12.07.2015 Views

Characteristics and Properties of Established Soil Series in the ...

Characteristics and Properties of Established Soil Series in the ...

Characteristics and Properties of Established Soil Series in the ...

SHOW MORE
SHOW LESS
  • No tags were found...

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

ลักษณะและสมบัติของชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย<strong>Characteristics</strong> <strong>and</strong> <strong>Properties</strong> <strong>of</strong> <strong>Established</strong> <strong>Soil</strong> <strong>Series</strong><strong>in</strong> <strong>the</strong> North <strong>and</strong> Central Highl<strong>and</strong> Regions <strong>of</strong> Thail<strong>and</strong>สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดินเอกสารวิชาการฉบับที่ 53/03/48 กันยายน 2548


คํานําเอกสารวิชาการนี้ไดปรับปรุงขอมูลชุดดินตางๆ จากเอกสารวิชาการภาษาอังกฤษและแปลเปนภาษาไทย พรอมทั้งมีภาพหนาตัดของชุดดินตางๆ ประกอบ โดยมีวัตถุประสงคที่จะเผยแพรขอมูลชุดดินแกนักเรียน นักศึกษา นักวิชาการในสาขาอื่นๆ และผูสนใจใหมีความเขาใจเกี่ยวกับขอมูลดินไดงายขึ้น และสามารถนําเอาขอมูลดินไปใชประโยชนอยางกวางขวาง ไมเพียงแตเฉพาะนักวิชาการทางปฐพีวิทยาเทานั้นอยางไรก็ตามเอกสารนี้จะไมแสดงรายละเอียดของขอมูลมากนัก เพื่อไมใหผูอานสับสนจนเกินไปหากมีความสนใจตองการทราบรายละเอียดเพิ่มเติม ควรศึกษาจากเอกสารวิชาการของสวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดินที่เปนภาษาอังกฤษ หรือปรึกษานักสํารวจดินของสวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดินหากพบขอผิดพลาด หรือมีขอเสนอแนะประการใด ขอความกรุณาแจงใหทราบดวย เพื่อจะไดแกไขเอกสารใหมีความสมบูรณยิ่งขึ้นขอขอบคุณนักสํารวจดินของสวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน สวนสํารวจจําแนกดินสวนพัฒนาเทคโนโลยีและบริการ และคณะทํางานวิชาการและการจัดทําแผนยุทธศาสตรของสํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน ที่รวมกันดําเนินงาน ระดมความคิดเห็น ติชมและเสนอแนะในการจัดทําและปรับปรุงเอกสารนี้ใหสําเร็จตามกําหนดเวลา(นายชุมพล ลิลิตธรรม)ผูอํานวยการสํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน


สารบัญหนาบทนํา 1วัตถุประสงค 2อุปกรณและวิธีการ 2ผลการศึกษา 2สรุป 58เอกสารอางอิง 59ภาคผนวก 60สารบัญตารางหนาตารางผนวกที่1. สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย 612. สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคกลางของประเทศไทย 633. สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย 644. สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคใตและชายฝงทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทย 655. การจําแนกดินที่จัดตั้งรวมทุกภาคของประเทศไทยตามระบบอนุกรมวิธานดินป ค.ศ. 2003 67


สารบัญชุดดินหนา1. ชุดดินบางมูลนาก (Bang Mun Nak series: Ban) 32. ชุดดินบานจอง (Ban Chong series: Bg) 43. ชุดดินบอไทย (Bo Thai: Bo) 54. ชุดดินบานโภชน (Ban Phot series: Bpo) 65. ชุดดินชัยบาดาล (Chai Badan series: Cd) 76. ชุดดินเชียงแสน (Chiang Saen series: Ce) 87. ชุดดินเชียงของ (Chiang Khong series: Cg) 98. ชุดดินเชียงคาน (Chiang Khan series: Ch) 109. ชุดดินเชียงใหม (Chiang Mai series: Cm) 1110. ชุดดินเชียงราย (Chiang Rai series: Cr) 1211. ชุดดินดงลาน (Dong Lan series: Dl) 1312. ชุดดินดงยางเอน (Dong Yang En series: Don) 1413. ชุดดินดอยปุย (Doi Pui series: Dp) 1514. ชุดดินดานซาย (Dan Sai series: Ds) 1615. ชุดดินหางฉัตร (Hang Chat series: Hc) 1716. ชุดดินหางดง (Hang Dong: Hd) 1817. ชุดดินกําแพงเพชร (Kamphaeng Phet series: Kp) 1918. ชุดดินหลมสัก (Lom Sak series: La) 2019. ชุดดินลี้ (Li series: Li) 2120. ชุดดินหลมเกา (Lom Kao series: Lk) 2221. ชุดดินลํานารายณ (Lam Narai series: Ln) 2322. ชุดดินลําปาง (Lampang series: Lp) 2423. ชุดดินลําสนธิ (Lam Sonthi series: Ls) 2524. ชุดดินแมริม (Mae Rim series: Mr) 2625. ชุดดินแมสาย (Mae Sai series: Ms) 2726. ชุดดินแมแตง (Mae Taeng series: Mt) 2827. ชุดดินแมทะ (Mae Tha: Mta) 2928. ชุดดินนาน (Nan series: Na) 3029. ชุดดินน้ําเลน (Nam Len series: Nal) 31


2. วัตถุประสงค2.1 เพื่อจัดทําขอมูลชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทยฉบับภาษาไทย2.2 ปรับปรุงการจําแนกดินและคําอธิบายดินใหถูกตองและสอดคลองกับระบบอนุกรมวิธานดิน ปค.ศ. 20032.3 เพื่อวิเคราะหปญหาการใชที่ดินเพื่อการเพาะปลูก และเสนอแนวทางการแกไขปญหาการปรับปรุงและบํารุงดินที่เหมาะสมสําหรับชุดดินนั้นๆ3. อุปกรณและวิธีการ3.1 อุปกรณ1. เอกสารวิชาการฉบับที่ 521 เรื่องการกําหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทยจําแนกใหมตามระบบอนุกรมวิธานดิน 2546 (อนิรุทธิ์ ภูษิต และสุมิตรา, 2547)2. ผลวิเคราะหดินของชุดดินตางๆ ในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย3. รูปภาพหนาตัดของชุดดินตางๆ ในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศ4. Keys to <strong>Soil</strong> Taxonomy (<strong>Soil</strong> Survey Staff, 2003) ซึ่งเปนคูมือการการจําแนกดินระบบอนุกรมวิธานดิน ป ค.ศ. 20035. แผนที ่ดินและแผนที่กลุมชุดดินจังหวัดตางๆ ในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย3.2 วิธีการ1. แปลขอมูลชุดดินเปนภาษาไทย โดยยึดถือเอกสารวิชาการฉบับที่ 521 เปนตนแบบ2. ปรับปรุงขอมูลชุดดินใหถูกตองโดยใชขอมูลผลวิเคราะหดิน แผนที่ดินและแผนที่กลุมชุดดินประกอบในการพิจารณา3. ออกตรวจสอบสภาพพื้นที่และลักษณะของชุดดินบางชุดดินที่มีขอมูลไมแนชัดในสนาม4. แปลความหมายขอมูลดินและวิเคราะหปญหา ขอจํากัดในการใชที่ดินเพื่อเพาะปลูก และเสนอแนะแนวทางในการแกไข5. จัดทําเอกสารตามรูปแบบที่กําหนดพรอมทั้งภาพหนาตัดชุดดิน4. ผลการศึกษาขอมูลชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศจํานวน 55 ชุดดิน ไดรับการปรับปรุงและแปลความหมาย เพื่อการใชประโยชนในการเพาะปลูกพืชดังนี้2


1 ชุดดินบางมูลนาก (Bang Mun Nak series: Ban)กลุมชุดดินที่ 4การจําแนกดิน Very-f<strong>in</strong>e, mixed, semiactive, nonacid, isohyper<strong>the</strong>rmic AericEndoaqueptsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณที่ราบน้ําทวมสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-1 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพดถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากในพื้นที่ภาคเหนือ บริเวณลําน้ํานานการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Bwgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลเขม สีน้ําตาล สีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH4.5-5.5) ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0) ดินลางตอนลาง เปนสีน้ําตาลปนเทา สีเทาปนแดง หรือสีน้ําตาลปนเทาออน ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) มีจุดประสีน้ําตาลแก สีแดงปนเหลือง หรือสีแดงตลอดชั้นดินความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินพิมาย และชุดดินราชบุรีขอจํากัดการใชประโยชน อาจมีน้ําทวมบาและแชขังระดับสูงในฤดูฝน ทําใหขาวเสียหายไดขอเสนอแนะในการใชประโยชน หลีกเลี่ยงการปลูกในชวงกลางฤดูฝนที่มีฝนตกหนักมาก ในพื้นที่ชลประทานและไมมีปญหาน้ําทวมบาหรือแชขัง อาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ ่มอินทรียวัตถุ3


2 ชุดดินบานจอง (Ban Chong series: Bg)กลุมชุดดินที่ 29การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic (K<strong>and</strong>ic) Paleustultsการกําเนิด เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เชน หินดินดานหินทรายแปง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท เปนตน บริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวง บริเวณเชิงเขา หรือเกิดจากตะกอนดินที่ถูกน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออยยาสูบ ขาวไร สับปะรด และสวนผลไม เชน มะมวง ลิ้นจี่ ลําไยการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที ่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลเขมถึงสีน้ําตาลปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว สีแดงปนเหลือง ถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเชียงแสน ชุดดินเลย และชุดดินเชียงของขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีความอุดมสมบูรณคอนขางต่ําและเปนกรด สภาพพื้นที่มีความลาดชัน ดินเกิดการชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ ปุยอินทรีย หรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมี และใชวัสดุปูนปรับแกความเปนกรดของดิน จัดระบบอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสม4


3 ชุดดินบอไทย (Bo Thai series: Bo)กลุมชุดดินที่ 37การจําแนกดิน Coarse-loamy, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic Eutrustoxการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทราย บางแหงอาจมีปูนปน บริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ ําปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออย มันสําปะหลัง และไมผลการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-(E)-Btลักษณะและสมบัติดินเปนดินลึกปานกลาง ดินบนเปนดินทรายปนดินรวนถึงดินรวนปนทราย สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาลแกถึงสีแดงปนเหลือง พบชั้นลูกรังปะปนในดินชวงความลึก 50-100 ซม. ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินโพนงามขอจํากัดการใชประโยชน เนื้อดินคอนขางเปนทรายและมีความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่มีความลาดชันดินเกิดการชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ ปุยอินทรีย หรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมีจัดระบบอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสม5


4 ชุดดินบานโภชน (Ban Phot series: Bpo)กลุมชุดดินที่ 1การจําแนกดิน Very-f<strong>in</strong>e, smectitic, isohyper<strong>the</strong>rmic (Chromic) Ustic Epiaquertsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณที่ราบน้ําทวมสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-1 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ขาว และปลูกพืชไร หรือพืชผัก กอนและหลังฤดูฝนการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Bssg-(Bwg)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีเทาเขมถึงสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเหลืองถึงสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาลหรือปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนดางเล็กนอย (pH 5.5-7.5) ในฤดูแลงหรือฝนทิ้งชวงนานๆ ดินจะแหงและแข็ง แตกระแหงเปนรองลึกความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง สูง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินพิมาย ชุดดินสระบุรี และชุดดินศรีสงครามขอจํากัดการใชประโยชน เนื้อดินเหนียวจัด เมื่อแหงจะแข็ง ยากตอการไถพรวน และแตกระแหง ทําใหรากพืชเสียหาย ดินเปยกจะเหนียวจัด ยากตอการไถพรวนขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงโครงสรางของดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ เชน การไถกลบเศษพืช การใชปุยคอก ปุยหมัก ไถพรวนในขณะที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ ไมแหงและเปยกเกินไป จัดหาแหลงน้ําสํารองไวใชเมื่อฝนทิ้งชวง เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหง และทําลายระบบรากของพืช6


6 ชุดดินเชียงแสน (Chiang Saen series: Ce)กลุมชุดดินที่ 30การจําแนกดิน Very-f<strong>in</strong>e, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic K<strong>and</strong>iustultsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแกรนิต บริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วมันสําปะหลัง หรือไมผล เชน ลิ้นจี่ ลําไย มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและดานตะวันตกของภาคการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีแดงเขมถึงสีแดงปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว สีแดงปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 4.5-6.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ต่ํา สูง สูง ปานกลาง25-50 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบานจอง ชุดดินเลย และชุดดินเชียงของขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณปานกลางถึงคอนขางต่ํา เสี่ยงตอการขาดน้ําเล็กนอยถึงปานกลางหากฝนทิ้งชวง พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี หาแหลงน้ําสํารอง โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกไมผล จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั้งสองวิธีรวมกัน8


7 ชุดดินเชียงของ (Chiang Khong series: Cg)กลุมชุดดินที่ 29การจําแนกดิน Very-f<strong>in</strong>e, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic K<strong>and</strong>iustoxการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินอัคนีที่เปนกลางหรือเปนดาง ไดแก แอนดีไซทบะซอลต แกบโบร บริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดิน และหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วมันสําปะหลัง หรือไมผล เชน ลิ้นจี่ ลําไย มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลปนแดงเขมถึงสีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 6.0-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว สีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบานจอง และชุดดินเชียงแสนขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดน้ําเล็กนอยถึงปานกลางหากฝนทิ้งชวง พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี หาแหลงน้ําสํารอง โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกไมผล จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั้งสองวิธีรวมกัน9


9 ชุดดินเชียงใหม (Chiang Mai series: Cm)กลุมชุดดินที่ 38การจําแนกดิน Coarse-loamy, mixed, superactive, nonacid, isohyper<strong>the</strong>rmicOxyaquic Ustifluventsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ําสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 0-3 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ไมผล พืชไร พืชผัก และที่อยูอาศัยการแพรกระจาย พบมากในภาคเหนือการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)–Cลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ที่มีการสลับชั้นของเนื้อดินตางๆ เนื่องจากการทับถมเปนประจํา ของตะกอนน้ําพา เมื่อมีน้ําทวมลนฝง ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวนปนทราย สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวน ปนทราย หรือดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 6.0-6.5) ปกติจะพบเกล็ดไมกาตลอดชั้นความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินทามวง และชุดดินสรรพยาขอจํากัดการใชประโยชน อาจมีน้ําทวมบาและแชขังระดับสูงในฤดูฝนขอเสนอแนะในการใชประโยชน หลีกเลี่ยงการปลูกในชวงกลางฤดูฝนที่มีฝนตกหนักมาก ในพื้นที่ชลประทานและไมมีปญหาน้ําทวมบาหรือแชขัง อาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต11


11 ชุดดินดงลาน (Dong Lan series: Dl)กลุมชุดดินที่ 28การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Vertic (Aquic) Haplustollsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาที่ทับถมอยูบนชั้นดินเหนียวที่ผุพังสลายตัวจากหินทรายแปงหรือหินดินดานบริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-5 %การระบายน้ํา ดีปานกลางในดินบนและคอนขางเลวในดินลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางในดินบนและชาในดินลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพดและออยการแพรกระจาย เนินตะกอนรูปพัดใกลภูเขาหินปูน พบทางดานตะวันตกของภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอกับพื้นที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bw-Cgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีดําหรือสีเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียว สีเทาหรือสีเทาปนน้ําตาลออน มีจุดประสีแดง สีเหลือง และสีน้ําตาล มีรอยถูไถเนื่องจากการยืดและหดตัวของแรดินเหนียว ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินลพบุรี และชุดดินวัฒนาขอจํากัดการใชประโยชน ดินลางแนนทึบและระบายน้ําไมดี เมื่อแหงจะแตกระแหงเปนอันตรายตอรากพืชขอเสนอแนะในการใชประโยชน ยกระดับแปลงปลูกพืชใหสูงขึ้นเพื่อบรรเทาการแชขังน้ําของรากพืช หาแหลงน้ําสํารอง เพื่อไมใหดินแหงและเกิดการแตกระแหง ปรับปรุงปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ13


12 ชุดดินดงยางเอน (Dong Yang En series: Don)กลุมชุดดินที่ 33การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Oxyaquic (Ultic) Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ําและเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-5 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออยยาสูบ ถั่วตางๆ พืชผัก และไมผลการแพรกระจาย พบมากในภาคเหนือการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนแดง มีจุดประสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินกําแพงเพชร ชุดดินกําแพงแสน ชุดดินธาตุพนม และชุดดินปราณบุรีขอจํากัดการใชประโยชน ดินที่ใชปลูกพืชไรมานาน ใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยากขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ และใชอินทรียวัตถุในการปรับสภาพดินใหรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น14


13 ชุดดินดอยปุย (Doi Pui series: Dp)กลุมชุดดินที่ 30การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, kaol<strong>in</strong>itic, hyper<strong>the</strong>rmic (isohyper<strong>the</strong>rmic or <strong>the</strong>rmic) K<strong>and</strong>icPalehumultsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินชีสตหรือไมกาชีสต บริเวณพื้นที่ภูเขาและรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนภูเขาสูงชันมาก ความลาดชัน 3 - ชันกวา 50 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วมากการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาดิบเขา ปาสนและปาเบญจพรรณบางพื้นที่ใชทําไรเลื่อนลอย ขาวโพด ขาวไร ไมตัดดอก ไมผล และพืชผักเมืองหนาวการแพรกระจาย บริเวณภูเขาสูงในภาคเหนือสูงกวาระดับน้ําทะเล 500 เมตรขึ้นไปการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดแกถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียวสีแดงปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-7.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเชียงแสน และชุดดินเชียงของขอจํากัดการใชประโยชน สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ดินถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา และจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงและเปนแหลงตนน้ําลําธารควรสงวนไวเปนพื้นที่ปาไม15


14 ชุดดินดานซาย (Dan Sai series: Ds)กลุมชุดดินที่ 35การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-loamy, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic K<strong>and</strong>iustultsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทรายและควอรตไซท บริเวณพื้นที่ภูเขาและรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 5-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วมากการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ ปาเต็งรัง พืชไร เชนขาวโพด ขาวไร มันสําปะหลัง ออย ไมผล เชน มะมวง มะขามการแพรกระจาย บริเวณภูเขาและเชิงเขาที่มีหินทรายการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-(Cr)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-6.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา สูง ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวาริน ชุดดินยโสธร และชุดดินโพนงามขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ดินถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา และจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ ้น16


15 ชุดดินหางฉัตร (Hang Chat series: Hc)กลุมชุดดินที่ 35การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-loamy, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic K<strong>and</strong>iustultsการกําเนิด ตะกอนน้ําพา สวนใหญมาจากพวกหินแกรนิต และทับถมอยูบน หินแกรนิตบริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 2-20 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วมันสําปะหลัง หรือไมผล เชน ลิ้นจี่ ลําไย มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและดานตะวันตกของภาคการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทรายสีน้ําตาลเขม หรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกลาง (pH 5.5-7.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายถึงดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวาริน ชุดดินหนองมด และชุดดินแมแตงขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดน้ําเล็กนอยถึงปานกลางหากฝนทิ้งชวง พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี หาแหลงน้ําสํารอง โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกไมผล จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั้งสองวิธีรวมกัน17


16 ชุดดินหางดง (Hang Dong series: Hd)กลุมชุดดินที่ 5การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic Endoaqualfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ําหรือที่ราบระหวางเขาสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา เลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพดถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากในภาคเหนือการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีเทาถึงสีเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีเทา มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง(pH 6.5-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง สูง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินพานขอจํากัดการใชประโยชน ไมมีขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินและเพิ่มผลผลิตโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ในพื้นที่ชลประทานนอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ18


17 ชุดดินกําแพงเพชร (Kamphaeng Phet series: Kp)กลุมชุดดินที่ 33การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Oxyaquic (Ultic) Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ําสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-3 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน พืชไร เชน ขาวโพด ออย ยาสูบ ถั ่วตางๆพืชผัก และไมผลการแพรกระจาย พบมากในภาคเหนือการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนปนทรายแปงถึงดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินกําแพงแสน และชุดดินดงยางเอนขอจํากัดการใชประโยชน ดินที่ใชปลูกพืชไรมานาน ใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยากขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ และใชอินทรียวัตถุในการปรับสภาพดินใหรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น19


18 ชุดดินหลมสัก (Lom Sak series: La)กลุมชุดดินที่ 15การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, superactive, nonacid, isohyper<strong>the</strong>rmic FluvaquenticEndoaqueptsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัดและที่ราบระหวางเขาและที่ราบน้ําทวมสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไรเชน ขาวโพด ถั่วหรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Bwgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลเขม สีน้ําตาลปนเทาเขมมาก หรือสีเทาเขมมาก มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม สีน้ําตาลปนเทาเขมมาก มีจุดประสีน้ําตาล สีเหลืองหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ปานกลาง สูง สูง สูง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินแมสาย และชุดดินราชบุรีขอจํากัดการใชประโยชน อาจมีน้ําทวมขังทําใหขาวเสียหายในบางปขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และเพิ่มผลผลิตโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้นโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ20


19 ชุดดินลี้ (Li series: Li)กลุมชุดดินที่ 47การจําแนกดิน Clayey-skeletal, mixed, semiactive, shallow, isohyper<strong>the</strong>rmic, UlticHaplustalfsการกําเนิด เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เชนหินดินดาน หินทรายแปง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท บริเวณพื้นที่ภูเขาและรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 4-35 %การระบายน้ ําดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วและใชเปนวัสดุทําถนนการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Crลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินหนาแนน บางบริเวณอาจพบชั้นหินพื้นในระดับตื้น ดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวนปนดินเหนียวปนเศษหิน สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินเหนียวปนเศษหินหนาแนนมาก สีแดงหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินมวกเหล็ก และชุดดินเชียงคานขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแนนและความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%) และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา ที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา21


20 ชุดดินหลมเกา (Lom Kao series: Lk)กลุมชุดดินที่ 17การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-loamy, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic (Aquic)Paleustultsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัดและที่ราบระหวางเขาสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา คอนขางดีถึงคอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปจจุบันพื้นที่สวนใหญไดดัดแปลงใชทํานาในชวงฤดูฝน และใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศ บริเวณสวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัดและที่ราบระหวางเขาการจัดเรียงชั้นดิน Ap-Bt-Btgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทราย สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลเขม มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5) ดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาลปนแดงถึงสีออนของสีน้ําตาลปนแดง มีจุดประสีแดงปนเหลือง และสีน้ําตาลปนเหลือง ดินลางตอนลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายถึงดินเหนียวปนทราย สีเทาปนชมพูหรือสีเทาปนน้ําตาลออน มีจุดประสีแดงปนเหลืองและสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินรอยเอ็ดขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณของดินต่ําขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และเพิ่มผลผลิตโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรอง และปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้นโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ22


21 ชุดดินลํานารายณ (Lam Narai series: Ln)กลุมชุดดินที่ 54การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, smectitic, isohyper<strong>the</strong>rmic Vertic Haplustollsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินบะซอลท หินแอนดีไซท และหินปูน บริเวณพื้นที่ภูเขา รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆโดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขา หรือเกิดจากตะกอนน้ําพา บริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 3-6 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั่ว ทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bw-Ckลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกปานกลาง พบชั้นหินผุและกอนปูนทุติยภูมิที่ระดับความลึก 50-100 ซม. ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง และพบกอนปูนทุติยภูมิปะปนในดินลางๆ และเศษหินผุ สีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง (pH 8.0) เมื่อดินแหง อาจแตกระแหงเปนรองลึก ดินชั้นลางจะพบรอยถูไถเปนมันความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง สูง สูง25-50 ต่ํา สูง สูง ปานกลาง สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง สูง ปานกลาง สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินจัตุรัสขอจํากัดการใชประโยชน ดินลึกปานกลางและพบชั้นปูนทุติยภูมิในดินลาง ซึ่งจะมีผลกระทบทางกายภาพและทางเคมีสําหรับพืชที่มีระบบรากลึก ดินอาจขาดสมดุลของธาตุอาหาร โดยเฉพาะการขาดฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางชนิดเมื่อดินแหง ดินอาจแตกระแหงทําใหรากพืชเสียหายไดขอเสนอแนะในการใชประโยชน การปลูกพืชที่มีระบบรากลึกเชนไมผล จําเปนตองปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินลางในเบื้องตนโดยการใชอินทรียวัตถุผสมคลุกเคลาและใชปุยเคมีโดยเฉพาะฟอสฟอรัสในรูปที่ละลายชา และใหเพิ่มจุลธาตุเมื่อพืชแสดงอาการขาด จัดหาแหลงน้ําสํารองไวใชเมื่อฝนทิ้งชวง เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหงและทําลายระบบรากของพืช ถามีพื้นที่พอ23


22 ชุดดินลําปาง (Lampang series: Lp)กลุมชุดดินที่ 16การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic (Aeric)Endoaqualfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ําและที่ราบระหวางเขาสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา เลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไรเชน ขาวโพด ถั่วหรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากในภาคเหนือตอนบน บริเวณตะพักลําน้ําและที่ราบระหวางเขาการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง ดินรวนหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีเทาปนชมพู สีน้ําตาลปนเทาถึงสีน้ําตาลออน มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงถึงดินรวนปนดินเหนียว สีเทาปนชมพูหรือสีเทาออน มีจุดประสีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลือง หรือสีแดงปนเหลือง บางแหงอาจมีศิลาแลงออนและกอนลูกรังปะปนอยูบาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินหินกอง และชุดดินศรีเทพขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา มีอินทรียวัตถุต่ํา และมักแนนทึบใตชั้นไถพรวนขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรไถพรวนใหลึก ปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ24


23 ชุดดินลําสนธิ (Lam Sonthi series: Ls)กลุมชุดดินที่ 31การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Oxyaquic (Ultic) Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ําหรือเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-3 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง ไมพุมหนาม ทุงหญาธรรมชาติทํานา บางแหงปลูกพืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว งาการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-(Bw or C)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH5.5-6.5) ดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวถึงดินเหนียว สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม มีจุดประสีแดงและสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ดินลางตอนลางเปนดินเหนียวสีน้ําตาลสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีแดงปนเหลืองและสีแดง และพบกอนปูนทุติยภูมิปะปน ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง สูง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินดงยางเอนขอจํากัดการใชประโยชน ดินตอนบนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยากขอเสนอแนะในการใชประโยชน ไถพรวนใหลึกกวาปกติ ปรับปรุงดวยอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น25


24 ชุดดินแมริม (Mae Rim series: Mr)กลุมชุดดินที่ 48การจําแนกดิน Loamy-skeletal, mixed, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic (K<strong>and</strong>ic) Paleustultsการกําเนิด ตะกอนน้ําพา สวนใหญเปนพวกกรวดและหินมนเล็กบริเวณเนินตะกอนรูปพัด หรือตะพักลําน้ําสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว และใชเปนวัสดุทําถนนการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นกอนกรวดและหินมนเล็กหนาแนนตั้งแตภายใน 50 ซม. จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน อาจมีกรวดและหินมนเล็กปะปน สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทราย มีกรวดและหินมนเล็กปะปนอยูหนาแนนมาก มากกวา 35 % โดยปริมาตร ดินลางลึกๆ อาจเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเหลืองถึงสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินน้ําชุนขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดและหินมนเล็ก ความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ที่มีความลาดชันสูงดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%) และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา26


25 ชุดดินแมสาย (Mae Sai series: Ms)กลุมชุดดินที่ 15การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Aeric Endoaqualfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของสันดินริมน้ําหรือตะพักลําน้ําสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไรเชน ขาวโพด ถั่วหรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากในภาคเหนือ บริเวณสวนต่ําของสันดินริมน้ําหรือตะพักลําน้ําการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีเทาเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 6.0-6.5) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลปนเทา และมีสีเทาในตอนลาง มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ปานกลาง สูง ต่ํา ต่ํา ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินนครปฐม และชุดดินแมทะขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณคอนขางต่ําขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และเพิ่มผลผลิตโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ27


26 ชุดดินแมแตง (Mae Taeng series: Mt)กลุมชุดดินที่ 29การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Rhodic K<strong>and</strong>iustultsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ําหรือเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วมันสําปะหลัง หรือไมผล เชน ลิ้นจี่ ลําไย มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและดานตะวันตกของภาคการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทราย สีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว สีแดงเขมถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา สูง ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา สูง ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบานจอง ชุดดินเลย ชุดดินเชียงของ และชุดดินหางฉัตรขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา เสี่ยงตอการขาดน้ําปานกลางหากฝนทิ้งชวง พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี หาแหลงน้ําสํารอง โดยเฉพาะพื้นที่ปลูกไมผล จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั้งสองวิธีรวมกัน28


27 ชุดดินแมทะ (Mae Tha series: Mta)กลุมชุดดินที่ 15การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Aeric Endoaqualfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ํา ที่ราบระหวางเขา หรือบริเวณสวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพดถั่วหรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม สีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลือง สีน้ําตาลแก และสีแดงปนเหลืองปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงสีน้ําตาลปนแดง มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลือง สีน้ําตาลแก และสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนดางปานกลาง(pH 5.5-8.0) และพบศิลาแลงออนสีแดงหรือสีแดงปนเหลืองในดินลางเล็กนอยความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา สูง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ปานกลาง สูง ต่ํา ต่ํา ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินแมสาย และชุดดินอุตรดิตถขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีอินทรียวัตถุต่ํา ความอุดมสมบูรณต่ํา และมักแนนทึบใตชั้นไถพรวนขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรไถพรวนใหลึก ปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ ใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ29


28 ชุดดินนาน (Nan series: Na)กลุมชุดดินที่ 7การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Aeric Endoaqualfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพา บริเวณสวนต่ําของสันดินริมน้ําสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพดถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบน โดยเฉพาะแมน้ํานานการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปงหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีเทาปนแดงหรือปนสีชมพู มีจุดประสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกลาง (pH 5.0-7.0) ดินลางเปนดินเหนียวปนทรายแปงถึงดินเหนียว สีเทาปนแดง มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.0-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินหางดง และชุดดินแมทะขอจํากัดการใชประโยชน ดินแนนเนื่องจากมีทรายแปงมาก ขาวอาจแตกกอไดนอยขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ ปรับปรุงบํารุงดินโดยอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ30


29 ชุดดินน้ําเลน (Nam Len series: Nal)กลุมชุดดินที่ 28การจําแนกดิน Very-f<strong>in</strong>e, smectitic, isohyper<strong>the</strong>rmic Aquertic Paleustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-8 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง และถั่วตางๆการแพรกระจาย พบมากในเขตที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-(Bss)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม หรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว ตอนบนสีน้ําตาลปนแดงถึงสีแดง ตอนลางสีน้ําตาลถึงสีเทาออน มีจุดประสีแดงหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง(pH 6.5-8.0) เมื่อดินแหง จะแตกระแหงเปนรองลึก ดินชั้นลางจะพบรอยถูไถเปนมันเล็กนอย เนื่องจากการยืดและหดตัวของดิน เมื่อดินเปยกและแหงสลับกันความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวังชมพูขอจํากัดการใชประโยชน ดินเหนียวจัดและแนนทึบ ไถพรวนลําบากเมื่อแหงและเปยกเกินไป เมื่อดินแหง ดินจะแตกระแหงเปนรองลึกทําใหรากพืชเสียหายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ไถพรวนเมื่อมีความชื้นเหมาะสม ปรับปรุงดินใหรวนซุยขึ้นโดยใชอินทรียวัตถุ และเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี31


30 ชุดดินน้ําชุน (Nam Chun series: Ncu)กลุมชุดดินที่ 48การจําแนกดิน Clayey-skeletal, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Aquic Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพา สวนใหญเปนพวกกรวดและหินมนเล็ก บริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-5 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว และใชเปนวัสดุทําถนนการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-BCลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นกอนกรวดและหินมนเล็กหนาแนน ภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดินดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน อาจมีกรวดและหินมนปะปน สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินลางตอนบนสีแดงปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนแดง เปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียว มีกรวดและหินมนเล็กปะปนอยูหนาแนนมาก มากกวา 35 % โดยปริมาตร ดินลางตอนลางเปนดินเหนียวมีกรวดและหินมนเล็กปะปนหนาแนนเชนกัน สีน้ําตาลแกถึงสีน้ําตาลปนเทา และมีจุดประสีแดง สีแดงปนเหลืองและสีเทา ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.0-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา สูง สูง ต่ํา ต่ํา ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินแมริมขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้นถึงชั้นกรวดและหินมนเล็ก ความอุดมสมบูรณต่ําขอเสนอแนะในการใชประโยชน หากดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งและจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืช โดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี บริเวณที่ดินตื้นมากไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา หรือปลอยเปนทุงหญาตามธรรมชาติ32


31 ชุดดินน้ําดุก (Nam Duk series: Nd)กลุมชุดดินที่ 33การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Oxyaquic Paleustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัดหรือตะพักลําน้ําสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-8 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั ่วตางๆ บางแหงปลูกไมผล เชนมะมวง มะขามการแพรกระจาย พบมากบริเวณเนินพื้นที่ที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-(BC)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงสีน้ําตาลปนแดงถึงสีแดงปนเหลืองหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางตอนลางเปนดินรวนปนดินเหนียวถึงเปนดินเหนียว สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลแก มีจุดประสีน้ําตาลและสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวาริน และชุดดินเพชรบูรณขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณปานกลางถึงคอนขางต่ํา ดินที่ใชปลูกพืชไรมานาน ใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยากขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ และใชอินทรียวัตถุในการปรับสภาพดินใหรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น33


32 ชุดดินหนองมด (Nong Mot series: Nm)กลุมชุดดินที่ 29การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic K<strong>and</strong>iustultsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแกรนิตบริเวณพื้นที่ภูเขา รวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 4-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วมันสําปะหลัง หรือไมผล เชน ลิ้นจี่ ลําไย มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและดานตะวันตกของภาคการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลเขมถึงสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเชียงแสน ชุดดินเลย และชุดดินเชียงของขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั ้งสองวิธีรวมกัน34


33 ชุดดินนครสวรรค (Nakhon Sawan series: Ns)กลุมชุดดินที่ 47การจําแนกดิน loamy-skeletal, mixed, superactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Ultic Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากการผุพังของหินแปรพวกไมกาชีสตและไมกาไนส บริเวณพื้นที่ภูเขาและรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 6-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ ไมพุม ไผ และพืชไร เชนขาวโพด ถั่วการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนลางการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Rลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินและกอนหินหนาแนนมาก พบชั้นหินพื้นในชวงความลึกต่ํากวา 50-125 ซม. จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนเหนียวปนทราย มีเศษหินปะปนเล็กนอย สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนดินเหนียวและมีเศษหินและกอนหินปะปนอยูมาก สีน้ําตาลปนแดงหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) จะพบเกล็ดไมกาตลอดชั้นดินความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินลี้ และชุดดินทาลี่ขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้นถึงชั้นกอนหินหนาแนน พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%) และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา35


34 ชุดดินพะเยา (Phayao series: Pao)กลุมชุดดินที่ 48 หรือ 56การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-loamy over clayey-skeletal, mixed, semiactive,isohyper<strong>the</strong>rmic Pl<strong>in</strong>thic Paleustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพา และ/หรือโดยแรงโนมถวงมาทับถมอยูบนหินตะกอนพวกหินดินดาน หินทรายแปง หินทราย และหินกรวดมน บริเวณเนินตะกอนรูปพัดและเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีตอนบนและเลวในตอนลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางตอนบนและชาในตอนลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง พืชไร เชน ขาวโพด ถั่ว และใชเปนวัสดุทําถนนการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Btc-2Bgvลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นถึงลึกปานกลางถึงชั้นลูกรังหนาแนนตั้งแตประมาณ 30-60 ซม.จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ใตชั้นนี้จะเปนชั้นดินรวนเหนียวปนทรายหรือดินรวนปนดินเหนียว และมีลูกรังหรือเศษหินที่ถูกเคลือบดวยสารประกอบออกไซดของเหล็กที่เรียกวาลูกรังเทียม (pseudo-laterite) หนาแนนมากปะปนในดินหนาประมาณ 50-100 ซม. ใตชั้นลูกรังเปนชั้นดินเหนียวสีเทาที่มีจุดประสีแดง สีน้ําตาลและเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ต่ํา25-50 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินโพนพิสัยขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้นถึงลึกปานกลางถึงชั้นลูกรังหนาแนน ความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก (ไมเกิน 12%) และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรไดแตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั ้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ํา ที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา36


35 ชุดดินเพชรบูรณ (Petchabun series: Pe)กลุมชุดดินที่ 56การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-loamy (Loamy over skeletal), mixed, semiactive,isohyper<strong>the</strong>rmic Ultic Paleustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาทับถมบนหินตะกอนพวกหินทราย หินดินดาน หรือหินทรายแปง บริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง ขาวโพด มะมวง มะขามการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Btc-(Cr)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกปานกลางถึงชั้นลูกรังและเศษหินหนาแนน ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวน สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.5-7.0) ดินลางตอนบนเปนดินรวนเหนียวปนทรายถึงดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลือง มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองเล็กนอย ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH4.5-5.5) ดินลางตอนลางเปนดินรวนปนดินเหนียวปนลูกรังและเศษหินมาก สีน้ําตาลปนเหลือง มีจุดประสีแดงปนเหลืองปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH6.5-8.0) ใตชั้นลูกรังเปนชั้นหินที่กําลังผุพังสลายตัว สีน้ําตาล เหลืองและแดงปะปนกันความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวาริน ชุดดินน้ําดุก และชุดดินโพนงามขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา สภาพพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา และจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น37


36 ชุดดินพาน (Phan series: Ph)กลุมชุดดินที่ 5การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic (Pl<strong>in</strong>thic) Endoaqualfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพา บริเวณตะพักลําน้ําและที่ราบระหวางเขาสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา เลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพดถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btg-Btgvลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลปนเทาถึงสีเทาปนน้ําตาลออน มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลืองปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียว สีเทาหรือสีเทาออนมีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีแดงปนเหลือง และมีศิลาแลงออนสีแดง 5-50 %โดยปริมาตร อาจพบกอนลูกรังปะปนอยูบาง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.0-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเชียงราย ชุดดินสุโขทัย และชุดดินนครพนมขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา มีอินทรียวัตถุต่ํา และแนนทึบขอเสนอแนะในการใชประโยชน ไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ เพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้นโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ38


37 ชุดดินโพนงาม (Phon Ngam series: Png)กลุมชุดดินที่ 56การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-loamy, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic Haplustultsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินทรายและควอรตไซท บริเวณภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-8 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ฝาย ปอแกว ไมผล เชน มะมวงมะขามการแพรกระจาย บริเวณภูเขาหรือเชิงเขาหินทรายและควอรตไซทการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Cr-(R)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกถึงลึกปานกลางถึงชั้นหินพื้นภายใน 100-150 ซม. จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนทราย สีน้ําตาลเขม สีน้ําตาลปนแดงเขมหรือสีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเพชรบูรณ ชุดดินดานซาย และชุดดินวารินขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ําขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น ควรมีมาตรการอนุรักษดินและน้ํา และจัดระบบการปลูกพืชที่เหมาะสม39


38 ชุดดินโปงตอง (Pong Tong series: Po)กลุมชุดดินที่ 46การจําแนกดิน Clayey-skeletal, kaol<strong>in</strong>itic, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic (K<strong>and</strong>ic) Paleustultsวัตถุตนกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแกรนิตและหินแกรโนไดโอไลทเนื้อหยาบบริเวณภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนเนินเขา ความลาดชัน 3-35 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วมันสําปะหลัง หรือไมผล เชน ลิ้นจี่ ลําไย มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและดานตะวันตกของภาคการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นกรวดเหลี่ยมของแรควอตซที่หนาแนนมากภายในความลึก 50 ซม.จากผิวดิน ปริมาณและขนาดของควอตซเหลี่ยมจะเพิ่มมากขึ้นตามความลึกดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาเขมมากหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายปนกรวดเหลี่ยมมาก สีแดงปนเหลืองถึงสีแดงปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินหนองมดขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีกรวดเหลี่ยมปะปนอยูหนาแนนมาก รากพืชชอนไชไดยาก ความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืช โดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีควรไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ การปลูกไมผลควรเตรียมหลุมดินใหลึกและกวาง เพื่อใหรากพืชไชชอนไดงายขึ้น จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั้งสองวิธีรวมกัน40


39 ชุดดินภูสะนา (Phu Sana series: Ps)กลุมชุดดินที่ 46การจําแนกดิน Loamy-skeletal, mixed, isohyper<strong>the</strong>rmic Kanhaplic Haplustultsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแกรนิตและหินแกรโนไดโอไลทเนื้อหยาบบริเวณภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 3-8 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง พืชไร เชน ขาวโพด ขาวไรปอแกวการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นกรวดเหลี่ยมของแรควอตซหนาแนนมากภายในความลึก 50 ซม. จากผิวดิน ปริมาณและขนาดของควอตซเหลี่ยมจะเพิ่มมากขึ้นตามความลึก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายปนกรวดเหลี่ยมมาก สีน้ําตาลแกหรือสีแดงปนเหลืองปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 5.0-5.5) ชั้นหินที่กําลังผุพังสลายตัวมีสีแดง สีขาว และสีเหลืองปะปนกันความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินโปงตอง และชุดดินมาบบอนขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีกรวดเหลี่ยมปะปนอยูหนาแนนมาก รากพืชชอนไชไดยาก ความอุดมสมบูรณต่ํา พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีควรไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ การปลูกไมผลควรเตรียมหลุมดินใหลึกและกวาง เพื่อใหรากพืชไชชอนไดงายขึ้น จัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืชหรือวิธีกล หรือทั้งสองวิธีรวมกัน41


40 ชุดดินสันทราย (San Sai series: Sai)กลุมชุดดินที่ 22การจําแนกดิน Coarse-loamy, siliceous, subactive, isohyper<strong>the</strong>rmic AericEndoaqualfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ํา และที่ราบระหวางเขาสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพดถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btgลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทราย หรือดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาลปนเทาหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกลาง (pH 5.0-7.0) ดินลางเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทราย สีเทา สีเทาออนหรือสีเทาปนชมพู มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลแก ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางปานกลาง(pH 6.0-8.0) อาจพบศิลาแลงออนสีแดงบางเล็กนอยความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินลําปางขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา และใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบรากพืชชอนไชไดยากขอเสนอแนะในการใชประโยชน ไถพรวนใหลึกและปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ ปรับปรุงบํารุงดินและเพิ่มผลผลิตพืชใหสูงขึ้นโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผักซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ42


41 ชุดดินสมอทอด (Samo Thod series: Sat)กลุมชุดดินที่ 28การจําแนกดิน Very-f<strong>in</strong>e, smectitic, isohyper<strong>the</strong>rmic Chromic Haplustertsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินบะซอลท หินแอนดีไซท และหินปูน และ/หรือที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวง บริเวณลาวาหลากและเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 3-10 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพดขาวฟาง ถั่ว ทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวง มะขามการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bw-Bss-Crลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียว ดินเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0) ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาล มีจุดประสีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH5.0-5.5) ดินลางตอนลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนเทา มีจุดประสีน้ําตาล สีแดง และสีเทา พบรอยถูไถเปนมัน ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง (pH 8.0) มักพบกอนปูนทุติยภูมิปะปนกับเศษหินผุในชั้นลึกๆความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินลํานารายณขอจํากัดการใชประโยชน ดินเหนียวจัดและแนนทึบ ไถพรวนลําบาก และเมื่อดินแหง ดินจะแตกระแหงอาจทําใหรากพืชเสียหายไดขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงดินใหรวนซุยโดยใชอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิต43


42 ชุดดินไทรงาม (Sai Ngam series: Sg)กลุมชุดดินที่ 38การจําแนกดิน Coarse-loamy, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Oxyaquic (Ultic)Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพา บริเวณสันดินริมน้ําสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-3 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา เร็วพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออยยาสูบ ถั่วตางๆ พืชผัก และไมผลการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายสีน้ําตาลปนเทาเขมถึงสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-6.5) ดินลางเปนดินรวนปนทรายหรือดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดแกถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางลึกๆ อาจพบชั้นทราย และดินนี้มีเกล็ดไมกาตลอดชั้นดินความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินกําแพงแสน และชุดดินกําแพงเพชรขอจํากัดการใชประโยชน ดินคอนขางเปนทราย มีอินทรียวัตถุต่ําขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และควรใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น44


43 ชุดดินสบปราบ (Sop Prap series: So)กลุมชุดดินที่ 47การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, smectitic, isohyper<strong>the</strong>rmic Lithic Haplustollsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินบะซอลทและแอนดีไซท บริเวณลาวาหลากและรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ออยมันสําปะหลัง และไมผลการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bw-Rลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นหินพื้นภายใน 50 ซม. จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวถึงดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาเขมมากหรือสีน้ําตาลเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาเขมมากหรือสีน้ําตาลเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนดางเล็กนอย (pH 6.0-7.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง สูง สูง สูง สูง25-50 ต่ํา สูง ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ไมมีขอจํากัดการใชประโยชน ดินตื้นขอเสนอแนะในการใชประโยชน บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนักและดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดย ใชวิธีพืช พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา45


44 ชุดดินสันปาตอง (San Pa Tong series: Sp)กลุมชุดดินที่ 40การจําแนกดิน Coarse-loamy, siliceous, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic (K<strong>and</strong>ic)Paleustultsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัด และตะพักลําน้ําสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 2-20 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางถึงเร็วพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณและปาเต็งรัง พืชไร เชนมันสําปะหลัง ออย ถั่วลิสง ไมผล เชน มะมวง ลําไยการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายหรือดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินรวนปนทรายถึงดินรวนเหนียวปนทรายในสวนลึกๆ สีน้ําตาลซีดหรือสีน้ําตาลปนเหลืองออนปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินโคราชขอจํากัดการใชประโยชน ความอุดมสมบูรณต่ํา ดินที่ใชปลูกพืชไรมานานใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยากขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ และใชอินทรียวัตถุในการปรับสภาพดินใหรวนซุย ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอ โดยเพิ่มอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น46


45 ชุดดินศรีเทพ (Si Thep series: Sri)กลุมชุดดินที่ 16การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, subactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Pl<strong>in</strong>thic Paleaquultsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณตะพักลําน้ํา สวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัด หรือที่ราบระหวางเขาสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-2 %การระบายน้ํา เลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน นาขาว อาจใชปลูกพืชไร เชน ขาวโพดถั่ว หรือพืชผัก กอนหรือหลังปลูกขาวการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Btg-Btgvลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนทรายแปง ดินรวนหรือดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลปนเทาถึงสีน้ําตาลปนเทาเขมมาก มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลืองปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5) ดินลางเปนดินรวนเหนียวปนทรายแปงถึงดินรวนปนดินเหนียว สีเทาปนชมพูหรือสีเทาปนน้ําตาลออน มีจุดประสีน้ําตาลแก สีแดงและสีแดงปนเหลือง จะพบศิลาแลงออนสีแดง และกอนลูกรังปะปนอยูในดิน 5-50 % โดยปริมาตร ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ําชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินหินกอง และชุดดินลําปางขอจํากัดการใชประโยชน ดินมีความอุดมสมบูรณต่ํา มีอินทรียวัตถุต่ํา และมักแนนทึบใตชั้นไถพรวนขอเสนอแนะในการใชประโยชน ควรไถพรวนใหลึก ปรับปรุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น ในพื้นที่ชลประทาน นอกฤดูทํานาอาจปลูกพืชไรหรือพืชผัก ซึ่งจะตองยกรองและปรับสภาพดินใหรวนซุยและระบายน้ําดีขึ้น โดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ47


46 ชุดดินตาคลี (Takhli series: Tk)กลุมชุดดินที่ 52การจําแนกดิน Loamy-skeletal, carbonatic, isohyper<strong>the</strong>rmic Entic Haplustollsการกําเนิดเ กิดจากตะกอนน้ําพาทับถมอยูบนชั้นปูนมารล บริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 3-12 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟาง ถั่วทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวงการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศตอกับภาคกลางการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bw-Ckลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นถึงชั้นปูนมารลที่พบภายใน 50 ซม.จากผิวดิน ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีดํา สีเทาเขมมาก สีน้ําตาลปนเทาเขมมาก หรือสีน้ําตาลเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0) ดินลางเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง และมีเม็ดปูนปน สีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลเขม และมีสีขาวของผงปูนทุติยภูมิหรือปูนมารล ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง (pH 8.0) ใตชั้นดินลงไปเปนชั้นปูนมารลสีขาวทั้งที่เปนเม็ดและที่เชื่อมตอกันหนาแนนความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง สูง สูง25-50 ต่ํา สูง สูง ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง สูง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินชัยบาดาล และชุดดินลํานารายณขอจํากัดการใชประโยชน ดินตื้นถึงชั้นปูนมารลซึ่งจะมีผลกระทบทางกายภาพและทางเคมีตอพืช ดินอาจขาดสมดุลธาตุอาหารโยเฉพาะการขาดฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางชนิดขอเสนอแนะในการใชประโยชน เพาะปลูกพืชที่มีระบบรากสั้น ไดแก พืชไร และพืชผัก ปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินในเบื้องตนโดยการคลุกเคลาดวยอินทรียวัตถุ ใชปุยเคมีโดยเฉพาะฟอสฟอรัสในรูปที่ละลายชา และใหจุลธาตุเพิ่มเติมสําหรับพืชบางชนิดเมื่อพืชเริ่มแสดงอาการขาด48


47 ชุดดินทาลี่ (Tha Li series: Tl)กลุมชุดดินที่ 47การจําแนกดิน Clayey-skeletal, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic UlticHaplustalfsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินแอนดีไซทและหินอัคนีในกลุมเดียวกันบริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนชัน ความลาดชัน 3-20 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ปานกลางถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ถั่วการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Crลักษณะและสมบัติดิน เปนดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินหนาแนนตั้งแตภายใน 50 ซม.จากผิวดิน และพบชั้นหินพื้นที่กําลังสลายตัวที่ความลึกประมาณ 80 ซม. ลงไป ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนดินเหนียว สีน้ําตาลเขมมากหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)ดินลางเปนดินรวนปนดินเหนียวถึงดินเหนียวมีเศษหินปะปนมากสีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินเชียงคานขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินตื้นถึงชั้นเศษหินหนาแนน พื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินจะถูกชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน บริเวณที่มีความลาดชันไมมากนัก และดินไมตื้นมาก อาจใชปลูกพืชไรได แตตองรบกวนดินนอยที่สุด พรอมทั้งจัดทําระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมโดยใชวิธีพืช เพิ่มความอุดมสมบูรณแกดินและเพิ่มผลผลิตพืชโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมี พื้นที่ลาดชันสูงไมควรนํามาใชเพาะปลูก ควรใหคงสภาพปาหรือฟนฟูสภาพปา49


49 ชุดดินตะพานหิน (Taphan H<strong>in</strong> series: Tph)กลุมชุดดินที่ 33การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e-silty, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Ultic Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสันดินริมน้ําสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-3 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน พืชไร เชน ขาวโพด ออย ยาสูบถั่วตางๆพืชผัก และไมผลการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือโดยเฉพาะลําน้ํานานการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนหรือดินรวนปนทรายแปงสีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขมหรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)ดินลางตอนบนเปนดินรวนปนทรายแปงถึงดินรวนเหนียวปนทรายแปง ดินลางตอนลางเปนดินรวนปนทรายแปง สีน้ําตาลปนแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง สูง ปานกลาง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง50-100 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินกําแพงแสน และชุดดินดงยางเอนขอจํากัดการใชประโยชน ดินที่ใชปลูกพืชไรมานาน ใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยากขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น51


50 ชุดดินอุตรดิตถ (Uttaradit series: Utt)กลุมชุดดินที่ 7การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, mixed, semiactive, isohyper<strong>the</strong>rmic Aquic Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของสันดินริมน้ําสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 1-3 %การระบายน้ํา ดีปานกลางถึงคอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน พื้นที่สวนใหญดัดแปลงมาใชทํานา ทําใหมีน้ําแชขังในฤดูฝน และปลูกพืชไร เชน ขาวโพด ออย ยาสูบ ถั่วตางๆ พืชผักกอนและหลังฤดูทํานาการแพรกระจาย พบมากบริเวณภาคเหนือโดยเฉพาะลําน้ํานานการจัดเรียงชั้นดิน Ap(Apg)-Btลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลถึงสีน้ําตาลเขม หรือสีน้ําตาลปนเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลแกหรือสีแดงปนเหลืองปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนเล็กนอย (pH 5.5-6.5) ดินลางเปนดินเหนียวปนทรายแปงหรือดินเหนียว สีน้ําตาลปนแดง มีจุดประสีน้ําตาลแกและสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง(pH 6.5-8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา สูง ต่ํา ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา ปานกลาง สูง ต่ํา ต่ํา ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินตะพานหินขอจํากัดการใชประโยชน ดินที่ใชเพาะปลูกมานาน ใตชั้นไถพรวนมักแนนทึบ รากชอนไชไดยาก พื้นที่ที่ดัดแปลงทํานา จะมีน้ําแชขังในฤดูฝน ไมเหมาะที่จะใชปลูกพืชไรหรือไมผล พื้นที่ที่ไมไดดัดแปลงทํานา ดินลางมีการระบายน้ําคอนขางเลว ทําใหรากพืชอาจแชขังน้ําเปนเวลานานในชวงฤดูฝนขอเสนอแนะในการใชประโยชน ทําลายชั้นดานใตชั้นไถพรวนโดยไถใหลึกกวาปกติ ปรับปรุงบํารุงดินอยูเสมอโดยเพิ่มอินทรียวัตถุ และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น หากปลูกไมผลหรือพืชไรตองยกรองใหสูงขึ้นและระบายน้ําออกใหอยูในระดับที่ ไมกระทบตอการเจริญเติบโตของราก52


51 ชุดดินวัฒนา (Watthana series: Wa)กลุมชุดดินที่ 1การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, smectitic, isohyper<strong>the</strong>rmic Ustic Endoaquertsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณสวนต่ําของเนินตะกอนรูปพัดและที่ราบระหวางเขาสภาพพื้นที่ ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ ความลาดชัน 0-1 %การระบายน้ํา คอนขางเลวการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ขาว และปลูกพืชไรหรือพืชผักกอนและหลังฤดูฝนการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Apg-Bssg-Ckลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีดําหรือสีเทาเขมมาก มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) ดินลางเปนดินเหนียวหรือดินเหนียวปนทรายแปง สีเทาหรือสีเทาเขม มีจุดประสีน้ําตาลหรือสีน้ําตาลปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0)และจะพบรอยถูไถเปนมัน ในฤดูแลงหรือฝนทิ้งชวงนานๆ ดินจะแหงและแข็งแตกระแหงเปนรองลึกดินลางลึกๆ จะพบชั้นกอนปูนทุติยภูมิสะสมหนาแนนความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง สูง ปานกลาง สูง สูง25-50 ต่ํา สูง สูง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง สูง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินพิมาย ชุดดินบานหมี่ และชุดดินบุรีรัมยขอจํากัดการใชประโยชน เนื้อดินเหนียวจัด ยากตอการไถพรวน และแตกระแหง ทําใหรากพืชเสียหายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงโครงสรางของดินโดยการเพิ่มอินทรียวัตถุ และเพิ่มผลผลิตพืชใหสูงขึ้นโดยใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีอัตราต่ํา ไถพรวนในขณะที่ดินมีความชื้นพอเหมาะ ไมแหงและเปยกเกินไป จัดหาแหลงน้ําสํารองไวใชเมื่อฝนทิ้งชวง เพื่อปองกันไมใหดินแตกระแหงและ ทําลายระบบรากของพืช ถาพื้นที่เพียงพอ53


52 ชุดดินวิเชียรบุรี (Wichian Buri series: Wb)กลุมชุดดินที่ 19 หรือ 41การจําแนกดิน Loamy, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Aquic (Arenic) Haplustalfsการกําเนิด ตะกอนทรายที่ถูกน้ําพาทับถมอยูบนหินที่เปนดางของหินทราย หินดินดานหินทรายแปง หรือหินกรวดมน บริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ความลาดชัน 1-4 %การระบายน้ํา คอนขางมากตอนบนและคอนขางเลวในดินลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาการซึมผานไดของน้ํา คอนขางเร็วตอนบนและชาในดินลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเต็งรัง ทํานา และงาแดงการแพรกระจาย บริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-(E)-Btg-2Bwg (or 2Cg)ลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก ดินบนเปนดินทรายหรือดินทรายปนดินรวน สีน้ําตาลปนเหลืองเขม หรือสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกลาง (pH 5.0-7.0) ดินลางตอนบนเปนดินทรายปนดินรวนหรือดินทราย สีน้ําตาลปนแดงหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย (pH 5.0-6.5) ดินลางตอนลางเปนดินรวนเหนียวปนทราย สีเทาปนน้ําตาลออนหรือสีเทาปนชมพู มีจุดประสีน้ําตาลแก สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีแดงปนเหลือง ปฏิกิริยาดินเปนกรดเล็กนอยถึงเปนดางปานกลาง (pH 6.5-8.0) บางบริเวณอาจพบดินบนเปนทรายหนากวา 50 ซม.ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา ต่ํา25-50 ต่ํา ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา ต่ํา50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ยังไมพบดินที่จัดตั้ง แตมีลักษณะคลายดินเรณูที่มีชั้นทรายหนา (Renu thick s<strong>and</strong>variant)ขอจํากัดการใชประโยชน ดินบนเปนทราย มีอินทรียวัตถุต่ําและความอุดมสมบูรณต่ําขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินโดยเพิ่มอินทรียวัตถุในอัตราสูง และใชปุยอินทรียรวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น หาแหลงน้ําสํารอง54


53 ชุดดินวังชมพู (Wang Chomphu series: Wc)กลุมชุดดินที่ 28การจําแนกดิน Very-f<strong>in</strong>e, smectitic, isohyper<strong>the</strong>rmic Chromic Haplustertsการกําเนิด เกิดจากตะกอนน้ําพาบริเวณเนินตะกอนรูปพัดสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-8 %การระบายน้ํา ดีปานกลางการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงปานกลางการซึมผานไดของน้ํา ชาพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ขาวฟางถั่ว ทานตะวัน หรือไมผล เชน นอยหนา ขนุน มะมวง มะขามการแพรกระจาย พบมากบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bss-Ckลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึก ดินบนเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเทาเขมมาก ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดถึงเปนดางปานกลาง (pH 5.5-8.0) ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว สีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนสีมะกอก มีจุดประสีเทาปนน้ําตาลออน ปฏิกิริยาดินเปนกลางถึงเปนดางปานกลาง (pH 7.0-8.0) และพบรอยถูไถเปนมัน เนื่องจากการยืดและหดตัวของดิน เมื่อดินเปยกและแหงสลับกัน ดินลางตอนลางเปนดินเหนียวสีน้ําตาลปนเหลืองหรือสีน้ําตาลปนสีมะกอก มีจุดประสีเทาปนน้ําตาลออนมีกอนปูนทุติยภูมิปะปนในดิน ปฏิกิริยาดินเปนดางปานกลาง (pH 8.0)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา สูง สูง ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง สูง ต่ํา ปานกลาง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินชัยบาดาล และชุดดินลํานารายณขอจํากัดการใชประโยชน ดินเหนียวจัดและแนนทึบ ไถพรวนลําบาก เมื่อดินแหง ดินอาจแตกระแหงทําใหรากพืชเสียหายไดขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงดินใหรวนซุยโดยใชอินทรียวัตถุ การปลูกพืชที่มีระบบรากลึก เชน ไมผลจําเปนตองปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดินลางในเบื้องตน โดยการใชอินทรียวัตถุผสมคลุกเคลา ใชปุยเคมีโดยเฉพาะฟอสฟอรัสในรูปที่ละลายชา และใหจุลธาตุเพิ่มเติมสําหรับพืชบางชนิดเมื่อพืชเริ่มแสดงอาการขาด55


54 ชุดดินวังไห (Wang Hai series: Wi)กลุมชุดดินที่ 31การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Oxyaquic (Ultic) Paleustalfsการกําเนิดเ เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เชนหินดินดาน หินทรายแปง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท เปนตน บริเวณภูเขาและรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆ โดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %การระบายน้ําดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพดขาวไร ถั่วตางๆ และสวนผลไม เชน มะมวง มะขาม ลําไยการแพรกระจาย ภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-BCลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกมาก ดินบนเปนดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลเขมถึงสีน้ําตาลปนแดงเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0) ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5) ดินลางตอนลางเปนดินเหนียว สีแดง มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลืองและสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดจัด (pH 4.5-5.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินบานจองขอจํากัดการใชประโยชน สภาพพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ดินเกิดการชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินดวยอินทรียวัตถุและใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพ รวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น จัดระบบการปลูกพืชและระบบอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสมกับสภาพความลาดชันของพื้นที่56


55 ชุดดินวังสะพุง (Wang Saphung series: Ws)กลุมชุดดินที่ 55การจําแนกดิน F<strong>in</strong>e, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic Haplustalfsการกําเนิด เกิดจากการผุพังสลายตัวของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปรสภาพ เชนหินดินดาน หินทรายแปง หินโคลน หินชนวน หินฟลไลท เปนตน บริเวณพื้นที่ภูเขา และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนยายมาเปนระยะทางใกลๆโดยแรงโนมถวงบริเวณเชิงเขาสภาพพื้นที่ ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอยถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด ความลาดชัน 2-12 %การระบายน้ํา ดีการไหลบาของน้ําบนผิวดิน ชาถึงเร็วการซึมผานไดของน้ํา ปานกลางพืชพรรณธรรมชาติและการใชประโยชนที่ดิน ปาเบญจพรรณ พืชไร เชน ขาวโพด ขาวไร ถั่วตางๆ และสวนผลไม เชน มะมวง มะขาม ลําไยการแพรกระจาย ภาคเหนือตอนบนและที่สูงตอนกลางของประเทศการจัดเรียงชั้นดิน Ap(A)-Bt-Crลักษณะและสมบัติดิน เปนดินลึกปานกลาง ดินบนเปนดินรวน ดินรวนปนดินเหนียวหรือดินรวนเหนียวปนทรายแปง สีน้ําตาลเขมถึงสีน้ําตาลปนเทาเขม ปฏิกิริยาดินเปนกรดปานกลางถึงเปนกลาง (pH 6.0-7.0)ดินลางตอนบนเปนดินเหนียว สีแดงปนเหลืองถึงสีแดง ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง (pH 5.0-6.0) ดินลางตอนลางเปนดินเหนียวมีเศษหินปะปนหนาแนน และสวนใหญพบชั้นหินพื้นภายใน 100 ซม. จากผิวดิน สีน้ําตาลปนแดงหรือสีน้ําตาลปนเหลือง มีจุดประสีน้ําตาลปนเหลือง สีแดง และสีน้ําตาล ปฏิกิริยาดินเปนกรดจัดมากถึงเปนกรดเล็กนอย(pH 4.5-6.5)ความลึก(ซม.)อินทรียวัตถุ ความจุแลกเปลี่ยนแคตไอออนความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชนโพแทสเซียมที่เปนประโยชนความอุดมสมบูรณของดิน0-25 ปานกลาง ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง25-50 ต่ํา ปานกลาง ต่ํา ต่ํา สูง ปานกลาง50-100 ต่ํา สูง ปานกลาง ต่ํา สูง ปานกลางชุดดินที่คลายคลึงกัน ชุดดินวังไหขอจํากัดการใชประโยชน เปนดินลึกปานกลาง รากของพืชที่มีระบบรากลึกอาจถูกจํากัดการเจริญเติบโตสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ดินเกิดการชะลางพังทลายไดงายขอเสนอแนะในการใชประโยชน ปรับปรุงบํารุงดินและใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพ รวมกับปุยเคมีเพื่อเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น จัดระบบการปลูกพืชและระบบอนุรักษดินและน้ําใหเหมาะสมกับสภาพความ ลาดชันของพื้นที่57


5. สรุปชุดดินในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทยที่ไดมีการศึกษาลักษณะและสมบัติตางๆของดิน จํานวน 55 ชุดดิน จําแนกตามระบบอนุกรมวิธานดินออกเปน 7 อันดับ 11 อันดับยอย 17 กลุมใหญ 36 กลุมยอย 53 วงศ สําหรับชุดดินทั้ง 55 ชุดดินนี้จําแนกเปนกลุมชุดดินโดยพิจารณาจากระดับความอุดมสมบูรณ ปญหาและขอจํากัด และแนวทางในการจัดการดินที่คลายคลึงกันนั้น ออกไดเปน 26กลุมชุดดิน โดยจําแนกเปนกลุมดินนา 10 กลุม (กลุมชุดดินที่ 1 4 5 6 7 15 16 17 19 และ 22)และกลุมดินดอน 16 กลุม (กลุมชุดดินที่ 28 29 30 31 33 35 37 38 40 46 47 48 52 54 55และ 56)ดินนาในภาคเหนือบริเวณที่ราบลุมสวนใหญมีความอุดมสมบูรณระดับปานกลาง การเพิ่มผลผลิตใหสูงขึ้น ควรใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมีในอัตราเหมาะสม ซึ่งจะชวยลดตนทุนและเปนการปรับปรุงบํารุงดินดวย สวนบริเวณที่ราบระหวางเขาหรือตะพักลําน้ําเกา ดินจะมีปริมาณอินทรียวัตถุต่ํา มีความอุดมสมบูรณต่ํา และดินคอนขางเปนกรด ควรปรับปรุงดินดวยอินทรียวัตถุ ใชวัสดุปูนชวยลดความเปนกรดของดิน และเพิ่มความสามารถในการใหผลผลิต โดยใชปุยอินทรียหรือปุยชีวภาพรวมกับปุยเคมีในอัตราเหมาะสม สวนดินนาบริเวณที่สูงตอนกลางของประเทศหรือพื้นที ่ลุมน้ําปาสักมีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงสูง จะมีปญหาเกี่ยวกับน้ําทวมบาสูงในฤดูฝนทําใหขาวเสียหาย และในชวงที่ฝนทิ้งชวงขาวจะขาดน้ําไดงายเนื่องจากดินสวนใหญจะเหนียวจัด และมักแตกระแหง ทําใหรากขาวเสียหายควรหาทางปองกันปญหาน้ําทวมบา รวมถึงการพัฒนาระบบชลประทาน การเพิ่มอินทรียวัตถุแกดินจะชวยปรับสมบัติทางกายภาพของดินใหดีขึ้น และควรไถพรวนในชวงที่ดินมีความชื้นพอเหมาะสําหรับดินดอนบริเวณสันดินริมน้ํามีความอุดมสมบูรณปานกลาง แตการไถพรวนบอยครั้งและใชเพาะปลูกเปนเวลานานจะทําใหเกิดชั้นดานใตชั้นไถพรวน ควรไถพรวนใหลึกเพื่อทําลายชั้นดานและไถกลบเศษพืชรวมถึงการเพิ่มอินทรียวัตถุเพื่อชวยใหสมบัติทางกายภาพดีขึ้น สวนดินดอนบริเวณที่ลาดชันหรือภูเขาทางภาคเหนือจะมีความอุดมสมบูรณต่ํา ดินตื้นและสภาพพื้นที่ลาดชันสูง บริเวณตนน้ําลําธารควรฟนฟูสภาพปา สวนบริเวณดินลึกควรมีระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสม โดยใชระบบพืชและระบบกลรวมกันโดยเฉพาะอยางยิ่งควรใชแนวหญาแฝกรูปแบบตางๆ ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และการใชประโยชนดินดอนบริเวณลุมน้ําปาสักตอนบนมีความอุดมสมบูรณปานกลางถึงคอนขางต่ํา ควรมีการปรับปรุงบํารุงดินโดยใชอินทรียวัตถุ สวนบริเวณลุมน้ําปาสักตอนลางมีความอุดมสมบูรณสูง แตมักมีปูนในดินลางซึ่งทําใหฟอสฟอรัสและจุลธาตุบางอยางอยูในรูปที่ไมเปนประโยชนตอพืช สําหรับพื้นที่ลาดชันควรมีระบบอนุรักษดินและน้ําที่เหมาะสมเชนกัน58


6. เอกสารอางอิงกองสํารวจที่ดิน. 2519. แผนที่ดินจังหวัดเพชรบูรณ. ชุดแผนที่ดินจังหวัด ฉบับที่ 28. กองสํารวจที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. 19 น.คณะกรรมการจัดทําปทานุกรมปฐพีวิทยา. 2541. ปทานุกรมปฐพีวิทยา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร,กรุงเทพฯ. 169 น.วิจิตร ทันดวน. 2520. รายงานการสํารวจดินของจังหวัดเพชรบูรณ. ฉบับที่ 205. กองสํารวจดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. 123 น.สวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน. 2547. คูมือการเขียนหนวยแผนที่ดิน. เอกสารวิชาการฉบับที่519. สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ,กรุงเทพฯ. 33 น.อนิรุทธิ์ โพธิจันทร ภูษิต วิวัฒนวงศวนา และสุมิตรา วัฒนา. 2547. การกําหนดลักษณะของชุดดินที่จัดตั้งในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย. เอกสารวิชาการฉบับที่ 521. สวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน สํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. 171 น.<strong>Soil</strong> Survey Division Staff. 1993. <strong>Soil</strong> Survey Manual. United States Department <strong>of</strong> AgricultureH<strong>and</strong>book No. 18. U. S. Government Pr<strong>in</strong>t<strong>in</strong>g Office Wash<strong>in</strong>gton, D.C. 437 p.<strong>Soil</strong> Survey Staff. 1975. <strong>Soil</strong> Taxonomy. A Basic System <strong>of</strong> <strong>Soil</strong> Classification for Mak<strong>in</strong>g <strong>and</strong>Interpret<strong>in</strong>g. <strong>Soil</strong> Survey Agriculture H<strong>and</strong>book No. 436. <strong>Soil</strong> Conservation Service. U.S.Department <strong>of</strong> Agriculture. U.S. Government Pr<strong>in</strong>t<strong>in</strong>g Office Wash<strong>in</strong>gton, D.C. 754 p.<strong>Soil</strong> Survey Staff. 1999. <strong>Soil</strong> Taxonomy. A Basic System <strong>of</strong> <strong>Soil</strong> Classification for Mak<strong>in</strong>g <strong>and</strong>Interpret<strong>in</strong>g <strong>Soil</strong> Surveys. 2 nd Edition. Agriculture H<strong>and</strong>book No. 436. Natural ResourceConservation Service. U.S. Department <strong>of</strong> Agriculture. U.S. Government Pr<strong>in</strong>t<strong>in</strong>g OfficeWash<strong>in</strong>gton, D.C. 869 p.<strong>Soil</strong> Survey Staff. 2003. Keys to <strong>Soil</strong> Taxonomy. 9 th Edition. United States Department <strong>of</strong>Agriculture, Natural Resources Conservation Service, Wash<strong>in</strong>gton, D.C. 332 p.United States Department <strong>of</strong> Agriculture, Natural Resources Conservation Service. 1996. <strong>Soil</strong>Survey Laboratory Methods Manual. Natl. <strong>Soil</strong> Surv. Cent., SSIR 42. Version 3.0. 693 p.59


ภาคผนวก60


ตารางภาคผนวกที่ 1 สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทยตามระบบอนุกรมวิธานดิน ป ค.ศ. 2003ลําดับที่ สัญลักษณ ชุดดิน การจําแนกดิน1 Ban Bang Mun Nak vf, mixed, semiact, nona, iso Aeric Endoaquepts2 Bg Ban Chong f, kao, iso Typic (K<strong>and</strong>ic) Paleustults3 Bo Bo Thai col, kao, iso Typic Eutrustox4 Bpo Ban Phot vf, smec, iso (Chromic) Ustic Epiaquerts5 Cd Chai Badan f, smec, iso Leptic Haplusterts6 Ce Chiang Saen vf, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iustults7 Cg Chiang Khong vf, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iustox8 Ch Chiang Khan csk, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iustults9 Cm Chiang Mai col, mixed, superact, nona, iso Oxyaquic Ustifluvents10 Cr Chiang Rai f, kao, iso Pl<strong>in</strong>thic Paleaquults (K<strong>and</strong>iaquults)11 Dl Dong Lan f, mixed, act, iso Vertic (Aquic) Haplustolls12 Don Dong Yang En fsi, mixed, act, iso Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs13 Dp Doi Pui f, kao, hyper (iso or <strong>the</strong>rmic) K<strong>and</strong>ic Palehumults14 Ds Dan Sai fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iustults15 Hc Hang Chat fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iustults16 Hd Hang Dong f, mixed, semiact, iso Typic Endoaqualfs17 Kp Kamphaeng Phet fsi, mixed, act, iso Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs18 La Lom Sak fsi, mixed, superact, nona, iso Fluvaquentic Endoaquepts19 Li Li csk, mixed, semiact, iso, shallow Ultic Haplustalfs20 Lk Lom Kao fl, mixed, semiact, iso Typic (Aquic) Paleustults21 Ln Lam Narai f, smec, iso Vertic Haplustolls22 Lp Lampang fsi, mixed, semiact, iso Typic (Aeric) Endoaqualfs23 Ls Lam Sonthi f, mixed, act, iso Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs24 Mr Mae Rim lsk, mixed, iso Typic (K<strong>and</strong>ic) Paleustults25 Ms Mae Sai fsi, mixed, semiact, iso Aeric Endoaqualfs26 Mt Mae Taeng f, kao, iso Rhodic K<strong>and</strong>iustults27 Mta Mae Tha fsi, mixed, semiact, iso Aeric Endoaqualfs28 Na Nan f, mixed, semiact, iso Aeric Endoaqualfs29 Nal Nam Len vf, smec, iso Aquertic Paleustalfs30 Ncu Nam Chun csk, mixed, act, iso Aquic Haplustalfs31 Nd Nam Duk fsi, mixed, act, iso Oxyaquic Paleustalfs32 Nm Nong Mot f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iustults33 Ns Nakhon Sawan lsk, mixed, superact, iso Ultic Haplustalfs34 Pao Phayao fl/csk, mixed, semiact, iso Pl<strong>in</strong>thic Paleustalfs35 Pe Phetchabun fl (l/lsk), mixed, semiact, iso Ultic Paleustalfs36 Ph Phan f, kao, iso Typic (Pl<strong>in</strong>thic) Endoaqualfs37 Png Phon Ngam fl, mixed, semiact, iso Typic Haplustults38 Po Pong Tong csk, kao, iso Typic (K<strong>and</strong>ic) Paleustults39 Ps Phu Sana lsk, mixed, iso Kanhaplic Haplustults40 Sai San Sai col, sili, subact, iso Aeric Endoaqualfs41 Sat Samo Thod vf, smec, iso Chromic Haplusterts42 Sg Sai Ngam col, mixed, semiact, iso Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs61


ตารางภาคผนวกที่ 1 (ตอ)ลําดับที่ สัญลักษณ ชุดดิน การจําแนกดิน43 So Sop Prap f, smec, iso Lithic Haplustolls44 Sp San Pa Tong col, sili, semiact, iso Typic (K<strong>and</strong>ic) Paleustults45 Sri Si Thep fsi, mixed, subact, iso Pl<strong>in</strong>thic Paleaquults46 Tk Takhli lsk, carn, iso Entic Haplustolls47 Tl Tha Li csk, mixed, semiact, iso Ultic Haplustalfs48 Tn Tha Phon f, mixed, superact, nona, iso Aeric Endoaquepts49 Tph Taphan H<strong>in</strong> fsi, mixed, act, iso Ultic Haplustalfs50 Utt Uttaradit f, mixed, semiact, iso Aquic Haplustalfs51 Wa Watthana f, smec, iso Ustic Endoaquerts52 Wb Wichian Buri l, mixed, act, iso Aquic (Arenic) Haplustalfs53 Wc Wang Chomphu vf, smec, iso Chromic Haplusterts54 Wi Wang Hai f, mixed, act , iso Oxyaquic (Ultic) Paleustalfs55 Ws Wang Saphung f, mixed, act, iso Typic Haplustalfsหมายเหตุ1. การจําแนกดินในวงเล็บ(....) = สามารถจําแนกดินได ทั้ง 2 แบบ และ [….] = ลักษณะที่ยังไมไดระบุไวในระบบอนุกรมวิธานดิน ป ค.ศ.20032. คํายอParticle-size classes (ชั้นขนาดอนุภาคดิน): M<strong>in</strong>eralogy classes (ชั้นแรวิทยาของดิน):col = coarse-loamy kao = kaol<strong>in</strong>iticcol/c = coarse-loamy over clayey mixed = mixedcol/csk = coarse-loamy over clayey-skeletal sili = siliceouscosil = coarse-silty sili/kao = siliceous over kaol<strong>in</strong>iticcsk = clayey-skeletalf = f<strong>in</strong>efl = f<strong>in</strong>e-loamyfl/c = f<strong>in</strong>e-loamy over clayey act = kaol<strong>in</strong>iticfl/csk = f<strong>in</strong>e-loamy over clayey-skeletal semiact = semiactivefsi = f<strong>in</strong>e-silty subact = subactivel = loamy superact = superactiveCation-exchange activity classes(ชั้นกิจกรรมแลกเปลี่ยนแคตไอออน):l/lsk = loamy over loamy-skeletallsk = loamy-skeletallsk/c = loamy-skeletal over clayeylsk/frag = loamy-skeletal over fragments nona = nonacids = s<strong>and</strong>y a = acidvf = very-f<strong>in</strong>e<strong>Soil</strong> temperature classes (ชั้นอุณหภูมิดิน):iso = isohyper<strong>the</strong>rmichyper = hyper<strong>the</strong>rmic<strong>the</strong>rmic = <strong>the</strong>rmicCalcareous <strong>and</strong> reaction classes(ชั้นการมีปูนปนและปฏิกิริยา):62


ตารางภาคผนวกที่ 2 สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคกลางของประเทศไทยตามระบบอนุกรมวิธานดินป ค.ศ. 2003ลําดับที่ สัญลักษณ ชุดดิน การจําแนกดิน1 Ay Ayutthaya vf, mixed, act, acid, iso Vertic Endoaquepts2 Bk Bangkok vf, smec, nona, iso Vertic Endoaquepts3 Bl Bang Len f, smec, iso Vertic Endoaquolls4 Bm Ban Mi vf, smec, iso Ustic Epiaquerts5 Bn Bang Khen f, mixed, act, a, iso Vertic Endoaquepts6 Bp Bang Nam Priao vf, mixed, act, a, iso Vertic Endoaquepts7 Bpg Bang Pakong f, mixed, a, iso Typic Sulfaquents8 Bph Bang Phae fsi, mixed, act, iso Typic Endoaquolls9 Ca Cha-am vf, mixed, semiact, iso Sulfic Endoaquepts10 Cc Chachoengsao f(vf), mixed, nona, semiact, iso Vertic Endoaquepts11 Ck Chong Khae vf, smec, iso (Aeric Chromic) Ustic Endoaquerts12 Cs Chum Saeng f, mixed, semiact, a, iso Aeric (Pl<strong>in</strong>thic) Endoaquepts13 Db Doem Bang f, kao, iso Aeric (Pl<strong>in</strong>thic) Endoaqualfs14 Dc Don Chedi col, mixed, act, iso Typic Dystrustepts15 Dm Don Mueang fl, mixed, semiact, a, iso Sulfic Endoaquepts16 Dr Don Rai fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iustults17 Dt Dong Takhian coated, iso Lamellic Ustic Quartzipsamments18 Hg Hup Kraphong col, mixed, act, iso Typic Haplustalfs19 Hk H<strong>in</strong> Kong fsi, mixed, subact, iso Typic Paleaquults20 Kk Khok Krathiam vf, smec, iso Ustic Endoaquerts21 Ks Kamphaeng Saen fsi, mixed, semiact, iso Typic Haplustalfs22 Kyo Khao Yoi fl, mixed, semiact, iso Aeric Endoaqualfs23 Lb Lop Buri vf, smec, iso Typic Haplusterts24 Ly Lat Ya fl, sili, iso Kanhaplic Haplustults25 Ma Maha Phot vf, mixed, act, a, iso Vertic Endoaquepts26 Ml Muak Lek csk, mixed, semiact, shallow, iso Ultic Haplustalfs27 Mn Manorom f, mixed, semiact, iso Aeric (Pl<strong>in</strong>thic) Endoaqualfs28 Nk Nong Kae fl, mixed, act, iso Aquic Natrustalfs29 Np Nakhon Pathom f, mixed, act, iso Aeric Endoaqualfs30 Ok Ongkharak vf, mixed, semiact, a, iso Sulfic Endoaquepts31 Pb Phetchaburi fsi, mixed, act, iso Aquic Haplustalfs32 Pth Pak Tho f, kao, iso (Aeric) Pl<strong>in</strong>thic Paleaquults33 Rb Ratchaburi f, mixed, act, nona, iso Vertic (Aeric) Endoaquepts34 Rs Rangsit vf, mixed, semiact, a, iso Sulfic Endoaquepts35 Sa Sapphaya fl, mixed, act, nona, iso Aquic (Fluventic) Haplustepts36 Sb Saraburi vf, mixed, act, nona, iso Vertic (Aeric) Endoaquepts37 Se Sena vf, mixed, act, a, iso Sulfic Endoaquepts38 S<strong>in</strong> S<strong>in</strong>g Buri vf, mixed, semiact, nona, iso Vertic Endoaquepts39 Sm Samut Prakan f, mixed, nona, iso Fluvaquentic Endoaquepts40 Tan Thanyaburi vf, mixed, semiact, a, iso Sulfic Endoaquepts41 Tc Tha Ch<strong>in</strong> f, smec, nona, iso Sodic Hydraquents42 Tm Tha Muang col, mixed, act, calcareous, iso, Typic Ustifluvents43 Tq Tha Khwang f, mixed, semiact, a, iso Vertic (Aeric) Endoaquepts44 Tr Tha Ruea vf, mixed, act, nona, iso Vertic (Aeric) Endoaquepts45 Ty Tha Yang lsk, sili, iso Kanhaplic Haplustults63


ตารางภาคผนวกที่ 3 สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยตามระบบอนุกรมวิธานดิน ป ค.ศ. 2003ลําดับที่ สัญลักษณ ชุดดิน การจําแนกดิน1 Bb Borabue l/lsk, mixed, semiact, iso Pl<strong>in</strong>thaquic Haplustults2 Bpi Ban Phai l, sili, iso Arenic Paleustalfs3 Br Buri Rum f, smec, iso Ustic Epiaquerts4 Bt Buntharik fl, mixed, act, iso Pl<strong>in</strong>thaquic Paleustults5 Ci Chok Chai vf, kao, iso Rhodic K<strong>and</strong>iustox6 Ckr Chakkarat col, mixed, subact, iso Typic (Oxyaquic) Paleustults7 Cpg Chum Phuang col, sili, iso Typic K<strong>and</strong>iustults8 Cph Chumphon Buri col, mixed, act, iso Typic Dystrustepts9 Ct Chatturat f, mixed, act, iso Typic Haplustalfs10 Cu Chan Thuek l, sili, iso Typic Ustipsamments11 Dk Dan Khun Thot s, sili, coated, iso Ustic Quartzipsamments12 Ht Huai Thalaeng col, mixed, semiact, iso Typic Paleustults13 Kg Khambong s, sili, iso Typic Haplustalfs14 Ki Kula Ronghai fl, mixed, act, iso Typic Natraqualfs15 Kmr Khemarat fl/c, kao, iso Pl<strong>in</strong>thaquic Haplustults16 Kt Khorat fl, sili, iso Typic (Oxyaquic) K<strong>and</strong>iustults17 Lo Loei vf, kao, iso Typic Eutrustox18 Msk Maha Sarakham l, sili, subact, iso Oxyaquic Arenic Haplustalfs19 Ng Nam Phong l, sili, iso Grossarenic Haplustalfs20 Nn Nakhon Phanom f, kao, iso Aeric Pl<strong>in</strong>thic Paleaquults21 On On lsk/frag, mixed, subact, iso Aeric (Pl<strong>in</strong>thic) Epiaquults [Petr<strong>of</strong>erric Epiaquults]22 Pc Pak Chong vf, kao, iso Rhodic K<strong>and</strong>iustox23 Pm Phimai vf, smec, iso Ustic Endoaquerts24 Pn Phen lsk, mixed, subact, iso Aeric Pl<strong>in</strong>thic Paleaquults25 Pp Phon Phisai lsk/c, kao, iso Typic (Oxyaquic Pl<strong>in</strong>thic) Paleustults26 Re Roi Et fl, mixed, subact, iso Aeric K<strong>and</strong>iaquults27 Rn Renu fl, mixed, semiact, iso (Aeric) Pl<strong>in</strong>thic Paleaquults28 Si Sikhio fl, mixed, iso Typic Rhodustalfs29 Sk Sakon lsk/frag, mixed, subact, iso Petr<strong>of</strong>erric Haplustults30 Ska Sa Kaeo lsk, kao, iso Typic (Pl<strong>in</strong>thic) Paleustalfs31 Sn Sung Noen f, mixed, semiact, iso Typic Paleustults32 Ss Si Songkhram f, mixed, subact, iso Ustic Endoaquerts33 St Si Thon col, mixed, nona, iso Fluvaquentic Endoaquepts34 Su Sur<strong>in</strong> csk, kao, iso Typic Rhodustalfs35 Suk Satuek fl, sili, subact, iso Typic Paleustults36 Tp That Phanom fsi, mixed, semiact, iso Ultic Haplustalfs37 Tsr Thung Samrit vf, smec, iso Typic Natraquerts38 Tt Tha Tum f, mixed, semiact, iso Aeric (Pl<strong>in</strong>thic) Endoaqualfs39 Tu Tha U<strong>the</strong>n col/csk, sili/kao, subact, noncemented, iso Oxyaquic Haplorthods40 Ub Ubon l, sili, semiact, iso Aquic Grossarenic Haplustalfs41 Ud Udon col, mixed, act, nona, iso Typic Halaquepts42 Wn War<strong>in</strong> fl, sili, iso Typic K<strong>and</strong>iustults43 Yl Yang Talat col, sili, semiact, iso Oxyaquic (Ultic) Haplustalfs44 Yt Yasothon fl, sili, semiact, iso Typic Paleustults64


ตารางภาคผนวกที่ 4 สรุปผลการจําแนกดินที่จัดตั้งในภาคใตและชายฝงทะเลภาคตะวันออกของประเทศไทยตามระบบอนุกรมวิธานดินป ค.ศ. 2003ลําดับที่ สัญลักษณ ชุดดิน การจําแนกดิน1 Ak Ao Luek vf, kao, iso Rhodic K<strong>and</strong>iudox2 Ba Bang Nara f, kao, iso Typic Paleaquults3 Bbg Ban Bueng coated, iso Oxyaquic Quartzipsamments4 Bc Bacho coated, iso Typic Quartzipsamments5 Bh Ban Thon s, sili, superact, ortste<strong>in</strong>, iso Typic Haplorthods6 Bng Bueng Chanang f, mixed, superact, iso Fluventic Eutrudepts7 Bu Sai Buri fsi, kao, iso Aquic K<strong>and</strong>iudults8 Cb Chon Buri fl, mixed, semiact, iso Typic Endoaqualfs9 Chl Chalong fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults10 Cp Chumphon csk, kao, iso Typic Paleudults11 Cya Chaiya fl, sili, subact, nona, iso Fluvaquentic Endoaquepts12 Cyi Chian Yai f, mixed, superact, a, iso Haplic Sulfaquents13 Fd Fang Daeng fl, kao, iso Rhodic K<strong>and</strong>iudults14 Gk Su-ngai Kolok f, kao, iso Typic Endoaquults15 Hh Hua H<strong>in</strong> coated, iso Typic Quartzipsamments16 Ho Huai Yot lsk, mixed, semiact, a, shallow, iso Typic Udor<strong>the</strong>nts17 Hp Huai Pong f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults18 Hy Hat Yai csk, kao, iso Typic Paleudults19 Kat Kantang csk, kao, iso Typic (Aquic) Pl<strong>in</strong>thudults20 Kbi Krabi f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults21 Kc Khlong Chak csk, kao, iso Typic K<strong>and</strong>ihumults22 Kd Kab Daeng l, mixed, superact, dysic, iso Terric Sulfihemists23 Kh Kho Hong col, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults24 Kkl Khuan Kalong fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults25 Kkt Khao Khat csk, kao, iso Typic (K<strong>and</strong>ic) Pl<strong>in</strong>thudults26 Kl Klaeng vf, kao, iso Typic Pl<strong>in</strong>thaquults27 Klt Khlong Teng fl, mixed, semiact, shallow, iso Typic Haplohumults28 Km Khlong Thom fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults29 Knk Klong Nok Krathung fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults30 Ko Khok Kha<strong>in</strong> fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iaquults31 Koi Khok Kloi f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults32 Koy Ko Yai cosil, mixed, superact, nona, iso Typic Tropaquepts33 Kut Khlong Khut f, kao, iso K<strong>and</strong>ic Pl<strong>in</strong>thaquults34 Lam Lam Kaen fsi, mixed, semiact, iso Typic Haplohumults35 Lan Lang Suan coated, iso Typic Quartzipsamments36 Lgu La-ngu f, mixed, iso Typic Endoaqualfs37 Lh Lahan fl, sili, subact, iso Typic Paleudults38 Ll Lamphu La f, mixed, semiact, iso Typic Palehumults39 Mak Makham col/c, sili/kao, subact, nona, iso Fluvaquentic Eutrudepts40 Mik Mai Khao coated, iso Typic Quartzipsamments41 Mu Munoh f, mixed, semiact, a, iso Sulfic Endoaquepts42 Nat Na Thawi col, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults43 Nb Nong Bon f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults44 Ni Nam Krachai col, mixed, semiact, iso Typic Pl<strong>in</strong>thaquults45 Nok Nong Khla csk, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults46 Ntm Na Tham fl, mixed, semiact, iso Typic (Aquic) Pl<strong>in</strong>thudults47 Ntn Na Thon f, mixed, semiact, iso Typic Haplohumults48 Nw Narathiwat dysic, iso Typic Hapl<strong>of</strong>ibrists49 Oc O Lum Chiak vf, mixed, act, iso Typic Hapludalfs65


ตารางภาคผนวกที่ 4 (ตอ)ลําดับที่ สัญลักษณ ชุดดิน การจําแนกดิน50 Pac Pak Chan vf, kao, iso Typic Palehumults51 Pad Padang Besar col/csk, sili/kao, subact, iso Typic Paleudults52 Pat Phak Kat f, mixed, semiact, iso Pl<strong>in</strong>thaquic Paleudalfs53 Paw Phawong vf, kao, iso Umbric Paleaquults54 Pga Phang-nga f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults55 Pi Su-ngai Padi fl, sili, subact, iso Aeric Paleaquults56 Pk Phuket f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults57 Pkm Pak Khom fl, mixed, semiact, iso Typic (Aquic) Pl<strong>in</strong>thudults58 Pon Pong Nam Ron fl, mixed, act, shallow, iso Typic Hapludolls59 Ptg Phan Thong fsi, mixed, superact, nona, iso Mollic Endoaquepts60 Pti Pattani col, mixed, superact, nona, iso Sulfic Endoaquepts61 Ptl Phatthalung f, kao, iso Pl<strong>in</strong>thic Paleaquults62 Pto Phato lsk, mixed, semiact, iso Typic Hapludults63 Ptu Pathio f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults64 Py Phatthaya coated, iso Typic Quartzipsamments65 Pym Phayom Ngam fl, kao, iso K<strong>and</strong>ic Pl<strong>in</strong>thaquults66 Ra Ra-ngae vf, mixed, superact, a, iso Sulfic Endoaquepts67 Ran Ranot vf, mixed, semiact, iso Typic Endoaqualfs68 Rg Ranong lsk, mixed, semiact, a, iso Lithic Udor<strong>the</strong>nts69 Ro Rueso fsi, mixed, semiact, iso Typic Palehumults70 Ry Rayong uncoated, iso Typic Quartzipsamments71 Sak Sai Khao sili, iso Humaqueptic Psammaquents72 Sd Sadao col, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults73 Sh Sattahip coated, iso Typic Quartzipsamments74 Sng Songkhla fl, sili, subact, iso Aquic Paleudults75 Stn Sathon fl, mixed, semiact, iso Typic Pl<strong>in</strong>thaquults76 Stu Satun col/c, kao, iso K<strong>and</strong>ic Pl<strong>in</strong>thaquults77 Sw Sawi lsk, mixed, semiact, iso Typic Paleudults78 Ta Tak Bai fsi, mixed, semiact, a, iso Typic Endoaquepts79 Tac Tha Chang lsk, kao, iso Typic (K<strong>and</strong>ic) Pl<strong>in</strong>thudults80 Td Trat f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults81 Te Tha Sae fl, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults82 Tg Thung Wa col, sili, subact, iso Typic Paleudults83 Ti Tha Mai f, kao, iso Typic Hapludox84 Tim Thai Mueang f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults85 Tkn Tha Khun col, mixed, superact, a, iso Typic Udifluvents86 Tkt Takua Thung fsi, mixed, superact, a, iso Typic Sulfaquents87 Tng Trang f, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults88 Ts Thon Sai fl, mixed, semiact, a, iso Sulfic Endoaquepts89 Tsl Tha Sala f, kao, iso Typic Endoaquults90 Tuk Thung Kai csk, mixed, act, nona, iso Aeric Endoaquepts91 Vi Visai fl, mixed, semiact, iso Typic Pl<strong>in</strong>thaquults92 Wat Wang Tong f, kao, iso Typic (Aquic) Pl<strong>in</strong>thudults93 Wp Wan Priang sili, iso Typic Psammaquents94 Ya Yala csk, kao, iso Typic K<strong>and</strong>iudults95 Yg Yi-ngo lsk, mixed, semiact, iso Typic Paleudults96 Yk Yan Ta Khao lsk, mixed, semiact, iso Typic (Aeric) Pl<strong>in</strong>thaquults66


ตารางภาคผนวกที่ 5 การจําแนกดินที่จัดตั้งรวมทุกภาคของประเทศไทยตามระบบอนุกรมวิธานดินป ค.ศ. 2003 และกลุมชุดดินอันดับ อันดับยอย กลุมใหญ กลุมยอย วงศ ชุดดิน ภาค กลุมชุดดินHistosols Fibrists Hapl<strong>of</strong>ibrists Typic dysic, iso Narathiwat Nw S 58Hemists Sulfihemists Terric l, mixed, superact, Kab Daeng Kd S 51dysic, isoSpodosols Orthods Haplorthods Oxyaquic col/csk, sili/kao, subact, Tha U<strong>the</strong>n Tu NE 24noncemented, isoTypic s, sili, superact, Ban Thon Bh S 6ortste<strong>in</strong>, isoOxisols Ustox Eutrustox Typic vf, kao, iso Loei Lo NE 31col, kao, iso Bo Thai Bo N 37K<strong>and</strong>iustox Rhodic vf, kao, iso Chok Chai Ci NE 29Pak Chong Pc NE 29Typic vf, kao, iso Chiang Khong Cg N 29Udox K<strong>and</strong>iudox Rhodic vf, kao, iso Ao Luk Ak S 26Hapludox Typic f, kao, iso Tha Mai Ti S 27Vertsols Aquerts Natraquerts Typic vf, smec, iso Tung Samrit Tsr NE 20Epiaquerts Ustic f, smec, iso Buri Ram Br NE 1vf, smec, iso Ban Mi Bm C 1(Chromic) Ustic vf, smec, iso Ban Phot Bpo N 1Endoaquerts Ustic vf, smec, iso Khok Krathiam Kk C 1f, smec, iso Watthana Wa N 1Chromic Ustic vf, smec, iso Phimai Pm NE 4f, mixed, subact, iso Si Songkhram Ss NE 4(Aeric Chromic) vf, smec, iso Chong Kae Ck C 1UsticUsterts Haplusterts Leptic f, smec, iso Chai Badan Cd N 28Chromic vf, smec, iso Samo Thod Sat N 28Wang Chomphu Wc N 28Typic vf, smec, iso Lop Buri Lb C 28Ultisols Aquults Pl<strong>in</strong>thaquults K<strong>and</strong>ic col/c, kao, iso Satun Stu S 6fl, kao, iso Phayom Ngam Pym S 25f, kao, iso Khlong Kut Kut S 32Typic (Aeric) lsk, mixed, semiact, iso Yan Ta Khao Yk S 25Typic col, mixed, semiact, iso Nam Krachai Ni S 22fl, mixed, semiact, iso Sathon Stn S 25Visai Vi S 17vf, kao, iso Klaeng Kl S 26K<strong>and</strong>iaquults Typic fl, mixed, act, iso Roi Et Re NE 17fl, kao, iso Khok Khian Ko S 16Paleaquults Pl<strong>in</strong>thic fsi, mixed, subact, iso Si Thep Sri N 16Paleaquults Pl<strong>in</strong>thic f, kao, iso Chiang Rai Cr N 6(K<strong>and</strong>iaquults) Phatthalung Ptl S 6(Aeric) Pl<strong>in</strong>thic fl, mixed, semiact, iso Renu Rn NE 17f, kao, iso Pak Tho Pth C 6Aeric fl, sili, subact, iso Su-nga iPadi Pi S 17Aeric Pl<strong>in</strong>thic lsk, mixed, subact, iso Phen Pn NE 25f, kao, iso Nakhon Phanom Nn NE 6Epiaquults Aeric (Pl<strong>in</strong>thic), lsk/frag, mixed, subact, On On NE 25[Petr<strong>of</strong>erric] isoPaleustults Pl<strong>in</strong>thaquic fl, mixed, iso Buntharik Bt NE 17hi/35bUmbric vf, kao, iso Phawong Paw S 6Typic fsi, mixed, subact, iso H<strong>in</strong> Kong Hk C 16f, kao, iso Bang Nara Ba S 43Endoaquults Typic f, kao, iso Su-ngai Kolok Gk S 43Tha Sala Tsl S 667


ตารางภาคผนวกที่ 5 (ตอ)อันดับ อันดับยอย กลุมใหญ กลุมยอย วงศ ชุดดิน ภาค กลุมชุดดินUltisols Humults K<strong>and</strong>ihumults Typic csk, kao, iso Khlong Chak Kc S 6Palehumults K<strong>and</strong>ic f, kao, hyper (iso or <strong>the</strong>rmic) Doi Pui Dp N 30Typic fsi, mixed, semiact, iso Ruso Ro S 17f, mixed, semiact, iso LamphuLa Ll S 19vf, kao, iso Pak Chan Pac S 26Haplohumults Typic fl, mixed, semiact, shallow, iso Khlong Teng Klt S 34fsi, mixed, semiact, iso Lam Kaen Lam S 26f, mixed, semiact, iso Na Thon Ntn S 53Udults Pl<strong>in</strong>thudults Typic (K<strong>and</strong>ic) lsk, kao, iso Tha Chang Tac S 45csk, kao, iso Khao Khat Kkt S 17Typic (Aquic) csk, kao, iso Kantang Kat S 45fl, mixed, semiact, iso Na Tham Ntm S 34Pak Khom Pkm S 17f, kao, iso Wang Tong Wat S 6K<strong>and</strong>iudults Aquic fsi, kao, iso Sai Buri Bu S 17Rhodic fl, kao, iso Fang Daeng Fd S 45Typic csk, kao, iso Nong Khla Nok S 27Yala Ya S 45col, kao, iso Kho Hong Kh S 34Na Thawi Nat S 39Sadao Sd S 39fl, kao, iso Chalong Chl S 10Khlong Nok Krathung Knk S 34Khuan Ka Long Kkl S 39Khlong Thom Km S 6Tha Sae Te S 34f, kao, iso Huai Pong Hp S 57Krabi Kbi S 45Khok Kloi Koi S 26Nong Bon Nb S 22Phangnga Pga S 26Phuket Pk S 26Pathiu Ptu S 26Trat Td S 53Thai Muang Tim S 26Trang Tng S 53Paleudults Aquic fl, sili, subact, iso Songkhla Sng S 17Typic lsk, mixed, semiact, iso Sawi Sw S 50Yi-ngo Yg S 51csk, kao, iso Chumphon Cp S 18Hat Yai Hy S 25col/csk, sili/kao, subact, iso Padang Besar Pad S 53col, sili, subact, iso Thung Wa Tg S 39fl, sili, subact, iso Lahan Lh S 43Hapludults Typic lsk, mixed, semiact, iso Phato Pto S 50Ustults K<strong>and</strong>iustults Rhodic f, kao, iso Mae Taeng Mt N 29(Oxyaquic) fl, sili, iso Korat Kt NE 35Typic csk, kao, iso Chiang Khan Ch N 46col sili, iso Chum Phuang Cpg NE 40fl, sili, subact, iso War<strong>in</strong> Wn NE 35K<strong>and</strong>iustults Typic fl, kao, iso Don Rai Dr C 35Dan Sai Ds N 35fl, kao, iso Hang Chat Hc N 35f, kao Nong Mot Nm N 29vf, kao, iso Chiang Saen Ce N 3068


ตารางภาคผนวกที่ 5 (ตอ)อันดับ อันดับยอยกลุมใหญ กลุมยอย วงศ ชุดดิน ภาค กลุมชุดดินUltisols Ustults Paleustults Oxyaquic col, mixed, subact, iso Chakkarat Ckr NE 40Pl<strong>in</strong>thaquic fl, mixed, iso Buntharik Bt NE 17hi/35bTypic (Oxyaquic lsk/c, kao, iso Phon Phisai Pp NE 49Pl<strong>in</strong>thic)Typic (K<strong>and</strong>ic) lsk, mixed, iso Mae Rim Mr N 48csk, kao, iso Pong Tong Po N 46col, sili, semiact, iso San Pa Tong Sp N 40f, kao, iso Ban Chong Bg N 29Typic (Aquic) fl, mixed, semiact, iso Lom Kao Lk N 17Typic col, mixed, semiact, iso Huai Thalaeng Ht NE 40fl, sili, semiact, iso Yasothon Yt NE 35fl, sili, subact, iso Satuk Suk NE 35f, mixed, semiact, iso Sung Noen Sn NE 29Haplustults Petr<strong>of</strong>erric lsk/frag, mixed, subact, iso Sakon Sk NE 49Pl<strong>in</strong>thaquic l/lsk, mixed, semiact, iso Borabu Bb NE 49fl/c, kao, subact, iso Khemarat Kmr NE 17hid3cKanhaplic lsk, sili, iso Tha Yang Ty C 48fl, sili, iso Lat Ya Ly C 56lsk, mixed, iso Phu Sana Ps N 46Typic fl, mixed, semiact, iso Phon Ngam Png N 56Mollisols Aquolls Endoaquolls Vertic f, smec, iso Bang Len Bl C 3Typic fsi, mixed, act, iso Bang Phae Bph C 3Ustolls Haplustolls Lithic f, smec, iso Sop Prap So N 47Vertic f, smec, iso Lam Narai Ln N 54Vertic (Aquic) f, mixed, act, iso Dong Lan Dl N 38Entic lsk,carbonatic, iso Takhli Tk N 52Typic fl, mixed, act, shsllow, iso Pong Nam Ron Pon S 47Alfisols Aqualfs Natraqualfs Typic fl, mixed, act, iso Kula Ronghai Ki NE 20Endoaqualfs Aeric col, sili, subact, iso San Sai Sai N 22fl, mixed, semiact, iso Khao Yoi Kyo C 18fsi, mixed, semiact, iso Mae Tha Mta N 15Mae Sai Ms N 15f, mixed, semiact, iso Nan Na N 7f, mixed, act, iso Nakhon Pathom Np C 7Aeric (Pl<strong>in</strong>thic) f, mixed, semiact, iso Manorom Mn C 6Tha Tum Tt NE 7f, kao, iso Doembang Db C 7Typic (Aeric) fsi, mixed, semiact, iso Lampang Lp N 16Typic (Pl<strong>in</strong>thic) f, kao, iso Phan Ph N 5Typic fl, mixed, semiact, iso Chon Buri Cb S 34f, mixed, semiact, iso Hang Dong Hd N 5f, kao, iso Langu Lgu S 5vf, mixed, semiact, iso Ranot Ran S 7Ustalfs Natrustalfs Aquic fl, mixed, act, iso Nong Kae Nk C 20Paleustalfs Aquertic vf, smec, iso Nam Len Nal N 28Oxyaquic fsi, mixed, act, iso Nam Duk Nd N 33Oxyaquic (Ultic) f, mixed, act, iso Wang Hai Wi N 31Pl<strong>in</strong>thic fl/csk, mixed, semiact, iso Phayao Pao N 48/56Paleustalfs Ultic fl (l/lsk), mixed, semiact, iso Phetchabun Pe N 56Typic (Pl<strong>in</strong>thic) lsk, kao, iso SaKaeo Ska NE 49Rhodustalfs Typic csk, kao, iso Sur<strong>in</strong> Su NE 46fl, mixed, semiact, iso Sikhiu Si NE 36Haplustalfs Aquic csk, mixed, act, iso Nam Chun Ncu N 48fsi, mixed, act, iso Phetchaburi Pb C 21f, mixed, semiact, iso Uttaradit Utt N 7Aquic (Arenic) l, mixed, act, iso Wichian Buri Wb N 19/41Aquic Arenic l, sili, semiact, iso Ubon Ub NE 24Oxyaquic Arenic l, sili, subact, iso Maha Sarakham Msk NE 4169


ตารางภาคผนวกที่ 5 (ตอ)อันดับ อันดับยอยกลุมใหญ กลุมยอย วงศ ชุดดิน ภาค กลุมชุดดินAlfisols Ustalfs Haplustalfs Oxyaquic (Ultic) col, mixed, semiact, iso Sai Ngam Sg N 38col, sili, semiact, iso Yang Talat Yl NE 40fsi, mixed, act, iso Dong Yang En Don N 33Kamphaeng Phet Kp N 33f, mixed, act, iso Lam Sonthi Ls N 31Arenic l, sili, act, iso Ban Phai Bpi NE 41l, sili, semiact, iso Nam Phong Ng NE 44Ultic lsk, mixed, superact, iso Nakhon Sawan Ns N 47csk, mixed, semiact, shallow, iso Li Li N 47Muak Lek Ml C 47csk, mixed, semiact, iso Tha Li Tl N 47fsi, mixed, semiact, iso That Phanom Tp NE 33fsi, mixed, act, iso Taphan H<strong>in</strong> Tph N 33Typic col, mixed, act, iso Hup Kapong Hg C 40fsi, mixed, semiact, iso Kamphaeng Saen Ks C 33s, sili, iso Khambong Kg NE 41f, mixed, act, iso Chatturat Ct NE 55Wang Saphung Ws N 55Udalfs Hapludalfs Typic vf, mixed, act, iso O Lum Chiak Oc S 53Paleudalfs Pl<strong>in</strong>thaquic f, mixed, semiact, iso Phak Kat Pat S 7Inceptisols Aquepts Endoaquepts Sulfic vf, mixed, semiact, iso Cha-am Ca C 9col, mixed, superact, nona, iso Pattani Pti S 14Halaquepts Typic col, mixed, act, nona, iso Udon Ud NE 20fl, mixed, semiact, a, iso Don Muang Dm C 11ThonSai Ts S 14f, mixed, semiact, a, iso Munoh Mu S 39vf, mixed, superact, a, iso Rangae Ra S 14vf, mixed, semiact, a, iso Ongkharak Ok C 10Rangsit Rs C 11Thanyaburi Tan C 11vf, mixed, act, a, iso Sena Se C 11Vertic vf, smec, nona, iso Bangkok Bk C 3f (vf), mixed, semiact, nona, iso Chachoengsao Cc C 3vf, mixed, semiact, nona, iso S<strong>in</strong>g Buri S<strong>in</strong> C 4f, mixed, act, a, iso Bang Khen Bn C 2vf, mixed, act, a , iso Ayutthaya Ay C 2Maha Phot Ma C 2Bang Nam Prieo Bp C 2Vertic (Aeric) f, mixed, semiact, a, iso Tha Khwang Tq C 2f, mixed, act, nona, iso Ratchaburi Rb C 4Inceptisols Aquepts Endoaquepts Vertic (Aeric) vf, mixed, act, nona, iso Saraburi Sb C 4Tha Rua Tr C 4Fluvaquentic col, mixed, subact, nona, iso Si Thon St NE 22fl, sili, subact, nona, iso Chaiya Cya S 45fsi, mixed, superact, nona, iso Lom Sak La N 15f, mixed, nona, iso Samut Prakan Sm C 3Aeric csk, mixed, act, nona, iso Thung Khai Tuk S 25vf, mixed, semiact, nona, iso Bang Mun Nak Ban N 4f, mixed, superact, nona, iso Tha Phon Tn N 7Aeric (Pl<strong>in</strong>thic) f, mixed, semiact, a, iso Chumsaeng Cs C 4Mollic fsi, mixed, superact, nona, iso Phan Thong Ptg S 16Typic fsi, mixed, semiact, a, iso Tak Bai Ta S 16Tropaquepts Typic cosil, mixed, superact, nona, iso Ko Yai Koy S 34Ustepts Dystrustepts Typic col, mixed, act, iso Chumphon Buri Chp NE 38Don Chedi Dc C 3870


ตารางภาคผนวกที่ 5 (ตอ)อันดับ อันดับยอย กลุมใหญ กลุมยอย วงศ ชุดดิน ภาค กลุมชุดดินInceptisols Ustepts Haplustepts Aquic fl, mixed, act, nona, iso Sapphaya Sa C 21(Fluventic)Udepts Eutrudepts Fluvaquentic col/c, sili/kao, subact, Makham Mak S 10nona, isoFluventic f, mixed, superact, iso Bung Chanang Bng S 52Entisols Aquents Sulfaquents Haplic f, mixed, superact, a, iso Chian Yai Cyi S 34Typic fsi, mixed, superact, a, iso Takua Thung Tkt S 13f, mixed, a, iso Bang Pakong Bpg C 13Hydraquents Sodic f, smec, nona, iso Tha Ch<strong>in</strong> Tc C 12Psammaquents Humaqueptic sili, iso Sai Khao Sak S 23Typic sili, iso Wan Priang Wp S 23Psamments Quartzipsamments Oxyaquic coated, iso Ban Bung Bbg S 24Lamellic Ustic coated, iso Dong Takhian Dt C 43Ustic coated, iso Dan Khun Thot Dk NE 44Typic coated, iso Bacho Bc S 42Hua H<strong>in</strong> Hh S 17Lang Suan Lan S 43Mai Khao Mik S 43Phattaya Py S 43Sattahip Sh S 43uncoated, iso Rayong Ry S 43Ustipsamments Typic s, sili,coated, iso Chan Tuk Cu NE 44Fluvents Ustifluvents Oxyaquic col, mixed, superact, Chiang Mai Cm N 38nona, isoTypic col, mixed, act,cal, iso Tha Muang Tm C 38Udifluvents Typic col, mixed, superact, a, iso Tha Khun Tkn S 32Or<strong>the</strong>nts Udor<strong>the</strong>nts Lithic lsk, mixed, semiact, a, iso Ranong Rg S 51Typic lsk, mixed, semiact, a,shallow, isoHuai Yot Ho S 5171


1. การจําแนกดินการจําแนกดินในเอกสารฉบับนี้ หมายถึงการจําแนกดินตามระบบอนุกรมวิธานดิน (<strong>Soil</strong> Taxonomy)ของกระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา ที่เริ่มพัฒนาขึ้นมาในป ค.ศ. 1975 เพื่อใหเปนระบบการจําแนกดินสากลซึ่งมีการพัฒนาและปรับปรุงอยูตลอดเวลา จนถึงลาสุดเปนการปรับปรุงครั้งที่ 9 ป ค.ศ. 2003 (<strong>Soil</strong>Survey Staff, 2003) กรมพัฒนาที่ดินไดนําระบบนี้มาใชจําแนกดินของประเทศตั้งแตปแรกที่ระบบนี้เริ่มพัฒนาขึ้น พรอมทั้งปรับปรุงแกไขระบบการจําแนกดินของประเทศใหสอดคลองกับการพัฒนาของระบบตลอดเวลาเชนกันระบบอนุกรมวิธานดินมีขั้นการจําแนกดิน 6 ชั้นดังนี้ขั้นสูง (Higher category) แบงเปน อันดับ (Order) ปจจุบันมีทั้งหมด12 อันดับอันดับยอย (Suborder) ปจจุบันมีทั้งหมด 64 อันดับยอยกลุมใหญ (Great Group)กลุมยอย (Subgroup)ขั้นต่ํา (Lower category) แบงเปน วงศ (Family)ชุด (<strong>Series</strong>)ตัวอยางการจําแนกอันดับ Alfisolsอันดับยอย Ustalfsกลุมใหญ Haplustalfsกลุมยอย Typic Haplustalfsวงศ F<strong>in</strong>e, mixed, active, isohyper<strong>the</strong>rmic Typic Haplustalfsชุด Wang Saphung series (ชุดดินวังสะพุง)2. การจัดเรียงชั้นดินการจัดเรียงชั้นดินเปนการแสดงชั้นกําเนิดดิน (Genetic horizons) ตางๆ ที่พบในหนาตัดของดินเรียงลําดับตั้งแตดินบนจนถึงดินลางหรือถึงชั้นหินพื้น ชุดดินตางๆ อาจจะมีลักษณะของการจัดเรียงชั้นดินที่แตกตางหรือเหมือนกันก็ได แตชุดดินที่มีการจัดเรียงชั้นดินเหมือนกันจะมีลักษณะและสมบัติอื่นๆบางประการที่แตกตางกัน สัญลักษณของชื่อชั้นดินตางๆ ที่แสดงไวอาศัยบรรทัดฐานของการใหชื่อตามระบบของกระทรวงเกษตรของสหรัฐอเมริกา ซึ่งอธิบายไวในบทที่ 18 (Designations for Horizons <strong>and</strong>Layers) ของ Keys to <strong>Soil</strong> Taxonomy 9th edition (<strong>Soil</strong> Survey Staff, 2003)สําหรับชั้นดินตางๆ ที่ใหสัญลักษณนั้นจะมีการกําหนดลักษณะและสมบัติเฉพาะไว ที่คาดวามีความสัมพันธกับการกําเนิด ซึ่งเรียกวาชั้นกําเนิดดิน (genetic horizons)72


การใหชื่อชั้นดินจะใชสัญลักษณ 3 ตัวคือ1. อักษรตัวพิมพใหญ คือ O A B C และ R จะใชแทนชั้นดินหลัก (Master horizons <strong>and</strong>layers)2. อักษรตัวพิมพเล็ก ไดแก a c g p v ….. ใชเติมตอทายอักษรตัวใหญ ที่แสดงถึงลักษณะพิเศษของชั้นดินหลัก ตัวอยางเชน Ap หรือ Bg เปนตน3. ตัวเลขอราบิค ไดแก 1 2 3 ….. ใชทั้งเติมขางหนาหรือตอทายชั้นดิน โดย- ถาตอทาย จะใชในการแบงชั้นดินนั้นๆ ออกเปนชั้นดินยอย เชน แบงชั้นดิน Ap ออกเปนAp1 Ap2- ถาเติมขางหนา แสดงวาชั้นดินนั้นๆ ไมสัมพันธกับชั้นดินที่มีตัวเลขตางกัน เชน Ap-Bt-2C3. ชั้นดินหลัก (Master Horizons <strong>and</strong> Layers)O horizons หรือ layers: เปนชั้นที ่มีอินทรียสารอยูมากA horizons: เปนชั้นดินแร อาจเกิดที่ผิวดินหรือใตชั้น O และไมมีชิ้นสวนของหินหรือมีนอยมากและจะตองมีลักษณะที่แสดงถึง1. มีการสะสมของฮิวมัสโดยคลุกเคลากับอนุภาคตางๆ ของดินแร และไมมีลักษณะของชั้นดิน E หรือ B เดนชัด2. มีสมบัติที่เปนผลมาจากการเพาะปลูก หรือการทําทุงหญาเลี้ยงสัตวE horizons: เปนชั้นดินแรที่มีการสูญเสียของซิลิกา ดินเหนียว เหล็ก อะลูมินัม หรืออินทรียวัตถุโดยมีอนุภาคทราย และทรายแปงหลงเหลืออยู ชั้นดินนี้ตองไมมีชิ้นสวนของหินหรือมีอยูนอยมากB horizons: เปนชั้นดินที่อยูใตชั้น A E หรือชั้น O ไมมีชิ้นสวนของหินหรือมีนอยมาก และตองมีลักษณะอยางใดอยางหนึ่งหรือหลายอยางที ่แสดงถึง1. การสะสมของอนุภาคดินเหนียว เหล็ก อะลูมินัม ฮิวมัส คารบอเนต ยิปซัม หรือซิลิกา2. มีการสูญเสียของคารบอเนต3. มีการสะสมของเหล็ก-อะลูมินัมออกไซด หรือ เซสควิออกไซด (sesquioxides)4. มีการเคลือบของเซสควิออกไซด (sesquioxides) ซึ่งทําใหดินในชั้นนี้มีคาสี (value) ต่ํากวา มีคารงค (chroma) สูงกวา และสีสัน (hue) แดงกวาชั้นดินที่อยูขางบนและขางลาง5. มีการเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในดินไดแก การเกิดแรดินเหนียวซิลิเกต (silicate clay) การปลดปลอยออกไซด การเกิดโครงสรางแบบกอนกลม (granular blocky) กอนเหลี่ยม (blocky) หรือแทงหัวเหลี่ยม (prismatic)6. มีความเปราะ7. มีสภาพขังน้ํา และเกิดการสูญเสียออกซิเจนอยางรุนแรงจนเกิดสีเทา73


C horizons or layers: เปนชั้นที่มีกระบวนการทางปฐพีเกิดขึ้นเพียงเล็กนอยหรือไมมีเลย และไมมีสมบัติหรือลักษณะของชั้น O A E หรือ B วัสดุของชั้น C อาจเหมือนหรือไมเหมือนกับดินที่เกิดขึ้นตอนบนเลยก็ไดR layers: หมายถึง ชั้นหินแข็ง ไดแก หินแกรนิต บะซอลท ควอรตไซต หินปูนแข็ง หินทราย เปนตน่4. ความลาดชันของพื้นทีความลาดชันของพื้นที่ หมายถึง ลักษณะของพื้นที่ที่เบี่ยงเบนหรือเอียงไปจากแนวราบหรือแนวระนาบ มีหนวยวัดเปนองศาของมุมเอียง รอยละของความเอียง หรือสัดสวนของระยะในแนวตั้งกับแนวนอน สําหรับหนวยที่ใชในการศึกษาดิน สํารวจดินและทําแผนที่ดินของประเทศไทยเปนรอยละของความเอียงหรือเปอรเซ็นตสภาพพื้นที่ในเอกสารนี้จะอธิบายถึงความลาดชันเชิงซอน (complex slope) ซึ่งแสดงถึงภาพรวมของพื้นที่ สําหรับการแบงชั้นความลาดชันของพื้นที่ในประเทศไทยไดมีการปรับปรุงใหสอดคลองและเหมาะสมกับ สภาพพื้นที่ แนวทางการใชประโยชนที่ดินละการจัดการดิน โดยแบงออกเปน 8 ชั้นดังนี้ความลาดชัน (%)ความลาดชันเชิงซอน0-2 ราบเรียบถึงคอนขางราบเรียบ2-5 ลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย5-12 ลูกคลื่นลอนลาด12-20 ลูกคลื่นลอนชัน20-35 เนินเขา35-50 สูงชัน50-75 สูงชันมากชันกวา 75 สูงชันมากที่สุด5. ความลึกของดินความลึกของดินที่ใชอธิบายถึงลักษณะและสมบัติของดินหมายถึงความหนาของดินจากชั้นผิวดินถึงชั้นที่มีสมบัติขัดขวางตอการเจริญเติบโตหรือการชอนไชของรากพืช ไดแก แนวสัมผัสของชั้นหินพื้นแข็งแนวสัมผัสของชั้นหินพื้นออน ชั้นเชื่อมแข็งของอินทรียวัตถุและอะลูมินัมหรือชั้นดานอินทรีย แนวสัมผัสของชั้นที่เชื่อมตัวกันแข็งของเหล็ก ชั้นดาน และชั้นที่เชื่อมตัวแข็งอื่นๆ รวมถึงชั้นเศษหิน กรวด ลูกรัง และสารมวลพอกตางๆ ที่มีขนาด 2 มิลลิเมตรหรือโตกวาในปริมาณมากกวา 35 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร74


ความลึกของดินแบงออกเปน 5 ชั้นดังนี้ความลึก (ซม.)ความหมาย0-25 ตื้นมาก25-50 ตื้น50-100 ลึกปานกลาง100-150 ลึกลึกกวา 150ลึกมากความหมายของความลึกของดินในที่นี้อาจแตกตางจากความหมายในสวนที่เกี่ยวกับการจําแนกดินบาง โดยเฉพาะดินที่มีชั้นเศษหิน กรวด ลูกรัง และสารมวลพอกตางๆ ที่มีขนาด 2 มิลลิเมตร หรือโตกวาในปริมาณมากกวา 35 เปอรเซ็นตโดยปริมาตร โดยการจําแนกดินจะไมนําชั้นนี้มาพิจารณา และถือวาเปนดินลึกมาก เนื่องจากกระบวนการเกิดดินยังคงดําเนินตอเนื่องไปจนถึงชั้นดินตอนลาง6. การประเมินระดับความอุดมสมบูรณของดินกรมพัฒนาที่ดินไดแบงระดับความอุดมสมบูรณของดิน ออกเปน 3 ระดับ คือ ต่ํา ปานกลางและสูง ซึ่งจะใชวิธีประเมินจากคาวิเคราะหสมบัติทางเคมีของดิน 5 ประการไดแก อินทรียวัตถุ ความจุการแลกเปลี่ยนแคตไอออน ความอิ่มตัวเบส ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน และโพแทสเซียมที่เปนประโยชนซึ่งการวิเคราะหดินจะใชวิธีที่เปนมาตรฐานตาม <strong>Soil</strong> Survey Laboratory Method Manual (USDA,NRCS, 1996) ซึ่งอธิบายโดยยอดังนี้1. คาอินทรียวัตถุ (Organic Matter หรือ OM) มีหนวยเปนเปอรเซ็นต คํานวณไดจากคาอินทรียคารบอนโดยคูณดวยคา 1.724 สําหรับการวิเคราะหหาคาอินทรียคารบอนใชวิธีของ Walkley และBlack Titration2. คาความจุแลกเปลี่ยนแคตไออน (Cation Exchange Capacity หรือ CEC) มีหนวยเปนเซนติโมลตอกิโลกรัม (cmol/kg) การวิเคราะหหาคา CEC จะใชน้ํายาสกัดแอมโมเนียมอะซิเตตที่เปนกลาง(NH 4 OAc pH 7.0)3. คาความอิ่มตัวเบส (Base Saturation หรือ BS) มีหนวยเปนเปอรเซ็นต คํานวณไดจากปริมาณของเบสพวก แคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม และโซเดียม ซึ่งวิเคราะหดินโดยใชน้ํายาสกัดแอมโมเนียมอะซิเตตที่เปนกลาง (NH 4 OAc pH 7.0)4. คาฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน (Available phosphorus) มีหนวยเปน mg/kg (หรือ ppm)วิเคราะหโดยใชวิธี Bray II5. คาโพแทสเซียมที่เปนประโยชน (Available potassium) มีหนวยเปน mg/kg (หรือ ppm) ซึ่งวิเคราะหโดยใชน้ํายาสกัดแอมโมเนียมอะซิเตตที่เปนกลาง (NH 4 OAc pH 7.0)75


คาที่ไดจากการวิเคราะหและการคํานวณของแตละสมบัติดินจะนํามาใหคาตัวเลขตามชวงคาที่แบงไวเปน 3 ระดับ โดยชวงคาต่ําจะใหเลข 1 ชวงคาปานกลางจะใหเลข 2 และชวงคาสูงจะใหเลข 3 ดังนี้ระดับอินทรียวัตถุ(%)ต่ํา นอยกวา 1.5(1)ปานกลาง 1.5-3.5(2)สูง มากกวา 3.5(3)ความจุแลกเปลี่ยนแคตไออน(cmol/kg)นอยกวา 10(1)10-20(2)มากกวา 20(3)ความอิ่มตัวเบส(%)นอยกวา 35(1)35-75(2)มากกวา 75(3)ฟอสฟอรัสที่เปนประโยชน(mg/kg)นอยกวา 10(1)10-25(2)มากกวา 25(3)โปแตสเซียมที่เปนประโยชน(mg/kg)นอยกวา 60(1)60-90(2)มากกวา 90(3)ในการประเมินระดับความอุดมสมบูรณของดิน จะนําตัวเลขของชวงคาของสมบัติดินทั้ง 5ประการมารวมกัน แลวประเมินตามเกณฑดังนี้ระดับความอุดมสมบูรณ ผลรวมตัวเลขต่ํา 5-7ปานกลาง 8-12สูง 13-1576


ที่ปรึกษานายอรรถ สมราง อธิบดีกรมพัฒนาที่ดินนายชัยวัฒน สิทธิบุศย รองอธิบดีกรมพัฒนาที่ดินฝายวิชาการคณะทํางานวิชาการและการจัดทําแผนยุทธศาสตรสํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดินนายชุมพล ลิลิตธรรม (ผูอํานวยการสํานักสํารวจดินและวางแผนการใชที่ดิน) ประธานคณะทํางานนายวุฒิชาติ สิริชวยชู (หัวหนาสวนมาตรฐานการสํารวจจําแนกดินและที่ดิน) คณะทํางานนางจรรยา อินทรังษี (หัวหนาสวนพัฒนาเทคโนโลยีและบริการ) คณะทํางานนายเจตน ลอใจ (หัวหนาสวนสํารวจจําแนกดินที่ 1) คณะทํางานนายอุดล พรอมจรรยากุล (หัวหนาสวนสํารวจจําแนกดินที่ 2) คณะทํางานนายอิสรา อนุรักษพงศธร (หัวหนาสวนสํารวจจําแนกดินที่ 3) คณะทํางานนายสหัสชัย คงทน (หัวหนาสวนวิจัยและวินิจฉัยคุณภาพดิน) คณะทํางานนางวลัยรัตน วรรณปยะรัตน (หัวหนาสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดินที่ 1) คณะทํางานนายบุญรักษ พัฒนกนก (หัวหนาสวนวิเคราะหสภาพการใชที่ดินที่ 2) คณะทํางานนายศิริวัฒน สิงหศิริ (หัวหนาสวนเศรษฐกิจที่ดิน) คณะทํางานนายนาวิก ดาราพงษ (หัวหนาสวนวางแผนการใชที่ดินที่ 1) คณะทํางานนายวีรชัย กาญจนาลัย (หัวหนาสวนวางแผนการใชที่ดินที่ 2) คณะทํางานนายธีระยุทธ จิตตจํานงค (หัวหนาสวนวางแผนการใชที่ดินที่ 3) คณะทํางานนายภูษิต วิวัฒนวงศวนาคณะทํางานนายอนิรุทธิ์ โพธิจันทร คณะทํางานและเลขานุการนางผกาฟา ศรจรัสสุวรรณ คณะทํางานและผูชวยเลขานุการนางสาวสุมิตรา วัฒนา คณะทํางานและผูชวยเลขานุการผูเรียบเรียงจัดทําเอกสารตนราง (ภาคเหนือและที่สูงตอนกลางของประเทศไทย)นายอนิรุทธิ์ โพธิจันทรนายณรงค ตรีสุวรรณผูออกแบบปกและจัดรูปเลมนางสาวนฤกมล จันทรจิราวุฒิกุลนายพัลลภ หงษเจริญไทยนายนินนาท พัฒนวงศสุนทร77

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!