11.07.2015 Views

AUDITORIUM - Pioneer.chula.ac.th

AUDITORIUM - Pioneer.chula.ac.th

AUDITORIUM - Pioneer.chula.ac.th

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

<strong>AUDITORIUM</strong>รูปรางของ concert hall1. รูปสี่เหลี่ยมมุมฉาก ความสูง 15-18 ม. ความกวาง 19-23 ม.ขอดี มีความสมดุลของเสียงและระบบอื่นๆขอเสีย มีขอจํากัดเรื่องขนาดของเวทีเพราะถาหองกวางมากจะไมไดสัดสวนกับขนาดเวที ซึ่งสวนใหญจะออกแบบใหมีสัดสวนความยาว ตอความกวางเปน 2:1ความสูงตอความกวาง 1.2:1 แตไมควรมีความกวางเกิน 32ม. และไมควรลดฝาเพดานใหเตี้ยจนเกินไป ซึ่งรูปแบบนี้เหมาะสมกับConcert hall ขนาดเล็กไมเกิน 1500 ที่นั่ง2. รูปเกือกมา เหมาะสํ าหรับแสดงโอเปรา ไมเหมาะสําหรับแสดงดนตรี เพราะระยะเวลาการสะทอนของเสียงเกิดจากการใชผนังโคง ซึ่งทําหนาที่กระจายเสียง ในลักษณะเดียวกับโรงโอเปรา3. รูปพัด เปนรูปแบบที่มีขอดีในเรื่องการจัดเกาอี้นั่งไดเปนจํานวนมาก และคาใชจายลงทุนไมสูงนัก แตในแงการสะทอนของเสียงยังไมดีนักเนื่องจากผนังอาคารมีทิศทางที่แยกจากกัน ทําใหไมสามารถรวบรวมเสียงเขมเขาดวยกันได จุดบกพรองจะอยูที่นั่งตรงกลางโรง การแกปญหาคือ ทําใหมุมของผนังนอยที่สุดเทาที่จะทําได คือมากกวา 90 แตไมเกิน 115 องศาผนังดานหลังมักจะทํ าใหมีลักษณะโคงเพื่อชวยกระจายเสียง4. รูปหกเหลี่ยม หรือรูปทรงเรขาคณิตแบบอื่นๆเปนรูปแแบบใหมที่เกิดขึ้นเพื่อแกปญหาเรื่องจํานวนคนในแบบสี่เหลี่ยมผืนผา และขอจํ ากัดของผนังรูปพัด โดยจะตองคํานวนมุมที่เหมาะสม


ขึ้นดวย การจัดลักษฌะนี้ทําใหสามารถจุคนไดมากขึ้น แตละที่นั่งคิอเปนพื้นที่ 0.8 ตร.ม./คนความลาดเอียงของแถวที่นั่งเพื่อการไดยินและมองเห็นไดชัดเจนขึ้น นอกจากจัดใหแตละแถวเรียงเหลื่อมสลับกันแลว ควรจัดใหมี Slope โดยที่ แถวที่ 3 สามารถมอง


ขามศรีษะแถวที่ 1 ไดพอดี ซึ่งจะไดความลาดเอียง 8-30 องศา โดยยกระดับแตละขั้นประมาณ 12 ซม. แตละขั้นกวางประมาณ 0.84-1.00 ม.สภาวะการไดยินใน Auditorium ถูกพิจารณาวามีผลกระทบมาจากสถาปตยกรรม ในทางปฏิบัติเราสามารถออกแบบใหระบบเสียงในAuditorium ดีขึ้นไดซึ่งปญหาดานเสียงสามารถแกไขไดหลายวิธีที่ใชกันในปจจุบัน ทางดานโครงสราง และการตกแตงภายใน1.!ความตองการทางดานเสียง1.1! ควรมีความดังเทากันทุกสวนโดยเฉพาะที่นั่งหางไกล1.2! พลังงานเสียงควรถูกสงออกไปอยางสมํ่าเสมอภายในหอง1.3! Auditorium ควรมีคา RT ที่ดีที่สุดเพื่อไมใหสงผลกระทบตอผูแสดงและผูฟง1.4! Auditorium ควรปราศจากขอบกพรองทางเสียง เชน เกิดเสียงกอง การลาชาของการสะทอนของเสียง และอื่นๆ1.5! เสียงรบกวน และการสั่นสะเทือนที่จะรบกวนการฟง ควรถูกกําจัด2.!ระดับความดังที่เพียงพอปญหาในการจัดใหเกิดระดับความดังที่เพียงพอ โดยเฉพาะในAuditorium ขนาดกลางและใหญเปนผลมาจากการสูญเสียพลังงานเสียงในขณะเดินทางของคลื่นและจากการดูดซับของผูชมและสภาพแวดลอมภายในหอง ซึ่งเราสามารถแกไขไดดังนี้


1.!Auditorium ควรจัดใหผูฟงใกลแหลงกํ าเนิดเสียงมากที่สุดเทาที่จะทํ าได เชาเพิ่มที่นั่งชั้นบน ทําใหไดที่นั่งใกลมากขึ้น2.!แหลงกํ าเนิดเสียงควรถูกยกใหสูงเทาที่จะทําได เพื่อทําใหผูฟงเสียงโดยตรงจากแหลงกําเนิด3.!พื้นที่ใตที่นั่งควรเปนพื้นเอียงหรือ ขั้นบันไดเพราะเสียงจะถูกดูดซับไปโดยผูฟงที่อยูแถวหนา หลักทั่วไปขอหนึ่งคือ ความชันของทางเดินตรงของ Auditorium ไมควรชันกวา 1 ใน 84.!แหลงกํ าเนิดเสียง ควรถูกลอมรอบดวยพื้นผิวสะทอนเสียงขนาดใหญอยางใกลชิด เพื่อที่จะทําใหเกิดการสะทอนเพิ่มขึ้นของพลังงานเสียงในทุกสวนของผูฟงโดยเฉพาะอยางยิ่งในแถวที่นั่งหางใกล พื้นผิวสะทอนเสียงจะตองมีพื้นผิวที่สอดคลองกับความยาวคลื่นเสียงและตัวสะทอนจะตองถูกจัดวางในตํ าแหนง และปริมาณที่ทําใหเกิดชองวางระหวางเสียงจริง และเสียงสะทอนรบกวนอยางตอเนื่องมุมของเสียงสะทอนเปนไปตามกฎของการสะทอนเสียง และการใชงานอยางมีประสิทธิภาพนั้นมาจากพื้นผิวของเพดานและสวนหนาของผนังดานขางที่ใชเปนที่ติดตั้งวัศดุสะทอนเสียง ในทางปฏิบัติใชวิธีการรวบรวม Acoustic ที่มีประสิทธิภาพของเพดาน และ ผนังสะทอนเสียงลงในการจัดวาง Lay Out ทางสถาปตยกรรม โครงสรางMechanic การใหแสงทั้งหมดเปนปญหาที่ทาทายในการออกแบบAuditorium รวมสมัย5.!พื้นที่และปริมาตรของ Auditorium ควรเล็กที่สุด การลดระยะทางเสียงตรงและเสียงสะทอน


6.!ควรหลีกเลี่ยงคุณสมบัติการขนานกัน ระหวางของเขตพื้นที่ของเสียงสะทอนที่ตรงขามกันมักอยูตรงขามแหลงกําเนิด เพื่อกํ าจัดการสะทอนดานหลังของแหลงกํ าเนิดเสียงที่ไมตองการ7.!ผูฟงควรนั่งอยูในสวนที่มีความไดเปรียบ ทั้งดานการไดยินและมองเห็น ควรหลีกเลี่ยงการจัดที่นั่งแบบกวาง ทางเดินไมควรอยูตรงกลางแนวของ Auditorium ที่ซึ่งเปนที่ดีที่สุดสําหรับการดู และฟง8.!ถานอกจากแหลงกํ าเนิดเสียงเบื้องตน แลวยังมีแหลงกําเนิดเสียงเพิ่มขึ้นมาในสวนตางๆ ของหอง แหลงกําเนิดเหลานี้จะถูกลอมรอบดวยแผนสะทอนเสียง ในทุก Auditorium มันเปนสิ่งจําเปนที่จะทําใหพลังเสียงมากที่สุดเทาที่จะเปนไปไดถูกสงไปยังพื้นที่รับเสียง9.!นอกจากจะมีผิวสะทอนที่ชวยเสริมแรงของเสียงไปสูผูพังแลว ยังมีผิวสะทอนที่เพิ่มเขาไปเพื่อนําเสียงกลับสูผูแสดง โดยเฉพาะอยางยิ่งAuditorium ที่ออกแบบสํ าหรับ แสดงดนตรีและการพูด3.! คุณสมบัติทางเสียงคุฌสมบัติทางเสียงที่ตองการการออกแบบ Auditorium ตองมีคุณสมบัติดังนี้1.!Liveness เสียงที่มีความกังวาน (หองที่มีความกังวาล = Live Hall)02.!Fullness of Tone หองจะตองกํ าหนดคา R.T. เสียงไมจางหายไปเร็วเกินไปนัก เพื่อความกลมกลืนของเสียง


3.!Intim<strong>ac</strong>y ตองทํ าใหผูฟงรูสึกใกลชิดกับการแสดงดนตรี,เหมือนนั่งฟงในหองขนาดเล็ก,มีคา ITAG ตามกํ าหนด4.!Worm<strong>th</strong> มี Liveness ของเสียงเบส ตองทําให R.T. ของความถี่ตํ่าๆ(250 Hz) ยาวกวา R.T. ของความถี่สูง (500-1000Hz)5.!Loudness of Direct Sound ขีดความดังโดยตรงจากแหลงกําเนิดจะอยูในระยะ 60 ฟุต6.!Loudness of Reflect Sound ความดังของเสียงสะทอนมาสูคนฟงถาพอเหมาะจะไดยินเสียงชัดเจนแตตองไมมากไปกวาเสียงตรง7.!Definition of Clarity เสียงพูดตองแยกออกชัดเจนและพังรูเรื่อง8.!Brilliance ทุกความถี่ของเสียงBright ,Clear ,Ricw9.!Diffusion กระจายเสียงไปสูผูฟงอยางทั่งถึง10!.Balance มีความสมดุลระหวางเสียงดนตรีและเสียงรอง11!.Immediately of Aespone นักดนตรีตองไดยินเสียงดนตรีที่เกิดจากการผสมของทุกๆเครื่องดนตรี12!.Dynamic Range การกระจายเสียงที่ดัง และ คอยที่สุดไปทั่วหอง13!.Blend จากการวางตํ าแหนงเครื่องดนตรี ที่ทําใหเกิดการผสมของเครื่องดนตรีตางๆ14!.Uniformity ตองไมเกิด Dead spot และ Sound-Conlentrateคุณสมบัติของเสียงที่ไมตองการ1.!Echoes เกิดจากคลื่นเสียงที่ไลกันมาเปนระลอก เชา ความเร็วเสียง1125 ฟุต:วินาที ถาระยะระหวาง เสียงจริงและเสียงสะทอนเดินทาง


ตางกันมากกวา 66 ฟุต จะเกิดเสียงสะทอนที่ซอนกัน แกไขโดยใชDiffuser และ Absorber2.!Sound Focus เสียงที่รวมเปนจุดและดังมากในจุดหนึ่ง แตที่บริเวณอื่นจะปกติ เกิดจากเสียงกระทบผนังที่เปนConcave Surf<strong>ac</strong>e3.!Whispering Galleries เกิดจากเสียงสะทอนจากผนังเวาเขา โดยเฉพาะเสียงสูงซึ่งเคลื่อนตามผนังทีกวางๆ เสียงกระซิบนี้ไดยินในที่หางใกลออกไป ถึง 220 ฟุต เชนที่ St. Paul’s Ca<strong>th</strong>edal4.!Dead Spot เปนผลสืบเนื่องมาจาก Sound Focus เสียงที่สอดแทรกกันตามคุณสมบัติของคลื่นทํ าใหไดยินไมชัดเจน5.!Flutter Echo or Room Flutter เกิดจากการสะทอนของผนังที่ขนานกันแกไขโดยใชผนังเอียง Defuser หรือ Absorber6.!Distortion การเปลี่ยนคุณภาพเสียงดนตรีโดยไมไดตั้งใจ เนื่องจากการดูดซับเสยของผนังหองมากเกินไป หรือผิดปกติที่ความถี่เสียงตางๆ Distortion นี้สามารถที่จะหลีกเลี่ยงได โดยใชวัสดุดูดซับเสียงที่มีคุณสมบัติดูดซับเสียงไดเทาๆกันตลอดในทุกยานความถี่เสียง7.!Room Resonance เกิดขึ้นเมื่อยานความถี่ที่แคบมีแนวโนมที่จะดังกวายานความถี่อื่นๆ อาการนี้จะเปนมากในหองเล็กๆมากกวาในหองใหญ วิธีขจัดอาการนี้สามารถกระทําได โดยออกแบบหองอัดเสียงใหเสียงสามารถถูกอัดไดโดยใชไมโครโฟน


การออกแบบทางกายภาพเพื่อใหไดคุณสมบัติของเสียงตามความตองการ-Reverbation Timeการควบคุมการกังวาลของเสียงเสียงจากแหลงกํ าเนิด เมื่อเกิดขึ้นควรมีระยะทางเสียงเพื่อเกิดความกังวาลบางในระดับที่พอเหมาะ ไมใชขาดหายไปอยางรวดเร็ว แตไมมากเกินไปจนเกิดการซอนกันความกังวาลที่พอเหมาะนั้นขึ้นอยูกับปริมาณของหองนั้นแตละหองมีหนาที่ตางกันจะมีคา R.T.ที่เหมาะสมตางๆกันสูตรการหาคาR.T.R.T.=0.16v/A+Xเมื่อ R.T. = Reverbation Time (วินาที)V = ปริมาตร(M 2 )A = พท. ดูดซับเสียงทั้งหมด (M 2 *sabin)X = คา สปส การดูดซับเสียงของอากาศหูคนเราจะแยกเสียงเปน 2 เสียง ก็ตอเมื่อมีเสียงตามกันประมาณ 50msec หรือมากกวาแตถาประมาณ 30 msec จะเกิดความกังวาลของเสียงคาR.T. ในแตละสถานที่จะแตกตางกันออกไป เชน 0.5 วินาที ในLiving Room 3-6 วินาที ในโบสถ ดังตัวอยางORGAN MUSIC 2.5 วินาทีRomantic Uarrical Music 1.8-2.2 วินาที


Early Uarrical Music 1.5-1.7 วินาทีOpera 1.2-1.6 วินาทีChamber Music 1.4 วินาที-Diffusionการกระจายเสียงใหทั่วถึง และใหเสียงแตกตัวออกไปไมเกิดเสียงสะทอนโดยตรง และสามารถทํ าใหแกปญหา Echo Flutter ไดการทําใหเกิด Diffusion ทํ าไดโดยใชวัศดุเปนเหลี่ยมมุมหรือมีความหนา 0.3-0.6 m. ควรมีการกอสรางอยางมั่นคง-Reflectionการสะทอนเสียง มีความสําคัญในการสรางคุณภาพเสียงที่ใหความรูสึกโอบลอม อบอุนแกผูฟง ลักษณะเสียงสะทอนที่นํามาพิจารนามี 2ลักษณะคือ•!The early reverbrant energy ทํ าใหเสียงจริงมีความกระจางชัดเนื่องจากมีการสะทอนไดครบทุกโทน แตตองระวังเรื่องความแตกตางของเสียงจริง และเสียงสะทอน ตองทําใหเกิดความสมดุลโดยใชระนาบสะทอนเสียง แขวนจากเพดาน เพื่อ Balance เสียง•!Lately reflection เสียงสะทอนดานขางมีสวนชวยใหเกิดความรูสึกอบอุนในการรับฟง ตองมีคุณสมบัติไมใหมีความแตกตางของเสียงจริงจากผูแสดงไปยังผูชมทางตรง (Direct Sound) กับเสียงสะทอน(Reflected Sound) ตองไมเกิน 8 msec และตองเปนทิศทางที่เหมาะสม ไมเกิดลักษณะคลุมเคลือและจับทิศทางไมได


-Imtial Time Delay Bap (ITDG)ชวงเวลาหลังจากเสียงตรงขับออกมาแลวสะทอนแรกตัวไลตามกันมา ชวงเวลานี้จะเปนตัวตัดสินวาเสียงมีความกระชับหรือไม คา ITDG มีคาเฉลี่ยอยูระหวาง 15-20 msec จะดี แตถามากกวานี้ทําไดโดยแกSectionของ Hall และใชแผน Acrylic กลมแขวนลงมาจากเพดานในระยะที่เหมาะสมNoise Vibration ControlAuditorium จํ าเปนตองควบคุมเสียงที่เกิดขึ้นภายใน-ระหวางอาคารเพื่อเปนผลดีตอสมาธิและอรรถรสในการรับฟงดนตรีการควบคุมเสียงไดตองทราบถึงแหลงที่มา ซึ่งสามารถสรุปได 2 หลักใหญๆคือ1.!Airborne Noise เสียงรบกวนที่ผานอากาศเปนตัวกลาง ปองกันไดดวยการใชตัวดูดซับเสียงติดตั้งภายในหอง2.!Structure-Borne Noise or Imp<strong>ac</strong>t Noise มักเกิดจากวัตถุกระทบกันเสียงผานมาตามโครงสรางและสงผานอากาศใหไดยินการใชตัวรองรับยืดหยุนหรือใชขอตอโครงสรางและมาสงผานเสียงรบกวนไดการออกแบบอาคารเพื่อควบคุมเสียงรบกวนจากภายนอก1.!การใชระยะถอยรนจากแหลงกํ าเนิดเสียง เพื่อลดความเขมเสียง2.!การนําเอา Landscape Element หรืออาคารอื่นมากัน ลดความเขมเสียง


3.!สรางNoise Shadow หรือ Noise Shade หรือ Building Elementของอาคารเอง4.!ลดเสียงที่มาจากแหลงกํ าเนิดเสียง เชน เลือกใชระบบเครื่องกลที่มีเสียงเบาและมีการปองกันการสั่นสะเทือนโดยใช Absorber5.!วางตํ าแหนงหองใหไกลจากแหลงกํ าเนิดเสียง แยกสวนที่มีเสียงดังออกจากหองที่ไมตอการเสียงรบกวน6.!ทํ าผนังหองที่มีโอกาศรบกวนของเสียงไมติดกัน7.!การทํ าผนัง 2 ชั้น เพื่อเพิ่มความสามารถการกันเสียง8.!การแขวนฝาเพดาน กับพื้นชั้นบนดวยที่แขวนแบบลดการสั่นสะเทือน การใชฝาเพดานที่มีคุณสมบัติกันเสียงได9.!ปองกันเสียงรบกวนจากหลังคาเชนควรมีชองวางระหวางฝากับวัสดุมุง หรือหลังคา 2 ชั้น โดยมีหลังคาคอนกรีตชั้นหนึ่งกอนจะถึงหลังคามุงกระเบื้อง ซึ่งกันเสียงไดราว 25-40 dB กระเบื้องแผนเล็กกันเสียงไดดีกวากระเบื้องแผนใหญ ใน Auditorium อาจมีการบุฉนวนกันเสียงดวยการปองกันเสียงดังทํ าไดโดยใชวัสดุดูดซับเสียงที่มีคาความสามารถในการปดกั้นเสียง ทําใหเสียงสูญเสียระดับการกวนลง(TransmissionLoss) มีสูตรในการหาคือTL = L 1 -L+10 10G S-10 IOG STL = Transmission LossL 1 = ระดับเสียงภายนอกที่สงรบกวนL 2 = ITFY [GLUP’4KP.OSIIV’MUJ9HV’DK]


S = พท. แผนกั้นเสียงรบกวนA 2 = พท. ผังของตัวดูดซับเสียงทั้งหมดของหองที่กําลังจัดระบบโครงสรางใน <strong>AUDITORIUM</strong>-! ในสวนโครงสราง <strong>AUDITORIUM</strong> จํ าเปนจะตองใชโครงสราง WIDESPAN โดยคํ านึงถึงความเหมาะสมทางดานการใชสอย ความประหยัด ความสงางาม และสมเหตุสมผล-! โครงสรางผนังบางสวนจะเปนผนังปองกันเสียง อาจจะตองมีการบุวัสดุสะทอนหรือดูดกลืนเสียงหรือทํ าผนัง 2 ชั้น หรือผนังที่หนากวาปกติ เชน <strong>AUDITORIUM</strong> และ REHEARSAL ROOM ตองมีระบบปองกันเสียงที่ดีในสวนของ <strong>AUDITORIUM</strong> ตองมีการปองกันคลื่นRF (RADIO FREQUENCY) ที่อาจทะลุเขามารบกวนการใชอุปกรณอิเล็คโทรนิคในอาคารดวยเทคนิคการออกแบบรายละเอียดโครงสรางผนัง ผนังใน <strong>AUDITORIUM</strong> แบงงายๆเปน 2 สวน คือ-! ดานขาง-! ดานหลังใน CONCERT HALL ตองคํ านึงถึงผนังดานขางมาก เพราะอาจเกิดเสียงสะทอน แกไขไดโดยการทําใหผนังผายออกสวนของผนังตอนใดที่เกิดเสียงสะทอน แกไขโดยใชพื้นผิวที่หยาบหรือใชวัสดุกลืนเสียงชวย


ปญหาที่เกิดจาก FLUTTER ECHO คือ เสียงสะทอนไปมาระหวางผนัง 2 ขาง แกไขโดยการทําผนัง 2 ขางไมใหขนานกันทําใหเอียง เท หรือเปนรูปฟนเลื่อยผนังในระดับศรีษะของผูฟงจะเปนตําแหนงที่สะทอนเสียงใหแกผูฟงไดดี จึงควรใชวัสดุสะทอนเสียง สวนของผนังที่สูงขึ้นไปนั้นไมคอยมีผลในการสะทอนเสียงแกผูฟง จึงใชวัสดุดูดเสียงเพื่อบังคับการเกิดREVERBERATIONผนังควรจะตองตอกันไปตลอดไมควรเจาะชองหนาตางการใชผนังเอียงเล็กนอย เปนการทําใหเกิดเสียงสะทอนที่ดียิ่งขึ้นและยังแกปญหาการเกิด FLUTTER ECHO ใน <strong>AUDITORIUM</strong> ขนาดใหญได ทํ าใหเกิดเสียงกระจายไปไดยินทั่วทุกวิถีทาง โดยไมตองใชระบบเครื่องขยายเสียง แตตองไมเอียงมากเกินไปจนเกิด REFLECTION ไดผนังดานหลัง เปนตัวสะทอนเสียงสูหูผูฟงดานหนาเวที ซึ่งเปนเสียงที่ไมตองการ การออกแบบผนังดานหลังควรออกแบบใหเปนวัสดุกลืนเสียงผนังดานหลังไมควรตั้งฉากกับฝาเพดาน เพราะจะเกิดเสียง FEEDBACK ไปยังหูผูฟงตอนหนาเวที ในกรณีที่ใชเครื่องขยายเสียง ถาออกแบบผนังดานหลังเปนรูปโคงตามรูปของที่นั่ง จะเกิด ECHO และFOCUSSING จึงควรหลีกเลี่ยงการออกแบบผนังดานหลังแบบCONCAVE SURFACE เพราะเสียงจะดังเปนจุดไมสมํ่าเสมอวิธีการแก FEED BACK ของเสียงอาจทําไดโดยเวาเพดานที่จะจรดกับผนังหรืออาจจะออกแบบผนังดานหลังใหเอียงก็ได เพราะจะชวยกระจายเสียงและแก ECHO แตสํ าหรับหองขนาดใหญตองระวังการทํา


อัตราสวนอยางตํ่าสํ าหรับหองใหญ เชน 100 X 150 ตารางเมตรเพดานสูง 30 – 35 เมตรอัตราสวนอยางตํ่าสํ าหรับหองเล็ก เชน 18 x 24 ตารางเมตร เพดานสูง 10 – 12 เมตรในการบรรเลงดนตรีประเภท CHAMBER MUSIC เพดานควรตํ่าเรียบสะทอนแสงไดดี เพดานรูปโคงไมควรใช เพราะจะเกิด SOUNDFOCUS ฝาเพดานไมควรขนานกับพื้นเพราะจะเกิด FLUTTER ECHO ขึ้นฝาเพดานที่ดีควรมีคุณสมบัติตางๆที่ใหความสัมพันธอยางดีระหวางความสูงของหองกับสัดสวนของผังพื้น อันทําใหเกิดปริมาตรภายในขึ้นอยางเหมาะสมถาฝาเพดานเปนมุมฉากกับผนังดานหลังจะทําใหเกิดเสียง ECHOสะทอนกลับไปยังแถวหนาๆได แกไขโดยใชผลสะทอนเสียงใหเกิดประโยชนโดยนําเอา CEILNG SPLAY มาใชกับฝาเพดานและผนังดานหลัง จะเปนแผนตรงหรือเวาก็ได ผลที่ไดคือเสียงสะทอนลงสูผูฟงแถวหลังๆไดยินชัดเจนยิ่งขึ้นการปองกันเสียงสะทอนการปองกันเสียงสะทอนจัดวามีความสําคัญตออาคารและโครงสรางทัดเทียมกัน การประดับโคมไฟ การปรับอากาศและการวางผังที่สมบูรณจะตองไมละเลยในเรื่องนี้ โดยเฉพาะอยางยิ่งอาคารประเภท หองประชุมโรงมหรสพ และโรงเรียนดนตรี ในการออกแบบปองกันเสียงสะทอนไดอยางสมบูรณแบบตองใชสถาปนิกและวิศวกรที่ชํานาญ ประกอบกับวิทยา


การทางเทคนิค ถาหากสรางอาคารขึ้นมาแลวเกิดปญหาทางดานเสียงเนื่องจากสถาปนิกไมไดคํานึงมากอนก็เปนการยากมากที่จะแกไขใหม ซึ่งสิ้นเปลืองมากทั้งยังอาจไมสามารถควบคุมระบบเสียงสะทอนไดดีเหมือนกับอาคารที่ไดวางผังปองกันเสียงสะทอนไดอยางถูกตองวัสดุกอสรางที่ใชในอาคารนั้น บางอยางมีคุณสมบัติในการดูดเสียงสะทอนไดดี เชน เซลโลแทรกซ พรม เฟอรนิเจอรบุหนัง ผามานหนา สวนวัสดุที่เปนตัวกันเสียง เปนพวกผนังตางๆเชน กําแพงอิฐ ฝาไมกระจก ทั้งนี้ตองใหชองรอยแตกตางๆนอยที่สุด เพราะจะตองใหคุณภาพในการกันเสียงดีที่สุด วัสดุที่กั้นเสียงที่ดีชั้นตรงๆปเปนปฏิภาคกับนํ้าหนักดนตรีของวัตถุนั้น สํ าหรับวัสดุที่บาง เชน ไมอัด กระจก ถากันเปน 2 ชั้น โดยมีชองอากาศตรงกลาง ก็จะมีคุณภาพดีกวาผนังชั้นเดียวมาก การปองกันเสียงสะทอนในงานสถาปตยกรรมนั้นมีความตองการ 2 ทางคือ1.!เพื่อใหสิ่งแวดลอมในการปองกันเสียงสะทอนไดผลเปนที่นาพอใจ2.!เพื่อสภาวะการรับเสียง ชัดเจนยิ่งขึ้นเพื่อที่จะใหวัตถุประสงคทั้งสองขอนี้บรรลุตามความมุงหมาย การวางผังอาคารและควบคุมเสียงสะทอน จึงตองอาศัยความรูเบื้องตนเกี่ยวกับเรื่องเสียงสํ าหรับมหรสพและโรงดนตรีจะตองวางผังจุดที่ะเลนดนตรีลักษณะอาคารหรือลักษณะหองโถงดนตรี ปริมาตรหอง วัสดุกอสรางและวัสดุที่ใชประดับหองประตู หนาตาง ใหมีคุณสมบัติปองกันเสียงสะทอนไดดีสิ่งแวดลอมในการปองกันเสียงสะทอน1.!ความเขมและลักษณะของเสียงตางๆที่จะเกิดขึ้นในโถง


2.!วิธีที่เสียงตางๆจะกระจายไปยังจุดตางๆของหองโถงสิ่งแวดลอมตางๆที่เกี่ยวกับเสียงสะทอนขึ้นอยูกับความมุงหมายในการใชหองหรืออาคารนั้น สํ าหรับหองในโรงพยาบาลตองการขจัดเสียงอึกทึก ซึ่งเกิดจากสิ่งแวดลอมใหนอยที่สุดเทาที่จะทําได สวนในโรงงานที่มีเสียงอึกทึก ก็ตองพยายามไมใหเสียงอึกทึกมากเกินไป จนอาจกระทบกระเทือนตอความสบาย ประสิทธิภาพ และสุขภาพของคนงานดวยในหอง <strong>AUDITORIUM</strong> ปญหาสิ่งแวดลอม ในการปองกันเสียงสะทอนยิ่งมากเปนทวีคูณ หองฝกซอมดนตรีจะตองปองกันภาวะการฟงเสียง ภาวะการฟงเสียงในหองจะไดรับผลเปนที่พอใจนั้น ตองการสวนตางๆดังนี้1.!เสียงเบื้องหลัง (BACKGROUND) จะตองมีระดับตํ่ากวา2.!การขจัดเสียงสะทอนกลับ ซึ่งตอเนื่องกันหลายครั้งหลายหน3.!จัดการกระจายเสียงไปทั่วที่วางในหองใหเหมาะสม4.!ใหเสียงไปถึงผูฟงอยางเพียงพอเสียงเบื้องหลังเกิดจากเสียงที่ลอดออกมานอกหอง รวมทั้งเสียงที่เกิดในหองดวย จํ าเปนจะตองตัดลงใหเหลือเล็กนอยที่สุด เพื่อจะใหการฟงดีขึ้นเสียงสะทอนกลับ ซึ่งตอเนื่องกันหลายครั้งหลายหน ก็จําเปนจะตองมีการสกัดกั้นเทาที่จะทําได สํ าหรับหองบรรยายและหองซอมดนตรี ทั้งนี้เพราะเสียงสะทอนกลับนี้จะทําใหเกิดเสียงพรา ที่จริงแลวเสียงสะทอนที่พอเหมาะจะชวยใหดนตรีมีความไพเราะยิ่งขึ้น แตตองไมมีขึ้นอยางสมํ่าเสมอทั่วหอง การจัดเสียงใหกระจายไปยังที่วางตางๆ ในหองอยางเหมาะสมนั้น


การขจัดจุดที่เสียงพรา เสียงกองและเสียงรวมใหมีนอยที่สุดเทาที่จะทําไดสวนการจัดเสียงไปยังผูฟงไดอยางชัดเจนและดังพอนั้นก็เพื่อจะทําใหผูฟงไดรับฟงดนตรีสํ าหรับวงดนตรีเล็กๆเสียงดนตรีจะดังพอ แตถาเปนหองประชุมใหญ การออกแบบเวทีหรือที่เลนดนตรีมีความสําคัญมาก บางที่อาจตองการ ระบบขยายเสียง เชน ในการเดี่ยวดนตรีชนิดตางๆมาตรฐานการปองกันเสียงสะทอนมาตรฐานการปองกันเสียงสะทอน ขึ้นตรงตอภาวะการฟงเสียง 4 ขอซึ่งไดรวบรวมขึ้นเปนสูตรและกฎเกณฑตางๆ เพื่อเปนประโยชนในการออกแบบใหมีประสิทธิภาพดีขึ้นปญหาแรก ซึ่งเกี่ยวกับสิ่งแวดลอมและภาวะการฟงเสียง ก็คือ การควบคุมเสียงเบื้องหลัง ระดับเสียงนี้เราอนุญาตใหมีไดในหองตางๆไมเทากัน เชน ในหองสงวิทยุกระจายเสียง เราพยายามใหระดับเสียงตํ่าสุด ดังตารางตอไปนี้มาตรฐานโดยทั่วไปสํ าหรับเสียงเบื้องหลังที่อนุญาตใหมีไดหนาที่ของหองระดับเสียงอึกทึกเฉลี่ยหองสงวิทยุ 25 – 35หองดนตรี 30 – 40หองประชุมเล็กสําหรับการบรรยายหรือหองประชุมใหญที่มีระบบขยายเสียง 35 – 45หองสมุดหรือหองทํางานที่ใชสมาธิ 40 – 60


โรงงานและโรงซอม 50 – 80ระดับเสียงที่ตํ่ ากวาระดับตารางขางบนนี้ เปนสิ่งที่ตองการคาที่อยูระหวางตัวเลขแสดงถึงผลที่ไดจากการจัดระบบปองกันเสียงที่ดี คาระหวางตัวเลขนี้เปนคาที่ตองลงเนื่องจากประโยชนใชสอยการควบคุมเสียงสะทอนตอเนื่องปญหาตอไปนี้ ไดแก การควบคุมเสียงสะทอนตอเนื่อง ไดแก การกั้นเสียงใหจางไปแมวาจุดที่เปลงเสียงจะหยุดแลวก็ตามก็ยังมีเสียงสะทอนตอเนื่องอีกชั่วระยะเวลาหนึ่ง เรียกวา เวลาของเสียงสะทอนตอเนื่อง ไดแกเวลาเปนวินาที ซึ่งเสียงสะทอนตอเนื่องจะจางลงถึง 1 ลานของความเขมเสียงเดิม สํ าหรับขนาดของหองและภาวะการใชสําหรับหองหนึ่งๆ จะมีระยะของเสียงสะทอนที่ไดผลดีที่สุดระยะหนึ่ง โดยทั่วไปแลวหองที่มีขนาดใหญตองการเวลาของเสียงที่สะทอนตอเนื่องนานยิ่งกวาเสียงดนตรีและเสียงวงดนตรีสิ่งแวดลอมในการปองกันเสียงสะทอนนั้น ตองประกอบดวยเวลาของเสียงตอเนื่องอยูในระหวางเขตจํากัด ซึ่งอาจนอยกวาเสียงพูดเสียงหรือดนตรี ถาหากหองนั้นประกอบดวยวัตถุกันเสียง ซึ่งจะทําใหเวลาของเสียงสะทอนตอเนื่องราวๆเดียวกับการฟงเสียงพูด หองนี้จะมีสภาพที่เหมาะที่สุดในกรณีสวนมาก หองที่ใชเวลาสะทอนตอเนื่องมากกวาเวลาที่กลาวมาแลว 3 เทา การปองกันเสียงสะทอนไมไดผลดี เนื่องจากหองจะมีเสียงสะทอนและเสียงพราไปหมด สํ าหรับหองที่ตองการความเงียบมาก เชน


หองสมุดหรือหองรับแขก เวลาของเสียงสะทอนตอเนื่องไมควรเกิน ½ เทาของเวลาสูงสุดของเสียงสํ าหรับความตองการใหเสียงกระจายไปทั่วหองซึ่งไกลเปนปญหาที่สํ าคัญมาก จะไดกลาวตอไปในเรื่องการควบคุมการกระจายเสียงของหองใหญๆ ขนาด 50000 ลบ.ฟ. จะตองใชเครื่องขยายเสียงชวยจะตองจัดจุดกระจายเสียงที่ดี เพื่อใหเสียงนั้นมีคุณภาพที่ดีสํ าหรับ <strong>AUDITORIUM</strong> ที่มีขนาด 1 ลาน ลบ.ฟ. เสียงของวงดนตรีซิมโฟนีก็มีความชัดเจนดี ถาเสียงเบื้องหลังไมดังมาก อยางไรก็ตามเสียงยวดยานอาจกลบเสียงดนตรีตอนที่เบาที่สุดหมดจึงตองจัดตําแหนงที่เลนของวงดนตรีใหอยูหางจากเสียงรบกวนมากที่สุด โดยคั่นเสียงดวยที่วางสํ าหรับคนที่นั่งฟงSUITESOUND ABSORBTING MATERALการดูดเสียงพลังงานของเสียงประกอบดวย AIRPRESSURE ซึ่งเกิดจากการไหวตัวของตัวกลางในรูปและขนาดคลื่นที่ประสาทหูรับได ตัวอยางเชน สีไวโอลิน สายจะสั่นเกิดเสียงสะทอนเทียบเสียงกรวยกระดาษในลํ าโพง การไหวตัวของตัวกลางทําใหเกิดเสียงขึ้น ซึ่งเราอาจใชประสาทสัมผัสทราบไดถามีพลังงานคลื่นเสียงมากพออาจทําใหตัวกลางที่คลื่นเสียงไปกระทบ สั่นไดคลื่นเสียงจะหมดพลังงาน ถากระทบกับตัวกลางหรือวัสดุที่สั่นไดดี SOUND ABSORB เชน นุนเมื่อขรุขระหรือเวลามีคลื่นเสียงมากระทบ แรงอัดอากาศจะขยับเสนใยนั้นหลังงานของมันจะหมดลง แตเสียง


ที่กระทบวัสดุแข็งผิวหนาเรียบ (SOUND REFLECTING MATERIAL) เชนไมหนา กํ าแพง ค.ส.ล. คลื่นเสียงจะกระทบกลับเปนสวนใหญในบางโอกาสวัสดุที่สะทอนเสียง อาจทํ าใหดูดเสียงได เชน แขวนแผนไมอัดดวยสปริงใหยืดหยุนได ก็มีคุณสมบัติดูดเสียงไดดี ถาความถี่ของเสียงใกลเคียงกับการยืดหยุนของไม เสียงจะดูดกลืนทางMACHANISM ซึ่งเปนการเปลี่ยนแปลงพลังงานของเสียงใหเปนพลังงานรูปอื่นชนิดของวัสดุดูดเสียง1.!PREFABRICATED ACOUSTIC UNITSเปนวัสดุดูดเสียงที่สําเร็จรูปรวมทั้ง ACOUSTIC TITLE มักทํ าเปนแผนๆและเจาะรูพรุน2.!ACOUSTICPLASTER AND SPRAYEDON MATERIALเปนวัสดุที่ประกอบดวยรูพรุน (POUS) และพวกพลาสติกหรือวัสดุที่มีใยผสมกับ3.!ACOUSTIC BLANKETเปนวัสดุพวก BLANKETS สวนใหญทําดวย MINERAL หรือWOODWOOL,GLASSFIBERS ซึ่งแบงออกเปน 4 ประเภทประเภทที่ 1 ทํ าเปนแผนสําเร็จรูปมีรูพรุน และใช PORDLAND CEMENTเปนตัวยืด-! ALL MATERIAL เปนเม็ดเล็กๆและใช PORDLAND CEMENTเปนตัวยืด


-! ALL MATERIAL UNIT เปนเม็ดเล็กๆและใชยิปซั่ม หรือ LINESเปนตัวยืด-! MINERAL หรือใชไมออนผสมกับ MINERAL BINDER ซึ่งไมติดไฟ เชน แผน SOFTION ของ AMERIAN ACOUSTICประเภทที่ 2 เปนแผนสํ าเร็จรูปที่เจาะพรุนดวยเครื่องจักรและรูเปนระเบียบ แบงเปน-! เปนแผนที่มีผิวหนาแข็งและแกรง เจาะรูพรุนใชสําหรับเปนแผนปดหนาหรือเปนตัวยืดใชกับวัสดุดูดเสียงที่ออนนุม เชน พวกBLANKET แบบนี้ใชสีไมอุดรูพรุนทาบผิวหนาได-! เปนแผนวัสดุที่มีผิวหนาออนนุมกวาแบบแรก และเจาะรูพรุนสามารถทาสีไดโดยไมทํ าใหคุณสมบัติดูดเสียงลดลง-! เปนวัสดุแบบเดียวกัน แตเจาะใหทะลุเปนทางยาวหรือทําเปนรองซึ่งสามารถดูดเสียงไดประเภทที่ 3 เปนแผนที่มีผิวหนาหยาบ (ASSURED SURFACE) อาจทําไดจากวัสดุหลายชนิด เชน วัสดุกอสราง MINERAL CORK มีคุณสมบัติดูดเสียงไดดีเหมือนประเภทที่ 4 วัสดุชนิดนี้ที่มีผิวหนาหยาบเปนหลุมบอมากทาสีไดประเภทที่ 4 เปนแผนที่มีผิวหนาเปนใย (TOLTED FIBER SURFACE)แบงเปน-! เปนแผนที่ทําดวยใยบางๆ เชน ขี้แกลบผสมกับ MINERALBINDER ผิวหนามีทั้งเรียบ ปานกลางและหยาบ


-! ทํ าดวยไสไมชนิดออน เชน ไสไมสน หญาปลอง วัสดุประเภทนี้ติดไฟไดงายแตดูดเสียงไดดี ราคาถูกมักทําเปนแผนสําเร็จรูป ขนาดกวาง 4 ฟุต ยาว 4 – 40 – 12 ฟุตทาสีไมได-! ทํ าดวยพวก MINERAL FIBERS นํ ามาอัดเชนเดียวกับACOUSTIC PLASTIC AND SPRAYERON MATERIALคุณสมบัติขึ้นอยูกับวัสดุที่ใช ความหนา วิธีทํา การแข็งตัวของวัสดุที่ใชโดยเฉพาะดูดเสียงที่ความถี่ตํ่าๆ มีความหนาพอเหมาะและประหยัดควรหนา ½ ” คุณสมบัติของ ACOUSTIC จะดีหรือไมขึ้นอยูกับความแหงหรือตัววัสดุที่ใช ปูนฉาบ จะตองมีคุณสมบัติในการดูดซึมไมคอยมาก และจะตองมีความชื้นพอดีไมเปยกหรือแหงมากเพราะถาเปยกมากการเกาะกินระหวางผิวหนาของผนังกับปูนหรือวัสดุที่ฉาบจะไมเกาะกันดี แตถาแหงเกินไปมักจะดูดเอาความชื้นจากปูน ทําใหเสื่อมคุณสมบัติและรอนวิธีทํา ACOUSTIC มีหลายแบบ1.!ทํ าจากวัสดุที่ผสมกับนํ้ าแลวแข็งตัว เชน ยิปซั่ม PORTLAND CEMENTหรือ LINE จะได ACREGATE ผสมหรือไมก็ได2.!ทํ าดวยวัสดุชนิดอื่นที่ใชปูนฉาบดวยเครื่อง3.!ทํ าดวยวัสดุที่มีใยผสมกับ BINDERAGENT และนําไปใสเครื่องพนใหเปนฝอยหรือฉาบดวยเครื่อง วิธีนี้ไดผลดีมากในการดูดเสียง แตสิ้นเปลืองมากACOUSTIC BLANKETวัสดุที่ใชทํ าสวนมากเปนพวกใยหิน ขนสัตว ใยไมและใยแกวความหนาของ ACOUSTIC BLANKET ประมาณ ½ “ – 4 “ ถาหนากวานี้ใช


กรณีพิเศษ วัสดุใชดูดเสียงที่มีความถี่ตํ่าไดดี ยิ่งหนามากยิ่งดูดเสียงไดดีแตเลวลงในการดูดเสียงที่มีความถี่สูงๆ ปกติ ACOUSSTIC BLANKET จะเปนแผนออนมวนได จึงตองใชติดกับโครงสรางที่แข็งตัว ใชปดหรือประกบดวยวัสดุที่เปนแผนแข็ง เชน เมโซไนทหรือแผนโลหะที่ตองมีรูพรุน คุณสมบัติในการดูดเสียงวิธีนี้คลายกับพวก FRABLICATED UNIT เสียงเล็ดลอดของวัสดุที่ปะหนาเขาไปและถูกดูดดวย BLANKET ขนาดของรูบนแผนปะหนาควรอยูในระหวางความกวางของรูระยะทาง3/6 “ 1/2 “1/8 “ 3/8 “โดยที่ระยะหางของรูยิ่งมาก คุณคาของการดูดเสียงที่มีความถี่สูงจะนอยลงแตดูดเสียงที่มีความถี่ตํ่าดังเดิมการดูดเสียงโดยวิธีอื่นๆ ABSORBTION BY PATCHES OF MATERIALการใชวัสดุดูดเสียงลดความดังของเสียงลงนั้น ขึ้นอยูกับการนําเอาวัสดุมาติดตั้งภายในหองที่ตองการ โดยการติดอยางกระจายทั่วไป เพื่อใหคุณสมบัติในการดูดเสียงที่ดีที่สุดควรกระจายติดตั้งวัสดุเปน PATTERNเล็กๆแทนการติดตั้งวัสดุที่มีพื้นที่เทากัน แตคิดเปนแผนใหญๆเปนแผนเดียว จากการคนพบวัสดุดูดเสียงชนิดหนึ่งหนา 1 นิ้ว เนื้อที่ 48 ตร.ฟุต หรือขนาด 6 X 8 ฟุต จะมีคุณภาพนอยกวานํามาติดเปนชิ้นเล็กๆแลวนํามาจัดเปน PATTERN PANEL ABSOORBERSการลดเสียงที่มีความถี่ตํ่ าๆ ควรใชวัสดุที่เปนแผนบางๆเชน แผนใยไมอัด กระดาษอัด ไมอัด หรือแผนพลาสติก เปนฝาเพดานหรือไมบังผนัง


ตามปกติวัสดุเหลานี้มีคุณสมบัติในการสะทอนเสียงไดดี ถาทําใหแข็ง หรือเปน MASS เชน ติดแนบกับโครงสรางอยางมั่นคง หรือปะติดกับผนังคอนกรีต ถาติดแนนวัสดุเหลานี้ไมสามารถเคลื่อนไหวได เชน ปะหนาวัสดุที่ออนตัวได พวก MINERALWAAL BLANKET หรือทํ าใหมีชองอากาศอยูเบื้องหลังวัสดุ หรือโดยวิธี SPOT-CEMENTING กับ PANEL โดยตรงแลวจะกลับมีคุณภาพดูดเสียงตํ่าๆไดดี แตจะดูดไดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับระยะของชองอากาศและคุณภาพของชองวัสดุออนตัวRESONATOR PANEL ABSORBERSการควบคุมการดูดเสียงตามความตองการโดยใชหลักสั่นสะเทือนเชน ใชวัสดุดูดเสียง ซึ่งมีรูพรุนมาทําเปน PANEL แลวตัดบานพับใหเปดปดไดทํ าใหปริมาตรของชองอากาศหลังเปลี่ยนแปลง อันมีผลถึงปริมาตรการดูดเสียง ถาตองการดูดเสียงมากก็เปดPANEL ออกใหพอดีกับขอบที่ยกสูงขึ้น แตถาตองการใหสะทอนเสียงก็เปดPANEL ทํ าใหไมมีชองวางการใชวัสดุพวก LIGHT PAROUS CLOTH ปดผิวหนาPANEL ทั้งภายนอกและภายในจะชวยเพิ่มคุณสมบัติดูดเสียงการกันเสียงของฝาผนังจุดประสงคทางโครงสรางของฝาผนังหรือ PARTITION ใชเปนที่แบงขอบเขตและรับนํ้ าหนัก ถามีนํ้าหนักบรรทุกอยูบนกําแพงหรือผนังแบบนี้มักเปน MASS แข็งแรงทั้งมีคุณสมบัติกันเสียงไดดี แตในโครงสรางเหล็กหรือคอนกรีตเสริมเหล็กการใชผนังเปนสวนชวยรับนํ้าหนักจึงใชแบบPARTITION เบาๆเพื่อใหประหยัด ทําใหคุณสมบัติการกั้นเสียงลดลง


ประเภทของผนังที่ใชกั้นเสียง1.!SINGLE HOMOGENOUS PARTITION เปนผนังชั้นเดียวใชวัสดุเปน SOLD NONFORONS ขนาดที่ประหยัดคือใชกออิฐหนา9 “ คอนกรีตหนา 6 “2.!SINGLE INHOMOGENOUS PARTITION เปนผนังวัสดุเปนโพรงใช HOLLOW TILES ซึ่งมีชองอากาศอยูภายในทั่วไป ผนังแบบนี้เบากวาแบบแรกแตมีคุณสมบัติคลายกัน3.!DOUBLE PARTITION เปนผนังหนาๆ อาจทํ าใหเปนตัวINSULATION ไดดีขึ้น โดยจําแนกเปนผนังบางๆ 2 ชั้น แตเสนมีชองอากาศระหวางกลาง เชน ผนังที่ทําดวยวัสดุอยางหนึ่งในทางเปน INSULATION การยึดระหวางผนังทั้ง 2 นั้นถาหางมากความมั่นคงจะลดลง สํ าหรับผนังหนักๆ อาจทํ าใหหางกันและไมตองการชองอากาศมากนัก การปองกันเสียงที่มีความถี่ตํ่าๆ ที่รอยตอของผนังกับผนัง พื้นเพดานควรจะรองดวยวัสดุที่ยืดหยุนไดอาจใช POROUS MATERIAL เชน COCK หรือ PELP STIPแลวจึงใช PLASTER หรือใยบัวปด4.!COMPLEX PARTITION เปนแบบ STUD PARTITION จะมีชองอากาศระหวางผนังหรือไมมีก็ได ผิวหนาใชวัสดุที่เรียบ เชนแผนไมขัดแตะหรือระแนงฉาบปูน PLASTER, BOAED,FIBERBOARD ปดบนRIGID FRAME WESK เปนผิวหนาที่ชวยใหแข็งแรงขึ้น และมีคุณสมบัติปองกันเสียงที่มีความถี่สูงไดดีมากการติดตั้งใชตอกตะปูยึดติดกับ STUD ถาตองการใกผนังทั้งสอง


หางกันมากขึ้น ควรใชผนังแบบ DOUBLE STUD หรือSTAGGED STUD อาจใชวัสดุกันเสียงอื่นๆ ใสระหวางแผนผนังผิวหนาทั้งสองหรือใชวัสดุกันเสียงการกั้นเสียงและพื้นเพดานเสียงรบกวนที่สงผานมาตามพื้นและเพดาน ไดแก-! คลื่นเสียงตางๆที่มีอากาศเปนสื่อ ซึ่งไมคอยมีปญหามากนักเพราะสวนมากพื้นจะกั้นเสียงชนิดนี้ไดดีพอสมควร เนื่องจากโครงสรางนี้มักจะมีชองวางอากาศ ซึ่งกั้นคลื่นเสียงไดดี-! เสียงที่เกิดจากการสั่นไหวโดยตรง เชน การสั่นไหวของเครื่องจักรเครื่องยนตรตางๆ การทําใหพื้นลอยจากโครงสรางสําคัญ โดยใชพวกยางหรือแผนโฟมเสริมก็ชวยไดมาก โดยเฉพาะถามีการสั่นสะเทือนไหวและมีความถี่ตํ่าๆ-! เสียงที่สงผานมาตามโครงสรางหรือใชโครงสรางเปนสื่อ เชน เสียงที่ผานลงไปพื้นขางลาง เสียงดิน เสียงของตก เสียงเครื่องดนตรีบางชนิด เชน กลอง เสียงเหลานี้จะสงผานไปตามโครงสรางที่ทําดวยวัสดุแข็งๆไดดี การแกไขอาจทําไดโดยการปูผิวหนาพื้นโดยตรง หรืออาจทํ าใหชองอากาศคั่นระหวางพื้นกับเพดานของชั้นที่อยูใตลงไป จะชวยกั้นการสงผานของเสียงไดดีการลดเสียงรบกวน (NOISE REDUCTION)1.!ระบบปรับอากาศ-! COMPROTORS ไมจํ าเปนจะตองวาง COMPRESSOR ใหหางจากโครงสรางของอาคาร หากแตใหใชโครงสรางที่รองรับนั้นยืด


หยุนได เพื่อนลดความสั่นสะเทือน ใตพื้นนี้ก็ทําใหเปนเพดานแบบแขวนโดยใหมีชองอากาศอยูตรงกลาง เพื่อชวยลดเสียงที่จะสงผานลงไปขางลาง-! COOLING TOWER เปนหอที่ใชระบายความรอนใหกับหองตางๆแลวจะใหเสียงกระหึ่มรบกวน หอนี้สวนมากจะอยูบนดาดฟา มีอากาศเปนตัวชวยดูดกลืนเสียง สวนการปองกันเสียงที่จะลงไปขางลางก็คือใชแผนยาง ที่เรียกวา NEOPRENE เปนยางสังเคราะหจาก CHLOROPRENE มีคุณสมบัติทนความรอนแสงแดด นํ้ ามัน และการทํ าปฏิกิริยากับอากาศ รองใหหอผึ่งนํ้ามันก็จะชวยลดเสียงที่เกิดจากการสั่นสะทือนลงไปขางลางได-! DUMPS ใชวิธีแกปญหาการสั่นสะเทือนและการเกิดเสียงดังเชนเดียวกับ COMPRESSOR-! PIPING การลดเสียงที่เกิดขึ้นจากการสั่นของทอก็ทํ าไดโดยทําตัวยึดจับทอนั้นใหเปนยางที่ยืดหยุนได ที่ที่เปนขอตอหรือจุดเชื่อมก็พยายามใหยืดหยุนเชนกัน-! CONDENSORS ไมคอยสํ าคัญเพราะกอใหเกิดเสียงดังนอยมากแตควรระวังการจัดวางใหดี อยาใหอยูในที่ทึบหรือมีอะไรเคลือบเกาะ เพราะจะทํ าใหขาดคุณสมบัติในการระบายความรอนไปไดซึ่งจะเกิดผลเสียมากอน-! EVAPORATORS เสียงที่เกิดจากเครื่องนี้ คือเสียงวีดีโอแหลมของไอนํ้ าที่พวยพุงออกมาจากทอ แกไขโดย การสวมทอระหวางทางออกกับทางเขาเครื่อง


-! FANS อันนี้ถิอเปนระบบใหญอีกระบบหนึ่งที่มีระบบที่จะกอใหเกิดเสียงมากมาย เพราะระบบนี้ จะประกอบดวยมอเตอรที่จะหมุนพัดลมเพื่อจะสงลมไปยังหัวจายลม ซึ่งอยูตามหองตางๆ บางระบบจัดวางใหพัดลมอยูในทอจายลม เชนเดียวกับเครื่องกรองอากาศ คอยลเย็น ระบบควบคุมความชื้นสัมพัทธ ก็จะชวยลดเสียงจากหองเครื่องและตัวจายลมไดถึง 10 – 20 เดซิเบล แอยางไรก็ตามหากระบบนี้อยูนอกทอลมแลว ทอลมซึ่งทําหนาที่เปนเหมือนมานกรองเสียงและชวยลดเสียงรบกวนจากระบบนี้ที่จะเขาไปยังหองตางๆไดมากเชนกัน ถึงกระนั้นเราก็ตองคํานึงถึงแรงดันของลมที่ออกจากหัวจายดวยเหมือนกันเพราะจะทําใหเกิดเสียงไดเชนกัน สํ าหรับหองที่เกี่ยวกับดนตรีแลวจะมีมาตรฐานกํ าหนดความเร็วลมที่ออกจากหัวจายเทากับ 500 ฟุต/นาทีอยางไรก็ดีความเร็วลมไมไดเปนตัวกําหนดปริมาณลมที่จะแจกจายไปยังหองนั้น หากแตขึ้นอยูกับปริมาณหรือหนาตัดของทอลม โดยขึ้นอยูกับการคํ านวณหาหนาตัดที่เหมาะสมกับความเร็วลมและใหไดลมเพียงพอกับความตองการของหองประกอบกับไมใหเกิดเสียงรบกวนดวย2.!หองเครื่อง (MACHINICAL)ไดแก ศูนยกลางของระบบเครื่องกลตางๆ เชน ระบบไฟฟา ระบบปรับอากาศ ปมหรือมอเตอรตางๆ ซึ่งในขณะที่มันทํางานจะทําใหเกิดเสียงรบกวนตอบริเวณขางเคียงโดยรอบ การแกไขก็โดยแยกพื้นสวนนั้นออกจากพื้นที่อยูขางเคียงแลวอุดรอยแยกตรงสวนที่จะสัมพันธกันโดยรอบดวยวัสดุ


ที่มีความยืดหยุน โครงสรางผนังตองสามารถปองกันการสงผานของเสียงได อาจทํ าใหผนังหนาเปนพิเศษหรือทําเปนผนัง 2 ชั้น มีชองอากาศตรงกลางก็ไดในกรณีหลังสามารถใชไดกับเพดาน3.!ประตูและหนาตาง (DOOR AND WINDOWS)เปนโครงสรางทางสถาปตยกรรมอีกอยางหนึ่ง ที่มีผลตอการเล็ดลอดของเสียงไดเปนอยางดีมีกฎที่นํ ามาใชไดอยางหนึ่งคือ “หากประตูหรือหนาตางมีนํ้ าหนักตอหนวยมากเทาใด เสียงที่ผานก็จะนอยลงเรื่อยๆ”การออกแบบเวทีขนาดของเวทีขึ้นอยูกับขนาดของ ORCHESTRA-! วง CHAMBER ORCHESTRA ใชพื้นที่ 6*9 ตรม. สูง 9 ม.-! วง ORCHESTRA เปนเต็มวง มีผูเลนถึง 100 คน จะใชเวทีขนาด 12*12ตรม. สูง 10-12 ม.-! พื้นที่สํ าหรับไวโอลินและเครื่องเปาขนาดเล็ก ใชพื้นที่ 1-0.8 ตรม.-! เซลโล กับ ดับเบิลเบส ใชพื้นที่ 1-1.2 ตรม.-! GRAND PIANO ใชพื้นที่ 2.75*1.6 ตรม.ความลึกขอเวทีไมควรเกิน 13.5 ม. เวทีที่มีขนาดเล็กจะใชวิธีลดขนาดความลึกมากกวาลดขนาดความกวาง เวทีใน CONCERT HALL ขนาดใหญอาจมีการยกชั้นของเวที เพื่อใหคนดูสามารถมองเห็นเวทีไดอยางชัดเจน จะยกระดับของเวทีในสวนเครื่องลมทองเหลืองและเครื่องPERCUSSION การยกระดับของเวทีนิยมใชพื้นที่ที่สามารถเคลื่อนยายไดพื้นเวทีทําดวยไมบนโครงสรางไมเพื่อใหมีการสะทอนเสียงที่ดี โดยเฉพาะกับ เซลโล และดับเบิลเบส


ความตองการของนักดนตรีก็คือตองการไดยินเสียงเครื่องดนตรีทุกชิ้นบนเวที การทํ าใหรอบเวทีเปนผนังถึง 3 ดาน จะชวยรวมเสียงใหเปนไปตามที่นักดนตรีตองการการออกแบบชองวางวงดุริยางค (ORCHESTRA PIT) ใชในกรณีที่CONCERT HALL ตองการใชสํ าหรับการแสดงอื่นๆ ดวย โอเปรา บัลเลหพื้นที่ของ PIT คิดประมาณ 1.1 ตรม. สํ าหรับนักดนตรี 1 คน โดยคิดสําหรับวงขนาด 100 คน ชองวางวงดุริยางคนี้สวนใหญจะออกแบบใหสามารถยกขึ้น-ลง ไดมีสัดสวนดังนี้-! พื้นที่สํ าหรับ GRAND PIANO 5 ตรม.-! พื้นที่สํ าหรับผูควบคุมวง 2 ตรมใน CONCERT HALL ที่มีขนาดใหญ ผูชมดานหลังมักไดยินเสียงที่ไมดีพอและเนื่องจากตองการมีการ BALANCE เสียงจริงและเสียงสะทองจากการแสดงบนเวทีใหเขากันไดดี ดังนั้นฝาเพดานจึงเปนสวนสําคัญที่ชวยสะทองเสียงไปยังผูฟงดวย อยางไรก็ตามไดมีการพบวา การใชเพดารที่สะทอนเสียงและวัสดุที่ทึบแข็งกอใหเกิดความเพี้ยนของเสียงได ขณะที่ความตองการของเสียงจริงไปยังดานหลังของ HALL มีความ SERIOUSนอยลงเนื่องจากสามารถใช PLAN SHAPE ที่เหมาะสมชวย ดังนั้นในป1960 ผนังเพดานจึงใชแบบ HORIZONTAL และเปนแบบ DIFFUSIONแทนสวน REFLECTOR ซึ่งใชสําหรับ PRECHESTRA มีความจําเปนในกรณีที่เพดานเหนือวง ORCHESTRA มีความสูงมากไปจึงจําเปนตองใชเพื่อใหเสียงกระจายสูผูฟง โดยไมใชเวลาเดินทางของเสียงมากนัก.


แสดงขนาดเฟอรนิเจอร


แปลนตัวอยางหองสมุด

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!