21.11.2014 Views

คู่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผู้ฝึกงาน

คู่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผู้ฝึกงาน

คู่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผู้ฝึกงาน

SHOW MORE
SHOW LESS

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

UIDE LINE<br />

คู่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผู้ฝึกงาน<br />

●ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน


สารบัญ<br />

บทนำ<br />

1สำหรับเจ้าหน้าที ่ขององค์กรส่งผู ้รับการฝึกอบรม 6<br />

2สำหรับผู ้เตรียมเดินทางไปญี ่ปุ ่นในฐานะผู ้รับการฝึกอบรม 7<br />

บทที ่ 1 โครงการฝึกงาน และ โดรงการฝึกงานเทดนิด ในประเทศญี ่ปุ ่น 8<br />

1 รายละเอียดทั ่วไปของโปรแกรม 8<br />

1 วัตถประสงค์ของโปรแกรม 8<br />

2 กรอบโครงสร้างของโปรแกรม 8<br />

3 สถานะในการพำนักอาศัย 8<br />

2 รายละเอียดสังเขปของโปรแกรมการฝึกอบรมงานสำหรับชาวต่างชาติ 9<br />

1 คุณสมบัติของผู ้รับการฝึกอบรม 9<br />

2 งานที ่จะรับการฝึกอบรม 10<br />

3 ระยะเวลา 10<br />

4 ระยะเวลาการฝึกอบรม 10<br />

5 เบี ้ยเลี ้ยงการฝึกอบรม 10<br />

6 หมายเหตุ 1 1<br />

3 การเปลี ่ยนจากการฝึกอบรมด้านอุตสาหกรรรมเป็นการฝึกอบรมงานเทคนิค 1 1<br />

4 รายละเอียดสังเขปโปรแกรมฝึกงานเทคนิค 1 1<br />

1 คุณสมบัติของช่างเทคนิคฝึกงาน 1 1<br />

2 ประเภทของอาชีพและงานที ่เข้าข่ายการฝึกงานเทคนิค 1 2<br />

3 ระยะเวลาการพำนัก 1 2<br />

4 สัญญาว่าจ้าง 1 2<br />

5 ค่าแรง 1 2<br />

6 จำนวนชั ่วโมงทำงาน 13<br />

7 เงินสำรองเลี ้ยงชีพ เงินประกันสุขภาพ เงินสะสม 1 4<br />

8 การสอบขึ ้นระดับ 1 4<br />

9 หมายเหตุ 1 4<br />

5 ข้อแตกต่างระหว่างการฝึกอบรมงานด้านอุตสาหกรรมกับการฝึกงานเทคนิค 15


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

บทที ่ 2 สิ ่งที ่ต้องใส่ใจก่อนที ่จะเดินทาง 16<br />

1 การเตรียมตัวในฐานะผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงาน 16<br />

1 ตรวจสุขภาพ 16<br />

2 สิ ่งที ่ต้องรู ้ก่อนเดินทาง 16<br />

3 การเรืยนภาษาญี ่ปุ ่น 1 7<br />

2 ข้อควรระวังเมื ่อเดินทางเข้าประเทศญี ่ปุ ่น 1 7<br />

1 ขึ ้นทะเบียนคนต่างด้าว 1 7<br />

2 การดูแลรักษาหนังสือเดินทาง 1 7<br />

3 การเปลี ่ยนสถานะพำนัก 18<br />

3 ต้องไม่หายตัวไป 18<br />

บทที ่ 3 ระบบการให้ความสนับสนุนผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงานของ JITCO 20<br />

1 ระบบให้คำปรึกษาแนะนำกับผู ้รับการฝึกอบรมและช่างเทคนิค 20<br />

1 การให้คำปรึกษาแนะนำโดยภาษาแม่ 20<br />

2 การให้คำปรึกษาแนะนำด้านสุขภาพและการรักษา 20<br />

3 การให้คำปรึกษาทางใจ 20<br />

2 การให้ข้อมูลด้วยภาษาของทุกท่าน 21<br />

1 จัดทำ “ดู ่มือการฝึกงานและการฝึกงานเทดนิด ศําหรับผู ้ฝึกงานและผู ้ฝึกงานเทดนิด” เป็นภาษาของทุกท่าน 21<br />

2 จัดทำวารสารข้อมูล “เพื ่อนผู ้ฝึกงาน” ในภาษาของทุกท่าน 21<br />

3 การให้ข้อมูลเกี ่ยวกับเงื ่อนไขการว่าจ้าง 21<br />

จัดทำจดหมายข่าว “ถึงช่างเทคนิคฝึกงานทุกท่าน (เกี ่ยวกับเงื ่อนไขการว่าจ้าง)” 21<br />

จัดทำ “คู ่มือช่างเทคนิคฝึกงาน” 21<br />

4 การให้ข้อมูลด้านสุขภาพและความปลอดภัย 22<br />

จัดทำ “ใบแจ้งข้อมูลส่วนตัว ต่อสถาบันทางการแพทย์” 22<br />

จัดทำ “จดหมายข่าวอาชีวอนามัย” 22<br />

จัดทำ “คู ่มือการดูแลสุขภาพ” 22<br />

5 ให้ข้อมูลเกี ่ยวกับการประกันอุบัติภัยแรงงาน 22<br />

จัดทำแผ่นพับ “ถึงช่างเทคนิคฝึกงานทุกท่าน (อธิบายเกี ่ยวกับประกันอุบัติภัยแรงงาน) 22<br />

จัดทำ “ข่าวประกันอุบัติภัยแรงงาน” 22


6 ให้ข้อมูลด้วยการจัดทำวิดีโอเทป 22<br />

“วิธีการขี ่จักรยานอย่างถูกต้องตามท้องถนญี ่ปุ ่น” 22<br />

“สุขภาพสู ่ความสำเร็จในการฝึกอบรม/ ฝึกงานเทคนิค” 22<br />

“ความปลอดภัยและสุขภาพของผู ้รับการฝึกอบรม” 23<br />

3 การประกวดเรียงดวามภาษาญี ่ปุ ่นของผ้ ูฝึกงาน·ผู ้ฝึกหัดความชํานาญต่างชาติจัดโดย JITCO 23<br />

บทที ่ 4 การใช้ชีวิตในประเทศญี ่ปุ ่น 24<br />

1 ภูมิอากาศในประเทศญี ่ปุ ่น 24<br />

2 เรื ่องทั ่วไป 25<br />

1 การทักทาย 25<br />

2 การแต่งกาย 25<br />

3 รักษาเวลา 25<br />

4 กฎหลักและมารยาท 26<br />

5 วันหยุดนักขัตฤกษ์และวันหยุดงาน 26<br />

6 งานเทศกาล / นันทนาการของบริษัทรับฝึกงาน 27<br />

7 ศาสนา 28<br />

3 การใช้ชีวิตในหอ 28<br />

1 ประตูบ้าน 28<br />

2 เสื ่อตาตามิ 28<br />

3 ที ่นอน (ฟูตอง) และเตียง 29<br />

4 ครัวและอาหาร 29<br />

5 การอาบน้ำ 30<br />

6 ห้องส้วม 31<br />

7 ที ่ล้างหน้า 32<br />

8 การทำความสะอาด 32<br />

9 ไฟฟ้า (แรงดันไฟฟ้า) 32<br />

10 การเดินทางไปทำงาน 32<br />

11 การส่งเสียงดัง 32


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

4 การทิ ้งขยะ 33<br />

5 การซื ้อของ 33<br />

1 วิธีการซื ้อของ 33<br />

2 ภาษีบริโภค 34<br />

3 เครื ่องขายอัตโนมัติ 34<br />

6 ตำรวจและพนักงานดับเพลิง 34<br />

1 หน้าที ่หลักของตำรวจญี ่ปุ ่นคือ 34<br />

2 พนักงานดับเพลิง 34<br />

7 กฎจราจร 35<br />

8 การใช้บริการขนส่งมวลชน 36<br />

1 รถไฟฟ้า 36<br />

2 รถบัส 36<br />

9 ธนาคารและสำนักงานไปรษณีย์ 36<br />

1 ธนาคาร 36<br />

2 สำนักงานไปรษณีย์ 37<br />

10 โทรศัพท์ 37<br />

1 โทรภายในประเทศ 37<br />

2 การโทรต่างประเทศ 37<br />

3 การใช้โทรศัพท์มือถือ 37<br />

11 มาตรการรองรับแผ่นดินไหว คลื ่นยักษ์ทซึนามิ และไต้ฝุ ่น 38<br />

1 แผ่นดินไหว 38<br />

2 คลื ่นยักษ์ทซึนามิ 39<br />

3 ไต้ฝุ ่น 39<br />

4 การเตรียมการรองรับ 40<br />

12 หากได้รับบาดเจ็บหรือป่วยเป็นไข้ 40<br />

13 สุขภาพทางจิตใจ 41<br />

14 การแลกเปลี ่ยนกับผู ้คนในท้องถิ ่น 42


บทนำ<br />

1สำหรับเจ้าหน้าที ่ขององค์กรส่งผู ้รับการฝึกอบรม<br />

คู ่มือฉบับการฝึกอบรมและชีวิตประจำวันนี ้<br />

เป็นคู ่มือฉบับที ่ 2 ของ “คู ่มือแนะนําการสอน<br />

ภาษาญี ่ปุ ่นให้แก่ผู ้ฝึกงานก่อนเดินทางมายังประ<br />

เทศญี ่ปุ ่น” ทั ้งนี ้ คู ่มือฉบับนี ้ได้รับการจัดทำโด<br />

ยการปรับปรุงเนื ้อหารายละเอียดเกี ่ยวกับการสอ<br />

นภาษาญี ่ปุ ่นในประเทศที ่จัดส่งผู ้รับการฝึกอบรม<br />

ดังที ่ได้มีระบุไว้ใน “ดู ่มือแนะนําการศึกษาก่อน<br />

ส่งผู ้ฝึกงาน” ซึ ่ง JITCO ได้จัดทำขึ ้นเมื ่อปีค.ศ.<br />

2003<br />

สำหรับคู ่มือฉบับนี ้ ได้รับการจัดทำขึ ้นเพื ่อให้อาจา<br />

รย์ผู ้สอนขององค์กรส่งผู ้รับการฝึกอบรมได้ใช้เ<br />

ป็นแบบเรียนสำหรับการสอนก่อนส่งไปประเทศ<br />

ญี ่ปุ ่น ให้กับผู ้รับการฝึกอบรมและช่างเทคนิคฝึกอ<br />

บรมที ่ได้รับการคัดเลือกเพื ่อส่งไปฝึกอบรมในประเ<br />

ทศญี ่ปุ ่น ดังนั ้น เนื ้อหาต่าง ๆ จะเป็นเนื ้อหาพื ้นฐ<br />

านเป็นหลัก ในการฝึกอบรมหากจำเป็นต้องมี<br />

ข้อมูลที ่เป็นรายละเอียดเพิ ่มเติม<br />

ขอให้ดูในเอกสาร “ดู ่มือโดรงการฝิกอบรมและ<br />

ฝิกงานเทด นิดแก่ชาวต่างชาติ” และ<br />

“ดู ่มือการฝึกงานและการฝึกงานเทดนิด ศําห<br />

รับผู ้ฝึกงานและผู ้ฝึกงานเทดนิด” ซึ ่งทาง JITCO<br />

ได้จัดเตรียมไว้ให้แล้ว<br />

ในคู ่มือฉบับนี ้ จะช่วยให้ผู ้รับการฝึกอบรมและช่างเ<br />

ทคนิคฝึกอบรมให้สามารถรับการ<br />

ฝึกอบรมงานด้านเทคนิคได้อย่างมีประโยชน์<br />

ครบถ้วนทุกวัตถุประสงค์ โดยกำหนดให้บทที ่ 1<br />

กล่าวถึงโปรแกรมการฝึกอบรมงานอุตสาหกรรมแ<br />

ละงานเทคนิคสำหรับชาวต่างชาติในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

บทที ่ 2 แสดงถึงสิ ่งที ่ต้องระมัดระวังก่อนการเดิน<br />

ทาง บทที ่ 3 จะให้ข้อมูลเกี ่ยวเกี ่ยวกับระบบการใ<br />

ห้ความสนับสนุนของ JITCO สำหรับผู ้รับการฝึกอ<br />

บรมและช่างเทคนิคฝึกอบรม และบทที ่ 4 จะอธิบ<br />

ายเกี ่ยวกับการใช้ชีวิตความเป็นอยู ่ในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

หวังเป็นอย่างยิ ่งว่าผู ้สอนทุกท่านขององค์กรจัดส่ง<br />

จะใช้คู ่มือฉบับนี ้ในการสอนก่อนเดินทาง เพื ่อเต<br />

รียมความพร้อมให้กับผู ้รับการฝึกอบรมและช่าง<br />

เทคนิคฝึกอบรม ได้ใช้ชีวิตงานและชีวิตส่วนตัว<br />

รวมถึงการฝึกอบรมได้อย่างสมบูรณ์พร้อมด้วย


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

2สำหรับผู ้เตรียมเดินทางไปญี ่ปุ ่นในฐานะผู ้รับการฝึกอบรม<br />

คู ่มือฉบับนี ้จัดทำขึ ้นเพื ่อใช้เป็นแบบเรียนสำหรับกา<br />

ำแนะนำด้านการฝึกอบรมและการใช้ชีวิตในป<br />

รฝึกอบรมก่อนเดินทางไปรับการฝึกอบรม เพื ่อใ<br />

ระเทศญี ่ปุ ่น หากท่านเดินทางถึงประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ห้ทุกท่านมีความเป็นอยู ่ที ่ปลอดภัยและมีสุขภาพดี<br />

และมีข้อสงสัย ไม่ว่าจะเป็นเรื ่องอะไรก็ตาม<br />

ทั ้งในชีวิตประจำวันและการฝึกอบรม/การศึกษา<br />

ขอให้ท่านไม่ต้องเกรงใจ หรือเขินอายที ่จะถามคำ<br />

ด้านเทคนิคในระหว่างที ่พำนักอยู ่ในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ถามเรื ่องเกี ่ยวกับการฝึกอบรม / การฝึกงานเทค<br />

ขอให้ทุกท่านศึกษาและทำความเข้าใจเนื ้อหาในคู ่มื<br />

นิคต่อผู ้ให้คำแนะนำการฝึกอบรม และถามเกี ่ยวก<br />

อฉบับนี ้ ก่อนที ่จะเดินทางมาประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ับการใช้ชีวิตความเป็นอยู ่ประจำวันกับผู ้ให้คำแนะน<br />

คู ่มือฉบับนี ้จัดทำขึ ้นโดยมีวัตถุประสงค์เพื ่อต้องก<br />

ำการใช้ชีวิต<br />

ารให้ผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกอบรมไ<br />

ทาง JITCO หวังเป็นอย่างยิ ่งว่า ทุกท่านจะสนุกส<br />

ด้เรียนรู ้ไว้ล่วงหน้า จึงจัดทำให้มีเนื ้อหาพื ้นฐานเ<br />

นานและสามารถใช้ชีวิตการฝึกอบรม/กาารฝึกงา<br />

ป็นหลัก และในส่วนของธรรมเนียมประเพณีของ<br />

นเทคนิคที ่เป็นประโยชน์ได้อย่างเต็มที ่<br />

ญี ่ปุ ่นที ่แสดงในคู ่มือฉบับนี ้จะเป็นเรื ่องทั ่วไป ทั ้งนี ้<br />

ในท้องถิ ่นแต่ละแห่งที ่ทุกท่านจะไปรับการฝึกอบรม<br />

จะมีรายละเอียดที ่แตกต่างกันไปตามแต่ละพื ้นที ่<br />

ดังที ่กฎหมายได้กำหนดไว้ให้แต่ละองค์กรหรือ<br />

บริษัทที ่รับผู ้รับการฝึกอบรม ต้องจัดให้มีผู ้ให้ค


บทที ่ 1<br />

โครงการฝึกงาน และ โดรงการฝึกงานเทดนิด ในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

1<br />

รายละเอียดทั ่วไปของโปรแกรม<br />

1<br />

วัตถประสงค์ของโปรแกรม<br />

โปรแกรมการฝึกอบรมงานอุตสาหกรรมและงาน<br />

เทคนิคสำหรับชาวต่างชาติในประเทศญี ่ปุ ่นเป็นโป<br />

รแกรมที ่มีวัตถุประสงค์ให้ผู ้ใช้แรงงานในต่างประ<br />

เทศได้เข้ามาประเทศญี ่ปุ ่นเพื ่อได้เรียนรู ้ผ่านการ<br />

ถ่ายโอนเทคโนโลยี ทักษะ และความรู ้เกี ่ยวกับก<br />

ารงานอาชีพ / อุตสาหกรรมของประเทศญี ่ปุ ่น<br />

อันจะเป็นการพัฒนาบุคลากรที ่จะเป็นประโยชน์ต่อ<br />

การพัฒนาอุตสาหกรรมของแต่ละประเทศ<br />

2<br />

กรอบโครงสร้างของโปรแกรม<br />

โปรแกรมนี ้ประกอบด้วยโครงสร้างดังต่อไปนี ้<br />

1 ผู ้รับการฝึกอบรม/ช่างเทคนิคฝึกงานไม่ใช่เป็น<br />

แรงงานไร้ฝีมือ แต่ต้องทำการฝึกอบรม/ทำงา<br />

นเทคนิคในฐานะที ่เป็นบุคลากรสากล<br />

2 นอกจากการฝึกอบรมแบบรับฟังการบรรยายแล้<br />

ว ผู ้รับการฝึกอบรม/ช่างเทคนิคฝึกงานต้องฝึก<br />

ภาคปฏิบัติที ่หน้างานแบบ OJT (on the job<br />

training) เพื ่อให้เกิดการถ่ายโอนเทคโนโล<br />

ยีที ่ใช้งานจริง<br />

3 ผู ้รับการฝึกอบรม/ช่างเทคนิคฝึกงานต้องได้รับ<br />

การการประเมินที ่เป็นธรรมเพื ่อให้เกิดการถ่าย<br />

โอนเทคโนโลยีอย่างแท้จริง<br />

4 หลังเดินทางกลับประเทศ ผู ้รับการฝึกอบรม/<br />

ช่างเทคนิคฝึกงานต้องพยายามแสดงทักษะฝีมือ<br />

ที ่ได้เรียนรู ้มา<br />

5 ระยะเวลาที ่ผู ้รับการฝึกอบรม/ช่างเทคนิคฝึกง<br />

านจะพำนักในประเทศญี ่ปุ ่นได้สูงสุดไม่เกิน 3<br />

ปีรวมเวลารับการฝึกอบรมและฝึกงานเทคนิค<br />

6 ผู ้รับการฝึกอบรมต้องได้รับการคุ ้มครองด้านอา<br />

ชีวอนามัย ประกัน การแนะนำด้านการใช้ชีวิต<br />

ที ่พักอาศัย ฯลฯ โดยถือเป็นความรับผิดชอบข<br />

องหน่วยงานที ่รับผู ้รับการฝึกอบรม<br />

ตามที ่ได้กำหนดไว้ใน “กฎหมายควบ<br />

คุมคนเข้าเมืองและรับรองผู ้ลี ้ภัย (หรือ<br />

“กฎหมายคนเข้าเมือง”)<br />

7 ช่างเทคนิคฝึกงานจะได้รับความคุ ้มครองสิทธิ<br />

ตามที ่ได้กำหนดในกฎหมายทั ้งในเรื ่องค่าแรง<br />

เวลาทำงาน อาชีวอนามัย อุบัติภัยจากงาน<br />

ประกันสังคม ฯลฯ โดยถือว่าเป็นความรับผิดช<br />

อบของบริษัทผู ้รับการฝึกอบรมที ่ต้องดูแลดุจดัง<br />

ผู ้ใช้แรงงาน<br />

3<br />

สถานะในการพำนักอาศัย<br />

1 ผู ้รับการฝึกอบรมจำเป็นต้องได้รับการ<br />

รับรองสถานะพำนักอาศัย “ฝึกอบรม”<br />

ตามกฎหมายคนเข้าเมือง เพื ่อที ่จะรับการฝึกอ<br />

บรมที ่ประเทศญี ่ปุ ่นได้ ทั ้งนี ้ คำว่า “ฝึกอบรม”<br />

ตามกฎหมายคนเข้าเมืองนั ้น หมายถึง “กา<br />

รทำกิจกรรรมเรียนรู ้เทคโนโลยี ทักษะงาน<br />

และความรู ้โดยหน่วยงานรัฐหรือเอกชนของปร<br />

ะเทศญี ่ปุ ่นที ่รับผิดชอบเป็นผู ้ดำเนินงาน”


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

2 ช่างเทคนิคฝึกงานจำเป็นต้องได้รับการเป<br />

ลี ่ยนสถานะพำนักอาศัยจาก “ฝึกอบรม”<br />

เป็น “กิจกรรมพิเศษ” เมื ่อฝึกอบรมสิ ้นสุด<br />

ตามกฎหมายคนเข้าเมือง ทั ้งนี ้ คำว่า<br />

“กิจกรรมพิเศษ” ตามกฎหมายคนเข้าเมืองนั ้น<br />

หมายถึง “การทำกิจกรรมที ่ต้องใช้เทคโนโลยี<br />

ทักษะงาน และความรู ้ที ่ได้จากการฝึกอบรมมา<br />

ปฏิบัติใช้จริง ในอาชีพงานที ่เข้าข่ายการฝึกงาน<br />

เทคนิค โดยต้องได้รับการว่าจ้างงานจากบริษัท<br />

เดียวกับที ่รับฝึกอบรม และต้องมีคุณสมบั<br />

ติครบถ้วนตามกำหนด โดยได้รับการประเมิน<br />

ผลการฝึกอบรม สถานะการพำนักอาศัยและ<br />

ตรวจสอบแผนการฝึกอบรมงานเทคนิค เพื ่อแส<br />

ดงให้เห็นจริงว่าผู ้รับการฝึกอบรมมีผลการฝึกอ<br />

บรมถึงเกณฑ์ระดับที ่ได้กำหนดไว้ และมีสถาน<br />

ะพำนักอาศัยถูกต้องจริง”<br />

2<br />

รายละเอียดสังเขปของโปรแกรมการฝึกอบรมงานสำหรับชาวต่างชาติ<br />

การฝึกอบรมจะแบ่งเป็นการฝึกปฏิบัติหน้างาน<br />

(OJT) กับการฝึกปฏิบัตินอกงาน<br />

การฝึกปฏิบัติหน้างานเป็นการฝึกปฏิบัติงานเพื ่อเรีย<br />

นรู ้เกี ่ยวกับเทคโนโลยี ทักษะงาน และความรู ้เกี ่ย<br />

วกับด้านอุตสาหกรรมกรรม หรือทักษะงานอาชีพ<br />

จากการปฏิบัติงานจริง เป็นการฝึกปฏิบัติงานที ่ห<br />

น้างานการผลิต หรือฝึกปฏิบัติงานด้านการขายหรื<br />

อการให้บริการ<br />

การฝึกปฏิบัตินอกหน้างานเป็นการฝึกปฏิบัติที ่ต่าง<br />

จากการปฏิบัติงานจริง เป็นการเรียนรู ้เรื ่องต่าง ๆ<br />

โดยไม่ต้องปฏิบัติงานจริง กล่าวคือ การฝึกปฏิบั<br />

ตินอกงานจะรวมไปถึงการศึกษาเกี ่ยวกับความรู ้ด้า<br />

นอุตสาหกรรมและงานอาชีพพื ้นฐาน โนวฮาวที ่เกี ่<br />

ยวกับเทคโนโลยีและทักษะที ่จำเป็น พื ้นฐานด้านค<br />

วามปลอดภัยและการใช้ชีวิตประจำวัน ภาษาญี ่ปุ ่น<br />

การใช้ชีวิตและวัฒนธรรมแบบญี ่ปุ ่น การเตรียมตัว<br />

เพื ่อรับการฝึกอบรม รวมไปถึงการผลิตผลิตภัณ<br />

ฑ์โดยถือเป็นการฝึกอบรมด้วย<br />

1<br />

คุณสมบัติของผู ้รับการฝึกอบรม<br />

1 อายุไม่ต่ำกว่า 18 ปี<br />

2 ต้องเป็นผู ้ที ่มีแผนการกลับไปทำงานหลังจากกา<br />

รฝึกอบรม โดยใช้เทคโนโลยีและทักษะงานที ่ไ<br />

ด้เรียนรู ้จากประเทศญี ่ปุ ่น<br />

3 ต้องเป็นผู ้ที ่มีความจำเป็นต้องรับการฝึกอบรมใ<br />

นประเทศญี ่ปุ ่น เนื ่องจากการฝึกอบรมเพื ่อเรีย<br />

นรู ้เทคโนโลยีและทักษะงานในประเทศตัวเองเ<br />

ป็นไปได้ยาก<br />

นอกจากนี ้ ยังมีคุณสมบัติอื ่น ๆ อีกมาก<br />

รายละเอียดโปรดศึกษาใน “คู ่มือการฝึกอบรม<br />

งานอุตสาหกรรมและงานเทคนิคสำหรับผู ้รับกา<br />

รฝึกอบรมและช่างเทคนิคฝึกอบรม”


2<br />

งานที ่จะรับการฝึกอบรม<br />

เทคโนโลยีและทักษะงานที ่ต้องการรับการฝึกอบร<br />

มต้องไม่เป็นสิ ่งที ่เรียนรู ้ได้จากการทำงานซ้ำซ้อน<br />

(งานไร้ทักษะ) และเป็นสิ ่งที ่ไม่สามารถเรียนรู ้ได้ใ<br />

นประเทศตนเอง<br />

3<br />

ระยะเวลา<br />

โดยหลักการไม่เกิน 1 ปี<br />

4<br />

ระยะเวลาการฝึกอบรม<br />

ต้องจัดให้มีการฝึกอบรมโดยจัดให้มีสัดส่วนการฝึก<br />

ปฏิบัตินอกงานไม่ต่ำกว่า 1 ใน 3 และการฝึกป<br />

ฏิบัติหน้างานไม่เกินกว่า 2 ใน 3 ของทั ้งหมด<br />

เมื ่อผู ้รับการฝึกอบรมเข้าประเทศญี ่ปุ ่นแล้ว<br />

โดยหลักการ ผู ้เข้ารับการฝึกอบรมต้องรับการฝึก<br />

อบรมกลุ ่มเป็นระยะเวลาประมาณ 1 เดือนนับแต่<br />

เดินทางเข้าประเทศ (หรือคิดเป็น 160 ชั ่วโมง)<br />

ในการฝึกอบรมกลุ ่มนี ้ จะจัดให้มีการปฐมนิเทศน์<br />

(เพื ่ออธิบายรายละเอียดรวมของการฝึกอบร<br />

มกลุ ่ม) แนะนำการใช้ชีวิตในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

เรียนภาษาญี ่ปุ ่น ค่าตอบแทนสำหรับผู ้รับการฝึ<br />

กอบรมและช่างเทคนิคฝึกอบรม อาชีวอนามัย<br />

และหน้าที ่ของตำรวจและการปราบอัคคีภัย<br />

ฯลฯ โดยเฉพาะในการฝึกอบรมภาษาญี ่ปุ ่น<br />

ซึ ่งมีความสำคัญยิ ่ง จะจัดให้มีการฝึกอบรมไม่น้อ<br />

ยกว่า 60 ชั ่วโมง<br />

การฝึกอบรมนอกงานเพื ่อสรุปผลและการประเมิน<br />

ผลการฝึกอบรม จะดำเนินการในระหว่างการฝึก<br />

อบรมหรือในขั ้นตอนสุดท้ายของการฝึกอบรม<br />

5<br />

เบี ้ยเลี ้ยงการฝึกอบรม<br />

ผู ้รับการฝึกอบรมจะได้รับเบี ้ยเลี ้ยงการฝึกอ<br />

บรมเป็นค่าใช้จ่ายจริงที ่จำเป็นต่อการใช้ชีวิต<br />

ในประเทศญี ่ปุ ่น (เช่นค่าอาหาร ค่าเสื ้อผ้า<br />

และค่าของใช้ประจำวัน) โดยหน่วยงานรับฝึกอบร<br />

มจะจ่ายค่าเบี ้ยเลี ้ยงการฝึกอบรมเต็มจำนวนให้กับ<br />

ผู ้รับการฝึกอบรมโดยตรง ทุกเดือนเมื ่อถึงวันที ่กำ<br />

หนด<br />

10


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

6<br />

หมายเหตุ<br />

1 ผู ้รับการฝึกอบรมจะได้รับแจ้งจากหน่วยงานรับ<br />

ฝึกอบรมเป็นลายลักษณ์อักษร เกี ่ยวกับรายละเ<br />

อียดการฝึกอบรม เวลาในการฝึกอบรม และ<br />

ค่าตอบแทนที ่เกี ่ยวกับเบี ้ยเลี ้ยงการฝึกอบรม<br />

2 ผู ้รับการฝึกอบรมไม่สามารถทำงานนอกเวลา<br />

(หรือทำโอที) ได้<br />

3 นอกจากนี ้ ผู ้รับการฝึกอบรมไม่สามารถขอร้อ<br />

งบริษัทที ่รับฝึกอบรมเพื ่อขอทำงานนอกเวลาได้<br />

4 เพื ่อให้การฝึกอบรม / ฝึกงานเทคนิคเป็น<br />

ไปอย่างราบลื ่น หน่วยงานรับการฝึกอบรม<br />

(ทั ้งองค์กรและบริษัทรับการฝึกอบรม) ต้องจัด<br />

ให้มีผู ้แนะแนวการฝึกอบรม (ที ่มีประสบการณ์<br />

ไม่น้อยกว่า 5 ปี) และผู ้แนะแนวการใช้ชีวิต<br />

ตามที ่กฎหมายได้กำหนดให้มี และผู ้รับการ<br />

ฝึกอบรมหากมีข้อสงสัย หรือสิ ่งใดที ่ไม่เข้าใจ<br />

ควรสอบถามโดยทันที และไม่ต้องเกรงใจ<br />

ไม่ควรเก็บข้อสงสัยไว้<br />

3<br />

การเปลี ่ยนจากการฝึกอบรมด้านอุตสาหกรรรมเป็นการฝึกอบรมงานเทคนิค<br />

ในการสำเร็จการฝึกอบรมได้เป็นช่างเทคนิคฝึกงา<br />

นได้นั ้น ผู ้รับการฝึกอบรมต้องผ่าน “การสอบวัด<br />

ทักษะงานแห่งชาติ (ระดับพื ้นฐานที ่ 2) หรือผ่าน<br />

การประเมินทักษะงานพื ้นฐานขั ้นต้นซึ ่งจัดขึ ้นโดย<br />

JITCO” โดยผู ้รับการฝึกอบรมจะรับการทดสอบ<br />

ดังกล่าว เมื ่อระยะเวลาการฝึกอบรมผ่านไปแล้ว<br />

5 ใน 6 ของทั ้งหมด อีกทั ้ง ผู ้รับการฝึกอบรมต้<br />

องแสดงให้เห็นว่าเป็นผู ้ที ่ได้เรียนรู ้ครบถ้วนด้านเท<br />

คโนโลยี ทักษะงานและความรู ้ตามระดับงานที ่ได้<br />

กำหนด อีกทั ้ง การฝึกอบรมและการพำนักอยู ่ใน<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นของผู ้รับการฝึกอบรมต้องลุล่วงได้ด้ว<br />

ยดีด้วย<br />

การสอบวัดทักษะนี ้ประกอบด้วยการสอบภาคทฤษ<br />

ฏีและการสอบภาคปฏิบัติ ผู ้รับการฝึกอบรมอาจจะ<br />

รู ้สึกเป็นกังวลกับการสอบนี ้บ้าง แต่เนื ้อหาคำถามข<br />

องการสอบนี ้มาจากสิ ่งที ่ได้เรียนรู ้ในระหว่างการ<br />

ฝึกอบรม จึงขอให้แนะนำให้ผู ้รับการฝึกอบรมรู ้สึก<br />

สบายใจและมั ่นใจในตัวเอง<br />

4<br />

รายละเอียดสังเขปโปรแกรมฝึกงานเทคนิค<br />

1<br />

คุณสมบัติของช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

ช่างเทคนิคฝึกงานต้องมีคุณสมบัติต่าง ๆ<br />

ดังต่อไปนี ้<br />

1 ต้องเป็นผู ้ผ่านการฝึกอบรมเกี ่ยวกับงาน อาชีพ<br />

ที ่สามารถฝึกงานเทคนิคได้<br />

2 ต้องเป็นผู ้ที ่มีแผนการกลับไปทำงานหลังจากกา<br />

รฝึกงานเทคนิค โดยใช้เทคโนโลยีและทักษะง<br />

านที ่ได้เรียนรู ้จากประเทศญี ่ปุ ่น<br />

3 ต้องเป็นผู ้ที ่ได้รับการยอมรับว่าจะสามารถบรรลุ<br />

วัตถุประสงค์ของโปรแกรมการฝึกงานเทคนิคไ<br />

ด้ โดยดูจากสภาพการณ์ในระหว่างที ่พำนักใน<br />

11


ประเทศญี ่ปุ ่น<br />

4 ต้องเป็นผู ้ที ่ฝึกงานเทคนิคตามสัญญาว่าจ้าง<br />

และตั ้งใจที ่จะเรียนรู ้ฝึกฝนเทคโนโลยีและทักษะ<br />

งานให้ดีขึ ้น<br />

สำหรับรายละเอียดอื ่น ๆ โปรดศึกษาใน “คู ่มือก<br />

ารฝึกอบรมงานอุตสาหกรรมและงานเทคนิคสำห<br />

รับผู ้รับการฝึกอบรมและช่างเทคนิคฝึกอบรม”<br />

2<br />

ประเภทของอาชีพและงานที ่เข้าข่ายการฝึกงานเทคนิค<br />

ณ วันที ่ 1 เมษายน 2550 ประเภทของอาชี<br />

พที ่เข้าข่ายการทดสอบโดยรัฐบาลญี ่ปุ ่น หรือเ<br />

ข้าข่ายระบบการประเมินทักษะงานโดย JITCO<br />

มีอยู ่ทั ้งสิ ้น 62 อาชีพ (114 งาน)<br />

3<br />

ระยะเวลาการพำนัก<br />

1 ระยะเวลาการพำนักต้องไม่เกิน 3 ปีซึ ่งรวมทั ้ง<br />

ระยะเวลาการฝึกอบรมและระยะเวลาการฝึกงา<br />

นเทคนิค<br />

2 หากระยะเวลาการฝึกอบรมค่อนข้างสั ้น จะไ<br />

ม่อนุญาตให้ฝึกงานเทคนิค<br />

3 หากคำนึงถึงสัดส่วนสมดุลย์ที ่เหมาะสม ให้ระย<br />

ะเวลาการฝึกงานเทคนิคไม่เกิน 1.5 เท่าของร<br />

ะยะเวลาการฝึกอบรม (ยกเว้นกรณีที ่ระยะเวลา<br />

การฝึกอบรมเกินกว่า 9 เดือน)<br />

4<br />

สัญญาว่าจ้าง<br />

ช่างเทคนิคฝึกงานต้องทำสัญญาว่าจ้างงานกับบริษั<br />

ทผู ้รับฝึกงาน ทั ้งนี ้ ในสัญญาว่าจ้างต้องระบุเงื ่อน<br />

ไขการจ้าง เวลาทำงาน และค่าแรงด้วย<br />

5<br />

ค่าแรง<br />

1 ช่างเทคนิคฝึกงานจะได้รับค่าตอบแทนจ<br />

ากการใช้แรงงานในการฝึกงานเทคนิค<br />

โดยได้รับเป็นค่าจ้างจากบริษัทผู ้รับฝึกงาน<br />

ตามกฎหมายมาตรฐานแรงงาน บริษัทผู ้รับฝึกง<br />

านต้องจ่ายค่าแรงตอบแทนเป็นเงินให้<br />

กับคนงานโดยตรง ครบจำนวน ทุกเดือน ๆ<br />

ละไม่น้อยกว่า 1 ครั ้งตามที ่ได้กำหนดวันไว้<br />

2 ค่าแรงของช่างเทคนิคฝึกงานต้องเป็นไปตามก<br />

ฎหมายค่าแรงขั ้นต่ำ โดยช่างเทคนิคฝึกงานต้อ<br />

งได้รับเงินค่าจ้างมากกว่าค่าแรงขั ้น<br />

ต่ำรายชั ่วโมงตามที ่รัฐบาลท้องถิ ่นของแต่ละจัง<br />

หวัดได้กำหนดไว้<br />

12


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

อนึ ่ง ค่าแรงขั ้นต่ำมีทั ้ง “ค่าแรงขั ้นต่ำแยกรายจั<br />

งหวัด” ซึ ่งรัฐบาลของแต่ละจังหวัดเป็นผู ้กำหนด<br />

ให้ใช้ครอบคลุมทุกอุตสาหกรรม และ “ค่าแรง<br />

ขั ้นต่ำแยกรายอุตสาหกรรม” ที ่ได้กำหนดไว้เฉ<br />

พาะบางอุตสาหกรรม<br />

จำนวนเงินของ “ค่าแรงขั ้นต่ำแยกรายอุตสาหก<br />

รรม” แสดงอยู ่ใน “ตารางที ่ 1 ค่าแรงขั ้นต่ำร<br />

ายชั ่วโมงแยกรายจังหวัดปี 2549”<br />

อุตสาหกรรมกลุ ่มเป้าหมายของ “ค่าแรงขั ้นต่ำแย<br />

กรายอุตสาหกรรม” จะแตกต่างกันไปขึ ้นกับแ<br />

ต่ละจังหวัด รายละเอียดสามารถขอดูได้จากกรม<br />

แรงงาน หรือสำนักงานควบคุมมาตรฐานแรงงาน<br />

หรือดูได้จากโฮมเพจย์ของกรมแรงงาน<br />

จังหวัด<br />

ตาราง 1 ค่าแรงขั ้นต่ำรายชั ่วโมงแยกรายจังหวัดปี 2549<br />

(หน่วย : เยน เมื ่อวันที ่ 1 ตุลาคม 2549)<br />

ค่าแรงขั ้นต่ำรายชั ่วโมง จังหวัด ค่าแรงขั ้นต่ำรายชั ่วโมง จังหวัด ค่าแรงขั ้นต่ำรายชั ่วโมง จังหวัด ค่าแรงขั ้นต่ำรายชั ่วโมง<br />

่<br />

Hokkaido 644 Kanagawa 717 Osaka 712 Fukuoka 652<br />

Aomori 610 Niigata 648 Hyogo 683 Saga 611<br />

Iwate 610 Toyama 652 Nara 656 Nagasaki 611<br />

Miyagi 628 Ishikawa 652 Wakayama 652 Kumamoto 612<br />

Akita 610 Fukui 649 Tottori 614 Ooita 613<br />

Yamagata 613 Yamanashi 655 Shimane 614 Miyazaki 611<br />

Fukushima 618 Nagano 655 Okayama 648 Kagoshima 611<br />

Ibaraki 655 Gifu 675 Hiroshima 654 Okinawa 610<br />

Tochigi 657 Shizuoka 682 Yamaguchi 646<br />

Gunma 654 Aichi 694 Tokushima 617<br />

Saitama 687 Mie 675 Kagawa 629<br />

Chiba 687 Shiga 662 Ehime 616<br />

Tokyo 719 Kyoto 686 Kochi 615<br />

หมายเหตุ : จำนวนเงินนี ้จะได้รับการปรับปรุงแก้ไขทุกวันที 1 ตุลาคมของทุกปี<br />

6<br />

จำนวนชั ่วโมงทำงาน<br />

1 โดยหลักการแล้ว ให้จำนวนชั ่วโมงทำงานไม่เ<br />

กิน 40 ชั ่วโมงต่อสัปดาห์หรือ 8<br />

ชั ่วโมงต่อวัน<br />

2 ให้มีวันหยุดอย่างน้อยสัปดาห์ละ 1 วันหรือ 4<br />

วันต่อระยะเวลา 4 สัปดาห์ต่อเนื ่องกัน ช่างเท<br />

คนิคฝึกงานบางคนอาจเข้าใจผิดว่าบ<br />

ริษัทญี ่ปุ ่นทั ้งหมดทำงานหยุดสัปดาห์ละ 2 วัน<br />

แต่ถ้าบริษัทดังกล่าวมีเวลาทำงานเข้าข่าย 2<br />

เกณฑ์ดังข้างต้น ก็ไม่จำเป็นต้องทำงานแบบห<br />

ยุดสัปดาห์ละ 2 วัน<br />

3 กรณีทำงานนอกเวลา (หรือทำงานโอที)<br />

ให้จ่ายค่าจ้างเพิ ่มขึ ้นเป็นสัดส่วนดังต่อไปนี ้ อนึ ่ง<br />

การทำงานนอกเวลาหรือการทำงานในวันหยุด<br />

หมายถึงการทำงานเกินกว่าเวลาที ่ได้กำหนดใน<br />

ข้อ 1 และข้อ 2 ข้างต้น<br />

13


ทำงานนอกเวลา : รับเพิ ่มไม่ต่ำกว่า 25 % ของค่าแรงมาตรฐาน<br />

ทำงานในวันหยุด : รับเพิ ่มไม่ต่ำกว่า 35 % ของค่าแรงมาตรฐาน<br />

ทำงานยามดึก : รับเพิ ่มไม่ต่ำกว่า 25 % ของค่าแรงมาตรฐาน<br />

ทำงานนอกเวลายามดึก : รับเพิ ่มไม่ต่ำกว่า 50 % ของค่าแรงมาตรฐาน<br />

ทำงานในวันหยุดยามดึก : รับเพิ ่มไม่ต่ำกว่า 60 % ของค่าแรงมาตรฐาน<br />

ตัวอย่าง : หากช่างเทคนิคฝึกงานที ่ฮอกไกโดทำงานนอกเวลา 1 ชั ่วโมงจะได้รับเงินค่าจ้างดังนี ้<br />

กรณีทำงานนอกเวลา : 644 เยน x 1.25 (สัดส่วนเพิ ่ม) = 805 เยน<br />

กรณีทำงานนอกเวลายามดึก : 644 เยน x 1.50 (สัดส่วนเพิ ่ม) = 966 เยน<br />

กรณีทำงานวันหยุด : 644 เยน x 1.35 (สัดส่วนเพิ ่ม) = 869 เยน<br />

7<br />

เงินสำรองเลี ้ยงชีพ เงินประกันสุขภาพ เงินสะสม<br />

สำหรับเงินสำรองเลี ้ยงชีพ เงินประกันสุขภาพ<br />

เงินสะสมทรัพย์ ให้ดูรายละเอียดในตารางที ่ 2<br />

ของหน้าถัดไปในแต่ละหัวข้อที ่เกี ่ยวข้อง<br />

อนึ ่ง กองทุนเงินสำรองเลี ้ยงชีพภาครัฐ หรือเงิน<br />

สำรองเลี ้ยงชีพภาคเอกชนนั ้น หากเป็นชาวต่างช<br />

าติที ่จ่ายเงินเข้ากองทุนเงินสำรองเลี ้ยงชีพภาครัฐ<br />

หรือเงินสำรองเลี ้ยงชีพภาคเอกชนต่อเนื ่องเกินกว่า<br />

6 เดือนและเป็นผู ้ไม่มีสิทธิรับเงินจากกองทุน<br />

สามารถเรียกคืนเงินเหมาจ่ายได้ภายในระยะเวลาไ<br />

ม่เกิน 2 ปีนับจากเดินทางออกนอกประเทศญี ่ปุ ่น<br />

รายละเอียดศึกษาได้จากโฮมเพจย์ของสำนักงานป<br />

ระกันสังคมหรือสอบถามได้โดยตรง<br />

8<br />

การสอบขึ ้นระดับ<br />

ในหัวข้อ “3. การเปลี ่ยนจากการฝึกอบรมด้า<br />

นอุตสาหกรรรมเป็นการฝึกอบรมงานเทคนิค”<br />

ได้ระบุไว้ว่าต้องผ่าน “การสอบวัดทักษะงานแห่งช<br />

าติ (ระดับพื ้นฐานที ่ 2) หรือผ่านการประเมินทัก<br />

ษะงานพื ้นฐานขั ้นต้นซึ ่งจัดขึ ้นโดย JITCO”<br />

เพื ่อเป็นการยกระดับมาตรฐานทักษะงานของช่างเ<br />

ทคนิคฝึกงาน ทาง JITCO จะจ่ายเงินพิเศษให้กับ<br />

ช่างเทคนิคที ่ผ่านการทดสอบในระดับที ่สูงกว่าได้<br />

กล่าวคือ ช่างเทคนิคที ่ผ่าน “การสอบวัดทักษะงา<br />

นแห่งชาติ (ระดับพื ้นฐานที ่ 1) หรือผ่านการประเ<br />

มินทักษะงานพื ้นฐานขั ้นกลางซึ ่งจัดขึ ้นโดย<br />

JITCO” ในการรับการทดสอบครั ้งแรก<br />

จะจ่ายเงินพิเศษให้ 10,000 – 30,000 เยนตา<br />

มระดับการทดสอบที ่ผ่าน ขอให้ทุกท่านใช้ความพ<br />

ยายามลองสอบในระดับขั ้นที ่สูงขึ ้น<br />

9<br />

หมายเหตุ<br />

ตามกฎหมายคนเข้าเมือง ห้ามผู ้รับการฝึกอบรม<br />

หรือช่างเทคนิคฝึกงานทำงานรับค่าจ้างในเวลานอ<br />

กเหนือจากเวลาฝึกอบรมหรือฝึกงานเทคนิค (เช่น<br />

งานพาร์ทไทม์) หากทำงานพาร์ทไทม์จะถือว่าทำ<br />

14


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

งานนอกเหนือสถานะภาพที ่ได้รับอนุญาต จะได้<br />

รับการลงโทษหรือถูกส่งตัวกลับประเทศได้<br />

5<br />

ข้อแตกต่างระหว่างการฝึกอบรมงานด้านอุตสาหกรรมกับการฝึกงานเทคนิค<br />

ทั ้งการฝึกอบรมงานด้านอุตสาหกรรมและงานเทค<br />

นิคมีลักษณะเหมือนกันคือเป็นการถ่ายโอนเทคโน<br />

โลยี ทักษะงาน และความรู ้ด้านอุตสาหกรรมแล<br />

ะอาชีพงานของประเทศญี ่ปุ ่นให้กับชาวต่างชาติ อั<br />

นถือเป็นการให้ความร่วมมือในการพัฒนาบุคลาก<br />

รของต่างประเทศ<br />

แต่จะมีข้อแตกต่างในด้านคุณ<br />

สมบัติและรายละเอียด จึงขอให้ผู ้รับการฝึกอบรม<br />

ช่างเทคนิคฝึกงาน ตลอดจนผู ้เกี ่ยว<br />

ข้องได้ทำความเข้าใจในเรื ่องนี ้อย่างถ่องแท้<br />

และรับการฝึกอบรม/ฝึกงานเทคนิคอย่างเหมาะสม<br />

ข้อแตกต่างระหว่างผู ้รับการฝึกอบรมกับช่างเทค<br />

นิคฝึกงานแสดงอยู ่ใน “ตาราง 2 ข้อแตกต่างระ<br />

หว่างผู ้รับการฝึกอบรมกับช่างเทคนิคฝึกงาน”<br />

ตาราง 2 ข้อแตกต่างระหว่างผู ้รับการฝึกอบรมกับช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

หัวข้อ<br />

สถานะการพำนัก<br />

ประเภทของสถานะพำนัก<br />

ค่าตอบแทน<br />

ประเภทของค่าตอบแทน<br />

ผู ้รับการฝึกอบรม<br />

ผู ้รับการฝึกอบรม<br />

ไม่ใช่ผู ้ใช้แรงงาน<br />

เบี ้ยเลี ้ยงการฝึกอบรม<br />

ค่าใช้จ่ายที ่เกิดขึ ้นจริง<br />

ช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

กิจกรรมพิเศษ<br />

ผู ้ใช้แรงงาน<br />

เงินค่าจ้าง<br />

ค่าตอบแทนจากการใช้แรงงาน<br />

การทำงานนอกเวลา ไม่อนุญาต อนุญาต<br />

การทำงานกะ โดยหลักการไม่อนุญาต อนุญาต<br />

ระเบียบการปฏิบัติงาน ไม่ให้ใช้ (ใช้โดยอนุโลมได้) ใช้ได้<br />

การประกันสุขภาพ ไม่ให้ใช้ ใช้ได้ (บังคับ) (หมายเหตุ 1)<br />

ประกันสังคม (ใช้ได้) (หมายเหตุ 3) ใช้ได้ (บังคับ) (หมายเหตุ 2)<br />

เงินสำรองเลี ้ยงชีพภาคเอกชน ไม่ให้ใช้ ใช้ได้ (บังคับ) (หมายเหตุ 1)<br />

เงินสำรองเลี ้ยงชีพภาคเอกชน ใช้ได้ (หมายเหตุ 3) ใช้ได้ (บังคับ) (หมายเหตุ 2)<br />

กฎหมายแรงงานสัมพันธ ไม่ให้ใช้ (ใช้โดยอนุโลมได้) ใช้ได้<br />

กองทุนเงินสะสมเมื ่อเกิดอุบัติภัย<br />

แรงงาน ไม่ให้ใช้ ใช้ได้ (บังคับ) (หมายเหตุ 4)<br />

กองทุนประกันจ้างงาน ไม่ให้ใช้ ใช้ได้ (บังคับ)<br />

กองทุนทั ่วไป<br />

กองทุนประกันผู ้รับการฝึกอบรม ใช้ได้ (บังคับ) (หมายเหตุ 4) ไม่ให้ใช้<br />

กองทุนประกันช่างเทคนิคฝึกงาน ไม่ให้ใช้ ใช้ได้ (บังคับ) (หมายเหตุ 4)<br />

ภาษี<br />

ภาษีเงินได้ ไม่ต้องเสีย ต้องเสีย<br />

ภาษีท้องถิ ่น ไม่ต้องเสีย ไม่ต้องเสียในปีแรก<br />

เสียในปีที ่สอง<br />

* หมายเหตุ 1 ให้ใช้กับช่างเทคนิคฝึกงานในสถานประกอบการที ่มีคนงานตั ้งแต่ 5 คนขึ ้นไป (รวมทั ้งช่างเทคนิคฝึกงานด้วย)<br />

; หมายเหตุ 2 ให้ใช้กับสถานประกอบการอื ่น (บังคับ)<br />

* หมายเหตุ 3 : ผู ้รับการฝึกอบรมสามารถขอลดหย่อน / ยกเว้นการจ่ายเบี ้ยได้<br />

* หมายเหตุ 4 : ให้ผู ้ประกอบการเป็นผู ้รับผิดชอบการจ่ายเบี ้ยทั ้งหมด<br />

15


บทที ่ 2<br />

สิ ่งที ่ต้องใส่ใจก่อนที ่จะเดินทาง<br />

1<br />

การเตรียมตัวในฐานะผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

1<br />

ตรวจสุขภาพ<br />

ประเทศของผู ้ที ่ได้รับการคัดเลือกเป็นผู ้รับการฝึ<br />

กอบรม/ช่างเทคนิคฝึกงานกับประเทศญี ่ปุ ่นนั ้น<br />

มีความแตกต่างในด้านสภาพภูมิอากาศ<br />

ชีวิตความเป็นอยู ่ ภาษา ศาสนา<br />

และนิสัยใจคอของผู ้คน การที ่ทุกท่านจะใช้ชีวิตใน<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นได้อย่างสมบูรณ์พร้อม และเข้ากับป<br />

ระเทศญี ่ปุ ่นได้ จำเป็นต้องตรวจสอบสุขภาพร่างก<br />

ายและจิตใจ มีบางคนที ่เป็นโรคป่วยหลังจากเดินท<br />

างมาประเทศญี ่ปุ ่น จึงควรที ่จะตรวจสุขภาพร่างกา<br />

ยกับสถาบันการแพทย์ที ่น่าเชื ่อถือให้เรียบร้อย<br />

2<br />

สิ ่งที ่ต้องรู ้ก่อนเดินทาง<br />

1 ตรวจสอบเงื ่อนไขการฝึกอบรมและการฝึกงานเ<br />

ทคนิค<br />

กรณีที ่พบว่ารายละเอียดการฝึกอบรม/<br />

ฝึกงานเทคนิคไม่ตรงกับความต้องการข<br />

องตนเอง หรือมีเงื ่อนไขที ่ยอมรับไม่ได้<br />

ควรที ่จะถอนตัวจะดีกว่า โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง ก<br />

ารตรวจสอบเงื ่อนไขการฝึกอบรม / เงื ่อนไขก<br />

ารฝึกงานเทคนิคถือเป็นสิ ่งที ่มีความสำคัญยิ ่ง พ<br />

บว่าบ่อยครั ้งที ่เงื ่อนไขการฝึกอบรม/ฝึกงานเทค<br />

นิคกับเงื ่อนไขการรับฝึกงานขององค์กรรับฝึกง<br />

านนั ้นไม่ตรงกัน การที ่ผู ้รับการฝึกอบรม / ช่<br />

างเทคนิคฝึกงานไม่ได้รับคำอธิบายเกี ่ยวกับเงื ่อ<br />

นไขการฝึกอบรม/ฝึกงานเทคนิคอย่างเพียงพอ<br />

แล้วเดินทางมาประเทศญี ่ปุ ่น จะทำให้รู ้สึกว่า<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นที ่ตัวเองวาดภาพไว้ หรือการฝึก<br />

อบรมนั ้นต่างจากที ่ตัวเองคิด ทำให้เกิดปัญหา<br />

หรือผิดหวังได้ เพื ่อไม่ให้เกิดเรื ่องเช่นนี ้ขึ ้น<br />

ควรที ่จะศึกษาตรวจสอบก่อนให้ชัดเจน<br />

อนึ ่ง ในประเทศญี ่ปุ ่นนั ้น อาจจะมีเมืองใหญ่<br />

เช่น โตเกียว หรือโอซากา<br />

แต่ก็มีเมืองบ้านนอก หรือหมู ่บ้านด้วย จึงควร<br />

ตรวจสอบสถานที ่ที ่ตัวเองจะไปก่อนล่วงหน้า<br />

นอกจากนี ้ ผู ้ได้รับการคัดเลือกให้รับการฝึกอบ<br />

รม / ฝึกงานเทคนิคจะถูกจัดให้อยู ่แยกบริษัทกั<br />

นแห่งละ 2-3 คน ดังนั ้น อาจจะไม่ได้อยู ่กับเ<br />

พื ่อนก็เป็นได้<br />

2 สิทธิของผู ้รับการฝึกอบรม /<br />

ช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

ผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคทุกคนมีสิทธิ<br />

ตามกฎหมายคนเข้าเมือง และกฎหมายแรงง<br />

านของประเทศญี ่ปุ ่น และต้องมีความรับผิดช<br />

อบด้วยเช่นกัน ทั ้งนี ้ ได้อธิบายแล้วในบทที ่ 1<br />

ขอให้ทุกท่านทำความเข้าใจและปฏิบัติตามกฎห<br />

มาย<br />

3 มารยาทในการใช้ชีวิตในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงานอาจต้อ<br />

งพำนักอยู ่ในประเทศญี ่ปุ ่นสูงสุด 3 ปี จึงควรที ่<br />

จะทำความเข้าใจมารยาทที ่จำเป็นในการใช้ชีวิต<br />

ในประเทศญี ่ปุ ่น หากทำความเข้าใจเนื ้อหาที ่อ<br />

ธิบายในบทที ่ 4 ไว้ก่อนล่วงหน้า จะสามารถใ<br />

ช้ชีวิตในประเทศญี ่ปุ ่นได้อย่างราบลื ่น<br />

16


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

3<br />

การเรืยนภาษาญี ่ปุ ่น<br />

การที ่ผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงานจะใ<br />

ช้ชีวิตในประเทศญี ่ปุ ่นได้อย่างปลอด<br />

ภัย และมีสุขภาพดี สามารถเรียนรู ้เทคโนโลยี<br />

ทักษะงาน และความรู ้ต่าง ๆ ได้ จำเป็นอย่า<br />

งยิ ่งที ่จักต้องเรียนภาษาญี ่ปุ ่น การฝึกอบรม /<br />

ฝึกงานเทคนิคในประเทศญี ่ปุ ่นนั ้น โดยทั ่วไปแ<br />

ล้วจะใช้ภาษาญี ่ปุ ่น การเรียนภาษาญี ่ปุ ่นในเวล<br />

าอันสั ้นหลังจากที ่เดินทางมาประเทศญี ่ปุ ่นแล้ว<br />

ถือเป็นสิ ่งที ่ทำได้ยาก จึงควรศึกษาพื ้นฐานภาษาญี ่<br />

ปุ ่นให้ดีก่อน<br />

2<br />

ข้อควรระวังเมื ่อเดินทางเข้าประเทศญี ่ปุ ่น<br />

1<br />

ขึ ้นทะเบียนคนต่างด้าว<br />

ชาวญี ่ปุ ่นมีหน้าที ่ต้องขึ ้นทะเบียนประชากรกับอำเภ<br />

อ เมือง หมู ่บ้านที ่ตนเองอาศัยอยู ่ และชาวต่างชา<br />

ติต้องขึ ้นทะเบียนคนต่างด้วยตามกฎหมายทะเบียน<br />

คนต่างด้าวด้วย<br />

กฎหมายฉบับนี ้บัญญัติให้ชาวต่างชาติที ่พำนักอา<br />

ศัยอยู ่ในประเทศญี ่ปุ ่นเกินกว่า 90 วัน ต้องแจ้ง<br />

ขึ ้นทะเบียนกับอำเภอ เมือง หมู ่บ้านที ่ตนเองอาศั<br />

ยอยู ่<br />

เมื ่อขึ ้นทะเบียนแล้วประมาณ 1 สัปดาห์ จะได้รับ<br />

ใบรับรองการขึ ้นทะเบียนคนต่างด้าว ทุกท่านสาม<br />

ารถไปรับได้ที ่สำนักงานของเขตได้<br />

ใบรับรองทะเบียนคนต่างด้าวนี ้<br />

ต้องพกพาติดตัวตลอดเวลา<br />

2<br />

การดูแลรักษาหนังสือเดินทาง<br />

โดยหลักการแล้ว ทุกท่านต้องเก็บรักษาหนังสือเ<br />

ดินทางเอง แต่มีโอกาสที ่จะสูญหายหรือถูกลักข<br />

โมยได้ เพื ่อเป็นการป้องกันไม่ให้เกิดเหตุเช่นนั ้น<br />

ท่านสามารถขอให้องค์กรรับฝึกงานเก็บรักษาให้ไ<br />

ด้<br />

ในกรณีเช่นนั ้น ให้ทุกท่านระบุความจำนงเป็นห<br />

นังสือ และรับใบเก็บรักษาจากองค์กรรับฝึกงาน<br />

และหากท่านต้องการให้องค์กรรับฝึกงานคืนให้<br />

องค์กรรับฝึกงานต้องคืนหนังสือเดินทางให้กับทุกท่<br />

านโดยทันที<br />

17


3<br />

การเปลี ่ยนสถานะพำนัก<br />

ดังที ่ได้บอกให้ทราบแล้วว่า ถ้าท่านผ่าน “การ<br />

สอบวัดทักษะงานแห่งชาติ (ระดับพื ้นฐานที ่ 1)<br />

หรือผ่านการประเมินทักษะงานพื ้นฐานขั ้นกลางซึ ่<br />

งจัดขึ ้นโดย JITCO” สถานะพำนักของทุกท่านจ<br />

ะเปลี ่ยนจาก “ฝึกอบรม” เป็น “กิจกรรมพิเศษ”<br />

ให้ปฏิบัติตามคำสั ่งของผู ้รับผิดชอบการฝึกอบรมห<br />

รือผู ้รับผิดชอบขององค์กรรับฝึกงาน ในการปฏิบั<br />

ติตามขั ้นตอนการยื ่นขอเปลี ่ยนสถานะพำนัก<br />

3<br />

ต้องไม่หายตัวไป<br />

เป็นที ่น่าเสียใจเป็นอย่างยิ ่งว่า มีผู ้ที ่เดินทางมาประ<br />

เทศญี ่ปุ ่นในฐานะผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิค<br />

ฝึกงานจำนวนหนึ ่งได้เลิกฝึกอบรมหรือฝึกงานเทค<br />

นิค และหายตัวไป<br />

ในกรณีเช่นนี ้สามารถแบ่งได้เป็น 2 ประเภทใหญ่<br />

ๆ ประเภทแรกคือไม่ต้องการที ่จะฝึกอบรมในประเ<br />

ทศญี ่ปุ ่น แต่ต้องการจะหารายได้ จึงหายตัวไปห<br />

ลังจากเข้าประเทศญี ่ปุ ่นได้<br />

ประเภทที ่ 2 คือในระหว่างที ่ฝึกอบรมหรือฝึกงา<br />

นเทคนิคอยู ่ ถูกชักชวนว่า “มีงานที ่ทำเงินได้ดีกว่<br />

า”<br />

โปรดระลึกเสมอว่า ในการจัดการฝึกอบรมให้<br />

กับทุกท่านในประเทศญี ่ปุ ่นนั ้น ผู ้เกี ่ยวข้องทั ้งในป<br />

ระเทศญี ่ปุ ่น และเจ้าหน้าที ่ขององค์กรจัดส่งในปร<br />

ะเทศของท่าน ฯลฯ ล้วนมีบุญคุณล้นเหลือต่อทุก<br />

ท่าน ผู ้ที ่หายตัวไปอาจไม่ทราบว่าหากหายตัวไป<br />

จะทำให้หลาย ๆ คนต้องได้รับความเดือดร้อน<br />

ลำดับแรก องค์กรรับฝึกงานและผู ้เกี ่ยวข้องของแ<br />

ต่ละหน่วยงานจะถูกตักเตือนเป็นพิเศษจากหน่วย<br />

งานที ่เกี ่ยวข้องรวมถึงสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง<br />

ในบางกรณี อาจไม่สามารถรับผู ้รับการฝึกอบรม<br />

ติดต่อกันเป็นเวลา 3 ปีเลยทีเดียว<br />

อีกทั ้ง ผู ้รับการฝึกอบรมห<br />

รือช่างเทคนิคฝึกงานที ่เป็นเพื ่อนของทุกท่าน<br />

จะถูกตรวจสอบพฤติกรรมต่าง ๆ อย่างเข้มงวดเพื ่<br />

อไม่ให้มีผู ้สูญหายอีก และในกรณีที ่ร้ายแรงที ่สุด<br />

ทางสำนักงานตรวจคนเข้าเมือง อาจมีคำสั ่งให้ผู ้<br />

รับการฝึกอบรมหรือช่างเทคนิคฝึกงานซึ ่งอยู ่ในอง<br />

ค์กรรับการฝึกอบรม ที ่ไม่เกี ่ยวพันกับการสูญหาย<br />

ต้องเดินทางกลับประเทศก็เป็นได้<br />

นอกจากนี ้ หน่วยงานที ่จัดส่งก็ต้องหาทางสืบให้ได้<br />

ว่าผู ้สูญหายไปอยู ่ที ่ใด ในบางกรณี อาจมีผลกระ<br />

18


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

ทบต่อชีวิตความเป็นอยู ่ของครอบครัวในประเทศข<br />

องท่าน กรณีหนึ ่งที ่เกิดขึ ้นคือผู ้สื ่อข่าวจะไปสัมภา<br />

ษณ์ครอบครัวของท่าน สร้างความเดือดร้อนไม่เฉ<br />

พาะแต่ครอบครัวแต่ยังรวมไปถึงคนในท้องถิ ่น<br />

ท่านได้<br />

ผู ้สูญหายจะกลายเป็น “ชาวต่างชาติพำ<br />

นักผิดกฎหมาย” หรือ “คนงานผิดกฎหมาย”<br />

และถูกตำรวจจับได้ อีกทั ้ง ผู ้สูญหายจะถูกลงโท<br />

(ประมาณ 27,300 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ)<br />

หรือทั ้งจำทั ้งปรับ นอกจากนี ้ ยังถูกห้ามไม่ให้เข้า<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นอย่างน้อย 1 ปีหรือสูงสุด 10 ปีได้<br />

ดังที ่กล่าวนี ้ จะเห็นได้ว่าหากสูญหายไปจะสร้างค<br />

วามเดือดร้อนให้กับผู ้คนเป็นจำนวนมาก และตัว<br />

เองยังมีประวัติเสีย ดังนั ้น ถึงแม้จะถูกหว่านล้อม<br />

จึงควรระลึกถึงวัตถุประสงค์การมาญี ่ปุ ่นของตนเอง<br />

ให้ดี และไม่สูญหายเป็นอันขาด<br />

ษจำคุกไม่เกิน 3 ปี หรือปรับไม่เกิน 3 ล้านเยน<br />

PASSPORT<br />

19


บทที ่ 3<br />

ระบบการให้ความสนับสนุนผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงานของ JITCO<br />

องค์กรความร่วมมือการฝึกอบรมสากลแห่งประเ<br />

ทศญี ่ปุ ่น หรือ JITCO (Japan International<br />

Training Cooperation Organization) เป็นอ<br />

งค์กรภาครัฐที ่ได้รับการจัดตั ้งขึ ้นเมือปี 2534<br />

JITCO ดำเนินโครงการต่าง ๆ ที ่มีส่วนสนับสนุน<br />

ให้โปรแกรมการฝึกอบรมงานอุตสาหกรรมและงา<br />

นเทคนิคเป็นไปอย่างราบลื ่นและเหมาะสม<br />

ยังมีระบบสนับสนุนที ่ให้ผู ้รับการฝึกอบรมและช่างเ<br />

ทคนิคฝึกงานสามารถใช้ภาษาของตัวเองได้ดังต่อ<br />

ไปนี ้ ทั ้งนี ้ ไม่คิดค่าบริการแต่อย่างไร ขอให้ทุก<br />

ท่านใช้บริการนี ้ได้ตามสะดวก<br />

1<br />

ระบบให้คำปรึกษาแนะนำกับผู ้รับการฝึกอบรมและช่างเทคนิค<br />

เราจะรักษาความลับให้กับทุกท่าน<br />

สามารถปรึกษาได้ทุกเรื ่อง<br />

1<br />

การให้คำปรึกษาแนะนำโดยภาษาแม่<br />

โทรศัพท์:03-3233-0578<br />

เจ้าหน้าที ่ผู ้เชี ่ยวชาญภาษาจีน อินโดนีเซีย และเวี<br />

ยตนามจะรับคำปรึกษาทางโทรศัพท์ จดหมายที ่ม<br />

าจากผู ้รับการฝึกอบรมและช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

วันเวลาที ่สามารถใช้บริการได้มีดังนี ้<br />

ภาษา<br />

ภาษาอินโดนีเซีย<br />

ภาษาจีน<br />

ภาษาเวียตนาม<br />

วันที ่ให้คำปรึกษา<br />

ทุกวันอังคาร<br />

ทุกวันพฤหัสบดี<br />

ทุกวันศุกร<br />

เวลาที ่รับคำปรึกษา<br />

เวลา 11:00 – 13:00<br />

และ 14:00 – 19:00<br />

สำหรับทุกภาษา<br />

2<br />

การให้คำปรึกษาแนะนำด้านสุขภาพและการรักษา<br />

โทรศัพท์:03-3233-0602<br />

แพทย์ที ่ปรึกษาของ JITCO จะให้คำปรึกษาด้า<br />

นแพทย์กรณีที ่ป่วยเป็นโรค มีปัญหาทางสุขภาพ<br />

และการขอใช้บริการในโรงพยาบาล ฯลฯ<br />

ทุกวันพุธแรกของเดือน (เวลา 14:00 – 17:00)<br />

โดยรับคำปรึกษาทั ้งทางโทรศัพท์หรือมาด้วยตัวเอ<br />

ง หากต้องการมาด้วยตัวเอง กรุณานัดล่วงหน้า<br />

3<br />

การให้คำปรึกษาทางใจ<br />

โทรศัพท์:03-3233-0628<br />

ผู ้เชี ่ยวชาญให้คำปรึกษาทางใจจะเป็นผู ้ช่วยแก้ปัญห<br />

าให้กับทุกท่าน<br />

20


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

2<br />

การให้ข้อมูลด้วยภาษาของทุกท่าน<br />

1<br />

จัดทำ “ดู ่มือการฝึกงานและการฝึกงานเทดนิด ศําหรับผู ้ฝึกงานและผู ้ฝึกงานเทดนิด” เป็นภาษาของทุกท่าน<br />

โทรศัพท์:03-3233-0917<br />

คู ่มือฉบับนี ้ จะอธิบายเนื ้อหาพื ้นฐานที ่เกี ่ยวกับการ<br />

ฝึกอบรม / ฝึกงานเทคนิคให้กับผู ้รับการฝึกอบร<br />

มและฝึกงานเทคนิค โดยมีจัดทำเป็นภาษาอังกฤษ<br />

ภาษาจีน ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาเวียตนาม<br />

ภาษาไทย และภาษามองโกล<br />

2<br />

จัดทำวารสารข้อมูล “เพื ่อนผู ้ฝึกงาน” ในภาษาของทุกท่าน<br />

โทรศัพท์:03-3233-0601<br />

จะจัดทำวารสารรายเดือนชื ่อ “เพื ่อนผู ้ฝึกงาน”<br />

เป็นภาษาของทุกท่านที ่มีเนื ้อหา<br />

ข้อมูลด้านการฝึกอบรม / การฝึกงานเทคนิค<br />

ข่าวในประเทศของทุกท่าน<br />

และจัดส่งให้ทางโทรสาร หรืออีเมล์ หรือผ่านทาง<br />

บริษัทรับฝึกงานเพื ่อแจกให้กับผู ้รับการฝึกอบรม /<br />

ช่างเทคนิคฝึกงานต่อไป<br />

วารสารรายเดือนนี ้จะออกเป็นภาษา<br />

ญี ่ปุ ่น ควบคู ่กับ3 ภาษาอื ่น คือ ภาษาจีน<br />

ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาเวียตนาม กับภาษาอั<br />

งกฤษควบคู ่กับภาษาญี ่ปุ ่นที ่มีคำอ่านให้ โดยจัดใ<br />

ห้ดูได้ในโฮมเพจย์ของ JITCO<br />

jitco.or.jp/)<br />

(http://www.<br />

3<br />

การให้ข้อมูลเกี ่ยวกับเงื ่อนไขการว่าจ้าง<br />

1 จัดทำจดหมายข่าว “ถึงช่างเทคนิคฝึกงานทุก<br />

ท่าน (เกี ่ยวกับเงื ่อนไขการว่าจ้าง)” (โทรศัพท์<br />

: 03-3233-0992)<br />

จัดทำขึ ้นเพื ่อให้ช่างเทคนิคฝึกงานได้รู ้ถึงกฎห<br />

มายแรงงานของประเทศญี ่ปุ ่น โดยจัดทำเป็น<br />

3 ภาษาคือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน<br />

และภาษาเวียตนาม<br />

2 จัดทำ “คู ่มือช่างเทคนิคฝึกงาน” (โทรศัพท์ :<br />

03-3233-0789)<br />

จัดทำ “คู ่มือช่างเทคนิคฝึกงาน” ที ่มีเนื ้อหาเ<br />

กี ่ยวกับกฎหมายแรงงานของประเทศญี ่ปุ ่นซึ ่งจะ<br />

บังคับใช้หลังจากที ่เปลี ่ยนสถานะเป็นการฝึกงาน<br />

เทคนิค โดยจะแจกให้ฟรีสำ<br />

หรับผู ้ที ่เปลี ่ยนสถานะเป็นช่างเทคนิคฝึกง<br />

าน จัดทำเป็น 5 ภาษาคือภาษาอังกฤษ<br />

ภาษาจีน ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาเวียตนาม<br />

และภาษาไทย<br />

21


4<br />

การให้ข้อมูลด้านสุขภาพและความปลอดภัย<br />

โทรศัพท์:03-3233-0992<br />

1 จัดทำ “ใบแจ้งข้อมูลส่วนตัว<br />

ต่อสถาบันทางการแพทย์”<br />

ผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงานจ<br />

ะกรอกรายละเอียดลงในรายงานด้วยตัวเอ<br />

งที ่จำเป็นนี ้ เพื ่อรับการตรวจสุขภาพ เป็น<br />

สิ ่งที ่เป็นประโยชน์ต่อการวินิจฉัยของแพทย์<br />

โดยมีการจัดทำเป็น 5 ภาษาคือภาษาอังกฤษ<br />

ภาษาจีน ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาเวียตนาม<br />

และภาษาไทย<br />

2 จัดทำ “จดหมายข่าวอาชีวอนามัย”<br />

อาชีวอนามัยถือเป็นสิ ่งที ่ต้องเหนืออื ่นใดเป็นอ<br />

ย่างยิ ่ง จึงได้จัดทำ<br />

“จดหมายข่าวอาชีวอนามัย” แจกให้ฟรีกับ<br />

บริษัทรับฝึกงานและช่างเทคนิคฝึกงาน โดยจั<br />

ดทำข้อมูลด้านอาชีวอนามัยเป็นภาษาอังกฤษ<br />

ภาษาจีน ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาเวียตนาม<br />

3 จัดทำ “คู ่มือการดูแลสุขภาพ”<br />

คู ่มือฉบับนี ้จะอธิบายเกี ่ยวกับโรคภัยไข้เจ็บ<br />

ที ่ผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

จะเป็นได้ง่าย รวมถึงวิธีการป้องกันรักษา<br />

พร้อมอธิบายรายละเอียดเกี ่ยวกับระบบการแพ<br />

ทย์ การรักษาพยาบาล ระบบการประกันต่าง<br />

ๆ ในประเทศญี ่ปุ ่น โดยจะจัดทำเป็น<br />

4 ภาษาคือภาษาอังกฤษ ภาษาจีน<br />

ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาเวียตนาม<br />

5<br />

ให้ข้อมูลเกี ่ยวกับการประกันอุบัติภัยแรงงาน<br />

โทรศัพท์:03-3233-0992<br />

1 จัดทำแผ่นพับ “ถึงช่างเทคนิคฝึกงานทุกท่าน<br />

(อธิบายเกี ่ยวกับประกันอุบัติภัยแรงงาน)<br />

แผ่นพับชุดนี ้จะอธิบายเกี ่ยวกับขั ้<br />

นตอนการของเงินสินไหมอุบัติภัยแรงงาน<br />

โดยจัดทำเป็น 5 ภาษาคือภาษาอังกฤษ<br />

ภาษาจีน ภาษาอินโดนีเซีย ภาษาเวียตนาม<br />

และภาษาตากาล็อก<br />

2 จัดทำ “ข่าวประกันอุบัติภัยแรงงาน”<br />

แจกจ่ายข่าวเช่นนี ้ให้กับช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

เพื ่อนำเสนอข้อมูลเกี ่ยวกับการใช้ประโยชน์จ<br />

ากประกันอุบัติภัยอย่างถูกต้อง โดยจัดทำ 2<br />

ภาษาคือภาษาอังกฤษ กับภาษาอินโดนีเซีย<br />

6<br />

ให้ข้อมูลด้วยการจัดทำวิดีโอเทป<br />

โทรศัพท์:03-3233-0992<br />

วิดีโอเทปต่อไปนี ้ ได้แจกให้กับองค์กรรับฝึกงานเรี<br />

ยบร้อยแล้ว หากต้องการที ่จะชม สามารถขอผ่าน<br />

ทางผู ้รับผิดชอบขององค์กรรับฝึกงานได้<br />

1 “ ”<br />

อธิบายเกี ่ยวกับวิธีการใช้จักรยานอย่างถูกต้องเ<br />

ป็นภาษาจีน<br />

2 “สุขภาพสู ่ความสำเร็จในการฝึกอบรม/<br />

ฝึกงานเทคนิค”<br />

อธิบายเกี ่ยวกับการดูแลรักษาสุขภาพเป็<br />

น 4 ภาษาคือภาษาอังกฤษ ภาษาจีน<br />

ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาเวียตนาม<br />

22


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

3 “ความปลอดภัยและสุขภาพของผู ้รับการฝึกอบร<br />

ม”<br />

อธิบายเกี ่ยวกับอาชีวอนามัยเป็นภาษาจีน<br />

3<br />

การประกวดเรียงดวามภาษาญี ่ปุ ่นของผ้ ูฝึกงาน·ผู ้ฝึกหัดความชํานาญต่างชาติจัดโดย JITCO<br />

JITCO จะเป็นเจ้าภาพจัดประกวดแข่งขันเรียงคว<br />

ามของผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

โดยในปี 2548 มีผู ้ส่งเข้าร่วม 1,724<br />

เรียงความ และปี 2549 มีผู ้ส่งเข้าร่วมประก<br />

วดถึง 3,092 เรียงความ จึงอยากให้ทุกท่า<br />

นส่งเข้าร่วมด้วย โดยจะมีการประกาศรายละ<br />

เอียดการรับสมัครทุกปีในเดือนมกราคมถึงเดื<br />

อนกุมภาพันธ์ ผ่านทางวารสาร JITCO ชื ่อ<br />

“คาเคฮาชิ” (ซึ ่งจะแจกให้กับองค์กรรับฝึกงานด้วย)<br />

หรือดูได้จากโฮมเพจย์ของ JITCO (http://<br />

www.jitco.or.jp/)<br />

23


บทที ่ 4<br />

การใช้ชีวิตในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

วัฒนธรรมและธรรมเนียมปฏิบัติในแต่ละประเทศข<br />

องผู ้รับการฝึกอบรม / ช่างเทคนิคฝึกงานทุกท่าน<br />

ล้วนเกิดขึ ้นจากประวัติศาสตร์อันยาวนานที ่ได้บ่มเ<br />

พาะขึ ้นมา ถือเป็นสิ ่งที ่หาค่ามิได้ เช่นเดียวกันปร<br />

ะเทศญี ่ปุ ่นที ่ทุกท่านจะรับการฝึกอบรม / ฝึกงาน<br />

เทคนิคก็เป็นประเทศหนึ ่งในหลายประเทศทั ่วโลก<br />

ที ่มีวัฒนธรรมและธรรมเนียมปฏิบัติเป็นของตัวเอง<br />

ในระหว่างที ่ทุกท่านรับการฝึกอบรมในประเทศญี ่<br />

ปุ ่น ผู ้รับการฝึกอบรม /<br />

ช่างเทคนิคฝึกงานทุกท่าน ถือเป็นประชาชนที ่อา<br />

ศัยอยู ่ในประเทศญี ่ปุ ่นด้วย ทุกท่านจะได้มีโอกาสใ<br />

ช้ชีวิตร่วมกับชาวญี ่ปุ ่นที ่อาศัยอยู ่ในเมืองเ<br />

ดียวกัน มีโอกาสสัมผัสเรียนรู ้ประสบการณ์วัฒ<br />

นธรรมของญี ่ปุ ่น และชีวิตความเป็นอยู ่ของญี ่ปุ ่น<br />

อย่างไรก็ตาม ธรรมเนียมปฏิบัติในชีวิตประจำวันนั ้<br />

น จะแตกต่างกับธรรมเนียมปฎิบัติของประเทศทุก<br />

ท่าน ซึ ่งอาจทำให้ทุกท่านเกิดความรู ้สึกลังเลเ<br />

ป็นได้<br />

ในบทนี ้ จะอธิบายในเรื ่องต่าง ๆ ที ่จะทำให้ทุก<br />

ท่านที ่ใช้ชีวิตในประเทศญี ่ปุ ่นเป็นครั ้งแรก สาม<br />

ารถใช้ชีวิตได้อย่างสะดวกสบาย อย่างไรก็ตาม<br />

เนื ้อหาต่าง ๆ เป็นเนื ้อหาทั ่วไป บางพื ้นที ่หรือบาง<br />

โอกาสอาจไม่เป็นไปตามรายละเอียดที ่อ<br />

ธิบายนี ้ได้ ในกรณีเช่นนั ้น ให้สอบถามผู ้แนะ<br />

นำการใช้ชีวิตโดยไม่ต้องเขินอาย และหากมีรุ ่น<br />

พี ่เป็นช่างเทคนิคฝึกงาน อยู ่ในบริษัทรับฝึกงาน<br />

ก็สามารถถามหาข้อมูลได้<br />

1<br />

ภูมิอากาศในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นมี 4 ฤดูกาลอย่างชัดเจน<br />

หากแยกโดยสังเขปแล้ว ฤดูใบไม้ผลิจะเริ ่มจากเ<br />

ดือนมีนาคมถึงเดือนพฤษภาคม ฤดูร้อนเริ ่มเดือน<br />

มิถุนายน ถึงเดือนสิงหาคม ฤดูใบไม้ร่วงเริ ่มเดือน<br />

กันยายนถึงเดือนพฤศจิกายน และฤดูหนาวเริ ่มเ<br />

ดือนธันวาคมถึงเดือนกุมภาพันธ์ ทั ้งนี ้ ในเดือน<br />

มิถุนายนจะเป็นฤดูฝน (เรียกว่า “ทซึยุ”)<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นมีภูมิประเทศเป็นเกาะยาวทอดจากเห<br />

นือลงใต้ ดังนั ้น อากาสจะแตกต่างกันระหว่างพื ้น<br />

ที ่ทางตอนเหนือกับพื ้นที ่ทางตอนใต้ จึงควรขอข้อ<br />

มูลผ่านทางหน่วยงานจัดส่ง เพื ่อเรียนรู ้เกี ่ยวกับภูมิ<br />

อากาศของพื ้นที ่ที ่จะไปรับการฝึกอบรม และเตรีย<br />

มเสื ้อผ้าให้เหมาะสม<br />

ฤดูร้อนของประเทศญี ่ปุ ่นจะมีอากาศร้อนอบอ้าว<br />

เนื ่องจากความชื ้นที ่สูง ในขณะที ่เขตฮอกไกโด<br />

เขตตะวันออกเฉียงเหนือ และเขตติดทะเลญี ่ปุ ่<br />

นจะมีอากาศหนาวเย็น หากมีเสื ้อผ้ากันหนาว<br />

ควรที ่จะนำติดตัวมาด้วย แน่นอนที ่ว่าสามารถหา<br />

ซื ้อได้ในประเทศญี ่ปุ ่น แต่มีราคาแพง<br />

24


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

2<br />

เรื ่องทั ่วไป<br />

1<br />

การทักทาย<br />

ชีวิตของชาวญี ่ปุ ่นเริ ่มจากการทักทาย<br />

และจบด้วยการลา ซึ ่งถือว่ามีความสำคัญยิ ่ง ประเ<br />

ภทของการทักทายคงจะได้เรียนจากชั ่วโมงเรียนภ<br />

าษาญี ่ปุ ่น ในที ่นี ้จะขออธิบายว่าการทักทายที ่ถือว่า<br />

เป็นมารยาทนั ้น มีกฎที ่ควรจำดังต่อไปนี ้<br />

1 ผู ้ที ่มีอายุน้อยกว่าหรือมีสถานะทางสังคมต่ำกว่า<br />

จะเป็นผู ้ทักทายก่อน<br />

2 หากรู ้ตัวก่อนให้ทักทายก่อน<br />

3 ชาวญี ่ปุ ่นไม่มีวัฒนธรรมในการจับมือ แต่อย่าง<br />

ไรก็ตามการจับมือไม่ถือว่าเป็นการเสียมารยาท<br />

การทักทายไม่ใช่เป็นการแสดงต่อพนักงานข<br />

องบริษัทผู ้รับฝึกงานเท่านั ้น ทุกท่านควรที ่จะ<br />

ทักทายกับคนในท้องถิ ่นด้วย ไม่ว่าจะเป็นการ<br />

“สวัสดีตอนเช้า” หรือ “สวัสดีตอนบ่าย” การ<br />

ทักทายอย่างร่าเริงเป็นมิตรจะทำให้บรรยากาศ<br />

โดยรอบดีขึ ้น<br />

2<br />

การแต่งกาย<br />

ในสังคมญี ่ปุ ่นถือว่าการแต่งกายเป็นการแสดงถึง<br />

บุคลิกของบุคคลผู ้นั ้น ซึ ่งถือว่าเป็นสิ ่งที ่สำคัญยิ ่ง ก<br />

ารแต่งกายจะแตกต่างจากการแสดงบุคคลิกส่วนตัว<br />

โดยจำเป็นต้องแสดงถึงการเอาใจใส่และเครื ่องแต่ง<br />

กายให้เหมาะสมกับผู ้ที ่ทำงานแล้ว<br />

ขอให้ระมัดระวังในเรื ่องต่อไปนี ้<br />

1 ควรทำตัวให้ดูสะอาดสะอ้าน ไม่<br />

สร้างความรู ้สึกสกปรกให้กับผู ้อื ่น<br />

ควรล้างหน้าแปรงฟันทุกวัน<br />

2 แต่งตัวด้วยเสื ้อผ้าที ่สะอาด และเหมาะก<br />

ับอาชีพงานตัวเอง เปลี ่ยนเสื ้อชั ้นในทุกวัน<br />

และซักผ้าให้สะอาด<br />

3<br />

รักษาเวลา<br />

ควรรักษาเวลาในการเริ ่มทำงานและเวลาประชุม<br />

ทุกครั ้ง และระมัดระวังไม่ให้สาย หากสาย ควร<br />

ที ่จะแจ้งให้ทราบทางโทรศัพท์ล่วงหน้า<br />

หากไปเยี ่ยมใคร ควรติดต่อนัดทางโทรศัพท์ล่วงห<br />

น้า และไปพบตามเวลาที ่กำหนด<br />

โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง “เวลาส่งมอบ” ที ่จะต้องส่งม<br />

อบสินค้าให้กับลูกค้าที ่เป็นบริษัทคู ่ค้า ถือเป็นสิ ่ง<br />

ที ่ต้องรักษาเวลาเป็นอย่างยิ ่ง ทุกท่านอาจจะตกใ<br />

จก็เป็นได้ว่าการส่งมอบนั ้น ไม่ใช่ส่งมอบรายวัน<br />

และมีการกำหนดระดับนาทีเลยทีเดียว<br />

หากไม่รักษาเวลาแล้ว จะสูญเสียความเชื ่อถือได้<br />

จึงควรรักษาเวลาให้เคร่งครัด<br />

25


4<br />

กฎหลักและมารยาท<br />

1 ไม่มีธรรมเนียมการให้ทิป จึงไม่จำเป็นต้องจ่าย<br />

ค่าทิป<br />

2 ห้ามใช้จักรยานที ่จอดอยู ่ตามสถานีหรือห้าง<br />

สรรพสินค้า ถึงแม้ว่าจะไม่มีเจ้าของก็ตาม<br />

หากใช้ตามอำเภอใจ อาจถูกกล่าวหาว่าทำผิด<br />

ฐานลักขโมยได้<br />

3 แอปเปิ ๊ล ส้ม ลูกพลับ มะเขือ แตงกวาที ่ดูเห<br />

มือนว่าเป็นผักหรือผลไม้ที ่ไม่มีคนเป็นเจ้าของ<br />

นั ้น จริง ๆ แล้วมีเจ้าของทั ้งสิ ้น ห้ามเด็ดเก็บ<br />

กินเองโดยไม่ได้รับอนุญาต<br />

4 ห้ามขับเสมหะ พ่นน้ำลาย หรือทิ ้งเศษบุหรี ่<br />

ตามอำเภอใจ ในกรุงโตเกียว เขตจิโยดะ<br />

ได้ออกข้อห้ามทิ ้งเศษบุหรี ่บนท้องถนน<br />

หากละเมิดมีโทษปรับ 2,000 เยน (ประมาณ<br />

18 เหรียญดอลลาร์สหรัฐ)<br />

5 หากเก็บของมีค่าซึ ่งมีเงินสดด้วย<br />

ให้นำส่งตำรวจทุกครั ้ง<br />

6 หากไม่เข้าใจเรื ่องกฎหรือมารยาท สามารถสอ<br />

บถามผู ้ให้คำแนะนำการใช้ชีวิตโดยทันที<br />

5<br />

วันหยุดนักขัตฤกษ์และวันหยุดงาน<br />

วันหยุดนักขัตฤกษ์และวันหยุดงานของประเทศญี ่<br />

ปุ ่นมีดังต่อไปนี ้ ทั ้งนี ้ ตามรูปแบบธุรกิจของบริษัท<br />

รับฝึกงานงานบางแห่ง อาจไม่หยุดงานตามนี ้ก็เป็น<br />

ได้ ขอให้สอบถามรายละเอียดจากผู ้ให้คำแนะนำ<br />

การฝึกอบรม หรือผู ้ให้คำแนะนำการใช้ชีวิตได้<br />

1 วันหยุด : ประเทศญี ่ปุ ่นมีวันหยุดนักขัตฤกษ์ทั ้ง<br />

สิ ้น 15 วัน<br />

2 วันหยุดปีใหม่ : บริษัทส่วนให<br />

ญ่จะหยุดช่วงก่อนและหลังวันที ่ 1 มกราคม<br />

และธนาคารจะหยุดวันที ่ 31 ธันวาคม ถึงวันที ่<br />

3 มีนาคม (โดยเลื ่อนวันตามวันของสัปดาห์)<br />

3 ช่วงวันหยุดระยะยาว : เนื ่องจากช่วงปลายเดือ<br />

นเมษายน ถึงต้นเดือนพฤษภาคมจะมีวันหยุด<br />

ต่อเนื ่องกันหลายวัน ชาวญี ่ปุ ่นจึงเรียกช่วงนี ้ว่าโ<br />

วันที ่ 1 มกราคม วันขึ ้นปีใหม่<br />

วันจันทร์สัปดาห์ที ่สองเดือนมกราคม<br />

วันที ่ 11 กุมภาพันธ์<br />

วันที ่ 20 มีนาคม<br />

วันที ่ 29 เมษายน<br />

วันที ่ 3 พฤษภาคม<br />

วันที ่ 4 พฤาภาคม<br />

วันที ่ 5 พฤาภาคม<br />

วันจันทร์สัปดาห์ที ่ 3 เดือนกรกฎาคม<br />

วันจันทร์สัปดาห์ที ่ 3 เดือนกันยายน<br />

วันที ่ 23 กรกฎาคม<br />

วันจันทร์สัปดาห์ที ่สองเดือนตุลาคม<br />

วันที ่ 3 พฤศจิกายน<br />

วันที ่ 23 พฤศจิกายน<br />

วันที ่ 23 ธันวาคม<br />

วันปีใหม่<br />

วันผู ้ใหญ<br />

วันก่อตั ้งประเทศ<br />

วันเข้าฤดูใบไม้ผลิ*<br />

วันแห่งโชวะ<br />

วันรัฐธรรมนูญ<br />

วันสีเขียว<br />

วันเด็กผู ้ชาย<br />

วันแห่งทะเล<br />

วันผู ้ชรา<br />

วันเข้าฤดูใบไม้ผลิ*<br />

วันกีฬา<br />

วันวัฒนธรรม<br />

วันขอบคุณแรงงาน<br />

วันเกิดจักรพรรดิ<br />

วันหยุดที ่มีเครื ่องหมาย * จะมีการเปลี ่ยนแปลงในแต่ละปี<br />

26


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

กลเด้นวีค ซึ ่งช่วงนี ้จะมีอากาศีดีมาก ผู ้คนจะไ<br />

ปเที ่ยวตามสถานที ่ต่าง ๆ ทำให้เกิดรถติดได้<br />

4 วันหยุดฤดูร้อนและวันหยุดเทศกาลบอง<br />

โดยทั ่วไปโรงเรียนในประเทศญี ่ปุ ่นจะหยุดฤดูร้<br />

อนประมาณวันที ่ 20 กรกฏาคมถึงวันที ่ 31<br />

สิงหาคม (แตกต่างกันไป ขึ ้นกับท้องถิ ่น)<br />

ฤดูกาลนี ้จะมีอากาศร้อนมาก เกือบทุกบริษั<br />

ทจะกำหนดให้เป็นวันหยุดฤดูร้อน และวันที ่<br />

13 ถึง 15 กรกฎาคม หรือวันที ่ 13 ถึง<br />

15 สิงหาคม จะเรียกว่าวันหยุดเทศกาลบอง<br />

(แตกต่างกันขึ ้นกับท้องถิ ่นแต่ส่วนใหญ่จะเป็น<br />

เดือนสิงหาคม) ในช่วงนี ้กล่าวว่าดวงวิญญา<br />

ณของบรรพบุรุษจะกลับมายังบ้านเกิด ดังนั ้น<br />

ญาติพี ่น้องที ่กระจายกันอยู ่จะมารวมกันเพื ่<br />

อทำบุญให้กับดวงวิญญาณของบรรพบุรุษ<br />

ซึ ่งบริษัทส่วนใหญ่จะกำหนดให้มีวันหยุดฤดูร้อน<br />

ตรงกับเทศกาลบองนี ้<br />

5 อื ่น ๆ<br />

ในญี ่ปุ ่น เทศกาลคริสมาสต์ไม่ถือว่าเป็นวันหย<br />

ุด อย่างไรก็ตามครอบครัวญี ่ปุ ่นส่วนใหญ่จะเล<br />

้ยงฉลองคริสมาสต์<br />

ี<br />

6<br />

งานเทศกาล / นันทนาการของบริษัทรับฝึกงาน<br />

บริษัทรับฝึกงานของทุกท่าน<br />

อาจจะมีการจัดงานเทศกาล / นันทนาการในวัน<br />

ดังต่อไปนี ้ (ไม่ทุกบริษัท) โดยไม่ถือว่าเป็นวันหยุด<br />

ซึ ่งงานต่าง ๆ เหล่านี ้จะจัดขึ ้นหลังจากเลิกงาน<br />

โดยจะจัดเป็นงานเลี ้ยงกลางคืนส่วนใหญ่ และอาจเ<br />

ก็บค่างานเลี ้ยงด้วย<br />

1 วันก่อตั ้งบริษัท (จัดใหญ่เล็กต่างกันไป บางบ<br />

ริษัทจะจัดงานยิ ่งใหญ่มาก)<br />

2 งานเลี ้ยงต้อนรับ / งานเลี ้ยงส่ง<br />

(ต้อนรับพนักงานใหม่ หรือเลี ้ยงส่งผู ้ย้ายสาขาห<br />

รือออกจากงาน)<br />

3 งานเลี ้ยงส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ (งานเลี ้ยงภ<br />

ายในจัดขึ ้นปลายปี หรือจัดขึ ้นต้นปี)<br />

4 งานเลี ้ยงวันเกิด / งานเลี ้ยงคริสมาสต์<br />

ในงานเทศกาล/นันทนาการเช่นนี ้ หา<br />

กทุกท่านทำอาหารประจำชาติมาเลี ้ยง<br />

จะทำให้ผู ้อื ่นดีใจมาก ขอให้ทุกท่านเข้าร่วมงา<br />

นเลี ้ยงนี ้กันอย่างพร้อมหน้า เพื ่อเป็นประสบกา<br />

รณ์ที ่ดีในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

27


7<br />

ศาสนา<br />

ในประเทศญี ่ปุ ่น รัฐธรรมนูญให้เสรีในการนับถือ<br />

ศาสนา<br />

ศาสนาที ่แต่ละท่านนับถือ อาจต้องทำการสวดใน<br />

ระหว่างทำงานซึ ่งถือเป็นหน้าที ่สำคัญทางศาสนา<br />

ในกรณีเช่นนี ้ ให้ปรึกษาหารือกับผู ้ให้คำแนะนำก<br />

ารฝึกอบรม และทำการสวดด้วยวิธีที ่คนรอบข้างเ<br />

ข้าใจได้<br />

3<br />

การใช้ชีวิตในหอ<br />

เมื ่อทุกท่านรับการฝึกอบรม / ฝึกงานเทคนิคในบ<br />

ริษัทรับฝึกงาน ท่านอาจต้องเข้าอยู ่ และใช้ชีวิตใน<br />

หอที ่ทางบริษัทจัดเตรียมให้ หัวข้อต่อไปนี ้จะอธิบา<br />

ยเกี ่ยวกับหอที ่มีอยู ่ทั ่วไป<br />

หอที ่ทุกท่าน อาจเป็นสินทรัพย์ที ่บริษัทรับฝึกงานเ<br />

ป็นเจ้าของ หรืออพาร์ทเมนต์/บ้านที ่เช่าให้อยู ่ก็เป็<br />

นได้<br />

อนึ ่ง ทำเลที ่ตั ้งของหอมีทั ้งแบบที ่ตั ้งอยู ่ภายในพื ้น<br />

ที ่บริษัท กับอยู ่ห่างออกไปทำให้ต้องเดินทางมา<br />

ทำงาน<br />

1<br />

ประตูบ้าน<br />

บ้านของญี ่ปุ ่นจะมีพื ้นที ่ประตูบ้านที ่เรียกว่า<br />

“เกงคัง” เมื ่อเข้าไปในอาคารที ่พัก จะต้องถอด<br />

รองเท้าที ่พื ้นที ่ประตูบ้านนี ้ และเดินเท้าเปล่าหรือ<br />

สวมรองเท้าภายในอาคารแทน ในประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ประชาชนไม่นิยมที ่จะใส่รองเท้าที ่ใช้ภายนอกเดินเ<br />

ข้าไปในอาคาร<br />

อนึ ่ง ในพื ้นที ่หน้างานของบริษัทรับฝึกงาน<br />

จะทำการฝึกอบรม / ฝึกงานเทคนิคโดยให้ใส่รอ<br />

งเท้าใส่ภายนอก แต่ถ้าเป็นงานที ่ต้องป้องกันการแ<br />

ทรกซึมของฝุ ่นละออง เช่นงานประกอบอุปกรณ์<br />

อิเล็กทรอนิกส์ เมื ่อเดินทางเข้าไปในอาคาร ต้องเ<br />

ปลี ่ยนจากรองเท้าใส่ภายนอกเป็นรองเท้าใส่ภายใน<br />

2<br />

เสื ่อตาตามิ<br />

เสื ่อตาตามิเป็นเสื ่อที ่เป็นเอกลักษณ์ของประเทศญี ่<br />

ปุ ่นทำจากฟางแห้งนำมาเย็บด้วยด้ายให้เกาะแน่น<br />

และคลุมด้วยเปลือกต้นหญ้าชนิดหนึ ่ง ห้องที ่ปูด้ว<br />

ยเสื ่อตาตามิจะเป็นห้องสไตล์ญี ่ปุ ่น และห้องที ่ไม่<br />

ใช่สไตล์ญี ่ปุ ่นจะเป็นห้องสไตล์ตะวันตก (พื ้นไม้)<br />

ในห้องสไตล์ญี ่ปุ ่นจะไม่ใส่รองเท้าใช้ภายใน<br />

อนึ ่ง ในการอธิบายขนาดความกว้างของห้อง<br />

จะอธิบายว่าเป็นห้องขนาด 6 เสื ่อ หรือ 4.5<br />

เสื ่อครึ ่ง ตามจำนวนเสื ่อตาตามิ<br />

28


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

3<br />

ที ่นอน (ฟูตอง) และเตียง<br />

คนส่วนใหญ่ในโลกจะนอนโดยใช้เตียงนอน<br />

แต่ห้องนอนสไตล์ญี ่ปุ ่นจะปูที ่นอน (ฟูตอง)<br />

บนเสื ่อตาตามิ แล้วนอนบนเสื ่อนั ้น (แต่ปัจจุบัน<br />

มีการวางเตียงบนเสื ่อตาตามิเพิ ่มมาก<br />

ขึ ้น) ด้วยวิธีนี ้ ทำให้ต้องนำที ่นอน (ฟูตอง)<br />

ออกจากตู ้เก็บ “โอชิอิเระ” แล้วมาปูนอน<br />

และเมื ่อตื ่นนอนต้องพับที ่นอนเพื ่อเก็บในตู ้เก็บ<br />

“โอชิอิเระ” ทุกครั ้ง ทำให้สามารถใช้ห้องเป็นห้อง<br />

นอน และใช้เพื ่ออรรถประโยชน์อื ่นได้ด้วย<br />

ท่านอาจต้องปูที ่นอน (ฟูตอง)<br />

บนเสื ่อตาตามิเพื ่อนอน หรืออาจนอนบนเตียงสอง<br />

ชั ้นก็เป็นได้ ทั ้งนี ้จะนอนบนเตียงหรือที ่นอนก็ขึ ้น<br />

กับสภาพการณ์ของหอนั ้น<br />

4<br />

ครัวและอาหาร<br />

และในประเทศญี ่ปุ ่นสามารถดื ่มน้ำประปาได้<br />

อย่างไรก็ตาม น้ำประปาที ่มีนั ้นต้องผ่านการก<br />

รองโดยใช้ค่าใช้จ่ายสูงมากที ่โรงงานน้ำประปา<br />

เพื ่อให้กลายเป็นน้ำที ่มีคุณภาพสามารถดื ่มได้<br />

จึงควรใช้น้ำอย่างประหยัด<br />

ในการทำอาหารจะใช้แก๊สหุงต้ม แก๊สหุงต้มถื<br />

อเป็นเชื ้อเพลิงที ่เป็นประโยชน์ แต่ถ้าใช้อุปกร<br />

ณ์แก๊สผิดวิธี จะทำให้เกิด “พิษจากแก๊ส” หรือ<br />

“แก๊สระเบิด” ได้ ถือเป็นอันตรายอย่างยิ ่ง ในการ<br />

ใช้แก๊สขอให้ฟังคำสั ่งของผู ้แนะแนวชีวิตความเป็นอ<br />

ยู ่ และใช้อย่างปลอดภัย<br />

ตู ้เย็นที ่มีห้องแช่แข็งถือเป็นสิ ่งที ่มีความจำเป็นยิ ่ง<br />

เกือบทุกบริษัทที ่รับฝึกงาน จะมีตู ้เย็นเตรียมไว้ใ<br />

ห้แล้ว<br />

โดยหลักการแล้ว ทุกท่านต้องทำอาหารกินเอง<br />

ทุกท่านต้องเตรียมอาหารสำหรับตัวเอง ลำดับต่อ<br />

ไปจะแสดงวิธีการจัดเตรียมอาหารของผู ้รับการฝึก<br />

อบรม/ช่างเทคนิคฝึกงาน<br />

1 ข้อควรระวังทั ่วไปเกี ่ยวกับอาหาร<br />

i. ขอแนะนำให้ทุกท่านรับประทานอาหารครบ<br />

3 มื ้อทั ้งเช้า กลางวัน ค่ำ เพื ่อให้ใช้ชีวิตงา<br />

นและชีวิตส่วนตัวได้อย่างสมบูรณ์<br />

ii. ไม่ควรทานคาร์โบไฮเดรตจำพวกข้าว<br />

เจ้าหรือแป้งที ่ทำจากข้าวสาลีอย่างเดียว<br />

ควรเลือกทานผัก (วิตามิน เส้นใยอาหาร)<br />

เนื ้อและปลา (โปรตีน) เพื ่อให้ครบถ้วนทาง<br />

โภชนาการ<br />

iii. การทานเค็มเกินไปไม่ดีต่อสุขภาพร่างกาย<br />

ควรระวังที ่จะไม่ทานเกลือมากเกินไป<br />

2 อาหารเช้าและอาหารเย็น<br />

อาหารหลักคือข้าว ส่วนใหญ่แล้ว<br />

ผู ้รับการฝึกอบรม/ช่างเทคนิคฝึกงานสามารถ<br />

หุงข้าวด้วยหม้อหุงข้าว แล้วทำกับข้าวร่วมกัน<br />

เพื ่อทานด้วยกัน อนึ ่ง บางประเทศหรือพื ้นที ่อ<br />

าจจะไม่มีธรรมเนียมทานข้าวเป็นอาหารหลัก<br />

ในกรณีเช่นนี ้ ให้ปฏิบัติตามธรรมเนียมของแ<br />

ต่ละประเทศ<br />

29


3 อาหารเที ่ยง<br />

โดยทั ่วไปแล้ว จะทำอาหารกล่องในตอนเช้าเพื ่<br />

อนำไปทานที ่หน้างานของบริษัทรับฝึกงาน หา<br />

กหอกับที ่ทำงานอยู ่ใกล้กัน อาจจะกลับมาที ่หอ<br />

เพื ่อทานข้าวที ่หอก็ได้<br />

4 มารยาทบนโต๊ะอาหาร<br />

ในประเทศญี ่ปุ ่นจะทานอาหารโดยใช้ตะเกียบ<br />

บางท่านอาจจะมีธรรมเนียมทานข้าวโดยการ<br />

ป้อนมือ อาจจะรู ้สึกว่าไม่สะดวกที ่จะใช้ตะเกียบ<br />

ทานอาหาร ทำให้รู ้สึกว่าไม่อร่อย ถ้าทานกันเ<br />

องระหว่างเพื ่อน อาจป้อนมือทานก็ได้<br />

แต่ถ้าทานอาหารในร้านอาหารหรืองานเลี ้ยง<br />

ควรที ่จะทานอาหารโดยไม่ป้อนมือ<br />

อนึ ่ง การทิ ้งเศษอาหารลงพื ้นไม่เหมาะสมทาง<br />

โภชอนามัย<br />

5<br />

การอาบน้ำ<br />

โดยทั ่วไปทุกท่านอาจจะอาบน้ำจากฝักบัวในประเท<br />

ศของทุกท่าน แต่ในประเทศญี ่ปุ ่นจะอาบน้ำใน<br />

ห้องอาบน้ำ<br />

ห้องอาบน้ำของญี ่ปุ ่นจะประกอบด้วยส่วนที ่เป็น<br />

อ่างน้ำร้อน (อ่างน้ำ) กับส่วนล้างตัว (พื ้นล้าง)<br />

อ่างน้ำร้อนมีไว้เพื ่อแช่ให้ร่างกายอุ ่นตัว และจะล้า<br />

งร่างกายในพื ้นล้างแทน<br />

อีกทั ้ง ในญี ่ปุ ่นจะเข้าอาบน้ำกันเรียงตามลำดับ<br />

ซึ ่งต้องระวังที ่จะไม่ให้อ่างน้ำร้อนสกปรก และไม่ถ<br />

อดจุกอุดท่อปล่อยน้ำร้อนทิ ้งไป<br />

วิธีการอาบน้ำมีดังนี ้<br />

1 ไม่ลงแช่น้ำร้อนโดยตรง ก่อนที ่จะลงแช่ให้ล้าง<br />

ตัวโดยไม่ใช้สบู ่<br />

2 ลงแช่น้ำร้อน ในตอนนั ้น ไม่ควรที ่จะล้างตัวใน<br />

อ่างน้ำร้อน อีกทั ้ง ไม่ควรนำผ้าเช็ดตัวมาใช้ใ<br />

นอ่างน้ำร้อน หากรู ้สึกอุ ่นแล้วให้ขึ ้นจากอ่างน้ำ<br />

ร้อน<br />

3 สระผมและล้างตัวด้วยสบู ่ที ่พื ้นล้าง แล้วล้างน้ำใ<br />

ห้สบู ่และแชมพูที ่ติดตามตัวสะอาดหมดจด<br />

4 ลงแช่ในอ่างน้ำร้อนอีกครั ้งหนึ ่ง เมื ่อรู ้สึกอุ ่นใ<br />

ห้ขึ ้นจากอ่างน้ำร้อน เพื ่อเช็ดตัวด้วยผ้าเช็ดตัว<br />

5 ท้ายที ่สุดให้เช็ดตัวด้วยผ้าเช็ดตัวผืนใหญ่ที ่จุดเป<br />

ลี ่ยนเสื ้อผ้า<br />

บางท่านอาจมาจากประเทศที ่ไม่มีธรรมเนียมอ<br />

าบน้ำร้อน แต่การอาบน้ำร้อนนั ้นไม่ใช่เพียงแ<br />

ต่ทำให้ร่างกายรู ้สึกอบอุ ่น แต่ยังทำให้ร่างกายรู ้<br />

สึกผ่อนคลาย ดังนั ้นผู ้ที ่ไม่มีธรรมเนียมอาบน้ำ<br />

ร้อน ลองอาบน้ำร้อนด้วยนอกจากอาบจากฝัก<br />

บัว<br />

ในหอที ่มีขนาดใหญ่ จะมีห้องอาบ<br />

น้ำที ่หลายคนสามารถอาบพร้อมกันได้<br />

(แน่นอนว่าแยกชายหญิง) ในตอนแรกอาจรู ้สึก<br />

เคอะเขิน แต่ถ้าชินไปแล้วจะรู ้สึกไม่ลังเลเลย<br />

ชาวญี ่ปุ ่นเป็นคนที ่ชอบอาบน้ำแร่มาก หากมีบ่อ<br />

น้ำแร่ใกล้เคียงกับบริษัทที ่รับฝึกงานของทุกท่าน<br />

ลองเข้าไปใช้บริการอาบน้ำแร่ดู จะเป็นการสร้า<br />

งความทรงจำที ่ดีกับท่านในประเทศญี ่ปุ ่นได้<br />

ปัจจุบัน ชาวญี ่ปุ ่นเองจะอาบน้ำเฉพาะอาบฝัก<br />

บัวในฤดูร้อนเพิ ่มมากขึ ้น วิธีการใช้ฝักบัวอา<br />

บน้ำไม่แตกต่างจากวิธีการทุกท่านถนัดดีแล้ว<br />

อย่างไรก็ตาม หากอาบแต่น้ำฝักบัวในฤดูหนาว<br />

ซึ ่งอากาศหนาวมากในฤดูหนาว ทำให้ต้องอาบ<br />

ฝักบัวเป็นเวลานาน ทำให้เสียค่าน้ำและค่าเชื ้อเ<br />

พลิงสูงได้<br />

30


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

6<br />

ห้องส้วม<br />

ห้องส้วมในประเทศญี ่ปุ ่นมีแบบญี ่ปุ ่นกับแบบต<br />

ะวันตก แบบญี ่ปุ ่นถือเป็นแบบดั ้งเดิมและแบบ<br />

ตะวันตกเป็นแบบที ่ใช้กันในยุโรปและอเมริกา<br />

ดังแสดงในรูปต่อไปนี ้<br />

แบบญี ่ปุ ่น<br />

แบบตะวันตก<br />

ห้องส้วมญี ่ปุ ่นส่วนใหญ่เป็นแบบล้างน้ำ (ในบางแ<br />

ห่งอาจจะไม่เป็นแบบล้างน้ำ)<br />

หากเป็นแบบล้างน้ำ เมื ่อใช้เสร็จแล้ว ให้ทิ ้งกระดา<br />

ษชำระล้างชักโครกตามไปด้วย และควรใช้กระดา<br />

ษชำระแบบละลายน้ำได้ ซึ ่งหาซื ้อได้ตามซูเปอร์ม<br />

าเก็ตทั ่วไป<br />

สิ ่งอื ่นนอกจากกระดาษชำระ ให้ทิ ้งในกล่องที ่มีเตรี<br />

ยมไว้ให้ หากทิ ้งสิ ่งอื ่นนอกจากกระดาษชำระแล้ว<br />

อาจเป็นสาเหตุทำให้ห้องส้วมอุดตันได้<br />

บางท่านอาจเคยชินกับการล้างด้วยน้ำโดยไม่ใช้กร<br />

ะดาษชำระ แต่อุปกรณ์ห้องน้ำญี ่ปุ ่นไม่ได้สร้างมา<br />

เพื ่อใช้สำหรับการใช้งานดังกล่าว<br />

ปัจจุบัน มีห้องน้ำแบบตะวันตก “พร้อมน้ำฉีดล้าง”<br />

ที ่จะทำการฉีดล้างหลังเสร็จธุระเป็นที ่แพร่หลาย<br />

มากขึ ้น หากที ่หอหรือที ่บริษัทเป็นห้องน้ำแบบ<br />

“พร้อมน้ำฉีดล้าง” ให้สอบถามวิธีการใช้งานจาก<br />

ผู ้แนะนำการใช้ชีวิต เพราะหากใช้ผิดวิธีจะ<br />

ทำให้น้ำอุ ่นสำหรับฉีดล้างพุ ่งออกมาเหมือนน้ำพุ<br />

ทำให้พื ้นเปียกได้<br />

31


7<br />

ที ่ล้างหน้า<br />

หอส่วนใหญ่ จะมีที ่ล้างหน้าอยู ่ใกล้บริเวณห้องส้วม<br />

เมื ่อตื ่นนอนตอนเช้า สามารถล้างหน้า แปรงฟัน<br />

แต่งผม (หากเป็นผู ้ชายจะโกนหนวด หรือเป็นผู ้ห<br />

ญิงจะแต่งหน้า) ที ่บริเวณนี ้ได้<br />

ปัญหาที ่มักเกิดขึ ้นในที ่ล้างหน้าคือการปล่อยให้เส้น<br />

ผมที ่เกิดจากการหวีตกลงไปอุดตันท่อ จึงควรระวัง<br />

ไม่ให้เกิดเรื ่องเช่นนั ้นได้<br />

ส่วนใหญ่แล้วจะมีเครื ่องซักผ้าไฟฟ้าวางไว้ภายใน<br />

ที ่ล้างหน้าหรือบริเวณใกล้เคียง สามารถใช้เครื ่อง<br />

ซักผ้านี ้ซักผ้าได้<br />

8<br />

การทำความสะอาด<br />

เพื ่อรักษาบริเวณภายในหอให้สะอาด ควรทำควา<br />

มสะอาดภายในหอสองสามครั ้งต่อสัปดาห์เป็นอย่า<br />

งน้อย โดยเฉพาะอย่างยิ ่ง ห้องครัว ห้องอาบน้ำ<br />

ห้องส้วมและที ่ล้างหน้าซึ ่งเป็นบริเวณที ่ใช้งานร่วม<br />

กัน ควรทำความสะอาดให้เรียบร้อย สถานที ่ที ่ใ<br />

ช้ร่วมกันเช่นนี ้ ควรกำหนดเวรในการทำความสะ<br />

อาดเพื ่อไม่ให้เกิดความไม่ยุติธรรม<br />

9<br />

ไฟฟ้า (แรงดันไฟฟ้า)<br />

แรงดันไฟฟ้าในประเทศญี ่ปุ ่นคือ 100 โวลท์<br />

ควรระมัดระวังหากจะนำเครื ่องใช้ไฟฟ้ามาใช้งาน<br />

1 0<br />

การเดินทางไปทำงาน<br />

ส่วนใหญ่แล้วหอพักของทุกท่านจะอยู ่ใกล้เคียงกับที ่<br />

ทำงาน จึงสามารถเดินทางไปทำงานด้วยการเดินเ<br />

ท้าหรือขี ่จักรยานไปทำงาน หากหอพักอยู ่ห่างจาก<br />

ที ่ทำงาน ส่วนใหญ่จะไปทำงานโดยนั ่งรถที ่ทางบ<br />

ริษัทจัดให้ และส่วนน้อยเท่านั ้นที ่ต้องเดินทางไป<br />

ทำงานด้วยการนั ่งรถบัสหรือใช้บริการขนส่งมวลช<br />

น อย่างไรก็ตาม หากต้องเดินทางด้วยการใช้บริก<br />

ารขนส่งมวลชน ทางบริษัทจะออกค่าเดินทางให้<br />

1 1<br />

การส่งเสียงดัง<br />

โดยทั ่วไปแล้ว ชาวญี ่ปุ ่นค่อนข้างรู ้สึกไวต่อการส่ง<br />

เสียงดัง<br />

หากฟังดนตรีโดยเปิดเสียงดัง หรือพูดคุย<br />

กับเพื ่อนเสียงดังในขณะที ่อยู ่ในหอ อาจทำใ<br />

ห้ชาวบ้านข้างเคียงเดือดร้อนเป็นปัญหาขึ ้นได้<br />

ควรระวังเป็นอย่างยิ ่ง โดยเฉพาะเวลากลางคืน<br />

32


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

4<br />

การทิ ้งขยะ<br />

เทศบาลญี ่ปุ ่นส่วนใหญ่จะจัดเก็บขยะแบบให้มีการคั<br />

ดแยกขยะ โดยทั ่วไปแล้วจะแบ่งเป็น “ขยะเผาได้”<br />

กับ “ขยะห้ามเผา” แต่บางเทศบาลอาจมีกฎเกณ<br />

ฑ์ที ่ต่างกันไปเล็กน้อย อีกทั ้งจุดทิ ้งขยะหรือวันในแ<br />

ต่ละสัปดาห์ที ่สามารถทิ ้งขยะได้จะแตกต่างกันไป<br />

หากทิ ้งขยะเป็นครั ้งแรก ควรขอคำแนะนำจากผู ้แ<br />

นะนำการใช้ชีวิต และทำการทิ ้งขยะตาม<br />

วิธีที ่ได้รับคำสอน อนึ ่ง กฎการคัดแยกขยะนั ้น<br />

แม้แต่ชาวญี ่ปุ ่นเอง ยังอาจไม่เข้าใจ ซึ ่งเป็นสิ ่งที ่ยา<br />

กสำหรับทุกท่านที ่เป็นชาวต่างชาติ อาจต้องใช้เวล<br />

าจนกว่าจะเคยชิน ดังนั ้น หากไม่เข้าใจ ควรสอบ<br />

ถามผู ้แนะนำการใช้ชีวิต การถามไม่ใช่เป็นสิ ่งที ่น่า<br />

ละอาย แต่ควรระวังที ่จะไม่ก่อให้เกิดปัญหากับชาว<br />

บ้านในท้องถิ ่นเนื ่องจากไม่ปฏิบัติตามกฎเกณฑ์<br />

5<br />

การซื ้อของ<br />

1<br />

วิธีการซื ้อของ<br />

ทุกท่านสามารถซื ้อหาสิ ่งของเครื ่องใช้ประจำวัน<br />

และอาหารได้จากซูเปอร์มาเก็ตหรือร้านค้าที ่อยู ่ใก<br />

ล้กับหอ ซึ ่งจะมีการโฆษณาสินค้าราคาถูกในแผ่น<br />

พับที ่ติดมากับหนังสือพิมพ์ ทุกท่านสามารถขอข้อ<br />

มูลจากผู ้แนะนำการใช้ชีวิตได้<br />

นอกจากนี ้ยังมีร้านสะดวกซื ้อ (เรียกสั ้น ๆ ว่า<br />

“คอมบินิ”) ซึ ่งเป็นซูเปอร์มาเก็ตขนาดเล็กเปิดบริก<br />

าร 24 ชั ่วโมง ซึ ่งสะดวกในกรณีที ่จำเป็นต้องกา<br />

รสิ ่งของในเวลาค่ำคืน แต่ราคาไม่ได้ถูกอย่างซูเป<br />

อร์มาเก็ต<br />

สิ ่งที ่ต้องควรระวังในการซื ้อของมีดังนี ้<br />

1 ไม่หยิบสิ ่งของที ่วางเรียงบนหิ ้งมาดูโดยไม่จำเ<br />

ป็น โดยเฉพาะของสด และผลไม้ที ่บอบบางต้อ<br />

งระวังเป็นพิเศษ<br />

2 อาหารชิมได้จะวางให้รู ้ว่าเป็นอาหารที ่สามารถ<br />

ชิมได้ ไม่ทานอาหารที ่ไม่ใช่อาหารชิมได้<br />

3 ราคาสินค้ากำหนดตามป้ายที ่ติดไว้<br />

ไม่สามารถต่อรองราคาได้<br />

4 การลักขโมยสินค้าถือเป็นการกระทำที ่ผิด<br />

กฎหมาย ห้ามเป็นอันขาด กรณีที ่รุนแรง<br />

จะถูกตำรวจจับตัว และมีโทษร้ายแรงถึงขั ้นส่ง<br />

ตัวกลับประเทศได้<br />

33


2<br />

ภาษีบริโภค<br />

หากซื ้อสินค้า ท่านต้องจ่ายภาษีบริโภค 5 %<br />

และราคาสินค้าที ่แสดงไว้เป็นราคารวมภาษีบริโภ<br />

คแล้ว<br />

3<br />

เครื ่องขายอัตโนมัติ<br />

ในญี ่ปุ ่นเกือบทุกที ่จะมีเครื ่องขายอัตโนมัติติดตั ้งอยู ่<br />

สามารถซื ้อน้ำดื ่ม บุหรี ่ หรือเครื ่องดื ่มอัลกอฮอ<br />

ล์ลเช่นเบียร์ได้ อย่างไรก็ตาม เครื ่องขายอัตโน<br />

มัติขายบุหรี ่และเครื ่องดื ่มอัลกอฮอล์ลจะหยุดขาย<br />

อัตโนมัติเมื ่อเวลา 23 นาฬิกา<br />

ตามกฎหมายประเทศญี ่ปุ ่น ผู ้มีอายุไม่ถึง 20 ปี<br />

ห้ามสูบบุหรี ่และดื ่มเครื ่องดื ่มอัลกอฮอล์ล ซึ ่งทุกท่า<br />

นที ่เป็นชาวต่างชาติต้องปฏิบัติตามกฎหมายนี ้ด้วย<br />

6<br />

ตำรวจและพนักงานดับเพลิง<br />

1<br />

หน้าที ่หลักของตำรวจญี ่ปุ ่นคือ<br />

1 ป้องกันอาชญากรรมและสอบสวนคดี 2<br />

รักษาความปลอดภัยบนท้องถนนและแก้ปัญหาเมื ่อ<br />

เกิดอุบัติเหตุจราจร 3 สืบหาผู ้สูญหายและจัดเก็บ<br />

สิ ่งของที ่สูญหาย 4<br />

รักษาความมั ่นคงของประเทศ เป็นต้น<br />

หากท่านพบเห็นอุบัติเหตุจราจร การลักขโมย<br />

หรืออาชญากรรม ต้องให้ความร่วมมือกับท<br />

างเจ้าหน้าที ่ตำรวจ หากต้องการแจ้งตำรวจ<br />

ให้โทรหมายเลข “110” ซึ ่งเป็นหมายเลขที ่สามา<br />

รถใช้ได้เหมือนกันทั ่วประเทศญี ่ปุ ่นในการแจ้งตำร<br />

วจ<br />

ในเมืองใหญ่จะมีสถานีตำรวจย่อยที ่เรียกว่า<br />

“โคบัง” ซึ ่งเป็นลักษณะเฉพาะของประเทศญี ่ปุ ่น<br />

โดยจะมีเจ้าหน้าที ่ตำรวจประจำให้บริการอยู ่<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นได้ชื ่อว่าเป็นประเทศที ่มีความปลอด<br />

ภัยสูงมากประเทศหนึ ่งในโลก อย่างไรก็ตาม<br />

ถึงแม้ว่าจะมีความปลอดภัยสูง ผู ้หญิงก็ไ<br />

ม่ควรเดินคนเดียวในเวลากลางคืน หากผู ้หญิ<br />

งมีความจำเป็นต้องออกนอกบ้านเวลาค่ำคืน<br />

ควรไปด้วยกันไม่น้อยกว่า 2 คน<br />

2<br />

พนักงานดับเพลิง<br />

งานหลักของพนักงานดับเพลิงคือ 1 ป้องกัน<br />

อัคคีภัยและดับเพลิง 2 ให้การช่วยเหลือผู ้ประส<br />

บภัย 3 ให้ความช่วยเหลือเมื ่อเกิดภัยธรรมชาติ<br />

หากท่านพบเห็นเพลิงไหม้ ผู ้ป่วยหรือผู ้บาดเจ็บ<br />

ให้รีบโทรศัพท์แจ้งไปยังสถานีดับเพลิงโดยทันที<br />

หมายเลขโทรศัพท์คือ “119” ซึ ่งโทรได้จากทุก<br />

34


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

ที ่ทั ่วประเทศญี ่ปุ ่น<br />

หากเกิดอุบัติเหตุจราจร และมีผู ้ได้รับบาดเจ็บ<br />

ให้แจ้งทั ้งตำรวจและพนักงานดับเพลิง<br />

7<br />

กฎจราจร<br />

ในประเทศญี ่ปุ ่น “คนเดินเท้าชิดขวา<br />

ยานพาหนะชิดซ้าย” บางท่านอาจจะมาจากประเท<br />

ศที ่มี “ยานพาหนะชิดขวา”<br />

ซึ ่งการจราจรของร<br />

ถยนต์จะตรงกันข้ามกัน จึงควรระวังเมื ่อจะเดินข้า<br />

มถนน<br />

จักรยานเป็นพาหนะที ่มีความสะดวกยิ ่ง แต่มีผู ้รับ<br />

การฝึกอบรมชาวต่างชาติไม่น้อยที ่ประสบอุบัติเหตุ<br />

(ถึงแก่ชีวิตด้วย) ดังนั ้น เพื ่อเป็นการป้องกันไม่ให้เ<br />

กิดอุบัติเหตุบนท้องถนน ควรที ่จะปฏิบัติตามกฎจร<br />

าจรต่อไปนี ้ เพื ่อความปลอดภัยของทุกท่าน<br />

1 ต้องปฏิบัติตามสัญญาณไฟจราจร<br />

โดยเฉพาะเมื ่อจะเลี ้ยวขวา<br />

2 ให้คนเดินเท้าไปก่อนเสมอ<br />

ขี ่จักรยานบนทางเท้าได้ แต่ต้องระวังคนเดินเ<br />

ท้าก่อนเสมอ<br />

3 จักรยานให้ชิดซ้าย<br />

4 ห้ามนั ่งซ้อนจักรยาน<br />

5 หากขี ่จักรยานไปเป็นกลุ ่ม ให้ขับเรียงแถวยาวเ<br />

ป็นเส้นตรง ไม่ขี ่จักรยานเรียงหน้ากระดานแล้ว<br />

คุยกับเพื ่อฝูง เพราะเป็นต้นเหตุที ่ทำให้เกิดอุบั<br />

ติเหตุได้<br />

6 เวลากลางคืนไม่ควรใช้จักรยาน<br />

หากจำเป็นต้องใช้ ให้ติดแผ่นป้ายสะท้อนแสง<br />

ที ่จักรยาน หรือใส่ “ที ่คล้องไหล่”<br />

ซึ ่งสะท้อนแสง เพื ่อให้ผู ้ขับรถได้รู ้ได้<br />

7 อนึ ่ง ที ่ JITCO ได้จัดทำวิดีโอ “วิธีการ<br />

ขี ่จักรยานอย่างถูกต้องตามท้องถนญี ่ปุ ่น” ไว้<br />

สามารถหาชมได้<br />

35


8<br />

การใช้บริการขนส่งมวลชน<br />

1<br />

รถไฟฟ้า<br />

รถไฟฟ้าในประเทศญี ่ปุ ่นเดินรถอย่างแม่นยำตามต<br />

ารางเวลา หากต้องซื ้อตั ๋วรถไฟระยะทางสั ้น ให้ซื ้<br />

อตั ่วได้ที ่เครื ่องขายตั ๋วก่อนที ่จะขึ ้นรถไฟฟ้า ค่าร<br />

ถไฟฟ้าจะแตกต่างกันขึ ้นกับระยะทาง และแสดงส<br />

ถานี ่เป็นภาษาญี ่ปุ ่น (เมืองใหญ่บางแห่งอาจแสดงเ<br />

ป็นภาษาอังกฤษ) หากจะนั ่งรถไฟฟ้าเป็นครั ้งแรก<br />

ให้ผู ้แนะนำการใช้ชีวิตเป็นผู ้แนะนำการเดินทางให้<br />

2<br />

รถบัส<br />

รถบัสจะได้รับผลกระทบต่อการจราจรเป็นอย่างยิ ่ง<br />

จึงไม่ตรงต่อเวลาเหมือนดังเช่นรถไฟฟ้า ค่ารถบัส<br />

จะแตกต่างกันไปขึ ้นกับระยะทาง แต่ก็มีรถบัสที ่เ<br />

ป็นรถประจำทางซึ ่งคิดค่ารถเป็นราคาเดียว<br />

วิธีการใช้รถบัสโดยทั ่วไปเป็นดังนี ้<br />

1 ก่อนอื ่นให้ขึ ้นรถบัสจากทางด้านหลังของรถ<br />

บัส แล้วรับ “ตั ๋วรถบัส” ซึ ่งใน “ตั ๋วรถบัส”<br />

มีหมายเลขพิมพ์ไว้อยู ่ ซึ ่งแสดงหมายเลขป้าย<br />

ที ่ได้ขึ ้นรถบัส อนึ ่ง ในรถบัสจะไม่มีคนเก็บเงิน<br />

2 ด้านหน้าของรถบัสจะมีป้ายติดไฟ โดยตัวเ<br />

ลขแสดงค่ารถจะเปลี ่ยนไปตามระยะทางที ่วิ ่ง<br />

ค่ารถที ่ท่านต้องจ่ายจะแสดงอยู ่ในกรอบใต้หมา<br />

ยเลขที ่เป็นเลขเดียวกับ “ตั ๋วรถบัส”<br />

3 หากมีเสียงแจ้งว่าจะถึงป้ายรถบัสทีต้องการลง<br />

ให้กดปุ ่ม “หยุดรถบัส”<br />

4 เมื ่อรถบัสจอด ให้ยื ่น “ตั ๋วรถบัส”<br />

กับเงินค่ารถบัสโดยใส่ในกล่องเงินข้างคน<br />

ขับ หากต้องการเงินทอน ให้แจ้งคนขับ<br />

เพื ่อขอรับเงินทอน<br />

5 อนึ ่ง ถ้าไม่ใช่คนในท้องถิ ่นเอง แม้แต่ชาวญี ่<br />

ปุ ่นก็มักจะใช้รถบัสไม่ถูกเช่นกัน<br />

หากจะนั ่งรถบัสเป็นครั ้งแรก ให้ผู ้แนะนำการใ<br />

ช้ชีวิตเป็นผู ้แนะนำการเดินทางให้<br />

9<br />

ธนาคารและสำนักงานไปรษณีย์<br />

1<br />

ธนาคาร<br />

โดยทั ่วไป ค่าเบี ้ยเลี ้ยงการฝึกอบรมหรือค่าจ้<br />

างจะจ่ายโดยโอนเข้าบัญชีธนาคารโดยตรง<br />

(หรือบัญชีไปรษณีย์) หากมีบัตร ATM ก็สา<br />

มารถเบิกเงินหรือฝากเงินเข้าออกบัญชีตัวเองไ<br />

ด้โดยไม่ต้องไปธนาคาร ซึ ่งถือว่าสะดวกมาก<br />

อย่างไรก็ตาม บัตรอาจหายได้ จึงควรเก็บรักษาไ<br />

ว้อย่างดี<br />

หากเดินทางมาถึงประเทศญี ่ปุ ่น<br />

คงจะเปิดบัญชีโดยทันที ควรที ่จะปฏิบัติตามคำแนะ<br />

นำของผู ้แนะนำการใช้ชีวิต<br />

นอกจากนี ้ หากต้องการส่งเงินออกนอกป<br />

ระเทศให้กับครอบครัวในประเทสของตน<br />

36


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

ขั ้นตอนจะยุ ่งยากขึ ้น ให้ปรึกษาผู ้แนะนำการใช้ชีวิ<br />

ตได้<br />

2<br />

สำนักงานไปรษณีย์<br />

ทั ่วประเทศญี ่ปุ ่นมีสำนักงานไปรษณีย์อยู ่เต็มไปหม<br />

ด ค่าดวงตาไปรษณีย์นั ้น ถ้าส่งในเขตทวีปเอเซีย<br />

เป็นจดหมายจะเสีย 90 เยน สำหรับซองที ่มีนน้ำ<br />

หนักไม่เกิน 25 กรัม และ 160 เยนสำหรับซอ<br />

งที ่มีน้ำหนักไม่เกิน 50 กรัม สำหรับการ์ดอวยพ<br />

รขนาดไปรษณียบัตรเสีย 70 เยน<br />

ที ่สำนักงานไปรษณีย์ สามารถถอนฝากเงิน<br />

และส่งเงินข้างประเทศได้ (เฉพาะสำนักงานไปรษ<br />

ณีย์ที ่มีขนาดใหญ่)<br />

1<br />

10<br />

โทรศัพท์<br />

โทรภายในประเทศ<br />

1 ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการโทรรับคำปรึกษาแนะ<br />

นำเป็นภาษาของตนจากผู ้ให้คำปรึกษาแนะนำ<br />

ให้กด 03-3233-0578 อนึ ่ง หากกดหมายเ<br />

ลขโทรศัพท์จากเขตโตเกียว ไม่จำเป็นต้องกดเ<br />

ลขสองหลักแรก “03” แต่อย่างไร<br />

2 ค่าโทรศัพท์จะเปลี ่ยนแปลงไปตามระยะทางระห<br />

ว่างคู ่สายและระยะเวลาในการโทร<br />

2<br />

การโทรต่างประเทศ<br />

ตัวอย่างเช่น ถ้าต้องการโทรไปยังหมายเลข<br />

0123-456789 ในประเทศจีนจากประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ให้โทรตามขั ้นตอนดังต่อไปนี ้<br />

1 กดหมายเลขโทรศัพท์ผู ้ให้บริการโทรทางไกล<br />

ต่างประเทศ (ซึ ่งมีมี 4 หมายเลขคือ 001,<br />

0041, 0061, 0033 ในที ่นี ้จะขอยกตัวอย่าง<br />

กรณีหมายเลข 001)<br />

2 กดหมายเลขแสดงว่าโทรทางไกล (010)<br />

3 กดหมายเลขประเทศจีน (86)<br />

4 กดหมายเลขพื ้นที ่ในประเทศจีน (123 :<br />

ตัดเลข 0 ด้านหน้าออก)<br />

5 กดหมายเลขโทรศัพท์ปลายทาง (456789)<br />

6 ให้กดหมายเลขข้างต้นตามลำกดับ<br />

กล่าวคือให้กดหมายเลข 001-010-86-<br />

123-456789<br />

เนื ่องจากค่าโทรศัพท์ทางไกลแพง จึงขอแนะ<br />

นำให้ใช้บัตรโทรศัพท์ที ่แสดงให้เห็นได้ว่าใช้โท<br />

รไปมากน้อยเท่าไร<br />

3<br />

การใช้โทรศัพท์มือถือ<br />

หากต้องการใช้โทรศัพท์มือถือ ให้ระมัดระวังในเ<br />

รื ่องต่อไปนี ้<br />

1 การใช้โทรศัพท์มือถือในโรงพยาบาล<br />

หรือในเครื ่องบิน อาจทำให้เกิดผลกระทบต่อเค<br />

รื ่องมือทางการแพทย์หรือต่ออุปกรณ์ควบคุมก<br />

ารบินได้ จึงห้ามใช้ในสถานที ่ดังกล่าวเป็นอันข<br />

37


าด<br />

2 ห้ามใช้โทรศัพท์มือถือในรถไฟฟ้า หรือรถบัส<br />

เพราะอาจจะมีผู ้ป่วยที ่ใช้เครื ่องกระตุ ้นการเต้น<br />

หัวใจขึ ้นรถมาได้ อนึ ่ง อาจมีชาวญี ่ปุ ่นที ่ใช้โท<br />

รศัพท์มือถือในรถไฟฟ้า ถือว่าเป็นคนที ่มีมารย<br />

าทไม่เหมาะสม ไม่ควรเอาเป็นเยี ่ยงอย่าง<br />

3 ในระหว่างทำงาน หรือระหว่างชมภาพยนต์<br />

ควารปิดโทรศัพท์มือถือ<br />

4 ถึงแม้ว่าจะอยู ่ในจุดที ่สามารถใช้โทรศัพท์มือถือ<br />

ได้ แต่ไม่ควรพูดเสียงดังเป็นการสร้างความเ<br />

ดือดร้อนให้กับผู ้อื ่น<br />

ผู ้ใช้โทรศัพท์มือถือต้องจ่ายค่าโทรศัพท์มือถือข<br />

องตนให้กับบริษัทโทรศัพท์จนครบถ้วนก่อนที ่จะ<br />

เดินทางกลับประเทศ หากไม่จ่ายให้เรียบร้อย<br />

ก่อนเดินทางกลับประเทศ อาจะเกิดปัญหากับท<br />

างบริษัทมือถือได้ ทั ้งนี ้โทรศัพท์มือถือแบบจ่าย<br />

ก่อนใช้ทีหลัง จะสะดวกกว่าเพราะไม่ต้องจ่าย<br />

ค่าโทรศัพท์ให้เรียบร้อย<br />

1<br />

11<br />

มาตรการรองรับแผ่นดินไหว คลื ่นยักษ์ทซึนามิ และไต้ฝุ ่น<br />

แผ่นดินไหว<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นได้ชื ่อว่าเป็นประเทศที ่มีแผ่นดินไหวม<br />

าก อาจรู ้สึกตกใจได้ที ่อยู ่ดี พื ้นดินหรือตัวอาคาก<br />

สั ่นไหว อย่างไรก็ตามไม่<br />

ว่าจะไหวอย่างไรก็ตาม จะหยุดภายใน 1 นาที<br />

ดังนั ้น หากเกิดแผ่นดินไหว ให้ตั ้งสติทำใจเย็น<br />

และระวังในเรื ่องต่อไปนี ้<br />

1 ก่อนอื ่น ให้ปิดต้นไฟให้หมด หากทำอาหารอ<br />

ยู ่ให้ตั ้งสติปิดไฟของเตาแก๊ส หากเป็นฤดูหนาว<br />

ให้ปิดไฟของเครื ่องทำความร้อนเช่นฮีตเตอร์<br />

ก่อน หากสูบบุหรี ่อยู ่ ให้รีบดับบุหรี ่โดยทันที<br />

2 ก้มตัวหลบอยู ่ใต้โต๊ะที ่แข็งแรง<br />

3 ไม่ตื ่นเต้นตกใจวิ ่งออกนอกอาคาร เพราะอาจ<br />

ได้รับบาดเจ็บถ้ามีกระจกตกมาแตกได้<br />

4 หากแผ่นดินไหวรุนแรง อาจเกิดอาฟเตอร์ช๊อค<br />

เป็นอันตรายได้ ให้รีบหนีไปอยู ่ในที ่ปลอดภัยอ<br />

ย่างรวดเร็ว<br />

5 หากอยู ่ระหว่างรับการฝึกอบรม (หรือระหว่าง<br />

ฝึกงานเทคนิค) ให้ปฏิบัติตามคำสั ่งของคนในบ<br />

ริษัท หรือผู ้แนะนำการฝึกอบรม<br />

6 หากอยู ่ที ่หอพักในวันหยุดหรือเวลากลางคืน<br />

ให้ปฏิบัติตามคำสั ่งของเพื ่อนบ้านข้างเคียงห<br />

รือคนที ่สนิทสนม และตั ้งสติปฏิบัติตามนั ้น<br />

และพยายามหาทางแจ้งให้ผู ้รับผิดชอบ เช่น<br />

ผู ้แนะนำการฝึกอบรม โดยเร็วไว<br />

38


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

2<br />

คลื ่นยักษ์ทซึนามิ<br />

1 คลื ่นยักษ์ทซึนามิจะเกิดขึ ้นหลังจากเกิดแผ่นดินไ<br />

หว หากเกิดแผ่นดินไหว และทำงานอยู ่บริเวณ<br />

ใกล้เคียงกับชายทะเล หรืออยู ่หอพักที ่อยู ่ใกล้ช<br />

ายทะเล ให้ระวังคลื ่นยักษ์ทซึนามิด้วย<br />

2 หากอยู ่ระหว่างรับการฝึกอบรม (หรือระหว่าง<br />

ฝึกงานเทคนิค) ให้ปฏิบัติตามคำสั ่งของคนในบ<br />

ริษัท หรือผู ้แนะนำการฝึกอบรม<br />

3 หากอยู ่หอพักเวลาค่ำคืนหรือวันหยุด แล้วรู ้สึก<br />

ว่ามีแผ่นดินไหวรุนแรง ให้รีบเปิดโทรทัศน์<br />

โทรทัศน์ทุกช่องจะแพร่ภาพให้ข่าวเกี ่ยวกับควา<br />

มเป็นไปได้ในการเกิดคลื ่นยักษ์ทซึนามิขึ ้นหลังเ<br />

กิดแผ่นดินไหวไม่กี ่นาที<br />

หากมี “คำเตือนระวังคลื ่นยักษ์ทซึนามิ”<br />

เกิดขึ ้น ให้ตั ้งสติ และพยายามหนีไปอยู ่ในที ่สู<br />

งเท่าที ่จะทำได้ ควรที ่จะปฏิบัติตามคำสั ่งของเ<br />

พื ่อบ้านข้างเคียงหรือคนที ่สนิทสนมด้วย อีกทั ้ง<br />

ในการหนีนั ้น ไม่ควรหยิบสิ ่งของติดตัวไปด้วย<br />

และควรที ่จะแจ้งให้ผู ้รับผิดชอบด้านการฝึกอบร<br />

มทราบโดยเร็วไว<br />

4 ในการป้องกันความเสียหายที ่จะเกิดขึ ้นจากแผ่<br />

นดินไหวหรือคลื ่นยักษ์ทซึนามินั ้น ต้องตั ้งสติ<br />

และปฏิบัติตนอย่างสุขุมรอบคอบ<br />

3<br />

ไต้ฝุ ่น<br />

ประเทศญี ่ปุ ่นเกิดไต้ฝุ ่นบ่อย แต่จะต่างกับแผ่นดินไ<br />

หวที ่ว่าจะไม่เกิดไต้ฝุ ่นขึ ้นในทันควัน และไต้ฝุ ่นมัก<br />

จะเกิดในช่วงระหว่างฤดูร้อนไปยังฤดูใบไม้ผลิ<br />

หากเกิดไต้ฝุ ่นขึ ้นใกล้กับเกาะญี ่ปุ ่น ข่าวและพยา<br />

กรณ์อากาศของญี ่ปุ ่นจะออกข่าวแสดงถึงขนาด<br />

และเส้นทางที ่ไต้ฝุ ่นมีโอกาสจะผ่านโดยละเอียด<br />

หากท้องถิ ่นที ่ฝึกอบรมอยู ่จะถูกไต้ฝุ ่นเข้าอย่างจัง<br />

บริษัทรับฝึกงานอาจจะหยุดงานเป็นการชั ่วคราวได้<br />

จึงควรปฏิบัติตามคำสั ่งของผู ้รับผิดชอบหรือผู ้แนะ<br />

นำการฝึกอบรมของบริษัทนั ้น<br />

หากไต้ฝุ ่นเข้า จะเกิดพายุฝนและลมอย่างรุนแรง<br />

ดังนั ้น<br />

1 ให้ปิดหน้าต่างกันลมให้แน่นหนา<br />

2 ห้ามออกจากบ้านหากไม่มีเรื ่องเร่งด่วน<br />

เพราะสิ ่งของอาจจะลอยมา ต้นไม้โค่นล้มเป็น<br />

อันตรายได้<br />

3 หากเกิดไฟฟ้าดับ จึงควรเตรียมพร้อมไว้ด้วยไ<br />

ฟฉาย หรือเทียน เป็นต้น<br />

39


4<br />

การเตรียมการรองรับ<br />

ให้เตรียมเวชภัณฑ์ ยา น้ำและอาหารเพื ่อรองรับ<br />

สถานการณ์ฉุกเฉิน โดยปรึกษากับผู ้แนะนำการใ<br />

ช้ชีวิต และเตรียมสิ ่งต่าง ๆ ดังกล่าวนี ้ไว้<br />

นอกจากนี ้ เทศบาลส่วนใหญ่จะกำหนดจุดหลบภัย<br />

ไว้ จึงควรศึกษาตำแหน่งที ่ตั ้งของจุดหลบภัยไว้ก่อ<br />

นล่วงหน้า เพื ่อรองรับสถานการณ์<br />

12<br />

หากได้รับบาดเจ็บหรือป่วยเป็นไข้<br />

หากป่วยเป็นไข้ในต่างประเทศ ความที ่ไม่สามา<br />

รถพูดภาษาได้คล่อง อาจทำให้รู ้สึกโดดเดี ่ยวได้<br />

อย่างไรก็ตาม ระดับการแพทย์ของประเทศญี ่ปุ ่น<br />

ถือว่าสูง จึงไม่ควรเป็นกังวลแต่อย่างไร<br />

หากต้องไปหาแพทย์ ต้องปฏิบัติตามขั ้นตอนหรือ<br />

จ่ายค่าบริการที ่จำเป็น จึงควรให้ผู ้แนะนำการใช้ชี<br />

วิตเป็นผู ้พาไป<br />

ถ้ายังใช้ภาษาญี ่ปุ ่นได้ไม่คล่องแคล่ว ให้ใช้<br />

“ใบแจ้งข้อมูลส่วนตัว ต่อสถาบันทางการแพทย”<br />

ที ่ได้แสดงในบทที ่ 3 หน้า 22 โดยสามารถเช็ค<br />

หัวข้อที ่แสดงอาการป่วยของโรคได้ และเป็นประ<br />

โยชน์ต่อการวินิจฉัยของแพทย์ โดยมีจัดเตรียมไว้<br />

5 ภาษาคือ ภาษาอังกฤษ ภาษาจีน<br />

ภาษาอินโดนีเซีย และภาษาไทย<br />

หากป่วยเป็นไข้หรือได้รับบาดเจ็บในเวลาค่ำคืน<br />

หรือวันหยุด และมีอาการรุนแรง ให้โทรศัพท์แ<br />

จ้งสถานีดับเพลิง (หมายเลขโทรศัพท์ : 119)<br />

ให้เรียกรถพยาบาลฉุกเฉิน พาไปโรงพยาบาล<br />

และไม่ควรลืมที ่จะแจ้งให้ผู ้แนะแนวการใช้ชีวิตทรา<br />

บด้วย<br />

สำหรับค่าใช้จ่ายจะสามารถใช้ “ประกันสุขภาพขอ<br />

งผู ้ฝึกอบรมชาวต่างชาติ” ของ JITCO จ่ายให้ได้<br />

แต่ถ้าเป็นช่างเทคนิคฝึกงานจะจ่ายโดยประกันสุขภ<br />

าพที ่ได้เข้าไว้ ระบบต่าง ๆ นี ้อาจจะมีความสลับ<br />

ซับซ้อน จึงควรปรึกษาผู ้แนะนำการใช้ชีวิตตามคว<br />

ามจำเป็น<br />

40


คู ่มือแนะนําการศึกษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการแนะนําการใช้ขีวิต·การฝึกงาน–<br />

13<br />

สุขภาพทางจิตใจ<br />

ได้เมื ่อเดินทางเข้าประเทศญี ่ปุ ่นไม่นานสักเท่าไร<br />

ท่านอาจรู ้สึกเหงาคิดถึงบ้านและครอบครัวในประเ<br />

ทศของท่านได้ และอาจรู ้สึกเศร้าเสียใจโดยไม่มีเ<br />

หตุผล ในกรณีนี ้ ถือว่าเป็น “โรคโฮมซิก”<br />

หลังจากเวลาฝึกอบรมผ่านไป<br />

สักสองสามเดือน ท่านอาจจะเริ ่มรู ้สึกเ<br />

ป็นกังวล หรือไม่สะดวกเนื ่องจากธรรมเนีย<br />

มปฏิบัติที ่แตกต่างกัน วิธีการทำงานที ่ต่างกัน<br />

และกลายเป็นความไม่พอใจ ทำให้เกิดลักษระที ่เ<br />

รียกว่า “คัลเจอร์ช็อก” ซึ ่งมีอาการแสดงให้เห็นไ<br />

ด้ทั ้งทางร่างการ ความประพฤติ และทางจิตใจ<br />

ทุกคนมีโอกาสที ่จะประสบกับ “โรคโฮมซิก” และ<br />

“คัลเจอร์ช๊อก” ได้มากน้อยแตกต่างกันไปแต่ละค<br />

น<br />

ถ้าเป็นเช่นนั ้นไม่ควรที ่จะเศร้าใจเพียงคน<br />

เดียว ควรปรึกษาช่างเทคนิคฝึกงานรุ ่นพี ่<br />

หรือผู ้แนะนำการใช้ชีวติ<br />

หรือการหันมาทำในสิ ่งต่าง ๆ ดังต่อไปนี ้<br />

จะช่วยให้แก้ปัญหาได้ด้วย<br />

1 เขียนจดหมายถึงครอบครัวหรือเพื ่อน<br />

(โดยแนบรูปถ่ายไปด้วย) คนที ่ได้รับโปสการ์ด<br />

ของญี ่ปุ ่นก็จะดีใจ และหากเขียนจดหมายถึงค<br />

รอบครัวหรือเพื ่อนก็จะได้รับจดหมายตอบกลับ<br />

และสามารถอ่านจดหมายซ้ำได้อีก ดังนั ้น<br />

หากรู ้สึกเหงาจะช่วยได้มาก<br />

2 โทรศัพท์ถึงครอบครัว เพื ่อคุยกันโดยตรง<br />

3 เล่นกีฬาหรือหางานอดิเรกทำที ่ตัวเองชอบ<br />

เป็นการใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์<br />

4 ในวันหยุด ให้เดินทางไปเยี ่ยมชมสถ<br />

านที ่สำคัญใกล้กับที ่รับการฝึกอบรม<br />

เพื ่อเปลี ่ยนบรรยากาศ<br />

5 แลกเปลี ่ยนกับผู ้คนในท้องถิ ่นอย่างจริงจัง<br />

(ดูข้อ “14 การแลกเปลี ่ยนกับผู ้คนในท้องถิ ่น”<br />

ประกอบ<br />

6 ฝึกงานอย่างตั ้งอกตั ้งใจ<br />

7 เรียนภาษาญี ่ปุ ่นอย่างตั ้งอกตั ้งใจ ทั ้งนี ้<br />

ผู ้ใช้คำปรึกษาด้านสุขภาพจิตใจของ JITCO<br />

ได้ชี ้ให้เห็นว่า “ผู ้รับการฝึกอบรมที ่เรียนภาษา<br />

ญี ่ปุ ่นก่อนเข้าประเทศ และหลังเข้าประเทศอย่า<br />

งจริงจังแล้ว จะไม่มีปัญหาด้านสุขภาพทางจิตใ<br />

จแต่อย่างไร”<br />

41


14<br />

การแลกเปลี ่ยนกับผู ้คนในท้องถิ ่น<br />

วิธีการหนึ ่งที ่จะทำให้ทุกท่านใช้ชีวิตได้อย่างเป็นสุข<br />

ในประเทศญี ่ปุ ่นได้ก็คือ การแลกเปลี ่ยนประสบกา<br />

รณ์กับคนในท้องถิ ่น ซึ ่งไม่จำเป็นต้องคิดให้เป็นเ<br />

รื ่องยากแต่อย่างไร<br />

อยากจะขอยกตัวอย่างหนึ ่งคือ อาหาร<br />

ที ่ทุกท่านทานอยู ่ประจำ เช่นถ้าทำ<br />

“เกี ้ยวซ่า” เป็นจำนวนมาก ก็อาจจะนำเกี ๊ยว<br />

ซ่านั ้นไปให้กับคนที ่อยู ่ข้างเคียงซึ ่งเคยพูดทัก<br />

ทายกันเป็นประจำ สิ ่งนี ้ภาษาญี ่ปุ ่นเรียกว่า<br />

“โอซูโซะวาเคะ(แบ่งปัน)”<br />

ซึ ่งเป็นสิ ่งที ่ครอบครัวช<br />

าวญี ่ปุ ่นทำกันเป็นประจำอยู ่แล้ว และส่วนใหญ่แล้ว<br />

หากใครได้รับ “โอซูโซะวาเคะ(แบ่งปัน)” มา<br />

ก็จะหาทางให้ของคืนด้วย ของที ่ให้คืนนี ้อาจจ<br />

ะเป็นอาหาร หรือผักที ่เก็บได้จากสวนของตน<br />

สิ ่งนี ้เรียกว่า “โอคาเอชิ (ให้คืน)” จากจุดนี ้ ก็ทำ<br />

ให้มีการแลกเปลี ่ยนกันได้แล้ว<br />

นอกจากนี ้ ในพื ้นที ่ที ่ทุกท่านอยู ่อาศัย<br />

จะมีเทศกาล งานกีฬาซึ ่งเป็นงานที ่จัดกันอยู ่แล้ว<br />

ก็ควรที ่จะเข้าร่วมงานต่าง ๆ เหล่านี ้อย่างจริงจัง<br />

และร่วมสนุกกับคนข้างเคียง<br />

เทศบาลที ่ทุกท่านอยู ่ก็มักจะจัดงานนันทนาการแล<br />

กเปลี ่ยนระดับสากล หรืองานวัฒนธรรมท้องถิ ่น<br />

ก็ควรถือโอกาสนี ้ทำอาหารของประเทศตนแบ่งใ<br />

ห้คนในท้องถิ ่นได้ทาน หรือเต้นรำประจำชาติให้ค<br />

นในท้องถิ ่นได้ชม หรือร่วมแสดงละครเวทีกับคนใ<br />

นท้องถิ ่น ก็อาจจะได้รับดอกไม้แสดงความชมเชย<br />

จากทางเทศบาลได้<br />

ผู ้รับการฝึกอบรมบางคนหันไปทำงานอุทิศตนเป็น<br />

ประโยชน์ต่อสังคม เช่นการเก็บขยะทำความสะอา<br />

ดบริเวณรอบหอ และได้รับประกาศเกียรติคุณจาก<br />

ทางเทศบาลก็มี<br />

เริ ่มจากสิ ่งเล็ก ๆ น้อย ๆ เช่นนี ้ จะทำให้ชีวิต<br />

น่าเป็นอยู ่มากขึ ้น และสนุกสนานกับการใช้ชีวิตได้<br />

การแนะนำงานเทศกาลนั ้น จะมีอยู ่แล้วในวารสาร<br />

ข่าวที ่ทางเทศบาลออก และสามารถขอข้อมูลเห<br />

ล่านี ้จากผู ้แนะนำการใช้ชีวิตได้<br />

เมื ่อได้เข้าร่วมงานต่าง ๆ เหล่านี ้ ควรที ่จะถ่<br />

ายรูปเก็บไว้เป็นที ่ระลึกแล้วส่งกลับไปให้ครอ<br />

บครัวในประเทศของตนชม ก็ถือว่าเป็นการ<br />

“โอซูโซะวาเคะ (แบ่งปัน)” ในระดับสากล<br />

ให้กับครอบครัวตนเองด้วย<br />

42


การสอนภาษาญี ่ปุ ่นก่อนส่งตัวเดินทาง ให้ดูได้ใน<br />

ฉบับที ่จัดทำขึ ้นต่างหากคือ “คู ่มือแนะนําการศึก<br />

ษาก่อนส่งผ้ ูฝึกงาน –ฉบับการศึกษาภาษาญี ่ปุ ่น–”<br />

สำหรับผู ้ฝึกอบรม (ฉบับภาษาญี ่ปุ ่น)

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!