11.07.2015 Views

อ่านฉบับเต็ม - กรมประมง

อ่านฉบับเต็ม - กรมประมง

อ่านฉบับเต็ม - กรมประมง

SHOW MORE
SHOW LESS

You also want an ePaper? Increase the reach of your titles

YUMPU automatically turns print PDFs into web optimized ePapers that Google loves.

คํานํารายงานประจําปี 2554ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช เป็นหน่วยงานภายใต้สังกัด สํานักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมง กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ มีบทบาทสําคัญในการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่งรายงานประจําปีฉบับนี้ จัดทําขึ้นเพื่อสรุปผลการปฏิบัติงานของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราชปีงบประมาณ 2554 ที่ได้รับมอบหมายจากสํานักวิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่ง กรมประมงกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กิจกรรมงานวิจัย กิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ําชายฝั่ง กิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง กิจกรรมตรวจรับรองคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้ํา การตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ําและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช การให้บริการทางวิชาการเกษตรกรในพื้นที่จังหวัดนครศรีธรรมราช นิสิตนักศึกษาและประชาชนข้าพเจ้าในนามของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช ขอขอบคุณส่วนราชการหน่วยงานภาครัฐ และเอกชนต่าง ๆ ที่ให้ความร่วมมือและสนับสนุนการดําเนินงานของศูนย์ฯเป็นอย่างดี และหวังว่ารายงานฉบับนี้จะเป็นประโยชน์ต่อหน่วยงานต่าง ๆและผู้ที่สนใจทั่วไป ในการค้นคว้า ใช้ตรวจสอบอ้างอิงได้ และขอขอบพระคุณผู้บังคับบัญชาทุกท่านที่ให้คําแนะนํานายก่อเกียรติ กูลแก้วผู้อํานวยการศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช


สารบัญรายงานประจําปี 2554คํานํา (1)ข้อมูลจังหวัดนครศรีธรรมราช 1ประวัติความเป็นมาของศูนย์ฯ 5ภารกิจหลัก 5แผนผังการบริหารงาน 7รายนามผู้บริหาร 8อัตรากําลัง 8ผลการปฏิบัติราชการงานบริหารงานทั่วไป 12งานเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ําชายฝั่ง 15งานตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินค้าประมง 20กิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง 47


รายงานประจําปี 2554ข้อมูลจังหวัดนครศรีธรรมราชนครศรีธรรมราช เป็นเมืองประวัติศาสตร์ที่มีเสน่ห์น่าไปเยือน ตั้งอยู่ตอนกลางของภาคใต้ มีทรัพยากรธรรมชาติที่อุดมสมบูรณ์ ทั้งป่าไม้และสัตว์น้ํา มีเขาหลวงตั้งอยู่ตอนกลางของจังหวัด และชายฝั่งทะเลยาวถึง 225 กิโลเมตร เป็นแหล่งศิลปวัฒนธรรม ได้รับการสั่งสมความเป็นมาทางประวัติศาสตร์อันยาวนานกว่า 1,800 ปี กําลังผลักดันพระบรมธาตุ วัดพระมหาธาตุเป็นมรดกโลกจังหวัดนครศรีธรรมราช ห่างจากกรุงเทพมหานคร 780 กิโลเมตร มีเนื้อที่ประมาณ9,942.502 ตารางกิโลเมตร มีเนื้อที่มากเป็นอันดับที่ 16 ของประเทศ หรือประมาณร้อยละ 1.98ของพื้นที่ทั้งประเทศ ที่ตั้งของจังหวัดอยู่ที่ประมาณละติจูด 9 องศาเหนือ และลองติจูด 100 องศาตะวันออกอาณาเขตทิศเหนือ ติดต่อกับจังหวัดสุราษฎร์ธานีทิศใต้ ติดต่อกับจังหวัดสงขลา จังหวัดพัทลุง และจังหวัดตรังทิศตะวันออก ติดต่อกับอ่าวไทยทิศตะวันตก ติดต่อกับจังหวัดสุราษฎร์ธานี และจังหวัดกระบี่ลักษณะภูมิประเทศลักษณะภูมิประเทศของจังหวัดนครศรีธรรมราช แตกต่างไปตามลักษณะของเทือกเขานครศรีธรรมราช ซึ่งเป็นเทือกเขาที่มีความยาวตามแนวของคาบสมุทร เป็นผลให้ลักษณะของภูมิประเทศของจังหวัดนครศรีธรรมราชแบ่งออกได้เป็น 3 ส่วน คือ1.บริเวณเทือกเขาตอนกลางบริเวณเทือกเขานครศรีธรรมราช มีอาณาเขตตั้งแต่ตอนเหนือของจังหวัดลงไปถึงใต้สุดได้แก่พื้นที่ อําเภอขนอม สิชล ท่าศาลา เมือง ลานสกา พรหมคีรี ร่อนพิบูลย์ ชะอวด จุฬาภรณ์ และพระพรหม2.บริเวณที่ราบชายฝั่งตะวันออกบริเวณเทือกเขาตอนกลางไปทางตะวันออถึงฝั่งทะเลอ่าวไทย จําแนกได้ 2 ตอน คือ ตั้งแต่อําเภอเมือง ลงไปทางทิศใต้ที่มีความกว้างจากบริเวณเทือกเขาตอนกลางไปถึงชายฝั่งทะเลระยะทางประมาณ 95 กิโลเมตร ได้แก่ อําเภอปากพนัง เชียรใหญ่ หัวไทรและชะอวด อีกบริเวณหนึ่ง คือตั้งแต่อําเภอท่าศาลาขี้นไปทางทิศเหนือ ได้แก่ อําเภอท่าศาลา สิชล และขนอม3.บริเวณที่ราบด้านตะวันตกบริเวณที่ราบระหว่างเทือกเขานครศรีธรรมราช และเทือกเขาบรรทัด จึงมีลักษณะเป็นเนินเขาอยู่เป็นแห่ง ๆ ได้แก่ อําเภอ พิปูน ทุ่งใหญ่ ฉวาง นาบอน บางขัน ถ้ําพรรณรา ทุ่งสง และเป็นแหล่งต้นน้ําของแม่น้ําตาปีที่มา : ข้อมูลจังหวัดนครศรีธรรมราช 2554 หน้าที่ 18-201


รายงานประจําปี 2554ประชากรจังหวัดนครศรีธรรมราช มีประชากรจํานวน 1,518,901 คน (30 มิถุนายน 2553)เป็นชาย 754,202 คน หญิง 764,699 คน จํานวนบ้าน 470,670 ครัวเรือน โดยเฉลี่ยมีความหนาแน่นประชากรเท่ากับ 152 คน ต่อตารางกิโลเมตร อําเภอที่มีประชากรมากที่สุดคืออําเภอเมืองนครศรีธรรมราช จํานวน 266,837 คน 88,236 ครัวเรือน และอําเภอที่มีประชากรน้อยที่สุดคืออําเภอถ้ําพรรณรา จํานวน 18,336 คน 6,089 ครัวเรือนลําดับ อําเภอ รวม(คน) ครัวเรือน21 เมือง 266,837 88,2362 พรหมคีรี 36,296 10,3393 ลานสกา 40,275 12,9924 ฉวาง 66,360 21,8075 พิปูน 28,656 9,7536 เชียรใหญ่ 43,586 12,8237 ชะอวด 85,178 25,5738 ท่าศาลา 108,465 29,3509 ทุ่งสง 152,313 50,90910 นาบอน 26,605 8,05811 ทุ่งใหญ่ 70,831 31,93412 ปากพนัง 102,716 29,30313 ร่อนพิบูลย์ 81,107 23,05714 สิชล 86,085 25,61715 ขนอม 28,875 11,30916 หัวไทร 67,009 20,90717 บางขัน 43,864 13,31218 ถ้ําพรรณนรา 18,336 6,08919 จุฬาภรณ์ 30,844 8,93720 พระหรหม 41,657 12,85421 เฉลิมพระเกียรติ 31,840 9,05722 นบพิตํา 31,365 9,16823 ช้างกลาง 29,801 9,240รวม 1,518,901 470,670ที่มา : นครศรีธรรมราช 2554 หน้าที่ 24


รายงานประจําปี 2554การปกครองจังหวัดนครศรีธรรมราช แบ่งเขตการปกครองตามลักษณะพื้นที่ออกเป็น 23 อําเภอ 165ตําบล 1,551 หมู่บ้าน ตามตารางที่ อําเภอ/กิ่งอําเภอเขตการปกครองตําบล หมู่บ้าน เทศบาล อบต.พื้นที่(ตร.กม.)1 เมืองนครศรีธรรมราช 13 115 4 13 580.2492 เชียรใหญ่ 10 97 1 9 227.1163 ปากพนัง 17 142 1 16 459.9104 ชะอวด 11 87 1 11 833.0025 ทุ่งสง 12 124 2 11 802.9776 ท่าศาลา 10 109 1 10 363.8917 ร่อนพิบูลย์ 6 57 1 5 341.2268 สิชล 9 110 1 9 703.1059 ลานสกา 5 44 1 5 342.90010 พิปูน 5 42 1 5 363.00011 หัวไทร 11 99 1 11 417.77312 ทุ่งใหญ่ 7 63 1 7 603.28713 ฉวาง 10 86 3 9 568.00014 ขนอม 3 34 2 2 433.92615 นาบอน 3 34 1 3 192.89916 พรหมคีรี 5 39 2 5 321.49917 บางขัน 4 60 - 4 575.00018 จุฬาภรณ์ 6 29 - 5 192.50519 ถ้ําพรรณรา 3 29 - 3 180.00020 พระพรหม 4 40 - 4 187.02621 เฉลิมพระเกียรติ 4 37 - 4 122.14522 อําเภอนบพิตํา 4 38 - 4 720.15623 อําเภอช้างกลาง 3 36 - 3 236.000รวม 165 1,551 26 158 9,767.592ที่มา : นครศรีธรรมราช 2554 หน้าที่ 263


รายงานประจําปี 2554ผลิตภัณฑ์จังหวัด ตามราคาประจําปี จําแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2549-2553Gross Provincial Product At Current Market PriceBy Economic Activities : 2006-2010(หน่วย : ล้านบาท)สาขาการผลิต2549 2550 2551 2552 25532006 2007 2008 2009 2010ภาคการเกษตร 33,090.6 31,074.8 33,673.1 31,740.9 39,104.6เกษตรกรรม การล่าสัตว์ และการป่าไม้ 2,641.7 25,172.3 28,114.9 2,556.3 32,664.6การประมง 7,489.9 5,902.5 5,558.2 6,184.6 6,440.0ภาคนอกเกษตร 81,369.8 86,459.2 91,564.6 91,909.9 100,801.3การทําเหมืองแร่ และเหมืองหิน 14,111.5 15,163.0 17,352.9 17,666.7 20,231.5การผลิตอุตสาหกรรม 13,553.3 14,675.3 16,061.9 15,220.7 17,621.4การไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา 7,648.7 8,352.6 8,371.7 7,913.7 8,991.9การก่อสร้าง 3,552.9 2,630.4 2,628.4 2,761.7 2,642.9การขายส่ง ขายปลีก ซ่อมแซมยานยนต์ 14,663.6 15,065.3 15,380.6 15,097.7 16,193.5โรงแรม และภัตตาคาร 5,731.0 720.9 686.6 731.8 837.4การขนส่งสินค้า การคมนาคม 2,684.3 2,900.1 3,165.5 3,074.5 2,894.4ตัวกลางทางการเงิน 2,657.3 2,993.8 3,248.7 3,369.1 3,712.5บริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่า 3,677.5 3,736.2 3,706.8 3,890.8 3,933.9การบริหารราชการแผ่นดิน 6,747.8 7,207.9 7,300.1 7,458.8 8,313.7การศึกษา 8,196.1 9,453.6 9,955.3 10,574.5 11,077.8การบริการด้านสุขภาพและงานสงเคราะห์ 2,411.7 2,691.8 285.9 3,245.4 3,412.3บริการชุมชน สังคมและการบริการ 835.0 808.0 791.6 837.5 871.1ลูกจ้างในครัวเรือนส่วนบุคคล 57.0 60.0 64.0 67.0 67.0ผลิตภัณฑ์จังหวัด 115,279.4 117,534.0 125,237.7 123,650.8 139,905.0มูลค่าผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อคน (บาท) 67,831.0 70,323.0 74,033.0 72,242.0 80,816.0ประชากร (1,000คน) 1,650.0 1,671.4 1,691.7 1,711.6 1,731ที่มา : สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติอ้างตาม สํานักงานจังหวัดนครศรีธรรมราช 25554


รายงานประจําปี 2554วิสัยทัศน์กรมประมง“มุ่งสู่การเป็นผู้นําทางการประมงอย่างยั่งยืนในภูมิภาค เพื่อความอยู่ดีมีสุขของประชาชน”พันธกิจ1. พัฒนาคุณภาพสินค้าประมงทุกประเภทให้ได้รับมาตรฐาน2. เพิ่มผลผลิตในแหล่งเพาะเลี้ยงและแหล่งทรัพยากรอื่น3. บริหารจัดการทรัพยากรสัตว์น้ํา4. พัฒนางานวิจัยและเทคโนโลยีทางการประมง5. ปรับปรุงระบบการบริหารจัดการองค์กรประวัติความเป็นมาของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราชสถานีพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช (โครงการย่อยที่ 3 )เป็นโครงการหนึ่งของโครงการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําในประเทศไทย มีหน้าที่รับผิดชอบ ในการนําเทคนิคใหม่ๆ ที่มี ประสิทธิภาพเข้ามาใช้ในการเพาะพันธุ์กุ้งทะเล เพื่อใช้เป็นต้นแบบในการก่อสร้างสถานีเพาะพันธุ์กุ้งทะเลในอนาคต และเพื่อผลิตพันธุ์กุ้งทะเลให้ได้เพียงพอสําหรับเกษตรกรในโครงการย่อยที่ 2 คือ หน่วยสหกรณ์นิคมกาญจนดิษฐ์ และหน่วยสหกรณ์นิคมปากพญาสถานีพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช ตั้งอยู่ที่แหลมคอกวางหมู่ที่ 3 ตําบลสิชล อําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช ด้วยการพิจารณาคัดเลือกพื้นที่สร้างสถานีฯโดย ดร.กิจจา ใจเย็น หัวหน้าโครงการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําในประเทศไทย และดําเนินการจัดซื้อ เมื่อตุลาคม 2523 จํานวน 20 ไร่ 19 ตารางวา เป็นเงิน 900,000 บาท (เก้าแสนบาทถ้วน) และกระทรวงมหาดไทยได้ประกาศจัดขึ้นทะเบียนที่ดินของรัฐเพื่อให้กรมประมงใช้ประโยชน์ในราชการอีก 1 แปลง เนื้อที่ 1 งาน 55 ตารางวา ตั้งแต่วันที่ 4 พฤศจิกายน 2526 รวมเป็นเนื้อที่ของสถานีพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราช ทั้งสิ้น 20 ไร่ 1 งาน 74 ตารางวามีอาณาเขต ทิศเหนือและทิศใต้จดทะเลฝั่งอ่าวไทย ทิศตะวันออกและทิศตะวันตกติดกับที่ราษฎรถือกรรมสิทธ์ ปรากฏตามหนังสือรับรองการทําประโยชน์ เล่มที่ 17 หน้า 99 สารบาญเลขที่521/102 ลงวันที่ 2 ตุลาคม 2523ในปี พ.ศ. 2529 การดําเนินงานของโครงการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําในประเทศไทยได้สิ้นสุดลง กรมประมง จึงให้สถานีพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชอยู่ในสายการบังคับบัญชาของกรมประมง ตั้งแต่วันที่ 25 พฤศจิกายน 2529 เป็นต้นไป และได้เปลี่ยนชื่อจากสถานีพัฒนาการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลจังหวัดนครศรีธรรมราชเป็นสถานีประมงน้ํากร่อยจังหวัดนครศรีธรรมราช เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2530 ในปีพ.ศ.2533 ได้เปลี่ยนชื่อเป็น สถานีเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่งจังหวัดนครศรีธรรมราช และปัจจุบันได้เปลี่ยนเป็นศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช เมื่อ พ.ศ. 2546ภารกิจหลักของศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช1. ศึกษา ค้นคว้า ทดลอง วิจัยและวิเคราะห์เพื่อหาแนวทางในการพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่งให้มีประสิทธิภาพสูงขึ้นทั้งในด้านการเพาะการอนุบาลและการเลี้ยง โดยเน้นสัตว์น้ําที่มีความสําคัญทางเศรษฐกิจ หรือมีแนวโน้มที่จะมีความสําคัญทางเศรษฐกิจ ตลอดจนพันธุ์สัตว์น้ําที่หายากหรือมีแนวโน้มที่จะสูญพันธุ์ต่อไปในอนาคต5


รายงานประจําปี 25542. ผลิตพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่ง ได้แก่ ลูกพันธุ์กุ้งกุลาดํา ลูกพันธุ์กุ้งแชบ๊วย ลูกพันธุ์ปลากะพงขาว ลูกพันธุ์ปูทะเล และพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่งอื่นๆ เพื่อจําหน่ายจ่ายแจกแก่เกษตรกร และปล่อยลงในแหล่งน้ําธรรมชาติ3. สนับสนุนและให้บริการทางวิชาการ เช่น ตรวจรักษาโรคสัตว์น้ํา ตรวจวิเคราะห์คุณสมบัติของน้ําใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง ตรวจสอบสารตกค้างในสัตว์น้ําของเกษตรกร ตลอดจนให้คําแนะนําทางด้านการเพาะการอนุบาลและการเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง4. สํารวจสภาวะสิ่งแวดล้อมบริเวณแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง ที่มีศักยภาพในการผลิตพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่งได้อย่างเหมาะสม สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั้งยืนและตลอดไปสถานที่ติดต่อศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช 331 หมู่ 3 ตําบล สิชลอําเภอสิชล จังหวัดนครศรีธรรมราช 80120โทรศัพท์ 0-7553-6157เยี่ยมชมเว็ปไซด์ http://www’fisheries.go.th/cf-nakhon6


รายงานประจําปี 25547


รายงานประจําปี 2554รายนามผู้บริหารศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราชชื่อ-สกุล ตําแหน่ง ปีที่ดํารงตําแหน่งหัวหน้าสถานีฯหัวหน้าสถานีฯรักษาการหัวหน้าสถานีฯหัวหน้าสถานีฯหัวหน้าสถานีฯผู้อํานวยการศูนย์ฯผู้อํานวยการศูนย์ฯผู้อํานวยการศูนย์ฯผู้อํานวยการศูนย์ฯ1. นายทวี โรจนสารัมภกิจ2. นายพูนสิน พานิชสุข3. นายสุกิจ รัตนวินิจกุล4. นายสุกิจ รัตนวินิจกุล5. นายวีระ เจริญพักตร์6. นายสุกิจ รัตนวินิจกุล7. นายสุพจน์ จึงแย้มปิ่น8. นายกฤตพล ยังวานิชเศรษฐ9. นายก่อเกียรติ กูลแก้ว2523-25322532-25372537-25392539-25432543-25452545-25492549-2549 (มิ.ย.-ต.ค.49)2550-2550 (19ม.ค.-28มิ.ย.50)2550-ปัจจุบันอัตรากําลังตามแผนการดําเนินงาน ตามงบประมาณรายจ่ายประจําปี 2554 ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช มีข้าราชการปฏิบัติงานจํานวน 12 ตําแหน่ง ช่วยราชการ 1ตําแหน่ง ลูกจ้างประจําจํานวน 20 ตําแหน่ง ลูกจ้างประจํางบเงินทุนหมุนเวียน 2 ตําแหน่งพนักงานราชการจํานวน 20 ตําแหน่ง ลูกจ้างชั่วคราวเงินทุนหมุนเวียน 4 ตําแหน่ง ดังนี้คือ1. ข้าราชการ ปีงบประมาณ 2554งานบริหารลําดับที่ ชื่อ-สกุล ตําแหน่ง1.2.นายก่อเกียรติ กูลแก้วนางนพภา ช่อเจี้ยงผู้อํานวยการเจ้าพนักงานธุรการชํานาญงานงานฝ่ายผลิตพันธุ์สัตว์น้ําลําดับที่ ชื่อ-สกุล ตําแหน่ง1.2.3.นายสรรเสริญ ช่อเจี้ยงนางพรรัตน์ สุขประเสริฐนางรัชฎา ขาวหนูนา4.5.6.น.ส.จารุวรรณ เรืองทองนางสํารวย ชุมวรฐายีนายอิทธิกร เหมทานนท์นักวิชาการประมง ชํานาญการนักวิชาการประมง ปฏิบัติการนักวิชาการประมงชํานาญการพิเศษ (ช่วยราชการ)นักวิชาการประมงปฏิบัติการเจ้าพนักงานประมงชํานาญงานเจ้าพนักงานประมงชํานาญงานงานบริหารชลประทานเพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําลําดับที่ ชื่อ-สกุล ตําแหน่ง1. นายเอกมัย มาลา เจ้าพนักงานประมงชํานาญงาน8


รายงานประจําปี 2554งานฝ่ายบริการวิชาการและตรวจสอบคุณภาพสินค้าประมงลําดับที่ ชื่อ-สกุล ตําแหน่ง1.2.3นางปิยาลัย เหมทานนท์นางเบญญาภา ชนะภัยนางศุภรา ไชยหาญนักวิชาการประมงชํานาญการนักวิชาการประมงปฏิบัติการเจ้าพนักงานประมงชํานาญงาน2. ลูกจ้างประจํา ปีงบประมาณ 2554 จํานวน 20 ตําแหน่งลําดับที่ ชื่อ-สกุล ตําแหน่ง1.2.3.4.5.6.7.8.9.10.11.12.13.14.15.16.17.นายสายัณห์ จักรกาญจน์นายนิกร ใจห้าวนายประทีป ขนอมนายนรินทร์ โต๊ะแอนายวัชรินทร์ เริงธรรมนายอะสัน เหร็นเส็บนางจารุณี เจริญพักตร์นางอุทัยวรรณ ณรงค์นางอิษฎา กฤตยาพิพัฒน์นายยะลาหรุดดีน หนาหู้นายเจริญวรรณ สุวรรณรัตน์นายสาทร พูลสวัสดิ์นายจเร กิตติพนังกุลนายดุลล่อ เหร่าหมัดนายสันติชัย นวลมีนายทวีศักดิ์ เพชรชูนายสากรี บินมูดอ18.19.20.นายหมัดยุโซ๊ะ หลงจินายวิชัย เจ๊ะดะระหมานนายวิชาญ สาระพางค์ช่างปูนช่างไม้พนักงานขับรถยนต์พนักงานขับรถยนต์พนักงานขับรถยนต์พนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐานพนักงานประมงพื้นฐาน(ช่วยราชการ ศพช.นราธิวาส)พนักงานรักษาความปลอดภัยพนักงานรักษาความปลอดภัยพนักงานรักษาความปลอดภัย1.2.งบเงินทุนหมุนเวียน(เงินนอกงบประมาณ)นางวัฒนา สิทธิศักดิ์นายสุนิตย์ เพิ่มผลเจ้าหน้าที่การเงินและบัญชีพนักงานขับรถยนต์9


รายงานประจําปี 25543. พนักงานราชการ ปีงบประมาณ 2554 จํานวน 20 ตําแหน่งลําดับที่ ชื่อ-สกุล ตําแหน่ง1.2.3.4.5.6.7.8.9.10.11.12.13.14.15.16.17.18.19.20.นายธนกฤต องอาจนายวสันต์ สิทธิศักดิ์นางสาวเสาวณีย์ จันทร์ลอยนางสาวปาริชาติ สิทธิศักดิ์นายไพโรจน์ ชูพยัคฆ์นางสาววัจนารัตน์ ฉิมพลีนางกุลธิดา โอกฤษนายสมชาย กังสุกุลนางสาวณัฎฐนันท์ สุวรรณศรีนายวัชระ สิงละเอียดนายจรินทร์ อุดมดีนายภูวนาท รักษาวงศ์นายอุดม มีเดชนางสาวเยาวลักษณ์ เชาวลิตนายธีระพงศ์ ตลึงจิตต์นายถิระพงศ์ วรรณทองนายสุธา ดําเพ็งนางสุนา ศรีพนมนายจีระศักดิ์ เกตุแก้วนางสาวนันทนา ทองขาวนักวิชาการประมงนักวิชาการประมงนักวิชาการประมงนักวิชาการประมงนักวิชาการประมงนักวิทยาศาสตร์นักวิทยาศาสตร์เจ้าพนักงานประมงเจ้าพนักงานประมงเจ้าพนักงานประมงเจ้าหน้าที่ประมงเจ้าหน้าที่ประมงพนักงานห้องทดลองเจ้าหน้าที่บันทึกข้อมูลนายช่างกลโรงงานพนักงานผู้ช่วยประมงพนักงานผู้ช่วยประมงพนักงานผู้ช่วยประมงพนักงานผู้ช่วยประมงพนักงานผู้ช่วยประมง4. ลูกจ้างชั่วคราวงบเงินทุนหมุนเวียน (เงินนอกงบประมาณ)ปีงบประมาณ 2554 จํานวน 4 ตําแหน่งลําดับที่ ชื่อ-สกุล ตําแหน่ง1.2.3.4.นายธรายุทธ กฤตยาพิพัฒน์นายจํารูญ ณ ดวงจินต์นางปรีดา ชูช่วยนางอ้อมใจ คงเพชรคนงานประมงคนงานประมงคนงานประมงคนงานประมง10


รายงานประจําปี 2554ปีงบประมาณ 255411


รายงานประจําปี 25541.งานบริหารทั่วไปการบริหารงบประมาณปี 2554รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ1.เงินในงบประมาณ1.1 กิจกรรมเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ํา 790,620.00 790,620.00 --ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 3,030,000.00 3,029,060.35 939.65-ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 100,000.00 99,992.97 7.03-ค่าสาธารณูปโภค --งบลงทุน -1.2 กิจกรรมตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินค้าประมง-ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 1,408,941.00 1,408,941.00 --ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 3,430,365.00 3,429,128.59 1,236.41-ค่าสาธารณูปโภค 164,800.00 164,714.85 85.15-งบลงทุน 650,000.00 649,704.00 296.001.3กิจกรรมพัฒนาการเพาะเลี้ยงและปรับปรุงพันธุ์-ค่าตอบแทนพนักงานราชการ --ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 336,500.00 335,630.70 869.30-ค่าสาธารณูปโภค 143,500.00 143,229.10 270.90-งบลงทุน -1.4กิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการประมง-ค่าตอบแทนพนักงานราชการ 283,142.00 283,140.00 2.00-ค่าตอบแทน ใช้สอยและวัสดุ 834,700.00 832,742.00 1,958.00-ค่าสาธารณูปโภค 799,300.00 798,600.01 699.99-งบลงทุน -2.เงินนอกงบประมาณ -2.1งานเงินทุนหมุนเวียน 1,346,420.00 1,340,142.26 6,277.74-1.2 งานการเงินและบัญชีลําดับ งานที่ปฏิบัติ หน่วยวัด จํานวน1 วางฏีกาเบิกจ่ายงบประมาณและฏีกาเงินนอกงบประมาณครั้ง 830712 จ่ายเงินเดือนพนักงานราชการ และ ลูกจ้างชั่วคราว ครั้ง 123 จ่ายค่าเล่าเรียนและค่ารักษาพยาบาลครั้ง 1294 นําเงินส่งรายได้แผ่นดินงบประมาณ ครั้ง -5 นําเงินส่งรายได้แผ่นดินงบนอกประมาณ ครั้ง 26 จัดทํารายงานการเงินประจําเดือน ครั้ง 1212


รายงานประจําปี 25541.3งานการเงินการคลังภาครัฐระบบอิเล็กทรอนิกส์ (GFMIS)งานที่ปฏิบัติ หน่วย จํานวนบส.01/ขบ.01ขบ.02ขบ.03นส.01นส.02บช.01บช.04ขจ.05ฉบับฉบับฉบับฉบับฉบับฉบับฉบับฉบับ233597711012081206681.4 งานพัสดุลําดับ งานที่ปฏิบัติ หน่วยวัด จํานวน1 การจัดซื้อจัดจ้างให้เป็นไปตามระเบียบสํานักนายกรัฐมันตรี-เปิดซองสอบราคาจัดซื้อจัดจ้าง-จัดซื้อจัดจ้างโดยวิธีตกลงราคาครั้งครั้งครั้ง1,83821,8362 ร่างสัญญาซื้อขาย และสัญญาจ้าง ครั้ง -3 จัดทําทะเบียน รับ-จ่ายพัสดุ ครั้ง 5264 จัดทําทะเบียนประวัติซ่อมบํารุงยานพาหนะครั้ง 55-ซ่อมบํารุงรักษารถยนต์-ครุภัณฑ์ต่าง ๆครั้งครั้ง5 จําหน่ายครุภัณฑ์ที่ชํารุด144รายการ6 จดและต่อทะเบียนรถยนต์/จักรยานยนต์ ครั้ง 131.1 งานสารบรรณลําดับ งานที่ปฏิบัติ หน่วยวัด จํานวน1 ลงที่เบียนรับเอกสาร ฉบับ 1,8122 ลงทะเบียนหนังสือออก ฉบับ 1,1393 หนังสือรับรอง ฉบับ 54 ถ่ายเอกสาร แผ่น/ครั้ง 9,0355 การใช้โทรสารรายการรับรายการส่งแผ่น/ครั้งแผ่น/ครั้ง20151213


รายงานประจําปี 2554งานให้บริการรับนักศึกษาฝึกงาน-บริการรับนักศึกษาฝึกงาน ปีงบประมาณ 2554ลําดับที่ สถาบัน คณะวิชา ระยะเวลา(เดือน) จํานวน(คน)1 วิทยาลัยการอาชีพนครศรีธรรมราช อ. เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา 1.1 3พระพรหม จ.นครศรีธรรมราช2 วิทยาลัยประมงติณสูลานนท์ อ.เมือง เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา 2 3จ.สงขลา3 วิทยาลัยประมงชุมพรเขตอุดมศักดิ์ อ. เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา 2ทุ่งตะโก จ.ชุมพร4 วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีสตูล เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา 2 35 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ อ. วาริชศาสตร์ 1 1หาดใหญ่ จ.สงขลา6 มหาวิทยาลัยขอนแก่น วิทยาเขตประมง 1 2หนองคาย อ.เมือง จ.หนองคาย7 มหาวิทยาลัยราชภัฏสุราษฎร์ธานี อ. วิทยาศาสตร์และ2. 2เมือง จ.สุราษฎร์ธานีเทคโนโลยี8 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรี เกษตรศาสตร์ 1.5 1วิชัย อ.ทุ่งสง จ.นครศรีธรรมราช9 มหาวิทยาลัยแม่โจ้ อ.สันทราย จ. เทคโนโลยีทางการ2 4เชียงใหม่ประมง10 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหาราดกระบัง เขตลาดกระบังกรุงเทพฯเทคโนโลยีการเกษตร 1 5การเยี่ยมชมดูงานว/ด/ป สถาบัน/หน่วยงาน เรื่องที่เยี่ยมชม จํานวนคน9/2/54 บริษัทผลิตไฟฟ้าขนอม จก. การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง 606/6/54 ม.เทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง 245/7 /54 รร.จุฬาภรณราชวิทยาลัย การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง 1206/8/54 ม.วลัยลักษณ์ การเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง 714


รายงานประจําปี 25542. งานเพิ่มผลผลิตสัตว์น้ําชายฝั่งรายละเอียดการปล่อยพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่งในแหล่งน้ําธรรมชาติ ปีงบประมาณ 2554ชนิดสัตว์น้ําสถานที่ปล่อย วัน/เดือน/ปี กุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลาดํา ปลากะพงขาว1 คลองท่าหิน ม. ๘ ต.เสาเภา ๔ ตค.๕๓ ๖๕๐,๐๐๐อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช2 ปากน้ํากลาย ม. ๓ ต.กลาย ๑๒ ตค.๕๓ ๑๐,๐๐๐อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช3 ชายทะเล ม.๑ ต.ทุ่งใส๒๗ ตค.๕๓ ๕๔,๐๐๐อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช4 คลองราชกรูด ม.๓ ต.ราชกรูด ๒๙ พย.๕๓ ๖,๐๐๐อ.เมือง จ.ระนอง5 คลองราชดําริ ม.๙ ต.หน้าสตน ๒ ธค.๕๓ ๔๐๐,๐๐๐อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช6 บ้านหน้าทับ ม.๙ ต.ท่าศาลา๓ ธค.๕๓ ๓๐๐,๐๐๐อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช7 แหลมตะลุมพุก ม.๑ ต.แหลมตะลุมพุก ๓ ธค.๕๓ ๓๐๐,๐๐๐อ.ปากพนังจ.นครศรีธรรมราช8 คลองสิชล ม.๓ ต.สิชล๕ ธค.๕๓ 40,000อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช9 อ่างรางทัด ม.๘ ต.ทุ่งใส16ธค53 40,000อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช10 ชายทะเลบ้านปลายทอน12 มค 54 50,000ม.๗ ต.ทุ่งปรังอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราชลําดับที่11 สวนสาธารณะพรุกงม.๕ ต.สิชล อ.สิชล12 คลองบางจาก ม.๔ ต.บางจากอ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช13 ทะเลสาบสงขลา ต.เกาะยออ.เมือง จ.สงขลา14 ชายทะเล ม.๓ ต.สิชลอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช15 ชายทะเล ต.เสาเภาอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช16 ชายทะเลบ้านท่าสูงบน ต.ท่าศาลาอ.ท่าศาลาจ.นครศรีธรรมราช17 ชายทะเลทุ่งใส ม.๑อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช18 แหลมตะลุมพุก อ.ปากพนังจ.นครศรีธรรมราช19 แหลมตะลุมพุก อ.ปากพนังจ.นครศรีธรรมราช20 ชายทะเล ม.๘ ต.หน้าสตนอ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช21 คลองบางจาก ม.๔ ต.บางจากอ.เมือง จ.นครศรีธรรมราช22 แม่น้ําปากพนัง อ.ปากพนังจ.นครศรีธรรมราช23 ชายทะเล ม.๓ ต.สิชลอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช24 ชายทะเล ม.๑ ต.ทุ่งใสอ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช25 ชายทะเลบ้านเคียนดํา ม.๒ ต.ท่าขึ้นอ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช13 มค54 1,500,00014 มค54 35,00022 มค54 30,00028 กพ54 25,00025 มีค54 50,50025 มีค54 800,00028 มีค54 500,00030 มีค54 3,400,0005 เมย54 3,050,0007 เมย54 1,000,00011 เมย54 1,500,00022 เมย54 1,400,0004 พค54 14,0006 พค54 5,00024 พค54 36,000สัตว์น้ําอื่น ๆรวม15


รายงานประจําปี 2554ชนิดสัตว์น้ําลําดับสถานที่ปล่อย วัน/เดือน/ปี กุ้งแชบ๊วย กุ้งกุลาดํา ปลากะพงที่ขาว26 ชายทะเล ม.๔ ต.ท่าศาลา25 พค54 1,000,000อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช27 ชายทะเลบ้านแหลมตะลุมพุก25 พค54 1,000,000ต.แหลมตะลุมพุกอ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช28 ชายทะเลแพรกเมือง ม.๓ ต.หน้าสตน 25 พค54 500,000อ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช29 ชายทะเลบ้านเกาะเพชร ม.๖ ต.เกาะ 25 พค54 500,000เพชรอ.หัวไทร จ.นครศรีธรรมราช30 อ่าวทุ่งใส ม.๑ ต.ทุ่งใส26 พค 54 1,000,000อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช31 ชายทะเล ม.๒ ต.แหลมตะลุมพุก 6 พค54 1,000,000อ.ปากพนัง จ.นครศรีธรรมราช32 ชายทะเล ม.๓ ต.สิชล14 มิย54 17,000อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช33 ท่าเทียบเรือบริษัทผลิตไฟฟ้าขนอม 1 กค 54 30,000อ.ขนอม จ.นครศรีธรรมราช34 ชายทะเลบ้านปากดวด ม.๑ ต.กลาย 22 กค 54 1,000,000อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช35 ชายทะเลเราะ ม.๓ ต.สระแก้ว 22 กค 54 500,000อ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช36 อ่าวปากดวด ม.๑๒ ต.เสาเภา 26 กค 54 30,000อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช37 คลองหิน ต.เปลี่ยน16 กย54 20,000อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราชสัตว์น้ําอื่น ๆรวม16


รายงานประจําปี 2554ภาพกิจกรรมปล่อยพันธุ์สัตว์น้ําชายฝั่งปี 255417


รายงานประจําปี 255418


รายงานประจําปี 25543.งานเงินทุนหมุนเวียนฯผลผลิตสัตว์น้ําชายฝั่งเพื่อจําหน่ายในงบเงินทุนหมุนเวียนฯ ปีงบประมาณ 2554ปลากะพงขาว ปูม้า กุ้งแชบ๊วยกุ้งขาว กุ้งกุลาดํา แพลงก์ตอนวันเดือนปี จํานวน(ตัว) จํานวนเงิน จํานวน(ตัว) จํานวนเงิน จํานวน(ตัว) จํานวนเงิน จํานวน(ตัว) จํานวนเงิน จํานวน(ตัว) จํานวนเงิน ลิตร จํานวนเงินตค.53 45,290 139,440 125,000 25,000 200 9,000พย.53 1,180 11,800 300 13,500ธค.53 16,175 51,450 334,500 13,380 187 8,415มค.54 33,105 98,305 1,300,000 130,000กพ.54 78,900 97,000มีค.54 40,485 84,570เมย.54 22,900 61,400 500,000 20,000พค.54 11,200 22,400 1,400,000 140,000 220 9,900มิย.54 53,350 74,700 1,380,000 138,000 220 9,900กค.54 10,938 54,904สค.54 7,550 45,300 615,000 61,500 2,500,000 300,000กย.54 140,000 14,000รวม 321,073 741,269 1,300,000 130,000 834,500 33,380 3,535,000 353,500 2,625,000 325,000 1,127 50,71519


รายงานประจําปี 25544.งานตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินค้าประมง4.1ตรวจและรับรองมาตรฐานฟาร์มกุ้งทะเลและสัตว์น้ําชายฝั่งการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลและสัตว์น้ําชายฝั่ง ในปีงบประมาณ 2554 มีเป้าหมายในการรับรองฟาร์ม จํานวน 1,000 ฟาร์ม โดยแบ่งการรับรอง 2มาตรฐาน คือ มาตรฐานการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลตามแนวทาง ซีโอซี เพื่อการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําอย่างมีความรับผิดชอบ (Code of Conduct for Responsible Aquaculture; CoC) และ มาตรฐานการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําที่ดี (Good Aquaculture Practice; GAP)กรมประมง มีนโยบายทํางานด้านมาตรฐานฟาร์มให้เป็นที่ยอมรับระดับสากล เป็นมาตรฐานการปฏิบัติงานตาม ISO/IEC Guide 65 โดยกรมประมงได้ดําเนินงานใน 6 จังหวัดนําร่อง (7หน่วยงาน) คือ จังหวัดกาญจนบุรี (ศพจ.กาญจนบุรี) จังหวัดชลบุรี (ศพจ.ชลบุรี) จังหวัดฉะเชิงเทรา(ศพช.ฉะเชิงเทรา) จังหวัดสมุทรสงคราม (ศวก.สมุทรสงคราม) จังหวัดตรัง (ศพช.ตรัง) และจังหวัดนครศรีธรรมราช (ศพช.นครศรีธรรมราช และ ศูนย์ฯ ปากพนัง) โดยได้เริ่มประกาศใช้ระบบเมื่อ 1พฤษภาคม 2554 โดยมีขอบข่ายที่ให้การรับรอง 4 ขอบข่าย คือ เพาะและเลี้ยงกุ้งตามมาตรฐานจีเอพี เพาะและเลี้ยงกุ้งตามมาตรฐานซีโอซี เพาะและเลี้ยงปลานิลตามมาตรฐานจีเอพี และการเลี้ยงกุ้งทะเล ตามมาตรฐานจีเอพี มกษ.17401-2552ผลการปฏิบัติงานในรอบปีงบประมาณ 2554 ได้ดําเนินการตรวจสอบและรับรองมาตรฐานฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลและสัตว์น้ําชายฝั่ง จํานวน 1,000 ฟาร์ม ดังแสดงไว้ในตารางต่อไปนี้จํานวนฟาร์มสัตว์น้ําชายฝั่งที่ได้เข้าตรวจประเมินมาตรฐาน GAP/CoC ปี 2554ชนิดสัตว์น้ํา อําเภอ ฟาร์มใหม่ ฟาร์มต่ออายุ ฟาร์มตรวจติดตาม รวมหัวไทร 84 22 249 355ปากพนัง 65 23 110 198ฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลเมือง 23 7 16 46สิชล 30 33 17 80ท่าศาลา 15 15 16 46ขนอม 1 - 1 2เชียรใหญ่ - 2 1 3โรงเพาะฟัก ทุกอําเภอ 7 1 21 29สัตว์น้ําอื่นๆ ทุกอําเภอ 144 66 31 241รวม 369 169 462 1,00020


แผนภูมิแสดงจํานวนฟาร์มที่เข้าตรวจประเมินมาตรฐาน (ฟาร์ม)รายงานประจําปี 2554สัตว์น้ําอื่นๆ, 241, 24%โรงเพาะฟักกุ้งทะเล, 29, 3%ฟาร์มกุ้งทะเล, 730, 73%4.2. ตรวจคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้ําจากแหล่งเพาะเลี้ยง4.2.1 ตรวจสารปฎิชีวนะตกค้างในสัตว์น้ําหน่วยตรวจสอบคุณภาพวัตถุดิบสัตว์น้ําชายฝั่งจังหวัดนครศรีธรรมราช ได้เริ่มดําเนินเมื่อปี2537 โดยเริ่มตรวจวิเคราะห์ยา Oxytetracycline โดยวิธี Microbioassay เมื่อเดือน พฤษภาคม2538 เริ่มตรวจวิเคราะห์ยา Oxolinic acid โดยใช้เครื่อง HPLC เมื่อเดือน พฤศจิกายน 2539เริ่มตรวจวิเคราะห์ยา Chloramphenical โดยใช้หลักการทํางานของ Competitive ELISA เมื่อเดือน มิถุนายน 2545 และเริ่มตรวจวิเคราะห์ยา Oxytetracycline โดยใช้เครื่อง HPLC เมื่อเดือนมิถุนายน 2549 และในปีงบประมาณ 2552 ได้เพิ่มการตรวจยากลุ่ม Fluoroquinolone โดยใช้หลักการทํางานของ Competitive ELISA โดยตรวจให้ศูนย์พัฒนาประมงพื้นที่ลุ่มน้ําปากพนังอันเนื่องมาจากพระราชดําริ และศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งตรังด้วยผลการปฏิบัติงานในรอบปีงบประมาณ 2554 ได้ดําเนินการตรวจสารตกค้างในสัตว์น้ํา โดยแบ่งเป็น 2 กิจกรรมคือ ตรวจสารตกค้างเพื่อการรับรองฟาร์ม จํานวน 645 ตัวอย่าง และตรวจสารตกค้างเพื่อให้บริการเกษตรกร จํานวน 125 ตัวอย่าง รวมทั้งสิ้น 770 ตัวอย่าง ลดลงร้อยละ 6.21ของปีงบประมาณ 2553 ผลการตรวจสอบสารตกค้างในรอบปีงบประมาณ 2554 ไม่พบสารตกค้างทั้ง 4 ชนิดในตัวอย่างสัตว์น้ํา ซึ่งผลการปฏิบัติงานได้แสดงในตารางต่อไปนี้21


รายงานประจําปี 2554ผลการตรวจสารตกค้าง เพื่อการรับรองฟาร์ม ปีงบประมาณ 2554เดือนจํานวนตัวอย่าง ลูกกุ้งOxy Oxo CAP FRQบ่อดินสัตว์น้ําอื่นลูกกุ้งบ่อดินสัตว์น้ําอื่นลูกกุ้งบ่อดินสัตว์น้ําอื่นลูกกุ้งบ่อดินสัตว์น้ําอื่นต.ค.-53 86 2 57 - 2 39 - 6 79 - 2 39 -พ.ย.-53 62 - 24 - - 24 1 - 24 - - 24 1ธ.ค.-53 124 1 31 92 - 16 91 - 16 91 1 31 92ม.ค.-54 43 - - - - 26 17 - 26 17 - - -ก.พ.-54 45 - 8 - - 20 - 3 20 - 2 8 -มี.ค.-54 76 - 12 54 - 3 - - 15 55 - - -เม.ย.-54 17 - 5 - - 1 - - 8 - - 12 -พ.ค.-54 54 - 48 - - 16 - 3 - - 3 32 -มิ.ย.-54 68 - 39 27 - 9 27 - 9 27 - 39 27ก.ค.-54 66 3 38 23 3 38 23 3 38 23 3 38 23ส.ค.-54 4 - 2 - - 2 - - - - - 2 -ก.ย.-54 - - - - - - - - - - - - -รวม 645 6 264 196 5 194 159 15 235 213 11 225 14322


เดือนผลการตรวจสารตกค้าง เพื่อให้บริการเกษตรกร ปีงบประมาณ 2554จํานวนตัวอย่างลูกกุ้งรายงานประจําปี 2554Oxy Oxo CAP FRQบ่อดินลูกกุ้งบ่อดินต.ค.-53 - - - - - - - - -พ.ย.-53 - - - - - - - - -ธ.ค.-53 - - - - - - - - -ม.ค.-54 - - - - - - - - -ก.พ.-54 - - - - - - - - -มี.ค.-54 54 - 12 - 42 - 54 - -เม.ย.-54 - - - - - - - - -พ.ค.-54 - - - - - - - - -มิ.ย.-54 - - - - - - - - -ก.ค.-54 15 - 15 - 15 - - - -ส.ค.-54 56 - 56 - 56ก.ย.-54 - - - - - - - - -ลูกกุ้งบ่อดินรวม 125 - 83 - 113 - 54 - -นอกจากนี้ยังมีกิจกรรมตรวจวิเคราะห์เพื่อการเฝ้าระวังสารตกค้างจากการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง (Action plan) จํานวน 332 ตัวอย่าง โดยกลุ่ม Nitrofurans จํานวน 37 ตัวอย่างMalachite green& Luco-malachite Green จํานวน 95 ตัวอย่าง และ Tetracycline จํานวน34 ตัวอย่าง ส่งตรวจที่ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งสุราษฎร์ธานี กลุ่ม Nitromidazoles 37ตัวอย่าง Fluoroquinolone จํานวน 34 ตัวอย่าง Sulphonamides จํานวน 34 ตัวอย่างOrganochlorine compounds จํานวน 6 ตัวอย่าง Chemical elements จํานวน 18 ตัวอย่างส่งตรวจกองตรวจสอบและรับรองมาตรฐานคุณภาพสัตว์น้ําและผลิตภัณฑ์ (กตส.) ส่วนChloramphenicol จํานวน 37 ตัวอย่าง ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช เป็นผู้วิเคราะห์ ผลการวิเคราะห์ในกิจกรรมนี้ไม่พบตัวอย่างที่มีสารตกค้างเกินค่าที่กําหนด4.2.2 ตรวจโรคด้วย PCRการตรวจเชื้อไวรัส โดยใช้เครื่อง PCR เริ่มดําเนินการครั้งแรกในเดือนเมษายน 2548โดยตรวจเชื้อไวรัสตัวแดงดวงขาว (WSSV) และ เชื้อไวรัสทอร่า (TSV) ในเดือนตุลาคม 2550 เริ่มตรวจเชื้อไวรัสหัวเหลือง (YHV) ในเดือนกุมภาพันธ์ 2549 เริ่มตรวจเชื้อไวรัสแคระแกร็น (IHHNV)และในเดือนพฤศจิกายน 2553 เริ่มตรวจเชื้อไวรัส IMN โดยให้บริการตรวจแก่เกษตรกรทั่วไปลูกกุ้งบ่อดิน23


รายงานประจําปี 2554ผลการปฏิบัติงานในรอบปีงบประมาณ 2554 แบ่งเป็น 2 กิจกรรม คือ ให้บริการแก่เกษตรกรทั่วไป และโครงการเฝ้าระวังโรค โดยให้บริการแก่เกษตรกรทั่วไปได้ตรวจเชื้อไวรัสในสัตว์น้ํา โดยวิธี PCR จํานวน 93 ตัวอย่าง กุ้งจากบ่อดิน 15 ตัวอย่าง กุ้งจากโรงเพาะ 75 ตัวอย่างปรากฏว่าพบเชื้อไวรัส WSSV ในกุ้งจากบ่อดิน จํานวน 3 ตัวอย่าง คิดเป็น 20 % พบในลูกกุ้ง 12ตัวอย่าง คิดเป็น 16 % ซึ่งผลการปฏิบัติงานได้แสดงในตารางผลการดําเนินงานให้บริการแก่เกษตรกรทั่วไปปีงบประมาณ 2554จํานวนWSSV YHV IHHV TSVเดือนตัวอย่าง บ่อ บ่อ บ่อ บ่อลูกกุ้ง ลูกกุ้ง ลูกกุ้ง ลูกกุ้งดิน ดิน ดิน ดินต.ค.-53 - - - - - - - - -พ.ย.-53 - - - - - - - - -ธ.ค.-53 - - - - - - - - -ม.ค.-54 24 24/2 - 24/0 - 24/0 - 24/0 -ก.พ.-54 29 24/0 5/0 24/0 5/0 24/0 5/0 24/0 5/0มี.ค.-54 13 8/0 5/0 8/0 5/0 8/0 5/0 8/0 5/0เม.ย.-54 - - - - - - - - -พ.ค.-54 9 4/4 2/0 3/0 2/0 4/0 2/0 3/0 2/0มิ.ย.-54 3 3/0 0 3/0 0 3/0 0 3/0 -ก.ค.-54 10 7/6 3/3 7/0 3/0 7/0 3/0 7/0 3/0ส.ค.-54 - - - - - - - - -ก.ย.-54 5 5/0 - 5/0 - 5/0 - 5/0 -รวม 93 75 15 74 15 72 15 74 15พบเชื้อ 12 3 0 0 0 0 0 0% 16 20 0 0 0 0 0 024


รายงานประจําปี 25544.3.โครงการเฝ้าระวังโรคกุ้งทะเลสืบเนื่องจากการที่ประเทศไทย ได้เข้าร่วมเป็นสมาชิกขององค์การการค้าโลก (WTO) จึงจําเป็นต้องปฏิบัติตามข้อตกลงทางการค้าระหว่างประเทศสมาชิกในเรื่องที่เกี่ยวกับสุขอนามัย การปนเปื้อนของเชื้อโรคและสารตกค้างในสินค้าสัตว์น้ําส่งออกและเพื่อให้สอดคล้องกับมาตรการขององค์การโรคระบาดสัตว์ระหว่างประเทศ (OIE)กรมประมงได้จัดทําระบบการเฝ้าระวังโรคไวรัสกุ้งทะเลโดยได้ดําเนินการมาตั้งแต่ปี พ.ศ.2547 โดยตรวจสอบโรคตัวแดงดวงขาว (WSSV) โรคหัวเหลือง (YHV) โรคแคระแกร็น (IHHNV) โรคทอร่าซินโดรม(TSV)และโรคกล้ามเนื้อขุ่นขาว(IMNV)ในกุ้งทะเลที่เลี้ยงและพาหะจากแหล่งน้ําธรรมชาติ โดยมีการเฝ้าระวังโรคกุ้งทะเลตลอดแนวชายฝั่งทะเลทั้ง 2 ด้าน โดยแบ่งการดําเนินงานออกเป็น 2 ระบบ คือ1.ระบบเฝ้าระวังโรคทางตรง (Active Surveillance) คัดเลือกฟาร์มเป้าหมายที่จะดําเนินการเฝ้าระวังโดยการสุ่ม (random sampling) คิดเป็น 5 % prevalence ของจํานวนโรงเพาะฟักและกุ้งที่เลี้ยงในบ่อดิน และสัตว์น้ําที่เป็นพาหะของโรคไวรัสจากแหล่งน้ําธรรมชาติในบริเวณใกล้เคียงกับฟาร์มเลี้ยงกุ้งเป็นประจํา มาตรวจหาเชื้อไวรัสทั้ง5 ชนิดข้างต้น แล้วรายงานผลการวิเคราะห์ไปยังสถาบันสุขภาพสัตว์น้ําเพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ต่อไป2.ระบบเฝ้าระวังโรคทางอ้อม(Passive Surveillance) โดยประชาสัมพันธ์รับแจ้งข้อมูลข่าวสารการเกิดโรคระบาดในกุ้งทะเลจากเกษตรกรโดยตรง จากสื่ออิเล็กทรอนิกส์ต่างๆและจากการสอบถามเกษตรกรผู้มาใช้บริการ และผลจากการตรวจหาเชื้อไวรัสจากห้องปฏิบัติการภายในศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราชและรายงานผลการสํารวจไปยังสถาบันวิจัยสุขภาพสัตว์น้ําเพื่อการวิเคราะห์สถานการณ์ต่อไปผลการปฏิบัติงานในรอบปี 2554 ได้ดําเนินการตรวจเชื่อไวรัสในสัตว์น้ําโดยวิธี PCR จํานวน132 ตัวอย่าง ปรากฏว่าพบเชื้อ WSSV จํานวน 4 ตัวอย่าง พบเชื้อ IHHNV จํานวน 50 ตัวอย่างพบเชื้อ TSV จํานวน 4 ตัวอย่าง ซึ่งผลการปฏิบัติงานได้แสดงในตาราง25


รายงานประจําปี 2554ผลการดําเนินงานการเฝ้าระวังโรคกุ้งทะเล ปีงบประมาณ 2554เดือนจํานวนตัวอย่างWSSV YHV IHHNV TSVลูกกุ้ง บ่อดิน ลูกกุ้ง บ่อดิน ลูกกุ้ง บ่อดิน ลูกกุ้ง บ่อดินต.ค.53 0 0 0 0 0 0 0 0 0พ.ย.53 13 6/0 7/0 6/0 7/0 6/3 7/2 6/0 7/0ธ.ค.53 8 8/0 0/0 8/0 0/0 8/2 0/0 8/0 0/0ม.ค.54 3 0/0 3/0 0/0 3/0 0/0 3/0 0/0 3/0ก.พ.54 6 5/0 1/0 5/0 1/0 5/0 1/1 5/0 1/0มี.ค.54 39 2/0 37/0 2/0 37/0 2/0 37/20 2/0 37/4เม.ย.54 0 0/0 0/0 0/0 0/0 0/0 0/0 0/0 0/0พ.ค.54 9 4/0 5/1 4/0 5/0 4/3 5/1 4/0 5/0มิ.ย.54 17 0/0 17/0 0/0 17/0 0/0 17/17 0/0 17/0ก.ค.54 19 4/1 15/1 4/1 15/0 4/1 15/2 4/1 15/0ส.ค.54 8 2/0 6/0 2/0 6/0 2/0 6/0 2/0 6/0ก.ย.54 10 0/0 10/1 0/0 10/0 0/0 10/0 0/0 10/0รวม 132 31 101 31 101 31 101 31 101พบเชื้อ 58 1 3 0 0 7 43 0 4% 10.98 3.22 2.97 0 0 22.58 42.57 0 3.9626


ผลการตรวจเชื้อไวรัส IMNV ในกุ้งทะเล ปีงบประมาณ 2554รายงานประจําปี 2554เดือนจํานวนตัวอย่างIMNVโรงเพาะฟัก บ่อดิน ผลการตรวจต.ค.53 6 6 0 ไม่พบพ.ย.53 0 0 0 ไม่พบธ.ค.53 8 8 0 ไม่พบม.ค.54 0 0 0 ไม่พบก.พ.54 5 5 0 ไม่พบมี.ค.54 2 2 0 ไม่พบเม.ย.54 0 0 0 ไม่พบพ.ค.54 7 7 0 ไม่พบมิ.ย.54 3 3 0 ไม่พบก.ค.54 24 4 21 ไม่พบส.ค.54 3 3 0 ไม่พบก.ย.54 0 0 0 ไม่พบรวม 58 37 21 ไม่พบพบเชื้อ 0 0 0 0% 0 0 0 027


รายงานประจําปี 25542.โครงการคอมพาร์ทเมนต์การจัดทําระบบคอมพาร์ทเมนต์ในกุ้งทะเลของประเทศไทย เริ่มดําเนินการตั้งแต่ ปี พ.ศ.2549 เป็นความร่วมมือระหว่างกรมประมงและสํานักมาตรฐานสินค้าเกษตรและอาหารแห่งชาติจัดทําโครงการนําร่อง เพื่อจัดทําและทดสอบระบบฟาร์มคอมพาร์ทเมนต์กุ้งทะเล สําหรับประเทศไทยระบบคอมพาร์ทเมนต์ของกุ้งทะเล มีเป้าหมายในการควบคุมโรคไวรัสกุ้งตามประกาศของ OIE หรือตามที่ประเทศคู่ค้ากําหนด โดยมีระบบจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพ การควบคุมและเฝ้าระวังโรคเพื่อป้องกันความเสี่ยงการนําโรคไวรัสกุ้งเข้าไปแพร่ภายในฟาร์มคอมพาร์ทเมนต์ ข้อดีของฟาร์มคอมพาร์ทเมนต์ คือ ผลผลิตที่ได้จากคอมพาร์ทเมนต์สามารถส่งออกไปยังประเทศที่ต้องการได้ แม้ว่าจะมีการระบาดของโรคที่มีปัญหาทางการค้าอยู่ในส่วนอื่นของประเทศไทยก็ตาม นอกจากนี้คอมพาร์ทเมนต์แต่ละแห่งจะมีอิสระต่อกัน กล่าวคือ ถ้ามีโรคระบาดเกิดขึ้นในคอมพาร์ทเมนต์หนึ่งเฉพาะผลผลิตที่ได้จากคอมพาร์ทเมนต์นี้เท่านั้นที่ไม่สามารถส่งออกได้ ในขณะที่ผลผลิตจากคอมพาร์ทเมนต์อื่นยังคงส่งออกได้ตามปกติ สําหรับฟาร์มกุ้งทะเลที่เข้าร่วมโครงการจะต้องเป็นฟาร์มที่ได้รับการรับรองมาตรฐานการเลี้ยงสัตว์น้ําจีเอพี หรือ มาตรฐานซีโอซี และมีระบบมาตรฐานการจัดการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ และเพื่อให้การการควบคุมโรคกุ้งในฟาร์มและพื้นที่กันชนของคอมพาร์ทเมนต์ มีประสิทธิภาพและถูกต้องตามหลักปฏิบัติ จะต้องมีมาตรการในการควบคุมโรคไวรัสกุ้งทะเล และกําหนดเป็นนโยบายชัดเจนโดยไม่ขัดต่อระเบียบข้อบังคับ ซึ่งผลการจัดทําระบบการจัดการคอมพาร์ทเมนต์ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลนี้ จะทําให้ประเทศไทยได้รับความเชื่อถือและยอมรับจากประเทศคู่ค้า มีส่วนช่วยให้การซื้อขายสินค้าระหว่างประเทศทําได้สะดวกและปลอดภัยมากขึ้นการจัดทําระบบคอมพาร์ทเมนต์ในกุ้งทะเลนั้น ฟาร์มหรือกลุ่มฟาร์มจะต้องเลี้ยงกุ้งทะเลชนิดเดียวกัน และมีสถานภาพปลอดจากโรคไวรัสกุ้งที่เป็นเป้าหมายที่กําหนด ภายใต้การจัดการความปลอดภัยทางชีวภาพร่วมกัน โดยคํานึงถึงขอบเขตทางด้านภูมิศาสตร์ ซึ่งต้องมีมาตรการการเฝ้าระวังและควบคุมโรค รวมถึงมีมาตรการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ โดยที่ฟาร์มกุ้งจะต้องได้รับมาตรฐานฟาร์มเจเอพีหรือซีโอซี และจะต้องจัดทําคู่มือ 2 ฉบับ คือ คู่มือการเลี้ยงกุ้งประจําฟาร์มตามมาตรฐานการเพาะเลี้ยงกุ้งที่ดีและคู่มือมาตรฐานการจัดการด้านความปลอดภัยความปลอดภัยทางชีวภาพ1. คู่มือฟาร์มตามมาตรฐานการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลที่ดี จีเอพี (Good AquaculturePractice, GAP) หรือ ซีโอซี (Code of Conduct, CoC) ฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเลที่ประสงค์จัดทําระบบคอมพาร์ทเมนต์ทุกฟาร์ม ต้องจัดทําคู่มือการเลี้ยงประจําฟาร์ม สําหรับเป็นคู่มือประกอบการเลี้ยงกุ้งของฟาร์มนั้นๆ สาระสําคัญของคู่มือฟาร์มตามมาตรฐานการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลที่ดี ประกอบด้วยสถานที่และการขึ้นทะเบียนฟาร์ม การจัดการฟาร์ม การใช้ยาสัตว์ สารเคมีวัตถุอันตรายและผลิตภัณฑ์จุลินทรีย์ที่ใช้ในการเลี้ยงสัตว์น้ํา การจัดการน้ําทิ้งและดินเลน พลังงานและน้ํามันเชื้อเพลิงสุขอนามัยภายในฟาร์ม การเก็บเกี่ยว และการดูแลหลังการเก็บเกี่ยวก่อนการขนส่งออกจากฟาร์มแรงงานและสวัสดิการ ความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม และ การบันทึกข้อมูล2. คู่มือมาตรฐานการจัดการด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ (Biosecurity) เป็นคู่มือที่กล่าวถึงสภาพทั่วไปของฟาร์มและข้อกําหนดมาตรการควบคุมจุดวิกฤตของฟาร์มเพาะเลี้ยงกุ้งทะเลได้แก่ การจัดการฟาร์ม การจัดการทรัพยากรน้ํา การจัดการบุคลากร การจัดการสุขภาพกุ้งทะเล การจัดการด้านอาหารกุ้ง และการปฏิบัติด้านความปลอดภัยทางชีวภาพในภาวะฉุกเฉิน การเก็บเกี่ยว28


รายงานประจําปี 2554ผลผลิตและการขนส่ง และ การจดบันทึกข้อมูลและการจัดทําเอกสารคู่มือ ประกอบด้วย แผนงานด้านต่าง ๆ ดังนี้ก. การประเมินความเสี่ยงของการนําเชื้อก่อโรคเข้าสู่ฟาร์ม หรือทบทวนหาจุดวิกฤต(critical control point) เส้นทาง หรือ จุดเสี่ยงที่จัดว่าอันตรายที่เชื้อก่อโรคอาจแพร่เข้ามาในฟาร์มไบโอซิเคียวนั้นจะแตกต่างกันไปในแต่ละฟาร์ม ขึ้นอยู่กับความพร้อมของสถานที่ ความเอาใจใส่ในการบริหารจัดการภายในฟาร์ม เกษตรกรจะต้องตรวจสอบความเป็นไปได้ทั้งหมดที่อาจมีการนําเข้า หรือติดเข้ามาซึ่งเชื้อก่อโรคสู่พื้นที่จุดใดจุดหนึ่งก่อน แล้วติดเข้าภายในฟาร์มได้แก่ การพิจารณาข้อเท็จจริงที่ว่าเชื้อก่อโรคนั้นๆ จะมีชีวิตอยู่ได้นานเท่าไร และมีความทนทานมากน้อยเท่าใดในสภาพแวดล้อมของการเลี้ยง เชื้อก่อโรคนั้นๆ อาจติดมากับยานพาหนะ มากับพาหะชนิดต่างๆ และสัตว์นําพา เช่น สัตว์จําพวกกัดแทะ ได้แก่ หนู เป็นต้นหรืออาจจะติดมากับมูลนก หรือคนเป็นผู้นําพาเข้ามา น้ําและระบบน้ําที่ใช้ในการเลี้ยง ระบบทางระบายน้ํา หรือระบบบําบัด และระบบกําจัดของเสีย เป็นต้นข. กําหนดมาตรการสําหรับควบคุมจุดวิกฤตที่ทบทวนได้ตามที่ระบุในข้อ ก.ค. จัดทํามาตรการลดความรุนแรงของแต่ละจุดวิกฤตที่ได้รับการควบคุมง. จัดทําวิธีปฏิบัติงานพื้นฐานภายในฟาร์ม ได้แก่ ขั้นตอนการเลี้ยง การให้อาหารการซ่อมบํารุง การตรวจติดตาม การดูแลแก้ไขเมื่อตรวจพบข้อบกพร่อง การสอบพิสูจน์ความถูกต้องของแต่ละกระบวนการ และการจดบันทึกจ. จัดเตรียมแผนปฏิบัติการฉุกเฉิน กรณีที่มีเหตุฉุกเฉินเมื่อเกิดโรคระบาดขึ้นภายในฟาร์ม จะต้องเพิ่มความเข้มข้นในการควบคุมเรื่องการสัมผัสเชื้อโรค หรือความเสี่ยงในการเกิดโรคฉ. จัดแผนการฝึกอบรมบุคลากรให้มีความรู้ ทักษะ ความชํานาญ และการฝึกทบทวน เพื่อให้มั่นใจว่าบุคคลากรทุกระดับมีความรู้ความเข้าใจในหลักการ และแนวทางในการปฏิบัติงานด้านความปลอดภัยทางชีวภาพ2. การเฝ้าระวังเพื่อรับรองและรักษาสถานภาพปลอดโรค ประกอบด้วย การเฝ้าระวังและการควบคุมโรคกุ้งในฟาร์มและพื้นที่กันชน มีแนวทางการดําเนินการเฝ้าระวังโรค ดังนี้ ฟาร์มที่จะได้การรับรองและรักษาสถานภาพปลอดโรคนั้น จะต้องมีการเฝ้าระวังโรคที่เป็นเป้าหมายและจะต้องตรวจไม่พบเชื้อไวรัสต้องสงสัยในระยะเวลา 2 ปีติดต่อกัน โดยทุกฟาร์มในระบบคอมพาร์ทเมนต์จะต้องมีการเฝ้าระวังทางอาการและทางห้องปฏิบัติการ โดยที่เจ้าของฟาร์มหรือผู้เลี้ยงจะต้องสังเกตอาการกุ้งเป็นประจําทุกวัน หากมีอาการของโรคที่ต้องสงสัยต้องแจ้งเจ้าหน้าที่ทันที เจ้าหน้าที่เข้าสอบสวนอาการเบื้องต้น เก็บตัวอย่างส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการและรายงานผลการตรวจสอบโรค สําหรับการเฝ้าระวังทางห้องปฏิบัติการ (Laboratory surveillance) เจ้าหน้าที่จะเข้าเก็บตัวอย่างระหว่างการเลี้ยงจํานวน 1 ครั้งในทุกรอบการเลี้ยง เป็นเวลาติดต่อกัน 2 ปี เก็บตัวอย่างตามวิธีการที่ระบุใน the OIEAquatic Animal Health Code โดยเก็บตัวอย่างที่ 5% prevalence ระดับความเชื่อมั่น 95%นําส่งห้องปฏิบัติการเพื่อตรวจหาเชื้อไวรัสที่ต้องสงสัยด้วยวิธีพีซีอาร์ตามที่ระบุใน the OIE Manualof Diagnostic Tests for Aquatic Animal และรายงานผลการตรวจสอบไปที่สถาบันสุขภาพสัตว์น้ําชายฝั่งสงขลา ตามแบบฟอร์มการเฝ้าระวังโรค เจ้าหน้าที่จะรวบรวมข้อมูลการเฝ้าระวังโรคไวรัสในกุ้งทะเล เพื่อประกอบการพิจารณาการขอขึ้นทะเบียนและต่ออายุฟาร์มคอมพาร์ทเมนต์ นอกจากจะมี29


รายงานประจําปี 2554การเฝ้าระวังโรคในบ่อเลี้ยงกุ้งแล้ว จะมีการเก็บสัตว์น้ําที่เป็นพาหะของโรคจากแหล่งน้ํารอบบริเวณฟาร์มและแหล่งน้ําโดยรอบฟาร์มด้วย3. การจัดทําระบบตรวจสอบย้อนกลับ (Traceability) เพื่อทราบแหล่งที่มาของผลผลิตในแต่ละขั้นตอนของกระบวนการผลิตโดยที่ระบบสามารถสอบย้อนกลับไปยังต้นทาง และเพื่อช่วยให้การดําเนินการตรวจย้อนเป็นไปอย่างรวดเร็ว ทําให้การเรียกคืนสินค้ากลับมีประสิทธิภาพเป็นการคุ้มครองผู้บริโภค โดยจัดทําระบบฐานข้อมูลฟาร์มในระบบคอมพาร์ทเมนต์ การเคลื่อนย้ายกุ้ง การซื้อขายกุ้งในระบบคอมพาร์ทเมนต์ เชื่อมโยงกับข้อมูลการแปรรูปสินค้าเพื่อการจําหน่ายหรือส่งออก รวมถึงรายงานการเกิดโรคไวรัสในกุ้งในระบบคอมพาร์ทเมนต์ ปัจจุบันภายใต้โครงการนําร่องในการจัดทําระบบการจัดการคอมพาร์ทเมนต์ในฟาร์มเลี้ยงกุ้งทะเล เพื่อแก้ไขปัญหาการปนเปื้อนของเชื้อไวรัสก่อโรคในผลผลิตกุ้งสดแช่เย็นแช่แข็งในปีงบประมาณ 2554 นั้น ศูนย์ฯได้มีฟาร์มที่สมัครเข้าร่วมโครงการคอมพาร์ทเมนต์ทั้งสิ้น 5ฟาร์ม จนถึงปัจจุบันมีฟาร์มที่ผ่านการทบทวนการรับรองคอมพาร์ทเมนต์กุ้งทะเลจํานวน 2 ฟาร์ม คือ1.นครทองฟาร์ม 83/3 ม.8 ต.ทุ่งใส อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช2.ปิติซายอาคควาสยาม 385/4 ม.5 ต.สิชล อ.สิชล จ.นครศรีธรรมราช4.4. ตรวจสารปฏิชีวนะปนเปื้อนในปัจจัยการผลิตศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช ได้ตรวจวิเคราะห์สารปฏิชีวนะปนเปื้อนในปัจจัยการผลิต เพื่อตรวจสอบติดตามป้องกันสารปฏิชีวนะที่อาจปนเปื้อนในอาหารสัตว์น้ําและสารผสมล่วงหน้าที่ใช้ในการเลี้ยง ซึ่งเจ้าหน้าที่สุ่มตัวอย่างอาหาร อาหารเสริม วิตามิน และแร่ธาตุ ประมาณ 3-5 กรัมต่อตัวอย่างโดยสุ่มตรวจวิเคราะห์สาร 3 กลุ่ม คือ กลุ่ม Tetracycline กลุ่มNitrofurans และกลุ่ม Chloramphenical ด้วยวิธี Screening testผลการปฏิบัติงานในรอบปีงบประมาณ 2554 ได้ดําเนินการตรวจสารปฏิชีวนะปนเปื้อนในปัจจัยการผลิต จํานวน 228 ตัวอย่าง ผลคือไม่พบการปนเปื้อนในปัจจัยใดเลย4.5งานให้บริการแก่เกษตรกร4.5.1. คลินิกสุขภาพสัตว์น้ําศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราชได้ให้บริการตรวจคุณภาพน้ําและสุขภาพสัตว์น้ําเบื้องต้นให้แก่เกษตรกร ได้แก่ ตรวจคุณภาพน้ําเบื้องต้น ตรวจลักษณะภายนอก ตรวจปรสิตภายนอก ตรวจ MBV ตรวจแบคทีเรีย ตรวจไวรัสตัวแดงดวงขาวตลอดจนให้คําแนะนําในการป้องกันรักษาโรคของสัตว์น้ําผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2554 มีเกษตรกรมาตรวจวิเคราะห์คุณภาพน้ํา223 ราย 415 ตัวอย่าง ตรวจสุขภาพสัตว์น้ํา 6 ราย 6 ตัวอย่าง30


รายงานประจําปี 2554รายงานการตรวจคุณภาพน้ําและสุขภาพสัตว์น้ําเบื้องต้นให้แก่เกษตรกรปีงบประมาณ 2554เดือนคุณภาพน้ํา ตรวจสุขภาพสัตว์น้ําราย ตัวอย่าง ราย ตัวอย่างต.ค.-53 16 34 1 1พ.ย.-53 16 23 0 0ธ.ค.-53 22 42 1 1ม.ค.-54 19 40 0 0ก.พ.-54 20 30 1 1มี.ค.-54 39 78 0 0เม.ย.-54 9 16 0 0พ.ค.-54 15 22 1 1มิ.ย.-54 22 47 2 2ก.ค.-54 16 25 0 0ส.ค.-54 22 44 0 0ก.ย.-54 7 14 0 0รวม 223 415 6 64.5.2.การออกหนังสือกํากับการจําหน่ายลูกพันธุ์และสัตว์น้ําหนังสือกํากับการจําหน่าย ลูกพันธุ์สัตว์น้ําและสัตว์น้ํา เป็นเอกสารที่กรมประมงออกให้กับเกษตรกรผู้เพาะเลี้ยงสัตว์น้ํา เพื่อเป็นหลักฐานในการสืบย้อนกลับของสินค้าสัตว์น้ําทุกชนิดที่ผู้ประกอบการประเภทต่างๆ จําเป็นต้องแสดงหลักฐานในการประกอบธุรกิจ โดยหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชนที่กรมประมงอนุญาต จะเป็นผู้ออกหนังสือรับรอง ตามหลักเกณฑ์ที่กําหนดในระเบียบกรมประมง ว่าด้วยการประกาศรับรองให้ออกหนังสือกํากับการจําหน่ายสัตว์น้ํา พ.ศ. 2548ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช ได้ใช้โปรแกรมฐานข้อมูลการออกหนังสือกํากับการจําหน่ายสัตว์น้ํา ในการออกหนังสือกํากับฯ โดยออกหนังสือกํากับการจําหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ํา (จสน.2) ให้แก่ผู้ประกอบการโรงเพาะฟักในเขตอําเภอขนอม สิชลและท่าศาลาส่วนหนังสือกํากับการจําหน่ายสัตว์น้ํา (จสน.3) ได้ออกให้กับเกษตรกรในเขตอําเภอขนอม สิชลและท่าศาลาเช่นกันผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2554 ศูนย์ฯ ได้ออกหนังสือกํากับการจําหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ํา (จสน.2) จํานวน 3,789 ฉบับ โดยเพิ่มขึ้นจากปี 2553 คิดเป็นร้อยละ 7.02รายละเอียดตามตารางต่อไปนี้31


รายงานประจําปี 2554การออกหนังสือกํากับการจําหน่ายลูกพันธุ์สัตว์น้ํา (จสน.2) ปีงบประมาณ 2554เดือน/ปี กุ้งขาว(ตัว) กุ้งกุลาดํา(ตัว) กุ้งแชบ๊วย(ตัว) จ.ส.น.2 โรงเพาะNauplius Postlarva Nauplius Postlarva Nauplius Postlarva (ฉบับ) (ราย)ต.ค.-53 0 123,004,000 5,000,000 25,535,000 3,000,000 1,500,000 381 58พ.ย.-53 0 101,941,000 20,000,000 24,225,000 0 0 332 58ธ.ค.-53 0 112,795,000 0 1,636,000 0 0 200 30ม.ค.-54 0 155,586,000 5,000,000 1,800,000 0 0 267 41ก.พ.-54 0 108,170,000 15,000,000 0 0 0 173 35มี.ค.-54 0 217,687,000 23,000,000 9,520,000 0 0 401 45เม.ย.-54 0 107,111,000 5,000,000 4,250,000 0 0 201 41พ.ค.-54 0 167,832,000 15,000,000 5,720,000 3,000,000 0 315 57มิ.ย.-54 0 167,682,000 38,000,000 4,470,000 0 0 347 59ก.ค.-54 0 188,237,999 34,000,000 10,955,000 0 0 424 62ส.ค.-54 0 196,715,000 4,000,000 9,290,000 0 0 402 59ก.ย.-54 0 153,005,000 0 10,900,000 0 0 346 56รวม 0 1,799,765,999 164,000,000 108,301,000 6,000,000 1,500,000 3,789 60132


รายงานประจําปี 2554แสดงจํานวนลูกพันธุ์กุ้งทะเลที่เกษตรกรจากที่ต่างๆ มาซื้อจากโรงเพาะฟักในเขต อ.ขนอม อ.สิชล และ อ.ท่าศาลา ปีงบประมาณ 2554อําเภอ หัวไทร ปากพนัง เชียรใหญ่ เมือง ท่าศาลา สิชล ขนอม ต่างจังหวัด รวมต.ค.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 8,210,000 9,870,000 0 27,960,000 1,200,000 11,560,000 12,000,000 87,239,000 158,039,00053 จํานวน(ราย) 22 22 0 159 2 18 2 156 381พ.ย.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 24,870,000 7,210,000 1,000,000 25,387,000 600,000 10,910,000 11,200,000 64,989,000 146,166,00053 จํานวน(ราย) 56 16 2 127 3 4 5 119 332ธ.ค.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 13,020,000 6,965,000 0 840,000 600,000 2,790,000 5,000,000 85,216,000 114,431,00053 จํานวน(ราย) 28 16 0 3 1 7 1 144 200ม.ค.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 5,910,000 15,120,000 0 2,045,000 0 5,800,000 6,300,000 127,211,000 162,386,00054 จํานวน(ราย) 8 22 0 8 0 7 4 218 267ก.พ.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 2,080,000 8,005,000 0 5,160,000 3,000,000 16,870,000 500,000 87,555,000 123,170,00054 จํานวน(ราย) 4 16 0 11 3 4 1 134 173มี.ค.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 36,580,000 30,635,000 1,200,000 13,335,000 5,200,000 26,023,000 10,500,000 126,734,000 250,207,00054 จํานวน(ราย) 68 60 3 53 5 21 3 188 401เม.ย.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 23,200,000 13,670,000 500,000 5,520,000 400,000 6,590,000 5,000,000 61,481,000 116,361,00054 จํานวน(ราย) 45 25 1 24 1 11 1 93 201พ.ค.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 19,315,000 22,232,000 900,000 7,230,000 3,000,000 19,420,000 5,500,000 113,955,000 191,552,00054 จํานวน(ราย) 36 42 1 46 4 12 2 172 31533


รายงานประจําปี 2554อําเภอ หัวไทร ปากพนัง เชียรใหญ่ เมือง ท่าศาลา สิชล ขนอม ต่างจังหวัด รวมมิ.ย.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 22,150,000 28,467,000 700,000 12,960,000 1,500,000 40,835,000 5,800,000 97,740,000 210,152,00054 จํานวน(ราย) 46 50 2 69 1 20 3 156 347ก.ค.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 25,705,000 23,899,999 0 21,703,000 800,000 41,015,000 6,400,000 113,670,000 233,192,99954 จํานวน(ราย) 46 52 0 119 1 21 4 181 424ส.ค.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 18,035,000 24,540,000 0 17,260,000 3,700,000 11,690,000 5,300,000 129,580,000 210,105,00054 จํานวน(ราย) 32 56 0 96 5 19 3 191 402ก.ย.- จํานวนกุ้ง(ตัว) 14,390,000 16,025,000 0 20,395,000 1,150,000 4,960,000 880,000 106,555,000 164,355,00054 จํานวน(ราย) 32 36 0 111 2 7 1 157 346รวมจํานวนกุ้ง(ตัว) 213,465,000 206,638,999 4,300,000 159,795,000 21,150,000 198,463,000 74,380,000 1,201,925,000 2,080,116,999จํานวน(ราย) 423 413 9 826 28 151 30 1,909 3,78934


รายงานประจําปี 2554ผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 2554 ศูนย์ฯ ได้ออกหนังสือกํากับการจําหน่ายสัตว์น้ํา (จสน.3) จํานวน 871 ฉบับ น้ําหนัก 5,493,618 กิโลกรัม โดยจํานวนฉบับลดลงจากปี2552 คิดเป็นร้อยละ 10.11 น้ําหนักกุ้งลดลงคิดเป็นร้อยละ 15.14การออกหนังสือกํากับการจําหน่ายสัตว์น้ํา (จสน.3) ปีงบประมาณ 2554เดือน/ปี อ.ขนอม อ.สิชล อ.ท่าศาลา รวม จ.ส.น.3 เกษตรกรกุ้งขาว กุ้งขาว กุ้งขาว กก. (ฉบับ) (ราย)ต.ค.-53 5,500 331,000 254,980 591,480 90 71พ.ย.-53 0 277,069 186,100 463,169 88 71ธ.ค.-53 0 195,900 74,700 270,600 49 44ม.ค.-54 5,500 170,450 166,400 342,350 60 52ก.พ.-54 0 155,436 101,900 257,336 41 35มี.ค.-54 5,000 278,000 76,000 359,000 62 52เม.ย.-54 0 125,300 125,300 250,600 40 35พ.ค.-54 0 85,614 119,150 204,764 31 29มิ.ย.-54 0 110,750 94,700 205,450 36 33ก.ค.-54 0 370,600 176,690 547,290 85 73ส.ค.-54 0 410,700 231,800 642,500 93 80ก.ย.-54 6,500 321,600 94,400 422,500 67 59รวม 22,500 2,832,419 1,702,120 4,557,039 742 63435


รายงานประจําปี 2554งานติดตามคุณภาพแหล่งน้ําที่นํามาใช้ในการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่งการติดตามคุณภาพน้ําแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่งเป็นกิจกรรมหนึ่งอาศัยงบประมาณในกิจกรรมตรวจสอบและรับรองคุณภาพสินค้าประมง ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราช จัดเจ้าหน้าที่ของศูนย์ฯเก็บตัวอย่างน้ําธรรมชาติซึ่งเป็นแหล่งเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําชายฝั่ง และจากบ่อเพาะเลี้ยงของเกษตรกรเป็นประจําทุกเดือน เดือนละครั้ง จาก7 อําเภอชายทะเลของจังหวัดนครศรีธรรมราช คือ อําเภอขนอม สิชล ท่าศาลา เมือง ปากพนัง หัวไทรและเชียรใหญ่ มีจุดเก็บตัวอย่างทั้งสิ้น 16 สถานี โดยตรวจวัดค่าพารามิเตอร์ ความเป็นกรดด่าง(pH) ความเค็ม อุณหภูมิน้ํา ความเป็นด่าง(alkalinity) ความโปร่งแสง ค่าออกซิเจนละลายน้ํา(DO) ค่าบีโอดี (BOD) ฟอสเฟต ไนไตรท์ แอมโมเนีย TC FC แบคทีเรียกลุ่มวิบริโอ รวมทั้งสิ้น13 พารามิเตอร์ ผลการตรวจวัดค่าพารามิเตอร์เหล่านี้ ในแต่ละเดือนได้นําแจ้งแก่ เกษตรกรผู้ประกอบการ และองค์การบริหารส่วนตําบลเจ้าของพื้นที่ เพื่อประชาสัมพันธ์แก่เกษตรกรให้ทราบสถานะคุณภาพน้ําแหล่งน้ําในเขตของตนต่อไปภาพแสดงจุดเก็บตัวอย่างน้ําในจังหวัดนครศรีธรรมราช36


รายงานประจําปี 25549.008.508.007.507.006.506.00อ.ขนอมต.ค 53 พ.ย 53 ธ.ค 53 ม.ค 54 ก.พ 54 มี.ค 54 เม.ย 54 พ.ค 54 มิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 54เดือนทองเนียนขนอม9.008.007.006.005.004.003.002.001.000.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54อ.สิชลมี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54สิชลท่าหมากศนย์วิจัยฯ9.00อ.ทาศาลา9.00อ.เมือง8.008.007.007.006.006.005.004.003.005.004.002.003.001.002.000.001. 0 0ต.ค 53 พ.ย53ธ.ค 53 ม.ค 54ก.พ มี.ค 54 เม.ย5454เดือนพ.ค มิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 5454กลายบอนนท0.00ปากพยิงต.ค 53 พ.ย 53 ธ.ค 53 ม.ค 54 ก.พ 54 มี.ค 54 เม.ย 54 พ.ค 54 มิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 54ปากพูนเดือนปากนคร9.008.007.006.005.004.003.002.001.000.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54อ.เชียรใหญ่ก.พ54มี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ย54 54การะเกดPH10.005.000.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54อ.หัวไทรก.พ มี.ค เม.ย54 54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ย54 54หัวไทรหน้าสตน10.00อ.ปากพนังPH5.000.00ต.คพ.ยธ.คม.คก.พมี.ค เม.ยพ.คมิ.ยก.คส.คก.ย535353545454545454545454เดือนท่าเทียบเรือท่าพญาปากแพรกภาพแสดงค่าความเป็นกรดด่างของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอในจังหวัดนครศรีธรรมราช37


รายงานประจําปี 2554อ.ขนอม35อ.สิชลความเค็ม40200ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54ท้องเนียนขนอมความเค็ ม302520151050ต.ค 53พ.ย53ธ.ค 53 ม.ค 54ก.พ54มี.ค 54เดือนเม.ย54พ.ค54สิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯมิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 5435อ.ท่าศาลา25อ.เมือง3020ความเค็ ม252015ความเค็ ม15101050ต.ค 53พ.ย53ธ.ค 53 ม.ค 54ก.พ54มี.ค 54 เม.ย54เดือนพ.ค54มิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 54กลายบ่อนนท์50ต.ค 53พ.ย53ธ.ค 53 ม.ค 54ก.พ54มี.ค 54เดือนเม.ย54พ.ค54ปากพยิงปากพูนปากนครมิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 54ความเค็ ม$1$1$1$0$0$0ต.ค 53พ.ย53ธ.ค 53 ม.ค 54ก.พ54อ.เชียรใหญ่มี.ค 54 เม.ย54เดือนพ.ค54มิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 54การะเกดความเค็ ม4035302520151050ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54อ.หัวไทรมี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ยหัวไทร 54 54หนาสตนความเค็ ม4035302520151050ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54อ.ปากพนังมี.ค54เดือนเม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ยท่าเทียบเรือ54 54ท่าพญาปากแพรกภาพแสดงค่าความเค็มของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช38


รายงานประจําปี 255439ภาพแสดงค่าอุณหภูมิของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราชอ.ขนอม22.0024.0026.0028.0030.0032.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอุณหภูมิท้องเนียนขนอมอ.สิชล0.0020.0040.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอุณหภูมิสิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯอ.ท่าศาลา0.0010.0020.0030.0040.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอุณหภูมิกลายบ่อนนท์อ.เมือง0.0010.0020.0030.0040.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอุณหภูมิปากพยิงปากพูนปากนครอ.เชียรใหญ่0.0010.0020.0030.0040.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอุณหภูมิการะเกดอ.หัวไทร0.0010.0020.0030.0040.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอุณหภูมิหัวไทรหน้าสตนอ.ปากพนัง0.0020.0040.00ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอุณหภูมิท่าเทียบเรือท่าพญาปากแพรก


รายงานประจําปี 255440ภาพแสดงค่าอัลคาไลน์ของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราชอ.ขนอม0100200300ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนAlkalineท้องเนียนขนอมอ.สิชล050100150200ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนAlkalineสิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯอ.ท่าศาลา050100150200ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนAlkalineกลายบ่อนนท์อ.เมือง0100200300ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนAlkalineปากพยิงปากพูนปากนครอ.เชียรใหญ่01020304050ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนAlkalineการะเกดอ.หัวไทร050100150200ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนอ.หัวไทรหัวไทรหน้าสตนอ.ปากพนัง050100150200ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนAlkalineท่าเทียบเรือท่าพญาปากแพรก


รายงานประจําปี 255441ภาพแสดงค่าความโปร่งแสงของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอในจังหวัดนครศรีธรรมราชอ.ขนอม050100150ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนความโปร่งแสท้องเนียนขนอมอ.สิชล050100150ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนความโปร่งแสงสิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯอ.ท่าศาลา050100ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนความโปร่งแสงกลายบ่อนนท์อ.ท่าศาลา020406080100ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนความโปร่งแสงปากพยิงปากพูนปากนครอ.เชียรใหญ่020406080ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนความโปร่งแสงการะเกดอ.หัวไทร020406080100ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนความโปร่งแสงหัวไทรหน้าสตนอ.ปากพนัง050100ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนความโปร่งแสงท่าเทียบเรือท่าพญาปากแพรก


รายงานประจําปี 255442ภาพแสดงปริมาณออกซิเจนที่ละลายน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราชอ.ขนอม0.05.010.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนDOท้องเนียนขนอมอ.ท่าศาลา0.05.010.015.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนDOกลายบ่อนนท์อ.เมือง0.05.010.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนDOปากพยิงปากพูนปากนครอ.เชียรใหญ่0.01.02.03.04.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนDOการะเกดอ.หัวไทร0.05.010.015.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนDOหัวไทรหน้าสตนอ.ปากพนัง0.05.010.015.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนDOท่าเทียบเรือท่าพญาปากแพรกอ.สิชล0.05.010.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนDOสิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯ


รายงานประจําปี 255443ภาพแสดงค่าบีโอดีของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราชอ.ขนอม0.01.02.03.04.05.06.07.08.09.010.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนท้องเนียนขนอมอ.สิชล0.05.010.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนBODสิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯอ.ท่าศาลา0.02.04.06.08.010.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนBODกลายบ่อนนท์อ.เมือง0.02.04.06.08.010.0ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนBODปากพยิงปากพูนปากนครอ.เชียรใหญ่0.00.51.01.5ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนBODการะเกดอ.หัวไทร0.05.010.0ต.ค 53ธ.ค 53ก.พ 54เม.ย 54มิ.ย 54ส.ค 54เดือนBODหัวไทรหน้าสตนอ.ปากพนัง0.05.010.015.0ต.ค 53ธ.ค 53ก.พ 54เม.ย 54มิ.ย 54ส.ค 54เดือน8.5ท่าเรือท่าพญาปากแพรก


รายงานประจําปี 25540.50000.45000.40000.3500อ.ขนอม0.40000.35000.3000อ.สิชลฟอสเฟส0.30000.25000.20000.15000.1000ฟอสเฟส0.25000.20000.15000.10000.05000.0000ต.ค 53พ.ย53ธ.ค 53 ม.ค 54 ก.พ 54 มี.ค 54 เม.ย54เดือนพ.ค 54 มิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 54ทองเนียนขนอม0.05000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เดือนเม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54สิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯส.ค ก.ย54 54ฟอสเฟส0.40000.35000.30000.25000.20000.15000.10000.05000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54อ.ท่าศาลาก.พ54มี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ย54 54กลายบ่อนนท์ฟอสเฟส0.40000.35000.30000.25000.20000.15000.10000.05000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54อ.เมืองก.พ54มี.ค54เดือนเม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ปากพยิงปากพูนปากนครส.ค ก.ย54 54ฟอสเฟส0.05000.04500.04000.03500.03000.02500.02000.01500.01000.00500.0000ต.ค 53พ.ย 53ธ.ค 53ม.ค 54ก.พ 54มี.ค 54เม.ย 54อ.เชียรใหญ่เดือนพ.ค 54มิ.ย 54ก.ค 54ส.ค 54ก.ย 54การะเกดฟอสเฟส0.80000.70000.60000.50000.40000.30000.20000.10000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54อ.หัวไทรก.พ54มี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ย54 54หัวไทรหนาสตนฟอสเฟส0.50000.45000.40000.35000.30000.25000.20000.15000.10000.05000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54อ.ปากพนังก.พ54มี.ค54เดือนเม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค ส.ค ก.ยท่าเทียบเรือ54 54 54ท่าพญาปากแพรกภาพแสดงค่าฟอสเฟตของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช44


รายงานประจําปี 255445ภาพแสดงค่าไนไตรท์ของน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราชอ.ขนอม0.00000.02000.04000.06000.08000.10000.1200ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนไนไตรทท้องเนียนขนอมอ.สิชล0.00000.05000.10000.15000.20000.25000.30000.35000.40000.4500ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนไนไตรทสิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯอ.ท่าศาลา0.00000.05000.10000.15000.20000.2500ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนไนไตรทกลายบ่อนนท์อ.เมือง0.00000.02000.04000.06000.08000.10000.12000.1400ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนไนไตรทปากพยิงปากพูนปากนครอ.เชียรใหญ่0.00000.00500.01000.01500.02000.0250ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนไนไตรทการะเกดอ.หัวไทร0.00000.10000.20000.30000.40000.50000.6000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนไนไตรทหัวไทรหน้าสตนอ.ปากพนัง0.00000.05000.1000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค54ก.ย54เดือนไนไตรท์ท่าเรือท่าพญาปากแพรก


รายงานประจําปี 25540.40000.3000แอมโมเนีย0.20000.10000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54อ.ขนอมมี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค ส.ค ก.ย54 54 54ท้องเนียนขนอมแอมโมเนีย0.70000.60000.50000.40000.30000.20000.10000.0000ต.ค 53พ.ย 53ธ.ค 53ม.ค 54ก.พ 54มี.ค 54อ.สิชลเม.ย 54พ.ค 54เดือนมิ.ย 54ก.ค 54ส.ค 54สิชลท่าหมากศูนย์วิจัยฯก.ย 540.35000.30000.2500อ.ทาศาลา1.80001.60001.4000อ.เมืองแอมโมเนีย0.20000.15000.10001.2000แอมโมเนีย1.00000.80000.60000.05000.0000ต.ค 53พ.ย53ธ.ค 53 ม.ค 54 ก.พ 54 มี.ค 54 เม.ย54เดือนพ.ค 54 มิ.ย 54 ก.ค 54 ส.ค 54 ก.ย 54กลายบอนนท0.40000.20000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค54เดือนเม.ย54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ปากพยิงก.ยปากพูน 54ปากนครส.ค54อ.เชียรใหญ่อ.หัวไทร0.12000.60000.10000.0800แอมโมเนีย0.06000.04000.4000แอมโมเนีย0.20000.00000.02000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค เม.ย54 เดือน54พ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ย54 54การะเกดต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค เม.ย54 54เดือนพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ส.ค ก.ย54 54หัวไทรหน้าสตนอ.ปากพนัง0.30000.25000.2000แอมโมเนีย0.15000.10000.05000.0000ต.ค53พ.ย53ธ.ค53ม.ค54ก.พ54มี.ค เม.ย54 54เดือนภาพแสดงค่าแอมโมเนียในน้ํา ณ จุดเก็บตัวอย่างน้ําในแต่ละอําเภอ ในจังหวัดนครศรีธรรมราชพ.ค54มิ.ย54ก.ค54ท่าเทียบเรือ ส.คท่าพญาปากแพรก54ก.ย5446


รายงานประจําปี 2554แผนงาน : ปรับโครงสร้างเศรษฐกิจภาคการเกษตรผลผลิต : การผลิตสินค้าเกษตรได้รับการส่งเสริมและพัฒนากิจกรรม : ถ่ายทอดเทคโนโลยีการเพาะเลี้ยงและการจัดการกิจกรรมหลัก : ถ่ายทอดเทคโนโลยีพัฒนาคุณภาพสินค้า (บริหารชลประทานน้ําเค็ม)โครงการชลประทานน้ําเค็มเพื่อการเพาะเลี้ยงกุ้งทะเล นิคมสหกรณ์ปากพญาผลการปฏิบัติงานในปีงบประมาณ 255247


รายงานประจําปี 2554กิจกรรมตามแผนงานที่ดําเนินการในปี 25541.ตรวจวิเคราะห์น้ําและสิ่งแวดล้อมในพื้นที่แผนงาน 48 ครั้ง จํานวน 384 ตัวอย่างผลการปฏิบัติงาน 48 ครั้ง จํานวน 384 ตัวอย่าง2.การให้บริการทางวิชาการแก่เกษตรกรแผนงาน 120 ราย จํานวน 154 ตัวอย่างผลการปฏิบัติงาน 298 ครั้ง จํานวน 324 ตัวอย่าง3.พัฒนากลุ่มเกษตรกร เป็นการฝึกอบรมให้ความรู้ด้านการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ําแก่เกษตรกรแผนงาน 1 ครั้ง จํานวน 114 รายผลการปฏิบัติงาน1 ครั้ง จํานวน 114 ราย4.การให้บริการสูบน้ําแก่เกษตรกรแผนงาน 780 ชั่วโมง จํานวน 3,931,200 ลบ.ม.ผลการปฏิบัติงาน 797 ชั่วโมง จํานวน 4,016,880 ลบ.ม.สรุปผลผลิต 1 ต.ค 2553 - 30 ก.ย 2554เดือนจํานวนสมาชิก ชนิดสัตว์น้ําที่ขายผลผลิต กุ้ง ปู ปลา รวม(ราย) (บาท) (บาท) (บาท) (บาท)หมายเหตุตุลาคม 2553 35 31,429 11,599 0 43,028พฤษจิกายน2553 43 59,264 20,788 0 80,052ธันวาคม 2553 38 30,840 25,439 0 56,279มกราคม 2554 41 58,625 33,556 0 92,181กุมภาพันธ์ 2554 42 69,262 19,227 0 88,489มีนาคม 2554 43 146,672 33,870 0 180,542เมษายน 2554 40 49,615 35,119 50,000 134,734พฤษภาคม 2554 40 119,027 80,499 40,000 239,526มิถุนายน 2554 38 82,941 70,123 0 153,064กรกฎาคม 2554 42 289,218 82,891 0 372,109สิงหาคม 2554 45 66,544 78,762 9,800 155,106กันยายน 2554 41 62,751 67,686 0 130,437รวม 37 1,066,188 559,559 99,800 1,725,584จากข้อมูลข้างต้น จํานวนสมาชิกโครงการทั้งหมด 114 ราย แต่มีสมาชิกที่นําผลผลิตมาขายให้กับสหกรณ์เฉลี่ยเดือนละ 37 ราย คิดเป็น 33 % ของจํานวนสมาชิกของโครงการฯ48


รายงานประจําปี 2554400,000350,000300,000250,000บาท200,000150,000100,00050,0000ต.ค.๕๓พ.ย.๕๓ธ.ค.๕๓ม.ค.๕๔ก.พ.๕๔มี.ค.๕๔เม.ย.๕๔พ.ค.๕๔มิ.ย.๕๔ก.ค.๕๔ส.ค.๕๔ก.ย.๕๔เดือนกราฟแสดงมูลค่าของสัตว์น้ําที่สมาชิกของโครงการจําหน่ายให้กับสหกรณ์ฯ ณ จุดรับซื้อของโครงการฯนอกเหนือจากการให้บริการแก่เกษตรกรสมาชิกสหกรณ์แล้ว ในปีงบประมาณ 2553ศูนย์วิจัยและพัฒนาประมงชายฝั่งนครศรีธรรมราชได้ดําเนินการซ่อมแซมและปรับปรุงระบบต่าง ๆของโครงการดังต่อไปนี้49

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!