

สูงในอันดับต้น ๆ ทั้งสิ ้น<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Patronage’ และ ‘Transparency’<br />

เอนก เหล่าธรรมทัศน์ (2553). สองนคราประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: คบไฟ.<br />

Corruption Perception Index. Transparency International. Accessed May 7, 2012 from<br />

http://www.transparency.org/research/cpi/overview.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Ackerman, Susan Rose (1999). Corruption <strong>and</strong> government: causes, consequences, <strong>and</strong> reform. Cambridge: Cambridge<br />

University Press.<br />

83


CULTURAL RELATIVISM<br />

สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรม<br />

ควำมหมำย<br />

สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรม (Cultural Relativism) เป็นวิธีการท าความเข้าใจความหลากหลายทางวัฒนธรรมที ่ด ารงอยู ่ใน<br />

สังคม นักมานุษยวิทยา ฟรานซ์ โบส (Franz Boas) ได้เห็นว่าวัฒนธรรมและอารยธรรมของมนุษย์ไม่ใช่สิ่งที ่สมบูรณ์ (absolute) ที ่<br />

จะจริงแท้หรือเป็นสิ่งดีที ่เสมอไปอย่างสากล (universal) แต่เป็นเชิงสัมพัทธ์ (relative) และมีพลวัต ความดีหรือความงามในอารยธรรม<br />

ขึ ้นอยู ่กับความคิดและการรับรู้ของคนในสังคมในพื ้นที ่หนึ ่งและในช่วงเวลาหนึ ่งเท่านั้น วัฒนธรรมและอารยธรรมจึงเป็นเรื ่องของ<br />

การตีความของสมาชิกในสังคมหนึ ่งๆ สมาชิกในสังคมอื ่นอาจมีการตีความในลักษณะที ่แตกต่างกันออกไป ในเวลาที ่ต่างกัน ซึ ่งไม่<br />

สามารถหาข้อสรุปได้ว่าสิ่งใดดีหรืองามโดยสมบูรณ์ และไม่สามารถน ามาเปรียบเทียบกันว่าสิ่งใดดีกว่าหรือแย่กว่า<br />

สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมเป็นการมองความเชื ่อ ธรรมเนียมปฏิบัติ และชาติพันธุ์วรรณา ที ่มีลักษณะแตกต่างหลากหลาย<br />

ไม่ใช่ความดีงาม ถูกต้องที ่ตายตัวและเป็นสากล แล้วแต่การท าความเข้าใจของแต่ละปัจเจกบุคคลที ่อยู ่ภายใต้บริบททางสังคม<br />

หนึ ่งๆ การก าหนดว่าสิ่งใดถูกหรือผิดจึงเป็นเรื ่องที ่เกิดขึ ้น “เฉพาะ” สังคม สิ่งที ่มีคุณธรรม (moral) ในสังคมหนึ ่ง อาจจะกลายเป็น<br />

สิ่งที ่ไม่มีคุณธรรม (immoral) ในอีกสังคมหนึ ่งก็เป็นไป เพราะแต่ละสังคมมีชุดทางวัฒนธรรมที ่แตกต่างกัน การตีความและการ<br />

เข้าใจความหมายของแต่ละสิ่งจึงมีความแตกต่างกันออกไป ด้วยเหตุนี ้เวลาลงไปศึกษาวัฒนธรรมของสังคมหนึ ่ง ผู้ท าการศึกษา<br />

ต้องไม่กล่าวว่าสิ่งที ่เป็นอยู ่นั้นดีหรือไม่ดี แต่ต้องท าความเข้าใจว่ากระบวนการให้ความหมายของสังคมนั้นท าอย่างไร และเหตุใดจึง<br />

เป็นเช่นนั้น<br />

ค าว่าสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมจึงถูกน าไปใช้เพื ่อสื ่อว่าไม่มีวัฒนธรรมใดมีความเหนือกว่าหรือสูงกว่าวัฒนธรรมอื ่น กรณี<br />

นี ้รวมไปถึงการเปรียบเทียบวัฒนธรรมในทางศีลธรรม (morality) การเมือง (politics) และสังคม (society) โดยสภาพแวดล้อม<br />

ทางวัฒนธรรมจะมีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันไปตามพื ้นที ่และช่วงเวลา เช่น ชนเผ่ามายัน (Mayan) จะมีการบูชาเทพเจ้าด้วย<br />

การตัดอวัยวะบางส่วนของตัวเอง (self-mutilation) แม้จะเป็นสิ่งที ่น่ากลัวและก่อให้เกิดความหวั่นไหวในสายตาของผู้ที ่รับรู้เรื ่องราว<br />

ท านองนี ้ แต่ปรากฏการณ์ที ่เกิดขึ ้นก็เป็นความเชื ่อของชาวมายันที ่คิดว่าท าให้วิญญาณต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นเทพเจ้าหรือผู้ตายซึ ่งเป็น<br />

ชาวบ้านธรรมดาต่างก็ชื ่นชอบ คนนอกสังคมหรือวัฒนธรรมมายัน จึงไม่สามารถจะตัดสินหรือกล่าวว่าการกระท าดังกล่าวดีหรือเลว<br />

เพราะในบริบททางสังคมที ่แตกต่างกันจะน ามาสู ่การท าความเข้าใจพิธีกรรมที ่แตกต่างกันด้วย (Levinson, 1996: 721-725)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในทางทฤษฏีค าว่าสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมเป็นวิธีวิทยา (methodology)<br />

ในการแสวงหาความรู้ของสาขาวิชา<br />

มานุษยวิทยา (Anthropology) สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมเป็นแนวคิดที ่เริ่มกล่าวถึงกันมากในสหรัฐอเมริกา ในช่วงทศวรรษที ่ 30<br />

โดยปฏิเสธทฤษฎีวิวัฒนาการแบบวิทยาศาสตร์ ด้วยการแยกความแตกต่างระหว่างคุณลักษณะที ่เกิดจากธรรมชาติกับคุณลักษณะ<br />

ที ่ได้รับจากการเลี ้ยงดู ชี ้ให้เห็นความแตกต่างระหว่างสัญชาติญาณกับการเรียนรู้ และวัฒนธรรมกับชีววิทยา แนวคิดสัมพัทธนิยม<br />

84


่<br />

เชิงวัฒนธรรมมีฐานคติว่าวัฒนธรรมเป็นสิ่งที ่เกิดขึ ้นนอกสภาวะธรรมชาติ การเรียนรู้และลองผิดลองถูกของมนุษย์เป็นปัจจัยส าคัญ<br />

ที ่ก าหนดพฤติกรรมและการกระท าส่วนใหญ่ของมนุษย์ เนื ่องจากการคิด และการกระท าของมนุษย์เกิดขึ ้นเมื ่อมีวัฒนธรรม<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย ความเข้าใจเรื ่องสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมยังจ ากัดอยู ่ในแวดวงวิชาการ ในสังคมทั่วไป สัมพัทธนิยม<br />

เชิงวัฒนธรรมถูกน าไปใช้หรือแทนที ่โดยค าที ่เข้าใจได้ง่ายกว่า เช่น ความหลากหลายทางวัฒนธรรม สังคมพหุนิยม ความมีอัต<br />

ลักษณ์ของแต่ละสังคม ซึ ่งใช้เพื ่อท าความเข้าใจวัฒนธรรมที ่ไม่ได้มาจากส่วนกลาง เช่น วัฒนธรรมของสังคมชนบท วัฒนธรรมของ<br />

ชนกลุ่มน้อย วัฒนธรรมของกลุ่มแรงงานต่างด้าว เป็นต้น เพื ่อท าให้สังคมยอมรับความแตกต่างหลากหลายที ่เกิดมีอยู ่ในประเทศ<br />

เดียวกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับพิธีกรรมต่างๆ เช่น พิธีกรรมแห่นางแมว พิธีกรรมไล่ปอบ หรือการศึกษาวิถีชีวิตของคนชายขอบ<br />

เป็นต้น<br />

ข้อสังเกตคือ ในหลายกรณี ทั้งแนวคิดความหลากหลายทางวัฒนธรรม และสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมถูกกดทับ และ<br />

ครอบง าด้วยลัทธิชาตินิยม และกระบวนการสร้างรัฐชาติ ท าให้มองข้ามชีวิตของคนตัวเล็กตัวน้อย คนกลุ่มน้อยตามแนวชายแดน<br />

และแรงงานต่างชาติ โดยถึงแม้สังคมไทยจะรับรู้ในความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม และชาติพันธุ์วรรณา แต่สังคมส่วนหนึ ่ง<br />

แม้แต่ในกลุ่มผู้มีการศึกษาสูงก็ยังไม่ยอมรับและเคารพในสิทธิมนุษยชนของคนกลุ่มน้อย และยังคงไว้ซึ ่งทัศนคติว่าคนไทยและ<br />

ความเป็นไทยมีวัฒนธรรมที ่สูงส่งกว่าของหลายประเทศเพื ่อนบ้าน โดยเฉพาะถ้าประเทศเหล่านั้นมีระดับการพัฒนาทางเศรษฐกิจที<br />

ล้าหลังกว่าไทย โดยพบเห็นได้จากการล้อเลียนค าพูด การแต่งกาย และชีวิตความเป็นอยู ่ผ่านสื ่อต่างๆ ในมุขตลก หรือในละครทีวี<br />

ที ่จริงแล้ว ควรส่งเสริมให้คนในสังคมไทยปรับเปลี ่ยนทัศนคติ เรียนรู้ท าความเข้าใจวิธีคิด และแบบแผนในการปฏิบัติของวัฒนธรรม<br />

อื ่นๆ โดยเฉพาะของเพื ่อนบ้าน และประเทศในภูมิภาคเพื ่อส่งเสริมการอยู ่ร่วมกันอย่างสันติ<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

แนวคิดสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรม มักถูกโจมตีด้วย 3 ข้อหาส าคัญ คือ 1) ชนชั้นน าทางการเมืองใช้เป็นข้ออ้างเพื ่อสร้าง<br />

ความชอบธรรมในอ านาจให้กับพฤติกรรมพิเศษที ่แสดงอภิสิทธิ์ของตนเอง ที ่ในบางครั้งอาจล่วงละเมิดสิทธิมนุษยชน หรือท าให้<br />

โครงสร้างสังคมถูกครอบง าโดยชนชั้นน าไม่มีที ่สิ ้นสุด 2) มีการผูกขาดการตีความหรือให้คุณค่าความหมายของวัฒนธรรมใน<br />

ลักษณะที ่ปิดกั้นความหลากหลายและบิดเบือนกระบวนการต่อรองทางวัฒนธรรม และ 3) ในขณะที ่อ้างว่าไม่มีความเป็นสากลของ<br />

วัฒนธรรม แต่มักยึดมั่นว่าวัฒนธรรมของสังคมตนเองมีคุณค่าที ่เป็นหนึ ่งเดียว และเพิกเฉยต่อข้อเท็จจริงที ่ว่าภายในทุกสังคมมี<br />

คุณค่าที ่ปัจเจกบุคคลแต่ละกลุ่มคนยึดถือแตกต่างกันไป ซึ ่งเป็นความย้อนแย้งในตัวเอง<br />

นอกจากนั้น แนวคิดสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมยังมีวิวาทะกับแนวคิดสิทธิมนุษยชนสากล (Human Rights<br />

Universalism) โดยหลักคิดแล้ว สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมเห็นว่าคุณค่าทั้งหลายที ่สังคมยึดถือปฏิบัติ ขึ ้นอยู ่กับบริบททางสังคม<br />

ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรมของแต่ละสังคม ฉะนั้น สิทธิมนุษยชนจึงไม่ใช่คุณค่าที ่เป็นสากล แต่เป็นผลิตผลทางประวัติศาสตร์การ<br />

ต่อสู้ของสังคมตะวันตก การพยายามยัดเยียดให้สังคมนอกตะวันตกต้องยอมรับคุณค่าสิทธิมนุษยชนจึงเข้าข่ายเป็นจักรวรรดินิยม<br />

ทางวัฒนธรรม (cultural imperialism) นักคิดแนวสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมบางคนอาจไม่ได้ไปไกลถึงขนาดปฏิเสธคุณค่าสิทธิ<br />

มนุษยชน แต่ตั้งค าถามว่าเราควรพิจารณาบริบททางสังคม การเมือง ประวัติศาสตร์ และวัฒนธรรม ในขอบเขตแค่ไหน อย่างไร ใน<br />

กรณีใดบ้าง และมองว่ามีการบิดเบือนแนวคิดสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรม เพื ่อสร้างความชอบธรรมให้กับวิถีปฏิบัติที ่ละเมิดสิทธิ<br />

มนุษยชนในหลายสังคม เช่น สิทธิที ่ไม่เท่าเทียมกันระหว่างหญิงและชายในนามความเชื ่อทางศาสนาและประเพณี อาทิ การขลิบ<br />

อวัยวะเพศผู้หญิง การคลุมถุงชน การมีภรรยาได้มากกว่าหนึ ่งคน เป็นต้น<br />

85


โลกในกระแสโลกาภิวัตน์ทุกวันนี ้ การปฏิสัมพันธ์กับสังคมและวัฒนธรรมอื ่นทั้งภายในและนอกสังคมเกิดขึ ้นอย่างรวดเร็ว<br />

ผ่านสื ่อทุกแขนง สังคมออนไลน์ หรือป้ายบนท้องถนน เราอาจได้รับรู้ รับฟังวิธีคิดและการให้คุณค่าที ่แตกต่างไปจากที ่เราเคยยึด<br />

มั่นปฏิบัติ เหล่านี ้ท าให้แนวคิดสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมยิ่งมีบทบาทมากขั้น และการปะทะสังสรรค์ระหว่างวัฒนธรรมก็มีหลาย<br />

ลักษณะ ทั้งดูดกลืน ยอมรับ ดัดแปลง ต่อต้าน และท าให้เป็นท้องถิ่น (localization)<br />

ดังนั้น การใช้ค าว่าสัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมควรพึงระวังอย่างน้อย 2 ประเด็น ดังนี ้<br />

1) สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมหรือความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมที ่มีลักษณะเฉพาะจะจัดความสัมพันธ์<br />

อย่างไรกับหลักการที ่มีลักษณะสากล (universality) เช่น หลักสิทธิมนุษยชน เป็นต้น หรืออาจกล่าวได้ว่าวัฒนธรรม<br />

ของสังคมจะต้องไม่ขัดกับหลักสิทธิมนุษยชน แต่ถ้าหากมีการขัดแย้งกันเกิดขึ ้น สังคมควรจะให้ความส าคัญกับ<br />

วัฒนธรรมเฉพาะหรือหลักการสากลมากกว่ากัน ประเด็นนี ้จึงยังไม่ได้ข้อสรุปและต้องถกเถียงเป็นกรณีไป<br />

2) สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรม ต้องระมัดระวังว่าไม่ใช่วัฒนธรรมที ่เกิดขึ ้นจากการสร้างขึ ้นโดยส่วนกลางหรือทางการ<br />

(officially) เช่น ชาตินิยม เป็นต้น เพราะรูปแบบการสร้างวัฒนธรรมดังกล่าวเกิดมาจากการหาศัตรูที ่มาจาก<br />

วัฒนธรรมอื ่นร่วมกัน มากกว่าที ่จะส่งเสริมการอยู ่ร่วมกันภายใต้ความแตกต่างหลากหลาย<br />

สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมจึงเป็นค าที ่มีความหมายสลับซับซ้อนและต้องใช้อย่างระมัดระวัง เพื ่อให้อยู ่ในกรอบของการ<br />

เคารพซึ ่งกันและกัน การเข้าใจความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม และการอยู ่ร่วมกันโดยไม่ตัดสินคนอื ่นจากมุมมองของ<br />

ตนเองเพียงอย่างเดียว สัมพัทธนิยมเชิงวัฒนธรรมจึงมีความหมายของการอยู ่ร่วมกันในความหลากหลาย ไม่ใช่เป็นค ากล่าว<br />

อ้างว่าเป็น “ลักษณะเฉพาะของสังคม” เพื ่อที ่จะไม่รับฟังข้อตกลงร่วมที ่มาจากสังคมส่วนรวมหรือปฏิเสธหลักการสากล<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

“What is cultural relativism?”. Accessed on 23 August 2012 from http://www.gotquestions.org/cultural-relativism.html.<br />

Levinson, David <strong>and</strong> Melvin Ember (eds.) (1996). Encyclopedia of Cultural Anthropology. New York: Henry Holt <strong>and</strong><br />

Company.<br />

86


DELIBERATIVE DEMOCRACY<br />

ประชำธิปไตยแบบปรึกษำหำรือ<br />

ควำมหมำย<br />

ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ (Deliberative <strong>Democ</strong>racy) เป็นรูปแบบหนึ ่งของระบอบประชาธิปไตย โดยมีนัยหมายถึง<br />

กระบวนการทางประชาธิปไตยที ่มีความเชื ่อมั่นในพลังอ านาจจากการให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการตัดสินใจทางการเมืองมากยิ่งขึ ้น<br />

โดยการปรึกษาหารือ ร่วมถกแถลงอภิปรายข้อปัญหาต่างๆ อย่างเป็นระบบ เพื ่อโน้มน้าวพลเมืองคนอื ่น และกลุ่มคนที ่มีผลประโยชน์<br />

และความเห็นแตกต่างกันด้วยข้อมูลและเหตุผล อันจะน าไปสู ่การแสวงหาทางออกที ่เห็นพ้องต้องกัน หรือ ฉันทามติ (โปรดดู<br />

Consensus) ในการแก้ไขปัญหาสาธารณะ ตลอดจนการตัดสินใจทางการเมืองต่างๆ (Kurian, 2011: 385)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทนซึ ่งเป็นหนึ ่งในบรรดาการปกครองสมัยใหม่ที ่ใช้กันอยู ่ทั่วทุกมุมโลกในปัจจุบัน ท าให้<br />

กระบวนการเลือกตั้ง และการตัดสินใจโดยเสียงข้างมากได้กลายเป็นสิ่งที ่จ าเป็น และส าคัญประการแรกๆ ของการปกครองในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยสมัยใหม่ แต่กระบวนการเลือกตั้งก็อาจไม่ใช่ปัจจัยที ่เพียงพอเสียแล้วในการสร้างคุณค่าให้แก่ประชาธิปไตยแบบ<br />

ตัวแทน เพราะคุณภาพของประชาธิปไตยสมัยใหม่นั้นอยู ่ที ่การเคารพทั้งการตัดสินใจของเสียงข้างมาก ในขณะเดียวกันก็จะต้อง<br />

ธ ารงไว้ซึ ่งสิทธิเสรีภาพของเสียงข้างน้อย (โปรดดู Majority Rule vs. Minority Rights) ด้วยเหตุนี ้ แนวคิดประชาธิปไตยแบบ<br />

ปรึกษาหารือจึงเข้ามาตอบโจทย์จุดอ่อนของประชาธิปไตยเสียงข้างมาก และพยายามช่วยให้เราสามารถบรรลุคุณค่าของ<br />

ประชาธิปไตยทั้งสองมิติไปได้พร้อมๆ กัน<br />

อนึ ่ง สิ่งที ่ส าคัญที ่สุดของระบอบประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือนั้นอยู ่ที ่กระบวนการ “ปรึกษาหารือ” (deliberation) ของ<br />

ประชาชน นั่นเพราะกระบวนการปรึกษาหารือนี ้จะช่วยท าให้ประชาชนสามารถเข้ามามีส่วนร่วมทางการเมืองที ่มากไปกว่าแค่การ<br />

เข้าคูหาเพื ่อเลือกตั้งเท่านั้น หรือที ่เรียกกันว่าประชาธิปไตยแบบสี ่วินาที (four seconds democracy) เพราะในกระบวนการ<br />

ปรึกษาหารือนี ้ ประชาชนทุกๆ คนจะร่วมกันใช้ข้อมูลและเหตุผลเป็นเครื ่องมือหลักในการแสดงออกซึ ่งจุดยืน ตลอดจนมีโอกาสที ่จะ<br />

โน้มน้าวจิตใจของพลเมืองคนอื ่นๆ ให้คล้อยตามเหตุผลของตนได้อย่างเท่าเทียมกันทั้งเสียงข้างมาก และเสียงข้างน้อย เพื ่อที ่<br />

สุดท้ายจะน าไปสู ่การตัดสินใจทางการเมืองหนึ ่งๆ ร่วมกันอย่างเข้าใจ ดังที ่ฮาเบอร์มาส (Habermas, 1975)<br />

ได้กล่าวถึง<br />

กระบวนการปรึกษาหารือในระบอบประชาธิปไตยว่าไม่ได้เกิดขึ ้นจากความต้องการของผู้มีอ านาจที ่อยู ่เหนือตัวเราขึ ้นไป หากแต่<br />

เป็นเรื ่องของการใช้ชีวิตอยู ่ร่วมกันอย่างเข้าอกเข้าใจของพลเมืองทุกๆ คนที ่เข้าร่วมในกระบวนการปรึกษาหารือ<br />

ด้วยเหตุนี ้ในระบอบประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือ กระบวนการปรึกษาหารือของประชาชนทุกๆ ฝ่ายจึงได้ถูกน ามาวาง<br />

ไว้ก่อนหน้าที ่จะมีการตัดสินใจส าคัญในทางการเมืองใดๆ เช่น ก่อนหน้าที ่จะมีการออกกฎหมายโดยรัฐสภา หรือก่อนการพิพากษา<br />

ตัดสินคดีความของศาล หรือแม้แต่ก่อนการออกนโยบายสาธารณะใดๆ ของรัฐบาลที ่มาจากการเลือกตั้งโดยเสียงข้างมาก นั่นก็<br />

เพราะในบางครั้งเสียงข้างมากที ่เลือกตั้งรัฐบาลเข้าไปอาจไม่เห็นพ้องต้องกันกับรัฐบาล หรือ ผู้ที ่สนับสนุนนโยบายสาธารณะหนึ ่งๆ<br />

ของรัฐบาลเสมอไปในทุกๆ กรณี ดังนั้นกระบวนการปรึกษาหารือของประชาชนจะช่วยท าให้การออกกฎหมาย ค าตัดสินพิพากษา<br />

87


คดีของศาล (ในกรณีใช้ระบบลูกขุน) หรือ การออกนโยบายสาธารณะใดๆ นั้นเป็นไปตามความเห็นพ้องต้องกันจากประชาชนทุกๆ<br />

ฝ่ายของสังคม และจะช่วยอุดช่องว่างของประชาธิปไตยแบบตัวแทนที ่ประชาชนมีโอกาสแสดงเจตจ านงอิสระ หรือ อัตตาณัติของ<br />

ตนเพียงครั้งเดียวคือตอนเข้าคูหาเพื ่อไปเลือกตั้งผู้แทน โดยที ่ไม่มีโอกาสได้แสดงความคิดเห็น หรือ ที ่มาที ่ไปของนโยบายนั้นๆ<br />

ร่วมกับพลเมืองคนอื ่นๆ ภายในรัฐเลย (ไชยันต์, 2549)<br />

กระบวนการปรึกษาหารือของประชาชนนั้นอาจกระท าได้ในหลายวิธี เช่น การจัดให้มีเวทีเสวนาแบบเปิด (open forum)<br />

หรือ ประชาเสวนาหาทางออก (deliberation) เพื ่อเปิดกว้างให้สาธารณชนได้มีโอกาสเข้าร่วมแลกเปลี ่ยนความคิดเห็นร่วมกันกับ<br />

องค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐ และภาคเอกชนในประเด็นส าคัญทางการเมืองต่างๆ หรือ การใช้โพลล์เสวนา (deliberative polling: DP)<br />

ในการบ่งบอกว่าอะไรคือสิ่งที ่สาธารณชนทั้งหมดคิดเกี ่ยวกับประเด็นต่างๆ ที ่เกี ่ยวข้องกับนโยบายสาธารณะ หรือ เกี ่ยวกับผู้สมัคร<br />

รับเลือกตั้ง ซึ ่งเกิดขึ ้นภายใต้เงื ่อนไขที ่ว่าสาธารณชนได้มีโอกาสขบคิดกันอย่างกว้างขวาง (extensive reflection) และได้มีหนทาง<br />

เข้าถึงข้อมูลข่าวสารอย่างทั่วถึงเสมอกัน เป็นต้น (ไชยันต์, 2549)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

นับตั้งแต่เกิดการรัฐประหารในปี พ.ศ. 2549 เป็นต้นมา ประเทศไทยได้เผชิญกับช่วงเวลาที ่เกิดปัญหาจากวิกฤติการณ์<br />

และความขัดแย้งทางการเมืองอย่างรุนแรงชนิดที ่สร้างรอยร้าวขนาดใหญ่ให้แก่สังคมไทยด้วยการแบ่งแยกผู้คนออกเป็นฝักเป็นฝ่าย<br />

ที ่คอยเข้าห ้าหั่น และประหัตถ์ประหารกันในทางการเมืองอยู ่ตลอดเวลาอย่างที ่ไม่เคยปรากฏขึ ้นมาก่อน ดังสะท้อนให้เห็นผ่าน<br />

เหตุการณ์การใช้ความรุนแรงนับตั้งแต่เหตุการณ์ 7 ตุลาคม พ.ศ. 2551 และ วิกฤติการณ์ในเดือนเมษายน-พฤษภาคมของปี พ.ศ.<br />

2552 และ พ.ศ. 2553 ซึ ่งท าให้เกิดความสูญเสียทั้งชีวิต และจิตใจของผู้คนชาวไทยอย่างร้ายแรง<br />

ด้วยเหตุนี ้ในช่วงปี พ.ศ. 2554 - 2555 จึงได้เกิดกระแสเรียกร้องให้สร้าง “ความปรองดองแห่งชาติ” ด้วยการจัดตั้ง<br />

คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื ่อความปรองดองแห่งชาติ (หรือ คอป.) ตลอดจนการเสนอแผนปรองดองฉบับ<br />

ต่างๆ จากหลายๆ ฝ่ายออกสู ่สาธารณชนโดยหวังว่าอาจเป็นหนึ ่งในหนทางที ่จะสามารถช่วยประสานความขัดแย้งต่างๆ ใน<br />

สังคมไทยให้คลี ่คลายลงไปได้บ้าง<br />

ในสภาพการณ์ของกระแสเรียกร้องให้มีการปรองดองแห่งชาติเกิดขึ ้นดังกล่าวนี ้เอง ที ่ดูเหมือนกระบวนการปรึกษาหารือ ได้<br />

เข้ามามีบทบาทส าคัญในทางการเมืองไทยเพิ่มขึ ้น ไม่ว่าจะเป็นการจัดให้มี “สุนทรียเสวนา” (dialogue) ตามรายงานการวิจัยเกี ่ยวกับ<br />

เรื ่องการปรองดองของคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร โดย<br />

คณะวิจัยจากสถาบันพระปกเกล้า ซึ ่งมุ่งเน้นให้ประชาชนได้มีส่วนร่วมในการแลกเปลี ่ยนความคิดเห็นเพื ่อให้เกิดความเข้าใจ และเห็น<br />

อกเห็นใจซึ ่งกันและกัน ทั้งภายในกลุ่ม และระหว่างกลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียต่างๆ ในสังคม เพื ่อปรับความสัมพันธ์ที ่ขัดแย้งระหว่างกัน<br />

อันจะน าไปสู ่การร่วมกันหาทางออกหรือแนวทางในการปรับโครงสร้างทางการเมือง และสังคมต่างๆ ที ่เกี ่ยวข้อง และเป็นสาเหตุของ<br />

ปัญหาความขัดแย้งที ่แต่ละฝ่ายให้การยอมรับนั่นเอง (รายงานสถาบันพระปกเกล้า, 2555: 17)<br />

อย่างไรก็ตาม ในโลกสมัยใหม่ที ่มีความซับซ้อนสูง ประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือคงไม่อาจแทนที ่ประชาธิปไตยแบบ<br />

ตัวแทนได้ เป็นแต่เพียงกระบวนการเสริมเพื ่อลดจุดอ่อนของประชาธิปไตยแบบตัวแทนและตัดสินด้วยเสียงข้างมาก กระบวนการ<br />

88


ปรึกษาหารือในระบอบประชาธิปไตยจากการพูดคุย และถกเถียงกัน จะน าไปสู ่การสร้างสัญญาประชาคมใหม่ทั้งต่อพลเมืองด้วยกัน<br />

และระหว่างพลเมืองกับผู้ที ่เข้ามาเป็นรัฐบาล ซึ ่งเป็นข้อตกลงระหว่างกันที ่จะท าให้พลเมืองของรัฐนั้นสามารถร่วมกันจรรโลงสังคม<br />

และสร้างกฎระเบียบใหม่ที ่เป็นธรรมในสังคมได้อย่างที ่พวกเขาต้องการได้อย่างยั่งยืน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Contract’<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Habermas, Jürgen (1975). The legitimation crisis. Boston: Beacon Press.<br />

ไชยันต์ ไชยพร (2549). แนวคิด “Deliberative <strong>Democ</strong>racy <strong>and</strong> Deliberative Polls” (1). เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.nidambe11.net/ekonomiz/2006q4/<br />

2006november20p7.htm.<br />

สถาบันพระปกเกล้า (2555). รายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.kpi.ac.th/kpith/images/stories/2012/reconciliation/ส่วนหน้า.pdf.<br />

89


FISCAL DEMOCRACY<br />

ประชำธิปไตยทำงกำรคลัง<br />

ควำมหมำย<br />

ประชาธิปไตยทางการคลัง (Fiscal <strong>Democ</strong>racy) เป็นค าที ่ใช้กล่าวถึงการบริหารการคลังสาธารณะของรัฐบาลที ่อยู ่ภายใต้<br />

ระบอบการเมืองที ่เป็นประชาธิปไตย กล่าวคือมีรัฐบาลที ่มาจากการเลือกตั้งโดยประชาชน และมีการจัดการเรื ่องการคลังที ่สนับสนุน<br />

หรือสอดรับกับการปกครองแบบประชาธิปไตย ฐานคติเรื ่องประชาธิปไตยทางการคลังก็คือ ในเมื ่อการก าหนดและบังคับใช้นโยบาย<br />

สาธารณะมีฐานทรัพยากรมาจากภาษีของประชาชนทุกคนในประเทศ ฉะนั้นรัฐบาลที ่เข้ามาจัดการกับภาษีจ านวนมหาศาลดังกล่าว<br />

จึงต้องมีความรับผิดชอบต่อประชาชนทั้งหมดในประเทศ ไม่ใช่รับผิดชอบเพียงประชาชนที ่ให้คะแนนเสียงหรือสนับสนุนรัฐบาล<br />

จากจุดนี ้ท าให้เกิดข้อถกเถียงมากมายในเวลาที ่มีการใช้นโยบายที ่ต้องใช้งบประมาณจ านวนมากเพื ่อเอาอกเอาใจประชาชนโดย<br />

หวังผลทางการเมือง หรือกล่าวอย่างตรงไปตรงมาคือใช้นโยบายสาธารณะในการซื้อเสียงประชาชน (โปรดดู Corruption)<br />

ปัญหาดังกล่าวจึงท าให้ต้องมีหลักการประชาธิปไตยทางการคลังเป็นตัวก ากับ ประชาธิปไตยทางการคลัง ครอบคลุมถึง<br />

ความสามารถและความยืดหยุ่นในการจัดการทรัพยากรทางการคลัง เช่น ภาษี ซึ ่งในทางการคลังจะต้องมีความสามารถในการ<br />

ประมาณการรายรับ – รายจ่ายของประเทศ และจัดสรรทรัพยากรดังกล่าวออกมาเป็นสินค้าสาธารณะ (public goods) ผ่าน<br />

นโยบายที ่เป็นรูปธรรมของแต่ละพรรคการเมืองในการแข่งขันเลือกตั้งที ่เป็นธรรมกับทุกฝ่าย (Streeck <strong>and</strong> Mertens, 2010: 5-8)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดประชาธิปไตยทางการคลังเป็นแนวคิดที ่ถกเถียงในโลกตะวันตกที ่มักจะเกิดขึ ้นในช่วงเวลาที ่มีวิกฤติเศรษฐกิจ โดย<br />

การถกเถียงมีประเด็นว่ารัฐบาลควรจะมีบทบาทอย่างไรในการบริหารการคลังสาธารณะ ซึ ่งสามารถจ าแนกได้ 2 แนวทางคือ<br />

รัฐบาลที ่มีนโยบายทางการคลังแบบอนุรักษ์นิยม (fiscal conservatism) คือมีเป้าหมายในการบริหารงบประมาณของประเทศ<br />

จะต้องไม่ขาดดุล หรือไม่ใช้จ่ายงบประมาณมากเกินไป เพราะภาครัฐไม่มีศักยภาพเพียงพอที ่จะมีนโยบายดูแลประชาชนในทุกด้าน<br />

เนื ่องด้วยข้อจ ากัดในการจัดเก็บภาษี ภาครัฐจึงต้องมีบทบาทน้อยลงเพื ่อรักษาวินัยทางการคลัง ส่วนอีกแนวทางหนึ ่งคือ รัฐบาลที ่มี<br />

นโยบายทางการคลังแบบเสรีนิยม (fiscal liberalism) คือรัฐบาลที ่ก าหนดว่างบประมาณแบบขาดดุลสามารถท าได้ เพื ่อเป้าหมาย<br />

ในการใช้งบประมาณจ านวนมากในการจัดสรรนโยบายและสวัสดิการต่างๆ ให้กับประชาชน ภาครัฐจะเข้าไปดูแลประชาชนใน<br />

หลายด้าน เช่น การประกันสุขภาพแบบถ้วนหน้า และการศึกษาฟรี เป็นต้น ภาครัฐจึงมีขนาดใหญ่เพราะมีบทบาทมากมายในการ<br />

เข้าไปดูแลสังคม ประเด็นถกเถียงทั้งสองแนวทางนี ้จึงอยู ่บนฐานของความสามารถในการจัดเก็บภาษีของภาครัฐและการตรวจสอบ<br />

การใช้งบประมาณของรัฐบาล<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับประชาธิปไตยทางการคลังในบริบทของสังคมไทย จรัส สุวรรณมาลา (2553: 3-4) กล่าวว่า “รัฐบาลในระบอบ<br />

ประชาธิปไตย ทุกวันนี ้แข่งกันเอาอกเอาใจประชาชนอย่างไม่มีขีดจ ากัด เหมือนพ่อแม่ที ่เลี ้ยงลูกแบบมักง่าย ด้วยการซื ้อหาสิ่งของ<br />

ทุกอย่างให้ลูก เพื ่อเอาใจลูก ไม่ใช่เพราะรักลูก แต่เพราะต้องการให้ลูกรักพ่อแม่เสียมากกว่า รัฐบาลแข่งกันเอาใจประชาชนผิด<br />

90


ตรงไหน? ไม่ผิด นับเป็นเรื ่องที ่ดี ที ่รัฐบาลและนักการเมืองแข่งขันกันท าประโยชน์แก่ประชาชนให้มากที ่สุด แต่การแข่งขันดังกล่าว<br />

นี ้จะเป็นประโยชน์ต่อประชาชนจริงๆ ก็ต่อเมื ่อเป็นการแข่งขันกันภายในกรอบของกฎกติกาการรักษาวินัยทางการคลัง เพราะถ้า<br />

แข่งขันกันโดยไม่มีกติกา ก็จะกลายเป็นโทษ เป็นการแข่งกันสร้างภาพลวงตา และท าลายหลักการประชาธิปไตยลงไปในที ่สุด”<br />

(จรัส, 2553)<br />

ข้อความดังกล่าวชี ้ให้เห็นว่า หลักการพื ้นฐานอยู ่ที ่การด ารงรักษาดุลทางการคลังและความยั่งยืนทางการคลังในภาครัฐ<br />

โดยรัฐบาลสามารถมีนโยบายให้สวัสดิการหรือเอื ้อประโยชน์แก่ประชาชนอย่างไรก็ได้ ตราบเท่าที ่ใช้เงินไม่เกินจ านวนภาษีที ่<br />

ประชาชนยินยอมจ่ายให้ รัฐบาลต้องไม่หาเงินจากแหล่งอื ่นมาใช้จ่ายโดยประชาชนไม่เห็นชอบ เช่น การกู้เงิน หรือสร้างภาระ<br />

ผูกพัน หรือเอาเงินของอนาคตมาใช้ หรือถึงขนาดปกปิดมิให้ประชาชนทราบเกี ่ยวกับสถานะทางการคลังที ่แท้จริงหากรัฐใช้จ่ายเกิน<br />

ตัว ด้วยเหตุนี ้จึงกล่าวได้ว่าประชาธิปไตยทางการคลัง ก็คือการที ่ภาครัฐใช้งบประมาณด้วยเหตุผลและได้รับความเห็นชอบจาก<br />

ประชาชนผู้เป็นเจ้าของจ านวนเงินดังกล่าว อย่างไรก็ดี ในโลกแห่งความจริง รัฐบาลไม่สามารถขอความเห็นชอบจากประชาชน<br />

ได้ทุกเรื ่อง ทั้งในเรื ่องรายรับและรายจ่าย รัฐประชาธิปไตยจึงต้องมีสถาบันการเมืองและการเงินการคลังท าหน้าที ่ตรวจสอบถ่วงดุล<br />

และก ากับดูแลการด าเนินนโยบายทางการเงินการคลังของรัฐบาลในนามของประชาชน และมีกฎหมายการเงินการคลังก าหนด<br />

กรอบและกฎกติกาในการด าเนินนโยบายทางการคลังของภาครัฐ ให้รัฐบาลบริหารงานคลังตามเจตนารมณ์ของประชาชน เพื ่อ<br />

ผลประโยชน์สูงสุดของประชาชน และอยู ่ภายใต้การควบคุมตรวจสอบของประชาชน<br />

ในทางปฏิบัติแล้วหลักการประชาธิปไตยทางการคลังเกิดขึ ้นได้ยากมากในสังคมไทย เพราะค าว่า “ประชาธิปไตยทางการ<br />

คลัง” เกิดขึ ้นพร้อมกับปัญหาการใช้จ่ายเกินตัว (over-spending) ของภาครัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของความขัดแย้งทางการ<br />

เมืองไทย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2544 เป็นต้นมา รัฐบาลมีการใช้นโยบายประชานิยมอย่างกว้างขวาง กล่าวคือ มีนโยบายที ่เงิน<br />

จ านวนมากถูกใช้ไปเพื ่อเป้าหมายในการหาคะแนนเสียงจากประชาชน และนโยบายทั้งหลายไม่ได้ถูกตรวจสอบอย่างเหมาะสมและ<br />

รัดกุมจนเป็นเหตุท าให้เกิดการคอร์รัปชั่นเชิงนโยบายอย่างมโหฬาร และท าให้เกิดปรากฎการณ์ที ่นักธุรกิจเข้ามาแสวงหา<br />

ผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจในคราบของนักการเมือง (โปรดดู Corruption)<br />

อย่างไรก็ดี ค าว่าประชาธิปไตยทางการคลังไม่สามารถที ่จะกล่าวถึงเพียงการใช้จ่ายของ “รัฐบาล” เพียงสถาบันเดียว แต่<br />

ประชาธิปไตยทางการคลังต้องถูกน าไปใช้ในทุกองค์กรทางการเมือง ไม่ว่าจะเป็นในระบบข้าราชการพลเรือน ข้าราชการทหาร<br />

หรือเจ้าหน้าที ่ในกระบวนการยุติธรรม รวมถึงองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นต่างๆ หรือกล่าวได้ว่าประชาธิปไตยทางการคลังจะต้อง<br />

ครอบคลุมถึงทุกสถาบันและทุกหน่วยงานทางการเมืองที ่ใช้เงินจากภาษีของประชาชน และมีหน้าที ่ในการจัดการเกี ่ยวกับนโยบาย<br />

ของรัฐ เพื ่อท าให้เกิดประสิทธิภาพสูงสุดในการใช้จ่ายงบประมาณ และจ าเป็นต้องถูกตรวจสอบโดยประชาชน การบริหารทางการ<br />

คลังจึงจ าเป็นที ่จะต้องเปิดเผยข้อมูลให้กับสาธารณชนและให้องค์กรทางสังคมที ่เป็นบุคคลภายนอก (outsider) สามารถเข้าไป<br />

ตรวจสอบได้ เช่น การน าเสนอข้อมูลผ่านเว็บไซต์ การออกเอกสารองค์การประจ าปี เป็นต้น<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

จรัส สุวรรณมาลา (2553). ประชาธิปไตยทางการคลังไทย. กรุงเทพฯ: คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

Streeck, Wolfgang <strong>and</strong> Daniel Mertens (2010). An Index of Fiscal <strong>Democ</strong>racy. Cologne: Max Planck Institute for the<br />

Study of Societies.<br />

91


ILLIBERAL DEMOCRACY<br />

ประชำธิปไตยที่ไม่เสรี<br />

ควำมหมำย<br />

ประชาธิปไตยที ่ไม่เสรี (Illiberal <strong>Democ</strong>racy) หมายถึงรูปแบบประชาธิปไตยที ่แม้จะมีรัฐบาลที ่มาจากการเลือกตั้ง แต่<br />

สิทธิพลเมือง (civil liberties) ของประชาชนมักถูกจ ากัด ละเมิด หรือไม่ได้รับความคุ้มครอง มีการปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูล สื ่อถูก<br />

ควบคุม และการแสดงความคิดเห็นของประชาชนอยู ่ภายใต้การควบคุมอย่างเข้มงวดจากรัฐ นอกจากนี ้ในระบอบประชาธิปไตย<br />

ที่ไม่เสรี กระบวนการเลือกตั้งมักไม่เป็นไปตามหลักการเลือกตั้งในระบอบเสรีประชาธิปไตย ที ่เน้นความโปร่งใส (transparency)<br />

เป็นอิสระ (free) จากการครอบง าโดยผู้กุมอ านาจรัฐหรืออ านาจอื ่นใด การแข่งขันเลือกตั้งให้ความเป็นธรรม (fair) กับผู้แข่งขันและ<br />

ผู้สนับสนุนทุกฝ่าย และประกันความลับของผู้ลงคะแนนเลือกตั้ง (secret ballot) ระบอบประชาธิปไตยที ่ไม่เสรีมักเกิดขึ ้นในสังคมที ่<br />

อยู ่ระหว่างการเปลี ่ยนผ่านจากระบอบที ่ไม่เป็นประชาธิปไตยไปสู ่การเป็นประชาธิปไตย ซึ ่งมักจะเกิดขึ ้นในประเทศก าลังพัฒนา<br />

(developing country) หรือประเทศประชาธิปไตยใหม่ (new democracies) แต่บางครั้งประเทศที ่พัฒนาแล้วบางประเทศก็อาจมีมิติ<br />

ของประชาธิปไตยที ่ไม่เสรีปรากฏให้เห็นได้ด้วยเช่นกัน อาทิ ในสิงคโปร์ที ่มีการเลือกตั้งที ่สร้างกติกาปิดกั้นการแข่งขัน กีดกัน<br />

ผู้สมัครฝ่ายค้าน ไม่ประกันความลับของผู้ลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง และการจ ากัดสิทธิเสรีภาพของสื ่อมวลชนและประชาชนในการ<br />

แสดงความคิดเห็น (Zakaria, 1997: 22-43)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในหนังสือเรื ่อง “The Future of Freedom: Illiberal <strong>Democ</strong>racy at Home <strong>and</strong> Abroad” ของฟารีด ซาคาเรีย (Fareed<br />

Zakaria) ได้พูดถึงประชาธิปไตยแบบไม่เสรีไว้ว่า เสรี (liberal) กับประชาธิปไตย (democracy) มักถูกกล่าวถึงร่วมกันในประเทศ<br />

ตะวันตก แต่ทั้ง 2 ค า ไม่จ าเป็นต้องเกิดควบคู ่กันเสมอไป ค าว่าประชาธิปไตยจะมาพร้อมกับการตัดสินใจด้วยเสียงข้างมาก<br />

(majority rule) แต่ค าว่าเสรีจะมีลักษณะเป็นเสรีภาพของปัจเจกบุคคล (individual freedom) ซึ ่งเสรีภาพของปัจเจกบุคคลหลาย<br />

ครั้งมักจะพบกับปัญหาความขัดแย้งกับการตัดสินใจโดยเสียงข้างมาก หรือเผด็จการเสียงข้างมาก (tyrannical majority) ฉะนั้น<br />

บางประเทศที ่มีระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตย มีการเลือกตั้ง แต่อาจจะไม่ได้มอบสิทธิเสรีภาพให้กับประชาชน หรือ<br />

บางครั้งการตัดสินใจโดยเสียงข้างมากได้ไปกระทบกระเทือนถึงสิทธิส่วนบุคคล ตัวอย่างเช่น รัสเซีย ที ่มีผู้ปกครองมาจากการ<br />

เลือกตั้ง แต่ได้มีกฎหมายที ่จ ากัดการใช้สิทธิเสรีภาพของปัจเจกบุคคล และเสรีภาพของสื ่อไว้อย่างชัดเจน รวมไปถึงบทบาทของผู้น า<br />

ที ่เน้นอ านาจบารมีและใช้กลไกรัฐในการควบคุมประชาชนด้วยความรุนแรง ผูกขาดอ านาจในการเข้าถึงข้อมูล และควบคุมสื ่อ<br />

ค าว่าประชาธิปไตยแบบไม่เสรีจึงมักใช้อธิบายประเทศที ่มีประชาธิปไตยแต่เพียงในเชิงรูปแบบ แต่ไม่ส่งเสริมเสรีภาพของ<br />

ประชาชน ขอยกตัวอย่างประเทศในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น สิงคโปร์ เป็นประเทศที ่เป็นประชาธิปไตย มีผู้น าที ่มาจากการ<br />

เลือกตั้ง แต่มีข้อกฎหมายหลายอย่างที ่จ ากัดเสรีภาพในการออกเสียงในสภาและการท างานของฝ่ายค้าน รวมถึงข้อบังคับในการ<br />

จัดตั้งพรรคการเมืองฝ่ายตรงข้ามที ่จะเข้ามาแข่งขันกับพรรค People's Action Party (PAP) ท าให้การแข่งขันของพรรคการเมือง<br />

ไม่เสรี เพราะถูกผูกขาดโดยพรรครัฐบาล เช่นเดียวกับมาเลเซียที ่ถูกผูกขาดอ านาจโดยพรรค United Malays National<br />

Organization (UMNO) และยังสามารถอธิบายการเมืองฟิลิปปินส์ ที ่ถูกเรียกว่าเป็นผู้ป่วยแห่งเอเชีย (Sick Man of Asia) เพราะแม้<br />

92


จะมีประชาธิปไตยและรัฐธรรมนูญที ่ถูกวางรากฐานจากสหรัฐอเมริกา แต่การเมืองยังคงเป็นระบบพวกพ้อง การอุปถัมภ์ทาง<br />

การเมือง มีการใช้เงินซื ้อสิทธิขายเสียง และมีการคอร์รัปชั่นอย่างกว้างขวาง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับประเทศไทย ค าว่าประชาธิปไตยแบบไม่เสรีถูกน ามาใช้อธิบายการเมืองไทยในช่วงประชาธิปไตยครึ ่งใบ ประมาณ<br />

ปี พ.ศ. 2523-31 และอธิบายการเมืองไทยยุคธนาธิปไตย (money politics) รวมไปจนถึงหลังปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา โดยเกษียร<br />

เตชะพีระ (2551) กล่าวถึงประชาธิปไตยแบบไม่เสรีไว้ว่า ในทวีปละตินอเมริกา แอฟริกาและเอเชียหลายประเทศ บางทีก็เรียกว่า<br />

"ระบอบเลือกตั้งธิปไตย" (electocracy - electocrats) หรือเรียกผู้กุมอ านาจในระบอบนี ้ว่า “democratators” หรือ "จอมบงการ<br />

ประชาธิปไตย" จนกระทั่งระบอบประชาธิปไตยไม่เสรีถูกวิพากษ์วิจารณ์ว่าเป็น "the fallacy of electoralism" เป็นรูปแบบการเมือง<br />

ที ่เน้นการเลือกตั้งเพียงอย่างเดียว โดยเน้นหลักความเสมอภาคและอ านาจอธิปไตยของประชาชนผ่านการเลือกตั้งและ พรรค<br />

การเมืองโดดๆ ด้านเดียว แต่ละเลยหรือล่วงละเมิดหลักสิทธิเสรีภาพและหลักนิติธรรมไปเสีย เข้าท านอง elections = democracy<br />

ไป<br />

ส าหรับการอธิบายบริบทการเมืองไทย เกษียร เตชะพีระ ได้กล่าวถึงประชาธิปไตยแบบไม่เสรีโดยกล่าวถึงสถานการณ์<br />

โดยรวมช่วงปี พ.ศ. 2531-2540 ว่าความไม่เสรีของประชาธิปไตยไทยเป็นผลจากการเข้ากุมอ านาจการเมืองโดยกลุ่มนายทุนหัวเมือง/<br />

นักเลือกตั้ง (provincial capitalists/ electocrats) และสถานการณ์โดยรวมช่วงปี พ.ศ. 2544 เป็นต้นมา เกิดการประชันขันแข่งกัน<br />

ระหว่างรูปแบบประชาธิปไตยต่างๆ และถูกเรียกขานแตกต่างกันไป เช่น ประชาธิปไตยไม่เสรีหรือประชาธิปไตยอ านาจนิยม<br />

(illiberal/authoritarian democracy) เสรีอัตตาธิปไตย (liberal autocracy) เผด็จการทหารของพลังระบบราชการ ชนชั้นน าและคน<br />

ชั้นกลางซึ ่งมีที ่มาจากคณะรัฐประหาร และระบอบเสรีประชาธิปไตยครึ ่งใบ (liberal semi-democracy) ของกลุ่มทุนใหญ่ผูกขาดและ<br />

พันธมิตรของอดีตนายกรัฐมนตรีทักษิณ ภายใต้รัฐธรรมนูญฉบับประชามติ พ.ศ.2550 ซึ ่งลดความส าคัญของหลักความเสมอภาค<br />

ทางอ านาจ และอ านาจอธิปไตยของประชาชนที ่แสดงออกผ่านการเลือกตั้ง และพรรคการเมืองลง หันไปขยายบทบาทอ านาจ<br />

ตรวจสอบถ่วงดุลของบรรดาสถาบันที ่ไม่ได้มาจากเสียงข้างมาก (non-majoritarian institutions) และการเลือกตั้งที ่เชื ่อมโยงกับ<br />

ประชาชน เช่น ฝ่ายตุลาการ วุฒิสภา และองค์กรอิสระต่างๆ<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ที ่พึงสังเกตคือ การกล่าวอ้างถึงประชาธิปไตยแบบไม่เสรีไม่ควรถูกน าไปลดทอน หรือล้มล้างหลักการประชาธิปไตย<br />

กล่าวคือ การวิพากษ์วิจารณ์รัฐบาลที ่มาจากเสียงข้างมากว่าคอร์รัปชั่นหรือซื ้อสิทธิ์ขายเสียงสามารถท าได้ แต่การอ้างค าว่า<br />

ประชาธิปไตยแบบไม่เสรีเพื ่อโจมตี และมุ่งหวังให้มีระบอบการเมืองแบบอื ่นที ่ไม่เอาประชาธิปไตย เป็นการใช้ค าว่า “ประชาธิปไตย<br />

แบบไม่เสรี” ในทางที ่ผิด เพราะประชาธิปไตยแบบไม่เสรีเป็นการวิพากษ์วิจารณ์ระบอบการเมืองที ่ก าลังพัฒนาจากการไม่เป็น<br />

ประชาธิปไตยไปสู ่การเป็นประชาธิปไตย เป้าหมายของการวิจารณ์เรื ่องประชาธิปไตยแบบไม่เสรีจึงควรเป็นไปเพื ่อให้ได้มาซึ ่ง<br />

ระบอบประชาธิปไตยที ่สมบูรณ์ยิ่งขึ ้น ที ่เสียงของประชาชนมีความหมายและมีกลไกตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐอย่างจริงจัง มี<br />

ประสิทธิภาพ ไม่ใช่มุ่งหวังระบบการเมืองที ่ปฏิเสธเสียงข้างมากของประชาชน<br />

ดูเพิ่มใน ‘the Rights section’<br />

93


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

เกษียร เตชะพีระ (2551). “แนวโน้มสถานการณ์ในอนาคต: ระบอบ” ใน มติชน. ปีที ่ 31 ฉบับที ่ 10975, 28 มีนาคม 2551.<br />

Case, William (2010). Contemporary Authoritarianism in Southeast Asia: Structures, Institutions <strong>and</strong> Agency. London:<br />

Routledge Taylor & Francis.<br />

Mitchell, Neil J. “Illiberal <strong>Democ</strong>racy <strong>and</strong> Vladimir Putin's Russia”. In College Board. Accessed July 4, 2012 from<br />

http://apcentral.collegeboard.com/apc/ members/courses/teachers_corner/32074.html.<br />

Zakaria, Fareed. “The Rise of Illiberal <strong>Democ</strong>racy”. In Foreign Affairs. Acceded July 4, 2012 from<br />

http://msuweb.montclair.edu/~lebelp/FZakariaIlliberal<strong>Democ</strong>racy<br />

1997.pdf.<br />

94


SUBSTANTIVE DEMOCRACY<br />

ประชำธิปไตยเชิงเนื้อหำ<br />

ควำมหมำย<br />

ประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหา (Substantive <strong>Democ</strong>racy)<br />

เป็นรูปแบบหนึ ่งของประชาธิปไตยที ่เน้นเรื ่องของผลลัพธ์<br />

(outcome) ของกระบวนการและกลไกต่างๆ ในระบอบประชาธิปไตย โดยเกณฑ์หรือมาตรวัดความเป็นประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหามัก<br />

ประกอบด้วย 1) การที ่รับรองสิทธิพลเมือง (civic substance) รับรองเสรีภาพในการแสดงออก และความเสมอภาคในเชิงกฎหมาย<br />

2) มีการเลือกตั้งที ่โปร่งใส เป็นธรรม เปิดโอกาสให้มีผู้แข่งขันที่หลากหลายให้ประชาชนได้เลือก 3) เคารพความแตกต่างทาง<br />

ความคิด และทางกายภาพ 4) เคารพเสียงข้างมาก ขณะเดียวกันก็ปกป้อง คุ้มครองเสียงข้างน้อย 5) รัฐบาลมีประสิทธิภาพ<br />

ตอบสนองความต้องการของประชาชน 6) มีช่องทางให้พลเมืองแสดงความต้องการ และสื ่อสารไปยังระบบการเมือง และ 7) เป็น<br />

ระบอบการปกครองที ่พลเมืองในสังคมมีวัฒนธรรมที ่ส่งเสริมระบอบประชาธิปไตย<br />

อรรถำธิบำย<br />

งานของ คาลดอร์ และ เวจโวดา (Kaldor <strong>and</strong> Vejvoda, 1999: 3) กล่าวว่าประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาเป็นกระบวนการที ่<br />

เกิดขึ ้นอย่างต่อเนื ่องที ่ท าให้ประชาชนมีโอกาสในการเข้าถึงความสัมพันธ์เชิงอ านาจทั้งในด้านการมีส่วนร่วมและการตัดสินใจ และ<br />

นักทฤษฏีประชาธิปไตยอย่าง เฮลด์ (Held, 1987) เห็นว่าประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหามีจุดเน้นอยู ่ที ่การมีส่วนร่วมทางการเมืองใน<br />

ชีวิตประจ าวันของประชาชนและกิจกรรมที ่เกิดขึ ้นในพื ้นที ่ประชาสังคม<br />

ค าว่าประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาจึงมีความหมายที ่แตกต่าง ซึ ่งเมื ่อเปรียบเทียบแล้วจะมีลักษณะที ่ตรงกันข้ามกับค าว่า<br />

ประชาธิปไตยเชิงกระบวนการ (procedural democracy) โดยประชาธิปไตยเชิงกระบวนการจะเน้นที ่ระเบียบ กฎเกณฑ์ และ<br />

รูปแบบที ่สัมผัสได้ของประชาธิปไตย เช่น มีการเลือกตั้ง การลงประชามติ รัฐสภา การปกครองท้องถิ่น เป็นต้น แต่ส าหรับ<br />

ประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาจะลึกไปกว่านั้น โดยสนใจว่าการเลือกตั้งสามารถท าให้ได้มาซึ ่งผู้แทนของประชาชนที ่แท้จริงหรือไม่ การ<br />

ปกครองท้องถิ่นประชาชนสามารถเข้าถึงการตัดสินใจหรือไม่ ในกระบวนการร่างกฎหมายประชาชนสามารถเข้าไปมีส่วนร่วม<br />

ทางการเมืองได้มากน้อยเพียงใด ด้วยเหตุนี ้ ประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาจึงมีแง่มุมของ “คุณค่า” ที ่ซ้อนอยู ่ภายใต้กฎระเบียบและกลไก<br />

การท างานต่างๆ ในระบอบประชาธิปไตย ในทางปฏิบัติค าว่าประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาจึงใช้ส าหรับการวิพากษ์วิจารณ์ประเทศที ่มี<br />

ประชาธิปไตยเพียงรูปแบบ เช่น จีน รัสเซีย หรือประเทศโลกที ่สามทั้งหลาย ที ่มีการเลือกตั้งและมีสภานิติบัญญัติ แต่ประชาชน<br />

ไม่ได้มีอ านาจในการใช้สิทธิและเสรีภาพอย่างแท้จริง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับประเทศไทย ความเข้าใจในเรื ่องประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาโดยทั่วไปก็ไม่ต่างไปจากการใช้ในสากลนัก กล่าวคือ<br />

เป็นรูปแบบประชาธิปไตยที ่ไม่เพียงให้พลเมืองมีสิทธิในการเลือกตั้ง สามารถตรวจสอบรัฐบาลที ่ตนเลือกตั้งเข้าไปบริหารประเทศ<br />

และสามารถได้รับสิทธิเสรีภาพในมิติอื ่นๆ แต่ประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาจะใช้กล่าวถึงการที ่ประชาชนหรือพลเมืองในด้านผู้ทรงสิทธิที ่<br />

95


ประกอบไปด้วยสิทธิสองประการคือ หนึ ่ง พลเมืองได้รับการก าหนดสิทธิที ่พึงได้อ้าง และรับรองความสามารถของการใช้เสรีภาพใน<br />

การด าเนินชีวิตทางการเมือง และ สอง พลเมืองได้รับการประกันสิทธิ (entitlement) ที ่รัฐต้องจัดหาให้ประชาชนในฐานะพลเมือง<br />

ในทางปฏิบัติ สังคมไทยจะใช้เรื ่องของประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาเพื ่อวิพากษ์วิจารณ์นักการเมืองที ่มาจากการเลือกตั้ง แต่<br />

กลับท าการทุจริต คอร์รัปชั่น และใช้อ านาจในทางมิชอบ โดยไม่ดูแลผลประโยชน์ของประชาชน เช่น ค าวิจารณ์ของ ธีรยุทธ บุญมี<br />

ที ่ว่า จาก 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 มาถึงปัจจุบัน ประชาธิปไตยโดยรูปแบบคือประชาธิปไตยที ่เป็นเฉพาะการเลือกตั้ง (procedural<br />

democracy) ได้มาถึงทางตัน ต้องมีการพัฒนาไปอีกขั้น คือประชาธิปไตยที ่มีเนื ้อหาหรือประชาธิปไตยที ่มีแก่นสาร (substantive<br />

democracy) แก่นสารในความหมายของธีรยุทธ บุญมี คือการเพิ่มความซื ่อสัตย์สุจริต ความยุติธรรม ความอยู ่ดีมีสุขและสิทธิอ านาจ<br />

ของประชาชน และประชาธิปไตยที ่มีแก่นสาร นั่นก็คือประชาธิปไตยที ่ท าให้ได้มาซึ ่งผู้ปกครองที ่เป็นคนดี มีศีลธรรม ซื ่อสัตย์ สุจริต<br />

และมีคุณธรรม<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในระยะหลัง ค าว่าประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาในสังคมไทยถูกน าไปเชื ่อมโยงเกี ่ยวกับหลักศาสนาและความเป็นคนดี ซึ ่งท า<br />

ให้ความหมายของประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาถูกบิดเบือนไป เนื ่องจากประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาเป็นเรื ่องของการท าให้กลไกหรือ<br />

กฎระเบียบเกี ่ยวกับระบอบประชาธิปไตยที ่มีอยู ่ในประเทศสามารถน าไปสู ่ “ผลลัพธ์” ที ่ประชาชนเป็นผู้ถือครองอ านาจและสามารถ<br />

เข้าไปมีความสัมพันธ์เชิงอ านาจผ่านการมีส่วนร่วมทางการเมืองได้อย่างสม ่าเสมอ ประชาธิปไตยเชิงเนื ้อหาจึงไม่ใช่เรื ่องของการ<br />

เลือกคนดีและมีคุณธรรมเข้าไปปกครองบ้านเมือง แต่เน้นกลไกการตรวจสอบ และกระบวนการมีส่วนร่วมซึ ่งสื ่อถึงเนื ้อหาของ<br />

ประชาธิปไตยนั้นว่า อ านาจสูงสุดมาจากประชาชน และประชาชนสามารถใช้อ านาจนั้นในการเข้าไปมีส่วนร่วมทางการเมือง สิทธิ<br />

เสรีภาพ และการประกอบกิจกรรมทางการเมืองต่าง ๆ ได้รับการรับรอง<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Civil Society’<br />

ธีรยุทธ บุญมี (2555). “ต้องพัฒนารัฐธรรมนูญฉบับภูมิปัญญาไทยเน้นยุทธศาสตร์การสร้างและขยายสถาบันและวัฒนธรรมต้าน<br />

คอร์รัปชัน”. เข้าถึงวันที ่ 26 สิงหาคม 2555 ใน http://2519me.com/Me-myself/Today_Me/Me_st<strong>and</strong>ponts/2549me/<br />

2549_9September/9Sep_files/9September2.htm.<br />

ศิโรตม์ คล้ามไพบูลย์ (2549). "ประชาธิปไตย=ความเป็นไทย+ตุลาการภิวัตน์+อ ามาตยาภิวัฒน์". เข้าถึงวันที ่ 26 สิงหาคม 2555<br />

ใน http://www.thaingo.org/writer/view.php?id=215.<br />

Held, David (1987). Models of <strong>Democ</strong>racy. Cambridge: Polity Press.<br />

Kaldor, M <strong>and</strong> Vejvoda, I. (1999). “<strong>Democ</strong>ratization in Central <strong>and</strong> East European Countries: An Overview”. In M. Kaldor<br />

<strong>and</strong> I. Vejvoda (eds.). <strong>Democ</strong>ratization in Central <strong>and</strong> Eastern Europe. London: Pinter.<br />

96


GOVERNANCE<br />

กำรจัดกำรปกครอง<br />

ควำมหมำย<br />

การจัดการปกครอง (Governance) เป็นค าศัพท์ที ่เกิดขึ ้นพร้อมกับการเคลื ่อนไหวเปลี ่ยนแปลงบทบาทของรัฐช่วง<br />

ทศวรรษ 1990 เป็นการวางแนวทางและจัดความสัมพันธ์ในการปกครองของภาครัฐใหม่เพื ่อให้ระบบการเมืองเปิดกว้าง และ<br />

กระจายอ านาจมากยิ่งขึ ้น ส่งเสริมให้ตัวแสดงนอกภาครัฐสามารถเข้ามามีส่วนร่วมในการปกครองมากยิ่งขึ ้น และเปลี ่ยนแปลงจาก<br />

อ านาจที ่รวมศูนย์อยู ่ที ่รัฐบาล ให้กระจายออกไปตามท้องถิ่นต่างๆ เพื ่อให้เกิดองค์กรท้องถิ่นที ่ปกครองตัวเอง และลดขนาดของ<br />

ภาครัฐให้เล็กลงเพื ่อความคล่องตัว (เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา, 2550: 134-135)<br />

อรรถำธิบำย<br />

การวางหลักการจัดการปกครอง (governance) เข้ามาแทนที ่แนวคิดว่าด้วยการปกครอง (government) โดยมีการ<br />

เปลี ่ยนแปลงส าคัญ 6 ด้านหลักคือ 1) การลดขนาดภาครัฐให้เล็กลง 2) การสร้างภาคีการจัดการปกครองเพื ่อท าการตรวจสอบ<br />

และควบคุม 3) การบริหารงานแบบหลักการจัดการภาครัฐแนวใหม่ (New Public Management: NPM) ที ่น าหลักการบริหารของ<br />

เอกชนมาปรับใช้กับภาครัฐ 4) การใช้หลักธรรมาภิบาล (good governance) ส่งเสริมการมีประสิทธิภาพและความรับผิดชอบต่อ<br />

สาธารณะ 5) สร้างระบบเชื ่อมโยงกับสังคม (socio-cybernetic system) เปิดให้ภาคส่วนอื ่นๆ เข้ามาร่วมก าหนดการตัดสินใจพร้อม<br />

ไปกับภาครัฐ และ 6) การสร้างเครือข่ายจัดการตัวเอง (self-organizing network) ให้อิสระในการปกครองตัวเอง (autonomy) และ<br />

ส่งเสริมการจัดการปกครองท้องถิ่น (local governance) ซึ ่งท างานในลักษณะเครือข่ายที ่มีการพึ ่งพาอาศัยกัน (Rhodes, 1996:<br />

654-660)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

การจัดการปกครองเป็นหลักการที ่ถูกน ามาใช้ในประเทศไทยในชื ่อ “ธรรมาภิบาล” (good governance) หลังจากเกิด<br />

วิกฤติเศรษฐกิจ ปี พ.ศ. 2539-40 จากข้อบังคับในการกู้เงินจากกองทุนการเงินระหว่างประเทศ (International Monetary Fund:<br />

IMF) และน ามาใช้ปฏิบัติผ่านกฎหมายหลักคือรัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน ปี พ.ศ. 2540 โดยต้องการให้ภาครัฐบริหารงานได้อย่าง<br />

มีประสิทธิภาพ มีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ มีความโปร่งใส ตรวจสอบได้จากองค์กรอิสระ และเน้นการมีส่วนร่วมของภาค<br />

ประชาชน อีกทั้งยังต้องส่งเสริมการกระจายอ านาจด้วย<br />

ความเข้าใจที ่แตกต่างกันของค าว่าธรรมาภิบาล สามารถแยกได้เป็น 3 ส านัก คือ<br />

1) ธรรมาภิบาล ขององค์การระหว่างประเทศ ในฐานะเครื ่องมือในการพัฒนา ทั้งการมีความรับผิดชอบต่อสาธารณะ สิทธิ<br />

มนุษยชน หลักนิติธรรม การพัฒนาอย่างยั่งยืน และหลักตลาดเสรี<br />

97


2) ธรรมาภิบาล ของนักวิชาการด้านรัฐประศาสนศาสตร์ มองว่าเป็นแนวทางของรัฐในศตวรรษ 21 ที ่จ าเป็นต้องท างาน<br />

ในแนวระนาบมากขึ ้น ต้องค านึงถึงผู้มีส่วนได้เสีย และปฏิสัมพันธ์กับภาคส่วนทางธุรกิจและสังคมมากยิ่งขึ ้น ทั้งใน<br />

ด้านการท างานร่วมกันและการตรวจสอบ<br />

3) ธรรมาภิบาล ในฐานะมิติด้านการบริหาร จะเน้นในเรื ่องของความรับผิดชอบต่อบรรษัทของผู้บริหาร ที่จ าเป็นต้องมี<br />

ให้กับผู้ถือหุ้น นิยามลักษณะนี ้หลายครั้งเชื ่อมโยงกับค าว่าบรรษัทภิบาล (Corporate governance)<br />

การจัดการปกครองที ่ดี (good governance) หรือ ธรรมาภิบาล ที ่ถูกแปลมาในภาษาไทยนั้นอาจถูกเรียกแตกต่างกัน<br />

ออกไปว่าเป็น “ธรรมารัฐ” (เช่นใน “ธรรมรัฐแห่งชาติ” ของธีรยุทธ บุญมี หรือ “ธรรมรัฐกับสังคมไทย” ของอานันท์ ปันยารชุน หรือ<br />

“แนวคิดและวาทกรรมว่าด้วยธรรมรัฐแห่งชาติ” ของนฤมล ทับจุมพล) หรือ “ธรรมราษฎร์” (เช่นใน “ธรรมรัฐและธรรมราษฎร์กับ<br />

องค์กรประชาคม” ของอมรา พงศาพิชญ์) หรือ “การบริหารกิจการบ้านเมืองที ่ดี” (ซึ ่งเป็นชื ่อที ่ใช้กันในทางกฎหมาย อันปรากฏอยู ่<br />

ในร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยหลักเกณฑ์และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที ่ดี พ.ศ. 2546)<br />

อย่างไรก็ดี การน าหลักการจัดการปกครองมาใช้ในสังคมไทยกลับพบกับปัญหามากมาย ทั้งเรื ่องการท าให้หลักการดังที ่<br />

กล่าวมาเป็นการปฏิบัติจริง และปัญหาในระบบราชการ ไปจนถึงปัญหาการใช้ค าที ่สับสนไปมาระหว่างค าว่า “การจัดการปกครอง”<br />

คือ governance แต่ในความเข้าใจของสังคมไทยจะรวมถึง “การบริหารกิจการบ้านเมืองที ่ดี” และ “ธรรมาภิบาล” ซึ ่งตามค าศัพท์คือ<br />

ค าว่า good governance แต่ตามความหมายสากล good governance เป็นเพียงส่วนหนึ ่งของ governance เท่านั้น ความสับสนนี ้<br />

จึงเป็นเรื ่องของการใช้ค า และปัญหาในเรื ่องการแปลว่า “ธรรมาภิบาล” ท าให้สับสนว่าเกี ่ยวข้องกับธรรมะหรือหลักศาสนาพุทธ<br />

หรือไม่ ทั้งที ่ความจริงแล้วหลักการจัดการปกครองแทบจะไม่มีส่วนใดเกี ่ยวกับหลักศาสนาเลย<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ค าว่าการจัดการปกครองที ่ใช้กันอยู ่ในสังคมไทยมีปัญหาในสองด้าน กล่าวคือ ด้านแรกเป็นปัญหาของการแปลที ่สับสบ<br />

ระหว่างค าว่าการจัดการปกครอง การบริหารกิจการบ้านเมืองที ่ดี และธรรมาภิบาล ส่วนปัญหาอีกด้านหนึ ่งซึ ่งส าคัญกว่า คือ ปัญหา<br />

ในการน าไปปฏิบัติจริง การจัดการปกครองแทบจะยังไม่เคยเกิดขึ ้นในสังคมไทยที ่รวมศูนย์อ านาจ ขาดความโปร่งใส ไม่มีกลไกใน<br />

การตรวจสอบถ่วงดุล และท้องถิ่นยังไม่มีอ านาจอย่างแท้จริง<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Transparency’, ‘Legitimacy’ และ ‘Accountability’<br />

เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา. (2550). “Governance: การจัดการปกครอง/วิธีการปกครองและการจัดการปกครองที ่ดี/ธรรมาภิบาล”.<br />

ใน เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา สิริพรรณ นกสวน และ ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล (บรรณาธิการ). ค าและความคิดในรัฐศาสตร์<br />

ร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

Peters, B. Guy (1995). “The Public Service, the Changing State, <strong>and</strong> Governance”. In B. Guy Peters, <strong>and</strong> Donald J.<br />

Savoie (eds.). Governance in a Changing Environment. Montreal: McGill/Queens University Press.<br />

Rhodes, R. A. W. (1996). “The New Governance: Governing without Government”. In Political Studies, Vol. 44, No. 4.<br />

98


HORIZONTAL AND VERTICAL ACCOUNTABILITY<br />

ควำมรับผิดชอบต่อสำธำรณะแนวรำบและแนวดิ่ง<br />

ควำมหมำย<br />

หลักความรับผิดชอบ (Accountability) หมายถึง ความรับผิด และรับชอบในผลของการกระท าตามบทบาทหน้าที ่ของ<br />

ผู้กระท า ไม่ว่าผู้นั้นจะด ารงต าแหน่งใดในทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง (Tsai, 2011: 5) อย่างไรก็ตาม ค าว่า หลักความ<br />

รับผิดชอบนี ้ อาจจะพิจารณาได้เป็นสองความหมายที ่ซ้อนกัน ความหมายแรก เป็นความหมายที ่ใช้กันทั่วไปในระบอบ<br />

ประชาธิปไตย ที ่หมายถึง บรรดาผู้ที ่ใช้อ านาจ ไม่ว่าจะเป็นรัฐบาล สมาชิกรัฐสภา หรือสภาท้องถิ่นผู้มาจากการเลือกตั้ง หรือ<br />

ข้าราชการและเจ้าหน้าที ่รัฐผู้มาจากการแต่งตั้ง จะต้องแสดงให้เห็นได้ว่าตนได้ใช้อ านาจที ่ได้รับมอบ รวมทั้งได้ปฏิบัติหน้าที ่อย่าง<br />

ถูกต้องเรียบร้อย ความหมายที ่สองคือ รูปแบบต่างๆ ในอันที ่จะให้เกิดความแน่ใจได้ว่า ค่านิยมของผู้ที ่ได้รับมอบอ านาจหรือความ<br />

รับผิดชอบมีความสอดคล้องต้องกันกับค่านิยมของผู้ที ่มอบอ านาจ (พฤทธิสาณ, 2554: 1)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย การสร้างความรับผิดชอบต่อสาธารณะมีหลายกลไกด้วยกัน ประกอบด้วย “การเลือกตั้ง”<br />

เป็นพื ้นฐานส าคัญที ่สุดที ่ท าให้ผู้ด ารงต าแหน่งทางการเมืองต้องมีความผูกพันกับสาธารณะซึ ่งก็คือประชาชนที ่เป็นผู้เลือกตั้งให้<br />

บุคคลนั้นได้เข้ามาด ารงต าแหน่ง “กระบวนการรัฐธรรมนูญและนิติบัญญัติ” เป็นการตรวจสอบและถ่วงดุลโดยใช้กลไกเชิงสถาบัน<br />

อย่างเป็นทางการ “การควบคุมการคอร์รัปชั่นของข้าราชการ” เป็นการดูแลในด้านการน านโยบายไปปฏิบัติ “พื ้นที ่ประชาสังคม” ใน<br />

การให้ตัวแสดงทางสังคมอื ่นๆ เข้ามาตรวจสอบความโปร่งใสของรัฐ และ “การกระจายอ านาจ” ในการแบ่งภาระความรับผิดชอบ<br />

สาธารณะให้กับท้องถิ่นและกระจายอ านาจในการจัดการเพื ่อให้เหมาะสมกับความแตกต่างเชิงภูมิศาสตร์ รวมถึงการท าให้<br />

ประชาชนในท้องถิ่นได้ตรวจสอบการท างานของหน่วยงานท้องถิ่นด้วย (Tsai, 2011: 7-8)<br />

ค าว่า “accountability” จึงแตกต่างจากค าว่า “responsibility” โดยค าว่า ความรับผิดชอบ (responsibility) คือการ<br />

รับผิดชอบต่อภาระหน้าที ่ตามต าแหน่งงานที ่ได้รับมา ทั้งในการปฏิบัติงานเพื ่อบรรลุเป้าหมายและการรักษากฎระเบียบ แต่ความ<br />

รับผิดชอบต่อสาธารณะ (accountability) คือความรับผิดชอบที ่ผู้ปฏิบัติงานจะต้องถูกควบคุม ตรวจสอบ ชี ้แจง ต่อสาธารณะซึ ่งเป็น<br />

พื ้นที ่ภายนอก ผู้ปฎิบัติหน้าที ่จึงต้องมีความโปร่งใส ยึดหลักความประหยัด และสามารถถูกตรวจสอบจากประชาชนทั่วไปได้ ดังนั้น<br />

ค าว่า “accountability” จึงมีเนื ้อหาของความรับผิดชอบที ่กว้างกว่าค าว่า “responsibility”<br />

ความรับผิดชอบต่อสาธารณะสามารถแบ่งออกเป็น 2 รูปแบบคือ<br />

1) ความรับผิดชอบต่อสาธารณะแนวตั้ง (vertical accountability) เป็นหลักความรับผิดชอบที ่ภาครัฐในฐานะองค์กรที ่<br />

“เหนือกว่า” ต้องรับผิดชอบต่อประชาชนในฐานะที ่ “อยู ่ใต้การปกครอง” เนื ่องจากประชาชนเป็นผู้เลือกตั้งผู้ปกครอง<br />

ขึ ้นไปมีอ านาจ ท าให้ประชาชนต้องสามารถตรวจสอบผู้ปกครองได้ หรือกล่าวได้ว่าประชาชนต้องสามารถตรวจสอบ<br />

การท างานของภาครัฐ ซึ ่งปฏิบัติหน้าที ่ตามตัวบทกฎหมายอย่างเป็นทางการ ไม่ใช่แค่เรื ่องท าผิดกฎหมายหรือไม่ แต่<br />

ต้องรวมถึงความคุ้มค่าและจริยธรรม ในที ่นี ้รวมถึงสื ่อมวลชนด้วย<br />

99


2) ความรับผิดชอบต่อสาธารณะแนวนอน (horizontal accountability) เป็นหลักความรับผิดชอบที ่หน่วยงานของรัฐ<br />

หน่วยงานหนึ ่งจะต้องมีต่ออีกหน่วยงานหนึ ่ง ความสัมพันธ์ดังกล่าวจึงเป็นการตรวจสอบระหว่างหน่วยงานของรัฐใน<br />

ฐานะที ่เสมอกัน เช่น นิติบัญญัติตรวจสอบการท างานของฝ่ายบริหาร หรือองค์กรอิสระตรวจสอบการท างานของ<br />

รัฐบาลและหน่วยงานราชการ เป็นต้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในทางปฏิบัติของไทยพบว่าหลักความรับผิดชอบต่อสาธารณะได้ถูกน ามาใช้อย่างจริงจังหลังการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจในปี<br />

พ.ศ. 2540 โดยสามารถพบในตัวบทกฎหมายว่าด้วยการแก้ไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน (ฉบับที่ 5)<br />

พ.ศ. 2545 ในมาตรา 3/1 วรรคหนึ ่งและสามที ่ว่า<br />

“...การบริหารราชการตามพระราชบัญญัตินี ้ต้องเป็นไปเพื ่อประโยชน์สุขของประชาชน เกิดผลสัมฤทธิ ์<br />

ต่อภารกิจของรัฐ ควำมมีประสิทธิ ภำพ ควำมคุ ้มค่ำในเชิงภารกิจแห่งรัฐ กำรลดขั้นตอนการ<br />

ปฏิบัติงาน กำรลดภำรกิจและยุบเลิกหน่วยงำนที ่ไม่จ าเป็น กำรกระจำยภำรกิจและทรัพยำกรให้แก่<br />

ท้องถิ่น กำรกระจำยอ ำนำจตัดสินใจ การอ านวยควำมสะดวก และกำรตอบสนองควำมต้องกำร<br />

ของประชำชน ทั้งนี ้ โดยมีผู้รับผิดชอบต่อผลของงาน…<br />

ในการปฏิบัติหน้าที ่ของส่วนราชการ ต้องใช้วิธีกำรบริหำรกิจกำรบ้ำนเมืองที่ดี โดยเฉพาะอย่างยิ่งให้<br />

ค านึงถึงควำมรับผิดชอบของผู้ปฏิบัติงาน กำรมีส่วนร่วมของประชาชน กำรเปิ ดเผยข้อมูล กำร<br />

ติดตำมตรวจสอบและประเมินผลการปฏิบัติงาน ทั้งนี ้ ตามความเหมาะสมของแต่ละภารกิจ...” (เน้น<br />

โดยผู้เขียน)<br />

อย่างไรก็ดี การปฏิบัติของระบบราชการไทยยังคงมีปัญหาอยู ่มาก ซึ ่งสามารถจ าแนกได้ดังนี ้<br />

1) ป ัญหาเชิงโครงสร้างการเมือง: ความรับผิดชอบต่อสาธารณะเกิดขึ ้นได้ยาก โดยเฉพาะอย่างยิ่งกับระบบรัฐสภาใน<br />

ประเทศไทย ที ่รัฐบาลครองเสียงข้างมากในสภา ส่งผลให้ไม่เกิดการตรวจสอบระหว่างฝ่ายนิติบัญญัติและฝ่ายบริหาร<br />

2) ป ัญหาการน ากฎหมายไปใช้: เป็นปัญหาของระบบราชการที ่ยึดติดกับตัวบทกฎหมาย มากกว่าการบริการประชาชน<br />

หรือเรียกว่าการบรรลุผิดเป้าหมาย (goal displacement) ท าให้ความรับผิดชอบต่อสาธารณะเป็นเพียงสิ่งที ่ต้องท าไป<br />

เพื ่อให้ครบขั้นตอน ไม่ได้มุ่งหวังให้ประชาชนตรวจสอบจริงๆ<br />

3) ป ัญหาในทัศนคติ: การท างานของระบบการเมืองและระบบราชการไทย ไม่ส่งเสริมให้เกิดการตรวจสอบ เพราะไปคิด<br />

ว่าเป็นการมุ่งจับผิดและมุ่งหวังท าร้ายฝ่ายตรงข้าม มากกว่าที ่จะมองการตรวจสอบเป็นเรื ่องของการท าให้ภารกิจมี<br />

ประสิทธิภาพและความประหยัดสูงสุด รวมถึงทัศนคติที ่มองว่าประชาชนไม่มีความรู้เพียงพอที ่จะตรวจสอบการท างาน<br />

ของภาครัฐ ท าให้ภาครัฐไม่เปิดเผยข้อมูลหรือตัวเลขในการด าเนินนโยบายต่างๆ<br />

100


ดังนั้น การแก้ไขปัญหาเรื ่องความรับผิดชอบต่อสาธารณะจึงต้องน าหลักการดังกล่าวมาปรับใช้ในชีวิตประจ าวัน ไม่จ ากัด<br />

อยู ่เพียงภาครัฐ แต่ต้องขยายขอบเขตไปถึงภาคเอกชนและภาคสังคมต่างๆ ซึ ่งการเจริญเติบโตของเทคโนโลยีอย่างอินเตอร์เน็ต ก็จะ<br />

ส่งเสริมให้เกิดการตรวจสอบได้ เมื ่อประชาชนตื ่นตัวและพร้อมที ่จะติดตามภาครัฐ ภาครัฐจึงไม่อาจปฏิเสธที ่จะต้องน าหลักความ<br />

รับผิดชอบต่อสาธารณะที ่มีอยู ่ในตัวบทกฎหมายลงมาสู ่การปฏิบัติจริง<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

Tsai, Lily L. (2011). In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.<br />

พฤทธิสาณ ชุมพล ม.ร.ว. (2554). “accountability: ความตรวจสอบได้ ความรับผิดชอบขึ ้นต่อการถูก “คิดบัญชี” ได้”. ใน เอก ตั้ง<br />

ทรัพย์วัฒนา สิริพรรณ นกสวน และ ม.ร.ว.พฤทธิสาณ ชุมพล (บรรณาธิการ). ค าและความคิดในรัฐศาสตร์ร่วมสมัย.<br />

กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

101


HORIZONTAL AND VERTICAL ORDER<br />

กฎระเบียบแนวรำบและแนวดิ่ง<br />

ควำมหมำย<br />

กฎระเบียบ (Order) หมายถึง รูปแบบของข้อตกลงในการอยู ่ร่วมกันในสังคมของสมาชิกทั้งหลาย โดยสมาชิกในสังคม<br />

จะต้องยึดถือกฎระเบียบดังกล่าวเพื ่อความสงบเรียบร้อยและความต่อเนื ่องในแบบแผนการปฏิบัติระหว่างกันตามที ่สมาชิกแต่ละคน<br />

คาดหมายไว้ ส าหรับกฎระเบียบสามารถแยกพิจารณาได้ 2 กลุ่มส าคัญ (Barkun, 1968) ดังนี ้<br />

อรรถำธิบำย<br />

1) กฎระเบียบแนวดิ่ง (vertical order) เป็นลักษณะของระเบียบทางสังคมที ่ถูกก าหนดขึ ้นเป็นมาตรฐานในการก าหนด<br />

พฤติกรรมของสมาชิกในสังคม หากใครไม่ปฏิบัติตามหรือฝ่าผืนจะต้องได้รับการลงโทษ และกฎระเบียบดังกล่าวต้อง<br />

ก าหนดสถาบันหลักที ่มีอ านาจในล าดับขั้นบังคับบัญชา (hierarchy) ฐานความคิดของระเบียบแนวดิ่งมาจากนักนิติ<br />

ปรัชญาชื ่อ John Austin ที ่เห็นว่ากฎระเบียบต้องมาจากผู้ปกครอง ใครฝ่าฝืนจะต้องได้รับโทษ<br />

2) กฎระเบียบแนวราบ (horizontal order) เป็นลักษณะของระเบียบทางสังคมโบราณ (primitive society) ก่อนที ่จะมี<br />

รัฐสมัยใหม่ โดยกฎระเบียบแนวราบ หมายถึง ระเบียบที ่เป็นแบบแผนการก าหนดพฤติกรรมและการปฏิบัติต่อกันของ<br />

สมาชิกในสังคม แต่หากใครฝ่าฝืนหรือไม่ปฏิบัติตาม ก็ไม่ได้มีบทลงโทษ เนื ่องด้วยกฎระเบียบดังกล่าวมาจาก<br />

ข้อตกลงร่วมกันของสมาชิกในสังคมที่มีฐานะที่เท่ากัน จึงไม่มีใครสามารถบังคับผู้ที ่ฝ่าฝืนให้ต้องรับบทลงโทษ<br />

กฎระเบียบจึงเป็นเพียงกรอบที ่พึงปฏิบัติเท่านั้น<br />

ความคิดของกฎระเบียบแนวดิ่งและแนวราบ ถูกน ามาใช้ในเรื ่องของระบบกฎหมายระหว่างประเทศ (International legal<br />

system) กล่าวคือ ในระบบระหว่างประเทศ (international system) แต่ละประเทศต่างมีบรรทัดฐาน (norm) ระหว่างกันที ่ว่าทุก<br />

ประเทศมีอ านาจอธิปไตยเหมือนกัน ระบบระหว่างประเทศจึงมีลักษณะเป็นอนาธิปไตย (anarchy) เพราะไม่มีประเทศใดมีอ านาจ<br />

ในการบังคับบัญชา (hierarchy) ประเทศอื ่น ฉะนั้น ทุกประเทศจึงมีอ านาจเท่ากัน ไม่มีประเทศใดจะสามารถเข้าไปแทรกแซงหรือ<br />

บังคับประเทศอื ่นได้ ด้วยเหตุนี ้ในระบบกฎหมายระหว่างประเทศไม่ว่าจะเป็นข้อตกลงหรือสนธิสัญญาต่างๆ จึงเป็นเพียง<br />

กฎระเบียบแนวราบ หมายความว่าเป็นเพียงระเบียบที ่ก าหนดหลักเกณฑ์ที ่พึงปฏิบัติระหว่างกัน แต่หากมีประเทศใดไม่ปฏิบัติตาม<br />

ประเทศอื ่นก็ไม่มีสิทธิในการเข้าไปบังคับ แทรกแซง หรือลงโทษประเทศเหล่านั้นได้ (Falk, 1959: 295-296) หลักการดังกล่าวจึง<br />

เป็นที ่มาของการเจรจาตกลงหลายฝ่าย (multi-lateral negotiation mechanisms) ที ่ทุกประเทศคู ่เจรจาไม่ว่าจะใหญ่ เล็ก ต่างก็มี<br />

สถานภาพในการเจรจาต่อรองเท่าเทียมกัน<br />

ทั้งนี ้ จึงอาจกล่าวได้ว่ากฎระเบียบแนวดิ่งจะใช้กับระบบกฎหมายภายในประเทศ (domestic legal system) เพราะ<br />

ภายในประเทศมีองค์อธิปัตย์ชัดเจนที ่มีอ านาจในการก าหนดกฎระเบียบและการลงโทษ ส่วนกฎระเบียบแนวราบจะใช้กับระบบ<br />

กฎหมายระหว่างประเทศ เพราะเป็นเรื ่องของข้อตกลงของสมาชิกในชุมชนระหว่างประเทศ (international community) ในการ<br />

ปฏิบัติร่วมกัน แต่ไม่มีประเทศใดจะมีอ านาจในการเข้าไปบังคับหรือลงโทษประเทศอื ่นที ่ไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบดังกล่าวได้<br />

102


อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติ กฎระเบียบแนวดิ่งและแนวราบได้ถูกน ามาใช้ในหลากหลายนิยาม และมีเนื ้อหาที ่เปลี ่ยนแปลง<br />

ไปเล็กน้อยตามบริบทและประสบการณ์ของผู้ใช้ค าศัพท์นั้นๆ ซึ ่งส่วนใหญ่จะพบทั้งในด้านการบริหารและการเมือง ดังนี ้<br />

1) ทางการบริหารราชการ รูปแบบของการบริหารแนวดิ่งเป็นการออกกฎระเบียบจากผู้บริหารและน าไปบังคับใช้กับ<br />

สมาชิกในองค์การเดียวกัน ใครฝ่าฝืนข้อบังคับดังกล่าวจะได้รับบทลงโทษตามที ่ผู้บริหารตั้งไว้ และยึดกฎระเบียบใน<br />

การบริหาร ส่วนรูปแบบการบริหารแนวราบ คือ ระเบียบขององค์การมีลักษณะที ่ยึดหยุ่น ยึดปัญหาของประชาชนเป็น<br />

ศูนย์กลาง เชื ่อมโยงประสานงาน และการแบ่งปันอ านาจระหว่างกัน<br />

2) ทางการเมือง ระเบียบแนวดิ่งเป็นลักษณะของอ านาจที ่มาจากส่วนกลาง (centralization) ที ่มีข้อบังคับและบทลงโทษ<br />

ชัดเจน แต่ระเบียบแนวราบเป็นอ านาจที ่มาจากท้องถิ่น (localization) ซึ ่งเป็นระเบียบที ่ประชาชนร่วมกันก าหนดขึ ้น<br />

เพื ่อปฏิบัติในสังคมเล็กๆ ในชีวิตประจ าวัน เช่น ระเบียบแนวดิ่งจากกฎหมายของรัฐ แต่ระเบียบแนวราบอาจเป็นแบบ<br />

แผนธรรมเนียมการปฏิบัติของเฉพาะสังคม<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทยค าว่ากฎระเบียบแนวดิ่งและแนวราบอาจยังไม่ได้ถูกน าเข้ามาใช้อย่างแพร่หลาย แต่มักจะถูกท าความ<br />

เข้าใจในรูปแบบเดียวกันในคนละค าศัพท์ เช่น การจัดองค์การแนวราบ (Horizontal Organization) หมายถึง การปฏิบัติงานโดยยึด<br />

ประชาชนเป็นที ่ตั้ง ไม่เน้นกฎระเบียบจากส่วนกลาง แต่จะเน้นที ่การปรับตัวให้เข้ากับท้องถิ่นและปัญหาของประชาชน ผู้บริหาร<br />

สูงสุดขององค์กรมีปฏิสัมพันธ์โดยตรงกับลูกค้า หรือประชาชนที ่ติดต่อด้วย โดยไม่ได้มีเจ้าหน้าที ่ระดับกลาง (middle<br />

management) มาเป็นตัวกั้นหรือท าหน้าที ่แทน ในด้านของการท าความเข้าใจเนื ้อหา ยังไม่มีความแตกต่างกันมากระหว่าง<br />

สังคมไทยและนิยามในระดับสากล<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Contract’<br />

Barkun, Michaek (1968). Law Without Sanctions: Order in Primitive Societies <strong>and</strong> the World Community. New Haven:<br />

Yale University Press.<br />

Falk, Richard A. (1959). “International Jurisdiction: Horizontal <strong>and</strong> Vertical <strong>Concept</strong>ions of Legal Order”. In Temple Law<br />

Quarterly, No.32.<br />

103


INCLUSIVENESS<br />

กำรนับรวมทุกกลุ่มคน<br />

ควำมหมำย<br />

การนับรวมทุกกลุ่มคน (Inclusiveness) หมายถึง การเปิดช่องทางให้ปัจเจกบุคคลและกลุ่มทุกกลุ่มเข้าร่วมเป็นส่วนหนึ ่ง<br />

ของสังคมของพลเมือง มีความเท่าเทียมกันทางสังคมในด้านสิทธิเสรีภาพ มีโอกาสและความเสมอภาคในกระบวนการอภิปราย<br />

ถกเถียงและการตัดสินใจในทางการเมือง โดยการนับประชาชนทุกคนในสังคมให้เข้ามาเป็นส่วนหนึ ่งของความเป็นพลเมืองที ่มีสิทธิ<br />

เสรีภาพอย่างเสมอหน้ากัน ทุกคนสามารถเข้าถึงอ านาจตามกฎหมายในการมีส่วนร่วมทางสังคม เศรษฐกิจ และการเมือง อย่างไม่<br />

ถูกเลือกปฏิบัติ ความเป็นส่วนหนึ ่งของสังคมของพลเมืองจึงเป็นการรวมประชาชนทุกฝั่ งฝ่ายเข้าเป็นสังคมเดียว ความหมาย<br />

ดังกล่าวจึงตรงข้ามกับความเหนือกว่าเฉพาะกลุ่มหรือเฉพาะบุคคล (exclusiveness) ซึ ่งหมายถึงการให้สิทธิพิเศษแก่คนบางกลุ่ม<br />

จนกลายเป็นอภิสิทธิชนในสังคม<br />

อรรถำธิบำย<br />

การครอบคลุมทุกกลุ่มคน พลเมือง (citizen) และ ความเป็นพลเมือง (citizenship) ที ่ปัจเจกบุคคลได้รับจากการต่อสู้เพื ่อ<br />

สิทธิเสรีภาพในศตวรรษที ่ 18 เป็นหัวใจส าคัญของระเบียบและอัตลักษณ์ของรัฐธรรมนูญ ทั้งในด้านของการร่างและก าหนดเนื ้อหา<br />

รัฐธรรมนูญ ไปจนถึงการถูกบังคับใช้อย่างทั่วไปเสมอหน้ากัน โดยคุณลักษณะส าคัญของความเป็นพลเมืองสมัยใหม่ (modern<br />

citizenship) คือความเท่าเทียมกัน (equality) โดยความเท่าเทียมกันนี ้ยังสามารถถกเถียงได้ว่าเป็นสิ่งที ่มีความเป็นสากล<br />

(universal) คือความเป็นมนุษยชาติที ่เท่าเทียมกัน กับความเป็นเฉพาะ (particular) ของแต่ละประเทศชาติที ่จะก าหนดให้พลเมือง<br />

เท่าเทียมกัน ซึ ่งในด้านของกฎหมายสูงสุด รัฐธรรมนูญได้กลายเป็นกลไกหนึ ่งในการสร้างชุมชนในจิตนาการ (imagined<br />

community) ให้กับประชาชนในชาติว่ามีความเท่าเทียมกันเสมอหน้าต่อกฎหมายสูงสุด ตราบเท่าที ่ยังเป็นสมาชิกในชุมชน<br />

การเมืองนั้นๆ นอกจากนี ้ความเท่าเทียมดังกล่าวจึงมีความใกล้ชิดกับระบอบการเมืองที ่เป็นประชาธิปไตยและเศรษฐกิจแบบทุน<br />

นิยมที ่ให้สิทธิประชาชนในการเข้าแข่งขันกันอย่างเสรีในกลไกตลาด (Rosenfeld, 2010: 211-223) บุคคลที ่มีสิทธิตามที ่กฎหมาย<br />

ก าหนดทั้งในด้านของสิทธิ (rights) และ การให้สิทธิ (entitlements) ท าให้พลเมืองมีความใกล้ชิดและต้องเข้าไปมีปฏิสัมพันธ์กับ<br />

อ านาจรัฐเสมอ ไม่ว่าจะโดยการเลือกตั้ง การแสดงความคิดเห็นทางการเมือง เสรีภาพในการแสดงออก การควบคุมการออ<br />

กฎหมาย ไปจนถึงการรับผลประโยชน์บางประการที ่รัฐจัดหามาให้ ด้วยเหตุนี ้ เสรีภาพในการแสดงออกของพลเมืองจึงต้องเป็น<br />

ส่วนหนึ ่งที ่ก าหนดไว้ในกฎหมายสูงสุดของประเทศเพื ่อคุ้มครองความเป็นพลเมืองให้กับประชาชน<br />

ฐานทางความคิดของการครอบคลุมทุกกลุ่มคนในระบบการเมือง มีที ่มาจากการพัฒนาสังคมสู ่ความเป็นสมัยใหม่<br />

(modernization) และกระแสโลกาภิวัตน์ (globalization) ที ่พยายามวางมาตรฐานของชีวิตทางสังคมการเมืองให้กลายเป็นแบบแผน<br />

เดียว จนท าให้เกิดปัญหาเรื ่องการจัดการกับความแตกต่างทางสังคม ทั้งในเรื ่องชาติก าเนิด ชาติพันธุ์ สีผิว เพศ และอัตลักษณ์<br />

เฉพาะบางอย่าง ที ่อาจท าให้ประชาชนกลุ่มดังกล่าวถูกผลักออกจากการรับรองให้มีสิทธิเสรีภาพ หลักการความเป็นส่วนหนึ ่งของ<br />

สังคมของพลเมืองจึงถูกก าหนดขึ ้นเพื ่อวางหลักการพื ้นฐานเกี ่ยวกับสิทธิเสรีภาพที ่ประชาชนทุกคนในสังคมจะต้องถูกรับรองและ<br />

104


สามารถใช้สิทธิเสรีภาพดังกล่าวได้อย่างเสมอหน้ากัน เช่น สิทธิมนุษยชน และสิทธิพลเมือง อย่างสิทธิในการเลือกตั้งและ เสรีภาพ<br />

ในการแสดงออก เป็นต้น<br />

การครอบคลุมทุกกลุ่มคนในระบบการเมือง มีความสัมพันธ์กับประชาธิปไตย (democracy) และสังคมที ่เป็นประชาธิปไตย<br />

(democratic society) อย่างยิ่ง โดยงานของ Dahl (1989: 221) ได้กล่าวถึงส่วนประกอบของประชาธิปไตยไว้ 7 ประการคือ<br />

1) ผู้ปกครองมาจากการเลือกตั้ง (elected officials)<br />

2) การเลือกตั้งที ่เสรีและยุติธรรม (free <strong>and</strong> fair election)<br />

3) การเลือกตั้งที ่พลเมืองทุกคนมีสิทธิลงคะแนน (inclusive election)<br />

4) สิทธิในการเข้าแข่งขันในการเลือกตั้ง (the right to run for office)<br />

5) เสรีภาพในการแสดงออก (freedom of expression)<br />

6) การรับรู้ข้อมูลทางเลือก (alternative information)<br />

7) ความเป็นอิสระของการรวมกลุ่ม (associational autonomy)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับการนิยามหลักการครอบคลุมทุกกลุ่มคนในสังคมไทย ปรากฏตัวอย่างเช่นในบทความของ สามชาย ศรีสันต์<br />

(2555) ได้แปลค าว่า social inclusion ว่า การนับรวมทางสังคม หมายถึง การที ่ประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งคนด้อยโอกาส กลุ่ม<br />

คนชายขอบ และคนจน ที ่ได้รับผลกระทบจากการพัฒนาและไม่เคยได้รับการคุ้มครองทางกฎหมาย จะต้องถูกนับรวมเข้ามาเป็น<br />

ส่วนหนึ ่งของสังคมที ่มีสิทธิเสรีภาพและได้รับผลประโยชน์จากสังคมอย่างเท่าเทียมกับประชาชนคนอื ่นๆ นอกจากนี ้ยังมีบทความ<br />

วิชาการของสถาบันพระปกเกล้า (2553: 11) ได้กล่าวถึง social inclusion ว่าคือการยอมรับเป็นสมาชิกในสังคมของบุคคลทุกกลุ่มใน<br />

สังคม ซึ ่งหมายถึง การที ่ประชาชนสามารถเข้าถึงบริการทางสังคม บริการที ่รัฐจัดหา และการเข้าถึงการจ้างงานอย่างเสมอภาค เท่า<br />

เทียมกัน เข้าใจในสิทธิและหน้าที ่ในฐานะพลเมืองของประเทศในการด าเนินกิจกรรมเพื ่อสังคม การถูกรวมให้เป็นส่วนหนึ ่ งของ<br />

สถาบันต่างๆ ทั้งที ่เกิดขึ ้นตามกฎหมาย และที ่เกิดจากค่านิยม บรรทัดฐาน และวัฒนธรรมร่วมของชุมชนจนกลายเป็นความสัมพันธ์<br />

ทางสังคมที ่เป็นเรื ่องของชีวิตประจ าวัน เช่น มีสิทธิลงคะแนนเสียงเลือกตั้ง สิทธิเด็กและสตรี การได้รับค่าแรงที ่เป็นธรรมตามสิทธิ<br />

เป็นต้น<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในทางปฏิบัติ เนื ่องจากค าว่า inclusiveness หรือ social inclusion ยังไม่มีค าเฉพาะในการเรียกใช้ แต่จะถูกใช้ผ่านค าว่า<br />

ความเป็นส่วนหนึ ่งของสังคม การนับรวมประชาชนทุกคน การให้โอกาสประชาชนทุกคน และการให้ทุกคนมีสิทธิเสรีภาพอย่าง<br />

เสมอหน้ากัน ตัวอย่างเช่น สิทธิชุมชนท้องถิ่น (community rights) ในการจัดการปกครอง การจัดการทรัพยากรท้องถิ่น และการ<br />

ดูแลวัฒนธรรมประเพณีพื ้นฐานของตนให้สามารถด ารงอยู ่ได้ท่ามกลางการเปลี ่ยนแปลงทางสังคมไปสู ่โลกาภิวัตน์<br />

105


ดังนั้น แม้ค าว่าการนับรวมทุกกลุ่มคน (inclusiveness) จะยังไม่มีค าศัพท์เฉพาะที ่เป็นภาษาไทยอย่างชัดเจน แต่ในด้าน<br />

การท าความเข้าใจความหมายถือว่าทั้งในความหมายระดับสากลและความหมายของสังคมไทยมีความแตกต่างกันไม่มากนัก หรือ<br />

กล่าวได้ว่ามีจุดร่วมเหมือนกันคือการนับรวมประชาชนทุกคนให้มีความเป็นส่วนหนึ ่งของสังคมในฐานะพลเมืองอย่างเท่าเทียมกัน<br />

และสามารถมีสิทธิเสรีภาพเสมอหน้ากัน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

สามชาย ศรีสันต์ (2555). “1 ปีการท างานของรัฐบาล ถึงเวลาที ่ต้องด าเนินนโยบายการนับรวมทางสังคม (social inclusion)”.<br />

เข้าถึงวันที ่ 26 สิงหาคม 2555 ใน http://prachatai.com/journal/2012/08/42291.<br />

สถาบันพระปกเกล้า (2553). เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่ 12 ประจ าปี 2553 เล่ม 1. “คุณภาพ<br />

สังคมกับคุณภาพประชาธิปไตยไทย” (Social Quality <strong>and</strong> Quality of Thai <strong>Democ</strong>racy). กรุงเทพฯ: สถาบัน<br />

พระปกเกล้า.<br />

Dahl, Robert (1989). <strong>Democ</strong>racy <strong>and</strong> Its Critics. New Haven: Yale University Press.<br />

Rosenfeld, Michel (2010). The Identity of the Constitutional Subject: Selfhood, Citizenship, Culture, <strong>and</strong> Community.<br />

London: Routledge.<br />

Young, Iris Marion (2002). Inclusion <strong>and</strong> <strong>Democ</strong>racy. Oxford : Oxford University Press.<br />

106


INSTITUTIONALISM<br />

สถำบันนิยม<br />

ควำมหมำย<br />

สถาบันนิยม (Institutionalism) เป็นแนวคิดที ่ใช้อธิบายชีวิตทางสังคมการเมือง ภายใต้กรอบความคิดว่าพฤติกรรมของ<br />

มนุษย์หรือตัวแสดงทางการเมืองต่างๆ จะถูกก าหนดและก ากับโดยบริบทเชิง “สถาบัน” ที ่คอยจัดความสัมพันธ์ที ่มีอยู ่ในสังคม ซึ ่ง<br />

สถาบันจะมีกฎ ระเบียบ กติกา และบรรทัดฐานบางอย่างในการก ากับมนุษย์ในสังคม และมนุษย์จะแสดงพฤติกรรมผ่านสถานภาพ<br />

และบทบาทของตัวเองออกมาเป็นหน้าที ่ของตน ทั้งบทบาทและหน้าที ่ดังกล่าวจะถูกก ากับโดยองค์กร หรือสถาบันทางเศรษฐกิจ<br />

สังคม การเมือง เช่น สถาบันการเมือง สถาบันศาสนา สถาบันการศึกษา องค์กรเศรษฐกิจ เป็นต้น และมนุษย์หนึ ่งคนสามารถอยู ่<br />

ในความสัมพันธ์ของหลายสถาบันและจะมีบทบาทหน้าที ่หลายอย่างควบคู ่กันไป ตัวอย่างเช่น ชายไทยอายุ 20 ปี ภายใต้สถาบัน<br />

การเมืองจะมีบทบาทเป็นพลเมือง มีสิทธิและหน้าที ่ในการไปเลือกตั้ง ภายใต้สถาบันศาสนาอาจมีบทบาทเป็นพุทธมามกะ หรือผู้สืบ<br />

สานศาสนาอื ่นใดที ่นับถือ ภายใต้สถาบันการศึกษามีบทบาทเป็นนิสิตนักศึกษาจึงมีหน้าที ่ในการเรียน และมีหน้าที ่ต้องไปเกณฑ์<br />

ทหารหรือเรียนรักษาดินแดน เนื ่องจากกฎหมายที ่ออกโดยรัฐบาลซึ ่งเป็นสถาบันการเมืองก าหนดเช่นนั้น (Peters, 2005: 1-3)<br />

อรรถำธิบำย<br />

สถาบัน มีความหมายว่า แบบอย่างแห่งพฤติกรรมที ่สร้างขึ ้น และมีการปฏิบัติสืบต่อกันมาอันเป็นที ่ยอมรับกันใน<br />

สังคม โดยแบบอย่างพฤติกรรมดังกล่าวมีลักษณะเป็นพฤติกรรมที ่หยั่งรากอย่างมั่นคง (established behavior) ในอีกความหมาย<br />

หนึ ่ง สถาบัน หมายถึง องค์กรที ่ถูกจัดตั้งขึ ้นตามกฎระเบียบและมีองค์ประกอบที ่กระท าอย่างมีเหตุผล โดยใช้วิธีการเพื ่อน าไปสู ่<br />

เป้าหมายที ่ตั้งไว้ สถาบันมีไว้เพื ่อด ารงอยู ่และสืบทอดอย่างถาวร ไม่ใช่เพื ่อกิจการเฉพาะกิจ ส่วนสถาบันทางการเมืองนั้น ก็มี<br />

ความหมายคล้ายๆ กับความหมายข้างต้น แต่มีวัตถุประสงค์ทางการเมือง มาร์ช และออลซัน (March <strong>and</strong> Olsen, 1989: 160) ได้<br />

ให้ความหมายว่าสถาบันเป็นสิ่งที ่ก าหนดชีวิตทางสังคมการเมืองของบุคคล โดยสถาบันเป็นการรวมตัวของกฎระเบียบและแบบ<br />

แผนการปฏิบัติพื ้นฐานที ่ก าหนดการแสดงออกของมนุษย์ให้เหมาะสมตามบทบาทและสถานการณ์ กระบวนการของสถาบันจะ<br />

เกี ่ยวข้องกับสถานการณ์และการท าหน้าที ่ตามบทบาท ซึ ่งผูกพันบทบาทของสมาชิกในสถาบันให้แสดงออกภายใต้สถานการณ์<br />

หนึ ่ง เช่น สถาบันครอบครัวจะก าหนดบทบาทให้กับสมาชิกในครอบครัวว่าเป็นพ่อ แม่ หรือลูก และภายใต้สถานการณ์หนึ ่ง พ่อ แม่<br />

หรือลูก ก็จะแสดงพฤติกรรมออกมาตามบทบาทเพื ่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์นั้นๆ<br />

ส าหรับการใช้ค าว่า “สถาบัน” ในตะวันตกจะมีการใช้ใน 2 บริบท กล่าวคือ ด้านแรก ค าว่าสถาบันจะใช้เรียกแทนสถานที ่<br />

หรือองค์กรที ่จับต้องได้และมีกลไกที ่ชัดเจนอย่างเป็นทางการ เช่น สถาบันศาล สถาบันการเงิน สถาบันการศึกษาต่างๆ เป็นต้น<br />

ด้านที ่สอง จะเป็นการใช้ค าว่าสถาบันในการกล่าวถึงรูปแบบความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลหนึ ่งกับอีกบุคคลหนึ ่ง ที ่มีการตกลงร่วมกัน<br />

ว่าจะมีกติกาพื ้นฐานอย่างไร และแต่ละคนจะมีหน้าที ่อย่างไรในการเข้ามาเป็นสมาชิกในสถาบัน เช่น สถาบันศาสนา เป็นต้น แต่จุด<br />

ร่วมกันคือสถาบันจะเป็นสิ่งที ่ก าหนดสถานภาพของบุคคลท าให้บุคคลรู้ว่าตนมีบทบาทอย่างไรและจะต้องมีหน้าที ่อย่างไรใน<br />

ความสัมพันธ์กับคนอื ่นๆในสังคม เช่น ในสถาบันการเมือง ก าหนดสภาพของสมาชิกให้เป็นพลเมือง สมาชิกจึงมีสิทธิและหน้าที ่<br />

บางประการจากสถาบัน เช่น การเลือกตั้ง เป็นต้น<br />

107


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในการนิยามของนักวิชาการไทย “สถาบัน” เป็นวิธีการท าความเข้าใจพฤติกรรมของคนในสังคม ว่าท ากิจกรรมใดบ้างและ<br />

มีกฎเกณฑ์วิธีการเกี ่ยวกับเรื ่องนั้นๆ อย่างไร โดยการกระท าดังกล่าวจะมีแบบแผนที ่ยึดปฏิบัติกันมาจนมีลักษณะถาวรพอสมควร<br />

ในหนึ ่งสังคมจะประกอบไปด้วยสถาบันต่างๆ มากมาย และบุคคลหนึ ่งคนสามารถท ากิจกรรมต่างๆ ในหลายสถาบันได้ โดยแต่ละ<br />

สถาบันก็จะมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมมนุษย์ รวมถึงแต่ละสถาบันยังมีความสัมพันธ์ต่อสถาบันด้วยกันเองด้วย (จ านงค์ และคณะ,<br />

2548: 77)<br />

อย่างไรก็ดี ส าหรับความเข้าใจของสังคมไทย สถาบันมักถูกมองว่าเป็นสิ่งที ่จับต้องได้และมีรูปลักษณ์ชัดเจน แม้ว่าใน<br />

ความเป็นจริงจะมีลักษณะเป็นความคิดหรืออุดมการณ์ค่อนข้างมาก เช่น สถาบันศาสนา มักเข้าใจความหมายเป็นเพียงพระสงฆ์<br />

เป็นต้น โดยในเชิงปฏิบัติค าว่าสถาบันในสังคมไทยไม่ได้ถูกมองเป็น “รูปแบบความสัมพันธ์” ซึ ่งเป็นความเข้าใจที ่ผิดพลาด อีกทั้ง<br />

การใช้ค าว่าสถาบันในสังคมไทยยังมีลักษณะเป็น “เอกพจน์” เช่น สถาบันพระมหากษัตริย์มักหมายถึงพระบาทสมเด็จพระ<br />

เจ้าอยู ่หัวเพียงพระองค์เดียว ซึ ่งในความเป็นจริงแล้วสถาบันมีลักษณะเป็น “พหุพจน์” ที ่ประกอบไปด้วยสมาชิกต่างๆ มากมายที ่มี<br />

สถานภาพและบทบาทหน้าที ่ที ่แตกต่างกันไปตามบริบทเชิงสถาบันที ่ก าหนดไว้ เช่น สถาบันการศึกษาไม่ได้หมายถึงเพียง<br />

มหาวิทยาลัยหรือโรงเรียน แต่ต้องหมายถึงบุคลากรทางการศึกษาทั้งหมด ที ่เข้ามามีความสัมพันธ์ซึ ่งกันและกันภายใต้กฎเกณฑ์<br />

บางอย่าง ไม่ว่าจะเป็นนักเรียน ครู อาจารย์ ผู้บริหาร รัฐมนตรีกระทรวงศึกษาธิการ ฯลฯ<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ดังนั้น การน าค าว่าสถาบันนิยมมาใช้ในสังคมไทยจึงต้องค านึงว่า “สถาบัน” เป็นค าอธิบายความสัมพันธ์ทางสังคมในรูปแบบ<br />

ต่างๆ ที ่ก าหนดสถานการณ์ที ่น าไปสู ่บทบาทและหน้าที ่ของสมาชิกต่างๆ ในสถาบันหนึ ่ง ซึ ่งแต่ละคนสามารถเข้าไปเป็นสมาชิก<br />

ของหลายสถาบันได้ โดยค าว่าสถาบันไม่จ าเป็นต้องเป็นองค์กรที ่จับต้องได้เสมอไป แต่อาจมีความหมายเพียงรูปแบบ กฎ กติกา<br />

และบรรทัดฐานบางอย่างที ่ก าหนดพฤติกรรมของมนุษย์ที ่อยู ่ภายใต้บริบทของสถาบันนั้นๆ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

จ านงค์ อดิวัฒนสิทธิ์และคณะ (2548). สังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.<br />

Hall, P.A. <strong>and</strong> Taylor, R.C.R. (1996). “Political Science <strong>and</strong> the Three New Institutionalism”. In Political Studies, Vol.44,<br />

No. 4.<br />

March, J.G. <strong>and</strong> Johan Olsen (1989). Rediscovering Institutions: The Organizational Basis of Politics. New York: Free<br />

Press.<br />

Peters, B. Guy. (2005). Institutional Theory in Political Science: the ‘New Institutionalism’. New York: Continuum.<br />

108


LEGITIMACY<br />

ควำมชอบธรรมทำงกำรเมือง<br />

ควำมหมำย<br />

ความชอบธรรมทางการเมือง (Political Legitimacy) หมายถึง การใช้อ านาจทางการเมืองการปกครองของผู้ปกครองที ่ผู้<br />

ถูกปกครองในสังคมยอมรับ และปฏิบัติตาม ความชอบธรรมทางการเมืองยังบ่งถึงการได้รับความไว้วางใจทางการเมือง (political<br />

trust) หรือ การสนับสนุนทางการเมือง (political support) อีกด้วย ความไว้วางใจ หรือแรงสนับสนุนที ่ว่านี ้ มักเป็นสิ่งที ่มี<br />

ลักษณะเฉพาะ ขึ้นอยู่กับชุดคุณค่าที่แต่ละสังคมยึดถือ ส่งผลให้แต่ละสังคมพิจารณาให้ความชอบ ธรรมแก่เป้าหมายทาง<br />

การเมืองแตกต่างกันไปได้ (Kurian, 2011: 946)<br />

อรรถำธิบำย<br />

นิยามของ “การเมือง” ในทางรัฐศาสตร์สมัยใหม่ที ่เป็นที ่รู้จักกันดีได้แก่นิยามของเดวิด อีสตัน (David Easton) ที ่อธิบาย<br />

การเมืองว่าเป็น “การแจกแจงคุณค่าสู ่สังคมหนึ่งๆ ด้วยอ านาจอันชอบธรรม” (Politics is the authoritative allocation of values<br />

for a society) จะเห็นได้ว่าประเด็นส าคัญในนิยามดังกล่าวนั้นอยู ่ที ่การใช้อ านาจ “อันชอบธรรม” ในการแจกแจกชุดคุณค่า (values)<br />

ต่างๆ สู ่สังคม ซึ ่งตัวความชอบธรรม (legitimacy) นี ้เองที ่จะท าให้การใช้อ านาจดังกล่าวมีลักษณะเป็น “อ านาจอันชอบธรรม”<br />

(legitimate authority) มากกว่าการเป็นเพียง “อ านาจ” (power) เฉยๆ ดังนั้น ค าถามที ่เกิดขึ ้นตามมาทันทีนั่นก็คือ แล้วเราจะทราบ<br />

ได้อย่างไรว่าอ านาจใดที ่เป็นอ านาจอันชอบธรรม อ านาจใดที ่ไม่ใช่อ านาจอันชอบธรรม และจะมีดัชนีชี ้วัดอย่างไร<br />

แมกซ์ เวเบอร์ ได้ชี ้ให้เห็นถึงความแตกต่างระหว่างอ านาจที ่ปราศจากสิทธิ (power) กับ สิทธิอ านาจ (authority) เพราะ<br />

สิทธิอ านาจนั้นคืออ านาจที ่กอปรไปด้วยความชอบธรรมที ่เราอาจคาดหวังว่าจะสามารถท าให้ผู้อื ่นยอมท าตามสิ่งที ่เราประสงค์ โดย<br />

แหล่งที ่มาของความชอบธรรมของสิทธิอ านาจที ่ว่านี ้ เวเบอร์ได้จ าแนกออกเป็น 3 แบบ ประกอบด้วย 1) สิทธิอ านาจตามประเพณี<br />

(traditional authority) คือ อ านาจที ่ได้รับความชอบธรรมมาจากขนบธรรมเนียม หรือจารีตที ่ปฏิบัติสืบต่อกันมา 2) สิทธิอ านาจจาก<br />

บุญญาบารมี (charismatic authority) คืออ านาจของผู้น า หรือบุคคลอันกอปรไปด้วยคุณสมบัติพิเศษที ่เป็นที ่ยอมรับนับถือของคน<br />

ทั่วไปอันเป็นแหล่งที ่มาของความชอบธรรมในการใช้อ านาจดังกล่าว และ 3) สิทธิอ านาจตามกฎหมาย (legal authority) คือ<br />

อ านาจที ่ได้รับความชอบธรรมมาจากสิ่งที ่กฎหมายได้ระบุ หรือได้ให้อ านาจเอาไว้ เช่น ระบบราชการมีสิทธิอ านาจตามกฎหมาย<br />

เป็นต้น โดยสิทธิอ านาจทั้งสามแบบที ่ว่ามานี ้ โดยทั่วไปแล้วมักจะปรากฏแบบผสมผสานกันมากกว่าที ่จะปรากฏเพียงอย่างใดอย่าง<br />

หนึ ่งโดด ๆ (สุภางค์ จันทวานิช, 2552: 58-59)<br />

นอกจากเวเบอร์แล้ว เดวิด บีเธม (David Beetham) ได้วางหลักเกณฑ์สามประการไว้ในหนังสือ “ความชอบธรรมของ<br />

อ านาจ” (The legitimation of power) ของเขา โดยเป้าหมายทางการเมืองของการใช้อ านาจที ่ชอบธรรมนั้นจะต้องดูว่า 1)<br />

สอดคล้องกับหลักกฎหมายของบ้านเมืองหรือไม่ 2) สอดคล้องกับชุดคุณค่าปทัสถาน และศีลธรรมที ่คนส่วนใหญ่ในสังคมยึดถือ<br />

หรือไม่ 3) เป็นความยินยอมพร้อมใจของชุมชนทางการเมืองหรือไม่ ซึ ่งหลักเกณฑ์สามประการนี ้อาจมองแบบง่ายๆ ได้ว่าเป็น<br />

หลักการของ “ความถูกต้อง” (rightfulness) ที ่ยืนอยู ่บนพื ้นฐานซึ ่งต่างกันออกไป คือ ความถูกต้องตามกฎหมายของรัฐ (legality)<br />

109


ความถูกต้องตามหลักศีลธรรมของสังคม (justification) และความถูกต้องตามฉันทามติ (consent) ของคนในชุมชนทางการเมือง<br />

นั่นเอง (Gilley, 2009) โดยหากการใช้อ านาจทางการเมืองใดไร้ซึ ่งความชอบธรรมหนึ ่งในสามประการดังกล่าวนี ้แล้วก็อาจจะน ามา<br />

ซึ ่งสภาวะที ่เรียกว่า “วิกฤติของความชอบธรรม” (legitimacy crisis) ในทางการเมืองการปกครอง<br />

ส าหรับความถูกต้องในมิติของกฎหมายตามหลักของรัฐสมัยใหม่นั้นจะต้องเป็นความถูกต้องที ่ยืนอยู ่บนหลักการของหลัก<br />

นิติรัฐ หรือ หลักนิติธรรม (โปรดดู Rule of Law) ซึ ่งท าให้ประชาชนทุกๆ คนภายในรัฐ ทั้งผู้ปกครอง และผู้ถูกปกครองนั้นจะต้อง<br />

อยู ่ภายใต้กรอบของกฎหมายที ่บัญญัติขึ ้นและเป็นตัวแทนของอ านาจอธิปไตยสูงสุด (the supremacy of law) ซึ ่งมีที ่มาจาก<br />

ประชาชนทุกๆ คนภายในรัฐ<br />

นอกจากนี ้หากความถูกต้องใดๆ นั้นไปหักล้าง หรือ ท าลายชุดคุณค่าปทัสถานที ่คนในสังคมให้ความเคารพนับถือ การใช้<br />

อ านาจนั้นก็ไม่อาจเรียกได้ว่าชอบธรรม แม้บางครั้งการใช้อ านาจที ่ว่านี ้ถูกต้อง และชอบธรรมในแง่ของกฎหมาย แต่ก็อาจกลายเป็น<br />

ว่าเป็นการใช้อ านาจทางการเมืองที ่ไม่ชอบธรรมในเรื ่องของความถูกต้องตามหลักศีลธรรมได้อีกเช่นกัน<br />

ในประการสุดท้าย แม้การใช้สิทธิอ านาจนั้นจะมีกฎหมายรองรับ แต่หากอ านาจนั้นมิได้รับความยินยอมพร้อมใจจาก<br />

ประชาชนแล้ว สิทธิอ านาจนั้นก็มิอาจเรียกได้ว่าเป็นอ านาจทางการเมืองที ่ชอบธรรมอย่างสมบูรณ์ มาตั้งแต่ต้น เพราะที ่มาของ<br />

อ านาจทางการเมืองที ่มีความชอบธรรมของโลกสมัยใหม่มีแนวคิดสัญญาประชาคมเป็นรากฐาน (โปรดดู Social Contract)<br />

กล่าวคืออ านาจทางการเมืองที ่ชอบธรรมจะต้องมีที ่มาจากการตกลง และการยินยอม (consent) ของผู้ถูกปกครอง ตามหลักการ<br />

อ านาจอธิปไตยเป็นของประชาชน (โปรดดู Popular Sovereignty)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับประเทศไทยเองนั้นได้เผชิญวิกฤติของความชอบธรรมมาแล้วทั้ง 3 มิติ ความขัดแย้งทางการเมืองในช่วงเกือบ<br />

ทศวรรษที ่ผ่านมา (พ.ศ. 2548 - 2556) เป็นตัวอย่างที ่ดีของการปะทะกันระหว่างวิกฤติความชอบธรรมของอ านาจทางการเมืองที ่มี<br />

ฐานที ่มาแตกต่างกันไปสองฝ่าย โดยฝ่ายหนึ ่งมุ่งเน้นความชอบธรรมของอ านาจทางการเมืองตามกฎหมายเป็นหลัก คือ ความชอบ<br />

ธรรมของอ านาจที ่มาจากกระบวนการเลือกตั้ง และเสียงข้างมากในระบอบประชาธิปไตย กับ อีกฝ่ายที ่เน้นความชอบธรรมของ<br />

อ านาจทางการเมืองตามหลักจารีตศีลธรรม คือเน้นให้คนดีขึ ้นมาปกครองบนหลักของความดีงามเหมาะสม ความถูกต้อง<br />

ทั้งสองฝ่ายแม้จะยืนอยู ่บนฐานของความชอบธรรมที ่แตกต่างกัน แต่ก็หาได้ปฏิเสธความชอบธรรมของอีกฝ่ายอย่าง<br />

สิ ้นเชิงไม่ กล่าวคือฝ่ายที ่สนับสนุนกฎหมายก็ไม่ได้ปฏิเสธศีลธรรมไปเสียทีเดียว ในขณะที ่ฝ่ายที ่สนับสนุนศีลธรรมก็หาได้ปฏิเสธ<br />

นิติรัฐลงอย่างสิ ้นเชิง เพียงแต่ทั้งสองฝ่ายในบางครั้งก็ละเลยที ่จะพิจารณาประเด็นปัญหาที ่อีกฝ่ายหยิบยกขึ ้นมา เช่น ฝ่ายที ่<br />

สนับสนุนกฎหมายบางครั้งก็ยอมหลับตาลงข้างหนึ ่งให้กับการกระท าที ่ผิดศีลธรรม เช่น การฆ่าตัดตอน หรือ การคอร์รัปชั่น (เชิง<br />

นโยบาย) ในขณะที ่ฝ่ายที ่สนับสนุนศีลธรรมบางครั้งก็หันหลังให้กับกฎหมายและรัฐธรรมนูญ เช่น การสนับสนุนการรัฐประหาร หรือ<br />

การปฏิเสธการเลือกตั้ง<br />

ดังนั้น กุญแจที ่จะน าไปสู ่การคลี ่คลายของวิกฤติความชอบธรรมในครั้งนี ้จึงอยู ่ที ่ความชอบธรรมของการยินยอมพร้อมใจ<br />

หรือ ฉันทามติ จากทั้งสองฝ่ายด้วยการประนีประนอมเข้าหากัน หรือ การปรองดอง (โปรดดู Reconciliation) อันจะท าให้เกิด<br />

110


ฉันทานุมัติจากทั้งสองฝ่ายด้วยวิธีการที ่ยืนอยู ่บนหลักการของความชอบธรรมทั้งด้านกฎหมาย และศีลธรรมจรรยาในเวลาเดียวกัน<br />

เพราะหากรัฐบาลที ่ไม่ได้รับความยินยอมพร้อมใจจากทั้งสองฝ่ายขึ ้นมาปกครองไม่ว่าจะกี ่รัฐบาลก็ตาม วิกฤติความชอบธรรมใน<br />

รูปแบบดังกล่าวนี ้ก็จะยังคงด ารงอยู ่ในสังคมไทยต่อไป<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

หากพิจารณาความขัดแย้งทางการเมืองไทยที ่ผ่านมาจะพบว่า ผู้น าประเทศจ าเป็นต้องมีความชอบธรรมทางการเมืองที ่มี<br />

ฐานมาจากเงื ่อนไข 3 ประการ ได้แก่ 1) มีที ่มาตามกระบวนการประชาธิปไตย ได้แก่การเลือกตั้ง ผู้น าที ่มาจากการใช้ก าลัง<br />

รัฐประหาร หรือการตกลงกันเองในหมู ่ชนชั้นน า จะไม่ได้รับการยอมรับจากประชาชนส่วนใหญ่ของประเทศ 2) มีความสามารถใน<br />

การบริหารจัดการปกครองประเทศให้เจริญก้าวหน้า สามารถพัฒนาเศรษฐกิจ สังคมให้ทัดเทียมกับนานาอารยประเทศ และ 3) ใช้<br />

อ านาจอย่างโปร่งใส ยอมรับกระบวนการตรวจสอบ หลีกเลี ่ยงการคอร์รัปชั่น และแสวงหาประโยชน์ให้ตนเอง ครอบครัว และพวก<br />

พ้อง ถึงแม้ผู้น าจะมีความสามารถ มีวิสัยทัศน์ และสามารถบริหารประเทศได้ถูกใจประชาชนมากเพียงไร แต่หากถูกมองว่าทุจริต<br />

คอร์รัปชั่น ผู้น าคนนั้นก็จะหมดความชอบธรรมในการบริหารประเทศ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Contract’, ‘Reconciliation’, ‘Deliberative <strong>Democ</strong>racy’ และ ‘Substantive <strong>Democ</strong>racy’<br />

Beetham, David (1991). The legitimation of power. London: Mcmillan.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Gilley, Bruce (2009). The right to rule: how state win <strong>and</strong> lose legitimacy. New York: Columbia University Press.<br />

สุภางค์ จันทวานิช (2552). ทฤษฎีสังคมวิทยา. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

111


LIBERALISM/ NEO-LIBERALISM<br />

เสรีนิยม และเสรีนิยมใหม่<br />

ควำมหมำย<br />

ค าว่าเสรีนิยม (Liberalism) ใช้กันอย่างแพร่หลายตั้งแต่ในยุคกลาง (Middle Age) ใน 4 ความหมาย โดยความหมายแรก<br />

นั้นหมายถึง การศึกษาที ่มีขอบข่ายกว้างขวางทั้งด้านวรรณศิลป์ ความงาม ทักษะการโต้วาที การแสดงสุนทรพจน์ ซึ ่งความหมาย<br />

ในลักษณะนี ้ยังคงใช้มาอยู ่จนถึงปัจจุบัน เช่น การเรียกการศึกษาแนวศิลปศาสตร์ว่า “ลิเบอรัลอาร์ท” (liberal arts) ประการที ่สอง<br />

หมายถึงการศึกษาของสุภาพชน หรือ เสรีชน (liber หมายถึง ‘the free one’) ความหมายประการที ่สามก็คือความหมายที ่มองว่า<br />

เสรีนิยมเป็นชุดการให้คุณค่าอันประกอบไปด้วยเหตุผล ความก้าวหน้า ขันติธรรม และ ความเป็นปัจเจกบุคคล เป็นต้น (สมเกียรติ,<br />

2551: 19-20)<br />

ความหมายประการสุดท้าย คือ ความหมายในเชิงการเมืองการปกครอง โดยนักคิดเสรีนิยมมีกรอบความคิดว่า มนุษย์ทุก<br />

คนล้วนต้องการเสรีภาพ มนุษย์และสังคมไม่สามารถด ารงอยู ่ได้หากไร้ซึ ่งเสรีภาพ ดังนั้น การจ ากัดเสรีภาพส่วนบุคคลเพื ่อการอยู ่<br />

ร่วมกันของคนในสังคม จะต้องเป็นการจ ากัดเสรีภาพเท่าที ่จ าเป็นและมีอยู ่น้อยที ่สุดเท่าที ่จะเป็นไปได้ ด้วยเหตุนี ้แนวคิดเสรีนิยม<br />

ทางการเมืองจึงเน้นหลัก 3 ประการ ได้แก่ รัฐและรัฐบาลที ่มีขอบเขตอ านาจที ่จ ากัด (minimal state <strong>and</strong> limited government)<br />

ตลาดเสรี ด้วยเชื ่อว่าเสรีภาพทางเศรษฐกิจคือมรรควิธีที ่ดีที ่สุดของการไปสู ่ความมั่งคั่งของทุกคน และสันติภาพ ประการหลังนี ้เอง<br />

จะเห็นได้ว่าผู้สมาทานแนวคิดเสรีนิยม มีแนวโน้มต่อต้านการท าสงครามในทุกรูปแบบ<br />

แม้จะเป็นที ่เข้าใจโดยทั่วไปว่า แนวคิดเสรีนิยมทางการเมืองมีรากฐานที ่มาตั้งแต่สมัยโบราณ (สารานุกรม: 960) แต่ในเชิง<br />

อุดมการณ์ หรือ ลัทธิทางการเมืองแบบเสรีนิยมนั้นเพิ่งจะเริ่มแพร่หลายเมื ่อสามร้อยปีที ่ผ่านมาในช่วงคริสต์ศตวรรษที ่ 17-18 นี ้เอง<br />

จอห์น ล็อค (John Locke) เป็นนักปรัชญาคนแรกที ่กล่าวในงานเขียนชิ ้นส าคัญ “Two Treatises on Government” ว่า บุคคลแต่ละ<br />

คนย่อมเป็นเจ้าของและผู้รับรองความชอบธรรมของรัฐ บนหลักการ "สัญญาประชาคม"(Social Contract) หมายความว่าผู้ถูก<br />

ปกครองยอมอยู ่ใต้อ านาจของผู้ปกครอง ก็เพียงเพื ่อให้ผู้ปกครองท าหน้าที ่ปกป้องสิทธิของประชาชนที ่จะด ารงชีวิตได้อย่างมี<br />

เสรีภาพ มีสิทธิเหนือชีวิต และทรัพย์สินของตน (Locke, 1690) การเติบโตของแนวคิดเสรีนิยมเป็นผลลัพธ์จากการล่มสลายของยุค<br />

ศักดินาสวามิภักดิ์ (feudalism) ในยุโรป หลังจากที ่ประเทศส่วนใหญ่ในยุโรปเข้าสู ่วิถีการผลิตของระบบทุนนิยม และตลาดเสรีใน<br />

รัฐสมัยใหม่ อีกทั้งยังเป็นแนวคิดที ่ทรงอิทธิพลมากที ่สุดในยุคภูมิธรรม หรือ ยุคแห่งการรู้แจ้ง (enlightenment) ในคริสต์ศตวรรษที ่<br />

18 (Heywood, 2012: 25-26)<br />

อุดมการณ์เสรีนิยมในบางครั้งอาจถูกมองว่าเป็นจริตและความฝันใฝ่ของชนชั้นกลาง (aspiration of the middle class) ที ่<br />

เกิดขึ ้นในบริบทที ่มีการต่อต้านอ านาจอันเบ็ดเสร็จเด็ดขาดในสมัยรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (absolutist state) และการเติบโตทาง<br />

เศรษฐกิจ ตลอดจนอิทธิพลของชนชั้นกลางในสังคมยุโรป ด้วยเหตุนี ้จึงท าให้แนวคิดเสรีนิยมมีความสุดโต่งไปในทางที ่ต้องการการ<br />

ปฏิรูปไปสู ่สิ่งที ่ดีขึ ้นของชนชั้นกลางเป็นหลัก ดังสะท้อนให้เห็นจากการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ของอังกฤษในปี ค.ศ. 1688 ที ่น าไปสู ่<br />

พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิพื ้นฐานของพลเมือง (bill of rights) ที ่ค าว่า “พลเมือง” นั้นมีนัยหมายถึงเพียงชนชั้นกลาง และชนชั้นสูง<br />

บางกลุ่มเท่านั้น โดยที ่ไม่ได้มีการประกันในสิทธิของชนชั้นล่างแต่อย่างใด<br />

112


อรรถำธิบำย<br />

เราอาจแบ่งองค์ประกอบทางความคิดพื ้นฐานของลัทธิเสรีนิยมได้ออกเป็น 7 ประการด้วยกัน ได้แก่ ปัจเจกชนนิยม<br />

(individualism) เสรีภาพ (liberty) เหตุผล (reason) ความก้าวหน้า (progress) ขันติธรรม (toleration) รัฐบาลโดยฉันทานุมัติ<br />

(government by consent) และรัฐธรรมนูญนิยม (โปรดดู Constitutionalism)<br />

ในขณะที ่แนวคิดอนุรักษ์นิยมนั้นให้ความส าคัญกับมนุษย์ในฐานะที ่เป็นกลุ่มก้อน หรือ เป็นองคาพยพหนึ ่งของสังคมที ่มี<br />

ความเหลื ่อมล ้าต ่าสูงตามล าดับชั้นของความส าคัญของแต่ละคนเหมือนกับอวัยวะของร่างกาย ตรงกันข้าม แนวคิดเสรีนิยมนั้นให้<br />

ความส าคัญกับมนุษย์ในฐานะที ่เป็นปัจเจกบุคคลที ่มีความเสมอภาค และเท่าทียม (equality) ด้วยเหตุนี ้จึงท าให้นักเสรีนิยมนั้นมอง<br />

ว่ามนุษย์โดยธรรมชาตินั้นเป็นปัจเจกบุคคลที ่มีเสรีภาพ และความเท่าเทียม (Wolff, 1996: 19) และสามารถเข้าถึงความรู้ต่างๆ ได้<br />

จากการใช้เหตุผลของแต่ละคน ดังนั้นนักคิดเสรีนิยมจึงจัดเป็นนักคิดในแนวทางเหตุผลนิยม (rationalism) ที ่เชื ่อว่าเหตุผลคือบ่อ<br />

เกิดของความรู้ทั้งหมดทั้งมวล และความรู้ที ่มนุษย์ได้รับก็มีทั้งส่วนที ่เกิดจากประสบการณ์ และความรู้ก่อนประสบการณ์ที ่เกิดขึ ้น<br />

โดยอัชฌัตติกญาณ (intuition) จากการใช้เหตุผล (วิโรจ, 2552: 104)<br />

การที ่มนุษย์แต่ละคน หรือ ปัจเจกบุคคลมีความสามารถที ่จะใช้เหตุผลของตัวเองในการแสวงหาความรู้ก็ท าให้พวกเขา<br />

สามารถพัฒนาศักยภาพของตนเอง และแสวงหาสิ่งใหม่ๆ จากการใช้เหตุผลอยู ่ตลอดเวลา ดังนั้นพวกเขาจึงอธิบายพัฒนาการของ<br />

ความรู้ และสังคมสมัยใหม่ (modernity) ในรูปแบบของการอธิบายเชิงกลไก (mechanical explanation) กล่าวคือความรู้สมัยใหม่<br />

นั้นเป็นสายธารของความเจริญก้าวหน้าที ่จะมุ่งไปข้างหน้าอย่างไม่หยุดยั้ง และไม่มีที ่สิ ้นสุด ซึ ่งจุดนี ้แตกต่างอย่างชัดเจนจากการ<br />

อธิบายพัฒนาการของสังคมแห่งภูมิปัญญาในสมัยโบราณที ่เริ่มต้นจากความเสื ่อมไปสู ่จุดหมายปลายทางอันสมบูรณ์ (teleological<br />

explanation) และกลับไปสู ่ความเสื ่อมอีกครั้งเสมือนดั่งวัฏจักร<br />

ส าหรับพวกเสรีนิยมแล้วพัฒนาการของสังคม และมนุษย์จึงมีลักษณะเป็นเส้นตรง (linear) ที ่มุ่งไปข้างหน้า และมีลักษณะ<br />

ที ่พัฒนา หรือ เจริญก้าวหน้าขึ ้นเรื ่อยๆ ดังนั้น แนวคิดเสรีนิยมจึงต้องการความเปลี ่ยนแปลงไปสู ่สิ่งที ่ดีกว่า และยังเสาะแสวงหา<br />

การเปลี ่ยนแปลงแบบถอนรากถอนโคนชนิดเปลี ่ยนกระบวนทัศน์ (paradigm shift) ดังจะเห็นตัวอย่างได้ชัดเจนจากการปฏิวัติ<br />

ฝรั่งเศสในปี ค.ศ. 1789 และด้วยเหตุนี ้เอง ความก้าวหน้า (progress) จึงถือได้ว่าเป็นองค์ประกอบส าคัญอีกประการหนึ ่งของ<br />

จิตส านึกแบบเสรีนิยม<br />

ทว่าความเจริญก้าวหน้าที ่เกิดขึ ้นจากการใช้เหตุผลของปัจเจกบุคคลย่อมมาพร้อมๆ กับความแตกต่างหลากหลายทั้งใน<br />

ด้านความคิด อัตลักษณ์ และการแสดงออกต่างๆ ในสังคม ด้วยเหตุนี ้พวกเสรีนิยมจึงต้องยึดถือในหลักขันติธรรม เพื ่อที ่จะสามารถ<br />

รับมือกับสภาวะพหุนิยมในด้านต่างๆ ที ่จะต้องเกิดขึ ้นอย่างหลีกเลี ่ยงไปเสียไม่ได้ในระหว่างที ่เกิดกระบวนการพัฒนา และ<br />

เปลี ่ยนแปลงของสังคมสมัยใหม่<br />

จากองค์ประกอบทางความคิดของเสรีนิยมในข้างต้น ท าให้พวกเสรีนิยมมองว่ารัฐบาลที ่เกิดขึ ้นในรัฐสมัยใหม่นั้นควร<br />

จะต้องเป็นรัฐบาลที ่มอบโอกาสให้แก่ปัจเจกบุคคลในการแสวงหาความรู้ ใช้เหตุผล ตลอดจนสามารถพัฒนาตนเองได้อย่างเสรี และ<br />

เท่าเทียมกันภายใต้กรอบของกฎหมาย ด้วยเหตุนี ้รัฐบาลในมุมมองของพวกเสรีนิยมจึงตรงกันข้ามกับรัฐบาลจากเบื ้องบนของ<br />

แนวคิดอนุรักษ์นิยมอย่างสิ ้นเชิง เพราะเสรีนิยมมองว่าการเกิดขึ ้นของรัฐบาลนั้นเกิดขึ ้นมาจากเบื ้องล่าง คือเกิดขึ ้นภายใต้การตกลง<br />

113


ยินยอมพร้อมใจของประชาชนในการมารวมตัวเป็นสังคมการเมือง และก่อตั้งรัฐบาลขึ ้นจากฉันทานุมัติของพวกเขา (government by<br />

consent) ดังนั้นในแง่นี ้ ความคิดพื ้นฐานส่วนหนึ ่งของทฤษฎีสัญญาประชาคม (social contract theory) จึงซ้อนทับกันกับนักคิดใน<br />

แบบเสรีนิยมอย่างมิต้องสงสัย (Heywood, 2012: 36)<br />

นอกจากรัฐบาลโดยความยินยอมพร้อมใจของประชาชนแล้ว รัฐในแบบเสรีนิยม (liberal state) ยังจะต้องเป็นรัฐที ่มี<br />

กฎหมายเป็นตัวแทนอ านาจสูงสุด (หรือรัฐธรรมนูญ) ในการจ ากัดอ านาจของผู้ปกครอง และรับรองสิทธิ เสรีภาพของผู้ถูกปกครอง<br />

ไม่ให้ถูกละเมิด ผ่านกลไกในเชิงสถาบันทางการเมืองต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นหลักการแบ่งแยกอ านาจ (separation of powers) การ<br />

ตรวจสอบถ่วงดุล (checks <strong>and</strong> balances) หลักนิติรัฐ (legal state) หรือ หลักนิติธรรม (rule of law) เป็นต้น (โปรดดู<br />

Constitutionalism, Rule of Law)<br />

ปราชญ์เสรีนิยมที ่รู้จักกันดีเช่น คาร์ล ป๊อบเปอร์ (Sir Karl Raimund Popper) มองเตส<br />

114<br />

กิเออร์ (Montesquieu) เอมานู<br />

เอล คานท์ (Immanuel Kant) โธมัส เจฟเฟอร์สัน (Thomas Jefferson) จอห์น สจ๊วร์ต มิลล์ (John Stuart Mill) นักปราชญ์เสรีนิยม<br />

ทางเศรษฐกิจที ่ส าคัญ เช่น อดัม สมิธ (Adam Smith) ลุดวิค ฟอน มีส (Ludwig Von Mises) และฟรีดิช เอ ฟอน ฮาเย็ค<br />

(Friedrich A. Von Hayek) เป็นต้น<br />

ส่วนแนวคิดเสรีนิยมใหม่ (neo liberalism หรือ neoclassical liberalism) นั้นเป็นผลจากการพัฒนา และการท าให้แนวคิด<br />

เสรีนิยมในแบบเดิมมีความก้าวหน้าขึ ้น โดยเฉพาะในด้านเศรษฐกิจการเมือง เกิดขึ ้นในช่วงปลายศตวรรษที ่ 20 โดยแนวคิดเสรี<br />

นิยมใหม่นี ้ได้ปฏิเสธการแทรกแซงจากรัฐในกลไกของตลาดเสรี (free market) อย่างสิ ้นเชิง เพราะเชื ่อว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจนั้น<br />

จะด าเนินไปได้ด้วยดีก็ต่อเมื ่อรัฐปล่อยให้ปัจเจกบุคคลนั้นได้แข่งขันกันอย่างเสรีภายใต้ระบบตลาดที ่ปราศจากการแทรกแซงของ<br />

รัฐบาล โดยกลไกของระบบตลาดนี ้จะสามารถช่วยแก้ไขปัญหาทางเศรษฐกิจ และสังคมได้ด้วยตัวของมันเอง ด้วยเหตุนี ้ในบางครั้ง<br />

แนวคิดเสรีนิยมใหม่จึงถูกเรียกว่าพวกยึดมั่นถือมั่นในตลาด (market fundamentalism) ซึ ่งหมายถึงการเคารพในระบบตลาดเสรีที ่<br />

มีกลไกในการจัดการตนเอง หรือ กลไกตลาด (หรือมือที ่มองไม่เห็น (invisible h<strong>and</strong>)) อันจะท าให้ปัจเจกบุคคลนั้นสามารถแข่งขัน<br />

และแสวงหาผลประโยชน์ร่วมกันได้โดยปราศจากการแทรกแซงของภาครัฐนั่นเอง (Heywood, 2012: 49-50)<br />

แนวคิดเสรีนิยมใหม่ตั้งอยู ่บนฐานคิด 4 ประการคือ<br />

1) Marketization : ความสัมพันธ์ทุกอย่างถูกวางอยู ่บนกลไกการตลาด<br />

2) Deregulation : ผ่อนปรนระเบียบกฎหมายต่างๆ เพื ่อให้ทุนสามารถเคลื ่อนย้ายเข้าออกโดยง่าย<br />

3) Budget Cut : ตัดงบประมาณและค่าใช้จ่ายซึ ่งเป็นภาระของรัฐบาล โยนกลับไปให้ผู้รับบริการหรือประชาชนแบกรับ<br />

แทน เช่นเรื ่องการศึกษา การสาธารณสุข และการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ<br />

4) Stabilization : การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ การรักษาเสถียรภาพทางการเงิน การคลัง<br />

ในอังกฤษ รัฐบาลโดยนางมาร์กาเร็ต แทตเชอร์ ในช่วงปลายทศวรรษที ่ 1970 เป็นผู้น าแนวคิดเสรีนิยมใหม่มาใช้แทน<br />

ระบบเศรษฐกิจแบบเคนส์เซียน (Keynesian Economics) สิ่งแรกที ่ท าก็คือการท าลายรัฐสวัสดิการ (welfare state) ท าให้สหภาพ<br />

แรงงานอ่อนแอลงและแปรรูปรัฐวิสาหกิจเพื ่อให้อยู ่ภายใต้กลไกตลาด รวมไปถึงการตัดงบประมาณ และลดภาษีเพื ่อสร้างแรงจูงใจ


ให้ผู้ประกอบการและกระตุ้นกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ในสหรัฐอเมริกา ประธานาธิบดีโรนัลด์ เรแกน ได้น าระบบเศรษฐกิจแบบเสรี<br />

นิยมใหม่ไปปรับใช้จนคนเรียกขานว่าเป็นระบอบเศรษฐกิจแบบเรแกน (Reaganomics) แนวคิดทางเศรษฐกิจของเรแกนเน้น<br />

อุปทานเป็นหลัก (Supply - Side Economics) และใช้ 4 มาตรการในการด าเนินนโยบายเศรษฐกิจ คือ ตัดทอนรายจ่ายของรัฐ<br />

ยกเลิกหรือผ่อนผันกฎข้อบังคับของรัฐ ลดภาษีอันจะน าไปสู ่การลงทุน และด าเนินนโยบายการเงินแบบเข้มงวด เพื ่อควบคุมอัตรา<br />

เงินเฟ้อ<br />

อย่างไรก็ดี แนวคิดเรื ่องระบบตลาดเสรีนั้นก็ยังมีข้อถกเถียงอยู ่มาก ทั้งนี ้เนื ่องจากแม้ปัจเจกบุคคลสามารถแข่งขันได้อย่าง<br />

อิสระภายใต้ระบบตลาดเสรีก็ตาม แต่การแข่งขันที ่ว่านี ้ท้ายที ่สุดน าไปสู ่การที ่ผู้แข่งขันในตลาดบางรายที ่มีต้นทุน หรือ ความมั่งคั่งที ่<br />

เหนือกว่าคนอื ่นๆ ซึ ่งต้นทุนที ่มากกว่านี ้ หากมองในอีกแง่หนึ ่งก็คืออ านาจทางเศรษฐกิจที ่ผู้แข่งขันมีอยู ่เหนือผู้แข่งขันคนอื ่นๆ ใน<br />

ตลาด ซึ ่งจุดนี ้นี ่เองที ่อาจน าไปสู ่การใช้ประโยชน์จากศักยภาพที ่ว่านี ้ก าจัดคู ่แข่งคนอื ่นๆ จากการที ่เขาสามารถอดรนทนต่อสภาพ<br />

การขาดทุนชั่วคราวได้มากกว่าผู้แข่งขันคนอื ่นๆ ซึ ่งท้ายที ่สุดจะน าไปสู ่สิ่งที ่เรียกว่าการผูกขาด หรือ ตลาดผูกขาดโดยผู้แข่งขัน<br />

น้อยราย<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

เช่นเดียวกันกับยุโรป แนวคิดเสรีนิยมในประเทศไทยนั้นมีบ่อเกิด และชนวนเหตุที ่ก่อให้เกิดพลังทางการเมืองแบบเสรี<br />

นิยมที ่คล้ายคลึงกัน โดยส่วนหนึ ่งก็เพราะผู้ที ่เคลื ่อนไหวในแนวทางเสรีนิยมนั้นรับเอาแนวคิดจากโลกตะวันตกมาใช้กับบริบทที ่<br />

คล้ายคลึงกันในสังคมไทย นั่นคือ รัฐสมัยใหม่ในแบบรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ที ่มีองค์ประกอบเป็นรัฐสมัยใหม่บางส่วน คือ เป็นรัฐ<br />

สมัยใหม่ที ่มีอ านาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดเหนือไพร่ฟ้าราษฎรที ่อาศัยอยู ่ในอาณาบริเวณที ่แน่นอน (territorial sovereignty) แต่จะเห็น<br />

ได้ว่ารัฐสมัยใหม่ในรูปแบบนี ้ยังขาดความเป็นสมัยใหม่ในมิติของการท าให้ไพร่ฟ้าราษฎรมีสถานะเป็นพลเมืองที ่เท่าเทียมกัน ด้วยการ<br />

ท าให้ทุกๆ คน (รวมทั้งตัวผู้ปกครองเองด้วย) นั้นอยู ่ภายใต้กรอบของกฎหมายสูงสุดที ่มีฐานที ่มาที ่อ้างอิงจากเบื ้องล่าง คือ<br />

ประชาชนทุกๆ คน (โปรดดู Constitutionalism, Social Contract)<br />

จากเงื ่อนไขในข้างต้นท าให้การเคลื ่อนไหวในแนวทางเสรีนิยมของไทยในช่วงแรกนั้นปรากฏให้เห็นผ่านการเรียกร้องให้มี<br />

การเปลี ่ยนแปลงการปกครองให้เป็นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญของกลุ่มเชื ้อพระวงศ์ (พระองค์เจ้าปฤษฎางค์<br />

ชุมสาย) ใน ร.ศ. 103 (สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา, 2550: 25-42) และระบอบสาธารณรัฐโดยกลุ่มคณะทหารชั้นผู้น้อย ใน ร.ศ. 130<br />

ทว่าความพยายามทั้งสองครั้งนั้นไม่ประสบผลส าเร็จ จนกระทั่งเกิดการเปลี ่ยนแปลงการปกครองในวันที ่ 24 มิถุนายน พ.ศ. 2475<br />

โดยคณะราษฎร (the people’s party) ซึ ่งผู้น าในคณะราษฎรคนส าคัญอย่างหลวงพิบูลสงคราม และนายปรีดี พนมยงค์ ได้มีโอกาส<br />

ไปร ่าเรียนจากประเทศฝรั่งเศส ดังนั้นจึงเป็นที ่ค่อนข้างแน่ชัดว่า แนวคิดเสรีนิยมของตะวันตกนั้นเป็นองค์ประกอบส าคัญที ่อยู ่ใน<br />

มโนส านึกของผู้น าในการเปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ดังแสดงออกผ่านการจัดให้มีรัฐธรรมนูญ การเลือกตั้ง และ<br />

ประชาธิปไตยแบบตัวแทน (representative democracy) ในแบบประเทศเสรีนิยมประชาธิปไตยในตะวันตก<br />

ช่วงหลังจากการเปลี ่ยนแปลงการปกครองไปแล้วนั้น แนวคิดเสรีนิยมในไทยได้ถูกจัดวางให้กลายเป็นขั้วตรงข้าม กับ<br />

แนวคิดอนุรักษ์นิยมที ่น าโดยกลุ่มกษัตริย์นิยม และพวกอนุรักษ์นิยมเก่า-ใหม่ ที ่ต่อสู้และขับเคี ่ยวกันอย่างเข้มข้นในสมัยหลังจาก<br />

การเกิดเหตุการณ์วิกฤติการณ์เดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 อันน าไปสู ่ชัยชนะของฝ่ายอนุรักษ์นิยมในเหตุการณ์ 6 ตุลาคม พ.ศ. 2519<br />

115


่<br />

แนวคิดเสรีนิยมได้กลับมาเติบโตขึ ้นอีกครั้ง ภายหลังจากช่วงทศวรรษ 2530 ที ่ประเทศไทยเริ่มเปลี ่ยนแปลงไปเป็น<br />

ประชาธิปไตยแบบเต็มใบมากขึ ้น หลังจากที ่มีประชาธิปไตยครึ ่งใบมา กว่า 8 ปี (2523-2531) พร้อมๆ กับการมีรัฐบาลที ่มาจากการ<br />

เลือกตั้งของประชาชน และรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนในปี พ.ศ. 2540 ที ่ถือกันว่าเป็นรัฐธรรมนูญฉบับประชาชนเพราะมีที ่มาจาก<br />

สมาชิกสภาร่างรัฐธรรมนูญ (ส.ส.ร.) ที ่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนทั่วประเทศมาเป็นผู้ยกร่าง ทว่าการฉีกรัฐธรรมนูญ และการ<br />

รัฐประหารรัฐบาลที ่มาจากการเลือกตั้งของประชาชนจ านวนมากในปี พ.ศ. 2549 ของคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข นั้นถือได้ว่าเป็นแรงกระตุ้นครั้งส าคัญ และเป็นฟางเส้นสุดท้ายที ่ท าให้แนวคิด<br />

เสรีนิยม (ในทางการเมือง) นั้นแตกหักอย่างชัดเจนกับแนวคิดอนุรักษ์นิยมในสังคมไทย เพราะในช่วงครึ ่งแรกของทศวรรษ 2550<br />

จะเห็นได้ว่าเกิดปรากฏการณ์การเรียกร้องประชาธิปไตย และความเท่าเทียมบนพื ้นฐานของหลักนิติรัฐ และความยุติธรรมของ<br />

ขบวนการเคลื ่อนไหวทางสังคมอย่างที ่ไม่เคยปรากฏมาก่อนในสังคมไทย<br />

อย่างไรก็ตาม เราไม่ควรสับสนมุมมองเสรีนิยมในเชิงการเมือง และในเชิงเศรษฐกิจของขบวนการการเรียกร้องทาง<br />

การเมืองดังกล่าว เพราะแม้ตัวผู้เรียกร้อง หรือ สังคมไทยเองจะมองว่าการเคลื ่อนไหวนี ้เป็นการเคลื ่อนไหวที ่ยืนอยู ่บนอุดมการณ์<br />

แบบเสรีนิยม แต่เราควรท าความเข้าใจด้วยว่าแนวคิดดังกล่าวเป็นแนวคิดเสรีนิยมเฉพาะในเชิงการเมืองการปกครอง แต่ในเชิง<br />

เศรษฐกิจ ทั้งฝ่ายเสรีนิยม และอนุรักษ์นิยมในไทยกลับไม่มีใครสนับสนุนการด าเนินนโยบายทางเศรษฐกิจในระบบตลาดเสรีอย่าง<br />

เต็มที ่ โดยการแปรรูปรัฐวิสาหกิจ (privatization) และปล่อยให้กลไกตลาดด าเนินไปโดยที ่รัฐไม่เข้ามาแทรกแซงทั้งสิ ้น นั่นก็เพราะ<br />

ทั้งฝ่ายประชาชน และรัฐบาลเองต่างก็รู้ดีว่า พวกเขายังคงต้องการพึ ่งพากันและกันผ่านสายใยของการด าเนินนโยบายสาธารณะ<br />

โดยเฉพาะในเชิงเศรษฐกิจในแบบที ่รัฐคอยจุนเจือสวัสดิการ และนโยบายประชานิยมให้แก่ประชาชน และประชาชนก็ใช้นโยบาย<br />

เป็นตัวชี ้วัดในการเลือกพรรคการเมืองเป็นการตอบแทน<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

เสรีนิยมกับประชาธิปไตยไม่ใช่สิ่งเดียวกัน และโดยหลักการรัฐบาลประชาธิปไตยอาจไม่ยึดหลักเสรีนิยมก็ได้ ในทาง<br />

กลับกันแนวคิดเสรีนิยมอาจถูกน าไปใช้โดยรัฐบาลอ านาจนิยมก็ได้เช่นกัน แต่กระนั้น ในทางปฏิบัติ สองแนวคิดนี ้ต่างเป็นเงื ่อนไข<br />

จ าเป็นของกันและกัน และเอื ้อให้อีกแนวคิดหนึ ่งด ารงอยู ่ได้ เพราะในระบอบประชาธิปไตยจะมีกลไกที ่มีประสิทธิภาพมากกว่าใน<br />

ระบอบอ านาจนิยมและเผด็จการ ที ่จะรับรองสิทธิเสรีภาพของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเสรีภาพของเสียงส่วนน้อย ในขณะที<br />

เสรีภาพและตลาดเสรีนับว่าเป็นเงื ่อนไขที ่ส าคัญประการหนึ ่งในการขับเคลื ่อนระบอบประชาธิปไตย จึงอาจกล่าวได้ว่าเสรีนิยมกับ<br />

ประชาธิปไตยเป็นของคู ่กัน (เกษียร, 2556)<br />

ในสังคมไทย เสรีนิยมใหม่ทางเศรษฐกิจไม่สามารถเข้ามามีอิทธิพลทางเศรษฐกิจ และกลไกตลาดภายในประเทศไทยได้<br />

อย่างกว้างขวางมากนัก แม้การเปิดเสรีทางการเงินจะเริ่มต้นชัดเจนตั้งแต่รัฐบาลของพลเอกชาติชาย ชุณหะวัณ ด้วยการเปิดเสรี<br />

การค้าเงินบาท ในรัฐบาลนายอานันท์ ปันยารชุน มีการประกาศอย่างชัดเจนว่าจะเปิดเสรีทางเศรษฐกิจ มีการผ่อนคลายการก ากับ<br />

และควบคุมภาคการเงิน ยกเลิกนโยบายควบคุมอัตราแลกเปลี ่ยน และอนุญาตให้ธนาคารพาณิชย์น าบริการทางการเงินใหม่ๆ มา<br />

ใช้ได้ มีการปรับปรุงการเก็บภาษีโดยเฉพาะอย่างยิ่งภาษีมูลค่าเพิ่ม มีการปฏิรูประบบราชการโดยจ้างเอกชนให้เข้ามารับงานจาก<br />

ภาครัฐ การแปรรูปรัฐวิสาหกิจ เช่น บริษัทการบินไทย และผลักดันให้เกิดเขตการค้าเสรีอาเซียน รัฐบาลไทยในสมัยต่อๆ มาก็ได้<br />

ด าเนินรอยตามแนวคิดเสรีนิยมใหม่นี ้ จนกระทั่งรัฐบาลภายใต้การน าของนายกรัฐมนตรีทักษิณ ชินวัตร ที ่ได้ด าเนินนโยบาย<br />

คู ่ขนาน ด้านหนึ ่งส่งเสริมระบบเสรีนิยมใหม่ แต่ในอีกด้านหนึ ่งด าเนินนโยบายประชานิยม ที ่เปิดโอกาสให้รัฐบาลเข้าแทรกแซง<br />

116


กลไกตลาด ก าหนดราคาสินค้า หรือผลผลิต จนถึงขนาดที ่เป็นคู ่ค้ากับประชาชนโดยตรงในบางนโยบาย ที ่ส าคัญนโยบายประชา<br />

นิยมเป็นแนวทางที ่ตรงกันข้ามกับการลดทอนงบประมาณและค่าใช้จ่ายของรัฐ ซึ ่งเป็นหลักการส าคัญของแนวคิดเสรีนิยมใหม่<br />

ดังนั้น ตราบใดที ่ทั้งฝ่ายการเมือง และประชาชนนั้นยังเห็นพ้องต้องกันถึงความต้องการที ่จะให้รัฐเป็นตัวแสดงหลักส าคัญ<br />

ในการเข้ามาแทรกแซงกลไกตลาดในบางเรื ่อง โดยเฉพาะในแง่ของการออกสวัสดิการสังคม และความช่วยเหลือทางเศรษฐกิจใน<br />

รูปของนโยบายประชานิยม เศรษฐกิจของไทยก็ยังมิอาจบรรลุถึงความเป็นกลไกตลาดเสรีที ่มีกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ เป็นตัว<br />

แสดงหลักในระบบเศรษฐกิจภายในประเทศได้อย่างสมบูรณ์แบบ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Constitutionalism’, ‘Rule of Law’ และ ‘Social Contract’<br />

เกษียร เตชะพีระ (2556). “เสรีนิยม กับ ประชาธิปไตย”. Siam Intelligence.<br />

เข้าถึงวันที ่ 26 สิงหาคม 2555 ใน http://www.siamintelligence.com/libedemocracy/.<br />

สมเกียรติ วันทะนะ (2551). อุดมการณ์ทางการเมืองร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: อักษรข้าวสวย.<br />

สุเมธ ชุมสาย ณ อยุธยา (2550). พระองค์เจ้าปฤษฏางค์ และข้อเสนอเกี่ยวกับรัฐธรรมนูญฉบับแรก พ.ศ. 2427. นนทบุรี: สถาบัน<br />

พระปกเกล้า.<br />

Hayek, F. A. (1967). “The Principles of a Liberal Social Order”. In Studies in Philosophy,<br />

Politics <strong>and</strong> Economics. Chicago, University of Chicago Press.<br />

Heywood, Andrew (2012). Political ideologies: an introduction. New York: Palgrave Macmillan.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Locke, John (1690). Two Treatises on Government. 10 th edition. Project Gutenberg. Accessed December 29, 2013 from<br />

http://www.gutenberg.org/ebooks/<br />

7370?msg=welcome_stranger.<br />

Wolff, Jonathan (1996). An introduction to political philosophy. Oxford: Oxford University<br />

Press.<br />

117


NORM SETTING<br />

กำรก ำหนดบรรทัดฐำน<br />

ควำมหมำย<br />

บรรทัดฐานเป็นระเบียบหรือแบบแผนแห่งพฤติกรรมซึ ่งเกิดจากการปฏิบัติตามนิยามของสังคม การก าหนดบรรทัดฐาน<br />

(Norm Setting) จึงเป็นแนวทางที ่จะก่อร่างกฎระเบียบของความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคม เพื ่อให้เป็นมาตรฐานเดียวกัน<br />

(st<strong>and</strong>ardization) ผ่านตรรกะของความเหมะสม (logic of appropriateness) ที ่สมาชิกในสังคมสามารถที ่จะคาดหมายได้ว่าจะ<br />

แสดงพฤติกรรมอะไรออกไป และก าหนดเส้นแบ่งระหว่างสิ่งที ่ควรและไม่ควรให้กับความประพฤติปฏิบัติของคนในสังคมได้ ซึ ่ง<br />

รวมถึงบทบาทของตัวแสดงทางการเมืองด้วย (Peters, 2005: 26-27)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในทางทฤษฏีสากล การก าหนดบรรทัดฐานเกิดมาจากการจัดระเบียบทางสังคม (social organization) หมายถึง การวาง<br />

แบบแผนของความสัมพันธ์ทางสังคมท่ามกลางปัจเจกบุคคลและกลุ่มบุคคลในสังคม ความสัมพันธ์ดังกล่าวจึงอยู ่บนระบบของ<br />

บรรทัดฐานทางสังคม และมีการท าความเข้าใจความหมายของสิ่งต่างๆ ร่วมกันเพื ่อให้สามารถคาดการณ์พฤติกรรมที ่จะต้อง<br />

แสดงออกระหว่างมีปฏิสัมพันธ์กัน การก าหนดบรรทัดฐานจึงมีความแตกต่างกันไปตามลักษณะเฉพาะของแต่ละสังคม แบบแผน<br />

ความสัมพันธ์จากบรรทัดฐานจึงมีลักษณะสัมพันธ์ (relative) ไม่ใช่สมบูรณ์ (absolute) ที ่จะต้องเหมือนกันทุกสังคม (Tischler,<br />

2011: 133)<br />

การจัดระเบียบทางสังคมจึงท าให้เกิดบรรทัดฐานในการอยู ่ร่วมกัน สังคมใดสามารถจัดระเบียบสังคมได้ก็จะสามารถอยู ่<br />

ร่วมกันได้อย่างปกติสุข แต่ถ้าสังคมใดไม่สามารถจัดระเบียบทางสังคมได้จะท าให้เกิดความวุ่นวาย สมาชิกในสังคมท าตา ม<br />

อ าเภอใจ ไม่สนใจกฎระเบียบ และจะน าไปสู ่ความล่มสลายของสังคมที ่ไม่มีใครฟังใคร ด้วยเหตุนี ้การก าหนดบรรทัดฐานทางสังคม<br />

จึงเป็นเรื ่องของสมาชิกทั้งหลายในสังคมเข้ามามีปฏิสัมพันธ์กัน ไม่ใช่คนกลุ่มใดกลุ่มหนึ ่งจะสามารถก าหนดบรรทัดฐานได้ทุกเรื ่อง<br />

จากค าอธิบายนี ้จึงมีตัวอย่างทั้งจากภายในประเทศ เช่น การเกิดขึ ้นของขบวนการนักศึกษาในยุโรปช่วงทศวรรษ 1970 ที ่ท าการ<br />

ประท้วงและแสดงออกถึงการเปลี ่ยนแปลงระเบียบทางสังคมทั้งในเรื ่องเพศ ชนกลุ่มน้อย สิ่งแวดล้อม และการต่อต้านทุนนิยม<br />

สังคมยุโรปจึงต้องมีการจัดระเบียบสังคมใหม่ให้สอดคล้องกับปรากฏการณ์ที ่เกิดขึ ้น เป็นต้น และค าอธิบายในทางการเมืองระหว่าง<br />

ประเทศ เช่น การก าหนดบรรทัดฐานของการติดต่อสัมพันธ์ระหว่างประเทศ เกิดขึ ้นจากสมาชิกในระบบระหว่างประเทศมีบรรทัด<br />

ฐานที ่ก าหนดร่วมกันว่าจะไม่มีประเทศใดประเทศหนึ ่งเป็นองค์อธิปัตย์ที ่มีอ านาจสูงสุด เพราะทุกประเทศเท่ากัน ส่งผลให้ไม่มี<br />

ประเทศใดจะมีสิทธิเข้าไปแทรกแซงกิจการภายในของประเทศอื ่นๆ<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทยมีความเข้าใจเกี ่ยวกับการก าหนดบรรทัดฐานว่าเป็นการสร้างแบบแผนหรือกฎเกณฑ์ทั้งหลายอัน<br />

เกี ่ยวกับความสัมพันธ์ต่อกันระหว่างบุคคลและกลุ่ม ไม่ว่าจะเป็นสามีภรรยา สมาชิกในหมู ่บ้าน ไปจนถึงสังคมไทยและสังคมโลก<br />

สังคมทุกประเภทจึงต้องมีการจัดระเบียบสังคมเพื ่อสร้างบรรทัดฐานทั้งสิ ้น ระเบียบสังคมจึงเป็นเงื ่อนไขพื ้นฐานที ่จ าเป็นในการด ารง<br />

118


อยู ่ของสังคมทั้งหลาย องค์ประกอบส าคัญคือการก าหนดบรรทัดฐานเพื ่อเป็นประโยชน์ต่อสมาชิกในสังคมในการควบคุมพฤติกรรม<br />

อันจะน าไปสู ่ความสงบเรียบร้อยของสังคม (จ านงค์ และคณะ, 2548: 32-33)<br />

ถึงกระนั้นแล้ว ในทางปฏิบัติพบว่าสังคมไทยยังมีความคิดเกี ่ยวกับการก าหนดบรรทัดฐานที ่แตกต่างจากสากลตรงที ่ยัง<br />

เชื ่อว่าจะมีใครคนใดคนหนึ ่ง หรือองค์กรใดองค์กรหนึ ่งมาเป็นผู้ก าหนดบรรทัดฐานของสังคม เช่น กรณีรายการไทยแลนด์ก็อตทา<br />

เลนต์ (Thail<strong>and</strong>’s Got Talent) ได้มีนักแสดงหญิงมาแสดงโชว์การวาดภาพโดยใช้เรือนร่างเปลือย ซึ ่งกระทรวงวัฒนธรรมออกมา<br />

แสดงความเห็นว่าเป็นการแสดงออกที ่ไม่เหมาะสม โดยการกระท าของกระทรวงวัฒนธรรมในเรื ่องนี ้เป็นความพยายามที ่จะก าหนด<br />

บรรทัดฐานทางสังคมด้วยองค์กรเดียว มากกว่าที ่จะปล่อยให้สังคมมีการถกเถียงแลกเปลี ่ยน และถ้าการแสดงออกดังกล่าวไม่เหมะ<br />

สม สังคมก็จะไม่ยอมรับและพฤติกรรมดังกล่าวก็จะไม่มีผู้ใดเลียนแบบอีก<br />

ดังนั้น การก าหนดบรรทัดฐานทางสังคมจึงเป็นเรื ่องส าคัญมาก เพราะเป็นการวางกฎระเบียบพื ้นฐานที ่เป็นเส้นแบ่งว่าสิ่ง<br />

ใดควรหรือไม่ควรกระท า การก าหนดบรรทัดฐานจึงต้องให้สังคมทั้งหมดในองค์รวมและสมาชิกทุกคนต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการ<br />

ก าหนดบรรทัดฐานเพื ่อเป็นแบบแผนในการมีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันอย่างเหมาะสม ไม่ใช่ปล่อยให้องค์กรหรือกลุ่มบุคคลเพียงกลุ่ม<br />

เดียวเป็นผู้ก าหนดบรรทัดฐานในสังคมทั้งหมด<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Contract’<br />

จ านงค์ อดิวัฒนสิทธิ์และคณะ (2548). สังคมวิทยา. พิมพ์ครั้งที ่ 12. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.<br />

“สุกุมล” จวกยับ สาวโชว์เปลือยอก “ไทยแลนด์ก็อตทาเลนต์” จ่อเรียก “เสี ่ยตา” คุย. เข้าถึงวันที ่ 18 มิถุนายน 2555 ใน<br />

http://www.manager.co.th/qol/ViewNews.aspx?NewsID=<br />

9550000074471&CommentPage=1&.<br />

Peters, B. Guy (1995). “The Public Service, the Changing State, <strong>and</strong> Governance”. In B. Guy Peters <strong>and</strong> Donald J.<br />

Savoie (eds.). Governance in a Changing Environment. Montreal: McGill/Queens University Press.<br />

Tischler, Henry L. (2011). Introduction to Sociology. 10 th Edition. Wadsworth: Cengage<br />

Learning.<br />

119


PATERNALISM<br />

ปิ ตำธิปไตย<br />

ควำมหมำย<br />

ปิตาธิปไตย (Paternalism) เป็นค าศัพท์ที ่ใช้เรียกลักษณะการปกครองแบบโบราณที ่ผู้ปกครองเป็นเสมือน “พ่อ” และ<br />

ประชาชนเปรียบเสมือน “ลูก” ในทางค าศัพท์จะใช้เรียกแทนพฤติกรรมของบุคคล องค์กร หรือการปกครองที ่จ ากัดสิทธิเสรีภาพและ<br />

ความอิสระของประชาชน ในบางความหมายจะใช้แทนการเรียกระบบสังคมที ่จ ากัดสิทธิของคนบางกลุ่มและให้คนบางกลุ่มที ่เป็น<br />

ส่วนน้อยของสังคมมีสิทธิพิเศษที ่เหนือกว่าคนส่วนใหญ่ หรือใช้เรียกกฎหมายที ่เข้ามาจ ากัดสิทธิส่วนบุคคลมากเกินไป เช่น<br />

กฎหมายห้ามขายสุราและของมึนเมาในวันส าคัญทางศาสนา เป็นต้น ทั้งนี ้การแปลค าว่า Paternalism เป็น “ปิตาธิปไตย” เนื ่องจาก<br />

Paternalism มีรากศัพท์มาจากภาษาลาตินค าว่า Pater หมายถึง พ่อ ซึ ่งเมื ่อรวมกับค าว่า –ism หมายถึง ลัทธิ ท าให้กลายเป็นค า<br />

ว่าปิตาธิปไตย แต่ต้องไม่สับสนกับค าว่า Patriarchy หรือ ระบบนิยมชาย ที ่หมายถึงระบบสังคมที ่ลักษณะบางอย่างแสดงออกถึงการ<br />

ให้คุณค่าความเป็นชายมากกว่าและท าให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันทางเพศ (Kurian, 2011: 1196)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดปิตาธิปไตยที ่เป็นที ่รู้จักกันมากที ่สุดในโลกตะวันตก โดยเฉพาะอย่างยิ่งในโลกที ่ใช้ภาษาอังกฤษก็คือ การน า<br />

แนวคิดดังกล่าวมาใช้สร้างความชอบธรรมให้แก่อ านาจของสถาบันพระมหากษัตริย์อังกฤษในสมัยคริสต์ศตวรรษที ่ 17 โดยเซอร์ โร<br />

เบิร์ต ฟิลเมอร์ (Sir Robert Filmer) ซึ ่งได้อธิบายว่าพระมหากษัตริย์นั้นมีความชอบธรรมในการใช้อ านาจไม่ใช่เพราะความ<br />

ศักดิ์สิทธิ์ตามแนวคิดเทวสิทธิ์หากแต่เป็นเพราะพระองค์ได้สืบทอดสิทธิอ านาจดังกล่าวมาจากอดัมที ่เป็นมนุษย์คนแรกที ่ท าหน้าที ่<br />

ปกครองภรรยาของเขา คือ อีฟ และบุตรของเขา ดังนั้นฐานที ่มาของอ านาจของพระมหากษัตริย์จึงมาจากสถาบันทางสังคมพื ้นฐาน<br />

นั่นก็คือสถาบันครอบครัวที ่มีอดัมเป็นต้นแบบ และในกรณีของราชอาณาจักรก็คือครอบครัวขนาดใหญ่ที ่มีพระมหากษัตริย์ท าหน้าที ่<br />

เป็นบิดาของเหล่าอาณาประชาราษฎร์ทั้งปวงนั่นเอง (Filmer, 1991 :1-11)<br />

ในทางรัฐศาสตร์สมัยใหม่ ปิตาธิปไตย หมายถึง รัฐเผด็จการอ านาจนิยมที ่ท าการควบคุมและชี ้น าประชาชน ในเชิงการ<br />

ปกครอง รัฐแบบปิตาธิปไตยจะจัดหาการบริการสาธารณะและโครงสร้างพื ้นฐานให้กับประชาชนอย่างใกล้ชิด เช่น การจัดบริการ<br />

น ้าประปา ไฟฟ้า ถนน การสาธารณสุข เป็นต้น แต่ก็จะท าการปกครองและควบคุมอย่างเข้มงวดด้วยกฎระเบียบที ่ชัดเจน และเน้น<br />

ส่งเสริมการพัฒนาประเทศจากทั้งทางเศรษฐกิจและความมั่นคง การอธิบายการเมืองแบบปิตาธิปไตยในยุคหนึ ่งจะใช้เพื ่อท าความ<br />

เข้าใจประเทศในกลุ่มสังคมนิยม หรือ Soviet bloc ที ่รัฐบาลแทรกแซงการท างานของกลไกตลาดและควบคุมสิทธิเสรีภาพของ<br />

ปัจเจกบุคคล (Melich, 2011: 1196) นอกจากนี ้ ปิตาธิปไตย ยังอาจหมายรวมไปถึงการก าหนดนโยบายแบบ ‘คุณพ่อรู้ดี’ คือ การที ่<br />

รัฐ หรือ ผู้ปกครองนั้นเชื ่อว่าประชาชนอาจไม่เข้าใจว่าผลประโยชน์ที ่แท้จริงของตนเองคืออะไร ด้วยฐานคิดเช่นนี ้ ท าให้เชื ่อว่า ผู้มี<br />

อ านาจ หรือ ผู้ปกครองต่างหากที ่สมควรเป็นผู้ก าหนดนโยบายที ่เป็นผลประโยชน์ที ่แท้จริงให้แก่ประชาชน<br />

ส าหรับสังคมไทย ค าว่าปิตาธิปไตยจะถูกใช้แทนการปกครองของรัฐบาลที ่มีพระมหากษัตริย์เป็นผู้น าในสมัยสุโขทัยนั้น ท าให้<br />

เข้าใจได้ว่า มีข้าราชการเกิดขึ ้นแล้วเรียกว่า "ลูกขุน" โดยมีพระมหากษัตริย์เป็น "พ่อขุน" และมีประชาชนเป็น "ท่วย" หรือ "ไพร่ฟ้า"<br />

120


เพราะฉะนั้น กษัตริย์ในฐานะพ่อจึงสามารถใช้อ านาจเด็ดขาดในการปกครองลูกได้ เพื ่อให้ลูกเชื ่อฟัง แต่พ่อก็มีหน้าที ่ในการปกป้อง<br />

คุ้มครองลูกอย่างใกล้ชิดเสมือนเป็นครอบครัวเดียวกัน การที ่พระมหากษัตริย์เป็นเสมือนพ่อหรือข้าราชการบริพาร และประชาชน<br />

เปรียบเสมือนลูก ท าให้การปกครองมีลักษณะใกล้ชิดกัน และเมื ่อเกิดปัญหาสังคมขึ ้น พระมหากษัตริย์จะลงมาแก้ไขปัญหาดังกล่าว<br />

เอง ค าที ่นิยมเรียกแทนปิตาธิปไตยคือค าว่า “พ่อปกครองลูก” ซึ ่งเป็นค าที ่ใช้เรียกระบอบการปกครองสมัยสุโขทัย ก่อนที ่จะมีการ<br />

สถาปนาความคิดแบบธรรมราชาและเทวราชา<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในงานศึกษาของ ทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2552) งานศึกษาชิ ้นส าคัญเกี ่ยวกับการเมืองไทยช่วงเปลี่ยนผ่านจากยุคคณะ<br />

ราษฎร์ไปสู ่กลุ่มอ านาจเก่า น าโดยจอมพลสฤษดิ์ที ่สถาปนาระบอบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ (despotic paternalism) ซึ ่งแปล<br />

ค าว่า Paternalism เป็น “พ่อขุน” หมายถึง รูปแบบการปกครองที ่ผู้น ามีอ านาจบารมี และมีความใกล้ชิดกับประชาชนในแบบของ<br />

พ่อปกครองลูกของตัวเอง ซึ ่งการแปลว่า “พ่อขุน” เป็นความพยายามเล่นค าเพื ่อให้สอดคล้องกับการปกครองสมัยสุโขทัยแบบ “พ่อ<br />

ปกครองลูก” เพื ่อกล่าวว่าการเมืองไทยในยุคจอมพลสฤษดิ์ได้น าหลักการดังกล่าวกลับมาใช้อีกครั้ง การแสดงความเป็นพ่อสามารถ<br />

ท าได้จากการส่งข้าราชการไปเป็นหูเป็นตา หรือลงพื ้นที ่ไปเยี ่ยมเยียน “ลูกๆ” ในต่างจังหวัด เพื ่อคอยดูแลวิถีชีวิตไม่ว่าจะเรื ่องใหญ่<br />

เช่น การพัฒนาเศรษฐกิจ การพัฒนาการศึกษา เป็นต้น หรือเรื ่องเล็กๆ เช่น การช่วยแนะน าการดับเพลิง การดูแลถนนให้สะอาด<br />

เรียบร้อย และจัดการนักเลงอันธพาล เป็นต้น<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ปัญหาในการท าความเข้าใจค าศัพท์ในเรื ่องของการแปลอาจจะท าให้เกิดความสับสนได้ เนื ่องจากค าว่า Paternalism<br />

สามารถแปลว่า “ปิตาธิปไตย” หรือ “การปกครองแบบพ่อขุน” ก็ได้ ซึ ่งการแปลในความหมายแรกจะอยู ่ในเชิงทฤษฏีของการ<br />

ปกครองด้วยอ านาจและความสัมพันธ์อย่างใกล้ชิดระหว่างผู้ปกครองที ่เป็นพ่อกับประชาชนที ่เป็นลูก แต่การแปลในความหมายที ่<br />

สองจะมีเรื ่องของบริบทของการใช้ที ่อิงกับยุคสมัยสุโขทัย การเลือกใช้ค าจึงจ าเป็นต้องพิจารณาคู ่กับเป้าหมายในการอธิบาย เพราะ<br />

การแปลทั้งสองค าไม่ได้ผิดไปจากความหมายในภาษาอังกฤษมากนัก<br />

ดังนั้น ค าว่าปิตาธิปไตยจึงเป็นค าอธิบายการเมืองสมัยโบราณ และใช้ส าหรับการเปรียบเทียบรูปแบบการปกครองใน<br />

ปัจจุบันที ่มีลักษณะคล้ายคลึงกับการปกครองสมัยโบราณ ซึ ่งกรณีดังกล่าวจะเกิดขึ ้นในประเทศที ่รัฐบาลมีอ านาจเด็ดขาด ไม่ว่าจะ<br />

มาจากทหารหรือการเลือกตั้งก็ตาม<br />

ดูเพิ่มใน ‘Patronage System’<br />

121


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ (2552). ใน พรรณี ฉัตรพลรักษ์, ม.ร.ว. ประกายทอง สิริสุข และธ ารงศักดิ์เพชรเลิศอนันต์ (ผู้แปล). การเมือง<br />

ระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ. พิมพ์ครั้งที ่ 3 กรุงเทพฯ : มูลนิธิโครงการต าราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Filmer, Robert (1991). Patriarcha <strong>and</strong> Other Writings. Cambridge: Cambridge University Press.<br />

Melich, Jiri S. (2011). “Paternalism”. In Kurian, George Thomas et al. The Encyclopedia of Political Science.<br />

Washington, D.C.: CQ Press.<br />

122


PATRONAGE SYSTEM<br />

ระบบอุปถัมภ์<br />

ควำมหมำย<br />

ระบบอุปถัมภ์ (Patronage System) เป็นรูปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมในยุโรปช่วงศตวรรษที ่ 5 – 16 และในสังคมไทย<br />

จะมีรูปแบบที ่คล้ายคลึงกันในสมัยพระบรมไตรโลกนาถจนถึงรัชกาลที ่ 5 แห่งรัตนโกสินทร์ ค าว่า “ผู้อุปถัมภ์” (patron) เป็นค าที ่มา<br />

จากภาษาละติน คือ pratronus หมายถึง บุคคลผู้มีอ านาจให้ความยินยอมหรือรับรอง (sanction) โดยคนเหล่านี ้ต้องเข้ามา<br />

เกี ่ยวข้องสัมพันธ์กับผู้ที ่มีอ านาจด้อยกว่าหรือเป็น “ผู้รับอุปถัมภ์” (client) ที ่ต้องการความช่วยเหลือหรือป้องกัน โดยผู้อุปถัมภ์จะให้<br />

ประโยชน์กับผู้รับอุปถัมภ์โดยหวังจะได้ประโยชน์ตอบแทนกลับมาในรูปแบบของสินค้า ความจงรักภักดี การสนับสนุนทางการเมือง<br />

ในรูปแบบต่างๆ ความสัมพันธ์ในเชิงตอบแทนซึ ่งกันและกัน (reciprocal relationships) โดยทั่วไปความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลสอง<br />

ฝ่ายนี ้ ฝ่ายผู้รับอุปถัมภ์มักจะเป็นผู้เสียเปรียบเพราะโดยค าจ ากัดความว่าเป็นผู้ที ่อ่อนแอกว่าทั้งในด้านเศรษฐกิจและการเมือง<br />

(Kurian, 2011: 1199-1200)<br />

อรรถำธิบำย<br />

เจมส์ ซี สกอตต์ (James C. Scott, 2539: 47-53) ได้นิยามความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปถัมภ์และผู้รับอุปถัมภ์ไว้ว่า<br />

เป็นกรณีของความสัมพันธ์คู ่ ที ่เป็นกลไกของความสัมพันธ์ (instrumental relationship) ในลักษณะที ่บุคคลหนึ ่งจะมีสถานภาพทาง<br />

สังคมและเศรษฐกิจในระดับสูงจะเป็นผู้อุปถัมภ์ ที ่จะใช้อิทธิพลและทรัพยากรของตนในการช่วยปกป้องคุ้มครองหรือให้<br />

ผลประโยชน์หรือทั้งสองอย่างแก่บุคคลที ่มีสถานภาพต ่ากว่าคือผู้รับอุปถัมภ์ ผู้ซึ ่งจะต้องตอบแทนโดยการให้การสนับสนุนและให้<br />

ความช่วยเหลือ ตลอดจนให้บริการแก่ผู้อุปถัมภ์ ผู้อุปถัมภ์อาจจะสามารถใช้อ านาจในทางเห็นชอบ (sanction) หรือการใช้อ านาจ<br />

บังคับอย่างแท้จริง (pure coercive) ก็ได้<br />

การใช้ค าว่าระบบอุปถัมภ์ในระดับสากลจะกล่าวถึงความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ (patron-client relationship) ซึ ่งมีความ<br />

เป็นมาจากระบบฟิวดัล (feudal) ที ่เกิดขึ ้นในช่วงปลายสมัยโรมัน ความไร้เสถียรภาพทางสังคมก่อให้เกิดความสัมพันธ์ส่วนบุคคล<br />

ระหว่างผู้ที ่มีฐานะทางสังคมแตกต่างกัน ความเดือนร้อน สถานการณ์ที ่ระบบเครือญาติขาดทรัพยากรที ่จะให้ความช่วยเหลือแก่<br />

ปัจเจกบุคคล และในขณะเดียวกันอ านาจกลางก็อยู ่ไกลเกินไปหรืออ่อนแอเกินกว่าที ่จะคุ้มครองผู้ที ่อ่อนแอได้ ปัจเจกบุคคลที ่<br />

อ่อนแอจึงต้องหากลไกทางสังคมที ่จะช่วยป้องกันให้เขาพ้นจากภัยต่างๆ จึงจ าเป็นต้องมาฝากตัวกับผู้ที ่มีอ านาจ ท าให้เกิด<br />

ความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ของบุคคลที ่มีฐานะต่างกัน แต่จากความสัมพันธ์นี ้ต่างฝ่ายต่างได้รับประโยชน์ตอบแทนซึ ่งกันและกัน ใน<br />

ปลายสมัยโรมัน เจ้าของที ่ดินขนาดเล็กหรือชาวนาเข้าไปขอความคุ้มครองจากเจ้าของที ่ดินขนาดใหญ่ และตอบแทนการคุ้มครอง<br />

ดังกล่าวด้วยการช่วยเพาะปลูก หรือเอาที ่ดินของตนยกให้เจ้าของที ่ดินขนาดใหญ่ แล้วท ากินบนที ่ดินเดิมของตนต่อไปในฐานะผู้เช่า<br />

ระบบความสัมพันธ์เช่นนี ้จึงเรียกว่าระบบอุปถัมภ์ (กุลลดา, 2552: 5-6)<br />

นอกจากนี ้ ในบริบทปัจจุบัน ค าว่าระบบอุปถัมภ์ มักใช้ในสังคมประเทศโลกที ่สามหรือประเทศที ่ก าลังพัฒนา<br />

ความสัมพันธ์ระหว่างผู้อุปถัมภ์และผู้รับอุปถัมภ์สามารถเชื ่อมโยงบุคคลที ่มีสถานภาพต ่าไปจนถึงบุคคลระดับชาติโดยไม่<br />

123


จ าเป็นต้องผูกติดกับระบบราชการที ่เข้มงวด ในทางการเมืองการปกครองผู้อุปถัมภ์อาจจะสามารถช่วยเหลือผู้รับอุปถัมภ์ของตนใน<br />

การติดต่อกับระบบราชการ เช่น การช่วยประกันตัว การช่วยฝากลูกเข้าโรงเรียนของรัฐ เป็นต้น อีกทั้ง เครือข่ายของระบบอุปถัมภ์<br />

ได้กลายมาเป็นวิธีการที ่พรรคการเมืองใช้ในการหาคะแนนเสียงในชนบท เช่น การซื ้อเสียง การสัญญาว่าจะให้ เป็นต้น หากมอง<br />

โดยปราศจากอคติ สังคมอุปถัมภ์เป็นสังคมที ่มีต้นทุนทางสังคมโดยรวมสูง การใช้ระบบอุปถัมภ์อาจเป็นภาพสะท้อนของการสร้าง<br />

เครือข่ายทางสังคมเพื ่อลดความเสี ่ยงในการด ารงชีวิต ในสังคมที ่มีความเหลื ่อมล ้าสูง ในสังคมไทยมักมองว่าระบบอุปถัมภ์เป็นวิถี<br />

ของคนในชนบท และเป็นที ่มาของการซื ้อเสียง แต่แท้จริงแล้ว สังคมเมือง และสังคมคนกรุงเทพก็ตั้งอยู ่บนพื ้นฐานของระบบ<br />

อุปถัมภ์ไม่น้อยไปกว่าสังคมต่างจังหวัด<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

อย่างไรก็ดี ค าว่าระบบอุปถัมภ์ในสังคมไทยมีความแตกต่างกับความหมายในยุโรปอย่างมาก เพราะจะถูกใช้แทนการ<br />

เรียกระบบการปกครองแบบ “ศักดินา” ซึ ่งในภาษาอังกฤษจะเรียกว่า “ฟิวดัล” (feudal) โดยระบบศักดินาของไทยเริ่มในสมัยพระ<br />

บรมไตรโลกนาถ ที ่ก าหนดล าดับขั้นทางสังคมผ่านการจัดแบ่งว่าศักดิ์ใดมีสิทธิในการถือครองที ่นาเท่าใด การแบ่งลักษณะนี ้ไม่ได้<br />

ยึดติดว่าจะต้องถือครองที ่นาตามตัวเลขจริงๆ การบอกจ านวนไร่ของที ่นาเป็นเพียงการจัดล าดับเชิงปริมาณเท่านั้น แต่นัยส าคัญอยู ่<br />

ที ่จ านวน “ไพร่” หรือ “ผู้รับอุปถัมภ์” ที ่เข้ามาฝากตัว ผู้อุปถัมภ์คนใดมีไพร่จ านวนมากก็จะแสดงถึงอ านาจที ่มากกว่า แตกต่างจากผู้<br />

อุปถัมภ์ในยุโรปที ่ยึดครองที ่นาจริงๆ ในการเป็นปัจจัยการผลิตทางสังคม แต่ไม่ได้ให้ความสนใจกับผู้รับอุปถัมภ์มากนัก<br />

ส าหรับการใช้ค าว่าระบบอุปถัมภ์ในโครงสร้างสังคมไทย อคิน รพีพัฒน์ ได้กล่าวไว้ว่าเมื ่อมีการพัฒนาเศรษฐกิจในหมู ่บ้าน<br />

เป็นสาเหตุของการเลื ่อนถอยของระบบอุปถัมภ์ ชาวชนบทได้เปลี ่ยนแปลงการเพาะปลูกเพื ่อการด ารงชีพมาเป็นการเพาะปลูกเพื ่อ<br />

การค้า มีถนนเข้าสู ่หมู ่บ้านท าให้การคมนาคมสะดวกขึ ้น นอกจากพ่อค้าซึ ่งมีอิทธิพลมีอ านาจทางการเมืองเข้ามาถึงหมู ่บ้านแล้ว<br />

ข้าราชการจากหลายหน่วยงานเข้ามาในท้องที ่ ท าให้ชาวบ้านรู้สึกถึงอ านาจรัฐเข้ามากระทบโดยตรง ก านันผู้ใหญ่บ้านกลายมาเป็น<br />

ผู้แทนของรัฐ แทนที ่จะเป็นผู้แทนของชาวบ้าน ชาวบ้านจากที ่เคยพึ ่งพาก านันผู้ใหญ่บ้าน เมื ่อเห็นว่าพึ ่งพิงกับผู้แทนรัฐไม่ได้ ก็ต้อง<br />

หันไปพึ ่งพิงพ่อค้าหรือผู้ที ่ร ่ารวย ความสัมพันธ์แบบอุปถัมภ์ระหว่างผู้ใหญ่บ้านกับลูกบ้านจึงค่อยๆ เลื ่อนถอยไปในที ่สุด ท าให้กลุ่ม<br />

พ่อค้าเข้ามาแทนในระบบอุปถัมภ์ ซึ ่งสุดท้ายจะกลายเป็นความสัมพันธ์อุปถัมภ์ระหว่างชาวบ้านกับนักธุรกิจท้องถิ่นที ่เข้ามาเล่น<br />

การเมืองทั้งระดับชาติและระดับท้องถิ่นด้วย (สมหญิง, 2532: 21)<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

การใช้ค าว่าระบบอุปถัมภ์จึงต้องพึงระวังว่าบริบทของการใช้ค าที ่แตกต่างกันระหว่าง “อุปถัมภ์แบบยุโรป” กับ “อุปถัมภ์<br />

แบบไทย” แม้โดยทั่วๆ ไปแล้วค าว่า อุปถัมภ์ จะหมายถึงการที ่คนคนหนึ ่งที ่มีอ านาจ และทรัพยากรน้อยกว่าจะต้องหันไปพึ ่งพาผู้ที ่<br />

มีอ านาจ และทรัพยากรที ่มากกว่าเพื ่อการได้มาซึ ่งผลประโยชน์ต่างตอบแทนซึ ่งกันและกันก็ตาม แต่ตามบริบทของแต่ละสังคมที ่<br />

แตกต่างกันออกไปก็อาจท าให้มิอาจกล่าวได้ว่าการนิยามแบบใดผิดหรือถูก เพราะบริบทในสังคมเศรษฐกิจและการเมืองที ่แตกต่าง<br />

กันท าให้รายละเอียดในการแปลความหมายของค าแตกต่างกันไปด้วย แต่ใจความหลักของค าว่าระบบอุปถัมภ์ยังคงมีจุดร่วมกันอยู ่<br />

คือ ประชาชนที ่มีฐานะด้อยกว่าทางสังคมจะกลายเป็นผู้รับอุปถัมภ์เมื ่อได้เข้าไปฝากตัวกับผู้อุปถัมภ์ที ่มีฐานะดีกว่า และ<br />

ความสัมพันธ์นี ้ต่างได้ผลประโยชน์ทั้งคู ่ เพราะผู้อุปถัมภ์จะดูแลด้านชีวิตความเป็นอยู ่และเชื ่อมต่ออ านาจในการเข้าถึงภาครัฐให้กับ<br />

ผู้รับอุปถัมภ์ ในขณะที ่ผู้รับอุปถัมภ์จะต้องตอบแทบบางประการ เช่น การใช้แรงงานให้ หรือ การมอบสิทธิบางประการให้ เป็นต้น<br />

124


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Paternalism’<br />

กุลลดา เกษบุญชู-มิ ้ด (2552). วิวัฒนาการรัฐอังกฤษ ฝรั ่งเศส ในกระแสเศรษฐกิจโลก จากระบบฟิวดัลถึงการปฏิวัติ. พิมพ์ครั้งที ่ 2.<br />

กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์ฟ้าเดียวกัน.<br />

เจมส์ ซี สกอตต์ (2539). “การเมืองในระบบผู้อุปถัมภ์กับผู้รับอุปถัมภ์ และการเปลี ่ยนแปลงทางการเมืองในเอเชียตะวันออกเฉียง<br />

ใต้”. ใน ปรีชา คุวินทร์พันธุ์ (ผู้แปล). ระบบอุปถัมภ์. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

สมหญิง สุนทรวงษ์ (2532). ระบบอุปถัมภ์กับการกระจายผลประโยชน์ในการพัฒนาชนบท: กรณีศึกษาหมู ่บ้านชายฝงทะเลภาค<br />

ั ่<br />

ตะวันออก. วิทยานิพนธ์สังคมศาสตร์มหาบัณฑิต คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

125


PLURALISM<br />

พหุนิยม<br />

ควำมหมำย<br />

พหุนิยม (Pluralism) เป็นหนึ ่งในบรรดาค าหลายๆ ค าที ่ถูกหยิบยกไปใช้อย่างกว้างขวางในแทบจะทุกสาขา แต่โดยรวม<br />

แล้วจะมีนัยหมายถึงชุดของแนวคิดที ่รับรู้ว่ามีความแตกต่างด้านแนวคิดอยู ่ในสังคม และสนับสนุนในความแตกต่างหลากหลายทาง<br />

แนวคิดเหล่านั้น รวมไปถึงต่อต้านการผูกขาดการตีความ หรือ การครอบง าโดยแนวคิดใดแนวคิดหนึ ่งเพียงแนวคิดเดียว เช่น พหุ<br />

วัฒนธรรม (cultural pluralism) นั้นสนับสนุนแนวคิดที ่ให้ความส าคัญกับความแตกต่างหลากหลายทางด้านวัฒนธรรม และไม่<br />

ยอมรับการครอบง าด้วยอิทธิพลของวัฒนธรรมใดวัฒนธรรมหนึ ่ง หรือ พหุนิยมเชิงญาณวิทยา (epistemological pluralism) ที ่มอง<br />

ว่าองค์ความรู้นั้นมีวิธีการอธิบาย และเข้าถึงตัวองค์ความรู้ได้หลากหลายวิธี โดยมิได้ถูกครอบง าด้วยวิธี และรูปแบบการอธิบาย<br />

ของส านักคิดใดส านักคิดหนึ ่งเพียงส านักเดียว (Kurian, 2011: 1213)<br />

อรรถำธิบำย<br />

อเล็กซิส เดอ ต๊อกเกอร์วิลล์ (Alexis de Tocqueville) ชาวฝรั่งเศสผู้ได้ไปศึกษาสังคมอเมริกัน และได้ถ่ายทอดเรื ่องราวที ่<br />

เขาประสบพบเจอลงในหนังสือ “ประชาธิปไตยในอเมริกา” (<strong>Democ</strong>racy in America) ที ่มีใจความตอนหนึ ่งอธิบายว่าสังคมอเมริกัน<br />

นั้นมีลักษณะเป็นสังคมที ่เต็มไปด้วยกลุ่มสมาคมทางการเมือง (political association) โดยทั่วไปในชีวิตประจ าวัน โดยสมาคม<br />

เหล่านี ้เกิดจากการรวมตัวกันของอเมริกันชนเพื ่อก่อให้เกิดพลังในการเคลื ่อนไหว หรือ ต่อสู้เพื ่อเรียกร้องบางสิ่งบางอย่างที ่เป็น<br />

เป้าหมายร่วมกัน (Tocqueville, 2002: 180-186) ซึ ่งจากค าอธิบายของต๊อกเกอวิลล์นั้น แม้เขาจะไม่ได้กล่าวออกมาตรงๆ แต่ดู<br />

เหมือนว่าต๊อกเกอวิลล์ก าลังจะบอกผู้อ่านว่าสังคมอเมริกัน (ขณะนั้น) มีลักษณะเป็นสังคมพหุนิยมทางการเมืองในความหมายที ่<br />

เราๆ ท่านๆ เข้าใจกันในปัจจุบันนั่นเอง โดยเฉพาะอย่างยิ่งหากเปรียบเทียบกับบทบาทของภาคประชาสังคมในโลกสมัยใหม่ที ่ได้<br />

เข้ามาเป็นพลังหลักที ่มีบทบาทในการผลักดันทางการเมืองแทนการก าหนดวาระเกี ่ยวกับนโยบายสาธารณะแทนที ่วิธีคิดแบบชนชั้น<br />

น าทางการเมืองที ่มีมาแต่เดิม<br />

Wolff)<br />

โดยค าว่าพหุนิยมในทางทฤษฎีการเมืองที ่เราเข้าใจกันในปัจจุบันนั้นถูกน ามาใช้ครั้งแรกโดย คริสเตียน โวล์ฟ (Christian<br />

ซึ ่งได้ถูกหยิบยืมไปใช้อธิบายสังคมอย่างกว้างขวางในช่วงต้นคริสต์ศตวรรษที ่ 20<br />

126<br />

โดยเฉพาะในประเทศอังกฤษ และ<br />

สหรัฐอเมริกา ซึ ่งในขณะนั้นเป็นประเทศที ่คุกกรุ่นไปด้วยบรรยากาศของการเดินขบวน และการประท้วงของสหภาพแรงงานต่างๆ<br />

เพื ่อต่อต้านนายทุนผูกขาดในประเทศอุตสาหกรรมขนาดใหญ่อย่างตลบอบอวล และท่ามกลางบริบททางสังคมการเมืองเช่นนี ้นี ่เอง<br />

ที ่ทฤษฎีกลุ่มผลประโยชน์ - กลุ่มผลักดัน (interest - pressure group theory) ได้ถูกพัฒนาขึ ้น และน ามาใช้อธิบายสังคม<br />

โดยเฉพาะสังคมอเมริกันอย่างชัดเจน และแพร่หลาย (Kurian, 2011: 1213; Badie, 2011: 1867 - 1868) โดยกลุ่มทางการเมือง<br />

เหล่านี ้จะได้ก้าวขึ ้นมามีอิทธิพล และอ านาจต่อรองที ่ทัดเทียมกันกับภาคธุรกิจ และภาคอุตสาหกรรมก็หลังจากที ่มีการประกาศ<br />

นโยบาย “นิว ดีล” (New Deal) ในช่วงทศวรรษ 1930 โดยประธานาธิบดีแฟรงกลิน ดี. รูสเวลท์ (Franklin D. Roosevelt) ซึ ่งการ<br />

ก้าวเข้ามามีบทบาทในด้านการเจรจาต่อรองกับรัฐในการก าหนดนโยบายสาธารณะของกลุ่มผลประโยชน์อันแตกต่างหลากหลายที ่<br />

แข่งขันกันในสังคมอเมริกันนี ่เองที ่เป็นหัวใจของแนวคิดพหุนิยมทางการเมืองที ่เกิดขึ ้นนับแต่นั้น


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ท่ามกลางกระแสธารของการพัฒนาประชาธิปไตยไทยในชั่วระยะเวลา 80 ปีที ่ผ่านมานับตั้งแต่มีการเปลี ่ยนแปลงการ<br />

ปกครองในปี พ.ศ. 2475 ที ่ยังผลให้ประเทศไทยปกครองโดยระบอบรัฐธรรมนูญ (โปรดดู Constitutionalism) และอ านาจสูงสุด<br />

ทางการเมือง หรือ อ านาจอธิปไตยก็มีที ่มาจากเบื ้องล่างคือประชาชน (โปรดดู Popular Sovereignty) แต่สิ่งต่างๆ เหล่านี ้ก็ดู<br />

เหมือนจะเป็นเพียงตัวอักษรที ่รจนาไว้ในรัฐธรรมนูญมากกว่าเป็นสิ่งที ่การเมืองไทยในโลกแห่งความเป็นจริงด าเนินไป นั่นก็เพราะ<br />

อ านาจทางการเมืองไทยนับแต่หลังการเปลี ่ยนแปลงการปกครองก็ยังคงวนเวียนอยู ่กับการต่อสู้ของบรรดาชนชั้นน าทางการเมือง<br />

ไม่กี ่กลุ่ม อาทิ กลุ่มคณะราษฎร กลุ่มอนุรักษ์นิยมเจ้า หรือ กลุ่มคณะทหาร เป็นต้น<br />

แม้ในช่วงทศวรรษ 1980 (พ.ศ. 2523 - 2533) ประเทศไทยจะเริ่มปรับตัวเข้าหากระแสทุนนิยมของค่ายโลกเสรีมากยิ่งขึ ้น<br />

ยังผลให้เกิดกลุ่มทุน กลุ่มธุรกิจต่างๆ ขึ ้นในสังคมไทยมากมาย แต่ด้วยโครงสร้างความสัมพันธ์ของคนในสังคมที ่ยังยึดติดอยู ่กับ<br />

ระบอบอุปถัมภ์ ตลอดจนนโยบายพัฒนาประเทศแบบเน้นการพัฒนาจากส่วนกลาง และการรวมศูนย์อ านาจตลอดจนความมั่งคั่งไว้<br />

ที ่กรุงเทพมหานครซึ ่งเป็นเมืองหลวงเป็นหลัก ประกอบกับการประสบวิกฤติเศรษฐกิจครั้งใหญ่ในปี พ.ศ. 2540 ก็ได้ท าให้กลุ่มทุน<br />

เพียงบางกลุ่มเท่านั้นที ่ถือโอกาสเติบโตขึ ้นบนซากปรักหักพังทางเศรษฐกิจของประเทศ และก้าวเข้ามามีอิทธิพลในทางการ<br />

เมืองไทยเป็นอย่างมากในแทบจะทุกยุคทุกสมัยหลังจากนั้นจนถึงปัจจุบัน เช่น การมีบทบาทในการส่งตัวแทนเข้าไปนั่งท างานใน<br />

ต าแหน่งส าคัญภายในคณะรัฐมนตรีหลายสมัยติดต่อกันของบริษัทยักษ์ใหญ่ทางด้านสินค้าเกษตรกรรมอย่างเครือเจริญโภคภัณฑ์<br />

หรือ ซีพี (CP) เป็นต้น (กลุ่มติดตามบทบาทบรรษัท, 2552: 26)<br />

ดังนั้น จะเห็นได้ว่าอ านาจทางการเมืองของไทยนั้น หากมองโดยผิวเผินก็อาจพบว่ามีการแข่งขันระหว่างกลุ่ม<br />

ผลประโยชน์ คือ กลุ่มธุรกิจต่างๆ ที ่มีตัวแทนอยู ่ในสภาหอการค้าไทย กล่าวคือ ดูเหมือนว่าจะมีภาพที ่เป็นพหุนิยมในทางการเมือง<br />

ระดับหนึ ่ง จากการที ่กลุ่มธุรกิจ และกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ ที ่อ้างว่าเป็นตัวแทนของผลประโยชน์ที ่หลากหลายในสังคมนั้นได้<br />

เติบโตขึ ้นในสังคมไทย จนสามารถเข้ามามีบทบาท และเป็นส่วนหนึ ่งของกระบวนการก าหนดนโยบายสาธารณะ แต่ทว่าหาก<br />

พิจารณาให้ลึกลงไปแล้วกลับพบว่าแท้จริงแล้ว ผู้ที ่มีอ านาจส าคัญในการผลักดันให้มีการออกนโยบายสาธารณะนั้นกลับถูกผูกขาด<br />

โดยกลุ่มคน หรือ กลุ่มบรรษัทเพียงไม่กี ่รายเท่านั้น ซึ ่งกลุ่มคนเหล่านี ้ก็ล้วนแล้วแต่มีเครือข่าย และอิงแอบกับชนชั้นน าทาง<br />

การเมืองในระบบการเมืองทั้งสิ ้น<br />

สภาพทางการเมืองดังกล่าวของไทยจึงคล้ายกับสิ่งที ่นักวิชาการตะวันตกอย่าง เอลเมอร์ เอริค แชทชไนเดอร์ (Elmer Eric<br />

Schattschneider) เรียกว่า “พหุนิยมชนชั้นน า” (elite pluralism) กล่าวคือ แชทชไนเดอร์พยายามเปรียบเปรยแนวคิดพหุนิยมว่ามี<br />

สภาพคล้ายคลึงกับวงดนตรีที ่แม้จะมีเครื ่องดนตรีหลากหลายชนิด แต่ก็ยังต้องอาศัยวาทยกร (conductor) หรือจ าเป็นต้องมีเครื ่อง<br />

ดนตรีน า (concertmaster) เสมอ ดังเช่นในกรณีของวงออร์เคสตรา (ซึ ่งส่วนมากจะเป็นไวโอลินตัวแรกที ่อยู ่ทางด้านซ้ายมือของ<br />

วาทยกร) เป็นต้น ด้วยเหตุนี ้แชทชไนเดอร์จึงได้พยายามน าเสนอแนวคิดที ่ผสมผสานกันระหว่างแนวคิดพหุนิยม และแนวคิดชน<br />

ชั้นน าทางการเมืองในการอธิบายปรากฏการณ์ทางการเมือง โดยเขามองว่าแม้นโยบายสาธารณะจะเป็นผลลัพธ์ที ่เกิดจากการ<br />

แข่งขันระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ต่างๆ แต่แท้ที ่จริงแล้วกลับแฝงไว้ด้วยวิธีคิดของชนชั้นน าที ่ยังคงมีอิทธิพลอยู ่ทั้งภายในกลุ่ม<br />

ผลประโยชน์เอง และระหว่างกลุ่มผลประโยชน์ด้วยกันที ่จะมีเพียงไม่กี ่กลุ่มเท่านั้นที ่จะสามารถมีอ านาจและอิทธิพลเพียงพอที ่จะ<br />

สามารถเจรจาต่อรองกับรัฐบาลเพื ่อให้ภาครัฐเปลี ่ยนแปลงการตัดสินใจเชิงนโยบายได้ (Schattschneider, 1975: XIX)<br />

127


ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

หนึ ่งในบรรดาข้อถกเถียงที ่ส าคัญที ่สุดประการหนึ ่งในวงการศึกษารัฐศาสตร์สมัยใหม่ก็คือ ข้อถกเถียงเกี ่ยวกับอ านาจทาง<br />

การเมืองระหว่างทฤษฎีพหุนิยม กับ ทฤษฎีชนชั้นน าทางการเมือง (elitism) เพราะในขณะที ่แนวคิดพหุนิยมนั้นมองว่าอ านาจ<br />

ทางการเมืองนั้น “กระจาย” ตัวไปตามกลุ่มผลประโยชน์ – กลุ่มผลักดันที ่แข่งขันกันในการเข้ามามีอิทธิพลต่อการออกนโยบาย<br />

สาธารณะของรัฐ (Dahl, 1971) ตรงกันข้าม แนวคิดชนชั้นน าทางการเมืองนั้นกลับมองอ านาจทางการเมืองว่า “กระจุก” ตัวอยู ่ที ่ชน<br />

ชั้นน าเพียงไม่กี ่คน หรือ ไม่กี ่รูปแบบ เช่น ทหาร นายทุน และนักการเมือง ซึ ่งบุคคลเหล่านี ้ล้วนแล้วแต่มีอิทธิพลในการกดปุ่ม<br />

บังคับบัญชาทุกสิ่งทุกอย่างในการออกนโยบายสาธารณะของรัฐ (Mills, 1960: 276) โดยแนวคิดสองแนวนี ้ยังคงเป็นแนวคิดหลัก ที ่<br />

ต่อสู้ และขับเคี ่ยวกันในเชิงความคิดเพื ่อช่วงชิงความสามารถในการอธิบายการเมือง และสังคม ของทั้งอเมริกัน และนานาประเทศ<br />

ทั่วโลก (รวมทั้งประเทศไทย) มาจนกระทั่งถึงปัจจุบัน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Civil Society’, ‘Constitutionalism’ และ ‘Popular Sovereignty’<br />

กลุ่มติดตามบทบาทบรรษัท (2552). ซีพีกับเกษตรกรรมไทย. นนทบุรี: มูลนิธิชีววิถี.<br />

Tocqueville, Alexis de (2000). <strong>Democ</strong>racy in America. Chicago: The University of Chicago Press.<br />

Badie, Bertr<strong>and</strong>, Dirk Berg-Schlosser, <strong>and</strong> Leonardo Morlino (2011). International encyclopedia of political science.<br />

Thous<strong>and</strong> Oaks, Calif. : SAGE Publications.<br />

Wright Mills, Charles (1960). The power elite. New York: Oxford University Press.<br />

Schattschneider, Elmer Eric (1975). The semisovereign people. Illinois: The Dryden Press.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Dahl, Robert (1971). Polyarchy participation <strong>and</strong> opposition. London: Yale University Press.<br />

128


POLITICAL ECONOMY<br />

เศรษฐกิจกำรเมือง<br />

ควำมหมำย<br />

เศรษฐกิจการเมือง (Political Economy) เป็นค าศัพท์ที ่ใช้ส าหรับการอธิบายปรากฏการณ์ต่างๆ ที ่เกิดขึ ้นในสังคมว่ามีผล<br />

มาจากความสัมพันธ์กันอย่างใกล้ชิดระหว่าง “เศรษฐกิจ” และ “การเมือง” หรือกล่าวได้ว่าการเปลี ่ยนแปลงในทางเศรษฐกิจย่อม<br />

ส่งผลกระทบกับการเมือง และการเปลี ่ยนแปลงทางการเมืองก็จะส่งผลต่อสภาวะทางเศรษฐกิจเช่นกัน เศรษฐกิจการเมืองจึงเป็นค า<br />

ที ่ใช้เรียกการมองสังคมในระดับกว้าง และไม่แยกส่วนระหว่าง “เศรษฐกิจ” กับ “การเมือง” เพราะทั้งสองเรื ่องเป็นสิ่งที ่ควบคู ่กันและ<br />

ส่งผลสะเทือนต่อกันตลอดเวลา (Kurian, 2011: 1245)<br />

อรรถำธิบำย<br />

การนิยามความหมายของค าว่าเศรษฐกิจการเมืองในลักษณะทั่วไปจะหมายถึงการศึกษาหรือพิจารณาระบบการผลิต การ<br />

ซื ้อขาย แลกเปลี ่ยน และการบริโภค ที ่เข้าไปมีความสัมพันธ์กับตัวบทกฎหมาย นโยบายสาธารณะ และการท างานของรัฐบาลและ<br />

พนักงานของรัฐ โดยการเกิดขึ ้นของเศรษฐกิจการเมืองมีจุดเริ่มต้นจากฐานทางปรัชญาเศรษฐศาสตร์ในศตวรรษที ่ 17 โดยนัก<br />

เศรษฐศาสตร์ชาวฝรั่งเศส อองตวน เดอ มองเครสเตียน (Antoine de Montchrestien1575-1621) ได้เริ่มใช้ค าว่าเศรษฐกิจ<br />

การเมืองในหนังสือชื ่อ “Traite’de l’economic politique” (ต าราว่าด้วยเศรษฐศาสตร์การเมือง) และค าดังกล่าวถูกน ามาใช้อีกครั้งใน<br />

ปลายศตวรรษที ่ 19 ในการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและการเมืองในงานของ จอห์น สจ๊วต มิลล์ (John Stuart Mill)<br />

และ คาร์ล มาร์กซ์ (Karl Marx) อย่างไรก็ดี งานทางวิชาการหลังจากนั้นเป็นต้นมาเริ่มมีการแบ่งแยกเฉพาะทาง ท าให้การศึกษา<br />

“เศรษฐกิจ” และ “การเมือง” ถูกท าให้แยกออกจากกันด้วยเหตุผลและวิธีการศึกษาที ่แตกต่างกัน แต่กระนั้นแล้วหลังสงครามโลก<br />

ครั้งที ่ 2 การศึกษา “เศรษฐกิจ” และ “การเมือง” ได้พยายามกลับเข้ามารวมกันอีกครั้งผ่านทฤษฏีท าให้เป็นสมัยใหม่<br />

(modernization theory) ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์เซียน (Keynesian Economy) ทฤษฏีเศรษฐศาสตร์แบบนีโอคลาสสิก<br />

(Neoclassical economy) และกลุ่มทฤษฏีหลังยุคพฤติกรรมศาสตร์ (post-behavioralism) อีกจ านวนมาก<br />

ส าหรับค าว่าเศรษฐกิจการเมืองในระดับสากลจะถูกใช้ในทางสาธารณะ เช่น ส านักข่าวส าคัญอย่าง The Economist เป็น<br />

ต้น เพื ่อกล่าวถึงปัญหา “เศรษฐกิจ” และ “การเมือง” ใน 2 ลักษณะส าคัญ คือ<br />

1) ปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจอันเนื ่องมาจากกลไกตลาดไม่ท างาน มีการผูกขาดทางธุรกิจเกิดขึ ้นเพราะนักธุรกิจเข้าไปมี<br />

อ านาจทางการเมืองเพื ่อออกกฎระเบียบให้สอดคล้องกับผลประโยชน์ของธุรกิจตัวเอง การมีข้อมูลที ่ไม่เท่าเทียมกัน<br />

และปัญหาการก าหนดนโยบายสาธารณะที ่เข้าไปแทรกแซงการท างานระหว่างเอกชน<br />

2) ปัญหาการเมืองอันเนื ่องมาจากความไร้เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ รัฐบาลที ่มีขนาดใหญ่โตมากเกินไปท าให้ใช้<br />

งบประมาณเกินตัว ไม่มีวินัยทางการคลัง และท าให้เกิดการคอร์รัปชั่นเอื ้อประโยชน์ให้กับพวกพ้องซึ ่งเป็นกลุ่มธุรกิจ<br />

ต่างๆ รวมไปถึงปัญหาทางการเมืองที ่มีฐานมาจากปัญหาปากท้อง ค่าเงิน ราคาน ้ามัน และทองที ่ส่งผลต่อเสถียรภาพ<br />

ของรัฐบาล<br />

129


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย ค าว่า Political Economy มีการถกเถียงกันว่าควรจะแปลเป็น “เศรษฐศาสตร์การเมือง” หรือ “เศรษฐกิจ<br />

การเมือง” โดยค าว่าเศรษฐศาสตร์การเมืองจะมีความหมายในแง่ของการศึกษาผ่านกรอบของวิชาเศรษฐศาสตร์ที ่ส่งผลกระทบกับ<br />

การเปลี ่ยนแปลงทางการเมือง แต่ค าว่าเศรษฐกิจการเมืองจะเน้นในเรื ่องของความสัมพันธ์ระหว่างระบบเศรษฐกิจและระบบ<br />

การเมือง โดยอนุสรณ์ ลิ่มมณี (2550: 23) ได้ให้ความหมายของเศรษฐกิจการเมืองไว้อย่างกว้างๆ ว่าคือการศึกษาถึงความสัมพันธ์<br />

ต่อกันระหว่างการเมืองกับเศรษฐกิจ ในฐานะที ่เป็นกิจกรรมส่วนหนึ ่งของสังคม ทั้งนี ้ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาถึงอิทธิพลของปัจจัยทาง<br />

การเมืองที ่มีต่อเศรษฐกิจ หรือผลกระทบของปัจจัยทางเศรษฐกิจที ่มีต่อการเมือง หรืออิทธิพลของทั้งสองด้านที ่มีต่อเศรษฐกิจและ<br />

การเมือง หรือด้านใดด้านหนึ ่ง นอกจากนี ้อาจครอบคลุมถึงผลกระทบของเศรษฐกิจและการเมืองที ่มีต่อสังคม และในบางกรณี<br />

ปัจจัยทางสังคมอาจถูกน ามาพิจารณาร่วมกับเศรษฐกิจและการเมืองด้วยก็ได้<br />

อย่างไรก็ดี ในด้านการรับรู้ของสังคมไทยค าว่า “เศรษฐกิจ” และ “การเมือง” ยังคงถูกแยกออกจากกันไว้ว่าจะเป็นในทาง<br />

วิชาการหรือในการปฏิบัติจริง ซึ ่งเป็นผลมาจากความคิดในสังคมไทยที ่มองว่า “การเมืองสกปรก” ท าให้นักธุรกิจหรือผู้ประกอบการ<br />

มักกล่าวอ้างตัวเองว่าไม่ยุ่งเกี ่ยวกับการเมือง ทั้งๆ ที ่ความเป็นจริงแล้วต่างได้รับผลประโยชน์หรือผลกระทบจากการเมืองทั้งสิ ้น<br />

หรืออีกทางหนึ ่งนักการเมืองก็มักกล่าวว่าตนเองไม่มีผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ เพราะความคิดของสังคมไทยที ่ต้องการ<br />

“นักการเมืองสะอาด” ซึ ่งในความเป็นจริง การเป็นนักการเมืองย่อมมีฐานทางเศรษฐกิจที ่สูงกว่าคนทั่วไป และการเข้ามาเล่น<br />

การเมืองเป็นเพียงอีกช่องทางหนึ ่งในการแสวงหาผลก าไรทางเศรษฐกิจ ไม่ได้ท าเพื ่อผลประโยชน์ของสังคมโดยไม่สนใจ<br />

ผลประโยชน์ตัวเอง<br />

ดังนั้น สังคมไทยจึงจ าเป็นต้องกลับมามองโลกแห่งความเป็นจริงทางเศรษฐกิจการเมือง และหยุดหลอกตัวเองด้วย<br />

ความคิดคับแคบที ่ว่า “การเมืองสกปรก” หรือความคิดสวยหรูที ่ว่า “นักการเมืองสะอาด ท าเพื ่อผลประโยชน์สาธารณะ” ซึ ่งส่งผลให้<br />

เศรษฐกิจกับการเมืองถูกท าให้แยกออกจากกัน โดยโลกแห่งความจริงจะต้องมองความสัมพันธ์ระหว่างเศรษฐกิจและการเมืองอยู ่<br />

ใกล้ชิดกันอย่างแยกไม่ออก และเมื ่อเข้าใจความเป็นจริงเกี ่ยวกับเศรษฐกิจการเมืองแล้ว ประชาชนก็จะสามารถเข้าใจนักธุรกิจและ<br />

นักการเมือง หรือการประกอบการทางเศรษฐกิจและการท างานของภาครัฐ เพื ่อประชาชนจะสามารถสร้างกลไกในการควบคุม<br />

ตรวจสอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจการเมืองที ่มีอยู ่ในสังคมได้ และเพื ่อป้องกันวิกฤติทั้งในด้านปัญหาทางเศรษฐกิจและเสถียรภาพ<br />

ทางการเมือง<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ปรีชา เปี ่ยมพงศ์สานต์ (2524). “ปรัชญาและวิธีการวิเคราะห์ของเศรษฐศาสตร์การเมือง”. ใน จากเศรษฐศาสตร์การเมืองถึง<br />

สังคมไทย. กรุงเทพ: ส านักพิมพ์วลี.<br />

อนุสรณ์ ลิ่มมณี (2550). ทฤษฏีเศรษฐกิจการเมืองยุคป ัจจุบัน. กรุงเทพฯ: ส านักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามค าแหง.<br />

Keech, William R. <strong>and</strong> Michael C. Munger (2011). “Political Economy”. In George Thomas Kurian et al. The<br />

Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

130


PUBLIC SPHERE<br />

ปริมณฑลสำธำรณะ<br />

ควำมหมำย<br />

ปริมณฑลสาธารณะ (Public Sphere) หมายถึง พื ้นที ่ที ่บุคคลตั้งแต่สองคนขึ ้นไปพบปะพูดคุยกันในประเด็นเรื ่องราวที ่<br />

เกี ่ยวข้องกับสาธารณะ หรือ ประเด็นสาธารณะ (Habermas, 1989)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดเรื ่องปริมณฑลสาธารณะนี ้เริ่มต้นจากงานเขียนของเจอเกน ฮาเบอร์มาส (Jürgen Habermas) ในหนังสือเรื ่อง<br />

การเปลี ่ยนแปลงของพื ้นที ่สาธารณะ (the transformation of public sphere) โดยฮาเบอร์มาสได้อธิบายปริมณฑลสาธารณะว่า<br />

“อาณาเขตของชีวิตทางสังคมของเราที่สิ่งซึ่งเรียกว่า “ความคิดเห็นสาธารณะ” สามารถถูกสร้าง<br />

ขึ ้นได้ และการเข้าถึงปริมณฑลสาธารณะนั้นจะต้องเป็นระบบ และหลักการที่เปิดกว้างให้แก่พลเมือง<br />

ทุกๆ คนได้มีส่วนร่วม” (วราภรณ์ วนาพิทักษ์, 2554)<br />

กล่าวคือปริมณฑลสาธารณะเป็นสถานที ่ซึ ่งปัจเจกบุคคล (private person) มารวมตัวกัน เพื ่อสนทนาแลกเปลี ่ยนกันอย่าง<br />

เสรีในประเด็นที ่มีความสนใจใคร่รู้ร่วมกัน หรือ อีกนัยหนึ ่งก็คือ ประเด็นสาธารณะ เพื ่อที่จะน าไปสู่สิ่งที่เรียกว่า "ความคิดเห็น<br />

สาธารณะ" (public opinion) โดยฮาเบอร์มาสได้ตั้งต้นจากภาพของสังคมในสมัยคริสต์ศตวรรษที ่ 18 ที ่เริ่มมีการก่อตัวของชนชั้น<br />

กลางที ่สถาปนาอ านาจน าขึ ้นมาในสังคม แทนที ่ชนชั้นในระบอบการปกครองเดิม (the rising of middle class) และสิ่งที ่เกิดขึ ้น<br />

ตามมาหลังจากที ่พวกเขาเข้ามามีบทบาท และอิทธิพลทางการเมืองก็คือ การเริ่มสนทนาในประเด็นเกี ่ยวกับชีวิตความเป็นอยู ่ของ<br />

พวกเขา ไปจนกระทั่งถึงเรื ่องราวที ่เกี ่ยวข้องกับการปกครอง และนโยบายสาธารณะของรัฐ โดยสถานที ่ที ่พวกเขาจับกลุ่มพูดคุยกัน<br />

ก็คือ สโมสร สมาคม หรือ ซาลอง (salon) ในฝรั่งเศส หรือ พับลิคเฮาส์ (public-house) ในอังกฤษ (ที ่รู้จักกันในปัจจุบันภายใต้ชื ่อ<br />

"ผับ") เป็นต้น โดยปริมณฑลเหล่านี ้สามารถปรากฏขึ ้นให้เห็นได้ในทุกๆ ที ่ของสังคมซึ ่งท าให้ปริมณฑลสาธารณะนี ้มีความแตกต่าง<br />

จากตลาดกลางเมือง (agora) ในสมัยกรีกโบราณที ่ถูกจ ากัด และท าให้แคบอยู ่เพียงแค่บริเวณของตลาดที ่ผู้คนสามารถมาพบปะ<br />

เพื ่อพูดคุยแลกเปลี ่ยนได้เท่านั้น<br />

แนวคิดเกี ่ยวกับเรื ่องปริมณฑลสาธารณะนั้นได้ถูกน ามาใช้ให้เกิดประโยชน์ในทางการเมืองในเวลาต่อมา เพราะปริมณฑล<br />

สาธารณะนั้นได้เปิดโอกาสให้พลเมืองภายในรัฐนั้นได้มีโอกาสเข้ามามีส่วนร่วมในการอภิปรายนโยบายสาธารณะ และการ<br />

จัดการปกครองของรัฐบาลมากกว่าเดิมจากการขยายขอบเขตของพื ้นที ่ๆ กลายเป็นสาธารณะจากเดิมที ่กระจุกตัวอยู ่เพียงแค่<br />

ภายในสถาบันทางการเมืองที ่เป็นทางการของกลไกอ านาจรัฐ มาเป็นพื ้นที ่นอกสถาบันทางการเมืองที ่เป็นทางการซึ ่งมีความ<br />

หลากหลาย และกระจายไปตามส่วนต่างๆ ของสังคมอย่างที ่ไม่เคยปรากฏขึ ้นมาก่อน ซึ ่งท้ายที ่สุดได้น าไปสู ่จุดก าเนิดของสิ่งที ่เรา<br />

รู้จักกันในนามของภาคประชาสังคม (โปรดดู Civil Society)<br />

ปริมณฑลสาธารณะจึงได้กลายเป็นพื ้นที ่ที ่เปิดกว้างให้แก่สมาชิกทุกๆ คนในสังคมได้มีส่วนร่วม เพื ่อเข้ามาร่วมกันสร้าง<br />

“ความคิดเห็นสาธารณะ” ทางการเมืองซึ ่งส่งผลกระทบต่อชีวิตของพวกเขานั่นเอง<br />

131


การเปิดพื ้นที ่ทางการเมืองด้วยปริมณฑลสาธารณะที ่ขยายตัวออกไปอยู ่นอกสถาบันทางการเมืองที ่เป็นทางการนั้นได้<br />

ส่งผลส าคัญอีกประการหนึ ่งต่อความสัมพันธ์ระหว่างรัฐ และสังคม โดยจากเดิมเมื ่อครั้งที ่รัฐสมัยใหม่ได้ถูกสถาปนาขึ ้นในสังคมนั้น<br />

รัฐได้ลอยตัวขึ ้นอยู ่เหนือสังคมเพื ่อควบคุม และธ ารงไว้ซึ ่งความสงบร่มเย็นของภาคส่วนสังคมจนเมื ่อผ่านไปนานเข้ารัฐจึงได้<br />

สถาปนาอ านาจน า (hegemony) ขึ ้นอยู ่เหนือสังคมตามความเข้าใจของผู้คนไปโดยปริยาย ดังนั้น ปริมณฑลสาธารณะจึงเข้ามามี<br />

บทบาทในการสร้างบทบาทให้แก่ภาคส่วนสังคมให้สามารถถ่วงดุลกับภาครัฐได้จากการท าหน้าที ่ควบคุมตรวจสอบการใช้อ านาจ<br />

ของรัฐด้วยการวิพากษ์วิจารณ์ของประชาชนโดยทั่วไปภายในปริมณฑลสาธารณะ แต่ทว่าการพูดคุยแลกเปลี ่ยนพื ้นที ่สาธารณะนั้น<br />

จะต้องเป็นการสนทนาพูดคุยที ่เกิดขึ ้นโดยปราศจากการบังคับ หรือ การใช้ก าลังเข้าข่มขู ่ชักจูง ดังที ่ฮาเบอร์มาสได้กล่าวว่า<br />

"ค าว่า “ความคิดเห็นสาธารณะ” นั้นมีนัยหมายถึงการวิพากษ์วิจารณ์ และการควบคุมตรวจสอบ<br />

อ านาจรัฐ... (และ) ส่วนปริมณฑลสาธารณะก็คือการสนทนาพูดคุยในทุกๆ เรื่องที่พลเมืองกระท าในพื ้นที่<br />

สาธารณะ โดยที่เมื่อพวกเขาพูดถึงประเด็นที่เป็นผลประโยชน์ส่วนรวมโดยปราศจากซึ่งการควบคุม<br />

หรือ บังคับขู ่เข็ญ” (วราภรณ์, 2554)<br />

จากลักษณะของปริมณฑลสาธารณะในข้างต้นจะท าให้เราเห็นได้ว่า พลังของปริมณฑลสาธารณะ (ตามความคิดของฮา<br />

เบอร์มาส) นั้นจะมีความส าคัญ และสามารถท างานได้อย่างมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื ่อเกิดขึ ้นภายใต้การปกครองในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยที ่มีการสมาทานกระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือมาใช้ร่วมกันกับระบบตัวแทน (โปรดดู Deliberative<br />

<strong>Democ</strong>racy) ดังที ่ฮาเบอร์มาสได้ตั้งข้อสังเกตไว้อย่างแหลมคมว่า<br />

“เมื่อเรากล่าวถึงปริมณฑลสาธารณะในทางการเมืองนั้นเมื่อการสนทนาในที่สาธารณะนั้นสนใจ<br />

ในเป้าหมายที่เกี่ยวข้องกับการกระท าของรัฐ การใช้อ านาจบังคับขู ่เข็ญจากรัฐแม้จะเป็นของที่อยู ่คู ่กัน<br />

เสมอ แต่กลับไม่เคยเป็นส่วนหนึ่งของปริมณฑลสาธารณะ” (วราภรณ์, 2554)<br />

จากข้อสังเกตข้างต้นของฮาเบอร์มาส อ านาจรัฐนั้นจะสามารถกลายมาเป็นพื ้นที ่สาธารณะได้ก็ต่อเมื ่อนโยบายสาธารณะที ่<br />

ด าเนินโดยรัฐนั้นเกิดขึ ้นโดยมีจุดมุ่งหมายเพื ่อประโยชน์สุขของส่วนรวม และอยู ่ภายใต้กระบวนการควบคุมตรวจสอบของประชาชน<br />

ในปริมณฑลสาธารณะผ่านกระบวนการประชาธิปไตยแบบปรึกษาหารือนั่นเอง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับในประเทศไทย ผลกระทบจากความคิดเห็นสาธารณะที ่เกิดขึ ้นอย่างกว้างขวางในระยะหลายปีที ่ผ่านมา เนื ่องจาก<br />

การเติบโตของสื ่อในรูปแบบต่างๆ ไม่ว่าจะเป็นรายการจ านวนมากในฟรีทีวี เคเบิลทีวี วิทยุชุมชน สื ่อสิ่งพิมพ์ต่างๆ และโดยเฉพาะ<br />

ในเครือข่ายสังคมภายในโลกไซเบอร์ เช่น เว็บไซต์พันทิป และอื ่นๆ ได้ส่งผลต่อการใช้พื ้นที ่สาธารณะและการแสดงความคิดเห็นใน<br />

แง่มุมต่างๆ ต่อปัจเจกและกลุ่มคนที ่ถูกมองว่าเป็นบุคคลสาธารณะ เช่น นักแสดง นักการเมือง หรือแม้แต่นักวิชาการ ทั้งในด้าน<br />

บวกและลบ รวมตลอดถึงการที ่บุคคลเหล่านี ้ใช้พื ้นที ่สาธารณะรูปแบบใหม่เพื ่อส่งเสริมภาพลักษณ์ชื ่อเสียง ผลงาน และความนิยม<br />

ของตนเอง<br />

132


การใช้พื ้นที ่สาธารณะแสดงความคิดเห็นอย่างกว้างขวางรวดเร็วในสังคมไทยส่งผลกระทบต่อการออกนโยบายสาธารณะ<br />

ที ่ส าคัญๆ ในหลายๆ ครั้ง ยกตัวอย่างเช่น กรณีที ่ผู้น าทางการเมืองทั้งจากฝ่ายค้าน และฝ่ายรัฐบาลนั้นมาแสดงความคิดเห็นทั้งใน<br />

เรื ่องส่วนบุคคล และเรื ่องที ่เป็นประเด็นสาธารณะในปริมณฑลสาธารณะภายในโลกไซเบอร์นั้นได้ส่งผลผูกมัดให้บุคคลเหล่านี ้ต้องมี<br />

ความรับผิดชอบ และรอบคอบในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองมากยิ่งขึ ้น เพราะความคิดเห็นของพวกเขาสามารถ<br />

แพร่กระจาย และส่งต่อไปยังบุคคลต่างๆ ภายใต้เครือข่ายสังคมอย่างไร้ขอบเขต โดยปราศจากข้อจ ากัดของทั้งมิติด้านพื ้นที ่<br />

และกาลเวลา เป็นต้น<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ปริมณฑลสาธารณะในงานของฮาเบอร์มาสนั้นได้ถูกสร้างขึ ้นในช่วงทศวรรษ 1990 ซึ ่งเป็นช่วงที ่เครือข่ายการสื ่อสารไร้<br />

สาย หรือ อินเตอร์เน็ตนั้นเพิ่งถูกน ามาใช้ประโยชน์ในทางสาธารณะเป็นช่วงแรกๆ เพราะการเปลี ่ยนแปลงในทางเทคโนโลยี<br />

สารสนเทศ และการสื ่อสารนี ้จะส่งผลกระทบโดยตรงต่อพื ้นที ่สาธารณะให้กลายเป็นพื ้นที ่ๆ ไร้พรมแดน และไม่จ ากัดขนาดภายใต้<br />

สังคมในยุคโลกาภิวัตน์ (globalization) โดยเฉพาะอย่างยิ่งกระแสของเครือข่ายสังคม (social network) ที ่เกิดขึ ้นในช่วงปลาย<br />

ทศวรรษ 2000 ซึ ่งเป็นพื ้นที ่ชนิดใหม่ที ่สามารถก้าวข้ามกาลเวลา และสถานที ่ ยังผลให้การปฏิสัมพันธ์ของผู้คนนั้นสามารถเกิดขึ ้น<br />

ได้แม้กระทั่งในระดับโลก (global) ได้อย่างสะดวก รวดเร็ว และเป็นจ านวนมากได้อย่างที ่มิเคยปรากฏขึ ้นมาก่อน สิ่งเหล่านี ้นี ่เอง<br />

ที ่น าไปสู ่ปรากฏการณ์ที ่ปัจเจกบุคคลสามารถติดต่อสื ่อสารในระดับ “มวลชน” กับพลเมืองคนอื ่นๆ ในโลกได้ในคราวเดียว<br />

โดยผลกระทบจากปริมณฑลสาธารณะในโลกไซเบอร์ได้แสดงให้เห็นถึงอิทธิพล และพลังของความเห็นสาธารณะที ่เกิดขึ ้น<br />

ภายในปริมณฑลดังกล่าวที ่มีต่อการออกนโยบายสาธารณะของรัฐบาล หรือ การด าเนินการของส่วนราชการ และภาครัฐอย่าง<br />

ชัดเจน ดังจะเห็นตัวอย่างได้จากกรณีที ่มีการบุกรุก และเผาท าลายสถานเอกอัครราชทูตสหรัฐอเมริกาในหลายประเทศในโลกมุสลิม<br />

เช่น อียิปต์ ลิเบีย เป็นต้น ซึ ่งเป็นเหตุการณ์ที ่เกิดขึ ้นหลังจากที ่ชาวมุสลิมเกิดความไม่พอใจต่อคลิปวิดีโอภาพยนตร์เรื ่อง "the<br />

innocence of Muslims" ที ่มีการอัพโหลดกันอย่างแพร่หลายภายในเว็บไซต์ยูทูป (youtube) โดยที ่ภาพยนตร์ดังกล่าวนั้นมีการ<br />

สอดแทรกเนื ้อหาที ่เป็นการลบหลู ่ดูหมิ่นศาสดามูฮะหมัดของชาวมุสลิม อันน าไปสู ่ความไม่พอใจและปรากฏการณ์ความรุนแรงทาง<br />

การเมืองที ่เกิดขึ ้นดังกล่าว หรืออิทธิพลของการใช้ทวิตเตอร์ (Twitter) ที ่มีต่อปรากฏการณ์อาหรับสปริง (Arab Spring)<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Civil Society’ และ ‘Deliberative <strong>Democ</strong>racy’<br />

Castell, Manuel (2009). Communication Power. Oxford: Oxford University Press.<br />

Habermas, Jürgen (1989). In Thomas Burger (Trans). The Structural Transformation of the Public Sphere: An Inquiry into<br />

a Category of Bourgeois Society. Cambridge: MIT Press.<br />

จุฬาวิทยานุกรม. “สาธารณะ”. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.chulapedia.<br />

chula.ac.th/index.php/%E0%B8%AA%E0%B8%B2%E0%B8%98%E0%<br />

B8%B2%E0%B8%A3%E0%B8%93%E0%B8%B0.<br />

133


ฉันทัส เพียรธรรม (2542). สถาปนาสถาบันเมือง : เมือง การเมือง ชุมชน และประชาสังคม. กรุงเทพฯ : สถาบันการพัฒนาพื ้นฐาน.<br />

วราภรณ์ วนาพิทักษ์ (2554). “ทฤษฎีวิพากษ์ของเจอร์เกน ฮาเบอร์มาส : พื ้นที ่สาธารณะทาง<br />

การเมือง และเสรีภาพในการแสดงออกบนอินเทอร์เน็ต”. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555ใน<br />

http://www.oknation.net/blog/print.php?id=728311.<br />

สมเกียรติ ตั้งนโม (2549). “ฮาเบอร์มาส: พื ้นที ่สาธารณะที ่ถูกรัฐและทุนนิยมปล้นเอาไป”. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://61.47.2.69/~midnight/midnight2544/0009999927.html.<br />

134


RECONCILIATION<br />

กำรปรองดอง<br />

ควำมหมำย<br />

การปรองดอง (Reconciliation) หมายถึง การจัดการความขัดแย้งระหว่างกลุ่มต่างๆ ในสังคมที ่เคยแตกแยก ต่อสู้ และ<br />

ปะทะกัน ทั้งในระดับความคิดและในระดับการใช้ความรุนแรงทางกายภาพ ในการตกลงเพื ่อเข้าสู ่การเจรจาสันติภาพ (peace talk)<br />

ระหว่างกลุ่มต่างๆ โดยไม่ใช้ความรุนแรง และท าการสร้างองค์กรหรือสถาบันที ่เป็นประชาธิปไตยในการเข้ามาช่วยปรองดองและ<br />

ต่อรองอ านาจระหว่างกลุ่มต่างๆ ในที ่นี ้อาจจะรวมถึงการใช้มาตรการออกกฎหมายนิรโทษกรรม (โปรดดู Amnesty) เพื ่อเป็น<br />

เครื ่องมือเยียวยาความเสียหายโดยเริ่มจากการแสวงหาความจริงในอดีต สาเหตุความไม่เป็นธรรมในสังคม การช่วยเหลือเยียวยาผู้<br />

ได้รับความเดือดร้อนจากความขัดแย้ง การแสวงหาข้อเท็จจริงของความคิดแต่ไม่หาคนผิด และการจัดสรรอ านาจใหม่ระหว่างกลุ่ม<br />

ต่างๆ ในสังคมให้สามารถอยู ่ร่วมกันได้ แต่ควรระลึกด้วยว่า การใช้กฎหมายนิรโทษกรรมแต่เพียงอย่างเดียว ไม่สามารถน าไปสู ่<br />

การปรองดองอย่างแท้จริงได้ การปรองดองจะเกิดขึ ้นได้ก็ต่อเมื ่อต้นตอของความขัดแย้งในสังคมได้รับการแก้ไข การจะเริ่มแก้ไขได้<br />

ก็โดยการพิสูจน์ทราบ บันทึก และชี ้แจงข้อเท็จจริงในเหตุการณ์ที ่เกิดขึ ้น เพราะสังคมมีสิทธิในการเข้าถึงความจริง การรับทราบ<br />

ความจริงจึงจะน ามาสู ่ความเข้าใจ การให้อภัย และเมื ่อนั้นการปรองดองจึงจะเกิดขึ ้นได้ (Murphy, 2010: 1-37)<br />

อรรถำธิบำย<br />

สถาบันส่งเสริมประชาธิปไตยและการเลือกตั้งสากล (International Institute for <strong>Democ</strong>racy <strong>and</strong> Electoral Assistance:<br />

IDEA) ได้กล่าวถึงกระบวนการการปรองดองใน 3 ขั้นตอนไว้ดังนี ้<br />

1) การตกลงที ่จะอยู ่ร่วมกันโดยไม่ใช้ความรุนแรง เพื ่อหยุดยั้งการมีชีวิตอยู ่ภายใต้ความกลัว<br />

2) เมื ่อความกลัวหมดไป ให้ท าการสร้างความเชื ่อมั่นและความเชื ่อใจ (confidence <strong>and</strong> trust)<br />

3) การสร้างสังคมที ่เข้าใจความรู้สึกของผู้อื ่น (empathy)<br />

อย่างไรก็ดี ในทางปฏิบัติจะพบว่าไม่มีการปรองดองในที ่ใดไม่เกี ่ยวกับ “การเมือง” และแทบจะไม่มีการปรองดองในที ่ใด<br />

ไม่มีผลประโยชน์ทาง “เศรษฐกิจ” ตัวอย่างเช่นในประเทศแอฟริกาใต้ที ่เคยเกิดสงครามกลางเมืองและการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ ได้ท า<br />

การสร้างกระบวนการปรองดอง การเลือกตั้งที ่ได้เนลสัน แมนเดลาขึ ้นมาเป็นประธานาธิบดี แม้จะได้คะแนนเสียงจากคนด าอย่างท่วม<br />

ท้น แต่เนลสัน แมนเดลาถือว่าตนเป็นประธานาธิบดีของคนแอฟริกาใต้ทั้งประเทศ ไม่ว่าคนด าหรือคนขาว ความปรองดองของคน<br />

ในชาติถือเป็นสิ่งส าคัญท าให้เนลสัน แมนเดลาเลือกอดีตประธานาธิบดีเดอเคลิร์กซึ ่งเป็นคนขาว มาเป็นรองประธานาธิบดีในคณะ<br />

รัฐบาลแห่งชาติ เพื ่อเปิดกระบวนการปรองดอง การสืบค้นหาความจริง การเยียวยา การนิรโทษกรรม และการเจรจากับกลุ่มต่างๆ<br />

อีกหลายครั้ง การสร้างกระบวนการปรองดองจึงต้องใช้เวลานานและความอดทนต่อความคิดเห็นที ่แตกต่างอย่างมาก (Whittaker,<br />

1999: 28-29)<br />

135


นอกจากนี ้ยังมีตัวอย่างในประเทศพม่า การพัฒนาเขตเศรษฐกิจและท่าเรือน ้าลึกทวายในช่วงปี 2008 เป็นต้นมา ได้มีการ<br />

พัฒนาเศรษฐกิจท าให้ผลประโยชน์จ านวนมหาศาลเข้าสู ่ประเทศ ความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลทหารพม่ากับชนกลุ่มน้อยจึงเบาบาง<br />

ลง เพราะถนนในการเข้าถึงพื ้นที ่ทวายจ าเป็นต้องตัดผ่านเขตการปกครองของชนกลุ่มน้อย ท าให้รัฐบาลเปิดกระบวนการเจรจา<br />

สันติภาพกับชนกลุ่มน้อยต่างๆ เพื ่อเก็บเกี ่ยวผลประโยชน์ร่วมกันทางเศรษฐกิจ<br />

จะเห็นได้ว่ากระบวนการสร้างความปรองดองนั้นวางอยู ่บนกรอบความคิดทางการเมืองพื ้นฐานสามประการ ประการแรก<br />

คือการยึดหลักนิติธรรม (rule of law) (ดู Rule of Law) เพราะแม้กระบวนการปรองดองจะพยายามไกล่เกลี ่ย และมีการรอมชอม<br />

ระหว่างคู ่ขัดแย้ง แต่ความจริงทางการเมือง และความถูก-ผิด ภายใต้กรอบของกฎหมายก็ยังคงต้องด ารงอยู ่ และมีการตัดสินไป<br />

ตามกระบวนการปกติเพื ่อก่อให้เกิดความเป็นธรรม แต่ความเป็นธรรมที ่ว่านี ้ ตั้งอยู ่ภายใต้แนวคิดความยุติธรรมในช่วงเปลี ่ยนผ่าน<br />

(ดู Transitional Justice) ประการที ่สองคือ การสร้างความไว้วางใจทางการเมือง (political trust) ระหว่างคู ่ขัดแย้ง และประการ<br />

สุดท้ายก็คือ การสร้างศักยภาพ (capability) ให้แก่สถาบันทางการเมืองทั้งที ่เป็นทางการ และไม่เป็นทางการเพื ่อก่อร่างสร้าง<br />

ความสัมพันธ์ทางการเมืองที ่ดีระหว่างคู ่ขัดแย้ง (Murphy, 2010: 41, 71, 94)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับงานศึกษาของไทย พบงานของสถาบันพระปกเกล้า (2555: 18) ได้ให้ความหมายของการปรองดองไว้ว่า การ<br />

ปรองดองได้แก่กระบวนการต่างๆ ที ่ป้องกันแก้ไขไม่ให้ความขัดแย้งเกิดขึ ้นมาใหม่อีกครั้ง โดยการสร้างสันติภาพ หยุดยั้งวงจร<br />

ความรุนแรง และสร้างสถาบันที ่เป็นประชาธิปไตยให้กลับคืนมาอีกครั้งหนึ ่ง แต่ในส่วนของแนวทางการปฏิบัตินั้นเป็ นที่ยอมรับ<br />

ว่าอาจไม่ง่ายนักที ่จะสามารถท าตามแนวคิดทฤษฎีของการปรองดอง เนื ่องจากกระบวนการปรองดองไม่สามารถแยกออกจาก<br />

สังคมที ่มีปัญหาความขัดแย้งและความหวาดกลัวอย่างรุนแรงได้ การปรองดองเป็นกระบวนการที ่ยากล าบาก ยาวนาน คาดเดาได้<br />

ยากและเกี ่ยวข้องกับการวางแผน ขั้นตอนและวิธีการต่างๆ ที ่เหมาะสม และต้องท าอย่างต่อเนื ่อง เกี ่ยวข้องกับการเปลี ่ยนแปลง<br />

ทัศนคติ เช่น การมีสันติธรรมแทนที ่จะแก้แค้น การจัดการความทรงจ าร่วมกัน และสร้างการอธิบายจากมุมมองต่างๆ ของความ<br />

ขัดแย้งอย่างเท่าเทียมกัน<br />

ในทางปฏิบัติ สังคมไทยหลังปี พ.ศ. 2548 เป็นต้นมา เป็นสังคมที ่มีความแตกแยกกันอย่างมาก ทั้งความแตกแยก<br />

ทางการเมือง (ระหว่างกลุ่มสีเสื ้อต่างๆ) ความแตกแยกทางเศรษฐกิจ (ความแตกต่างระหว่างชนชั้น ความไม่เป็นธรรมในการแบ่ง<br />

บันทรัพยากร) และความแตกแยกทางสังคม (การไม่ได้รับความยุติธรรม หรือ ถูกปฏิบัติแบบ “สองมาตรฐาน”) น ามาสู ่การจัดการ<br />

ปัญหาด้วยการตั้งคณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื ่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) สมัชชาปฏิรูปประเทศ และ<br />

คณะกรรมการปฏิรูปประเทศไทย ในการสร้างความปรองดองในชาติ<br />

การสืบค้นหาความจริงของ “คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื ่อการปรองดองแห่งชาติ” ที ่ได้ออกผล<br />

การศึกษาในช่วงปลายปี พ.ศ. 2555 และรายงานที ่จัดท าโดยคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ (กสม.) ถึงผลการตรวจสอบ<br />

กรณีเหตุการณ์การชุมนุมของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ (นปช. หรือกลุ่มคนเสื ้อแดง) ระหว่างวันที ่ 12<br />

มีนาคม พ.ศ. 2553-19 พฤษภาคม พ.ศ. 2553 น ามาสู ่ข้อถกเถียงและการตั้งค าถามอย่างกว้างขวางต่อเนื ้อหาและข้อสรุป ความ<br />

พยายามสร้างความปรองดองที ่ผ่านมาของสังคมไทยสะท้อนว่า กระบวนการปรองดองเป็นเรื ่องละเอียดอ่อน ต้องอาศัยการถกเถียง<br />

136


อย่างสร้างสรรค์ ต้องอดทนต่อข้อมูลและการแสดงความคิดเห็นที ่แตกต่าง จริงใจและเปิดใจยอมรับฟังเสียงจากผู้เห็นต่างให้มาก<br />

กว่าเดิม ทั้งนี ้เป้าหมายคือการสร้างความไว้วางใจระหว่างคนในสังคม<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในการน าหลักการและกระบวนการปรองดองมาใช้ในสังคมไทย ต้องไม่ลืมว่าการปรองดองมีความสัมพันธ์กับระบบ<br />

การเมือง โครงสร้างทางเศรษฐกิจ และสังคมวัฒนธรรมอย่างใกล้ชิด ไม่มีกระบวนการปรองดองใดที ่แยกตัวออกจากเศรษฐกิจและ<br />

การเมือง และต้องค านึงว่าความขัดแย้งที ่มีมาเป็นเวลายาวนานไม่สามารถจัดการได้ภายในระยะเวลาอันสั้น แต่จ าเป็นต้องใช้<br />

กระบวนการที ่กินเวลาในการเปิดเจรจาระหว่างกลุ่มต่างๆ และใช้กลไกช่วยเหลือเยียวยาจนทุกกลุ่มในสังคมสามารถกลับมาด ารง<br />

อยู ่ร่วมกันได้ด้วยความอดทนต่อความหลากหลาย และที ่ส าคัญที ่สุด การปรองดองที ่แท้จริงมิอาจท าได้โดยใช้ความรุนแรงและ<br />

ก าลังบังคับ มิอาจเกิดขึ ้นได้ด้วยวาทะกรรมที ่ปราศจากส านึกในความผิด และการสรุปบทเรียนแห่งความผิดพลาดที ่จะไม่กระท าต่อ<br />

กันอีก การปรองดองจะส าเร็จได้ก็ต้องเริ่มด้วยการช าระประวัติศาสตร์ ให้ข้อเท็จจริงปรากฏ ไม่ใช่การท าให้ความจริงหายไป<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Pluralism’, ‘Cultural Relativism’ และ ‘Amnesty’<br />

Murphy, Colleen (2010). A Moral Theory of Political Reconciliation. Cambridge:<br />

Cambridge University Press.<br />

Whittaker, David J. (1999). Conflict <strong>and</strong> Reconciliation in the Contemporary World.<br />

New York: Routledge.<br />

รายงานฉบับสมบูรณ์คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื ่อการปรองดองแห่งชาติ (คอป.) กรกฎาคม 2553-<br />

กรกฎาคม 2554. เข้าถึงวันที ่ 20 สิงหาคม 2555 ใน http://www.slideshare.net/FishFly/2553-2554-14315242.<br />

รายงานผลการตรวจสอบเพื ่อมีข้อเสนอแนะเชิงนโยบาย กรณีเหตุการณ์ชุมนุมของกลุ่ม นปช. ระหว่างวันที ่ 12 มีนาคม 2553 ถึง<br />

วันที ่ 19 พฤษภาคม 2553. คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. เข้าถึงวันที ่ 20 สิงหาคม 2555 ใน<br />

http://www.nhrc.or.th/<br />

2012/wb/img_contentpage_attachment/692_file_name_9897.pdf.<br />

“ลูกเสธ.แดง-แม่น้องเกด มอบหลักฐาน "ยงยุทธ" พิจารณาร่วมรายงาน "คอป”. มติชน. เข้าถึงวันที ่<br />

25 กันยายน 2555 ใน http://www.matichon.co.th/news_detail.php?newsid=<br />

1348552553&grpid=02&catid=02.<br />

สถาบันพระปกเกล้า (2555). รายงานวิจัยการสร้างความปรองดองแห่งชาติ. รายงานวิจัยเสนอต่อ<br />

คณะกรรมการวิสามัญพิจารณาการศึกษาแนวทางการสร้างความปรองดองแห่งชาติ สภาผู้แทนราษฎร.<br />

137


International Institute for <strong>Democ</strong>racy <strong>and</strong> Electoral Assistance (2003). “Reconciliation after Violent Conflict”. Accessed<br />

October 3, 2012 from http://www.idea.<br />

int/publications/reconciliation/upload/reconciliation_chap02.pdf.<br />

138


RULE OF LAW<br />

หลักนิติธรรม<br />

ควำมหมำย<br />

หลักนิติธรรม (Rule of Law) หากพิจารณาในฐานะแนวคิดของชาวตะวันตกนั้นก็จะพบว่ามีรากเหง้ามาแต่ครั้งสมัยกรีก<br />

โบราณจากข้อถกเถียงส าคัญที ่ว่า การปกครองที ่ดีนั้นควรจะเป็นการปกครองด้วยสิ่งใด ระหว่างกฎหมายที ่ดีที ่สุด กับ สัตบุรุษ (คน<br />

ดี) โดยอริสโตเติล (Aristotle) ได้สรุปว่า กฎหมายเท่านั้นที ่ควรจะเป็นผู้ปกครองสูงสุดในระบอบการเมือง (Aristotle, 1995: 127)<br />

และจากข้อสรุปของอริสโตเติลตรงนี ้นี ่เอง ที ่ได้พัฒนาไปสู ่แนวคิดพื ้นฐานส าคัญของรัฐสมัยใหม่ในอีกหลายพันปีถัดมาว่า การ<br />

ปกครองที ่ดีนั้นควรจะต้องให้กฎหมายอยู ่สูงสุด (supremacy of law) และทุกๆ คนต้องมีสถานะที ่เสมอภาค และเท่าเทียมกัน<br />

ภายใต้กฎหมาย กล่าวคือ แม้ตามหลักการของการแบ่งแยกอ านาจ ผู้ปกครองจะมีอ านาจอันชอบธรรมในการออกและบังคับใช้<br />

กฎหมาย แต่ตัวผู้ปกครอง หรือ รัฐเองก็จะต้องอยู ่ภายใต้กฎหมายที ่พวกเขาออก และบังคับใช้ด้วยเฉกเช่นเดียวกันกับพลเมืองคน<br />

อื ่นๆ ในรัฐ เพื ่อที ่จะท าให้การเมืองนั้นวางอยู ่บนรากฐานของกฎหมาย และรัฐบาลนั้นเป็นรัฐบาลที ่จ ากัด (limited government)<br />

โดยตัวกฎหมายเป็นส าคัญ<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในเบื ้องต้น ไม่ควรสับสนระหว่างแนวคิดเรื ่อง “หลักนิติธรรม” กับ “หลักนิติรัฐ” (legal state) เพราะทั้งสองแนวคิดนั้นแม้<br />

จะมีที ่มาที ่คล้ายคลึงกัน แต่ก็มีความแตกต่างในตัวเองอย่างมีนัยส าคัญอยู ่ กล่าวคือ หลักนิติรัฐนั้นจะเป็นแนวคิดทฤษฎีทาง<br />

กฎหมายของรัฐในภาคพื ้นทวีป (continental) ในสายโรมาโนเจอเมนิค (Romano-Germanic) ที ่หมายถึงการที ่รัฐซึ ่งเคยทรงไว้ซึ ่ง<br />

อ านาจเบ็ดเสร็จเด็ดขาดนั้นยอมลดตัวลงมาอยู ่ภายใต้กรอบของกฎหมาย ตลอดจนวางแนวทางที ่มาของอ านาจ การใช้อ านาจ ผ่าน<br />

ช่องทางของกฎหมายทั้งสิ ้น ด้วยเหตุนี ้จึงท าให้ “อ านาจที ่ไม่จ ากัด” ของรัฐสมัยใหม่ได้กลายเป็น “อ านาจตามกฎหมาย” (วรเจตน์,<br />

2553) ดังนั้น ในแง่นี ้หลักนิติรัฐจึงมีระดับของการอธิบายที ่เริ่มตั้งต้นจากระดับโครงสร้างรัฐ (methodological collectivism) ในการ<br />

อธิบายความสูงสุดของกฎหมาย โดยเฉพาะอย่างยิ่งกฎหมายลายลักษณ์อักษร หรือ รัฐธรรมนูญ (โปรดดู Constitutionalism)<br />

ภายใต้การจัดโครงสร้างที ่เป็นระบบไม่ว่าจะเป็นการวางล าดับชั้นของกฎหมาย หรือ การวางหลักการแบ่งแยกอ านาจ และการ<br />

ตรวจสอบถ่วงดุลไว้ในรัฐธรรมนูญ ทั้งนี ้ก็เพื ่อธ ารงไว้ซึ ่งความสูงสุดของกฎหมายในการจ ากัดอ านาจรัฐ<br />

ในขณะที ่หลักนิติธรรมนั้นเป็นแนวคิดทฤษฎีทางกฎหมายจารีตประเพณี (common law) ของพวกแองโกลแซกซอน<br />

(อังกฤษ) ซึ ่งเกิดขึ ้นเนื ่องด้วยสภาพบริบททางการเมืองที ่มีการต่อสู้เพื ่อเรียกร้องสิทธิเสรีภาพในอังกฤษ ในช่วงกลางศตวรรษที ่ 17<br />

จึงท าให้หลักนิติธรรมนั้นมีระดับของการอธิบายที ่เริ่มต้นจากระดับตัวปัจเจกบุคคล (methodological individualism) กล่าวคือ<br />

มุ่งเน้นเรื ่องการรับรองสิทธิเสรีภาพของปัจเจกบุคคลอันเป็นผลมาจากความสูงสุดของกฎหมายมากกว่าตัวรัฐ นั่นก็เพราะสิทธิ<br />

เสรีภาพที ่ไม่มีกฎหมายประกันนั้นก็ไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นสิทธิเสรีภาพ ในทางกลับกันกฎหมายหากไม่ประกันซึ ่งเสรีภาพแล้ว<br />

พลเมืองในรัฐก็จะมีสภาพตกเป็นทาส หรือ เบี ้ยล่างของผู้ปกครอง ซึ ่งจะไม่สามารถท าให้คนทุกๆ คนในรัฐ ซึ ่งรวมถึงตัวผู้ปกครอง<br />

ด้วยนั้นอยู ่ภายใต้กรอบของกฎหมายได้อย่างแท้จริง เพียงแต่การประกันสิทธิ เสรีภาพ ของแนวคิดนิติธรรมนี ้จะไม่มีการจัดระบบ<br />

โครงสร้างผ่านการจัดวางล าดับชั้นของกฎหมายที ่เคร่งครัด เพื ่อจ ากัดอ านาจรัฐเหมือนกับแนวคิดนิติรัฐ หากแต่กระท าผ่านจารีต<br />

139


ประเพณีที ่ยึดถือต่อๆ กันมาโดยมีเป้าประสงค์ส าคัญในการคุ้มครองสิทธิ เสรีภาพ มากกว่าการพยายามจ ากัดอ านาจรัฐด้วยการ<br />

วางโครงสร้าง และกลไกเชิงสถาบันทางการเมืองนั่นเอง<br />

แม้ในมุมมองของนักเสรีนิยมสุดโต่งจะมองว่า เสรีภาพของปัจเจกบุคคล นั้นเป็นสิทธิตามธรรมชาติ (natural rights) ที ่มี<br />

อยู ่แล้วโดยไม่จ าเป็นจะต้องให้กฎหมายมารองรับ ดังนั้น กฎหมาย ข้อบังคับของรัฐ จึงดูเหมือนว่าจะอยู ่ฝั่ งตรงกันข้ามกับเสรีภาพ<br />

หรือ กล่าวอีกนัยหนึ ่งก็คือ “เสรีภาพปรากฏ เมื ่อกฎหมายเงียบลง” (Liberty exists when the law is silent) ก็ตาม และในจุดนี ้<br />

นี ่เองที ่หลักการนิติธรรมจะเข้ามาประสานความขัดแย้งระหว่างเสรีภาพ กับ กฎหมาย โดยการท าให้กฎหมายนั้นเป็นสิ่งที ่สูงสุดที ่<br />

ทุกคนแม้แต่ผู้ปกครองก็จะต้องอยู ่ในกรอบของกฎหมาย ในขณะที ่ตัวกฎหมายเองนั้นก็จะต้องประกันไว้ซึ ่งสิทธิเสรีภาพขั้นพื ้นฐาน<br />

ของประชาชนทุกๆ คนในรัฐ (Tamanaha, 2004: 45)<br />

จะเห็นได้ว่าหลักนิติธรรมนี ้จะต้องอยู ่เคียงคู ่กับหลักความสูงสุดของกฎหมาย (the supremacy of law) เสมอ เนื ่องจาก<br />

เมื ่อรัฐใดใช้กฎหมายเป็นหลักเกณฑ์สูงสุดในการปกครองแล้ว ก็จะเป็นการรับประกันว่าพลเมืองทุกๆ คน แม้แต่เจ้าหน้าที ่ของรัฐ<br />

หรือ ผู้ปกครอง ในการปฏิบัติตามหน้าที ่ หรือ บริหารราชการแผ่นดินนั้นก็จะต้องอยู ่ภายใต้กรอบของกฎหมายซึ ่งเป็นสิ่งสูงสุด<br />

ดังนั้นในระบอบการปกครองที ่ยึดหลักนิติธรรม คนทุกๆ คน ที ่อาศัยอยู ่ในสังคมการเมืองดังกล่าวนั้นย่อมจะต้องมีความเท่าเทียม<br />

และมั่นใจได้ว่าไม่ว่าจะเป็นเจ้าหน้าที ่ หรือ ข้าราชการระดับสูง หรือ แม้แต่บุคคลในรัฐบาลเองก็จะต้องอยู ่ภายใต้กรอบของกฎหมาย<br />

เฉกเช่นเดียวกันกับพวกเขา นอกจากนี ้หลักความสูงสุดของกฎหมายก็ยังเป็นลักษณะร่วมกันระหว่างหลักนิติธรรม กับ หลักนิติรัฐอีก<br />

ด้วย นอกจากนี ้ชุดคุณค่า ปทัสถานหลายๆ อย่างในทางการเมืองอย่างความเท่าเทียม ความเที ่ยงธรรม ก็ถูกน ามาสร้างให้เกิดขึ ้น<br />

เป็นรูปธรรมผ่านการออกกฎหมาย และการบังคับใช้กฎหมายที ่วางอยู ่บนชุดคุณค่าเหล่านั้น ซึ ่งเป็นสถาบันทางสังคม (social<br />

institution) ที ่เป็นผลอันเกิดจากการยอมรับ และการประพฤติปฏิบัติของคนในสังคมนั้นๆ ด้วยเหตุนี ้จึงท าให้ในบางสังคมกฎหมาย<br />

จึงอาจกลายเป็นเครื ่องมือในการสร้างความชอบธรรมในการกีดกัน และสร้างความไม่เท่าเทียม และไม่เป็นธรรมทางเพศ หาก<br />

สังคมนั้นยอมรับชุดคุณค่า และปทัสถานเรื ่องความไม่เท่าเทียมกันทางเพศมาเป็นปทัสถานทางสังคมที ่ผู้คนให้การยอมรับนับถือ<br />

และปฏิบัติตามได้เช่นกัน<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

หลังจากการเปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ที ่ได้ระบอบการปกครองแบบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ ถูกแทนที ่<br />

ด้วยระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญ (โปรดดู Constitutional Monarchy) ถือได้ว่าหลักนิติธรรมในแง่ของแนวคิดพื ้นฐาน<br />

ได้เกิดขึ ้นเป็นครั้งแรกในประเทศไทย เพราะอ านาจสูงสุดของรัฐได้ถูกถ่ายโอนจากองค์พระมหากษัตริย์ไปสู ่รัฐธรรมนูญที ่ระบุให้ที ่มา<br />

ของอ านาจอธิปไตยมาจากเบื ้องล่าง คือ ประชาชน กฎหมายที ่ตราขึ ้นโดยรัฐสภาภายใต้รัฐธรรมนูญตั้งแต่ พ.ศ. 2475 เป็นต้นมา<br />

เป็นกฎหมายที ่ตราขึ ้นโดยตัวแทนที ่มาจากการเลือกตั้งของประชาชน ดังนั้นในแง่นี ้สถานะของประชาชนที ่เป็นทั้งผู้ปกครอง และผู้<br />

ถูกปกครอง (the ruler <strong>and</strong> the ruled) อย่างเท่าเทียมกันภายใต้ความสูงสุดของกฎหมาย (รัฐธรรมนูญ) จึงได้บังเกิดขึ ้นนับแต่นั้น<br />

มา<br />

140


ที ่น่าสนใจคือ หลักนิติธรรมที ่กล่าวถึงในข้างต้นนั้นไม่ได้เป็นเพียงแนวคิดในเชิงทฤษฎี หรือ นามธรรมเท่านั้น แต่ได้<br />

ปรากฏให้เห็นเป็นรูปธรรมเป็นครั้งแรกภายใต้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2540 หรือ รัฐธรรมนูญฉบับ<br />

ประชาชน ในมาตรา 29 ที ่ระบุว่า<br />

“การจ ากัดสิทธิและเสรีภาพของบุคคลที่รัฐธรรมนูญรับรองไว้จะกระท ามิได้ เว้นแต่โดยอาศัย<br />

อ านาจตามบทบัญญัติแห่งกฎหมายเฉพาะเพื่อการที่รัฐธรรมนูญนี ้ก าหนดไว้และเท่าที่จ าเป็นเท่านั้น<br />

และจะกระทบกระเทือนสาระส าคัญแห่งสิทธิและเสรีภาพนั้นมิได้<br />

กฎหมายตามวรรคหนึ่งต้องมีผลใช้บังคับเป็นการทั ่วไปและไม่มุ่งหมายให้ใช้บังคับแก่กรณีใด<br />

กรณีหนึ่งหรือแก่บุคคลใดบุคคลหนึ่งเป็นการเจาะจง ทั้งต้องระบุบทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญที่ให้อ านาจ<br />

ในการตรากฎหมายนั้นด้วย”<br />

จะเห็นได้ว่าสาระส าคัญของมาตรา 29 ของรัฐธรรมนูญ พ.ศ. 2540 คือการบ่งบอกว่ากฎหมายใด ๆ ที ่ตราขึ ้น จะต้อง<br />

บังคับใช้กับคนทุกๆ คนอย่างเท่าเทียมกัน โดยที ่เนื ้อหาสาระของกฎหมายนั้นจะต้องไม่เป็นการละเมิด หรือ จ ากัดซึ ่งสิทธิเสรีภาพ<br />

ตามรัฐธรรมนูญของประชาชน ซึ ่งหลักการดังกล่าวนี ้ก็คือแนวคิดพื ้นฐานของหลักนิติธรรมในการมุ่งประกันสิทธิเสรีภาพของ<br />

ประชาชน จากความสูงสุดของกฎหมาย<br />

นอกจากนี ้ในรัฐธรรมนูญฉบับ พ.ศ. 2550 ยังได้เขียนค าว่า "นิติธรรม" ไว้อย่างชัดเจนในมาตรา 3 วรรคสองว่า "การ<br />

ปฏิบัติหน้าที่ของรัฐสภา คณะรัฐมนตรี ศาล รวมทั้งองค์กรตามรัฐธรรมนูญและหน่วยงานของรัฐ ต้องเป็นไปตามหลักนิติธรรม" ซึ ่ง<br />

การบัญญัติดังกล่าวเป็นการเน้นให้เห็นว่า ผู้ใช้อ านาจปกครองทั้งสามอ านาจ (ตามหลักการแบ่งแยกอ านาจ) รวมถึงองค์กรของรัฐ<br />

อื ่นๆ ที ่มีอ านาจหน้าที ่ที ่อาจส่งผลกระทบต่อสิทธิเสรีภาพของประชาชนได้นั้นล้วนแล้วแต่ต้องกระท าการอยู ่ภายใต้กรอบของ<br />

กฎหมายอย่างเสมอภาคเท่าเทียม และเป็นธรรมด้วยกันทั้งสิ ้น<br />

อย่างไรก็ตาม การใช้ค าว่า “นิติธรรม” และ “นิติรัฐ” ของไทยนั้นยังคงสับสน และมักใช้ร่วมกันอยู ่บ่อยครั้ง ทั้งนี ้ก็เนื ่องจาก<br />

ความเข้าใจผิดเกี ่ยวกับความหมาย และหลักการทางกฎหมายมหาชนของค าทั้งสอง เพราะหากเรายึดตามหลักการ ตา มทฤษฎี<br />

แล้ว ประเทศไทยซึ ่งใช้ระบบกฎหมายแบบลายลักษณ์อักษร (civil law) ตามแบบอย่างประเทศในภาคพื ้นทวีปยุโรป เช่น เยอรมนี<br />

และฝรั่งเศส ย่อมจะต้องยืนอยู ่บนหลักการความสูงสุดของกฎหมายที ่เป็น “นิติรัฐ” มากกว่า หลักความสูงสุดของกฎหมายในแบบ<br />

“นิติธรรม” ที ่ใช้ในระบบกฎหมายจารีตประเพณี (common law) โดยมีอังกฤษเป็นต้นแบบ เพราะหลักนิติรัฐนั้นจะเน้นไปที ่รูปแบบ-<br />

โครงสร้าง (form-structure) และวิธีการในการไปให้ถึงเป้าประสงค์ คือการจ ากัดอ านาจรัฐ ในขณะที ่หลักนิติธรรมนั้นจะเน้นที ่<br />

เนื ้อหา (substance) และกระบวนการ (procedure) ในการสร้างเสริมสิทธิ และเสรีภาพให้แก่ประชาชน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Constitutionalism’ และ ‘Constitutional Monarchy’<br />

Aristotle (1995). Politics. Oxford: Oxford University Press.<br />

141


Tamanaha, Brian (2004). On the rule of law. Cambridge: Cambridge University Press.<br />

วรเจตน์ ภาคีรัตน์ (2553). หลักนิติรัฐ และหลักนิติธรรม. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.pub-law.net/publaw/view.aspx?id=1431.<br />

142


SOCIAL CAPITAL<br />

ทุนทำงสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

ทุนทางสังคม (Social Capital) เป็นค าอธิบาย “ทุน” ในลักษณะใหม่ที ่ไม่ใช่เพียงทุนทางเศรษฐกิจที ่มุ่งหวังในการท าก าไร<br />

หรือแสวงหาผลประโยชน์สูงสุดของตัวเอง แต่ทุนทางสังคมมีลักษณะเป็นผลประโยชน์หรือต้นทุนส่วนรวมที ่มาจากการช่วยเหลือ<br />

และความร่วมมือกันระหว่างบุคคลและระหว่างกลุ่มต่างๆ ในสังคม (Putnum, 2000) โดยธนาคารโลก (World Bank) เห็นว่าทุน<br />

ทางสังคม คือ สถาบัน ระบบ ความสัมพันธ์และบรรทัดฐานการปฏิบัติ (norm) ที ่น ามาซึ ่งปฏิสัมพันธ์ของสังคมทั้งในเชิงปริมาณ<br />

และคุณภาพ เน้นถึงความสัมพันธ์เชื ่อมโยงระหว่างกันไม่ใช่สถาบันหรือตัวบุคคลโดดๆ หรือจ านวนรวมกัน อีกทั้งองค์การเพื ่อ<br />

ความร่วมมือทางเศรษฐกิจและการพัฒนา (Organization for Economic Co-operation <strong>and</strong> Development: OECD) เห็นว่าทุน<br />

ทางสังคม คือ การเชื ่อมโยงของบุคคลเป็นเครือข่ายทางสังคมบนพื ้นฐานความเชื ่อถือ ไว้วางใจซึ ่งกันและกัน (trust) และมี<br />

มาตรฐานในการท างานร่วมกัน<br />

อรรถำธิบำย<br />

ส าหรับความหมายที ่นิยมอ้างถึงมากที ่สุดคือนิยามของโรเบิร์ท แพทนัม (Robert Putnam) (1993: 167) ที ่กล่าวว่าทุน<br />

ทางสังคมคือรูปแบบของการจัดองค์การที ่ประกอบไปด้วยความเชื ่อใจ (trust) บรรทัดฐาน (norm) และเครือข่าย (network) ที ่จะ<br />

เพิ่มประสิทธิภาพให้กับสังคมในการท ากิจกรรมต่างๆ ร่วมกัน โดยทุนทางสังคมจะเพิ่มโอกาสในการบรรลุเป้าหมายของสังคมโดย<br />

อาศัยความเชื ่อใจ ไม่ใช่แค่ระดับบุคคลต่อบุคคล แต่เป็นระดับในองค์รวมของสังคม และสามารถคาดหวังได้ว่าสิ่งที ่เราท าไปนั้น<br />

ผู้อื ่นก็จะตอบรับกลับมาในทางเดียวกัน ความสัมพันธ์ดังกล่าวจึงก่อตัวเป็นสถาบัน (institution) และจุดมุ่งหมายของสถาบันก็คือ<br />

การจัดการกับปัญหาที ่ไม่สามารถท าคนเดียวได้ (collective action problem) แต่ต้องอาศัยความร่วมมือระหว่างสมาชิกทั้งหลายใน<br />

สังคมและมีทุนทางสังคมเป็นตัวขับเคลื ่อนความสัมพันธ์ดังกล่าว<br />

อย่างไรก็ดี ในระดับสากลค าว่าทุนทางสังคมก็ยังมีอีกหลายนิยามที ่อาจจะสอดคล้องหรือขัดแย้งในบางประเด็น แต่จุดร่วม<br />

ที ่มีอยู ่ด้วยกันคือการใช้ค าว่าทุนทางสังคมในการสร้างความร่วมมือทางสังคม ทุนทางสังคมโดยตัวของมันเองนั้นมิได้เป็นปัจจัยการ<br />

ผลิตโดยตรง หากแต่เป็นตัวกลางในการเข้าถึงปัจจัยการผลิตหรือทุนอื ่น เช่น ข่าวสารข้อมูล ทุนมนุษย์ (human capital) ทุน<br />

กายภาพ (physical capital) ทรัพยากรธรรมชาติ (natural resources) เป็นต้น ในต้นทุนหรือราคาที ่ถูกลง โดยผ่านความสัมพันธ์<br />

ทางสังคมหรือโครงสร้างทางสังคมที ่แต่ละสมาชิกท าหน้าที ่ตามบทบาทตัวเองอย่างเหมาะสม ทุนทางสังคมจึงเป็นรากฐานในความ<br />

ร่วมมือกันทางสังคม ซึ ่งจะส่งเสริมทั้งการพัฒนาทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืนและพัฒนาการทางการเมือง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย ค าว่าทุนทางสังคมถูกน ามาใช้อย่างมากหลังจากการเกิดวิกฤติเศรษฐกิจ เนื ่องจากปัญหาการจัดการทุน<br />

ทางเศรษฐกิจ ท าให้เกิดการน าเข้าค าศัพท์ใหม่ๆ เกี ่ยวกับการแสวงหาความร่วมมือมากกว่าการแข่งขันแสวงหาก าไร ค าว่าทุนทาง<br />

สังคมจึงถูกน าเข้ามาใช้ในสังคมไทย โดยส านักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (สศช.) ได้ให้ความหมาย<br />

143


ของทุนทางสังคมในบริบทของสังคมไทยว่าหมายถึงผลรวมของสิ่งดีงามต่างๆ ที ่มีอยู ่ในสังคม ทั้งในส่วนที ่ได้จากการสั่งสมและการ<br />

ต่อยอด รวมถึงการรวมตัวของคนที ่มีคุณภาพเพื ่อสร้างประโยชน์ต่อส่วนรวม บนพื ้นฐานของความไว้เนื ้อเชื ่อใจ สายใยแห่งความ<br />

ผูกพันและวัฒนธรรมที ่ดีงาม ซึ ่งหากน ามาพัฒนาและใช้ประโยชน์อย่างเหมาะสมแล้วจะเป็นปัจจัยส าคัญในการพัฒนาประเทศชาติ<br />

และสังคมให้สมดุลและยั่งยืน<br />

ค าว่าทุนทางสังคมถูกน าไปใช้ในหลายบริบทและหลายความหมาย ในที ่นี ้จะขอยกตัวอย่างในทางการเมือง เช่น ในบทความ<br />

ของปิยะชาติ มงคลไชยสิทธิ์ (2548)<br />

กล่าวถึงทุนทางสังคมในฐานะที ่เป็นปัจจัยหลักในการก าหนดพื ้นฐานของความเป็น<br />

นักการเมืองและภาพพจน์ที ่จะถูกสั่งสมออกมาเป็นนักการเมืองที ่ดี ท าให้การประกอบอาชีพทางการเมืองมีความราบรื ่นและส่งผลดี<br />

ต่อประเทศชาติ ซึ ่งในกรณีของรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร มีพื ้นฐานทุนทางสังคมมาจากพ่อค้าวาณิช ภาพของรัฐบาลและ<br />

ภาพพจน์ของรัฐมนตรีเหล่านั้น ในความรู้สึกของประชาชนทั่วไป จึงออกไปในทางตั้งข้อระแวง สงสัยไม่ค่อยจะไว้วางใจนัก<br />

โดยเฉพาะในเรื ่องความซื ่อสัตย์สุจริต เป็นความรู้สึกที ่เหมือนกับการมองพ่อค้าวาณิชทั่วไปว่าเป็นพวกที ่มุ่งแสวงหาก าไรสูงสุด<br />

ให้กับตนเองอย่างเดียวเป็นส าคัญ มากกว่าจะคิดเจือจานรับใช้แผ่นดินด้วยความสุจริตใจ<br />

อย่างไรก็ดี การท าความเข้าใจทุนทางสังคมไม่ใช่เป็นเพียงพื ้นฐานส่วนบุคคล แต่ต้องมองในลักษณะองค์รวม เพราะทุน<br />

ทางสังคมเป็นเรื ่องของการจัดความสัมพันธ์ระหว่างบทบาทอันหลากหลายของสมาชิกในสังคมจนออกมาเป็นสถาบันที ่อยู ่บนความ<br />

เชื ่อใจ ความร่วมมือกัน และมีเครือข่ายระหว่างกัน จนสุดท้ายทุนทางสังคมจะเป็นพื ้นฐานให้กับกิจกรรมทั้งหลายที ่เกิดทั้งในทาง<br />

สังคม เศรษฐกิจ และการเมือง ซึ ่งทุนทางสังคมดังกล่าวจ าเป็นต้องใช้เวลาในการสะสมอย่างยาวนาน และสามารถสถาปนาเป็น<br />

สถาบันที ่จัดความสัมพันธ์ของสมาชิกได้อย่างลงตัว<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Institutionalism’, ‘Civil Society’, ‘Public Sphere’ และ ‘Social Network’<br />

“ทุนทางสังคม (Social Capital)” (2546). ส านักพัฒนาสังคมและคุณภาพชีวิต. เข้าถึงวันที ่ 18 กรกฎาคม 2555 ใน<br />

http://pattanathai.nesdb.go.th/Knowledge_pdf/<br />

social_capital.pdf.<br />

สินาด ตรีวรรณไชย. "ทุนทางสังคม: ความหมายและความส าคัญ". ประชาไท. เข้าถึงวันที ่ 18<br />

กรกฎาคม 2555 ใน http://prachatai.com/ journal/2005/01/2262.<br />

ปิยะชาติ มงคลไชยสิทธิ์ . "ทุนทางสังคม". มติชนรายวัน, ปีที ่ 28 ฉบับที ่ 9916, 4 พฤษภาคม 2548.<br />

Putnam, Robert D. (2000). Bowling Alone: The Collapse <strong>and</strong> Revival of American Community. New York: Simon &<br />

Schuster.<br />

Putnam, Robert D. (1993). Making <strong>Democ</strong>racy Work: Civic Traditions in Modern Italy. Princeton: Princeton University<br />

Press.<br />

144


SOCIAL CONTRACT<br />

สัญญำประชำคม<br />

ควำมหมำย<br />

สัญญาประชาคม (Social Contract) เป็นการสมาสระหว่างค าสองค า คือ ค าว่า “สัญญา” ซึ ่งหมายถึงข้อตกลง กับค าว่า<br />

“ประชาคม” ซึ ่งหมายถึงชุมชนหรือกลุ่มชนซึ ่งอยู ่ร่วมกันและมีการติดต่อสัมพันธ์กัน โดยเมื ่อรวมกันแล้วจะมีความหมายว่า การท า<br />

ข้อตกลงกันของประชาชนในสังคมที ่อยู ่ร่วมกัน โดยส่วนใหญ่แล้วค าว่าสัญญาประชาคมนี ้มักจะถูกน าไปใช้ในสองลักษณะ คือ ใน<br />

ความหมายแบบแคบที ่หมายถึงตัวทฤษฎีทางรัฐศาสตร์ที ่เกิดขึ ้นในคริสต์ศตวรรษที ่ 17-18 และในความหมายแบบกว้างที ่หมายถึง<br />

พันธะสัญญาทางการเมืองระหว่างนักการเมืองกับประชาชน (Kurian, 2011: 1548)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดสัญญาประชาคมเกิดขึ ้นในราวศตวรรษที ่ 17 เพื ่อที ่จะอธิบายที ่มาของสังคมการเมือง และสร้างความชอบธรรม<br />

ให้แก่รัฐบาลที ่ปกครองอยู ่ในขณะนั้น โดยอธิบายถึงที ่มาในการจัดตั้งสังคมการเมืองของมวลมนุษยชาติว่าเกิดจากการตกลงร่วมกัน<br />

ของมนุษย์ในสภาวะที ่ยังไม่มีรัฐ หรือ สภาวะธรรมชาติ (state of nature) ที ่จะยินยอมสละสิทธิบางอย่างให้แก่ผู้ปกครองเพื ่อท า<br />

หน้าที ่ดูแลปกครอง และจัดตั้งสังคมการเมืองขึ ้นมา โดยทฤษฎีสัญญาประชาคมนี ้จะแตกต่างออกไปจากแนวคิดเรื ่องที ่มาของรัฐที ่มี<br />

อยู ่เดิมตั้งแต่สมัยกรีกโบราณว่าเป็นเรื ่องของธรรมชาติจากการที ่มนุษย์โดยธรรมชาติเป็นสัตว์การเมือง (man is by nature a<br />

political animal) แต่ในทางกลับกันทฤษฎีสัญญาประชาคมจะอธิบายว่าสังคมการเมืองนั้นเกิดจากการที ่มนุษย์ในสภาวะธรรมชาติ<br />

ได้ตกลงร่วมกันในการจัดตั้งสังคมการเมืองและการปกครองขึ ้นมาเองในภายหลังต่างหาก (Wolff, 1996: 6-8)<br />

การท า ‘สัญญา’ ในความเข้าใจของโลกตะวันตก โดยเฉพาะในสมัยคริสต์ศตวรรษที ่ 17 – 18 เป็นต้นมานั้นอาจแบ่งออก<br />

ได้เป็น 3 ประเภท ได้แก่ การท าพันธสัญญา (covenant) ข้อตกลง (compact) และสัญญา (contract) โดยค าทั้งสามค านั้นต่างมีนัย<br />

ยะที ่สื ่อถึงความสัมพันธ์ระหว่างคู ่สัญญา และความส าคัญของการกระท าสัญญาที ่แตกต่างกันออกไป กล่าวคือในขณะที ่การท าพันธ<br />

สัญญานั้นมีนัยหมายถึงการท าข้อตกลงกับพระผู้เป็นเจ้า ดังนั้นพระผู้เป็นเจ้าจึงเป็นเสมือนหนึ ่งในคู ่สัญญา หรือ สักขีพยานของผู้<br />

ที ่มาท าพันธสัญญาร่วมกัน และส่งผลให้การท า พันธสัญญานั้นมีความศักดิ์สิทธิ์สูงยิ่งขึ ้นไปอีกในความรับรู้ของผู้ท า<br />

พันธสัญญา แต่ในกรณีของการท าข้อตกลงนั้นแม้จะไม่ได้มีพระผู้เป็นเจ้าเป็นสักขีพยาน หรือเป็นคู ่สัญญา แต่ก็มีนัยหมายถึง<br />

ข้อตกลงที ่มีลักษณะเป็นการตกลงเพื ่อส่วนรวมบางอย่างเช่นเดียวกัน ซึ ่งจะแตกต่างจากการท า ‘สัญญา’ ที ่การท าสัญญานั้นมีนัย<br />

หมายถึงการกระท าที ่เป็นส่วนตัว หรือเป็นข้อตกลงระหว่างเอกชนด้วยกันเสียมากกว่า โดยไม่ได้อ้างอิงกับความศักดิ์สิทธิ์ของพระ<br />

ผู้เป็นเจ้า หรือเรื ่องส่วนรวมแต่อย่างใด (Elazar, 1980: 11) ด้วยเหตุนี ้หากเราจะพิจารณาแนวคิดเรื ่องการท าสัญญาทั้งสามแบบ<br />

ดังกล่าวอย่างเคร่งครัดแล้วก็ย่อมจะต้องมองว่าทฤษฎีสัญญาประชาคมนั้นแท้จริงแล้วควรจะต้องเป็นทฤษฎี ‘ข้อตกลงประชาคม’<br />

(Social Compact) เสียมากกว่า มิพักต้องพูดถึงการที ่นักทฤษฎีสัญญาประชาคมคนส าคัญอย่างฮอบส์ เลือกใช้ค าว่า พันธสัญญา<br />

ในการอธิบายแนวคิดการท าข้อตกลงของเขาในหนังสือ เลอไว่อาเธิน (Leviathan) (เช่นใน Hobbes, 2008: 89)<br />

ในโลกตะวันตก แนวคิดทฤษฎีสัญญาประชาคมนับว่ามีความส าคัญเป็นอย่างมาก เพราะเป็นที ่มาของแนวคิดเรื ่องอ านาจ<br />

อธิปไตยเป็นของปวงชน (โปรดดู Sovereignty) เพราะการที ่สังคมการเมืองเกิดขึ ้นจากการตกลงกันของประชาชนในสังคม ดังนั้น<br />

145


ความชอบธรรมของรัฐบาลหรือผู้ปกครองจึงอยู ่ที ่การได้รับความยินยอม และการยอมรับจากประชาชน แต่ทั้งหลายทั้งปวงแนวคิด<br />

เกี ่ยวกับการก าเนิดของรัฐและสังคมโดยทฤษฎีสัญญาประชาคมที ่ว่านี ้เป็นเพียงการตั้งสมมติฐาน ภายในห้วงความคิดของนัก<br />

ทฤษฎีการเมืองอย่าง โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) จอห์น ล็อค (John Lock) หรือ ฌอง ฌากส์ รุสโซ (Jean-Jacques<br />

Rousseau) เพื ่อสร้างชุดค าอธิบายการปกครองสมัยใหม่ มากกว่าเป็นเรื ่องที ่เกิดขึ ้นจริง กล่าวคือไม่มีใครสามารถล่วงรู้ได้ว่าการตก<br />

ลงท าสัญญาประชาคมนี ้เกิดขึ ้นหรือไม่ เมื ่อไหร่ อย่างไร (Wolff, 1996: 37-39)<br />

ในปัจจุบัน ค าว่า สัญญาประชาคม ในโลกตะวันตกได้ถูกน ามาใช้ในความหมายกว้าง ที ่หมายถึงการท าข้อตกลงบางอย่าง<br />

ที ่เกิดขึ ้นเป็นรูปธรรมจริงมากกว่าที ่จะเป็นเรื ่องของทฤษฎีที ่อธิบายการก าเนิดของรัฐเหมือนในศตวรรษที ่ 17-18 ดังนั้น สัญญา<br />

ประชาคมในยุคปัจจุบันนี ้จึงหมายถึงข้อตกลงระหว่างกลุ่มคน ในสังคมในเรื ่องหนึ ่งๆ เพื ่อที ่จะหาข้อสรุปที ่เป็นฉันทามติร่วมกัน<br />

นอกจากนี ้ ค าว่าสัญญาประชาคม ยังน ามาใช้กับการให้ค ามั่นสัญญาทางการเมืองระหว่างนักการเมืองและประชาชนผ่าน<br />

นโยบายในการหาเสียงเลือกตั้ง เช่น การที ่ประธานาธิบดีบารัคโอบามาได้ให้สัญญากับประชาชนสหรัฐอเมริกาเรื ่องนโยบายถอน<br />

ทหาร และยุติสงครามในต่างแดน ซึ ่งภายหลังที ่นายโอบามาได้รับเลือกตั้งให้กลับเข้าไปด ารงต าแหน่งประธานาธิบดีสหรัฐอเมริกา<br />

อีกครั้ง สหรัฐอเมริกาก็ได้แสดงท่าทีในการยุติสงครามในอิรัก และอัฟกานิสถาน โดยเฉพาะการถอนทหารสหรัฐอเมริกา และปล่อย<br />

ให้กองก าลังความมั่นคง (security force) ของประเทศเหล่านั้นดูแลจัดการความสงบเรียบร้อยภายในประเทศเอง ค าสัญญาใน<br />

นโยบายเหล่านี ้ นายโอบามาได้น ามาเป็นหนึ ่งในประเด็นหลักที ่เขาได้แถลงต่อที ่ประชุมร่วมสภาคองเกรส (state of the union<br />

address) เพื ่อเป็นการแสดงให้เห็นถึงการเคารพสัญญาประชาคมที ่มีต่อพลเมืองสหรัฐฯ อาจกล่าวได้ว่าการแถลงต่อที ่ประชุมร่วม<br />

สภาคองเกรส ถือเป็นหนึ ่งในเวทีการท าสัญญาประชาคมที ่รัฐบาลสหรัฐมีต่อประชาชนของตน<br />

จะเห็นได้ว่าค าว่าสัญญาประชาคม มิใช่การลงนามในหนังสือสัญญาเป็นลายลักษณ์อักษร แต่เป็นการสร้างความเข้าใจที ่<br />

ตรงกันระหว่างคู ่สัญญาในประชาคมการเมือง ในเรื ่องความรับผิดและรับชอบต่อข้อผูกมัดและพันธะที ่ทั้งคู ่มีให้แก่กัน ส่วนการ<br />

บังคับให้เป็นไปตามค ามั่นสัญญาในประชาคม จะเป็นไปตามมาตรฐานทางสังคมนั้น ๆ (โปรดดู Social Norm) ที ่อาจแตกต่างกัน<br />

ไป<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยมีการร่างรัฐธรรมนูญบ่อยครั้ง แต่ไม่มีครั้งใดเลยที ่น าเอาแนวคิดสัญญาประชาคมระหว่างผู้ปกครองและผู้ถูก<br />

ปกครองมาเป็นฐานคิด การร่างรัฐธรรมนูญของไทยจึงไม่ได้ให้ความส าคัญเรื ่องการจ ากัดขอบเขตอ านาจของผู้ปกครอง และไม่ได้มี<br />

แนวคิดว่าการยอมเสียสละสิทธิบางประการของผู้ถูกปกครองให้แก่ผู้ปกครองเพื ่อจัดตั้งสังคมการเมือง ต้องมีพื ้นฐานจากความเห็น<br />

พ้องและยอมรับร่วมกันของคนในสังคม ด้วยเหตุนี ้ การร่างรัฐธรรมนูญใหม่ทุกครั้งจึงเป็นเพียงการบังคับใช้กติกาการเมืองชุดใหม่<br />

กับประชาชนผู้ถูกปกครองโดยชนชั้นน ากลุ่มใหม่ที ่มีอ านาจในขณะนั้น มิได้มีรากฐานจากการยอมมอบหมายอ านาจจากประชาชน<br />

การสร้างกติกาการเมืองโดยปราศจากฐานคิดเรื ่องสัญญาประชาคมระหว่างประชาชนและผู้ปกครอง ท าให้ผู้ปกครองไม่ว่าจะมาจาก<br />

การเลือกตั้ง หรือมาจากการยึดอ านาจด้วยก าลัง ขาดจิตส านึกว่าอ านาจอธิปไตยเป็นของปวงชนตามทฤษฎีประชาธิปไตยสมัยใหม่<br />

อ านาจที ่ไม่ได้มาจากการยอมรับของประชาชน จึงเป็นอ านาจที ่ขาดรากฐานเรื ่องความชอบธรรมที ่มั่นคง สุ่มเสี ่ยงต่อการโค่น<br />

ท าลายลงโดยง่าย<br />

146


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Sovereignty’, ‘Constitutionalism’, ‘Horizontal <strong>and</strong> Vertical Orders’, และ‘Social Norm’<br />

เกษียร เตชะพีระ (2553). สงครามระหว่างสี: ก่อนถึงจุดที่ไม่อาจหวนกลับ. กรุงเทพฯ: โอเพ่น.<br />

Elazar, Daniel J. (1980). The Political Theory of Covenant: biblical origins <strong>and</strong> modern developments. Publius, 10 (4): 3-<br />

30.<br />

Hobbes (2008). Leviathan. Oxford: Oxford University Press.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Wolff, Jonathan (1996). An introduction to political philosophy. Oxford: Oxford University Press.<br />

147


SOCIAL ECONOMY<br />

เศรษฐกิจเชิงสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

เศรษฐกิจเชิงสังคม (Social Economy) เป็นค าศัพท์ที ่ใช้กล่าวถึงความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจในภาคส่วนที ่สาม (โปรดดู<br />

Third Sector) กล่าวคือเป็นระบบเศรษฐกิจของส่วนที ่ไม่ใช่ภาครัฐและไม่ใช่ตลาด แต่เป็นภาคสังคม โดยเศรษฐกิจในภาคสังคมจะมี<br />

ลักษณะขององค์กรที ่ไม่เป็นทางการ องค์กรที ่ตั้งขึ ้นโดยไม่แสวงหาผลก าไร องค์กรในการสร้างความร่วมมือ องค์กรเพื ่อ<br />

สาธารณประโยชน์ และองค์กรการกุศล ลักษณะของเศรษฐกิจเชิงสังคมจึงไม่ได้มีการแข่งขันในกลไกตลาด (competitive market)<br />

เพื ่อมุ่งหวังผลก าไรสูงสุด และไม่ใช่องค์กรในระบบราชการ (bureaucracy) ที ่มีการใช้อ านาจการบังคับบัญชาจากบนลงล่าง แต่<br />

องค์กรในเศรษฐกิจเชิงสังคมจะเน้นความร่วมมือในแนวระนาบเดียวกันมากกว่า<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนนซี ่ นีมตัน (Neamtan, 2004) ได้จ าแนกที ่มาของเศรษฐกิจเชิงสังคมออกเป็น 5 ลักษณะเด่นส าคัญดังนี ้<br />

1) เป็นองค์กรที ่มีจุดมุ่งหมายในการบริการสมาชิกและชุมชนในลักษณะองค์รวม (the whole) มากกว่าที ่จะมุ่งหวังเพียง<br />

ผลประโยชน์หรือก าไร<br />

2) ไม่ใช่หน่วยงานของภาครัฐและภาคเอกชน<br />

3) ส่งเสริมกระบวนการตัดสินใจที ่เป็นประชาธิปไตย โดยใช้การมีส่วนร่วมอย่างกว้างขวาง<br />

4) ให้ความส าคัญกับ “คน” และ “งาน” มากกว่าการกระจายหรือสนใจแต่รายรับและส่วนเกินจากการท างาน<br />

148


5) มีฐานคิดส าคัญจากหลักการมีส่วนร่วม (participation) การมอบอ านาจให้ประชาชน (empowerment) และความ<br />

รับผิดชอบต่อปัจเจกบุคคลและส่วนรวม (individual <strong>and</strong> collective responsibility)<br />

ในระดับสากล ค าว่าเศรษฐกิจเชิงสังคมถูกน าไปใช้กับการเรียกองค์กร 3 รูปแบบ โดยแบบที ่หนึ ่งเป็นองค์กรในส่วนของ<br />

ชุมชน (community sector) ที ่อยู ่ในระดับท้องถิ่น มีขนาดเล็ก และส่วนใหญ่การท างานเป็นลักษณะของอาสาสมัคร เช่น สมาคมใน<br />

ชุมชน กลุ่มสหกรณ์ เป็นต้น องค์กรรูปแบบที ่สองคือภาคส่วนอาสาสมัคร (voluntary sector) เป็นหน่วยงานที ่เป็นทางการ มี<br />

กฎหมายรองรับ สามารถด าเนินกิจการต่างๆ ได้เองโดยเป็นอิสระจากภาครัฐ การท างานมีลักษณะไม่แสวงหาผลก าไร เช่น องค์กร<br />

การกุศลขนาดใหญ่ องค์กรรณรงค์ต่างๆ ในระดับชาติ เป็นต้น และองค์กรรูปแบบที ่สามคือผู้ประกอบการทางสังคม (social<br />

enterprise) เป็นหน่วยงานของภาคเอกชนที ่มีเป้าหมายหลักในการท างานเพื ่อสังคมและการประกอบธุรกิจเมื ่อได้ส่วนเกินหรือ<br />

ก าไรก็จะน ามามอบคืนให้เป็นประโยชน์กับส่วนรวม ไม่ใช่น าก าไรเข้าองค์กรเพียงอย่างเดียว เช่น กลุ่มนักธุรกิจเพื ่อประชา ชน<br />

องค์กรความร่วมมือระหว่างหน่วยงานเอกชน เป็นต้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับในประเทศไทยพบว่าเศรษฐกิจเชิงสังคม ยังไม่ได้ถูกน ามาใช้มากนักและไม่ถูกนิยามเป็นศัพท์อย่างเป็นทางการ<br />

เพราะสังคมไทยยังนิยมเรียกการท างานในแนวเศรษฐกิจเชิงสังคมว่าเป็นภาคประชาสังคมหรือการท างานแบบอาสาสมัครมากกว่า<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในประเทศไทย หากมีการพูดถึงค าว่าเศรษฐกิจเชิงสังคมให้กว้างขวางขึ ้น จะช่วยส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจที ่ไม่ได้<br />

มุ่งหวังแต่ผลก าไรสูงสุด และเป็นขยายบทบาทของภาคส่วนที ่เป็นอิสระจากรัฐและจากกลุ่มธุรกิจ โดยเศรษฐกิจเชิงสังคมจะช่วย<br />

ส่งเสริมการมีส่วนร่วมของประชาชนและการพัฒนาประชาธิปไตยได้อย่างเป็นธรรมชาติ ประเทศที ่มีความสามารถในการพัฒนา<br />

ประชาธิปไตยอย่างแคนาดาและญี ่ปุ่นก็มีเศรษฐกิจเชิงสังคมที ่เติบโตสอดคล้องกันไปเช่นกัน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Third Sector’, ‘Civil Society’ และ ‘Social Enterprise’<br />

“การกลับมาของสังคมนิยมในศตวรรษที ่ 21”. Sameskybooks. Accessed July 16, 2012 from http://www.sameskybooks.net<br />

/2008/02/16/socialism-for-21century/.<br />

Defourny, Jacques <strong>and</strong> Patrick Develtere (1999). The Social Economy: The Worldwide Making of a Third Sector.<br />

Accessed July 15, 2012 from http://www.emes.net/<br />

fileadmin/emes/PDF_files/Articles/Defourny/Defourny.Develtere_SE_NorthSouth_Chap1_EN.pdf.<br />

Neamtan, Nancy (2004). “The Political Imperative: Civil Society <strong>and</strong> the Politics of Empowerment”. In Making Waves,<br />

Vol. 15, No.1.<br />

Ishizuka, Hideo (2002). “The Social Economy Sector in Japan”. In Annals of Public <strong>and</strong> Cooperative Economics, Vol. 73,<br />

No.2.<br />

149


SOCIAL NORM<br />

บรรทัดฐำนทำงสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

บรรทัดฐานทางสังคม (Social Norm) เป็นค าที ่ใช้กล่าวถึง กฎระเบียบ แบบแผน หรือข้อบังคับที ่เป็นแนวทางในการ<br />

ประพฤติปฏิบัติตามของสมาชิกในสังคม โดยเป้าหมายของบรรทัดฐานทางสังคมคือการท าให้สมาชิกทั้งหลายในสังคมสามารถอยู ่<br />

ร่วมกันได้อย่างปกติสุขและสมาชิกใหม่ของสังคมสามารถเห็นมาตรฐานหรือเรียนรู้แนวทางปฏิบัติที ่คนในสังคมใช้ร่วมกัน เพื ่อ<br />

ปรับตัวให้เข้ากับสังคมให้ได้ (Steiner, 1965: 301-309)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในทางทฤษฏี บรรทัดฐานทางสังคมเป็นเสมือนกฎระเบียบของธรรมเนียมปฏิบัติ (customary rules) ที ่ท าการควบคุมการ<br />

แสดงพฤติกรรมของมนุษย์เอาไว้ โดยแต่ละสังคมที ่มีวัฒนธรรมที ่แตกต่างกันไปก็จะส่งผลให้บรรทัดฐานทางสังคมมีความแตกต่าง<br />

กันออกไปและเมื ่อวัฒนธรรมมีการเรียนรู้และเปลี ่ยนแปลงไปย่อมส่งผลต่อการเปลี ่ยนแปลงของบรรทัดฐานทางสังคมด้วย บรรทัด<br />

ฐานทางสังคมจึงเป็นแบบแผนในการก าหนดปฏิสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกในสังคมว่าควรปฏิบัติต่อกันอย่างไร นอกจากนี ้ บรรทัดฐาน<br />

ทางสังคมยังเป็นหน้าที ่ทางสังคม (social functions) ในการก าหนดว่าสมาชิกคนหนึ ่งในสังคมจะมีสถานภาพอะไรและต้องมี<br />

บทบาทในการท าหน้าที ่เพื ่อบรรลุเป้าหมายตามสถานภาพอย่างไร และเมื ่อสมาชิกในสังคมคนใดคนหนึ ่งไม่ปฏิบัติตามก็จะต้องถูก<br />

ลงโทษ ซึ ่งในทางวิชาการจะพบว่าการศึกษาบรรทัดฐานทางสังคมจะอยู ่ในกรอบคิดของสังคมวิทยา เช่น งานของเดอร์ไคหม์<br />

(Durkheim,1950) และ พาร์สันส์ (Parsons, 1951)<br />

การใช้ค าว่าบรรทัดฐานระดับสากลพบว่า บรรทัดฐานเป็นเสมือนแบบแผนในการปฏิบัติเพื ่ออยู ่ร่วมกันในสังคมโลก ทั้ง<br />

แบบเป็นทางการหรือมีการเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น การออกกฎหมาย หรือสนธิสัญญาระหว่างประเทศ เป็นต้น และแบบ<br />

ที ่ไม่เป็นทางการหรือไม่มีการเขียนไว้เป็นลายลักษณ์อักษร เช่น มารยาททางสังคม หรือศีลธรรม เป็นต้น โดยในเว็บไซต์วิกิพีเดีย<br />

(Wikipedia) ได้ให้ตัวอย่างของบรรทัดฐานทางสังคมระดับโลกไว้ เช่น การจับมือกันหลังจากการแข่งขันกีฬาเสร็จสิ ้นถือว่าเป็น<br />

รูปแบบหนึ ่งของบรรทัดฐานทางสังคม เป็นต้น (Social Norm op.cit.)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับการนิยามค าว่าบรรทัดฐานในสังคมไทย พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2532: 353) ได้ให้<br />

ความหมายไว้ว่า บรรทัดฐานทางสังคม คือ แนวทางหรือวิถีทางของการกระท าหรือความประพฤติเฉพาะอย่าง ซึ ่งเป็นที ่ยอมรับกัน<br />

ทางสังคมตามความคาดหมายของกลุ่ม หรือตามค่านิยมของสังคมนั้นๆ โดยในที ่นี ้บรรทัดฐานสามารถแบ่งออกเป็น 3 ประเภท ได้<br />

ดังนี ้<br />

1) วิถีประชา (folkways) คือ แนวทางการปฏิบัติที ่ถูกท ามาอย่างเคยชินในชีวิตประจ าวัน ไม่ได้มีลักษณะที ่บังคับ แต่ถ้าท า<br />

ผิดก็อาจจะท าให้มีปัญหาในการเข้ากับสังคมได้<br />

150


2) จารีต (mores) คือ หลักทางศีลธรรม ซึ ่งส่วนใหญ่จะถูกผูกโยงกับหลักศาสนา เป็นแนวทางปฏิบัติของกลุ่มที ่มีความ<br />

ศรัทธาในความเชื ่อทางศาสนาใดศาสนาหนึ ่ง ถ้าไม่ปฏิบัติตามอาจจะถูกลงโทษทางศีลธรรม ไม่สามารถบรรลุ<br />

เป้าหมายในโลกหน้า หรืออาจถูกลงโทษทางสังคม<br />

3) กฎหมาย (law) คือ หลักการปฏิบัติหรือห้ามปฏิบัติที ่ถูกสร้างขึ ้นจากมนุษย์ เป็นแบบแผนที ่เป็นทางการและมีการเขียน<br />

ไว้เป็นลายลักษณ์อักษรที ่ชัดเจน เพื ่อบังคับคนในสังคม มีความเข้มข้นในการควบคุมความประพฤติของมนุษย์สูงสุด<br />

ถ้าใครฝ่าฝืนไม่ปฏิบัติตามจะได้รับโทษตามที ่กฎหมายก าหนด<br />

อย่างไรก็ดี การนิยามที ่อ้างอิงกับหลักศาสนามากเกินไป น ามาสู ่ปัญหาในทางปฏิบัติที ่เห็นว่าบรรทัดฐานทางสังคมเป็นสิ่ง<br />

ศักดิ์สิทธิ จึง “หยุดนิ่ง” ไม่เปลี ่ยนแปลง และต้องเป็นเช่นนั้นเสมอ เช่น การกอดจูบในที ่สาธารณะ หรือ การเรียกร้องให้มีการท า<br />

แท้งเสรี ก็จะมีผู้มีบทบาทในสังคมเห็นว่าเป็นการกระท าที ่ไม่เป็นไปตามบรรทัดฐานของสังคมไทย โดยจากเว็บไซต์<br />

http://talk.mthai.com/topic/138464 ที ่เห็นว่าการส่งเสริมให้มีการท าแท้งเสรีเป็นพวกกิเลสนิยม เป็นต้น ความเข้าใจเช่นนี ้ถือว่าผิด<br />

จากหลักการสากลอย่างสิ ้นเชิง เพราะบรรทัดฐานทางสังคมมาจากวัฒนธรรมในสังคมที ่มีการเรียนรู้ระหว่างกันและสามารถ<br />

เปลี ่ยนแปลงและผสมผสานกันได้ เพื ่อให้เหมาะสมกับสถานการณ์และกาลเวลา และเจตจ านงของสังคม (โปรดดู Cultural Relativism)<br />

โดยการใช้เวลาเรียนรู้ระหว่างกันอย่างยาวนาน ไม่ได้เปลี ่ยนแปลงได้ในชั่วข้ามคืน แต่ก็ไม่ใช่ไม่สามารถเปลี ่ยนแปลงได้เลย<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ค าว่าบรรทัดฐานทางสังคม เป็นแนวทางหรือหลักการร่วมกันของสมาชิกในสังคมที ่จะต้องปฏิบัติต่อกันในการอยู ่ร่วมกัน<br />

เป็นสังคมใหญ่ การเรียนรู้ซึ ่งกันและกันจึงเกิดขึ ้นและการเปลี ่ยนแปลงบรรทัดฐานเป็นสิ่งที ่ปฏิเสธไม่ได้ ประเด็นส าคัญคือ บรรทัด<br />

ฐานมีพลวัตในตัวเอง สามารถปรับเปลี ่ยนให้สอดคล้องกับปฏิสัมพันธ์ของคนในสังคมเพื ่อด ารงไว้ซึ ่งความเป็นระเบียบเรียบร้อย<br />

ของสังคม ไม่ใช่การยึดติดกับบรรทัดฐานเดิมๆ แล้วอ้างว่าสิ่งเก่าดีอยู ่แล้ว ไม่จ าเป็นต้องเปลี ่ยน การกระท าเช่นนั้นรังแต่จะท าให้<br />

สังคมเกิดการปะทุที ่รุนแรงมากขึ ้น และระเบียบสังคมก็จะไม่สามารถเกิดขึ ้นได้<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Contract’ และ ‘Cultural Relativism’<br />

พจนานุกรมศัพท์สังคมวิทยา อังกฤษ-ไทย ฉบับราชบัณฑิตยสถาน (2532). พิมพ์ครั้งที ่ 2. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.<br />

“เสียงคนวงนอก: “ท าแท้งเสรี” กับการรุกคืบของกิเลสนิยม”. เข้าถึงวันที ่ 8 สิงหาคม 2554 ใน http://talk.mthai.com/topic/<br />

138464.<br />

Durkheim, Emile (1950). The Rules of Sociological Method. Glencoe, IL: The Free Press.<br />

Parsons, Tacott (1951). The Social System. New York: Routledge.<br />

“Social Norm”. Accessed August 8, 2012 from http://en.wikipedia.org/wiki/Norm(social).<br />

Steiner, Ivan Dale. (1965). “Structural characteristics of norms”. In Current Studies in Social Psychology. Holt,Rinehart &<br />

Winston of Canada.<br />

151


TRANSPARENCY<br />

ควำมโปร่งใส<br />

ควำมหมำย<br />

ความโปร่งใส (ทางการเมือง) (Political Transparency) หมายถึง ความสามารถของประชาชนในระบอบประชาธิปไตยที ่<br />

จะเข้าถึง และอภิปรายเกี ่ยวกับข้อเท็จจริง เอกสาร และข้อมูลเกี่ยวกับการตัดสินใจด าเนินนโยบายสาธารณะ การใช้อ านาจ<br />

บริหารประเทศของรัฐบาลและทางราชการ ตลอดจนการแต่งตั้งบุคคลเข้าสู ่ต าแหน่งทางการเมือง และในระบบราชการ โดยที ่มา<br />

ของค าว่าความโปร่งใสนี ้มาจากความหมายในทางวิทยาศาสตร์กายภาพที ่น าไปใช้อธิบายคุณลักษณะของวัตถุที ่มีคุณสมบัติ<br />

“โปร่งใส” คือ วัตถุที ่แสงสว่างสามารถลอดผ่านผิวของวัตถุท าให้สามารถมองทะลุพื ้นผิวของวัตถุได้นั่นเอง แต่อย่างไรก็ตาม<br />

ความหมายในเชิงการเมืองยังมีความหมายที ่ลึกกว่าแค่เพียงการมองเห็นการท างานของรัฐบาล และราชการ แต่ยังรวมถึงการที ่<br />

ประชาชนสามารถเข้าใจ มีส่วนร่วม และควบคุมตรวจสอบการท างานของรัฐบาลได้อีกด้วย (Kurian, 2011: 1686)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ตั้งแต่โบราณกาลมาแล้ว ที ่หัวใจของการรักษาอ านาจทางการเมืองอยู ่ที ่การครอบครองข้อมูลข่าวสาร ซึ ่งข้อมูลในที ่นี ้มี<br />

หมายความรวมถึงความรู้ความเข้าใจเกี ่ยวกับการเมืองการปกครอง ด้วยเหตุนี ้ในสมัยโรมันจึงเป็นยุคที ่ห้ามไม่ให้มีการเรียนการ<br />

สอนเกี ่ยวกับกฎหมายมหาชน เนื ่องจากเป็นความรู้เกี ่ยวกับกลไก และสถาบันทางการเมืองการปกครองของรัฐ (บวรศักดิ์ , 2554:<br />

5-6) ดังนั้น ด้วยความที ่ผู้ปกครองตั้งแต่สมัยโบราณใช้อ านาจปกครองโดยที ่ผู้ใต้ปกครองไม่สามารถเข้าใจ และมีความรู้เกี ่ยวกับ<br />

กลไกการท างานของรัฐบาล ผู้ปกครองจึงไม่จ าเป็นจะต้องได้รับความนิยมชมชอบ (popularity) หรือ ความยินยอมจากผู้ใต้<br />

ปกครอง แต่จะปกครองด้วยความกลัว (ของผู้ถูกปกครอง) และความรุนแรงแทนนั่นเอง<br />

การปิดกั้นการเข้าถึงข้อมูลและการผูกขาดอ านาจการเมือง เริ่มเปลี ่ยนแปลงไปหลังจากเกิดสงครามกลางเมืองในอังกฤษ<br />

(ค.ศ. 1642-1649) ที ่ท าให้ประชาชน หรือ ผู้ถูกปกครองต่างตระหนักในความจ าเป็นของความโปร่งใสทางการเมือง หรือ อีกนัย<br />

หนึ ่งก็คือ ศักยภาพในการตรวจสอบรัฐบาลไม่ว่าจะโดยรัฐสภา หรือ โดยประชาชน ซึ ่งจิตวิญญาณของหลักการดังกล่าวนี ้ได้สะท้อน<br />

ออกมาให้เห็นเป็นรูปธรรมภายหลังจากการปฏิวัติอเมริกา (ค.ศ. 1776) และการปฏิวัติฝรั่งเศส (ค.ศ. 1789) พร้อมๆ กันกับการ<br />

เกิดลัทธิรัฐธรรมนูญนิยม (โปรดดู Constitutionalism) ที ่ในทางกฎหมายมหาชน แนวความคิดความโปร่งใสของรัฐบาลในช่วงสงคราม<br />

กลางเมืองของอังกฤษได้น าไปสู ่การวางกลไกทางสถาบันการเมืองในรัฐธรรมนูญที ่เรียกว่า “การตรวจสอบถ่วงดุล” (checks <strong>and</strong><br />

balances) ที ่ซ้อนอยู ่ภายใต้หลักการแบ่งแยกอ านาจ (separation of powers) ของทั้งสหรัฐอเมริกา และฝรั่งเศส ซึ ่งเป็นแนวคิดที ่<br />

สนับสนุนหลักการความโปร่งใสทางการเมืองที ่ได้รับอิทธิพลมาจากกลไกการถ่วงดุลอ านาจตามระบบรัฐสภาของอังกฤษที ่ฝ่าย<br />

บริหารจะต้องถูกตรวจสอบการท างานโดยฝ่ายนิติบัญญัติอยู ่เสมอ (Wormuth, 1949: 72) ดังนั้น กลไกการตรวจสอบถ่วงดุลของทั้ง<br />

สามอ านาจ นอกจากจะเป็นการท าให้แต่ละฝ่ายจะต้องท างานอย่างเปิดเผยเพราะจะถูกตรวจสอบจากอีก 2 อ านาจแล้ว ยังจะต้อง<br />

เปิดเผยให้ประชาชนซึ ่งเป็นแหล่งที ่มาอันชอบธรรมของอ านาจทางการเมืองได้รับรู้อีกด้วย (โปรดดู Popular Sovereignty)<br />

152


ทว่าในการปกครองสมัยใหม่ ยังคงมีพื ้นที ่ที ่เรียกว่า “ความลับของทางการ” ซึ ่งยังเป็นข้อยกเว้นของหลักความโปร่งใสทาง<br />

การเมือง เนื ่องจากบางครั้ง การปกครองจ าเป็นต้องอาศัยความลับในการด าเนินการต่างๆ ที ่ยังไม่อาจเปิดเผยให้ประชาชนทั่วไป<br />

ได้รับทราบได้จนกว่าจะถึงเวลาที ่เหมาะสม ด้วยเหตุผลส าคัญหลายๆ ประการตั้งแต่เพื ่อรักษาความสงบเรียบร้อยไปจ นถึงเพื ่อ<br />

ผลประโยชน์แห่งรัฐ ซึ ่งเป็นไปในลักษณะเดียวกันกับการที ่พนักงานสอบสวนไม่อาจเปิดเผยข้อเท็จจริงให้สื ่อทราบได้เพราะจะเป็น<br />

การท าให้สูญเสียรูปคดีไป ด้วยเหตุนี ้ทุกๆ รัฐบาลในโลกสมัยใหม่จึงยังคงสงวนพื ้นที ่ที ่เรียกว่า “ความลับของทางการ” เอาไว้ไม่มาก<br />

ก็น้อย<br />

แต่ในบางครั้งฝ่ายผู้ปกครอง หรือ รัฐบาลเองก็ใช้ข้ออ้างเรื ่องความลับของทางการมากีดกัน และขัดขวางประชาชน ในการ<br />

รับรู้ข้อมูลทางการเมืองการปกครองเพื ่อที ่จะเอาเปรียบ หรือ ซ่อนเร้นบางสิ่งบางอย่างที ่ไม่ชอบมาพากล ด้วยเหตุนี ้ในปัจจุบันจึงได้<br />

เกิดขบวนการเคลื ่อนไหวเพื ่อเรียกร้องให้ลดพื ้นที ่ “ความลับของทางการ” ลง และจัดระบบของการเข้าถึงข้อมูล และเอกสารของ<br />

ทางการโดยประชาชนอย่างเป็นระบบ เช่น การออกรัฐบัญญัติสิทธิในการเข้าถึงข้อมูล (Rights to Information Act : RTI) ของ<br />

อินเดียในปี ค.ศ. 2005 และรัฐบัญญัติอิสรภาพในการเข้าถึงข้อมูล (Freedom of Information Act : FOIA) ของสหรัฐฯ ที ่บังคับให้<br />

หน่วยงานของรัฐบาลจะต้องเปิดเผยข้อมูลในการบริหารบ้านเมืองเมื ่อครบก าหนดระยะเวลาที ่กฎหมายก าหนดโดยไม่อาจหลีกเลี ่ยง<br />

ได้ นอกจากนี ้ยังมีกฎหมายลูกที ่บังคับให้หน่วยงานของรัฐจะต้องจัดท าสิ่งพิมพ์ทางการเหล่านี ้ให้เป็นเอกสารอิเล็กทรอนิกส์เพื ่อให้<br />

ประชาชนทั่วไปสามารถเข้าถึงได้ผ่านการเชื ่อมต่อเครือข่ายไร้สายอินเตอร์เน็ต<br />

นอกจากนี ้ในปัจจุบันยังมีองค์กรที ่เรียกว่า "องค์กรเพื ่อความโปร่งใสระหว่างประเทศ" (Transparency International) ที ่จะ<br />

คอยจัดท าดัชนีภาพลักษณ์ของการทุจริตคอร์รัปชั่นออกมาเป็นรายงานประจ าปีทุกๆ ปี เพื ่อให้คนจากทั่วโลกสามารถรับรู้ถึง<br />

พัฒนาการ และความเป็นไปของความโปร่งใสทางการเมืองของรัฐบาลจากทั่วทุกมุมโลกอีกด้วย (โปรดดู Corruption) นอกจากนี ้<br />

“สื ่อ” (media) ที ่เสรี และเป็นมืออาชีพ ก็เป็นกลไกที ่ส าคัญอีกประการหนึ ่งในระบอบเสรีประชาธิปไตยสมัยใหม่ ที ่จะช่วยท าหน้าที ่<br />

ตรวจสอบความโปร่งใสทางการเมือง และสร้างความเชื ่อมั่นให้แก่ประชาชนของรัฐได้จากการรายงาน และเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารที ่<br />

ถูกต้อง และเที ่ยงตรงอย่างปราศจากอคติ และการแทรกแซงจากฝ่ายการเมือง (โปรดดู Media)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยตั้งแต่ต้นทศวรรษ 2500 ขึ ้นชื ่อเรื ่องรัฐบาลที ่มีความเป็นระบบราชการสูงจนนักวิชาการอย่าง เฟร็ด ดับบลิว<br />

ริกส์ (Fred W. Riggs) เรียกการปกครองของไทยว่าเป็นรัฐราชการ หรือ รัฐอ ามาตยาธิปไตย (bureaucratic polity) ซึ ่งหมายถึงการ<br />

บริหารราชการแผ่นดินของข้าราชการที ่สร้างภาพลักษณ์ของความเป็นผู้ปกครองแบบเจ้าขุนมูลนาย และมองประชาชนเจ้าของ<br />

อ านาจเป็นเพียงผู้ถูกปกครอง ดังนั้นช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ.2500 - 2540 การเข้าถึงข้อมูลข่าวสารของทางราชการของคนไทยจึงถูก<br />

กีดกันประการหนึ ่งจากระบบความสัมพันธ์ระหว่างข้าราชการกับประชาชนที ่เป็นเสมือนเจ้านาย กับ บ่าว กับอีกประการหนึ ่งจาก<br />

ขั้นตอน และกระบวนการที ่ท าให้เกิดความยุ่งยาก และซับซ้อน สร้างขั้นตอนเกินจ าเป็น (red tape) ของระบบราชการไทย<br />

จนกระทั่งพระราชบัญญัติระเบียบบริหารราชการแผ่นดิน พ.ศ. 2534 มาตรา 3/1 และ 71/10 (5) ได้น าไปสู ่การออกพระราช<br />

กฤษฎีกา ว่าด้วยหลักเกณฑ์ และวิธีการบริหารกิจการบ้านเมืองที ่ดี พ.ศ. 2546 ซึ ่งระบุไว้อย่างชัดเจนในมาตรา 6 ที ่มีใจความส าคัญ<br />

153


ว่าการบริหารราชการแผ่นดินนั้นจะต้องก่อให้เกิดประสิทธิภาพ ความคุ้มค่า ลดขั้นตอนที ่ไม่จ าเป็น และบริการตลอดจนอ านวยความ<br />

สะดวกให้แก่ประชาชน ซึ ่งการอ านวยความสะดวกนี ้รวมถึงมาตรา 43 ที ่ระบุว่า<br />

"การปฏิบัติราชการในเรื่องใดๆ โดยปกติให้ถือว่าเป็นเรื่องเปิดเผย เว้นแต่กรณีมีความจ าเป็น<br />

อย่างยิ่งเพื่อประโยชน์ในการรักษาความมั ่นคงของประเทศ ความมั ่นคงทางเศรษฐกิจ การรักษาความ<br />

สงบเรียบร้อยของประชาชน หรือการคุ้มครองสิทธิส่วนบุคคล จึงให้ก าหนดเป็นความลับได้เท่าที่จ าเป็น"<br />

จะเห็นได้ว่ากฎหมายฉบับดังกล่าวของไทยนั้นระบุถึงหลักการความโปร่งใสทางการเมืองอย่างชัดเจนเช่นเดียวกันกับที ่<br />

เกิดขึ ้นกับระบบการเมืองการปกครองของโลกตะวันตก แต่จะสังเกตได้ว่าประเทศไทยเองก็เป็นเช่นเดียวกับประเทศอื ่นๆ ที ่ยังคงมี<br />

การสงวนรักษาพื ้นที ่ที ่เรียกว่า "ความลับของทางการ" อยู ่ด้วยเช่นกัน แตกต่างก็ตรงที ่ พื ้นที ่ตรงจุดนี ้ของไทยนั้นยังไม่ได้รับการท า<br />

ให้เป็นสมัยใหม่ (modernize) โดยการจัดระบบ และท าให้เกิดความชัดเจนให้เกิดขึ ้นในบริเวณที ่เป็นพื ้นที ่สีเทานี ้ด้วยการตรา<br />

กฎหมายเฉพาะ ดังเช่นที ่เกิดขึ ้นในอินเดีย สหรัฐอเมริกา และอีกหลายๆ ประเทศ ดังนั้น ประเทศไทยในปัจจุบันจึงยังคงมีช่องโหว่<br />

ของกระบวนการตรวจสอบ และการท าให้เกิดความโปร่งใสในการบริหารราชการแผ่นดินของรัฐ ทั้งกระบวนการออกนโยบาย<br />

สาธารณะ และการแต่งตั้งโยกย้ายข้าราชการประจ า และข้าราชการทางการเมือง ซึ ่งในหลายกรณีมักเกิดขึ ้นผ่านข้ออ้างของ<br />

นักการเมือง และข้าราชการดังที ่ระบุในตัวบทกฎหมายว่า เป็นเรื ่องของความมั่นคง และความสงบเรียบร้อย ซึ ่งไม่อาจมีใคร<br />

สามารถพิสูจน์ หรือ รับรู้ความเป็นจริงดังกล่าวนั้นได้เลยนอกเสียจากตัวรัฐบาล ดังนั้นก้าวต่อไปของกระบวนการสร้างความ<br />

โปร่งใสของรัฐบาลไทย จึงอยู ่ที ่การยอมเปิดเผยพื ้นที ่สีเทานี ้ให้ชัดเจนมากขึ ้น ไม่ว่าจะด้วยการออกกฎหมาย หรือ การก าหนด<br />

กลไกการตรวจสอบจากองค์กรอิสระต่างๆ จึงจะท าให้ประเทศไทยสามารถบรรลุเจตนารมณ์ของแนวคิดเรื ่องความโปร่งใสทาง<br />

การเมืองได้อย่างแท้จริง<br />

ปัจจุบันประเทศไทยมีพระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540 ที ่ได้ก าหนดให้หน่วยงานของรัฐเปิดเผย<br />

ข้อมูลข่าวสารของทางราชการให้แก่ประชาชนทั่วไป โดยก าหนดวิธีการเปิดเผยข้อมูลไว้ 3 วิธี ได้แก่ 1) การพิมพ์ในราชกิจจา<br />

นุเบกษา (มาตรา 7) 2) การจัดไว้ให้ประชาชนตรวจดู (มาตรา 9) และ 3) การจัดหาให้เอกชนเป็นการเฉพาะราย (มาตรา 11)<br />

(พระราชบัญญัติข้อมูลข่าวสารของทางราชการ พ.ศ. 2540 ใน www.oic.go.th) และยังมีองค์กรเพื ่อความโปร่งใสเป็นของเราเอง ซึ ่ง<br />

มีหลักการท างาน และกุศโลบายที ่คล้ายคลึงกับองค์กรเพื ่อความโปร่งใสระหว่างประเทศ คือคอยติดตามและเฝ้าระวังในเรื ่องที ่<br />

เกี ่ยวกับการทุจริตต่างๆ เพียงแต่จะไม่มีการท ารายงานประจ าปีออกมาเหมือนกับองค์กรเพื ่อความโปร่งใสระหว่างประเทศ(ใน<br />

http://www.transparency-thail<strong>and</strong>.org)<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Constitutionalism’, ‘Sovereignty of the People’, ‘Corruption’ และ ‘Media’<br />

บวรศักดิ์อุวรรโณ (2554). กฎหมายมหาชน เล่ม 1. กรุงเพฯ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

อเนก เหล่าธรรมทัศน์ (2553). สองนคราประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: คบไฟ.<br />

154


Wormuth, Francis D. (1949). The origins of modern constitutionalism. New York: Harper<br />

& Brothers.<br />

Riggs, Fred W. (1966). Thail<strong>and</strong>: the modernization of a bureaucratic polity. Honolulu: East-West Center Press.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Ackerman, Susan Rose (1999). Corruption <strong>and</strong> government: causes, consequences, <strong>and</strong> reform. Cambridge: Cambridge<br />

University Press.<br />

155


ส่วนที่ 3<br />

RIGHTS AND SOCIAL JUSTICE<br />

สิทธิและควำมเป็ นธรรมทำงสังคม<br />

156


CIVIL DISOBEDIENCE<br />

กำรดื้อแพ่งของพลเมือง/อำรยะขัดขืน<br />

ควำมหมำย<br />

การดื ้อแพ่งของพลเมือง (Civil Disobedience) หมายถึง การต่อต้านขัดขืนของพลเมือง โดยพร้อมจะยอมรับในผลของ<br />

การกระท านั้น เพื ่อปฏิเสธกฎหมาย ค าสั่ง หรืออ านาจใดๆ ของรัฐที ่เห็นว่าไม่ชอบธรรม (Kurian, 2011: 236) ในสังคมไทยบางครั้ง<br />

แปลว่า “อารยะขัดขืน” ซึ ่งเกิดจากการสมาสค าสองค า คือ ค าว่า “อารยะ” ซึ ่งหมายถึง เจริญ หรือสุภาพ กับค าว่า “ขัดขืน” ซึ ่ง<br />

หมายถึง ไม่ประพฤติตาม ไม่ท าตาม เมื ่อรวมกันแล้วจึงมีความหมายว่า การขัดขืนของผู้ที ่เจริญแล้วและเป็นไปอย่างสุภาพ<br />

อรรถำธิบำย<br />

การดื ้อแพ่งของพลเมืองก่อตัวขึ ้นจากแนวคิดทฤษฎีสัญญาประชาคมของจอห์น ล็อค (John Locke) กล่าวคือ ไม่เพียงแต่<br />

เขาจะมองว่าสังคมการเมืองเป็นผลลัพธ์ที ่เกิดขึ ้นจากการร่วมตกลงกันของคนในสภาวะธรรมชาติ (state of nature) โดยที ่ผู้คน<br />

เหล่านั้นยอมสูญเสียสิทธิบางอย่างเมื ่อครั้งอยู ่ในสภาวะธรรมชาติเพื ่อแลกกับการมาอยู ่ร่วมกันโดยมีตัวแทน คือ รัฐบาลที ่จะมาเป็น<br />

คณะกรรมการหนึ ่งคอยดูแลความสงบเรียบร้อยของสังคม แต่ถึงกระนั้นล็อคก็ยังมองว่าผู้คนที ่มารวมกันก่อตั้งรัฐเหล่านั้นแม้จะยอม<br />

สูญเสียสิทธิบางอย่างไปให้แก่ผู้ปกครอง แต่ก็ยังมีสิทธิบางอย่างซึ ่งเป็นสิทธิที ่ไม่มีใครพรากไปจากพวกเขาได้ (unalienable rights)<br />

และสิทธิที ่ว่านั้นก็คือ สิทธิตามธรรมชาติ (natural rights) หนึ ่งในนั้นประกอบด้วยสิทธิในการปฏิวัติ (right of revolution) ซึ ่ง<br />

สามารถใช้สิทธินี ้ได้ก็ต่อเมื ่อผู้ปกครองไม่สามารถปกป้องสิทธิ เสรีภาพ และความสงบสุขในสังคมได้อีกต่อไป หรือเมื ่อผู้ปกครอง<br />

นั้นใช้อ านาจในทางฉ้อฉลต่อประชาชน ล็อคกล่าวว่าประชาชนก็มีสิทธิที ่จะปฏิวัติเพื ่อโค่นล้มรัฐบาลและกลับไปสู ่สภาวะธรรมชาติ<br />

ได้อีกครั้งหนึ ่งนั่นเอง (Locke, 1952: 125, 130) จะเห็นได้ว่าจากแนวคิดเรื ่องสิทธิในการปฏิวัติของจอห์น ล็อค ดังกล่าว ได้<br />

กลายเป็นต้นก าเนิดของแนวคิดเรื ่องการดื ้อแพ่ง หรือ ที ่สังคมไทยส่วนหนึ ่งเรียกว่าอารยะขัดขืนนั่นเอง<br />

ในปัจจุบันการที ่รัฐสมัยใหม่ หรือ รัฐประชาชาติ (nation-state) มีแหล่งที ่มาของอ านาจสูงสุดอยู ่ที ่ประชาชน ดังนั้นจึงไม่ใช่<br />

เรื ่องแปลกประหลาดแต่อย่างใดที ่ประชาชนซึ ่งเป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตยสูงสุดของรัฐ จะสามารถธ ารงไว้ซึ ่งสิทธิโดยธรรมชาติที ่<br />

จะขัดขืน หรือ ดื ้อแพ่งต่อรัฐบาลของประชาชน แต่ทว่าการต่อต้านอ านาจรัฐดังกล่าวก็ใช่ว่าจะไม่มีขอบเขต มิเช่นนั้นบ้านเมืองก็<br />

อาจจะเข้าสู ่สภาวะมิคสัญญี หรือ อนาธิปไตยได้หากทุกคนออกมาต่อต้านรัฐอย่างไร้ขอบเขต ดังนั้น ในสังคมเสรีประชาธิปไตยเรา<br />

จึงมักใช้การต่อต้านอ านาจรัฐในลักษณะของการอารยะขัดขืน ซึ ่งเป็นสิทธิที ่มาพร้อมเงื ่อนไขบางอย่าง กล่าวคือ การต่อต้านอ านาจ<br />

รัฐนั้นจะสมเหตุสมผล และชอบธรรมเมื ่อได้กระท ากับรัฐบาลที ่ใช้อ านาจรัฐอย่างฉ้อฉล คือ ได้ล่วงละเมิดสิทธิ เสรีภาพของ<br />

ประชาชนภายในรัฐอย่างร้ายแรง ประกอบกับวิธีการของการต่อต้านอ านาจรัฐในรูปแบบอารยะขัดขืนนั้นจะต้องเป็นไปในลักษณะ<br />

ของสันติวิธี คือ การชุมนุมเรียกร้องโดยสงบปราศจากอาวุธ แทนที ่การต่อต้านอ านาจรัฐโดยใช้ความรุนแรง หรือ การจับอาวุธเข้า<br />

ประหัตถ์ประหารกับกองก าลังของรัฐ ซึ ่งจะกลายเป็นการอนารยะขัดขืนไปเสีย อันจะก่อให้เกิดความสูญเสียจากความรุนแรง และ<br />

น าไปสู ่ปัญหาความขัดแย้งที ่ยากจะแก้ไขและเยียวยาในท้ายที ่สุด<br />

ค าว่า “Civil Disobedience” ปรากฏในหนังสือที ่ เฮนรี เดวิด เธอโร (Henry David Thoreau,1817-1862) เขียนและ<br />

ตีพิมพ์เมื ่อปี ค.ศ. 1849 เพื ่อต่อต้านการค้าทาสและสงครามที ่สหรัฐฯ กระท าต่อเม็กซิโก จึงปฏิเสธการจ่ายภาษี โดยเริ่มการดื ้อ<br />

157


แพ่ง ครั้งแรกในปี ค.ศ. 1846 จนถูกจับกุมเพราะไม่ยอมจ่ายภาษีเลือกตั้ง (poll tax) และถูกจับกุมอีกหลายครั้ง เนื ่องจากไม่ยอม<br />

หยุดประท้วง<br />

การอารยะขัดขืนที ่รู้จักกันดีไปทั่วทุกมุมโลก เห็นจะไม่พ้นการต่อต้านจักรวรรดินิยมอังกฤษของชายชาวอินเดียที ่มีชื ่อว่า<br />

โมหันทาส กะรัมจันท คานธี หรือ มหาตมา คานธี ที ่เรียกร้องให้อินเดียซึ ่งในขณะนั้นตกเป็นอาณานิคมของอังกฤษ ได้มีการปกครอง<br />

ตนเอง หรือ ประกาศเอกราชจากอังกฤษ โดยเขาได้รวบรวมผู้คนชาวอินเดียจ านวนนับล้านลุกฮือขึ ้นต่อต้านการปกครองของ<br />

อังกฤษ แต่วิธีการที ่คานธีน ามาใช้คือ หลักการอหิงสา (ahimsa) ซึ ่งหมายถึง ความไม่รุนแรง (non-violence) และสัตยาเคราะห์<br />

(satyakraha) ซึ ่งหมายถึงการยืนยันในพลังแห่งความจริง (insistence on truth) (Sharp, 1979: 62-63) ซึ ่งเขาได้แสดงออกผ่าน<br />

การเรียกร้องในหลากหลายรูปแบบ เช่น การน าเสื ้อผ้าฝ้ายที ่ผลิตจากประเทศอังกฤษมากองรวมกันแล้วเผาทิ ้ง และทอเครื ่องนุ่งห่ม<br />

อย่างเรียบง่ายเพื ่อใช้ห่มแทน หรือ การเดินขบวนไปยังชายทะเลเพื ่อประท้วงการเก็บภาษีเกลือที ่ไม่เป็นธรรมของชาวอังกฤษ เป็น<br />

ต้น แม้ว่าฝ่ายอังกฤษจะตอบโต้การต่อต้านของขบวนการอารยะขัดขืนของคานธีหลายต่อหลายครั้งด้วยวิธีการที ่รุนแรง เช่น การ<br />

สังหารหมู ่ผู้ชุมนุมประท้วงในต าบลยิลเลียนวาลา ในแคว้นอมฤตสาของอินเดียซึ ่งท าให้มีผู้เสียชีวิตในหมู ่ผู้ชุมนุมถึงกว่าพันคน แต่<br />

ถึงแม้ชาวอินเดียจะรู้สึกโกรธแค้นต่อเหตุการณ์ดังกล่าว แต่ด้วยการยืนกรานในสันติวิธีภายใต้การน าของคานธี ก็ได้ท าให้<br />

ท้ายที ่สุดอังกฤษก็ยินยอมมอบเอกราชให้แก่อินเดียในวันที ่ 15 สิงหาคม ค.ศ. 1947<br />

มาร์ติน ลูเธอร์ คิง จูเนียร์ (Martin Luther King Jr.) ได้กล่าวถึงการดื ้อแพ่งของพลเมืองไว้อย่างชัดเจนว่า “คนที ่ละเมิด<br />

กฎหมายซึ ่งไม่เป็นธรรมจากเสียงเตือนในมโนธรรมส านึกของตนเอง และเป็นคนที ่พร้อมจะรับการลงโทษด้วยการคุมขัง ทั้งนี ้เพื ่อ<br />

ปลุกเร้ามโนธรรมส านึกของชุมชนให้ตระหนักถึงความอยุติธรรมดังกล่าว แท้จริงแล้วเป็นการแสดงความเคารพอย่างสูงสุดต่อ<br />

กฎหมาย” (“An individual who breaks a law that conscience tells him is unjust, <strong>and</strong> who willingly accepts the penalty of<br />

imprisonment in order to arouse the conscience of the community over its injustice, is in reality expressing the highest<br />

respect for the law”)<br />

ดังนั้น “การดื ้อแพ่ง” จึงต้องประกอบด้วยการกระท า 2 ประการคือ การละเมิดกฎหมายหนึ ่ง และการยอมรับผลจากการ<br />

ละเมิดกฎหมายนั้นเป็นประการที ่สอง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ค าว่า “อารยะขัดขืน” ถูกบัญญัติขึ ้นโดย ชัยวัฒน์ สถาอานันท์ ในระหว่างการเสวนาหลังกรณีสมัชชาคนจนบุกท าเนียบ<br />

รัฐบาลในปี พ.ศ. 2543 สมัยของรัฐบาลนายชวน หลีกภัย จนเกิดการปะทะกับเจ้าหน้าที ่ของรัฐ ท าให้บาดเจ็บและถูกรัฐบาลจับกุม<br />

ประเด็นที ่สังคมและสื ่อถกเถียงกันจากเหตุการณ์ดังกล่าวคือ กลุ่มสมัชชาคนจนใช้ก าลังบุกยึดท าเนียบรัฐบาลเพื ่อเรียกร้องให้<br />

รัฐบาลมีมาตรการช่วยเหลือ เป็นการกระท าตามสิทธิที ่ก าหนดไว้ในรัฐธรรมนูญ ที ่รับรองสิทธิประชาชนในการรวมกลุ่ม เรียกร้อง<br />

กดดัน และเป็นไปตามกติกาตามระบอบประชาธิปไตยหรือไม่ ขณะเดียวกันสมชาย ปรีชาศิลปะกุล ได้เสนอบทความเรื ่อง "สิทธิการ<br />

ดื ้อแพ่งต่อกฎหมาย" โดยแสดงทัศนะว่า “civil disobedience” ควรแปลว่า การดื ้อแพ่งต่อกฎหมาย หรือ คือการกระท าที ่ฝืนและ<br />

ต่อต้านกฎหมายโดยสันติวิธี โดยระบุว่าปฏิบัติการบุกท าเนียบรัฐบาลในครั้งนั้นก็เข้าข่ายนี ้ หรือการกีดขวางการจราจรด้วยการนอน<br />

บนถนน เป็นต้น<br />

158


สังคมไทยส่วนใหญ่เข้าใจดีตามทฤษฎีว่า อารยะขัดขืนหรือการดื ้อแพ่งของพลเมืองจะท าได้อย่างมีความชอบธรรมก็<br />

ต่อเมื ่อมีเงื ่อนไขที ่ส าคัญคือ เป็นการดื ้อแพ่งของพลเมืองต่อกฎหมายหรืออ านาจที ่ไม่เป็นธรรมหรืออยุติธรรม ไม่ใช่การดื ้อแพ่ง<br />

หรือไม่ยอมรับกฎหมายทั่วไปที ่บังคับใช้ตามกระบวนการของกฎหมายที ่เป็นธรรม มิเช่นนั้นจะเป็นการก่อจลาจล วุ่นวาย แต่ในทาง<br />

ปฏิบัติอารยะขัดขืนหรือการดื ้อแพ่งของพลเมืองได้กลายมาเป็นยุทธวิธีในการต่อสู้กับรัฐบาลและอ านาจรัฐ โดยประชาชนทุกชั้นชน<br />

และกลุ่มความคิด ไม่ว่าจะเป็นคนจนยากไร้ กลุ่มเกษตรกร กลุ่มคนชั้นกลาง คนในเมืองที ่มีฐานะและการศึกษา ไม่ว่าจะเป็นกลุ่ม<br />

พันธมิตรประชาชนเพื ่อประชาธิปไตย (คนเสื ้อเหลือง) หรือกลุ่มแนวร่วมประชาชนต่อต้านเผด็จการ (คนเสื ้อแดง) หรือกลุ่มต่อต้าน<br />

พระราชบัญญัตินิโทษกรรมฉบับเหมาเข่ง ที ่น าโดยอดีตแกนน าพรรคประชาธิปัตย์ ที ่ต่อมาเรียกร้องให้ประชาชนหยุดงาน นิสิต<br />

นักศึกษาหยุดเรียน และกลุ่มธุรกิจชะลอการจ่ายภาษี<br />

กลุ่มผู้ชุมนุมในประเทศไทย ไม่ว่าจะเป็นกลุ่มใดก็ตามมักอ้างว่าการชุมนุมของตนนั้นเป็นการชุมนุมโดยสงบปราศจาก<br />

อาวุธ เป็นไปตามสิทธิที ่รัฐธรรมนูญได้บัญญัติไว้ และเป็นไปตามแนวทางสันติ อหิงสาในแบบอย่างของคานธี แต่หากใครที ่พอมี<br />

ความสนใจทางการเมืองอยู ่บ้าง ย่อมจะต้องพบว่า การชุมนุมเรียกร้องทางการเมืองของไทย ไม่ว่าจะเป็นการบุกยึดรัฐสภา การปิด<br />

สนามบินของกลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื ่อประชาธิปไตย ในปี พ.ศ. 2551 หรือการปิดสี ่แยกราชประสงค์ของกลุ่ม นปช. ในปี พ.ศ.<br />

2553 และอีกหลายกรณี มักลงเอยหรือน าไปสู ่การใช้ความรุนแรงอยู ่บ่อยครั้ง ทั้งนี ้ก็เพราะปัจจัยหลายๆ ประการ ประการแรกก็คือ<br />

การชุมนุมทางการเมืองไทยเหล่านั้นไม่ได้ยึดแนวทางอหิงสา และสัตยาเคราะห์อย่างจริงจัง กล่าวคือ แนวทางสันติวิธีของคานธีนั้น<br />

เน้นการใช้ความไม่รุนแรงเอาชนะความรุนแรง ดังนั้นคนที ่มาชุมนุมจึงต้องพร้อมที ่จะรับความรุนแรงจากอ านาจรัฐ และหากมีการ<br />

ละเมิดกฎหมายแล้ว ผู้กระท าการต้องยอมรับผลจากการละเมิดกฎหมายด้วย นอกจากนี ้พลังของความจริง (สัตยาเคราะห์) ยังเป็น<br />

องค์ประกอบส าคัญของสันติวิธี เพราะความจริงจะช่วยเปิดเผยให้ผู้คนเห็นว่าผู้ที ่ไม่ใช้ความรุนแรงนั้นมีความชอบธรรมที ่จะ<br />

เรียกร้องสิทธิของพวกเขา (ยีน ชาร์ป, 2514: 197-205)<br />

แต่การชุมนุมของประเทศไทยนั้นกลับเป็นไปในลักษณะของการเสนอความจริงคนละชุดกันซึ ่งน าไปสู ่การใส่ร้ายป้ายสี และ<br />

การสร้างความเป็นอื ่น (the otherness) อันน าไปสู ่ความเกลียดชังระหว่างกัน ท าให้ท้ายที ่สุดแล้วการชุมนุมทางการเมืองย่อม<br />

หลีกเลี ่ยงไม่พ้นที ่จะต้องใช้ความรุนแรงเข้าแก้ไขปัญหาความขัดแย้งนั่นเอง นอกจากนี ้ในแง่ของกฎหมายนั้นประเทศไทยเองก็ยัง<br />

ไม่มีการตราพระราชบัญญัติการชุมนุมในที ่สาธารณะที ่เป็นรูปเป็นร่างชัดเจนดังเช่นบางประเทศในโลกตะวันตกอย่างอังกฤษ ซึ ่งใน<br />

แง่นี ้เป็นส่วนหนึ ่งที ่ฝ่ายรัฐเองสามารถเลือกน ามาใช้เพื ่อลดความเสี ่ยงในการใช้ความรุนแรงต่อกันได้ และก็ยังไม่เป็นการลิดรอน<br />

สิทธิที ่มีมาโดยธรรมชาติของประชาชน แต่ในทางตรงกันข้ามกลับช่วยส่งเสริมให้มีการใช้สิทธิดังกล่าวได้ แต่จะต้องเป็นไปภายใต้<br />

กรอบของกฎหมายในลักษณะของการอารยะขัดขืนโดยประชาชนนั่นเอง<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

มีแนวคิดว่า การแสดงอารยะขัดขืน หรือการดื ้อแพ่งของพลเมืองเพื ่อต่อต้านอ านาจรัฐ หรืออ านาจทุนในการเมือง<br />

สมัยใหม่ อาจท าได้ในเชิงสัญลักษณ์แทนการชุมนุมประท้วงที ่ใช้กันเป็นพื ้นฐานมาตลอด เช่น การนัดหยุดงานพร้อมกัน การถอน<br />

เงินออกจากธนาคาร การเขียนข้อความแสดงความไม่เห็นด้วยบนก าแพงหรือพื ้นถนน เป็นต้น การดื ้อแพ่งในลักษณะดังกล่าวอาจ<br />

ไม่สามารถสร้างแรงกดดันได้ทันทีทันใด แต่เมื ่อท าอย่างต่อเนื ่อง และมีผู้สนใจเข้าร่วมมากขึ ้น จะสามารถยกระดับเป็ นการให้<br />

ความรู้ร่วมกันของผู้ต้องการดื ้อแพ่งต่ออ านาจรัฐได้เป็นอย่างดี และจะหลีกเลี ่ยงการสูญเสียได้มากที ่สุด<br />

159


ดูเพิ่มใน ‘Social Contract’ และ ‘Civil Rights’<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ยีน ชาร์ป (2514). อ านาจและยุทธวิธีไร้ความรุนแรง. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโกมลคีมทอง.<br />

Sharp, Gene (1979). G<strong>and</strong>hi as a political strategist: with essays on ethics <strong>and</strong> politics. Boston: Porter Sargent.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Locke, John (1952). The second treatise of government. New York: The Liberal Arts Press.<br />

160


DISTRIBUTIVE JUSTICE<br />

กำรกระจำยอย่ำงเป็ นธรรม<br />

ควำมหมำย<br />

การกระจายอย่างเป็นธรรม(Distributive Justice) เป็นหลักการพื ้นฐานที ่สุดที ่ใช้ก ากับหรือก าหนดโครงสร้างความสัมพันธ์<br />

ของคนและสถาบันในสังคม อันเกี ่ยวข้องกับการกระจายประโยชน์ และสิ่งที ่มีคุณค่าในสังคม การเข้าถึงทรัพยากร รวมถึงโอกาสที ่<br />

จะได้รับสิทธิบางอย่าง และการก าหนดภาระหน้าที ่ให้แก่สมาชิกในสังคม (Kurian, 2011: 446; Rawls, 1971: 4) การกระจายอย่าง<br />

เป็นธรรมมีหลายแนวคิดแตกต่างกันออกไป เช่น หลักการกระจายที ่เน้นความเท่าเทียมกันอย่างเด็ดขาด (Strict Egalitarianism)<br />

หลักการกระจายแบบประโยชน์นิยม (Utilitarianism–Based<br />

Principle) หลักที ่มีฐานจากความแตกต่าง (Difference-Based<br />

Principle) หลักการกระจายแบบเสรีภาพนิยม ที ่ขึ ้นอยู ่กับความสามารถของคนบุคคล (Libertarian Principle) และหลักการกระจาย<br />

ตามความเหมาะสม (Desert-based Principle) เป็นต้น<br />

อรรถำธิบำย<br />

ส าหรับที ่มาของแนวคิดการกระจายอย่างเป็นธรรม พบว่ามีการถกเถียงในประเด็นนี ้ตั้งแต่สมัยโบราณ ถ้านับย้อนไปก็จะ<br />

เห็นได้ชัดเจนในงานของอริสโตเติลเรื ่อง “Politics” และแนวคิดดังกล่าวได้กลายมาเป็นข้อถกเถียงที ่ส าคัญและเผยแพร่ไปตามที ่<br />

ต่างๆ อย่างกว้างขวางในช่วงทศวรรษ 1970s เมื ่อนักปรัชญาอเมริกัน จอห์น รอลส์ (John Rawls) ได้เขียนงานชิ ้นส าคัญเรื ่อง<br />

“ทฤษฎีความเป็นธรรม” (A Theory of Justice, ค.ศ. 1971) งานชิ ้นนี ้ได้เสนอหลักการกระจายผลประโยชน์ในสังคมว่า ความไม่เท่า<br />

เทียมใดๆ ในสังคมนั้น จะยอมให้เกิดขึ ้นได้ก็เพียงเพื ่อให้คนที ่ด้อยโอกาสที ่สุดในสังคมได้รับโอกาสยกระดับฐานะของตัวเองให้เท่า<br />

เทียมขึ ้น หลักการดังกล่าวของรอลส์นี ้เรียกว่า หลักที ่มีฐานจากความแตกต่าง (Difference-Based Principle) หลักการดังกล่าวได้<br />

กลายมาเป็นหลักการกระจายอย่างเป็นธรรมที ่มีอิทธิพลที ่สุดแบบหนึ ่งในปัจจุบัน<br />

หลังจากงานของรอลส์ ที ่ได้น าเสนอแนวคิดความเป็นธรรมออกมาสู ่สังคม ก็เกิดการถกเถียงอย่างกว้างขวาง โดยผู้ที ่ไม่<br />

เห็นด้วยท่านหนึ ่งที ่ถือได้ว่าโจมตีงานของรอลส์ มากที ่สุดก็คือ โรเบิร์ต โนซิค (Robert Nozick) โนซิคได้เขียนงานเพื ่อโจมตีรอลส์<br />

โดยตรงพร้อมกับเสนอเป็นธรรมอีกรูปแบบหนึ ่งที ่เรียกว่า ความเป็นธรรมแบบเสรีนิยม (Liberalism) งานของโนซิคชื ่อว่า “State,<br />

Anarchy <strong>and</strong> Utopia” ความเป็นธรรมแบบเสรีนิยมของโนซิค ตั้งอยู ่บนฐานคิดในเรื ่องกรรมสิทธิ์ในทรัพย์สินส่วนบุคคล (Rights of<br />

Private Property) กล่าวคือรัฐควรปล่อยให้ทุกๆ คนท ามาหากินตามความสามารถของตน และเมื ่อใดก็ตามที ่เอกชนหาทรัพย์สิน<br />

มาได้ด้วยวิธีการตามกฎหมาย รัฐก็ไม่สามารถไปยึดเอาทรัพย์สินของเอกชนมาจัดสรรใหม่ให้กับคนด้อยโอกาสในสังคม โนซิคมี<br />

มุมมองว่าการที ่รัฐไปยึดเอาทรัพย์สินบุคคลไม่ว่าจะเป็นไปในรูปของการเก็บภาษีอัตราก้าวหน้า หรือด้วยวิธีการอื ่นใด เป็นเรื ่องที ่<br />

ไม่ชอบธรรม เพราะบุคคลเป็นคนลงมือลงแรงจนได้ทรัพย์สินมา แต่กระนั้นคนรวยหรือเอกชนอาจจะแบ่งปันผลประโยชน์ให้กับคน<br />

ด้อยโอกาสในรูปของการสงเคราะห์ด้วยความสมัครใจได้ แต่จะไม่ใช่ด้วยการใช้อ านาจรัฐเข้าไปยึดมาเพื ่อกระจายแบ่งสรร (Nozick,<br />

2001) (โปรดดู Neo-Liberalism)<br />

นอกจากนี ้ ยังมีหลักการกระจายอย่างเป็นธรรม ในแบบอื ่นๆ อีก ยกตัวอย่างเช่น แบบดั้งเดิมที ่สุดก็คือ การกระจาย<br />

ผลประโยชน์แบบเท่าเทียมกันอย่างเข้มงวด กล่าวคือทุกคนได้รับผลประโยชน์อย่างเท่าเทียมกันโดยที ่จะไม่น าความด้อยโอกาส<br />

161


ความต้องการ หรือความสามารถมาพิจารณาร่วม เช่น แม่อยากแบ่งเค้กให้กับลูกสามคน คนโตตัวผอมกินได้น้อย คนกลางมี<br />

กระเพาะใหญ่ต้องกินมากถึงจะอิ่ม ส่วนคนเล็กไม่ชอบกินเค้ก เมื ่อถึงเวลาแบ่งเค้กแม่แบ่งโดยให้ทั้งสามคนเท่าๆ กัน วิธีการแบ่ง<br />

แบบนี ้คือการแบ่งโดยยึดหลักการเท่าเทียมกันอย่างเข้มงวด<br />

หลักการกระจายอย่างเป็นธรรมในแบบสุดท้ายที ่จะกล่าวถึงในที ่นี ้ก็คือ การกระจายแบบประโยชน์นิยม ซึ ่งหลักประโยชน์<br />

นิยมนั้นมีวิธีคิดส าคัญคือ จะก่อให้เกิดประโยชน์ หรือความสุขที ่มากที ่สุดต่อคนจ านวนมากที ่สุด ยกตัวอย่างเช่น ถ้ามีการกระจาย<br />

ผลประโยชน์แก่คนจนแล้วจะท าให้เกิดความสุขมากที ่สุดต่อคนจ านวนมากที ่สุด นโยบายดังกล่าวก็ถือว่าเป็นการกระจายตาม<br />

หลักการนี ้ แต่กระนั้นถ้าสิ่งแวดล้อมเปลี ่ยนแปลงไปจนมีเหตุให้ความสุขของคนจ านวนมากลดน้อยลง นโยบายนั้นก็จ าเป็นจะต้อง<br />

เปลี ่ยนแปลงไป กล่าวง่ายๆ ก็คือหลักการของพวกประโยชน์นิยมไม่มีวิธีการที ่ตายตัวเหมือนอย่างหลักการกระจายอย่างเป็นธรรม<br />

แบบอื ่น เพราะสิ่งเดียวที ่นักคิดแบบประโยชน์นิยมค านึงก็คือ การท าให้เกิดความสุขมากที ่สุดแก่คนจ านวนมากที ่สุด<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในประเทศไทยนั้น แนวคิดเกี ่ยวกับการกระจายอย่างเป็นธรรมปรากฏในหลักข้อที ่สาม ชองหลักหกประการของ<br />

คณะราษฎรอันได้แก่ “เอกราช ปลอดภัย เศรษฐกิจ เสมอภาค เสรีภาพ การศึกษา" หลักเศรษฐกิจที ่คณะราษฎรต้องการจัดการ<br />

ทางเศรษฐกิจโดยไม่ปล่อยให้ประชาชนอดอยาก ถือว่าตั้งอยู ่บนหลักการกระจายอย่างเป็นธรรม มากไปกว่านั้น ในสมุดปกเหลือง<br />

หรือ เค้าโครงเศรษฐกิจของนายปรีดี พนมยงค์ ก็มีการจัดวางรูปแบบทางเศรษฐกิจที ่ผสมผสานหลักการกระจายอย่างเป็นธรรมใน<br />

หลายๆ แบบ ด้วยเหตุนี ้ จึงกล่าวได้ว่าแนวคิดในเรื ่องการกระจายประโยชน์ในสังคมได้เริ่มก่อรูปก่อร่างตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา<br />

ต่อมาในช่วงที ่เกิดวิกฤติการณ์เดือนตุลาคม พ.ศ. 2516 สังคมไทยได้มีการเปลี ่ยนแปลงเข้าสู ่ความเป็นสมัยใหม่มากขึ ้น<br />

ความคิดของคนมีลักษณะก้าวหน้าซึ ่งน าไปสู ่การตั้งค าถามในหลายๆ เรื ่องเกี ่ยวกับสภาพความเป็นอยู ่ในชีวิตประจ าวันและเรื ่อง<br />

หนึ ่งที ่ไม่สามารถหลีกหนีพ้นได้นั่นก็คือ การกระจายรายได้หรือทรัพยากรในสังคม ซึ ่งประเด็นหลักที ่ผู้คนในสมัยนั้นโดยเฉพาะ<br />

นิสิตนักศึกษาตั้งค าถาม คือท าไมประเทศไทยมีอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจสูงเมื ่อเทียบกับอดีต แต่ยิ่งมีความเจริญมากขึ ้น<br />

เท่าไรความเหลื ่อมล ้าของประชาชนยิ่งทวีมากขึ ้นตามไปด้วย ความไม่พอใจในการกระจายที ่ไม่เป็นธรรม ได้กลายเป็นปัจจัยหนึ ่งที ่<br />

น าไปสู ่การโค่นล้มเผด็จการทหารและสถาปนาระบอบประชาธิปไตยขึ ้นมาในช่วงสั้นๆ (กุลภา วจนสาร, 2554, 32)<br />

ในปัจจุบัน การตั้งค าถามถึงความเป็นธรรมในการกระจายประโยชน์ยิ่งพบเห็นได้มากขึ ้น ท่ามกลางการชุมนุมเคลื ่อนไหว<br />

ทางการเมือง ประเด็นหนึ ่งที ่กลุ่มคนเสื ้อแดงพยายามที ่จะชูขึ ้นก็คือการเรียกร้องให้มีการกระจายรายได้ (ซึ ่งรวมถึงสิทธิต่างๆ ของ<br />

พลเมือง) ให้เท่าเทียมมากขึ ้น (นิธิ เอียวศรีวงศ์, 2554) หากพิจารณาจากค่าสัมประสิทธิ์จีนี (Gini coefficient) ซึ ่งเป็นดัชนีบ่งชี ้<br />

ความเหลื ่อมล ้าของการกระจายรายได้หรือการกระจายความร ่ารวยของคนในสังคมแล้ว จะพบว่าประเทศไทย มีค่าสัมประสิทธิ์จีนี<br />

ที ่สะท้อนระดับของการกระจายรายได้ต ่า และความเหลื ่อมล ้าทางเศรษฐกิจสูงเมื ่อเปรียบเทียบกับประเทศอื ่นๆ ในโลก<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ประเด็นเรื ่องการกระจายและจัดสรรผลประโยชน์ ในหลายกรณีสัมพันธ์กับแนวคิดอนุรักษ์นิยม (โปรดดู Conservatism)<br />

และแนวคิดเสรีนิยม (โปรดดู Liberalism) โดยแนวคิดอนุรักษ์นิยมจะมองว่าการแบ่งสรรที ่เป็นธรรม คือทุกคนต่างขวนขวายแย่งชิง<br />

162


ทรัพยากรและสิ่งที ่มีค่าในสังคมบนความสามารถและคุณสมบัติของตัวเอง ไม่ว่าจะแข็งแรงกว่า สูงกว่า รวยกว่า หรือมีคุณสมบัติ<br />

อื ่นๆ ที ่เอื ้อต่อการต่อสู้แย่งชิง แต่หากมองในมุมของแนวคิดเสรีนิยมแล้ว สังคมควรปรับให้การขวนขวายเข้าถึงทรัพยากรมีความ<br />

เป็นธรรมโดยเอื ้อให้คนที ่แข็งแรงน้อยกว่า หรือด้อยโอกาสกว่าสามารถเข้าถึงทรัพยากรได้เท่าๆ กับคนที ่แข็งแรงกว่า ดังแสดงใน<br />

ภาพด้านล่าง<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Neo-Liberalism’<br />

กุลภา วจนสาระ (2554). มองหาความเป็นธรรมในสังคมไทยผ่านคนชายขอบ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www2.ipsr.mahidol.ac.th/ConferenceVIII/<br />

Download/Article_Files/1-SocialJustice-Kulapa.pdf.<br />

นิธิ เอียวศรีวงศ์ (2554). ปฏิรูปสังคมไทยหลังการเลือกตั้ง: บทบาทชนชั้นน าและการเมืองภาค<br />

ประชาชน. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.prachatham.com/<br />

detail.htm?code=i1_14072011_01.<br />

Barry, Brian (1989). Theories of Justice. London: Harvester Wheatsheaf.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Rawls, John (1971). A theory of justice. Cambridge : The Belknap Press of Harvard University Press.<br />

Nozick, Robert (2001). Anarchy, state, <strong>and</strong> utopia. Oxford: Blackwell.<br />

163


่<br />

ควำมหมำย<br />

EQUALITY<br />

ควำมเสมอภำค<br />

ความเสมอภาค (Equality) เป็นมโนทัศน์พื ้นฐานที ่สุดเรื ่องหนึ ่งไม่ว่าจะกล่าวในมิติทางการเมืองหรือในทางเศรษฐกิจ คน<br />

ทั่วไปมักสับสนค าว่า “เสมอภาค” กับ “เหมือนกัน” (sameness) กล่าวคือ คิดว่าการรับรองความเสมอภาคของมนุษย์ เท่ากับการ<br />

ท าให้มนุษย์ทุกคนเท่ากัน จนมักโต้แย้งว่าความเสมอภาคไม่มีทางเป็นไปได้ จึงควรท าความเข้าใจเบื ้องต้นว่าหลักการของความ<br />

เสมอภาค ไม่ได้และไม่เคยเรียกร้องให้มนุษย์ทุกคนต้องเหมือนกันหมด เพราะมนุษย์ย่อมแตกต่างกันเป็นธรรมชาติทั้งโดยชาติ<br />

พันธุ์ รูปร่าง ผิวพรรณ เพศสภาพ บุคลิก ความเชื ่อ ศาสนา วัฒนธรรม และอื ่น ๆ แต่ความแตกต่างนั้นไม่ได้เป็นเหตุผลท าให้<br />

มนุษย์ต้องไม่เสมอภาคกัน เพราะความเสมอภาค (Equality) ตรงข้ามกับความไม่เสมอภาค (Inequality) ไม่ได้ตรงข้ามกับค าว่า<br />

ความแตกต่าง (Difference) อย่างที ่หลายคนทึกทัก นั่นหมายความว่า มนุษย์เราแตกต่างกันโดยธรรมชาติ แต่ก็สามารถและควร<br />

เท่าเทียมกันได้ (different but Equal) ดังนั้นเมื ่อกล่าวว่า คนเสมอภาคกัน จึงไม่ได้หมายความว่าคนเหมือนกันทุกด้านไม่ว่าจะเป็น<br />

ชาติตระกูล หน้าตา ความสามารถ สติปัญญา แต่การที ่บอกว่าเสมอภาคกันมีความหมายว่ามนุษย์เท่าเทียมกันทั้งในความเป็น<br />

มนุษย์ และตามกฎหมายของรัฐ (Kurian, 2011: 515) ดังที ่มีวลีส าคัญที ่สะท้อนความเสมอภาคคือ “Equality Before the Law” ซึ ่ง<br />

หมายความว่าบุคคลทุกผู้ทุกนามย่อมมีสิทธิได้รับความคุ้มครองตามกระบวนของกฎหมายอย่างเป็นธรรม หรือความเสมอภาคกัน<br />

ในทางการเมืองคือ พลเมืองที ่มีคุณสมบัติตามที ่กฎหมายก าหนดย่อมสามารถใช้สิทธิเลือกตั้งได้อย่างเท่าเทียมกัน ในบางกรณี ที<br />

ความเสมอภาคยึดโยงเข้ากับหลักความเป็นธรรม (Justice) จะน าไปสู ่การปฏิบัติต่อผู้คนที ่แตกต่างกันด้วยมาตรการเฉพาะเพื ่อ<br />

ช่วยให้ความแตกต่างกันโดยธรรมชาติได้รับการแก้ไขให้เกิดความเสมอภาคมากขึ ้น เช่น มาตรการช่วยเหลือคนด้อยโอกาส คนทุ<br />

พลภาพ เพื ่อบรรลุความเสมอภาคในสังคม ดังนั้น การมองอย่างฉาบฉวยว่าการเรียกร้องให้คนเท่ากันหมายถึงการ เรียกร้องให้คน<br />

เหมือนกันนั้น จึงเป็นความเข้าใจผิดในประเด็นพื ้นฐาน<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดเกี ่ยวกับความเสมอภาคนั้นสามารถย้อนกลับไปได้ไกลถึงสมัยกรีกจากงานเขียนของเพลโต้ (Plato)<br />

อริสโตเติล (Aristotle) ที ่ได้โจมตีแนวคิดประชาธิปไตยแบบเอเธนส์ที ่มีพื ้นฐานอยู ่บนความเท่าเทียมกันนั้นว่าไม่ใช่รูปแบบการ<br />

ปกครองที ่ดีที ่สุดเพราะคนแตกต่างกัน คนบางคนโง่ คนบางคนฉลาด คนแต่ละคนมีความสามารถแตกต่างกัน คนบางคนไม่เหมาะ<br />

กับการบริหารกิจการสาธารณะ หรือไม่เหมาะที่จะเป็นทหาร เมื ่อพิจารณางานเขียนในยุคสมัยใหม่ นัก คิดคนแรกที ่เสนอว่า<br />

มนุษย์เท่าเทียมกันก็คือ นักคิดชาวอังกฤษ โธมัส ฮอบส์ (Thomas Hobbes) โดยฮอบส์ ได้เขียนงานที ่โด่งดัง ชื ่อว่า “เลอไว่อาเธิน”<br />

(Leviathan) ตอนหนึ ่งมีการกล่าวถึงธรรมชาติของมนุษย์ว่า “มนุษย์มีความเท่าเทียมกัน แม้ว่าเมื่อจะพิจารณาแล้วว่า มีความ<br />

แตกต่างทางด้านร่างกาย หรือสติป ัญญาก็ตามสิ่งเหล่านี ้ก็ไม่ได้เป็นสิ่งส าคัญอะไรที่จะท าให้มนุษย์ไม่เท่าเทียมกัน ซึ่งสิ่งที่เสมอภาค<br />

กันของฮอบส์คือการที่ทุกคนเท่าเทียมกันในเรื่องการอ้างผลประโยชน์ และความสามารถที่จะท าร้ายผู้อื่นได้เท่าๆ กัน” (Hobbes,<br />

1985: 183)<br />

นอกจากฮอบส์ แล้วยังมีนักคิดอย่างจอห์น ล็อค (John Locke) และฌอง ฌากส์ รุสโซ (Jean- Jacques Rousseau) ซึ ่ง<br />

ล้วนเป็นนักคิดสมัยใหม่ที ่ล้วนแต่น าเสนอว่ามนุษย์แต่ละคนต่างเท่าเทียมกัน โดยความเสมอภาคของล็อคนั้นเน้นหนักอยู ่ที ่สิทธิที ่<br />

ติดตัวมาตั้งแต่ก าเนิดอันไม่สามารถพรากไปได้ (natural rights) และการที ่มนุษย์ทุกคนมีสิทธิที ่ติดตัวมาตั้งแต่ก าเนิดจึงส่งผลให้คน<br />

164<br />

และ


ทุกๆ คนนั้นเท่าเทียมกัน ในขณะที ่ความเสมอภาคของรุสโซ นั้นมีจุดเน้นอยู ่ที ่มนุษย์ทุกคนมีเสรีภาพและการที ่ทุกๆ คนมีเสรีภาพ<br />

ท าให้คนทุกๆ คนเท่าเทียมกัน อนึ ่งด้วยวิธีคิดของนักคิดทั้งสามคนที ่ถือว่าเป็นรากฐานของความเป็นสมัยใหม่ได้ก่อให้เกิดทฤษฎี<br />

การเมืองที ่ต่อเนื ่องจากแนวคิดความเสมอภาคนั่นก็คือ ทฤษฎีสัญญาประชาคม (โปรดดู Social Contract) ที ่เสนอว่าการเกิดขึ ้น<br />

ของรัฐมีที ่มาจากการที ่มนุษย์แต่ละคนจะมาตกลงท าสัญญากันก่อตั้งรัฐ สาเหตุที ่เป็นเช่นนี ้ก็เนื ่องมาจากมนุษย์ทุกคนเท่าเทียมกัน<br />

ดังนั้นจึงไม่มีใครสามารถบีบบังคับให้มนุษย์คนอื ่นๆ เข้าร่วมสังคมหรือรัฐได้ถ้าตัวเขาไม่ยินยอม ในที ่สุดแนวคิดเกี ่ยวกับความเสมอ<br />

ภาคก็ได้น าไปสู ่สองเหตุการณ์ที ่ส าคัญที ่สุดในประวัติศาสตร์โลกสมัยใหม่นั่นก็คือ การปฏิวัติอเมริกัน ปี ค.ศ. 1776 และการปฏิวัติ<br />

ใหญ่ในฝรั่งเศส ปี ค.ศ. 1789 ซึ ่งทั้งสองเหตุการณ์นี ้เป็นการปฏิวัติโดยมีความคิดพื ้นฐานเพื ่อยืนยันถึงเรื ่องที ่มนุษย์นั้นเกิดมาเท่า<br />

เทียมกัน<br />

ในปัจจุบัน มโนทัศน์เรื ่องความเสมอภาคมีบทบาทส าคัญในวงวิชาการเป็นอย่างมาก ไม่ว่าจะเป็นในเรื ่องของการกระจาย<br />

รายได้หรือผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ การเข้าถึงทรัพยากรและบริการสาธารณะ การกระจายการจ้างงานหรือโอกาสการท างาน<br />

(โปรดดู Distributive Justice) ประเด็นที ่เกี ่ยวกับการมีตัวแทนในทางการเมืองของบุคคล กลุ่มทางสังคม หรือการมีตัวแทนแห่งรัฐ<br />

รวมถึง การเรียกร้องของกลุ่ม “สตรีนิยม” (Feminism) ที ่ต่อสู้เพื ่อความเท่าเทียมของสตรี ให้ยุติการถูกเลือกปฏิบัติบนพื ้นฐานของ<br />

เพศ ป้องกันความรุนแรงทั้งเชิงกายภาพ โครงสร้าง และวัฒนธรรมต่อผู้หญิง อย่างไรก็ตาม แนวคิดดังกล่าวก็เป็นที ่ถกเถียงกันเป็น<br />

อย่างมากด้วยเช่นกัน<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

การเรียกร้องความเสมอภาคในสังคมไทยนั้นมีจุดเริ่มต้นมาตั้งแต่การเปลี ่ยนแปลง การปกครองจากระบอบ<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ พ.ศ. 2475 โดยในวันที ่ยึดอ านาจและเปลี ่ยนแปลงการปกครองส าเร็จแล้วนั้น คณะราษฎรได้แถลงหลักหก<br />

ประการที ่จะใช้เป็นแก่นแกนในการบริหารประเทศ โดยหลักข้อที ่สี ่ผู้ร่างได้เขียนไว้ว่า “จะต้องให้ราษฎรมีสิทธิเสมอภาคกัน ไม่ใช่ให้<br />

พวกเจ้ามีสิทธิยิ่งกว่าราษฎรเช่นที ่เป็นอยู ่” จากหลักการข้อนี ้ของคณะราษฎรจึงถือได้ว่าเป็นการเปลี ่ยนแปลงรากฐานความคิดมวล<br />

ของชาติไทย เนื ่องจากก่อนที ่จะเกิดการเปลี ่ยนแปลงการปกครอง ความเท่าเทียมกันนั้นเป็นสิ่งที ่เป็นไปไม่ได้ การมีอภิสิทธิ์ การมี<br />

ชนชั้นซึ ่งเป็นสิ่งที ่ตรงกันข้ามกับความเท่าเทียมกันเป็นสิ่งที ่สังคมไทยเชื ่อถือและยึดปฏิบัติ ภายหลังการปฏิวัติสยามแนวคิด<br />

เกี ่ยวกับความเสมอภาคและความเท่าเทียมก็ขยายตัวออกไปในสังคมไทย<br />

ประเด็นเรื ่องความเสมอภาคปรากฏในการชุมนุมเคลื ่อนไหวทางการเมือง ทั้งจากการชุมนุมของคนเสื ้อแดงและการชุมนุม<br />

ของกลุ่ม กปปส. งานของอภิชาต สถิตนิรามัย (2553) ที ่ท าวิจัยเรื ่อง ใครคือคนเสื ้อเหลือง-เสื ้อแดง ได้ศึกษากลุ่มคนเสื ้อแดงใน<br />

จังหวัดอุบลราชธานี นครปฐม เชียงใหม่ ผลงานการวิจัยพบว่า เหตุผลหลักในการเข้าร่วมและสนับสนุนการเคลื ่อนไหวของกลุ่มคน<br />

เสื ้อแดงคือ ร้อยละ 28.13 เข้าร่วมกับกลุ่มคนเสื ้อแดงเพราะไม่ชอบปัญหาสองมาตรฐาน จากข้อมูลดังกล่าวนี ้ อภิชาต สถิตนิรามัย<br />

ได้สรุปว่า ความคับข้องใจแรกของกลุ่มคนเสื ้อแดงก็คือ ความคับข้องใจทางการเมืองที ่เกิดมาจากการดูถูกดูแคลน ความรู้สึกว่า<br />

ตนเองถูกเลือกปฏิบัติ ไม่มีความเสมอภาค<br />

165


ในอีกด้านหนึ ่ง ระหว่างการชุมนุมของ “คณะกรรมการประชาชนเพื ่อการเปลี ่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที ่<br />

สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข” (กปปส.) ก็มีการกล่าวถึงประเด็นความเสมอภาค โดยเฉพาะความเสมอภาคในสิทธิ<br />

เลือกตั้งของคนไทยว่าทุกคนควรมีหนึ ่งเสียงเท่ากันหรือไม่ จนน ามาสู ่วิวาทะเรื ่องความเท่าเทียมกันของมนุษย์อย่างกว้างขวาง<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

แนวคิดเกี ่ยวกับความเสมอภาค เป็นประเด็นส าคัญในสังคมไทย ปัญหาส าคัญคือ ความเข้าใจที ่ไม่ตรงกัน หรืออีกนัยหนึ ่ง<br />

ผู้คนในสังคมมีมุมมองต่อหลักความเสมอภาคแตกต่างกันไป บางคนเชื ่อว่า มนุษย์ไม่อาจเสมอภาคกันได้โดยเปรียบเทียบว่าแม้แต่<br />

นิ ้วของเราทั้ง 5 นิ ้ว ยังยาวไม่เท่ากัน ค ากล่าวเช่นนี ้สะท้อนว่าผู้พูดไม่เข้าใจหลักการของความเสมอภาคที ่ตั้งอยู ่บนแนวคิดว่า<br />

ความเสมอภาคไม่ใช่ความเท่ากัน แต่หมายความว่า บุคคลย่อมไม่ถูกเลือกปฏิบัติหรือมีอภิสิทธิ์เพราะเหตุในเรื ่องเพศ ชาติก าเนิด<br />

เชื ้อชาติ ภาษา ถิ่นอาศัย ความเชื ่อ หรือความคิดเห็นในทางศาสนาหรือในทางการเมือง บุคคลย่อมไม่ถูกแบ่งแยกด้วยเหตุเพราะ<br />

ความพิการเป็นส าคัญ<br />

อย่างไรก็ดี พึงตระหนักว่า หลักความเสมอภาคนั้นต้องค านึงถึงประโยชน์สาธารณะเหนือประโยชน์ส่วนบุคคล เช่น หาก<br />

เกิดความวุ่นวายไม่สงบขึ ้น รัฐอาจจ าเป็นต้องใช้มาตรการบางอย่างระงับเหตุ และการใช้มาตรการดังกล่าวอาจสะท้อนให้เห็นถึง<br />

การเลือกปฏิบัติและขัดต่อหลักแห่งความเสมอภาคได้ ในทางกลับกัน การจะอ้างประโยชน์สาธารณะที ่ถือว่ากระทบต่อหลักแห่ง<br />

ความเสมอภาคที ่ก่อให้เกิดการแบ่งแยก เช่น เชื ้อชาติ ศาสนา เพศ เป็นต้น ก็ไม่อาจท าได้ การเลือกปฏิบัติในเรื ่องความเสมอภาค<br />

ที ่เป็นที ่ยอมรับในระดับสากลต้องเป็นไปเพื ่อมุ่งลดความเหลื ่อมล ้าที ่ด ารงอยู ่ หรือการให้คุณในทางบวก เพื ่อชดเชยให้คนที ่มีสถานะ<br />

ด้อยกว่าบุคคลเท่าเทียมกันมากขึ ้น หลักการนี ้เกิดจากแนวคิดของประธานาธิบดีเคนเนดี ้ (John F. Kennedy) และประธานาธิบดี<br />

จอห์นสัน (Lyndon B. Johnson) ของสหรัฐอเมริกา โดยมีการตรากฎหมายสิทธิพลเมือง (Civil Rights Act) ขึ ้นเมื ่อวันที ่ 2<br />

กรกฎาคม ค.ศ. 1964 และในปี ค.ศ. 1978 ศาลสูงสุด (Supreme Court) ของสหรัฐอเมริกาได้ตัดสินในคดี Regents of University<br />

of California V. Bakke ว่าการที ่มหาวิทยาลัยส ารองที ่นั่ง 16% ของคณะแพทยศาสตร์ให้แก่นักศึกษาผิวสีเป็นการกระท าที ่ไม่ขัด<br />

ต่อหลักความเสมอภาค เนื ่องจากถือเป็นการเลือกปฏิบัติที ่มุ่งลดความเหลื ่อมล ้าที ่ด ารงอยู ่ นโยบายดังกล่าวของประธานาธิบดีเคน<br />

เนดี ้ และประธานาธิบดีจอห์นสัน มีชื ่อว่า “Affirmative Action” และยังใช้มาจนถึงปัจจุบัน แม้จะมีข้อถกเถียงและผู้ไม่เห็นด้วย<br />

จ านวนมาก<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Rights’, ‘Social Contract’ และ ‘Distributive Justice’<br />

ภิญโญ ไตรสุริยธรรมา (บรรณาธิการ) (2553). Red why : แดงท าไม. กรุงเทพฯ : โอเพ่นบุ๊กส์.<br />

อภิชาต สถิตนิรามัย (2553). เผยงานวิจัย "ใครคือคนเสื ้อเหลือง - เสื ้อแดง". เข้าถึงวันที ่ 30<br />

กันยายน 2555 ใน http://prachatai.com/journal/2010/07/30362.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Hobbes, Thomas (1985). Leviathan. London: Penguin.<br />

166


FREEDOM<br />

อิสรภำพ<br />

ควำมหมำย<br />

อิสรภาพ (Freedom) หมายถึง สภาวะหนึ ่งที ่ปราศจากอุปสรรคหรือสิ่งยึดเหนี ่ยวต่อการที ่จะท าสิ่งใดสิ่งหนึ ่ง หรือในอีก<br />

ความหมายหนึ ่งคือความเป็นที ่มนุษย์จะกระท าอะไรก็ได้ ตามที ่ตนเองต้องการ ส าหรับค าว่าอิสรภาพและเสรีภาพ (liberty) นั้น<br />

มักจะมีการใช้แทนกันได้เสมือนเป็นค าๆ เดียวกัน เนื ่องจากสองค านี ้มีความหมายใกล้เคียงกันแต่การที ่ใช้ค าไม่เหมือนกันนั้นมีที ่มา<br />

จากการที ่ภาษาอังกฤษไปยืมค าในภาษาอื ่นมาใช้กล่าวคือ ค าว่าเสรีภาพ เป็นค ามาจากภาษาลาติน (Latin) ว่า “Libertas” ที ่แปลว่า<br />

เป็นอิสระ (free) ส่วนค าว่า อิสรภาพ มีที ่มาจากภาษาอังกฤษโบราณ (Old English) ซึ ่งมีรากฐานมาจากพวกเจอร์มานิค<br />

(Germanic) ค าดังกล่าวก็คือ “Freihals” ที ่แปลว่า “Free neck” (ผู้ที ่คอไม่มีโซ่ตรวน) (Stromberg, 2001) อนึ ่งค าว่าเสรีภาพหรือ<br />

อิสรภาพนั้นเป็นค าพื ้นฐานที ่ถูกใช้ในการถกเถียงทางด้านการเมือง และทางด้านปรัชญาอยู ่เสมอๆ ดังนั้นค านี ้จึงเป็นค าที ่มี<br />

ความส าคัญมากที ่สุดค าหนึ ่งตั้งแต่อดีตมาจนถึงปัจจุบัน<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในโลกตะวันตกมีการใช้ค าว่าอิสรภาพมาอย่างยาวนานดังจะเห็นได้จากหลักฐานหนึ ่งที ่ส าคัญก็คือคัมภีร์ไบเบิลภาคพันธ<br />

สัญญาเดิม (old testament) ในตอนที ่โมเสสก าลังน าชาวยิวหนีออกจากการเป็นทาสในอียิปต์ โดยที ่โมเสสได้มีการกล่าวถึงการ<br />

ปลดปล่อยยิวให้มีอิสรภาพ (Exodus 3:3–3:19) นอกจากนี ้แล้วในยุคสมัยใหม่ถือว่าเป็นจุดเริ่มต้นที ่เด่นชัดของการวางรากฐาน<br />

เกี ่ยวกับค าว่าอิสรภาพ หรือเสรีภาพ ดังจะเห็นได้จากงานของรุสโซเรื ่องต้นก าเนิดของความเรียงว่าด้วยความไม่เสมอภาคกันของ<br />

มวลมนุษย์ที ่เสนอว่า มนุษย์ในสภาวะธรรมชาติ หรือในสภาวะที ่ยังไม่มีสังคม มนุษย์มีเสรีภาพอย่างที ่สุด แต่เมื ่อเขาเข้ามาอยู ่<br />

รวมกันเป็นสังคมมนุษย์จะไม่มีเสรีภาพอีกต่อไป (รุสโซ, 2555: 26-112) ยิ่งไปกว่านั้นในหนังสือสัญญาประชาคม (โปรดดู Social<br />

Contract) ของเขายังได้ขึ ้นต้นด้วยค าพูดที ่ถือว่าเป็นอมตะมาจนถึงทุกวันนี ้นั่นก็คือ “มนุษย์เกิดมาเสรีแต่ทุกหนทุกแห่งอยู ่ภายใต้<br />

พันธนาการ” (รุสโซ, 2550: 3)<br />

ในขณะเดียวกันทางด้านประวัติศาสตร์ แนวคิดเกี ่ยวกับเสรีภาพก็ถือว่ามีบทบาทส าคัญในการเป็นความคิดพื ้นฐานให้กับ<br />

การปฏิวัติครั้งส าคัญของโลกหลายครั้ง ยกตัวอย่างเช่นการปฏิวัติใหญ่ฝรั่งเศสปี ค.ศ. 1789 ที ่ถึงกับสร้างค าขวัญในการปฏิวัติว่า<br />

“เสรีภาพ เสมอภาค และภารดรภาพ” (Liberty, Equality, Fraternity) อย่างไรก็ตามก่อนที ่จะเกิดการปฏิวัติฝรั่งเศสเหตุการณ์ที ่<br />

ส าคัญอีกเหตุการณ์หนึ ่งก็คือ การปฏิวัติอเมริกันปี ค.ศ. 1776 ซึ ่งการปฏิวัติดังกล่าวเป็นการต่อสู้เพื ่ออิสรภาพของชาวอาณานิคม<br />

อเมริกันจากการปกครองของอังกฤษ ซึ ่งหลังจากการปฏิวัติทั้งสองแนวคิดเกี ่ยวกับเสรีภาพก็ได้ลงหลักปักฐานอย่างมั่นคงตั้งแต่<br />

เวลานั้นจนมาถึงปัจจุบัน<br />

อนึ ่งในทางทฤษฎี แนวคิดเกี ่ยวกับอิสรภาพหรือเสรีภาพนั้นได้มีการแบ่งออกเป็นสองมิติ คือ อิสรภาพด้านบวก (positive<br />

freedom) กับอิสรภาพด้านลบ (negative freedom) โดยสองค านี ้มีความแตกต่างกันที ่จุดเน้นของความเป็นอิสระทางการตัดสินใจ<br />

จากภายในและภายนอก กล่าวคือ อิสรภาพด้านลบเป็นสภาวะที ่มนุษย์ไม่ถูกหน่วงรั้งจากสิ่งแวดล้อมภายนอก เช่น การบังคับจาก<br />

ผู้อื ่น ส่วนอิสรภาพด้านบวกเป็นสภาวะที ่มนุษย์สามารถน าทรัพยากร หรือพลังอ านาจมาเติมเต็มความปรารถนาตนเองได้ หรือ<br />

167


จากการเป็นอิสระจากแรงต่อต้านภายในจิตใจตัวเอง หรือเสรีภาพที ่จะบรรลุความเป็นตัวเองหรือศักยภาพของตัวเองอย่างเต็มที ่<br />

(Isaiah Berlin, 1958) ยกตัวอย่างเช่น การที ่ประชาชนมีสิทธิเสรีภาพในการแสวงหาความสุขตราบใดที ่ไม่เป็นการขัดต่อตัวบท<br />

กฎหมายนั้นจัดเป็นเสรีภาพเชิงลบ เพราะการมีเสรีภาพนั้นขึ ้นอยู ่กับข้อจ ากัดภายนอกคือ ตัวบทกฎหมาย มาคอยจ ากัดการใช้สิทธิ<br />

ในขณะที ่เสรีภาพในการมีชีวิต เสรีภาพในทรัพย์สิน และการแสวงหาความสุขตามกฎหมายย่อมจะเป็นเสรีภาพในเชิงบวก<br />

เนื ่องจากเป็นสิทธิที ่บัญญัติขึ ้นไว้เพื ่อที ่จะท าให้รัฐบาลจะต้องจัดหาสิทธิต่างๆ เหล่านี ้มาให้แก่ประชาชน<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับแนวคิดเกี ่ยวเสรีภาพในไทยนั้นก็มีจุดเริ่มต้นมาจากการปฏิวัติเช่นเดียวกันก็คือ การเปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี<br />

ค.ศ. 1932 (พ.ศ. 2475) ที ่คณะราษฎรเป็นผู้น าในการปฏิวัติและเมื ่อท าการเปลี ่ยนแปลงการปกครองส าเร็จก็ได้มีการประกาศหลัก<br />

หกประการซึ ่งมีข้อหนึ ่งที ่บัญญัติเกี ่ยวกับความพยายามที ่จะวางหลักการเสรีภาพให้กับประชาชนที ่จะท าอะไรก็ได้ตราบเท่าที ่ไม่<br />

เป็นการท าความเดือดร้อนให้แก่ผู้อื ่น และจากจุดนี ้นี ่เองที ่ถือเป็นการวางรากฐานเกี ่ยวกับเสรีภาพในประเทศไทยนับตั้งแต่บัดนั้น<br />

เป็นต้นมา เพราะประเทศไทยเองก็มีความเชื ่อแบบในทางตะวันตกนั่นคือ สิทธิบางอย่าง โดยเฉพาะสิทธิที ่เชื ่อว่ามีติดตัวมาตั้งแต่<br />

ก าเนิดนั้น เช่น สิทธิมนุษยชน และสิทธิพลเมืองนั้นไม่ควรที ่จะถูกจ ากัดไม่ว่าจะโดยเหตุผลใดๆ ในขณะที ่สิทธิบางอย่างก็สมควรที ่<br />

จะต้องถูกจ ากัดในระดับหนึ ่งเพื ่อเป็นการธ ารงไว้ซึ ่งความสามารถในการใช้สิทธินั้นของประชาชนคนอื ่นๆ ในสังคมได้เช่นเดียวกัน<br />

โดยไม่ก่อให้เกิดปัญหา เช่น สิทธิในการแสวงหาความสุข ซึ ่งจะต้องไม่ขัดต่อหลักกฎหมาย เพราะบางครั้งการแสวงหาความสุขของ<br />

คนกลุ่มหนึ ่งอาจกลายเป็นการสร้างความทุกข์ให้แก่คนอีกกลุ่มหนึ ่งได้ในเวลาเดียวกัน<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในหลายกรณีการใช้เสรีภาพที ่เกินขอบเขต หรือโดยไม่มีข้อจ ากัด ก็อาจกลายเป็นการละเมิดเสรีภาพ (ของผู้อื ่นและสังคม<br />

โดยรวม) เสียเอง เช่น หากเราอ้างเสรีภาพในการพูด โดยกล่าวถ้อยค าที ่กระตุ้นความเกลียดชัง หรือมีวัตถุประสงค์เพื ่อยั่วยุให้มี<br />

การใช้ก าลังรุนแรง หรือฆ่าฟัน ท าลายล้าง เช่นนี ้ เสรีภาพดั่งว่าก็เป็นอันตรายประหนึ ่งศาสตราวุธ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Equality’ และ ‘Social Contract’<br />

ฌอง ฌากส์ รุสโซ (2550). สัญญาประชาคม. กรุงเทพฯ: ทับหนังสือ.<br />

ฌอง ฌากส์ รุสโซ (2555). ความเรียงว่าด้วยต้นก าเนิดและรากฐานแห่งความไม่เท่าเทียมกันของมวลมนุษยชาติ. กรุงเทพฯ: สยาม<br />

ปริทัศน์.<br />

Berlin, Isaiah (1958). “Two <strong>Concept</strong>s of Liberty”. In Isaiah Berlin (1969). Four Essays on Liberty. Oxford: Oxford<br />

University Press.<br />

Stromberg, Joseph (2001). Freedom vs. liberty. Accessed September 30, 2012 from<br />

http://www.lewrockwell.com/stromberg/stromberg14.html.<br />

168


CHILDREN’S RIGHTS<br />

สิทธิเด็ก<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิเด็ก (Children’s Rights) หมายถึงสิทธิมนุษยชนของเด็กซึ ่งต้องได้รับการคุ้มครองและเอาใจใส่มากกว่ามนุษย์ซึ ่งโต<br />

เต็มวัยแล้ว เพื ่อส่งเสริมการพัฒนาการและการเจริญเติบโตทั้งทางร่างกายและสติปัญญา สิทธิเด็กมีตั้งแต่การให้อิสระในการ<br />

ตัดสินใจกับเด็กในฐานะที ่เป็นบุคคลโดยสมบูรณ์เช่นเดียวกับผู้ใหญ่ จนถึงสิทธิในการได้รับการคุ้มครองในด้านต่างๆ การอยู ่กับ<br />

ครอบครัว การได้รับอาหารและการดูแลด้านสุขอนามัยเพื ่อเติบโตมาเป็นมนุษย์ที ่สมบูรณ์พร้อม (วิกิพีเดีย)<br />

โดยทั่วไปแล้วจะก าหนดว่ามนุษย์ที ่มีอายุต ่ากว่า 18 ปีเป็นเด็ก กระนั้น ก็มีค าที ่ใช้เรียกหลากหลายตามสังคม วัฒนธรรม<br />

และกฎหมายของแต่ละประเทศ เด็ก วัยรุ่น หรือเยาวชน จึงไม่มีค าจ ากัดความและช่วงอายุที ่แน่นอนเป็นสากล<br />

อรรถำธิบำย<br />

เด็กถูกมองว่าเป็นส่วนย่อยของสังคม ไม่ใช่พลเมืองเต็มตัว หรือเป็นทรัพย์สินของพ่อแม่มาตลอด ความเคลื ่อนไหว<br />

เกี ่ยวกับสิทธิของเด็กมีขึ ้นครั้งแรกในอังกฤษโดยโธมัส สเปนซ์ ซึ ่งเขียนหนังสือเรื ่อง The Rights of Infants ที ่กล่าวถึงสิทธิตาม<br />

ธรรมชาติของเด็ก การเคลื ่อนไหวเพื ่อสิทธิเด็กเข้มข้นมากขึ ้นในช่วงหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรม ซึ ่งลูกของชนชั้นล่างที ่ยากจน<br />

จ านวนมากเป็นเด็กก าพร้าหรือถูกทอดทิ ้งและต้องหาเลี ้ยงตนเองด้วยการเป็นแรงงานในเหมือง โรงงานอุตสาหกรรม หรือเป็น<br />

โสเภณี แรงงานเด็กเป็นที ่นิยมเนื ่องจากมีค่าแรงที ่ต ่ากว่าผู้ใหญ่ (วิกิพีเดีย) (child labour)<br />

ในช่วงศตวรรษที ่ 19 มีการออกกฎหมายหลายฉบับในยุโรปและสหรัฐอเมริกาเพื ่อจัดการกับปัญหาของสิทธิเด็ก เช่น<br />

กฎหมายการศึกษาซึ ่งให้เด็กเข้าโรงเรียน กฎหมายจ ากัดชั่วโมงการท างานต่อวันและอัตราค่าจ้าง แต่กรณีเด็กหญิงแมรี ่ อัลเลน วิล<br />

สันในสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1874 เป็นจุดเปลี ่ยนที ่ท าให้สังคมตระหนักถึงสิทธิเด็กอย่างแท้จริง เด็กหญิงแมรี ่ถูกล่ามโซ่อยู ่ในบ้าน<br />

มีอาหารแค่พอประทังชีวิตและถูกทุบตีบ่อยครั้ง ผู้สั่งฟ้องผู้ปกครองต่อรัฐคือสมาคมต่อต้านการทารุณสัตว์ เนื ่องจากถือว่าเด็กก็เป็น<br />

สัตว์เลี ้ยงลูกด้วยนมชนิดหนึ ่ง หลังเหตุการณ์นี ้จึงมีการจัดตั้งสมาคมคุ้มครองเด็กขึ ้นอย่างเป็นทางการ จากนั้นการเคลื ่อนไหวเรื ่อง<br />

สิทธิเด็กก็เกิดขึ ้นอย่างมาก กฎหมายและองค์กรระหว่างประเทศหลายแห่งถูกจัดตั้งขึ ้นเรื ่อยมา (สมาคมมนุษยธรรมอเมริกัน)<br />

ในปัจจุบัน เด็กได้รับการยอมรับว่าเป็นมนุษย์ที ่พึงมีสิทธิมนุษยชนครบถ้วนเช่นเดียวกับมนุษย์ที ่โตเต็มวัย รวมถึงสิทธิ<br />

เฉพาะของเด็กซึ ่งมีแกนหลักอยู ่ที ่อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก พ.ศ. 1989 และมีกองทุนเพื ่อเด็กแห่งสหประชาชาติหรือยูนิเซฟ<br />

(United Nations Children's Fund: UNICEF) เป็นองค์การระหว่างประเทศขององค์การสหประชาชาติเป็นผู้ดูแล<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ปัญหาเกี ่ยวกับสิทธิเด็กในประเทศไทยที ่พบเห็นมาก คือ เด็กถูกทอดทิ ้งหลังคลอดเนื ่องจากแม่ตั้งครรภ์นอกสมรส และ<br />

ต้องเลี ้ยงลูกตามล าพัง เด็กและเยาวชนที ่ถูกทารุณเป็นเหยื ่อของความขัดแย้งของครอบครัวและสังคม เด็กถูกกระท าทางเพศซึ ่ง<br />

พบว่ามีแนวโน้มอายุน้อยลง เด็กเร่ร่อน มีทั้งที ่เร่ร่อนตามครอบครัวมาหางานท าในเมือง หรือเร่ร่อนตามล าพัง จ านวนมากกินอยู ่<br />

169


หลับนอนใต้สะพาน ตลาด วัด ไม่ได้เรียนหนังสือ เป็นเด็กลูกกรรมกร ท าให้ขาดโอกาสทางการศึกษาเมื ่อจบชั้นประถมไม่มีโอกาส<br />

เรียนต่อ เด็กในชุมชนแออัด ซึ ่งมักมีปัญหาสุขภาพ ขาดสารอาหาร และเด็กติดเอดส์จากแม่<br />

ประเทศไทยมีการตราพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กในปี พ.ศ.2546 โดยได้จัดตั้งคณะกรรมการคุ้มครองเด็กขึ้นมาเพื ่อ<br />

ส่งเสริมสิทธิของเด็กและดูแลจัดการปัญหาการละเมิดสิทธิเด็ก<br />

พระราชบัญญัติก าหนดให้ผู้ปกครองต้องมีหน้าที ่ในการอบรมเลี ้ยงดูและช่วยเหลือในพัฒนาการของเด็กและป้องกันมิให้<br />

เกิดอันตรายใดๆ ทั้งทางร่างกายและจิตใจ และตราข้อห้ามมิให้ผู้ปกครองทอดทิ ้ง ละเลยในการเลี ้ยงดู เลี ้ยงดูอย่างไม่เหมาะสม ไม่<br />

จัดหาปัจจัยต่อการด ารงชีวิตและการเจริญเติบโตของเด็ก นอกจากก าหนดภาระหน้าที ่ของผู้ปกครองแล้วกฎหมายฉบับนี ้ยัง<br />

คุ้มครองเด็กจากการกระท าของบุคคลทั่วไปเสริมจากข้อบัญญัติที ่ห้ามผู้ปกครองกระท าอีกว่า ห้ามทารุณกรรมประเภทต่างๆ ทาง<br />

ร่างกายและจิตใจ บังคับ ขู ่เข็ญ ชักจูง หรือส่งเสริมให้เด็กมีพฤติกรรมเสี ่ยงต่อการท าผิดกฎหมายหรือกระท าผิดกฎหมาย เป็น<br />

ขอทาน เร่ร่อน เป็นเครื ่องมือในการประกอบอาชญากรรมใดๆ ให้สุราหรือบุหรี ่แก่เด็ก รวมถึงการกระท าใดๆ อันเป็นการกระท าใน<br />

เชิงลามกอนาจาร กฎหมายคุ้มครองเด็กยังก าหนดให้ผู้พบเห็นการกระท าต่อเด็กต้องรายงานให้เจ้าหน้าที ่ทางการทราบทันที โดย<br />

ผู้รายงานโดยสุจริตจะได้รับการคุ้มครองไม่ต้องรับผิดในทางใดๆ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)<br />

สรุปสิทธิของเด็กตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็กเป็นข้อๆ ได้ดังนี ้<br />

การปฏิบัติต่อเด็กต้องค านึงถึงประโยชน์ของเด็กและห้ามเลือกปฏิบัติ<br />

เด็กต้องได้รับการเลี ้ยงดูจากบิดามารดา ผู้ปกครอง หรือผู้ปกครองสวัสดิภาพ<br />

เด็กต้องได้รับการคุ้มครองจากอันตรายต่อร่างกายและจิตใจ หรืออุปสรรคต่อการพัฒนาการและการเจริญเติบโต<br />

ห้ามทอดทิ ้งเด็ก เลี ้ยงเด็กโดยมิชอบ ละเลยเด็ก ไม่ให้ปัจจัยในการด ารงชีวิตกับเด็ก<br />

เด็กต้องได้รับการคุ้มครองจากโฆษณาประชาสัมพันธ์ต่างๆ ที ่ส่งผลต่ออนาคตและชื ่อเสียงเกียรติภูมิของเด็ก<br />

เด็กต้องได้รับการดูแลด้านสุขภาพ นันทนาการ การฝึกอาชีพ การบ าบัด และการส่งเสริมความประพฤติ<br />

ห้ามการกระท าหรือละเว้นการกระท าอันเป็นการทารุณต่อเด็ก<br />

สิทธิประโยชน์ส าหรับเด็กและเยาวชนที ่รัฐบาลจัดให้ตามกฎหมาย นอกจากการคุ้มครองตามพระราชบัญญัติคุ้มครองเด็ก<br />

คือ การสงเคราะห์คุ้มครองเด็กและการดูแลควบคุมสถานแรกรับ สถานเลี ้ยงดูเด็ก และสถานสงเคราะห์เด็กประเภทต่างๆ การ<br />

สงเคราะห์เด็กในครอบครัวในชุมชนที ่ยากจนด้วยบริการให้ค าปรึกษาและความช่วยเหลือเป็นเงิน เครื ่องอุปโภคบริโภค และ<br />

อุปกรณ์การศึกษา รวมถึงการหาครอบครัวอุปถัมภ์ให้กับเด็กและการตรวจสอบดูแลการขอรับบุตรบุญธรรม<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

อนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก ค.ศ. 1989 ขององค์การสหประชาชาติได้ระบุว่าสิทธิของเด็กนั้นประกอบไปด้วย<br />

170


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

สิทธิที่จะมีชีวิต เมื ่อเด็กเกิดมาแล้วย่อมมีสิทธิที ่จะด ารงชีวิตต่อไป ต้องได้รับการจดทะเบียนขึ ้นเป็นพลเมืองที ่ถูกต้อง<br />

ตามกฎหมาย ได้รับการเลี ้ยงดูทั้งทางร่างกายและจิตใจ มีที ่พักอาศัยที ่เหมาะสมและได้รับการดูแลทางการแพทย์เมื ่อ<br />

เจ็บป่วย สามารถอยู ่รอดเจริญเติบโตต่อไปได้<br />

สิทธิที่จะได้รับการคุ้มครอง กฎหมายจะต้องให้การคุ้มครองเด็กจากการทารุณกรรมทั้งทางด้านร่างกาย จิตใจ การล่วง<br />

ละเมิดทางเพศและการใช้แรงงาน รวมถึงสิทธิที ่จะได้รับการช่วยเหลือทางกฎหมายในกระบวนการยุติธรรมและห้าม<br />

การตัดสินโทษประหารชีวิตกับเด็ก<br />

สิทธิที่จะมีการพัฒนา เด็กมีสิทธิที ่จะได้รับการส่งเสริมดูแลให้มีสภาพที ่เหมาะสมต่อการพัฒนาการทั้งทางด้านร่างกาย<br />

จิตใจ อารมณ์ สังคม เช่น การศึกษาขั้นพื ้นฐาน การดูแลทางโภชนาการ กิจกรรมต่างๆ<br />

สิทธิในการมีส่วนร่วม เด็กมีสิทธิที ่จะมีส่วนร่วมและแสดงความคิดเห็นต่างๆ ที ่เกี ่ยวข้องกับตนเอง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Labour Rights’, ‘Indigenous Rights’ และ ‘Minority Rights’<br />

http://www.m-<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

society.go.th/msoservice_detail.php?pageid=207. และ http://www.msociety.go.th/msoservice_detail.php?pageid=570.<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน https://en.wikipedia.org/wiki/Children’s_rights.<br />

สมาคมมนุษยธรรมอเมริกัน. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.amnestyusa.org/<br />

Our_Issues/Children/ page.do?id =1011016&n1=3&n2=78.<br />

171


CIVIL RIGHTS<br />

สิทธิพลเมือง<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิพลเมือง (Civil Rights) หมายถึง การที ่พลเมืองของรัฐ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในรัฐสมัยใหม่สามารถกระท าได้ภายใต้<br />

กรอบของกฎหมายบ้านเมืองของสังคมนั้นๆ ด้วยเหตุนี ้ สิทธิพลเมืองจึงซ้อนทับอยู ่กับสิทธิทางการเมือง (political rights) เนื ่องจาก<br />

ในสังคม และการเมืองการปกครองสมัยใหม่นั้น เสรีภาพจัดได้ว่าเป็นคุณธรรมรากฐานประการหนึ ่งที ่ระบบการเมือง และระบบ<br />

กฎหมายจะต้องธ ารงรักษาไว้ (โปรดดู Constitutionalism และ Freedom) ทว่าหากพลเมืองทุกคนมีเสรีภาพอย่างไม่จ ากัดแล้วไซร้<br />

การใช้เสรีภาพของพลเมืองคนหนึ ่งๆ ก็อาจน ามาซึ ่งการละเมิดการมีเสรีภาพของพลเมืองคนอื ่นๆ ในรัฐได้เช่นกัน ดังนั้น เสรีภาพ<br />

ของพลเมืองจึงต้องอยู ่ภายใต้กรอบของกฎหมายที ่รัฐก าหนดว่า สิ่งใดที ่พลเมืองไม่อาจกระท าเพราะจะเป็นการละเมิดเสรีภาพของ<br />

ผู้อื ่น หรือ สิ่งใดที ่พลเมืองสามารถกระท าได้อย่างอิสระโดยปราศจากการควบคุมของรัฐ เป็นที ่มาของการเกิดสิ่งซึ ่งเรียกว่า สิทธิ<br />

ทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง (Kurian, 2011: 235) ซึ ่งในแง่นี ้สิทธิพลเมืองจะมีความหมายและขอบเขตแคบกว่าสิทธิมนุษยชน<br />

(Human Rights) เพราะสิทธิพลเมืองจะเป็นสิทธิที ่พลเมืองทุกๆ คนมีในฐานะพลเมืองของรัฐ ซึ ่งอาจแตกต่างกันไปตามความ<br />

คุ้มครองโดยกฎหมายของรัฐที ่ตนเป็นพลเมืองอยู ่ แต่สิทธิมนุษยชนนั้นเป็นสิทธิสากลที ่มนุษย์ทุกผู้คนบนโลกนี ้ พึงมีเหมือนๆ กัน<br />

ไม่ว่าเขาจะอยู ่ที ่ใด หรือ เป็นพลเมืองของรัฐใดก็ตาม<br />

อรรถำธิบำย<br />

แน่นอนว่าแนวคิดเกี ่ยวกับสิทธิพลเมืองนั้นย่อมจะต้องเกิดขึ ้นหลังจากที ่สถานภาพของมนุษย์ในสังคมการเมืองนั้นได้ถูก<br />

แปรเปลี ่ยนจาก “ไพร่” (subject) มาเป็น “พลเมือง” (citizen) เสียก่อน ซึ ่งการเปลี ่ยนแปลงที ่ว่านี ้ได้เกิดขึ ้นครั้งแรกภายหลังการ<br />

ปฏิวัติใหญ่ในปี ค.ศ. 1789 ในฝรั่งเศส ที ่ได้เปลี ่ยนความสัมพันธ์ของผู้คนในสังคมจากเดิมที ่มีสถานภาพเป็นชนชั้น หรือ ฐานันดร<br />

ต่างๆ มาเป็นพลเมือง (citizen) ที ่มีความเท่าเทียมกันมากขึ ้น การเกิดขึ ้นของพลเมืองนี ้ท าให้เกิดสัญญาประชาคมใหม่ที ่พันธะของ<br />

รัฐที ่มีต่อพลเมืองเปลี ่ยนไปจากเดิม หรือในอีกนัยหนึ ่ง ความสัมพันธ์เชิงอ านาจระหว่างผู้ปกครอง และผู้ถูกปกครองนั้นได้<br />

เปลี ่ยนไป<br />

การที ่กล่าวว่าพลเมืองฝรั่งเศสในสมัยนั้นมีความเท่าเทียมกันก็เพราะภายหลังที ่เกิดการปฏิวัติในเดือนสิงหาคมได้มีการ<br />

ร่างและการประกาศ “ปฏิญญาว่าด้วยสิทธิมนุษยชนและพลเมือง” (declaration of the rights of man <strong>and</strong> of the citizen) ซึ ่ง<br />

ปฏิญญาดังกล่าวนี ้เองที ่เป็นสิ่งรับประกันในความเท่าเทียมของการมีสิทธิทางการเมือง หรือ สิทธิพลเมือง ของประชาชนฝรั่งเศส<br />

ทุกๆ คน และเป็นที ่มาของการเกิดสิ่งที ่เราเรียกว่า “พลเมือง” ของรัฐที ่เท่าเทียมกันขึ ้นเป็นครั้งแรกของโลกสมัยใหม่<br />

หลักสิทธิพลเมืองที ่ปฏิญญาดังกล่าวนี ้ได้แถลงไว้ ได้แก่ การมี และใช้เสรีภาพภายใต้กรอบที ่กฎหมายก าหนด สิทธิในการ<br />

ถือครองกรรมสิทธิ์ทรัพย์สินส่วนบุคคล (property rights) สิทธิในการต่อต้านการใช้อ านาจที ่ไม่ชอบธรรมของรัฐ (rights of<br />

resistance) (โปรดดู Civil Disobedience) สิทธิในการตรวจสอบการใช้อ านาจรัฐ สิทธิของผู้ต้องหา (rights of the accused) และที ่<br />

ส าคัญที ่สุดก็คือ สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างอิสระ (freedom of expression) เป็นต้น<br />

172


ภายหลังเมื ่อรัฐต่างๆ ในโลกได้เปลี ่ยนแปลงเข้าสู ่สมัยใหม่ และปกครองด้วยระบอบประชาธิปไตยแล้ว แนวคิดเกี ่ยวกับ<br />

สิทธิพลเมือง หรือ สิทธิพื ้นฐานทางการเมืองที ่พลเมืองทุกๆ คนของรัฐพึงมีนั้นจึงได้แพร่หลายออกไป เพราะในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยนั้นประชาชนทุกๆ คนคือที ่มาของอ านาจอันชอบธรรมของการใช้อ านาจรัฐ (โปรดดู Popular Sovereignty) ดังนั้น<br />

แนวคิดเกี ่ยวกับสิทธิพลเมืองจึงได้หยั่งรากลึก และขยายขอบเขตออกไปกว้างขวางกว่าเดิมในสภาวการณ์ของโลกที ่ปกครองด้วย<br />

ระบอบเสรีประชาธิปไตย<br />

การขยายตัวดังกล่าวเห็นได้ชัดเจนในสหรัฐฯ ที ่เกิดขบวนการที ่รู้จักกันในชื ่อ “ขบวนการเรียกร้องสิทธิพลเมือง” (civil<br />

rights movement) อันเกิดจากปัญหาความขัดแย้งที ่มีที ่มาจากแนวคิด “แบ่งแยกแต่เท่าเทียม” (Separate but Equal) ของคนที ่มีสี<br />

ผิวแตกต่างในสังคมอเมริกันในช่วงศตวรรษที ่ 20 อันก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมกันของพลเมืองอเมริกันขึ ้น โดยมีการกีดกัน<br />

(segregation) คนผิวด า ตั้งแต่การแบ่งแยกการใช้ห้องสุขา การใช้รถสาธารณะ ไปจนถึงการห้ามคนผิวด าพักค้างคืนในเมือง<br />

(ภายใต้กฎหมายที ่ชื ่อ “Sundown Ordinance” ของมลรัฐโอไฮโอ และโอเรกอน) จนกระทั่งเมื ่อหญิงสาวผิวด าที ่ชื ่อ โรซา พาร์ค<br />

(Rosa Parks) ได้ปฏิเสธนโยบายการแบ่งแยกสีผิวในรถเมล์ด้วยการเข้าไปนั่งในบริเวณของคนผิวขาวในปี ค.ศ. 1955 ซึ ่งได้<br />

กลายเป็นชนวนเหตุส าคัญที ่ก่อให้เกิดการต่อสู้เพื ่อเรียกร้องสิทธิพลเมืองที ่เท่าเทียมกันในช่วงทศวรรษ 1950–1980 ขึ ้น จนกระทั่ง<br />

ท้ายที ่สุดรัฐบาลกลางสหรัฐฯ ได้มีการประกาศรัฐบัญญัติสิทธิพลเมือง (Civil Rights Act of 1875) ขึ ้นในปี ค.ศ. 1875 อันท าให้<br />

พลเมืองสหรัฐฯ ทุกๆ คนนั้นมีสิทธิที ่เท่าเทียมกัน ภายใต้หลักการให้ความคุ้มครองอย่างเสมอภาคภายใต้กฎหมาย (equal<br />

protection of the laws) ของรัฐธรรมนูญสหรัฐฯ ที ่มีมาแต่เดิมนั่นเอง (Wasserman, 2000,123-127)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยนั้นกล่าวถึงสิทธิพลเมืองขึ ้นครั้งแรกภายหลังจากการเปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ที ่ได้เปลี ่ยน<br />

สถานภาพคนไทยจาก “ไพร่” มาเป็น “พลเมือง” ตามบทบัญญัติของรัฐธรรมนูญที ่ก าหนดให้อ านาจนั้น “เป็นของราษฎรทั้งหลาย”<br />

(พระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยามฉบับชั่วคราว พุทธศักราช 2475) เพราะภายหลังจากการเปลี ่ยนแปลงการ<br />

ปกครอง ฐานที ่มาของความชอบธรรมในการใช้อ านาจรัฐได้เปลี ่ยนแปลงจากเบื ้องบน คือจากตัวพระมหากษัตริย์ในระบอบ<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์ มาเป็นจากเบื ้องล่าง คือจากประชาชนชาวไทยทุกๆ คน ผ่านระบบตัวแทนจากการเลือกตั้งที ่เสรี และเป็น<br />

ธรรม (free <strong>and</strong> fair elections) โดยมีการก าหนดบทบัญญัติว่าด้วยสิทธิของประชาชนชาวไทยไว้ในรัฐธรรมนูญอย่างชัดเจนตั้งแต่<br />

ไทยมีรัฐธรรมนูญฉบับถาวรฉบับแรก (คือรัฐธรรมนูญฉบับวันที ่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2475) ดังจะเห็นจากมาตรา 12 ของรัฐธรรมนูญ<br />

ที ่บัญญัติไว้ว่า<br />

“...บุคคลย่อมเสมอกันในกฎหมายฐานันดรศักดิ์โดยก าเนิดก็ดี โดยแต่งตั้งก็ดี หรือประการอื่นใด<br />

ก็ดีไม่กระท าให้เกิดเอกสิทธิ์อย่างใดเลย” หรือในมาตรา 14 ที ่ว่า “...บุคคลย่อมมีเสรีภาพบริบูรณ์ใน<br />

ร่างกาย เคหสถาน ทรัพย์สิน การพูด การเขียน การโฆษณา การศึกษาอบรม การประชุมโดยเปิดเผย<br />

การตั้งสมาคม การอาชีพ”<br />

จะเห็นได้ว่าสิทธิพื ้นฐานทางการเมืองเหล่านี ้ซึ ่งได้รับอิทธิพล และแบบอย่างมาจากตะวันตกอย่างชัดเจน ได้กลายมาเป็น<br />

มาตรฐานที ่รัฐให้การรับรอง และถูกบรรจุไว้ในรัฐธรรมนูญทุกๆ ฉบับที ่เกิดขึ ้นในเวลาต่อมา (โดยไม่นับรวมธรรมนูญการปกครอง<br />

173


ของคณะรัฐประหาร) หรือแม้แต่การบัญญัติสิทธิพลเมืองเพิ่มเติม เช่น สิทธิในการชุมนุมโดยสงบ และปราศจากอาวุธ เป็นต้นทว่า<br />

ในทางปฏิบัติ สิทธิพลเมืองบางอย่าง เช่น สิทธิในการแสดงความคิดเห็นอย่างเสรี (freedom of expression) ก็ยังคงเป็นที ่ถกเถียง<br />

กันในสังคมไทยว่ายังคงถูกจ ากัดภายใต้กรอบคิดบางประการ<br />

ดูเพิ่มใน ‘Civil Disobedience’, ‘Constitutionalism’, ‘Freedom’, ‘Popular Sovereignty’ และ ‘Social Contract’<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

Wasserman, David (2000). The basics of American politics. New York: Long man.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

174


DISABILITY RIGHTS<br />

สิทธิคนพิกำร<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิคนพิการ (Disability Rights) หมายถึงสิทธิส าหรับบุคคลที ่มีข้อจ ากัดในการด าเนินชีวิตประจ าวันหรือมีส่วนร่วมใน<br />

สังคมอันเกิดจากความพิการในลักษณะต่างๆ โดยคุ้มครองให้คนพิการมีสิทธิเท่าเทียมโดยไม่มีการเลือกปฏิบัติ พร้อมกับออกแบบ<br />

สภาพแวดล้อมในสังคม และสร้างกลไกด้านต่างๆ เพื ่อให้คนพิการสามารถใช้ชีวิตประจ าวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมในสังคมได้ดังเช่น<br />

บุคคลทั่วไป เช่น การจ้างงาน การได้รับการศึกษา การรับบริการต่างๆ และสิทธิในการได้รับการช่วยเหลือและการบริการเป็น<br />

พิเศษ เช่น การให้บริการด้านสาธารณสุข สวัสดิการช่วยเหลือทางการเงิน และความช่วยเหลือในการด ารงชีวิตป ระจ าวัน เช่น<br />

ห้องน ้า ทางเดิน ที ่นั่งพิเศษในระบบขนส่งมวลชน<br />

คนพิการ หมายถึง บุคคลซึ ่งมีข้อจ ากัดในการปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ าวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคม เนื ่องจากมี<br />

ความบกพร่องทางการเห็น การได้ยิน การเคลื ่อนไหว การสื ่อสาร จิตใจ อารมณ์ พฤติกรรม สติปัญญา การเรียนรู้ หรือความ<br />

บกพร่องอื ่นใดประกอบกับมีอุปสรรคในด้านต่างๆ และมีความต้องการจ าเป็นพิเศษที ่จะต้องได้รับความช่วยเหลือด้านหนึ ่งด้าน<br />

ใด เพื ่อสามารถปฏิบัติกิจกรรมในชีวิตประจ าวันหรือเข้าไปมีส่วนร่วมทางสังคมได้อย่างบุคคลทั่วไป (ราชกิจจานุเบกษา1)<br />

อรรถำธิบำย<br />

สิทธิคนพิการนั้นมีการออกกฎหมายรับรองในญี ่ปุ่นตั้งแต่ในช่วงปลายทศวรรษที ่สี ่สิบ จากนั้นมาได้มีการออกกฎหมาย<br />

อย่างต่อเนื ่องเพื ่ออ านวยความสะดวกและช่วยเหลือคนพิการทั้งในด้านการศึกษา การสาธารณสุข การจัดหาปัจจัยช่วยเหลือชนิด<br />

ต่างๆ ส าหรับคนพิการตั้งแต่เก้าอี ้เข็นจนถึงอวัยวะเทียม รวมถึงการสงเคราะห์คนพิการ ครอบครัว และทายาทด้วยการลดหย่อน<br />

ภาษีและการจ่ายเบี ้ยเลี ้ยง<br />

สิทธิคนพิการได้รับการสนับสนุนในทศวรรษที่หกสิบในสหรัฐอเมริกาโดยได้รับแรงบันดาลใจจากการเคลื ่อนไหวเพื ่อ<br />

สิทธิสตรีและสิทธิคนผิวด า ท าให้เกิดการออกกฎหมายหลายฉบับเพื ่อดูแลคนพิการมากขึ ้น เริ่มจากการเพิ่มความรับผิดชอบของ<br />

รัฐบาลกลางที ่จะดูแลและสนับสนุนคนพิการในประเทศด้วยรัฐบัญญัติบ าบัดฟื ้นฟู ค.ศ. 1973 แต่การเคลื ่อนไหวโดยกลุ่มพิการยัง<br />

ด าเนินต่อไปเพื ่อสิทธิที ่มากว่าการได้รับการช่วยเหลือจากรัฐในฐานะคนพิการ เพราะคนพิการต้องการที ่จะใช้ชีวิตในสังคมได้<br />

เหมือนคนปกติทั่วไป หลังจากการประท้วงและการเคลื ่อนไหวอย่างยาวนาน รัฐบัญญัติคนอเมริกันที ่มีความพิการ ค.ศ. 1990 จึง<br />

ถูกตราขึ ้นเพื ่อให้สิทธิคนพิการให้สามารถใช้ชีวิตในสังคมได้ โดยมุ่งเน้นไปที ่การออกระเบียบเพื ่ออ านวยความสะดวกให้กับคน<br />

พิการในอาคารสถานที ่ ยานพาหนะ การจ้างงาน การติดต่อสื ่อสาร และการคุ้มครองจากการเลือกปฏิบัติอันมีสาเหตุมาจากความ<br />

พิการ (วิกิพีเดีย)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

175


คนพิการในประเทศไทยสามารถยื ่นขอขึ ้นทะเบียนเป็นคนพิการเพื ่อขอรับบริการและสวัสดิการต่างๆ ได้ โดยผู้พิการนั้น<br />

พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550 ได้ก าหนดประเภทของคนพิการไว้ คือ ความพิการทางการ<br />

มองเห็น ความพิการทางการได้ยินและสื ่อความหมาย ความพิการทางการเคลื ่อนไหวหรือร่างกาย ความพิการทางจิตใจหรือ<br />

พฤติกรรม หรือออทิสติก ความพิการทางสติปัญญา และความพิการทางการเรียนรู้ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ<br />

มนุษย์)<br />

สิทธิประโยชน์ที ่จัดให้คนพิการที ่ขึ ้นทะเบียนตามกฎหมาย มีดังต่อไปนี ้<br />

การสงเคราะห์และฟื ้นฟูสมรรถภาพร่างกาย การศึกษา การประกอบอาชีพ และด้านสังคม<br />

ให้บริการด้านสุขภาพ การฟื ้นฟูอาชีพ และการช่วยเหลือด้านสังคมในชุมชน โดยส่งเสริมให้มีการจัดตั้งศูนย์ดูแลและ<br />

ฟื ้นฟูสมรรถภาพผู้พิการในชุมชน<br />

ให้การสงเคราะห์ครอบครัวของผู้พิการและผู้ดูแลผู้พิการ<br />

จัดหาอุปกรณ์และเครื ่องช่วยความพิการ<br />

จัดหางานและการส่งเสริมการประกอบอาชีพอิสระ<br />

นอกจากนี ้ยังมีการตราพระราชบัญญัติการจัดการศึกษาส าหรับคนพิการ พ.ศ. 2551 ซึ ่งมอบสิทธิให้กับคนพิการในการ<br />

ได้รับการศึกษาโดยที ่ไม่เสียค่าใช้จ่ายตั้งแต่แรกเกิดหรือพบความพิการจนตลอดชีวิต และได้รับอุปกรณ์และสิ่งอ านวยความสะดวก<br />

อื ่นใดในการศึกษา (ราชกิจจานุเบกษา2) และในด้านสิทธิของแรงงานที ่พิการนั้นแม้จะมีพระราชกฤษฎีกาฉบับที ่ 499 พ.ศ. 2553<br />

มาตรา 3 ว่าด้วยสิทธิประโยชน์ทางภาษี และสิทธิประโยชน์อื ่นๆ ส าหรับนายจ้างที ่จ้างงานแรงงานคนพิการ ซึ ่งคาดว่าจะสามารถ<br />

สร้างโอกาสให้แก่แรงงานผู้พิการให้มีโอกาสใช้ชีวิตร่วมกับผู้คนปกติในสังคมได้อย่างเท่าเทียม และเป็นธรรมมากยิ่งขึ ้นจากการ<br />

พยายามออกกฎหมายเพื ่อสร้างแรงจูงใจให้แก่นายจ้างในการหันมาจ้างงานคนพิการ รวมไปจนถึงนโยบายการให้สวัสดิการ และ<br />

สิทธิประโยชน์พิเศษส าหรับคนพิการของกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ทว่าสิ่งต่างๆ เหล่านี ้แม้จะช่วยให้<br />

คุณภาพชีวิตของผู้พิการ โดยเฉพาะแรงงานมีความเป็นอยู ่ที ่ดีขึ ้นบ้าง แต่กลับยังไม่สามารถครอบคลุมประชากรผู้พิการได้ทั้งหมด<br />

(เฉพาะผู้ที ่จดทะเบียนกับรัฐ) และยังจ ากัดอยู ่ที ่การสร้างแรงจูงใจให้แก่นายจ้างมากกว่าการพยายามสร้างงาน หรือ พัฒนา<br />

ความสามารถของแรงงานเหล่านี ้ได้มากเท่าที ่ควร<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

สิทธิคนพิการในสังคมไทย ยังไม่ได้รับการปรับปรุงมากนัก และขอบเขตการเรียกร้องจากกลุ่มคนพิการเองยังเป็นไปอย่าง<br />

จ ากัด เช่น เรียกร้องสัดส่วนในการเป็นตัวแทนขายสลากกินแบ่งรัฐบาล ประเด็นที ่ควรพิจารณามากกว่านั้นคือ สิทธิในการจ้างงาน<br />

ที ่รัฐบาลสามารถออกกฎ ระเบียบ หรือมาตรการกระตุ้นให้กลุ่มทุนจ้างแรงงานผู้พิการมากขึ ้น โดยสร้างแรงจูงใจในการจ้าง (hiring<br />

incentive) เช่น ลดภาษี ให้กู้ยืมเงินในอัตราดอกเบี ้ยต ่าหรือไม่เสียดอกเบี ้ย เพื ่อให้คนพิการสามารถมีรายได้เลี ้ยงดูตนเองและ<br />

ครอบครัว ลดการพึ ่งพิงจากสังคม และด ารงชีวิตอยู ่ได้อย่างมีศักดิ์ศรี<br />

176


จะเห็นได้ว่าในประเทศไทย ไม่มีการพูดถึงสิทธิของคนพิการในการเข้าถึงการจ้างงาน หรือสิทธิคุ้มครองแรงงานคนพิการ<br />

และดูเหมือนว่าทั้งภาครัฐและภาคเอกชนยังไม่ตระหนักถึงความส าคัญในสิทธิของคนกลุ่มนี ้เท่าใดนัก<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Labour Rights’<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Disability_<br />

rights_movement.<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.msociety.go.th/msoservice_detail.php?pageid=211.<br />

ราชกิจจานุเบกษา1. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.ratchakitcha.soc.<br />

go.th/DATA/PDF/2550/A/061/8.PDF.<br />

ราชกิจจานุเบกษา2. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.ratchakitcha.soc.go.<br />

th/DATA/PDF/2551/A/028/1.PDF.<br />

177


HUMAN RIGHTS<br />

สิทธิมนุษยชน<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิมนุษยชน (Human Rights) คือสิทธิซึ ่งประกาศว่าเป็น “สิทธิอันมิอาจล่วงละเมิดได้อันเป็นสิทธิที ่ได้มาด้วยการเป็น<br />

มนุษย์เท่านั้น” และเป็นสิทธิที ่เป็นสากลและเท่าเทียมกันส าหรับทุกคน อาจเป็นได้ทั้งสิทธิโดยธรรมชาติหรือสิทธิทางกฎหมาย และ<br />

อาจได้รับการรับรองจากกฎหมายระหว่างประเทศหรือกฎหมายแห่งรัฐ (Kurian, 2011: 745)<br />

สิทธิมนุษยชนเป็นประเด็นระหว่างประเทศที ่ส าคัญมากที ่สุดประเด็นหนึ ่ง เป็นทั้งนโยบายการต่างประเทศและนโยบาย<br />

สาธารณะภายในรัฐ ประชาคมโลกส่วนหนึ ่งมีความเห็นว่าสิทธิมนุษยชนคือศีลธรรมสากลส าหรับโลกของเราที ่รุ่มรวยด้วยความ<br />

แตกต่างทางวัฒนธรรมและการเมือง กระนั้น สิทธิมนุษยชนก็เป็นหัวข้อถกเถียงอันดุเดือดทั้งภายในรัฐและระบบระหว่างประเทศ<br />

ทั้งในด้านหลักการและการใช้งาน เนื ่องจากเกี ่ยวพันหรือคุกคามแนวคิดหลักจ านวนมากซึ ่งมักเกี ่ยวพันกับประเด็นจ าพวกการใช้<br />

อ านาจของรัฐต่อประชาชนและการแทรกแซงอธิปไตยโดยใช้การละเมิดสิทธิมนุษยชนเป็นค าอธิบาย<br />

อรรถำธิบำย<br />

สิทธิมนุษยชนตามความหมายในปัจจุบันนั้นย้อนกลับไปถึงยุคฟื ้นฟูศิลปวัฒนธรรมของยุโรปซึ ่งรุ่งเรืองขึ ้นมาแทนที ่ระบบ<br />

ศักดินาสวามิภักดิ์และอ านาจของศาสนจักรที ่มีเหนืออาณาจักรในยุคกลาง โดยถือว่าสิทธิมนุษยชนยุคนั้นก าเนิดจากความพยายาม<br />

ของบรรดาปราชญ์ยุโรปในการแยกเอาจริยธรรมของมนุษย์ออกมาจากหลักการของคริสต์ศาสนาเพื ่อสร้าง “โลกียสิทธิ์ ” อันเป็นสิทธิ<br />

โดยชอบธรรมที ่มนุษย์ทุกคนพึงมีและไม่เกี ่ยวข้องใดๆ กับอ านาจเบื ้องบน<br />

ในยุคนั้น การเคลื ่อนไหวเกี ่ยวกับสิทธิมนุษยชนมักจะควบคู ่ไปกับสิทธิของพลเมืองท่ามกลางการแสวงหาและคิดค้นระบบ<br />

การเมืองการปกครองและการจัดสรรสิทธิอ านาจระหว่างผู้ปกครองและผู้ใต้ปกครอง นักคิดคนส าคัญของยุคอย่าง โทมัส ฮอบส์<br />

(Hobbes) จอห์น ล็อค (Locke) รุสโซ (Rousseau) หรือมองเตสกิเออ (Montesquieu) ต่างผลิตผลงานออกมาเป็นจ านวนมากซึ ่ง<br />

เป็นการขับเคี ่ยวระหว่างปรัชญาสายต่างๆ ในการสร้างรัฐสมัยใหม่ งานเขียนเหล่านี ้ก าหนดบทบาท หน้าที ่ และสิทธิที ่พลเมืองพึงมี<br />

ในรัฐ และรัฐพึงมีต่อประชาชน จึงกล่าวได้ว่า สิทธิมนุษยชนในยุคนั้นยังมิใช่สิทธิที ่เป็นสากลส าหรับมนุษย์ทุกคน แม้หลักการจะ<br />

คล้ายคลึงกันแต่สิทธินั้นจ ากัดอยู ่เฉพาะบุคคลที ่ได้ชื ่อว่าเป็นพลเมือง แนวคิดเกี ่ยวกับความเป็นมนุษย์ที ่เท่าเทียมกันยังมิได้<br />

แพร่หลายมากพอในขณะนั้น<br />

กฎหมายที ่มีชื ่อเสียงที ่สุดในยุคนั้นคือ พระราชบัญญัติว่าด้วยสิทธิพื ้นฐานของพลเมือง ค.ศ. 1689 (Bill of Rights) ซึ ่งเป็น<br />

ส่วนหนึ ่งของการปฏิวัติอันรุ่งโรจน์ของอังกฤษ พระราชบัญญัติฉบับนี ้จ ากัดอ านาจของกษัตริย์ไม่ให้แทรกแซงการออกกฎหมาย<br />

และการเลือกตั้ง เก็บภาษี การมีกองทัพ และให้สิทธิรัฐสภาและพลเมืองมีส่วนในการปกครอง การถือครองอาวุธ และการแสดง<br />

ความคิดเห็น (Yale’s Avalon project)<br />

178


เกือบหนึ่งร้อยปีหลังจากนั้น อีกหมุดหมายส าคัญของหลักสิทธิมนุษยชนได้ถือก าเนิดขึ้น คือค า ประกาศอิสรภาพ<br />

ของสหรัฐอเมริกาในปี ค.ศ. 1776 ซึ ่งระบุว่า “เราถือว่าความจริงต่อไปนี ้เป็นสิ่งที ่ประจักษ์แจ้งอยู ่ในตัวเอง นั่นคือ มนุษย์ทุกคนถูก<br />

สร้างขึ ้นมาอย่างเท่าเทียมกัน และพระผู้สร้างได้มอบสิทธิบางประการที ่จะเพิกถอนมิได้ไว้ให้แก่มนุษย์ ในบรรดาสิทธิเหล่านั้นได้แก่<br />

ชีวิต เสรีภาพและการเสาะแสวงหาความสุข” (วิกิซอร์ส) และในปี ค.ศ. 1789 ผลจากการปฏิวัติฝรั่งเศส ได้ให้ก าเนิดค าประกาศว่า<br />

ด้วยสิทธิมนุษยชนและสิทธิพลเมือง<br />

โธมัส เพน (Thomas Paine) จอห์น สจ๊วต มิลล์ (John stuart Mill) และเฮเกล (Hegel) เป็นส่วนหนึ ่งในนักคิดคนส าคัญ<br />

ที ่ช่วยพัฒนาแนวคิดเรื ่องสิทธิมนุษยชนในยุคสมัยต่อมา และจุดประกายการเคลื ่อนไหวว่าด้วยสิทธิต่างๆ มากมาย การค้าทาสถูก<br />

ยกเลิกโดยจักรวรรดิอังกฤษ และสหรัฐอเมริกาที ่เพิ่งก่อตั้งไม่นานก็ท าสงครามกลางเมือง ด้วยประเด็นว่าด้วยการเลิกทาส ในช่วง<br />

ปลายศตวรรษที ่ 19 จนถึงต้นศตวรรษที ่ 20 การเคลื ่อนไหวเพื ่อสิทธิมนุษยชนจ านวนมากกลายเป็นกระแสสังคม สิทธิเด็ก สิทธิ<br />

สตรี สิทธิแรงงาน ไล่ไปจนถึงสิทธิในการปกครองตนเองและการเรียกร้องเอกราชโดยประเทศอาณานิคม<br />

สงครามโลกครั้งที ่สอง การฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ชาวยิวโดยนาซีเยอรมัน และการกระท า “อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ” น าไปสู ่<br />

การก่อตั้งสหประชาชาติและปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ค.ศ. 1948 หลังจากนั้นเป็นต้นมา ปฏิญญานี้จึงถือเป็นหลัก<br />

ส าคัญของสิทธิมนุษยชนทั่วโลก เป็นสิทธิที ่มนุษย์ทุกคนพึงได้รับเท่ากัน มิอาจล่วงละเมิดได้ เพียงเพราะมนุษย์นั้นเป็นมนุษย์<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2550 บัญญัติไว้ในมาตราที ่ 4 ว่า “ศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิ เสรีภาพ และ<br />

ความเสมอภาคของบุคคลย่อมได้รับความคุ้มครอง” (ราชกิจจานุเบกษา)<br />

สิทธิของประชาชนไทยยังถูกบัญญัติอย่างละเอียดในหมวดที ่ 3 ของรัฐธรรมนูญ “สิทธิและเสรีภาพของชนชาวไทย” โดย<br />

สรุปสิทธิเสรีภาพเป็นข้อๆ พอสังเขปได้ดังนี ้<br />

บททั ่วไป: การใช้อ านาจของรัฐต้องเป็นไปตามหลักสิทธิมนุษยชน รัฐต้องให้ความคุ้มครองสิทธิมนุษยชน ประชาชนมี<br />

สิทธิที ่จะใช้สิทธิเสรีภาพ การจ ากัดสิทธิเสรีภาพท าได้ภายใต้ขอบเขตของกฎหมายและห้ามกระทบสาระส าคัญของ<br />

สิทธินั้น<br />

ความเสมอภาค: ประชาชนทุกคนเท่าเทียมกัน จะเลือกปฏิบัติไม่ได้ เจ้าหน้าที ่ของรัฐมีสิทธิเท่ากับประชาชน เว้นแต่<br />

ถูกจ ากัดโดยกฎหมายเฉพาะที ่เกี ่ยวกับการเมือง สมรรถภาพ วินัย และจริยธรรม<br />

สิทธิเสรีภาพส่วนบุคคล: ในร่างกาย เคหสถาน การเดินทาง ครอบครัว ชื ่อเสียงเกียรติยศ การสื ่อสาร ศาสนา การ<br />

เกณฑ์แรงงานจะท ามิได้ ยกเว้นตามกฎหมายหรือในสถานการณ์ฉุกเฉิน<br />

สิทธิในกระบวนการยุติธรรม: หากไม่ได้กระท าผิดต้องไม่ได้รับโทษทางอาญา ในการพิจารณาคดีต้องสันนิษฐานไว้<br />

ก่อนว่าไม่มีความผิด กระบวนการยุติธรรมต้องเป็นธรรม เปิดเผย เข้าถึงได้โดยง่าย และผู้เกี ่ยวข้องต้องได้รับการ<br />

คุ้มครองหรือความช่วยเหลือตามความเหมาะสม<br />

179


สิทธิในทรัพย์สิน: สิทธิในทรัพย์สินและการสืบมรดกได้รับความคุ้มครอง การเวนคืนทรัพย์สินต้องกระท าภายใต้<br />

ขอบเขตของกฎหมายและมีการชดเชยอย่างเป็นธรรม<br />

สิทธิและเสรีภาพในการประกอบอาชีพ: เสรีภาพในการประกอบอาชีพและการแข่งขันทางธุรกิจ เว้นแต่ถูกจ ากัดด้วย<br />

เหตุผลด้านความมั่นคงและเศรษฐกิจของประเทศ ต้องมีหลักประกันสวัสดิภาพและความปลอดภัยในการท างาน<br />

เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นของบุคคลและสื่อมวลชน: เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นในทางต่างๆ ของบุคคล<br />

และสื ่อมวลชนจะละเมิดมิได้ เว้นแต่เพื ่อความมั่นคงของรัฐหรือเพื ่อปกป้องสิทธิอื ่นๆ ของผู้อื ่น (ซึ ่งจุดนี ้หลายครั้งถูก<br />

หยิบมาเป็นข้ออ้างของรัฐในการจ ากัดเสรีภาพของสื ่อ) (โปรดดู Transparency)<br />

สิทธิเสรีภาพในการศึกษา: ทุกคนมีสิทธิที ่จะได้รับการศึกษาที ่เท่าเทียมกัน เสรีภาพทางวิชาการได้รับการคุ้มครอง<br />

ตราบที ่ไม่ขัดกับศีลธรรมอันดีหรือหน้าที ่ของพลเมือง<br />

สิทธิในการได้รับบริการสาธารสุขและสวัสดิการจากรัฐ: บริการสาธารณสุขขอรัฐส าหรับประชาชนทุกคนอย่างทั่วถึงและ<br />

เท่าเทียม เด็ก เยาวชน คนชรา ผู้พิการทุพลภาพ และผู้ยากไร้ต้องได้รับการช่วยเหลือเป็นพิเศษ<br />

สิทธิในข้อมูลข่าวสารและการร้องเรียน: สิทธิที ่จะเข้าถึงข้อมูลของหน่วยงานของรัฐ รวมถึงการเป็นส่วนหนึ ่งใน<br />

กระบวนการพิจารณา ร้องเรียน ร้องทุกข์กล่าวโทษหน่วยงานของรัฐ (โปรดดู Transparency)<br />

เสรีภาพในการชุมนุมและสมาคม: เสรีภาพในการชุมนุม ทั้งนี ้ โดยสงบปราศจากอาวุธ เสรีภาพในการจัดตั้งสมาคม<br />

องค์กรประเภทต่างๆ เสรีภาพในการตั้งพรรคการเมือง<br />

สิทธิชุมชน (community rights): สิทธิที ่จะอนุรักษ์และฟื ้นฟูภูมิปัญญาท้องถิ่น สิทธิที ่จะอนุรักษ์ ฟื ้นฟู บ ารุงรักษา และ<br />

ได้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่น<br />

สิทธิพิทักษ์รัฐธรรมนูญ: ห้ามใช้สิทธิตามรัฐธรรมนูญล้มรัฐธรรมนูญ ผู้ใดพบเห็นการกระท าที ่จะล้มหรือส่อว่าจะล้ม<br />

รัฐธรรมนูญมีสิทธิที ่จะเสนอเรื ่องต่อหน่วยงานที ่เกี ่ยวข้องให้มีการตรวจสอบ และชุมนุมโดยสันติเพื ่อต่อต้านการกระท า<br />

ดังกล่าว<br />

หน่วยงานด้านสิทธิมนุษยชนของไทย คือคณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติที ่จัดตั้งขึ ้นเป็นองค์กรอิสระตาม<br />

รัฐธรรมนูญ มีหน้าที ่หลักคือการตรวจสอบและรายงานการกระท าที ่ขัดต่อหลักสิทธิมนุษยชนตามพันธกรณีของกฎหมายระหว่าง<br />

ประเทศที ่ไทยเป็นภาคีสมาชิก ให้ค าแนะน าในการร่างหรือปรับปรุงข้อกฎหมายต่างๆ ให้สอดคล้องกับหลักการสิทธิมนุษยชน<br />

ส่งเสริมความร่วมมือระหว่างหน่วยงานต่างๆ ในด้านสิทธิมนุษยชนและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้ชาวไทยตระหนักถึงสิทธิมนุษยชน<br />

ของตน (คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ)<br />

180


ประเด็นด้านสิทธิมนุษยชนของประเทศไทยในปัจจุบันคือการค้ามนุษย์ สิทธิในการชุมนุม การปิดกั้นข้อมูลข่าวสาร<br />

เสรีภาพของสื ่อมวลชนและการแสดงความเห็นของประชาชน โดยเฉพาะอย่างยิ่งสิทธิในการแสดงความคิดเห็นทางการเมืองซึ ่งถือ<br />

เป็นสิทธิพลเมืองขั้นพื ้นฐานนั้น ยังมิอาจบรรลุได้ ตราบใดที ่ไม่ยกเลิก หรือ แก้ไขตัวกฎหมาย หรือการบังคับใช้กฎหมายบางฉบับ<br />

ที ่หลายครั้งเป็นไปเพื ่อปิดกั้นการแสดงความคิดเห็นที ่ตรงไปตรงมา หรือ การปิดกั้นมิให้มีการวิพากษ์วิจารณ์ประเด็นทางการเมือง<br />

ประเด็นใดประเด็นหนึ ่ง<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

หลักการสิทธิมนุษยชนในปัจจุบันมีที ่มาจากปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน ซึ ่งระบุในมาตราที ่ 1 ว่า “มนุษย์ทั้งหลาย<br />

เกิดมามีอิสระและเสมอภาคกันในเกียรติศักดิ์และสิทธิ ต่างมีเหตุผลและมโนธรรม และควรปฏิบัติต่อกันด้วยเจตนารมณ์แห่งภราดร<br />

ภาพ” (วิกิซอร์ส) หลักการส าคัญว่าด้วยสิทธิในปฏิญญา คือ<br />

สิทธิในการด ารงชีวิต<br />

ห้ามความเป็นทาสในทุกรูปแบบ<br />

ห้ามการทรมานและการลงโทษที ่โหดร้ายผิดมนุษยธรรม ห้ามการคุมขังหรือเนรเทศโดยพลการ<br />

สิทธิที ่จะเป็นบุคคลตามกฎหมาย ได้รับการคุ้มครองจากกฎหมายโดยเท่าเทียมไม่มีการเลือกปฏิบัติ มีสิทธิที ่จะได้รับ<br />

การพิจารณาจากศาลที ่เป็นธรรมและเปิดเผย โดยถือว่าบริสุทธิ์จนกว่าจะพิสูจน์ได้ว่าผิด<br />

สิทธิส่วนบุคคลในครอบครัวและเคหะสถาน<br />

เสรีภาพในการเดินทางภายในประเทศ การออกจากประเทศและการกลับเข้าประเทศของตน<br />

สิทธิในการลี ้ภัยออกจากประเทศของตนเองเพื ่อหนีจากการประหัตประหาร<br />

สิทธิในการถือสัญชาติ<br />

สิทธิในการสมรสและการตั้งครอบครัว<br />

สิทธิในการถือครองทรัพย์สิน<br />

สิทธิในการนับถือศาสนา ลัทธิ แนวคิดความเชื ่อต่างๆ และการประกาศและการปฏิบัติตามแนวคิดความเชื ่อนั้น<br />

เสรีภาพในการแสดงความคิดเห็นและการเผยแพร่ความคิดเห็น<br />

สิทธิในการก่อตั้งสมาคมและการชุมนุมโดยสันติ<br />

สิทธิในการเป็นส่วนหนึ ่งของรัฐบาล<br />

สิทธิในการได้รับความมั่นคงทางสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม<br />

สิทธิในการท างาน การเลือกงาน และได้รับค่าจ้างที ่เท่าเทียมกัน<br />

สิทธิในการพักผ่อนในเวลาว่างและหยุดงานเป็นครั้งคราวโดยได้รับสินจ้าง<br />

สิทธิที ่จะมีมาตรฐานการครองชีพที ่ดีและการศึกษา<br />

181


สิทธิที ่จะเข้าร่วมในชีวิตทางวัฒนธรรม ที ่สร้างและส่งเสริมบันเทิง ศิลปะ และวิทยาศาสตร์<br />

สิทธิในระเบียบทางสังคมและระหว่างประเทศ<br />

ฉะนั้น สิทธิมนุษยชน กับ สิทธิพลเมือง (โปรดดู Civil Rights) จึงมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยส าคัญ เนื ่องจากสิทธิ<br />

พลเมืองนั้นเป็นสิทธิที ่พลเมืองทุกๆ คนพึงมีในฐานะพลเมืองของรัฐ (ซึ ่งอาจมีความแตกต่างกันในแต่ละรัฐ) แต่สิทธิมนุษยชนนั้น<br />

เป็นสิทธิที ่มนุษย์ทุกๆ คนบนโลกนี ้พึงมีอย่างเหมือนๆ กันในฐานะ “มนุษย์” ไม่ว่าจะอยู ่ที ่ใด หรือ เป็นพลเมืองของรัฐใดก็ตาม<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Transparency’, ‘Rights’ และ ‘Civil Rights’<br />

คณะกรรมการสิทธิมนุษยชนแห่งชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.nhrc.or.th.<br />

ราชกิจจานุเบกษา. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.ratchakitcha.soc.go.th/<br />

DATA/PDF/2550/A/047/ 1.PDF.<br />

วิกิซอร์ส. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikisource.org/wiki/Special:<br />

Search/United_States_Declaration_ of_Independenc.<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Human_rights.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Stanford encyclopedia of philosophy. Accessed September 30, 2012 from<br />

http://plato.stanford.edu/entries/rights-human/.<br />

UNHCR. Accessed September 30, 2012 from http://www.unhcr.org/refworld/docid/<br />

3ae6b3712c.html. Yale’s Avalon project.<br />

“English bill of rights 1689: An Act Declaring the Rights <strong>and</strong> Liberties of the Subject<br />

<strong>and</strong> Settling the Succession of the Crown”. Accessed September 30, 2012 from<br />

http://avalon.law.yale.edu/17th_century/engl<strong>and</strong>.asp.<br />

182


่<br />

INDIGENOUS RIGHTS<br />

สิทธิชนพื้นเมือง<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิชนพื ้นเมือง (Indigenous Rights) หมายถึงสิทธิของกลุ่มชนซึ ่งเป็นชนพื ้นเมืองอยู ่แต่ดั้งเดิมมาก่อนที ่ประชาชนซึ ่ง<br />

เป็นชนส่วนใหญ่ในปัจจุบันจะอพยพมาตั้งถิ่นฐานหรือท าการรุกรานจับจองเป็นอาณานิคม เช่น ชาวอเมริกันพื ้นเมือง (อินเดียนแดง)<br />

เผ่าต่างๆ ในอเมริกา ชาวอะบอริจินในออสเตรเลีย ชาวเมารีในนิวซีแลนด์ เป็นต้น (วิกิพีเดีย) โดยที ่ค าว่าชนพื ้นเมือง หมายถึงกลุ่ม<br />

ชนซึ ่งอาศัยอยู ่ในพื ้นที ่ก่อนการก่อตั้งอาณานิคมหรือรัฐชาติและมีระบบการเมืองและวัฒนธรรมต่างไปจากการเมืองและวัฒนธรรม<br />

หลักของรัฐซึ ่งพื ้นที ่ของชนพื ้นเมืองนั้นตั้งอยู<br />

สหประชาชาติ)<br />

อรรถำธิบำย<br />

หลักเกณฑ์ที ่สหประชาชาติใช้ในการพิจารณาชนพื ้นเมือง คือ (อ้างอิงจาก ส านักงานข้าหลวงใหญ่เพื ่อสิทธิมนุษยชนแห่ง<br />

กลุ่มคนที ่อาศัยอยู ่ในพื ้นที ่ก่อนการมาถึงของผู้มีวัฒนธรรมหรือเชื ้อชาติที ่แตกต่าง<br />

กลุ่มคนที ่แยกตัวโดดเดี ่ยวจากวัฒนธรรมหลักรายรอบและรักษาเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมของตนไว้ได้<br />

กลุ่มคนที ่ถูกแบ่งแยกแม้จะไม่เป็นทางการด้วยชาติ สังคม วัฒนธรรมที ่แตกต่างออกไปด้วยโครงสร้างของรัฐ<br />

สิทธิชนพื ้นเมืองนั้นนอกจากจะระบุอยู ่ในสิทธิมนุษยชนพื ้นฐานแล้ว ยังรวมถึงสิทธิในการครอบครองดินแดนดั้งเดิม สิทธิ<br />

ในการรักษาภาษา วัฒนธรรม และศาสนาซึ ่งถือว่าเป็นส่วนหนึ ่งของอัตลักษณ์ความเป็นชนพื ้นเมืองไว้ โดยรัฐจะต้องให้การ<br />

คุ้มครองหรือให้อิสระส าหรับชนพื ้นเมืองในการตัดสินใจเลือกอัตลักษณ์ของตนเองโดยไม่พยายามกลืนกินทางวัฒนธรรมหรือ<br />

พยายามก าจัดให้หมดไป รวมถึงการป้องกันผลกระทบทางอ้อมอันส่งผลต่อการด ารงชีวิตของชนพื ้นเมือง เช่น การพัฒนา<br />

อุตสาหกรรมที ่ส่งผลต่อสิ่งแวดล้อมในดินแดนของชนพื ้นเมือง รวมไปจนถึงวาทกรรมการ “พัฒนา” ในมิติอื ่นๆ ที ่หลายครั้งมอง<br />

ผู้คนเป็นอุปสรรคในกระบวนการพัฒนา รวมถึงการพัฒนาที ่ท าให้อัตลักษณ์ของชนพื ้นเมืองถูกดูดกลืน หรือหลอมรวม กับ<br />

วัฒนธรรมและความเจริญชุดใหม่ อันเป็นผลจากการพัฒนาโดยคนภายนอก<br />

ปัจจุบันสิทธิชนพื ้นเมืองได้รับการรับรองและอาศัยปฏิญญาสหประชาชาติว่าด้วยสิทธิของชนพื ้นเมือง ค.ศ. 2007 เป็น<br />

หลัก กฎหมายเกี ่ยวกับชนพื ้นเมืองของรัฐที ่ลงนามรับรองต้องปรับให้สอดคล้องกับบทบัญญัติในปฏิญญา (สหประชาชาติ) แต่ใน<br />

สภาพความเป็นจริงนั้นชนพื ้นเมืองในหลายๆ ที ่ อาทิ พม่า ก็ยังคงได้รับผลกระทบจากการกดขี ่ และใช้ความรุนแรงจากรัฐในการ<br />

ปราบปราม ฉะนั้นปัญหาส าคัญ ณ เวลานี ้จึงอยู ่ที ่การท าให้สิทธิชนพื ้นเมืองเหล่านี ้ได้รับการรับรองเป็นพลเมืองที ่สมบูรณ์ของ<br />

ประเทศ มีสิทธิในการเลือกตั้ง ได้รับความคุ้มครองตามกฎหมาย และได้รับการปฏิบัติให้เป็นสากลเฉกเช่นเดียวกันกับสิทธิ<br />

มนุษยชน<br />

183


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประเทศไทยยังไม่มีการรับรองสิทธิของชนพื ้นเมืองใดๆ แม้จะมีชนพื ้นเมืองอยู ่มากก็ตาม เช่น ชนชาวมอเก็น หรือชาวเล<br />

(Morken) ชาวซาไก หรือสินอย (Sakai, Senoi) ชนชาวชอง (Chong) ชนชาวเซมัง หรือเงาะป่า (Semang) ชาวลัวะ (Lua) ชาวไท<br />

เขิน (Tai Kheun) ชาวมลาบรี หรือผีตองเหลือง (Mlabri , phi tongn luang) ชาวกะเหรี ่ยง ชาวไทยเบิ ้ง และชาวไทยมลายู หรือไทย<br />

มาเลย์ หรือไทยมุสลิม<br />

ปัญหาชนพื ้นเมืองและชนกลุ่มน้อยในประเทศไทยที ่ปรากฏชัด เช่น ปัญหาที ่เกิดกับกลุ่มม้ง และชาวกะเหรี ่ยงใน<br />

ภาคเหนือ ซึ ่งมีจ านวนหลายแสนคนที ่ถูกละเลย และได้รับการปฏิบัติที ่เลวร้ายจากเจ้าหน้าที ่รัฐทั้งจากส่วนกลาง และเจ้าหน้าที ่<br />

ปกครองในพื ้นที ่มาโดยตลอด ทั้งนี ้เพราะพวกเขาถูกมองว่ามิใช่ชนพื ้นเมืองของไทย หากแต่เป็น “ผู้อพยพ” ที ่ลี ้ภัยการเมือง หรือ<br />

หลบหนีมาจากประเทศเพื ่อนบ้านเข้ามาอาศัยอยู ่ในบริเวณประเทศไทยเท่านั้น ฉะนั้นชนกลุ่มน้อย (ที ่มีมาก) เหล่านี ้จึงไม่ได้มีมี<br />

สถานะเป็นพลเมืองไทย และเป็นเหตุให้ถูกปฏิบัติด้วยการแบ่งแยก และกีดกัน โดยเฉพาะการได้รับสวัสดิการขั้นพื ้นฐานมาโดย<br />

ตลอด เช่น การให้บุตรหลานได้รับการเล่าเรียนในโรงเรียนปกติเฉกเช่นเดียวกับเด็กคนอื ่นๆ ที ่มีสถานะเป็นพลเมืองไทย เป็นต้น<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ชนพื ้นเมืองในแทบทุกประเทศทั่วโลกมักกลายเป็นชนกลุ่มน้อยในปัจจุบันของประเทศนั้น ความเป็นชนกลุ่มน้อยมักจะท า<br />

ให้เป็นผู้ด้อยสิทธิ แม้ว่า “สิทธิมนุษยชน” (โปรดดู Human Rights) ที ่เป็น “สิทธิทางศีลธรรม” (Moral Rights) จะได้รับการรับรอง<br />

ในฐานะที ่เป็นสิทธิทางธรรมชาติหรือสิทธิขั้นพื ้นฐานของมนุษย์ แต่ “สิทธิทางกฎหมาย” (Legal Rights) อาจไม่ได้รับการคุ้มครอง<br />

เสมอไป เช่น ก าหนดกติกาในทางกฎหมายอันจะท าให้ชนพื ้นเมืองเดิมตามตะเข็บชายแดนไม่อาจมีสัญชาติหรือมีภูมิล าเนาใน<br />

ประเทศ หรือไม่มีสิทธิเลือกตั้ง หรือไม่สามารมีตัวแทนในระบบการเมือง ในประเด็นนี ้เอง ประเทศไทยควรทบทวนการก าหนด<br />

สถานภาพในทางกฎหมายของบุคคล และตรวจสอบว่าได้สร้างอุปสรรคในการให้สัญชาติหรือภูมิล าเนา และสิทธิตามกระบวนการ<br />

ทางการเมืองแก่ชนพื ้นเมืองอย่างไม่เป็นธรรมหรือไม่<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Indigenous_rights.<br />

ส านักงานข้าหลวงใหญ่เพื ่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.ohchr.org/english/issues/indigenous/groups/groups-01.htm.<br />

สหประชาชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.un.org/esa/socdev/<br />

unpfii/en/drip.html.<br />

184


LABOUR RIGHTS<br />

สิทธิแรงงำน<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิแรงงาน (Labour Rights) หมายถึงสิทธิของผู้ใช้แรงงานในความสัมพันธ์ระหว่างลูกจ้างกับนายจ้าง ทั้งสิทธิทาง<br />

กฎหมายและสิทธิมนุษยชน (โปรดดู Human Rights) เช่น อัตราค่าจ้าง จ านวนชั่วโมงการท างาน สภาพแวดล้อมและความ<br />

ปลอดภัยในที ่ท างาน สิทธิในการจัดตั้งสหภาพแรงงาน เป็นต้น สิทธิแรงงานมักจะได้รับการรับรองโดยการออกฎหมายว่าด้วยสิทธิ<br />

แรงงาน การจ ากัดชั่วโมงการท างาน และการก าหนดอัตราค่าแรงขั้นต ่า (วิกิพีเดีย)<br />

อรรถำธิบำย<br />

การเคลื ่อนไหวเกี ่ยวกับสิทธิแรงงานมีพัฒนาการพร้อมกับพัฒนาการทางเศรษฐกิจและระบบทุนนิยม โดยเริ่มจากการ<br />

ต่อต้านการล้อมรั้วที ่ดินในอังกฤษ อังกฤษในขณะนั้นอยู ่ระหว่างการเปลี ่ยนแปลงพื ้นที ่ท าการเกษตรไปเป็นพื ้นที ่เลี ้ยงแกะซึ ่งเป็น<br />

อุตสาหกรรมส่งออกส าคัญ ทุ่งหญ้าส่วนกลางซึ ่งประชาชนมีเสรีในการใช้งานถูกล้อมให้ตกอยู ่ใต้กรรมสิทธิ์เจ้าของที ่ดินเท่านั้น ท า<br />

ให้ชาวบ้านซึ ่งเคยใช้พื ้นที ่เหล่านี ้ในการท าการเกษตรและเลี ้ยงปศุสัตว์ไม่สามารถประกอบอาชีพต่อไปได้เพราะพื ้นที ่ถูกเปลี ่ยนให้<br />

เป็นพื ้นที ่เลี ้ยงแกะเพื ่อการส่งออกขนแกะ<br />

สิทธิแรงงานได้รับความส าคัญมากยิ่งขึ ้นในช่วงหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมซึ ่งเปลี ่ยนแรงงานทางการเกษตรเป็นแรงงาน<br />

ในโรงงานอุตสาหกรรมและแหล่งทรัพยากรธรรมชาติเพื ่อการอุตสาหกรรม เช่น เหมืองแร่ต่างๆ โดยมีการออกกฎหมายแรงงานใน<br />

อังกฤษเมื ่อปี ค.ศ. 1833 ซึ ่งมีเนื ้อหาในการห้ามการใช้แรงงานเด็ก ก าหนดค่าแรงขั้นต ่าและจ ากัดชั่วโมงการท างานต่อวัน โดย<br />

ห้ามการใช้แรงงานเด็กที ่มีอายุต ่ากว่า 9 ปี เด็กที ่มีอายุ 9-13 ปีท างานได้ไม่เกินวันละ 8 ชั่วโมง และเด็กอายุ14-18 ปีท างานได้ไม่เกิน<br />

วันละ 12 ชั่วโมง (วิกิพีเดีย) กระบวนการปฏิวัติอุตสาหกรรมยังได้เพิ่มแนวคิดเกี ่ยวกับสิทธิแรงงานเข้าไปในสิทธิมนุษยชน โดย<br />

ตั้งอยู ่บนพื ้นฐานความเชื ่อว่าแรงงานก็เป็นมนุษย์ ควรได้รับการปฏิบัติในฐานะมนุษย์ มิใช่ทาสในระบบแรงงานทาส โดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งในช่วงศตวรรษที ่ 19 ซึ ่งมีการจัดตั้งสหภาพแรงงานเป็นครั้งแรก รวมถึงกระแสลัทธิสังคมนิยมของคาร์ล มาร์กซ์ ได้วิพากษ์<br />

ระบบทุนนิยมซึ ่งกดขี ่ชนชั้นกรรมาชีพในโรงงานอุตสาหกรรมว่าไม่เป็นธรรมอย่างร้ายกาจ<br />

หลังสงครามโลกครั้งที ่หนึ ่ง องค์การแรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organisation – ILO –<br />

also know as International Labour Office) ถูกจัดตั้งขึ ้นในปี ค.ศ. 1919 ภายใต้สันนิบาตชาติ เมื ่อมีการจัดตั้งองค์การ<br />

สหประชาชาติขึ ้นแทนที ่สันนิบาตชาติในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที ่สอง องค์การแรงงานระหว่างประเทศก็เข้าเป็นส่วน<br />

หนึ ่งของสหประชาชาติ และตัวสหประชาชาติเองได้กล่าวถึงสิทธิแรงงานไว้ในค าปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชนไว้ใน<br />

ข้อที ่ 23 และ 24 ดังนี ้ (ส านักงานข้าหลวงใหญ่เพื ่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ)<br />

185


ข้อ 23<br />

1. ทุกคนมีสิทธิในการงาน ในการเลือกงานโดยอิสระในเงื ่อนไขอันยุติธรรม และเป็นประโยชน์แห่งการงาน<br />

และการคุ้มครองแห่งการว่างงาน<br />

2. ทุกคนมีสิทธิที ่จะได้รับเงินค่าจ้างเท่าเทียมกันส าหรับงานเท่าเทียมกัน โดยปราศจากการเลือกปฏิบัติใดๆ<br />

3. ทุกคนที ่ท างานมีสิทธิที ่จะได้รับค่าจ้างที ่ยุติธรรมและเป็นประโยชน์ ที ่จะให้ประกันแก่ตนเองและครอบครัว<br />

แห่งตน ซึ ่งความเป็นอยู ่อันคู ่ควรแก่เกียรติศักดิ์ของมนุษย์ และถ้าจ าเป็นก็จะต้องได้รับวิถีทางคุ้มครองทาง<br />

สังคมอื ่นเพิ่มเติมด้วย<br />

4. ทุกคนมีสิทธิที ่จะจัดตั้ง และที ่จะเข้าร่วมสหพันธ์กรรมกรเพื ่อความคุ้มครองแห่งประโยชน์ของตน<br />

ข้อ 24<br />

ทุกคนมีสิทธิในการพักผ่อนและเวลาว่าง รวมทั้งจ ากัดเวลาการท างานตามสมควร และวันหยุดงานเป็นครั้ง<br />

คราวโดยได้รับสินจ้าง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

นโยบายด้านการคุ้มครองและดูแลแรงงานของไทยเริ่มต้นในสมัยการเปลี ่ยนแปลงการปกครอง พ.ศ. 2475 โดยการ<br />

จัดการให้ราษฎรมีงานท านั้นเป็นหนึ ่งในหลักหกประการที ่ประกาศโดยคณะราษฎรอยู ่แล้ว หลังการเปลี ่ยนแปลงการปกครองไม่กี ่<br />

เดือน ในเดือนสิงหาคมได้มีการตราพระราชบัญญัติว่าด้วยส านักจัดหางาน พ.ศ. 2475 ให้เอกชนเปิดส านักจัดหางานและเรียกเก็บ<br />

ค่าบริการจากประชาชนได้ ต่อมาในเดือนตุลาคมจึงมีการออกพระราชบัญญัติส านักจัดหางานประจ าท้องถิ่น พ.ศ. 2475 โดยรัฐเปิด<br />

ส านักงานจัดหางานให้ประชาชนเข้าใช้บริการโดยไม่ต้องเสียค่าใช้จ่าย (กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม)<br />

กรมแรงงาน กระทรวงมหาดไทย ได้รับการโอนไปจัดตั้งเป็นกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคมในปี พ.ศ. 2536 และ<br />

เปลี ่ยนชื ่อเป็นกระทรวงแรงงานในปี พ.ศ. 2545<br />

นโยบายขององค์การการค้าระหว่างประเทศซึ ่งรวมมาตรฐานสิทธิแรงงานและสิทธิมนุษยชนเข้าไปในระเบียบการค้าและ<br />

ตลาดส าคัญของไทย อย่างสหภาพยุโรปที ่หันมากีดกันการค้าด้วยนโยบายเกี ่ยวกับแรงงานสิทธิมนุษยชนแทนก าแพงภาษีท าให้<br />

ระบบกฎหมายแรงงานของไทยต้องปรับตัวให้เข้ากับมาตรฐานสิทธิแรงงานโลก หรืออีกนัยหนึ ่งคือ มาตรฐานแรงงานของลูกค้า<br />

ส าหรับสิทธิแรงงานในปัจจุบันของไทย มีการออกกฎหมายเพื ่อให้บริการจัดหางานและการชดเชยส าหรับผู้ว่างงาน การ<br />

ให้การคุ้มครองและสวัสดิการแรงงาน และการคุ้มครองในกรณีถูกเลิกจ้าง รวมถึงกฎหมายส าหรับแรงงานเด็ก แรงงา นสตรี<br />

แรงงานคนพิการ การส่งเสริมและพัฒนาทักษะวิชาชีพประเภทต่างๆ เพื ่อพัฒนาฝีมือแรงงาน โดยสิทธิแรงงานนั้นเน้นไปที ่การ<br />

คุ้มครองแรงงานและสวัสดิการแรงงาน โดยการคุ้มครองแรงงานนั้นประกอบไปด้วยการจ ากัดชั่วโมงท างานต่อวัน (ไม่เกินวันละ 8<br />

ชั่วโมงหรือตามที ่ตกลงกันระหว่างนายจ้างกับลูกจ้างส าหรับงานทั่วไป และไม่เกิน 7 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ส าหรับงานที ่มีอันตราย)<br />

สิทธิในการหยุดพักระหว่างท างาน (ไม่น้อยกว่า 1 ชั่วโมงหลังจากท างานมาแล้ว 5 ชั่วโมง) วันหยุดประจ าสัปดาห์ (ไม่น้อยกว่า 1<br />

วัน) ตามเทศกาลประเพณี (ไม่น้อยกว่า 13 วันต่อปี) และวันหยุดพักผ่อนประจ าปี การจ ากัดชั่วโมงในการท างานล่วงเวลา (ไม่เกิน<br />

36 ชั่วโมงต่อสัปดาห์) การลาหยุดและลากิจประเภทต่างๆ การชดเชยในกรณีเลิกจ้าง การก าหนดค่าแรงขั้นต ่า และการคุ้มครอง<br />

186


แรงงานเด็กและสตรี ที ่มีการคุ้มครองแรงงานเด็ก (ที ่มีอายุระหว่าง 15 – 18 ปี) และสตรีว่าไม่สามารถกระท างานประเภทใดได้บ้าง แม้<br />

ในมุมหนึ ่งจะเป็นการมอบสวัสดิการพิเศษให้แก่แรงงานเหล่านี ้ แต่ในอีกมุมหนึ ่งก็อาจมองได้ว่าเป็นการกดทับทาง เพศสภาวะ<br />

ของผู้ใช้แรงงาน เพราะเป็นการตอกย ้าให้เห็นว่าแรงงานสตรีนั้นแตกต่าง หรือ มีความไม่ทัดเทียมกับ “แรงงาน” เพศชาย ส่วน<br />

สวัสดิการแรงงานที ่นายจ้างต้องจัดให้นั้น มีตั้งแต่การจัดการสถานที ่ท างาน การจัดเตรียมอุปกรณ์ปฐมพยาบาล และสวัสดิการเพื ่อ<br />

ความเป็นอยู ่ของลูกจ้าง เช่น จัดท าประกันสังคม สหกรณ์ออมทรัพย์ ระบบบ าเหน็จบ านาญ โครงการฝึกอบรมวิชาชีพ การให้<br />

การศึกษา และจัดกิจกรรมนันทนาการเพื ่อสุขภาพ เป็นต้น (กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม)<br />

ปัญหาการก าหนดค่าแรงขั้นต ่าไว้ที ่ 300 บาท ต่อวัน ซึ ่งเป็นนโยบายที ่ใช้หาเสียงของรัฐบาลพรรคเพื ่อไทยนั้น แม้จะ<br />

เป็นการพัฒนาคุณภาพชีวิตของแรงงานให้มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น ซึ่งในความเป็นจริงเมื ่อเปรียบเทียบกับมาตรฐานสากล และ<br />

ค่าเงินของประเทศไทยแล้ว ค่าแรงที ่ 300 บาทต่อวัน แม้จะยังคงไม่เพียงพอต่อการท าให้แรงงานมีคุณภาพชีวิตที ่ดีได้ แต่นโยบาย<br />

ดังกล่าวนี ้กลับต้องเผชิญกับกระแสต่อต้านโดยเฉพาะอย่างยิ่งจากบรรดานายจ้างที ่เป็นเจ้าของธุรกิจขนาดเล็ก และขนาดกลาง ที ่<br />

ออกมาปฏิเสธการขึ ้นค่าแรงว่าจะส่งผล และเป็นสาเหตุส าคัญที ่ท าให้ผู้ประกอบการขนาดเล็ก และขนาดกลางจะต้องปิดกิจการลง<br />

ไปเป็นจ านวนมาก ในขณะที ่กลุ่มทุนรายใหญ่ หรือ อุตสาหกรรมขนาดใหญ่ ไม่เพียงแต่จะไม่ได้รับผลกระทบ กลับได้รับการ<br />

ลดหย่อนภาษีตามนโยบายของรัฐบาลเนื ่องจากกลุ่มทุนใหญ่ จ่ายอัตราค่าจ้างแรงงานเกิน 300 บาทต่อวันอยู ่ก่อนแล้ว โดยเฉพาะ<br />

เมื ่อคิดร่วมกับค่าท างานล่วงเวลา<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

องค์การแรงงานระหว่างประเทศได้ตั้งมาตรฐานสิทธิแรงงานไว้ เพื ่อเป็นกติกาสากลส าหรับแรงงานทั่วโลก (องค์การ<br />

แรงงานระหว่างประเทศ) มาตรฐานนี ้ตั้งกรอบกว้างๆ ซึ ่งสามารถใช้ปฏิบัติได้ในทุกประเทศไม่ว่าจะมีการพัฒนาขั้นใดหรือมี<br />

วัฒนธรรมแบบใด และมุ่งเน้นมาตรฐานในเชิงคุณภาพมากกว่าการก าหนดปริมาณประเภทอัตราค่าแรง หรือชั่วโมงการท างาน<br />

มาตรฐานดังกล่าว คือ<br />

สิทธิในการรวมตัวกัน : แรงงานมีเสรีภาพในการจัดตั้งหรือเข้าร่วมสหภาพแรงงานที ่เป็นอิสระจากรัฐบาลและอิทธิพล<br />

ของนายจ้าง<br />

สิทธิในการรวมตัวกันเรียกร้อง : แรงงานสามารถรวมตัวกันเพื ่อเจรจาต่อรองกับนายจ้างแทนที ่จะเจรจาด้วยตัวเอง<br />

เพียงล าพัง<br />

ห้ามการบังคับแรงงานอย่างเด็ดขาด : จะบังคับใช้แรงงานไม่ได้ไม่ว่าในกรณีใดๆ รวมถึงการใช้ทาส การใช้แรงงาน<br />

นักโทษ และการข่มขู ่ให้ท างาน<br />

ก าจัดการใช้แรงงานเด็ก : ตั้งอายุขั้นต ่าส าหรับเด็กที ่ท างานได้ และต้องมีประเภทและสภาพของงานที ่เหมาะสม<br />

ส าหรับเด็กเหล่านั้น<br />

187


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ไม่มีการเลือกปฏิบัติในการจ้างงาน : จ่ายเท่ากันส าหรับงานที ่เท่ากัน ไม่มีการเลือกปฏิบัติจากเชื ้อชาติ ศาสนาของ<br />

แรงงาน<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Labor_rights.<br />

องค์การแรงงานระหว่างประเทศ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.adb.org/Documents/H<strong>and</strong>books/Core-Labor-<br />

St<strong>and</strong>ards/default.asp.<br />

กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.mol.go.th/anonymouse/laws.<br />

ส านักงานข้าหลวงใหญ่เพื ่อสิทธิมนุษยชนแห่งสหประชาชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.unhchr.ch/udhr/<br />

lang/eng.htm.<br />

188


MINORITY RIGHTS/ MAJORITY RULE WHICH RESPECTS MINORITY RIGHTS<br />

สิทธิของเสียงข้ำงน้อยและกฎเสียงข้ำงมำกที่เคำรพสิทธิเสียงข้ำงน้อย<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิของเสียงข้างน้อย (Minority Rights) โดยทั่วไปหมายถึงสิทธิของปัจเจกบุคคลที ่เป็นคนกลุ่มน้อยในสังคมที ่มีกลุ่มคน<br />

ที ่ใหญ่กว่า เช่น กลุ่มชาติพันธุ์ ศาสนา ภาษา หรือเพศ การให้สิทธิแก่คนกลุ่มน้อยหรือเสียงข้างน้อยปรากฏในหลายลักษณะ เช่น<br />

การกระท าในทางบวก หรือ นโยบายให้สิทธิพิเศษหรือโควตาแก่พลเมืองที ่เป็นคนกลุ่มน้อย (affirmative action) ในสหรัฐอเมริกา<br />

หรือการสร้างกลไกและกติกาเพื ่อให้คนกลุ่มน้อยมีโอกาสเป็นตัวแทนในระบบการเมืองของประเทศสวิตเซอร์แลนด์<br />

ในบริบทที ่เสียงข้างน้อยใช้ควบคู ่กับเสียงข้างมาก กฎเสียงข้างมากเคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย (Majority Rule which<br />

respects Minority Rights) จะหมายถึงการตัดสินใจโดยใช้จ านวนเสียงข้างมากเป็นกติกา และผูกพันกับคนทุกคน แต่<br />

ขณะเดียวกันให้หลักประกันว่าสิทธิของเสียงข้างน้อยจะไม่ถูกลิดรอน ลดทอน แม้โดยชัยชนะของคะแนนเสียงข้างมาก เสียง<br />

ข้างมากที ่เคารพสิทธิเสียงข้างน้อย จึงหมายถึงมรรควิธีในการปกครองของระบอบประชาธิปไตยที ่ต้องใช้เสียงข้างมากของ<br />

ประชาชนในการตัดสินปัญหาสาธารณะต่างๆ แต่เพียงแค่การตัดสินใจด้วยเสียงข้างมากดังกล่าวยังมิอาจเรียกได้ว่าเป็น<br />

กระบวนการทางประชาธิปไตยได้อย่างแท้จริง เพราะประชาธิปไตยที ่มีคุณภาพ (quality democracy) นั้นจะต้องมาพร้อมๆ กันกับ<br />

กระบวนการตัดสินใจที ่จะต้องค านึงถึงและเคารพสิทธิเสียงข้างน้อยซึ ่งก็เป็นบุคคลที ่มีสิทธิเท่าเทียมด้วยกันกับเสียงข้างมากด้วย<br />

เช่นกัน จึงจะเรียกได้ว่าเป็นกระบวนการตัดสินใจที ่เป็นประชาธิปไตยที ่มีคุณภาพ<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน มีความจ าเป็นต้องใช้กติกาเสียงข้างมากเป็นเครื ่องมือในกระบวนการตัดสินใจต่างๆ<br />

ของรัฐ ไม่ว่าจะเป็นการออกนโยบายสาธารณะ การออกกฎหมาย หรือ แม้แต่การแสดงเจตนารมณ์โดยตรงของประชาชนโดยการ<br />

ลงคะแนนเสียงประชามติ (referendum) ก็ล้วนแล้วแต่จะต้องอาศัยเสียงข้างมากเป็นเครื ่องมือตัดสิน แต่การปกครองโดยเสียงข้าง<br />

มากเช่นนั้น ท าให้มีความเป็นไปได้ที ่เสียงข้างน้อยจะถูกละเลย (neglected) หรือถูกครอบง า (dominated) อยู ่เสมอ วิธีแก้ปัญหาจึง<br />

อยู ่ที ่การท าให้เสียงข้างน้อยมีตัวแทน มีปากเสียง ได้รับความสนใจ และไม่ถูกละเมิดสิทธิ หรือกดขี ่โดยเสียงข้างมาก นั่นคือ การ<br />

สร้างมาตรการไม่ให้เสียงข้างมากใช้การตัดสินใจด้วยจ านวนที ่มากกว่า เป็นผลร้ายต่อเสียงข้างน้อย และคนกลุ่มน้อย เช่น ออก<br />

กฎหมายจ ากัดสิทธิหรือท าให้ชนกลุ่มน้อยเสียเปรียบในการแข่งขัน ในระบอบเสรีประชาธิปไตยที ่ยึดหลักใช้หลักนิติรัฐ (โปรดดู<br />

Legal State) จะมีขั้นตอนตามรัฐธรรมนูญเพื ่อคุ้มครองสิทธิของเสียงข้างน้อยและคนกลุ่มน้อย เช่น มีมาตราที ่พิทักษ์สิทธิของเสียง<br />

ข้างน้อย หรือหากเสียงข้างมากออกกฎหมายที ่ละเมิดสิทธิของเสียงข้างน้อย ฝ่ายเสียงข้างน้อยก็สามารถยื ่นอุทธรณ์ต่อศาลสูงสุด<br />

ได้ เช่น ในอดีต เสียงข้างมากออกกฎหมายไม่ให้สิทธิคนผิวสี หรือผู้หญิงออกเสียงเลือกตั้ง แต่ในปัจจุบัน ด้วยการยึดหลักนิติรัฐ<br />

ภายใต้ระบอบประชาธิปไตย รัฐธรรมนูญให้หลักประกันว่าบุคคลทุกคนมีความเสมอภาคกันภายใต้กฎหมาย ดังนั้นจึงไม่สามารถ<br />

แบ่งแยกว่ากลุ่มบุคคลที ่มีเชื ้อชาติ สีผิว ศาสนา หรือเพศ กลุ่มใดจะมีสิทธิชุดหนึ ่งในการกระท าสิ่งต่างๆ เหนือกว่าคนกลุ่มอื ่นได้<br />

189


ที ่ส าคัญ เสียงข้างมากอาจจะผิดหรือถูกก็ได้ มิใช่ว่าเสียงข้างมากย่อมถูกเสมอไป หากเสียงข้างมากมีความเห็นที ่ผิด ก็<br />

จะต้องมีกระบวนการส าหรับการอภิปรายที ่เปิดกว้างและการโต้แย้งระหว่างคนที ่มีความเชื ่อและความคิดเห็นที ่แตกต่างกัน (โปรดดู<br />

Deliberative <strong>Democ</strong>racy) หากไม่เปิดให้มีการโต้เถียงอภิปราย ก็ยากที ่จะทราบว่าความต้องการที ่แท้จริงของเสียงส่วนมาก หรือ<br />

เสียงส่วนน้อยคืออะไร และจะแก้ปัญหาความแตกต่างได้อย่างไร<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในประเทศไทยโดยเฉพาะอย่างยิ่งตั้งแต่ปลายทศวรรษ 2530 ประเด็นเรื ่องเสียงข้างมาก และเสียงข้างน้อย ถือเป็นข้อ<br />

ถกเถียงที ่ส าคัญที ่สุดประการหนึ ่งในการศึกษาการเมืองไทยสมัยใหม่หลังจากการประกาศใช้รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย<br />

พุทธศักราช 2540 ที ่มาพร้อมๆ กันกับระบบการเลือกตั้งแบบใหม่ คือ การเลือกตั้งแบบสัดส่วน (proportional representation)<br />

หรือ ระบบบัญชีรายชื ่อ (party-list system) ซึ ่งใช้ประเทศไทยทั้งประเทศเป็นเขตเลือกตั้ง ท าให้พรรคการเมืองที ่ชนะการเลือกตั้ง<br />

ในระบบบัญชีรายชื ่อสามารถอ้างความชอบธรรมจากคะแนนเสียงที ่ได้มาว่า ได้รับความไว้วางใจจากประชาชนทั้งประเทศ (จาก<br />

เดิมที ่ไม่สามารถอ้างได้ เพราะอาศัยเพียงการสนับสนุนของ ส.ส. จากหลายพรรคที ่ร่วมกันจัดตั้งรัฐบาล) การอ้างแหล่งที ่มาของ<br />

ความชอบธรรมจากการเลือกตั้ง ท าให้การต่อสู้ในกระบวนทางรัฐสภา ไม่ว่าจะเป็นการออกกฎหมาย การอภิปรายไม่ไว้วางใจเพื ่อ<br />

ตรวจสอบรัฐบาล หรือการตัดสินใจทางการเมืองอื ่นใด ผู้กุมเสียงข้างมากมักกล่าวอ้าง “กฎเสียงข้างมาก” (majority rule) จน<br />

บางครั้งได้ละเลย “หลักการเสียงข้างมากที ่เคารพสิทธิของเสียงข้างน้อย” จนท าให้เกิดค าว่าการผูกขาดหรือเผด็จการเสียงข้างมาก<br />

ในรัฐสภา (parliamentary dictatorship) อยู ่บ่อยครั้ง ขณะเดียวกันก็มีการอ้างถึงและเรียกร้องสิทธิของเสียงข้างน้อย ที ่ไม่ได้เลือก<br />

รัฐบาลว่าถูกละเลย และไม่ได้รับการเหลียวแล แต่แท้จริงแล้ว กระบวนการของระบบรัฐสภาตามวิถีทางประชาธิปไตย จะไม่มีกลุ่ม<br />

ใดที ่เป็นเสียงข้างน้อยถาวร (permanent minorities) เพราะหากยึดมั่นในกติกาการเลือกตั้ง สักวันหนึ ่งฝ่ายเสียงข้างน้อยในวันนี ้ ก็<br />

จะกลับไปเป็นฝ่ายเสียงข้างมากในวันหน้า ฉะนั้น เสียงข้างน้อยในรัฐสภา ตามกระบวนการประชาธิปไตยจึงไม่น่าเป็นห่วงนัก<br />

เสียงข้างน้อยในสังคมไทย ที ่น่าเป็นห่วงมากกว่า คือเสียงของคนกลุ่มน้อย (โปรดดู Rights/ Indigenous Rights) ที ่มัก<br />

ไม่ได้รับสิทธิพลเมืองตามกฎหมาย ท าให้คนกลุ่มนี ้มีแนวโน้มเป็นคนกลุ่มน้อยถาวร และเสียงของพวกเขาจะเบามาก จนไม่มีคนกลุ่ม<br />

ใดได้ยินข้อเรียกร้องของเขามากนัก<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในระบอบประชาธิปไตยแบบตัวแทน แม้การเลือกตั้ง และกระบวนการตัดสินใจโดยอาศัยเสียงข้างมากจะเป็นสิ่งที ่จ าเป็น<br />

แต่อาจไม่เพียงพอ (necessary but not sufficient) ในการสร้างสังคมประชาธิปไตย หากรัฐบาลใดอาศัยเสียงข้างมากในการ<br />

ตัดสินใจ โดยไม่ค านึงถึงเสียงข้างน้อย และ/หรือ ผู้ปกครองคนใดอ้างความชอบธรรมจากเสียงข้างมาก เพื ่อละเมิด หรือ เอาเปรียบ<br />

เสียงข้างน้อยแล้ว รัฐบาลหรือผู้ปกครองนั้นย่อมไม่อาจเรียกได้ว่าเป็นประชาธิปไตย หากกลายเป็นการปกครองของทรราชที ่อาศัย<br />

เสียงข้างมากเป็นเครื ่องมือ<br />

ดูเพิ่มใน ‘Deliberative <strong>Democ</strong>racy’ และ ‘Rights’ indigenous Rights’<br />

190


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Dahl, Robert <strong>and</strong> Edward R. Tufte (1973). Size <strong>and</strong> democracy. Stanford, California: Stanford University Press.<br />

Wood, Gordon S. (1993). The Creation of American Republic 1776 – 1787. New York: W. W. Norton & Company.<br />

191


OLDER PEOPLE’S RIGHTS<br />

สิทธิผู ้สูงอำยุ<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิผู้สูงอายุ (Older People’s Rights) หมายถึงสิทธิของผู้สูงวัย ที ่จะได้รับการดูแลมากกว่าพลเมืองทั่วไป สิทธิผู้สูงอายุ<br />

ครอบคลุมการคุ้มครองจากการเลือกปฏิบัติ เช่น การจ้างงาน ค่าจ้าง การให้บริการ และสิทธิในการรับบริการพิเศษเพื ่อช่วยเหลือใน<br />

การด ารงชีวิต เช่น บริการสาธารณสุข สวัสดิการ บ านาญ ตลอดจนห้องน ้า ทางเดิน และระบบขนส่งมวลชนส าหรับให้บริการ<br />

ผู้สูงอายุที ่มีปัญหาด้านสุขภาพอันเกิดจากความชรา (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1)<br />

อรรถำธิบำย<br />

โดยปกติแล้วมักจะจ ากัดความสูงอายุโดยก าหนดให้มนุษย์ในวัยเกษียณเป็นผู้สูงอายุที ่จะได้รับสิทธิผู้สูงอายุ อายุการ<br />

เกษียณการท างานนั้นแตกต่างกันไปตามแต่ละประเทศ ในบางประเทศไม่มีการเกษียณอายุการท างานเลย ท าให้เกณฑ์การก าหนด<br />

อายุผู้สูงอายุแตกต่างออกไป โดยอาจใช้อายุในการจ าแนกโครงสร้างประชากรเป็นฐาน ซึ ่งท าการจ าแนกประชากรออกเป็นวัยเด็ก<br />

0 – 14 ปี วัยท างาน 15 – 64 ปี และวัยสูงอายุ (ปลดเกษียณ) 65 ปีขึ ้นไป (ส านักข่าวกรองกลาง) การจ าแนกโครงสร้างประชากร<br />

เช่นนี ้ใช้แนวคิดเรื ่อง “วัยพึ ่งพา” เป็นหลัก กล่าวคือ เด็กอายุต ่ากว่า 14 ปีและผู้สูงอายุวัยสูงกว่า 65 ปีถือเป็นวัยที ่ต้องพึ ่งพาผู้อื ่น<br />

และต้องได้รับการดูแลจากรัฐ ส่วนผู้มีอายุระหว่างสองช่วงนั้นถือเป็นแรงงานของระบบและพึ ่งพาตนเอง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ประชากรไทยในปี พ.ศ. 2554 มีจ านวนทั้งสิ ้น 66,720,153 คน โดยมีผู้สูงอายุที ่อายุมากกว่า 65 ปีขึ ้นไปอยู ่ร้อยละ 9.2<br />

เป็นผู้ชาย 2,778,012 คน ผู้หญิง 3,372,203 คน รวมทั้งสิ ้น 6,150,215 คน<br />

อายุขัยเฉลี ่ยของประชากรในปี พ.ศ. 2554 อยู ่ที ่ 73.6 ปี ชายมีอายุขัยเฉลี ่ย 71.24 ปี หญิงมีอายุขัยเฉลี ่ย 76.08 ปี จะ<br />

เห็นได้ว่าสังคมไทยเริ่มเข้าสู ่การเป็นสังคมผู้สูงอายุ ซึ ่งหากแนวโน้มเป็นเช่นนี ้ต่อไปสังคมไทยในอนาคตก็จะกลายเป็นสังคมที ่เป็น<br />

พีระมิดฐานแคบนั่นคือมีประชากรจ านวนมากที ่ต้องการความดูแลและรับสวัสดิการจากรัฐ ในขณะที ่ประชากรเพียงส่วนน้อยที ่<br />

สามารถสร้างผลิตผล (productivity) หรือ ท างานให้แก่สังคมได้<br />

ประเทศไทยก าหนดอายุเกษียณราชการไว้ที ่ 60 ปี ซึ ่งยังไม่ถือเป็นวัยผู้สูงอายุตามโครงสร้างประชากรที ่นิยมใช้กันใน<br />

สากล แต่กฎหมายไทยก าหนดให้ผู้มีอายุ 60 ปีบริบูรณ์เป็นคนชราที ่สามารถรับสิทธิและการคุ้มครองส าหรับคนชราได้<br />

พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546 ก าหนดว่าผู้สูงอายุที ่ถูกกระท าทารุณกรรม ผู้แสวงหาผลประโยชน์โดยมิชอบหรือถูก<br />

ทอดทิ ้งสามารถขอความช่วยเหลือจากรัฐได้ โดยรัฐจะให้บริการค าปรึกษา จัดหาอาหาร เครื ่องนุ่งห่ม ที ่อยู ่อาศัยให้ตามความ<br />

เหมาะสม และอาจรวมถึงการส่งผู้สูงอายุให้ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุในท้องถิ่นดูแล โดยบริการที ่จัดให้ผู้สูงอายุมี<br />

ทั้งการให้ข้อมูลและเก็บรวบรวมสถิติเกี ่ยวกับผู้สูงอายุ การให้ค าปรึกษาผ่านช่องทางต่างๆ การจัดศูนย์ดูแลผู้สูงอายุชุมชนเพื ่อให้<br />

ผู้สูงอายุได้ใช้ชีวิตในชุมชน การจัดอบรมให้ความรู้ทั้งการฝึกอาชีพและข้อมูลเกี ่ยวกับสวัสดิการให้กับผู้สูงอายุและการดูแลผู้สูงอายุ<br />

192


รวมถึงการจัดบริการและสวัสดิการส าหรับผู้สูงอายุให้กับบุคคลทั่วไปที ่มีความสนใจ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของ<br />

มนุษย์ 2)<br />

โดยสรุปแล้วการคุ้มครองผู้สูงอายุในประเทศไทยตามกฎหมายประกอบไปด้วย<br />

การบริการทางการแพทย์และสาธารณสุขที ่จะต้องจัดให้ผู้สูงอายุเป็นพิเศษเพื ่อความสะดวกรวดเร็ว<br />

การศึกษา การศาสนา และข้อมูลข่าวสารอื ่นๆ ที ่เป็นประโยชน์ต่อการด าเนินชีวิต<br />

สามารถประกอบอาชีพได้และมีการฝึกอาชีพ<br />

การมีส่วนร่วมในชุมชน<br />

อาคารสถานที ่และยานพาหนะต้องช่วยเหลืออ านวยความสะดวกและความปลอดภัยให้กับผู้สูงอายุ<br />

ยกเว้นค่าบริการและค่าธรรมเนียมบางประเภทของรัฐ<br />

ให้ค าแนะน าและค าปรึกษาเกี ่ยวกับปัญหาครอบครัว ข้อกฎหมาย และการด าเนินคดี<br />

จัดหาที ่พักอาศัย อาหาร และเครื ่องนุ่งห่มตามสมควร<br />

ผู้เลี ้ยงดูผู้สูงอายุที ่มีรายได้ไม่เพียงพอสามารถขอลดหย่อนภาษีได้<br />

การสงเคราะห์ในการจัดการศพตามประเพณี<br />

การได้รับเบี ้ยยังชีพผู้สูงอายุในปัจจุบัน ใช้เกณฑ์จ าแนกตามกลุ่มอายุ กล่าวคือ เบี ้ยยังชีพต่อเดือน จ านวนตั้งแต่ 600<br />

บาท (อายุ 60-69 ปี) 700 บาท (อายุ 70-79 ปี) 800 บาท (อายุ 80-89 ปี) และ 1,000 บาท (อายุ 90 ปีขึ ้นไป)<br />

ที ่มาของเบี ้ยยังชีพนั้น เริ่มขึ ้นครั้งแรกในปี พ.ศ.2535 ภายใต้การดูแลของกรมประชาสงเคราะห์ โดยให้ก านันผู้ใหญ่บ้านเป็น<br />

ผู้เสนอชื ่อ พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้สูงอายุได้แก้ไขใหม่โดยให้ผู้สูงอายุที ่เข้าเกณฑ์ว่าต้องได้รับความช่วยเหลือด้านการเงิน<br />

สามารถขอรับเบี ้ยยังชีพได้ในอัตรา 300 บาทต่อเดือน ต่อมาในปี พ.ศ. 2550 จึงได้มีการปรับปรุงระบบใหม่อีกครั้ง โดยให้ผู้สูงอายุ<br />

ที ่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ที ่มิได้รับเงิน สวัสดิการ บ านาญ หรือความช่วยเหลืออื ่นใดของรัฐทางการเงินและมิได้อยู ่ในสถาน<br />

สงเคราะห์คนชราของรัฐ สามารถขอรับเบี ้ยยังชีพได้ในอัตราเดือนละ 500 บาท โดยให้เป็นหน้าที ่ขององค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น<br />

ในการบริหารจัดการ (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)<br />

ปัญหาที ่เกิดขึ ้นกับเบี ้ยผู้สูงอายุของไทยก็คือ การจ่ายเบี ้ยผู้สูงอายุในอัตราที ่ต ่ามาก เมื ่อเทียบกับประเทศอื ่นๆ (อาทิ<br />

ประเทศเวียดนามที ่เบี ้ยผู้สูงอายุต ่าสุดนั้นอยู ่ที ่ราว 928 บาท ซึ ่งจะเห็นได้ว่าเกือบเท่ากับอัตราเบี้ยผู้สูงอายุสูงสุดของประเทศ<br />

ไทย) ที่มองว่าผู้สูงอายุเหล่านี้เป็นบุคลากรผู้มีส่วนส าคัญในการช่วยพัฒนา และก่อให้เกิดประโยชน์โพดผลต่อประเทศมาเป็น<br />

193


ระยะเวลานานจึงสมควรที ่จะได้รับการดูแล และเลี ้ยงดูอย่างดีที ่สุด ในขณะที ่ประเทศไทยนั้นกลับพยายามใช้งบประมาณในส่วนนี ้<br />

ให้น้อยที ่สุด ดังจะเห็นได้จากการวางเงื ่อนไขของการรับเบี ้ยผู้สูงอายุที ่มีการป้องกันการรับเงินซ ้าซ้อนของข้าราชการเกษียณ และ<br />

อื ่น ๆ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ส านักข่าวกรองกลาง. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.cia.gov/library/<br />

publications/the-world-factbook/geos/th.html.<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 1. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.msociety.go.th/msoservice_detail.php?pageid=210.<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 2. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.msociety.go.th/msoservice_detail.php?pageid=569.<br />

194


WOMEN’S RIGHTS<br />

สิทธิสตรี<br />

ควำมหมำย<br />

สิทธิสตรี (Women’s Rights) หมายถึงสิทธิของเพศหญิง ทั้งในแง่ให้มีสิทธิเท่ากับผู้ชาย อันมีที ่มาจากธรรมเนียมปฏิบัติ<br />

และค่านิยมที ่ให้ความส าคัญกับชายมากกว่าหญิงจนสิทธิไม่เท่าเทียม หรือมีสิทธิส าหรับเพศหญิงโดยเฉพาะซึ ่งแตกต่างจากบุรุษ<br />

สิทธิสตรีครอบคลุมสิทธิหลายประเภท โดยสิทธิซึ ่งมักจะเป็นที ่เรียกร้องหรือเป็นกระแสในสังคมมักจะเป็นสิทธิซึ ่งสตรีมอง<br />

ว่าถูกกดขี ่ให้ด้อยกว่าบุรุษอย่างไร้เหตุผล และสมควรที ่สตรีจะเรียกร้องให้มีสิทธิเท่าเทียมกันในสังคมอย่างแท้จริงโดยไม่มีการ<br />

แบ่งแยกทางเพศ เช่น สิทธิในการได้รับการจ้างงานและรับค่าแรงโดยเท่าเทียมกับเพศชาย สิทธิในการเลือกตั้ง สิทธิในการสมรส<br />

การเกณฑ์ทหาร การถือครองทรัพย์สิน เป็นต้น<br />

ส่วนสิทธิอันเป็นสิทธิที ่เกี ่ยวข้องกับความเป็นสตรีโดยเฉพาะนั้น เกิดจากความแตกต่างทางชีวภาพของเพศหญิงซึ ่งไม่มี<br />

ในเพศชาย และอาจน าไปสู ่ความไม่เท่าเทียมหรือโอกาสทางสังคมต่างๆ ที ่ด้อยกว่าจนสมควรที ่จะมีสิทธิส าหรับเพศหญิงซึ ่งไม่มีใน<br />

บุรุษเป็นการเฉพาะ เช่น สิทธิในการลาระหว่างตั้งครรภ์ สิทธิในการท าแท้ง ซึ ่งเป็นสิทธิที ่เพศชายไม่สามารถมีได้<br />

อรรถำธิบำย<br />

การเรียกร้องสิทธิสตรี เกิดจากการเคลื ่อนไหวในยุโรปในช่วงหลังการปฏิวัติอุตสาหกรรมที ่เปลี ่ยนแปลงโครงสร้างทาง<br />

สังคมไปอย่างสิ ้นเชิง การเติบโตทางการเมืองของระบบรัฐสภาและการเลือกตั้ง การเติบโตของระบบอุตสาหกรรมที ่ท าให้ชนชั้น<br />

กลางสามารถใช้ชีวิตอันรื ่นรมย์ได้โดยมิต้องพะวงกับการเก็บเกี ่ยวพืชผลและการทอผ้าใช้ รวมถึงการสิ ้นอ านาจลงของศาสนจักรที ่เคย<br />

กดขี ่ว่าผู้หญิงเป็นคนบาปด้อยค่า (เพราะผู้หญิงคนแรก อีฟ เกิดจากซี ่โครงของอดัม และยังเป็นคนที ่กินผลไม้ที ่พระผู้เป็นเจ้าสั่ง<br />

ห้าม ท าให้มนุษย์มีบาปและถูกขับออกจากสวนอีเดน) ส่งผลให้การเรียกร้องสิทธิสตรีเบ่งบาน โดยมีเป้าหมายในการเรียกร้องความ<br />

เท่าเทียมกับบุรุษ ประเด็นที ่ท าการเรียกร้องกันมักจะเกี ่ยวข้องกับสิทธิในการเลือกตั้งและความสัมพันธ์ในครอบครัวโดยเฉพาะใน<br />

เรื ่องการที ่สตรีต้องอยู ่กับบ้านเลี ้ยงลูก ซึ ่งการเรียกร้องนี ้น าไปสู ่การแตกแยกในหมู ่นักสิทธิสตรีเองว่าความเท่าเทียมนั้นคืออะไรและ<br />

จะบรรลุความเท่าเทียมที ่คิดไว้นั้นได้อย่างไร<br />

กลุ่มสิทธิสตรีสายหนึ ่งมีความเห็นว่าสตรีทัดเทียมกับบุรุษในทุกประการ ในสายนี ้มองว่าสิทธิที ่บุรุษเข้าถึงได้เช่น สิทธิทาง<br />

การเมือง สิทธิออกเสียงเลือกตั้ง สิทธิที ่จะได้รับการศึกษา และการประกอบอาชีพต่างๆ ควรเป็นสิทธิที ่สตรีสามารถเข้าถึงได้<br />

เช่นกัน การแบ่งแยกโดยใช้เพศสภาพเป็นเกณฑ์เป็นเรื ่องที ่ผิดโดยสิ ้นเชิง<br />

ส่วนอีกสายหนึ ่งก็ว่าสตรีนั้นเท่าเทียมในฐานะของตนได้โดยที ่ไม่จ าเป็นต้องท าอย่างที ่บุรุษท า โดยเป็นการอะลุ้มอล่วย<br />

ให้กับกระแสสังคมที ่ไม่อาจรับได้กับการพลิกผันอย่างหน้ามือเป็นหลังมือของโครงสร้างสังคมและจารีตที ่ด าเนินมาอย่างยาวนาน<br />

ด้วยการแบ่งให้สตรีท าอย่างหนึ ่ง บุรุษท าอย่างหนึ ่ง โดยนัยแล้วสิ่งที ่ทั้งสองเพศท านั้นแม้จะมิได้เหมือนกันแต่ก็เท่าเทียมกันหากท า<br />

ได้ดีก็สมควรเป็นที ่สรรเสริญ ข้อแตกต่างมิใช่สิ่งซึ ่งใช้ในการแบ่งแยกหรือเป็นหลักเทียบในความไม่เท่าเทียม แต่ใช้ส่งเสริมซึ ่งกัน<br />

และกันเพื ่อไปสู ่สิ่งที ่ดียิ่งกว่า<br />

195


ในหลายประเทศ สตรีได้รับสิทธิเลือกตั้งในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที ่หนึ ่ง นับแต่นั้นเป็นต้นมาในยุโรปและอเมริกา ก็มี<br />

การเคลื ่อนไหวเพื ่อให้สตรีมีสิทธิเท่าเทียมกับบุรุษมากขึ ้น โดยเฉพาะสิทธิในเชิงกฎหมายเช่น สิทธิในการฟ้องหย่า สิทธิในการถือ<br />

ครองทรัพย์สินส่วนตัว แต่โดยเนื ้อแท้แล้วการถกเถียงว่าด้วยความเท่าเทียมยังคงด าเนินต่อไป ว่าสตรีควรได้สิทธิพิเศษเพื ่อ<br />

ทดแทนความไม่เท่าเทียมกับบุรุษซึ ่งต้องยอมรับว่ามีอยู ่จริงในเชิงชีวภาพ หรือว่าเป็นสิทธิที ่ต้องจัดให้เท่าเทียมบุรุษทุกประการใน<br />

ฐานะมนุษย์ที ่ไม่มีข้อแตกต่างเลย ความเห็นที ่แตกแยกกันในกลุ่มนักสิทธิสตรีท าให้การเคลื ่อนไหวเพื ่อเรียกร้องสิทธิสตรีไม่คืบหน้า<br />

เท่าทีควร โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื ่อเผชิญหน้ากับความแตกต่างทางวัฒนธรรมและศาสนา<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในปี ค.ศ.2011 นิตยสารนิวส์วีค (Newsweek) ลงบทความเกี ่ยวกับดัชนีสิทธิสตรีของประเทศต่างๆ ทั่วโลก โดยวัดค่าจาก<br />

ประเด็นต่างๆ ว่าแต่ละประเทศให้สิทธิสตรีครอบคลุมเพียงใดและสตรีในประเทศนั้นๆ มีชีวิตความเป็นอยู ่ที ่ดีหรือไม่ ประเทศไทยอยู ่<br />

ในอันดับที ่ 65 โดยมีคะแนนดังนี ้<br />

คะแนนโดยรวม (เต็ม 100) 74.8<br />

กระบวนการยุติธรรม 73.8<br />

สุขภาพและบริการสาธารณสุข 81.6<br />

การรับการศึกษา 81.6<br />

โอกาสทางเศรษฐกิจ 78.9<br />

อ านาจทางการเมือง 35.3<br />

สิทธิสตรีได้รับการรับรองตั้งแต่มีรัฐธรรมนูญฉบับแรกเมื ่อครั้งการปฏิวัติ พ.ศ. 2475 โดยมีการตราบทบัญญัติว่าด้วยความ<br />

เท่าเทียมกันระหว่างสองเพศ อีกทั้งยังได้ให้สิทธิในการเลือกตั้งทั้งสองเพศโดยไม่มีการแบ่งแยกดังเช่นประเทศอื ่นๆ ที ่มักจะจ ากัด<br />

สิทธิเลือกตั้งไว้ที ่เพศชายเท่านั้นเมื ่อเริ่มมีการเลือกตั้งเป็นครั้งแรก ในปัจจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยรับรองความเท่า<br />

เทียมระหว่างชายและหญิง ห้ามการเลือกปฏิบัติทางเพศ และรัฐบาลไทยได้ออกกฎหมายหลายฉบับเพื ่อรับรองสิทธิสตรีและ<br />

แก้ปัญหาความไม่เท่าเทียมทางสังคม เช่น พระราชบัญญัติคุ้มครองผู้ถูกกระท ารุนแรงในครอบครัว เพื ่อให้สิทธิคุ้มครองต่อสตรีที ่<br />

ตกเป็นเหยื ่อของความรุนแรงจากบุรุษในครอบครัวที ่กดขี ่ว่าตนเหนือกว่า รวมถึงสิทธิการเลือกใช้ค าน าหน้านาม ซึ ่งให้สิทธิกับสตรี<br />

ในการเลือกว่าจะน าหน้าชื ่อว่านางสาวหรือนางได้ รวมถึงการจัดการฝึกอบรมต่างๆ เช่น การฝึกอาชีพ การให้ความรู้มิให้ตกเป็น<br />

เหยื ่อของการล่อลวงและการละเมิดสิทธิ เป็นต้น (กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์)<br />

นอกจากตัวบทกฎหมายแล้ว สภาพที ่แท้จริงในสังคม พบว่ายังมีการเลือกปฏิบัติต่อสตรี ซึ ่งมีรากฐานมาจากสังคมปิตาธิป<br />

ไตยที ่ให้สิทธิเพศชายครอบครองความเป็นใหญ่ มีสถานภาพเหนือกว่าในสังคม หรือ อีกนัยหนึ ่งก็คือ เพศชายได้ผูกขาดบทบาท<br />

ทางการเมือง คือการเข้าสู ่อ านาจรัฐอย่างยาวนาน รวมถึงค่านิยมผ่านวัฒนธรรม ธรรมเนียมปฏิบัติ และส านวนภาษาต่างๆ ใน<br />

ชีวิตประจ าวัน เช่น หน้าที ่ของการเป็นแม่คือการเลี ้ยงลูกอยู ่กับบ้าน การถือครองพรหมจรรย์ก่อนแต่งงานของผู้หญิงดี เรียบร้อย<br />

เหมือนผ้าพับไว้ ฯลฯ ซึ ่งท าให้สังคมไทยมีภาพสตรีในอุดมคติว่าต้องรักนวลสงวนตัว เรียบร้อยไม่เป็นม้าดีดกะโหลก อยู ่กับเหย้า<br />

เฝ้ากับเรือน มีเสน่ห์ปลายจวัก ในขณะที ่ค่านิยมที ่เกี ่ยวกับความเป็นชาย จะมีอิสระและท าตามใจในเรื ่องเพศได้มากกว่า เช่น<br />

196


ค่านิยมเรื ่องความเจ้าชู้คือเสน่ห์ในเรื ่องเพศแบบขุนแผน และความเชื ่อเรื ่องการเป็นช้างเท้าหน้าของผู้ชายก็เป็นส่วนหนึ ่งในการ<br />

ลิดรอนสิทธิสตรีในสังคมไทยแต่เดิมมา<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในปัจจุบัน สตรีไทยสามารถเข้าถึงการศึกษาได้เท่าเทียมกับเพศชาย และมีการรับรองสิทธิในรัฐธรรมนูญถึงความเท่า<br />

เทียมกันระหว่างสองเพศ ผู้หญิงไทยจึงมีบทบาทมากขึ ้นในทางเศรษฐกิจ สังคม แต่ในทางการเมือง แม้ประเทศไทยจะมี<br />

นายกรัฐมนตรีเป็นผู้หญิงคือ คุณยิ่งลักษณ์ ชินวัตร แต่จ านวนและสัดส่วนสมาชิกสภาผู้แทนราษฎรและวุฒิสมาชิกที ่เป็นเพศหญิง<br />

ยังคงอยู ่ที ่เพียงประมาณร้อยละ 15.6 เท่านั้น ซึ ่งนับว่าไม่สูงเมื ่อเทียบกับประเทศอื ่น ๆ ทั้งนี ้อาจเป็นเพราะค่านิยมในสังคมไทยที ่<br />

มองว่าการเมืองยังคงเป็นพื ้นที ่ของบุรุษเพศ ประเด็นที ่ควรพิจารณาควบคู ่ในสังคมไทยคือ ในหลายกรณี การไม่ยอมรับในความไม่<br />

เท่าเทียมของเพศหญิง มิได้เกิดจากการกีดกันโดยเพศชาย แต่มาจากการให้คุณค่าที ่กดทับเพศหญิงด้วยกันเอง<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.msociety.go.th/msoservice_detail.php?pageid=209.<br />

และ http://www.msociety.go.th/msoservice_detail.php?pageid=563.<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Women’s_rights.<br />

ราชกิจจานุเบกษา. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555<br />

ในhttp://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2550/A/047/1.PDF.<br />

The daily beasth. Accessed September 30, 2012 from http://www.thedailybeast.com/<br />

articles/2011/09/20/best-<strong>and</strong>-worst-countries-for-women-the-full-list.html.<br />

197


SOCIAL SECURITY/ SOCIAL SAFETY NET<br />

ควำมมั ่นคงทำงสังคม และเครือข่ำยควำมปลอดภัยทำงสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

ความมั่นคงทางสังคม (Social Security) เป็นค าศัพท์ที ่ใช้กล่าวถึงความมั่นคง (security) ในรูปแบบใหม่ ที ่ไม่ได้จ ากัดอยู ่<br />

เพียงความมั่นคงของประเทศ บูรณภาพของดินแดน หรืออ านาจอธิปไตย แต่มีความหมายที ่ลึกไปถึงการตอบสนองความต้องการ<br />

(needs) ของมนุษย์ เพื ่อให้หลุดพ้นจากความเสี ่ยงทางสังคมและชีวิต อันเป็นผลจากเงื ่อนไขที ่หลากหลาย เช่น การกลายเป็นผู้สูงวัย<br />

การเจ็บป่วย หรือความตาย เป็นต้น ความมั่นคงทางสังคมเป็นแนวคิดที ่เติบโตยุคหลังสงครามโลก (post- World War) ที ่รัฐบาล<br />

หลายประเทศให้ความส าคัญกับความมั่นคงจากภัยคุกคามรัฐลดลง และเพิ่มความส าคัญขององค์ประกอบภายในรัฐมากยิ่งขึ ้น คือ<br />

คุณภาพชีวิตของประชาชน ซึ ่งคือความมั่นคงทางสังคม แนวคิดเรื ่องการสร้างความมั่นคงในสังคมและเครือข่ายสร้างความ<br />

ปลอดภัยในสังคมเป็นความร่วมมือระหว่าง 3 ฝ่าย ได้แก่ ภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน ซึ ่งแตกต่างจากสวัสดิการสังคม<br />

(โปรดดู Social Welfare) ซึ ่งเป็นการจัดให้มีสวัสดิการทางสังคมกับทุกคนที ่ท าโดยภาครัฐเป็นหลัก แต่อาจกล่าวได้ว่าการจัดให้มี<br />

สวัสดิการสังคมเป็นส่วนหนึ ่งของการสร้างความมั่นคงในสังคม (Kurian, 2011: 1568-1571)<br />

ตามปฏิญญาสากลว่าด้วยสิทธิมนุษยชน (The Universal Declaration of Human Rights) ในปี ค.ศ. 1948 ในข้อที ่ 22<br />

กล่าวไว้ว่า<br />

อรรถำธิบำย<br />

“…ข้อ 22 ทุกคน ในฐานะสมาชิกของสังคม มีสิทธิในความมั ่นคงทางสังคม และย่อมมีสิทธิในการ<br />

บรรลุสิทธิทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม อันจ าเป็นอย่างยิ่งส าหรับศักดิ์ศรีของตน และการพัฒนา<br />

บุคลิกภาพของตนอย่างอิสระ ผ่านความพยายามของรัฐและความร่วมมือระหว่างประเทศ และตามการ<br />

จัดการและทรัพยากรของแต่ละรัฐ…”<br />

ในทางทฤษฏีจะพบว่าความมั่นคงทางสังคม เป็นแนวคิดที ่ได้รับอิทธิพลจากสหรัฐอเมริกาในช่วงหลังสงครามโลกครั้งที ่<br />

สอง ประมาณ ค.ศ.1950s ที ่สหรัฐอเมริกาพยายามจะเข้าแทรกแซงประเทศโลกที ่สามทั้งในเอเชียและลาตินอเมริกาผ่านค าว่า “การ<br />

พัฒนา” มีเป้าหมายในการสร้างความมั่นคงทางสังคมด้าน “การเมือง” ตามแนวทางโลกตะวันตกที ่เป็นเสรีประชาธิปไตยเพื ่อต่อสู้<br />

กับกลุ่มประเทศสังคมนิยมและคอมมิวนิสต์ การพัฒนาและการสร้างความมั่นคงทางสังคมจึงสอดคล้องกับปรากฏการณ์ที ่เกิดขึ ้นใน<br />

ช่วงเวลาเดียวกัน คือการเกิดขึ ้นของนโยบายพัฒนาอุตสาหกรรมโดยรัฐ (state-led industrialization) การสนับสนุนรัฐบาลทหารหรือการ<br />

ใช้นโยบายประชานิยม เป็นต้น แนวคิดเรื ่องการสร้างความมั่นคงในสังคมและเครือข่ายสร้างความปลอดภัยในสังคม ประกอบด้วย<br />

2 ส่วน คือ ระบบประกันสังคมหรือระบบบ าเหน็จ บ านาญ (social insurance หรือ social security or pension) และระบบ<br />

สวัสดิการสังคม (Social Welfare)<br />

ในทางปฏิบัติความมั่นคงทางสังคม จึงถูกใช้ในฐานะที ่เป็นชุดนโยบาย (programs)<br />

ของรัฐบาลที ่ต้องการส่งเสริม<br />

สวัสดิการให้กับสังคมผ่านการช่วยเหลือด้านต่างๆ ทั้งการให้สิทธิ (entitlement) เพื ่อเข้าถึงทรัพยากรของสังคม การมีสุขภาพที ่ดี<br />

การอยู ่รอดเป็นทารก (อัตราการตายในเวลาเกิดลดลง) และได้รับการจ้างงาน เป็นต้น ท าให้ค าว่าความมั่นคงทางสังคมถูกเรียกว่า<br />

198


เป็น “การบริการสังคม” (social services) ของรัฐบาล หรือข่ายความปลอดภัยทางสังคม (social safety net) ที ่หมายถึงสวัสดิการ<br />

ขั้นพื ้นฐานทางสังคมที ่ประชาชนได้รับจากรัฐบาลและองค์กรอื ่นๆ ซึ ่งจะประกอบไปด้วยการบริการสังคม การประกันสังคม และ<br />

สังคมสงเคราะห์<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

แนวคิดเรื ่องการสร้างความมั่นคงในสังคมและเครือข่ายสร้างความปลอดภัยในสังคมถูกกล่าวถึงมากในสังคมไทยเมื ่อเกิด<br />

วิกฤติเศรษฐกิจในปี พ.ศ.2540 ที ่รู้จักกันดีในนาม “ต้มย ากุ้ง ประเทศไทยรวมถึงประเทศในแถบเอเชียได้รับผลกระทบอย่างมาก<br />

เนื ่องจากไม่ได้มีการเตรียมมาตรการช่วยเหลือรองรับ ท าให้ส่งผลกระทบในวงกว้างและกินเวลานาน โดยเฉพาะกับประชาชน<br />

มนุษย์เงินเดือนและผู้ใช้แรงงาน หลังจากนั้น จึงได้มีการให้ความสนใจเรื ่องระบบเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคมมากขึ ้น เพื ่อ<br />

แสวงหามาตรการช่วยเหลือประชาชนที ่ได้รับผลกระทบจากปัญหาทางเศรษฐกิจ โดยเน้นกลุ่มผู้ถูกเลิกจ้าง กลุ่มผู้ด้อยโอกาสทาง<br />

สังคม และกลุ่มผู้ยากจนทั่วไป ตลอดจนบรรเทาผลกระทบทางสังคมจากวิกฤติเศรษฐกิจในภาพรวม<br />

ส าหรับการแปลเป็นภาษาไทย ค าว่า social security ถูกแปลออกไปอย่างหลากหลาย เช่น หลักประกันทางสังคม หรือ<br />

การประกันสังคม เป็นต้น ตัวอย่างของการใช้ค าว่า “ประกันสังคม” คือกองทุนเงินทดแทนของส านักงานประกันสังคม ที ่ใช้ชื ่อ<br />

ภาษาอังกฤษว่า “Social Security Office” ท าให้เกิดปัญหาขึ ้นเนื ่องจากค าว่า “ประกันสังคม” ในภาษาอังกฤษจะใช้ค าว่า social<br />

insurance มากกว่าค าว่า social security เพราะค าว่าประกันสังคมจะมีความหมายเพียงการให้ความคุ้มครองลูกจ้างหรือเจ้าหน้าที ่<br />

ในกรณีที ่เกิดความเจ็บป่วย อุบัติเหตุ และการตาย แต่ค าว่าความมั่นคงทางสังคมมีความหมายที ่กว้างกว่าเพราะต้องรวมถึงการ<br />

สร้างสังคมที ่มีโครงสร้างทางรายได้ที ่เป็นธรรม และโครงสร้างทางสังคมสามารถคุ้มครองคุณภาพชีวิตให้กับสมาชิกในสังคมได้<br />

อย่างเป็นธรรมและเสมอภาคทุกคน<br />

นอกจากนี ้ ค าว่า social safety net อาจถูกน าไปใช้ในการอธิบายความมั่นคงทางสังคมในด้านของรายได้ หมายถึง ระบบ<br />

ให้ความช่วยเหลือและการคุ้มครองทางการเงินให้กับประชาชน โดยแบ่งเป็น 3 ชั้นคือ 1) ระบบการออมแบบผูกพันและไม่บังคับ 2)<br />

ระบบการออมแบบบังคับ และ 3) ระบบสวัสดิการสังคม โดยการคุ้มครองทั้ง 3 ชั้น จะท าให้ประชาชนมีความมั่นคงทางการเงินและ<br />

รายได้ เพื ่อเป็นเครื ่องมือในการให้ความช่วยเหลือประชาชนในการรับมือกับปัญหาวิกฤติเศรษฐกิจ และความไม่มั่นคงด้านอื ่นๆ ที ่<br />

ประชาชนต้องเผชิญอันเนื ่องมาจากสภาพแวดล้อมทางสังคมที ่ไม่แน่นอนและขาดเสถียรภาพ<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ค าว่าความมั่นคงทางสังคมจึงเป็นค าศัพท์ที ่มีความหมายกว้างและสามารถน าไปใช้ได้กับบริบทที ่หลากหลาย แต่<br />

ความหมายที ่กว้างนั้นย่อมน าไปสู ่การตีความได้หลายมุมมองเช่นเดียวกัน ท าให้ต้องกลับมาพิจารณาจุดร่วมของความมั่นคงทาง<br />

สังคม คือ การบริการทางสังคม การประกันสังคม และการสร้างความเสมอภาคให้กับสังคม โดยหลักการดังกล่าวภาครัฐต้องน าไป<br />

ปฏิบัติเป็นนโยบายสาธารณะเพื ่อบังคับใช้อย่างทั่วไป<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Welfare’<br />

199


ประภาส ปิ่นตบแต่ง และคณะ (2550). สวัสดิการพื ้นฐาน (social safety net): รากฐานความเป็นธรรมทางรายได้. ส านักงานสภาที ่<br />

ปรึกษาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ<br />

“ระบบตาข่ายความปลอดภัยทางสังคม (Social Safety Net)”. เข้าถึงวันที ่ 30 สิงหาคม 2555 ใน http://www.gotoknow.org/<br />

blogs/posts/65153.<br />

Brooks, Sarah M. (2011). “Social Security.” In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science.<br />

Washington, D.C.: CQ Press.<br />

Brohman, John (1996). Popular Development: Rethinking the Theory <strong>and</strong> Practice of Development. Oxford: Blackwell.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

200


SOCIAL WELFARE<br />

สวัสดิกำรสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

ตามศัพท์แล้วสวัสดิการ (welfare) หมายถึง ความอยู ่ดีมีสุข ซึ ่งเกิดจากการได้รับสิ่งจ าเป็น (need) ส าหรับอุปโภคบริโภค<br />

ในชีวิตประจ าวัน ความอยู ่ดีมีสุขของมนุษย์นั้น ไม่เพียงแต่ตอบสนองโดยวัตถุและปัจจัย 4 เท่านั้น แต่ยังรวมไปถึงสิ่งที ่เป็นนามธรรม<br />

เช่น อิสรภาพ การได้อยู ่กับครอบครัว สนุกสนานกับเพื ่อนฝูง หรือเพลิดเพลินกับการพักผ่อน แต่ความอยู ่ดีมีสุขของปัจเจกบุคคล<br />

(individual welfare) นั้นไม่สามารถน ามารวมกันแล้วท าให้กลายเป็นความอยู ่ดีมีสุขของสังคมโดยรวม (social welfare) ได้ ดังค า<br />

กล่าวที ่ว่า “the whole is greater than the sum of the parts” กล่าวอีกนัยหนึ ่งคือ หากสังคมส่วนรวมไม่ได้อยู ่ในสภาวะที ่ดี ปัจเจก<br />

บุคคลก็ไม่สามารถอยู ่ดีมีสุขได้อย่างแท้จริง<br />

ดังนั้น สวัสดิการสังคม (Social Welfare) จึงหมายถึง นโยบายสาธารณะของรัฐบาล ไม่ว่าจะในระดับชาติหรือระดับ<br />

ท้องถิ่น ที ่ช่วยเพิ่มหลักประกันทางสังคมให้กับประชาชน ลักษณะของนโยบายอาจจะเป็นด้านสุขภาพ การศึกษา ที ่อยู ่อาศัย สิทธิ<br />

พลเมือง เศรษฐกิจ หรือปัจจัยพื ้นฐานอื ่นๆ สวัสดิการสังคมจึงไม่ใช่นโยบายที ่จะมอบให้กับทุกคนในสังคมอย่างเสมอหน้า แต่จะ<br />

เป็นการช่วยเหลือผู้อ่อนแอและด้อยโอกาสในสังคม เพื ่อจะสร้างความเท่าเทียมกันให้กับสังคมมากยิ่งขึ ้นและลดช่องว่างระหว่าง<br />

ฐานะของบุคคลและคุณภาพชีวิต (Kurian, 2011: 1571-1573)<br />

อรรถำธิบำย<br />

สวัสดิการสังคมเป็นทั้งนโยบายทางสังคม และเป็นทั้งอุดมการณ์ที ่เน้นความเป็นธรรมในสังคม (social justice) ความเท่า<br />

เทียมกัน และความมั่นคงของสังคมโดยรวม ดังนั้นจึงมีอีกชื ่อหนึ ่งว่า โครงการประกันสังคม (social insurance programs) ที ่ให้<br />

การรับประกันว่าคนในสังคมจะได้รับสิ่งจ าเป็นเพื ่อการด ารงชีวิตตลอดอายุขัย ตัวอย่างสวัสดิการสังคม หรือโครงการประกันสังคม<br />

เช่น บ าเหน็จบ านาญผู้เกษียณอายุ เงินชดเชยเวลาเจ็บป่วย ทุพลภาพ เงินอุดหนุนผู้ตกงาน เงินช่วยเหลือคนยากจนที ่มี<br />

รายได้ต ่ากว่าระดับยากจนมาตรฐาน (below poverty line) (โปรดดู Poverty Line) ในรูปคูปองแลกซื ้ออาหาร (food stamps)<br />

ตลอดจนเงินช่วยเหลือหญิงม่ายชราภาพ เป็นต้น<br />

สวัสดิการสังคมเป็นเรื ่องของการตัดสินเชิงคุณค่า (value judgment) กล่าวคือ ไม่ใช่ทุกสังคมที ่มองว่าการจัดสรร<br />

สิ่งจ าเป็นส าหรับการด ารงชีวิตให้แก่สมาชิกของสังคมเป็นความถูกต้องทางจริยธรรม ขณะเดียวกันสวัสดิการสังคมยังเป็นเรื ่องการ<br />

บริหารจัดการสถาบันในสังคม โดยรัฐจะต้องจัดการบริหารที ่ให้ความส าคัญแก่การสร้างจิตส านึกรับผิดชอบร่วมกันในกระบวนการ<br />

ผลิตของสังคม ไม่ใช่เน้นผลขาดทุน ก าไรแบบในระบบตลาดเสรี ฉะนั้นการบริหารจัดการสวัสดิการสังคมจึงเป็นการสร้างสมดุล<br />

ระหว่างพลังทางการตลาด (market) รัฐ (โปรดดู State) และประชาสังคม (โปรดดู Civil Society) เราเรียกรัฐที ่มีจุดยืนเช่นนี ้ว่า<br />

“รัฐสวัสดิการ” (welfare state)<br />

รัฐสวัสดิการ หรือ Welfare States หมายถึง รัฐที ่ตั้งใจใช้อ านาจทางการเมืองและการบริหารเพื ่อลดบทบาทของพลัง<br />

การตลาดเพื ่อวัตถุประสงค์ 3 ประการคือ 1) ประกันให้ปัจเจกบุคคล และครอบครัวได้รับรายได้ที ่เพียงพอต่อการด ารงชีวิตอย่างมี<br />

201


ศักดิ์ศรี 2) เพื ่อลดภาระทางสังคมที ่เป็นผลมาจากความไม่แน่นอนเรื ่องการเจ็บป่วย อายุเข้าสู ่วัยชรา และการตกงาน ที ่อาจน าไปสู ่<br />

วิกฤติชีวิต และครอบครัว 3) เพื ่อให้ประชาชนได้รับบริการทางสังคมที ่มีมาตรฐาน โดยไม่ค านึงว่าบุคคลนั้นจะมีสถานภาพทาง<br />

สังคมใด หรือมาจากชนชั้นไหน (สิริพรรณ, 2546)<br />

เหตุการณ์ส าคัญที ่มีส่วนผลักดันให้เกิดแนวคิดสวัสดิการสังคมมี 4 ประการคือ สงครามโลกครั้งที ่ 1 (ค.ศ. 1914-1918) และ<br />

ครั้งที ่ 2 (ค.ศ. 1939-1945) ท าให้คนตระหนักถึงความส าคัญของความเป็นชาตินิยม ชุมชน และผลประโยชน์ร่วมกันของประชาชน<br />

สิ่งที ่เกิดขึ ้นในใจของคนจ านวนมากในขณะนั้นก็คือ หากประเทศขอให้คนไปรบในสงคราม และตายเพื ่อชาติ ชาติก็ควรพร้อมที ่จะ<br />

ช่วยเหลือคนเหล่านี ้ในเวลาที ่เขาต้องการ วิธีคิดเช่นนี ้น าไปสู ่หลักการความเป็นพลเมือง (citizenship) เพราะสวัสดิการสังคมจะกัน<br />

สิทธิประโยชน์ไว้ส าหรับพลเมืองของรัฐเท่านั้น<br />

โรคระบาดร้ายแรงและภาวะเศรษฐกิจตกต ่าทั่วโลกในทศวรรษ 1930 เป็นอีก 2 เหตุการณ์ที ่ท าให้คนซาบซึ ้งว่าความ<br />

หายนะทางเศรษฐกิจมีผลต่อชีวิตมนุษย์มากมายเพียงไร เงินสะสมที ่ได้มาจากการท างานหนักอาจหมดไปในพริบตาหากผู้น า<br />

ครอบครัวป่วย สิ ้นชีวิต ตกงาน หรือธนาคารหยุดกิจการอันเป็นผลมาจากเศรษฐกิจล้มเหลว ความหายนะเหล่านี ้ท าให้ประชาชนมอง<br />

หาความมั่นคงทางเศรษฐกิจจากรัฐบาล เพราะเป็นสิ่งที ่ทุนนิยมเสรี (laissez-faire capitalism) ไม่สามารถให้หลักประกันได้<br />

ทุนนิยมเสรีนั้นมีหลักการอยู ่ว่าระบบตลาดเสรีจะมีกลไกในตัวเองที ่ท าให้เศรษฐกิจอยู ่ในสภาพสมดุล กลไกที ่ อดัม สมิธ<br />

(Adam Smith) เรียกว่า “มือที่มองไม่เห็น” (the invisible h<strong>and</strong>) ซึ ่งก็คือกฎอุปสงค์ อุปทาน (dem<strong>and</strong>-supply) จะควบคุมให้การ<br />

แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวของมนุษย์แต่ละคน ไม่น าไปสู ่สังคมที ่แตกแยก แต่กลับท าให้เกิดระบบเศรษฐกิจที ่มีประสิทธิภาพและ<br />

สังคมที ่รุ่งเรือง ดังนั้น รัฐจึงไม่ควรเข้ามาแทรกแซง ไม่ว่าจะโดยระบบภาษี ตั้งก าแพงการค้า หรือให้เงินอุดหนุน (Heilbroner,<br />

1961) การแข่งขันที ่ไม่สมบูรณ์ในระบบตลาด และปัญหาจ านวนมากอันเป็นผลพวงของระบบทุนนิยมเสรี ท าให้เกิดความคิดที ่จะ<br />

พัฒนาการจัดการบริหารเพื ่อช่วยให้เกิดความยุติธรรม และเพื ่อลดความรุนแรงของการแข่งขันที ่น ามาสู ่การสะสมความมั่งคั่งของ<br />

ปัจเจกบุคคล นั่นคือโจทย์ซึ ่งเป็นที ่มาของแนวคิดสวัสดิการสังคม<br />

นักเศรษฐศาสตร์ที ่มีอิทธิพลต่อแนวคิดสวัสดิการสังคมคือ จอห์น เมนาร์ด เคนส์ (John Maynard Keynes) เจ้าของ<br />

ทฤษฎี “เศรษฐศาสตร์แบบเคนส์เซียน” (Keynesian economics) เคนส์มีความเห็นขัดแย้งกับทฤษฎีเศรษฐศาสตร์แนวเสรีนิยมใน<br />

อดีต กล่าวคือ เคนส์เชื ่อว่าภาวะเศรษฐกิจตกต ่าจะไม่ฟื ้นตัวขึ ้นมาเอง หากคนจ านวนมากตกงาน ไม่ได้รับเงินเดือน ความสามารถ<br />

ในการซื ้อสินค้าและบริการของคนจะลดลง เมื ่ออุปสงค์ลดลง การผลิตก็ลดลงตาม การจ้างงานจึงไม่เกิดขึ ้น น าไปสู ่คนตกงานที ่<br />

เพิ่มขึ ้น กลายเป็นวงจรอุบาทว์ (Dillard, 1958)<br />

เคนส์ชี ้ให้เห็นว่ารัฐสามารถใช้นโยบายจัดเก็บภาษี และการจัดท างบประมาณรายจ่ายเป็นเครื ่องมือ กล่าวคือ ในภาวะ<br />

เศรษฐกิจตกต ่าปริมาณการใช้จ่ายภาครัฐและโครงการสวัสดิการสังคมจะช่วยกระตุ้นให้เกิดอ านาจซื ้อ และท าให้เศรษฐกิจกระเตื ้อง<br />

ขึ ้นจนเพิ่มปริมาณงาน ในทางกลับกันช่วงที ่เศรษฐกิจเติบโต อัตราการจ้างงานเต็ม (full employment) อาจส่งผลให้เกิดภาวะเงิน<br />

เฟ้อ (inflation) รัฐบาลควรตัดรายจ่ายและเพิ่มภาษี นโยบายเช่นนี ้จะลดปริมาณเงินไหลเวียนในระบบ พร้อมทั้งลดอุปสงค์ในสินค้า<br />

และบริการ ผลก็คือเศรษฐกิจของชาติจะด าเนินไปอย่างมั่นคง ผู้ที ่เชื ่อในเศรษฐศาสตร์แบบเคนส์เซียนกล่าวว่าการใช้จ่ายเพื ่อ<br />

สวัสดิการสังคมจะน าไปสู ่ระบบเศรษฐกิจที ่ดีขึ ้น ดังนั้น สภาพสังคมและสภาวะเศรษฐกิจจึงมีความสัมพันธ์กันอย่างแยกไม่ออก<br />

202


อิวจ์ เฮคโล (Huge Heclo) วิเคราะห์ว่าสวัสดิการสังคมและรัฐสวัสดิการได้รับความนิยมอย่างมากตั้งแต่หลังสงครามโลก<br />

ครั้งที ่ 2 เป็นต้นมา เพราะเป็นการประนีประนอมของ 3 แนวคิดที ่มีจุดยืนต่างกัน คือ พวกอนุรักษ์นิยม (โปรดดู Conservatives) ที ่<br />

เน้นระเบียบของสังคมเป็นที ่ตั้ง พวกสังคมนิยม (Socialist) เน้นความเท่าเทียมกัน และพวกเสรีนิยม (โปรดดู Liberal) ที ่เน้น<br />

เสรีภาพ (Heclo, 1981)<br />

หลักสวัสดิการสังคมสามารถแยกตัวแบบได้ 2 ส านัก ส านักแรกคือ ตัวแบบของเบเวอร์ริดจ์ (Beveridge model) เป็นการใช้<br />

ชื ่อของลอร์ดวิลเลียม เบเวอร์ริดจ์ (Lord William Beveridge) ที ่ได้ศึกษาสภาพปัญหาของสังคมอังกฤษที ่เป็นสังคมอุตสาหกรรม<br />

แล้วท ารายงานเสนอต่อรัฐบาลในปี ค.ศ.1941 ภายใต้ความคิดที ่ว่า คนอังกฤษพึงมีเสรีภาพที ่จะได้รับการตอบสนองความต้องการ<br />

พื ้นฐาน โดยไม่ต้องเดือดร้อนอีกต่อไป ด้วยการที ่รัฐให้หลักประกันด้านสวัสดิการสังคมโดยใช้ระบบภาษีอัตราก้าวหน้าเพื ่อให้มี<br />

สวัสดิการที ่เป็นประกันสังคมส าหรับ “ผู้ท างาน” ทุกคน หรือเรียกว่า หลักประกันสังคมจากระบบภาษี (tax-based<br />

insurance) ส านักที ่สองคือ ตัวแบบของบิสมาร์ค (Bismarck model) ที ่น ามาจากแนวคิดของรัฐบุรุษชาวเยอรมัน ออทโท ฟอน<br />

บิสมาร์ค (Otto von Bismarck, 1815 - 1898) ที ่พยายามต่อต้านไม่ให้เกิดการปฏิวัติโดยพวกฝ่ายซ้าย ด้วยการใช้นโยบาย<br />

ประกันสังคมโดยรัฐเพื ่อลดระดับจิตส านึกในการปฏิวัติ แนวคิดของ<br />

social<br />

บิสมาร์ค จึงถูกน ามาใช้อีกครั้งหลังปี ค.ศ.1930 ในชื ่อ<br />

ของ “การประกันสังคมแบบบังคับ” (compulsory social insurance) โดยรัฐจะเป็นตัวแทนในการจัดเก็บ “เบี ้ยประกันสังคม” ใน<br />

ราคาถูกจาก “ผู้ใช้แรงงานในระบบอุตสาหกรรม” (ตามความสมัครใจ) เพื ่อจัดบริการอย่างมีประสิทธิภาพและมีงบประมาณแน่นอน<br />

(วีระ, 2553: 257)<br />

ปัจจุบันมีประเทศที ่ใช้แนวคิดทั้งสองแบบคือ เนเธอร์แลนด์ โดยสวัสดิการสังคมเป็นรูปแบบผสมระหว่าง Beveridge<br />

model กับ Bismarck model การประกันสังคมของประเทศเนเธอร์แลนด์แบ่งออกเป็นสองระดับ ด้านหนึ ่งมีองค์ประกอบของการ<br />

ดูแลประชาชนโดยรัฐ ขณะที ่อีกด้านหนึ ่งก็ยังมีระบบประกันที ่ยึดสถานภาพของคนท างานเป็นหลัก (โทมัส ไมเออร์ และนิโคล ไม<br />

เออร์, 2550: 296-300)<br />

ตัวแบบของรัฐสวัสดิการสามารถแบ่งออกกว้างๆ เป็น 3 แนวทางดังนี ้ (สิริพรรณ, 2546)<br />

1) รัฐสวัสดิการเต็มรูปแบบ คือรัฐที ่จัดสวัสดิการสังคมอย่างกว้างขวาง ครอบคลุมไปทั่ว (universalistic) เป็นรัฐที ่ยึด<br />

อุดมการณ์สังคมนิยมประชาธิปไตย (Social <strong>Democ</strong>ratic welfare state) เป็นหลัก ผู้มีสิทธิได้รับประโยชน์จาก<br />

สวัสดิการคือ “พลเมือง” ของประเทศ สิทธิประโยชน์ที ่ได้รับจะเหมือนกันทุกคนคือ เท่ากับหรือใกล้เคียงกับรายได้ก่อน<br />

ป่วย ตกงาน หรือเกษียณอายุงาน นอกจากนี ้สวัสดิการยังครอบคลุมถึงโครงการเลี ้ยงดูเด็กเล็กระหว่างวันที ่พ่อ แม่<br />

ท างาน (day care) และเงินค่าเลี ้ยงดูเด็ก คนทุพลภาพ และคนชรา ค่าใช้จ่ายของโครงการสวัสดิการมาจากระบบการ<br />

จัดเก็บภาษีในอัตราที ่สูงมาก ที ่ส าคัญรัฐจะเข้ามาก้าวก่ายในระบบทุนนิยม ก าหนดกติกาใหม่ในเรื ่องกรรมสิทธิ์ใน<br />

ทรัพย์สิน และควบคุมปัจจัยการผลิตไม่ให้เกิดความเหลื ่อมล ้าต ่าสูง กลุ่มประเทศนอร์ดิก (Nordic States) ซึ ่งประกอบ<br />

ไปด้วยฟินแลนด์ นอร์เวย์ และสวีเดนเป็นกลุ่มที ่ยืนหยัดเหนียวแน่นกับการให้สวัสดิการที ่ครอบคลุมและเท่าเทียมกัน<br />

เช่นนี ้<br />

203


2) รัฐที ่ยังคงระบบตลาดเสรีไว้เต็มที ่ (Liberal/Neo liberal welfare state) กล่าวคือ รัฐบาลเข้ามามีบทบาทในฐานะเป็นผู้<br />

จัดสรรสวัสดิการสังคมเพียงแต่น้อยเท่าที ่จ าเป็น โดยปล่อยให้กลไกตลาดในรูปของความสัมพันธ์และผลประโยชน์ที ่ลง<br />

ตัวระหว่างบริษัทเอกชน และลูกจ้างแสดงบทบาทส าคัญในการให้หลักประกันการจ้างงาน โดยรัฐเป็นผู้ให้เงินอุดหนุน<br />

และท าหน้าที ่หลักในการบริหารจัดการกองทุนส่วนกลาง ระบบกองทุนประกันสังคมของสหรัฐอเมริกา (social<br />

security program) ตั้งอยู ่บนหลักการนี ้ ส าหรับคนยากจนไม่มีรายได้ รัฐจะจัดสรรเงินช่วยเหลือ (aid) ในรูปของค่า<br />

รักษาพยาบาลฟรี (Medicaid) คูปองอาหารเพื ่อยังชีพ (food stamps) ตลอดจนนโยบายให้สิทธิพิเศษแก่ผู้เสียเปรียบ<br />

(affirmative action program) ขณะเดียวกันก็สนับสนุนให้เอกชนบริจาคเข้าโครงการสวัสดิการเพื ่อการกุศล<br />

(philanthropic contributions) เพื ่อแบ่งเบาภาระอีกทางหนึ ่งด้วย จะเห็นได้ว่ารัฐพยายามลดบทบาทของตัวเองใน<br />

ฐานะเป็นผู้ให้สวัสดิการมากที ่สุดเท่าที ่จะท าได้<br />

เจ.เค. เกลเบียรท์ (J.K. Galbraith) (1993) กล่าวว่า การลดบทบาทของรัฐเป็นผลมาจากปรากฏการณ์ที ่<br />

เรียกว่า “วัฒนธรรมความพึงพอใจ” (culture of contentment) กล่าวคือ เศรษฐกิจที ่มีอัตราการเติบโตอย่างรวดเร็ว<br />

แต่ไม่สม ่าเสมอท าให้เกิดกลุ่มคนที ่มีรายได้สูงพร้อมๆ กับเกิดปัญหาคนว่างงาน ความเสื ่อมโทรมของที ่อยู ่อาศัย<br />

ระบบการศึกษาที ่ไม่ได้มาตรฐาน และความแตกต่างของการได้รับบริการสุขภาพระหว่างคนรวยและคนจน เหล่านี ้<br />

คือปัญหาที ่ไม่ได้รับการแก้ไขและจะถูกเมินเฉยต่อไป เนื ่องจากกลุ่มคนผู้ได้ประโยชน์จากระบบเศรษฐกิจและพอใจ<br />

ในสภาพที ่เป็นอยู ่ คือคนชั้นกลาง (middle class) จ านวนมากที ่ใช้สิทธิเลือกตั้ง และเป็นผู้สนับสนุนผู้น าประเทศ<br />

ดังนั้น ประธานาธิบดีบิล คลินตันแห่งสหรัฐอเมริกา และนายกรัฐมนตรี โทนี ่ แบร์ แห่งสหราชอาณาจักร จึงมุ่งเอาใจ<br />

คนกลุ่มที ่สุขสบายดีอยู ่แล้วโดยไม่ให้ความส าคัญกับการพัฒนาสวัสดิการทั้งระบบ<br />

สหรัฐอเมริกาเป็นตัวอย่างที ่ดีของประเทศที ่ “ให้” สวัสดิการสังคมแต่ไม่ได้เป็น “รัฐสวัสดิการ” มีผู้วิเคราะห์<br />

ว่าการไม่ให้ความส าคัญกับสวัสดิการสังคมอย่างทั่วถึงท าให้สหรัฐอเมริกาเป็นประเทศพัฒนาแล้วที ่มีอัตราความ<br />

ยากจนสูงที ่สุด ทั้งๆ ที ่มีรายได้เฉลี ่ยต่อหัว (per capita income) เป็นอันดับหนึ ่ง ในขณะที ่สวีเดนเป็นประเทศที ่เก็บ<br />

ภาษีในอัตราสูงมาก แต่มีระดับความยากจนต ่าที ่สุด (Lane, 1999) ความไม่ลงตัวในเรื ่องรายได้ของรัฐและการ<br />

จัดสรรสวัสดิการเช่นนี ้เอง น ามาสู ่การแสวงหาทางเลือกที ่ 3 ระหว่างรัฐสวัสดิการเต็มรูปแบบ และรัฐที ่ “ให้”<br />

สวัสดิการ<br />

3) ทางเลือกที ่สามของรัฐสวัสดิการ (The Third Way) หรือสวัสดิการแบบพ่ออบรมลูก(Paternalist Social service state)<br />

เป็นรูปแบบที ่แสวงหาแนวทางแก้ปัญหาสังคม โดยมีหลักการส าคัญคือคุณไม่มีสิทธิถ้าคุณไม่ท าหน้าที ่ หลักการนี ้<br />

ปรับเปลี ่ยนมาจากแนวคิดรัฐสวัสดิการเต็มรูปแบบ กล่าวคือแทนการเน้นความเสี ่ยง และความรับผิดชอบร่วมกัน<br />

กลับมาเน้นที ่ความรับผิดชอบของปัจเจกบุคคลต่อตนเองและสังคมเพื ่อแลกเปลี ่ยนกับสิทธิที ่เขาพึงได้รับ โดยรัฐจัด<br />

อบรมทักษะในการท างาน สร้างมาตรการบังคับให้หางานท า สอนวิธีการบริหารการเงิน และตรวจสอบว่าเสพยา<br />

หรือไม่ เป็นต้น เพื ่อสร้างความพร้อมในการท างานและเป็นพลเมืองดี<br />

หัวใจของการจัดสวัสดิการรูปแบบนี ้คือท าให้คนยากจนและคนที ่รอรับสวัสดิการปรับเปลี ่ยนพฤติกรรม และ<br />

รับผิดชอบมากขึ ้น เพราะมองว่าความไม่รับผิดชอบเป็นที ่มาของปัญหาทั้งปวง จะเห็นได้ว่าแนวคิดนี ้ตัดทิ ้งความเชื ่อ<br />

204


ที ่ว่าคนรวยต้องช่วยคนจน คนสุขภาพดีต้องช่วยคนป่วย หรือคนโชคดีต้องช่วยคนโชคร้าย (Mead, 1997: 9)<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับนักวิชาการไทยอย่าง ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัย (2548: 49) ได้ให้ความหมายของสวัสดิการสังคมไว้ว่า หมายถึง<br />

ระบบการจัดบริหารทางสังคมเกี ่ยวกับการป้องกัน การแก้ไขปัญหา การพัฒนา และการส่งเสริมความมั่นคงทางสังคม เพื ่อ<br />

ตอบสนองความจ าเป็นพื ้นฐานของสังคม โดยสวัสดิการสังคมนี ้มีฐานความคิดมาจากการบริหารสังคมของกลุ่มสังคมนิยมเฟเบี ้ยน<br />

(Fabian Socialism) ในอังกฤษ สังคมนิยมเฟเบี ้ยนเป็นขบวนการทางสังคมที ่ต้องการเปลี ่ยนแปลงสังคมอย่างค่อยเป็นค่อยไป ไม่<br />

ใช้แนวทางการปฏิวัติของพวกมาร์กซิสต์ กลุ่มเฟเบี ้ยนในอังกฤษได้ร่วมก่อตั้งพรรคแรงงาน หนังสือพิมพ์ New State โดยเป็น<br />

กระบอกเสียงให้กับผู้ที ่ได้รับความเดือดร้อนจากทุนนิยมเสรีและเป็นจุดเริ่มต้นของนโยบายสังคมสงเคราะห์ที ่เน้นให้บริการแก่ผู้<br />

เดือดร้อนเท่านั้น สวัสดิการส านักนี ้ท าให้เกิดการตั้ง The London School of Economics <strong>and</strong> Political Sciences (LSE) หรือใน<br />

ประเทศแคนาดาก็มีกลุ่มสันนิบาตเพื ่อบูรณะสังคม (the League for Social Reconstruction-LSR) ซึ ่งเป็นการด าเนินงานตาม<br />

แนวทางกลุ่มเฟเบี ้ยนในอังกฤษ<br />

ในทางปฏิบัติ พระราชบัญญัติส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคม พ.ศ.2546 มาตรา 3 ให้ความหมายของสวัสดิการสังคมและ<br />

ผู้รับสวัสดิการสังคมไว้ว่า<br />

“.. สวัสดิการสังคม หมายความว่า ระบบการจัดบริการทางสังคมซึ่งเกี่ยวกับการป้องกัน การ<br />

แก้ไขป ัญหา การพัฒนา และการส่งเสริมความมั ่นคงทางสังคม เพื่อตอบสนองความจ าเป็นขั้นพื ้นฐาน<br />

ของประชาชน ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีและพึ่งตนเองได้อย่างทั ่วถึง เหมาะสม เป็นธรรม และให้เป็นไปตาม<br />

มาตรฐาน ทั้งทางด้านการศึกษา สุขภาพอนามัย ที่อยู ่อาศัย การท างาน และการมีรายได้ นันทนาการ<br />

กระบวนการยุติธรรม และบริการทางสังคมทั ่วไป โดยค านึงถึงศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์ สิทธิที่ประชาชน<br />

จะต้องได้รับ และการมีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคมทุกระดับ..<br />

ผู้รับสวัสดิการสังคม หมายความว่า บุคคลหรือกลุ่มบุคคลซึ่งอยู ่ในสภาวะยากล าบากหรือ<br />

จ าเป็นต้องได้รับความช่วยเหลือ เช่น เด็ก เยาวชน คนชรา ผู้ยากไร้ ผู้พิการ หรือทุพพลภาพ<br />

ผู้ด้อยโอกาส ผู้ถูกล่วงละเมิดทางเพศ หรือกลุ่มบุคคลอื่นตามที่คณะกรรมการก าหนด...”<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

สังคมไทยมักมีมุมมองต่อค าว่าสวัสดิการ ว่าเป็นการช่วยเหลือทางสังคมต่อผู้ด้อยโอกาส ด้วยเหตุนี ้จึงอาจจะมีข้อถกเถียง<br />

ว่ามีลักษณะที ่เลือกปฏิบัติ ไม่ใช่นโยบายที ่ให้ทุกคนเข้าถึงอย่างเสมอหน้ากัน หรืออาจจะต้องท าให้บุคคลท าการ “พิสูจน์ความด้อย<br />

โอกาส” ของตัวเองก่อนจึงได้รับความช่วยเหลือ ซึ ่งอาจจะเป็นการละเมิดศักดิ์ศรีความเป็นมนุษย์เช่นเดียวกัน การถกเถียงดังกล่าว<br />

เป็นประเด็นสากลระหว่าง “สวัสดิการสังคม” ที ่เน้นช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาสเพื ่อลดช่องว่างทางสังคม กับ “รัฐสวัสดิการ” ที ่ให้สิทธิทุก<br />

คนในการเข้าถึงการช่วยเหลือของรัฐเพราะอยู ่ในฐานะพลเมืองเหมือนกัน<br />

205


ดังนั้น ค าว่า “สวัสดิการสังคม” เป็นค าศัพท์ที ่สังคมไทยได้ยินและเข้าใจความหมายไม่แตกต่างจากสากลมากนัก แต่<br />

ปัญหาอาจจะอยู ่ที ่การปฏิบัติที ่ไม่สามารถน าหลักการที ่ก าหนดอยู ่มาใช้ได้จริง รวมถึงปัญหาเรื ่องของการบิดใช้สวัสดิการสังคมให้<br />

เป็น “ประชานิยม” ในการหาคะแนนเสียงของรัฐบาลโดยไม่สนใจวินัยทางการคลังหรือเป้าหมายระยะยาวในอนาคต เช่น นโยบาย<br />

แจก Tablet แก่เด็กนักเรียน หรือนโยบายแจกเช็ค 2,000 บาท เป็นเงินช่วยเหลือ เป็นต้น ซึ ่งอาจท าให้ภาครัฐเสียเงินจ านวนมาก<br />

และไม่ตอบโจทย์ปัญหาช่องว่างทางสังคม<br />

คนส่วนมากมักเข้าใจผิดคิดว่ารัฐบาลที ่โน้มเอียงไปทางอุดมการณ์สังคมนิยมหรือที ่เรียกกันง่ายๆ ว่า “เอียงซ้าย” ใช้<br />

จ่ายเงินสวัสดิการสังคมมากกว่ารัฐบาลอนุรักษ์นิยมหรือรัฐบาล “เอียงขวา” แต่ผลการวิจัยพบว่ารัฐบาลที ่ใช้จ่ายเงินงบประมาณไป<br />

กับสวัสดิการสังคมมากที ่สุดคือรัฐบาลผสม (coalition government) ระหว่างพรรคที ่มีนโยบายสายกลางร่วมกับพรรคที ่มีนโยบาย<br />

อนุรักษ์นิยม ที ่ต้องเผชิญกับพรรคฝ่ายค้านสังคมนิยม (Lane, 1999) ที ่เป็นเช่นนี ้เนื ่องจากรัฐบาลผสมต้องการเสียงสนับสนุนจาก<br />

ประชาชนโดยกระจายปริมาณเงินค่าใช้จ่ายภาครัฐไปกับโครงการสวัสดิการสังคม เพื ่อตอบสนองความต้องการและความคาดหวัง<br />

ของประชาชนผู้ใช้สิทธิเลือกตั้ง สวัสดิการสังคมจึงเป็นนโยบายที ่ประเทศพัฒนาแล้วที ่ยึดถือหลักและกระบวนการประชาธิปไตยให้<br />

ความส าคัญเป็นอย่างมาก เนื ่องจากสวัสดิการสังคมนั้นเป็นนโยบายที ่สาธารณชนสามารถตรวจสอบ (โปรดดู Accountability) การ<br />

ด าเนินการจัดการได้ง่าย เพราะประชาชนได้รับผลกระทบโดยตรงจากการบริหารและให้บริการของรัฐ ขณะเดียวกันความส าเร็จ<br />

ความล้มเหลวและความสามารถในการจัดสวัสดิการของรัฐ สามารถใช้เป็นเกณฑ์หนึ ่งในการประเมินความเข้มแข็งและมาตรฐาน<br />

ของระบบเศรษฐกิจ เพราะสวัสดิการสังคมต้องพึ ่งพาอย่างมากจากภาษีอากรที ่เก็บจากประชาชนและภาคการผลิตต่างๆ ของสังคม<br />

หากระบบเศรษฐกิจไม่เข้มแข็งพอ การใช้จ่ายเงินภาครัฐไปกับสวัสดิการสังคมมากเกินไปจะส่งผลกระทบและก่อให้เกิดความ<br />

เสียหายต่อเงินคงคลังของรัฐและสร้างภาระหนี ้สาธารณะในระยะยาวได้<br />

ในหลายประเทศ รัฐสวัสดิการมีแนวโน้มที ่จะขยายตัวขึ ้นเรื ่อยๆ เหตุผลก็คือ ในระหว่างเศรษฐกิจรุ่งเรืองนักการเมืองเลือก<br />

ขยายสวัสดิการสังคมให้ประชาชนเพราะมีเงินเข้าสู ่ระบบเศรษฐกิจมากพอ และในขณะที ่เศรษฐกิจตกต ่า นักการเมืองไม่กล้าตัดเงิน<br />

งบประมาณสวัสดิการลงเพราะเป็นการท าลายความนิยม และฐานคะแนนเสียง โดยเฉพาะอย่างยิ่งเป็นช่วงที ่ประชาชนได้รับความ<br />

ยากล าบากจากภาวะเศรษฐกิจอยู ่แล้ว ดังนั้นสวัสดิการสังคมจึงขยายตัวในอัตราที ่รวดเร็วกว่าอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ<br />

ของประเทศ ดังนั้นจะเห็นได้ว่าปัจจัยทางการเมือง (political factor) มีผลอย่างมากต่อรัฐสวัสดิการ<br />

ไม่ว่ารัฐจะเลือกจัดสวัสดิการในรูปแบบไหน การจัดสวัสดิการของรัฐเป็นการให้รัฐเข้ามามีบทบาทใ นการก าหนด<br />

พฤติกรรมของปัจเจกบุคคลทั้งสิ ้น การตัดสินใจว่าจะเห็นด้วยกับสวัสดิการสังคมหรือไม่ขึ ้นอยู ่กับพื ้นฐานความเชื ่อ อคติ และ<br />

ค่านิยมส่วนบุคคล มากกว่าจะเป็นการโต้แย้งทางเศรษฐกิจ ดังนั้นความเข้าใจของคนต่อธรรมชาติของมนุษย์ และคุณธรรมจึงเป็น<br />

พื ้นฐานส าคัญส าหรับแนวคิดสวัสดิการสังคมและรัฐสวัสดิการ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Safety Net’, ‘Conservatism’ และ ‘Liberalism’<br />

โทมัส ไมเออร์ และนิโคล ไมเออร์ (2550). สมบัติ เบญจศิริมงคล (ผู้แปล). อนาคตของสังคมประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ : มูลนิธิฟรีด<br />

รีด เอแบร์ท.<br />

206


ทัศนีย์ ลักขณาภิชนชัย (2548). การบริหารงานสังคม กับโครงสร้างสังคมไทย. กรุงเทพ: โครงการปริญญาโทการบริหารและ<br />

นโยบายสวัสดิการสังคม คณะสังคมสงเคราะห์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.<br />

สิริพรรณ นกสวน (2546). “Welfare”. ใน สิริพรรณ นกสวน และและเอก ตั้งทรัพย์วัฒนา (บรรณาธิการ). ค าและความคิดใน<br />

รัฐศาสตร์ร่วมสมัย. กรุงเทพ: ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

วีระ หวังสัจจะโชค (2553). “รัฐสวัสดิการกับความเป็นไปได้ในสังคมไทย: ศึกษาเปรียบเทียบสวัสดิการไทย ภายใต้ประชาธิปไตย<br />

แบบสฤษดิ์–ทักษิณ”. ใน เอกสารประกอบการประชุมวิชาการสถาบันพระปกเกล้า ครั้งที่12 ประจ าปี 2553 เล่ม 2<br />

“คุณภาพสังคมกับคุณภาพประชาธิปไตยไทย”. กรุงเทพฯ: สถาบันพระปกเกล้า.<br />

Dillard, Dulley (1958). The Economics of John Maynard Keynes: the Theory of a monetary economy. Englewood Cliffs.<br />

NJ : Prentice-Hall.<br />

Galbraith, John Kenneth (1993). The Culture of Contentment. New York: Penguin.<br />

Heclo, Huge (1981). “Toward a New Welfare State”. In Peter Flora <strong>and</strong> Arnold J. Heidenheimer (ed.). The Development<br />

of Welfare States in Europe <strong>and</strong> America. New Brunswick , NJ: Transaction Book.<br />

Heilbroner, Robert (1961). The Worldly Philosophers: The Loves, Times, <strong>and</strong> Ideas of the Great Economic Thinkers. New<br />

York: Simon & Schuster.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Mead, Lawrance (ed.) (1979). The New Parternalism. Washington: Brookings Institution Press.<br />

Lane, Kenworthy (1999). “Do social-welfare policies reduce poverty? A cross-national assessment”. In Social Forces,<br />

Vol. 77, No.3 March, pp.1119-39.<br />

MacGregor, Susanne (1999). “Welfare, neo-liberalism <strong>and</strong> new paternalism: three ways for social policy in late capitalist<br />

societies”. In Capitalist & Class, No.67 Spring 1999, pp.91-118.<br />

Schneider, Saundra K. <strong>and</strong> Niccole M. Pamphilis (2011). “Social Welfare”. In George Thomas Kurian et al. The<br />

Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.<br />

207


SOVEREIGNTY OF THE PEOPLE<br />

อ ำนำจอธิปไตยของปวงชน<br />

ควำมหมำย<br />

อ านาจอธิปไตยของปวงชน (Sovereignty of the People) หมายถึงแนวคิดที ่ว่าแหล่งที ่มาของอ านาจสูงสุดของรัฐ หรือ<br />

อ านาจอธิปไตยมีที ่มาจากพลเมืองทุกๆ คนภายในรัฐ จึงท าให้บางครั้งแนวคิดนี ้ถูกเรียกว่าอธิปไตยของมหาชน (popular<br />

sovereignty) ซึ ่งก็มีความหมายในลักษณะเดียวกัน เพียงแต่เน้นให้เห็นถึงรากฐานของอ านาจอธิปไตยที ่มีความโยงใยกับประชาชน<br />

จ านวนมากในสังคมในระบอบประชาธิปไตย หรือ ก็คือแนวคิดที ่ว่า “อ านาจเป็นของปวงประชามหาชน” (power belongs to the<br />

people) (Kurian, 2011: 1580-1581)<br />

อรรถำธิบำย<br />

อันที ่จริงแนวคิดเกี ่ยวกับอ านาจอธิปไตยนั้นเริ่มก่อตัวมาตั้งแต่คริสต์ศตวรรษที ่ 17 ในงานเขียนเรื ่อง “เดอะ รีพับลิค” (De<br />

Republica) ของ ฌอง โบแดง (Jean Bodin) ที ่สนับสนุนให้รัฐบาลของรัฐสมัยใหม่ทุกรัฐ มีอ านาจสูงสุดที ่เรียกว่า “อ านาจอธิปไตย”<br />

(sovereignty) ในการบริหารประเทศ (Franklin, 1973: 41-53) แต่สิ่งที ่ท าให้แนวคิดเรื ่องอ านาจอธิปไตยในศตวรรษที ่ 17 แตกต่าง<br />

จากแนวคิดเรื ่องอ านาจอธิปไตยในปัจจุบันอยู ่ที ่เรื ่องของ “ที ่มา” ของอ านาจอธิปไตย เพราะในศตวรรษที่ 17 ที่มาของอ านาจ<br />

อธิปไตยมักหนีไม่พ้นที่จะต้องอ้างอิงจากพระผู้เป็นเจ้าตามอิทธิพลของแนวคิดเทวสิทธิ์ (divine rights) แต่เมื ่อแนวคิดทฤษฎี<br />

สัญญาประชาคมเริ่มเข้ามามีอิทธิพลในการอธิบายที ่มาของอ านาจรัฐ และการก าเนิดรัฐจึงเริ่มท าให้แหล่งที ่มาของอ านาจอธิปไตย<br />

ได้เปลี ่ยนแปลงไปจากเดิม คือ จากพระผู้เป็นเจ้ามาเป็นหมู ่มวลมหาชน ผ่านข้อตกลงร่วมกันของคนในสังคมที ่เรียกว่าสัญญา<br />

ประชาคม และสัญญาประชาคมนั่นเองที ่ท าให้ประชาชนได้กลายมาเป็นองค์อธิปัตย์แทนที ่พระผู้เป็นเจ้า (Hinsley, 1986: 143)<br />

(โปรดดู Social Contract)<br />

โดยนักคิดในส านักทฤษฎีสัญญาประชาคมที ่ได้รับการกล่าวขาน และอ้างอิงมากที ่สุดถึงแนวคิดที ่เกี ่ยวกับเรื ่องอ านาจ<br />

อธิปไตยของปวงชนนั้นก็คือ ฌอง ฌากส์ รุสโซ ผ่านแนวคิดเรื ่องเจตจ านงร่วม (general will) ที ่สนับสนุนให้ประชาชนทุกๆ คนนั้นมี<br />

อ านาจในการปกครองโดยตรง ผ่านการออกเจตจ านงร่วมซึ ่งหมายถึงการตัดสินใจของปัจเจกบุคคลที ่ค านึงถึงผลประโยชน์ส่วนรวม<br />

หรือ ผลประโยชน์สาธารณะในฐานะที ่ประชาชนแต่ละคนนั้นเป็นส่วนหนึ ่งขององคาพยพ (holism) ทั้งหมดของสังคมที ่ไม่สามารถ<br />

แบ่งแยกออกจากกันได้ (ฌอง ฌากส์ รุสโซ, 2550: 179-181)<br />

ในโลกตะวันตกโดยเฉพาะประเทศที ่เรียกตัวเองว่าเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตย แนวคิดเรื ่องอ านาจอธิปไตยของปวงชน<br />

เป็นพื ้นฐานประการแรกๆ ที ่จะต้องมีบัญญัติไว้ในรัฐธรรมนูญเหมือนๆ กันในทุกประเทศ เพราะเป็นการตอกย ้าให้เห็นถึงความเป็น<br />

เจ้าของอ านาจอธิปไตยของพลเมืองทุกๆ คน ซึ ่งหากปราศจากหลักการที ่ว่านี ้แล้ว ย่อมเป็นไปไม่ได้ที ่พลเมืองทุกคนในรัฐจะมี<br />

ความเท่าเทียม และความเสมอภาคได้เลย และหากประชาชนไม่มีความเสมอภาคเท่าเทียม หรือ เป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตย<br />

ประเทศนั้นก็ไม่อาจกล่าวได้ว่าเป็นประเทศเสรีประชาธิปไตยนั่นเอง<br />

208


โดยการแสดงออกถึงความเป็นเจ้าของ และแหล่งที ่มาของอ านาจอธิปไตยของปวงชนนั้นโดยมากแล้วมักแสดงผ่านการที ่<br />

ประชาชนไปใช้สิทธิเลือกตั้งผู้แทน นั้นก็คือการใช้สิทธิของประชาชนในฐานะเจ้าของอ านาจ ซึ ่งสิ่งนี ้ได้ท าให้การเลือกตั้งกลายเป็น<br />

สิ่งจ าเป็นขั้นพื ้นฐานในการแสดงออกซึ ่งแนวคิดดังกล่าวของประเทศเสรีประชาธิปไตย ไม่ว่าจะมีรูปแบบรัฐบาลเป็นแบบระบบรัฐสภา<br />

หรือ ระบบประธานาธิบดี หรือ รูปแบบอื ่นใดก็ตาม ดังนั้นผู้ที ่จะขึ ้นมาขับเคลื ่อนกลไกของอ านาจรัฐทั้งในทางนิติบัญญัติ บริหาร และ<br />

ตุลาการของประเทศเสรีประชาธิปไตยจึงย่อมต้องมีที ่มาหรืออย่างน้อยที ่สุดจะต้องเกี ่ยวโยงกับประชาชนซึ ่งเป็นเจ้าของอ านาจ<br />

อธิปไตยไม่ทางใดก็ทางหนึ ่ง<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับประเทศไทยนั้น แนวคิดเรื ่องอ านาจอธิปไตยสูงสุดได้มีขึ ้นตั้งแต่สมัยการปฏิรูปการปกครองของพระบาทสมเด็จ<br />

พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู ่หัวรัชกาลที ่ 5 แต่ที ่มาของอ านาจยังคงอยู ่ที ่พระมหากษัตริย์ จนกระทั่ง ร.ศ.130 แนวคิดเรื ่องอ านาจ<br />

อธิปไตยของปวงชนจึงเริ่มเกิดขึ ้นจากความพยายามปฏิวัติรัฐบาลของพระมหากษัตริย์แต่ไม่ประสบความส าเร็จ จนกระทั่งอีกยี ่สิบปี<br />

ถัดมา แนวคิดดังกล่าวจึงได้บังเกิดเป็นรูปเป็นร่างชัดเจนขึ ้นภายหลังการเปลี ่ยนแปลงการปกครองจากระบอบ<br />

สมบูรณาญาสิทธิราชย์มาเป็นระบอบพระมหากษัตริย์ภายใต้รัฐธรรมนูญใน พ.ศ.2475 ซึ ่งได้ท าให้ที ่มา หรือ แหล่งอ้างอิงอ านาจ<br />

อธิปไตยสูงสุดในการปกครองประเทศได้เปลี ่ยนแปลงจากพระมหากษัตริย์ลงไปสู ่ปวงชนชาวไทยทุกคน ดังปรากฏในมาตราที ่ 1<br />

ของพระราชบัญญัติธรรมนูญการปกครองแผ่นดินสยาม (ชั่วคราว) พุทธศักราช 2475 ว่า “อ านาจสูงสุดของประเทศนั้นเป็นของ<br />

ราษฎรทั้งหลาย”<br />

แต่ด้วยการต่อสู้ทางการเมืองระหว่างกลุ่มทางการเมืองที ่นิยมในระบอบเก่า กับกลุ่มที ่นิยมประชาธิปไตยสมัยใหม่ของการ<br />

เมืองไทยภายหลังจากการเปลี ่ยนแปลงการปกครองในปี พ.ศ. 2475 ก็ได้ท าให้แนวคิดเรื ่องอ านาจอธิปไตยของปวงชนเกิดความ<br />

คลุมเครือในสถานะความเป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตยของปวงชน เพราะรัฐธรรมนูญของไทยฉบับถัดมาทุกฉบับ (17 ฉบับ) ได้<br />

ดัดแปลงข้อความให้เป็นไปในลักษณะที ่ว่า “อ านาจอธิปไตยมาจากปวงชนชาวไทย...” จึงท าให้เกิดแนวคิดการตีความว่า<br />

ประชาชนแม้จะเป็นแหล่งที ่มาของอ านาจสูงสุด แต่ก็ได้ยกอ านาจสูงสุดนั้นให้แก่องค์พระมหากษัตริย์เพื ่อทรงใช้อ านาจนั้นผ่าน<br />

คณะรัฐมนตรี รัฐสภา และศาล เพราะหากอ านาจอธิปไตยเป็นของปวงชนแล้ว พระมหากษัตริย์ก็ไม่อาจใช้อ านาจนั้นโดยที ่<br />

ประชาชนมิได้ถวายให้ได้ ด้วยเหตุนี ้จึงท าให้สถานะความเป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตยของปวงชนดูจืดจางลง จากการเปลี ่ยนแปลง<br />

เรื ่องอ านาจอธิปไตย “เป็นของ” หรือ “มาจาก” ประชาชนกันแน่ ซึ ่งความคลุมเครือนี ้สุดท้ายได้น าไปสู ่กระแสการถวายคืนพระราช<br />

อ านาจ (โปรดดู Constitutional Monarchy) ในขบวนการต่อสู้ทางการเมืองไทย ซึ ่งนับเป็นสิ่งที ่ขัดกับหลักการอ านาจอธิปไตยเป็น<br />

ของปวงชนเป็นอย่างยิ่ง เพราะการที ่ประชาชนเป็นเจ้าของอ านาจอธิปไตยซึ ่งเป็นสิทธิที ่ไม่มีใครสามารถพรากเอาไปได้<br />

(unalienable rights) ดังนั้นพวกเขาจึงไม่สามารถคืนสิทธินั้นให้แก่ผู้ใดได้เลยนั่นเอง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Constitutional Monarchy’ และ ‘Social Contract’<br />

209


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ฌอง ฌากส์ รุสโซ (2550). สัญญาประชาคม. กรุงเทพฯ: ทับหนังสือ.<br />

Hinsley, F. H. (1986). Sovereignty. Cambridge: Cambridge University Press.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Franklin, Julian H. (1973). Jean Bodin <strong>and</strong> the rise of absolutist theory. Cambridge: Cambridge University Press.<br />

210


TRANSITIONAL JUSTICE<br />

ควำมยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่ำน<br />

ควำมหมำย<br />

ความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่าน (Transitional Justice) เป็นการผสานแนวคิดสองประการเข้าด้วยกัน คือ "การเปลี ่ยน<br />

ผ่าน" (transition) กับ "ความยุติธรรม" (justice) โดยการเปลี ่ยนผ่าน คือ สภาวะที ่สังคมได้เกิดกระบวนการเปลี ่ยนแปลงระบอบทาง<br />

การเมือง (political transformation / regime change) จากรูปแบบหนึ ่งไปสู ่รูปแบบใหม่อย่างมีนัยส าคัญ เช่น จากระบอบอ านาจ<br />

นิยม (authoritarian) หรือการปกครองแบบกดขี ่ (repressive rule) ไปสู ่ระบอบประชาธิปไตย (democracy) หรือใช้ในความหมาย<br />

ของการเปลี ่ยนผ่านจากความขัดแย้งของคนในสังคมไปสู ่สันติภาพและความมั่นคง ความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่าน จะหมาย<br />

รวมถึง กระบวนการที ่รัฐใช้ในการค้นหาความจริงจากการที ่บุคคลหรือองค์กรของรัฐ หรือ องค์กรที ่รัฐให้การสนับสนุนใช้ก าลังเข้า<br />

สังหารหรือก่อความรุนแรงต่อพลเมืองของตนเอง ไม่ว่าจะเป็นในรูปของการฆ่าล้างเผ่าพันธุ์ การสังหารหมู ่ การทรมาน การลักพา<br />

ตัว (Kurian, 2011: 1679-1680) อย่างไรก็ตาม การค้นหาความจริงดังกล่าวจะเกิดขึ ้นภายหลังที ่มีการเปลี ่ยนแปลงรัฐบาลเก่ามาสู ่<br />

รัฐบาลใหม่ หรือ เปลี ่ยนจากรัฐบาลในระบอบเผด็จการมาสู ่ระบอบประชาธิปไตย สาเหตุที ่เป็นเช่นนี ้ก็เนื ่องจากรัฐบาลเก่าเป็นผู้ใช้<br />

ความรุนแรงจึงไม่มีความจ าเป็นที ่จะค้นหาความผิดที ่ตนเองเป็นผู้กระท า หรือในบางครั้งรัฐบาลเก่าก็พยายามที ่จะตั้งกรรมการ<br />

ขึ ้นมาชุดหนึ ่งเพื ่อท าการฟอกตัวให้กับรัฐบาลเอง ยกตัวอย่างเช่น ในสมัยของ อิดี ้ อามิน (Idi Amin) ผู้น าของยูกานดาที ่ใช้ก าลัง<br />

ทหารเข้าปราบปรามประชาชน แต่เมื ่อมีการกดดันจากนานาชาติ อิดี ้ อามิน ตั้งกรรมการขึ ้นมาตรวจสอบแต่สุดท้ายก็ไม่ได้ข้อสรุป<br />

อะไร ด้วยเหตุนี ้เมื ่อมีการเปลี ่ยนแปลงรัฐบาลมาสู ่รัฐบาลในระบอบประชาธิปไตย รัฐบาลใหม่จึงจ าเป็นต้องมีภาระในการที ่จะ<br />

ตรวจสอบเหตุการณ์ย้อนหลัง การตรวจสอบดังกล่าวจะเป็นการสถาปนาความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่าน คือเปลี ่ยนจากระบอบ<br />

หนึ ่งมาเป็นอีกระบอบหนึ ่ง หรือเปลี ่ยนจากรัฐบาลที ่โหดร้ายมาสู ่รัฐบาลอื ่นๆ (ประจักษ์, 2533)<br />

ซึ ่งบางครั้งในกระบวนการ<br />

ตรวจสอบย้อนหลังดังกล่าวก็อาจน าไปสู ่การจัดให้มีการนิรโทษกรรมทางการเมืองขึ ้นก็เป็นได้ ทั้งนี ้ก็เพื ่อที ่จะสามารถท าให้<br />

กระบวนการเปลี ่ยนผ่านของประเทศนั้นสามารถเดินหน้าต่อไปได้อย่างราบรื ่น และสมานฉันท์ (โปรดดู Amnesty)<br />

ส าหรับจุดมุ่งหมายของหลักการความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านนั้นก็คือ ความพยายามของสังคมในการป้องกันไม่ให้<br />

เหตุการณ์อันโหดร้ายกลับมาเกิดขึ ้นอีกครั้ง นอกจากนี ้ยังมีจุดมุ่งหมายเพื ่อคืนความยุติธรรมให้กับผู้ที ่ตกเป็นเหยื ่อของการใช้ความ<br />

รุนแรง ตลอดจนยังเป็นการสถาปนาหลักนิติรัฐและหลักสิทธิมนุษยชนให้ลงหลักปักฐานในสังคมด้วย อย่างไรก็ตาม ในปัจจุบัน<br />

แนวคิดในเรื ่องความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านได้กลายมาเป็นแนวทางการศึกษา (approach) ที ่ส าคัญแนวทางหนึ ่ง ภายใต้ทฤษฎี<br />

การสร้างประชาธิปไตย (democratization theory)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ที ่มาของความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านสามารถสืบย้อนกลับไปได้ถึงหลังสงครามโลกครั้งที ่สองที ่มีฝ่ายสัมพันธ์มิตรตั้ง<br />

การไต่สวนขึ ้นที ่นูเรมเบิร์ก (Nuremberg Trial) เพื ่อพิจารณาโทษของทหารเยอรมันและทหารญี ่ปุ่นที ่เป็นผู้ก่อสงครามและท า<br />

อาชญากรรมต่อมนุษยชาติ โดยเหยื ่อที ่ส าคัญก็คือชาวยิวในกรณีของทหารเยอรมัน ส่วนในกรณีญี ่ปุ่นก็คือชาวจีน และชาวเกาหลี<br />

211


ต่อมาในช่วงทศวรรษ 1980 ก็ได้มีการตั้งการไต่สวนเผด็จการทหารที ่ทารุณกรรมต่อพลเมืองฝ่ายตรงข้ามในช่วงสงครามกลางเมือง<br />

ในกรีซ (Greek Junta)<br />

อย่างไรก็ดี แนวคิดเกี ่ยวกับความยุติธรรมในการเปลี ่ยนผ่าน ได้ถูกน ามาสู ่การถกเถียงกันอย่างจริงจังอีกครั้งหนึ ่งจาก<br />

กระแสของการที ่ประเทศต่างๆ จ านวนมากที ่เคยเป็นประเทศที ่ใช้ระบอบเผด็จการได้กลายมาเป็นประเทศประชาธิปไตยในช่วงหลัง<br />

สงครามเย็น เนื ่องจากแต่ละประเทศที ่เคยปกครองระบอบเผด็จการมักจะมีอดีตหรือประวัติศาสตร์ที ่ผู้น าหรือรัฐบาลใช้ก าลัง<br />

ปราบปรามประชาชนอย่างรุนแรง และเมื ่อมีการเปลี ่ยนแปลงมาสู ่ระบอบประชาธิปไตยก็ได้มีการรื ้อฟื ้นหรือสอบสวนถึงเหตุการณ์<br />

ต่างๆ ภายในอดีตกันอย่างมากมาย ซึ ่งพวกนักทฤษฎีประชาธิปไตยหลายคนอย่างเช่น ฮันติงตัน (Samuel Huntington) ก็ได้ตั้ง<br />

ข้อสังเกตว่า ตัวชี ้วัดหนึ ่งที ่ประเทศต่างๆ จะเป็นประชาธิปไตยได้นั้นจ าเป็นที ่จะต้องมีการวางรากฐานเรื ่องสิทธิมนุษยชนให้ยั่งยืน<br />

และการที ่จะท าให้สิทธิมนุษยชนยั่งยืนได้รัฐก็จ าเป็นจะต้องจัดการกับอดีตที ่โหดร้ายและหาคนมาลงโทษเสียก่อน<br />

ความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านถูกน ามาใช้ในประเทศแถบลาตินอเมริกา และในยุโรปตะวันออก ราวปลายทศวรรษ<br />

1980 เพื ่อเป็นมาตรการหนึ ่งในการเอื ้อให้ระบบการเมืองสามารถเคลื ่อนต่อไปได้อย่างสันติ หลังเหตุการณ์ละเมิดสิทธิมนุษยชน<br />

อย่างกว้างขวางจากระบอบการปกครองแบบเก่า โดยวัตถุประสงค์หลักคือ ต้องการให้ความยุติธรรมเป็นจุดเริ่มต้นของศักราชใหม่<br />

ทางการเมือง ให้สังคมสามารถก้าวข้ามความขัดแย้งในลักษณะที ่ทุกฝ่ายยอมรับร่วมกันได้ ความส าเร็จของการใช้ความยุติธรรมใน<br />

ระยะเปลี ่ยนผ่านในลาตินอเมริกาและยุโรปตะวันออก ท าให้แนวคิดนี ้แพร่หลายไปทั่วโลก ประเทศที ่มีความขัดแย้งอย่างรุนแรงและ<br />

น ามาตรการนี ้ไปใช้ เช่น แอฟริกาใต้ ติมอร์ตะวันออก อาร์เจนตินา ชิลี เอลซัลวาดอร์ เฮติ เป็นต้น<br />

ความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านไม่ได้มีรูปแบบตายตัว การน าไปใช้ขึ ้นอยู ่กับความเหมาะสมของแต่ละประเทศ ส าหรับ<br />

หลักการพื ้นฐานในการที ่จะสถาปนาความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านนั้นมีอยู ่ 5 หลักการ ได้แก่<br />

1) ท าการสืบสวนสอบสวนข้อเท็จจริง (Truth Commission) และเปิดเผยความจริงให้เหยื ่อ ครอบครัวของเหยื ่อ และสังคม<br />

โดยรวมทราบเกี ่ยวกับรายละเอียดและสาเหตุของเหตุการณ์ที ่เกิดขึ ้นอย่างเที ่ยงตรง เพราะสังคมควรมีสิทธิที ่จะ<br />

เข้าถึงความจริง<br />

2) ฟ้องร้องด าเนินคดีกับผู้กระท าผิด (Criminal Prosecutions) ซึ ่งมีส่วนต้องรับผิดชอบต่อเหตุการณ์เลวร้ายที ่เกิดขึ ้น<br />

รวมถึงอาจต้องท าการคัดกรองเจ้าหน้าที ่รัฐที ่มีประวัติเลวร้ายในการละเมิดสิทธิมนุษยชนออกจากหน่วยงานของรัฐ<br />

และท าการปฏิรูปหน่วยงานความมั่นคงให้ปฏิบัติหน้าที ่โดยเคารพหลักสิทธิมนุษยชน ซึ ่งถือเป็นองค์ประกอบประการ<br />

หนึ ่งที ่จะป้องกันไม่ให้เกิดเหตุการณ์ความรุนแรงขึ ้นอีก (Mendez, 1997: 259-260)<br />

3) รัฐบาลต้องให้ความช่วยเหลือเพื ่อเยียวยาและชดเชยให้กับเหยื ่อที ่ถูกทารุณกรรม ตลอดจนญาติของเหยื ่ออย่าง<br />

เหมาะสมเป็นธรรม (Restoration Programs)<br />

4) ปฏิรูปสถาบันหรือองค์กร หรือ หน่วยงานที ่มีส่วนรับผิดชอบต่อการละเมิดสิทธิมนุษยชน (Institution Reform) เช่น<br />

อ านาจรัฐ กองทัพ ต ารวจ สื ่อสารมวลชน และกระบวนการยุติธรรมที ่บกพร่อง ไม่สามารถจัดการกับคนกระท าผิดได้<br />

เพื ่อป้องกันไม่ให้ใช้ความรุนแรงต่อประชาชนได้อีก<br />

212


5) สร้างกระบวนที ่ท าให้สังคมยอมรับตระหนักรู้และระลึกถึงความเจ็บปวดของเหยื ่อ (Memorialization of Victim) เพื ่อ<br />

กระตุ้นเตือนใจว่าเหตุการณ์เลวร้ายแบบเดิมไม่ควรเกิดขึ ้นอีกในอนาคต ขณะเดียวกันก็เพื ่อให้ผู้กระท าความผิดได้มี<br />

การขอโทษ และเหยื ่อและญาติได้ให้อภัย อันจะเป็นการปูทางไปสู ่การปรองดองสมานฉันท์ (โปรดดู Reconciliation)<br />

แทนการอาฆาตพยาบาทและการแก้แค้นไปมา<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ความขัดแย้งทางการเมืองอันเป็นเหตุให้มีการเดินขบวนและชุมนุมประท้วงของประชาชนหลายครั้ง ตั้งแต่ปี พ.ศ.2548<br />

ในสมัยรัฐบาล พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร จนมีการยึดอ านาจรัฐโดยคณะปฏิรูปการปกครองในระบอบประชาธิปไตยอันมี<br />

พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุขเมื ่อวันที ่ 19 กันยายน พ.ศ.2549 เรื ่อยมาจนถึงการชุมนุมประท้วงในปี พ.ศ.2551-พ.ศ.2552 ของ<br />

กลุ่มพันธมิตรประชาชนเพื ่อประชาธิปไตยที ่ต่อต้านรัฐบาลนายสมัคร สุนทรเวช และต่อมาการชุมนุมในสมัยรัฐบาลนายอภิสิทธิ์<br />

เวชชาชีวะ ของกลุ่มแนวร่วมประชาธิปไตยต่อต้านเผด็จการแห่งชาติ การชุมนุมของกลุ่มประชาชนเหล่านี ้น าไปสู ่การกล่าวหาและ<br />

ด าเนินคดีกับประชาชนจ านวนมาก ตลอดจนมีประชาชนเสียชีวิตและบาดเจ็บ ทรัพย์สินของทางราชการ และเอกชนถูกเผาท าลาย<br />

ปรากฏการณ์ดังกล่าวสร้างความเสียหายทั้งทางด้านความมั่นคง การเมือง เศรษฐกิจ สังคม และบั่นทอนความรู้สึกอันดีที ่มีต่อกัน<br />

ของคนในประเทศ ท าให้มีการพูดถึงแนวคิดเกี ่ยวกับหลักการความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านกันบ่อยครั้งในสังคมไทย<br />

รัฐบาลของนายอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ ภายหลังเหตุการณ์การสลายการชุมนุมในปี พ.ศ. 2553 ได้มีการแต่งตั้งคณะกรรมการ<br />

ขึ ้นสอบสวนเหตุการณ์การสลายการชุมนุมที ่ชื ่อว่า คณะกรรมการอิสระตรวจสอบและค้นหาความจริงเพื ่อการปรองดองแห่งชาติ<br />

หรือ คอป. ที ่มี ศาสตราจารย์ ดร.คณิต ณ นคร เป็นประธาน คณะกรรมการดังกล่าวท างานในช่วงรัฐบาล 2 ชุด คือ รัฐบาลอภิสิทธิ์<br />

เวชชาชีวะ และมาถึงรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร อย่างไรก็ตามคณะกรรมการดังกล่าวก็ไม่ได้มีอ านาจหน้าที ่ในการน าข้อ<br />

ค้นพบดังกล่าวไปฟ้องศาลตามกระบวนการยุติธรรม เนื ่องจากการด าเนินการตามกฎหมายนั้นเป็นหน้าที ่ของกรมสอบสวนคดี<br />

พิเศษ หรือ ดีเอสไอ (DSI) ส าหรับหลักการของการตั้ง คอป. และการด าเนินงานของ ดีเอสไอ ก็ได้มีการอ้างว่าเป็นการด าเนินการ<br />

ภายใต้หลักการเรื ่องความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่าน<br />

ท่ามกลางข้อถกเถียงในสังคมเรื ่องแนวทางสร้างความปรองดองสมานฉันท์ มีการเสนอร่างกฎหมายที ่เกี ่ยวข้องกับปัญหา<br />

ความขัดแย้งนี ้ ทั้งสิ ้น 7 ฉบับ ได้แก่ 1) ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความปรองดองแห่งชาติ พ.ศ. .ที ่มีพล.อ.สนธิ บุญยรัตกลิน กับ<br />

คณะ เป็นผู้เสนอ 2) ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยความปรองดองแห่งชาติ พ.ศ. ..ที ่มีนายนิยม วรปัญญา กับคณะ เป็นผู้เสนอ 3) ร่าง<br />

พระราชบัญญัติว่าด้วยความปรองดองแห่งชาติ พ.ศ. ...ที ่มีนายสามารถ แก้วมีชัย กับคณะ เป็นผู้เสนอ 4) ร่างพระราชบัญญัติว่า<br />

ด้วยความปรองดองแห่งชาติ พ.ศ. ..ที ่มีนายณัฐวุฒิ ใสยเกื ้อ กับคณะ เป็นผู้เสนอ 5) ร่างพระราชบัญญัติการปรองดองแห่งชาติ<br />

พ.ศ. .ที ่มีนายพีรพันธุ์ พาลุสุข กับคณะ เป็นผู้เสนอ 6) ร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ ่งกระท าความผิด เนื ่องจากการชุมนุม<br />

ทางการเมือง การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน พ.ศ. ..ที ่มีนายนิยม วรปัญญา กับคณะ เป็นผู้เสนอ และ 7) ร่าง<br />

พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ ่งกระท าความผิดเนื ่องจากการชุมนุมทางการเมือง การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน<br />

พ.ศ. ..ที ่มีนายวรชัย เหมะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ<br />

สภาผู้แทนราษฎรได้มีมติเห็นชอบรับหลักการร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแก่ผู้ซึ ่งกระท าความผิดเนื ่องจากการชุมนุม<br />

ทางการเมือง การแสดงออกทางการเมืองของประชาชน พ.ศ. ..ที ่เสนอโดยนายวรชัย เหมมะ ผู้แทนราษฎรจากพรรคเพื ่อไทย ใน<br />

เดือนตุลาคม พ.ศ.2556 ในการรับหลักการวาระที ่ 1 เนื ้อหาของร่างพระราชบัญญัติฯ ให้นิรโทษกรรมเฉพาะผู้ชุมนุมทางการเมือง<br />

213


โดยไม่รวมแกนน าและผู้สั่งการ แต่ในชั้นกรรมาธิการกลับถูกแปรญัตติจนกลายเป็นมีเนื้อหาให้ครอบคลุมถึงบุคคลอื่น รวมถึง<br />

พ.ต.ท.ทักษิณ ชินวัตร นายอภิสิทธิ ์ เวชชาชีวะ และนายสุเทพ เทือกสุบรรณ และย้อนเวลาให้ครอบคลุมเหตุการณ์ในปี<br />

พ.ศ.2547 กระทั่งคดีความในเดือนสิงหาคม พ.ศ.2556 ประเด็นที ่ถูกวิพากษ์วิจารณ์อย่างมากคือ การที ่สภาผู้แทนราษฎรมีมติ<br />

รับรองร่างพระราชบัญญัติฉบับดังกล่าวด้วยกระบวนการที ่รวบรัด โดยผ่านความเห็นชอบวาระ 2 และ วาระ 3 ตอนตี 4 ของวันที ่<br />

31 ตุลาคม พ.ศ.2556 ความไม่พอใจในเนื ้อหาและกระบวนการผ่านร่างพระราชบัญญัติ ท าให้มีเสียงคัดค้านจากญาติผู้สูญเสีย<br />

จากเหตุการณ์ปี พ.ศ.2553 และจากประชาชนในวงกว้างจากทุกเฉดสีทั้งคนเสื ้อเหลืองและเสื ้อแดง โดยให้ฉายาว่าเป็นร่าง<br />

พระราชบัญญัตินิรโทษกรรมแบบสุดซอย หรือ เหมาเข่ง<br />

กระแสต่อต้านที ่รุนแรงทั้งจากฝ่ายที ่เห็นว่าเป็นการล้างผิดต่อคดีคอร์รัปชั่น และฝ่ายที ่ไม่พอใจเพราะเป็นการไม่ด าเนินคดี<br />

เอาผิดกับผู้สั่งการและใช้อ านาจรัฐอย่างรุนแรงเกินขอบเขต ยังผลให้ประชาชนถึงแก่ชีวิต รวมถึงเป็นการยอมรับการรัฐประหารที ่<br />

ผ่านมา ท าให้วุฒิสภามีมติคว ่าร่างพระราชบัญญัติฉบับนี ้ และรัฐบาลมีมติถอนร่างพระราชบัญญัติทั้ง 6 ฉบับที ่เหลือออกจากวาระ<br />

การประชุมสภา และสัญญาว่าจะไม่น าร่างพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมใดๆ เข้าสู ่การพิจารณาอีก ตลอดระยะเวลาการเป็นรัฐบาล<br />

ความล้มเหลวในการออกพระราชบัญญัตินิรโทษกรรมในครั้งนี ้ ชี ้ให้เห็นว่าชนชั้นน าในการเมืองไทยไม่ได้น าแนวคิดและ<br />

หลักการของการนิรโทษกรรม (Amnesty) และความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านมาใช้ มุ่งหวังเพียงแต่การยกโทษให้กันเองในหมู ่<br />

ชนชั้นน าที ่ต่างได้กระท าความผิด จึงกลายเป็นการตอกย ้าความเจ็บปวดให้แก่เหยื ่อ-ญาติและสร้างรอยแผลเป็นแก่สังคม การ<br />

บิดเบือนหลักการของการนิรโทษกรรมและความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่าน นอกจากจะท าให้ผู้ชุมนุมทางการเมืองที ่ถูกคุมขัง<br />

และก าลังถูกฟ้องร้องด าเนินคดี เสียโอกาสที ่จะได้รับเสรีภาพตามที ่ควรจะเป็นแล้ว ยังท าให้สังคมไทยไม่สามารถก้าวข้ามความ<br />

ขัดแย้งเพื ่อปลูกฝังประชาธิปไตยให้เติบโตได้อย่างยั่งยืน<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ประเทศที ่น าแนวคิดเรื ่องความยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านมาใช้ เนื ่องจากกระบวนการยุติธรรมตามระบบเดิมในประเทศ<br />

นั้นมีข้อจ ากัดไม่สามารถจัดการกับความขัดแย้งที ่ด ารงอยู ่ได้ เพราะปัญหามีความซับซ้อน และมีผู้เกี ่ยวข้องจ านวนมาก ทั้งที ่เป็น<br />

เหยื ่อ ญาติ และผู้กระท าผิด การลงโทษทางอาญาอย่าเดียวไม่สามารถท าให้สังคมก้าวข้ามความขัดแย้งได้ แต่พึงเข้าใจว่า ความ<br />

ยุติธรรมในระยะเปลี ่ยนผ่านมิได้เป็นเพียงรูปแบบพิเศษของความยุติธรรม หากแต่เป็นความยุติธรรมที ่ถูกปรับให้เข้ากับสังคมที ่อยู ่<br />

ในช่วงของการปรับตัวและเปลี ่ยนแปลง หลังจากผ่านช่วงเวลาแห่งความขัดแย้ง จลาจล และมีการละเมิดสิทธิมนุษยชนอย่าง<br />

กว้างขวาง การเปลี ่ยนแปลงดังกล่าวอาจเกิดขึ ้นโดยกะทันหันทันทีหรืออาจใช้เวลายาวนาน รัฐบาล ประชาสังคม และภาคส่วนอื ่นๆ<br />

ต้องร่วมใจกันตระหนักในปัญหาที ่เกิดขึ ้นและจัดการสะสางกับปัญหาที ่เกี ่ยวข้องกับความอยุติธรรมในอดีต เพื ่อให้สังคมสามารถ<br />

เปลี ่ยนผ่านไปสู ่ระบบที ่มีความยุติธรรมเป็นพื ้นฐาน ไม่ว่าจะเป็นความยุติธรรมทางอาญา (criminal justice) ความยุติธรรมทางเพศ<br />

(gender justice) และ การปฏิรูปสถาบัน (institutional reform) เป็นต้น<br />

ดูเพิ่มใน ‘Amnesty’ และ ‘Reconciliation’<br />

214


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ประจักษ์ ก้องกีรติ (2553). ความยุติธรรมในระยะเปลี่ยนผ่าน: เมื่อโลกไม่หันหลังให้โศกนาฏกรรม. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555<br />

ใน http://prachatai.com/journal/2010/11/31944.<br />

Kurian, George Thomas (2011). The encyclopedia of political science. Washington: CQ Press.<br />

Elster, Jon (2004). Closing the books : Transitional justice in historical perspective. Cambridge: Cambridge University<br />

Press.<br />

Mendez, Juan (1997). “Accountability for Past AbusesW”. In Human Rights Quarterly, 19:2, 259-260.<br />

Teitel, Ruti (2002). Transitional Justice. Oxford: Oxford University Press.<br />

215


ส่วนที่ 4<br />

SOCIAL AND ECONOMIC DEVELOPMENT<br />

กำรพัฒนำสังคมและเศรษฐกิจ<br />

216


BUSINESS ETHICS<br />

จริยธรรมทำงธุรกิจ<br />

ควำมหมำย<br />

จริยธรรมทางธุรกิจ (Business Ethics) เป็นรูปแบบของการปรับใช้หลักจริยธรรม (ethics) กับการบริหารงานและการ<br />

ประกอบกิจกรรมทางธุรกิจ กล่าวคือเมื ่อการด าเนินธุรกิจเพื ่อเป้าหมายสูงสุดคือการแสวงหาก าไร การประกอบการดังกล่าวมักต้อง<br />

ประสบกับค าถามทางจริยธรรม เช่น ปัญหาเรื ่องค่าแรง ปัญหาสิ่งแวดล้อม เป็นต้น ท าให้องค์กรธุรกิจต้องมีการประเมินว่าจะ<br />

ตัดสินใจอย่างไรระหว่างต้นทุนและค่าใช้จ่ายอื ่นๆ หรือกล่าวว่าธุรกิจจะต้องค านึงถึงปัจจัยแวดล้อมอื ่นนอกจากการแสวงหาก าไร<br />

และรับผิดชอบต่อผลสะเทือน (impact) ที ่เกิดมาจากการตัดสินใจนั้น จริยธรรมทางธุรกิจจึงเป็นการน าเรื ่องของคุณค่าเชิงปทัสถาน<br />

(normative value) เข้าไปพิจารณาร่วมกับการตัดสินใจทางธุรกิจที ่เน้นการแสวงหาก าไร (Kurian, 2011: 521-524)<br />

อรรถำธิบำย<br />

จริยธรรม (ethics) หมายถึง หลักการหรือความส าคัญในการตัดสินใจว่าสิ่งใดถูกหรือผิด บนฐานของคุณธรรมบางประการ<br />

(morality) อันเกิดขึ ้นจากความสัมพันธ์ของคนในสังคม หรือกล่าวได้ว่าความสัมพันธ์ทางสังคมจะก าหนดรูปแบบของคุณธรรมที ่<br />

เป็นมาตรฐานคอยชี ้วัดว่าสิ่งใดถูกหรือผิด เมื ่อค าว่าจริยธรรมมาอยู ่กับค าว่า “ธุรกิจ” ท าให้การประกอบธุรกิจในการแสวงหาก าไร<br />

ต้องค านึงถึงคุณธรรมบางอย่างที ่บอกว่าสิ่งใดถูกและสิ่งใดผิด จริยธรรมทางธุรกิจจึงเป็นอีกมาตรฐานหนึ่งที่ภาคเอกชนต้อง<br />

ค านึงถึง โดยนายเดวิด แพคการ์ด (David Packard) ผู้ก่อตั้ง ฮิวเวตต์ แพคการ์ด (Hewlett-Packard) บริษัทคอมพิวเตอร์และ<br />

เทคโนโลยีชื ่อดัง ได้กล่าวไว้ว่า<br />

“…ใช่ การแสวงหาก าไรเป็นสิ่งส าคัญพื ้นฐานที่เราต้องท า ก าไรเป็นตัวชี ้วัดความส าเร็จและการ<br />

เจริญเติบโตขององค์กร แต่มันไม่ใช่สิ่งที่ส าคัญมากที่สุดในความเป็นจริงแล้วการเป็นผู้ชนะทางธุรกิจจะ<br />

ถูกตัดสินใจจากสายตาของลูกค้าและสิ่งที่ท าให้คุณภูมิใจ มันเป็นตรรกะที่สมเหตุสมผล ถ้าเราสามารถ<br />

จัดหาสิ่งที่ลูกค้าพอใจมาได้ เราก็จะสามารถได้ก าไร...” (U.S. Department of Commerce, 2004: 4)<br />

นอกจากนี ้ นักเขียนทางเศรษฐศาสตร์เสรีนิยมชื ่อดังอย่างมิลตัน ฟรายด์แมน (Milton Friedman) ได้กล่าวไว้ว่า<br />

“…บริษัทต้องรับผิดชอบต่อลูกจ้างโดยตรง และความรับผิดชอบ (ของผู้บริหาร) โดยทั ่วไปแล้วจะ<br />

เป็นการท าเงินให้ได้มากที่สุดเท่าที่จะสามารถกระท าได้ ขณะเดียวกันพวกเขาก็ต้องท าให้สอดคล้องกับ<br />

กติกาทางสังคมด้วย ทั้งในด้านของกฎหมายและธรรมเนียมปฏิบัติเชิงจริยธรรม …” (Friedman, 1970)<br />

ในโลกตะวันตก จริยธรรมทางธุรกิจถูกให้ความส าคัญมากยิ่งขึ ้นพร้อมกับแนวคิดเรื ่องความรับผิดชอบทางสังคมของ<br />

บรรษัท (corporate social responsibility) ตัวอย่างเช่น มีการจัดท านิตยสารออนไลน์ Business Ethics (http://businessethics.com/)<br />

เพื ่อติดตามการท างานของภาคธุรกิจในเรื ่องของจริยธรรม ธรรมาภิบาล ความรับผิดชอบของบริษัท และความ<br />

รับผิดชอบต่อสังคมอันเนื ่องมาจากการลงทุน โดยนิตยสารดังกล่าวมีเป้าหมายส าคัญคือการส่งเสริมจริยธรรมในการปฏิบัติงานทาง<br />

ธุรกิจ และสนับสนุนการเติบโตของชุมชนผู้ปฏิบัติงานอย่างมืออาชีพและการลงทุนอย่างมีความรับผิดชอบ<br />

217


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย จริยธรรมทางธุรกิจเป็นมาตรฐานในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ การผลิตสินค้า การบริโภค การ<br />

บริหาร และการจัดจ าหน่ายให้ได้รับผลตอบแทนตามสมควรและเป็นธรรมกับทุกฝ่าย ไม่ว่าจะเป็นผู้ผลิต ผู้ขาย ผู้ซื ้อ และผู้บริโภค<br />

เพราะถือว่าทุกตัวแสดงที ่เข้ามามีความสัมพันธ์ทางธุรกิจระหว่างกันจ าเป็นต้องมีจริยธรรมในการปฏิบัติต่อกัน<br />

ในทางปฏิบัติแล้ว เรื ่องของจริยธรรมทางธุรกิจได้รับความสนใจหลังจากการเคลื ่อนไหวใหญ่ของประชาชนในเหตุการณ์<br />

พฤษภาทมิฬ และการส่งเสริมจริยธรรมและธรรมาภิบาลในระบบเศรษฐกิจหลังจากเกิดวิกฤติเศรษฐกิจปี พ.ศ.2540 เรื ่องของความ<br />

โปร่งใส การตรวจสอบได้ และความรับผิดชอบต่อสังคมขององค์กรธุรกิจในภาคเอกชน แต่เหตุการณ์ส าคัญที ่ท าให้เรื ่องของ<br />

จริยธรรมทางธุรกิจถูกพูดถึงมากยิ่งขึ ้นคือความสัมพันธ์ระหว่างนักธุรกิจกับการเมือง ไม่ว่าจะเป็นการเข้ามาแสดงบทบาททาง<br />

การเมืองโดยตรงของนักธุรกิจ หรือการให้เงินอุดหนุนพรรคการเมืองเพื ่อสร้างสายสัมพันธ์ และกดดันโดยอ้อมผ่านองค์กรต่างๆ<br />

จนท าให้เกิดข้อกังขาในเรื ่องผลประโยชน์ทับซ้อน และการขัดกันเองในทางจริยธรรมทั้งทางธุรกิจและการเมือง เช่น การประมูลและ<br />

ล้มประมูล 4G การออกกฎหมายเอื ้อต่อธุรกิจโทรคมนาคมและดาวเทียม และการปล่อยเงินกู้ให้กับรัฐบาลพม่า หรือการที ่กลุ่มทุน<br />

ขนาดใหญ่และบริษัทข้ามชาติจ านวนมากเปิดกิจการโมเดิร์นเทรดทุกมุมเมือง แข่งกับร้านขายของช าตามมุมถนนแบบดั้งเดิม ที ่<br />

เรียกกันตามภาษาจีนว่าร้านโชห่วย ซึ ่งท าให้ทุนขนาดเล็กหลายเจ้าต้องปิดกิจการไป เข้าลักษณะปลาใหญ่กินปลาเล็ก<br />

ปรากฏการณ์เหล่านี ้ท าให้เกิดการตั้งค าถามถึงมาตรฐานทางจริยธรรมในการด าเนินธุรกิจ ทั้งที ่ก ากับโดยรัฐ และโดยกลุ่มทุนเอง<br />

ในทางปฏิบัติพบปัญหาว่า สังคมไทยแทนที ่จะกล่าวถึงจริยธรรมทางธุรกิจเพื ่อยกระดับความรับผิดชอบของกลุ่มทุนต่อ<br />

ลูกจ้าง ต่อลูกค้า ต่อสังคม และสิ่งแวดล้อม กลับมีการใช้ค าว่าจริยธรรมทางธุรกิจเพื ่อเป็นเครื ่องมือจัดการฝ่ายตรงข้าม ซึ ่งผลคือท า<br />

ให้จริยธรรมถูกลดค่าเป็นเพียงอาวุธที ่ไม่ได้มีเนื ้อหา (substantive) ปัญหานี ้จึงต้องกลับมาพิจารณาจริยธรรมในฐานะหลักการ ว่า<br />

สิ่งใดถูกสิ่งใดผิด จริยธรรมทางธุรกิจจึงเป็นเรื ่องของกระบวนการ (process) ไม่ใช่แค่เรื ่องของผลลัพธ์ (consequential) หรือ<br />

เครื ่องมือ (instrument)<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

จริยธรรมทางธุรกิจ เป็นแนวคิดที ่ส าคัญมากในสังคมปัจจุบันในการสร้างบรรทัดฐานใหม่ให้กับองค์กรธุรกิจ เพื ่อให้ต้องหา<br />

สมดุลระหว่างผลก าไรและความรับผิดชอบต่อสังคม จริยธรรมทางธุรกิจเป็นมาตรการคอยก ากับการด าเนินธุรกิจของภาคเอกชนที ่<br />

จะบอกว่าสิ่งใดถูกหรือสิ่งใดผิด ความเหมาะสม ของการแสวงหาผลประโยชน์อยู ่ที ่ใด นอกจากนี ้ จริยธรรมทางธุรกิจท าให้การ<br />

แสวงหาก าไรจากการประกอบกิจการสามารถเป็นสิ่งที ่ยอมรับได้จากสังคมและกลุ่มทางสังคมอื ่นๆ เพราะประเมินแล้วว่าเป็นการ<br />

แสวงหาก าไรที ่สมเหตุสมผล ไม่เกินพอดี หรือสร้างปัญหาให้แก่สภาพแวดล้อมและชุมชนในระยะยาว<br />

ดูเพิ่มใน ‘Corporate Social Responsibility’<br />

218


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

Charney, Evan (2011). “Ethics, Political”. In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science.<br />

Washington, D.C.: CQ Press.<br />

Friendman, Milton (1970). “The Social Responsibility of Business is to Increase Its Profits”. In The New York Times<br />

Magazine, September 13.<br />

U.S. Department of Commerce (2004). Business Ethics: A Manual for Managing a Responsible Business Enterprise in<br />

Emerging Market Economics. Washington. D.C.: International Trade Administration.<br />

219


ควำมหมำย<br />

CIVIC EDUCATION<br />

กำรศึกษำเพื่อสร้ำงพลเมือง<br />

การศึกษาเพื ่อสร้างพลเมือง (Civic หรือ Citizenship Education) เป็นการให้การศึกษาเกี ่ยวกับหน้าที ่และความ<br />

รับผิดชอบ ตลอดจนโครงสร้างและระบบกลไกของระบอบการเมืองการปกครองที ่พลเมืองเป็นสมาชิกอยู ่ โดยมุ่งเน้นไปที ่การสร้าง<br />

ความเข้าใจและความเชื ่อมั่น การตระหนักรู้ และการรู้เท่าทันสถาบันการเมืองการปกครอง หน้าที ่ที ่พลเมืองมีต่อรัฐ และหน้าที ่ที ่รัฐ<br />

มีต่อประชาชน ผ่านข้อกฎหมายพื ้นฐานต่างๆ เนื ้อหาจะแตกต่างกันไปตามระบอบการเมืองการปกครองของแต่ละประเทศ<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในอดีตประชาชนในรัฐนั้นหาได้มีสถานะเป็น “พลเมือง” ที ่มีนัยแสดงถึงความเท่าเทียมกันของคนทุกๆ คนไม่ เพราะใน<br />

ระบอบสมบูรณาญาสิทธิราชย์ หรือ ระบอบการปกครองอื ่นๆ ที ่ไม่ใช่ระบอบประชาธิปไตย ประชาชนหาได้มีสถานะที ่เท่าเทียมกัน<br />

หากแต่เป็นไพร่บ้าง ทาสบ้าง ซึ ่งล้วนแล้วแต่มีสถานะเป็นผู้ถูกปกครองที ่ต้องตกอยู ่ภายใต้อ านาจของผู้ปกครองทั้งสิ ้น<br />

แต่ส าหรับระบอบประชาธิปไตย ซึ ่งมีความหมายว่าเป็นระบอบการปกครองที ่อ านาจทางการเมืองการปกครอง (kratia)<br />

อยู ่ในมือประชาชน (demos) ทุกๆ คน ที ่มีสถานะเป็น “พลเมือง” ของรัฐอย่างเท่าเทียมกัน ดังนั้น การตระหนักรู้ถึงคุณค่าของการ<br />

เป็นพลเมืองที ่เท่าเทียมกันภายใต้ระบอบการปกครองแบบประชาธิปไตยจึงเป็นหัวใจส าคัญที ่จะท าให้ระบบการเมืองในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยนั้นสามารถด าเนินไปได้อย่างมีประสิทธิภาพ เพราะหากประชาชนยังไม่สามารถเข้าใจ และเล็งเห็นความส าคัญของ<br />

การเป็นพลเมืองของรัฐแล้ว พวกเขาก็จะยังคงมีวัฒนธรรมทางการเมืองที ่คับแคบ (parochial) และไพร่ฟ้า (subject) ซึ ่งจะแตกต่าง<br />

จากผู้ที ่เข้าใจในสถานะของความเป็นพลเมืองที ่พร้อมจะเข้าไปมีส่วนร่วมในการเมืองการปกครองในฐานะที ่ตนเองก็เป็นส่วนหนึ ่ง<br />

ของเจ้าของอ านาจอธิปไตยในการปกครองประเทศตามหลักการอ านาจอธิปไตยของปวงชน และพร้อมที ่จะท าหน้าที ่เจ้าของอ านาจ<br />

อธิปไตยในการตรวจสอบการใช้อ านาจของรัฐบาลไปด้วยในเวลาเดียวกันอีกด้วย (โปรดดู Sovereignty of the People)<br />

การจะเป็นพลเมืองที ่สามารถวิพากษ์วิจารณ์นโยบาย และติดตามการท างานของรัฐบาลและผู้ใช้อ านาจรัฐได้อย่างเข้าใจ<br />

อย่างมีเหตุมีผล ไม่ใช่คุณสมบัติที ่ติดตัวมาแต่ก าเนิดในคนทุกคน ดังนั้น ความสามารถในการมีส่วนร่วมในสังคมการเมืองแบบ<br />

ประชาธิปไตยได้อย่างมีประสิทธิภาพ อย่างมีวัฒนธรรมเป็นสิ่งที ่ต้องเรียนรู้ หรือจัดให้พลเมืองได้เรียนรู้ นั่นก็คือ การให้การศึกษา<br />

เพื ่อสร้างพลเมือง ซึ ่งเป็นกระบวนการที ่เกิดขึ ้นได้ตลอดชั่วชีวิตของบุคคลหนึ ่ง และไม่จ าเป็นต้องเป็นการศึกษาที ่เป็นทางการในชั้น<br />

เรียนเท่านั้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

โดยทั่วไปแล้วการศึกษาเพื ่อสร้างพลเมืองในโรงเรียนจะถูกจัดอยู ่ในวิชากลุ่มสังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ซึ ่งที ่ถูก<br />

แล้วการศึกษาเพื ่อสร้างพลเมืองไม่ควรจ ากัดอยู ่เพียงแต่เรื ่องศาสนา ศีลธรรม จารีตประเพณี แต่ควรมีขอบเขตกว้างขวาง<br />

ครอบคลุมทั้งมิติประวัติศาสตร์ การเมืองการปกครอง สังคม วัฒนธรรม พฤติกรรมการเรียนรู้ การอยู ่ร่วมกัน ความอดทนอดกลั้น<br />

การรับฟังและการแสดงความคิดเห็นที ่เหมาะสม การศึกษาเพื ่อสร้างพลเมืองไม่จ าเป็นต้องจ ากัดอยู ่ในชั้นเรียน แต่ควรท าให้เป็น<br />

220


กระบวนการเรียนรู้ตลอดชีวิต แม้แต่ในผู้ใหญ่ก็ควรเป็นส่วนหนึ ่งของกิจกรรมเพื ่อสร้างพลเมือง ข้อสังเกตเรื ่องการศึกษาเพื ่อสร้าง<br />

พลเมืองในประเทศไทยคือ ส่วนใหญ่แล้วจะเน้นมิติด้านคุณธรรม จริยธรรม เช่นสอนให้นักเรียนและประชาชนเป็นคนดี ซื ่อสัตย์<br />

มัธยัสถ์ เสียสละ และไม่โกง โดยไม่ได้สร้างกระบวนการเรียนรู้ให้เกิดความเข้าใจในเรื ่องสิทธิ เสรีภาพ ความเท่าเทียมกันและความ<br />

เสมอภาคในระบอบประชาธิปไตย การศึกษาเพื ่อสร้างพลเมืองโดยเน้นประเด็นคุณธรรม จริยธรรม เป็นการศึกษาที ่ไม่ช่วยสร้างให้<br />

เกิดความเข้าใจในบทบาทของรัฐและทุนที ่จ ากัดสิทธิ ลิดรอนเสรีภาพ และเอาเปรียบประชาชน ตลอดจนไม่ได้ช่วยให้พลเมืองมี<br />

ความคิดริเริ่มที ่จะช่วยกันหาหนทางแก้ไขข้อบกพร่องในสังคม เพื ่อให้เป็นสังคมที ่พลเมืองมีความเข้มแข็งทางปัญญา สามารถคิด<br />

ได้อย่างมีเหตุมีผล และสามารถพึ ่งพาตนเองได้ พลเมืองในลักษณะดังกล่าวจะเป็นรากฐานที ่มั่นคงของระบอบประชาธิปไตย<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

การศึกษาเพื ่อสร้างพลเมืองที ่ผ่านมาในประเทศไทย ได้รับการวิจารณ์ว่าเป็นส่วนหนึ ่งของการล้างสมองพลเมือง และการ<br />

ให้ข้อมูลเพียงด้านเดียวโดยสถาบันการปกครองของรัฐ การเป็นส่วนหนึ ่งของกลไกทางการเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งในระบอบ<br />

ประชาธิปไตยนั้น การมีส่วนร่วมของพลเมืองในกระบวนการทางการเมืองจะไม่สามารถเรียนรู้ได้โดยผ่านการศึกษาในชั้นเรียน แต่<br />

ต้องผ่านประสบการณ์ตรง ดังปรากฏผ่านการออกแบบ “ต าราเรียน” ที ่มีลักษณะของการปลูกฝังแนวคิดบุคลาธิษฐาน ยึดมั่นในตัว<br />

บุคคลมากกว่าหลักการ ลดทอนและลบทิ ้งประวัติศาสตร์ และมีมุมมองทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรมและสังคมแบบตายตัว<br />

เพียงด้านเดียว แทนที ่จะเป็นการสร้างกระบวนการคิดเชิงวิพากษ์ในการเรียนรู้ให้แก่ผู้เรียนได้คิดวิเคราะห์ด้วยตนเอง เพื ่อที ่จะ<br />

น าไปสู ่ความเข้าใจ และตระหนักถึงความส าคัญของการเมือง ที ่จะพัฒนาไปสู ่การเป็นพลเมืองที ่มีความคิดความอ่านเป็นของตัวเอง<br />

และพร้อมตรวจสอบรัฐบาลมากกว่าพลเมืองที ่มุ่งแต่จะรอคอยค าสั่ง หรือ สวัสดิการจากรัฐบาลแต่เพียงอย่างเดียวเท่านั้น<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Sovereignty of the People’<br />

การศึกษาเพื ่อสร้างความเป็นพลเมืองในระบอบประชาธิปไตยของไทย (<strong>Democ</strong>ratic Citizenship<br />

Education). เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.thaiciviceducation.org/.<br />

ทิพย์พาพร ตันติสุนทร (2555). การศึกษาเพื่อสร้างพลเมือง. กรุงเทพฯ: สถาบันนโยบายศึกษา.<br />

221


CORPORATE SOCIAL RESPONSIBILITY<br />

ควำมรับผิดชอบต่อสังคม สภำพแวดล้อมและลูกจ้ำงของบรรษัท<br />

ควำมหมำย<br />

แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัท (Corporate Social Responsibility---CSR) หมายถึง ความรับผิดชอบของ<br />

บรรษัทที ่เป็นหน่วยงานเอกชนที ่ต้องมีต่อสังคม โดยบรรษัทเอกชนในฐานะส่วนหนึ ่งของสังคม ที ่ได้เข้ามาประกอบกิจกรรมทาง<br />

ธุรกิจในการแสวงหาก าไรสูงสุดให้กับผู้ถือหุ้น (shareholder) จะต้องรับผิดชอบต่อผลกระทบจากการแสวงหาก าไรดังกล่าวหรือต้อง<br />

ดูแลสังคมที ่บรรษัทดังกล่าวได้ใช้พื ้นที ่ในการแสวงหาก าไร ด้วยเหตุนี ้บรรษัทจึงต้องมีความรับผิดชอบต่อผู้มีส่วนได้เสีย<br />

(stakeholder) ในสังคมด้วย ทั้งในด้านคุณภาพชีวิต สิ่งแวดล้อม และสังคมวัฒนธรรม (เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา, 2548)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัท (CSR) เกิดขึ ้นในช่วงคริสต์ทศวรรษ 1980-1990s โดยมีที ่มาจากการผลักดัน<br />

ของภาคธุรกิจ ประชาสังคม และองค์กรพัฒนาเอกชนบางส่วน เพื ่อสร้างข้อตกลงร่วมกันในโลกที ่จะพยายามผลักดันให้กลุ่มธุรกิจ<br />

ต้องรับผิดชอบต่อปัญหาสิ่งแวดล้อมและสังคม อันเป็นผลจากขั้นตอนการผลิตและด าเนินกิจกรรมทางธุรกิจ กลุ่มองค์กรที ่สนับสนุน<br />

แนวคิดดังกล่าว เช่น World Business Council for Sustainable Development เมื ่อแรกเริ่มไม่ได้เรียกว่า CSR ในปัจจุบันได้มีบาง<br />

มหาวิทยาลัยบรรจุการศึกษาเกี ่ยวกับ “ธุรกิจและสิทธิมนุษยชน” ไว้ในหลักสูตร<br />

ความจ าเป็นที ่ประชาสังคมต้องสร้างแรงกดดันให้บรรษัททั้งหลายหันมาใส่ใจแนวคิด CSR เพราะรัฐ และรัฐบาลใน<br />

ประเทศโลกที ่สาม ขาดการก ากับดูแลและการตรวจสอบบรรษัทเหล่านี ้ เนื ่องจากรัฐมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับกลุ่มธุรกิจมาก รัฐใน<br />

ตัวเองมีผลประโยชน์ที ่เชื ่อมโยงกับบรรษัทจึงเป็นการยากที ่รัฐจะออกกฎหมายเพื ่อควบคุมการด าเนินธุรกิจของบรรษัท ท าให้<br />

บรรษัทท ากิจกรรมได้อย่างไร้ความรับผิดชอบต่อสาธารณะ แนวคิด CSR จึงไม่ใช่เพียงแค่การจัดงานการกุศล หรือบริจาคเงิน<br />

เล็กๆ น้อยๆ แต่เป็นการขยายวงความรับผิดชอบของบรรษัทจากผู้ถือหุ้นให้ครอบคลุมไปถึงผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในสังคม และ<br />

รับผิดชอบต่อสาธารณะด้วยกระบวนการภายในตัวบรรษัทเอง เช่น การให้ชุมชนมีส่วนร่วมในการด าเนินกิจการ การรักษา<br />

สิ่งแวดล้อม สิทธิผู้บริโภค และสิทธิมนุษยชน ที ่ครอบคลุมทั้งมิติด้านมนุษย์ สังคม และธรรมชาติ<br />

จะเห็นว่าการขับเคลื ่อนของประชาสังคม (โปรดดู Civil Society) ได้สร้างผลสะเทือนต่อการบริหารงานของบรรษัทอย่าง<br />

ยิ่ง ในด้านที ่บรรษัทจะต้องตรวจสอบตัวเองต่อสาธารณะด้วยแนวคิด CSR โดยประชาสังคมได้เข้ามาเป็นตัวแสดงที ่ถ่วงดุลกับรัฐ<br />

และบรรษัท ในการติดตามตรวจสอบการด าเนินกิจการของบรรษัท รวมถึงส่งเสริมการท างานของบรรษัทที ่มีมาตรฐานในการ<br />

ประเมินตัวเองด้วยแนวคิด CSR โสภณ พรโชคชัย (2553: 24) เห็นว่า CSR แต่เดิมพูดเพียงเรื ่องสังคมและสิ่งแวดล้อมในแง่มุมที ่<br />

ค่อนข้างจ ากัด ต่อมาก็มีการพูดถึงบทบาทของ CSR ในประเด็นที ่กว้างขึ ้น เช่น สิทธิมนุษยชน จนกระทั่งขยายไปสู ่เรื ่องการลด<br />

ความยากจนและการพัฒนา จะเห็นได้ว่ามีพัฒนาการของวาทกรรมต่างๆ เกี ่ยวกับบทบาทของ CSR เพิ่มขึ ้น และขยายขอบเขต<br />

การถกเถียงไปสู ่เรื ่องการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนมากยิ่งขึ ้น CSR จึงไม่ใช่เรื ่องของสังคมสงเคราะห์ การบริจาค<br />

222


คุณธรรม ศีลธรรม ศาสนา หรือเศรษฐกิจชุมชน แต่เป็นแนวคิดที ่องค์กรธุรกิจต้องกระท าการบางอย่างเพื ่อแสดงความรับผิดชอบ<br />

ต่อสังคม ในฐานะที ่บริษัทได้รับก าไรจากสังคม<br />

จุดที ่น่าสนใจที ่สุดของแนวคิดเรื ่อง CSR คือการมีส่วนร่วม โดยในบรรษัทนั้นจะใช้การควบคุมตัวเองเป็นหลัก แต่อย่างที ่<br />

ทราบกันดีว่าเป้าหมายสูงสุดของบรรษัทคือ “ก าไร” ดังนั้นการเหนี ่ยวรั้งบรรษัทจากการแสวงหาก าไรจึงไม่ใช่เรื ่องง่าย และ<br />

โดยทั่วไปแล้วความรับผิดชอบต่อสังคมมักจะสวนทางกับการแสวงหาก าไร ดังนั้นภาคประชาสังคมจึงมีความส าคัญอย่างยิ่งในการ<br />

เข้าไปถ่วงดุลรัฐและธุรกิจเพื ่อท าให้แนวคิด CSR เข้าไปท างานในบรรษัท และสร้างบรรทัดฐานทางสังคมใหม่ให้สนับสนุนบรรษัทที ่<br />

รับผิดชอบต่อสังคม มีกิจกรรมเพื ่อสาธารณะ โดยไม่ได้มุ่งแสวงหาก าไรแต่เพียงอย่างเดียว<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

กระแส CSR เริ่มเข้ามาในไทยระยะเวลาหนึ ่ง กลุ่มที ่ส่งออกสินค้าไปยังต่างประเทศ โดยเฉพาะแถบยุโรปเข้าสู ่<br />

กระบวนการ CSR ค่อนข้างเร็วกว่ากลุ่มอื ่น เนื ่องจากความต้องการและแรงกดดันของลูกค้าในประเทศพัฒนาแล้ว ในระยะไม่กี ่ปีที ่<br />

ผ่านมานี ้ มีความพยายามผลักดันให้แนวคิด CSR เชื ่อมโยงกับธุรกิจภายในประเทศมากขึ ้น เช่น การลดระดับการปล่อยคาร์บอน<br />

มอนนอกไซด์สู ่อากาศ การก าจัดน ้าเสียด้วยวิธีการที ่เหมาะสม การปฏิบัติตามมาตรฐานแรงงานของกระทรวงแรงงาน SA 8000<br />

หรือแม้แต่ ISO ก็ก าลังพัฒนา ISO 26000 ที ่เกี ่ยวกับความรับผิดชอบต่อสังคม ขณะที ่สภาพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติใน<br />

แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที ่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ก็มีการพูดถึงเรื ่องทุนทางสังคม โดยเน้นบทบาทภาคธุรกิจ<br />

และความร่วมมือในการสร้างทุนทางสังคม ตลาดหลักทรัพย์เองก็พยายามร่าง CSR Charter (ศจินทร์ ประชาสันติ์ , 2549)<br />

ตัวอย่างที ่น่าสนใจ เช่น องค์กรขนาดใหญ่อย่างบริษัท ปตท. จ ากัด (มหาชน) ที ่ด าเนินการเกี ่ยวกับกิจกรรมทางพลังงาน<br />

หลักของประเทศไทย ได้มีโครงการเกี ่ยวกับการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและปลูกฝังจิตส านึกเยาวชนให้เห็นความส าคัญของสิ่งแวดล้อม<br />

และการใช้ชีวิตอยู ่ร่วมกันระหว่างอุตสาหกรรม พลังงาน และสิ่งแวดล้อม ให้มีการเจริญเติบโตอย่างยั่งยืน เช่น โครงการพัฒนา<br />

เยาวชน Save World School Tour โครงการปลูกป่าเฉลิมพระเกียรติ 1 ล้านไร่คืนสู ่สังคม และโครงการรักษ์ป่า สร้างคน 84 ต าบล<br />

วิถีพอเพียง เป็นต้น แต่โครงการดังกล่าวถูกตั้งค าถามอย่างต่อเนื ่องจากปัญหาการผูกขาดกิจกรรมทางพลังงานในประเทศ และ<br />

ปัญหาเรื ่องความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อมหลังกรณีเหตุน ้ามันรั่วบริเวณเกาะเสม็ด จังหวัดระยอง ในวันที ่ 24 กรกฎาคม พ.ศ.<br />

2556 ที ่การแก้ปัญหาและการตอบสนองต่อข้อเรียกร้องของประชาชนที ่ได้รับผลกระทบของบริษัท พีทีที โกลบอล เคมิคอล จ ากัด<br />

(มหาชน) หรือ PTTGC บริษัทในกลุ่ม ปตท.ไม่ได้แสดงให้เห็นถึงการให้ความส าคัญของธรรมชาติ และสังคมอย่างแท้จริง แต่<br />

กลับไปเน้นที ่ความเป็นคนไทยต้องช่วยเหลือกัน เสมือนปัดภาระความรับผิดชอบของบริษัทและผู้ถือหุ้นให้เป็นของชุมชนและสังคม<br />

ทั้งที ่ความผิดพลาดมาจากการด าเนินการของบริษัทเองที ่ไม่ได้มีจิตส านึกเรื ่อง CSR มาตั้งแต่ต้น เหตุการณ์ดังกล่าว ท าให้กลุ่มผู้<br />

เคยได้รับรางวัลจากสถาบันลูกโลกสีเขียวของ ปตท. คืนรางวัลให้ ปตท. เพราะมองว่า ที ่ผ่านมา ปตท. เป็นแต่เพียงบริษัทที ่<br />

ต้องการสร้างภาพลักษณ์ CSR แต่ไม่ได้มีส านึกรักษ์โลกแต่อย่างใด<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัทจ าเป็นต้องถูกเน้นย ้า ว่ามีเป้าหมายต่อสังคมโดยรวม ไม่ใช่เพียง “เครื ่องมือ”<br />

ในการท าการตลาดขององค์กรเพื ่อสร้างความชอบธรรมในการด าเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจที ่ไม่รับผิดชอบต่อผลประโยชน์ของ<br />

223


สังคม ซึ ่งนักกิจกรรมทางสังคมบางส่วนเห็นว่าแนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัทเป็นเพียงภาพลวงตาเพื ่อซ่อนปัญหา<br />

และผลกระทบของบริษัทที ่มีต่อสังคมไว้ใต้พรม<br />

ดังนั้น แนวคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัท จึงเป็นประเด็นส าคัญส าหรับการอยู ่ร่วมกันในสังคมระหว่างบรรษัทที ่<br />

แสวงหาก าไรและผู้มีส่วนได้เสียทางสังคม CSR จึงไม่ใช่เพียงการตั้งมูลนิธิหรือการท าบุญ แจกสิ่งของชั่วครั้งคราว แต่เป็นเรื ่องของ<br />

ความรับผิดชอบต่อสิ่งแวดล้อม และต่อคุณภาพของชุมชนและสังคมของผู้ประกอบธุรกิจ มีจริยธรรมในการประกอบอาชีพของ<br />

บรรษัทที ่ต้องรับผิดชอบต่อสังคมและต้องมีหลักปฏิบัติอย่างต่อเนื ่องในการดูแลสังคมเพื ่อบรรษัทและส่วนต่างๆ ในสังคมสามารถ<br />

อยู ่ร่วมกันได้อย่างสงบสุข<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ศจินทร์ ประชาสันติ์ (2549). “CSR”. มหาวิทยาลัยเที่ยงคืน. เข้าถึงวันที ่ 1<br />

http://www.midnightuniv.org/midnight2544/0009999908.html.<br />

ตุลาคม 2555 ใน<br />

โสภณ พรโชคชัย. “CSR ไม่ใช่เรื ่องศาสนา คุณธรรม หรือเศรษฐกิจพอเพียง”. ใน สยามธุรกิจ, 26-29 มิถุนายน 2553.<br />

เอก ตั้งทรัพย์วัฒนา (2548). โลกาภิวัตน์ บรรษัทข้ามชาติ บรรษัทภิบาล และความรับผิดชอบต่อสังคมของบรรษัท. กรุงเทพฯ:<br />

ส านักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.<br />

\<br />

224


EMPOWERMENT<br />

กำรเพิ่มอ ำนำจ<br />

ควำมหมำย<br />

การเพิ่มอ านาจ (Empowerment) เป็นค าศัพท์ที ่ใช้กล่าวถึงบุคคลหรือกลุ่มบุคคลที ่ตลอดเวลาในอดีตไม่มีอ านาจ<br />

(powerless) แต่มีการเปลี ่ยนแปลงส าคัญในทางบริบทสังคมการเมืองท าให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวสามารถมีอ านาจที ่เพิ่ม<br />

มากขึ ้น ทั้งในด้านของการเจรจาต่อรอง การตัดสินใจ และความสามารถในการก าหนดเส้นทางหรือวิถีชีวิตของตัวเอง ค าว่าการ<br />

เพิ่มอ านาจจึงมักใช้กับประชาชนหรือกลุ่มทางสังคมที ่ไม่ได้รับสิทธิเสรีภาพจากรัฐ หรือเป็นกลุ่มที ่ถูกกดขี ่ขูดรีดจากระบบเศรษฐกิจ<br />

และเกิดการเปลี ่ยนแปลงส าคัญ ไม่ว่าจะมาจากวิกฤติเศรษฐกิจ การเปลี ่ยนแปลงกฎหมาย หรือการรวมตัวเคลื ่อนไหวทางสังคม ท า<br />

ให้บุคคลหรือกลุ่มบุคคลดังกล่าวมีอ านาจมากยิ่งขึ ้น หรือเป็นสาเหตุให้เกิดการเพิ่มอ านาจในการต่อสู้ต่อรองให้กลุ่มที ่เคยไม่มี<br />

อ านาจดังกล่าว (Kurian, 2011: 504-505)<br />

อรรถำธิบำย<br />

“การเพิ่มอ านาจ” ในทางทฤษฎีหมายถึงการเปลี ่ยนแปลงความสัมพันธ์ทางสังคม เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และการเมือง ที ่<br />

ท าให้ความสัมพันธ์เชิงอ านาจมีการเปลี ่ยนแปลงไปจากกลุ่มอ านาจเก่า ไปสู ่กลุ่มอื ่นๆ โดยอ านาจมีลักษณะที ่กระจายตัวไปตาม<br />

กลุ่มต่างๆ มากยิ่งขึ ้น (Budryte, 2011: 504) ค าอธิบายนี ้จึงใช้กับการเปลี ่ยนแปลงโครงสร้างอ านาจในช่วงทศวรรษ 1970s หรือ<br />

ระหว่างยุคสงครามเย็น ที ่เกิดตัวแสดงใหม่ทั้งจากฝั่ งยุโรปและอเมริกา คือ ขบวนการทางสังคม (โปรดดู Social Movement) และ<br />

พื ้นที ่ประชาสังคม (โปรดดู Civil Society) ที ่ได้รับการเพิ่มอ านาจในการต่อรองกับนโยบายของรัฐและการต่อสู้เพื ่อปกป้องสิทธิ<br />

เสรีภาพ วิถีชีวิต อัตลักษณ์ และชุมชนของตนเอง การเพิ่มอ านาจจึงสามารถวิเคราะห์ได้ทั้งระดับจุลภาค (micro level) คือการหา<br />

ว่าใครหรือองค์กรใดได้รับการเพิ่มอ านาจขึ ้นบ้าง และการวิเคราะห์ระดับมหภาค (macro level) คือการมองโครงสร้างความสัมพันธ์<br />

เชิงอ านาจว่ามีการเปลี ่ยนแปลงไปอย่างไร<br />

ในทางปฏิบัติ งานของโบรห์แมน (Brohman, 1996: 201-225) ได้ยกตัวอย่างว่า การเพิ่มอ านาจคือรูปแบบหนึ ่งของการ<br />

พัฒนาทางเลือก (alternative development) ในการตอบสนองความต้องการ (needs) ของมนุษย์ ไม่ใช่เพียงการพัฒนาตัวเลขทาง<br />

เศรษฐกิจ การพัฒนาทางเลือกโดยเฉพาะอย่างยิ่งในกลุ่มประเทศด้อยพัฒนาหรือก าลังพัฒนา จะต้องมีการเพิ่มอ านาจเพื ่อให้<br />

ประชาชนมีความสามารถที ่จะเลือกวิถีชีวิต และได้รับการตอบสนองหรือเข้าถึงความต้องการพื ้นฐานในการด ารงชีวิตอย่างมีศักดิ์ศรี<br />

การเพิ่มอ านาจดังกล่าวอาจมองในเชิงวัตถุ เช่น การมอบสิทธิในการรักษาพยาบาล การมอบสิ่งของที ่เป็นปัจจัยสี ่ ฯลฯ หรือมองใน<br />

เชิงนามธรรม เช่น การมอบเสรีภาพในการมีชีวิตอยู ่ การมอบเสรีภาพในการชุมนุมเคลื ่อนไหวเรียกร้องหาความเป็นธรรม ฯลฯ<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในสังคมไทย มีงานเขียนที ่กล่าวถึง การเพิ่มอ านาจ ว่าหมายถึง การแบ่งอ านาจของบุคคลในส่วนของอ านาจการตัดสินใจ<br />

ไปมอบให้กับสมาชิก ซึ ่งก่อนหน้านี ้ อ านาจดังกล่าวเคยเป็นอ านาจที ่ถูกสงวนไว้ส าหรับผู้บริหาร การมอบอ านาจหรือเพิ่มอ านาจ<br />

สามารถแยกองค์ประกอบได้ดังนี ้ (สุมาลี, 2555)<br />

225


1) สมาชิกได้รับข้อมูลในการตัดสินใจ<br />

2) สมาชิกได้รับความรู้และทักษะในการท างานเพื ่อบรรลุเป้าหมาย<br />

3) สมาชิกมีอ านาจในการตัดสินใจและการควบคุมตัวเอง<br />

4) สมาชิกเข้าใจความหมายและความส าคัญของอ านาจที ่ได้เพิ่มมา<br />

5) สมาชิกได้รับรางวัลมากยิ่งขึ ้น<br />

ส่วนในพื ้นที ่ประชาสังคมของไทย มีตัวอย่างองค์กรที ่ใช้ค าว่าการเพิ่มอ านาจเป็นชื ่อองค์กร เช่น มูลนิธิศักยภาพชุมชน<br />

(People's Empowerment Foundation) ซึ ่งเป็นองค์กรอิสระที ่ไม่หวังผลก าไร ท างานในประเด็นเกี ่ยวกับปัญหาของพี ่น้องรากหญ้า<br />

ในประเทศไทย มูลนิธิฯ ได้ท าหน้าที ่เป็นส านักเลขานุการแก่องค์กรชุมชน (Community-based organization: CBO) ภารกิจของ<br />

มูลนิธิฯ คือการสร้างกลไกที ่ยั่งยืนแก่ปัจเจกบุคคล องค์กรระดับชุมชน พันธมิตรระดับรากหญ้า และการขับเคลื ่อนของมวลชน เพื ่อ<br />

ส่งเสริมศักยภาพเชิงองค์กรของเครือข่ายภาคประชาสังคมและองค์กรชุมชนในประเทศไทย และการมีส่วนร่วมโดยตรงระหว่าง<br />

เครือข่ายและองค์กรระดับชุมชนต่างๆ โดยมุ่งหวังให้การขับเคลื ่อนของภาคประชาชนเป็นหนึ ่งเดียวกัน ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริม<br />

สิทธิมนุษยชน ความมั่นคงของมนุษย์ สันติภาพและประชาธิปไตยในประเทศไทย<br />

การเพิ่มอ านาจจึงเป็นค าที ่มีความส าคัญส าหรับการเปลี ่ยนแปลงความสัมพันธ์เชิงอ านาจระหว่างคนที ่มั่งมี (the haves)<br />

กับคนด้อยโอกาสอื ่นๆ (the have-nots) เพื ่อให้คนที ่ด้อยโอกาสสามารถมีอ านาจในการต่อรองเรื ่องสิทธิเสรีภาพ และความสามารถ<br />

ในการก าหนดวิถีชีวิตของตัวเองได้ การเพิ่มอ านาจจึงไม่ได้หมายถึงการมอบอ านาจไปให้องค์กรใดองค์กรหนึ ่งเพียงอย่างเดียว แต่<br />

ต้องรวมถึงการเปลี ่ยนแปลงทางอ านาจของทุกกลุ่มในสังคมแบบองค์รวม<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

แนวคิดการเพิ่มอ านาจ ที ่เริ่มต้นมาจากวัตถุประสงค์เพื ่อใช้แก้ปัญหาความเหลื ่อมล ้าทางสังคม ในปัจจุบัน มีการน า<br />

แนวคิดนี ้มาใช้อย่างกว้างขวางในสถานการณ์ และองค์กรต่างๆ เช่น การเคลื ่อนไหวของกลุ่มสตรี การส่งเสริมสุขภาพบุคคลและ<br />

ชุมชน รวมถึงการบริหารจัดการองค์การและการพัฒนาบุคคลในองค์การธุรกิจเอกชน แนวคิดนี ้มีความเป็นรูปธรรมสูง สามารถ<br />

ปฏิบัติตามได้ไม่ยาก และมีความส าคัญอย่างยิ่งยวดในระดับปัจเจกบุคคล เพราะเป็นการพัฒนาศักยภาพของบุคคลให้สามารถ<br />

ท างานอย่างมีประสิทธิภาพ เชื ่อมั่น กระตุ้นการท างานเป็นทีมและมีส่วนร่วม โดยเริ่มที ่ให้บุคคลเปลี ่ยนโลกทัศน์เกี ่ยวกับการมอง<br />

ตนเองและสังคมอย่างสร้างสรรค์ สร้างความรู้สึกว่าตนเองมีคุณค่า มีความสามารถ และสามารถเปลี ่ยนแปลงการท างานของตนให้<br />

ดีขึ ้นเพื ่อเกิดประโยชน์ต่อองค์กรและสังคมได้<br />

แนวคิดการเพิ่มอ านาจอาจน ามาปรับใช้เพื ่อช่วยแก้ปัญหาการทะเลาะวิวาทระหว่างนักศึกษาอาชีวะต่างสถาบันในสงคม<br />

ไทย ที ่มีการใช้ความรุนแรงจนขั้นเสียชีวิตหลายกรณี มีข้อมูลบ่งชี ้ว่า นักศึกษาอาชีวะจ านวนมากขาดความเชื ่อมั่นในตนเอง ไม่<br />

รู้สึกว่าตนเองมีพลังมีอ านาจพอที ่จะต่อต้านการชักจูงโดยรุ่นพี ่และกลุ่มเพื ่อน เพราะเกรงว่าจะไม่เป็นที ่ยอมรับ วิธีแก้ปัญหาการใช้<br />

ความรุนแรงในสถาบันอาชีวะศึกษา อาจเริ่มด้วยการเพิ่มอ านาจให้พวกเขารู้สึกภูมิใจ มั่นใจ และรักตัวเอง ซึ ่งเป็นสิ่งที ่สังคมรอบตัว<br />

เขาปฏิเสธพวกเขามาตลอด หนังสือชื ่อ เด็กน้อยโตเข้ำหำแสง: ประสบการณ์ ‘คบเด็ก (เป็น) สร้างบ้าน (ได้) ของ ‘ป้ามล’ (ทิชา<br />

ณ นคร) สะท้อนปัญหาเรื ่องวัยรุ่นขาดความรู้สึกว่าตนมี “อ านาจ” ได้เป็นอย่างดี (มิลินทร์, 2555)<br />

226


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

"วันที่เด็กยกพวกไปฆ่าคน สิ่งที่เขากลัวที่สุดไม่ใช่การฆ่าหรือการถูกฆ่า แต่พวกเขากลัวว่าพรุ่งนี ้<br />

เขาจะยังมีเพื่อนหรือเปล่า เขาจะยังเป็นที่ยอมรับของเพื่อนหรือเปล่า ส าหรับเขาแล้ว นี่คือคนกลุ่ม<br />

สุดท้ายในโลกที่ยังยอมรับตัวตนและเห็นคุณค่าของเขา เพราะพ่อแม่พี่น้อง ครอบครัว ครู และเพื่อน<br />

นักเรียนในโรงเรียนปฏิเสธตัวตนของเขา….มันไม่ใช่ความกลัวที่ดูโง่งมเข้าใจไม่ได้ แต่ค าถามที่ต้อง<br />

ทบทวนก็คือ เราได้ให้ 'อะไร' กับเขาหรือยัง เพื่อให้เขามีความกล้าหาญ และมั ่นใจในคุณค่าตัวเองจน<br />

มากพอจะบอกว่า "กูไม่ไปกับพวกมึงหรอก”…." ป้ามลยืนยันอย่างมั ่นใจว่าเด็กที่ก่อคดีโทรมไม่ได้บ้า<br />

เซ็กซ์ เขาไม่ได้เป็นคนที่ถ้าไม่ได้เอาใครในค ่าคืนนั้นแล้วจะลงแดงตาย แต่ระหว่างที่ไปอยู ่ในเหตุการณ์<br />

นั้น ช่วงที่ยืนอยู ่หว่างขาของผู้หญิงคนหนึ่ง ถ้าเขาไม่ท า ก็แสดงว่าไม่ใช่พวกเดียวกัน ถ้าไม่ท าแล้ว<br />

เพื่อนจะไม่คบ ไม่ยอมรับ ในที ่สุดนอกจากจะเป็นผู้แพ้จากระบบการศึกษาเพราะเรียนไม่เก่งตาม<br />

'มาตรฐาน' แล้ว เขายังเป็นผู้แพ้ในระบบความคิดตัดสินใจของตัวเอง”<br />

ดูเพิ่มใน ‘Civil Society’ และ ‘Social Movement’<br />

มิลินทร์ (2555). เด็กน้อยโตเข้าหาแสง: ประสบการณ์ ‘คบเด็ก (เป็น) สร้างบ้าน (ได้) ของ ‘ป้ามล’ (ทิชา ณ นคร). กรุงเทพ: สวนเงิน<br />

มีมา.<br />

สุมาลี ทองดี (2555). “การมอบอ านาจ (Empowerment)”. เข้าถึงวันที ่ 10 กันยายน 2555 ใน http://www.op.mahidol.ac.th/<br />

orga/file/EMPOWERMENT1.pdf.<br />

Budryte, Dovile (2011). “Empowerment”. In George Thomas Kurian et al. The Encyclopedia of Political Science.<br />

Washington, D.C.: CQ Press.<br />

Brohman, John (1996). Popular Development: Rethinking the Theory <strong>and</strong> Practice of Development. Oxford: Blackwell.<br />

Kurian, George Thomas et al. (2011). The Encyclopedia of Political Science. Washington, D.C.: CQ Press.<br />

227


GREEN ECONOMY<br />

เศรษฐกิจสีเขียว<br />

ควำมหมำย<br />

เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) เป็นเศรษฐกิจที ่มุ่งเน้นให้เกิดความกินดีอยู ่ดีของมนุษย์และความเท่าเทียมทางสังคม<br />

โดยลดผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมและทรัพยากรของระบบนิเวศน์เป็นผลลัพธ์ โดยทั่วไปแล้วเศรษฐกิจสีเขียวเป็นความพยายาม<br />

ในการพัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์พร้อมกับการดูแลสิ่งแวดล้อมและการลดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติแทนการแสวงหาผลก าไร<br />

เพียงอย่างเดียวและการด าเนินธุรกิจที ่ใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างสิ ้นเปลืองและก่อมลพิษ โดยด าเนินระบบหรือท าการพัฒนาโดย<br />

ตั้งอยู ่บนฐานของการพัฒนาแบบยั่งยืนและค านึงถึงความสัมพันธ์ของระบบนิเวศน์และเศรษฐกิจ (Cheng Siwei, 2011: 2)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ในช่วงยี ่สิบถึงสามสิบปีที ่ผ่านมา เมื ่อมีหลักฐานทางวิทยาศาสตร์เกี ่ยวกับการเปลี ่ยนแปลงของสภาพบรรยากาศโลกมากขึ ้น<br />

และปัญหาสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติที ่ขาดแคลนกลายเป็นปัญหาในระดับระหว่างประเทศ เศรษฐกิจสีเขียวได้รับความ<br />

สนใจทั้งในฐานะการพัฒนาที ่ยั่งยืนและมีความรับผิดชอบ การแสดงออกซึ ่งความรับผิดชอบเชิงบรรษัทของผู้ผลิต และกระแสความ<br />

นิยมธรรมชาติอันเกิดจากการตื ่นตัวด้านสิ่งแวดล้อมในหมู ่ผู้บริโภคที ่สร้างตลาดใหม่ขึ ้นมาในระบบเศรษฐกิจ แนวคิดการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจสีเขียวเกิดขึ ้นและพัฒนาไปพร้อมกับการพัฒนาการผลิตแบบคาร์บอนต ่า (low-carbon development) ซึ ่งหมายถึง<br />

รูปแบบของการพัฒนาภาคอุตสาหกรรมและภาคธุรกิจ ที ่มีกระบวนการลดการใช้พลังงานคาร์บอน และเพิ่มสัดส่วนของพลังง าน<br />

สะอาด ที ่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีเป้าหมายเบื ้องต้นคือการช่วยลดการปล่อยคาร์บอนอันเป็นสาเหตุของปัญหาเรือนกระจก<br />

และโลกร้อน และมีเป้าหมายระยะยาวคือสร้างระบบอุตสาหกรรมและเศรษฐกิจที ่เป็นมิตรกับสภาพแวดล้อมอย่างยั่งยืน<br />

ประเด็นที ่มักจะถูกหยิบยกให้เป็นประเด็นหลักของเศรษฐกิจสีเขียวคือพลังงานสีเขียว เนื ่องจากพลังงานเป็นปัจจัยส าคัญ<br />

ในการขับเคลื ่อนเศรษฐกิจและอุตสาหกรรมของโลก และเป็นต้นเหตุส าคัญของการท าลายสิ่งแวดล้อมและการปล่อยมลพิษ<br />

ประเด็นพลังงานสีเขียวจึงเป็นประเด็นที ่ใหญ่มากประเด็นหนึ ่งและอาจได้รับการพิจารณาโดยมิได้เกี ่ยวข้องอะไรกับเศรษฐกิจสี<br />

เขียวในฐานะประเด็นเอกเทศ<br />

องค์ประกอบของความเป็นเศรษฐกิจสีเขียว<br />

คาร์ล เบิร์คคาร์ท แบ่งเศรษฐกิจสีเขียวออกเป็น 6 ส่วน ดังนี ้<br />

พลังงานซึ่งน ากลับมาใช้ใหม่ได้ เช่น พลังงานน ้า ลม แสงแดด ความร้อนใต้พิภพ ฯลฯ เป็นพลังงานธรรมชาติที ่ไม่<br />

หมดไปเหมือนเชื ้อเพลิงฟอสซิลชนิดต่างๆ และไม่สร้างมลพิษต่อสิ่งแวดล้อม<br />

อาคารสีเขียว อาคารซึ ่งออกแบบและสร้างให้ใช้ทรัพยากรในการก่อสร้างน้อยและประหยัดพลังงานในการใช้สอย เช่น<br />

การติดตั้งแผงรับพลังงานแสงอาทิตย์ ระบบหมุนเวียนน ้าฝนมาใช้ภายในอาคาร ฯลฯ<br />

228


พาหนะสะอาด ยานพาหนะซึ ่งใช้พลังงานทางเลือกหรือพลังงานสะอาดแทนการใช้เชื ้อเพลิงฟอสซิล เช่น รถไฮบริดจ์<br />

รถพลังไฟฟ้า ฯลฯ<br />

การจัดการน ้า มีการอนุรักษ์แหล่งน ้าในธรรมชาติ บริหารจัดการทรัพยากรน ้าในเชิงเศรษฐกิจให้มีการใช้งานคุ้มค่า มี<br />

การบ าบัดน ้าเสียจากกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้กลับคืนสู ่ธรรมชาติอย่างปลอดภัย ฯลฯ<br />

การจัดการของเสีย การน าขยะกลับมาใช้ใหม่ การบ าบัดของเสีย การออกแบบบรรจุภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์ให้เกิดขยะน้อย<br />

ที ่สุด<br />

การจัดการที่ดิน การอนุรักษ์ที ่ดิน การฟื ้นฟูสภาพดิน การจัดพื ้นที ่สีเขียวในเขตเมือง ป่าชุมชน เกษตรอินทรีย์ ฯลฯ<br />

ข้อวิจารณ์<br />

เศรษฐกิจสีเขียวถูกวิจารณ์ว่าเป็นความพยายามรูปแบบใหม่ของบรรษัทที ่จะควบคุมและบิดเบือนกลไกตลาดด้วยระบบ<br />

ราคาสินค้าที ่อิงกับกระแสการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม นโยบายต่างๆตั้งแต่การผลิตจนถึงการบริโภคของเศรษฐกิจสีเขียวที ่ค านึงถึง<br />

สิ่งแวดล้อมยังเป็นการขัดขวางการพัฒนาประเทศ การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ และการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ อีกทั้งระบบ<br />

การเมืองการปกครองและโครงสร้างทางเศรษฐกิจของระบบตลาดและบรรษัทก็มิได้อยู ่ในสภาพที ่สามารถจะรองรับเศรษฐกิจสีเขียว<br />

ได้ การกดดันให้รัฐบาลออกกฎหมายที ่เอื ้อต่อเศรษฐกิจสีเขียวหรือกดดันให้บรรษัทต่างๆ ท าตามแนวทางสีเขียวจึงเป็นเรื ่องที ่ไม่<br />

ยุติธรรม<br />

ยิ่งไปกว่านั้น ยังคงมีคนบางกลุ่มเชื ่อว่า ปัญหาสภาพแวดล้อม การเปลี ่ยนแปลงของชั้นบรรยากาศ และการเสื ่อมโทรม<br />

ของระบบนิเวศน์เป็นเพียงเรื ่องหลอกลวงที ่สร้างขึ ้นมาเพื ่อหาช่องทางแสวงหาผลก าไรเท่านั้น เศรษฐกิจสีเขียวจึงเป็นเพียงความ<br />

พยายามที ่จะกดขี ่ควบคุมระบบตลาดเสรีไม่ให้แสวงหาผลประโยชน์สูงสุดส าหรับมนุษย์ ซึ ่งเป็นเจ้าเหนือทุกสิ่งในโลก อย่างไรก็ตาม<br />

ข้อเท็จจริงทางสภาพภูมิอากาศที ่เปลี ่ยนแปลงอย่างฉับพลันและร้ายแรงทั่วโลก และภัยพิบัติทางธรรมชาติอันรุนแรงที ่เกิดขึ ้น<br />

ในช่วงหลายปีที ่ผ่านมานี ้น่าจะเป็นเครื ่องยืนยันได้เป็นอย่างดีถึงความน่าเชื ่อถือ และสภาพปัญหาที ่เกิดขึ ้น “จริง” ในโลก<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับในส่วนของประเทศไทยนั้นเศรษฐกิจสีเขียวยังค่อนข้างได้รับความสนใจในวงจ ากัด ทั้งนี ้ส่วนหนึ ่งเป็นเพราะ<br />

ประเทศไทยนั้นยังคงมีเป้าหมายหลักเพื ่อการพัฒนาอุตสาหกรรมเพื ่อตอบสนองตลาดโลก และตลาดในภูมิภาคมากกว่าการพัฒนา<br />

ด้านการเกษตรกรรม แต่ก็ใช่ว่าภาครัฐเองจะมิได้ให้ความสนใจในกระบวนการพัฒนาเศรษฐกิจที ่ยั่งยืนเลย เพราะในแผนพัฒนา<br />

เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที ่ 11 (พ.ศ. 2555 - 2559) ในส่วนที ่ 3 บทที ่ 6 ว่าด้วยเรื ่อง “ยุทธศาสตร์การปรับตัวทางเศรษฐกิจ<br />

สู ่การเติบโตอย่างมีคุณภาพ และยั่งยืน” นั้นได้ระบุไว้บางส่วนถึงการพัฒนาการเกษตร และการพัฒนาอุตสาหกรรมที ่ “มุ่งการปรับ<br />

โครงสร้างอุตสาหกรรมให้มีคุณภาพและยั ่งยืนด้วยการมุ่งเน้นการใช้ความรู้ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และความคิดสร้างสรรค์ สู ่<br />

อุตสาหกรรมสีเขียวและคาร์บอนต ่าบนฐานความรู้เชิงสร้างสรรค์และเป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม เพื่อการพัฒนาที่สมดุลและยั ่งยืน”<br />

229


แม้ความพยายามจะเป็นเพียงส่วนประกอบเล็กๆ ท่ามกลางยุทธศาสตร์การขยายตัวของอุตสาหกรรม และการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจในระดับมหภาคของไทยก็ตาม แต่ก็เป็นส่วนที ่ช่วยยืนยันได้เป็นอย่างดีว่าแนวคิดเกี ่ยวกับเศรษฐกิจสีเขียวนั้นมีอิทธิพล<br />

อย่างน้อยก็ต่อการวางแนวยุทธศาสตร์การพัฒนาอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมของประเทศอย่างมีนัยส าคัญดังที ่ได้ยกมาใน<br />

ข้างต้น<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

เป้าหมายของเศรษฐกิจสีเขียวแตกต่างกันไปตามค าจ ากัดความ ซึ ่งมองได้ว่าเศรษฐกิจสีเขียวนั้นเป็นส านักเศรษฐศาสตร์<br />

แบบใหม่ที ่ยกให้ระบบนิเวศน์เหนือกว่าก าไรสุทธิหรือเป็นเพียงองค์ประกอบหนึ ่งที ่เพิ่มเข้าไปในแนวคิดเศรษฐศาสตร์ส านักต่างๆ<br />

เช่น เศรษฐศาสตร์ส านักคลาสสิกจะมองว่าธรรมชาติเป็นทุนอย่างหนึ ่ง (natural capital) หรือส านักมาร์กซิสต์มองว่าธรรมชาติเป็น<br />

เหมือนกับชนชั้นกรรมาชีพที ่ถูกกดขี ่จากการแสวงหาประโยชน์ของนายทุน แต่โดยรวมแล้วเศรษฐกิจสีเขียวมีเป้าหมายคือการ<br />

สร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจและการอนุรักษ์ธรรมชาติ ทั้งในแง่การใช้ทรัพยากรที ่มีอย่าง จ ากัด การอนุรักษ์<br />

สิ่งแวดล้อมจากการปนเปื ้อนของมนุษย์ สมดุลของระบบนิเวศน์และความหลากหลายทางธรรมชาติ (และยังรวมไปจนถึงการพัฒนา<br />

สังคมในด้านอื ่นๆ อย่างยั่งยืน เช่น การสร้างโอกาสให้แก่พลเมืองอย่างเท่าเทียมกันมากยิ่งขึ ้นในทุกๆ ด้านด้วยเช่นกัน)<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Corporate Social Responsibility (CSR)’ และ ‘Green Consumerism’<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Green_economy.<br />

Siwei, Cheng. (2011). “Green Economy <strong>and</strong> Its Implementation in China”. In The Green Economy <strong>and</strong> Its Implementation<br />

in China. Singapore: Enrich Professional Publishing.<br />

MNN. Accessed September 30, 2012 from http://www.mnn.com/green-tech/research-innovations/blogs/how-do-youdefine-the-green-economy.<br />

UNEP. Accessed September 30, 2012 from http://www.unep.org/greeneconomy/<br />

AboutGEI/WhatisGEI/ tabid/29784/Default.aspx.<br />

230


GREEN CONSUMERISM<br />

กำรบริโภคสีเขียว<br />

ควำมหมำย<br />

การบริโภคสีเขียว (Green Consumerism) หมายถึงการจับจ่ายและบริโภคสินค้าที ่ได้มาจากกระบวนการผลิตที ่ไม่ท าลาย<br />

สิ่งแวดล้อม สร้างปริมาณขยะในระดับต ่า และอาจน ารายได้ส่วนหนึ ่งไปช่วยเหลือกิจกรรมอนุรักษ์ธรรมชาติ (โปรดดู Green<br />

Economy) โดยผู้บริโภคสีเขียวจะบริโภคสินค้าสีเขียวนี ้และสนับสนุนให้ผู้อื ่นหันมาบริโภคสินค้าเช่นนี ้แทนสินค้าอื ่นๆ ใน<br />

ขณะเดียวกัน ผู้บริโภคกลุ่มนี ้จะปฏิเสธการบริโภค และต่อต้านหรือท าการคว ่าบาตรสินค้าหรือบริษัทที ่ท าการผลิตสินค้าที ่ไม่เป็นสี<br />

เขียว (Ethical Consumerism, n.d.)<br />

อรรถำธิบำย<br />

เมื ่อประเด็นด้านสิ่งแวดล้อมเป็นกระแสที ่ผู้คนหันมาสนใจมากขึ ้น ได้มีการใช้ความเป็นสีเขียวเป็นจุดขายหนึ ่งให้กับสินค้า<br />

และบริการด้วยการน าเสนอบรรจุภัณฑ์ ตรารับรอง หรือค ามั่นสัญญาว่าเป็นสินค้าและบริการที ่ไม่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมหรือมี<br />

น้อยที ่สุดเมื ่อเทียบกับสินค้าคู ่แข่ง<br />

ส าหรับดัชนีที ่จะชี ้วัดว่าสินค้าและบริการใดเป็นสินค้าและบริการสีเขียวที ่จะท าให้การบริโภคเป็นสีเขียวนั้น โปรดดู<br />

‘Green Economy’ และ ‘Green Jobs’<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ในส่วนของประเทศไทย การบริโภคสีเขียวยังคงจ ากัดอยู ่ในวงแคบ และไม่ได้รับความสนใจมากนัก ทั้งนี ้เนื ่องจากสภาพ<br />

รายได้ของคนไทยส่วนใหญ่นั้นน้อยเกินกว่าที ่จะสามารถแบกรับราคา และค่าใช้จ่ายในการบริโภคสีเขียว ซึ ่งสินค้าสีเขียวส่วนใหญ่<br />

ในประเทศไทยมีราคาสูงกว่าราคาสินค้าปกติหลายเท่า ดังนั้นคนไทยส่วนใหญ่ในประเทศจึงยังคงไม่มองการบริโภคสีเขียวว่าเป็น<br />

ทางเลือก และการตัดสินใจที ่สมเหตุสมผลส าหรับพวกเขา ตราบใดที ่ราคา หรือ ค่าใช้จ่ายที ่ต้องจ่ายไปในการบริโภคสีเขียวไม่อยู ่ใน<br />

ระดับที ่ใกล้เคียง หรืออย่างน้อยที ่สุดอยู ่ในระดับที ่เป็นทางเลือกที ่เหมาะสมกับสภาพรายได้ในความเป็นจริง การบริโภคสีเขียวก็จะ<br />

ยังเป็นเพียงประเด็นในการรณรงค์เท่านั้น นอกจากนั้น อาจกล่าวได้ว่า การเข้าถึงสินค้าและการบริการสีเขียวในสังคมไทยก็ยังมีอยู ่<br />

อย่างจ ากัด และพบได้เฉพาะกลุ่มเป้าหมายตามห้างสรรพสินค้าบางแห่งเท่านั้น ไม่ได้แพร่หลายเข้าถึงได้ส าหรับคนทั่วไป<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

การบริโภคสีเขียวเป็นส่วนหนึ ่งของจริยธรรมในการบริโภค ซึ ่งครอบคลุมประเด็นที ่มีผลต่อการตัดสินใจบริโภคโดยอาศัย<br />

จริยธรรมเป็นเครื ่องตัดสิน ประเด็นทางจริยธรรมในการบริโภค เช่น สินค้าและบริการที ่จะบริโภคนั้น ผ่านเกณฑ์จริยธรรมด้าน<br />

สิ่งแวดล้อม มนุษย์ สัตว์ การเมือง และความยั่งยืนหรือไม่ จริยธรรมด้านสิ่งแวดล้อมเกี ่ยวข้องกับการใช้พลังงาน การก่อมลพิษ<br />

และการใช้ทรัพยากร ประเด็นด้านสัตว์เกี ่ยวข้องกับการใช้สัตว์ทดลอง การเลี ้ยงดูสัตว์ที ่ทารุณ สิทธิสัตว์ และประเด็นด้านความ<br />

ยั่งยืนเกี ่ยวข้องกับการเกษตรอินทรีย์ การใช้บรรจุภัณฑ์แต่พอดี และการค้าขายที ่เป็นธรรม เป็นต้น<br />

231


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Corporate Social Responsibility (CSR)’, ‘Green Economy’ และ ‘Green Jobs’<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Ethical_consumerism.<br />

จริยธรรมในการบริโภค. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.ethicalconsumer.org/aboutec/whybuyethically.htm.<br />

232


GREEN JOBS<br />

งำนสีเขียว/ งำนคอปกเขียว<br />

ควำมหมำย<br />

งานสีเขียว (Green Jobs) หรืองานคอปกเขียว (ตั้งให้ล้อกับคอปกขาวและคอปกน ้าเงิน) เป็นส่วนหนึ ่งของแนวคิด<br />

เศรษฐกิจที ่ค านึงถึงสิ่งแวดล้อม (โปรดดู Green Economy) งานสีเขียวคืองานที ่เกี ่ยวข้องโดยตรงกับการอนุรักษ์และฟื ้นฟู<br />

ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม หรือเกี ่ยวข้องทางอ้อมด้วยการไม่สร้างมลพิษให้เกิดการปนเปื ้อนหรือเป็นงานที ่ใช้พลังงาน<br />

สะอาด เป็นต้น (Green Job, n.d.)<br />

อรรถำธิบำย<br />

โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติให้ค าจ ากัดความงานสีเขียวว่า “เป็นงานในภาคเกษตรกรรม การผลิต วิจัยและ<br />

พัฒนา บริหารจัดการ บริการและกิจกรรมซึ ่งส่งเสริมการอนุรักษ์และการฟื ้นฟูธรรมชาติ โดยเฉพาะอย่างยิ่งงานซึ ่งช่วยปกป้อง<br />

ระบบนิเวศน์และความหลากหลายทางชีวภาพ ลดการใช้พลังงาน วัตถุดิบ และการใช้น ้าผ่านการวางยุทธศาสตร์เพื ่อความคุ้มค่า<br />

หยุดการปล่อยก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ในระบบเศรษฐกิจ ลดหรือหยุดการสร้างของเสียและมลพิษ” (โครงการสิ่งแวดล้อมแห่ง<br />

สหประชาชาติ) นอกจากนี ้งานสีเขียวยังจัดเป็นหนึ ่งในบรรดา “งานที ่มีคุณค่า” (decent work) ตามการนิยามที ่เสนอโดยองค์กร<br />

แรงงานระหว่างประเทศ (International Labour Organisation : ILO) อีกด้วย<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ปัจจุบันในประเทศไทย บรรษัทและภาคธุรกิจหลายแห่งได้หันมาให้ความสนใจในเรื ่องงานสีเขียวมากยิ่งขึ ้น โดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งอุตสาหกรรมที ่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมขนาดใหญ่จ าพวกอุตสาหกรรมผลิตกระดาษ หรือ อุตสาหกรรมปูนซีเมนต์<br />

เป็นต้น โดยบริษัทเหล่านี้ได้หันมาแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมด้วยการสร้างงานสีเขียว ไม่ว่าจะเป็นการปลูกต้นไม้ทดแทน<br />

หรือ การตั้งโรงงานที ่สร้างผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมในบริเวณใกล้เคียงให้น้อยที ่สุดเท่าที ่จะท าได้ อย่างไรก็ตาม มีบ่อยครั้งที ่<br />

กิจกรรมเหล่านี ้ได้ถูกกระท าขึ ้นเพื ่อเป็น “พิธีกรรม” อย่างหนึ ่งในการแสดงความรับผิดชอบต่อสังคมมากกว่ามีเป้าหมายเพื ่อสร้าง<br />

งานสีเขียวอย่างจริงจัง ยกตัวอย่างเช่น การจัดกิจกรรมเก็บขยะริมชายทะเลของบริษัทที ่อาจไม่ได้มีที ่ตั้งโรงงานติดชายทะเล หรือ<br />

ไม่ได้ด าเนินกิจกรรมเกี ่ยวข้องกับทะเล เป็นต้น ฉะนั้น กระแสงานสีเขียวในประเทศไทยแม้จะมีพลังที ่ท าให้บรรดาธุรกิจต่างๆ ต้อง<br />

หันมาพิจารณาผลกระทบ และความรับผิดชอบต่อสังคม และสิ่งแวดล้อมมากขึ ้น แต่บางครั้งก็อาจมิได้ช่วยแก้ไขสภาพปัญหาได้อย่าง<br />

จริงจัง และยั่งยืนได้เสมอไป<br />

นโยบายของรัฐบาลไทยที ่มุ่งส่งเสริมอาชีพสีเขียว เช่น สมัยรัฐบาลอภิสิทธิ์เวชชาชีวะ มีนโยบายแรงงานที ่พยายามสร้าง<br />

มาตรฐานการจ้างงาน และระบบประกันสวัสดิการทางสังคมให้กับแรงงาน และสร้างความร่วมมือในการคุ้มครองแรงงานที ่ต้องไป<br />

ท างานในต่างประเทศ ต่อมาในสมัยรัฐบาลนางสาวยิ่งลักษณ์ ชินวัตร ก็ได้มีนโยบายที ่ส่งเสริมอาชีพสีเขียวเช่นกัน คือ การสร้าง<br />

ช่องทางในการเข้าถึงข้อมูลด้านแรงงาน การคุ้มครองสวัสดิภาพและความปลอดภัยของแรงงาน พัฒนาแรงงานที ่ไร้ฝีมือและกึ ่งฝีมือ<br />

233


(non-skilled labor <strong>and</strong> semi-skilled labor) ทั้งในด้านภาครัฐและเอกชน และเตรียมพร้อมส าหรับการเคลื ่อนไหวของแรงงานหลัง<br />

การเปิดประชาคมอาเซียนในปี พ.ศ.2558 (ดูใน http://library.fes.de/pdf-files/bueros/thail<strong>and</strong>/09423.pdf)<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ส านักงานสถิติแรงงานแห่งสหรัฐอเมริกาได้ท าการศึกษาเกี ่ยวกับงานสีเขียวและได้ตีพิมพ์ค าจ ากัดความและการแบ่ง<br />

ประเภทงานสีเขียวอย่างละเอียดในปี พ.ศ.2553 โดยระบุว่างานสีเขียวคือหนึ ่งในงานสองประเภทระหว่างงานในธุรกิจซึ ่งการผลิต<br />

สินค้าหรือการให้บริการส่งผลดีต่อสิ่งแวดล้อมหรืออนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ โดยสินค้าและบริการเหล่านี ้จ าหน่ายให้กับผู้บริโภค<br />

รวมถึงการวิจัยและพัฒนา การติดตั้ง และการบริการบ ารุงรักษา หรืองานที ่คนงานต้องท าใ ห้กระบวนการท างานเป็นมิตรกับ<br />

สิ่งแวดล้อมหรือใช้ทรัพยากรธรรมชาติน้อยลง รวมถึงการใช้และการเผยแพร่ความรู้เกี ่ยวกับเครื ่องมือและวิธีการที ่ลดผลกระทบต่อ<br />

สิ่งแวดล้อม งานทั้งสองประเภทแบ่งออกเป็นห้ากลุ่มที ่จะท าให้งานนั้นเป็นงานสีเขียว ดังนี ้ (ส านักงานจัดพิมพ์แห่งสหรัฐอเมริกา)<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

พลังงานหมุนเวียน การผลิตและการบริการที ่ใช้พลังงานไฟฟ้า ความร้อน หรือเชื ้อเพลิงจากแหล่งที ่หมุนเวียนกลับมา<br />

ใช้ใหม่ได้ เช่น ลม ไบโอดีเซล ความร้อนใต้พิภพ แสงอาทิตย์ มหาสมุทร น ้า ก๊าซจากบ่อขยะและของเสีย<br />

พลังงานคุ้มค่า การผลิตและการบริการที ่ใช้พลังงานอย่างประหยัดและคุ้มค่า ทั้งอุปกรณ์ ยานพาหนะ อาคาร และตัว<br />

สินค้าและบริการเองที ่ส่งเสริมการใช้พลังงานอย่างคุ้มค่า<br />

ลดมลพิษ กระบวนการผลิตและการบริการลดการท าลายมลพิษ การบ าบัดน ้าเสีย ลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจก มีการ<br />

ลดปริมาณขยะและของเสีย การน ากลับมาใช้ใหม่และการรีไซเคิล<br />

อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ การผลิตและการบริการที ่ใช้อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ รวมถึงเกษตรอินทรีย์ การปลูก<br />

ป่าทดแทนในอุตสาหกรรมป่าไม้ การจัดการทรัพยากรน ้า ดิน และการอนุรักษ์สัตว์ป่า<br />

ให้ความรู้ การผลิตและการบริการที ่ให้ความรู้ การศึกษา จัดการอบรม สร้างจิตส านึกให้สังคมตระหนักถึงความส าคัญ<br />

และปัญหาสิ่งแวดล้อม รวมถึงกิจกรรมทางการเมืองที ่มุ่งเน้นนโยบายรักษาสิ่งแวดล้อม<br />

ดูเพิ่มใน ‘Corporate Social Responsibility (CSR)’ และ ‘Green Economy’<br />

วิกิพีเดีย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Green_job.<br />

ส านักงานจัดพิมพ์แห่งสหรัฐอเมริกา. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.gpo.gov/fdsys/pkg/FR-2010-09-<br />

21/html/2010-23485.htm.<br />

โครงการสิ่งแวดล้อมแห่งสหประชาชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.mnn.com/eco-glossary/green-jobs.<br />

234


INCOME DISTRIBUTION<br />

กำรกระจำยรำยได้<br />

ควำมหมำย<br />

การกระจายรายได้ (Income Distribution) หมายถึงการแบ่งสันปันส่วนผลผลิตมวลรวมของประเทศ (GDP) ในหมู ่<br />

ประชากรของประเทศ โดยใช้เป็นปัจจัยชี ้วัดความเท่าเทียมทางสังคม ความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจ และการพัฒนาเศรษฐกิจอย่าง<br />

สมดุล (Income Distribution, n.d.)<br />

อรรถำธิบำย<br />

การกระจายรายได้เป็นดัชนีตัวหนึ ่งที ่ใช้ในการวัดค่าความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจ ซึ ่งมิใช่เรื ่องเดียวกันกับความยากจน<br />

(โปรดดู Poverty Line) ความไม่เท่าเทียมในเชิงเศรษฐกิจที ่วัดโดยใช้การกระจายรายได้นั้นจะดูจากการแบ่งสันปันส่วนผลผลิตมวล<br />

รวมของประเทศโดยแบ่งประชาชนออกเป็นส่วนๆ แล้วดูว่าประชาชนส่วนที ่ได้รับรายได้สูงสุดนั้นได้รับรายได้มากกว่าประชาชน<br />

ส่วนที ่ได้รับรายได้น้อยที ่สุดเท่าไร แล้วคิดออกมาเป็นสัดส่วนที ่บ่งชี ้ความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจ (Income Inequality Metrics,<br />

n.d.)<br />

ดังนั้น แม้จะมีความไม่เท่าเทียมทางเศรษฐกิจก็มิได้หมายความว่าจะมีความยากจน เพราะประชาชนส่วนที ่มีรายได้น้อย<br />

ที ่สุดอาจจะมีรายได้เหนือเส้นความยากจน หรือแม้แต่มีชีวิตความเป็นอยู ่ที ่ดีก็ได้ เพียงแต่มีรายได้น้อยกว่าประชาชนที ่มีรายได้มาก<br />

ที ่สุดของประเทศอย่างมากเท่านั้น โดยวิธีการคิดค านวณเช่นนี ้อาจมิได้ค านึงถึง หรือ ละเลยสิ่งที ่เรียกว่า “ช่องว่างระหว่างรายได้”<br />

อันเกิดมาจากการกระจายรายได้ที ่ไม่เท่าเทียมกัน ซึ ่งท าให้ความแตกต่างระหว่างผู้ที ่มีรายได้มากที ่สุด กับผู้ที ่มีรายได้น้อยที ่สุด<br />

ของประเทศไทยมีความแตกต่างกันหลายเท่า เพราะประเทศที ่ประชากรส่วนใหญ่อยู ่เหนือระดับเส้นความยากจนก็อาจเป็นประเทศ<br />

ที ่มีช่องว่างในการกระจายรายได้สูงหลายสิบเท่าได้ด้วยเช่นกัน<br />

วิธีที ่นิยมใช้กันในการวัดการกระจายรายได้คือค่าสัมประสิทธิ์จีนี (Gini Coefficient) ซึ ่งเป็นวิธีวัดการกระจายทางสถิติวิธี<br />

หนึ ่ง ค่านี ้จะบ่งชี ้การกระจายรายได้โดยคิดออกมาเป็นอัตราส่วนการกระจายรายได้ระหว่าง 0 กับ 1 “0” หมายถึงประชากรทั้งหมด<br />

มีรายได้เท่าเทียมกันอย่างแท้จริง และ “1” หมายถึงการเหลื ่อมล ้าสมบูรณ์แบบซึ ่งมีบุคคลเพียงคนเดียวมีรายได้ทั้งหมดขณะที ่คนที ่<br />

เหลือไม่มีรายได้เลย (องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ) สัมประสิทธิ์จีนีจะถูกเปลี ่ยนเป็นร้อยละเพื ่อคิดเป็นดัชนีจีนี<br />

ส าหรับวัดการกระจายรายได้ เช่น ประเทศเยอรมนีมีสัมประสิทธิ์จีนีจากการกระจายรายได้เท่ากับ 0.283 ดัชนีจีนีของเยอรมนีจะ<br />

เท่ากับร้อยละ 28.3<br />

ดัชนีจีนี จะท าการชี ้วัดการกระจายรายได้เพื ่อวัดความเท่าเทียมทางเศรษฐกิจของทั้งประเทศ ส่วนอัตราส่วนคนรวยคนจน<br />

ที ่แบ่งประชาชนออกเป็นกลุ่มๆ นั้นจะให้ข้อมูลของความแตกต่างระหว่างคนที ่มีรายได้มากที ่สุดกับคนที ่มีรายได้น้อยที ่สุด ว่าความ<br />

ไม่เท่าเทียมมีความรุนแรงเพียงใด (โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ) รูปภาพแก้วแชมเปญด้านล่าง แสดงให้เห็นปัญหาการ<br />

กระจายรายได้และการถือครองทรัพยากรของประชากรโลกที ่ไม่เป็นธรรม กล่าวคือ คนรวยที ่สุด 20 เปอร์เซ็นต์ของโลกถือครอง<br />

235


ทรัพยากรกว่า 82 เปอร์เซ็นต์ ในขณะที ่ คนจนที ่สุด 20 เปอร์เซ็นต์ มีส่วนแบ่งในด้านรายได้และทรัพยากรเพียง 1.4 เปอร์เซ็นต์<br />

เท่านั้น ภาพแก้วแชมเปนปากกว้างและก้านเรียวเล็ก สะท้อนความไม่สมดุลในการกระจายรายได้ของประชากรโลกได้เป็นอย่างดี<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ดัชนีจีนีของประเทศไทย ซึ ่งจัดท าโดยสหประชาชาติในปี ค.ศ.2013 อยู ่ที ่ 0.4 ส่วนส านักงานข่าวกรองกลางสหรัฐอเมริกา<br />

ให้ค่าในปีเดียวกันไว้ที ่ 0.536 (ส านักข่าวกรองกลาง) ทั้งนี ้ค่าความเหลื ่อมล ้าในการกระจายรายได้ของประเทศ ถูกตั้งไว้ตั้งแต่ 0<br />

ถึง 1 โดยยิ่งมีค่าเพิ่มจาก 0 มากเท่าไหร่ก็ยิ่งแสดงให้เห็นถึงความเหลื ่อมล ้าในการกระจายรายได้มากเท่านั้น<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ปัจจัยจ านวนมากสามารถก่อให้เกิดความไม่เท่าเทียมของรายได้ ตั้งแต่โครงสร้างทางสังคม เพศ เชื ้อชาติ วัฒนธรรม<br />

การศึกษา ทักษะของแรงงาน จนถึงนโยบายของภาครัฐ อย่างนโยบายด้านภาษี นโยบายเศรษฐกิจ นโยบายแรงงาน นโยบาย<br />

การเงิน รวมถึงระบบเศรษฐกิจ เทคโนโลยีและระบบอัตโนมัติในการผลิต จนถึงอิทธิพลจากโลกาภิวัตน์ แต่โดยพื ้นฐานแล้วการ<br />

กระจายรายได้ที ่ไม่เท่าเทียมกันนั้นมีสาเหตุมาจากธรรมชาติของการสั่งสมต้นทุนทางเศรษฐกิจของผู้เข้าแข่งขันในระบบตลาดเสรีที ่<br />

236


จะได้เปรียบผู้ที ่มีต้นทุนทางเศรษฐกิจที ่น้อยกว่าอยู ่แล้ว ปัจจัยอื ่นๆ จึงเป็นเพียงตัวเร่ง และขยายความไม่เท่าเทียมดังกล่าวนี ้ให้<br />

มากและรุนแรงมากยิ่งขึ ้นไปเท่านั้น ส าหรับประเทศไทยนั้น สาเหตุส าคัญที ่กระตุ้นให้ความไม่เท่าเทียมดังกล่าวนี ้ทวีความรุนแรง<br />

มากยิ่งขึ ้นก็คือ ความไม่เท่าเทียมในโอกาสทางการศึกษา ซึ ่งส่งผลให้ประชากรส่วนใหญ่ต้องกลายเป็นประชาชนผู้มีรายได้ต ่า และ<br />

มีโอกาสเข้าสู ่ระบบเศรษฐกิจขนาดใหญ่เพื ่อแสวงหาความมั่งคั่ง และความเจริญก้าวหน้าทางเศรษฐกิจได้น้อยกว่าคนอื ่นๆ แม้<br />

รัฐบาลจะพยายามแก้ไขปัญหาด้วยการจัดให้มีการศึกษาภาคบังคับ และโครงการค่าเรียนฟรีแล้วก็ตาม แต่ด้วยข้อจ ากัดทาง<br />

เศรษฐกิจของครอบครัวที ่บีบบังคับ ท าให้ผู้คนเหล่านี ้ท้ายที ่สุดต้องผันตัวมาเป็นแรงงานรับจ้างที ่มีรายได้ต ่าปัญหาที ่ว่านี ้ถูกส่ง<br />

ต่อไปยังบุตรหลานรุ่นต่อๆ ไปของพวกเขา ในขณะที ่ผู้มีรายได้สูงก็จะสามารถเข้าถึงและขยับขยายโอกาสในการแสวงหาความมั่ง<br />

คั่งทางเศรษฐกิจได้อยู ่เสมอ และส่งต่อโอกาสที ่ว่านี ้ไปยังลูกหลานได้ด้วยเช่นกัน ความแตกต่างในโอกาสทางการศึกษาผลิตซ ้า<br />

ความเหลื ่อมล ้าดังกล่าวนี ้ให้ห่างมากขึ ้นเรื ่อยๆ หลายคนมองว่าความเหลื ่อมล ้าที ่ถูกผลิตซ ้าส่วนหนึ ่งเพราะรัฐไม่มีการจัดเก็บภาษี<br />

ที ่ดิน และภาษีมรดก ในอัตราก้าวหน้า หากสามารถบังคับใช้กฎหมายภาษีทั้งสองประเภทได้ ช่องว่างในการถือครองทรัพย์สินคือ<br />

ที ่ดิน และการส่งต่อความมั่งคั่งคือมรดก ก็จะลดลงจากเดิม และจะสามารถตอบโจทย์ที ่เป็นพื ้นฐานส าคัญของปัญหาการกระจาย<br />

รายได้ของประเทศไทยได้เป็นอย่างดี<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ธนาคารโลก. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://data.worldbank.org/indicator/<br />

SI.POV.GINI/.<br />

วิกิพีเดีย 1. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Income_<br />

distribution.<br />

วิกิพีเดีย 2. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Income_<br />

inequality_metrics.<br />

โครงการพัฒนาแห่งสหประชาชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://hdr.undp.org/en/<br />

media/HDR_2009_EN_ Complete.pdf. และ http://hdr.undp.org/en/media/<br />

HDR_20072008_ EN_Complete.pdf.<br />

ส านักข่าวกรองกลาง. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.cia.gov/library/<br />

publications/the-world-factbook/fields/2172.html.<br />

องค์การอาหารและเกษตรแห่งสหประชาชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.fao.org/docs/up/easypol/329/gini_index_040en.pdf.<br />

237


MICRO–FINANCE<br />

ระบบกำรเงินในระดับจุลภำค<br />

ควำมหมำย<br />

ระบบการเงินในระดับจุลภาค หรือ ไมโครไฟแนนซ์ (Micro- Finance) หมายถึงระบบการเงินที่เน้นการปล่อยสินเชื ่อ<br />

จ านวนเล็กๆ (micro credit) ให้แก่คนที ่ไม่มีงานท า และคนยากจนผู้ซึ ่งไม่มีโอกาสเข้าถึงสินเชื ่อในรูปแบบปกติผ่านทางสถาบัน<br />

ทางการเงินรายย่อยๆ ที ่อาจจัดท าขึ ้นเองโดยความร่วมมือของชุมชน (สถาบันไมโครไฟแนนซ์) เพื ่อให้ประชาชนทั่วไปโดยเฉพาะ<br />

อย่างยิ่งคนยากจนในชุมชนนั้นมีโอกาสเข้าถึงแหล่งเงินทุนที ่มีดอกเบี ้ยในราคาตลาดหรือต ่ากว่า และไม่มีการเรียกร้องหลักทรัพย์<br />

ใดๆ เป็นการค ้าประกันในการกู้ยืม ระบบการเงินในระดับจุลภาคถือก าเนิดและออกแบบมาเพื ่อช่วยเหลือผู้ยากไร้ที ่โดยสภาวะปกติ<br />

ไม่สามารถเข้าถึงระบบการกู้เงินจากสถาบันทางการเงินขนาดใหญ่ที ่มีกฎเกณฑ์ กติกาตามระบบทุนนิยมเสรี เพราะมีเงื ่อนไขและ<br />

ข้อจ ากัดต่างๆ ที ่สถาบันการเงินเหล่านั้นได้ก าหนดขึ ้นเพื ่อเป็นมาตรการป้องกันตนเองจากการขาดทุน (ขาดทุนก าไร) (Yunus,<br />

2007: 49)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดเรื ่องระบบการเงิน สินเชื ่อ ตลอดจนสถาบันทางการเงินในระดับจุลภาคนั้นเกิดขึ ้นครั้งแรกโดยนายโมฮัมหมัด ยู<br />

นุส (Muhammad Yunus or মুহাম্মদ ইউনুস) ศาสตราจารย์ด้านเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศ ซึ ่งเป็นอาจารย์ประจ าคณะ<br />

เศรษฐศาสตร์ของมหาวิทยาลัยจิตตะกอง (University of Chittagong) โดยในระหว่างชีวิตการเรียนการสอนในมหาวิทยาลัยนี ่เองที ่<br />

ท าให้ ยูนุสได้มีโอกาสเข้าไปลงพื ้นที ่ศึกษาประเด็นปัญหาเกี ่ยวกับความยากจนในชุมชนเล็กๆ แออัดแห่งหนึ ่ง ใกล้ๆ กับ<br />

มหาวิทยาลัยในช่วงเวลาที ่เกิดสภาวะข้าวยากหมากแพงของบังกลาเทศในปี ค.ศ. 1974 (Bangladesh famine of 1974) ซึ ่งการลง<br />

พื ้นที ่ในครั้งนั้นได้ท าให้ยูนุสพบว่า การได้รับสินเชื ่อแม้เพียงก้อนเล็กๆ ส าหรับคนยากคนจนนั้นสามารถสร้างความเปลี ่ยนแปลง<br />

ให้แก่ชีวิตของพวกเขาได้อย่างมากมาย โดยยูนุสได้ควักเงินในกระเป๋าตัวเองมอบให้เป็นสินเชื ่อให้จ านวนรวมกันทั้งสิ ้น 27 เหรียญ<br />

(ประมาณหนึ ่งพันบาท) ให้แก่ผู้หญิงในชุมชนนั้นจ านวน 42 คน ซึ ่งภายหลังพบว่าการได้รับสินเชื ่อในครั้งนั้นได้ท าให้รายได้ของคน<br />

เหล่านั้นเพิ่มขึ ้นโดยเฉลี ่ยคนละกว่า 0.02 เหรียญจากการได้รับเงินสินเชื ่อในครั้งนั้น (Yunus, 2007: 44-48) ซึ ่งจากผลการสังเกต<br />

ดังกล่าวของยูนุสได้ท าให้เขาฉุกคิดได้ว่า หากมีธนาคารที ่ท าหน้าที ่ปล่อยสินเชื ่อก้อนเล็กๆ ให้แก่คนยากคนจนที ่ไม่มีโอกาสได้รับ<br />

สินเชื ่อในสถาบันทางการเงินปกติแล้วนั้น นอกจากจะท าให้พวกเขามีชีวิต และความเป็นอยู ่ที ่ดีขึ ้นกว่าเดิมแล้ว ในระดับมหภาคยัง<br />

สามารถช่วยเพิ่มศักยภาพในการแข่งขันของบังกลาเทศได้อีกด้วย<br />

จากแนวคิดดังกล่าวนี ้ ท าให้เขาได้ริเริ่มก่อตั้งธนาคารเพื ่อคนยากคนจน ซึ ่งภายหลังได้รับชื ่อว่า ธนาคารกรามีน<br />

(Grameen bank หรือ গ্রামীণ বাাংক) ที ่เน้นปล่อยสินเชื ่อขนาดเล็กให้แก่คนยากคนจนตามแนวคิดของยูนุส โดยแนวคิดและ<br />

หลักการด าเนินงานของธนาคารกรามีน ท าให้ยูนุส และแนวคิดของเขามีชื ่อเสียงไปทั่วโลก ในปี ค.ศ. 2006 ยูนุส และธนาคาร<br />

กรามีนในฐานะ “นายธนาคาร และธนาคารขวัญใจคนยากคนจน” ได้รับรางวัลโนเบลในฐานะที ่ได้พยายามสร้างเสริมการพัฒนา<br />

ทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมจากเบื ้องล่าง<br />

(http://www.nobelprize.org/nobel_ prizes/peace/ laureates/2006/press.html)<br />

238


ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับในประเทศไทย แนวคิดเรื ่องไมโครไฟแนนซ์ที ่มีต้นแบบมาจากธนาคารกรามีนของยูนุสนั้นได้เข้ามามีอิทธิพลใน<br />

เชิงนโยบายสาธารณะที ่ภาครัฐให้การสนับสนุนและช่วยเหลือมาโดยตลอด ดังจะเห็นได้จากการจัดให้มีหน่วยงานอย่างธนาคารออม<br />

สิน ธนาคารเพื ่อการเกษตรและสหกรณ์ (ธกส.) และโครงการเงินล้าน (หรือกองทุนเงินล้าน) เพื ่อเป็นตัวช่วยให้แก่ประชาชน<br />

โดยเฉพาะเกษตรกรซึ ่งเป็นประชากรส่วนใหญ่ของประเทศนั้นมีรายได้ หรือ แหล่งเงินทุนที ่เพียงพอในการประกอบอาชีพ และ<br />

น าไปใช้พัฒนาคุณภาพชีวิตความเป็นอยู ่ให้ดีขึ ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งโครงการกองทุนเงินล้าน ซึ ่งเป็นโครงการต่อเนื ่องจากนโยบาย<br />

กองทุนหมู ่บ้านของรัฐบาลที ่จะจัดสรรเงินให้แก่หมู ่บ้านต่างๆ ทั่วประเทศไทย หมู ่บ้านละหนึ ่งล้านบาท ซึ ่งเงินในจ านวนนี ้ในมุม<br />

หนึ ่งแม้จะถูกวิพากษ์วิจารณ์จากฝ่ายที ่ไม่เห็นด้วยว่าเป็นการท าให้ชาวบ้านมีหนี ้สินเพิ่ม และน าเงินที ่ได้มาจับจ่ายใช้สอยฟุ่มเฟือย<br />

เกินจ าเป็น แต่หากพิจารณาให้ดีแล้ว กลับพบว่าเงินในส่วนนี ้นอกจากจะสามารถแบ่งเบาภาระในส่วนของต้นทุนในการประกอบ<br />

อาชีพของเกษตรกรได้แล้ว ยังสามารถช่วยให้พวกเขาไม่ต้องหันไปกู้ยืมจากผู้ปล่อยเงินกู้นอกระบบได้อีกด้วย แต่ทว่าการที ่<br />

สถาบันทางการเงินระดับจุลภาคเหล่านี ้ขึ ้นตรงต่อหน่วยงานของรัฐ เป็นการเปิดโอกาสให้มีการทุจริต และเอื ้อผลประโยชน์ให้<br />

ผู้เกี ่ยวข้องได้ง่าย ซึ ่งจุดนี ้เองที ่ท าให้สถาบันระดับจุลภาคของไทยแตกต่างจากธนาคารกรามีนของยูนุสที ่ด าเนินงานแบบเอกชน<br />

ปราศจากการแทรกแซงของรัฐ และปล่อยให้กลไกตลาดเป็นตัวขับเคลื ่อนกิจกรรมทางเศรษฐกิจของธนาคารแทน<br />

“ไมโครไฟแนนซ์ในประเทศไทย” มีการจัดท าเว็บไซด์ www.microfinancethail<strong>and</strong>.com เพื ่อประชาสัมพันธ์ไมโครเครดิต<br />

ให้เป็นที ่รู้จัก โดยความหวังของผู้จัดท าเว็บไซด์ดังกล่าวก็เพื ่อก่อให้เกิดการแลกเปลี ่ยนข้อมูล และประสบการณ์ของผู้ด าเนินการ<br />

ไมโครเครดิต หรือไมโครไฟแนนซ์ต่างๆ (ซึ ่งส่วนใหญ่จะเป็นหน่วยงาน และองค์กรภาครัฐ) เพื ่อพัฒนาโครงการ และการบริการ<br />

ลูกค้า องค์กรเอ็นจีโอ (NGOs) บางองค์กรที ่เข้ามามีบทบาทในการสนับสนุนแนวคิดเรื ่องไมโครไฟแนนซ์ เช่น คอมเพชชั่น ไทย<br />

แลนด์ หรือ มูลนิธิศุภนิมิต เป็นต้น<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

โดยพื ้นฐานแล้วธนาคารกรามีนท างานอยู ่บนหลักการที ่ว่าระบบการเงิน หรือ ธุรกิจนั้นควรจะรับใช้สังคม ดังนั้น การให้<br />

สินเชื ่อแก่คนยากคนจนที ่ไม่มีโอกาสเข้าถึงได้ในระบบการเงินปกติจึงเป็นสิ่งส าคัญอย่างยิ่ง โดยในการนี ้การปล่อยสินเชื ่อก้อนเล็กๆ<br />

ให้แก่บุคคล ยืนอยู ่บนหลักการส าคัญสองประการ ประการแรกคือ อัตราดอกเบี ้ยที ่เก็บจากการขอสินเชื ่อนั้นจะต้องเป็นไปตาม<br />

ราคาตลาด นั่นก็คืออัตราดอกเบี ้ยที ่ต ่า และประการที ่สองคือ การขอสินเชื ่อนั้นจะต้องไม่มีการกีดกันด้วยการเรียกร้องให้มีการยื ่น<br />

หลักทรัพย์เพื ่อค ้าประกัน ซึ ่งจะช่วยท าให้คนในระดับล่างสามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ง่ายขึ ้น เงินจ านวนดังกล่าวนี ้พวกเขา<br />

สามารถน าไปใช้ในการลงทุน หรือ พัฒนาคุณภาพชีวิตของพวกเขาต่อไป โดยจุดเด่นของแนวคิดนี ้คือการละทิ ้งสิ่งที ่เรียกว่า<br />

“เครดิต” อันหมายถึงหลักทรัพย์ค ้าประกัน มาแสวงหาสิ่งที ่เรียกว่า ไมโครเครดิต (Microcredit) หรือสิ่งค ้าประกันอย่างอื ่น เช่น<br />

คุณค่าของความเป็นมนุษย์ ศักดิ์ศรี และความไว้เนื ้อเชื ่อใจแทนที ่หลักทรัพย์ในแบบเดิมนั่นเอง (แฟ้มบุคคลส าคัญมุสลิม)<br />

นอกเหนือไปจากการรับใช้สังคมทางด้านเศรษฐกิจและการเงินแล้ว ธนาคารกรามีน ยังส่งเสริมการพัฒนาคุณภาพชีวิต<br />

ของคนในสังคมควบคู ่ไปพร้อมๆ กับศักยภาพทางเศรษฐกิจอีกด้วย ดังสะท้อนจากหลักสิบหกประการ (sixteen decisions) ที ่<br />

ธนาคารกรามีนร้องขอให้ผู้ที ่มาขอกู้ยืมสินเชื ่อนั้นต้องปฏิบัติตามอย่างเคร่งครัด โดยหลักการที ่ว่านั้นประกอบด้วย<br />

239


1) ธนาคารกรามีนตั้งอยู ่บนหลักการพื ้นฐานสี ่อย่าง คือ ระเบียบวินัย (discipline) เอกภาพ (unity) ความหาญกล้า<br />

(courage) และการท างานหนัก (hard work)<br />

2) เราจะน าความมั่งคั่งมาสู ่ครอบครัวของเรา<br />

3) เราจะไม่อาศัยอยู ่ในบ้านที ่ช ารุดทรุดโทรม และเราจะท าการบูรณะ และซ่อมแซมที ่พักอาศัยของเราให้เร็วที ่สุดเท่าที ่จะ<br />

เป็นไปได้<br />

4) เราจะปลูกพืชผักสวนครัวส าหรับทุกฤดูกาลเพื ่อใช้บริโภค และส่วนเกินที ่เหลือนั้นจึงน าไปขาย<br />

5) ในฤดูเพาะปลูกนั้นเราจะปลูกพืชให้มากที ่สุดเท่าที ่จะสามารถกระท าได้<br />

6) เราจะวางแผนให้ครอบครัวของเรานั้นมีขนาดเล็ก ลดค่าใช้จ่ายในครัวเรือน และดูแลรักษาสุขภาพของกันและกัน<br />

7) เราจะให้การศึกษาแก่บุตรหลาน และมั่นใจได้ว่าพวกเขาจะมีรายได้ที ่เพียงพอส าหรับการศึกษาของพวกเขา<br />

8) เราจะดูแลให้สภาพแวดล้อม และบุตรหลานภายในบ้านของเรานั้นสะอาด<br />

9) เราจะสร้าง และใช้สุขาหลุม (pit latrines)<br />

10) เราจะต้มน ้าให้เดือด หรือ ใช้สารส้มแกว่งก่อนจะบริโภค<br />

11) เราจะไม่รับสินสอดจากฝ่ายหญิง (dowry) และจะไม่สนับสนุนให้มีการแต่งงานในวัยเด็ก<br />

12) เราจะไม่กระท าการอยุติธรรมแก่ผู้อื ่น และในขณะเดียวกันเราก็จะไม่ยอมให้ผู้ใดกระท าการเช่นนั้นแก่ผู้อื ่น<br />

13) พวกเราจะลงทุนเพิ่มขึ ้นอย่างเป็นกลุ่มไปพร้อมๆ กัน เพื ่อให้ได้รายได้ที ่มากขึ ้น<br />

14) เราต้องพร้อมที ่จะช่วยเหลือผู้อื ่น ถ้ามีคนใดคนหนึ ่งตกอยู ่ในภาวะยากล าบาก พวกเราทั้งหมดที ่เหลือจะต้องเข้าไป<br />

ช่วย<br />

15) ถ้าเราทราบว่ามีการละเมิดระเบียบขึ ้นที ่ใด พวกเราจะต้องช่วยกันไปที ่แห่งนั้น และธ ารงไว้ซึ ่งกฎระเบียบดังกล่าวนี ้<br />

16) พวกเราจะต้องมีส่วนร่วมในกิจกรรมเพื ่อสังคมส่วนรวม (Yunus, 2007: 58-59)<br />

ดูเพิ่มใน ‘Corporate Social Responsibility (CSR)’ และ ‘Business Ethics’<br />

240


เอกสำรอ้ำงอิง<br />

Yunus, Muhammad (2007). Creating a world without poverty: social business <strong>and</strong> the future of capitalism. New York:<br />

Public Affairs.<br />

ไมโครไฟแนนซ์ในประเทศไทย. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.microfinancethail<strong>and</strong>.com/th/faqs.htm#faqth-1.<br />

แฟ้มบุคคลส าคัญมุสลิม. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://muslimjourney.com/important_read.php?q=person_<br />

world&nid=4.<br />

241


PHILANTHROPY<br />

กำรท ำกิจกรรมเพื่อเพื่อนมนุษย์<br />

ควำมหมำย<br />

การท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ (Philanthropy) เป็นค าที ่ใช้เรียกการรวมตัวของบุคคลหรือกลุ่มบริษัทในภาคเอกชนที ่เข้า<br />

มาท ากิจกรรมสาธารณะ ท าประโยชน์เพื ่อสังคม และพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในสังคม ซึ ่งโดยส่วนใหญ่จะได้รับการสนับสนุน<br />

ทางทรัพยากรจากองค์กรพัฒนาเอกชน การรวมกลุ่มท ากิจกรรมดังกล่าวอยู ่บนความคิดที ่ว่า “มนุษย์” เป็นสาระส าคัญของการ<br />

ด ารงอยู ่ของสังคม กิจกรรมต่างๆ ในสังคมไม่สามารถด าเนินไปได้ถ้าเพื ่อนมนุษย์คนอื ่นยังมีคุณภาพชีวิตที ่ต ่า ด้วยเหตุนี ้การ<br />

รวมตัวท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์จึงออกมาในรูปแบบขององค์กรการกุศล การสมทบทุนพัฒนาชนบท การให้ทุนการศึกษาโดย<br />

หน่วยงานเอกชน เป็นต้น การท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์จึงเป็นรูปแบบการจัดองค์กรแบบใหม่ที ่ไม่ใช่ “ธุรกิจ” (business) ที ่เน้น<br />

ผลก าไรและความอยู ่รอดขององค์กรเพียงอย่างเดียว และไม่ใช่ “รัฐบาล” ที ่แม้จะมีนโยบายเพื ่อผลประโยชน์สาธารณะ แต่ยังคงอยู ่<br />

ภายใต้กฎระเบียบ ข้อบังคับที ่ชัดเจนแบบบนลงล่าง ทั้งนี ้ การท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ (Philanthropy) สามารถน าไปใช้กับ<br />

ระดับสังคมขนาดใหญ่ องค์การระหว่างประเทศ องค์กร บริษัท ไปจนถึงระดับปัจเจกบุคคลก็ได้ (การให้เพื ่อสังคม, ม.ป.ป.)<br />

อรรถำธิบำย<br />

ค าว่า Philanthropy มาจากภาษากรีกว่า philanthropos ซึ ่งเป็นการผสมค าระหว่างค าว่า philos หมายถึงความรัก และค า<br />

ว่า anthropos หมายถึงความเป็นมนุษย์ (human being, humanity) เมื ่อรวมกันแล้วค าว่า Philanthropy จะหมายถึงความรักให้กับ<br />

เพื ่อนมนุษย์ หรือกล่าวให้กว้างกว่านั้นคือความรักของมนุษย์ที ่มีให้กับเพื ่อนมนุษย์คนอื ่น การกระท าเพื ่อเพื ่อนมนุษย์จึงมุ่งหวังให้<br />

มนุษย์คนอื ่นมีคุณภาพชีวิตที ่ดีขึ ้น และไม่มุ่งแสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัวหรือก าไรจากการท ากิจกรรมดังกล่าว โดยเมื ่อเพื ่อน<br />

มนุษย์คนอื ่นมีคุณภาพชีวิตที ่ดียิ่งขึ ้น กลุ่มบุคคลที ่ท ากิจกรรมดังกล่าวก็จะได้รับประโยชน์จากสภาพสังคมที ่ดีและเอื ้อเฟื ้อเผื ่อแผ่<br />

มากยิ่งขึ ้น ในบริบทสังคมตะวันตกค าดังกล่าวใช้เรียกการที ่ นักแสดง นักร้องที ่มีชื ่อเสียง ตลอดจนกลุ่มพ่อค้าหรือผู้มีฐานะ เป็น<br />

ผู้น าในการบริจาค ระดมทุนจากผลก าไรในธุรกิจของตน จัดตั้งเป็นองค์กร สมาคม มูลนิธิเพื ่อให้การช่วยเหลือผู้ด้อยโอกาส องค์กร<br />

ศาสนาและโบสถ์ของชาวคริสต์ ก็เป็นองค์กรกลางในการจัดตั้งระดมทุนเพื ่อรับบริจาค และน าเอาทุนดังกล่าวไปช่วยเหลือผู้<br />

เดือดร้อนและชุมชน<br />

ตัวอย่างของการท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ในตะวันตก เช่น องค์กรสื ่อบันทึกเหตุการณ์เพื ่อสังคม (The Chronicle of<br />

Philanthropy) ที ่มีเว็บไซต์ประสานงานคือ www.philanthropy.com เป็นองค์กรแหล่งข่าวที ่มีทั้งฉบับหนังสือพิมพ์และออนไลน์<br />

ส าหรับกิจกรรมที ่ไม่มุ่งแสวงหาก าไรและกองทุนเพื ่อสังคม ในการเป็นจุดเชื ่อมโยงโลกของกิจกรรมที ่ไม่มุ่งแสวงหาก าไร ทั้งในด้าน<br />

ข่าวสาร กิจกรรม และความคิด หรือ อีกตัวอย่างหนึ ่งคือ มูลนิธิร็อกเกอะเฟลเลอร์ (Rockefeller Foundation) ที ่เป็นกองทุนขนาด<br />

ใหญ่ในด้านการบริการสังคม และให้ทุนการศึกษาแก่ผู้ด้อยโอกาส เป็นต้น<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

242


ส าหรับการนิยามในประเทศไทย ค าว่า Philanthropy ยังไม่มีค าแปลที ่เฉพาะเจาะจง แต่อาจจะแปลเพื ่อสื ่อความหมายถึง<br />

การท าเพื ่อสังคม การให้เพื ่อสังคม หรือกิจกรรมสาธารณะประโยชน์ สังคมไทยมีค าที ่คล้ายคลึงกันที ่เรียกว่า การท าบุญท าทาน<br />

(Merit-Making) จึงมีนัยที ่เชื ่อมโยงกับพุทธศาสนาที ่หมายถึง การท าให้ตัวตนลดความตระหนี ่ เมื ่อบุคคลได้บริจาคเป็นทานวัตถุ<br />

เพื ่อก าจัดความโลภ ความโกรธ ความหลง บริจาคเป็นอภัยทาน และธรรมทาน การให้ในลักษณะนี ้จึงเป็นการให้ที ่มีมิติที ่<br />

หลากหลาย ทั้งในแง่ประโยชน์ตนเอง และสร้างประโยชน์ให้แก่ผู้อื ่นซึ ่งเป็นผู้ที ่ได้รับทานจากเรา การท าทานจึงมีลักษณะของการ<br />

ท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์คนอื ่นๆ เช่นกัน<br />

ในเชิงปฏิบัติแล้ว ค าว่า Philanthropy ถูกนิยามว่าเป็น “การให้เพื ่อสังคม” ภายใต้โครงการส่งเสริมการให้เพื ่อสังคม มี<br />

เว็บไซต์ประสานงานคือ http://www.give2all.com/ ในการให้ข่าวสารความเคลื ่อนไหวเกี ่ยวกับกิจกรรมเพื ่อสังคมต่างๆ โดยยึด<br />

หลักของพระเจ้าอยู ่หัวที ่ทรงมีพระราชด ารัสว่า “...รู้ไหมบ้านเมืองอยู ่รอดมาได้ทุกวันนี ้ เพราะอะไร เพราะคนไทยเรายังให้กันอยู ่<br />

ยังช่วยเหลือกัน เวลาเกิดทุกข์ยากที ่ไหน ทุกคนรวมตัวกัน ช่วยเหลือกันและกันอยู ่ อันนี ้เป็นสังคมที ่หาได้ยากในโลก..."<br />

โครงการดังกล่าวมีภารกิจ 4 ด้านส าคัญคือ<br />

1) ประสานเครือข่าย เชื ่อมโยงผู้ประกอบการ “การให้เพื ่อสังคม” เป็นเครือข่ายรณรงค์ วัฒนธรรม “การให้ฯ” ร่วมกัน<br />

2) จัดการความรู้ รวบรวมกรณีศึกษา งานวิจัย องค์ความรู้ด้านการให้เพื ่อสังคมทั้งในและต่างประเทศ สื ่อสารสู ่สังคมอย่าง<br />

ต่อเนื ่อง<br />

3) เผยแพร่ขยายผล จัดกิจกรรมรณรงค์และส่งเสริม “การให้เพื ่อสังคม” ในกลุ่มองค์กรธุรกิจเอกชน สถาบันอุดมศึกษา<br />

โรงเรียนมัธยม และสื ่อสารสู ่สาธารณะอย่างต่อเนื ่อง<br />

4) พัฒนาระบบสนับสนุน สร้างระบบแรงจูงใจ พัฒนากลไกหนุนเสริม ผลักดัน นโยบายและกฎหมายที ่เกี ่ยวข้อง<br />

อย่างไรก็ดี การท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ ยังคงมีรากฐานจากองค์กรในภาคสังคมที ่มาจากการเริ่มต้นของปัจเจกบุคคล<br />

และกลุ่มบริษัทเอกชนต่างๆ หลายครั้งจึงเกิดสิ่งที ่เรียกว่า “การร่วมลงทุนเชิงองค์กรเพื ่อสังคม” (venture philanthropy) ดังจะกล่าว<br />

ต่อไปดังนี ้<br />

โดย<br />

243


VENTURE PHILANTHROPY<br />

กำรร่วมลงทุนเชิงองค์กรเพื่อสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

การร่วมลงทุนเชิงองค์กรเพื ่อสังคม หรือ venture philanthropy หมายถึง การร่วมทุนขององค์กรต่างๆ ในสังคมที ่ท า<br />

กิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ กล่าวคือ หลักการ venture philanthropy น ามาจากหลักการในเชิงการบริหารธุรกิจที ่เรียกว่า “ธุรกิจการ<br />

ร่วมลงทุน” (venture capital) หมายถึง ธุรกิจที ่มีการลงทุนระยะยาวประมาณ 3-5 ปี ซึ ่งลงทุนเหมือนเป็นหุ้นส่วนกับเจ้าของกิจการ<br />

ในธุรกิจที ่มีศักยภาพในการเจริญเติบโตและความสามารถในการแข่งขันสูงขึ ้น นอกเหนือจากการสนับสนุนทางด้านการเงินแล้ว<br />

ยังให้ค าปรึกษา ช่วยชี ้แนวทางในด้านต่างๆ เพื ่อให้ธุรกิจที ่ได้รับเงินร่วมลงทุน สามารถที ่จะเติบโตได้อย่างรวดเร็ว และเพื ่อ<br />

ศักยภาพในการร่วมทุนเพื ่อเข้าสู ่ตลาดหลักทรัพย์<br />

อรรถำธิบำย<br />

ส าหรับการร่วมลงทุนเชิงองค์กรเพื ่อสังคม หรือ venture philanthropy เป็นการรวมกลุ่มขององค์กรต่างๆ เพื ่อเพิ่ม<br />

ศักยภาพในการด าเนินกิจกรรมเพื ่อสังคม และสร้างคุณค่าให้กับสังคมในระดับที ่สูงขึ ้น เพื ่อให้เกิดการเปลี ่ยนแปลงที ่ชัดเจนใน<br />

สังคม อีกทั้งยังท าให้องค์กรต่างๆ ที ่ด าเนินกิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์สามารถเพิ่มประสิทธิภาพด้วยการแลกเปลี ่ยนองค์ความรู้และ<br />

การจัดการข้อมูลให้เหมาะสมกับสภาพปัญหาของสังคมได้ดียิ่งขึ ้น การร่วมลงทุนเชิงองค์กรเพื ่อสังคม จึงมีลักษณะเป็นการลงทุนที ่<br />

รับผิดชอบต่อสังคม (Socially Responsible Investment: SRI) โดยเป็นการสร้างกลไกส าคัญที ่เชื ่อมนักลงทุนที ่ใส่ใจสังคม<br />

สิ่งแวดล้อมกับบริษัทจดทะเบียน ซึ ่งมีความชัดเจนในการร่วมรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility: CSR) อย่าง<br />

เป็นระบบและวัดผลได้ ตัวอย่างเช่น กลุ่ม Venture Philanthropy Partners (VPP) มีเว็บไชต์ประสานงานชื ่อ<br />

http://www.vppartners.org/ เป็นกลุ่มองค์กรร่วมทุนในการท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ในการสร้างผู้น าและเพิ่มศักยภาพให้กับ<br />

องค์กรที ่ไม่มุ่งแสวงหาก าไร<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทยจะมีกลุ่มที ่เรียกว่า Change Fusion มีเว็บไซต์ประสานงานคือ http://changefusion.org/ เป็นองค์กรที ่<br />

พัฒนามาจากกลุ่ม Thai Rural Net (TRN) ท างานภายใต้มูลนิธิบูรณะชนบทแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ มีภารกิจหลัก<br />

คือการสร้างสรรค์กิจกรรมที ่มีการน านวัตกรรม เพื ่อมาใช้สนับสนุนงานด้านสังคมขององค์กรต่างๆ รวมทั้งการสนับสนุนด้านเงินทุน<br />

แก่องค์กรที ่ท างานทางสังคม โดยเน้นการออกแบบการท างานให้องค์กรเหล่านั้นสามารถสร้างรายได้ด้วยตัวเอง แทนที ่จะใช้<br />

ทรัพยากรจากแหล่งเงินทุนเพียงอย่างเดียว<br />

จะเห็นได้ว่า การท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ และการร่วมลงทุนเชิงองค์กรเพื ่อสังคม เป็นค าศัพท์ใหม่ในสังคมไทยที ่ยัง<br />

ไม่ได้ใช้อย่างทั่วไปในพื ้นที ่สาธารณะ เพราะมักถูกกลบกลืนไปโดย ค าว่าประชาสังคม องค์กรที ่ไม่มุ่งหวังผลก าไร องค์กรนอก<br />

ภาครัฐ และ NGOs เป็นต้น<br />

244


ข้อสังเกตเพื่อพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

ในต่างประเทศ การท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ในปัจจุบันมีพัฒนาการไปพร้อมกับเทคโนโลยีสมัยใหม่ และการ<br />

เปลี ่ยนแปลงทางวัฒนธรรม ผู้ต้องการมีส่วนในกิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์สามารถบริจาคเงินและปัจจัยผ่านระบบออนไลน์ (internet)<br />

องค์กรเช่น Opportunity International และ Kiva จัดตั้งขึ ้นเพื ่อท าหน้าที ่ระดมเงินจากการบริจาคเพื ่อการกุศลทั่วโลก โดยท าให้การ<br />

บริจาคท าได้โดยง่าย เพื ่อเอื ้อให้คนบริจาคได้มากขึ ้น การระดมทุนที ่เป็นปรากฏการณ์ไปทั่วโลกในปี พ.ศ.2557 จัดท าโดยองค์กร<br />

ช่วยเหลือผู้ป่วยโรคกล้ามเนื ้ออ่อนแรง (ALS Association) โดยการท้าให้ท ากิจกรรมน ้าเข็งราดหัว (Ice Bucket) บุคคลมีชื ่อเสียง<br />

หลายคนจากหลายวงการร่วมบริจาคเงิน จนกลายเป็นกิจกรรมที ่โด่งดังชั่วข้ามคืน ในต่างประเทศ การบริจาคเงินเพื ่อส่งเสริม<br />

กิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ สามารถน าไปลดหย่อนภาษีได้ จึงส่งเสริมให้เศรษฐีจ านวนมากตั้งมูลนิธิขึ ้นมาเพื ่อด าเนินกิจกรรม<br />

ดังกล่าวและบริจาคเงินครั้งละจ านวนมาก นับว่าเป็นมาตรการที ่ได้ประโยชน์ทั้งผู้ให้ และผู้รับ<br />

ในสังคมไทย การบริจาคตามสถานการณ์วิกฤติต่างๆ เช่น ช่วยเหลือผู้ประสบความเดือดร้อนจากภัยพิบัติทางธรรมชาติ<br />

หรือในวาระโอกาสพิเศษ เกิดขึ ้นอยู ่เสมอ และมีผู้ให้เงินบริจาคจ านวนมาก ทั้งในรูปปัจเจกบุคคล กลุ่มบุคคล บริษัทห้างร้าน<br />

องค์กร และหน่วยงานของรัฐ แต่ข้อสังเกตประการหนึ ่งคือ กลุ่มทุน และบริษัทจ านวนหนึ ่งของไทยยังคงมีความสับสนระหว่างการ<br />

ท ากิจกรรมเพื ่อเพื ่อนมนุษย์ กับการโฆษณาสร้างภาพ และการท า CSR ดังจะเห็นว่ามีการน าภาพการบริจาค ช่วยเหลือสังคมมา<br />

โฆษณาแฝงอยู ่เสมอ<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Corporate Social Responsibility (CSR)’, ‘Income Distribution’ และ ‘NGOs’ (in Civil Society)<br />

“การให้เพื ่อสังคม”. โครงการส่งเสริมการให้เพื่อสังคม. เข้าถึงวันที ่ 30 กรกฎาคม 2555 ใน http://www.give2all.com/ allcontent/<br />

about_us.php.<br />

“อะไร คือ การให้เพื ่อสังคม (Philanthropy)”. เข้าถึงวันที ่ 30 กรกฎาคม 2555 ใน http://www.bloggang.com/mainblog.php?id =<br />

giveforall&month=01-04-2010&group=2&gblog=1.<br />

“อนาคตการลงทุนเพื ่อสังคมอย่างยั่งยืนของไทย”. On Open. เข้าถึงวันที ่ 30 กรกฎาคม 2555 ใน http://www.onopen.com/node/<br />

4485.<br />

245


POVERTY LINE<br />

เส้นควำมยำกจน<br />

ควำมหมำย<br />

เส้นความยากจน (Poverty Line) หมายถึง ระดับรายได้ขั้นต ่าที ่สุดที ่จัดว่าเพียงพอในการด ารงชีวิตในแต่ละวัน ผู้ที ่มี<br />

รายได้ต ่ากว่าเส้นนี ้ถือว่ามีความยากจนอย่างที ่สุดในระดับที ่ไม่สามารถเลี ้ยงดูตนเองให้มีอาหารเพียงพอหรือมีที ่อยู ่อาศัยที ่<br />

เหมาะสมได้ โดยทั่วไปแล้วถือว่าแต่ละประเทศมีเส้นความยากจนไม่เท่ากัน โดยค านวณจากรายจ่ายที่จ าเป็น เช่น ค่าที่อยู ่<br />

อาศัย ค่าอาหาร ค่ารักษาพยาบาล ซึ ่งมีอัตราไม่เท่ากันในแต่ละประเทศ และคิดออกมาเป็นจ านวนเงินว่า ต้องมีรายได้ขั้นต ่า<br />

เท่าไรจึงจะเพียงพอที ่จะครอบคลุมรายจ่ายเหล่านี ้ให้สามารถมีชีวิตต่อไปได้ ซึ ่งหากมีรายได้ต ่ากว่าจ านวนนี ้ จัดเป็นผู้มีความ<br />

ยากจน (วิกิพีเดีย1) เส้นความยากจนเป็นเกณฑ์ใช้ประเมินสถานการณ์ความยากจนและความเหลื ่อมล ้าด้านรายได้ของประเทศ<br />

หนึ ่ง และสามารถใช้เทียบเคียงความยากจนของประเทศหนึ ่งกับประเทศอื ่นได้ในระดับหนึ ่งด้วย เป็นที ่เข้าใจโดยทั่วไปว่าเส้นความ<br />

ยากจนในประเทศพัฒนาแล้วอยู ่ในระดับสูงกว่าประเทศก าลังพัฒนา (วิกิพีเดีย2)<br />

เช่นเดียวกับค าจ ากัดความหมายของความยากจน เส้นความยากจนยังคงมีความคลุมเครือไม่แน่นอนและแตกต่างกันไป<br />

ตามแต่ระดับการพัฒนาของแต่ละประเทศ โดยทั่วไปแล้วจะใช้รายได้ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวันเป็นเส้นความยากจนสากล โดยถือ<br />

ว่าไม่ว่าที ่ใดในโลกหากมีรายได้ต่อวันต ่ากว่านี ้ถือว่ามีรายได้ไม่เพียงพอที ่จะด ารงชีวิตในหนึ ่งวัน<br />

ในปี ค.ศ.2008 ธนาคารโลกประกาศเส้นความยากจนไว้ที ่ 1.25 ดอลลาร์สหรัฐอเมริกาต่อวัน และอาจวัดอีกขั้นหนึ ่งที ่ 2<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ โดยธนาคารโลกค านวณเส้นความยากจนนี ้จากดัชนีความเท่าเทียมกันของอ านาจซื ้อ (Purchasing Power Parity -<br />

PPP) ของปี ค.ศ.2005 ดัชนีดังกล่าวใช้ในการเปรียบเทียบอ านาจซื ้อของเงินจ านวนหนึ ่งในแต่ละประเทศ ซึ ่งมีราคาสินค้าและ<br />

บริการที ่ไม่เท่าเทียมกัน เช่น ในประเทศพัฒนาแล้วที ่มีสินค้าราคาสูงกว่า ย่อมต้องอาศัยรายได้จ านวนมากกว่าในการด ารงชีวิต จึง<br />

ต้องมีเส้นความยากจนที ่สูงกว่า แต่สินค้าและบริการอย่างเดียวกันในประเทศก าลังพัฒนาอาจมีราคาต ่ากว่า ท าให้เส้นความยากจน<br />

ต ่ากว่า เป็นต้น<br />

อรรถำธิบำย<br />

ค าจ ากัดความของความยากจนยังคงเป็นที ่ถกเถียงกัน แต่โดยทั่วไปแล้วจะถือหลักเกณฑ์กว้าง ๆว่ามนุษย์จ าเป็นต้องมี<br />

อาหาร เครื ่องนุ่งห่ม ที ่อยู ่อาศัย และการรักษาพยาบาลเป็นปัจจัยขั้นพื ้นฐานที ่สุดในการด ารงชีวิต และหากผู้ใดไม่สามารถหา<br />

ทรัพยากรจ านวนมากพอ (โดยมากหมายถึงเงิน) เพื ่อมารองรับค่าใช้จ่ายในการให้ได้มาซึ ่งปัจจัยเหล่านี ้ได้ ถือว่าเป็นผู้มีความ<br />

ยากจน การใช้ปัจจัยดังกล่าวมีข้อดีคือสามารถใช้วัดความยากจนในประเทศที ่มีความแตกต่างทางเศรษฐกิจ สังคม และระดับ<br />

วิทยาการได้โดยไม่เกิดปัญหาจากความเหลื ่อมล ้าของความเท่าเทียมกันในอ านาจซื ้อ แต่อีกด้านหนึ ่ง ความแตกต่างในปัจจัย<br />

จ าเป็นพื ้นฐานส าหรับการด ารงชีวิตของคนในแต่ละประเทศยังคงมีอยู ่ เช่น คนในสวีเดนต้องอาศัยแหล่งความร้อนในการด ารงชีวิต<br />

ผ่านฤดูหนาว ในขณะที ่ชาวหมู ่เกาะเขตร้อนไม่ต้องการ<br />

246


ในการประชุมโลกว่าด้วยการพัฒนาสังคมที ่โคเปนเฮเกน ในปี ค.ศ.1995 สหประชาชาติจึงให้ค าจ ากัดความ ความยากจน ว่า<br />

“ภาวะขาดแคลนการตอบสนองความต้องการพื ้นฐานของมนุษย์ ได้แก่ อาหาร น ้าดื ่มสะอาด ระบบขับถ่าย สุขภาพ ที ่อยู ่อาศัย<br />

การศึกษา และข่าวสาร ทั้งหมดนี ้ไม่เพียงแต่ขึ ้นอยู ่กับรายได้เท่านั้น แต่ยังรวมถึงการเข้าถึงบริการอีกด้วย” (สหประชาชาติ)<br />

ดัชนีชี ้วัดความยากจนและความหิวซึ ่งเดวิด กอร์ดอนจัดท าให้สหประชาชาติ ระบุปัจจัยความยากจนไว้ดังต่อไปนี ้<br />

อาหาร ดัชนีมวลกาย (BMI - น ้าหนักเป็นกิโลกรัมหารด้วยส่วนสูงเป็นเมตรที ่น ามายกก าลังสอง) ต้องสูงกว่า 16<br />

น ้าดื่มที่ปลอดภัย น ้าดื ่มต้องไม่ส่งตรงมาจากแม่น ้าหรือบ่อน ้าเพียงอย่างเดียว และต้องอยู ่ในระยะเดิน 15 นาที<br />

ระบบขับถ่าย ส้วมที ่ถูกสุขอนามัยต้องอยู ่ภายในหรืออยู ่ใกล้บ้าน<br />

สุขภาพ การบริการสาธารณสุขต้องมีในกรณีเจ็บป่วยและตั้งครรภ์<br />

ที่อยู ่อาศัย ต้องมีผู้อาศัยน้อยกว่า 4 คนต่อหนึ ่งห้อง พื ้นห้องต้องไม่เป็นดินโคลน หรือดินเหนียว<br />

การศึกษา ต้องเข้าเรียนในสถานศึกษาหรือต้องอ่านหนังสือออก<br />

ข้อมูลข่าวสาร ต้องสามารถเข้าถึงหนังสือพิมพ์ วิทยุ โทรทัศน์ คอมพิวเตอร์ หรือโทรศัพท์ได้จากที ่บ้าน<br />

การเข้าถึงบริการ สามารถเข้าถึงบริการสาธารณสุข กฎหมาย สังคม และการเงินได้<br />

ผู้ใดที ่ขาดปัจจัยเหล่านี ้อย่างน้อยสองข้อ ถือว่าเป็นผู้มีความยากจน<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

จากสถิติปี พ.ศ.2552 ของธนาคารโลก ในประเทศไทยมีผู้ใช้ชีวิตด้วยรายได้ต ่ากว่าเส้นความยากจนสากลที ่ 1.25<br />

ดอลลาร์สหรัฐฯ ต่อวัน ที ่ร้อยละ 0.37 ของประชากร เมื ่อขยับเส้นความยากจนขึ ้นเป็น 2 ดอลลาร์สหรัฐฯ จ านวนผู้อยู ่ใต้เส้นความ<br />

ยากจนเพิ่มขึ ้นเป็นร้อยละ 4.58 (ธนาคารโลก)<br />

ดังที ่ได้กล่าวไปแล้ว แต่ละประเทศมีปัจจัยด้านการพัฒนาและค่าครองชีพที ่แตกต่างกันท าให้เส้นความยากจนสูงต ่าไม่<br />

เท่ากัน จึงจ าเป็นต้องตั้งค่าเส้นความยากจนแห่งชาติที ่แต่ละประเทศจะใช้วัดความยากจนของตน ส าหรับประเทศไทยนั้น เส้นความ<br />

ยากจนถูกน ามาใช้เป็นเครื ่องมือส าหรับใช้วัดภาวะความยากจนโดยค านวณจากต้นทุนหรือค่าใช้จ่ายของปัจเจกบุคคลในการได้มาซึ ่ง<br />

อาหารและสินค้าบริการจ าเป็นพื ้นฐานในการด ารงชีวิต (ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ) ข้อมูลจาก<br />

การส ารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน ส านักงานสถิติแห่งชาติ ประมวลผลโดยส านักพัฒนาฐานข้อมูลและตัวชี ้วัดภาวะ<br />

สังคม ตั้งเส้นความยากจนในปี พ.ศ.2550 ไว้ที ่ 1,443 บาทต่อคนต่อเดือน ท าให้ประเทศไทยมีคนจนร้อยละ 8.48 จากประชากร<br />

ทั้งหมดประมาณ 63.9 ล้านคนในปี พ.ศ.2550 คิดเป็นจ านวนทั้งสิ ้นประมาณ 5.4 ล้านคน (ส านักงานสถิติแห่งชาติ)<br />

จะเห็นได้ว่า เมื ่อค านวณเส้นความยากจนของประเทศไทยที ่ 1,443 บาทต่อเดือนเป็นต่อวันแล้ว จะได้ค่าอยู ่ที ่ 48.10 บาท<br />

ต่อคนต่อวัน ซึ ่งเมื ่อค านวณด้วยอัตราแลกเปลี ่ยนค่าเงินบาทที ่ 30 บาทต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ แล้ว จะอยู ่ที ่ประมาณ 1.55 ดอลลาร์<br />

สหรัฐฯ ถือว่าสูงกว่าเส้นความยากจนสากลที ่ 1.35 ดอลลาร์สหรัฐฯ เล็กน้อย แต่ไม่สูงกว่าเส้นที ่สองที ่ 2 ดอลลาร์สหรัฐฯ<br />

247


ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

แม้ตัวเลขดังกล่าวจะระบุว่าคนไทยส่วนใหญ่จะหลุดพ้นจากเส้นความยากจนแล้ว แต่สภาพปัญหาที ่ประเทศไทยก าลังเผชิญอยู ่<br />

คือ ปัญหาช่องว่างระหว่างผู้มีรายได้สูง กับผู้มีรายได้ต ่า หรืออีกนัยหนึ ่ง ปัญหาการกระจายรายได้ในประเทศนั่นเอง เพราะนับวัน<br />

ช่องว่างเหล่านี ้ยิ่งขยายตัวมากขึ ้น โดยอาจสังเกตได้จากการที ่คนเพียงไม่กี ่เปอร์เซ็นต์ของประเทศครอบครองทั้งที ่ดิน และจ านวน<br />

เงินฝากในธนาคารมากยิ่งกว่าคนอีกเกือบทั้งประเทศที ่เหลือรวมกัน ธนาคารเครดิตสวิสได้จัดท ารายงานความมั่งคั่งของโลก ในปี<br />

พ.ศ. 2557 พบว่า ประเทศไทยติดอันดับ 6 ในเรื ่องการกระจายรายได้ที ่ไม่เป็นธรรม กล่าวคือ เศรษฐีที ่มั่งคั่งสุดในประเทศมีเพียง<br />

10% แต่กลับถือครองความมั่งคั่งทั้งหมด 75% ของประเทศ ปัญหาการกระจายเป็นปัญหาใหญ่ที ่ท้าทายกระบวนการพัฒนา<br />

เศรษฐกิจของประเทศในปัจจุบัน (โปรดดู Income Distribution)<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ชัยรัตน์ พัชรไตรรัตน์. “กระจายความสุข”. ทีมข่าวโพสต์ทูเดย์ 21 ต.ค. 2557. เข้าถึงวันที ่ 30<br />

ตุลาคม 2557 ใน http://m.posttoday.com/article/325383/14000.<br />

ส านักงานสถิติแห่งชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.nso.go.th/.<br />

ธนาคารโลก. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://databank.worldbank.org/ddp/home.do.<br />

วิกิพีเดีย1. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/Poverty_Line.<br />

วิกิพีเดีย2. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://en.wikipedia.org/wiki/List_of_<br />

countries_by_percentage_of_population_living_in_poverty.<br />

ส านักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน<br />

http://www.nesdb.go.th/Default.aspx?tabid=168.<br />

สหประชาชาติ. เข้าถึงวันที ่ 30 กันยายน 2555 ใน http://www.un.org/esa/socdev/unyin/<br />

documents/ ydiDavidGordon_poverty.pdf.<br />

248


SOCIAL ENTERPRISE<br />

กิจกำรเพื่อสังคม<br />

ควำมหมำย<br />

กิจการเพื ่อสังคม (Social Enterprise) หมายถึง องค์กรที ่มีการบริหารจัดการแบบเอกชน แต่มีเป้าหมายในการด าเนินงาน<br />

เพื ่อผลประโยชน์ของสังคมและสาธารณะ สนใจเรื ่องของการ พัฒนาคุณภาพชีวิตของมนุษย์ สิ่งแวดล้อม และ<br />

ทรัพยากรธรรมชาติ มากกว่าที่จะสนใจเรื ่องผลก าไรสูงสุดส าหรับผู้ถือหุ้นขององค์กร (shareholders) (กิจการเพื ่อสังคม,<br />

ม.ป.ป.)<br />

โครงสร้างการด าเนินงานขององค์กรที ่เป็นกิจการเพื ่อสังคมจะมี 2 ลักษณะส าคัญคือ<br />

1) องค์กรเป็นตัวแสดงที ่ไม่ใช่รัฐ (non-state actors) กล่าวคือ มีการบริหารงานแบบแนวราบ (horizontal management)<br />

ไม่ใช่สายการบังคับบัญชา แต่เน้นที ่การประสานงาน ความร่วมมือ และการแบ่งปันทรัพยากร<br />

2) องค์กรเป็นตัวแสดงที ่ไม่มุ่งหวังก าไร (non-profit actors) กล่าวคือ วัตถุประสงค์ขององค์กรและผลการด าเนินการต้อง<br />

ไม่มุ่งหวังก าไรเป็นที ่ตั้ง หรือกล่าวได้ว่าก าไรไม่ใช่วัตถุประสงค์หลักของผู้ประกอบการเพื ่อสังคม การประกอบกิจการ<br />

อาจจะมีการแสวงหาก าไรได้บ้าง แต่จะต้องเป็นการน าผลก าไรที ่ได้ไปพัฒนาสังคมและสร้างคุณประโยชน์ให้กับ<br />

สาธารณะ<br />

ที่มำ: https://www.se-alliance.org.<br />

การประกอบกิจกรรมเพื ่อสังคมจะสร้างคุณค่าสาธารณะ ซึ ่งถือว่าเป็นการลงทุนเพื ่อพัฒนาสังคมโดยรวม จ าแนกออกได้<br />

เป็น 4 ด้านส าคัญคือ ความยุติธรรมในสังคม (social justice) การพัฒนาเศรษฐกิจ (economic development) ความมั่นคง<br />

ปลอดภัยของสาธารณะ (public safety) และความรับผิดชอบทางการคลัง (fiscal responsibility)<br />

249


ตัวอย่างของกิจการเพื ่อสังคมในระดับสากล เช่น สหรัฐอเมริกา ผู้ประกอบการเพื ่อสังคมจะรวมกลุ่มกันในชื ่อ Social<br />

Enterprise Alliance ซึ ่งเป็นการรวมกลุ่มของผู้ประกอบการกิจการเพื ่อสังคมกว่า 900 รายในการแบ่งปันข้อมูล การจัดประชุม<br />

เสวนา การสร้างเครือข่ายในการวางแผน และจัดกิจกรรมเกี ่ยวกับสาธารณประโยชน์ โดยมีลักษณะร่วมกันใน 3 ด้านคือ การเข้าถึง<br />

ความต้องการทางสังคมโดยตรง การขับเคลื ่อนกิจกรรมในเชิงพาณิชย์ในการหารายรับให้กับองค์กร และผลประโยชน์ร่วมกันของ<br />

สังคม (common goods) ถือว่าเป็นวัตถุประสงค์หลัก<br />

ที่มำ: https://www.se-alliance.org.<br />

นอกจากนี ้ยังมีตัวอย่างจากประเทศโลกที ่สาม คือ ธนาคารกรามีน (Grameen Bank) หรือ ธนาคารคนจน ที ่ มูฮัมหมัด<br />

ยูนูส (Muhammad Yunus) นายธนาคารและนักเศรษฐศาสตร์ชาวบังกลาเทศเป็นผู้ริเริ่มและพัฒนาแนวคิด “ไมโครเครดิต” หรือ<br />

การให้กู้เงินโดยไม่ต้องใช้หลักทรัพย์ค ้าประกัน โดยจะให้กู้แก่ผู้ประกอบการหรือชาวบ้านซึ ่งยากจนเกินกว่าจะมีคุณสมบัติพอเพียง<br />

ที ่จะกู้เงินจากธนาคารทั่วไป และตั้งเกณฑ์การคิดค านวณดอกเบี ้ยไว้ว่า ต้องไม่สูงกว่ายอดเงินต้น ลูกหนี ้ไม่จ่ายเมื ่อไร ดอกเบี ้ยจะ<br />

หยุดนิ่งทันทีไม่มีทบต้นทบดอก เป็นต้น (โปรดดู Micro Finance)<br />

อรรถำธิบำย<br />

แนวคิดเรื ่องกิจการเพื ่อสังคมเกิดขึ ้นมานานแล้ว เพียงแต่ถูกเรียกขานด้วยชื ่อ และมีคุณสมบัติบางประการที ่แตกต่างกัน<br />

ไป ในปัจจุบัน กิจการเพื ่อสังคมหลายรูปแบบเป็นกิจการที ่ยอมรับความช่วยเหลือและการสนับสนุนบางประการจากภาครัฐ ซึ ่งต่าง<br />

ไปจากแนวคิดกิจการเพื ่อสังคมในยุคแรก แต่คุณสมบัติของกิจการเพื ่อสังคมที ่ส าคัญก็ยังคงเป็นกิจการที ่เป็นอิสระจากการก าหนด<br />

และตัดสินใจโดยรัฐ ด้วยการแสวงหายุทธศาสตร์เพื ่อวางรากฐานเศรษฐกิจเพื ่อสังคม (โปรดดู Social Economy)<br />

ค าว่ากิจการเพื ่อสังคม (social enterprise) และกิจการเอกชนเพื ่อสังคม (social entrepreneurship) สามารถสืบค้น<br />

กลับไปที ่ Beechwood College ใกล้เมืองลีดส์ (Leeds) ประเทศอังกฤษ ตั้งแต่ปี ค.ศ.1978 ที ่คณาจารย์ของมหาวิทยาลัยให้ความ<br />

250


ช่วยเหลือสหกรณ์ของผู้ใช้แรงงานจัดท าระบบตรวจสอบบัญชี โดยไม่คิดค่าใช้จ่าย และในช่วงทศวรรษที ่ 1980 ในสหรัฐอเมริกา<br />

นายบิล เดรย์ตั้น (Bill Drayton) ได้จัดตั้งโครงการเพื ่อสนับสนุนการพัฒนากิจการเพื ่อสังคม ผ่านมูลนิธิ ASHOKA กล่าวได้ว่า<br />

แนวคิดการท ากิจการเพื ่อสังคมเป็นรูปธรรมมากขึ ้นจากอิทธิพลของกลุ่มสหกรณ์ผู้ใช้แรงงานชาวอิตาเลียนที ่ล๊อบบี ้กดดันให้สภานิติ<br />

บัญญัติออกกฎหมายจัดตั้งสหกรณ์สังคม เพื ่อช่วยเหลือสมาชิกที่มีป ัญหาทางภาวะจิตใจ หรือร่างกาย ทุพลภาพให้ยัง<br />

สามารถท างานและได้รับค่าตอบแทนในระหว่างการพักฟื ้น รักษาตัว และไม่ต้องกลายเป็นผู้ตกงาน<br />

งานวิจัยชิ ้นแรกที ่ศึกษาเกี ่ยวกับประเด็นกิจการเพื ่อสังคมสัมพันธ์กับสุขภาวะของผู้ใช้แรงงานและการพักฟื ้นจากการ<br />

บาดเจ็บที ่เกิดจากการท างาน ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี ค.ศ.1993 หลังจากนั้น มีนักวิจัยที ่สนใจเรื ่องเศรษฐกิจเพื ่อสังคม (โปรดดู Social<br />

Economy) ในอังกฤษและยุโรปเริ่มหันมาสนใจท าวิจัยเรื ่องกิจการเพื ่อสังคมมากขึ ้น ในสหรัฐอเมริกา ปรากฏการณ์มูลนิธิ<br />

ASHOKA ท าให้มหาวิทยาลัยชั้นน าอย่างฮาร์เวิร์ด สแตนฟอร์ด และพริ ้นซตัน หันมาศึกษากิจการเพื ่อสังคมและมีงานวิจัยที ่ตีพิมพ์<br />

ข้อมูลเหล่านี ้มากขึ ้นเรื ่อยๆ<br />

ตัวอย่ำงกำรน ำไปใช้ในประเทศไทย<br />

ส าหรับสังคมไทย กิจการเพื ่อสังคมสามารถนิยามความหมายได้ว่า เป็นกิจการที ่มีรายรับจากการขาย การผลิตสินค้า<br />

และ/หรือการให้บริการ ที ่ถูกตั้งขึ ้นเพื ่อเป้าหมายอย่างชัดเจน ตั้งแต่แรกเริ่ม หรือมีการก าหนดเพิ่มเติม หรือปรับเปลี ่ยนเป้าหมาย<br />

ในการแก้ไขปัญหาและพัฒนาชุมชน สังคม และ/หรือสิ่งแวดล้อมเป็นหลัก โดยไม่ได้มีเป้าหมายในการสร้างก าไรสูงสุดให้แก่ผู้ถือ<br />

หุ้นและเจ้าของเท่านั้น<br />

ตัวอย่างของกิจการเพื ่อสังคมในประเทศไทย เช่น ป่าและกาแฟ กาแฟอินทรีย์รักษาป่า จัดตั้งองค์กรที ่มาท าหน้าที ่ในการ<br />

ซื ้อขายผลผลิตของเกษตรกรอย่างเป็นธรรมเพื ่อเป็นหลักประกันแก่เกษตรกร สร้างกลยุทธ์ในการบริหารจัดการธุรกิจเพื ่อหาผู้ร่วม<br />

ลงทุนในการจัดตั้งธุรกิจเพื ่อสังคมในการท างานทั้งด้านการส่งเสริมการท ากาแฟอินทรีย์ให้กับเกษตรกรตั้งแต่การเพาะปลูก การ<br />

บ ารุงรักษา การเก็บเกี ่ยวผลผลิต และน าไปขายให้กับกลุ่มเกษตรกรที ่ได้ร่วมกันจัดตั้งขึ ้นภายใต้ระบบเกษตรอินทรีย์ และระบบ<br />

การค้าที ่เป็นธรรม (Fair Trade)<br />

อีกหนึ ่งตัวอย่างของกิจการเพื ่อสังคมในประเทศไทย คือ “สมาคมพัฒนาประชากรและชุมชน” (Population<br />

Community Development Association – PDA) เป็นหน่วยงานเอกชนที ่มีเป้าหมายในการด าเนินการเพื ่อสาธารณะประโยชน์ใน<br />

ด้านการพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนและผู้ด้อยโอกาส ดูแลทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สร้างความเข้าใจเรื ่องเอดส์<br />

ส่งเสริมประชาธิปไตย พัฒนาศักยภาพของสตรีและเด็ก สนับสนุนทุนการศึกษาทุกระดับ พัฒนาแหล่งน ้าดื ่ม-น ้าใช้และแหล่งน ้าเพื ่อ<br />

การเกษตร ส่งเสริมอาชีพและสร้างรายได้ และกระจายอุตสาหกรรมสู ่ชนบทเพื ่อสร้างรายได้ให้ประชาชนในชนบท ลดการย้ายถิ่น<br />

และสร้างความเข้มแข็งให้กับสถาบันครอบครัวและองค์กรชุมชน (http://www.pda.or.th/ ) การด าเนินการของสมาคมพัฒนา<br />

ประชากรและชุมชนนี ้ ก่อตั้งมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2517 รวมโครงการต่างๆ ทั้งสิ ้นประมาณ 300 โครงการ<br />

นอกจากนี ้ยังมีกิจการธนาคารขยะออมทรัพย์ รวมมิตร 2011 ของ ฉัตรศนัน มาสว่างไพโรจน์ ผู้มีแนวคิดและแรงบันดาล<br />

ใจในการก่อตั้งกิจการที ่สามารถพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนให้ดีขึ ้นได้ ด้วยการใช้ขยะมูลฝอยเป็นตัวขับเคลื ่อน โดยสิ่งที ่กิจการเพื ่อ<br />

สังคมดังกล่าวท าคือการจัดตั้งธนาคารขยะออมทรัพย์ ให้คนในชุมชนมีส่วนร่วมในการคัดแยก จัดเก็บ แล้วน าขยะมาเปลี ่ยนเป็น<br />

251<br />

<strong>and</strong>


เงินฝากในธนาคารขยะ หลังจากนั้น ก็น ากระบวนการแปรรูปวัสดุเหลือใช้เข้าไปอบรมให้กับชุมชนโดยผ่านศูนย์เรียนรู้การแปรรูป<br />

วัสดุเหลือใช้เพื ่อผลิตชิ ้นงานออกมา ก่อนที ่จะน าไปท าการตลาดผ่านเว็บไซต์ www.ruammitr2011.com โซเชียลเน็ตเวิร์ก อีเบย์<br />

และร้านเครือข่ายพันธมิตร แล้วน ารายได้มาสร้างเป็นกองทุนให้บริการสัจจะออมทรัพย์ส าหรับสมาชิกธนาคารขยะออมทรัพย์ โดย<br />

ใช้สมุดคู ่ฝากธนาคารขยะออมทรัพย์มาค ้าประกันในอัตราดอกเบี ้ยร้อยละ 12 ต่อปี ซึ ่งจะช่วยลดปัญหาหนี ้นอกระบบของคนใน<br />

ชุมชน<br />

ข้อสังเกตที่ควรพิจำรณำเพิ่มเติม<br />

จากที ่กล่าวมาข้างต้นท าให้เห็นว่ากิจการเพื ่อสังคมเป็นรูปแบบใหม่ขององค์กรเอกชนที ่ไม่มุ่งหวังแสวงหาก าไร แต่เน้น<br />

การช่วยเหลือสังคมและสร้างผลประโยชน์สูงสุดให้กับสาธารณะ ขณะเดียวกัน รัฐบาลก็ได้ จัดตั้งหน่วยงานภายใต้ชื ่อว่า “ส านักงาน<br />

สร้างเสริมกิจการเพื ่อสังคมแห่งชาติ (สกส.)” เพื ่อกระตุ้น สนับสนุน ประสานงานความร่วมมือกิจการเพื ่อสังคมและพัฒนาเป็น<br />

เครือข่ายทั่วประเทศ แต่บทบาท กิจกรรม และความสัมพันธ์กับกิจการเพื ่อสังคมที ่ด าเนินโดยภาคเอกชน ยังไม่ชัดเจน<br />

เอกสำรอ้ำงอิง<br />

ดูเพิ่มใน ‘Social Economy’, ‘Micro-Finance’ และ ‘Venture Philanthropy’<br />

กิจการเพื ่อสังคม (ประเทศไทย) (2555). เข้าถึงวันที ่ 25 ตุลาคม 2555 ใน http://socialenterprise.in.th/?page_id=9.<br />

กิจการเพื ่อสังคมประเทศไทย (Thail<strong>and</strong> Social Enterprise) (2555). เข้าถึงวันที ่ 25 ตุลาคม 2555 ใน http://www.tseo.<br />

or.th/about/social-enterprise/present/local.<br />

Social Enterprise Alliance (2012). เข้าถึงวันที ่ 25 ตุลาคม 2555 ใน https://www.se-alliance.org.<br />

252


ดรรชนี (INDEX)<br />

A<br />

Agency (หน้า 42, 65, 73)<br />

Amnesty (หน้า 48, 58-59, 173, 176, 276, 280-281)<br />

Authoritarianism (หน้า 31, 59-61, 64)<br />

B<br />

Business ethics (หน้า 283-284)<br />

C<br />

Centripetalism (หน้า 76)<br />

Centralism <strong>and</strong> Decentralism (หน้า 66, 75)<br />

Children’s rights (หน้า 219)<br />

Civic education (หน้า 286)<br />

Civil disobedience (หน้า 202)<br />

Civil rights (หน้า 207, 215, 223, 225, 237)<br />

Civil society (หน้า 2, 6, 9, 47)<br />

Community Rights (หน้า 15, 132, 235)<br />

Consensus (หน้า 77, 80, 106)<br />

Conservative <strong>and</strong> neo-conservatism (หน้า 81, 83, 264)<br />

Constitutionalism (หน้า 88-89, 92-93, 142, 144, 146, 149, 161, 163, 178, 182, 189, 197, 200, 223, 227)<br />

Constitutional Monarchy (หน้า 93, 180, 182, 274)<br />

Corruption (หน้า 96-97, 100, 110, 112, 198, 200)<br />

Corporate social responsibility, CSR (หน้า 12, 36-37, 284, 286, 289, 301, 303, 315, 319, 321, 384,)<br />

Cultural relativism (หน้า 101, 176, 194-195)<br />

D<br />

253


Deliberative democracy (หน้า 106, 140, 170, 172, 247, 249)<br />

Disability rights (หน้า 227)<br />

Distributive justice (หน้า 207, 213, 215)<br />

E<br />

Empowerment (หน้า 191, 293, 295)<br />

Equality (หน้า 130, 142, 211-212, 217, 219)<br />

Exclusiveness (หน้า 130)<br />

F<br />

Fiscal democracy (หน้า 110)<br />

Fourth sector (หน้า 12, 22, 37)<br />

Freedom (หน้า 58, 114, 131, 198, 216-217, 223, 225-226)<br />

G<br />

Governance (หน้า 86, 120-122)<br />

Green economy (หน้า 298)<br />

Green jobs (หน้า 302-304)<br />

Green consumerism (หน้า 301-302)<br />

H<br />

Horizontal <strong>and</strong> vertical orders (หน้า 40, 73, 127, 189)<br />

Horizontal <strong>and</strong> vertical accountability (หน้า 123-124)<br />

Human rights (หน้า 59, 104, 224, 231, 240-241, 257)<br />

I<br />

Illiberal democracy (หน้า 65, 113-114)<br />

Inclusiveness (หน้า 130, 132-133)<br />

Income distribution (หน้า 307, 321, 325)<br />

254


Indigenous rights (หน้า 223, 238, 248-249)<br />

Institutionalism (หน้า 133, 185)<br />

J<br />

K<br />

L<br />

Labour rights (หน้า 223, 230, 241)<br />

Legitimacy (หน้า 38, 122, 136-138)<br />

Liberal <strong>and</strong> neo-liberalism (หน้า 86-88, 114-115, 141, 144, 208, 210-211, 264-265, 270)<br />

M<br />

Media (หน้า 28-31, 198, 200)<br />

Micro-finance (หน้า 311, 328, 330)<br />

Minority rights <strong>and</strong> Majority rule (หน้า 106, 223, 246)<br />

N<br />

NGO (หน้า 4-5, 7-12, 35, 44, 313, 320-321)<br />

Norm setting (หน้า 150)<br />

O<br />

Older people’s rights (หน้า 249)<br />

P<br />

Paternalism (หน้า 153-155, 159)<br />

Patronage system (หน้า 96, 101, 155-156)<br />

Philanthropy (หน้า 12, 27, 316-319, 330)<br />

Pluralism (หน้า 68, 160, 162, 176)<br />

Political economy (หน้า 164, 166)<br />

Poverty line (หน้า 261-262, 307, 321)<br />

255


Private sector (หน้า 5, 23, 34, 96)<br />

Public sphere (หน้า 3, 168, 185)<br />

Q<br />

R<br />

Reconciliation (หน้า 50-51, 59, 139-140, 173, 278, 281)<br />

Rule of law (หน้า 138, 144, 149, 175, 178)<br />

S<br />

Social contract (หน้า 109, 129, 139-141, 144, 146, 149, 152, 185, 195, 206, 213, 215,<br />

217, 219, 227, 272, 274)<br />

Social capital (หน้า 182)<br />

Social economy (หน้า 8, 27, 189, 328, 330)<br />

Social enterprise <strong>and</strong> social entrepreneurship (หน้า 7, 8, 12, 27, 191-192, 326-328)<br />

Social group (หน้า 5, 12)<br />

Social movement (หน้า 5, 14, 294, 297)<br />

Social network (หน้า 5, 17-18, 171, 185)<br />

Social norm (หน้า 188-189, 192-193)<br />

Social security (หน้า 257-259, 265)<br />

Social welfare (หน้า 40, 257-258, 260-261)<br />

Sovereignty (หน้า 90, 139, 146, 161, 163, 187, 189, 197, 200)<br />

Sovereignty of the people (หน้า 200, 272, 287, 289)<br />

State (หน้า 37-39, 48, 66-67, 69-70, 93, 97, 141-142, 144-145, 178, 186, 188, 202-203, 208, 247, 258, 262, 265-267,<br />

326)<br />

Substantive democracy (หน้า 117-118, 140)<br />

T<br />

Third Sector (หน้า 5-7, 27, 189, 192)<br />

256


Transparency (หน้า 100-113, 122, 196, 198, 234, 237)<br />

Transitional justice (หน้า 57, 175, 275)<br />

U<br />

V<br />

Venture philanthropy (หน้า 27, 318-319, 330)<br />

W<br />

Women’s rights (หน้า 253)<br />

X<br />

Y<br />

Z<br />

257


เกี่ยวกับผู ้เขียน<br />

สิริพรรณ นกสวน สวัสดี เป็นรองศาสตราจารย์ และหัวหน้า<br />

ภาควิชาการปกครอง คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์<br />

มหาวิทยาลัย ความสนใจด้านวิชาการประกอบด้วย พรรค<br />

การเมืองและการเลือกตั้ง การออกแบบสถาบันการเมือง<br />

พฤติกรรมการเมือง การสร้างเสริมพลเมือง และการเมือง<br />

สหรัฐอเมริกา งานวิชาการที ่ตีพิมพ์ เช่น หนังสือ Thai<br />

Political Parties in the Age of Reform หนังสือ ผลกระทบ<br />

ของนโยบายโครงการกองทุนหมู ่บ้านและชุมชนเมือง และ<br />

โครงการพัฒนาศักยภาพของหมู ่บ้านและชุมชน (SML):<br />

วิเคราะห์ความสัมพันธ์เชิงอ านาจระหว่างรัฐ และท้องถิ่นใน<br />

มุมมองทางการเมือง งานวิจัยเรื ่อง บทบาทของพรรค<br />

การเมืองและพฤติกรรมการเลือกตั้งของประชาชนภายใต้<br />

สถานการณ์ความขัดแย้ง การเลือกตั้ง 3 กรกฎาคม 2554<br />

ได้รับรางวัล "ดีเด่น" จากสภาวิจัยแห่งชาติ ประจ าปี 2557<br />

มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ท<br />

ส านักงานประเทศไทย<br />

อาคารธนภูมิ ชั้น 23<br />

1550 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่<br />

แขวงมักกะสัน เขตราชเทวี<br />

กรุงเทพฯ 10400<br />

ประเทศไทย<br />

ผู้รับผิดชอบ<br />

มาร์ค ศักซาร์ ผู้อ านวยการ<br />

โทร: +66 (0) 2657178 l โทรสาร: +66 (0) 26527180<br />

อีเมล: info@fes-thail<strong>and</strong>.org<br />

www.fes-thail<strong>and</strong>.org<br />

ข้อจ ำกัดควำมรับผิด (Disclaimer)<br />

ความเห็นที ่ปรากฏ ในเอกสารฉบับนี ้ไม่ถือว่าเป็นความเห็น<br />

ของมูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ทหรือองค์กรอื ่นๆ ซึ ่งผู้เขียนประจ า<br />

อยู ่ มูลนิธิฟรีดริค เอแบร์ทไม่อนุญาติให้น าสื ่อและสิ่งพิมพ์<br />

ใดๆไปใช้ในเชิงพานิชย์ โดยไม่ได้รับอนุญาตอย่างเป็นลาย<br />

ลักษณ์อักษร

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!