31.07.2015 Views

การวางตัว - Geological Sciences, CMU

การวางตัว - Geological Sciences, CMU

การวางตัว - Geological Sciences, CMU

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

บทที่ 8 การสํารวจแหลงวัสดุกอสราง<strong>Geological</strong> Investigation ofConstruction Material Depositsผศ. ดร. ฟองสวาท สุวคนธ สิงหราชวราพันธภาควิชาธรณีวิทยา คณะวิทยาศาสตรมหาวิทยาลัยเชียงใหมhttp://://www.geol.science.cmu.ac.thChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


การกอสรางถนน เขื่อน และอาคารขนาดใหญ ตองการวัสดุกอสรางจํานวนมาก จําพวก ดิน กรวด ทราย และ หินดังนั้น จึงจําเปนตองมีแหลงวัสดุที่• มีปริมาณวัสดุเพียงพอกับความตองการ• วัสดุมีคุณภาพตามขอกําหนด (specifications)• ระยะทางขนสงไมไกล (< 100 กม.)คาขนสง ~ 2 บาท/ลบลบ.ม.Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


การสํารวจแหลงวัสดุกอสราง มี 2 ขั้นตอน คือ• การสํารวจเบื้องตน (Preliminary Investigation)• การสํารวจขั้นรายละเอียด (Detailed Investigation)8.1 Preliminary Investigation(1) รวบรวม-คนควา-แสวงหาขอมูลจากรายงานและแผนที่ธรณีวิทยา - กรมทรัพยากรธรณี scale1:1,000,000,1:250,000, 1:50,000Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


8.2 Detailed Investigationเพื่อหาปริมาณที่แนนอนของวัสดุ(1) Topographic survey: Map scale 1:1,000 หรือ 1:5,000(2) Detailed geological mapping• Rock type, Structure, Groundwater, Overburden(3) Subsurface exploration• ขุดบอสํารวจ (pitting)• เจาะหลุมสํารวจ (borehole drilling)• สํารวจทางธรณีฟสิกส (geophysical exploration)(4) เก็บตัวอยางมาทดสอบหาคุณสมบัติตามขอกําหนด(5) ประเมินผลการสํารวจChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารอง


ธรณีวิทยามีความสําคัญอยางไรตอการสํารวจวัสดุกอสราง• การวางตัว• ความหนา• การแผกระจาย---------> ปริมาณสํารองChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


(1) ปญหาที่เกี่ยวของกับลักษณะโครงสรางทางธรณีวิทยา• การวางตัวของชั้นหิน (Attitude)• รอยคดโคง (Fold)• รอยเลื่อน (Fault)(2) ปญหาที่เกี่ยวกับวัสดุปกคลุม (Overburden)(3) ปญหาที่เกี่ยวของกับการผุพังและการสึกกรอน(Weathering and Erosion)Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


เศษหินแข็งที่ปกคลุมที่ลาดทําใหการประเมินปริมาณสํารองของหินผิดพลาด(a – หินทรายแข็ง b –หินดินดานออน และ c – เศษหินทราย)Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


รอยเลื่อนที่ตัดผานแหลงหินทําใหการประเมินปริมาณสํารองผิดพลาด(a - หินปูน b – หินดินดาน และ c – เสนขอบเขตของหินปูนที่คาดการณผิดพลาดChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


ที่ลาดซึ่งทําการเปดเหมืองหินโดยคาดการณวาเปนหินปูนทั้งหมดเนื่องจากไมไดคํานึงถึงการวางตัวของชั้นหิน(a - หินปูน b – หินดินดาน และ c - เศษหินปูน)Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


เหมืองหินที่ขุดในพนังหินอัคนี(1 – ไนสและไมกาชีสส 2 – ไซยีไนตพอไฟรี3– ดินและเศษหินบนที่ลาด และ 4 – ดินถม)Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


ปริมาณวัสดุปกคลุมที่เพิ่มขึ้นเมื่อขุดลึกเขาไป(a – หินปูน b – หินดินดาน c - วัสดุปกคลุม และd – ขอบเขตของเหมืองหินที่คุมคาทางเศรษฐศาสตร)Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


ปริมาณวัสดุปกคลุมที่เพิ่มขึ้นเมื่อขุดลึกเขาไปเนื่องจากหินเอียงเทเขาดานในChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Rocks as construction materials• Concrete aggregates• Building stones• Roadstones & Ballast• Materials for embankment damChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Concrete aggregates• คือ หินที่เอามาผสมซีเมนตโดยทั่วไปใชหินปูนมาทําเปนหินโม (crushed stone)• บริเวณที่ไมรับน้ําหนักมาก อาจใชกรวดได• ถาไมมีวัสดุในพื้นที่นั้น อาจใชหินอื่น• กอนใชควรทดสอบ strength และ abrasionresistanceChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Building stone• เรียกอีกอยางหนึ่งวา Dimension stone• คือหินประดับ ทําโดยนําหินมาตัดเปนแผน เชนหินแกรนิต หินออน (บางสวนเปนหินปูน) ศิลาแลง• หินอยางอื่นที่นํามาใชเชน หินแกรบโบรหินแอนดีไซตChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Roadstone & Ballast• คือวัสดุที่ใชรองพื้นถนน/ทําถนน (subbase/base) และทําทางรถไฟ• รับน้ําหนักการกระแทกและการขัดสี (impact & abrasion)ตองทําการทดสอบ• ทําโดยนําหินมาโมเปนกอน ที่เรียกวา หินคลุก ในการทําถนน ใชหินคลุกปูดานลางสุด แลวปูทับดวยสวนที่คัดขนาดแลวราดดวย asphalt / concrete• หินที่ใชไดดี เชน basalt (มี strength สูงมาก)• โดยทั่วไป สวนใหญใชหินปูนและหินแกรนิต เนื่องจากเกิดเปนมวลขนาดใหญ มีปริมาณสํารองมากChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Materials for embankment dam(วัสดุที่นํามาทําเขื่อนถม)เขื่อนถมมี 2 แบบ คือ• Earth dam (เขื่อนดินถม)• Rock-fill dam (เขื่อนหินถม)เขื่อนดินถม ใชดินเหนียวเปนแกน แลวบดอัดดวยดิน สวนเหนือน้ําใสหินขนาดใหญ (riprap) หนาประมาณ 1 เมตร เพื่อปองกันการกัดเซาะChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


เขื่อนหินถม มีลักษณะเปนแกนดินเหนียว มีหินทับอยู สวนเหนือน้ําอาจจะปดดวยคอนกรีตหนาประมาณ 1 เมตร• เขื่อนหินถมรับแรงไหวสะเทือนไดดีกวาเขื่อนดินเนื่องจากเมื่อเกิดการไหวสะเทือน หินกอนโต ๆ เหลานั้นจะรับแรงไหวสะเทือนได ไมพังลงมา• วัสดุอยางอื่นที่ใช ไดแก ทราย และ กรวด (หากไมมีกรวดอาจใชหินโมแทนได)Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


เขื่อนสิริกิติ์เขื่อนดินถม แกนดินเหนียวChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


Chiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


เขื่อนศรีนครินทรเขื่อนหินถม แกนดินเหนียวChiang Mai UniversityF.S Singharajwarapan


http://://www.geol.science.cmu.ac.thE-mail:fward@chiangmai.ac.th

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!