08.03.2018 Views

Protein_synthesis_2009 handout

Create successful ePaper yourself

Turn your PDF publications into a flip-book with our unique Google optimized e-Paper software.

PROTEIN SYNTHESIS<br />

Ruchaneekorn W. Kalpravidh, Ph.D.<br />

Department of Biochemistry, Faculty of Medicine Siriraj Hospital


<strong>Protein</strong> <strong>synthesis</strong><br />

2<br />

<br />

<br />

<br />

Translation<br />

คล ้ ายคลึงกันทังใน prokaryote และ eukaryote<br />

สารตังต ้ น คือ กรดอะมิโน 20 ชนิด<br />

ชนิดของโปรตีนทีสังเคราะห์ ถูกกําหนดโดย mRNA<br />

การสังเคราะห์โปรตีนเริมจากจุดเริมต ้ นทางด ้ าน NH 2 -terminal<br />

ไปสินสุดที COOH-terminal<br />

<br />

ในมนุษย์สามารถพบการสังเคราะห์โปรตีนได ้ ทังใน cytosol,<br />

RER และ mitochondria


ปัจจัยทีใช้ในการสังเคราะห์โปรตีน<br />

3<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

<br />

L-amino acid<br />

t-RNA<br />

Genetic code<br />

Aminoacyl-tRNA synthetase<br />

Ribosome


4<br />

Amino acid


Transfer RNA (tRNA)<br />

5<br />

มีประมาณ 50 ชนิด โดยกรดอะมิโนบางชนิดมี tRNA ทีเป็ นคู่<br />

มากกว่า 1 ชนิด<br />

<br />

Clover leaf หรือ L-shape<br />

tRNA จะมีเบส 3 ตัวที complementary กับ codon บน mRNA<br />

เรียกเบส 3 ตัวนีว่า anticodon<br />

<br />

Wobble position


6<br />

Transfer RNA (tRNA)


Wobble position<br />

7<br />

Wobble position (base) คือ เบสทีอยู่ตําแหน่ง 3’ ของ codon<br />

และเบสตําแหน่ง 5’ ของ anticodon ซึงโดยทัวไป การจับคู่กัน<br />

ของเบสคู่นีอาจไม่เป็ นไปตามกฎทัวไปของการจับคู่<br />

<br />

การมี wobble base ทําให ้ tRNA 1 ชนิด จับกับ codon ของ<br />

mRNA ได ้ มากกว่า 1 codon<br />

5’ base of anticodon 3’ base of codon<br />

C<br />

A<br />

U<br />

G<br />

I<br />

G<br />

U<br />

A or G<br />

C or U<br />

U or C or A


Genetic code<br />

U C A G<br />

UUC<br />

UUU Phe<br />

UCU<br />

UCC<br />

UCA<br />

UCG Ser<br />

UAU<br />

UAC<br />

UAA<br />

UAG<br />

Tyr<br />

STOP<br />

UGU<br />

UGC<br />

UGA<br />

UGG<br />

Cys<br />

STOP<br />

UUA<br />

UUG Leu<br />

CUU<br />

CUC<br />

CUA<br />

CUG<br />

Leu<br />

AUU<br />

AUC<br />

AUA<br />

GUU<br />

GUA<br />

GUG<br />

GUC<br />

lle<br />

Met<br />

Val<br />

CCU<br />

CCC<br />

CCA<br />

CCG<br />

ACU<br />

ACC<br />

ACA<br />

ACG<br />

GCU<br />

GCC<br />

GCA<br />

GCG<br />

Pro<br />

Thr<br />

Ala<br />

CAU<br />

CAC<br />

CAA<br />

CAG<br />

AAU<br />

AAC<br />

AAA<br />

AAG<br />

GAU<br />

GAC<br />

GAA<br />

GAG<br />

Asn<br />

His<br />

Gln<br />

Lys<br />

Asp<br />

Glu<br />

CGU<br />

CGC<br />

CGA<br />

CGG<br />

GGU<br />

GGC<br />

GGA<br />

GGG<br />

AGU<br />

AGC<br />

AGA<br />

AGG<br />

Arg<br />

Ser<br />

Arg<br />

Gly<br />

AUG<br />

Second position<br />

First position<br />

U<br />

C<br />

A<br />

G<br />

U<br />

C<br />

A<br />

G<br />

U<br />

C<br />

A<br />

G<br />

U<br />

C<br />

A<br />

G<br />

U<br />

C<br />

A<br />

G<br />

Trp<br />

8


Genetic code<br />

9<br />

<br />

<br />

รหัสพันธุกรรม<br />

แต่ละรหัสประกอบด ้ วย nucleotide 3 ตัว เรียงต่อกัน เรียกว่า<br />

triplet code หรือ codon<br />

สิงมีชีวิตทุกชนิด ทัง prokaryote และ eukaryote ใช ้ genetic<br />

code เดียวกัน (ยกเว ้ นใน mitochondria ของมนุษย์มีรหัสบางรหัส<br />

ต่างออกไป) จึงอาจเรียกว่า universal genetic code<br />

<br />

Genetic code บน mRNA จะมีแต่ละ codon เรียงต่อกันไป โดยไม่มี<br />

การเว ้ นวรรค (commaless) และไม่ซ ้ อนกัน (non-overlapping)


Genetic code<br />

10<br />

<br />

รหัสพันธุกรรมมีทังหมด 64 รหัส (4 3 = 64) โดย 61 รหัสจะเป็ น<br />

รหัสสําหรับกรดอะมิโน 20 ชนิด ทีเหลือ 3 รหัส เป็ นรหัสสําหรับ<br />

หยุดการสังเคราะห์โปรตีน<br />

กรดอะมิโนส่วนใหญ่จะมีรหัสพันธุกรรมมากกว่า 1 รหัส เรียก degenerate<br />

มีกรดอะมิโน 2 ชนิด (methionine และ tryptophan) ทีมีรหัสพันธุกรรม<br />

รหัสเดียว<br />

AUG เป็ นรหัสพันธุกรรมสําหรับ methionine และเป็ นรหัสเริมต ้ น<br />

การสังเคราะห์โปรตีน เรียกว่า initiation codon<br />

UAA, UAG และ UGA เป็ นรหัสทีหยุดการสังเคราะห์โปรตีน เรียกว่า<br />

nonsense (stop) codon


Gene mutation and protein <strong>synthesis</strong><br />

11<br />

<br />

Regulatory element mutation : ทําให ้ การเกิด transcription<br />

เปลียนแปลง (เพิมขึน/ลดลง) ส่งผลให ้ ปริมาณของโปรตีนเปลียนไป<br />

Structural gene mutation : ทําให ้ เกิดการเปลียนแปลงต่าง ๆ ดังนี<br />

Missense mutation<br />

Nonsense mutation<br />

Chain termination (sense) mutation<br />

Splicing mutation<br />

Silent mutation<br />

Frameshift mutation


Structural gene mutation<br />

12<br />

Missense mutation : โปรตีนมีกรดอะมิโนเปลียนไป<br />

CAU (His)<br />

CAG (Gln)<br />

<br />

Nonsense mutation : โปรตีนสันลง (truncated polypeptide<br />

chain)<br />

CGA (Arg)<br />

UGA (stop)<br />

Sense mutation : โปรตีนยาวขึน<br />

UAA (stop)<br />

UAC (Tyr)


Structural gene mutation<br />

13<br />

<br />

Silent mutation<br />

AAA (Lys)<br />

AAG (Lys)<br />

<br />

Frameshift mutation<br />

Pro Gln Trp Ser Arg His<br />

Normal 5'<br />

C C A C A G U G G A G U C G A C A U U<br />

3′<br />

Mutant 5'<br />

(base insertion )<br />

C C A C A G U G G A A G U C G A C A U<br />

3′<br />

Pro<br />

Gln Trp Lys Ser Thr


Aminoacyl-tRNA synthetase<br />

14<br />

ทําหน ้ าทีจับคู่กรดอะมิโนกับ tRNA ทีเป็ นคู่กัน (cognate tRNA)<br />

เรียกขันตอนนีว่า activation of amino acid<br />

amino acid + ATP + tRNA<br />

PPi<br />

aminoacyl-tRNA + AMP + PPi<br />

2Pi<br />

ขบวนการนีอาศัย Mg 2+ เป็ น cofactor และต ้ องการ ATP (2 ATP)<br />

เอนไซม์นีมี 20 ชนิด แต่ละชนิดจําเพาะกับกรดอะมิโนแต่ละตัว


Aminoacyl-tRNA synthetase<br />

15<br />

<br />

การจับกันของกรดอะมิโนกับ tRNA เกิดจาก α-COOH group<br />

ของกรดอะมิโนกับ 3’-OH group ของ tRNA จับกัน เกิดเป็ น<br />

high energy ester bond ซึงพลังงานของพันธะนีจะใช ้ ในการ<br />

สังเคราะห์ peptide bond ต่อไป<br />

เอนไซม์นียังสามารถ proofreading ตรวจสอบ aa-tRNA ทีเกิดขึน<br />

โดยถ ้ า aa-tRNA มีโครงสร ้ างทีผิด เอนไซม์จะสลาย aa-tRNA<br />

กลับเป็ นกรดอะมิโนและ tRNA


Ribosome<br />

16<br />

ตําแหน่งทีเกิดการสังเคราะห์โปรตีน<br />

<br />

ประกอบด ้ วย 2 subunit (small & large subunit)<br />

<br />

large subunit ประกอบด ้ วย<br />

P site : เป็ นบริเวณทีเกิดสาย polypeptide<br />

A site : เป็ นบริเวณที aa-tRNA มาเกาะ<br />

Prokaryotic ribosome : 70S (50S & 30S)<br />

Eukaryotic ribosome : 80S (60S & 40S)


Process of translation<br />

17<br />

<br />

<br />

<br />

Initiation<br />

Elongation<br />

Termination


Initiation<br />

18<br />

การ identify จุดเริมต ้ นของ coding sequence บน mRNA<br />

(ซึงก็คือ codon AUG ตัวแรกจากด ้ าน 5’)<br />

ปัจจัยทีใช ้ ในขันตอน initiation<br />

mRNA<br />

Met-tRNA (ใน prokaryote ใช ้ formyl methionyl-tRNA)<br />

Ribosome<br />

Initiation factors (IF)<br />

GTP<br />

ATP


Process of initiation (eukaryotes)<br />

19<br />

<br />

<br />

eIF2a จับกับ GTP และ Met-tRNA i ได ้ เป็ น ternary complex<br />

Ribosome แยกเป็ น 2 subunit โดย 40S subunit รวมกับ<br />

eIF3, ternary complex และ eIF4c ได ้ เป็ น<br />

eIF2a.Met-tRNA i .GTP, eIF3.40S, eIF4c complex<br />

Complex นีจะจับ mRNA ทางด ้ าน 5’ ได ้ เป็ น preinitiation<br />

complex ซึงต ้ องอาศัย ATP และ IF ในการอ่านรหัสจากด ้ าน<br />

5’ ไปด ้ าน 3’ จนถึง codon AUG ชุดแรก


Process of initiation (eukaryotes)<br />

20<br />

<br />

<br />

Anticodon ของ tRNA เกิด base pairing กับ AUG ของ<br />

mRNA ทําให ้ GTP ถูกเปลียนเป็ น GDP<br />

IF ต่าง ๆ และ GDP ถูกปล่อยออกมา และ 60S subunit ของ<br />

ribosome เข ้ ามารวม เกิดเป็ น initiation complex


Process of initiation (prokaryotes)<br />

21<br />

มีลําดับของพิวรีนนิวคลีโอไทด์ทีเรียกว่า Shine-Dalgarno<br />

sequence อยู่ประมาณ 10 นิวคลีโอไทด์ ทางด ้ าน upstream<br />

ของ AUG<br />

<br />

IF ต่าง ๆ น ้ อยกว่า ใน eukaryote<br />

5'<br />

AUG<br />

3' mRNA<br />

Prok. Shine-Dalgarno sequence ( 10 nt. upstream ของ AUG )<br />

initiation complex อยู่ที P site ของ ribosome


22<br />

Process of initiation


Elongation<br />

23<br />

เกิดขึนหลังการเกิด initiation complex<br />

ribosome จะต่อสาย peptide ให ้ ยาวขึนโดยการอ่าน codon<br />

บน mRNA ไปเรือย ๆ จนถึง termination codon<br />

ปัจจัยทีใช ้ คือ<br />

Initiation complex<br />

Aminoacyl-tRNA ทีรวมกับ eEF1α และ GTP เป็ น complex<br />

Elongation factors (EF)<br />

GTP


Process of elongation<br />

24<br />

eEF-1α ทีจับกับ GTP จะพา aa-tRNA ไปรวมกับ initiation<br />

complex ที A site<br />

<br />

<br />

เกิด base pairing ระหว่าง base ของ codon บน mRNA กับ<br />

anticodon บน aa-tRNA ทําให ้ eEF-1α กับ GTP เปลียนเป็ น<br />

GDP. eEF-1α ต่อมา GDP หลุดออกจาก ribosome ปล่อย<br />

aa-tRNA ไว ้ ที A site ของ ribosome<br />

Peptidyl transferase ใน ribosome สลาย ester bond<br />

ระหว่างกรดอะมิโนกับ tRNA ที P site แล ้ วนํา α-COOH group<br />

มาต่อกับ α-NH2 group ของกรดอะมิโนอีกตัวที A site


Process of elongation<br />

25<br />

เกิด translocation ย ้ าย peptidyl-tRNA จาก A site มาที<br />

P site โดยอาศัย eEF-2 (translocase) และ GTP<br />

เมือ A site ว่าง aa-tRNA ตัวใหม่จะเข ้ ามาจับ และเกิด<br />

ขบวนการต่าง ๆ ดังทีกล่าวมาใหม่


26<br />

Process of elongation


Termination<br />

27<br />

เกิดเมือ ribosome สังเคราะห์ peptide จนมาถึง termination<br />

codon (UAA, UAG หรือ UGA)<br />

eRF และ GTP จะจับที A site<br />

ปล่อย deacylated tRNA<br />

ปล่อย peptide ทีสังเคราะห์ได ้ ออกจาก ribosome


28<br />

Termination


Energy requirement for protein<br />

<strong>synthesis</strong><br />

29<br />

<br />

<br />

<br />

Aminoacylation of tRNA<br />

ATP AMP + Ppi<br />

Binding of Met-tRNAi to P site<br />

Aminoacyl-tRNA binding to A site<br />

<br />

<br />

Translocation<br />

Termination


30<br />

<strong>Protein</strong> <strong>synthesis</strong>


Polyribosome (polysome)<br />

31<br />

mRNA สายเดียวแต่มี ribosome เกาะอยู่หลายกลุ่ม<br />

เกิดจากเมือ ribosome เริมสังเคราะห์โปรตีนไปแล ้ ว ribosome<br />

ตัวใหม่จะเริมสังเคราะห์โปรตีนอีกโมเลกุลได ้ โดยไม่ต ้ องรอให ้<br />

ribosome ตัวแรกสังเคราะห์โปรตีนจนจบสายก่อน<br />

การมี polyribosome ทําให ้ เซลล์สังเคราะห์โปรตีนได ้ เร็วขึน


32<br />

Polyribosome


Inhibitors of protein <strong>synthesis</strong><br />

33<br />

<br />

<br />

<br />

affect on prokaryotes : streptomycin, tetracycline,<br />

chloramphenicol, and erythromycin<br />

affect on eukayotes : cycloheximide and diphtheria toxin<br />

affect both prokaryotes and eukaryotes : puromycin


Inhibitors of protein <strong>synthesis</strong><br />

34<br />

Inhibitors<br />

streptomycin<br />

tetracycline<br />

chloramphenicol<br />

erythromycin<br />

cycloheximide<br />

diphtheria toxin<br />

puromycin<br />

Mechanism of action<br />

binds to 30s ribosomal subunit,<br />

preventing formation of the initiation complex<br />

binds to 30s ribosomal subunit,<br />

inhibits binding of aa-t RNA to A site<br />

inhibits peptidyl transferase activity of 50s<br />

ribosomal subunit<br />

binds to 50s ribosomal subunit,<br />

prevents translocation<br />

inhibits peptidyl transferase in eukaryotes<br />

inhibit translocation of peptidyl-tRNA from A to<br />

P site<br />

prematurely terminates <strong>synthesis</strong>


<strong>Protein</strong> folding<br />

35<br />

<br />

การสังเคราะห์โปรตีน ทําให ้ เกิด 1° structure ของโปรตีน<br />

<br />

สําหรับการเกิด 2° และ 3° structure โปรตีนบางชนิดสามารถ<br />

เกิดได ้ เอง (self-assembly) แต่โปรตีนบางชนิดต ้ องอาศัย<br />

โปรตีนชนิดอืนเป็ นตัวช่วย เช่น<br />

molecular chaperone (heat shock protein) ป้องกันการเกิด<br />

โครงสร ้ างทีไม่ต ้ องการ และทําให ้ โปรตีนเสถียร<br />

Prolyl isomerase เปลียน cis-trans isomer ของ proline ในโปรตีน


36<br />

<strong>Protein</strong> folding<br />

Hsp60<br />

heat shock protein<br />

ป้องกันการเกิดโครงสร ้ างทีไม่ต ้ องการ<br />

และทําให ้ โปรตีนเสถียร<br />

Cycle repeated<br />

many times<br />

release<br />

release<br />

binding


<strong>Protein</strong> folding<br />

37<br />

<br />

Mutation บางชนิด ทําให ้ การเกิด protein folding ผิดปกติไป<br />

และทําให ้ โปรตีนดังกล่าวไม่สามารถถูกส่งออกจาก ER ได ้<br />

ตัวอย่างเช่น mutation ของ α1-antiprotease (ทําหน ้ าทีเป็ น<br />

elastase inhibitor)<br />

Abnormal folding of α1-antiprotease<br />

Retention of α1-antiprotease within hepatocyte<br />

Elastase activity ในปอดสูงขึน<br />

Lung destruction


<strong>Protein</strong> translocation (protein targeting)<br />

38<br />

การเคลือนย ้ ายโปรตีนจากบริเวณทีสังเคราะห์ไปยังบริเวณ<br />

ทีโปรตีนทํางาน แบ่งได ้ เป็ น 2 กลุ่ม<br />

1. Post-translational translocation<br />

2. Cotranslational translocation


Post-translational translocation<br />

39<br />

การเคลือนย ้ ายโปรตีนทีเกิดหลังจากการสังเคราะห์โปรตีน<br />

เสร็จสิน<br />

เกิดที free ribosome<br />

พบในการสังเคราะห์โปรตีนเพือใช ้ ใน nucleus, cytosol,<br />

mitochondria และ peroxisome


Cotranslational translocation<br />

40<br />

การเคลือนย ้ ายโปรตีนทีเกิดขณะทีการสังเคราะห์โปรตีนยังไม่สินสุด<br />

พบในการสังเคราะห์โปรตีนทีเป็ นส่วนประกอบของ membrane และ<br />

secretory protein เช่น โปรตีนใน ER, Golgi body, lysosome<br />

โปรตีนในกลุ่มนีจะมี signal sequence ทีด ้ าน N-terminus<br />

<br />

ขันตอนการเกิด cotranslational translocation<br />

signal sequence จะจับกับ signal recognition particle (SRP)<br />

SRP จะพาโปรตีนและ ribosome ไปจับกับ SRP receptor (docking protein)<br />

ที ER และโปรตีนจะถูกส่งเข ้ าไปใน lumen ของ ER<br />

เมือสังเคราะห์โปรตีนเสร็จ singal sequence จะถูกตัดออก<br />

โปรตีนใน lumen ถูกส่งไป Golgi body และเกิด exocytosis


41<br />

Cotranslational translocation


Secretion<br />

42<br />

เป็ นขบวนการส่งโปรตีนทีสังเคราะห์<br />

ออกไปใช ้ นอกเซลล์ แบ่งได ้ เป็ น 2<br />

ประเภท<br />

<br />

Constitutive secretion<br />

ตัวอย่างเช่น การส่ง plasma protein<br />

ออกนอกเซลล์<br />

<br />

Regulated secretion<br />

โปรตีนทีสังเคราะห์จะถูกเก็บไว ้ ใน<br />

secretory vesicle<br />

เมือเซลล์ถูกกระตุ ้ น โปรตีนจะถูกปล่อย<br />

ออกมาโดยวิธี exocytosis


Intracellular protein degradation<br />

43<br />

โดยทัวไปโปรตีนแต่ละ<br />

ชนิดจะมี half-life ต่างกัน<br />

เช่น ในเซลล์ตับ เอนไซม์<br />

ทีควบคุม metabolism<br />

จะสลายเร็วกว่าโปรตีนอืน<br />

โปรตีนทีมี PEST<br />

sequence (prolineglutamate-serinethreonine)<br />

มากจะมี<br />

half-life สัน


Intracellular protein degradation<br />

44<br />

การสลายโปรตีนในเซลล์ มีวิธีทีสําคัญ 2 วิธี คือ<br />

<br />

<br />

Ubiquitin-ATP dependent pathway<br />

Lysosome degradation


Ubiquitin-ATP dependent pathway<br />

45<br />

ทําหน ้ าทีสลายโปรตีนทีผิดปกติ หรือหมดอายุการใช ้ งาน เช่น<br />

regulatory protein และ protein ทีเกียวข ้ องกับการแบ่งตัว<br />

ของเซลล์<br />

<br />

<br />

Ubiquitin จะจับกับ NH3 + group ของ lysine ของโปรตีน<br />

ต ้ องการสลาย โดยอาศัย E 1 , E 2 และ E 3<br />

จากนัน protease complex จะสลายโปรตีนและปล่อย<br />

ubiquitin ออกไปใช ้ ได ้ ใหม่


46<br />

Ubiquitin-ATP<br />

dependent<br />

pathway


Lysosome degradation<br />

47<br />

เป็ นการสลายโปรตีนโดย protease ของ lysosome ทีเรียกว่า<br />

cathepsins ซึงแบ่งออกตามหน ้ าทีได ้ ดังนี<br />

<br />

<br />

Exocytosis เป็ นการส่งเอนไซม์ออกไปสลายโปรตีนนอกเซลล์<br />

Autophagic เป็ นการสลาย organelle ภายในเซลล์<br />

Phagocytosis เป็ นการสลายโปรตีนทีเข ้ ามาในเซลล์<br />

<br />

Autolysis of cell เป็ นการสลายตัวเองของเซลล์


48<br />

Lysosome degradation


Post-translational processing<br />

49<br />

<br />

โปรตีนบางชนิดหลังจากสังเคราะห์เสร็จแล ้ ว จะมีการ<br />

เปลียนแปลงภายในโมเลกุลของมันก่อน จึงจะทํางานได ้ ตามปกติ<br />

ขบวนการเปลียนแปลงนี ได ้ แก่<br />

proteolytic cleavage : การเปลียน zymogen หรือ prohormone ให ้<br />

เป็ น active form<br />

covalent modification : γ-carboxylation, hydroxylation,<br />

N-methylation, phosphorylation, acylation และ prenylation


Proteolytic cleavage<br />

50<br />

การเปลียน zymogen เป็ น enzyme ทีออกฤทธิได ้<br />

trypsinogen<br />

factor XII<br />

trypsin<br />

factor XIIa<br />

การเปลียน prohormone เป็ น hormone<br />

proinsulin<br />

insulin<br />

pro-opiomelanocortin ACTH + MSH +<br />

(POMC)<br />

β-endorphin


γ-carboxylation<br />

51<br />

เกิดที glutamate บางตัวของโปรตีนทีเกียวข ้ องกับการแข็งตัวของเลือด<br />

ปฏิกิริยานีต ้ องอาศัย vitamin K


Hydroxylation<br />

52<br />

การเติม –OH ที side chain ของกรดอะมิโนบางตัว<br />

<br />

ตัวอย่างเช่น hydroxylation ของ proline และ lysine ใน<br />

collagen โดยเอนไซม์ proline hydroxylase และ<br />

lysyl hydroxylase ได ้ เป็ น hydroxyproline และ<br />

hydroxylysine ตามลําดับ<br />

ขบวนการนีจําเป็ นต่อการเกิด H-bond ระหว่างสาย collagen<br />

ปฏิกิริยานีต ้ องอาศัย vitamin C


Phosphorylation<br />

53<br />

การเติมหมู่ phosphate จาก ATP โดยใช ้ เอนไซม์ protein<br />

kinase<br />

ATP + protein<br />

phosphoprotein + ADP<br />

ขบวนการนีเป็ นวิธีทีเซลล์ใช ้ ควบคุม activity ของเอนไซม์และ<br />

โปรตีน<br />

กรดอะมิโนทีถูกเติมหมู่ phosphate ได ้ คือ serine, threonine<br />

และ tyrosine


Glycosylation<br />

54<br />

เป็ นการเติมนําตาลที side chain ของกรดอะมิโน โดยเอนไซม์<br />

glucosyltransferase<br />

เกิดขึนใน ER และ Golgi body<br />

<br />

แบ่งเป็ น 2 ชนิด<br />

N-linked glycosylation<br />

O-linked glycosylation<br />

การเติมนําตาลทําให ้ โปรตีนจับกับ receptor ทีจําเพาะได ้


Glycosylation<br />

55<br />

เอนไซม์ทีใช ้ ใน lysosome จะมี<br />

mannose-6-phosphate จับทีส่วนปลาย<br />

ทําให ้ เอนไซม์จับกับ receptor และเข ้ า lysosome ได ้<br />

ถ ้ าไม่มี mannose-6-phosphate<br />

เอนไซม์จะถูกส่งออกนอกเซลล์ lysosome จึงไม่มีเอนไซม์<br />

เกิดการคังของสารใน lysosome (inclusion body) เรียก I-cell disease<br />

(mucolipidosis II) ซึงเป็ น lysosomal storage disease ชนิดหนึง


N-linked glycosylation<br />

56<br />

<br />

เป็ นการเติม dolichol phosphate บน amide group ของ<br />

asparagine<br />

เกิดที membrane ของ ER<br />

<br />

<br />

มีผลต่อการเกิด protein folding<br />

ถูกยับยังด ้ วย bacitracin และ tunicamycin


N-linked glycosylation<br />

57<br />

High mannose complex hybrid


O-linked glycosylation<br />

58<br />

เป็ นการเติมนําตาลเข ้ ากับ –OH group ของ serine หรือ threonine<br />

เป็ น post-translational process โดยเกิดขึนหลังจากทีโปรตีนไปถึง<br />

Golgi body<br />

<br />

ตัวอย่างเช่น ABO blood group antigen<br />

H antigen A antigen B antigen


Prenylation<br />

59<br />

<br />

เป็ นการเติม lipid<br />

ให ้ แก่โปรตีน ทํา<br />

ให ้ โปรตีนสามารถ<br />

จับกับ membrane<br />

ได ้ โดยการเติม<br />

farnesyl group<br />

(C-15) หรือ<br />

geranylgeranyl<br />

group (C-20) บน<br />

cysteine ทางด ้ าน<br />

C-terminal ของ<br />

Ras protein


Collagen <strong>synthesis</strong><br />

60<br />

hydroxylation<br />

glycosylation


61<br />

Collagen <strong>synthesis</strong>

Hooray! Your file is uploaded and ready to be published.

Saved successfully!

Ooh no, something went wrong!